สารเสพติด

Page 1

1


2

คำนำ ในปัจจุบันนี้ควำมก้ำวหน้ำของเทคโนโลยีมีควำมจำเป็นต้องเรียนรู้เพื่อให้ก้ำวทัน กับควำมเปลี่ยนแปลงต่ำง ๆ ที่เกิดขึ้น สำมำรถนำเทคโนโลยีนั้นมำประยุกต์ใช้ให้เป็น ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน โดยเฉพำะด้ำนกำรศึกษำ ที่ส่งผลให้นำเทคโนโลยีมำใช้ให้มี ประสิทธิภำพและประสิทธิผลในกำรศึกษำ หนังสือเล่มนี้เขียนขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นหนังสือประกอบกำรเรียน วิชำสุขศึกษำ เรื่อง สำรเสพติด โดยที่หนังสือเล่มนี้มีจุดมุ่งหมำยเพื่อให้นักเรียน มีควำมเข้ำใจในเนื้อหำเรื่องสำรเสพติดมำกขึ้น เพื่อให้ควำมรู้ในเรื่องต่ำง ๆ มีควำม สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ผู้เขียนหวังว่ำหนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ในกำรศึกษำ วิชำสุขศึกษำ เรื่อง สำรเสพติด ไม่มำกก็น้อย หำกมีข้อบกพร่องประกำรใดโปรดกรุณำแจ้งข้อบกพร่อง ผิดพลำดเพื่อจะได้แก้ไขปรับปรุงในโอกำสต่อไปด้วยจักเป็นพระคุ ณยิ่ง และขอขอบคุณ บิดำ มำรดำ และครูอำจำรย์ทกุ ท่ำนที่แนะแนวทำงจนหนังสือเล่มนี้สำเร็จลุล่วงมำด้วยดี

นำย กิตติพงศ์ ไพชิต ผู้จัดทำ


3

สำรบัญ เรื่อง หน้ำ ควำมหมำยของสำรเสพติด……………………………………………….….…………..………1 ประวัติสำรเสพติด…………………………………………………..………….……………………2 ประเภทของสำรเสพติด……………………………………………………….……………………3 กำรออกฤทธิ์ต่อจิตประสำท……………………………………………..…………………..……4 โทษ/พิษภัย ของสำรเสพติด……………………………………………………….…….……5-6 วิธีสังเกตอำกำรผู้ติดสำรเสพติด………………..……………………………….……………7-8 ผลเสียของกำรติดสำรเสพติด………………………………………………………..………9-14 กำรป้องกันกำรติดสำรเสพติด………………………………………………………..…………15 เอกสำรอ้ำงอิง…………………………………………………..……………………….…………..16


1

1. ควำมหมำยของสำรเสพติด สำรเสพติด หมำยถึง สำรใดก็ตำมที่เกิดขึ้ นตำมธรรมชำติ หรือสำรที่สังเครำะห์ขึ้น เมื่อ นำเข้ำสู้ร่ำงกำยไม่ว่ำจะโดยวิธีรับประทำน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยวิธีกำรใด ๆ แล้ว ทำให้เกิดผลต่ อ ร่ำงกำยและจิตใจ นอกจำกนี้ยังจะทำให้เกิดกำรเสพติดได้ หำกใช้สำรนั้นเป็นประจำทุกวัน หรือวัน ละหลำย ๆ ครั้ง ลักษณะสำคัญของสำรเสพติด จะทำให้เกิดอำกำร และอำกำรแสดงต่อผู้เสพดังนี้ 1. เกิดอำกำรดื้อสำร หรือต้ำนสำร และเมื่อติดแล้ว ต้องกำรใช้สำรนั้นในประมำณ มำกขึ้น 2. เกิดอำกำรขำดสำร ถอนสำร หรืออสำรกสำร เมื่อใช้สำรนั้นเท่ำเดิม ลดลง หรือ หยุดใช้ 3. มีควำมต้องกำรเสพทั้งทำงร่ำงกำยและจิตใจ อย่ำงรุนแรงตลอดเวลำ 4. สุขภำพร่ำงกำยทรุดโทรมลง เกิดโทษต่อตนเอง ครอบครัว ผู้อื่น ตลอดจนสังคม และ ประเทศชำติ

ภำพจำก http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/29669/042252


2

2. ประวัติสำรเสพติด กลำงคริสต์ศตวรรษที่ 20 มีกำรนำเอำโบรไมด์ (Bromide) มำใช้เป็นสำรระงับประ สำท และรั กษำโรคลมชั ก ซึ่ ง ได้ รั บควำมนิ ย มมำกพอ ๆ กั บ สำรวำเลีย ม (Valium) และสำรริเบรียม (Librium) ในปัจจุบัน แต่โบรไมด์สะสมในร่ำงกำย ทำให้เกิดอำกำรวิกลจริต และทำลำยสมอง อย่ำงถำวรด้วย ในระยะใกล้เคียงกันก็มีผู้ผลิตสำรบำร์บิทุเรท (Barbiturate) และสำรสงบประสำท ตัวอื่น ๆ และได้รับควำมนิยมใช้อย่ำงแพร่หลำยเช่นกัน โดยผู้ใช้ไม่ทรำบถึงฤทธิ์ในกำรเสพติดของ สำรเหล่ำนี้ ปลำยคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีผู้พบโคเคนและกั ญชำซึ่งมี ฤ ทธิ์ ทำให้จิ ตใจสบำยโคเคน พบว่ำมีประโยชน์ทำงกำรรักษำโรคด้วยโดยใช้เป็นสำรชำเฉพำะที่ ดังนั้นโคเคนจึงเป็นที่นิยมใช้เป็ น ผลให้มีกำรเสพติดโคเคน

ภำพจำก http://topicstock.pantip.com/wahkor/topicstock/2012/04/X12028694/X12028694.html

ในช่วงสงครำมโลกครั้งที่ 2 แอมเฟตำมีนถูกนำมำใช้ในกองทหำรญี่ ปุ่ น เยอรมัน อเมริกัน และอังกฤษ เพื่อให้ร่ำงกำยมีกำลัง กระฉั บกระเฉงอยู่ ตลอดเวลำ พอหลังสงครำมสำรซึ่ งกองทั พ ญี่ปุ่นกักตุนไว้มำก็ทะลักสู่ตลำด ทำให้ประชำชนชำวญี่ปุ่นใช้ สำรกันมำก ในปี ค.ศ.1955 คำดว่ำมี ชำวญี่ปุ่นติดแอมเฟตำมีนรำวร้อยละ 1 ระหว่ำง ค.ศ.1960-1970 ในประเทศสวีเดนมีกำรใช้ ส ำร Phenmetrazine (Preludin) ซึ่งคล้ำยแอมเฟตำมีน ฉีดเข้ำหลอดเลือดดำด้วย ในสหรัฐเมริกำพวก ฮิปปี้ซึ่งเคยนิยมใช้ แอลเอสดี (LSD) หรือ Lysergic Acid Diethylamide) ก็ค่อย ๆ หันมำใช้แอม เฟตำมีนฉีดเข้ำหลอดเลือดดำ เช่นกัน ระหว่ำงปี ค.ศ. 1960-1970 สำรหลอนประสำทเริ่มถูกนำมำใช้และใช้มำกหลัง ค.ศ.1970 ผู้เสพส่วนใหญ่เป็นชำวอเมริ กันวั นรุ่น ที่มีฐำนะทำงเศรษฐกิ จปำนกลำงโดยเริ่มจำก แอลเอสดี ซึ่ง Hofmannเป็นผู้ค้นพบในปี ค.ศ.1953 เนื่องจำกแอลเอสดีทำให้เกิ ดอำกำรล้ำย วิกลจริต จึงมีนัก จิตวิเครำะห์บำงคนนำมำใช้เพื่อกำรรักษำผู้ป่วยด้วย เพรำะคิดว่ำ สำรนี้จะช่วยกำจัด "Repression"


3

3. ประเภทของสำรเสพติด สำรเสพติด แบ่งได้หลำยรูปแบบ ตำมลักษณะต่ำง ๆ ดังนี้ 1. แบ่งตำมแหล่งที่เกิด ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1.1 สำรเสพติดธรรมชำติ (Natural Drugs) คือสำรเสพติดที่ผลิตมำจำกพืช เช่น ฝิ่น กระท่อม กัญชำ เป็นต้น 1.2 สำรเสพติดสังเครำะห์ (Synthetic Drugs) คือสำรเสพติดที่ผลิตขึ้นด้วยกรรมวิ ธี ทำงเคมี เช่น เฮโรอีน แอมเฟตำมีน เป็นต้น 2. แบ่งตำมพระรำชบัญญัติสำรเสพติ ดให้โ ทษ พ.ศ.2522 ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 5 ประเภท คือ 2.1 สำรเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 1 ได้แก่ เฮโรอีน แอลเอสดี แอมเฟตำมีน หรือ สำรบ้ำ สำรอีหรือสำรเลิฟ 2.2 สำรเสพติ ดให้ โทษ ประเภทที่ 2 สำรเสพติ ดประเภทนี้ สำมำรถนำมำใช้เพื่อ ประโยชน์ทำงกำรแพทย์ได้ แต่ต้องใช้ภำยใต้กำรควบคุมของแพทย์ และใช้เฉพำะกรณีที่จำเป็ น เท่ำนั้น ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟีน โคเคน หรือโคคำอีน โคเคอีน และเมทำโดน 2.3 สำรเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 3 สำรเสพติดประเภทนี้เป็นสำรเสพติดให้ โ ทษที่ มีสำรเสพติดประเภทที่ 2 ผสมอยู่ด้วย มีประโยชน์ทำงกำรแพทย์ กำรนำไปใช้เพื่อจุดประสงค์ อื่น หรือเพื่อเสพติด จะมีบทลงโทษกำกับไว้ สำรเสพติดประเภทนี้ ได้แก่ สำรแก้ไอ ที่มีตัวสำรโคเคอีน สำรแก้ท้องเสีย ที่มีฝิ่นผสมอยู่ด้วย สำรฉีดระงับปวดต่ำง ๆ เช่น มอร์ฟีน เพทิดีน ซึ่งสกัดมำจำกฝิ่น 2.4 สำรเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 4 คือสำรเคมีที่ใช้ในกำรผลิตสำรเสพติดให้ โ ทษ ประเภทที่ 1 หรือประเภทที่ 2 สำรเสพติดประเภทนี้ไม่มีกำรนำมำใช้ประโยชน์ในกำรบำบัดโรคแต่ อย่ำงใด และมีบทลงโทษกำกับไว้ด้วย ได้แก่น้ำสำรอะเซติคแอนไฮไดรย์ และ อะเซติลคลอไรด์ ซึ่งใช้ในกำรเปลี่ยนมอร์ฟี นเป็นเฮโรอีน สำรคลอซูไดอีเฟครี น สำมำรถใช้ในกำรผลิต สำรบ้ ำ ได้ และวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสำทอี ก 12 ชนิด ที่สำมำรถนำมำผลิตสำรอีและสำรบ้ำได้ในสำรเสพ ติดประเภทที่ ๑ ถึง ๔ ได้แก่ ทุกส่วนของพืชกัญชำ ทุกส่วนของพืชกระท่อม เห็ดขี้ควำย เป็นต้น


4

4. กำรออกฤทธิ์ต่อจิตประสำท ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ 1. สำรเสพติดประเภทกดประสำท ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน สำรระเหย และสำรกล่อมประสำท 2. สำรเสพติดประเภทกระตุ้นประสำท ได้แก่ แอมเฟตำมีน กระท่อม และ โคคำอีน 3. สำรเสพติดประเภทหลอนประสำท ได้แก่ แอลเอสดี ดีเอ็มพี และ เห็ดขี้ควำย 4. สำรเสพติดประเภทออกฤทธิ์ ผสมผสำน กล่ำวคือ อำจกดกระตุ้น หรือ หลอน ประสำทได้พร้อมๆ กัน ตัวอย่ำงเช่น กัญชำ

ภำพจำก https://www.youtube.com/watch?v=Md_YVCMk-xc


5

5. โทษ/พิษภัย ของสำรเสพติด แบ่งได้หลำยรูปแบบ ตำมลักษณะต่ำง ๆ ดังนี้ กำรใช้สำรเสพติด มีโทษและพิษภัยรอบตัว นอกจำกจะส่งผลกระทบในทำงไม่ดีโดยตรง ต่อตัวผู้เสพแล้ว ทั้งทำงร่ำงกำยและจิตใจ ยังส่งผลกระทบทำงอ้อมไปยังครอบครัวผู้เสพ ตลอดจน เศรษฐกิจ สังคม และประเทศชำติอีกด้วย บทลงโทษเกี่ยวกับสำรเสพติดให้โทษ - ผู้จำหน่ำยหรือมีเฮโรอีนไว้ใ นครอบครอง น้ำหนักไม่เกิน 100 กรัม จำคุกตั้งแต่ 5 ปี ถึง ตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่ 50,000-500,000 บำท เกิน 100 กรัม ประหำรชีวิตหรือจำคุกตลอดชีวิต - มีเฮโรอีนไว้ในครอบครอง โทษจำคุกตั้ งแต่ 1-10 ปี และปรับตั้งแต่ 10,000-100,000 บำท - ผู้เสพเฮโรอีนมีโทษจำคุกตั้งแต่ 6 เดือน - 10 ปี และปรับตั้งแต่ 5,000-100,000 บำท - มีกัญชำไว้ในครอบครองเพื่ อจำหน่ำย โทษจำคุกตั้งแต่ 2-15 ปี และปรับตั้งแต่ 20,000150,000 บำท - ผู้ใดเสพกัญชำ จำคุกไม่เกิน 1 ปี และปรับไม่เกิน 10,000 บำท - มีกัญชำไว้ในครอบครอง โทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่เกิน 50,000 บำท - ผลิต (ปลูก) กัญชำ จำคุกอย่ำงต่ำ 2 ปี และปรับอย่ำงต่ำ 20,000-150,000บำท สำรระเหย สำรเสพติด ผิดกฎหมำย

ภำพจำก http://th.survley.com/th/whos-going-to-end-up-in-jail-with-you.html


6

โทษทำงร่ำงกำย และจิตใจ แบ่งได้หลำยรูปแบบ ตำมลักษณะต่ำง ๆ ดังนี้ 1. สำรเสพติดจะให้โทษโดยทำให้กำรปฏิบัติหน้ำที่ ของอวัยวะส่วนต่ำงๆ ของร่ำงกำยเสื่อม โทรม พิษภัยของสำรเสพย์ติดจะทำลำยประสำท สมอง ทำให้สมรรถภำพเสื่อมลง มีอำรมณ์ จิตใจ ไม่ปกติ เกิดกำรเปลี่ยนแปลงได้ง่ำย เช่น วิตกกังวล เลื่อนลอยหรือฟุ้งซ่ำน ทำงำนไม่ได้ อยู่ในภำวะ มึนเมำตลอดเวลำ อำจเป็นโรคจิตได้ง่ำย 2. ด้ำนบุคลิกภำพจะเสียหมด ขำดควำมสนใจในตนเองทั้งควำมประพฤติควำมสะอำดและ สติสัมปชัญญะ มีอำกัปกิริสำรแปลกๆ เปลี่ยนไปจำกเดิม 3. สภำพร่ำงกำยของผู้เสพจะอ่อนเพลีย ซูบซีด หมดเรี่ยวแรง ขำดควำมกระปรี้กระเปร่ ำ และเกียจคร้ำน เฉื่อยชำ เพรำะกินไม่ได้ นอนไม่หลับ ปล่อยเนื้อ ปล่อยตัวสกปรก ควำมเคลื่อนไหว ของร่ำงกำยและกล้ำมเนื้อต่ำงๆ ผิดปกติ 4. ทำลำยสุขภำพของผู้ติดสำรเสพติดให้ทรุดโทรมทุกขณะ เพรำะระบบอวั ยวะต่ำง ๆ ของ ร่ำงกำยถูกพิษสำรทำให้เสื่อมลง น้ำหนักตัวลด ผิวคล้ำซีด เลือดจำงผอมลงทุกวัน 5. เกิดโรคภัยไข้เจ็บได้ง่ำย เพรำะควำมต้ำนทำนโรคน้อยกว่ำปกติ ทำให้เกิดโรคหรือเจ็บไข้ ได้ง่ำย และเมื่อเกิดแล้วจะมีควำมรุนแรงมำก รักษำหำยได้ สำรก 6. อำจประสบอุ บัติเหตุ ไ ด้ ง่ำ ย สำเหตุ เ พรำะระบบกำรควบคุ ม กล้ ำมเนื้อและประสำท บกพร่อง ใจลอย ทำงำนด้วยควำมประมำท และเสี่ยงต่ออุบัติเหตุตลอดเวลำ 7. เกิดโทษที่รุนแรงมำก คือ จะเกิดอำกำรคลุ้มคลั่ง ถึงขั้นอำละวำด เมื่อหิว สำรเสพติดและ หำสำรไม่ทัน เริ่มด้วยอำกำรนอนไม่หลับ น้ำตำไหล เหงื่อออก ท้องเดิน อำเจียน กล้ำมเนื้อกระตุก กระวนกระวำย และในที่สุดจะมีอำกำรเหมือนคนบ้ำ เป็นบ่อเกิดแห่งอำชญำกรรม โทษพิษภัยต่อครอบครัว 1. ควำมรับผิดชอบต่อครอบครัว และญำติพี่น้องจะหมดสิ้นไป ไม่สนใจที่จะดูแลครอบครัว 2. ทำให้สูญเสียทรัพย์สิน เงินทอง ที่จะต้องหำมำซื้อสำรเสพติ ด จนจะไม่มีใช้จ่ำยอย่ำงอื่น และต้องเสียเงินรักษำตัวเอง 3. ทำงำนไม่ได้ขำดหลักประกันของครอบครัว และนำยจ้ำงหมดควำมไว้วำงใจ 4. สูญเสียสมรรถภำพในกำรหำเลี้ยงครอบครัว นำควำมหำยนะมำสู่ครอบครัวและญำติ พี่ น้อง


7

6. วิธีสังเกตอำกำรผู้ติดสำรเสพติด จะสังเกตว่ำผู้ใดใช้ หรือเสพสำรเสพ ติด ให้สังเกตจำกอำกำรและกำรเปลี่ยนแปลง ทั้งทำงร่ำงกำย และจิตใจดังต่อไปนี้ กำรเปลี่ยนแปลงทำงร่ำงกำย ภำพจำก 1. สุขภำพ ทรุดโทรมผอมซูบซีด https://sites.google.com/site/suntipongmungmay/khwam2. ริมฝีปำกเขียวคล้ำ แห้งแตก hmay-ya-seph-tid/kar-sangket-phu-tid-ya-seph-tid 3. ผิวหนังหยำบกร้ำน เป็นแผลพุพอง 4. น้ำมูกน้ำตำไหล เหงื่อออกมำก 5. มักใส่แว่นกรองแสงสีเข้ม เพื่อต่อสู้กับแสงสว่ำงเพรำะม่ำนตำขยำย 6. มีร่องรอยกำรเสพสำรโดยกำรฉีด นิ้วมือมีรอยครำบเหลืองสกปรก 7. มีรอยแผลเป็นที่ท้องแขนเป็นรอยกรีด ด้วยของมีคม (ทำร้ำยตนเอง) กำรเปลี่ยนแปลงทำงจิตใจ ควำมประพฤติ และบุคลิกภำพ 1. ขำดกำรเรียน หนีโรงเรียน กำรเรียนด้อยลงสติปัญญำเสื่ อม กำรงำนบกพร่อง 2. ไม่สนใจต่อสิ่งแวดล้อม ชอบแยกตัวเอง หลบซ่อนตัว ทำตัวลึกลับ 3. เป็นคนเจ้ำอำรมณ์ หงุดหงิด เอำแต่ใจตนเอง ขำดเหตุผล พูดจำก้ำวร้ำว ดื้อรั้นไม่เชื่อฟั ง สำมำรถทำร้ำยบิดำมำรดำได้ 4. ไม่สนใจควำมเป็นอยู่ของตนเอง แต่งกำยไม่สุภำพเรียบร้อย สกปรก 5. สีหน้ำแสดงควำมผิดหวังกังวล ซึมเศร้ำ พกอุปกรณ์เกี่ยวกับสำรเสพติด เช่น เข็มฉีดสำร กระดำษตะกั่ว ไม้ขีดไฟ


8

ภำพจำก http://www.doctorsiam.com/article-303-

เมื่อขำดสำรเสพติดจะมีอำกำรอสำรกสำรเสพติดเกิดขึ้น เช่น 1. มีอำกำรน้ำมูก น้ำตำไหล หำวนอน จำมคล้ำยเป็นหวัด 2. กระสับกระส่ำย กระวนกระวำย หำยใจถี่ลึก จ้องหำแต่ สำรเสพติด จะขวนขวำยหำมำเสพ ไม่ว่ำด้วยวิธีกำรใด ๆ 3. คลื่นไส้ อำเจียน ท้องเดิน อำจมีเลือดปนออกมำด้วย เรียกว่ำ ลงแดง 4. ขนลุก เหงื่อออก เป็นตะคริว กล้ำมเนื้อกระตุก ขบฟัน ปวดเมื่อยตำมร่ำงกำย ปวดเสียวใน กระดูกดิ้นทุรนทุรำย 5. มีไข้และควำมดันโลหิต ชักกระตุก นอนไม่หลับ คลุ้มคลั่ง เสียสติ กำรตรวจพิสูจน์หำสำรเสพติดในร่ำงกำย กำรตรวจหำสำรเสพติดในร่ำงกำย แบ่งออกเป็น ๒ ขั้นตอน 1. กำรตรวจขั้นต้น : รำคำถูก ได้ผลเร็ว มีชุดตรวจสำเร็จรูป ควำมแม่นยำในกำรตรวจปำน กลำง สะดวกในกำรนำไปตรวจนอกสถำนที่ 2. กำรตรวจขั้นยืนยัน : เป็นกำรตรวจที่ให้ผลแม่นยำ แต่ใช้เวลำตรวจนำน ค่ำใช้จ่ำยสูง


9

7. ผลเสียของกำรติดสำรเสพติด 1. กำรสูญเสียด้ำนบุคลิกภำพและจิตใจ เยำวชนย่อมมีบุคลิกภำพที่กำลังเจริญเติบโต มีกำรสร้ำงประสบกำรณ์ต่ำงๆ และหัดวิธีกำรและชั้น เชิง ในกำรผจญปัญหำ หรือกระทำกำร เพื่อให้บรรลุเป้ำหมำย กำรแก้ปัญหำย่อมต้องอำศัย กระบวนกำรทำงจิตหลำย ประกำร เช่น ควำมอด กลั้น กำรควบคุมอำรมณ์ กำร แสดงอำรมณ์ตำม ควำมเหมำะสม กำรใช้ควำมคิดและ ประมำณกำร ตลอดจนกำรหำวิธีแก้ปัญหำ ให้เกิดผลดีที่สุด หำก เยำวชนใช้และติดสำรเสพติด โดยอำศัยเป็น ทำง หนีจำกควำมทุกข์สำรกหรือปัญหำต่ำงๆแล้ว บุคลิกภำพของผู้นั้น ก็ย่อมหยุดเจริญ แทนที่จะ หำทำงแก้ปัญหำ ที่เหมำะสม กลับหันไปใช้สำร แทน เยำวชนที่ติดสำรจึงมีบุคลิกภำพ ภำพจำก http://www.tcijthai.com/news/2012/23/scoop/249 ใหม่ ที่มีควำมอดทนน้อย ระแวง และ หำควำม สุขจำก ชีวิตธรรมดำที่ไม่ใช้ สำรเสพติดไม่ได้ หำกผู้นั้นได้ผ่ำนกำรรักษำหลำยครั้ง และเลิก ได้ไม่นำนก็ต้องกลับไปใช้อีก ควำม เชื่อมั่นในตนเอง และควำมหวังว่ำจะเลิกจำกสำร ก็ค่อยๆ หำยไปทุกที หำกผู้นั้นถูกจับและติดคุก หลำยๆ ครั้ง ควำม กลัวคุกตะรำงและกำรลงโทษต่ำงๆ ตลอดจนควำมไม่ดีในสำยตำของสังคม ก็ ค่อยลดเสื่อมและชินชำไป กำร ติดคุกตะรำง หรือกำรถูกลงโทษทำงกฎหมำยกลำยเป็นเรื่องเล็ก ค่ำนิยมของเขำก็เปลี่ยนไป ควำมดีกับควำมชั่ว ตำมแนวคิดปกติก็เลือนไป ควำมสุขที่เกิดจำกกำร กระทำ ควำมดีก็ถอยไป นับได้ว่ำ เป็นกำรเสื่อมสลำยของสภำพจิต เมื่อเยำวชนคนหนึ่งคนใดติด สำรเสพติด และมีบุคลิกภำพเปลี่ยนแปลงไปจนถึงขั้นนี้ ก็จะเป็นพลเมืองดีไม่ได้ ไม่สำมำรถใช้ชีวิต ที่เป็นประโยชน์กับตนเองและผู้อื่นได้ กลับเป็นผู้ก่อให้เกิดปัญหำสำหรับตนเอง ครอบครัวและ สังคม จึงนับว่ำ เป็นกำรสูญเสียทรัพ ยำกรมนุษย์ของชำติ ซึ่งเป็นกำรสูญเสียที่สำคัญที่สุด


10

2. กำรสูญเสียทำงสุขภำพอนำมัย ผู้ที่ติดสำรเสพติด อำจเกิดปัญหำทำงสุขภำพ อนำมัย หรือโรคต่ำงๆได้หลำยอย่ำง ได้แก่ 2.1 กำรใช้สำรเกินขนำด โดยที่กำรด้ำนสำร เปลี่ยนแปลงอยู่เรื่อย ผู้ที่พยำยำมเลิกสำรหรือเข้ำรับ กำร รักษำ ควำมด้ำนสำรจะลดลง ประกอบกับสำรที่ได้จำกกำร ลักลอบค้ำไม่ได้มีกำรควบคุม มำตรฐำน ควำมแรงอำจ เปลี่ยนแปลงได้อยู่เสมอ เพรำะมีกำรเจือปนสำรชนิดอื่นเข้ำไป ก่อนนำ ออกจำหน่ำย ผู้ติดสำรจึงอำจใช้สำรเกิน ขนำดและเป็นอันตรำยได้ ยิ่งเป็นกำรใช้ สำรที่ฉีดเข้ำ หลอดเลือดแล้ว ยิ่งมีโอกำสเกินขนำดได้มำก สำรที่มีฤทธิ์กดระบบประสำทกลำง เมื่อใช้เกิน ขนำด จะทำให้ไม่รู้สึกตัวไป กำรหำยใจลดลง และอำจเป็นอันตรำยเสียชีวิตได้ ในบำงรำยอำจเกิดกำร บวมของปอด ทำให้หำยใจหอบและเสมหะเป็นฟองได้ 2.2 อำกำรจำกกำรขำดสำร อำกำรถอนสำรที่ เกิดขึ้นในผู้ติดสำรบำงคนที่ติดอย่ำงรุนแรง และสุขภำพ ไม่ดีอำจเป็นอันตรำยได้ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งกำรติดสำร นอนหลับ อำจเกิดอำกำรไข้สูง ชัก และไม่รู้สึกตัวได้ ในบำงรำยอำจมีอำกำรถอนสำรที่ปรำกฏคล้ำย โรคทำงกำย เช่น อำกำรปวด ท้องอย่ำงรุนแรง เหมือนกำรอุดตันของลำไส้ ทำให้ได้รับกำรผ่ำตัดแก้ไข โดยวินิจฉัยผิดได้ อำกำร ถอนสำรที่เกิดในเด็กแรกเกิด เนื่องจำก มำรดำติดสำรเสพติด และใช้สำรในระยะก่อนคลอด จะทำ ให้เด็กไม่แข็งแรง หำยใจน้อย และเสียชีวิตได้ง่ำย 2.3 พิษจำกสำรเสพติด สำรเสพติดบำงชนิด เช่น แอมเฟตำมีน กัญชำ โคเคน และ แอลเอสดี มีผลทำให้เกิดอำกำรทำงจิตได้ บำงรำยอำจคลุ้มคลั่ง วิกลจริต ไปเป็นระยะเวลำนำน สำรแอมเฟตำมีน ทำให้เกิดอำกำรระแวงอย่ำง รุนแรง คิดว่ำผู้อื่นจะมำทำร้ำยจึงอำละวำด และทำ ร้ำยผู้อื่นได้ ในสำรเสพติดที่ลักลอบขำยกัน อำจมีสำรอื่น เจือปน เพื่อให้ได้ปริมำณมำกขึ้น เช่น สำรหนู และ สตริกนิน (strychnine) เป็นต้น ซึ่งเป็นสำรพิษทำให้เป็น อันตรำยได้ 2.4 อันตรำยจำกกำรฉีดสำรที่ไม่สะอำด ผู้ติด สำรที่ใช้สำรฉีดเข้ำหลอดเลือด หรือเข้ำ กล้ำมเนื้อ มักไม่ได้ทำควำมสะอำดหลอดฉีดสำร ให้ปรำศจำกเชื้อเสียก่อน น้ำที่ใช้ละลำยสำรเพื่อ ฉีดก็ไม่สะอำด จึงอำจฉีดเอำเชื้อโรคต่ำงๆ เข้ำไปในร่ำงกำยได้ ทำให้เกิดกำรอักเสบของผิวหนัง และเนื้อเยื่อบริเวณที่ฉีด เกิดเป็นฝีหรือเนื้อตำยได้ อำจลุกลำมเกิดกำรอักเสบของหลอดเลือด หรือ โลหิตเป็นพิษได้ ในบำงรำยเชื้อโรคอำจเข้ำไปยังอวัยวะภำยใน เช่น หัวใจ ปอด สมอง และกระดูก ทำให้เกิดลิ้นหัวใจอักเสบ และฝีตำมอวัยวะต่ำงๆ ผู้ที่ฉีดสำรหลำยคน อำจใช้เข็มฉีดสำรร่วมกัน ทำ ให้โรคจำกคนหนึ่งติดไปยังคนอื่นๆ ได้ เช่น โรคตับ อักเสบ เป็นต้น ผู้ติดสำรมีอัตรำกำรเป็นโรคนี้ มำกกว่ำบุคคลทั่วไป และอำจเกิดกำรระบำดเป็นโรคทีละหลำยๆ คนได้


11

2.5 อันตรำยจำกกำรฉีดสำรที่ไม่เหมำะสม เข้ำร่ำงกำย ผู้ติดสำรอำจใช้สำรเม็ดมำละลำย น้ำ ฉีดเข้ำ หลอดเลือด โดยไม่ทรำบว่ำ ในสำรเม็ดมีแป้งพวกทัลคัม (talcum) อยู่ด้วย บำงทีก็ใช้ สำลีกรองน้ำสำรก่อนจะใช้ฉีด แป้งและใยสำลีจะเข้ำไปติดอยู่ตำมหลอดเลือดฝอยของปอด เกิด โรคปอดแข็งทำให้กำรหำยใจลำบำกเรื้อรังและ ไม่มีวิธีรักษำ ในบำงกรณี สำรอำจจะละลำยไม่ดี มี เกล็ดหรือ ผลึกของสำรเข้ำไปในหลอดเลือด ไปอุดหลอดเลือดต่ำงๆ เช่น ที่สมอง เกิดเป็นอัมพำต ได้ 2.6 โรคบำงชนิดที่พบร่วมกับกำรติดสำรเสพติด ผู้ติดสำรเสพติดมักมีสุขภำพไม่ดี อำหำร ไม่เพียงพอ และกำรดูแลสุขภำพอนำมัย ตลอดจนกำรรักษำควำม สะอำดของร่ำงกำยไม่ดี จึงมีโรค ต่ำงๆเกิดได้มำก เช่น วัณโรคของปอด โรคผิวหนังต่ำงๆ เป็นต้น มีผู้รำยงำนว่ำ พบโรคบำงชนิด ร่วมกับกำรติด สำรเสพติด โดยควำมสัมพันธ์ และวิธีกำรเกิด ยังไม่ ได้เป็นที่เข้ำใจชัดเจน เช่น โรค เนื้อเยื่อกล้ำมเนื้อละลำยตัว (rhabdomyolysis) มีอำกำรปวดกล้ำมเนื้อ และอ่อนเพลีย ขยับ เขยื้อนลำบำก มีกำรสลำยตัวของเซลล์กล้ำมเนื้อ ทำให้มีสำรไมโอโกลบินเข้ำไปในเลือด และ ขับถ่ำยออกไปในปัสสำวะ (myoglobinemia, myoglobinuria) เห็นเป็นปัสสำวะสีดำ โรคไต อักเสบ และโรคเส้นประสำทอักเสบ ก็พบได้ในผู้ติดสำรเสพติด

ภำพจำก https://www.youtube.com/watch?v=Md_YVCMk-xc


12

3. กำรสูญเสียทำงเศรษฐกิจ แบ่งได้หลำยรูปแบบ ตำมลักษณะต่ำง ๆ ดังนี้ 3.1 ต้นทุนนโนบำยยำเสพติดของภำครัฐ เป็นกำรรวมต้นทุนที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับนโยบำยรัฐบำล โดยรัฐบำลไทยได้จำแนกผู้ดำเนินนโยบำย และชุด นโยบำยยำเสพติดเป็นสำมประเภท คือ กำรป้องกัน กำร ปรำบรำม และกำรบำบัด ตัวเลขกำรประมำณกำรที่อยู่ใน หมวดนี้ในช่วงปี 2551-2558 นักโทษยำเสพติดชำย เทียบกับนักโทษคดีทั่วไป เพิ่มขึ้นจำก 55% เป็น ภำพจำก http://www.seesketch.com/ 71% นักโทษยำเสพติดหญิงเทียบกับนักโทษคดีทั่วไป เพิ่มขึ้นจำก 71% เป็น 82% งบประมำณของภำครัฐเพิ่มขึ้นสูงมำกจำก 217 ล้ำนบำทในปี 2542 เป็น 10,700 ล้ำน บำทในปี 2559 ในรอบ 17 ปี เพิ่มขึ้นถึง 50 เท่ำ 3.2 ต้นทุนด้ำนผลิตภำพกำรผลิต อันนี้เป็นต้นทุนที่มีมูลค่ำสูงสุดในกำรประเมินนี้ (ทรัพยำกรบุคคลเป็นสิ่งมีค่ำที่สุดที่เรำ สูญเสียไปจำกปัญหำยำเสพติด) ต้นนี้ประเภทนี้ประมำณกำรจำกกำรสูญเสียผลิตภำพกำรผลิต อัน ได้แก่กำรสูญเสียกำลังของผู้ใช้ยำเสพติดที่ส่วนใหญ่จะเป็นวัยแรงงำน กำรสูญเสียเวลำที่เป็นต้นทุน ในกำรผลิตมำใช้กระบวนกำรยำเสพติด ในช่วงระหว่ำงปี 2551-2558 มีควำมสูญเสียประมำณ 529,814-902,386 ล้ำนบำท 3.3 ต้นทุนของกำรก่ออำชญำกรรม ต้นทุนรวมของกำรก่ออำชญำกรรมที่เกี่ยวข้องกับยำเสพติดทั้งในภำครัฐและเอกชน ระหว่ำงปี 2550-2558 มีมูลค่ำระหว่ำง 38,790-106,879 ล้ำนบำท แยกเป็นต้นทุนของ ภำคเอกชนประมำณ 2,500-4,400 ล้ำนบำท และต้นทุนของภำครัฐในกำรก่ออำชญำกรรม(กำร ติดสินบนเจ้ำหน้ำที่รัฐ และกำรตอนยำของตำรวจ) อีกประมำณ 18,000-100,000 ล้ำนบำท 3.4 ต้นทุนของสังคม ต้นทุนทำงสังคมที่สูญเสียผลิตภำพวัยแรงงำนจำกโรคปอดอักเสบและโรคเอดส์ระหว่ำงปี 2551-2557 รำวๆ 26,880 ล้ำนบำท


13

ต้นทุนทำงสังคมที่สูญเสียผลิตภำพวัยแรงงำนจำกกำรเสียชีวิตด้วยยำเสพติดระหว่ำงปี 2550-2557 รำวๆ 2,448 ล้ำนบำท 3.5 ต้นทุนของนักโทษในระบบยุติธรรม หมวดนี้เป็นกำรประมำณจำก ต้นทุนของนักโทษเด็ดขำดที่ต้องเสียค่ำปรับให้แก่ศำลและ ค่ำใช้จ่ำยในชีวิตประจำวันของนักโทษยำเสพติดที่อยู่ในกำรควบคุมของกระบวนกำรยุติธรรม มี มูลค่ำประมำณ 693,284 ล้ำนบำท รวมแล้ว ตั้งแต่ปี 2551-2558 มูลค่ำควำมเสียหำยของสังคมไทยจำกปัญหำยำเสพติดอยู่ใน ระหว่ำง 1.153-1.559 ล้ำนล้ำนบำท คิดเป็นร้อยละ 13.8-18.9 ของ GDP เฉลี่ยในปีงบประมำณ 2550-2558 3.6 กำรขำดงำน ผู้ติดสำรเสพติดบำงคน อำจ สำมำรถปรับกำรใช้สำรได้ และสำมำรถ ทำงำนได้ตำมปกติ บำงคนใช้สำรขนำดน้อยๆ ในเวลำเช้ำและกลำงวัน เพื่อ ไม่ให้เกิดอำกำรถอน สำรและสำมำรถทำงำนได้ แล้วใช้ สำรมำกในตอนเย็นหรือกลำงคืนผู้ติดสำรส่วนใหญ่ เมื่อติด งอมแงมแล้วจะไม่ สำมำรถทำงำนได้ เพรำะจะมีผลต่อร่ำงกำยและจิตใจที่ ขัดกับกำรทำงำน เมื่อ ใช้สำรมำกในเวลำกลำงวัน ก็มีอำกำรซึม สะลึมสะลือ ควำมคิดช้ำ ทำงำนได้ลำบำก เมื่อ สำรหมด ฤทธิ์ก็เกิดอำกำรถอนสำร คือ กระวนกระวำย และ ปวดเมื่อยตำมตัว ฤทธิ์ของสำรและอำกำรถอน สำรนี้เกิด สลับกันอยู่ทั้งวัน จนไม่สำมำรถทำงำนหรือเรียนหนังสือ ได้ นอกจำกนี้ ยังมีควำม จำเป็นต้องใช้เวลำในกำรไปหำ สำรมำเพื่อใช้ในครำวต่อไป และหำที่ซุกซ่อนเพื่อใช้ สำร สิ่งต่ำงๆ เหล่ำนี้ จะรบกวนและขัดขวำงกำรทำงำน ทำให้ ประสิทธิภำพลดลง จนอำจต้องออกจำกงำน 3.7 ค่ำใช้จ่ำยในกำรจัดกำรแก้ปัญหำของรัฐ และเอกชน ทั้งในด้ำนกำรปรำบปรำมกำร ลักลอบค้ำ สำรเสพติด กำรให้บริกำรบำบัดรักษำ และกำรป้องกัน ทำให้สูญเสียงบประมำณและ ทรัพยำกรไปไม่น้อย 4. กำรสูญเสียทำงครอบครัวและสังคม 4.1 กำรเสียชื่อเสียง และฐำนะทำงสังคมของ ผู้ติดสำร ผู้ติดสำรย่อมเป็นที่รังเกียจของ สังคม 4.2 ปัญหำในครอบครัว กำรติดสำรเสพติดทำ ให้คนในครอบครัวได้รับควำมลำบำกทั้ง ด้ำนจิตใจและ ฐำนะกำรเงิน มีผลให้เกิดควำมแตกแยกในครอบครัวได้ ดังจะเห็นได้ว่ำผู้ติด สำรมี อัตรำกำรหย่ำร้ำงสูงต่อครอบครัวและสังคม แบ่งออกได้ดังนี้


14

- ครอบครัวที่มีผู้ติดสำรเสพติด มักได้รับควำมเดือดร้อนจำกผู้ติดสำรเสพติดในทุกด้ำน เช่น กำรขำดควำมรับผิดชอบต่อหน้ำที่นำไปสู่ควำมขัดแย้ง ทะเลำะวิวำท ก่อให้เกิดควำมเครียด และ ต้องแก้ไขปัญหำบ่อยๆ - ทำให้สูญเสียสมรรถภำพ กำรทำงำน ทำให้เ กิดผลกระทบต่อครอบครัวทั้งทำงเศรษฐกิจ และสังคมเสียทรัพย์สินรำยได้ของครอบครัวเนื่องจำกต้องซื้อสำรเสพติดมำเสพ และรักษำโรคที่ เกิดจำกสำรเสพติด - ปัญหำสำรเสพติดก่อให้เกิดควำมหวำดระแวงจำกประชำชนและสังคมเป็นวงกว้ำง เนื่องจำกเกรงว่ำบุตรหลำนจะเข้ำไปเกี่ยวข้องกับสำรเสพติดหรือถูกประทุษร้ำยจำกผู้เมำสำรเสพ ติด หรือมีควำมผิดปกติทำงจิตจำกกำรใช้สำรเสพติด 4.3 ปัญหำอำชญำกรรม ผู้ติดสำรจำเป็นต้องใช้เงินจำนวนมำกในกำรซื้อสำรมำใช้ ประกอบกับควำมอยำกยำรุนแรง ทำให้ขำดกำรยั้งคิด จึงเกิดอำชญำกรรมต่ำงๆ ขึ้นได้ ในชุมชนใด ที่มีผู้ติดสำรเสพติดอยู่ โอกำสที่จะเกิดกำรลักขโมยมีมำกขึ้น นอกจำกนี้ ปัญหำสำรเสพติดอำจเป็น ปัญหำ ทำงกำรเมืองในประเทศ หรือระหว่ำงประเทศ และมีผลกระทบต่อควำมมั่นคงของชำติได้ 5. ต่อส่วนรวมและประเทศชำติ เป็นภัยต่อควำมมั่นคง ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และวิถีชีวิตที่เป็น สุขของคนในประเทศประเทศชำติสูญเสียงบประมำณในกำรป้องกัน ปรำบปรำม บำบัดรักษำผู้ติด สำรเสพติด

QR Code วีดีโอ เรื่อง ผลกระทบของสำรเสพติด


15

8. กำรป้องกันกำรติดสำรเสพติด แบ่งได้หลำยรูปแบบ ตำมลักษณะต่ำง ๆ ดังนี้ 1. ป้องกันตนเอง ไม่ใช้สำรโดยมิได้รับคำแนะนำจำกแพทย์ และจงอย่ำทดลองเสพสำรเสพ ติดทุกชนิดโดยเด็ดขำด เพรำะติดง่ำยหำยสำรก 2. ป้องกันครอบครัว ควรสอดส่องดูแลเด็กและบุ คคลในครอบครัวหรื อที่ อยู่รวมกัน อย่ำให้ เกี่ยวข้องกับสำรเสพติด ต้องคอยอบรมสั่งสอนให้รู้ถึงโทษและภัยของสำร-เสพติ ด หำกมีผู้เสพสำร เสพติดในครอบครัวจงจั ดกำรให้เข้ำรั กษำตัว ที่โรงพยำบำลให้ หำย เด็ดขำด กำรรักษำแต่แรกเริ่ ม ติดสำรเสพติดมีโอกำสหำยได้เร็วกว่ำที่ปล่อยไว้นำนๆ 3. ป้องกันเพื่อนบ้ำน โดยช่วยชี้แจงให้เพื่อนบ้ำนเข้ำใจถึงโทษและภัยของสำรเสพติ ด โดยมิ ให้เพื่อนบ้ำนรู้เท่ำไม่ถึง กำรณ์ ต้องถูกหลอกลวง และหำกพบว่ำเพื่อนบ้ำนติ ด สำรเสพติ ด จงช่วย แนะนำให้ไปรักษำตัวที่โรงพยำบำล 4. ป้องกันโดยให้ ควำมร่ วมมือกั บทำงรำชกำร เมื่อทรำบว่ำบ้ำนใดตำบลใด มี สำรเสพติ ด แพร่ระบำดขอให้แจ้งเจ้ำหน้ำที่ตำรวจทุกแห่งทุกท้องที่ทรำบ หรือที่ศูนย์ปรำบปรำมสำรเสพติดให้ โทษ กรมตำรวจ (ศปส.ตร.) โทร. 252-7962 , 252-5932 และที่สำนักงำนคณะกรรมกำรป้องกั น และปรำบปรำมสำรเสพติด (สำนักงำน ป.ป.ส.) สำนักนำยกรัฐมนตรี โทร. 02-245-9350-9 สถำนบำบัด 1. โรงพยำบำลตำรวจ แผนกจิตเวช กรุงเทพฯ โทร. 022528111-7 2. โรงพยำบำลพระมงกุฎเกล้ำ แผนกจิตเวช กรุงเทพฯ โทร. 022461946 3. โรงพยำบำลธัญญำรักษ์ อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธำนี โทร. 025310080-8 4. โรงพยำบำลสมเด็จพระปิ่นเกล้ำ กรุงเทพฯ โทร. 024681116-20 5. โรงพยำบำลทหำรเรือกรุงเทพฯ โทร. 024112191 6. ศูนย์บริกำรสำธำรณสุข กรุงเทพฯ ลุมพินี ซอยปลุกจิตต์ ถ.วิทยุ โทร. 022512970 7. ศูนย์บริกำรสำธำรณสุข กรุงเทพฯ สี่ พระสำร โทร. 022364055 8. สำนักสงฆ์ถ้ำกระบอก จ.สระบุรี 9. สำนักสงฆ์ถ้ำเขำทะลุ จ.รำชบุรี

ภำพจำก http://mwits237narcotic.blogspot.com


16

เอกสำรอ้ำงอิง กระทรวงยุติธรรม สำนักงำนคณะกรรมกำรป้องกันและปรำบปรำมสำรเสพติด. 2552. วารสารส านักงาน ป.ป.ส.พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์กระทรวงยุติธรรม กระทรวงสำธำรณสุข. 2522. พระราชบัญญัต ิส ารเสพติด ให้โ ทษ พ.ศ.2522. นนทบุรี: กระทรวงสำธำรณสุข. 2545. พระราชบัญญัต ิส ารเสพติด ให้โ ทษ 2545. รำชกิจจำนุเบกษำฉบับกฤษฎีกำ. (ฉบับที่ 5) เล่มที่ 119 ตอนที่ 96 ก. 30 กันยำยน วิกิพีเดีย สำรำนุกรมเสรี. 2557. สิ่งเสพติด . (ออนไลน์). แหล่งที่มำ : http://th.wikipedia.org/wiki/สิ่งเสพติด. วันที่ 27 มกรำคม 2560 สำนักงำนคณะกรรมกำรอำหำรและสำร.กองควบคุมวัตถุเสพติด. 2547. บทกาหนดโทษตามพระราชบัญญัต สิ ารเสพติดให้โทษ.(ออนไลน์).เข้ำถึงได้จำก http:www.fda.moph.go.th/fdanet/html/product/addict/lawtable1.Html. สำนักงำนคณะกรรมกำรอำหำรและสำร. กองพัฒนำศักยภำพผู้บริโภค. 2546. สารเสพติดให้โทษ. (โรเนียว). สำนักงำน ป.ป.ส. 2554. ความรู้พ ื้นฐานเพื่อ การป้อ งกัน สารเสพติด ในเสารวชน. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ห้ำงหุ้นส่วนจำกัด ไอเดีย สแควร์ สำนักงำน ป.ป.ส. ภำคตะวันออกเฉียงเหนือ. 2547. กฎหมายสารเสพติด. (ออนไลน์). แหล่งที่มำ : http://nakonthai.tripod.com/yaba.html. วันที่ 27 มกรำคม 2560


17


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.