1
2
คำนำ ในปัจจุบันนี้ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีมีความจาเป็นต้องเรียนรู้เพื่อให้ก้าวทันกับความ เปลี่ ย นแปลงต่ า ง ๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น สามารถน าเทคโนโลยี นั้ น มาประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ ห้ เ ป็ น ประโยชน์ ใ น ชีวิตประจาวัน โดยเฉพาะด้านการศึกษา ที่ส่งผลให้นาเทคโนโลยีมาใช้ให้มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลในการศึกษา หนังสือเล่มนี้เขียนขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นหนังสือประกอบการเรียนวิชาสุขศึกษา เรื่อง สารเสพติด โดยที่หนังสือเล่มนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจในเนื้อหาเรื่องสาร เสพติดมากขึ้น เพื่อให้ความรู้ในเรื่องต่าง ๆ มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ผู้เขียนหวังว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ในการศึกษา วิชาสุขศึกษา เรื่องสารเสพติด ไม่มากก็น้อย หากมีข้อบกพร่องประการใดโปรดกรุณาแจ้งข้อบกพร่องผิดพลาดเพื่อจะได้แก้ไข ปรับปรุงในโอกาสต่อไปด้วยจักเป็นพระคุณยิ่ง และขอขอบคุณ บิดา มารดา และครูอาจารย์ ทุกท่านที่แนะแนวทางจนหนังสือเล่มนี้สาเร็จลุล่วงมาด้วยดี นาย กิตติพงศ์ ไพชิต ผู้จัดทา
3
สำรบัญ เรื่อง หน้ำ ความหมายของสารเสพติด………………………………………………………..….….…………..………1 ประวัติสารเสพติด……………………………………………………..……..………...….……………………2 ประเภทของสารเสพติด…………………………………………….…………………….……………………3 การออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท……………………………………..…………….…..…………………..……4 โทษ/พิษภัย ของสารเสพติด………………………………………………….……………….…….……5-6 วิธีสังเกตอาการผู้ติดสารเสพติด………………..…………………………….…………….……………7-8 ผลเสียของการติดสารเสพติด…………………………………….………..…………………..………9-12 การป้องกันการติดสารเสพติด…………………………………….………..…………………..…………13 เอกสารอ้างอิง…………………………………………………..…………..…..………………….…………..14
1
สารเสพติด หมายถึง สารใดก็ตามที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ หรือสารที่สังเคราะห์ขึ้น เมื่อนาเข้าสู้ร่างกาย ไม่ว่าจะโดยวิธีรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยวิธีการใด ๆ แล้ว ทาให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจ นอกจากนี้ ยังจะทาให้เกิดการเสพติดได้ หากใช้สารนั้นเป็นประจาทุกวัน หรือวันละหลาย ๆ ครั้ง ลักษณะสาคัญของสารเสพติด จะทาให้เกิดอาการ และอาการแสดงต่อผู้เสพดังนี้ 1) เกิดอาการดื้อสาร หรือต้านสาร และเมื่อติดแล้ว ต้องการใช้สารนั้นในประมาณมากขึ้น 2) เกิดอาการขาดสาร ถอนสาร หรืออสารกสาร เมื่อใช้สารนั้นเท่าเดิม ลดลง หรือหยุดใช้ 3) มีความต้องการเสพทั้งทางร่างกายและจิตใจ อย่างรุนแรงตลอดเวลา 4) สุขภาพร่างกายทรุดโทรมลง เกิดโทษต่อตนเอง ครอบครัว ผู้อื่น ตลอดจนสังคมและประเทศชาติ
ภาพจาก http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/29669/042252
2
ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีผู้พบโคเคนและกัญชาซึ่งมีฤทธิ์ทาให้จิตใจสบายโคเคนพบว่ามีประโยชน์ ทางการรักษาโรคด้วยโดยใช้เป็นสารชาเฉพาะที่ ดังนั้นโคเคนจึงเป็นที่นิยมใช้เป็นผลให้มีการเสพติดโคเคน กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 มีการนาเอาโบรไมด์ (Bromide) มาใช้เป็น สารระงับประสาทและรักษา โรคลมชัก ซึ่งได้รับความนิยมมากพอ ๆ กับ สารวาเลียม (Valium) และสารริเบรียม (Librium) ในปัจจุบัน แต่ โบรไมด์สะสมในร่างกาย ทาให้เกิดอาการวิกลจริต และทาลายสมองอย่างถาวรด้วย ในระยะใกล้เคียงกันก็มี ผู้ผลิตสารบาร์บิทุเรท (Barbiturate) และสารสงบประสาทตัวอื่น ๆ และได้รับความนิย มใช้อย่างแพร่หลาย เช่นกัน โดยผู้ใช้ไม่ทราบถึงฤทธิ์ในการเสพติดของสารเหล่านี้
ภาพจาก http://topicstock.pantip.com/wahkor/topicstock/2012/04/X12028694/X12028694.html
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 แอมเฟตามีนถูกนามาใช้ในกองทหารญี่ปุ่น เยอรมัน อเมริกัน และอังกฤษ เพื่อให้ร่างกายมีกาลังกระฉับกระเฉงอยู่ตลอดเวลา พอหลังสงครามสารซึ่งกองทัพญี่ปุ่นกักตุนไว้มาก็ทะลักสู่ ตลาด ทาให้ประชาชนชาวญี่ปุ่นใช้สารกันมาก ในปี ค.ศ.1955 คาดว่ามีชาวญี่ปุ่นติดแอมเฟตามีนราวร้อยละ 1 ระหว่าง ค.ศ.1960-1970 ในประเทศสวีเดนมีการใช้สาร Phenmetrazine (Preludin) ซึ่งคล้ายแอมเฟตามีน ฉี ด เข้ า หลอดเลื อ ดด าด้ ว ย ในสหรั ฐ เมริ ก าพวกฮิ ป ปี้ ซึ่ง เคยนิย มใช้ แอลเอสดี (LSD) หรื อ Lysergic Acid Diethylamide) ก็ค่อย ๆ หันมาใช้แอมเฟตามีนฉีดเข้าหลอดเลือดดา เช่นกัน ระหว่างปี ค.ศ. 1960-1970 สารหลอนประสาทเริ่มถูกนามาใช้และใช้มากหลัง ค.ศ.1970 ผู้เสพส่วน ใหญ่เป็นชาวอเมริกันวันรุ่นที่มีฐานะทางเศรษฐกิจปานกลางโดยเริ่มจาก แอลเอสดี ซึ่ง Hofmannเป็นผู้ค้นพบ ในปี ค.ศ.1953 เนื่องจากแอลเอสดีทาให้เกิดอาการล้าย วิกลจริต จึงมีนักจิตวิเคราะห์บางคนนามาใช้เพื่อการ รักษาผู้ป่วยด้วย เพราะคิดว่าสารนี้จะช่วยกาจัด "Repression"
3
สารเสพติด แบ่งได้หลายรูปแบบ ตามลักษณะต่าง ๆ ดังนี้ 3.1 แบ่งตามแหล่งที่เกิด ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1) สารเสพติดธรรมชาติ (Natural Drugs) คือสารเสพติดที่ผลิตมาจากพืช เช่น ฝิ่น กระท่อม กัญชา เป็นต้น 2) สารเสพติดสังเคราะห์ (Synthetic Drugs) คือสารเสพติดที่ผลิตขึ้นด้วยกรรมวิธีทางเคมี เช่น เฮโรอีน แอมเฟตามีน เป็นต้น 3.2 แบ่งตามพระราชบัญญัติสารเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522 ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 5 ประเภท คือ ประเภทที่ 1 ยาเสพติดให้โทษชนิดร้ายแรง เป็นยาที่ไม่มีการนามาใช้ในทางการแพทย์ และ ทาให้เกิดการเสี่ยงต่อการติดยาของประชากรในระดับรุนแรง เช่น เฮโรอีน ยาบ้า ยาอี เป็นต้น ประเภทที่ 2 ยาเสพติดให้โทษทั่วไป เป็นยาที่มีประโยชน์ในการรักษาโรคในระดับน้อยจนถึง มาก และทาให้เกิดการเสี่ยงต่อการติดยาของประชากรในระดับที่ต้องพึงระวัง เช่น มอร์ฟีน โคเคน โคเดอีน เป็นต้น ประเภทที่ 3 ยาเสพติดให้โทษที่มียาเสพติดให้โทษในประเภท 2 เป็นส่วนผสมอยู่ด้วย ตามที่ ได้ขึ้นทะเบียนตารับไว้ เป็นยาที่ทาให้เกิดการเสี่ยงต่อการติดยาของประชากรน้อย แต่ยังคงมีอันตราย และมีประโยชน์มากในการรักษาโรคเช่น ยาแก้ไอผสมโคเดอีน เป็นต้น ประเภทที่ 4 สารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 หรือประเภท 2 เช่น อาเซติคแอนไฮไดรด์(Acetic Anhydride) อาเซติลคลอไรด์ (Acetyl Chloride) ประเภทที่ 5 ยาเสพติดให้ โ ทษที่มิได้อยู่ในประเภทที่ 1 ถึงประเภทที่ 4 เช่น กัญชา พืช กระท่อม เห็ดขี้ควาย เป็นต้น
4
ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ 1) สารเสพติดประเภทกดประสาท ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน สารระเหย และสาร กล่อมประสาท 2) สารเสพติดประเภทกระตุ้นประสาท ได้แก่ แอมเฟตามีน กระท่อม และ โคคาอีน 3) สารเสพติดประเภทหลอนประสาท ได้แก่ แอลเอสดี ดีเอ็มพี และ เห็ดขี้ควาย 4) สารเสพติดประเภทออกฤทธิ์ผสมผสาน กล่าวคือ อาจกดกระตุ้ น หรือ หลอนประสาทได้ พร้อม ๆ กัน ตัวอย่างเช่น กัญชา
ภาพจาก https://www.youtube.com/watch?v=Md_YVCMk-xc
5
แบ่งได้หลายรูปแบบ ตามลักษณะต่าง ๆ ดังนี้ การใช้สารเสพติด มีโทษและพิษภัยรอบตัว นอกจากจะส่งผลกระทบในทางไม่ดีโดยตรงต่อตัวผู้เสพ ทั้ ง ทางร่ า งกายและจิ ต ใจ ยั ง ส่ ง ผลกระทบทางอ้ อ มไปยั ง ครอบครั ว ผู้ เ สพ ตลอดจนเศรษฐกิ จ สั ง คม และประเทศชาติอีกด้วย บทลงโทษเกี่ยวกับสารเสพติดให้โทษ - ผู้จาหน่ายหรือมีเฮโรอีนไว้ในครอบครอง น้าหนักไม่เกิน 100 กรัม จาคุกตั้งแต่ 5 ปี ถึงตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่ 50,000-500,000 บาท เกิน 100 กรัม ประหารชีวิตหรือจาคุกตลอดชีวิต - มีเฮโรอีนไว้ในครอบครอง โทษจาคุกตั้งแต่ 1-10 ปี และปรับตั้งแต่ 10,000-100,000 บาท - ผู้เสพเฮโรอีนมีโทษจาคุกตั้งแต่ 6 เดือน - 10 ปี และปรับตั้งแต่ 5,000-100,000 บาท - มีกัญชาไว้ในครอบครองเพื่อจาหน่าย โทษจาคุกตั้งแต่ 2-15 ปี และปรับตั้งแต่ 20,000-150,000 บาท - ผู้ใดเสพกัญชา จาคุกไม่เกิน 1 ปี และปรับไม่เกิน 10,000 บาท - มีกัญชาไว้ในครอบครอง โทษจาคุกไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่เกิน 50,000 บาท - ผลิต (ปลูก) กัญชา จาคุกอย่างต่า 2 ปี และปรับอย่างต่า 20,000-150,000 บาท สารระเหย สารเสพติด ผิดกฎหมาย
ภาพจาก http://th.survley.com/th/whos-going-to-end-up-in-jail-with-you.html
โทษทางร่างกาย และจิตใจ แบ่งได้หลายรูปแบบ ตามลักษณะต่าง ๆ ดังนี้ 1) สารเสพติดจะให้โทษโดยทาให้การปฏิบัติหน้าที่ ของอวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกายเสื่อมโทรม พิษ ภัยของสารเสพย์ติดจะทาลายประสาท สมอง ทาให้สมรรถภาพเสื่อมลง มีอารมณ์ จิตใจไม่ปกติ เกิดการ เปลี่ยนแปลงได้ง่าย เช่น วิตกกังวล เลื่อนลอยหรือฟุ้งซ่าน ทางานไม่ได้ อยู่ในภาวะมึนเมาตลอดเวลา อาจเป็น โรคจิตได้ง่าย 2) ด้ า นบุ ค ลิ ก ภาพจะเสี ย หมด ขาดความสนใจในตนเองทั้ ง ความประพฤติ ค วามสะอาดและ สติสัมปชัญญะ มีอากัปกิริสารแปลก ๆ เปลี่ยนไปจากเดิม
6
3) สภาพร่ า งกายของผู้ เ สพจะอ่ อ นเพลี ย ซูบซีด หมดเรี่ยวแรง ขาดความกระปรี้กระเปร่าและ เกีย จคร้ าน เฉื่ อยชา เพราะกิน ไม่ได้ นอนไม่ห ลั บ ปล่อยเนื้อ ปล่อยตัวสกปรก ความเคลื่อนไหวของ ร่างกายและกล้ามเนื้อต่าง ๆ ผิดปกติ 4) ทาลายสุ ขภาพของผู้ ติ ดสารเสพติ ด ให้ ทรุดโทรมทุกขณะ เพราะระบบอวัยวะต่าง ๆ ของ ร่างกายถูกพิษสารทาให้เสื่อมลง น้าหนักตัวลด ผิว ภาพจาก https://sites.google.com/site/suntipongmungmay/khwamhmay-ya-seph-tid/kar-sangket-phu-tid-ya-seph-tid คล้าซีด เลือดจางผอมลงทุกวัน 5) เกิดโรคภัยไข้เจ็บได้ง่าย เพราะความต้านทานโรคน้อยกว่าปกติ ทาให้เกิดโรคหรือเจ็บไข้ได้ง่าย และ เมื่อเกิดแล้วจะมีความรุนแรงมาก รักษาหายได้สารก 6) อาจประสบอุบัติเหตุได้ง่าย สาเหตุเพราะระบบการควบคุมกล้ามเนื้อและประสาทบกพร่อง ใจลอย ทางานด้วยความประมาท และเสี่ยงต่ออุบัติเหตุตลอดเวลา 7) เกิดโทษที่รุนแรงมาก คือ จะเกิดอาการคลุ้มคลั่ง ถึงขั้นอาละวาด เมื่อหิว สารเสพติดและหาสารไม่ ทันเริ่มด้วยอาการนอนไม่หลับ น้าตาไหล เหงื่อออก ท้องเดิน อาเจียน กล้ามเนื้อกระตุก กระวนกระวาย และ ในที่สุดจะมีอาการเหมือนคนบ้า เป็นบ่อเกิดแห่งอาชญากรรม โทษพิษภัยต่อครอบครัว 1) ความรับผิดชอบต่อครอบครัว และญาติพี่น้องจะหมดสิ้นไป ไม่สนใจที่จะดูแลครอบครัว 2) ทาให้สูญเสียทรัพย์สิน เงินทอง ที่จะต้องหามาซื้อสารเสพติด จนจะไม่มีใช้จ่ายอย่างอื่น และต้อง เสียเงินรักษาตัวเอง 3) ทางานไม่ได้ขาดหลักประกันของครอบครัว และนายจ้างหมดความไว้วางใจ 4) สูญเสียสมรรถภาพในการหาเลี้ยงครอบครัว นาความหายนะมาสู่ครอบครัวและญาติพี่น้อง
7
จะสังเกตว่าผู้ใดใช้หรือเสพสารเสพติด ให้สังเกตจากอาการและการเปลี่ยนแปลงทั้งทางร่างกาย และจิตใจดังต่อไปนี้ การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย 1) สุขภาพ ทรุดโทรมผอมซูบซีด 2) ริมฝีปากเขียวคล้า แห้งแตก 3) ผิวหนังหยาบกร้าน เป็นแผลพุพอง 4) น้ามูกน้าตาไหล เหงื่อออกมาก 5) มักใส่แว่นกรองแสงสีเข้ม เพื่อต่อสู้กับแสงสว่างเพราะม่านตาขยาย 6) มีร่องรอยการเสพสารโดยการฉีด นิ้วมือมีรอยคราบเหลืองสกปรก 7) มีรอยแผลเป็นที่ท้องแขนเป็นรอยกรีด ด้วยของมีคม (ทาร้ายตนเอง) การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ ความประพฤติ และบุคลิกภาพ 1) ขาดการเรียน หนีโรงเรียน การเรียนด้อยลงสติปัญญาเสื่อม การงานบกพร่อง 2) ไม่สนใจต่อสิ่งแวดล้อม ชอบแยกตัวเอง หลบซ่อนตัว ทาตัวลึกลับ 3) เป็นคนเจ้าอารมณ์ หงุดหงิด เอาแต่ใจตนเอง ขาดเหตุผล พูดจาก้าวร้าว ดื้อรั้นไม่เชื่อฟัง สามารถ ทาร้ายบิดามารดาได้ 4) ไม่สนใจความเป็นอยู่ของตนเอง แต่งกายไม่สุภาพเรียบร้อย สกปรก 5) สีหน้าแสดงความผิดหวังกังวล ซึมเศร้า พกอุปกรณ์เกี่ยวกับ สารเสพติด เช่น เข็มฉีด สาร กระดาษ ตะกั่ว ไม้ขีดไฟ
8
ภาพจาก http://www.doctorsiam.com/article-303-
เมื่อขาดสารเสพติดจะมีอาการอสารกสารเสพติดเกิดขึ้น เช่น 1) มีอาการน้ามูก น้าตาไหล หาวนอน จามคล้ายเป็นหวัด 2) กระสับกระส่าย กระวนกระวาย หายใจถี่ลึก จ้องหาแต่ สารเสพติด จะขวนขวายหามาเสพไม่ว่าด้วย วิธีการใด ๆ 3) คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน อาจมีเลือดปนออกมาด้วย เรียกว่า ลงแดง 4) ขนลุก เหงื่อออก เป็นตะคริว กล้ามเนื้อกระตุก ขบฟัน ปวดเมื่อยตามร่างกาย ปวดเสียวในกระดูกดิ้น ทุรนทุราย 5) มีไข้และความดันโลหิต ชักกระตุก นอนไม่หลับ คลุ้มคลั่ง เสียสติ การตรวจพิสูจน์หาสารเสพติดในร่างกาย การตรวจหาสารเสพติดในร่างกาย แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน 1) การตรวจขั้นต้น : ราคาถูก ได้ผลเร็ว มีชุดตรวจสาเร็จรูป ความแม่นยาในการตรวจปานกลาง สะดวก ในการนาไปตรวจนอกสถานที่ 2) การตรวจขั้นยืนยัน : เป็นการตรวจที่ให้ผลแม่นยา แต่ใช้เวลาตรวจนาน ค่าใช้จ่ายสูง
9
7.1 การสูญเสียด้านบุคลิกภาพและจิตใจ เยาวชนย่อมมีบุคลิกภาพที่กาลังเจริญเติบโต มีการสร้างประสบการณ์ต่าง ๆ และหัดวิธีการและชั้นเชิง ในการ ผจญปัญหา หรือกระทาการ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย การแก้ปัญหาย่อมต้องอาศัยกระบวนการทางจิตหลาย ประการ เช่น ความอดกลั้น การควบคุมอารมณ์ การแสดงอารมณ์ตามความเหมาะสม การใช้ความคิดและ ประมาณการ ตลอดจนการหาวิธีแก้ปัญหา ให้เกิดผลดีที่สุด หากเยาวชนใช้และติด สารเสพติด โดยอาศัย เป็น ทางหนีจากความทุกข์สารกหรือปัญหาต่าง ๆ แล้วบุคลิกภาพของผู้นั้น ก็ย่อมหยุดเจริญ แทนที่จะหาทาง แก้ปัญหา ที่เหมาะสม กลับหันไปใช้ สารแทน เยาวชน ที่ติดสารจึงมีบุคลิกภาพใหม่ ที่มีความอดทนน้อย ระแวง และหาความสุขจากชีวิตธรรมดาที่ไม่ใช้สารเสพติดไม่ได้ หากผู้ นั้ น ได้ ผ่ า นการ รั ก ษา หลาย ครั้ ง และเลิ ก ได้ไม่นานก็ต้องกลับไปใช้อีก ความเชื่อมั่นในตนเอง และ ความหวังว่าจะเลิกจากสารก็ค่อย ๆ หายไปทุกที หากผู้ นั้นถูกจับและติดคุกหลาย ๆ ครั้ง ความกลัวคุกตะราง และการลงโทษต่ า ง ๆ ตลอดจนความไม่ ดี ใ นสายตา ของสังคมก็ค่อยลดเสื่อมและชินชาไป การติดคุกตะราง หรือการถูกลงโทษทางกฎหมายกลายเป็ น ภาพจาก http://www.tcijthai.com/news/2012/23/scoop/249 เรื่องเล็ก ค่านิยมของเขาก็เปลี่ยนไป ความดี กั บ ความชั่ ว ตามแนวคิ ด ปกติ ก็ เ ลื อ นไป ความสุขที่เกิดจากการกระทาความดีก็ถอยไป นับได้ว่า เป็นการเสื่อมสลายของสภาพจิต เมื่อเยาวชนคนหนึ่ง คนใดติดสารเสพติด และมีบุคลิกภาพเปลี่ยนแปลงไปจนถึงขั้นนี้ ก็จะเป็นพลเมืองดีไม่ได้ ไม่สามารถใช้ชีวิต ที่เป็นประโยชน์กับตนเองและผู้อื่นได้ กลับเป็นผู้ก่อให้เกิดปัญหาสาหรับตนเอง ครอบครัวและสังคม จึงนับว่า เป็นการสูญเสียทรัพยากรมนุษย์ของชาติ ซึ่งเป็นการสูญเสียที่สาคัญที่สุด 7.2 การสูญเสียทางสุขภาพอนามัย ผู้ที่ติดสารเสพติด อาจเกิดปัญหาทางสุขภาพ อนามัย หรือโรคต่าง ๆ ได้หลายอย่าง ได้แก่ 1) การใช้สารเกินขนาด โดยที่การต้ านสารเปลี่ยนแปลงอยู่เรื่อย ผู้ที่ พยายามเลิกสารหรือเข้ารับการ รักษาความด้านสารจะลดลงประกอบกับสารที่ได้จากการลักลอบค้าไม่ได้มีการควบคุมมาตรฐาน ความแรงอาจ เปลี่ยนแปลงได้อยู่เสมอ เพราะมีการเจือปนสารชนิดอื่นเข้าไปก่อนนาออกจาหน่าย ผู้ติด สารจึงอาจใช้ ส าร เกิ น ขนาดและเป็ น อั น ตรายได้ ยิ่ ง เป็ น การใช้ ส ารที่ ฉี ด เข้ า หลอดเลื อ ดแล้ ว ยิ่ ง มี โ อกาสเกิ น ขนาดได้ ม าก สารที่มีฤทธิ์กดระบบประสาทกลาง เมื่อใช้เกิน ขนาดจะทาให้ ไม่รู้สึ กตัว ไป การหายใจลดลง และอาจเป็น อันตรายเสียชีวิตได้ ในบางรายอาจเกิดการบวมของปอด ทาให้หายใจหอบและเสมหะเป็นฟองได้ 2) อาการจากการขาดสาร อาการถอนสารเสพติดที่เกิดขึ้นในผู้ติดสารบางคนที่ติดอย่างรุนแรงและ สุ ข ภาพ ไม่ ดี อ าจเป็ น อั น ตรายได้ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง การติ ด สาร นอนหลั บ อาจเกิ ด อาการไข้ สู ง ชั ก และไม่รู้สึกตัวได้ ในบางรายอาจมีอาการถอนสารที่ปรากฏคล้ายโรคทางกาย เช่น อาการปวดท้องอย่างรุนแรง เหมื อ นการอุ ด ตั น ของล าไส้ ท าให้ ไ ด้ รั บ การผ่ า ตั ด แก้ ไ ข โดยวิ นิ จ ฉั ย ผิ ด ได้ อาการถอนสารเสพติ ด ที่เกิดในเด็กแรกเกิด เนื่องจากมารดาติดสารเสพติด และใช้สารในระยะก่อนคลอด จะทาให้เด็กไม่แข็งแรง หายใจน้อย และเสียชีวิตได้ง่าย
10
3) พิษจากสารเสพติด สารเสพติดบางชนิด เช่น แอมเฟตามีน กัญชา โคเคน และแอลเอสดี มีผลทาให้ เกิดอาการทางจิตได้ บางรายอาจคลุ้มคลั่ง วิกลจริต ไปเป็นระยะเวลานานสารแอมเฟตามีน ทาให้เกิดอาการ ระแวงอย่างรุนแรง คิดว่าผู้อื่นจะมาทาร้ายจึงอาละวาด และทาร้ายผู้อื่นได้ ในสารเสพติดที่ลักลอบขายกัน อาจมีส ารอื่น เจื อปน เพื่อให้ ได้ป ริ มาณมากขึ้น เช่น สารหนู และ สตริกนิน (strychnine) เป็นต้น ซึ่งเป็น สารพิษทาให้เป็นอันตรายได้ 4) อัน ตรายจากการฉี ด สารที่ ไ ม่ส ะอาด ผู้ ติด สารที่ใช้ ส ารฉีดเข้า หลอดเลื อด หรือเข้ากล้ า มเนื้ อ มักไม่ได้ทาความสะอาดหลอดฉีดสาร ให้ปราศจากเชื้อเสียก่อน น้าที่ใช้ละลายสารเพื่อฉีดก็ไม่สะอาด จึงอาจฉีด เอาเชื้อโรคต่าง ๆ เข้าไปในร่างกายได้ ทาให้เกิดการอักเสบของผิวหนัง และเนื้อเยื่อบริเวณที่ฉีด เกิดเป็นฝีหรือ เนื้อตายได้ อาจลุกลามเกิดการอักเสบของหลอดเลือด หรือโลหิตเป็นพิษได้ ในบางรายเชื้อโรคอาจเข้าไปยัง อวัยวะภายใน เช่น หัวใจ ปอด สมอง และกระดูก ทาให้เกิดลิ้นหัวใจอักเสบ และฝีตามอวัยวะต่าง ๆ ผู้ที่ฉีดสาร หลายคนอาจใช้เข็มฉีดสารร่วมกัน ทาให้โรคจากคนหนึ่งติดไปยังคนอื่น ๆ ได้ เช่น โรคตับ อักเสบ เป็นต้น ผู้ติดสารมีอัตราการเป็นโรคนี้มากกว่าบุคคลทั่วไป และอาจเกิดการระบาดเป็นโรคทีละหลาย ๆ คนได้ 5) อันตรายจากการฉีด สารที่ไม่เหมาะสมเข้าร่างกาย ผู้ติด สารอาจใช้สารเม็ดมาละลายน้าฉีดเข้า หลอดเลื อ ด โดยไม่ ท ราบว่ า ในสารเม็ ด มี แ ป้ ง พวกทั ล คั ม (talcum) อยู่ ด้ ว ย บางที ก็ ใ ช้ ส าลี ก รองน้ าสาร ก่อนจะใช้ฉีด แป้งและใยสาลีจะเข้าไปติดอยู่ตามหลอดเลือดฝอยของปอด เกิดโรคปอดแข็ งทาให้การหายใจ ลาบากเรื้อรังและไม่มีวิธีรักษา ในบางกรณีสารอาจจะละลายไม่ดี มีเกล็ดหรือผลึกของสารเข้าไปในหลอดเลือด ไปอุดหลอดเลือดต่าง ๆ เช่น ที่สมอง เกิดเป็นอัมพาตได้ 6) โรคบางชนิดที่พบร่วมกับการติด สารเสพติด ผู้ติดสารเสพติดมักมีสุขภาพไม่ดี อาหารไม่เพียงพอ และการดูแลสุขภาพอนามัย ตลอดจนการรักษาความสะอาดของร่างกายไม่ดี จึงมีโรคต่าง ๆ เกิดได้มาก เช่น วั ณ โรคของปอด โรคผิ ว หนั ง ต่ า ง ๆ เป็ น ต้ น มี ผู้ ร ายงานว่ า พบโรคบางชนิ ด ร่ ว มกั บ การติ ด สารเสพติ ด โดยความสั ม พั น ธ์ แ ละวิ ธี ก ารเกิ ด ยั ง ไม่ ไ ด้ เ ป็ น ที่ เ ข้ า ใจชั ด เจน เช่ น โรคเนื้ อ เยื่ อ กล้ า มเนื้ อ ละลายตั ว (rhabdomyolysis) มี อ าการปวดกล้ า มเนื้ อ และอ่ อ นเพลี ย ขยั บ เขยื้ อ นล าบาก มี ก ารสลายตั ว ของเซลล์ กล้ า มเนื้ อ ท าให้ มี ส ารไมโอโกลบิ น เข้ า ไปในเลื อ ด และขั บ ถ่ า ยออกไปในปั ส สาวะ (myoglobinemia, myoglobinuria) เห็นเป็นปัสสาวะสีดา โรคไตอักเสบ และโรคเส้นประสาทอักเสบ ก็พบได้ในผู้ติดสารเสพติด
ภาพจาก https://www.youtube.com/watch?v=Md_YVCMk-xc
11
7.3 การสูญเสียทางเศรษฐกิจ แบ่งได้หลายรูปแบบ ตาม ลักษณะต่าง ๆ ดังนี้ 1) ต้ น ทุ น นโนบายยาเสพติ ด ของภาครั ฐ เป็ น การรวม ต้น ทุน ที่เกี่ย วข้อ งโดยตรงกับ นโยบายรั ฐ บาล โดยรัฐ บาลไทย ได้ จ าแนกผู้ ด าเนิ น นโยบาย และชุ ด นโยบายยาเสพติ ด เป็ น สามประเภท คื อ การป้ อ งกั น การปราบราม และการบ าบั ด ตัว เลขการประมาณการที่อยู่ ในหมวดนี้ ในช่ว งปี 2551-2558 นักโทษยาเสพติดชายเทียบกับนักโทษคดีทั่วไป เพิ่มขึ้นจาก 55% เป็ น 71% นั ก โทษยาเสพติ ด หญิ ง เที ย บกั บ นั ก โทษคดี ทั่ ว ไป เพิ่มขึ้นจาก 71% เป็น 82% งบประมาณของภาครั ฐ เพิ่ ม ขึ้ น สู ง มากจาก 217 ภาพจาก http://www.seesketch.com/ ล้านบาทในปี 2542 เป็น 10,700 ล้านบาทในปี 2559 ใน รอบ 17 ปี เพิ่มขึ้นถึง 50 เท่า 2) ต้นทุนด้านผลิตภาพการผลิต อันนี้เป็นต้นทุนที่มีมูลค่าสูงสุดในการประเมินนี้ (ทรัพยากรบุคคล เป็นสิ่งมีค่าที่สุดที่เราสูญเสียไปจากปัญหายาเสพติด) ต้นนี้ประเภทนี้ประมาณการจากการสูญเสียประสิทธิภาพ การผลิต อันได้แก่การสูญเสียกาลังของผู้ใช้ยาเสพติดที่ส่วนใหญ่จะเป็นวัยแรงงาน การสูญเสียเวลาที่เป็นต้นทุน ในการผลิตมาใช้กระบวนการยาเสพติด ในช่วงระหว่างปี 2551-2558 มีความสูญเสียประมาณ 529,814902,386 ล้านบาท 3) ต้น ทุน ของการก่ อ อาชญากรรม ต้นทุนรวมของการก่ อ อาชญากรรมที่เ กี่ ยวข้ อ งกับ ยาเสพติ ด ทั้งในภาครัฐและเอกชนระหว่างปี 2550-2558 มีมูลค่าระหว่าง 38,790-106,879 ล้านบาท แยกเป็นต้นทุน ของภาคเอกชนประมาณ 2,500-4,400 ล้านบาท และต้นทุนของภาครัฐในการก่ออาชญากรรม (การติดสินบน เจ้าหน้าที่รัฐ และการตอนยาของตารวจ) อีกประมาณ 18,000-100,000 ล้านบาท 4) ต้นทุนของสังคมต้นทุนทางสังคมที่สูญเสียผลิตภาพวัยแรงงานจากโรคปอดอักเสบและโรคเอดส์ ระหว่างปี 2551-2557 ราว ๆ 26,880 ล้านบาท ต้นทุนทางสังคมที่สูญเสียผลิตภาพวัยแรงงานจากการเสียชีวิต ด้วยยาเสพติดระหว่างปี 2550-2557 ราวๆ 2,448 ล้านบาท 5) ต้นทุนของนักโทษในระบบยุติธรรม หมวดนี้เป็นการประมาณจาก ต้นทุนของนักโทษเด็ ดขาด ที่ ต้ อ งเสี ย ค่ า ปรั บ ให้ แ ก่ ศ าลและ ค่ า ใช้ จ่ า ยในชี วิ ต ประจ าวั น ของนั ก โทษยาเสพ ติ ด ที่ อ ยู่ ใ นการควบคุ ม ของกระบวนการยุ ติ ธ รรม มี มู ล ค่ า ประมาณ 693,284 ล้ า นบาท รวมแล้ ว ตั้ ง แต่ ปี 2551-2558 มู ล ค่ า ความเสียหายของสังคมไทยจากปัญหายาเสพติดอยู่ในระหว่าง 1.153-1.559 ล้านล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 13.8-18.9 ของ GDP เฉลี่ยในปีงบประมาณ 2550-2558 6) การขาดงาน ผู้ ติด สารเสพติดบางคน อาจ สามารถปรับการใช้ ส ารได้ และสามารถทางานได้ ตามปกติ บางคนใช้ สารขนาดน้ อย ๆ ในเวลาเช้าและกลางวัน เพื่อไม่ให้เกิดอาการถอนสารและสามารถ ทางานได้ แล้วใช้สารมากในตอนเย็นหรือกลางคืนผู้ติดสารส่วนใหญ่เมื่อติดงอมแงมแล้วจะไม่สามารถทางานได้ เพราะจะมี ผ ลต่ อ ร่ า งกายและจิ ต ใจที่ ขั ด กั บ การท างาน เมื่ อ ใช้ ส ารมากในเวลากลางวั น ก็ มี อ าการซึ ม สะลึ ม สะลื อ ความคิ ด ช้ า ท างานได้ ล าบาก เมื่ อ สารหมดฤทธิ์ ก็ เ กิ ด อาการถอนสาร คื อ กระวนกระวาย และปวดเมื่อยตามตัว ฤทธิ์ของสารและอาการถอนสารนี้เกิดสลับกันอยู่ทั้งวันจนไม่สามารถทางานหรือเรียน หนังสือได้ นอกจากนี้ยังมีความจาเป็นต้องใช้เวลาในการไปหาสารมาเพื่อใช้ในคราวต่อไป และหาที่ซุกซ่อนเพื่อ ใช้สารสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ จะรบกวนและขัดขวางการทางาน ทาให้ประสิทธิภาพลดลงจนอาจต้องออกจากงาน
12
7) ค่าใช้จ่ายในการจั ดการแก้ปัญหาของรัฐ และเอกชน ทั้ งในด้านการปราบปรามการลั กลอบค้า สารเสพติด การให้บริการบาบัดรักษา และการป้องกัน ทาให้สูญเสียงบประมาณและทรัพยากรไปไม่น้อย 7.4 การสูญเสียทางครอบครัวและสังคม 1) การเสียชื่อเสียง และฐานะทางสังคมของ ผู้ติดสาร ผู้ติดสารย่อมเป็นที่รังเกียจของสังคม 2) ปั ญหาในครอบครั ว การติด สารเสพติดทา ให้ คนในครอบครัว ได้รับความล าบากทั้งด้านจิตใจ และ ฐานะการเงิน มีผลให้เกิดความแตกแยกในครอบครัวได้ ดังจะเห็นได้ว่าผู้ติด สารมีอัตราการหย่าร้างสูง ต่อครอบครัวและสังคม แบ่งออกได้ดังนี้ - ครอบครัวที่มีผู้ติดสารเสพติด มักได้รับความเดือดร้อนจากผู้ติดสารเสพติดในทุกด้าน เช่น การขาด ความรับผิดชอบต่อหน้าที่นาไปสู่ความขัดแย้ง ทะเลาะวิวาท ก่อให้เกิดความเครียด และต้องแก้ไขปัญหาบ่อยๆ - ทาให้สูญเสียสมรรถภาพ การทางาน ทาให้เกิดผลกระทบต่อครอบครัวทั้งทางเศรษฐกิจและสังคมเสีย ทรัพย์สินรายได้ของครอบครัวเนื่องจากต้องซื้อสารเสพติดมาเสพ และรักษาโรคที่เกิดจากสารเสพติด - ปัญหาสารเสพติดก่อให้เกิดความหวาดระแวงจากประชาชนและสังคมเป็นวงกว้าง เนื่องจากเกรงว่า บุตรหลานจะเข้าไปเกี่ยวข้องกับสารเสพติดหรือถูกประทุษร้ายจากผู้เมาสารเสพติด หรือมีความผิดปกติทางจิต จากการใช้สารเสพติด 3) ปั ญ หาอาชญากรรม ผู้ ติ ด สารจ าเป็ น ต้ อ งใช้ เ งิ น จ านวนมากในการซื้ อ สารมาใช้ ประกอบกั บ ความอยากยารุนแรง ทาให้ขาดการยั้งคิด จึงเกิดอาชญากรรมต่าง ๆ ขึ้นได้ ในชุมชนใดที่มีผู้ติดสารเสพติดอยู่ โอกาสที่จะเกิดการลักขโมยมีมากขึ้น นอกจากนี้ ปัญหาสารเสพติดอาจเป็นปัญหาทางการเมืองในประเทศ หรือระหว่างประเทศ และมีผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติได้ 7.5 ต่ อ ส่ ว นรวมและประเทศชาติ เป็ น ภั ย ต่ อ ความมั่ น คง ส่ ง ผลกระทบต่ อ เศรษฐกิ จ สั ง คม และวั ฒ นธรรม และวิ ถี ชี วิ ต ที่ เ ป็ น สุ ข ของคนในประเทศประเทศชาติ สู ญ เสี ย งบประมาณในการป้ องกั น ปราบปราม บาบัดรักษาผู้ติดสารเสพติด
QR Code วีดีโอ เรื่อง ผลกระทบของสำรเสพติด
13
แบ่งได้หลายรูปแบบ ตามลักษณะต่าง ๆ ดังนี้ 1) ป้องกันตนเอง ไม่ใช้สารโดยมิได้รับคาแนะนาจากแพทย์ และจงอย่าทดลองเสพสารเสพติดทุกชนิด โดยเด็ดขาด เพราะติดง่ายหายสารก 2) ป้องกันครอบครัว ควรสอดส่องดูแลเด็กและบุคคลในครอบครัวหรือที่อยู่รวมกัน อย่าให้เกี่ยวข้อง กับสารเสพติด ต้องคอยอบรมสั่งสอนให้รู้ถึงโทษและภัยของสารเสพติด หากมีผู้เสพสารเสพติดในครอบครัว จงจั ดการให้ เข้ารั กษาตัว ที่โ รงพยาบาลให้ ห ายเด็ด ขาด การรักษาแต่แรกเริ่ มติด สารเสพติด มีโ อกาสหาย ได้เร็วกว่าที่ปล่อยไว้นาน ๆ 3) ป้องกันเพื่อนบ้าน โดยช่วยชี้แจงให้เพื่อนบ้านเข้าใจถึงโทษและภัยของสารเสพติด โดยมิให้เพื่อนบ้าน รู้ เท่าไม่ถึงการณ์ต้องถูกหลอกลวง และหากพบว่าเพื่อนบ้านติด สารเสพติด จงช่ว ยแนะนาให้ ไปรักษาตัว ที่โรงพยาบาล 4) ป้องกันโดยให้ความร่วมมือกับทางราชการ เมื่อทราบว่าบ้านใดตาบลใดมีสารเสพติดแพร่ระบาด ขอให้แจ้งเจ้าหน้าที่ตารวจทุกแห่งทุกท้องที่ทราบ ศูนย์ปราบปรามสารเสพติดให้โทษ - กรมตารวจ (ศปส.ตร.) โทร. 02-2527-962, 02-252-5932 - สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามสารเสพติด (สานักงาน ป.ป.ส.) - สานักนายกรัฐมนตรี โทร. 02-245-9350-9 สถานบาบัด - โรงพยาบาลตารวจ แผนกจิตเวช กรุงเทพฯ โทร. 02-252-8111-7 - โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า แผนกจิตเวช กรุงเทพฯ โทร. 02-246-1946 - โรงพยาบาลธัญญารักษ์ อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี โทร. 02-531-0080-8 - โรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า กรุงเทพฯ โทร. 0-24681116-20 - โรงพยาบาลทหารเรือกรุงเทพฯ โทร. 02-411-2191 - ศูนย์บริการสาธารณสุข กรุงเทพฯ ลุมพินี ซอยปลุกจิตต์ ถ.วิทยุ โทร. 02-251-2970 - ศูนย์บริการสาธารณสุข กรุงเทพฯ สี่พระสาร โทร. 02-236-4055 - สานักสงฆ์ถ้ากระบอก จ.สระบุรี - สานักสงฆ์ถ้าเขาทะลุ จ.ราชบุรี
ภาพจาก http://mwits237narcotic.blogspot.com
ภาพจาก http://mwits237narcotic.blogspot.com
14
เอกสำรอ้ำงอิง กระทรวงยุติธรรม สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามสารเสพติด. 2552. วำรสำรสำนักงำน ป.ป.ส.พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์กระทรวงยุติธรรม กระทรวงสาธารณสุข. 2522. พระรำชบัญญัติสำรเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522. นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข. 2545. พระรำชบัญญัติสำรเสพติดให้โทษ 2545. ราชกิจจานุเบกษาฉบับกฤษฎีกา. (ฉบับที่ 5) เล่มที่ 119 ตอนที่ 96 ก. 30 กันยายน วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. 2557. สิ่งเสพติด. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/สิ่งเสพติด. วันที่ 27 มกราคม 2560 สานักงานคณะกรรมการอาหารและสาร.กองควบคุมวัตถุเสพติด. 2547. บทกำหนดโทษตำมพระรำชบัญญัติสำรเสพติดให้โทษ.(ออนไลน์).เข้าถึงได้จาก http:www.fda.moph.go.th/fdanet/html/product/addict/lawtable1.Html. สานักงานคณะกรรมการอาหารและสาร. กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค. 2546. สำรเสพติดให้โทษ. (โรเนียว). สานักงาน ป.ป.ส. 2554. ควำมรู้พื้นฐำนเพื่อกำรป้องกันสำรเสพติดในเสำรวชน. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ห้างหุ้นส่วนจากัด ไอเดีย สแควร์ ส านั ก งาน ป.ป.ส. ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ . 2547. กฎหมำยสำรเสพติ ด . (ออนไลน์ ) . แหล่ ง ที่ ม า : http://nakonthai.tripod.com/yaba.html. วันที่ 27 มกราคม 2560
15