Harrow Bangkok Safeguarding Policy - Thai verison

Page 1

นโยบายการปกปองคุมครอง - HS31 นโยบายการปกปองคุมครอง - HS31

1

นโยบายการปกปองคุมครอง - HS31

3

ภารกิจในการปกปองคุมครองของเรา

3

ทีมปกปองคุมครองของเรา

3

พันธะสัญญาตอการปกปองคุมครองของเรา

3

ความคาดหวังตอการปกปองคุมครองของเรา

4

การประกันคุณภาพการปกปองคุมครองของเรา

5

การดำเนินงานการปกปองคุมครอง - HS31a

6

การดำเนินงานการปกปองคุมครอง 1 – วิธีการรายงานความกังวลเกี่ยวกับนักเรียน

6

การดำเนินงานการปกปองคุมครอง 2 – วิธีการรายงานความกังวลของเพื่อนรวมงาน

8

การดำเนินงานการปกปองคุมครอง 2 – วิธีการรายงานความกังวลของนักเรียน

9

(สำหรับทุกคนยกเวนคุณครู และ เจาหนาที่อื่นๆ) ภาคผนวกการปกปองคุมครอง - HS31b

10

ภาคผนวก 1 – ตระหนักถึงการทารุณกรรม

10

ความสำคัญของการเฝาระวัง

10

การทารุณกรรม

10

ทารุณกรรมทางรางกาย

10

การทารุณกรรมทางจิตใจ

10

การลวงละเมิดทางเพศ

11

การละเลย ทอดทิ้ง

11

การทารุณกรรมระหวางเด็กกับเด็ก

12

การแสวงหาผลประโยชนจากเด็ก

13

การแสวงหาผลประโยชนทางเพศจากเด็ก (CSE)

13

การแสวงหาผลประโยชนทางอาชญากรจากเด็ก (CCE)

14

การใชความรุนแรงในครอบครัว

14

สาเหตุอื่นๆ ที่นาเปนหวงเปนกังวล

14

เด็กที่มีปญหาดานสุขภาพจิต

14

เด็กที่มีความตองการดานการศึกษาพิเศษ และมีความพิการ (SEND)

15

สัญญานเตือนของการถูกลวงละเมิดหรือทารุณ

15 1


การปกปองคุมครองจากความเสี่ยงอื่นๆ

17

ภาคผนวก 2 – ทีมปกปองคุมครอง

19

เจาหนาที่ประสานการปกปองคุมครอง (DSFP)

19

หัวหนาปกปองคุมครองเด็กที่ไดรับมอบหมาย (DSLs)

19

หัวหนางานอภิบาลและงานปกปองคุมครอง (YGL, PHL, HoH)

19

หัวหนาฝายสวัสดิภาพ และ นักจิตวิทยาของโรงเรียน

20

เจาหนาที่ปกปองคุมครองเด็กและทีมสวัสดิภาพหอพัก

20

กรรมการบริหารโรงเรียนที่ไดรับมอบหมายทำหนาที่ปกปองคุมครอง

20

กลุมกลยุทธการปกปองคุมครอง

20

กรรมการบริหารโรงเรียนที่ไดรับมอบหมายทำหนาที่ปกปองคุมครอง

21

กรรมการบริหารโรงเรียนที่ไดรับมอบหมายใหดูแลดานสวัสดิภาพ

21

การประชุมเคสเด็กทั้งหมดของโรงเรียน

21

ทีมปกปองคุมครอง (Safeguarding Team) และทีมอภิบาล (Pastoral Team) พ.ศ. 2565–2566 การปกปองคุมครองเด็กหลังเวลาทำการและวันหยุดสุดสัปดาหสำหรับนักเรียนประจำ

22 24

การปกปองคุมครองเด็กระหวางทัศนศึกษา

24

การปกปองคุมครองนอกเวลาทำการ

25

ภาคผนวก 3 – นโยบายที่เกี่ยวของและกรอบกฎหมาย

27

ภาคผนวก 4 – การปกปองคุมครองและสภาพแวดลอมทางกายภาพ

29

ภาคผนวก 5 - วิธีการที่ทางโรงเรียนใชจัดการกับขอกลาวหา/ความกังวลเกี่ยวกับพนักงาน

29

ภาคผนวก 6 - การคัดเลือกบุคลากรที่ปลอดภัย และจัดอบรมเกี่ยวกับการปกปองคุมครองเด็ก

37

ภาคผนวก 7 – ขอมูลการติดตอสำหรับการบริการงานปกปองคุมครองในประเทศไทย

41

ภาคผนวก 8 – คำแนะนำสำหรับคุณครูเมื่อตองสอนออนไลน

43

ภาคผนวก 9 - การประชุมเกี่ยวกับเคสตางๆทั้งหมดในโรงเรียน (WSCC) และการทบทวนมาตรการตางๆ

44

2


นโยบายการปกปองคุมครอง - HS31 1.

ภารกิจในการปกปองคุมครองของเรา

การปกปองคุมครองนักเรียนทุกคนเปนสิ่งสำคัญอยางยิ่งอันดับแรกและเปนหนาที่ความรับผิดชอบของทางโรงเรียน นานาชาติฮารโรวกรุงเทพฯ ของเรา มันคือคุณคาขั้นพื้นฐานของเราและเปนศูนยกลางวัฒนธรรมภายในโรงเรียน เรา นิยามคำวา การปกปองคุมครอง โดยใชคำจำกัดความตามแนวทาง การรวมมือกันเพื่อปกปองดูแลเด็กๆ [Working Together to Safeguard Children (2018)] ดังนี้: • การปกปองคุมครองเด็กจากการถูกละเมิดหรือทารุณ • การปองกันความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นตอสุขภาพกายและสุขภาพจิต หรือพัฒนาการของเด็ก • การดูแลใหเด็กจะเติบโตในสภาวะแวดลอมที่มีความปลอดภัยและการใสใจดูแลที่มีประสิทธิภาพ • การดำเนินการเพื่อใหเด็กทุกคนมีผลลัพธที่ดีที่สุด นโยบายฉบับนี้ใชบังคับกับ แตไมจำกัดเฉพาะพนักงาน นักเรียน แขกและผูมาเยือนทุกคน หรือบุคคลใดก็ตามที่ทำงาน ในนามของโรงเรียนนานาชาติฮารโรวกรุงเทพฯ เรามองวาพันธะหนาที่ตามกฎหมายไทยและขอกำหนดในการปกปอง คุมครองตามกฎหมายอังกฤษของเราเปนเพียงขอกำหนดขั้นต่ำที่เราตองปฏิบัติตาม: เราพยายามที่จะเปนตนแบบของ แนวปฏิบัติที่เปนเลิศในการปกปองคุมครอง 2.

ทีมงานปกปองคุมครองของเรา

ผูใหญทุกคนในโรงเรียนมีหนาที่รับผิดชอบในการทำใหเด็กๆ ปลอดภัยเมื่ออยูที่โรงเรียนนานาชาติฮารโรวกรุงเทพฯ ใน ระดับปฏิบัติการ การปกปองคุมครองจะนำโดยหัวหนางานปกปองคุมครองเด็กที่ไดรับมอบหมาย DSL (Designated Safeguarding Leads) ระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษา และการปกปองคุมครองในแตละวันจะนำโดยทีม หัวหนากลุมชั้นป หัวหนาบานเตรียม และหัวหนาบาน ซึ่งจะไดรับการสนับสนุนจากเจาหนาที่ปกปองคุมครอง (Phase-based Safeguarding Officers) และผูชวยเจาหนาที่ปกปองคุมครอง (Deputy Safeguarding Officers) 1 การเปนผูนำในการปกปองคุมครองระดับยุทธศาสตรเปนความรับผิดชอบของผูประสานงานการปกปองคุมครอง (DSFP) ซึ่งคือรองครูใหญ (Principal Deputy Head) 0

3. พันธะสัญญาตอการปกปองคุมครองของเรา ทีโ่ รงเรียนนานาชาติฮารโรวกรุงเทพฯ เรามีพันธะสัญญาตอ: • วัฒนธรรมการดูแลและเอาใจใสที่จะไมทนตอการทารุณกรรมทุกรูปแบบ • ความเขมงวดในการสรรหาบุคลากรทุกตำแหนงเพื่อใหมีปลอดภัยมากขึ้น • การฝกอบรมการปกปองคุมครองที่มีคุณภาพสูงและจัดขึ้นอยางสม่ำเสมอสำหรับพนักงานและผูใหบริการ จากภายนอกและการฝกอบรมขั้นสูงสำหรับบุคลากรที่มีหนาที่หลักในการปกปองคุมครอง • โครงสรางความรับผิดชอบที่ชัดเจนสำหรับการปกปองคุมครองและการดูแลอยางใกลชิดในทุกมิติ (Pastoral Care) 1

สําหรับรายละเอียดทัง้ หมดเกีย ่ วกับทีมงานและความรับผิดชอบ โปรดดู ภาคผนวก

2 – ทีมปกป้ องคุ ้มครอง

3


• ขั้นตอนปฏิบัติในการรายงานที่ชัดเจนและเขาถึงงายสำหรับบุคลากร นักเรียน พอแมและผูมาเยือน รวมทั้ง • • • • • • • • • •

ชองทางการรายงานเปนภาษาไทยที่สามารถเขาถึงไดงาย ระบบที่ชัดเจนและมีประสิทธิภาพในการบันทึกและแบงปนขอมูลการปกปองคุมครองและการดูแลอยาง ใกลชิดในทุกมิติ การตรวจติดตามสุขภาวะทางอารมณของนักเรียนในเชิงรุกและมีการเปรียบเทียบกับมาตรฐาน การกลั่นกรองและการตรวจติดตามการใชอินเตอรเน็ตอยางเขมงวดทั้งในเชิงรุกและเชิงรับ การใหความรูและการสรางทักษะแกนักเรียนและผูปกครองเพื่อใหสามารถปกปองและคุมครองเด็กไดอยางมี ประสิทธิภาพ การฟงความคิดเห็นของนักเรียนเพื่อนำมาปรับปรุงนโยบายและแนวทางปฏิบัติของเราอยางตอเนื่อง การทำใหแนใจวาการปกปองคุมครองเปนองคประกอบสำคัญยิ่งในการประเมินความเสี่ยงและการจัดการการ จัดทัศนศึกษาทั้งหมด การเชื่อมโยงกับทรัพยากรทองถิ่นที่มีอยูอยางเขมแข็ง การทำใหแนใจวาเราไดรับการสนับสนุนและการมีสวนรวมอยางเต็มที่จากกรรมการของเรา การประเมินตนเองอยางตอเนื่อง งบประมาณการปกปองคุมครองที่เหมาะสม

ความคาดหวังตอการปกปองคุมครองของเรา

4. •

เราคาดหวังใหบุคลากรของเราทุกคน: มีสวนรวมอยางแข็งขันและเต็มที่ในการฝกอบรมการปกปองคุมครองประจำป รวมทั้งเขาใจและสามารถระบุ สัญญาณของการทารุณกรรม/การลวงละเมิด (ทางกายภาพ ทางอารมณ ทางเพศ การละเลยทอดทิ้งหรือการ ทารุณกรรมเด็กโดยเด็ก) การแสวงหาประโยชนทางเพศจากเด็ก และการแสวงหาประโยชนทางอาญาจาก เด็ก 2 อยู  ในวั ฒ นธรรมแห งการเอาใจใส และการปกป องคุ  มครอง เขาใจวา ‘มัน สามารถเกิดขึ้น ไดที่นี่’ คอย ระแวดระวังตอสัญญาณของการทารุณกรรมอยูตลอดเวลา รายงานความกังวลใดๆ อยางรวดเร็ว ไมวาจะเล็กนอยแคไหนก็ตาม โดยใชกระบวนการที่เหมาะสม ทราบวา DSL เปนใครและจะติดตอกับพวกเขาอยางเรงดวนไดอยางไร มีความมั่นใจในการบันทึกความกังวลเกี่ยวกับเด็ก 3 มีความมั่นใจในการบันทึกความกังวลเกี่ยวกับเพื่อนรวมงาน 4 มีความมั่นใจที่จะสนทนาในเรื่องที่อาจยากลำบากหรือไมสบายใจกับเด็ก หรือขอความชวยเหลือหากไมมั่นใจ 1

• • • • • •

2

3

วาสามารถทำได • เขาใจถึงเหตุผลที่เราไมสามารถใหสัญญาวาจะรักษาความลับกับเด็กที่เปดเผยขอมูล

ดูรายละเอียดเพิม ่ เติมเกีย ่ วกับประเภทและสัญญาณของการทารุณกรรมใน ภาคผนวก 1 – การตระหนักถึงการทารุณกรรม ดู การดําเนินงานการปกป้ องคุ ้มครอง 1 – วิธก ี ารรายงานความกังวลเกีย ่ วกับนักเรียน 4 ดู การดําเนินงานปกป้ องคุ ้มครอง 2 – วิธก ี ารรายงานความกังวลเกีย ่ วกับเพือ ่ นร่วมงาน 2 3

4


• เขาใจวาเด็กที่มีปญหาดานสุขภาพจิต หรือ SEND (เด็กที่มีความตองการดานการศึกษาพิเศษและความพิการ)

จะมีความเปราะบางตอการทารุณกรรมมากเปนพิเศษ • เปดใจ ซื่อสัตยและรอบคอบ และแบงปนความกังวลหรือความคิดตางๆ ทันทีเพื่อการปรับปรุงใหดีขึ้น 5. การประกันคุณภาพการปกปองคุมครองของเรา การตรวจสอบการปกปองคุมครองจากภายนอกจะมีขึ้นทุกสามป และระหวางนั้นก็จะมีการตรวจสอบภายใน หลังจากเกิดเหตุเกี่ยวกับการปกปองคุมครองที่รายแรงใดๆ จะมีการทบทวนการแกไขแบบฉับพลันโดยทันที (Acute Intervention Reviews: AIR) เพื่อสะทอนจุดแข็งและสิ่งที่ตองปรับปรุง ภารกิจการปกปองคุมครองถูกนำมาหารือ ระหวางการประชุมคณะกรรมการบริหารแตละครั้งและการตรวจสอบดานการศึกษาของฮารโรว (Harrow Educational Oversight Visit) นอกจากนี้ผูประสานงานการปกปองคุมครองยังจะประชุมกับกรรมการดานการ ปกปองคุมครองที่ไดรับมอบหมาย (Designated Safeguarding Governor) และกรรมการที่ไดรับมอบหมายให ดูแลดานสุขภาวะ (Designated Wellbeing Governor) เปนประจำ การปกปองคุมครองเปนองคประกอบหลักของการตรวจสอบจากภายนอกภายใตมาตรฐาน BSO และ ISQM

5


การดำเนินงานการปกปองคุมครอง – HS31a 1. การดำเนินงานการปกปองคุมครอง 1 – วิธีการรายงานความกังวลเกี่ยวกับนักเรียน บทบาทของบุคลากรทุกคนไมใชการตรวจสอบหรือยืนยันสถานการณ แตเปนการรายงานความกังวลหรือการเปดเผย ขอมูล และดำเนินงานเพื่อใหเด็กไดรับความชวยเหลือ 1.1 ขั้นตอนที่ 1 คุณมีความกังวลเกี่ยวกับสวัสดิภาพ (Wellbeing) ของเด็ก เนื่องจาก: ก. บางอยางที่เด็ก หรือเด็กคนอื่นหรือผูใหญบอกคุณ ข. บางอยางที่คุณสังเกตเห็นจากพฤติกรรม สุขภาพ (รวมทั้งสุขภาพจิต) หรือลักษณะภายนอกของเด็ก ค. บางอยางที่เด็กคนอื่นหรือผูใหญพูดหรือทำ ง. บางอยางที่รายงานโดยผูปกครองหรือผูมาเยือน แมคุณจะคิดวาความกังวลของคุณเปนเรื่องเล็กนอย แตทีมอภิบาลและการปกปองคุมครองอาจมีขอมูลเพิ่มเติม ซึ่งเมื่อ รวมกับสิ่งที่คุณทราบแลว จะทำใหเกิดความกังวลที่รายแรงมากขึ้นเกี่ยวกับตัวเด็ก คุณไมสามารถตัดสินใจเองเพียง ลำพังไดวาจะตอบสนองตอความกังวลอยางไร – แตคุณมีความรับผิดชอบในการถายทอดความกังวลดังกลาว ไมวาจะ เล็กนอยแคไหนก็ตาม 1.2 ขั้นตอนที่ 2 ถาคุณรูสึกสะดวกใจที่จะทำ คุณอาจคิดวาเหมาะสมที่จะหาขอมูลเพิ่มเติมโดยการขอใหเด็ก/เด็กโต หรือผูปกครอง ชี้แจงสิ่งที่คุณกังวล ทั้งนี้ตองใชความระมัดระวังในการใชคำถามเปดโดยขึ้นตนประโยคดวยคำอยางเชน: ‘อยางไร’, ‘ที่ ไหน’, ‘เมื่อไร’, ‘อะไร’ หรือ ‘ใคร’? หลีกเลี่ยงการใชคำบางคำ เชน ‘ทำไม’ เนื่องจากอาจเปนการกระตุนการตอบสนองแบบปองกันตัวเอง แตควรใช ประโยคอยางเชน ‘คุณคิดวาอะไรทำใหคุณรูสึก/ทำแบบนั้น?’ แทน ถาคุณรูสึกไมสะดวกใจที่จะทำ คุณตองไมลืมที่จะปฏิบัติตามขั้นตอนดานลางนี้ตอไป และติดตอ DSL ที่สามารถใหการ สนับสนุนและการฝกอบรมเพื่อชวยใหคุณรูสึกมั่นใจและสะดวกใจมากขึ้นกับการสนทนาลักษณะนี้ในอนาคต 1.3 ขั้นตอนที่ 3 บอกใหเด็ก/เด็กโต/ผูปกครอง ทราบวาคุณวางแผนจะทำอะไรตอไปถาคุณทราบวามีการทารุณกรรม หรือคุยกับพวก เขาเกี่ยวกับความกังวลของคุณ อยาสัญญาวาจะเก็บสิ่งที่เขาบอกคุณเปนความลับ ...ตัวอยางเชน ‘ฉันเปนหวงเรื่องรอยฟกช้ำบนตัวหนู และฉันจำเปนตองบอกคุณสมิธ เพื่อใหเธอชวยเราคิดวาจะทำ อยางไรใหหนูปลอดภัย’ 1.4 ขั้นตอนที่ 4 ใช CPOMS เพื่อทำบันทึกทางอิเล็กทรอนิกสโดยเร็วที่สุดที่เทาที่จะเปนไปไดหลังจากเกิดเหตุการณ โดยระบุ: 1) ชื่อเด็ก 2) วันที่ เวลาและสถานที่

6


3) มีใครอยูใ นเหตุการณอีกบาง 4) มีการพูดอะไร/เกิดอะไรขึ้น/คุณสังเกตเห็นอะไร ... คำพูด พฤติกรรม อารมณ รูปวาด เกมหรือลักษณะ ภายนอก/การบาดเจ็บ ถาเด็กหรือผูปกครองพูดอะไร ใหบันทึกคำพูดของพวกเขาไวแทนที่จะเปนการตีความ ของคุณ 5) วิเคราะหสิ่งที่คุณสังเกตเห็นและทำไมจึงเปนสาเหตุใหเกิดความกังวล ถามีประเด็นการปกปองคุมครองที่เรงดวนและคุณรูสึกวานักเรียนตกอยูในความเสี่ยงที่จะไดรับอันตรายรายแรง กรุณาติดตอ DSL ที่เหมาะสมโดยตรงทางโทรศัพทของ DSL จากนั้นจึงบันทึกลงใน CPOMS ถาประเด็นดังกลาวประกอบดวยความกังวลเกี่ยวกับเพื่อนรวมงานบางคน กรุณาตรวจสอบใหแนใจวามีการระบุ เกี่ยวกับเรื่องนี้ในระบบ CPOMS ของนักเรียนโดยไมใหสามารถระบุตัวเพื่อนรวมงานคนดังกลาวได จากนั้นควร รายงานรายละเอียดเกี่ยวกับเพื่อนรวมงานคนดังกลาวและความกังวลตามแนวทางปฏิบัติในขอ 4 1.5 ขั้นตอนที่ 5 หลังจากบันทึกลงใน CPOMS แลว ความกังวลของคุณจะไดรับการตรวจสอบโดยหัวหนางานอภิบาล (Pastoral Lead) ที่เกี่ยวของ และจะติดตอคุณหากตองการขอมูลเพิ่มเติม หัวหนางานอภิบาล (Pastoral Lead) จะตัดสินใจวาจะดำเนินการที่เหมาะสมอยางไรตอไป และจะยังคงมีการติดตอ อยางใกลชิดกับเพื่อนรวมงานคนอื่นรอบตัวเด็ก/เด็กโต และกับครอบครัวหากเหมาะสม รวมทั้งทีมปกปองคุมครอง และทีมหอพัก ทางโรงเรียนเขาใจวาการรับมือกับการเปดเผยขอมูลอาจทำใหเกิดความออนลาทางอารมณสำหรับเจาหนาที่ผูรับ ขอมูล เจาหนาที่ที่รูสึกเปนทุกขจากผลกระทบของเหตุการณเกี่ยวกับการปกปองคุมครองที่ยากลำบากควรพูดคุยกับ DSL/DSFP ที่จะคอยใหการชวยเหลือสนับสนุน 1.6 ขั้นตอนที่ 6 ตามแนวทางปฏิบัติ KCSIE บทสรุปที่ชัดเจนและครอบคลุมจะถูกเก็บไวใน CPOMS ซึ่งจะประกอบดวยขอมูลใหม ทั้งหมดของเหตุการณนั้นๆ ดวย การสนทนาเกี่ยวกับการอภิบาลหรือการปกปองคุมครองที่มีนัยสำคัญกับพอแม/ผูปกครอง จะตามมาดวยการสงขอมูล โดยสรุปเกี่ยวกับหัวขอที่พูดคุยกันและการปฏิบัติที่เห็นชอบรวมกันใหพอแม/ผูปกครองทางอีเมล สำเนาของอีเมล ดังกลาวจะเก็บเปนบันทึกใน CPOMS 1.7 การรักษาความลับทางวิชาชีพ การรั กษาความลั บ เป น ประเด็ น ที ่ ทุ กคนที ่ ทำงานกับ เด็ก โดยเฉพาะอยางยิ่งในบริบ ทของการปกป องคุ มครอง จำเปนตองอภิปรายและเขาใจอยางถองแท วัตถุประสงคเพียงประการเดียวของการรักษาความลับในเรื่องนี้ก็คือการทำเพื่อประโยชนของเด็ก เจาหนาที่ตองไม รับประกันกับเด็กวาจะเก็บขอมูลเปนความลับ และตองไมตกลงกับเด็กวาจะไมบอกใคร ในกรณีที่มีขอกังกลเกี่ยวกับ การปกป อ งคุ ม ครอง จะต อ งรายงานต อ หั ว หน า งานปกป อ งคุ  ม ครองที ่ ไ ด ร ั บ มอบหมาย (Designated Safeguarding Lead) หรือหัวหนางานอภิบาล (Pastoral Lead) ที่เกี่ยวของ (CPOMS จะจัดการเรื่องนี้ใหคุณ) เจาหนาที่จะไดรับแจงขอมูลในแตละกรณีที่เกี่ยวของกับการปกปองคุมครองตาม ‘หลักความจำเปนที่จะตองทราบ’ เทานั้น ขอมูลใดก็ตามที่แบงปนกับเจาหนาที่ในลักษณะนี้ เจาหนาที่จะตองเก็บเปนความลับ หากมีขอสงสัยใดๆ

7


เกี่ยวกับการรักษาความลับและการแบงปนขอมูล DSL และ/หรือ หัวหนางานอภิบาล (Pastoral Lead)/ SO จะ อางอิง คำแนะนำสำหรับผูปฏิบัติงานปกปองคุมครองในการแบงปนขอมูล Information Sharing (2018) advice for Safeguarding practitioners ของสหราชอาณาจักร คำแนะนำจาก KCSIE (2022, ขอ 119) เกี่ยวกับการแบงปนขอมูลกรณีการปกปองคุมครองใหขอมูลที่ชัดเจน: พระราชบั ญ ญั ติ คุ  มครองข อมูล พ.ศ. 2561 (The Data Protection Act 2018) และระเบี ย บการ คุมครองขอมูลทั่วไป (GDPR) ของสหราชอาณาจักร ไมไดหามการแบงปนขอมูลเพื่อวัตถุประสงคใน การรักษาความปลอดภัยของเด็ก จะตองไมปลอยใหความกลัวเกี่ยวกับการแบงปนขอมูลมาขัดขวาง ความจำเปนในการปกปองคุมครองและสงเสริมสวัสดิภาพและคุมครองความปลอดภัยของเด็ก อีกประเด็นหนึ่งในเรื่องการคุมครองขอมูล: MIS ปจจุบันของเราจะแสดงไอคอนถัดจากชื่อเด็ก เพื่อระบุวาเด็กอยูใน ทะเบี ย น SEN หรื อ มี ค วามจำเป น ทางการแพทย ฯลฯ หรื อ ไม ไม ค วรแสดงหน า จอนี ้ บ นบอร ด ของห อ งเรีย น (ตัวอยางเชน เวลาเช็คชื่อนักเรียน) ขอมูลนี้เปนขอมูลสวนบุคคลและเฉพาะครูเทานั้นที่สามารถมองเห็นได 2. การดำเนินการปกปองคุมครอง 2 – วิธีการรายงานความกังวลเกี่ยวกับเพื่อนรวมงาน พนักงานที่รูสึกกังวลเกี่ยวกับการกระทำของเพื่อนรวมงานอาจกังวลวาพวกเขาเขาใจสถานการณผิดและพวกเขา อาจจะสงสัยวาการแจงเรื่องจะเปนผลเสียตออาชีพการงานของเพื่อนรวมงานหรือไม ทั้งนี้ พนักงานทุกคนตองระลึก เสมอวาสวัสดิภาพของเด็กเปนสิ่งสำคัญยิ่ง โรงเรียนจะใหการคุมกันและมีขั้นตอนในการยืนยันความบริสุทธิ์อยู ซึ่งจะ ช ว ยให พนั กงานสามารถขอให เ ก็ บ ข อกั งวลหรือขอกลาวหานั้น เปน ความลับ และขอใหดำเนิน การสอบซั ก ถาม รายละเอียดเปนการสวนตัว ไมวา โรงเรียนไหน รวมทั้งฮารโรว กรุงเทพฯ ตางก็มีโอกาสเกิดการทำผิดในการปกปองเด็กหรือพฤติกรรมไมเหมาะสม ขึ้นได แตจะไมมีการเพิกเฉยตอเรื่องดังกลาวและจะมีการพิสูจนและแกไขปญหานั้นโดยเร็วเพื่อใหเกิดผลดีตอโรงเรียน บุคลากรและเหนือสิ่งอื่นใดคือนักเรียน โรงเรียนตระหนักดีวาพนักงานมักจะเปนบุคคลแรกที่สงสัยหรือทราบวามีสิ่งผิดปกติเกิดขึ้น ดังนั้น จึงมีหนาที่จัดการ ขอกังวลเกี่ยวกับการปกปองเด็กอยางเหมาะสมและเปนมืออาชีพ นอกจากนี้ โรงเรียนยังตระหนักดีวามีเหตุผล มากมายที่พนักงานมักรูสึกลังเลที่จะพูดถึงขอกังวลดังกลาว นั่นเปนเหตุผลที่โรงเรียนคอยสนับสนุนพนักงานทุกคนที่ “ออกมาพูด” เกี่ยวกับขอกังวลที่พวกเขามีอยูเสมอ ในการเปดเผยขอกังวลในโรงเรียนนั้น คุณตองทำดวยความสุจริตใจเทานั้น กลาวคือ ดวยความเชื่อมั่นอยางสุจริตใจ เกี่ยวกับขอกังวลที่คุณแจงเรื่องมา ดวยวัฒนธรรม นโยบายและหลักปฏิบัติของเรา โรงเรียนสงเสริมใหคุณยื่นขอกังวล เปนการภายใน โดยใชชองทางการรายงานที่ระบุในขั้นตอนที่ 5 ขอกังวลของคุณจะถูกเก็บไวเปนความลับอยางสูงสุด โรงเรียนจะตรวจสอบใหแนใจวาขอกังวลของคุณไดรับการสืบสวนอยางมีประสิทธิภาพโดยทันที และจะแจงผลการ สืบสวนใหคุณทราบโดยเร็วที่สุด โรงเรียนจะไมใหพนักงานคนใดที่รายงานการลวงละเมิดซึ่งถูกตัดสินในภายหลังวาเปนเท็จตองรับผิดชอบหรือมี ความผิดใด เวนแตจะสามารถพิสูจนไดวาบุคคลนั้นตั้งใจและเจตนารายงานขอกังวลที่ไมเปนความจริง 2.1 ขั้นตอนที่ 1 คุณมีความกังวลเกี่ยวกับเพื่อนรวมงานเนื่องจากคุณคิดวาพวกเขาไดหรืออาจได: • ประพฤติตัวในลักษณะที่ไดทำรายเด็ก หรืออาจทำรายเด็ก และ/หรือ

8


• กระทำความผิดทางอาญาตอหรือเกี่ยวกับเด็ก และ/หรือ • ประพฤติตัวตอเด็กคนหนึ่งหรือหลายคนในลักษณะที่บงชี้วาอาจเสี่ยงที่จะทำอันตรายตอเด็ก และ/หรือ • ประพฤติตัวหรืออาจไดประพฤติตัวในลักษณะที่บงชี้วาอาจไมเหมาะที่จะทำงานกับเด็ก (รวมทั้งพฤติกรรมที่

อาจเกิดขึ้นนอกโรงเรียนที่อาจทำใหบุคคลดังกลาวไมเหมาะที่จะทำงานกับเด็ก) และ/หรือ • ประพฤติตัวในลักษณะที่ไมสอดคลองกับแนวทางปฏิบัติของพนักงาน รวมทั้งการกระทำที่ไมเหมาะสมนอก เวลางาน 2.2 ขั้นตอนที่ 2 คุณควรติดตออาจารยใหญ (Head Master) หรือผูอำนวยการฝายบุคคล (Director of HR) ทันที และกลาวถึงขอ กังวลของคุณ ถาไมสามารถติดตอได บุคคลที่คุณควรติดตอในลำดับถัดไปคือ รองอาจารยใหญ (Principal Deputy Head) หรือสมาชิกของทีมหัวหนาอาวุโสระดับประถมหรือมัธยมศึกษา (Lower School or Upper School Senior Leadership) ซึ่งบุคคลเหลานั้นจะลงรายละเอียดใน CPOMS StaffSafe และขอมูลจะถูกจัดเก็บไวเปนความลับและ แบงปนขอมูลนั้นกับอาจารยใหญ และ ผูอำนวยการฝายบุคคล การกลาวหา/ขอกังวลใดๆ เกี่ยวกับหัวหนาของโรงเรียน (Head of School) หรือสมาชิกของ ELT (นอกเหนือจาก อาจารยใหญ) ใหรายงานตออาจารยใหญเทานั้น การกลาวหา/ขอกังวลใดๆ เกี่ยวกับอาจารยใหญ (Head Master) ควรรายงานตอประธานคณะกรรมการบริหาร โรงเรียน (Chair of Governors) 3. การดำเนินการปกปองคุมครอง 3 - วิธีการรายงานความกังวลเกี่ยวกับนักเรียน (สำหรับทุกคนยกเวน คุณครู และ เจาหนาที่อื่นๆ) 3.1 ทุกคนควรรายงานไดเมื่อเกิดความกังวล ผูใหญทุกคนที่อยูภายในโรงเรียนควรปกปองคุมครองเด็กนักเรียนของเราทุกคนโดยใหถือเปนเรื่องสำคัญหลัก ซึ่งรวม ไปถึงผูปกครอง แขกผูมาเยี่ยมชมโรงเรียน ผูฝกสอนและคุณครูสอนวิชาดนตรี และผูรับเหมาทั้งหมดกับทางโรงเรียน ทุกคน ในขณะที่คุณไมสามารถเขาถึงระบบ CPOMS ได ทุกคนสามารถรายงานความกังวลไดอยางปลอดภัย 3.2 รายงานโดยการใชคิวอารโคด - (Use the QR code) หากคุณคือหนึ่งในบุคคลที่กลาวขางตน และมีความกังวลเกี่ยวกับเด็กนักเรียน คุณ สามารถรายงานโดยกดที ่ ออนไลน ล ิ ง ก นี้ หรือแสกนคิว อารโ ค ดนี้ เ พื ่ อ กรอก แบบฟอรม โดยมีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และจะนำคุณไปสูการรายงานทีละ ขั ้ น ตอนเพื ่ อบั น ทึ กรายละเอี ย ดข อมู ล ที ่ เ ปน ประโยชน ให ได มากที่ส ุด การส ง แบบฟอรมจะสงไปทีผ่ ูชวยสวนตัวของ DSFP และรายงานจะถูกสงตอไปยังผูนำฝาย ปกปองคุมครองนักเรียนที่เกี่ยวของเพื่อตรวจสอบและสอบสวนเพิ่มเติมตอไป

9


ภาคผนวกการปกปองคุมครอง – HS31b ภาคผนวก 1 – การตระหนักถึงการทารุณกรรม Recognising Abuse 1.1 ความสำคัญของการเฝาระวัง พนักงานทุกคนควรตระหนักถึงสิ่งที่แสดงถึงการทารุณกรรมและการทอดทิ้ง เพื่อใหบงชี้ไดวาเด็กคนใดที่อาจตองไดรับ การชวยเหลือหรือการคุมครอง บุคลากรที่ทำงานเกี่ยวกับเด็กควรระลึกเสมอวา “การทารุณกรรมอาจเกิดขึ้นที่นี่ได” สำหรับงานที่เกี่ยวกับการปกปอง ทั้งนี้ เมื่อขอกังวลนั้นเกี่ยวของกับสวัสดิภาพของเด็ก บุคลากรแตละคนควรดำเนินการโดยคำนึงถึงผลประโยชนของ เด็กอยูเสมอ(การปกปองคุมครองตามบริบท) 1.2 การทารุณกรรม Abuse การทารุณกรรม คือการกระทำที่โหดรายตอเด็กรูปแบบหนึ่ง ทั้งนี้ คนบางคนอาจกระทำทารุณหรือทอดทิ้งเด็กโดย การทำใหเด็กอยูในอันตรายหรือโดยการไมปกปองเด็กจากอันตราย ซึ่งเด็กอาจถูกกระทำทารุณจากผูใหญหนึ่งหรือ หลายคน หรือจากเด็กคนอื่นหนึ่งหรือหลายคน 1.3 การทารุณกรรมทางกาย Physical Abuse การกระทำทารุณทางกาย คือการกระทำทารุณรูปแบบหนึ่ง ซึ่งอาจเกี่ยวของกับ การทุบตี การจับเขยา การเหวี่ยง การวางยาพิษ การเผาหรือการราดดวยน้ำรอน การจับกดน้ำ การทำใหหายใจไมออกหรืออื่น ๆ อันเปนเหตุใหเด็ก ไดรับอันตรายตอรางกาย อันตรายตอรางกายที่อาจเกิดขึ้นเมื่อพอแมหรือคนดูแลใหขอมูลที่ไมเปนความจริงเกี่ยวกับอาการเจ็บปวยของเด็กหรือ ทำใหเด็กเจ็บปวยโดยเจตนา 1.4 การทารุณกรรมทางจิตใจ Emotional Abuse การกระทำทารุณทางจิตใจ คือการทำรายจิตใจเด็กอยางตอเนื่อง อยางเชน การกอผลกระทบรุนแรงและเลวรายตอ พัฒนาการทางดานอารมณของเด็ก :

• •

โดยการทำใหเด็กรูสึกไรคาหรือไมมีใครรัก ไมดีพอหรือจะมีคาตอเมื่อเด็กทำตามความตองการของคนอื่น โดยการไมใหเด็กมีโอกาสแสดงความเห็น สั่งใหเด็กเงียบหรือ “หัวเราะเยาะ” สิ่งที่เด็กพูดหรือลักษณะที่เด็ก

สื่อสาร

โดยการตั ้ ง ความคาดหวั ง ไม เ หมาะสมกั บ อายุ ห รื อ พั ฒ นาการของเด็ ก ซึ ่ ง ได แ ก การปฏิ บ ั ต ิ ต  อ กั น เกิน

ความสามารถทางพัฒนาการของเด็ก ตลอดจนการปกปองเด็กมากเกินไป และการจำกัดความอยากรูอยากเห็นและ การเรียนรู หรือขัดขวางเด็กไมใหมีสวนรวมในการมีปฏิสัมพันธทางสังคมตามปกติ • โดยการเห็นหรือไดยินการกระทำที่ไมดีของผูอื่น (เชน การไดรูเห็นการใชความรุนแรงในบาน) การกลั่นแกลงที่ รุนแรง (รวมถึงการกลั่นแกลงบนโลกออนไลนดวย) ทำใหเด็กรูสึกหวาดกลัวหรือตกอยูในอันตรายบอยครั้ง หรือการ แสวงหาประโยชนหรือการฉอโกงเกี่ยวกับเด็ก 10


การทารุณจิตใจในบางระดับที่เกี่ยวพันกับการกระทำที่โหดรายตอเด็กในทุกประเภท แมวาเกิดขึ้นเพียง

เหตุการณเดียวก็ตาม เมื่อตองจัดการกับการลวงละเมิดทางอารมณ เราตองคำนึงถึงบรรทัดฐานทางวัฒนธรรมในการจัดการกับกรณีตางๆ เชน ความเชื่อทางศาสนาและไสยศาสตร 1.5 การลวงละเมิดทางเพศ Sexual Abuse การลวงละเมิดทางเพศเปนการบังคับหรือลอลวงเด็กหรือเยาวชนใหมีสวนรวมในกิจกรรมทางเพศ แมจะไมมีการใช ความรุนแรงในระดับที่รายแรง ไมวาเด็กทราบสิ่งที่เกิดขึ้นหรือไมก็ตาม ซึ่งการกระทำดังกลาวไดแก :

• การสัมผัสรางกาย รวมถึงการลวงละเมิด (เชน การขมขืนกระทำชำเราหรือการใชปากกับอวัยวะเพศ) หรือการ ทำโดยไมสอดใสอวัยวะเพศ เชน การสำเร็จความใครดวยตัวเอง การจูบ การลูบและสัมผัสนอกเสื้อผา

• นอกจากนี้ยังอาจรวมถึงการทำโดยไมมีการสัมผัส เชน ใหเด็กดูหรือรวมในการทำภาพเกี่ยวกับเรื่องทางเพศ ดู กิจกรรมทางเพศ สงเสริมใหเด็กมีประพฤติกรรมทางดานเพศในลักษณะที่ไมเหมาะสมหรือแตงตัวใหเด็กเพื่อเตรียม กระทำทารุณ (รวมถึงกระทำผานทางอินเตอรเน็ตดวย)

• การกระทำทารุณทางเพศไมไดเกิดขึ้นเฉพาะจากผูชายที่เปนผูใหญเทานั้น ผูหญิงก็กระทำทารุณทางเพศได และ เด็กก็สามารถกระทำตอเด็กคนอื่นไดเชนเดียวกัน

• มีการแสวงประโยชนทางเพศจากเด็ก (CSE) ในประเทศไทย และพนักงานควรระมัดระวังเรื่องนี้ 1.6 การละเลยทอดทิ้ง Neglect การละเลยทอดทิ้ง คือการไมดูแลเอาใจใสตอความตองการพื้นฐานทางรางกายและ/หรื อจิตใจของเด็ กตอเนื ่ อง ยาวนาน ซึ่งอาจมีผลใหเด็กเสียสุขภาพและพัฒนาการในระดับที่รุนแรง

• การทอดทิ้งอาจเกิดขึ้นระหวางการตั้งครรภอันเปนผลจากแมเสพสารเสพติด • เมื่อเด็กคลอด การทอดทิ้งจะเกี่ยวของกับพอแมหรือคนดูแลที่ไมไดจัดหาอาหาร เสื้อผาและที่พักที่เหมาะสมให (รวมถึงการไลออกจากบานหรือการทอดทิ้ง) ไมไดปกปองเด็กจากภัยหรืออันตรายทางรางกายและจิตใจ ไมไดใหการ ดูแลที่เหมาะสม (รวมถึงการใชคนดูแลที่ไมเหมาะสม); หรือไมไดใหเขารับการดูแลหรือรักษาทางการแพทยที่เหมาะสม

• การทอดทิ้งหรือการไมสนองตอบตอความตองการทางจิตใจขั้นพื้นฐานของเด็ก • การไมเปนผูปกครองที่เปนผูใหญอยางเหมาะสม เชน การทิ้งเด็กไวที่บานโดยไมมีการดูแลเปนระยะเวลา ยาวนาน

11


1.7

การทารุณกรรมระหวางเด็กกับเด็ก Child-on-child abuse

บอยครั้งที่การทารุณกรรมมักจะถูกมองวาเปนสิ่งที่ผูใหญทำกับเด็กเพียงอยางเดียว แตบุคลากรทุกคนจำเปนตอง ตระหนักวาเด็กเองก็สามารถที่จะทารุณกรรมเด็กคนอื่นไดไมวาจะมีอายุเทาไรและเปนเพศใดก็ตาม (เรียกวาการ ทารุณกรรมเด็กโดยเด็ก) และเหตุการณเชนนี้อาจเกิดขึ้นไดทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน หรือทางออนไลน เรา เขาใจวามีโอกาสสูงกวาที่เด็กผูหญิงจะตกเปนเหยื่อและเด็กผูชายจะเปนผูกอเหตุ แตการทารุณกรรมเด็กโดยเด็กทุก รูปแบบเปนสิ่งที่ไมสามารถยอมรับได และจะเราจะจัดการกับเรื่องนี้อยางจริงจัง ทัศนคติของบุคลากรที่วา ‘มันอาจเกิดขึ้นไดที่นี่’ จะยิ่งมีความสำคัญเมื่อพิจารณาการทารุณกรรมเด็กโดยเด็ก ซึ่งสวน ใหญแลวจะประกอบดวยแตไมจำกัดเฉพาะ: 1) การกลั่นแกลง (รวมทั้งการกลั่นแกลงทางออนไลน การกลั่นแกลงเนื่องจากอคติหรือการเลือกปฏิบัติ) 2) การทารุณกรรมในความสัมพันธสวนตัวที่ใกลชิดระหวางเด็ก (บางครั้งเรียกวา ‘การทารุณกรรมในความสัมพันธ ของวัยรุน’) 3) การทารุณกรรมทางรางกาย เชน การตี การเตะ การเขยา การกัด การดึงผมหรือการกอใหเกิดอันตรายทาง รางกายโดยประการใดก็ตาม (ซึ่งอาจรวมถึงองคประกอบทางออนไลนที่อำนวยความสะดวก ขมขู และ/หรือ สงเสริมใหเกิดการทารุณกรรมทางรางกาย) 4) ความรุนแรงทางเพศ เชน การขมขืนกระทำชำเรา การอนาจารโดยการลวงล้ำ (ซึ่งอาจรวมถึงองคประกอบทาง ออนไลนที่อำนวยความสะดวก ขมขู และ/หรือ สงเสริมใหเกิดความรุนแรงทางเพศ) 5) การคุกคามทางเพศ เชน การแสดงความเห็น คำพูด เรื่องตลกที่สอไปในทางเพศ และการคุกคามทางเพศ ออนไลน ซึ่งอาจเกิดขึ้นโดยลำพังหรือเปนสวนหนึ่งของรูปแบบการทารุณกรรมที่กวางกวา 6) การทำใหใครก็ตามมีสวนในกิจกรรมทางเพศโดยปราศจากความยินยอมของบุคคลดังกลาว เชน การบังคับให คนถอดเสื้อผา สัมผัสรางกายตนเองในลักษณะที่สื่อไปในทางเพศ หรือเขารวมกิจกรรมทางเพศกับบุคคลที่สาม 7) การแบงปนภาพ และ/หรือ วีดีโอเปลือยและกึ่งเปลือยทั้งที่ยินยอมและไมยินยอม (บางครั้งเรียกวาการสง ขอความเกี่ยวกับเรื่องเพศ หรือภาพทางเพศของผูเยาว) 8) การแอบถายใตกระโปรงซึ่งมักจะเกี่ยวของกับการถายภาพใตเสื้อผาของบุคคลโดยไมไดรับอนุญาต โดยมีเจตนา เพื่อดูอวัยวะเพศหรือบั้นทายเพื่อความพึงพอใจทางเพศ หรือทำใหเหยื่อไดรับความอับอาย เจ็บปวดหรือ หวาดกลัว 9) ความรุนแรงและพิธีกรรมการรับนอง/การรับเขากลุม (อาจประกอบดวยกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการคุกคาม การทารุณกรรมหรือการทำใหอับอาย ที่ใชเพื่อเปนวิธีในการรับบุคคลเขามาเปนสมาชิกกลุม และอาจรวมไปถึง รูปแบบออนไลน) ที่โรงเรียนนานาชาติฮารโรวกรุงเทพฯ เรายึดมั่นในหลักการที่จะไมอดทนตอการทารุณกรรม รวมทั้งการทารุณ กรรมเด็กโดยเด็กซึ่งไมควรจะถูกมองขามหรือมองวาเปน “แคเรื่องลอเลน”, “แคขำๆ”, “สวนหนึ่งของการ เติบโต”, หรือ “เด็กผูชายยังไงก็เปนเด็กผูชาย” การปรามาสพฤติกรรมดังกลาวอาจนำไปสูวัฒนธรรมของพฤติกรรม ที่ไมสามารถยอมรับได และสภาพแวดลอมที่ไมปลอดภัยสำหรับเด็กๆ และในกรณีเลวรายที่สุด วัฒนธรรมที่ทำใหการ ทารุณกรรมกลายเปนเรื่องปกติธรรมดาจนทำใหเด็กๆ ยอมรับวาเปนปกติและไมออกมารายงานเมื่อเกิดเหตุ เรา

12


รับทราบวาแมจะไมมีการรายงานกรณีของการทารุณกรรมเด็กโดยเด็ก แตการทารุณกรรมดังกลาวก็ยังอาจจะเกิดขึ้น ได เพียงแตไมมีการรายงานเทานั้น พนักงานทุกคนจำเปนตองเขาใจความสำคัญของการทักทวงพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมระหวางเด็กดวยกันเองที่มี ลักษณะเปนการทารุณกรรม ซึ่งมีหลายรูปแบบทีไ่ ดกลาวไปแลวขางตน การเฝาระแวดระวังการทารุณกรรมประเภทนี้มีความสำคัญเทาๆ กับการทารุณกรรมเด็กโดยผูใหญ วิธีการที่ควรใชใน การรายงานก็เปนวิธีเดียวกัน การกลาวหาวามีการทารุณกรรมเด็กโดยเด็ก (ไมวาจะเกิดขึ้นในโรงเรียน ทางออนไลน หรือนอกพื้นที่โรงเรียนก็ตาม) จะถูกบันทึก สอบสวนและจัดการตามความเหมาะสมดังที่ระบุในการดำเนินการปกปอง คุมครอง 2 ขั้นตอนที่ 5 ถา/เมื่อมีรายงานกรณีการลวงละเมิดทางเพศเด็กโดยเด็กที่ฮารโรวกรุงเทพฯ ทาง DSL จะใชแนวทางปฏิบัติ ของ สหราชอาณาจักรที่เกี่ยวกับ ความรุนแรงทางเพศและการคุกคามทางเพศระหวางเด็ก (พ.ศ. 2564) เปนกรอบในการ สนับสนุนนักเรียนและครอบครัวที่เกี่ยวของ และหารือกับอาจารยใหญฝายไทยเพื่อใหแนใจวาการปฏิบัติเปนไปตาม กฎหมายไทย ถา/เมื่อการสงขอความเกี่ยวกับเรื่องเพศ (Sexting) เกิดขึ้น ทาง DSL จะใชแนวทางปฏิบัติของสหราชอาณาจักรที่ เกี่ยวกับ คำแนะนำในการคนหา การคัดกรองและการยึดสำหรับโรงเรียน และ การแบงปนภาพเปลือยและกึ่งเปลือย: คำแนะนำสำหรับสถานศึกษา การทำงานกับเด็กและเยาวชน ซึ่งอธิบายวาจะตอบสนองอยางไรตอเหตุการณเกี่ยวกับ การแบงปนภาพเปลือย และ/หรือ กึ่งเปลือย 1.8 การแสวงหาประโยชนจากเด็ก ทั้งการแสวงหาประโยชนทางเพศจากเด็ก (CSE) และการแสวงหาประโยชนทางอาญาจากเด็ก (CCE) ลวนแตเปน รูปแบบของการทารุณกรรมเด็ก โดยที่เหตุการณทั้งสองแบบนี้จะเกิดขึ้นเมื่อบุคคลหรือกลุมบุคคลหาประโยชนจาก ความไมสมดุลของอำนาจเพื่อบีบบังคับ ควบคุมหรือหลอกลวงใหเด็กเขามามีสวนรวมในกิจกรรมทางเพศหรือทาง อาญาเพื่อแลกเปลี่ยนกับบางอยางที่เหยื่อจำเปนหรือตองการ และ/หรือ เพื่อผลประโยชนทางการเงิน หรือสถานภาพ ที่ดีขึ้นของผูกอเหตุหรือผูอำนวยความสะดวก และ/หรือ ผานการใชกำลังหรือขมขูวาจะใชกำลัง การทารุณกรรม ประเภทนี้สามารถสงผลกระทบตอเด็ก ทั้งชายและหญิง และอาจรวมถึงเด็กที่ถูกเคลื่อนยาย (โดยทั่วไปจะเรียกวา การคามนุษย) เพื่อวัตถุประสงคในการแสวงหาผลประโยชน มันอาจอยูในหลายรูปแบบ – บุคลากรควรตระหนักและ ทำการรายงานโดยใช CPOMS ถามีขอกังวลใดๆ ก็ตาม 1.9 การแสวงหาประโยชนทางเพศจากเด็ก (CSE) CSE เปนรูปแบบหนึ่งของการลวงละเมิดทางเพศเด็ก การลวงละเมิดทางเพศอาจเกี่ยวของกับการสัมผัสทางกาย ซึ่ง รวมถึงการอนาจารโดยการลวงล้ำ (เชน การขมขืนกระทำชำเราหรือออรัลเซ็กซ) หรือการกระทำที่ไมมีการลวงล้ำ เชน การสำเร็จความใครดวยตัวเอง การจูบ การลูบคลำและการสัมผัสนอกเสื้อผา CSE อาจประกอบดวยกิจกรรมที่ไมมี การสัมผัสรางกาย เชน การใหเด็กมีสวนรวมในการผลิตภาพที่สอไปทางเพศ การบังคับใหเด็กดูภาพลามกหรื อดู กิจกรรมทางเพศ การสนับสนุนใหเด็กประพฤติตัวในลักษณะที่ไมเหมาะสมทางเพศ หรือการลอลวงเด็กเพื่อเตรียมให พรอมสำหรับการลวงละเมิด รวมทั้งผานทางอินเตอรเน็ต CSE สามารถเกิดขึ้นหลายครั้งหรือเพียงครั้งเดียวก็ได และ อาจเกิดขึ้นโดยที่เด็กไมรูตัว เชน ผานคนอื่นที่แบงปนวีดีโอหรือภาพพวกเขาทางสื่อสังคมออนไลน CSE สามารถสงผล 13


กระทบตอเด็กที่ถูกบีบบังคับใหเขารวมกิจกรรมทางเพศ รวมทั้งเด็กที่สามารถใหความยินยอมตามกฎหมายที่จะมี เพศสัมพันธ เด็กบางคนอาจไมตระหนักวาตนเองกำลังถูกแสวงหาผลประโยชนอยู ตัวอยางเชน พวกเขาอาจเชื่อวา กำลังมีความสัมพันธแบบโรแมนติกอยางแทจริง 1.10 การแสวงหาประโยชนทางอาญาจากเด็ก (CCE) บางรูปแบบของ CCE อาจประกอบดวยการที่เด็กถูกบังคับหรือหลอกใหสงยาเสพติดหรือเงิน ทำงานในโรงงานกัญชา การขโมยของในรา นคา หรือการล วงกระเปา เละนอกจากนี้ย ังอาจถูกบังคับหรือหลอกใหกอคดีอาญาเกี่ยวกับ ยานพาหนะ หรือขู/กระทำความรุนแรงตอผูอื่นอยางรายแรง เด็กอาจถูกติดกับดวยการแสวงหาประโยชนประเภทนี้ เนื่องจากผูกอเหตุสามารถขมขูเหยื่อ (และครอบครัวของเหยื่อ) วาจะใชความรุนแรง หรือทำใหติดกับหรือบีบบังคับให พวกเขาติดหนี้ นอกจากนี้เด็กยังอาจถูกบีบบังคับใหพกอาวุธ เชน มีด หรือเริ่มพกมีดไปไหนมาไหนดวยเพื่อการ ปองกันตัวจากผูอื่น เนื่องจากเด็กที่มีสวนในการแสวงหาผลประโยชนทางอาญามักจะกอเหตุอาชญากรรมดวยตนเอง ผูใหญหรือผูประกอบวิชาชีพอาจไมตระหนักถึงความลอแหลมของเด็กเหลานี้ในฐานะที่เปนเหยื่อ (โดยเฉพาะอยางยิ่ง เด็กโต) และพวกเขาไมไดรับการปฏิบัติเหมือนเหยื่อแมวาพวกเขาจะไดประสบกับอันตรายมาก็ตาม พวกเขายังอาจจะ ถูกแสวงหาผลประโยชนทางอาญาแมจะดูเหมือนวาพวกเขาตกลงหรือยินยอมที่จะเขารวมกิจกรรมนั้นๆ เอง สิ่งสำคัญ ที่ตองจำไวเสมอคือประสบการณของเด็กหญิงที่ถูกแสวงหาผลประโยชนทางเพศอาจแตกตางจากเด็กชายเปนอยาง มาก เครื่องบงชี้อาจจะไมใชตัวเดียวกัน อยางไรก็ตามนักวิชาชีพควรตระหนักวาเด็กหญิงก็มีความเสี่ยงที่จะถูกแสวงหา ผลประโยชนทางอาญาเชนกัน นอกจากนี้ยังตองระลึกไวเสมอวาทั้งเด็กชายและเด็กหญิงที่ถูกแสวงหาผลประโยชน ทางอาญาอาจมีความเสี่ยงสูงกวาที่จะถูกแสวงหาผลประโยชนทางเพศดวย 1.11 ความรุนแรงในครอบครัว ความรุนแรงในครอบครัวอาจประกอบดวยพฤติกรรมที่หลากหลาย และอาจเปนเหตุการณเดียวหรือรูปแบบของหลาย เหตุการณ การทารุณกรรมอาจเปนแตไมจำกัดเฉพาะการทารุณกรรมทางจิตใจ ทางรางกาย ทางเพศ ทางการเงินหรือ ทางอารมณ เด็กสามารถตกเปนเหยื่อความรุนแรงในครอบครัว พวกเขาอาจเห็น ไดยินหรือประสบกับผลกระทบของ การทารุณกรรมที่บาน และ/หรือ ประสบกับการความรุนแรงในความสัมพันธที่ใกลชิดของตนเอง (การทารุณกรรมใน ความสั ม พั น ธ ข องวั ย รุ  น ) โดยทั ้ ง หมดนี ้ ส ามารถส งผลกระทบระยะยาวต อ สุ ข ภาพ สุ ข ภาวะ พั ฒ นาการ และ ความสามารถในการเรียนรูของพวกเขา 1.12 สาเหตุอื่นๆ ของความกังวล KCSIE มีการอางอิงอยางเปดเผยถึงเด็กที่มีความจำเปนดานสุขภาพจิต และความตองการพิเศษดานการศึกษาและ ความพิการ โดยระบุวาบุคลากรควรมีความระมัดระวังเปนพิเศษเกี่ยวกับความจำเปนที่จะตองใหความชวยเหลือแต เนิ่นๆ สำหรับเด็กเหลานี้ 1.13 เด็กที่มีความจำเปนดานสุขภาพจิต พนักงานทุกคนควรตระหนักวาในบางกรณี ปญหาสุขภาพจิตสามารถเปนเครื่องบงชี้วาเด็กประสบกับหรือมีความเสี่ยง ที่จะประสบกับการทารุณกรรม การละเลยทอดทิ้งหรือการแสวงหาผลประโยชน เฉพาะพนักงานที่ผานการฝกอบรม อยางเหมาะสมแลวเทานั้นที่จะสามารถวินิจฉัยปญหาดังกลาวได อยางไรก็ตามถาพฤติกรรมของเด็กเปนสาเหตุของ ความกังวลเกี่ยวกับสุขภาพจิตของเด็ก นั่นก็อาจบงชี้ถึงความกังวลตอการปกปองคุมครองดวยเชนกัน พนักงานควร รายงานความกังวลโดยใช CPOMS

14


1.14 เด็กที่มีความตองการดานการศึกษาพิเศษและความพิการ (SEND) เด็กที่ไดรับการวินิจฉัยอยางเปนทางการวาเปน SEND รวมทั้งเด็กที่มีปญหาชัดเจนโดยปราศจากการวินิจฉัยอยางเปน ทางการ มีความเสี่ยงตอการทารุณกรรมหรือการละเลยทอดทิ้งสูงกวา อุปสรรคในการระบุและแทรกแซงก็สูงกวาดวย เชนกัน ดังนั้นจึงตองเปดใจใหกวางเกี่ยวกับสิ่งที่เราเห็นและดำรงไวซึ่งความสงสัยใครรูอยางมืออาชีพไว ตัวอยางเชน: 1) การไมยอมรับวาการบาดเจ็บเปนผลมาจากความตองการของเด็ก แตพิจารณาวาอาจมีสาเหตุอะไรอื่นอีกที่ เปนไปไดและหลักฐานบงบอกอะไร 2) การพิจารณาพฤติกรรม เชน การทำรายตนเอง วาอาจเปนเครื่องบงชี้ของการทารุณกรรม 3) การตระหนักถึงความเปนไปไดของการเจ็บปวยที่ไมเปนความจริงหรือตั้งใจใหเกิด 1.15 สัญญาณของการทารุณกรรมที่เปนไปไดซึ่งตองเฝาระวัง สิ่งบงชี้ที่เปนไปไดของการทารุณกรรมทางรางกาย สิ่งบงชี้ที่เปนไปไดของการลวงละเมิดทางอารมณ • รอยฟกช้ำและรองรอยที่ ไมส ามารถอธิบายได และ/หรื อ เกิดขึ้นซ้ำๆ บนสวนใดก็ตามของร างกาย (แตโดยเฉพาะ อยางยิ่งบนสวนที่ อ อนนุมของรางกาย – แกม แขนทอน ปลาย ทอง) • รอยฟกช้ำที่มีอายุตางๆ กัน (หลายสี) • การบาดเจ็บที่สะทอนรูปทรงของวัตถุที่ใช (สายไฟ เข็มขัด หัวเข็มขัด ไมปงปอง มือ) • แผลไหมที่ไมสามารถอธิบายได โดยเฉพาะอยางยิ่งบริเวณ ฝาเทา ฝามือ หลังหรือสะโพก • การบาดเจ็บที่ปรากฏขึ้นเปนประจำหลังจากหยุดเรียนหรือ ปดเทอม • รอยไหมที่มีรูปแบบจากเตาไฟฟา เตารีด หรือบุหรี่ • แผลถลอกที่เกิ ดจากการเสียดสีของเชื อกบนแขน ขา คอ หรือลำตัว • การบาดเจ็บที่ไมสอดคลองกับขอมูลที่เด็กบอก • รอยไหมจากการจุมที่มีเสนแสดงขอบเขตชัดเจน • รอยฉีกขาด รอยถลอกหรือกระดูกแตกหักที่อธิบายไมได • การปฏิเสธไมพูดคุยถึงการบาดเจ็บ/รอยฟกช้ำ • รอยกัด • การถอยหนีจากการสัมผัสทางรางกาย • การสวมเสื้อผาที่อาจปกปดรอยฟกช้ำ • การกลัวที่จะถอดเสื้อผาเพื่อเปลี่ยนชุดพละในวิชาพละศึกษา

• การลวงละเมิดทางอารมณสามารถทำใหพฤติกรรมของเด็ก เปลี่ยนไปได • พวกเขาอาจจะไมสนใจวาตนเองทำตัวอยางไร หรือเกิดอะไร ขึ้นกับตนเอง ซึ่งเรียกวาพฤติกรรมแรงกระตุนเชิงลบ • หรื อ พวกเขาอาจพยายามทำให ค นอื ่ น ไม ช อบตนเอง ซึ่ ง เรียกวาพฤติกรรมโดดเดี่ยวตนเอง • เด็กที่ถูกลวงละเมิดทางอารมณอาจพัฒนาพฤติกรรมเสี่ยง เชน การขโมยของ การกลั่นแกลงและการหนีออกจากบาน • การทำรายตัวเองหรือความผิดปกติในการกิน • อาจสูญเสียทักษะทางสังคม • ดูหางเหินจากพอแม • ขาดความเชื่อมั่นหรือมีความระแวดระวังหรือวิตกกังวล • แสดงพฤติ ก รรมหรื อ ใช ภ าษาที ่ ไ ม เ หมาะสมกั บ ระดั บ พัฒนาการของตน (ตัวอยางเชน การใชภาษาที่คุณอาจไม คาดวาเด็กในวัยเดียวกันจะใช) • การแสดงความรักมากผิดปกติตอคนแปลกหนาหรือคนที่ ไมไดรูจักมาเปนเวลานาน

15


สิ่งบงชี้ที่เปนไปไดของการลวงละเมิดทางเพศ • ความรูเรื่องเพศ พฤติกรรม หรือการใชภาษาที่ไมเหมาะกับ ระดับอายุ • รูปแบบความสัมพันธระหวางบุคคลที่ผิดปกติ • โรคติดตอทางเพศสัมพันธในเด็กไมวาอายุเทาใดก็ตาม • หลักฐานของการบาดเจ็บทางรางกายหรือเลือดออกบริเวณ ปาก อวัยวะเพศหรือทวารหนัก • ความลำบากในการเดินหรือนั่ง • การปฏิเสธไมเปลี่ยนเปนชุดพละศึกษา การกลัวหองน้ำ • เด็กที่หนีออกจากบานและไมมีการรองเรียนใดๆ เปนพิเศษ • การไมอยากอยูตามลำพังกับบุคคลหนึ่ง • การตั้งครรภ โดยเฉพาะอยางยิ่งในขณะที่อายุยังนอย • การเลี้ยงดูที่ปกปองลูกมากเกินไป • การเสพสื่อลามกอนาจร สิ่งบงชี้ที่เปนไปไดของการทารุณกรรมเด็กโดยเด็ก • • • • • • • • • •

การขาดเรียนหรือการไมเขารวมกิจกรรมของโรงเรียน ปญหาสุขภาพจิตหรืออารมณ การถอนตัว – การขาดการเห็นคุณคาในตัวเอง การนอนนอย การดื่มแอลกอฮอลหรือใชสารเสพติด การเปลี่ยนพฤติกรรม พฤติกรรมที่ไมเหมาะกับวัย เปนอันตรายตอผูอื่น การบาดเจ็บทางรางกาย การใชเวลาบนหนาจอมากขึ้น หรือการแสดงใหเห็นถึงการ ใชงานแพลตฟอรมออนไลน เชน เว็บไซต สื่อสังคมออนไลน แอปพลิเคชั่น หรือเกม อยางผิดปกติ

สิ่งบงชี้ที่เปนไปไดของการละเลยทอดทิ้ง • เด็กไมไดอาบน้ำ หิว (การคุยขยะ/การหาอาหาร) หรือเหนื่อย เปนประจำ • พอแมไมสนใจผลการเรียนของเด็ก • พอแมไมตอบสนองตอการติดตอสื่อสาร จากโรงเรียนซ้ำๆ • เด็กไมอยากกลับบาน • ทั้งพอแมและผูปกครองตามกฎหมายไมมา • ไมสามารถติดตอพอแมไดในกรณีฉุกเฉิน • มีแนวโนมที่จะมีพฤติกรรมทำลายขาวของ • การมาโรงเรียนสายบอย • ภาวะโดดเดี่ยวทางสังคม • น้ำหนักตัวนอยหรือมากเกินไป • เสื้อผาที่ไมเหมาะสม/ไมเพียงพอ • ปญหาทางการแพทยที่ไมไดรับการรักษา สิ่งบงชี้ที่เปนไปไดของการแสวงหาประโยชนทางเพศจากเด็ก • การหายตัวเปนระยะเวลาหนึ่งอยางตอเนื่อง หรือมักจะกลับ บานชา หรือขาดเรียนโดยไมมีคำอธิบาย • การโดดเรียนหรือรบกวนการเรียนในหองเรียน • การปรากฏตัวพรอมกับของขวัญหรือสิ่งของในครอบครอง (เงิน เสื้อผา โทรศัพท ฯลฯ) ที่ไมสามารถอธิบายที่มาที่ไปได • การมีปญหาสุขภาพที่อาจบงชี้ถึงการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ • อารมณแปรปรวน และพื้นอารมณเปลี่ยนแปลง • การกลับบานขณะอยูภายใตฤทธิ์ของสารเสพติด/แอลกอฮอล • การแสดงพฤติ กรรมทางเพศที่ ไมเ หมาะสม เชน การสนิท สนมกับคนแปลกหนามากเกินไป การแตงกายในลักษณะที่ สื ่ อ ไปในทางเพศ หรื อ การส ง ภาพที่ ส ื ่ อ ไปในทางเพศโดย โทรศัพทมือถือ (‘การสงขอความเกี่ยวกับเรื่องเพศ’) การติด เชื้อทางเพศสัมพันธ • เกี่ยวกับการใชอินเตอรเน็ตหรือสื่อสังคมออนไลนอื่นๆ/ การ ใชเวลาบนหนาจอมากขึ้น หรือความผิดปกติในการใชงาน แพลตฟอร ม ออนไลน เช น เว็ บ ไซต สื ่ อ สั ง คมออนไลน แอปพลิเคชั่น หรือเกม 16


• หลักฐาน/การสงสัยวามีการทำรายทางรางกายหรือทางเพศ (เชน การบาดเจ็บทางรางกายที่อธิบายไมได เชน รอยฟกช้ำ และรอยบุหรี่ไหม) • การทำรายตัวเองหรือการเปลี่ยนแปลงอยางมีนัยสำคัญของ สุขภาวะทางอารมณ • มีคนโทรหาจำนวนมาก (ผูใหญหรือคนวัยเดียวกันที่ไมรูจัก) ไดรับขอความ/โทรศัพทจำนวนมาก • การแยกตัวจากเพื่อน/เครือขายทางสังคม • สิ่งบงชี้ที่เปนไปไดของการแสวงหาประโยชนทางอาญาจากเด็ก • • • • • • • • •

การเปลี่ยนพฤติกรรม การหายออกจากบานหรือโรงเรียนบอยๆ การมีเงิน ของขวัญหรือสิ่งของใหมๆ ในครอบครองที่ไมสามารถอธิบายได การบาดเจ็บที่ไมสามารถอธิบายได ปายบนสิ่งของในความครอบครองที่มีลักษณะเปนภาพกราฟฟตี้ การพกพาอาวุธ การสนใจดนตรีที่สรรเสริญอาวุธและวัฒนธรรมแกง การเขารวมการตอสู การกออาชญากรรม เชน การขโมยของในราน 1.16 ความเสี่ยงอื่นๆ ในการปกปองคุมครอง นอกจากนี้ ยังควรรายงานความกังวลหรือเหตุการณตอไปนี้เพราะความเสี่ยงเหลานั้นถือวาเปนสวนหนึ่งของนโยบาย การปกปองคุมครองฉบับนี:้ เด็กที่หายไปจากการศึกษา: เด็กที่หายไปจากระบบการศึกษามีความเปนไปไดที่จะมีผลมาจากการถูกทารุณหรือถูก ทอดทิ้ง พนักงานและคนในโรงเรียน รวมถึงผูปกครองและผูดูแล ควรจะตองมีรายงานสำหรับเด็กที่เขาเรียนนอยหรือ ขาดเรียนที่นาเปนหวงตอเจาหนาที่ดานความปลอดภัย โดยเฉพาะกรณีที่เกิดขึ้นบอยครั้ง เพื่อชวยระบุความเสี่ยงของ การถูกทารุณหรือถูกทอดทิ้ง รวมถึงการแสวงหาผลประโยชนทางเพศ เพื่อชวยปองกันความเสี่ยงที่เด็กจะหายไปใน อนาคต การแสวงหาประโยชนทางเพศจากเด็ก (CSE): สิ่งนี้รวมไปถึงสถานการณ สิ่งแวดลอม และความสัมพันธที่ผูเยาว ไดรับของ (เชน อาหาร ที่พัก ยาเสพติด ของขวัญ เงิน สิ่งมึนเมาหรือความรัก) จากการเขารวมกิจกรรมทางเพศ การ แสวงหาผลประโยชนทางเพศมีหลายรูปแบบตั้งแตความสัมพันธที่ยินยอมแบบชูสาวจนถึงอาชญากรรมที่กระทำโดย กลุมคนหรือแก็งคตางๆ ผูกระทำผิดจะมีอำนาจบางอยางเหนือเหยื่อเสมอ ซึ่งจะสงผลใหความสัมพันธแบบแสวงหา ผลประโยชนพัฒนามากขึ้น การแสวงหาผลประโยชนทางเพศมีหลายระดับคือ การบังคับ การขมขูหรือการลอลวง 17


รวมถึงการถูกกดดันใหมีเพศสัมพันธดวยจากเพื่อน การคุกคามทางเพศรวมไปถึงการคุกคามทางออนไลนและเลี้ยง ตอย มันสำคัญมากที่เราจะตระหนักวาผูเยาวที่ถูกแสวงหาผลประโยชนทางเพศบางคนจะไมแสดงอาการวาถูกทารุณ การขริบอวัยวะเพศหญิง (FGM): สิ่งนี้ประกอบไปดวยกระบวนการทั้งหมดที่รวมถึงการชำแหละอวัยวะเพศบางสวน หรือชำแหละอวัยวะเพศทั้งหมด รายงานขาวลาสุดไดแสดงใหเห็นวาการกระทำนี้ไดเกิดขึ้นอยางกวางขวางในประเทศ ไทย ชุมชนโรงเรียนนานาชาติฮารโรว กรุงเทพฯ ตองตระหนักในความเปนไปไดที่เด็กผูหญิงจะตกอยูในความเสี่ยงของ กระบวนการนี้ หรือทุกขทรมานจากกระบวนนี้และหาทางชวยเหลือเด็กเหลานั้นตามความเหมาะสม เราปฏิบัติตาม คำแนะนำของสหราชอาณาจักรในดานนี้ และจำเปนตองรายงานการเปดเผยขอมูลของ FGM ที่เกี่ยวของกับผูหญิงที่ อายุต่ำกวา 18 ป ความคิดแบบหัวรุนแรง: ความคิดนี้เกิดจากบุคคลที่สนับสนุนการกอการรายหรือลัทธิหวั รุนแรง มันไมมีวิธีใดวิธีนงึ ที่ สามารถระบุไดวาบุคคลคนนี้หัวรุนแรง ภูมิหลังบางอยางอาจเปนปจจัยที่สงผลใหความออนไหวรวมกับอิทธิผล บางอยาง เชน ครอบครัว เพื่อนหรือสื่อออนไลน เพื่อจัดการกับความเสี่ยงดานความปลอดภัยอื่นๆ พนักงานควรจะ ตระหนักถึงความเปลี่ยนแปลงในพฤติกรรมของที่อาจเขาขายตองการความชวยเหลือหรือการปกปองคุมครอง การบังคับแตงงาน/การลักพาตัว: การบังคับแตงงานยังคงเปนที่ยอมรับในบางวัฒนธรรม หากพนักงานพิจารณาเห็น เด็กตกอยูในการทารุณแบบนี้ใหแจงตอกลุมดูแลดานความปลอดภัยโดยทันทีโดยใช CPOMs. ปญหาสุขภาพจิต: เด็กอาจกลายเปนอันตรายตอตนเองหากพวกเขาประสบปญหาสุขภาพจิต ปญหาดังกลาวมีความ จำเปนในการรายงาน - โรงเรียนมีทีมงานที่พรอมชวยเหลือเด็กเหลานี้ รายงานควรทำโดยใช CPOM ตัวอยาง ไดแก อารมณต่ำ ความผิดปกติของการกิน การทำรายตัวเอง ความคิดฆาตัวตาย เปนตน SEND: เด็กในกลุม SEND อาจเสี่ยงตอการถูกลวงละเมิดและแสวงประโยชนมากขึ้น เจาหนาที่คนใดที่ถือวาเด็กมี ความเสี่ยงตอการละเมิดรูปแบบนี้ ควรรายงานใหสมาชิกของทีมปกปองทราบทันทีโดยใช CPOMs

18


2. ภาคผนวก 2 – ทีมปกปองคุมครอง พนักงานทั้งหมดมีสวนรวมในการปกปองคุมครองเด็กๆ ที่โรงเรียนนานาชาติฮารโรว กรุงเทพฯ แตอยางไรก็ต าม พนักงานบางสวนก็มีหนาที่ความรับผิดชอบที่เฉพาะเจาะจงอยางยิ่ง ดังรายละเอียดดานลาง 2.1 เจาหนาที่ประสานงานการปกปองคุมครอง Designated Safeguarding Focal Point: DSFP DSFP รับผิดชอบการกำกับดูแลเรื่องการปกปองคุมครองทั้งหมดในระดับกลยุทธ ซึ่งประกอบดวยการทบทวนนโยบาย ระบบและการปฏิบัติตามขอกำหนดเกี่ยวกับการปกปองคุมครอง การเปนผูนำกลุมกลยุทธการปกปองคุมครอง (Safeguarding Strategy Group) และรักษาความลับและความครบถวนสมบูรณของบันทึกการปกปองคุมครอง นอกจากนี้ยังทำหนาที่ใหคำแนะนำแก DSL ในกรณีที่รายแรงสวนใหญ DSFP รับผิดชอบการรวบรวมรายงานการ ปกป องคุ มครองเพื ่ อส งให คณะกรรมการบริห าร (Board of Governors) และทุ กครึ ่ งเทอมจะประสานงานกั บ กรรมการดานการปกปองคุมครองที่ไดรับมอบหมาย (Designated Safeguarding Governor) และกรรมการดานสุข ภาวะที่ไดรับมอบหมาย (Designated Wellbeing Governor) 2.2 หัวหนางานปกปองคุมครองเด็กที่ไดรับมอบหมาย Designated Safeguarding Leads: DSL DSL รับผิดชอบเปนหัวหนาในกรณีของการปกปองคุมครองที่ซับซอน และสั่งการใหหัวหนางานอภิบาล (Pastoral Leader) และเจ า หน า ที ่ ป กป องคุ  มครอง (Safeguarding Officer) ปฏิบ ัติห นาที่ในกรณีอื่น ๆ ทั้งหมดตามความ เหมาะสม เป น ประธานการประชุ ม กรณี ก ารทารุ ณ กรรมเด็ ก ทั ้ ง หมดของโรงเรี ย น (Whole School Case Conferences: WSCC) ประจำสัปดาห ตรวจสอบใหแนใจวาการปกปองคุมครองยังคงอยูในแถวหนาของจิตสำนึก องคกรของโรงเรียน เปนผูนำ ทบทวนและดำเนินการสำหรับการแกไขปญหาเรงดวน (Acute Intervention Review) สนับสนุน DSFP ในการทบทวนนโยบาย และหนาที่อื่นๆ ที่อาจจำเปนเพื่อรักษาหรือปรับปรุงนโยบายและขั้นตอนการ ปฏิบัติในการปกปองคุมครองของโรงเรียน DSL ระดับมัธยมศึกษา (Upper School DSL) มีหนาที่รับผิดชอบในการ กำกั บ ดู แ ลและจั ด การฝ ก อบรมการปกป อ งคุ  ม ครองให แ ก บ ุ ค ลากร โดยได ร ั บ การสนั บ สนุ น จาก DSL ระดั บ ประถมศึ กษา (Lower School DSL) และหัว หนางานสุขภาวะ (Wellbeing Lead) ทั้งนี้ DSL จะร ว มกั น ทำการ ตรวจสอบภายในของทั้ง โรงเรียนเกี่ยวกับการปกปองคุมครองในแตปของชวงสองประหวางการตรวจสอบภายนอกทุก สามป และนำขอมูลที่ไดมาจัดทำแผนปฏิบัติการปกปองคุมครองประจำป และสงใหกลุมกลยุทธการปกปองคุมครอง เพื่อขอรับการอนุมัติ 2.3 หัวหนางานอภิบาลและปกปองคุมครอง Pastoral and Safeguarding Leads (YGL, PHL, HoH) หัวหนารับผิดชอบประเด็นการปกปองคุมครองประจำวันในพื้นที่ที่ตนไดรับมอบหมายภายในโรงเรียน หนาที่ในการนี้ ประกอบดวยแตไมจำกัดเฉพาะ: การทำหนาที่เปนดานแรกของการเปดเผยขอมูล สอบสวนเหตุที่เกิดขึ้น ยึดถือหลัก คุณธรรมและการรักษาความลับของบันทึกการปกปองคุมครอง การแจงให DSL ทราบเกี่ยวกับประเด็นการปกปอง คุมครองที่เกิดขึ้น การประสานงานกับพอแม ผูปกครอง โรงพยาบาล และหนวยงานอื่นๆ เพื่อใหแนใจในความ ปลอดภัยของเด็กๆ เขารวมประชุม Team Around the Child (TAC) หรือ Return to School (RTS) conferences หากจำเปน การจัดทำแผนงาน การนำแผนงานมาปฏิบัติและดำเนินการอัพเดท Safety In School (SIS) สำหรับ นักเรียนหากจำเปน

19


2.4

หัวหนาฝายสวัสดิภาพ และ นักจิตวิทยาของโรงเรียน - Wellbeing Lead (WBL) and Counsellors

หัวหนาฝายสวัสดิภาพ คือ ผูที่ทำหนาที่เปนผูนำทีมนักจิตวิทยาที่ปรึกษา ใหการสนุบสนุน ผูนำฝายปกปองและ คุมครองนักเรียนในระดับมัธยมศึกษาในการวางแผน การกำกับดูแล และการจัดการอบรมการปกปองคุมครองเด็ก และการตรวจสอบการปกปองคุมครองเด็ก รวมทั้ง และใหคำปรึกษาในกรณึเกิดเหตุการรุนแรงขึ้น หัวหนาฝาย สวัสดิการและนักจิตวิทยาโรงเรียน เปนตัวแทนทีมสนับสนุนผูเชี่ยวชาญภายในของทางโรงเรียน พวกเขาจะรับ นักเรียนที่ถูกคัดเลือกทุกคนที่การใหคำปรึกษามีความเหมาะสมและใหการสนับสนุนการใหคำปรึกษาเฉพาะบุคคลแก นักเรียนเหลานั้น พวกเขาจะทำหนาที่รวมกันอยางใกลชิดกับ ผูนำฝายปกปองและคุมครองนักเรียน และหัวหนาฝาย สวัสดิภาพ 2.5

เจาหนาที่ปกปองคุมครองเด็กและทีมสวัสดิภาพหอพัก - Safeguarding Officers (SO) and Boarding Pastoral Teams พวกเขาจะใหการสนับสนุนผูนำฝายสวัสดิภาพในระหวางทำหนาที่ปกปองคุมครองเด็ก สมาชิกทีมสวัสดิภาพหอพัก อาจจะทำหนาที่เปนผูนำในบางกรณีตามคำสั่งของหัวหนาฝายสวัสดิการนักเรียน หัวหนาระดับชั้นใหความชวยเหลือ ผูนำฝายปกปองและคุมครองนักเรียนในการตรวจสอบรายงานเปนประจำในระบบ CPOMS เพื่อใหแนใจวาไดรับการ ดำเนินการอยางเหมาะสมและครอบคลุม 2.6 กรรมการบริหารโรงเรียนที่ไดรับมอบหมายทำหนาที่ปกปองคุมครอง Designated Safeguarding Governor กรรมการ (Governor) รับผิดชอบการกำกับดูแลนโยบายและขั้นตอนการปฏิบัติ การรายงานกลับไปยังคณะกรรมการ เกี่ยวกับประเด็นการปกปองคุมครองทั้งหมด การตรวจสอบใหแนใจวาการปกปองคุมครองมีพื้นที่ที่มั่นคงอยูภายใน สำนึกรวมของคณะกรรมการ การทดสอบขั้นตอนการปฏิบัติที่มีอยูของโรงเรียนบอยที่สุดเทาที่จะสามารถทำได แต ตองไมนอยกวาปละครั้ง 2.7 กลุมกลยุทธการปกปองคุมครอง Safeguarding Strategy Group กลุมนี้จะรับผิดชอบการทบทวนการปกปองคุมครองในโรงเรียนในเชิงกลยุทธอยางสม่ำเสมอ กลุมจะประชุมกันกลาง เทอม 1 และเมื่อสิ้นสุดเทอม 2 เพื่อใหขอมูลในการประชุมสำคัญๆ ของคณะกรรมการบริหาร กลุมจะรับผิดชอบการ อนุมัติแผนการดำเนินงานปกปองคุมครอง และตรวจสอบใหแนใจวานโยบายและขั้นตอนการปฏิบัติไดรับการทบทวน อยางสม่ำเสมอ กลุมประกอบดวย: o DSFP (ประธาน) o หั ว หน า เจ า หน า ที ่ ป กป อ งเด็ ก ที ่ ไ ด ร ั บ มอบหมาย (Designated Safeguarding Leads: DSL) สำหรับระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา o หัวหนางานสุขภาวะ (Wellbeing Lead) o ผูอำนวยการฝายบุคคล (Director of HR) o หัวหนาโรงเรียน (Heads of Schools) o หัวหนาโรงเรียนประจำ (Head of Boarding) 20


บันทึกการประชุมจะถูกสงใหอาจารยใหญ (Head Master), อาจารยใหญฝายไทย (Thai Principal) และ กรรมการ ดานการปกปองคุมครองที่ไดรับมอบหมาย (Designated Safeguarding Governor) หลังเสร็จสิ้นการประชุมแตละ ครั้ง 2.8 กรรมการบริหารโรงเรียนที่ไดรับมอบหมายทำหนาที่ปกปองคุมครอง (Designated Safeguarding Governor) กรรมการบริหารโรงเรียนที่ไดรับมอบหมายใหรับผิดชอบงานปกปองคุมครองคือ คุณกิตติพล ปราโมช ณ อยุธยา (คุณ ตรี) สามารถติดตอไดที่ safeguarding_governor@harrowschool.ac.th สามารถขอรายละเอียดการติดตอประธาน คณะกรรมการไดจากผูชวยสวนตัว (PA) ของอาจารยใหญ (Head Master) และ/หรือ จาก DSFP 2.9 กรรมการบริหารโรงเรียนที่ไดรับมอบหมายใหดูแลดานสวัสดิภาพ (Designated Wellbeing Governor) กรรมการดานสุขภาวะ (Wellbeing Governor) ที่ไดรับการแตงตั้งคือคุณเดบรา ไพรส Debra Price สามารถขอ รายละเอียดการติดตอไดจากผูชวยสวนตัวของอาจารยใหญ (Head Master) และ/หรือ จาก DSFP 2.10 การประชุมเคสเด็กทั้งหมดของโรงเรียน (Whole School Case Conferences: WSCC) WSCC จะรับผิดชอบการทบทวนนักเรียนที่ปจจุบันอยูในขายเฝาระวังใน CPOMS โปรดดูขอกำหนดของ WSCC ใน ภาคผนวก 9

21


2.11 พนักงานที่เปนสมาชิก

ทีมปกปองคุมครอง (Safeguarding Team) และทีมอภิบาล (Pastoral Team) พ.ศ. 2565– 2566 ตำแหนงงาน

ไมเคิล เรดดิช รีเบคกา แคลร ขนิษฐา พระวิเชนทร เนิส เอ เอลลิส เมลโซ แดเนียล แฮรริส รุธ โคแวป

หนาที่ความรับผิดชอบ

รองอาจารยใหญ หัวหนาฝายสวัสดิภาพ ผูอำนวยการโรงเรียน ผูจัดการฝายบริการดานสุขภาพ นักจิตวิทยาของโรงเรียน นักจิตวิทยาของโรงเรียน หัวหนาหอพักนักเรียน และ หัวหนา หอพักหญิง โจ ขันทีทาว ผูอำนวยการฝายทรัพยากรบุคคล หัวหนาฝายอภิบาลและฝายปกปองและคุมครองนักเรียนระดับระถมศึกษา

หัวหนาฝายปกปองและคุมครองนักเรียน (DSFP) เจาหนาที่ฝายปกปองและคุม ครองนักเรียนของโรงเรียน เจาหนาที่ฝายปกปองและคุม ครองนักเรียน (ภาษาไทย) กรรมการ WSCC (สำหรับภาษาไทย) กรรมการ WSCC WSCC กรรมการ WSCC WSCC เจาหนาที่ดานปกปองและคุมครองนักเรียนสำหรับหอพัก

ชั้นไลออน คลับ - ฟาติมา เบนกาเซม หัวหนาชั้นเรียนแตละชั้นป ชั้นพรีเนิสเซอรรี่ - แอน แฮกริด ชั้นเนิสเซอรรี่ - เอมิลี่ ธอมปสัน ชั้นรีเซฟชั่น - เคธี่ ปารคเกอร ชั้นเยียร 1 - ชานอน ดอรเคอตี้ ชั้นเยียร 2 - แอชลี่ย บริทตัน ชั้นเยียร 3 - เอมิลี่ แฮมมอนด ชั้นเยียร 4 - ลอรา ลิกูโอนี่ ชั้นเยียร 5 - ไซมอน อินแกรม

ผูนำในการตอบสนองตอเหตุการณและปกปองดูแลนักเรียนในแตละชั้นป

กำกับดูแลการลงทะเบียนกลาง (SCR) (ภาษาไทย)

หัวหนาทีมปกปองและคุม ครองนักเรียนระดับประถมศึกษา แมท ปารคเกอร หัวหนาฝายสวัสดิการนักเรียน ผูนำฝายปกปองและคุม ครองนักเรียนระดับประถมศึกษา(DSL) พอล บีช อาจารยใหญแผนกประถมศึกษา เจาหนาที่ปกปองและคุม ครองนักเรียนระดับประถมศึกษา เดวิด แมคคิลลอป หัวหนาระดับ Pre Prep เจาหนาที่ปกปองและคุม ครองนักเรียนระดับ Pre Prep เลสลีย บราวน หัวหนาระดับอนุบาล เจาหนาที่ปกปองและคุม ครองนักเรียนอนุบาล หัวหนาฝายอภิบาลและฝายปกปองและคุมครองนักเรียนระดับระดับมัธยมศึกษา ไบรอน เฮาส - บอบบี้ วิลสัน เชอรชิล เฮาส - จอช คารโมดี้ เคลเลอร เฮาส - เจค คอนเนอร เนรู เฮาส - แอนดรูว อารชิบอลด โสณกุล เฮาส - ฟลิป แคลร โสณกุล เฮาส - อบิแกล เจวอนซ

หัวหนาเฮาส

ผูนำในการตอบสนองตอเหตุการณและปกปองและคุม ครองดูแลนักเรียนใน แตละเฮาส จากเยียร 9-13

ไบรอน เฮาส – ซาแมนตา เลียร เชอรชิล เฮาส - เอลลิส แชดวิค

หัวหนาเฮาสระดับ Prep

ผูนำในการตอบสนองตอเหตุการณและปกปองและคุม ครองดูแลนักเรียนใน แตละเฮาส จากเยียร 6-8 22


เคลเลอร เฮาส - จัสติน แมคเคอรลี เนรู เฮาส เนรู เฮาส - เอียน เดนโฮ โสณกุล เฮาส - เจมส โอคอนเนลล โสณกุล เฮาส - เอริน วิลลิส หัวหนาทีมปกปองและคุม ครองนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ลีแลนด เพียนซ พอล จอหนสัน อแมนดา โพล แอนดี้ บราวน เอ็มมา ริคารด

ผูอำนวยการเฮาส หัวหนาประถม 5 - มัธยมปลาย หัวหนาระดับมัธยมปลาย หัวหนาระดับ SR5 หัวหนาระดับมัธยมตอนตน

ผูนำฝายปกปองและคุม ครองนักเรียนระดับมัธยมศึกษา (DSL) เจาหนาที่ปกปองและคุม ครองนักเรียนระดับมัธยมศึกษา เจาหนาที่ปกปองและคุม ครองนักเรียนระดับมัธยมปลาย เจาหนาที่ปกปองและคุม ครองนักเรียนระดับ SR5 เจาหนาที่ปกปองและคุม ครองนักเรียนระดับมัธยมตน

23


2.12 การปกปองคุมครองเด็กหลังเวลาทำการและวันหยุดสุดสัปดาหสำหรับนักเรียนประจำ - After Hours and Weekend Safeguarding for Boarders ในชวงเย็นของทุกวันในระหวางสัปดาห ทีมเจาหนาที่หอพัก มีสิทธิ์เขาถึงระบบปกปองและคุมครองนักเรียนระดับ มัธยมศึกษา (Upper School DSL) ถาพวกเขาตองการการสนับสนุนหรือคำแนะนำใดๆ ยังมีหัวหนาฝายปกปอง และคุมครองนักเรียน DSFP และ อาจารยใหญแสตนบายคอยใหคำแนะนำ วันหยุดสุดสัปดาหของหอพักนั้นจะบริหารงานโดยทีมผูนำทั้ง 3 ทีมรวมกัน ซึ่งจะทำหนาที่หมุนเวียนกัน รอง หัวหนาประจำหอหญิงและหอชาย (Deputy House Mistresses and Masters ) มีหนาที่ดูแลรับผิดชอบและ ทำหนาที่เปนผูนำของหอพักหากมีเหตุการณรุนแรงเกิดขึ้นหัวหนาหอพักชายและหญิงตองดูและใสใจกับสิ่งที่ เกิดขึ้นอยางเต็มที่ ทีมเจาหนาที่ดูแลหอพักจะไดรับการสนับสนุนชวยเหลือจากสมาชิกของการปกปองและคุมครองผานทางโทรศัพท ที่อยูเวรในวันหยุดสุดสัปดาหในแตละสัปดาห ซึ่งจะพกพาโทรศัพทประจำสำหรับใชในอยูเวร บทบาทหนาที่ของ สามาชิกการปกปองคุมครองเด็ก คือการใหมุมมองใหมๆที่สำคัญเกี่ยวกับการติดสินใจใดๆที่หัวหนาหอพักอาจจะ นำไปทดลองและปรับใช สามาชิกการปกปองคุมครองเด็กสามารถติดตอไดในชวงวันหยุดสุดสัปดาหผานโทรศัพท ที่ใชประจำสำหรับการนี้โดยเฉพาะ สามารถเดินทางมาที่โรงเรียนไดภานในเวลา 1 ชั่วโมง และมีความสามารถที่ จะถามคำถามและประเด็นหลักๆที่เกี่ยวของกับการปกปองคุมครองที่สำคัญๆได หากมีเหตุการณใดเกิดขึ้นที่หัวหนาหอพักและสมาชิกการปกปองคุมครองเด็กตองการเพิ่มเติม พวกเขาสามารถ ติดตอหัวหนาปกปองและคุมครองนักเรียนระดับมัธยมศึกษา, หัวหนาหอพัก, หัวหนาฝายปกปองและคุมครอง นักเรียน DSFP และครูใหญตามลำดับดังตอไปนี้ได 2.13 การปกปองคุมครองเด็กระหวางทัศนศึกษา - Safeguarding on Trips การปกปองคุมครองเด็กยังคงมีความสำคัญอยางยิ่งในระหวางการเดินทางเชนเดียวกับในบริเวณโรงเรียน ตามที่ ระบุไวในนโยบายการเดินทางนอกสถานที่ของเรา: ไมวาเราจะจะสรางสภาพแวดลอมในบริเวณโรงเรียนใหปลอดภัยเพียงใด เราตองตรวจสอบใหแนใจ ดวยวาการไปทัศน-ศึกษานอกสถานที่นั่นมีความปลอดภัยและยังคงใหการชวยเหลือปกปองสวัสดิ ภาพของนักเรียนของเราดวยเชนกัน ในฐานะเจาหนาที่ทางการศึกษา เราใหความสำคัญกับโอกาศที่นักเรียนของเราไดรับโอกาสเรียนรู และสำรวจโลกภายนักโรงเรียนเชนกัน เราสนับสนุนใหมีกิจกรรมทัศนศึกษานอกสถานศึกษา เพื่อ เพิ่มพูนการเรียนรูนอกเหนือจากสภาพแวดลอมภายในโรงเรียน ในฐานะที่เปนสวนหนึ่งของคำมั่น สัญญานี้ เรารับรองวาการปกปองคุมครองเด็กเปนหัวใจสำคัญของนโยบายและขั้นตอนการทัศน ศึกษาและการเยี่ยมชมสถานที่ตางๆ

24


นโยบายนี้ไดกำหนดมาตราการปกปองคุมครองเด็กอยางเต็มรูปแบบในการวางแผนและการจัดทริป รวมถึงผู ที่ไดรับมอบหมายใหรับผิดชอบดูแลการปกปองคุมครองเด็ก การประเมินความเสี่ยง การกำกับดูแล การจัดเจาหนาที่ บุคลากร การตรวจสอบสวัสดิภาพ และการสนับสนุนชวยเหลือในกรณีฉุกเฉิน นอกจากนี้เรายังจัดใหมีหลักสูตร ฝกอบรมการจัดการภาวะวิกฤตของผูนำทริปการเดินทาง 2.14

การปกปองคุมครองนอกเวลาทำการ Safeguarding Out of Hours

สำหรับนักเรียนไปกลับและครอบครัวของเขาที่เผชิญกับปญหาดานการปกปองคุมครองนอกเวลาทำการของโรงเรียน ในทันทีที่คุณมีความกังวลและคิดวาเด็กคนหนึ่งกำลังตกอยูในอันตราย หรือกำลังถูกทำรายใหคุณโทรแจงสายดวน ดานลางนี้ใหเร็วที่สุด แจงเหตุดวน-เหตุราย (แจงตำรวจ)

191

สายดวนตำรวจทองเที่ยว (ตํารวจท่องเทีย่ ว

1155 (24 ชั่วโมง)

สามารถพูดภาษาอังกฤษได้ -สามารถช่วย ตอบคําถาม ข้อกังวล และสามารถแนะนําช่อง ทางการติดต่อทีต่ รงกับปั ญหาได้หากต้องการ)

สถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ

1669

(เรียกรถพยาบาลได้ทวประเทศ) ั่

ศูนย์บริการการแพทย์ฉกุ เฉิน กรุงเทพมหานคร (ศูนย์เอราวัณ)

1646

สถานีดบั เพลิง

199

มูลนิธสิ ายเด็ก

1387 (โทรฟรี 24 ชั่วโมง)

อีเมล info@childlinethailand.org (ติดตอได 24 ชั่วโมง) ในกรณีที่สถานการณวิกฤติมีความเสี่ยงตอการฆาตัวตายใหไปที่แผนกฉุกเฉินของโรงพยาบาลและขอพบจิตแพทยที่อยู เวร โรงพยาบาลที่มีความพรอมในการใหการรักษาดูแลในสถานการณนี้ที่เราทราบ รวมโรงพยาบาลกรุงเทพ และ โรงพยาบาลมนารมย (โรงพยาบาลเปาโล ?)

25


ศูนยจิตรักษ โรงพยาบาลกรุงเทพ เลขที่ 2 ซ.ศูนยวิจัย 7 ถ.เพชรบุรีตัดใหม แขวงบางกะป เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 ประเทศไทย โทร 02 2310-3027, 02310-3751-2 โรงพยาบาลมนารมย เลขที่ 9 ถนนสุขุมวิท 70/3 แขวงบางนาใต เขตบางนา กรุงเทพ ฯ 10260 โทรศัพท 02 725-9595, 02 032-9595 โรงพยาบาลที่ระบุไวในที่นี้ไมไดมีการรับรองจากโรงเรียนนานาชาติฮารโรวกรุงเทพฯ พอแมและผูปกครองควร ตรวจสอบผูใหบริการอยางละเอียดถี่ถวนเพื่อประเมินคุณสมบัติและประสบการณของพวกเขาวาเหมาะกับความ ตองการในการดูแลเฉพาะบุคคลหรือไม หากคุณไดใชบริการเหลานี้กับทางโรงพยาบาล โปรดแจงใหเราทราบโดยสงอีเมลถึงหัวหนางานอภิบาลที่เกี่ยวของหรือ อีเมลหาเราที่ safeguarding@harrowschool.ac.th การที่เราไดรับทรบจะชวยใหเราสามารถเตรียมการสนับสนุน ชวยเหลือไดดีที่สุด

26


3. ภาคผนวก 3 - นโยบายที่เกี่ยวของและกรอบกฎหมาย นโยบายนี้ควรอานควบคูไปกับนโยบายดานลาง (โปรดทราบวาลิงกสามารถเขาใชงานไดสำหรับผูที่เขาสูระบบโดยการล็อคอินของทางโรงเรียนเทานั้น) 1. Staff safeguarding code of conduct 2. Staff social media use 3. Supervision of changing rooms 4. Online tutoring for boarders 5. Anti-bullying (US) and anti-bullying (LS) 6. Behaviour management policy (US) and behaviour management (LS) 7. Use of reasonable force and restraint policy 8. Health and safety policy 9. Intimate care policy 10. Non-staff adults and visitors on the boarding village 11. Student Mental Health and Wellbeing policy 12. Counselling Service Policy 13. Off-site Trip Policy ลิงกอื่นๆที่เปนประโยชน 1. Preventing and tracking bullying 2. Mental Health and Behaviour in Schools 3. Promoting children and young people’s emotional health and wellbeing

กรอบกฎหมาย เอกสารดานลางนี้ที่ถูกอางอิงในการจัดทำนโยบายนี้: 1. Keeping children safe in education UK (2022) 2. Working together to safeguard children (UK)(2018) 3. Children Act (UK) (1989) 4. Children Act (UK) (2004) 5. Data Protection Act (UK) (1998) 6. United Nations Convention on the Rights of the Child (1991) 7. Information sharing: advice for safeguarding practitioners UK (2018) 8. Disqualification under the Childcare Act UK (2018 update) 9. Thai Child Protection act B.E 2564 10. Sexual violence and sexual harrassment between children in schools and colleges (2021 27


11. What to do if you're worried a child is being abused; Advice for practitioners (2015) 12. Department for Education: Child Sexual Exploitation 2017 กฎหมายไทย เปนหนาที่ของเราที่จะทำหนาที่แทนผูปกครองในการปกปองเด็กตามมาตรา 19 ของอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก และ กฎหมายไทยฉบับปจจุบัน: หัวขอ 19: ปกปองคุมครองจากการถูกทำราย และการละเลยทอดทิ้ง: ไมควรจะมีผูใดทำรายเด็กไมวาจะทางใดทางหนึ่ง แมแตพอแม ผูปกครองไมมีสิทธิทำรายเด็ก ผูใหญควรตรวจสอบให แนใจวาเด็กไดรับการปกปองคุมครอง จากการถูกทำราย ความรุนแรง และการละเลย หัวขอ 34: การลวงละเมินทางเพศ: เด็กๆทุกคนมีสิทธิที่จะไดรับการปกปองคุมครองจากการถูกลวงละเมิดทางเพศ ซึ่งหมายความวาไมมีใครสามารถทำ อะไรกับรางกายของเด็กที่ เธอ/เขา ไมตองการใหทำได เชน การสัมผัส การถายภาพ และใหเด็กๆพูดในสิ่งที่พวกเขาไม อยากพูดได อางอิง: อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก Convention on the Rights of the Child มาตรา 25: พอแมหรือผูปกครองหามปฎิบัติตอเด็กในลักษณะที่ถือเปนการดูและโดยมิชอบดวยกฎหมาย มาตรา 26: บุคคลตองหาม : 1. กระทำหรือละเวนการกระทำอันเปนผลทำใหทรมานรางกายหรือจิตใจของเด็ก อางอิง: พระราชบัญญัติคุมครองเด็กไทย ป 2546

28


4.

ภาคผนวก 4 – การปกปองคุมครองและสภาพแวดลอมทางกายภาพ

โรงเรียนตองเปนสถานที่ปลอดภัยสำหรับนักเรียนทุกคน สิ่งที่เราดำเนินการเพื่อบรรลุผลลัพธนี้มีคำอธิบายอยูใน นโยบายสุขภาพและความปลอดภัยของเรา นโยบายนี้ครอบคลุมทุกดานของสุขภาพและความปลอดภัยในโรงเรียน รวมทั้งความปลอดภัยจากเพลิงไหมและการจัดการภาวะฉุกเฉิน ความกังวลทางการแพทยและการใชทรัพยากร ตอไปนี้เปนประเด็นหลักที่เกี่ยวของอยางเฉพาะเจาะจงกับความปลอดภัยของเด็ก: • ประตูควรมีกระจกใส หากมีฟลมหรือมานบังตาใดๆ จะตองสามารถมองเห็นคนที่อยูภายในหองไดจากภายนอก • ตองมีหองน้ำสำหรับพนักงานและระบุไวอยางชัดเจนวาเปนหองน้ำสำหรับพนักงาน พนักงานตองไมใชหองน้ำ เดียวกับนักเรียน ในกรณีที่จำเปนตองเขาไปในหองน้ำที่จัดสรรใหกับนักเรียน เชน เพื่อติดตามปญหาพฤติกรรม หรือสุขภาพและความปลอดภัย ใหเปดประตูทิ้งไวและแจงเหตุผลที่คุณเขามาในพื้นที่เพื่อเปนการเตือนสำหรับ นักเรียนคนอื่นๆ ที่กำลังใชหองน้ำ หากเปนไปไดในสถานการณดังกลาว ใหหลีกเลี่ยงการอยูคนเดียว เราเขาใจ วากับเด็กที่เล็กมากๆ และเด็กที่มีความตองการพิเศษหรือพิการ พนักงานจะชวยเหลือเด็กที่จำเปนตองไดรับ ดูแลในการเขาหองน้ำและการดูแลอยางใกลชิดอื่นๆ ในกรณีนี้ โปรดอางอิง นโยบายการดูแลอยางใกลชิด (Intimate Care Policy) • ถาพนักงานอยูในสถานการณตัวตอตัวกับนักเรียนในหอง (เชน ในหอพักนักเรียนประจำ การทัศนศึกษาหรือ การเดินทาง การเรียนดนตรี/กีฬา/กิจกรรมการเรียนแบบตัวตอตัว ฯลฯ) พนักงานตองแนใจวาประตูเปดอยู หรือยายไปยังพื้นที่ที่เปนสาธารณะมากขึ้นหากเปนไปไดและเหมาะสม

5. ภาคผนวก 5 – โรงเรียนจะจัดการกับการกล าวหา/ความกังวลเกี่ยวกับบุคลากร อยางไร บางคนอาจใชคำวา ‘การกลาวหา’ และ ‘ความกังวล’ แทนกัน แตไมวาจะใชคำใดก็ตาม ในทางหนึ่งพฤติกรรมที่อาง ถึงอาจสามารถเขาเกณฑการเปนอันตราย หรือในอีกทางหนึ่ง อาจไมเขาเกณฑการเปนอันตรายก็ได (ซึ่งในกรณี ดังกลาว ควรไดรับการปฏิบัติในฐานะที่เปนความกังวลระดับต่ำ) 5.1. คำจำกัดความของการกลาวหาที่อาจเขาเกณฑการเปนอันตราย คำวา ‘การกลาวหา’ หมายความวา มีการกลาวหาวาบุคคลหนึ่งที่ทำงานกับเด็กได: • ประพฤติตัวในลักษณะที่เปนอันตรายตอเด็ก หรืออาจเปนอันตรายตอเด็ก และ/หรือ • กระทำความผิดทางอาญาตอหรือเกี่ยวกับเด็ก และ/หรือ • ปฏิบัติตัวตอเด็กคนหนึ่งหรือหลายคนในลักษณะที่บงชี้วาอาจเสี่ยงที่จะเปนอันตรายตอเด็ก และ/หรือ • ปฏิบัติตัวหรืออาจไดปฏิบัติตัวในลักษณะที่บงชี้วาอาจไมเหมาะที่จะทำงานกับเด็ก (รวมทั้งพฤติกรรมที่อาจ เกิดขึ้นนอกโรงเรียนที่อาจทำใหบุคคลดังกลาวไมเหมาะที่จะทำงานกับเด็ก การกระทำเชนนี้เรียกวาความ เสี่ยงที่สามารถโอนยายได)

29


การกลาวหาดังกลาวอาจบงชี้วาบุคคลมีความเสี่ยงที่จะทำใหเกิดอันตรายตอเด็กถายังทำงานในตำแหนงปจจุบัน หรือ ในตำแหนงใดก็ตามกับเด็กในโรงเรียน 5.2. คำจำกัดความของความกังวลระดับต่ำ คำวาความกังวล ‘ระดับต่ำ’ ไมไดหมายความวาไมมีความสำคัญ แตหมายความวาพฤติกรรมดังกลาวตอเด็กไม เขาเกณฑที่กำหนดไวในขอ 4.1. ความกังวลระดับต่ำคือความกังวลใดๆ ไมวาจะเล็กแคไหนก็ตาม และแมวาจะไมทำ ใหเกิดอะไรมากไปกวาความรูสึกไมสบายใจหรือ ‘การสงสัยคางคาใจ’ – วาผูใหญที่ทำงานในหรือในนามของโรงเรียน อาจกระทำการในลักษณะที่: • ไมสอดคลองกับแนวทางปฏิบัติของพนักงาน รวมทั้งการกระทำที่ไมเหมาะสมนอกจากการทำงาน และ • ไมเขาเกณฑการกลาวหา ตัวอยางของพฤติกรรมดังกลาวอาจประกอบดวย แตไมจำกัดเฉพาะ: • การทำตัวสนิทสนมกับเด็กมากเกินไป • การมีคนโปรด • การถายภาพเด็กไวในโทรศัพทมือถือ • การอยูกับเด็กแบบตัวตอตัวในพื้นที่ที่คนอื่นมองไมเห็นหรือในหองที่ปดประตู หรือ • การใชภาษาที่ไมเหมาะสมในทางเพศ ขมขูหรือหยาบคาย พฤติกรรมดังกลาวอาจปรากฏอยูในขอบเขตที่กวางขวาง ตั้งแตการทำโดยไมตั้งใจหรือไมไดคิดอะไร หรือพฤติกรรมที่ อาจดูไมเหมาะสม แตอาจไมอยูในสถานการณที่เฉพาะเจาะจง ไปจนถึงพฤติกรรมที่มีเจตนาจะนำไปสูการลวงละเมิด 5.3. การรายงานการกลาวหาหรือความกังวล ไมควรมีใครก็ตามรูสึกวาตนไมสามารถออกมาพูดหรือรายงานการกลาวหา หรือแสดงใหผูอื่นทราบถึงความกังวลของ ตนเกี่ยวกับเรื่องใดๆ ก็ตามที่เกี่ยวของกับความปลอดภัยของเด็กในโรงเรียน บุคคลที่ทำการกลาวหาหรือกลาวถึงความ กังวลจะไดรับการรับประกันวาพวกเขาไมจำเปนตองหวาดกลัวผลรายที่อาจตามมาเนื่องจากไดกระทำการดังกลาว พวกเขามีสิทธิอยางเต็มที่ อันที่จริงแลวถือเปนหนาที่ของพวกเขาดวยซ้ำไป ที่จะตองออกมาพูด การกลาวหาหรือความกังวลอาจเกิดขึ้นในหลายลักษณะและจากหลายแหลง ตัวอยางเชน: การสงสัย การรองเรียน การเปดเผยขอมูลโดยเด็ก พอแม/ผูปกครอง หรือผูใหญคนอื่นที่อยูภายในหรือนอกองคกร (รวมทั้งพนักงานผูสอน พนักงานสายสนับสนุน อาสาสมัคร เจาหนาที่ PCS ฯลฯ) หรือเปนผลจากการตรวจสอบประวัติที่ไดดำเนินการไป การ รายงานควรดำเนินการตามรายละเอียดดานลางนี้และโดยไมชักชา: • การกลาวหา/ความกังวลใดๆ เกี่ยวกับพฤติกรรมของหนึ่งในบุคลากร หรืออาสาสมัคร จะตองรายงานตอ อาจารยใหญ (Head Master) หรือผูอำนวยการฝายบุคคล (Director of HR) โดยทันที หรือถาไมสามารถ ติดตอได ใหรายงานตอเจาหนาที่อาวุโสของโรงเรียน จากนั้นเจาหนาที่อาวุโสดังกลาวจะบันทึกรายละเอียด ลงใน CPOMS StaffSafe (StaffSafe) และจะแจ งอาจารยใหญ (Head Master) หรือผูอำนวยการฝ าย บุคคล (Director of HR) • การกลาวหา/ความกังวลใดๆ เกี่ยวกับหัวหนาโรงเรียน (Head of School) หรือสมาชิกคนอื่นของ ELT (นอกเหนื อจาก Head Master) ใหรายงานต ออาจารยใหญ (Head Master) แลวอาจารยใหญ (Head Master) จะบันทึกลงใน StaffSafe 30


การกลาวหา/ความกังวลใดๆ เกี่ยวกับ Head Master ควรรายงานตอประธานคณะกรรมการ (Chair of Governors) หากมีการกลาวหา/ความกังวล เกี่ยวกับผูรับเหมาภายนอกหรืออาสาสมัคร เราจะแจงนายจางของบุคคลดังกลาว ดังนั้นจึงสามารถระบุพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมไมวาในรูปแบบใดก็ตาม 5.4. การตอบสนองตอและการจัดการการกลาวหาที่เขาเกณฑอันตราย ขอนี้มีผลบังคับกับการกลาวหาทั้งหมดเกี่ยวกับบุคลากรคนใดก็ตาม ซึ่งอาจเขาเกณฑอันตรายที่ระบุในขอ 5.1 ขางตน 5.4.1. ความรับผิดชอบในการเปนผูนำการตรวจสอบ อาจารยใหญ (Head Master) จะกำกับดูแลการตรวจสอบ ทั้งนี้อาจารยใหญ (Head Master) อาจมอบหมายบทบาท ในการจัดการกรณีนี้ใหบุคลากรอาวุโสคนอื่น แตจะยังคงทำหนาที่กำกับดูแลตอไป 5.4.2. การตอบสนองเบื้องตนตอการกลาวหา หากโรงเรียนระบุวาเด็กถูกทำรายโดยบุคลากรคนหนึ่ง วาอาจมีความเสี่ยงเฉพาะหนาที่เด็กจะไดรับอันตราย หรือหาก สถานการณเปนเหตุฉุกเฉิน เราจะติดตอตำรวจ/บริการรถฉุกเฉินตามความเหมาะสม 5.4.3. สองประเด็นที่จะพิจารณาเมื่อมีการกลาวหา: • การดูแลสวัสดิภาพของเด็ก – DSL มีหนาที่รับผิดชอบในการทำใหแนใจวาเด็กไมตกอยูในความเสี่ยง

และการประสานงานการดูแลเด็กหากสงสัยวาเกิดการทารุณกรรมขึ้น • การตรวจสอบและการสนับสนุนบุคคลที่ถูกกลาวหา – ผูจัดการเคสจะหารือกับบุคลากรที่เกี่ยวของ

เกี่ยวกับลักษณะทั่วไป เนื้อหาและบริบทของการกลาวหา และตกลงกันเกี่ยวกับหนทางปฏิบัติ 5.4.4. เมื่อจัดการกับการกลาวหา โรงเรียนจะ: • ใชสามัญสำนึกและวิจารณญาณ • จัดการกับการกลาวหาอยางรวดเร็ว เปนธรรมและตอเนื่อง และ • ใหความคุมครองที่มีประสิทธิภาพแกเด็ก และสนับสนุนบุคคลที่ถูกกลาวหา

โรงเรียนจะทำการสืบสวนหาขอเท็จจริงเบื้องตนเพื่อชวยประเมินวาการกลาวหามีมูลหรือไม โดยจะใชความระมัดระวัง เพื่อไมใหเกิดผลเสียตอการสืบสวนของตำรวจในอนาคต ดานลางนี้เปนตัวอยางของคำถามที่จะถาม: • บุคคลดังกลาวอยูในโรงเรียนขณะที่เกิดการกลาวหาหรือไม? • บุคคลดังกลาวไดติดตอหรือสามารถติดตอกับเด็กไดหรือไม? • มีพยานหรือไม? • มีภาพจากกลองวงจรปดหรือไม?

จะมีการพิจารณาเปนรายกรณีอยางรอบคอบวาเมื่อไรที่จะแจงใหบุคคลดังกลาวทราบถึงการกลาวหา โดยอาศัย แนวทางจากตำรวจตามความจำเปนหรือความเหมาะสม 31


ถาผูจัดการเคสกังวลเกี่ยวกับสวัสดิภาพของเด็กคนอื่นในชุมชน หรือสมาชิกครอบครัวของบุคลากร ควรหารือเกี่ยวกับ ความกังวลดังกลาวกับ DSL และทำการประเมินความเสี่ยงของสถานการณเพื่อพิจารณาวาดำเนินการอยางไรใน ขั้นตอนตอไป 5.4.5. ผลลัพธที่ตามมาจากการตอบสนองเบื้องตน ไมจำเปนตองดำเนินการเพิ่มเติม หากการหารือเบื้องตนนำไปสูบทสรุปวาจะไมมีการดำเนินการเพิ่มเติม ผูจัดการเคสจะ: • บันทึกการตัดสินใจและเหตุผลของการตัดสินใจดังกลาว และ • ตกลงวาขอมูลใดบางที่จะทำเปนลายลักษณอักษรและสงใหบุคคลที่เกี่ยวของและจะทำโดยใคร

รวมทั้งการดำเนินการใดที่ควรจะตามมาทั้งในสวนของบุคคลที่ถูกกลาวหา และคนที่ทำการกลาวหา ในเบื้องตน จำเปนตองตรวจสอบขอเท็จจริงเพิ่มเติม หากจำเปนตองตรวจสอบขอเท็จจริงเพิ่มเติมเพื่อใหสามารถตัดสินใจไดวาควรจะดำเนินการอยางไรตอไป ผูจัดการเคส จะหารือกับบุคลากรอื่นที่เหมาะสมวาการตรวจสอบจะดำเนินการอยางไรและโดยใคร ในกรณีที่ตรงไปตรงมา การ ตรวจสอบมักจะดำเนินการโดยเจาหนาที่อาวุโสของโรงเรียน ผูจัดการเคสจะติดตามความคืบหนาของเคสเพื่อใหแนใจวามีการจัดการอยางรวดเร็วที่สุดเทาที่จะเปนไปได ดวย กระบวนการที่ละเอียดและยุติธรรม วันที่สำหรับการทบทวนครั้งถัดไปจะถูกกำหนดขึ้นในการประชุมทบทวนแตละ ครั้งหากการตรวจสอบดำเนินตอไป 5.4.6. การสนับสนุนบุคคลที่เกี่ยวของ: หลักความระมัดระวัง สวัสดิภาพของเด็กมีความสำคัญเหนืออื่นใด และเปนสิ่งที่เราใหความสำคัญมากที่สุดในการตรวจสอบการกลาวหา บุคคลที่อยูในตำแหนงที่ไดรับความไววางใจ อยางไรก็ตามเมื่อมีการตรวจสอบการกลาวหาหรือความกังวล มีความ เปนไปไดสูงวาเรื่องนี้จะเปนประสบการณที่เครงเครียดมากสำหรับผูใหญที่ถูกตรวจสอบ และอาจรวมถึงสมาชิก ครอบครัวของพวกเขาดวย โรงเรียนจะเสนอใหการสนับสนุนที่เหมาะสมในชวงเวลาดังกลาว และตระหนักถึงความ ออนไหวของสถานการณ ขอมูลจะถูกเก็บเปนความลับและไมควรแบงปนกับบุคลากรคนอื่นหรือเด็กหรือพอแมที่ไมมี ความเกี่ยวของโดยตรงกับการตรวจสอบ โรงเรียนจะ: • จัดการและลดความเครียดที่มีสาเหตุมาจากการกลาวหา • แจงบุคคลที่ถูกกลาวหาโดยเร็วที่สุดเทาที่จะเปนไปได โดยอธิบายหนทางปฏิบัติที่นาจะใช และแจง

ความคืบหนาของเคสอยางสม่ำเสมอ • แนะนำใหบุคคลที่ถูกกลาวหาพิจารณาติดตอเพื่อนรวมงานที่ไวใจไดเพื่อขอรับการสนับสนุน • สนับสนุนการเขาถึงบริการใหคำปรึกษาและใหคำแนะนำทางการแพทยหากเหมาะสม 32


• ไมหามการติดตอทางสังคมกับเพื่อนรวมงานและเพื่อน ถาบุคลากรถูกสั่งใหพักงาน เวนแตมีหลักฐาน

ที่แสดงวาการทำเชนนี้อาจสงผลเสียตอการรวบรวมหลักฐาน พอแมหรือผูปกครองของเด็กคนหนึ่งหรือหลายคนที่เกี่ยวของจะ: • ไดรับแจงอยางเปนทางการเกี่ยวกับการกลาวหาโดยเร็วที่สุดเทาที่จะเปนไปได หากมีความเกี่ยวของ

ผูจัดการเคสจะปรึกษาตำรวจวาขอมูลใดบางที่สามารถเปดเผยได • แจงความคืบหนาของเคสใหทราบอยางตอเนื่อง เฉพาะในสวนที่เกี่ยวของกับเด็ก – ไมสามารถ

แบงปนขอมูลเกี่ยวกับบุคลากรได และ • แจงใหทราบถึงขอกำหนดในการรักษาความลับ และการไมเผยแพรขอมูลเกี่ยวกับการกลาวหาครูใน

โรงเรียนขณะที่การตรวจสอบกำลังดำเนินอยู 5.4.7 ผลลัพธของการกลาวหา ตามที่ระบุในขอกำหนดวาดวยการทำใหเด็กในโรงเรียนปลอดภัย พ.ศ. 2565 (Keeping Children Safe in Education 2022) คำจำกัดความตอไปนี้จะใชเมื่อประเมินผลลัพธของการกลาวหา: • มีหลักฐานยืนยัน: มีหลักฐานเพียงพอที่จะพิสูจนขอกลาวหา • เปนเท็จ: มีหลักฐานเพียงพอที่จะหักลางขอกลาวหา • มี เ จตนาร าย: มีหลักฐานเพีย งพอที ่จ ะหั กลา งข อ กล าวหา และมีการดำเนิน การโดยเจตนาเพื่ อ

หลอกลวงหรือทำใหเกิดความเสียหายตอบุคคลที่ถูกกลาวหา • ไมมีมูล: เพื่อแสดงถึงเคสที่ไมมีหลักฐานหรือพื้นฐานที่เหมาะสมซึ่งสนับสนุนขอกลาวหาที่เกิดขึ้น • ไมมีหลักฐานยืนยัน: ไมมีหลักฐานเพียงพอที่จะพิสูจนหรือหักลางขอกลาวหา ดังนั้นคำนี้จึงไมบอก

เปนนัยถึงความผิดหรือความบริสุทธิ์ 5.4.7. การจัดการกับขอกลาวหาหลังจากไดผลลัพธแลว หลังจากที่ไดผลลัพธของการกลาวหาแลว โรงเรียนจะใชหนึ่งในทางเลือกที่มีตั้งแตการไมดำเนินการเพิ่มเติมใดๆ ไป จนถึงการใหออกจากงาน หรือการตัดสินใจวาจะไมใชบริการของบุคคลดังกลาวในอนาคต โดยใชแนวทางปฏิบัติที่ระบุ ไวในตอนที่สี่ของ KCSIE 2022 5.4.8. การเก็บบันทึก หลังจากไดขอสรุปของการตรวจสอบแลว ขอมูลตอไปนี้จะถูกเก็บไวใน StaffSafe: • บทสรุปที่ชัดเจนและครอบคลุมของการกลาวหา • รายละเอียดเกี่ยวกับการติดตามผลและการยุติขอกลาวหา • บันทึกขอมูลสิ่งที่ไดปฏิบัติ การตัดสินใจที่ทำ และเหตุผลของการปฏิบัติและการตัดสินใจดังกลาว

และผลลัพธ ไดแก มีหลักฐานยืนยัน ไมมีมูล และไมมีหลักฐานยืนยัน • สำเนาที่สงใหบุคคลที่เกี่ยวของ 33


• การแถลงวาขอมูลจะถูกอางอิงในอนาคตหรือไม

วัตถุประสงคของบันทึกคือการชวยใหมีขอมูลที่ถูกตองแมนยำเพื่อการอางอิงในอนาคต บันทึกจะใหคำอธิบายในกรณี ที่การตรวจสอบ DBS ในอนาคตเปดเผยขอมูลจากตำรวจเกี่ยวกับการกลาวหาที่ไมนำไปสูการเอาผิดทางอาญา และจะ ชวยปองกันการตรวจสอบซ้ำที่ไมจำเปนหากการกลาวหากลับมาอีกครั้งหลังจากผานไประยะเวลาหนึ่ง ซึ่งอาจเกิดขึ้น ในบางกรณี บันทึกทั้งหมดจะถูกเก็บไวอยางนอยจนกวาผูถูกกลาวหาจะมีอายุครบตามกำหนดที่จะไดรับบำนาญตามปกติ หรือเปน ระยะเวลา 10 ปนับจากวันที่กลาวหาหากเปนระยะเวลาที่นานกวา บันทึกที่ประกอบดวยขอมูลเกี่ยวกับการกลาวหา วาลวงละเมิดทางเพศจะเก็บไวเปนระยะเวลาเทากับการสอบสวนโดยอิสระเกี่ยวกับการลวงละเมิดทางเพศเด็ ก (Independent Inquiry into Child Sexual Abuse: IICSA) หากการสอบสวนดำเนิ น ต อ ไปหลั ง จากสิ ้ น สุ ด กำหนดเวลาดังกลาวขางตน 5.4.9.

การอางอิง

เมื่อสงเอกสารอางอิ งใหน ายจาง ขอกลาวหาที ่มีหลั กฐานยืน ยั นจะถู กนำมารวมไว ดว ย ขอมูลที่แบ งปนจะเปน ขอเท็จจริงทั้งหมดโดยปราศจากความคิดเห็นใดๆ โรงเรียนจะไมกลาวถึงขอกลาวหาใดๆ ก็ตามที่ไดรับการพิสูจนแลว วาเปนเท็จ ไมมีมูล ไมมีหลักฐานยืนยันหรือมีเจตนาราย 5.4.10. บทเรียนที่ไดเรียนรู หลังจากกรณีใดๆ ก็ตามที่ขอกลาวหามีหลักฐานยืนยัน โรงเรียนจะทบทวนสถานการณของกรณีดังกลาวเพื่อประเมิน วาสามารถทำการแกไขปรับปรุงใดๆ กับขั้นตอนการปฏิบัติหรือแนวทางปฏิบัติของโรงเรียนเพื่อชวยปองกันไมใหเกิด เหตุการณทำนองเดียวกันในอนาคตไดหรือไม โดยทั้งนี้จะประกอบดวยการพิจารณา (ตามความเหมาะสม): • ประเด็นที่เกิดจากการตัดสินใจพักงานบุคลากร • ระยะเวลาการพักงาน • การพักงานมีเหตุผลรองรับหรือไม • การใชวิธีพ ั กงานเมื่ อบุ คลากรจะกลั บมาทำงานตามเดิ ม ในภายหลั ง โรงเรียนจะพิ จารณาว า จะ

สามารถทำการตรวจสอบที่มีลักษณะคลายกันไดอยางไรในอนาคตโดยไมตองพักงานบุคลากร สำหรับกรณีอื่นๆ ทั้งหมดที่สรุปวาขอกลาวหาไมมีมูล เปนเท็จ มีเจตนารายหรือไมมีหลักฐานยืนยัน ผูจัดการเคสจะ พิจารณาขอเท็จจริงและรายงานบทเรียนที่ไดเรียนรูและการแกไขปรับปรุงใดๆ ที่สามารถทำไดตออาจารยใหญ (Head Master)

34


5.5. การตอบสนองตอและการการจัดการความกังวลระดับต่ำ ขอนี้จะใชบังคับกับความกังวลทั้งหมดที่เกี่ยวกับบุคลากร ซึ่งไมเขาเกณฑอันตรายที่ระบุในขอ 5.1. เราตระหนักถึงความสำคัญของวัฒนธรรมการเปดเผย ความไวใจและความโปรงใสเพื่อสงเสริมใหบุคลากรทุกคน แบงปนความกังวลระดับต่ำทั้งหมด เพื่อที่จะสามารถจัดการไดอยางรวดเร็วและเหมาะสม เราจะสรางวัฒนธรรมนี้ ขึ้นมาโดย: • การทำใหแนใจวาบุคลากรเขาใจอยางถองแทวาพฤติกรรมที่เหมาะสมคืออะไร และมีความมั่นใจใน

การแยกพฤติกรรมที่พึงประสงคและเหมาะสมออกจากพฤติกรรมที่นากังวล เปนปญหาหรือไม เหมาะสม ในตนเองและผูอื่น • การสนับสนุนใหบุคลากรแบงปนความกังวลระดับต่ำ • การจัดการกับพฤติกรรมที่ไมเปนมืออาชีพ และการสนับสนุนใหบุคคลทำการแกไขตั้งแตเนิ่นๆ • การจัดการกับความกังวลที่กลาวถึงอยางรวดเร็ว เอาใจใสและไดสัดสวน • การชวยระบุจุดออนใดๆ ในระบบการปกปองคุมครองของโรงเรียน • การสนับสนุนใหบุคลากรรูสึ ก มั่น ใจที ่จ ะอธิบายข อมูลในฝง ตนเอง เชน เมื่อพบวาตนเองอยู  ใ น

สถานการณที่อาจถูกตีความผิดๆ อาจดูเหมือนทำใหผูอื่นตกอยูในอันตราย และ/หรือ เชื่อวาตนได ประพฤติตัวในลักษณะที่ตนพิจารณาวาต่ำกวามาตรฐานวิชาชีพที่คาดหวัง 5.5.1. ความรับผิดชอบในการตอบสนองตอความกังวลระดับต่ำ อาจารยใหญ (Head Master) จะกำกับดูแลการตรวจสอบ ทั้งนี้อาจารยใหญ (Head Master) อาจมอบหมายบทบาท ในการจัดการกรณีนี้ใหบุคลากรอาวุโสคนอื่น แตจะยังคงทำหนาที่กำกับดูแลตอไป 5.5.2. การตอบสนองตอความกังวลระดับต่ำ เมื่อมีการแสดงความกังวล อาจารยใหญ (Head Master) (หรือตัวแทนที่ไดรับมอบหมาย) จะรวบรวมหลักฐานใหมาก ที่สุดเทาที่จะเปนไปไดโดยการพูดคุยกับบุคคลที่แสดงความกังวลดังกลาวโดยตรง เวนแตเปนการแสดงความกังวลโดย ไมระบุชื่อ และกับบุคคลที่เกี่ยวของและพยานใดๆ อาจารยใหญ (Head Master) (หรือตัวแทนที่ไดรับมอบหมาย) จะใชขอมูลที่รวบรวมไดเพื่อชวยจำแนกประเภทของ พฤติกรรม และประเมินวาควรดำเนินการอยางไรตอไปใหสอดคลองกับแนวทางปฏิบัติของบุคลากร 5.5.3. การเก็บบันทึกเกี่ยวกับความกังวลระดับต่ำ ความกังวลระดับต่ำทั้งหมดจะถูกบันทึกไวอยางปลอดภัยและเปนความลับใน StaffSafe บันทึกจะประกอบดวย รายละเอียดเกี่ยวกับความกังวล บริบทที่ความกังวลเกิดขึ้น การดำเนินการที่ไดทำไปแลวและเหตุผลของการตัดสินใจ และการดำเนินการดังกลาว บันทึกจะ:

35


• ไดรับการตรวจทานเพื่อใหสามารถระบุรูปแบบที่เปนไปไดของพฤติกรรมที่นากังวล ไมเหมาะสมหรือ

สรางปญหา เมื่อระบุรูปแบบของพฤติกรรมดังกลาวไดแลว โรงเรียนจะตัดสินใจเกี่ยวกับหนทาง ปฏิบัติ ไมวาจะโดยการดำเนินการทางวินัยของโรงเรียน หรือเมื่อรูปแบบของพฤติกรรมเปลี่ยนจาก ความกังวลระดับต่ำไปสูการเขาเกณฑอันตราย จะดำเนินการตามขั้นตอนการปฏิบัติในตอนที่ 6 นอกจากนี้ยังจะพิจารณาวามีประเด็นทางวัฒนธรรมที่กวางกวาภายในโรงเรียนที่สงเสริมใหเ กิด พฤติกรรมดังกลาวขึ้นหรือไม และหากพิจารณาเห็นวาเหมาะสม อาจมีการแกไขนโยบาย หรือ จัดการฝกอบรมพิเศษเพื่อลดความเสี่ยงที่จะเกิดเหตุซ้ำอีกครั้ง • ถูกเก็บรักษาไวจนกวาบุคลากรจะออกจากงานที่โรงเรียนเปนอยางนอย

5.5.4. การอางอิง เราจะไมบันทึกความกังวลระดับต่ำลงในขอมูลอางอิง เวนแตความกังวลดังกลาวจะเกี่ยวของกับประเด็นที่มักจะระบุไว ในขอมูลอางอิง เชน การประพฤติผิดหรือการมีประสิทธิภาพต่ำ

36


6.

ภาคผนวก 6 – การสรรหาบุ คลากรที ่ ปลอดภั ย ขึ ้ นและการฝ กอบรมการปกป อ ง คุมครอง 6.1.

วัตถุประสงคของเรา

การสรรหาบุคลากรที่มีความปลอดภัยมากขึ้นของฮารโรวกรุงเทพฯ เปนขั้นตอนแรกของการปกปองคุมครองและการ สงเสริมสวัสดิภาพของเด็กนักเรียน ที่ฮารโรวกรุงเทพฯ เราจะทำใหแนใจวาการสรรหาที่ปลอดภัยถูกนำมาใชเพื่อ ตรวจสอบและบันทึกความเหมาะสมของบุคลากรทุกคน กระบวนการสรรหาที่ปลอดภัยขึ้นของเรามีวัตถุประสงคเพื่อ: •

ขัดขวางบุคคลที่อาจเปนผูกอเหตุโดยการตั้งมาตรฐานการปฏิบัติและการสรรหาที่สูง

ปฏิเสธผูสมัครที่ไมเหมาะสมในขั้นตอนการสมัครและการสัมภาษณ

ป องกั น การทารุ ณกรรมเด็กโดยการพัฒ นานโยบายที่เขมแข็งและเห็น ชอบกับ วิธ ีการปฏิบ ั ต ิ ที่ ปลอดภัย

6.2.

การบรรลุวัตถุประสงคของเรา

เราจะตรวจสอบใหแนใจวาบุคลากรอยางนอยหนึ่งคนในคณะกรรมการสรรหาผานการฝกอบรมการสรรหาที่ปลอดภัย ขึ้นและ: •

โรงเรียนไดรับและตรวจสอบบั นทึกของตำรวจที ่เปนปจจุ บันจากประเทศบานเกิ ดของครู และ ประเทศที่เคยทำงานกอนหนานี้

หลังจากผานไปสองป – ซึ่งโดยปกติจะเปนชวงการตออายุสัญญาจาง – เราจะทำการตรวจสอบ ประวัติอาชญากรรมอีกครั้ง

เรามีหนังสืออางอิงอยางนอยสองฉบับ โดยหนึ่งในนั้นตองมาจากนายจางปจจุบันหรือลาสุ ดของ ผูสมัคร

ถาครูเคยทำงานในโรงเรียนตั้งแตสองแหงขึ้นไปภายในเวลา 5 ป เราจะทำการติดตอทางโทรศัพทกับ โรงเรียนเหลานั้นเพื่อสอบถามวาทำไมครูจึงออกจากโรงเรียนและมีขอกังวลใดๆ เกี่ยวกับความ ปลอดภัยของเด็กๆ หรือไม

บุคลากรใหมทุกคนอานและลงลายมือชื่อดิจิทัลเพื่อแสดงวาไดอานนโยบายการปกปองคุมครอง (SP) และแนวทางปฏิบัติของเราแลว

6.3.

เราจัดการฝกอบรมสำหรับพนักงานใหมเกี่ยวกับการปกปองคุมครอง และจัดการฝกทบทวนทุกป

ขอกำหนดในการปกปองคุมครองขั้นต่ำที่คาดหวังจากคูสัญญา

เราคาดหวังสิ่งตอไปนี้เปนอยางนอยในกรณีของคูสัญญา: •

การฝกอบรมพนักงานใหมที่มีเนื้อหาครอบคลุมการปกปองคุมครอง

37


ผูอำนวยการฝายปฏิบัติการตรวจสอบใหแนใจวามีการแบงปนขอมูลการปกปองคุมครองกับผูจัดการ ที่เกี่ยวของผานการประชุมที่จัดขึ้นอยางสม่ำเสมอ

คูสัญญาอาน กรอกขอมูลและลงลายมือชื่อในแบบฟอรมคำรับรองตนเองดานการปกปองคุมครอง (มี ทั้งฉบับภาษาอังกฤษและภาษาไทย)

การตรวจสอบประวัติโดยตำรวจสำหรับบุคลากรที่จะไดรับการวาจางใหทำงานโดยไมมีบุคคลอื่นอยู ดวยในบริเวณที่เด็กสามารถเขาถึงได

การตรวจสอบประวัติโดยตำรวจสำหรับบุคลากรที่จะไดรับการวาจางใหทำงานในพื้นที่เปนเวลานาน กวา 6 วันจาก 31 วันในแตละเดือน ในบริเวณที่เด็กสามารถเขาถึงได

แนวทางปฏิบัติของเราสำหรับคูสัญญาถูกแจกจาย และจะบันทึกขอมูลเพื่อยืนยันวาคูสัญญาไดอาน และเขาใจเอกสารดังกลาวแลว

การประชุ ม Toolbox Talks – การย้ ำ เตื อ นประจำวั น เพื ่ อ สรา งความตระหนั ก ในการปกป อง คุมครอง

6.4.

ขอกำหนดในการปกปองคุมครองขั้นต่ำที่คาดหวังจากผูใหญทุกคนที่อยูในโรงเรียน •

ทุกคนสามารถเขาถึงนโยบายการปกปองคุมครองและแนวทางปฏิบัติไดในการปฐมนิเทศ (ระหวาง การอบรมบุคลากรใหม)

ความคาดหวังใหผูอยูอาศัยทุกคนปฏิบัติตามนโยบายการปกปองคุมครองและแนวทางปฏิบัติ

ผูใหญที่อาศัยอยูในโรงเรียนทุกคนอาน กรอกขอมูลและลงลายมือชื่อในแบบฟอรมคำรับรองตนเอง ดานการปกปองคุมครอง (มีทั้งฉบับภาษาอังกฤษและภาษาไทย)

6.5.

การฝกอบรมบุคลากร

ผูอำนวยการฝายบุคคล (Director of HR) โดยการสนับสนุนของกลุมกลยุทธการปกปองคุมครอง (Safeguarding Strategy Group) จะเก็บบันทึกการฝกอบรมการปกปองคุมครองทั้งหมดสำหรับบุคลากรไวใน StaffSafe และออกคำ เตือนเมื่อจำเปนตองปรับปรุงขอมูลการฝกอบรมใหเปนปจจุบัน การนำวาระการปกปองคุมครองมาบรรจุไวในการประชุมบุคลากรทุกครั้งเปนสิ่งที่ดี บุคลากรทั้งหมดทั้งที่ไดรับและไมไดรับคาตอบแทนไดรับการฝกอบรมเกี่ยวกับการปกปองคุมครองภาคบังคับและ สม่ำเสมอ ซึ่งรวมถึงกรรมการของโรงเรียน ผูจัดการอาวุโส ผูใหบริการจากภายนอก อาสาสมัคร นักศึกษาฝกงาน ผูรับเหมาและบุคคลใดก็ตามที่ทำงานในนามของฮารโรวกรุงเทพฯ บุคลากรใหมไดรับการฝกอบรมเกี่ยวกับการปกปองคุมครองในฐานะสวนหนึ่งของกระบวนการปฐมนิเทศ และจะไดรับ การฝกอบรมทบทวนทุกสองปเพื่อใหไดรับความรูและขอมูลที่เปนปจจุบัน เราฝกอบรมบุคลากรที่เขาทำงานใน ชวงเวลาอื่นของปโดยใช วีดีโอนี้ (และ คำถามการฝกอบรม ที่เกี่ยวของ) มี เวอรชันภาษาไทยของวีดีโอนี้ ดวย ทั้งหมด จะไดรบั การปรับปรุงใหเปนปจจุบันอยางสม่ำเสมอ 38


นอกจากนี้บุคลากรที่ไดรับมอบหมาย (DSFP, DSLs, หัวหนางานอภิบาล (Pastoral Leaders), SOs, DSOs, สมาชิก คณะกรรมการการประชุมกรณีการทารุ ณกรรมเด็กทั้งหมดของโรงเรียน (Whole School Case Conferences), สมาชิกของที มผู บริหาร (Executive Leadership Team: ELT) และเจาหนาที่ฝ ายบุคคลบางสวน) จะไดรับ การ ฝกอบรมการปกปองคุมครองขั้นสูงทุกสองปเพื่อใหมีความรูและทักษะที่เปนปจจุบัน เรามีตรวจสอบใหแนใจวา บุคลากรกลุมนี้ผานการฝกอบรมการปกปองคุมครองขั้นสูง บุคลากรทุกคนอานและเห็นชอบกับนโยบายการปกปองคุมครองและ แนวทางปฏิบัติวาดวยการปกปองคุมครอง กอนที่จะเริ่มปฏิบัติหนาที่ของตน มาตรฐานความประพฤติที่เราคาดหวังจากบุคลากร อยูในแนวทางปฏิบัติวาดวยการปกปองคุมครอง เราหวังวา บุคลากรทุกคนจะอานแนวทางปฏิบัตินี้และลงลายมือชื่อเพื่อยืนยันวาตนไดดำเนินการดังกลาวแลว ในแตละป บุคลากรทุกคนจะไดรับแจงวาจะสามารถเขาถึงเวอรชันใหมลาสุดของนโยบายการปกปองคุมครองได อยางไร

39


หนาที่ความรับผิดชอบในการฝกอบรมการปกปองคุมครองประจำป ฝายรับผิดชอบ แผนกทรัพยากรบุคคล

กลุมพนักงาน ผูชวยสอนและพี่เลี้ยงเด็ก พนักงานธุรการ รวมทัง้ พนักงานสงเอกสาร และ พนักงานขับรถ; พยาบาล บุคลากรสอนดนตรี; รวมทั้งผูใหบริการสอนกิจกรรมหลังเลิกเรียนและโคชทั้งหมด พนักงานหอพักที่ไมใชพนักงานประจำ

ผูจัดการที่ไดรับ พนักงานรักษาความปลอดภัย ของบริษัท PCS; พนักงานทำความสะอาด และ มอบหมายในแตละแผนก พนักงานทำสวน และพนักงานแมบานของโรงเรียน พนักงาน Epicure; พนักงาน Estates พนักงานขับรถ Montri Bus ; พนักงานซอมบำรุงของโรงเรียน หัวหนาการปกปอง คุมครองเด็ก DSLs

คุณครูทุกคน; หัวหนาสวัสดิการนักเรียน; หัวหนา Grad เวิรคชอปสำหรับผูปกครอง; หัวหนาการไปทัศนศึกษา

● การอบรมการปกปองคุมครอง คือสวนหนึ่งของการอบรมปฐมนิเทศสำหรับพนักงานทุกคน ● นอกจากนี้, เรามีการจัดอบรมเพื่มเติมตลอดปการศึกษาเพื่อใหแนใจวาพนักงานใหมรับการอบรม หรือจัด อบรมใหพนักงานที่ตองการทบทวนหลักสูตรไดรับการอบรม ● มีการวางแผนที่จะแสดงรายละเอียดในปฎิทิน โรงเรียนและสามารถเขาถึงไดดวยอีเมล Outlook.

40


7. ภาคผนวก 7 – ข้อมูลการติดต่อสําหรับการบริการงานปกป้ องคุ้มครองใน ประเทศไทย กรุณาอย่าติดต่อหน่วยงานด้านล่างนี้ หากยังไม่ได้แจ้งหรือยังไม่ได้พดู คุยกับคณะกรรมการดูแลปกป้ องและคุม้ ครองเด็ก คณะกรรมการดูแลปกป้ องและคุม้ ครองเด็กอาจมีการปรึกษากับนักจิตวิทยามืออาชีพเกีย่ วกับการหาวิธกี ารแก้ไขที่ เหมาะสม ซึง่ อาจจะรวมไปถึงฝ่ ายให้บริการด้านครอบครัว ฝ่ ายบริการดูแลการทําร้ายตัวเอง ฝ่ ายบริการการติดยาเสพติด และคลินิคบําบัด เราได้พยายามอัปเดทลิงก์ต่างๆให้เป็ นข้อมูลล่าสุดอยู่ตลอด โดยการติดต่อกับหน่วยงานด้านล่างเป็ นประจําทุก 2 ปี เพือ่ ให้ แน่ใจว่าหากมีเหตุการณ์เลวร้ายเกิดขึน้ เรามีขอ้ มูลทีจ่ าํ เป็ นสําหรับการติดต่อเพื่อให้การบริการเกิดประโยชน์สงู สุด หน่ วยงาน หรือ ตัวแทน

มูลนิธสิ ายเด็ก Childline Thailand

รายละเอียด

1. 2. 3. 4.

สายเด็ก 1387 ดร. ธาริษา วัฒนเกส (ประธานกรรมการ) M.R. คุณหญิงสุพณ ิ ตา จักรบาน อิลยา สมิรน์ อฟ - เจ้าหน้าทีท่ เ่ี รา ติดต่อสื่อสารโดยตรง (สามารถพูดไทย, อังกฤษ และภาษารัสเซียน)

ชุดปฏิบตั กิ ารปราบปรามการล่วงละเมิด มีเฟสบุค้ เพจเพื่อใช้ส่อื สารเชื่อมโยงกับตํารวจ ทางเพศต่อเด็กทางอินเทอร์เน็ต ไทยแจ้งเกีย่ วกับการล่วงละเมิดหรือทารุณเด็ก Thailand Internet Crimes Against ทางอินเตอร์เน็ต Children (ticac@police.go.th) เว็ปไซด์การปกป้ องคุม้ ครองเด็ก Safeguardkids.org Friends International

เป็ นเว็ปไซด์ทม่ี รี ายละเอียดของกฎหมายไทย เกีย่ วกับสื่อลามกอนาจารเด็ก

รายละเอียดการติ ดต่อครัง้ ล่าสุด คณะกรรมการปกป้ องคุม้ ครองเด็กได้ เชิญบุคคลเหล่านี้เข้าร่วมรับประทาน อาหารกลางวันเมื่อวันที่ 27/3/2018 และได้สารสัมพันธ์ทส่ี าํ คัญ ร่วมทัง้ ได้เดินชมบริเวณรอบๆโรงเรียน และ สร้างสารสัมพันธ์ ได้ทาํ การตรวจสอบผ่านเว็ปไซด์โดย KAD เมื่อวันที่ 21/6/2022 ตรวจสอบเว็ปเพจล่าสุดโดย KAD เมื่อวันที่ 21/6/2022

ตรวจสอบเว็ปเพจล่าสุดโดย KAD เมื่อวันที่ 21/6/2022

องค์กรการกุศลสําหรับเด็กทีม่ ศี นู ย์ดาํ เนินงานอยู่ ตรวจสอบเว็ปเพจล่าสุดโดย KAD ทีก่ รุงเทพฯ – ได้เปิ ดสายด่วนร้องเรียนและให้ เมื่อวันที่ 21/6/2022 ความช่วยเหลือสนุบสนุนแก่เด็กทีถ่ ูกทารุณกรรม

มูลนิธศิ ูนย์พทิ กั ษ์สทิ ธิเด็ก The Centre for the Protection of Children’s Rights Foundation (CPCR)

กรุงเทพฯ ติดต่อได้ทเ่ี บอร์ ( 02-4121196 / 02-4120736)

ตรวจสอบเว็ปเพจล่าสุดโดย KAD เมื่อวันที่ 21/6/2022

41


ศูนย์ประชาบดี The Prachabodi Centre สถานีตํารวจนครบาลดอนเมือง Don Muang Police Station

สายด่วน เบอร์ 1300 เพื่อรับเรื่องร้องเรียน รายงานความรุนแรงและช่วยประสานงานกับ พยาน เหยื่อผูร้ อดชีวติ ให้ได้รบั การบริการที่ เหมาะสมโดยไม่คาํ นึงถึงสัญชาติ

ตรวจสอบเว็ปเพจล่าสุดโดย KAD เมื่อวันที่ 21/6/2022

เลขที่ 210 ถนนเดชะตุงคะ แขวงสีกนั เขตดอน เมือง กทม.10210 เบอร์โทรติดต่อ 02 566 2916

TJJ ติดต่อทางอีเมล์เมื่อวันที่ เบอร์โทรติดต่อทีอ่ งั กฤษ : 0044-0370 496 7622 9/2/2019; TJJ และ SB ได้พบ National Crime Agency ตัวแทนเมื่อวันที่ 7/5/2019. หน่วยประสานงานทัวไป ่ NCA หรือ ติดต่อ (หน่วยปราบปรามจากประเทศอังกฤษที่ เจ้าหน้าที่ ได้ตลอดทุกวัน 24 ชัวโมง ตรวจสอบเว็ปเพจล่าสุดโดย KAD ่ มีศูนย์ประสานงานทีก่ รุงเทพฯ) เมื่อวันที่ 21/6/2022 หน่วยปราบปรามอาชญากรรม

112 Safeguarding

ทีป่ รึกษาด้านการคุม้ ครองเด็กระดับ นานาชาติ International Child Protection Advisors ลิงก์รายชื่อ Patana list of links

การปกป้ องคุม้ ครองชาวต่างชาติ สามารถติดต่อ เจ้าหน้าทีป่ กป้ องคุม้ ครองเข้าพบเขา ผ่านเว็ปไซด์หรือคุณ Chris Gould เมื่อวันที่ 8/2/2019. ตรวจสอบเว็ป เพจล่าสุดโดย KAD เมื่อวันที่ +61 404 375 014 21/6/2022 chris.travelsafe@gmail.com Tim Gerrish ได้จดั อบรบให้แก่พนักงานโรงเรียน นานาชาติ (กรุงเทพฯ, ปั กกิง่ , เชีย่ งไฮ้, ฮ่องกง เมื่อเดือนกันยายน ปี 2018); การอบรมครัง้ ล่าสุด ตรวจสอบเว็ปเพจล่าสุดโดย KAD ที่ ฮาร์โรว์ กรุงเทพฯ ในปี การศึกษา 21-22 และมี เมื่อวันที่ 21/6/2022 การตรวจสอบจากผูต้ รวจสอบภายนอกในเดือน กันยายน ปี 2022. info@icpa.co.uk รายชื่อหน่วยงานภาList of external agencies ตรวจสอบเว็ปเพจล่าสุดโดย KAD shared by schools in Bangkok เมื่อวันที่ 21/6/2022

42


8 ภาคผนวก 8 - คำแนะนำสำหรับคุณครูเมือ่ ตองสอนออนไลน 8.1 8.2 8.3 8.4 8.5 8.6

8.7

8.8

คุณครูควรใช้โปรแกรมซูมหรือกูเกิลมีท สําหรับการบันทึกวีดโี อ บันทึกเสียงเพื่อประกอบการเรียนออนไลน์ และ ลิงก์ทใ่ี ช้ไม่ควรแชร์แบบสาธารณะ หากการสอนเป็ นการสอนออนไลน์จากทีบ่ า้ น คุณครูควรนั ่งสอนในทีท่ ไ่ี ม่ใช่พน้ื ทีส่ ว่ นตัวและพืน้ หลังควร เป็ นแบบเรียนง่าย (หรือใช้พน้ื หลังเสมือนจริงแบบเดียวกัน) คุณครูจาํ เป็ นต้องเช็คชื่อนักเรียนทีเ่ ข้าเรียนทุกครัง้ ทีส่ อนในระบบ Engage Daybook รวมทัง้ นักเรียนที่ ไม่ได้เข้าเรียนตามความเหมาะสม การสือ่ สารกับนักเรียนทัง้ หมดควรสือ่ สารผ่านช่องทางการสือ่ สารของโรงเรียน: school email, Engage, Google Classroom เป็ นต้น เจ้าหน้าทีท่ ุกคนไม่ควรติดต่อสือ่ สารกับนักเรียนผ่านช่องทางส่วนตัว เจ้าหน้าทีค่ วรตรวบสอบเวลาทุกครัง้ เพื่อให้แน่ใจว่าการสือ่ สารกับนักเรียนเกิดขึน้ ภายในเวลาทํา (0740 1800) การตัง้ ค่าการบันทึกวีดโี อการเรียนออนไลน์ควรตัง้ ค่าเปิ ดตลอดเวลา ‘always on’ ภายใต้บญ ั ชีการใช้งาน โปรแกรมซูมและบัญชีกูเกิล้ กับทางโรงเรียนเพื่อให้แน่ใจว่าเจ้าหน้าทีแ่ ละนักเรียนได้รบั การคุม้ ครอง ภาพ และวีดโี อจะถูกจัดเก็บไว้ในระบบจัดเก็บข้อมูลของโรงเรียน ในกรณีทจ่ี าํ เป็ นต้องจัดการเรียนการสอนแบบ ตัวต่อตัว หรือแบบหนึ่งต่อสอง ควรปฎิบตั ติ ามข้อกําหนด ของการปกป้ องคุม้ ครองดังต่อไปนี้ o คุณครู/เจ้าหน้าทีค่ วรพิจารณาตัวเลือกอื่นๆ เช่น การเปิ ดเอกสารเพื่อการอภิปรายหรือ ประชุม o คุณครู/เจ้าหน้าทีค่ วรรายงานให้หวั หน้าสายงาน แผนกทราบเกีย่ วกับรายละเอียดการประชุม และวัตถุประสงค์การประชุม o คุณครู/เจ้าหน้าทีค่ วรแจ้งกับนักเรียนให้นักเรียนแจ้งผูป้ กครองให้ทราบถึงการประชุม o คุณครู/เจ้าหน้าทีต่ อ้ งชีแ้ จงให้ชดั เจนก่อนเริม่ ประชุมว่าหากฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งสามารถหยุดการ ประชุมได้ทุกเมื่อทีต่ อ้ งการโดยไม่จาํ เป็ นต้องให้เหตุผล กลไกการรายงานเกีย่ วกับการปกป้ องคุม้ ครองทางออนไลน์เหมือนเดิมทุกประการกับออฟไลน์ เจ้าหน้าทีท่ ่ี มีความกังวลใดๆควรรายงานเข้าระบบ CPOMS หรือหากเกิดสถานการณ์ฉุกเฉินให้ตดิ ต่อ DSL ทันที

มาตราการทัง้ หมดข้างต้นมีไว้เพื่อปกป้ องเจ้าหน้าทีแ่ ละเด็กในการเรียนออนไลน์ เพื่อปกป้ องชุมชนของเรา ขอสงวน สิทธิให้ ์ เจ้าหน้าทีป่ กป้ องคุม้ ครองสามารถดูบนั ทึกการเรียนการสอนออนไลน์ได้ตลอดเวลา

43


9.

ภาคผนวก 9 – การประชุมเกี่ยวกับเคสตางๆทั้งหมดในโรงเรียน Whole School Case Conference (WSCC) และการทบทวนมาตรการตางๆ 9.1 การประชุมเกี่ยวกับเคสตางๆทั้งโรงเรียน (WSCC)

เปนการประชุมเกี่ยวกับนักเรียนที่เรามีความกังวลมากที่สุดเกี่ยวกับความเสี่ยงหรือความตองการ เพื่อปกปองคุมครอง และเพื่อสวัสดิภาพที่ดี และมีการตัดสินใจเกี่ยวกับมาตราการการปกปองคุมครองที่เหมาะสมตอไป 9.2 คณะกรรมการ WSCC : กรรมการหลักที่ตองเขาประชุมทุกสัปดาหตามรายชื่อดานลาง เจาหนาที่ประสานการปกปองคุมครอง (DSFP) อาจจะ เขารวมประชุมเปนระยะๆ และ ขนิษฐา พระวิเชนทร SO เขารวมประชุมเมื่อตองมีการประสานงานกับหนวยงาน ภายนอกตางๆตามความจำเปน ❏ ตัวแทนของโรงเรียนเขารวมประชุมอยางครบถวน

❏ ตัวแทนรับดับมัธยมศึกษาและประถมศึกษาเขารวมประชุมแยก นักเรียนระดับมัธยม นักเรียนระดับประถม (รวมทั้งนักเรียนประจำ) จะมีการแยกประชุมกัน

ระดับ/แผนก

ตัวแทน

ทั้งโรงเรียน

รีเบคกา แคลร - ผูนำฝายสวัสดิการนักเรียน เนิส เอ - ผูจัดการฝายบริการดานสุขภาพ เอลลิส เมลโซ - นักจิตวิทยาประจำของโรงเรียน แดเนียล แฮรริส - นักจิตวิทยาประจำของโรงเรียน

นักเรียนประจำ

รุธ โคแวป - SO สำหรับหอพัก

ระดับประถมศึกษา

แมท ปารคเกอร - DSL ผูนำฝายปกปองและคุมครองนักเรียนระดับ ประถมศึกษา - WSCC Chair สำหรับระดับปฐมศึกษา พอล บีช - SO สำหรับระดับปฐมศึกษา เดวิด แมคคิลลอป - SO ระดับ Pre Prep เลสลีย บราวน - SO ระดับอนุบาล

44


ลีแลนด เพียนซ- DSL ผูนำฝายปกปองและคุมครองนักเรียนระดับ มัธยมศึกษา - WSCC Chair สำหรับระดับมัธยมศึกษา

ระดับมัธยมศึกษา

พอล จอหนสัน - SO สำหรับระดับมัธยมศึกษา เอ็มมา ริคารด - SO สำหรับระดับมัธยมศึกษาตอนตน แอนดี้ บราวน - SO ระดับ SR5 อแมนดา โพล - SO สำหรับระดับมัธยมปลาย

9.3 นักเรียนที่มีอยูในความกังวลของเรา นักเรียนที่อยูในรายชื่อที่มีระดับความกังวลสูงสุดในเรื่องสวัสดิภาพหรืออยูภาวะเสี่ยงตองการการปกปองคุมครอง จะมี การปรึกษาหารือ ในการประชุม WSCC. นักเรียนเหลานี้ไดถูกจัดลำดับความกังวลเปนสีแดง หรือสีเหลืองอัมพัน ใน ระบบ CPOMS และยังรวมถึงกรณีรายแรงระยะยาว การประชุมตามรายละเอียดดังตอไปนี้: การจัดลำดับ สีแดง

ความกังวล

การประชุม WSCC เพื่อทบทวน

นักเรียนที่อยูในความเสี่ยงที่จะไดรับ อันตรายรายแรงในทันที/ ภัยรายใกลตัว

ประจำทุกสัปดาหโดยอาจมีการแทรกแซง/ ตรวจสอบระหวางการประชุม WSCC

สีเหลืองอัมพัน นักเรียนอยูในความเสี่ยง แตไมเรงดวน และรายแรงนอยกวา

ประจำทุกสัปดาหโดยอาจมีการแทรกแซง/ ตรวจสอบตามความเหมาะสม

ความรุนแรงวัดตามลำดับของสวัสดิภาพ +/- ความกังวลดานความปลอดภัย /ความตองการ/ความเสี่ยงจะถูกกำหนด ตามรายละเอียดที่ไดใหไว ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงลำดับไดตลอดเวลาขึ้นโดยไมตองแจงใหทราบลวงหนา นักเรียนจะไดรับการหารือตามระดับชั้น เมื่อการหารือแตละระดับชั้นสิ้นสุดลง การประชุม WSCC สมาชิกอาจจะ เลือกรายชื่อนักเรียนที่อยูในความกังวลของแตละระดับชั้นขึ้นมาได เพื่อใหมั่นใจไดวาจะไมพลาดการสนทนาปรึกษา เกี่ยวกับนักเรียนที่อยูในความกังวล หากพิจารณาวามีความจำเปนตองจัดลำดับความเสี่ยงเพิ่มเติมสำหรับนักเรียนสา มารจัดลำดับระหวางการประชุม WSCC ได

45


นักเรียนทุกคนในโรงเรียนจะไดรับการตรวจสอบทุกสัปดาห โดยผูนำฝายปกปองและคุมครองนักเรียน DSL และ หัวหนาแตละระดับชั้น หรือ หัวหนาฝายสวัสดิการนักเรียน ดังรายละเอียดที่อธิบายไวในขอ 9.7 ดานลาง 9.4 ลูกของบุคลากร มีลูกๆของบุคลากรภายในโรงเรียน; หากพวกเขาตองการปรึกษาหารือในระหวางการประชุม WSCC, พวกเขาจะไดรับ การปฎิบัติอยางเปนธรรมและเก็บเปนความลับเชนเดียวกับเด็กทั่วไป ตองยอมวามีบุคลากรหลายทานที่เขารวม ประชุม WSCC และมีลูกๆเรียนอยูภายในโรงเรียน ในกรณีที่ลูกๆตองไดรับการอภิปรายในการประชุม WSC, จะ ดำเนินการตามขึ้นตอนตอไปนี้: ❏ จะแยกการหารือออกจากการประชุม WSCC, จะมีเพียงผูที่เกี่ยวของโดยตรงที่จำเปนเทานั้นเขารวมการ สนทนา และผูปกครองไมสามารถเขารวมได

❏ รายงานการประชุมจะถูกบันทึกในสวนของลูกบุคลากรในระบบ CPOMS โดยตรง 9.5 การเตรียมการประชุม

ในวันกอนการประชุม WSCC, รายชื่อนักเรียนทุกคนที่ไดจากรายงานของระบบ CPOMS ที่ถูกจัดลำดับสีแดง และสี เหลืองอัมพันในสัปดาหกอนหนาจะถูกแจกใหกับสมาชิก WSCC สมาชิกจะไดรับเชิญใหพิจารณานักเรียนคนอื่นที่พวก เขาตองการยกขึ้นมาสนทนาในที่ประชุมดวย 9.6 การบันทึกรายงานการประชุม นักเรียนทุกคน (นักเรียนไป-กลับและนักเรียนประจำ) จะไดรับการอภิปรายตามระดับชั้น รายงานการประชุมจัดทำ โดยเจาหนาที่ปกปองคุมครองเด็กแตละระดับชั้น เพื่อสงใหผูนำฝายปกปองและคุมครองนักเรียน DSL และเจาหนาที่ SO ที่เกี่ยวชอง เพื่อโฟกัสและใหความสนใจการสนทนาตามรายละเอียดในตารางดานลาง รายงานการประชุมจะถูก จัดทำสำหรับการประชุมในแตละครั้งโดยจะบันทึกใน CPOMS ของนักเรียนแตละคน รวมกับ ‘WSCC’ รายละเอียด เหลานี้จะแจกใหกับผูเขารวมประชุมโดยอัตโนมัติ รวมถึงผูนำดานสวัสดิภาพของเด็กนักเรียนในแตละระดับชั้น 9.7 การดูแลติดตามผลและตรวจสอบการปกปองคุมครองอยางตอเนื่อง ระดับประถมศึกษา ผูนำฝายปกปองและคุมครองนักเรียนระดับประถมศึกษา (DSL) ประชุมกับหัวหนาแตละระดับชั้นทุกสัปดาห เพื่อ ทบทวนเกี่ยวกับเหตุการณที่เกิดขั้นลาสุดใน CPOMS และเหตุการณตางๆที่เกิดขึ้นเพื่อความแนใจวามีการดำเนินการ จัดการอยางเหมาะสมกับเหตุการณแตละเหตุการณที่เกิดขึ้น รวมทั้งมีการทบทวนขอกังวลตางๆเกี่ยวกับสวัสดิภาพ และการปกปองคุมครองแตละระดับชั้น ผูนำฝายปกปองและคุมครองนักเรียนระดับประถมศึกษา (DSL) เขารวมการประชุมประจำสัปดาหของทีมแตละ ระดับชั้น ในการสนทนาเกี่ยวกับสวัสดิภาพและการปกปองคุมครองนักเรียนที่อยูในระดับชั้นนั้นๆ 46


ระดับมัธยมศึกษา ผูนำฝายปกปองและคุมครองนักเรียนระดับมัธยมศึกษา (DSL) ประชุมทุกๆสองสัปดาห เพื่อทบทวนเกี่ยวกับ เพื่อ ทบทวนเกี่ยวกับเหตุการณที่เกิดขั้นลาสุดใน CPOMS และเหตุการณตางๆที่เกิดขึ้นเพื่อความแนใจวามีการดำเนินการ จัดการอยางเหมาะสมกับเหตุการณแตละเหตุการณที่เกิดขึ้น รวมทั้งมีการทบทวนขอกังวลตางๆเกี่ยวกับสวัสดิภาพ และการปกปองคุมครองแตละระดับชั้น ทุกสองสัปดาห, ผูนำฝายปกปองและคุมครองนักเรียนระดับมัธยมศึกษา (DSL) ไดประชุมกันทีมหัวหนาแตละ House (Head of House and Prep House Leader per House) เพื่อทบทวนเกี่ยวกับเหตุการณลาสุดที่เกิดขั้นกับนักเรียน ในแตละ House รายละเอียดและขอมูลตางๆที่เกิดขึ้นในการประชุมจะถูกบันทึกไวในระรบบ CPOMS. หากในกรณีที่มีไมมีความกังวล เกี่ยวกับสวัสดิภาพ/ความปลอดภัยของนักเรียน สามารถจัดลำดับความสำคัญเปนสีเขียว GREEN หัวหนาดานสวัสดิภาพ (Wellbeing) จะใหขอมูลอัปเดตสั้นๆ สำหรับนักเรียน Red และ Amber ทุกคนลวงหนากอน การประชุม และโฟกัสจะอยูที่การอภิปรายเกี่ยวกับการจัดการกรณีศึกษาและการดำเนินการตางๆ

47


(คําแปล)

การอนุมัติและตรวจสอบ

รายละเอียด

ชือ่ นโยบาย และนโยบายกลุม

นโยบายการปกปองคุมครอง ขอ HS31 สามารถกดที่ลิงกดานลางนี้สำหรับรายละเอียดของนโยบายกลุม (http://portal.aisl-edu.com/public/home)

ผูมีอำนาจอนุมัติ

อาจารยใหญ HM

รับผิดชอบเพื่อนรวมงานทุกคน

รองอาจารยใหญ Principal Deputy Head

ใชไดกับ

เจาหนาที่ทุกคน, นักเรียนทุกคน, ผูที่เขามาเปนแขกของโรงเรียนทุกคน หรือใครก็ตามที่ทำงานในนามโรงเรียนนานาชาติฮารโรว กรุงเทพฯ

การประชาสัมพันธ

ผานระบบภายใน staff portal และประชาสัมพันธผานเว็ปไซดของ โรงเรียน

วันที่ตรวจสอบครั้งตอไป

เดือนมีนาคม ป 2023

นโยบายที่เกี่ยวของ

จรรยาบรรณของการปกปองคุมครอง

(สำหรับการอานควบคูกับนโยบายนี)้

จรรยาบรรณของพนักงานหรือเจาหนาที่

การอนุมัติและประวัติการแกไข เปลี่ยนแปลง

รายละเอียด

ผูมีอำจาจอนุมัติเดิมและลงวันที่

อาจารยใหญ HM และ รองอาจารยใหญ Principal Deputy Head

ผูมีอำนาจแกไข และลงวันที่

TJJ 20/11/2017; TJJ 4/7/2018; TJJ 14/3/2019; TJJ 10/5/2019; TJJ 1/10/2019; TJJ 1/6/2020; TJJ 20/11/2020, JL 25/1/2021; JK 10/02/2021: JK, MRE, KAD August 2021; MRE & KAD 07/01/2022; KAD March 2022; Principal Dep Head (MRE) 10/08/2022; Dir HR (JK) 10/08/2022; PDH 21/08/2022; PDH 3/9/22

48


(คําแปล)

หมายเหตุสำคัญเกี่ยวกับการแกไข

10/8/22 การปรับโครงสรางองคเต็มรูปแบบ และ นโยบายใหม 2 หนา 3/9/22 ปรับปรุงภาคผนวก 9 เกี่ยวกับการประชุม WSCC และทบทวน นโยบายการปกปองคุมครอง; เพิ่มเติม ‘การปกปองคุมครองหลังเวลา ทำงานและวันหยุดสุดสัปดาหสำหรับหอพัก และการเดินทาง ในภาภ ผนวก 2

49


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.