Gallbladder
Pancreas Small intestine
ความรู้้�เบื้้�องต้้นเกี่่�ยวกัับ
การผ่่าตััดถุุงน้ำำ��ดีี • การผ่่าตััดถุุงน้ำำ��ดีี • การรัักษา • ความรู้้�ทั่่�วไป อาการ • ความเสี่่�ยง ข้้อแทรกซ้้อน การตรวจเพิ่่�มเติิม • การเตรีียมผ่่าตััด
ทีีมดููแลผู้้�ป่่วยศััลยกรรม โรงพยาบาลเซนต์์หลุุยส์์
ทบทวนโดย : นพ.ณรงค์์ศัักดิ์์� จงศิิริิ หััวหน้้าแผนกศััลยกรรม โรงพยาบาลเซนต์์หลุุยส์์
ความรู้้�เบื้้�องต้้นเกี่่�ยวกัับการผ่่าตััดถุุงน้ำำ��ดีี
• • • • • • •
การผ่่าตััดถุุงน้ำำ�ดี � ี ความรู้้�ทั่�ว่ ไป, อาหาร, การตรวจ แนวทางการรักษา ความเสี่ยง, ภาวะแทรกซ้อน การเตรียมตัวผ่าตัด การปฏิบัติตัว – หลังผ่าตัด การควบคุมการปวด
การผ่่าตััดถุุงน้ำำ��ดีี (Cholecystectomy)
คือ การตัดถุงน�้ำดีทั้งถุงออกจากร่างกาย เนื่องจาก นิ่วในถุงน�้ำดี ซึ่งท�ำให้มีอาการปวดหรืออักเสบ อาการ • ปวดท้องด ้ า นขวาบน อาจมี ป วดร ้ า วไปหลั ง , ไหล่ด้านขวา, กลางท้อง • อาจมีไข้ • อาการแน่นอืดท้อง, คลื่นไส้ • ตาเหลือง, ปัสสาวะเหลืองได้ ถ้านิ่วลงมาอุดใน ท่อน�้ำดี
2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการผ่าตัดถุงน�้ำดี
การผ่่าตััด
1. การผ่าตัดแบบเจาะโดยใช้กล้อง 2. การผ่าตัดแบบเปิด ข้้อดีีของการผ่่าตััดและข้้อแทรกซ้้อน
๏ ข้้อดีี ลดอาการปวด, รักษาภาวะอักเสบติดเชือ้ , ก�ำจัดนิว่
๏ ข้้อแทรกซ้้อนที่่�อาจเกิิดขึ้้�น
ความรู้้�ทั่่�วไป อาการ การตรวจเพิ่่�มเติิม • ผู้ป่วยหลายคนที่มีนิ่ว อาจจะไม่มีอาการ • นิ่วถุงน�้ำดี มักเกิดใน - ผู้ที่มีประวัตินิ่วในถุงน�้ำดีของคนในครอบครัว - น�้ำหนักมาก - ชาวตะวันตกโดยก�ำเนิด - ลดน�้ำหนักอย่างรวดเร็ว - ใช้ Hormone estrogen เพื่อรักษาภาวะหมด ประจ�ำเดือน - ประวัติโรคเลือดบางชนิด • ปวดท้องถุงน�้ำดี มักจะเป็นชัว่ คราว เริม่ ปวดกลางท้อง หรือดา้ นขวาตอนบนอาจปวดอยู่ 30 นาที – 24 ชัว่ โมง อาจจะปวดภายหลังกินอาหารประเภทไขมัน • ถ้ามีถุงน�้ำดีอักเสบมักจะปวดนานกว่า 6 ชั่วโมง มีไข้ และกดเจ็บที่หน้าท้องด้านขวาบน • อาการปวดท้องที่ ด ้ า นขวา อาจเกิ ด จากแผล ในกระเพาะอาหาร, ตับ, หรือแม้แต่โรคหัวใจ • การรักษาถุงน�้ำดีอกั เสบ เช่น งดอาหาร, ให้น�้ำเกลือ, ยาแก้ปวด, ผ่าตัด
ท่่อน้ำำ�ดี � ีฉีีกขาด, น้ำำ�ดี � ีรั่่�ว, เลืือดออก, ติิดเชื้้�อใน ช่องท้อง, มีไข้, บาดเจ็บต่อตับ, บาดเจ็บต่อล�ำไส้, ปัญหาจากการดมยาสลบหรืออาจถึงกับเสียชีวิตได้ ถ้าไม่ ผ ่ า ตั ด อาจมี ป ั ญ หา อาการปวดไม่ ห าย หรือแย่ลง ภาวะติดเชื้อรุนแรง ถุงน�้ำดีเน่าหรือแตก อาจถึงกับเสียชีวิต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการผ่าตัดถุงน�้ำดี
3
การรัักษา
ถุุงน้ำำ��ดีี : เป็็นรููปลููกแพร์์ (Pear) อยู่่�ใต้้ตัับ มีีหน้้า ที่่�กัักเก็็บน้ำำ��ดีี ทำำ�ให้้น้ำำ��ดีีเข้้มข้้น : ตับสร้างน�้ำดี ประมาณ 500 – 1,500 ซีซีต่อวัน น�้ำดีช่วยย่อยอาหารไขมัน : ถุงน�้ำดีจะขับไล่น�้ำดีลงมาย่อยไขมัน ผ่านท่อน�้ำดี ลงสู่ล�ำไส้เล็กส่วนต้น นิ่่�วถุุงน้ำำ��ดีี คืือ น้ำำ�ดี � ีที่่�ตกตะกอนกลายเป็็นก้้อน แข็็งในถุุงน้ำำ�ดี � ี ถุุ ง น้ำำ��ดีีอัั ก เสบ คืื อ ภาวะเกิิ ด ถุุ ง น้ำำ��ดีี อัั ก เสบ อาจเฉีียบพลัันหรืือเรื้้�อรััง อาการ - ปวดท้้องจุุกๆ ปวดจี๊๊ด� ๆ ที่่�ท้้องด้้านขวา - ไข้ต�่ำๆ แน่นท้อง คลื่นไส้หรืออาเจียน - ตาเหลือง ปัสสาวะเหลือง ถ้านิว่ เลือ่ น หลุดมาในท่อน�้ำดี การตรวจ ตรวจร่่างกายโดยแพทย์์ การตรวจเลืือด, X-ray - ตรวจเลืือด เม็็ดเลืือด การทำำ�งานของตัับ - Ultrasound ต้้องงดอาหาร 6-8 ชั่่�วโมงก่่อนตรวจ - ERCP, MRCP
4
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการผ่าตัดถุงน�้ำดี
การตััดถุุงน้ำำ��ดีีออก 1. การตัั ด ถุุ ง น้ำำ��ดีี โดยใช้้กล้้อง ใน ปัั จจุุ บัั น เป็็ น ก า ร ผ่่ า ตัั ด ถุุ ง น้ำำ�ดี � ี ที่่� บ่่ อ ย ที่่� สุุ ด แพทย์ จ ะผ่ า ตั ด เจาะหน้าท้องเป็ น รู เ ล็ ก ๆ ประมาณ 3-4 รู แล ้ ว ใส่ อุ ป กรณ์ ถ ่ า ยทอด สั ญ ญาณอุ ป กรณ์ ช ่ ว ยผ่ า ตั ด ต่ า งๆ เพื่ อ ตั ด ถุงน�้ำดี ศัลยแพทย์จะใส่ลมแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เพื่อขยายช่องท้อง เพื่อให้เห็นอวัยวะในช่องท้อง ชัดเจน ถุงน�้ำดีจะถูกน�ำออกนอกช่องท้อง และ ศัลยแพทย์จะปิดรูทุกรเู ป็นจบการผ่าตัด การผ่าตัด จะใช้เวลา 1 - 2 ชั่วโมง ในบางกรณี ศั ล ยแพทย์ จ�ำเป็ นต้ อง เปลี่ยนเป็นการผ่าตัดแบบเปิด ถ้าพิจารณาแล้วว่า ไม่สามารถจะท�ำผ่าตัดแบบส่องกล้องต่อไปได้ 2. การผ่่าตััดถุุงน้ำำ��ดีีแบบเปิิด ศััลยแพทย์์ จะเปิิดแผลที่่�หน้้าท้้องด้้านขวาบน ยาวประมาณ 6 นิ้้�ว และต้้องตััดไขมัันกล้้ามเนื้้�อลงไปถึึงถุุงน้ำำ��ดีี และตััดถุุงน้ำำ�ดี � ีออกแล้้วเย็็บปิิดหน้้าท้้องเป็็นชั้้�นๆ ศัั ล ยแพทย์์ อ าจจะใส่่ ท่่ อ ระบาย (ท่่ อ พลาสติิ ก ) การผ่่าตััดใช้้เวลา 1-2 ชั่่�วโมง • Conversion rate โอกาสที่ ศั ล ยแพทย์ จ ะเปลี่ ย นจากการ ผ่าตัดแบบส่องกล้องเป็นการผ่าตัดแบบเปิด - ในผู้ป่ ว ยที่ ไ ม่ มี ก ารอั ก เสบ อายุ น้ อย ไม่เคยผ่าตัดช่องท้องมาก่อน มีโอกาสน้อยกว่า 1% - ในผู้ป่ ว ยที่ มี ก ารอั ก เสบ, เพศชาย, อายุมากกว่า 50 ปี, ผู้ป่วยที่เคยผ่าตัดช่องท้อง มีโอกาสสูงถึง 30 %
ความเสี่่�ยง ข้้อแทรกซ้้อน ความเสี่่�ยง 1. ปอดอักเสบ
เปอร์์เซ็็นต์์ความเสี่่�ยง (%)
ข้้อควรทราบ
แบบเปิด ส่องกล้อง
1.7% 0.2 %
• บ้วนปากและแปรงฟัน ก่อนการ ผ่าตัด (เพื่อลดปริมาณแบคทีเรีย ในช่องปาก) • หยุดสูบบุหรี่ 2 สัปดาห์ก่อนการ ผ่าตัด • ลุกเดินบ่อยๆ ในช่วงหลังผ่าตัด
2. หัวใจหยุดการท�ำงานกระทันหัน แบบเปิด ส่องกล้อง
0.7% 1%
• ผู้ป่วยที่มีโรคหัวใจ, ปอด เดิม จะมีผลต่อการดมยาสลบ
3. แผลติดเชื้อ
แบบเปิด ส่องกล้อง
7.6% 1%
• ในผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงจะให้ยา ปฏิชีวนะก่อนผ่าตัด • ผู้ป่วยควรท�ำความสะอาด หน้าท้องด้วยสบูก่ อ่ นคืนวันผา่ ตัด
4. การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
แบบเปิด ส่องกล้อง
1.5% 0.5%
• ในบางกรณีต้องมีการใส่สาย สวนปัสสาวะ ภายหลังน�ำสาย ออกอาจท�ำให้มีอาการเจ็บได้ โดยเฉพาะผู้ป่วยชายสูงอายุ
5. ภาวะเลือดด�ำแข็งตัวที่ขา, ปอด แบบเปิด ส่องกล้อง
1% 0.1%
• การผ่าตัดที่ใช้เวลานาน, นอนนานๆ จะเพิ่มความเสี่ยง • ป้องกันโดย -ใส่ถุงรัดขา - เดินบ่อยๆ 5 ครั้ง ต่อวัน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการผ่าตัดถุงน�้ำดี
5
ความเสี่่�ยง ข้้อแทรกซ้้อน (ต่่อ) ความเสี่่�ยง
เปอร์์เซ็็นต์์ความเสี่่�ยง (%)
6. บาดเจ็บต่อท่อน�้ำดี
แบบเปิด ส่องกล้อง
0.5% 0.5%
7. นิ่วตกค้างในท่อน�้ำดี
แบบเปิด ส่องกล้อง
4-40% 4-40%
8. ไตวาย
แบบเปิด ส่องกล้อง
0.9% 0.1%
9. Death
แบบเปิด ส่องกล้อง
0.8% 0.1%
6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการผ่าตัดถุงน�้ำดี
ข้้อควรทราบ • อาจเกิดตั้งแต่สัปดาห์ที่ 1 - 6 เดือน • อาการ มีไข้ ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ตาเหลือง น�้ำดีรั่ว • ต้องตรวจพิเศษเพิ่มเติม อาจต้องผ่าตัดซ�้ำ • ช่วงหลังผ่าตัด นิ่วอาจเคลื่อน เข้ามาในท่อน�้ำดีและอุดตัน • นิ่วในท่อน�้ำดี ส่วนใหญ่ต้องน�ำ ออกโดยวิธีส่องกล้อง • โรคไตเดิมของผู้ปว่ ย, DM TYPE I, อายุ > 65 ปี • ยาเดิมที่ผู้ป่วยกินอยู่ อาจเพิ่ม ความเสี่ยงขึ้น • ทีมผ่าตัดจะพยายามเตรียม ผู้ป่วยเพื่อลดความเสี่ยงต่างๆ
การเตรีียมผ่่าตััด
ยาที่่�กิินประจำำ� - น�ำยาทีก่ นิ ประจ�ำมาด้วย หรือน�ำบัญชีชอ่ื ยาทีก่ นิ ประจ�ำทุกชนิดแล้วแจ้งให้ทีมผ่าตัดทราบ ซึง่ ยาบางชนิดมีผลต่อการผ่าตัด การดมยาสลบ ซึง่ บางชนิดมีความจ�ำเป็นต้องหยุดก่อนผ่าตัดเป็นเวลา หลายวัน - ยาที่กินประจ�ำ (ยกเว้นยาที่แพทย์ก�ำหนดให้หยุดก่อน) สามารถกินได้ในวันผ่าตัด พร้อมน�้ำไม่เกิน 50 cc. การดมยาสลบ - ต้้องแจ้้งแพทย์์ก่่อนการผ่่าตััด ถ้้าเคยมีีปััญหาตอนดมยาสลบจากการผ่่าตััดครั้้�งก่่อน - อาการแพ้, โรคทางระบบประสาท (ลมชัก, อัมพฤกษ์), หัวใจ, ปอด, หอบหืด, ถุงลมโป่ง, โรคต่อมไร้ท่อ เช่น เบาหวาน, ไทรอยด์ - ฟันโยกคลอน, สูบบุหรี่, ดื่มแอลกอฮอล์, หรือมีประวัติ คลื่นไส้ อาเจียน ตอนดมยา - ถ้าสูบบุหรี่ ควรแจ้งให้ทีมผ่าตัดทราบ ถ้าหยุดบุหรี่ก่อนผ่าตัด 2 สัปดาห์ จะช่วยลดปัญหา ภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัดได้ การนอนโรงพยาบาล - ผู้้ป่� ว่ ยมัักจะต้้องนอนค้้างโรงพยาบาล 1 – 2 คืน ถ้าไม่มปี ญ ั หาภาวะแทรกซอ้ นวันผา่ ตัด - ผู้ป่วยจ�ำเป็นต้อง งดน�้ำและอาหาร อย่างน้อย 6 ชั่วโมง เริ่มตั้งแต่......................... - อาบน�้ำ ท�ำความสะอาดหน้าท้อง ทั้งหมดจนถึงขาหนีบด้วยสบู่ - แปรงฟัน บ้วนปาก - อย่ า โกนขน บริ เ วณผ่ า ตั ด เอง, ในผู้ป่วยบางคน ทีมผ่าตัดจะใช้มีดโกนไฟฟ้า ก�ำจัดขนบริเวณใกล้เคียงเอง สิ่่�งที่่�ต้้องนำำ�มาวัันผ่่าตััด - บััญชีีรายชื่่�อยา - เอกสารประกัน
การให้้น้ำำ��เกลืือ - ทีีมผ่่าตััดจะแทงเข็็มให้้น้ำำ��เกลืือ เพื่่�อให้้ ยาต่่างๆ ก่่อนการผ่่าตััด เช่่น ยาลดกรด ยาปฏิิชีวี นะ ยาแก้ปวด - ในห ้ อ งผ่ า ตั ด วิ สั ญ ญี แ พทย์ จ ะใส่ ท่อช่วยหายใจ เพื่อควบคุมการหายใจ หลัังผ่่าตััด - ผู้้ป่� ว่ ยจะถููกนำำ�ไปที่่�ห้้องรอฟื้้น� ซึ่่ง� จะมีี พยาบาลคอยวััดความดัันเลืือด ชีีพจร การหายใจ ระดัับออกซิิเจน โดย ใกล้้ชิิด การป้้องกัันปอดบวม และภาวะเลืือดดำำ�แข็็งตััว - การเคลื่่� อ นไหว การหายใจลึึ ก ๆ จะช่วยป้องกันความเสี่ยงนี้ - ทุกๆ ชั่วโมง ควรหายใจลึกๆ 5 - 10 ครั้ง และหายใจลึกค้างไว้ประมาณ 3 - 5 วินาที - ยิง่ การผ่าตัดใชเ้ วลานาน ความเสีย่ งนี้ จะยิ่งมากขึ้น - ควรลุกเดิน 5 - 6 ครั้ง / วัน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการผ่าตัดถุงน�้ำดี
7
วิิสััยทััศน์์ VISION
บ้านแห่งความรักและความเมตตากรุณาของพระเจ้า Home of God’s Love and Compassion
รถประจ�ำทางที่ผ่าน รถไฟฟ้า BTS
17 77 149 สถานีสุรศักดิ์
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ได้ที่ : แผนกศัลยกรรม ชั้น 3 อาคารร้อยปีบารมีบุญ โทรศัพท์ 02 838 5555 ต่อ 10340-1 02 838 5568 (สายตรง) 8
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการผ่าตัดถุงน�้ำดี
I0012-01-1220