The Adventure in India - Part 3

Page 1

Day 5 - Meet Tibetans in Dharamsala วันที่ 5 - พบชาวธิเบตพลัดถิ่นที่ดารัมศาลา

แผนที่รัฐฮิมาจัลประเทศ (Himachal Pradesh) วันนี้เราออกเดินทางจากอัมริตสา (Amritsar) แตเชาไปดารัมศาลา (Dharamshala) ดวยรถเกงที่เหมา มา คนขับหนุมคนเดิมกับทีพ ่ าเราไปเมืองแอทารี่ (Attari) เมื่อวาน ตอนแรกเรากะจะไปโดยรถโดยสารแตคุณลุง แนะนําวาใชเวลานานมาก จอดเยอะ บางทีเดินทางเชาถึงเย็น แตถา ไปรถยนตสามารถใชเวลาเพียงครึ่งวัน เรา จึงตัดสินใจไปโดยรถเชาจะไดประหยัดเวลา สําหรับคนที่จะเชารถ หารถเชาไดไมยาก อาจจะใหที่โรงแรม ติดตอให เพราะปกติโรงแรมจะมี connection กับพวกรถเชาอยูแลว หรือตามหนาสถานีรถไฟจะเยอะมาก ปรากฏคนขับหนุมมารับเราพรอมกับคุณลุงที่นั่งรถมาดวยขางหนา คุณลุงจะไปกับเราดวย (เมื่อวาน อุตสาหรา่ํ ลาซะดิบดี) เราก็โอเคคะ เพราะที่วา งอยูแลว เราไปกันแค 2 คน คุณลุงนั่งขางหนา คนขับหนุมกับคุณ ลุงเปนคูซี้ตา งวัยมาก เพราะเขาคุยนูนนี้กันตลอดทาง (ซึ่งเราฟงไมออก) เราก็หลับตลอดทางเชนกัน (ถามา หลายคนจะประหยัดกวา เพราะรถเชานั้นเราเหมาทั้งคัน พอหารเฉลี่ยตอคนออกมา จะรูสึกวาคารถตอหัวแพง จัง) คุณลุงเลาวาเขาไปดารัมศาลาบอย บางทีก็ตด ิ รถไปอยางนี้นี่ละ เขาถือวาเขาพักผอนไปในตัว เพราะทีอ ่ ัม ริตสารอน แตทด ี่ ารัมศาลาเย็นสบาย นักทองเที่ยวก็ชอบเพราะเขาพูดภาษาอังกฤษไดดี เปนไกดไปในตัว (เขา ไมไดคิดเงินคาไกดเพิม ่ แตเรามีใหคุณลุงเพิ่มเปนทิปไป ก็ยังไมอยากจะเชือ ่ วาคุณลุงเปนคนขับสามลออยูดี คือคุณลุงเปนคนทีม ่ ีศก ั ยภาพในการเขาถึงนักทองเที่ยว, การแนะนําการเดินทาง และความรูในสถานทีต ่ างๆดี ทีเดียว) พอประมาณ 8 โมง เริ่มหิว คนขับหนุมพาแวะกินอาหารขางทาง อาหารหลักก็เหมือนเดิม คือ โรตี สวน ใหญที่รานตองมีฝาหมอปดไวตลอดเวลาเพราะแมลงวันวนเวียนอยูตลอด ชอน,สอม นี่ตอมกันเปนเรื่องปกติ เครื่องเคียงหลักคือโยเกิรต  สวนใหญเขาจะเปนโยเกิรตทําเอง (นึกถึงเมืองไทยที่รา นอาหารบางรานจะมี โฆษณาวาทําเอง เชน ลูกชืน ้ ทําเอง หมูบดทําเอง ทําใหคด ิ ไปวาแลวมันสือ ่ กับผูบริโภควาของนี้ดีจริงอยางไร มันเปนการยืนยันวาอรอย หรือสะอาด หรอ? แลวทําเองแตไมอรอยไดไหม?) โยเกิรต  แกเลียนไดดเี หมือนกัน


เอาน้ําตาลโรยหนอยๆ จะไดไมเปรี้ยวเกิน (ดีทค ี่ นไทยกินสมตํา,น้ําตก อาหารรสจัดเปนทุนเดิม คงไมทอ  งเสีย กันงายๆ...ใชไหม?) โรตีที่รานนี้ไสในเปนชีส คอนขางเค็มทีเดียว ตองกินคูกบ ั โยเกิรตจะไดไมเลี่ยนเกินไป

บรรยากาศรานอาหารขางทาง

โยเกิรตทีท ่ ี่รานทําเอง

โรตีไสชีส

Maaza น้ํามะมวง อรอยๆ

เดินทางกันตอจนถึงจุดพักระหวางทาง เราแวะหาน้ําและขนมกิน เจอนักทองเที่ยวตางชาติคนหนึ่งนั่ง พักอยู เขาขี่มอเตอรไซดมาเอง (ถึกมาก) กําลังจะไปดารัมศาลาเหมือนกัน ระหวางนั้นเราเกิดปวดหองน้ําขึ่นมา ตองแวะหองน้ําสักหนอย แตเห็นหองน้ําแลวปวดใจ นี่มน ั หองน้ําสยอง (สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2) อีกแลว เปน หองน้ําที่แบบ ถาไดเปนเจาของคงทําไดอยางเดียวคือทุบทิ้ง (หลอนจริงๆ)


มอเตอรไซดนก ั เดินทาง

ทางเขาหองน้ํา (สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2)

ระหวางทางไตเขาขึ้นที่สูงขึน ้ เรื่อยๆ เริ่มมองเห็นเทือกเขาที่มีหิมะบาง รถขับถึงดารัมศาลาแลว แตเรา ไมไดพักที่นี่ เราจะไปพักทีแ ่ มคกราว กันจ (Mcleod Ganj) หรือ ดารัมศาลาบน (Upper Dharamsala) ซึ่งเปนแหลงที่พักสําหรับนักทองเที่ยวมากกวา ที่นี่คนหนาแนนมาก เริ่มเห็นคนหนาตาจีนๆ เปนเมืองในภูเขาที่ เจริญทีเดียว ทั้งธนาคาร ทั้งตูA  TM เต็มไปหมดเลย ไมตอ  งกลัวไมมีทก ี่ ดเงิน พอเขาสูตลาดกลาง (Main Bazaar) นักทองเที่ยวตางชาติตรึม Guesthouseเพียบ ตอนแรกเรากะจะพักใกล Main Bazaar เพื่อมาเดินเลน แตคนขับและคุณลุงแนะนําไปพักดานบนดีกวาไมแออัด

ภายในเมืองแมคกราว กันจ (Mcleod Ganj) คนขับรถที่นี่ ตองชํานาญทางจริงๆ เพราะขึ้นเขาสูง ทางแคบ ไมมีไหลทาง มีแตเสียงแตรที่เขาบีบกัน ตลอดเวลา คนขับพาเรามาพักที่โรงแรมอนันพาเลซ (Anand Palace) ในเครือ Best Western ราคารับไดอยู อากาศที่นี่ดม ี าก เย็นๆสบายๆ ใกลๆโรงแรมมีรานขายของอยู เดินเลนได อาหารการกินที่นี่อด ุ มสมบูรณดี


บรรยากาศระหวางทาง

รานขายผัก

คุณลุงพาเดินมาที่สระน้ําสาธารณะ นาเลนมาก เปนน้าํ จากภูเขาเลย น้าํ เย็นเจี๊ยบ แตไมมีชด ุ วายน้ํา อีก ทั้งมีแตผูชาย เดินมาเรื่อยๆจะเจอน้ําตกใหญ คุณลุงเหมือนอยากจะใหเราเดินไปน้าํ ตกดานบน ลุงบอกวาขึ้นไป เลนน้ําตกกอนก็ไดนะ เดี๋ยวเขารอ ซึ่งเปนระยะทางเดินขึ้นเขากวา 2 กม. เราทําอิดออด ไมอยากเดิน (เพราะแค เห็นก็เหนื่อยแลว) ...หิวขาวแลว ไปหาอะไรกินกวาดีกวา แลวก็ไมเดินไปน้ําตกตามการคะยั้นคะยอของคุณลุง (อิๆ)

มีบริการถายรูปในชุดอินเดีย

น้ําตกใหญ

สระน้ําน้ําเย็นเจีย ๊ บ


จากนั้น ลุงพาเดินไปวัดฮินดูใกลๆ ซึ่งมีลก ั ษณะคลายวัดธิเบตมาก เหมือนทีอ ่ ัมริตสาเลยทีว่ ด ั ฮินดู หนาตาคลายวัดซิกส ทําใหไดขอสันนิษฐานวา วัดฮินดูเมื่อไปอยูใ นชุมชนอื่นๆ สถาปตยกรรมก็จะโนมเอียงไป ทางชุมชนนั้น

ทางเขาวัด

ดานในวัด

กินขาวพอง หลังจากเขาไปขอพรในวัด เดินออกมาจากวัด มีคนขายไอศกรีม (ตอนแรกก็ไมรูเหมือนกันวาเขาขายไอศกรีม จนคุณลุงบอก) ลุง บอกวา เราตองชิมนะ ไหนๆมาแลว ตองเรียนรู จะไดเขาถึง เราก็เอา ลองดูหนอย คนขายตักไอศกรีมใสใบไม ควักจากกระปุกซายมาสวนหนึ่งใสใบไม ตามดวยอีกกอนจากกระปุกขวา ใชใบไมเปนชอนตัก รสชาติจาก 2 กระปุกทีเ่ ขาตักมาไมเหมือนกัน อันหนึ่งรสชาติคลายๆมะพราวเผา อีกอันหวานๆ คลายๆกะทิ สังขยา กิน รวมๆกันแลว ก็อรอยดี ราคา 10 รูป แตความสะอาด....ไมแนใจ (นี่..ฉันชิมไมเลือกเลยใชไหมเนี่ย)


ไอศกรีม ณ ดารัมศาลา

ชิมไอศกรีม

มาแวะกินอาหารที่รา นของเพื่อนคนขับหนุม ชือ ่ ราน German Bakery แตเจาของรานเปนชาวยิว (ซะ งั้น) รานอยูใกลๆโรงแรมที่พก ั เราเลย เขาบอกเพือ ่ นเขาทําอาหารอรอยมาก แลวก็อรอยจริงๆดวย ราคาไมแพง สรุปเรากินรานนี้ เชา-กลางวัน-เย็น เลย ไดลองชิมอาหารธิเบต (ที่นี่มอ ี าหารอิสราเอลดวย) เมนูหลักอาหารธิ เบต คือ ทุปกา (Thupka) เปนกวยเตี๋ยวน้ํา น้ําซุปอรอย อีกจานคือ โมโม (Momo) หนาตาคลายๆพวกขนมจีบฮะเกา-เสี่ยวหลงเปา แตแปงจะหนากวา ขางในมีไส จิ้มกับน้ําจิ้มสีแดงๆที่มีรสชาติเผ็ดหนอยๆ

รานอาหาร German Bakery

ทุปกา (Thupka)

โมโม (Momo)


ลุงพาเรามาตลาด Main Bazaar และใหเวลาเราในการเดินเลน รวมถึงเดินไปทีว่ ัดทสุลักคัง (Tsulagkhang Complex) เพราะรถเขาไปยาก ตองเดินเขาไป

หนาไปรษณีย (แทบดูไมออกเลย)

เมื่อชาวอินเดียพบชาวธิเบตพลัดถิ่น

พระธิเบต

ความเจริญยานกลางเมือง

รานขายของที่ระลึกมีเต็มไปหมด

บริเวณตลาด (Main Bazaar)


วัดธิเบตระหวางทาง

หมุนๆ แบบสีสันในวัด

เดินมาจนถึงวัดทสุลักคัง (Tsulagkhang Complex) และเปนที่พก ั ของทานดาไลลามะดวย ซึ่งชวง นี้ทานไมอยูด  ราจึงไมมีโอกาสไดพบทาน สวนใหญทา นจะมีไปบรรยายและปาฐกถา ตามประเทศตางๆทั่วโลก ในดานสันติภาพ ฯลฯ เราสามารถเช็คตารางงานของทานไดจากเวบไซด www.dalailama.com ดานหนาวัดมี อนุสรณสถานแสดงถึงการตอสูเพือ ่ อิสรภาพของชาวธิเบต และมีพิพธ ิ ภัณฑธเิ บต (Tibet Musuem) ใหเขาชม ภายในมีประวัตศ ิ าสตรของชนชาติธเิ บต และเรื่องราวสมัยที่ธิเบตตอสูกับทางการจีนเพื่อประกาศอิสรภาพ (ปจจุบันธิเบตยังเปนสวนหนึง่ ของประเทศจีน เปนเขตปกครองตนเอง Tibet Autonomous Region) สมัยนั้น ชาวธิเบตบางสวนตองลี้ภัย โดยเดินขามเทือกเขาหิมาลัย มาอยูท  ี่อินเดีย ในเมืองทีอ ่ ยูตด ิ อินเดีย เชน ในรัฐฮิ มาจัลประเทศ (Himachal Pradesh) และ รัฐจัมมูและแคชเมียร (Jammu&Kashmir) ซึ่งทานดาไล ลามะ ถูก เนรเทศออกนอกประเทศมาอยูที่นี่ เมื่อประมาณ 50 ปทแ ี่ ลว ในพิพิธภัณฑมีภาพนากลัวอยูภาพหนึ่ง เปนภาพ เด็กชาวธิเบตเดินขามภูเขาหิมะมาจากจีน ถูกหิมะกัดจนเทากุดไปเลย (เฮือก!)

อนุสรณสถาน

ชาวธิเบตลี้ภัยขามภูเขามาจากจีน


---------------------------------------------------------------------------------------------------------------พระพุทธศาสนาแบบธิเบต (Tibetan Buddhism) คือ พุทธศาสนาแบบหนึ่งซึง่ ถือปฏิบต ั ิในธิเบต และปจจุบันไดแพรหลายไปในหลายประเทศ ดินแดนธิเบตในอดีตมีความรุงเรืองทางพุทธศาสนามาก มีเอกลักษณเฉพาะคือเปนการผสมผสานระหวางพุทธศาสนานิกายมหายานทั้งจากอินเดียและจีน เมือ ่ มีงานบุญ ประชาชนจะเดินทางไปแสวงบุญแมจะไกลสักเพียงใด ซึ่งปจจุบันก็มีใหเห็นอยูมากมาย แตเมื่อตกอยูในการ ปกครองของจีนวัดนับพันแหงทั่วนครลาซา เหลือไมถึงหนึ่งรอยแหงในปจจุบัน จนแทบไมเหลือความ เจริญรุงเรืองในอดีต ในยุคเริ่มตนพ.ศ. 976 พระเจาลาโธ โธรี เย็นเซ เปนกษัตริยธิเบตองคแรกที่นับถือพระพุทธศาสนา ไดรับเครื่องบรรณาการจากตัวแทนชาวอินเดีย โดยนําคัมภีรพระพุทธศาสนา และพระพุทธรุปเขามาในธิเบต ถือ วาเปนครั้งแรกทีค ่ นธิเบตไดรูจักกับพระพุทธศาสนา แตก็ยังไมเปนที่แพรหลายเทาใดนัก เพราะชาวทิเบตยังนับ ถือลัทธิความเชื่อเรื่องภูติผีปศ  าจอยูมาก แตดวยอิทธิพลของพุทธศาสนาจึงทําใหธเิ บตกลายเปนผูใ ฝสันติสุข และเปนชาวเขาที่มีอารยธรรมสูงจนถึงมีอักขระพิเศษเพือ ่ พระศาสนา โดยนําแบบอยางมาจากอักษรอินเดีย จากนั้นมาพระพุทธศาสนาจากอินเดียก็เขาถึงธิเบตครั้งแรกเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 12 และประดิษฐานมั่นคงใน พุทธศตวรรษที่ 16 ในปจจุบัน ดาไลลามะองคที่ 14 ทานเทนซิน เกียตโซไดลี้ภัยมาที่ ดารัมศาลา เชิงเขาหิมาลัย รัฐหิ มาจัลประเทศ ประเทศอินเดีย และจัดตั้งรัฐบาลพลัดถิ่นของธิเบตที่นี่ ตอมาก็เปนศูนยรวมใจชาวธิเบตในตาง แดน ชาวธิเบตในจีน ชวงแรกมีการทําถนนทําใหมค ี นเสียชีวต ิ เปนจํานวนมาก เนือ ่ งจากไมคุนเคยกับสภาพ อากาศ บางคนเปนวัณโรค บางคนเปนโรคทางเดินหายใจ ตอมาก็มาคาขายเสื้อผาที่อินเดีย และไดขยายไปตั้ง นิคมอยูที่รัฐมิโซรัม ประเทศอินเดีย ในยุคนี้มีการเผยแผพุทธศาสนาแบบธิเบตไปทั่วโลกทั้ง 4 นิกาย ไดแก นิกายเนียงมา นิกายกาจู นิกายสักยะ และนิกายเกลุก โดยทานดาไลลามะยังตอสูเพือ ่ เอกราชของตนโดนสันติ วิธี พรอมกับรักษาจิตวิญญาณของชาวพุทธไวอยางมั่งคง

ดาไลลามะองคที่ 14 เทนซิน เกียตโซ (Tenzin Gyatso) ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------จากนั้นเราเดินขึ้นบันไดวัดไปเรื่อยๆ กอนขึ้นไปถึงชั้นบนเขาจะมีตรวจอาวุธ บรรยากาศภายในเงียบสงบ เราจะเห็นคนกําลังกราบแบบนอนราบอยูรอบๆวัด บางจุดดานบนวัดจะมองเห็นภูเขาหิมะอยูลบ ิ ๆดวย ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------การกราบแบบอัษฎางคประดิษฐ เปนทากราบแบบนอนราบไปทั้งตัวตาม แบบฉบับของชาวธิเบต โดยใหสวนสําคัญของรางกายแปดสวน ไดแก มือทั้งสอง เขาทั้งสอง เทาทั้งสอง ลําตัว และหนาผาก สัมผัสกับ พื้นดินการกราบสักการะแบบอัษฎางคประดิษฐ หรือ ชากเซล ในภาษาธิเบต โดยคําวา ชาก (chag) หมายถึง


กายศักดิ์สิทธิ์ วาจาศักดิส ์ ิทธิ์ และจิตศักดิส ์ ิทธิ์ของพระพุทธเจาพระโพธิสต ั ตทั้งหลาย สวนคําวา เซล (tsel) หมายถึงการทีเ่ ราอุทศ ิ ตนอยางจริงจังและจริงใจที่จะกาวตามรอยพระพุทธบาท

การกราบแบบอัษฎางคประดิษฐ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

เห็นเขาหมุนกัน เลยไปหมุนบาง

ภายในวัดธิเบต


ขอทานดานหนาวัด เราเดินกลับจากวัดมาขึ้นรถ คุณลุงพามาโบสถเกาแกในดารัมศาลา ชื่อ โบสถเซนตจอหน (Church of St.John in the wilderness) ดานในโบสถเกาแกจริง เปนโบสถสไตลยุโรป บรรยากาศเงียบๆ อากาศเย็นๆ แลว คุณลุงก็พาเดินไปดานหลังที่เปนสุสาน (วังเวงไปไหม?)

โบสถเซนตจอหน (Church of St.John in the wilderness) คุณลุงพาเราไปชมพระอาทิตยตกดิน ณ ที่แหงหนึ่งแถวๆนั้น (ไมรูพิกัดไหน เพราะรถขับขามเขาไปขาม เขามา) เราแวะถายรูประหวางทางไปเรื่อยๆ จนถึงทีห ่ มาย คนขับจอดใหเราลงเดิน เปนจุดในหลืบมากๆ ถา ไมใชคนทองถิ่นไมนารูจัก เรานั่งรอแลวรอเลา ที่นี่มด ื ชามาก พระอาทิตยไมตกสักที สวางอยูเลย เลยเดินกันมา ตรงปายรถ (คิดไหนใจ..แลวมันมีรถผานดวยหรอ เพราะมันในปาในเขามาก ....แตกค ็ งมีแหละ) เราสั่งชาจาก รานชากาแฟตรงขามปายรถมานั่งกินรอพระอาทิตยตกดิน สักพักใหญๆ คุณลุงบอกขึ้นรถกัน (อาว! งง ไมรอดู พระอาทิตยตกดินแลวหรอ) ลุงจะพาไปอีกที่หนึ่ง


เดินตามลุงไป

บรรยากาศระหวางทาง

ปายรถอันอางวาง

ดอกไมเมืองหนาว

คุณลุงพามาจุดชมวิวจุดใหม ตองขับรถมาในหุบเขาสักระยะ มาจอดทีห ่ มูบา นหนึ่ง ซึง่ ใกลภเู ขาหิมะ มากมีเทือกเขาหิมะเปนฉากหลังสวยมาก อากาศเย็นสบาย มีคนมารอชมพระอาทิตยตกดินพอสมควร สวนใหญ เปนคนอินเดีย มองไปทางทีพ ่ ระอาทิตยตกดินจะเปนภูเขาที่ลาดลงไปกับพื้นสุดตา

วิวสวยมาก แสงอาทิตยสะทอนกับหิมะเปนสีสม  เลย


พระอาทิตยกาํ ลังตกดิน เราเดินทางกลับมาที่โรงแรม ผานตลาด (Main Bazaar) โห...สีสันมากๆ รานคาเปดไฟกันสวางไสว เราแวะกินขาวที่รานเดิมใกลๆโรงแรม สั่งซุปคลอโรฟลลมากิน เติมพลัง ...(ไมชายยย) สั่งซุปผักโขมมา ซุป เขียวจนนากลัว แตอรอย ไมเหม็นเขียวดวย เห็นวาเจาของรานเปนคนยิว เลยมีเมนูอาหารอิสราเอลดวย เราเลย ลองสั่งมาชิมสักหนอย....รสชาติอรอยเลย ใหเยอะมากดวย กินเกือบไมหมด กอนขึ้นหองพัก เราแวะเลน อินเตอรเนตที่ lobby ชั้นลาง ซึ่งเนตชามากแตอยางนอยก็ไดติดตอกับโลกภายนอกบาง

บรรยากาศตลาดยามค่ําคืน

ซุปผักโขม

โรงแรมอนันพาเลซ (Anand Palace)


อาหารอิสราเอล --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------Ganj)

สถานที่ทองเที่ยวอื่นๆในเมืองดารัมศาลา (Dharamsala) และ แมคกราว กันจ (Mcleod

Library of Tibetan Works & Archives

Men-Tsee-Khang Museum

------------------------------------------------------------------------------------------------


Day 6 - Go to Jammu วันที่ 6 – มุงหนาสูเมืองจัมมู ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

แผนที่แควนจัมมู&แคชเมียร (Jammu&Kashmir) ----------------------------------------------------------------------------------------รัฐจัมมูและแคชเมียร (J&K) เปนรัฐที่อยูเ หนือสุดของประเทศอินเดีย แบงเปนเขตใหญ ๆ 3 เขต คือ จัมมู (Jammu), แคชเมียร (Kashmir) และ ลาดักห (Ladakh) จัมมู (Jammu) เปนเมืองหลวงฤดูหนาวของรัฐ ลอมรอบดวยทุงหญาและที่ราบตามเชิงเขา ฤดูรอนมี อากาศรอนอบอาวแตในฤดูหนาวจะเปนแหลงทีเ่ หมาะสําหรับมาหลบความหนาวเย็นจากลาดักห พลเมืองสวน ใหญเปนแขกแบบอินเดียและมีแขกขาวผสมกลมกลืนกันรวมทั้งชาวธิเบตดวย ประชากรนับถึอศาสนาฮินดู 65.23%, ศาสนาอิสลาม 30.69%, ศาสนาซิกข 3.57%, ศาสนาพุทธ และอื่นๆ 0.51% แคชเมียร (Kashmir) มีความหมายรวมวา ดินแดนที่ไมมีน้ํา มีศรีนาคา (Srinagar) เปนเมืองหลวง ตั้งอยูใน แคชเมียรวล ั เลย (Kashmir Valley) พลเมืองมีลักษณะคลายกับคนเอเซียกลาง หรือ แขกขาว หนาตา ครึ่งแขก ครึ่งฝรั่ง หนาตาจึงดูคมเขม ผูช  ายจะเต็มไปดวย หนวดเครา ประชากรสวนใหญนับถือศาสนาอิสลาม


91.16 %, ศาสนาฮินดู 1.84%, ศาสนาซิกข 0.88%, พุทธและศาสนาอื่น 0.11% ชาวศรีนากาผูชายจะทํางาน อยูนอกบาน สวมเสื้อตัวยาว ครึ่งนองแขนกวางคอกลม สวนผูหญิงจะทํางานอยูในบาน เมื่อราชวงศโมกุลปกครองอินเดีย ไดมีการพัฒนารูปแบบการจัดผังเมืองของแคชเมียรใหมทาํ ใหแคช เมียร เปนเมืองที่ดูสวยงาม จนเปนแหลงทองเที่ยวที่โดงดังไปทัว่ โลก มีทั้งทะเลสาบดาล (Dal Lake) ทะเลสาบนากิ้น (Nagin Lake) ในยุคปลายสมัยของราชวงศโมกุล อังกฤษไดเขามามีอิทธิพลในการปกครอง อินเดีย อังกฤษไดเขามาตั้งหลักแหลงในอินเดียหลายเมือง รวมทั้งที่แคชเมียรนี้ดว ย แตกฎหมายอินเดียไม อนุญาตใหอังกฤษมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินของแคชเมียร ดังนั้นชาวอังกฤษที่มาอยูใ นแคชเมียรจึงตองแกปญ  หาทีอ ่ ยู อาศัยโดยการสรางเปนบานในเรือ (Houseboat) ใหลอยอยูในทะเลสาบ บานเรือนี่เองที่เปนแรงดึงดูดใจอยาง หนึ่งใหนก ั ทองเที่ยวมาชมแคชเมียร ลาดักห (Ladakh) เปนเมืองที่อยูสูงสุดและใหญทส ี่ ุดในแคชเมียร เพราะมีพื้นทีค ่ รอบคลุม 1 ใน 3 ของพื้นที่ทั้งหมดซึ่งประกอบไปดวยหุบเขาและที่ราบสูง เมืองใหญทส ี่ ุด คือ เลห (Leh) โดยชุมชนในลาดักห เปนชุมชนชาวพุทธนิกายมหายานที่ไดรับอิทธิพลมาจากธิเบต ดังนั้นสิ่งที่ไดพบเห็นในเมืองลาดักห คือ วัดพุทธ ในรูปแบบของมหายานสายธิเบต ลักษณะผูคนและการแตงกายจะเปนแบบธิเบต พลเมืองสวนใหญเปนชาวธิ เบต และแขกขาว ประชากรนับถือศาสนาอิสลาม 47.40%, ศาสนาพุทธ 45.87%, ศาสนาฮินดู 6.22% ที่นี่มี ลักษณะเหมือนธิเบต ดังนั้นผูคนจึงเรียกที่นวี า ธิเบตนอย (Little Tibet)

Pangong Tso Lake, Ladakh

Ladakh Thiksey Monastery, Ladakh

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------มื้อเชาวันนี้เราฝากทองไวทรี่ านอาหารเดิม กอนออกเดินทางไปเมืองจัมมู (Jammu) คนขับจะพาเราไป สงที่เมืองพาทานโกด (Pathankot) เพื่อขึ้นรถไฟหรือรถบัส ไปที่จัมมู ซึ่งใชเวลาเดินทางจาก แมคกราว กันจ (McLeod Ganj) – พาทานโกด (Pathankot) ประมาณ 3 ชม.

มื้อเชาแบบอิสราเอล (Israel Breakfast)


คุณลุงและคนขับหนุมพาเรามาที่สถานีรถไฟพาทานโกดกอน เพื่อดูรอบรถไฟ ถาไมมีรอบก็จะพาไปที่ สถานีรถบัส ซึ่งอยากจะบอกวา ถาไมใชคนทองถิ่น มาทีส ่ ถานีรถไฟนี้ยากเลยละ เพราะถนนในอินเดียไมคอ  ยมี ปายบอก ตองพึ่งคนทองถิ่นในการพาไป เมืองพาทานโกดเปนเมืองทีเ่ ล็กกวาที่คด ิ ไว เปนทางผานที่ไมมีจุด ทองเที่ยวสําคัญ จึงไมเห็นนักทองเที่ยวตางชาติเลย รูสึกเควงๆชอบกล (เหมือนหมูรอเชือด ถาไมมีคุณลุงกับ คนขับ สงสัยคงงงๆมึนๆอยูเ หมือนกัน) ที่ปากทางเขาสถานีรถไฟจากถนนมาหนาสถานี กลิ่นอบอวลมาก...ดวย กลิ่นฉี่ (ซึ่งไมใชฉส ี่ ุนัขแถวนั้นแนๆ เพราะพยายามมองหาแลวไมมี) เราพยายามดูรอบรถไฟ แตไมมีรอบเหมาะ กับเวลาเราเลย

สถานีรถไฟพาทานโกด (Pathankot)

ตารางรถไฟสายเหนือ

จุดน้ําดื่มฟรีที่สถานีรถไฟ หลังจากไมมีรอบรถไฟทีเ่ หมาะสม คุณลุงและคนขับหนุม  พาเรามาทีส ่ ถานีรถบัสพาทานโกด (Pathankot Inter State Bus Terminal) คุณลุงกับคนขับชวยติดตอซือ ้ ตัว๋ ใหเสร็จสรรพ คารถบัสไมแพงดวย แลวก็บอกทางใหเราไปขึ้นรถที่รออยูไดเลย เพราะรถจะออกแลว ตอนนีเ้ ราตองลาคุณลุงกับคนขับหนุมไปแลว บายๆนะคะคุณลุง ดีใจมากที่ไดเจอคุณลุงในทริปนี้ ทําใหรูสึกวาอินเดียไมไดแยอยางที่ใครๆคิดเสมอ ไป คนดีๆทีอ ่ ินเดียก็มีนะ เพียงแตที่นิวเดลีเราเจอคนไมดีเทานั้นเอง (ฮือๆ) เราไดใหทิปคุณลุงกับคนขับเพิ่ม แต ก็แอบคิดไปอีกวา...ทําไมคนโกงมักจะไดเงินจากเราเยอะเสมอ ใหทป ิ คุณลุงเพิ่มไปแลวยังไมเทาที่ถก ู โกงคา หองพักที่นิวเดลีเลย (โห...เซ็ง!) ยังไงแลวพวกเราจะโปรโมทใหนักทองเที่ยวมาใชบริการคุณลุงกับคนขับหนุม เยอะๆนะคะ


สถานีรถบัสพาทานโกด

Taxi ที่พาทานโกด (หนาตาแปลกๆดี)

ชางทํารองเทาในสถานีรถบัส

คุณลุงกับคนขับหนุม

สําหรับใครทีต ่ องการใชบริการรถสามลอและรถเกงที่อัมริตสา (Amritsar) สามารถติดตอ คุณลุงซูริน เดอร (Surinder) ไดที่เบอร 9780915869 เปนรถสามลอถีบทีส ่ ามารถพาเที่ยวในเมืองได สวนคนขับหนุมซันนี่ (Sunny) สามารถใชบริการเชา/เหมารถเกงมีแอรเที่ยวในเมืองหรือเดินทางไปเมืองใกลเคียงได เชน ดารัมศาลา (Dharamsala) ติดตอไดที่เบอร 98787-38552 หรืออีเมล sunil22kumar@yahoo.com

เบอรติดตอคุณลุงซูรินเดอร (Surinder) และนามบัตรคนขับหนุมซันนี่ (Sunny)


บนรถบัสทางเดินแคบมาก ฝงหนึ่งมี 3 เกาอี้ อีกฝงมี 2 เกาอี้ แถวหนึ่งมีเกาอีท ้ ั้งหมด 5 ตัว แตก็ยังมี คนขายของเดินขึ้นมาตลอดในชวงกอนรถออก ซึ่งคนขายคนเดิมยังไมลงจากรถเลย คนใหมขึ้นมาแลว ปรากฏ แนนรถ รถบัสวิ่งออกมาจากสถานีมาเรื่อยๆประมาณชม.กวา รถจอดแวะรับผูโดยสารขางทาง พอคาขายของ ขึ้นมาขายบนรถและขายขนาบขางรถกันอยางตอเนื่อง ยิ่งคนขายแตงกวา เขาจะเอาแตงกวาอันใหญมาผาครึ่ง แลวนาจะทาเกลือดานใน จากนั้นหอดวยกระดาษหนังสือพิมพ ซึ่งหมึกหนังสือพิมพเปยกๆแปะติดกับแตงกวา โดยตรง (อือหือ) สักพักเราเริ่มหิวๆ เหลือบไปมองเห็นมะพราวหั่นซีกขึ้นมาขายอีกรอบ เอาวะ ลองชิมดูสัก หนอย ถึงแมแมลงวันมันคงจะตอมมาบางแลว พอชิมปป  อืมมม....นี่มันมะพราวทีเ่ ขาใชคั่นทํากะทินี่นา แตที่นี่ เขากินเลนกันเลยแหะ อยูบนรถตองพยายามกินน้ํานอยๆ เพราะที่อินเดียหาหองน้ํายาก (กลัวเจอหองน้ําสงครามโลกอีก) เลย พยายามไมเขาโดยไมจําเปน เขาหองน้าํ ในโรงแรมดีทส ี่ ุด สภาพแวดลอมที่นี่แถวนีค ้ อนขางแหงแลง มีสะพาน เปนสิบที่ขามผานแมน้ํา แตแมน้ําไมมีน้ํา! คือเหมือนสรางสะพานขามพื้นดิน (แตคาดวาชวงหนาน้ําคงมีน้ําบาง) ระหวางทางเจอเหตุการณระทึก ทุกคนในรถทําเสียงตื่นเตนกันใหญ มองไปหนารถทีถ ่ นน (เฮย!) รถทําถนน กําลังจะกลิ้งลง (เห็นแบบกําลังกลิ้งลงมาเลย) ขับอีทาไหนไมรู ตกลงมาจากไหลทางทีต ่ างระดับกัน ลงมา หงายทองบนถนน คนขับไมเปนไร เพราะรีบคลานหนีออกมาไดทัน...เฮอ

คนที่ 1 – ขายน้ํามะนาว

คนที่ 3 – ขายมะพราวหั่นซีก

คนที่ 2 - ขนมถุง

คนที่ 4 – ขายถั่วตางๆ


คนที่ 5 – คนขายแตงกวา

Fail !

แมน้ําอันเหือดแหง

อุบัติเหตุระหวางทาง

โรงทําอิฐ

วัดฮินดู


เมืองเล็กๆระหวางทางไปจัมมู เขาในเมืองจัมมูแลว มาถึงบายแกๆ หลังจากเดินทางมารวม 3 ชม.จากพาทานโกด รถจอดสงเราทีห ่ นา สถานีรถบัส ซึ่งผูคนลนหลามชุลมุนวุยวายมาก จนไมรูจะไปทางไหน แลวเราอยูต  รงพิกัดไหนในแผนที่แลวเนี่ย ยืนเอออยูสักพักเลย จริงๆเรามีเล็งจะพักทีท ่ ี่พักแหงหนึ่งแถวนี้ แตเราก็มีความคิดใหมวาหรือเดินทางไปศรีนาคา คืนนี้เลยดี จะไดไมตองคางจัมมูคืนนี้ มันนาจะมีรถนอนตอนกลางคืนนะ ตัดสินใจเรียกรถตุกพาเราไปสํานักงาน ทองเที่ยวดีกวา รวมทั้งเนนกับคนขับวาพาไปสํานักงานทองเที่ยวของรัฐบาลเทานั้น พรอมทั้งชีต ้ าํ แหนงในแผน ที่ คนขับพาไปสงที่สาํ นักงานทองเที่ยวบนถนนเรสซิเดนซี่ (Residency) เราสอบถามกับเจาหนาทีส ่ ําหรับ ตั๋วรถไปศรีนาคา เจาหนาทีแ ่ นะนําใหลองไปถามกับซอยขางๆที่เปนทีต ่ ั้งของ J&K SRTC (J&K State Road Transportation Corporation) จะมีตวั๋ รถบัสขาย เราออกเดินไปทางซาย ตามถนนประมาณ 2 block เขาไปใน ซอย ทันใดนั้นพบกับความรางของจุดขายตัว๋ (เฮย! ที่นี่มันขายตั๋วจริงปะเนี่ย) เพราะโลง ไมมีนักทองเที่ยว มีคน นั่งอยู 3 คนดานหนาชองขายตั๋ว เราเขาไปถามคนขายตัว๋ ปรากฏไมมีรถนอน สวนรถบัสรอบกลางวันก็ใชเวลา ในการเดินทางนานมาก มีแตรถแชรจี๊ป ซึ่งเราสอบถามแลว การเหมารถแชรจี๊ปไปแค 2 คนหารเฉลี่ยตอหัวจะดู แพงไปเลย ไวไปแชรกับคนอื่นๆที่ทา รถตอนเชาดีกวา และถานั่งแชรจี๊ปแลวนอนไปกลางคืน คงทรมานนาดู เรา จึงตัดสินใจไมไปศรีนาคาคืนนี้ แลวหาทีพักในจัมมู (ซึ่งเปนการตัดสินใจที่ถูกแลว เพราะปรากฏวาถนนจากจัมมู ไปศรีนาคานากลัวมาก ทางผานหุบเขา ไมมีไหลทาง ไปกลางคืนคงอันตรายมาก ไมแนะนําๆ)

Jammu Tourist Center @ Residency Rd.

J&K SRTC จุดขายตั๋วรถบัส


ชางตัดผม หนาที่ขายตัว๋ ของ J&K SRTC เรา walk in เดินหาโรงแรมแถวนั้นกัน 2-3 ที่ จนเดินมาเรื่อยๆ ไดที่ Hotel Park Inn ใกลๆสํานักงาน ทองเที่ยว ราคาโอเคเลย หองใชได อยูตรงขามราน Coffee Day ดวย เห็นเปาหมายที่นั่งชิววันนี้แลว มานั่งกิน ของเย็นๆที่ Coffee Day ดีกวา ☺ เราเก็บของในหองพักเสร็จ บอกใหพนักงานโรงแรมชวยติดตอรถแชรจี๊ปให เราจะไปแชรกบ ั คนอื่นๆดวยในตอนเชา พนักงานชวยเหลือดี ถาใครมาที่จัมมูแนะนําใหพก ั ที่ถนนเรสซิเดนซี่ (Residency) เพราะบรรยากาศนาพักกวาเสนใกลสถานีขนสงเยอะเลย จากในแผนพับที่หยิบมาจากสํานักงานทองเที่ยว เขาบอกวาเมืองจัมมูเนี่ยเปน The City of Temples เลยนะ แตบายนี้ เราคงไปเที่ยววัดไมไหวแลว เพราะเหนื่อยมาก หาขาวกินกับรานเนตดีกวา เราเดินหา รานอาหารอยูส  ักพัก ก็ไดรานที่นาจะพอถูไถ เราสั่งอาหารกันแบบไมสนใจแมลงวัน (เพราะเริ่มชินแลว)

Jammu – The City of Temples

อาหารมื้อกลางวัน+เย็น

เรากินขาว เลนเนต เดินเลน จนเย็น กลับมาอาบน้าํ ที่โรงแรมและไปนั่งชิวที่ Coffee Day ตรงขาม โรงแรม ดีใจมากไดเจอรานนั่งชิวแลว ในรานมีเปดทีวีชอ  งการแขงขันคริกเกต (Cricket) ซึ่งเปนกีฬาที่ฮต ิ มากที่ อินเดีย มี league ภายในแบบจริงจัง ชื่อทีมก็เทดม ี ี Delhi Daredevils, Kolkata Knight Riders, Mumbai Indians ลูกเด็กเล็กแดง เอย!ลูกเล็กเด็กแดงเลนกันทุกบาน เราหยิบหนังสือพิมพขน ึ้ มาอาน มีขาวบินลาดินถูก สังหารทีป ่ ากีสถานหราอยูบนหนาหนึ่ง (คิดในใจ...หวังวาขาวนีค ้ งไมมีผลกับเราในการเที่ยวทีอ ่ ินเดีย) สักพัก แอบไดยินโตะขางๆคุยกันเรือ ่ งเรียน MBA U top ใน USA (เลิศอะ....จริงๆคนอินเดียไปเรียนตอตางประเทศกัน เยอะมาก) นั่งชิวไปสักพัก ดานหนารานมีการตีกันซะงั้น ตํารวจเริ่มมากันเต็มหนาราน เห็นทาไมดี เลยรีบออก จากราน กลับโรงแรมนอนดีกวา...


ชิวๆที่ราน Coffee Day

นัง ่ อาน KASHMIR TIMES

นั่งดูกีฬาคริกเกต --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------คริกเกต (Cricket) เปนกีฬาชนิดหนึ่ง มีคนเลนทีมละ 11 คน ทีม A จัดใหคนหนึ่งเปนผูขวางลูก เรียกวา bowler ทําการขวางลูกไปยังไมที่ตั้งไวบนสนามสามอัน เรียกวา wickets ซึ่งทีม B จัดคนมารักษา คนที่รักษา wickets เรียกวา batsman และไมที่ถอ ื ตีลูกเรียกวา bat ถาตีถก ู ลูกก็วิ่งวนไปเพื่อเอาแตม เรียกวา runs จนกวาพวกของทีม A ที่อยูในสนาม คือ fielders จะนําลูกกลับมาได

Indian Premier League (IPL) professional league in India Team Name City Mumbai Indians Mumbai


Royal Challengers Bangalore Hyderabad Deccan Chargers Chennai Super Kings Delhi Daredevils Kings XI Punjab Kolkata Knight Riders Rajasthan Royals Pune Warriors India Kochi Tuskers Kerala

Bangalore Hyderabad Chennai New Delhi Mohali Kolkata Jaipur Pune Kochi

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------สําหรับผูท  ี่ยังไมมั่นใจในความปลอดภัยที่จัมมู & แคชเมียร ใหตรวจสอบขาวสารไดทเี่ วบไซดดานลาง แตโดยปกติถา สถานการณบา นเมืองสงบ ที่นี่ก็ไมไดอันตรายมากไปกวาเมืองอื่นๆในอินเดีย (เอะ!..ยังไง) - Daily Excelsior (www.dailyexcelsior.com) - Greater Kashmir (www.greaterkashmir.com) - Kashmir Herald (www.kashmirherald.com) - Kashmir Times (www.kashmirtimes.com) - IndiaMike (www.indiamike.com/india/jammu-and-kashmir-f30) ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------สถานที่ทองเที่ยวในเมืองจัมมู (Jammu)

Raghunath Mandir

Amar Mahal Palace


Bahu Fort

Jammu Aquarium


Day 7 – On the High Way to Srinagar วันที่ 7 - ไปศรีนาคาแบบถึกๆ

แผนที่การเดินทางโดยรถ จากจัมมู (Jammu) ถึง ศรีนาคา (Srinagar) เชาตรูอันเงียบสงบ เราใหพนักงานโรงแรมติดตอใหรถตุก  ๆ มารับที่โรงแรมไปจุดแชรแทกซี่ (SharedTaxi) เพื่อขึ้นรถไปศรีนาคา (Srinagar) จุดนี้มีรถแชรแทกซี่ที่จอดรออยูต  รงวงเวียน หนาปมน้าํ มันหลายคัน รถ จะรอจนคนขึ้นเต็ม คันหนึ่งรับไดมากทีส ่ ุดประมาณ 8 คน เราไปถึงมีคนชิงนั่งตอนกลางของรถไปกอนซะแลว เปน พอ แมและลูกอีก 2 คน เลยตองไปนั่งหลังซึ่งเปนทีน ่ ั่งแบบหันขาง (ตอนนั้นก็ดน ั ไมไปนั่งขางหนาขาง คนขับ ทั้งๆที่ใน lonely planet ก็มีเตือนไวแลวแทๆวาอยานั่งเบาะหลัง สรุปสิ่งที่เคยไดยิน ไดฟง ไดอา น คํา เตือนในหนังสือที่มี เราไดทาํ การแหกกฎมันมาหมดเลย หึๆ ดีจริงๆ)


ถนนวางๆยามเชา

ปม  น้ํามัน

รถออกเดินทางไปไดสักประมาณ 1 ชม. เริ่มมึนหัวตึบ ๊ อยากจะเปลี่ยนไปขึ้นเครื่องบินแทนโดยดวน อยากวาบ (หายตัวไปอีกจุดหนึ่ง) จริงๆเรามีติดตอโรงแรมที่ศรีนาคาไวกอ  นมาอินเดีย ชื่อ โรงแรมสวิส (Hotel Swiss) เขาแนะนําเราวาการเดินทางจากจัมมูมาศรีนาคาไมควรมาทางรถยนต เพราะใชเวลานาน แตเราก็ไมคด ิ วามันจะทั้งนานและทรมานขนาดนี้ คนขับก็ขับฉวัดเฉวียดมาก เฉียดนิดนึงนี่ ตกเขาไปแลว (ขอไมมาอีกแลวนะ เสนนี้) อีกทั้งเรานั่งหันขางในรถกันดวย ถนนก็มล ี ักษณะขึ้นๆลงๆหุบเขาจนเวียนหัว เสนทางหวาดเสียว ขอ แนะนําทุกทานวา การเดินทางจากจัมมูไปศรีนาคาใหไปทางเครื่องบินดีที่สด ุ คะ รถหยุดพักจอดกินขาวเชาทีข ่ างทางประมาณครึ่งชัว่ โมง ซึ่งอยากแวะกินเยอะๆตุนไวเหมือนกัน แตกลัว จะขยอนออกมาซะกอน เลยกินแคนิดๆ น้ําก็ตอ  งจิบๆ เพราะเดี๋ยวจะหาหองน้ํายาก (เฮอ!) ผูรวมทริปบอกวา เขาชนไก ยังไมลําบากขนาดทริปนี้เลย....เฮยยยย ขนาดนั้นเลยหรอออ นี่ฉันจบทริปกลับไปถึงเมืองไทย จะ เหมือนเรียนจบหลักสูตร รด.ที่เขาชนไกมาแลวเลยไหมเนี่ย (ผูรวมทริปยังบอกอีกวาอยางนอยเขาชนไกกไ ็ ม โกงใหปวดใจ ตึง!)

จุดแวะพักกินขาวเชา

ตําแหนงเบาะหลังอันทรมานของพวกเรา

ขับขึ้น-ลงเขา จนเวลาเกือบเที่ยง คนขับแวะรับคนอีก 2 คนระหวางทาง มายกอตตต! ตองขึ้นมาเบียด กับเราเบาะหลังแนๆเลย แลว 2 คนนั้นก็มานั่งขางๆเราจริงๆดวย นั่งเบียดกันอบอุน ตางคนตางผลัดกันหลับ เรา เมื่อยเลยมีแอบไปพิงแขกเปนระยะ รถโยกไปมาจนไปซบแขก เดงหัวกลับแทบไมทน ั หลับอีกรอบ สัปหงกจน หัวไปเขกเขาคนตรงขาม ดังปกเลย อาการหนักจริงๆ ณ จุดนี้ ระหวางทางจะมีฝูงแพะขางถนนเปนระยะ ใหรถหลบไปมา หวาดเสียวเลนๆ (เฮือก!) ขับมาจนบายแกๆ รถหยุดจอดที่ดา นตรวจดานหนึ่งกอนถึงศรีนาคา ตอนนั้นก็งงๆวาจอดทําไม แลวเราตองลงไปตรวจอะไรไหม คนขับก็ไมอธิบายใดๆ เราเลยเดินลงจากรถเพื่อหาหองน้ํา แตไมมีหอ  งน้ํา เฮอ! เอาไวตอนจอดคราวหนาก็ได


แถวนั้นทหารเต็มเลย แอบกลัวๆอยูเหมือนกัน เราเดินหาหองน้ําแถวนั้น จนเขาเรียกไปตรวจ passport ในปอม ซึ่งระหวางนั้นรถทุกคันจอดตอคิวกันยาว เพราะดานกั้นไมใหผาน ซึ่งเรายังไมรูอยูดีวา เขาจอดทําอะไร กัน นึกไปตางๆนานาวามีรถเสียขางหนารึปา ว? หรือเกิดอะไรขึ้นที่ถนนขางหนา?

ฝูงแพะขางทาง

ดานกอนถึงศรีนาคา

สักพักไดยินเสียงรถเบรกดังเอี๊ยด ลั่นเลย หันไปขวับ ชอค คะ ชอค เห็นเด็กนอย กลิ้งขลุกๆ ออกมา จากลอหนารถทีเ่ บรก ตอนนัน ้ แบบ....อาปากคาง พรอมกับ อึ้ง! แตเห็นเด็กลุกขึ้นมาได คอยโลงหนอย เด็ก นอยเกือบโดนสอยไปซะแลว พอแมของเด็กนอยวิ่งเขามาอุมลูกอยางหนาตาตื่น โชคดีมากที่ไมเปนอะไร เพราะรถคันนั้นเบรคทัน อีกนิดเดียวก็เกือบจะไปอยูใตลอ  แลว ชอคสุดๆ เพราะเห็นคาตาพอดี พอแมอุมขึ้นรถ ปลอบกันใหญ คนแถวนั้นกันชอคกันเปนแถว จนกระทั่งรถไดเวลาเคลื่อนตัว คนขับเรียกทุกคนขึ้นรถ ทุกคนเขา ไปอยูในรถ พรอมเดินทาง พอขับมาไดสก ั พัก ออ...เขาใจละ กําลังมีการกอสรางทําอุโมงคลอดภูเขาอยู ทําให เหลือเพียงเลนเดียว ดังนั้นรถอีกฝงตองหยุดรอกัน

เด็กนอยทีเ่ กือบจะโดยรถทับซะแลว

พอแมของเด็กกําลังปลอบลูกในรถ

ใกลเขาศรีนาคาแลว รถจอดพักกินขาวกันอีกรอบที่จุดพักรถ เราแวะกินขาวกึ่งกลางวันกึ่งเย็นกันที่นี่ เมล็ดขาวที่นี่ เริ่มตางจากขาวที่เดลลีอยางชัดเจน เมล็ดขาวดูอว นทวนกวามาก (แตขาวหอมมะลิเมืองไทยอรอย กวาอยูดี อิๆ) ระหวางกินขาว เจาของรานอาหารพยายามมาตะลอมเราใหไปพักบานเรือ (Houseboat) ของนอง เขาในทะเลสาบดาล (Dal Lake) แลวเขาก็เอาอัลบั้มรูปมาใหดู เปนรูปบานเรือสวยงามเลยเปน House Boat A Class เขาเสนอลดราคาใหพิเศษ พรอมยื่นนามบัตรให ตอนนั้นเราปรึกษากันวา จะลองดูไหม แตเราไดอีเมลไป จองหองคืนนี้กับ Hotel Swiss ไวแลวกอนมาอินเดีย เปนโรงแรมใกลทะเลสาบดาล ไมใชบา นเรือ แตถาเราตก ลงจะไปนอนบานเรือวันนี้ เราตองโทร.หรือเมลไปยกเลิกที่ Hotel Swiss กอนนะ (ตอนหลัง เรารูสก ึ แยมากๆ ที่ ไมไปนอนที่ Hotel Swiss ตามที่อเี มลกันไว) ตองยอมรับวาเขาเจรจาและพูดจนเราคิดวาเขานาจะโอเคไมโกง เรา (เราก็หลงเชือ ่ ซะงั้น! ทั้งที่ พอนึกอีกที เออ...เหมือนเราเคยเจอเหตุการณนี้มาแลวนิ ที่เวียดนาม!) เขา


ขอใหเราวางมัดจํา 200 รูปกอน ซึ่งเราขอใหเขายืนยันอีกทีวาราคานี้ไดบานแบบนีแ ้ นนะ ถาเราวางมัดจํา 200 รูปไปแลว เราไมไดตามที่เราตองการหรือตามทีต ่ กลง คุณตองคืนเงินและใหเราไปเลือกโรงแรมอื่นๆ เขาก็ตก ลงโอเค แนนอน ยืนยันกับเรา เขาบอกวาเดี๋ยวนองเขาจะมารับระหวางทาง เขาพูดคุยกับคนขับเสร็จสรรพ เรียบรอยวาจะใหนอ  งเขาไปรับเราที่ไหน (ซึ่งเราก็ฟงไมออกอานะ) หลังแวะพักกินขาว เพียงไมนาน เราก็โดนหวานลอมจนหลงกลไปซะแลว ซึ่งตอนนัน ้ เรายังไมรูตัว! หลังรถเดินทางออกมาจากจุดแวะพัก ผูคนตามถนนหนทางเริ่มออกไปทางแขกขาวตะวันออกกลาง

จุดแวะพักกอนถึงศรีนาคา

บรรยากาศมุมหนึ่งในรานอาหาร (ของจะหลนใสหัวไหม?)

เจาของรานที่พยายามเสนอที่พัก

บรรยากาศขางทางกอนถึงศรีนาคา

เด็กนักเรียนกําลังเดินกลับบาน


นองของเจาของรานอาหาร (ซึ่งตอไปเราจะขอเรียกวา พี่ชายคนกลาง) มารับเราระหวางทาง เราขน ของลง ยายไปรถอีกคัน ซึ่งเพื่อนรวมทางทายรถ 2 คนทีน ่ ั่งเบียดกับเราตลอดเวลาหลายชม. คงคิดวา... ชาวตางชาติพวกนี้ เสร็จไอพวกนี้มันอีกแลวเปนแน หึๆ เรายายมาขึ้นรถตูค  ันที่นองชายเจาของรานอาหารมารับ ซึ่งเปนคนทีห ่ นาฝรั่งมาก หนาตาดีเลย รถขับจนเขามาถึงใจกลางเมืองศรีนาคา ริมทะเลสาบดาล (Dal Lake) ซึ่งเราตองขึ้นเรือชิคารา (Shikara) ตอไปอีก เพือ ่ ไปยังที่พักบานเรือ (Houseboat) ในทะเลสาบดาล ที่นี่อากาศเย็นๆ (~18 องศา) ก็ ชิวๆดีเหมือนกัน

เพื่อนรวมทางจากจัมมู

ยายมาขึ้นรถตูคันนี้

บรรยากาศในเมืองศรีนาคา (Srinagar) ที่นี่...ริมทะเลสาบดาล เราไดพบกับ นองชายคนเล็ก เปนนองของเจาของรานอาหารอีกคนหนึ่ง.....ไมรู นองจริงๆกันหรือปาว เพราะทุกคนหนาตาคลายกันไปหมด แยกไมออก แลวเขาทักทาย หรือแนะนําตัวกัน ก็ บอกคนนูน He is my brother. ….คนนี้ He is my brother. ตกลงเลยไมรูคนไหน นองจริงนองปลอมกันแน! ตอจากนี้ไป ตัวละครในเหตุการณที่ Houseboat จะมีหลักๆ 3 คน คือ 1. พี่ชายคนโต = เจาของรานอาหาร (ที่ตะลอมเรากอนเขาเมืองศรีนาคา) 2. พี่ชายคนกลาง = คนที่ไปรับเรากลางทางแลวขับรถสงในเมืองและเปนเจาของ Houseboat 3. นองชายคนเล็ก = จะเปนคนดูแลคนที่พก ั ใน Houseboat


เรือชิคารา (Shikara)

พี่ชายคนโต /พี่ชายคนกลาง / นองชายคนเล็ก เราลงจากรถ ขนของลงเรือชิคารา โดยมีนองชายคนเล็กมารับ เรือคอยๆพายออกจากฝงไปยังที่พัก.... เอิ่ม..ที่พักอยูในหลืบมาก (เฮย! คุณบอกเราวา easy to go to the center) จนมาถึงหนา Lucky Peacock Houseboat ตามที่เจาของรานอาหารบอกไว เรามองดูทพ ี่ ักจากบนเรือชิคารา...ก็โอเคนะ เหมือนรูปในอัลบั้มที่ เขาเอาใหเราดู (เหมือนจะไมไดเลวรายอะไร...) เขาพาเราขึ้นบนเรือ ซึ่งมีทาขึ้นสวนกลางเชือ ่ มระหวางเรือ Lucky Peacock กับ เรือโทรมๆอีกลําหนึ่ง ทาตรงกลางเปนเหมือนชานเรือนที่ยื่นออกมามีโตะและที่นั่งทีเ่ ชือ ่ ม ระหวางเรือทั้งสอง และเปนทางเดินไปขางหลังเพือ ่ ขึ้นบก แตนองชายคนเล็กและชายกลาง พาเราไปเรือขางๆ ที่โทรมๆหนอย (เฮย! เริ่มไมชอบมาพากลแลว) ใหเรานั่งรอ ระหวางรอที่เรือโทรม...รอไปสักพัก ไมมใี ครมาสักที เราเลยไปเดินหาเอง เพือ ่ เรียกนองชายคนเล็ก และพี่ชายคนกลางที่เรืออีกลําหนึ่ง พบวาเรืออีกลําทีด ่ ูดก ี วา (Lucky Peacock Houseboat) ยังมีคนพักอยูบน เรือ เราโผลเขาไปในเรือเจอคูสามี ภรรยาชาวฝรั่งเศส เขาทําหนางงๆเมือ ่ เห็นเรา เราก็ตกใจ เลยเดินออกมา สวนทีเ่ รือโทรมก็มค ี นพักอยูเ หมือนกัน เพราะใน Houseboat เขาจะแบงเรือเปนหองๆ อยูไดหลายคน คนที่พก ั อยูเดิมในเรือโทรม เปน Backpacker ฝรั่ง 2 คน ผูหญิง 1 ผูชาย 1 กําลังนั่งฟงพอคาที่มาขายสินคาบนเรืออยู สักพักนองชายคนเล็กเดินมาหาเรา เขาจะใหเราพักเรือโทรม (เฮย!) เราเถียงไปวา พี่ชายคุณที่ รานอาหาร ตกลงกับเราดวยภาพในอัลบั้มซึ่งเปนเรือ Lucky Peacock Houseboat ดวยราคานีด ้ วย เรายื่น นามบัตรซึ่งมีภาพเรือ Lucky Peacock Houseboat ดานหลังใหดู พีช ่ ายคุณบอกวาจะใหเราพักที่ lucky Peacock ซึ่งคุณดูก็รูวามันคนละเกรดกับเรือลําโทรมนี้ นองชายคนเล็กเถียงกลับ บอกวา Lucky Peacock นะ เต็มแลว แลวที่นั่นก็ราคาแพงกวา คุณตองจายเพิ่ม ถาคุณจะพัก (เฮย!) จายเพิ่มอะไรกัน พี่ชายคุณเปนคนบอก


กับพวกเราเองวาเปนที่ราคานี้ไดบาน Class A เราคุยกับนองชายคนเล็กจนเหนือ ่ ย (เหนื่อยมาก เหนือ ่ ยจน ภาษาอังกฤษจําเปนตองแข็งแรง) งั้นเราจะไปพักทีอ ่ ื่น ชวยพาเราไปหนอย นองชายคนเล็กบอกไมไดๆ อยา เพิ่งไปไหน เดี๋ยวเราจัดการใหคุณเองไมตองกลัว รอคุยกับพี่ชายผมแลวกัน เมือ ่ กีเ้ พิ่งเดินออกไปขางนอก เดี๋ยว มา เราก็เลยตองรอ เพราะไมรูจะออกไปยังไง....เฮออออ พอพี่ชายคนกลางมา เขายังยืนยันวา ไมไดหรอก ที่พักอีกที่ราคาแพงกวา เขายื่นใบราคาใหดู ซึ่งในใบ นั้นราคาแพงกวาจริง แตเราไมไดโกรธที่ราคามันแพงกวา เราโกรธที่คุณบอกอีกอยาง แตใหเราอีกอยาง ถาเรารู เราคงไมพักกับคุณ เพราะคุณกลับกลอกมาก แลวทีเ่ รือ Lucky Peacock ก็มีคนพักแลว คืนนี้ยังไงก็พักไมได (ถาคุณรูวา ที่พก ั มันเต็มแลว คุณจะยัดเยียดใหเรามาพักอีกทําไม ถาคุณไมคด ิ จะโกงอยูแลว) เอาไงดี...ตอนนีก ้ ็ เริ่มเย็นมากแลวดวย ถึงแมฟายังสวางอยู แตนี่กเ็ กือบ 1 ทุมแลว แลวเขาก็ไมปลอยเราไปดวย ไมยอมพายเรือ ไปสงที่ฝง เราจะเดินออกทางขางหลังไปเองก็ไมไดเพราะเราไมรูวา ตรงนี้มันอยูต  รงไหนของทะเลสาบ ทางออก อยูตรงไหน สวนจะใหขึ้นเรือหนีไปก็ไมได เพราะเรือแถวนี้คงเปนพวกกับมันหมด จนมันมีไมเด็ด (อีกแลว) พีช ่ ายคนกลางเสนอขายทัวรมาซึ่งเปนราคาที่แพงหนอย แตนาสนใจ เราตก ลงกันวางั้นเราจะซือ ้ ทัวรคุณ แตเราไปพักที่อื่นไดไหม เราขอพักที่นี่ คืนเดียว (แลวปลอยเราไปเถอะ -*-) เขา บอกวา ไดๆ ไดแนนอน ถาคุณอยากไปพักในเมือง เราเอารถไปรับได เราก็ตกลงไป จากนั้นเขาใหเราเขียนใน กระดาษ เหมือนเปนสัญญาตกลงทัวร ซึ่งตองมัดจําเงินบางสวน ใหเซ็นกํากับดวย (พลาดๆๆ มาก เราเซ็นทั้งๆที่ คิดวามันนาจะดี มันจะไดไมโกงเรา แตกลับการเปนวา มันดันผูกมัดตัวเรา รวมทั้งในใบ ไมไดเขียนเรื่องการ รับประกันวาเราสามารถยกเลิกทัวรได ถาไมโอเค เราตกลงกันวาสามารถยกเลิกทัวรไดแคเพียงปากเปลา ซึ่ง ตอนหลังพอไมมีเขียนในสัญญา มันก็ทาํ เปนไมรูเรื่อง My God! รายมาก) จากทีเ่ ราเถียงจนคอเปนเอ็น มันก็เริ่มยื่นขอเสนอตางๆนานา ใหเรายายมาพักที่ Lucky Peacock เลย พรุงนี้ คุณจายเพิ่มอีดนิดหนอย ลดราคาใหพเิ ศษเลย เพือ ่ upgrade ไปอยูเรืออีกลํา แตขอใหอยูต  อที่นี่ (ได ขาววา...ตอนแรกแกตกลงกับฉันเปนลํา Lucky Peacock มิใชรึ) เราก็บอกวา เราขอดูกอ  น จริงๆแลวเราอยาก ไปพักในเมืองแลว เราอยากเลนเนต อยากเดินตลาด มันรีบบอกทันทีเลยวา เลนเนตที่นี่ไดสบายมาก เดี๋ยวผม เอาโนตบุค  ผมมาตอเนตใหเลนฟรีเลย เราก็บอกวา จริงหรอ มันบอกวา จริงๆ แลวราคาทีค ่ ุณจายเงินมาเนี่ย เรา มีอาหารใหดวยนะ แมผมทําเองเลยเนี่ย อรอยมาก เราคิดในใจ จริงหรอ จากนั้นเราเลยเอาของไปเก็บในหอง ทําใหพบวา หองกากกวาทีค ่ ิด!!!! โดยเฉพาะหองน้าํ กากมาก! ตองยอมรับวา พี่ชายคนกลางเปน Negotiator (ผูเจรจาตอรอง) มาก เพราะพูดลื่นไหล ทําใหเราเออ ออไปกับมันไดซะงั้น และเปนคนที่ปา แตปาแบบทําไดจริงบาง ไมไดบาง โมบาง ทําใหเขาดูเหมือนอยูเ หนือ เราตลอด มีแผนทีค ่ ด ิ ไวแลวตลอด เหมือนมีหลุมพรางทีส ่ รางดักรอแลว คุยกันแลวเหนื่อยมาก แลวทีส ่ ําคัญ คือ นองชายคนเล็กจะไมเจรจาคุยกับเราใดๆทั้งสิ้น ถาเราจะคุยเรื่องตอรอง ตกลงราคา นองชายคนเล็กจะสงตอให รอคุยกับพีช ่ ายคนกลางอยางเดียว ซึ่งก็เปนเทคนิค เพราะนองคนเล็กคงเหมือนรูตวั เองวาถาเขาคุยกับเราแลว เขาจะเถียงไมขึ้น ไมมท ี างไป จนเกือบจะยอมปลอยเราไป เลยสงตอใหพช ี่ ายคนกลางตลอด สรุป...บานนี้ สุด ยอดจริงๆ โดยเฉพาะ พีช ่ ายคนกลาง Negotiator ตัวจริง! ตอนนี้เราเหมือนติดเกาะยอมๆอยูใ นทะเลสาบ

Lucky Peacock Houseboat (ซึ่งไมแนะนํา)


ทางเชื่อมบานเรือทั้งสอง ฝงซายในรูปเปนเรือโทรม ฝงขวาเปนเรือที่ดูดก ี วาชื่อเรือ Lucky Peacock Houseboat

ดานนอกเรือลําโทรม

ฝรั่งแบคแพคที่ดูงงๆกับชีวิต

จากคุยตกลงกันจนเหนือ ่ ย เราไปนั่งเรือชิคาราทัวรรอบทะเลสาบกอนกลับมากินขาว อากาศคอยๆเริ่ม เย็นมากขึ้น ถึงแมจะทุมกวาๆแลวแตฟา ยังสวางอยูมาก ที่นี่เราเลยกินขาวชาไปโดยปริยาย เรือแลนผาน Houseboat ที่มีอยูมากมายในทะเลสาบ มุงหนาไปไปสวนเนรู (Nehru Park) ซึ่งเปนเหมือนสวนหยอมเล็กใน ทะเลสาบ มีรานขายของกลางน้ําดวย พอคาพยายามพายเรือมาเทียบกับเรือเราเพื่อขายของให แบบใกลชด ิ เลย ทีเดียว (ไมอาวววว) เรือจอดแวะใหเราเดินเลน ถายรูปที่สวนหยอมเนรูปารคสักพัก บรรยากาศดีมาก มีภเู ขา ลอมรอบทะเลสาบ พระอาทิตยกําลังจะลับขอบฟาพอดี อากาศตอนนี้ประมาณ 13-14 องศาได จากนั้นเรือพา แลนไปยังตลาด(น้ํา) ประมาณตลาดน้าํ อัมพวา คือมีรานขายของอยูริมฝงสองขาง แตเปนระยะทางไมยาวนัก สั้นๆ สวนใหญจะเปนรานขายเสื้อผา ทองฟาเริ่มมืดแลว เรือพายออกจากตลาด มาถึงรานขายพรมและของที่ระลึกระหวางทาง จากนั้นเรือ จอดใหเราลง (เฮย!) เขาขอใหเราลงไปดูกอน ไมซื้อไมเปนไร (ก็คงเหมือนเดิม เปนรานที่ตกลงกันไวแลว เปน จุดใหมาแวะเหมือนทีอ ่ ค ั รา) เราบอกผานสําหรับวันนี้ ไมไหวแลวจริงๆ เราเหนื่อยมาก เอาไววันหลังแลวกันนะ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.