โครงงานการพัฒนาวีดีโออาร์ต เพื่อสร้างมิติเชิงบวกของจังหวัดปัตตานี

Page 1

โครงงานการพัฒนาวีดีโออารต เพื่อสรางมิติเชิงบวกของจังหวัดปตตานี

โดย นายฮาซัน ตาเละ

โครงงานนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการออกแบบและสรางสรรคสื่อ คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี ปการศึกษา 2559


โครงงานการพัฒนาวีดีโออารต เพื่อสรางมิติเชิงบวกของจังหวัดปตตานี

ฮาซัน ตาเละ

โครงงานนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการออกแบบและสรางสรรคสื่อ คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี ปการศึกษา 2559


คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี อนุมัติใหโครงงาน เรื่ อ ง“การพั ฒ นาการพั ฒ นาวี ดี โ ออาร ต เพื่ อ สร า งมิ ติ เ ชิ ง บวกของจั ง หวั ด ป ต ตานี ” เสนอโดย นายฮาซั น ตาเละ เป น ส ว นหนึ่ ง ของการศึ ก ษาตามหลั ก สู ต รปริ ญ ญาศิ ล ปศาสตร บั ณ ฑิ ต สาขานวัตกรรมการออกแบบและสรางสรรคสื่อ ………………………………. (ผูชวยศาสตราจารย ดร.วลักษณกมล จางกมล) คณบดีคณะวิทยาการสื่อสาร วันที่.........เดือน.......................พ.ศ........... อาจารยที่ปรึกษาโครงงาน ...................................................... (อาจารยชนกิตติ์ ธนะสุข) ........../.........................../............... คณะกรรมการตรวจโครงงาน ……………………………………………..ประธานกรรมการ (อาจารยบัดรูดิง ขาลี) ........./.........................../............... …………………………………………….กรรมการ (อาจารยเกวภร สังขมาศ) ............/......................../............... ……………………………………………..กรรมการ (ดร.กําธร เกิดทิพย) ............/......................../.............. ………………………………………………กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารยสทิ ธิกร เทพสุวรรณ) ............/......................../..............


5620610002 คําสําคัญ ฮาซัน ตาเละ อาจารยที่ปรึกษาโครงงาน

: สาขานวัตกรรมการออกแบบและสรางสรรคสื่อ : โครงงานการพัฒนาวีดีโออารต : การพัฒนาการพัฒนาวีดีโออารต เพือ่ สรางมิติเชิงบวก ของจังหวัดปตตานี : อาจารยชนกิตติ์ ธนะสุข

บทคัดยอ การจัดทําโครงงานเรื่องการพัฒนาการพัฒนาวีดีโออารต เพื่อสรางมิติเชิงบวกของจังหวัด ปตตานี มีวัตถุประสงคในการ ศึกษาแนวทางและการสรางวีดีโอพรีเซนในรูปแบบของวีดีโออารตและ นําเสนอปตตานีในมิติอื่นๆในเชิงบวก ในมุมมองที่แตกตางจากสื่อกระแสหลัก เพื่อสรางภาพลักษณทดี่ ี และเปนแนวทางหนี่งในการสงเสริมการทองเที่ยวของจังหวัดปตตานี แหล ง ข อ มู ล ที่ ใ ช ใ นการจั ด ทํ า โครงงานมาจากการศึ ก ษาค น คว า ข อ มู ล ทั้ ง ภาคเอกสาร วีดีโออารตของตางประเทศ การสัมภาษณผูรูดานการตัดตอวีดีโอ เครื่องมือที่ใชในการจัดทําโครงงานคือการสอบถามความเห็นจากผูเชี่ยวชาญที่ทํางานจริง ดานวีดีโอและอุปกรณการถายทําวีดีโอ ผลงานการทดลองสามารถสรุปออกมาเปนผลงานสื่อผสมดังนี้ วีดีโออารตความยาว 5 นาที 52 วินาที วีดีโอเบื้องหลังความยาว 1 นาที 49 วินาที


กิตติกรรมประกาศ รายงานการทําโครงการฉบับสมบูรณฉบับนี้ สําเร็จไดดวยความชวยเหลือจากบุคคลหลายๆ ท า นเป น อย า งดี ผู จั ด ทํ า ขอขอบพระคุ ณ คณะกรรมการคุ ม สอบโครงงาน คณาจารย ส าขา นวั ต กรรมการออกแบบและสรางสรรค สื่อ คณะวิ ท ยาการสื่ อสาร มหาวิ ท ยาลัย สงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี 1. อาจารยชนกิตติ์ ธนะสุข 2. อาจารยบัดรูดิง ขาลี 3. ผศ.สิทธิกร เทพสุวรรณ 4. ดร.กําธร เกิดทิพย 5. อาจารยเกวภร สังขมาศ 6. อาจารยภักดี ตวนศิริ 7. อาจารยศุภราภรณ ทวนนอย และขอขอบพระคุณผูเชี่ยวชาญ อาจารยรณรงค บุตรทองแกว , ที่เสียสละเวลาใหขอคิดเห็น ใหขอมูล และสัมภาษณทําใหโครงงานครั้งนี้บรรลุวัตถุประสงคไปดวยดี ตลอดจนบุคคลทานอื่นที่ไมได กลาวนามทุกทานที่ไดใหคําแนะนําชวยเหลือในการทําโครงงาน การจัดทํารายงาน และ นําเสนอ ผลงาน เพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติในอนาคต และขอขอบคุณหางหุนสวนจํากัด ไอดีโอซีนีมาโท กราฟฟ ที่เอื้อเฟออุปกรณถายทําภาพยนตร อยางมืออาชีพ ในการถายทําวีดีโออารตครั้งนี้ ขอขอบพระคุณอาจารยชนกิตติ์ ธนะสุข อาจารยที่ปรึกษาโครงงานเปนอยางสูงที่ไดกรุณา ใหคําปรึกษาและคําแนะนําในการทําโครงงานครั้งนี้ ทายนี้ ผูจัดทําโครงงานขอขอบคุณคณาจารยและเพื่อนๆ สาขานวัตกรรมการออกแบบ และ สรางสรรคสื่อ รุนที่ 9 ทุกคน ที่คอยแนะนํา ใหกําลังใจซึ่งกันและกันมาโดยตลอด สิ่งสําคัญที่สุดขอขอบคุณพอ คุณแมและครอบครัว ที่คอยใหกําลังใจและคําแนะนําเสมอมา

ฮาซัน ตาเละ


สารบัญ บท บทคัดยอ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญภาพ สารบัญตาราง บทที่ 1. บทนํา 1.1 ที่มาและความสําคัญ 1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา 1.3 ขอบเขต 1.4 ขั้นตอนการทําโครงงาน 1.5 ระยะเวลาการดําเนินงาน 1.6 ประโยชนที่คากวาจะไดรับ 1.7 ทรัพยากรที่ใชในการจัดทําโครงงาน 1.8 นิยามศัพทเฉพาะ 1.9 ทรัพยากรที่ใชในการทําโครงงาน 2. ทฤษฎีและเอกสารที่เกี่ยวของ 2.1. ขอมูลจังหวัดปตตานี 2.2. ความหมายของวีดโี อ 2.3. ประเภทของวีดีโอ 2.4. วีดีโออารต 2.5. ขั้นตอนการผลิตวีดีโอ 2.6. สัญญะศาสตร 2.7. การกําหนดอารมณของงาน 2.8. ขนาดภาพและมุมกลอง 2.9. การจัดองคประกอบภาพ (Composition)

หนา ค ง จ ช ฌ 1 1 2 2 2 3 3 3 4 4 5 5 17 20 21 22 23 26 31 35


3. ขั้นตอนการดําเนินงาน 3.1 ขั้นตอน Pre-Production 3.2 ขั้นตอน (Production) 3.3 ขั้นตอนหลังการถายทํา (Post Production) 3.4 การพัฒนางานจากความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ 4. ผลการดําเนินงาน 4.1 ผลที่ไดจากการดําเนินโครงงาน 4.2 ผลการวิเคราะหผลงาน 5. สรุปผลและขอเสนอแนะ 5.1 ผลการทดลอง 5.2 ปญหาที่พบ 5.3 ขอเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวัติผูจัดทําโครงงาน

40 41 44 45 49 50 50 53 55 55 55 56 57 59 63


สารบัญภาพ ภาพ

หนา

ภาพที่ 1 ศาลเจาแมลิ้มกอเหนี่ยว ภาพที่ 2 มัสยิดกลางปตตานี ภาพที่ 3 แหลมตาชี ภาพที่ 4 งานสมโภชเจาแมลิ้มกอเหนี่ยว ภาพที่ 5 การแสดงปนจักศิลัต ภาพที่ 6 ขาวยํา ภาพที่ 7 มะตะบะ ภาพที่ 8 ฟลมภาพยนตร ภาพที่ 9 Frame rate ภาพที่ 10 กองถาย ภาพที่ 11 วีดีโออารต ภาพที่ 12 สัญญะศาสตร ภาพที่ 13 Mood Board ภาพที่ 14 สัณลักษณ ภาพที่ 15 Mood & tone ภาพที่ 16 Layout ภาพที่ 17 สี ภาพที่ 18 Typography ภาพที่ 19 จุดตัด9ชอง ภาพที่ 20 จุดตัด9ชอง ภาพที่ 20 จุดตัด9ชอง ภาพที่ 21 ชัดลึกและชัดตื้น ภาพที่ 22 Perspective ภาพที่ 23 วีดีโออารต ภาพที่ 24 Moodboard ภาพที่ 25 เบื้องหลังการถายทํา

6 7 9 10 13 15 16 18 19 20 21 23 26 27 28 29 29 30 36 37 37 38 39 41 43 44


ภาพที่ 26 เบื้องหลังการถายทํา ภาพที่ 27 เบื้องหลังการถายทํา ภาพที่ 28 เบื้องหลังการถายทํา ภาพที่ 29 เบื้องหลังการถายทํา ภาพที่ 30 เบื้องหลังการถายทํา ภาพที่ 31 เบื้องหลังการถายทํา ภาพที่ 32 ขั้นตอนการใส Visual Effect ภาพที่ 33 ขั้นตอนการ Mix เสียง ภาพที่ 34 ขั้นตอนการการแตงสีภาพ ภาพที่ 35 ขั้นตอนการการ Export ภาพที่ 36 ภาพปกผลงาน ภาพที่ 37 ภาพจากชิ้นงาน ภาพที่ 38 ภาพจากชิ้นงาน

44 44 45 45 46 46 47 47 48 48 50 51 52


สารบัญตาราง ภาพ ตารางที่ 1 ระยะเวลาในการดําเนินงาน ตารางที่ 2 การวิเคราะหอารมณ ตารางที่ 3 ตารางผลการวิเคราะหผลงาน

หนา 3 42 54


1

บทที่1 บทนํา 1.1 ที่มาและความสําคัญ สังคมปจจุบันผูบริโภคสื่อลวนตกอยูในภายใตอํานาจการโนมนาวของสื่อมัลติมีเดีย อาทิเชน สื่อโฆษณา ภาพยนตร หรือแมแตขาวสารที่นําเสนอ ลวนมีการปรุงแตงเนื้อหาใหดูนาสนใจ จึงทําให เราตองใชวิจารณญาณในการรับสื่อมากขึ้น ท า มกลางกระแสความขั ด แย ง ของสั ง คมและป ญ หาต า งๆ ที่ เกิ ด ขึ้ นอยู ทุ ก วั นนี้ นั บได ว า สื่อมวลชนเขามาเกี่ยวของเสมอและเปนตัวอีกตัวแปรหนึ่งที่จะกําหนดทิศทางของปญหานั้นๆ ซึ่ง ตองยอมรับวาปจจุบันสื่อมีอิทธิพลตอการดําเนินชีวิตของทุกคนเทียบทุกดาน จากปจจัยดังกลาวนี่เอง อิทธิพลของสื่อจึงยอมที่จะกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงไดในทุกๆ ภาคสวนของสังคมไมวาจะเปนสังคม เมืองหรือแมแตในสังคมชนบทก็ตาม ซึ่งการเปลี่ยนแปลงนั้นยอมที่จะเกิดขึ้นไดทั้งทางที่ดีขึ้นและ ทางที่แยลง ความวุนวา7ยในสังคมไทยทุกวันนี้ อิทธิพลของสื่อก็มีสวนเกี่ยวของไมวาดานการเมือง เศรษฐกิจ สื่อลวนกลายเปนปจจัยสําคัญและบอยครั้งที่สื่อกลายเปนประเด็นสําคัญของปญหานั้นๆ เชนการนําเสนอขาวทามกลางวิกฤตของสังคมเต็มไปดวยความขัดแยงทางดานความคิดและตองการ เอาชนะ ไม ว า จะเป นสถานการณท างภาคใตที่นับวันจะทวีความรุนแรงขึ้ นเรื่อ ยๆ ทหาร ตํารวจ ชาวบานทั้งไทยพุทธและมุสลิม ทําใหประชาชนและผูบริสุทธิ์หลายคนตองสังเวยเสียชีวิต จนทําให หลายๆ คนอดที่จะตั้งคําถามไมไดวาเกิดอะไรขึ้นกับประเทศไทยของเรา ทําไมเหตุการณในภาคใต นับวันจะรุนแรงและไมมีทีทาที่ยุติ สถานการณในสามจังหวัดชายแดนภาคใต ยังคงเปนเปนประเด็นสําคัญที่สื่อกระแสหลักได นํ า เสนอออกมาในรู ปแบบของข าว ไม ว า จะเป นทางหนั งสื อพิม พหรือช องโทรทัศน เป นประเด็น ที่ ข ายได แ ละคนส ว นใหญ ใ ห ค วามสนใจเป น อย า งมาก จึ ง ทํ า ให ข า วที่ นํ า เสนอออกมาจาก สื่อกระแสหลักจะเปนขาวที่นําเสนอเฉพาะเรื่องความรุนแรงในพื้นที่ จนทําใหรูสึกวาราวกับวาภาคใต ของเราตกอยูภาวะสงคราม ซึ่งเปนตนเหตุที่ทําใหเกิดความอคติของคนนอกพื้นที่ตอ สาม จังหวัดชายแดนภาคใต สงผลใหเศรษฐกิจในสามจังหวัดมีความซบเซาลงอยางมาก ในปจจุบันวีดีโออารตในตางประเทศ ไดรับความนิยมเปนอยางมากในการนําเสนอวิถีชีวิตใน ชุมชน ความสวยงามของสถานที่ ความอรอยของอาหาร ฯลฯ เนื่องจากการเลาเรื่องที่เปนเอกลักษณ ของวีดีโออารตสามารถสรางอารมณรวมใหกับผูชมไดเสมือนไปสัมผัสดวยตัวเอง 1


2

ดวยอิทธิพลของสื่อที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงตอสังคมเรา ผูจัดทําโครงงานจึงใชสื่อวีดอี ารต ในการนําเสนออีกหลายๆมิติของจังหวัดปตตานี อาทิเชน สถานที่ทองเที่ยว ศิลปะการแสดง อาหาร วิถีชีวิต ความหลายหลาย ฯลฯ เพราะจังหวัดปตตานีเปนสวนหนึ่งของสามจังหวัดชายแดนภาคใต ในฐานะคนในพื้ น ที่ เกิ ด ที่ นี่ และเติ บโตที่ นี่ ต อ งการเผยแพรใ ห ค นนอกพื้นที่ ได สั มผั ส กับมิติใหม ของสามจังหวัดชายแดนภาคใตที่พวกเขายังไมเคยสัมผัสมากอน โดยผานการเลาเรื่องในรูปแบบของ วีดีโออารต ซึ่งเปนเทคนิคเลาเรื่องผานภาพเคลื่อนไหวที่สามารถสงความรูสึกผานกระบวนการถายทํา เรียบเรียงภาพอยางลงตัว

1.2 วัตถุประสงค -ศึกษาแนวทางและการสรางวีดีโอพรีเซนในรูปแบบของวีดีโออารต -นําเสนอปตตานีในมิติอื่นๆในเชิงบวก และมุมมองที่แตกตางจากสื่อกระแสหลัก -สรางภาพลักษณที่ดีและเปนแนวทางหนี่งในการสงเสริมการทองเที่ยวของจังหวัดปตตานี

1.3 ขอบเขตโครงงาน 1.3.1 เนื้อหาในจังหวัดปตตานี 1.3.1.1 สถานที่ทองเที่ยว 1.3.1.2 ศิลปะการแสดง การตอสู และการละเลน 1.3.1.3 อาหารที่ขึ้นชื่อ 1.3.1.4 วิถีชีวิต และวัฒนธรรม 1.3.1.5 ศาสนา ความเชื่อ และความหลากหลาย 1.3.2 ความยาวงานประมาณ 4-5 นาที

1.4 ขั้นตอนการทําโครงงาน 1.4.1 Pre-Production 1.4.1.1 คนควาขอมูลเกี่ยวกับจังหวัดปตตานี 1.4.1.2 ศึกษาแนวทางและวิเคราะหวีดีโออารต 1.4.1.3 การสราง Mood Board 1.4.1.4 การออกแบบเคาโครงเรื่อง 1.4.2 Production 1.4.2.1 ถายทํา


3

1.4.3 Post-Production 1.4.3.1 Editing 1.4.3.2 Visual Effect 1.4.3.3 Sound Mix 1.4.3.4 Colorist 1.4.3.5 Final Editing 1.4.3.6 Rendering

1.5 ระยะเวลาการดําเนินงาน ลําดับ

กิจกรรม

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

คนควาขอมูล ศึกษาแนวทางและวิเคราะหวีดีโออารต การออกแบบเคาโครงเรื่อง ถายทํา เรียบเรียง-ตัดตอ ปรับแก ประเมินผลงาน จัดแสดงนิทรรศการ ตารางที่1 ตารางการดําเนินงาน

ส.ค.

1.6 กลุมเปาหมาย -กลุมเปาหมายหลัก คนนอกพื้นที่อายุระหวาง 25-30 ป -กลุมเปาหมายรอง บุคคลทั่วไปที่สนใจจังหวัดปตตานี

1.7 ประโยชนที่ไดรับ -ไดศึกษาแนวทางการสรางวีดีโอพรีเซนในรูปแบบของวีดีโออารต -ผูชมไดสัมผัสมิติใหม ในเชิงบวกของจังหวัดปตตานีที่สื่อกระแสหลักไมไดนําเสนอ -จังหวัดปตตานีมีภาพลักษณที่ดีขึ้น

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.


4

1.8 นิยามศัพทเฉพาะ วีดีโอพรีเซน คือการสื่อสารเพื่อเสนอขอมูลไปสูผูรับสารผานสื่อวีดีโอ วีดีโออารต คือศิลปะการเลาเรื่องดวยภาพเคลื่อนไหว ที่ใชเทคนิคการทําแบบใหมที่เพิ่มความ นาสนใจของเนื้อหาที่นําเสนอมากขึ้น

1.9 ทรัพยากรที่ใชในการทําโครงงาน 1.9.1 ดานฮารดแวร (Hardware) - อุปกรณการถายทํา - คอมพิวเตอรโนตบุค 1.9.2 ดานซอฟทแวร (Software) -Adobe Photoshop CC 2015 -Adobe Illustrator CC 2015 -Adobe Premiere Pro CC 2015 -Adobe After Effects CC 2015 -Adobe Audition CC 2015 -Adobe Media Encoder CC 2015


5

บทที่ 2 ทฤษฎีและเอกสารที่เกี่ยวของ การทําโครงงานครั้งนี้ ผูจัดทําโครงงานเรื่อง การพัฒนาวีดีโออารต เพื่อสรางมิติเชิงบวก ของจั ง หวั ด ป ต ตานี ได ศึ ก ษาเอกสารและงานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข อ งเพื่ อ ประโยชน ก ารทํ า โครงงาน โดยแบงไดดังนี้ 2.1. ขอมูลจังหวัดปตตานี 2.1.1.ดานสถานที่ทองเที่ยว 2.1.2.ดานวิถีชีวติ และวัฒนธรรม 2.1.3.ดานศิลปะการแสดง 2.1.4.ดานอาหารประจําถิ่น 2.2. ความหมายของวีดโี อ 2.3. ประเภทของวีดีโอ 2.4. วีดีโออารต 2.5. ขั้นตอนการผลิตวีดีโอ 2.5.1.ขั้นตอนกอนผลิต Pre-Production 2.5.2.ขั้นตอนการถายทํา Production 2.5.3.ขั้นตอนหลังการถายทํา Post-Production 2.6. สัญญะศาสตร 2.7. การกําหนดอารมณของงาน (Moodboard) 2.8. ขนาดภาพและมุมกลอง 2.9. การจัดองคประกอบภาพ (Composition)

2.1. ขอมูลจังหวัดปตตานี 2.1.1.ดานสถานที่ทองเที่ยว หาดแฆแฆ อยูหางจากตัวจังหวัดประมาณ 43 กิโลเมตร คําวา “แฆแฆ” เปนภาษามลายู ทองถิ่น (ภาษายาวี) มีความหมายวา อึกทึกครึกโครม อยูในทองที่ตําบลน้ําบอ ตั้งอยูหางจากหาดราช รักษประมาณ 2 กิโลเมตร จุดเดนของหาดแฆแฆคือเปนชายหาดที่มีโขดหินแกรนิตขนาดใหญ ลักษณะ

5


6

แปลกตาสวยงาม บนเนินเขามีศาลาพักผอนและเปนจุดชมทิวทัศนที่สวยแหงหนึ่งของอําเภอปะนาเระ หาดตะโละกาโปร ตั้ ง อยู หา งจากตั ว เมื อ งป ต ตานี ต ามทางหลวงหมายเลข 42 (ป ต ตานี นราธิวาส) เลี้ยวซายเขาอําเภอยะหริ่ง ขามคลองยามูตามสะพานคอนกรีตขนาดใหญ ผานพื้นที่สวน ปาชายเลนและหมูบานไปจนถึงทางแยกเขาสูหาด รวมระยะทางประมาณ 18 กิโลเมตร หาดตะโละ กาโปรเปนหาดที่มีชื่อเสียงของจังหวัดปตตานี เคยประกวดแหลงทองเที่ยว 5 จังหวัด ชายแดนภาคใต ไดที่ 2 ประเภทแหลงทองเที่ยวธรรมชาติ ประจําป 2529 หาดตะโละกาโปรเปนหาดทรายขาวสะอาด ขนานกับชายฝงทะเล มีเรือกอและของชาวประมงจอดอยูเปนจํานวนมาก หาดทรายแหงนี้งอกยาว ออกไปเรื่อยๆ เพราะเกิดจากกระแสน้ําพัดเอาตะกอนทรายมาทับถมพอกพูน เหมาะแกการไปนั่ง พักผอนชมความสวยงาม มีทิวสนและตนมะพราวใหความรมรื่นสวยงาม

ภาพที่ 1 ศาลเจาแมลิ้มกอเหนี่ยว

ศาลเจาแมลิ้มกอเหนี่ยว หรือ ศาลเจาเลงจูเกียง ตั้งอยูเลขที่ 63 ถนนอาเนาะรู ตําบลอาเนาะ รู เปนศาลที่ประดิษฐานรูปแกะสลักของเจาแมลิ้มกอเหนี่ยว พระหมอ เจาแมทับทิม ในวันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 3 ของทุกปจะมีงานประเพณีแหเจาแมลิ้มกอเหนี่ยวไปตามถนนสายตาง ๆ ภายในตัวเมือง ปตตานีทําพิธีลุยไฟบริเวณหนาศาลเจาเลงจูเกียง วายน้ําขามแมน้ําตานีบริเวณสะพานเดชานุชิต ใน งานนี้มีผูที่เคารพศรัทธามารวมงานเปนจํานวนมาก


7

วัดชางใหราษฎรบูรณาราม ตั้งอยูที่บานปาไร ตําบลทุงพลา ริมทางรถไฟสายหาดใหญ-สุไหง โก-ลก ระหวางสถานีนาประดูกับสถานีปาไร หางจากตัวเมืองประมาณ 31 กิโลเมตร การเดินทางใช เสนทางหลวงสาย 42 (ปตตานี-โคกโพธิ์) ผานสามแยกนาเกตุ ตรงไปตามเสนทางหลวงหมายเลข 409 (ปตตานี-ยะลา) ผานชุมชนเทศบาลนาประดูและศูนยฝกอาชีพ (วัดชางให) ไปจนถึงทางแยกเพื่อเขาสู วัดชางใหอีกประมาณ 700 เมตร วัดนี้เปนวัดเกาแกที่สรางขึ้นมากวา 300 ปมาแลว แตไมทราบแนชัด วาผูใดเปนผูสรางภายในวิหารมีรูปปนหลวงปูทวดเทาองคจริงประดิษฐานอยู นอกจากนี้ยังมีสถาปตยกรรมของสถูป เจดีย มณฑป อุโบสถ และหอระฆัง ที่งดงามเปนอยาง ยิ่ง หลวงปูทวดวัดชางให เปนผูมีความสามารถในการศึกษาเลาเรียนพระปริยัติธรรมและดา นเวท มนตรคาถาตางๆ เลากันวาทานไดแสดงอิทธิปาฏิหารยเปนที่ประจักษแกสายตาผูคน เชนครั้งที่ทาน เดินทางไปกรุงศรีอยุธยาดวยเรือสําเภา ระหวางทางเกิดพายุ จนกระทั่งขาวปลาและอาหารตลอดจน น้ําดื่มตกลงทะเลไป ลูกเรือรูสึกกระหายน้ํามาก หลวงปูทวดจึงไดแสดงอภินิหารหยอนเทาลงไปใน ทะเล ปรากฏวาน้ําในบริเวณนั้นไดกลายเปนน้ําจืด และดื่มกินได ตั้งแตนั้นมาชื่อเสียงของทานก็ขจร ขจายไปทั่ว และตอมาหลวงปูทวดไดมรณภาพที่ประเทศมาเลเซีย แลวไดนําพระศพกลับมาที่วัดชาง ให งานประจําปในการสรงน้ําอัฐิหลวงปูทวดวัดชางใหคือ แรม 1 ค่ํา เดือน 5 วัดชางใหเปดใหเขาชม ทุกวัน เวลา 08.00 - 17.00 น.

ภาพที่ 2 มัสยิดกลางปตตานี


8

มัสยิดกลางจังหวัดปตตานี ตั้งอยูที่ถนนยะรัง เสนทางยะรัง-ปตตานี ในเขตเทศบาลเมือง ป ต ตานี ซึ่ ง สร า งในป พ.ศ. 2497 ใช เ วลาดํ า เนิ น การสร า งประมาณ 9 ป และทํ า พิ ธี เ ป ด โดย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2506 เพื่อใหเปนศูนยกลางในการประกอบ ศาสนกิจ ของชาวไทยมุสลิมในภาคใต เปนสถาปตยกรรมแบบตะวันตกมีรูปทรงคลายกับทัชมาฮาลของอินเดีย ตรงกลางอาคารมียอดโดมขนาดใหญและมีโดมบริวาร 4 ทิศ มีหอคอยอยูสองขาง บริเวณดานหนา มัสยิดมีสระน้ําสี่เหลี่ยมขนาดใหญ ภายในมัสยิดมีลักษณะเปนหองโถง มีระเบียงสองขางภายในหอง โถงดานในมีบัลลังกทรงสูงและแคบ ศาลหลักเมืองจังหวัดปตตานี สราง เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2494 สมัยพระยารัตน ภักดีเปนผูวาราชการจังหวัด ศาลหลักเมืองแหงนี้เปนที่เคารพสักการะของชาวเมือ งปตตานี และ นักทองเที่ยว จะพากันไปสักการะเพื่อความเปนสิริมงคลเสมอ มัสยิดกรือเซะ ตั้งอยูริมถนนสายปตตานี-นราธิวาสหรือทางหลวงแผนดินสาย 42 บริเวณ บานกรือเซะ หางจากตัวเมืองปตตานีประมาณ 7 กิโลเมตร ลักษณะการกอสรางมัสยิดแหงนี้เปนแบบ เสากลมกออิฐปูนแบบศิลปะทางตะวันออกกลาง สวนที่สําคัญที่สุดคือหลังคาโดมซึ่งยังสรางไมแลว เสร็จมัสยิดเกาแหงนี้มีตํานานเลาวาเจาแมลิ้มกอเหนี่ยวสาปแชงไวไมใหสรางเสร็จบริเวณใกลเคียงนั้น มีฮวงซุยหรือที่ฝงศพเจาแมลิ้มกอเหนี่ยวมัสยิดแหงนี้สันนิษฐานวาสรางขึ้นสมัยสมเด็จพระนเรศวร มหาราช (พ.ศ.2121–2136) อุทยานแหงชาติน้ําตกทรายขาว เปนสถานที่ทองเที่ยวทางธรรมชาติที่มีชื่อเสียงในจังหวัด ปตตานี ตั้งอยูที่บริเวณตําบลทรายขาว อําเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปตตานี ใชเสนทางตามทางหลวง แผนดินหมายเลข 409 (ปตตานี-ยะลา) เมื่อถึงบานนาประดูบริเวณ กิโลเมตรที่ 28 จากนั้นเดินทางตอ โดยใชเสนทางสายนาประดู-ทรายขาว เขาไปอีก 7 กิโลเมตร ถึงที่ทําการอุทยานแหงชาติ


9

แหลมตาชี ห รื อ แหลม โพธิ์ เปนหาดทรายขาวตอจาก หาดตะโละกาโปร อยู บ ริ เ วณ ปากแม น้ํ า ป ต ตานี กั บ อ า วไทย เกิดจากการกอตัวของสันทรายที่ ยื่นออกไปในทะเลในลักษณะสัน ดอนจะงอย (Sand Spit) ไปใน ทะเลอาวไทยทางทิศเหนือ มีภูมิ ทั ศ น ที่ ส วยงามเหมาะแก ก าร พักผอนหยอนใจ การเดินทางไป แหลมตาชีไปได 2 ทาง คือ ทาง น้ํา นั่งเรือจากปากแมน้ําปตตานี ตรงไปยังแหลมตาชีเลย ใชเวลา ประมาณชั่วโมงเศษ หรือนั่งเรือ จ า ก ท า ด า น อํ า เ ภ อ ย ะ ห ริ่ ง ออกมาตามคลองยามู จ นถึ ง ทะเลในไปจนถึงแหลมตาชี ทาง บก จากอําเภอยะหริ่งขามคลอง ยามูมาตามสะพานไม เป น ถนน รพช. ยามู-แหลมโพธิ์ มีถนนตัด เข า ไปประมาณ 10 กิ โ ลเมตร จนถึงปลายแหลมตาชี ภาพที่ 3 แหลมตาชี 2.1.2.ดานวิถีชีวิตและวัฒนธรรม บานปะเสยะวอ ตั้งอยูที่หมูบานปะเสยะวอ เปนหมูบานที่มีชื่อเสียงในการตอเรือ กอและ ซึ่ง เปนเรือประมงของชาวปตตานีและนราธิวาส มีลักษณะเปนเรือหัวแหลมทายแหลม ระบายสีสันงดงาม การเดินทางไปตามเสนทางเดียวกับทางที่ไปหาดแฆแฆ แลวเดินทางตอไปตามถนนเลียบชายทะเลไป จนถึงบานปะเสยะวอ เรือกอและของชาวบานปะเสยะวอมีทั้งขนาดใหญที่เปนเรือประมงจริงๆ และ ขนาดเล็กที่จําลองขึ้นเพื่อเปนของที่ระลึก ฝมือการตอเรือกอและที่นี่ไดรับการยอมรับวาประณีต


10

งดงามดวยลวดลายที่ผสมกลมกลืนกันระหวางศิลปะไทยและมุสลิม นอกจากนี้บานปะเสยะวอยังมี ชื่อเสียงในการทําน้ําบูดูรสดีอีกดวย ประเพณีชักพระ เปนพิธีรําลึกถึงวันรับเสด็จองคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจากลับจากจํา พรรษา และแสดงพระอภิธรรม 7 คัมภีร โปรดพระพุทธมารดา ณ ดาวดึงสในวันแรม 1 ค่ํา เดือน 11 ครั้งพุทธกาล ตอมาจึงไดกลายเปนประเพณีกระทํากัน ทุกป โดยพุทธศาสนิกชนในทองที่อําเภอโคก โพธิ์และใกลเคียงจะชักลากเรือพระที่ตกแตงอยาง สวยงามจากวัดตางๆ ผูรวมขบวนจะแตงกาย อย า งงดงาม มี ก ารฟ อ นรํ า หน า เรื อ พระ มี ก ารนมั ส การเรื อ พระพร อ มกั บ ถวายภั ต ตาหาร พระภิกษุสามเณร ณ สนามหนา ที่วาการอําเภอ และมีงานเฉลิมฉลองเปนเวลา 5 วัน 5 คืน

ภาพที่ 4 งานสมโภชเจาแมลิ้มกอเหนี่ยว


11

งานสมโภชเจาแมลิ้มกอเหนี่ยว เปนงานประเพณีที่ทํากันทุกป ในวันขึ้น 15 ค่ํา เดือนอาย ตามจันทรคติของจีน คือหลังวันตรุษจีน 15 วันของทุกป (หรือตรงกับวันเพ็ญ เดือน 3 ตามจันทรคติ ของไทย) มีการสมโภชแหแหนรูปสลักไมมะมวงหิมพานตของ เจาแมลิ้มกอเหนี่ยวและรูปพระอื่นๆ โดยอัญเชิญออกจากศาลมาประทับบนเกี้ยว ตามดวยขบวนแหตางๆ มีการลุยไฟ และแสดงอภินิหาร ตางๆ เพื่อพิสูจนความศักดิ์สิทธิ์ของเจาแม โดยผูรวมพิธีจะตองถือศีลกินเจอยางนอย 7 วันกอน ทําพิธี ในงานนี้จะมีชาวปตตานีและชาวจังหวัด ใกลเคียงมารวมพิธีกันเปนจํานวนมาก มีการเซนไหวและ เฉลิมฉลองกันเปนที่สนุกสนาน งานแขงขันกีฬาตกปลาสายบุรี จะจัดทุกวันเสารและอาทิตยที่ 2 ของเดือนพฤษภาคมของ ทุกป ที่บริเวณชายหาดวาสุกรี อําเภอสายบุรี กีฬาตกปลาเปนที่นิยมกันอยางแพรหลาย และจาก สภาพ ภูมิศาสตรของหาดที่มีชายฝงทะเลยาวเหยียดอุดมสมบูรณ ไปดวยปลานานาชนิด จึงทําใหกีฬา ตกปลานี้เปนกีฬาที่นาตื่นเตนทาทายอีกรูปแบบหนึง่ เทศกาลฮารีรายอ ในรอบปหนึ่ง ชาวมุสลิม มีวันฮารีรายอ ๒ ครั้ง คือ ๑)วันตรุษอีดิ้ลฟตรีตรงกับวันขึ้น๑ค่ําเดือนเชาวาลซึ่งเปนเดือน๑๐ตามปฏิทินอิสลาม ซึ่งเปนวันออกบวช (ชาวไทยมุสลิมจะถือศีลอดในชวงเดือน ๙ ถึงเดือน ๑๐ เปนเวลา ๓๐ วัน) ๒) วันตรุษอีดิ้ลอัฎฮา ตรงกับวันที่ ๑๐ เดือน ซุลฮิจญะ หรือตรงกับเดือน ๑๒ ของปฏิทินอิสลาม ซึ่ง เปนการฉลองวันออกฮัจญ วันฮารีรายอ เปนวันรื่นเริงประจําป ชาวมุสลิมจะไปเยี่ยมเยียนพอแม ญาติ พี่ น อ ง เพื่ อ นบ า น เพื่ อ อภั ย ต อ กั น ในสิ่ ง ที่ ผ า นมา เป น วั น ที่ ทุ ก คนมี ค วามสุ ข มาก มุ ส ลิ ม จะมี ก าร ประกอบพิ ธี ก รรมพร อ มเพรี ย งกั น ทั่ ว โลก ในวั น ตรุ ษ อี ดิ้ ล ฟ ต รี มุ ส ลิ ม ทุ ก คนจะต อ งจ า ยซะกาต ฟตเราะห บริจาคทานแกคนยากจนอนาถา สวนในวันตรุษอีดิ้ลอัฎฮา จะมีการเชือดสัตวพลี แลวจะ ทํากุรบัน แจกจายเนื้อเพื่อเปนทานแกญาติมิตร สัตวที่ใชในการเชือดพลี ไดแก อูฐ วัว แพะ เปนการ ขัดเกลาจิตใจของมนุษยใหเปนผูบริจาค เปนการเอื้อเฟอเผื่อแผตอเพื่อนมนุษย


12

ประเพณีแหนก จัดขึ้นเปนเกียรติในงานเทศกาลงานเฉลิมฉลอง หรืองานมงคลทั่วไป เชน พิธี สุหนัดในศาสนาอิสลาม หรือใชเปนขบวนแหตอนรับอาคันตุกะผูเปนแขกบานแขกเมืองคนสําคัญ นอกจากนี้ยังมีประเพณีงานสารทเดือน 10 ระหวางวันแรม 14-15 ค่ํา มีการทําบุญอุทิศสวนกุศล ใหแกผูที่ลวงลับไปแลว กลางคืนมีมหรสพของปกษใตฉลอง เชน ลิเกฮูลู ซึ่งคลายกับลําตัดหรือเพลง ฉอยของภาคกลาง โนรา หนังตะลุง รองเง็ง (คลายรําวง นิยมเลนกันในราชสํานักชวามากอน จึง แพรหลายเขามาทางปกษใต) มะโยง (ละครไทยมุสลิมภาคใต) ซีละ (กีฬาอยางหนึ่งของชาวมลายู ซึ่ง แสดงถึงศิลปะการตอสูที่สงางามและกลาหาญ) ประเพณีลาชัง ประเพณีนี้ชาวไทยที่นับถือศาสนาอิสลามเรียกวา "ปูยอบือแน" เปนพิธีฉลอง นาขาว หรือซังขาว ซึ่งทํากันทุกหมูบาน ทั้งไทยพุทธและไทยอิสลาม ประเพณีนี้จะจัดใหมีขึ้นภายหลัง การเก็บเกี่ยวขาวราวเดือน 5 หรือเดือน 6 มีการทําหุนฟางรูปชาย-หญิงจับคูกัน แลวจัดขบวนแหไป วางไว บ นศาลเพี ย งตา พร อ มทั้ ง เครื่ อ งสั ง เวย เช น ข า วเจ า ข า วเหนี ย ว ข า วเหนี ย วห อ ต ม ไข ตม หลังจากนั้นผูอาวุโสในหมูบานทานหนึ่งจะกลาวคําบวงสรวงแตงงานใหแกหุนซังขาว แลวนําหุน ดังกลาวไปเก็บไวในนาใกลๆ ศาลเพียงตา จุดประสงคของการทําพิธีนี้ก็เพื่อขอบคุณเจาแมโพสพ หรือ พระเจาที่บันดาลใหพืชผลอุดมสมบูรณ อาชีพนาเกลือ (เกลือหวานปตตานี) คําวา เกลือหวาน ในสมัยโบราณมีการเปรียบเปรยวาที่นี่ เปนถิ่นเกลือหวาน“ฆาแฆ ตานิง มานิส(Garam Taning Manis)” เกลือปตตานี เปนเกลือที่มีคุณภาพ ดีแตกตางจากที่อื่นแมจะมีรสเค็มเหมือนกัน แตกลมกลอมกวา ชาวบานนิยมนํามาหมักปลาทําน้ําบูดู ทําปลาแหง ดองผัก ผลไม คุณสมบัติพิเศษคือจะไมออกรสขม หากทําสะตอดอง จะไดความกรอบ มัน เนื้อไมเละ เปนที่มาของคําเปรียบเปรยวา ปตตานีถิ่นเกลือหวาน นั่นเองเรือกอและ เดิมเปนเรือที่ชาว พื้นเมืองปตตานีใชเปน พาหนะในการเดินทางและทําการประมงยามวางจากการประกอบอาชีพใน ยามคลื่นลมสงบ และเวลามีงานนักขัตฤกษของทองถิ่นชาวเมืองปตตานี จะนําเรือกอและเขามาใช ประโยชน ใ นการพั ก ผ อ นหย อ นใจ โดยนํ า มาจั ด แข ง ขั น พายเรื อ เพื่ อ ชิ ง ความเป น หนึ่ ง ในด า น ความเร็ว เรือกอและเปนเรือประมงที่ใช ในแถบจังหวัดภาคใตตอนลางมีลักษณะเปนเรือยาวที่ตอ ดวยไมกระดานโดยทําใหสวนหัวและทายสูงขึ้นจากลําเรือใหดูสวยงาม นิยมทาสีแลวเขียนลวดลาย ดวยสีฉูดฉาดเปนลายไทยหรือลายอินโดนีเซีย ซึ่งนํามาประยุกตใหเหมาะกับลําเรือ


13

2.1.3.ดานศิลปะการแสดง

ภาพที่ 5 การแสดงปนจักศิลัต ซีละ เปนการตอสูปองกันตัวแบบหนึ่งของชาวไทยมุสลิม เนื่องจากมีกระบวนทาที่สงางาม ภายหลังจึงจัดใหมีการแสดงซีละเพื่อดูศิลปะทารํา มากกวาจะตอสูจริง ๆ นิยมเลนในงานมงคลทั่วไป โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อตอนรับแขกบานแขกเมือง มะโยง เปนการแสดงเพื่อเฉลิมฉลองหรือเพื่อความรื่นเริง โอกาสที่แสดง มะโยงจะแสดงใน งานเฉลิมฉลองงานเทศกาลหรืองานรื่นเริงอื่น ๆ ตามที่เจางานรับไปแสดงปกติแสดงในเวลากลางคืน โดยเริ่มแสดงราว ๑๙ นาฬิกา เลิกเวลาประมาณ ๑ นาฬิกา รองเง็ง มีวัฒนาการมาจากการเตนรําพื้นเมืองของชาวเสปน หรือโปรตุเกส ซึ่งนํามาแสดงใน แหลมมลายูเมื่อคราวที่ไดมาติดตอทําการคา จากนั้นชาวมลายูพื้นเมืองไดดัดแปลงเปนการแสดงที่ เรียกวา “รองเง็ง” สําหรับในจังหวัดชายแดนภาคใตมี การเต นรองเง็ง มาเป นเวลาชา นาน ตั้งแต สมัยกอนการยกเลิกการปกครอง ๗ หัวเมืองโดยที่นิยมเตนกันเฉพาะในวังของเจาเมือง ฝายชายที่ ไดรับการเชิญเขารวมงานรื่นเริงในวังจับคูเตนกับฝายหญิงซึ่ง เปนบริวารในวังและมีหนาที่เตนร็องเง็ง


14

ไดแพรหลายไปสูชาวบานโดยที่ใช เปนรายการสลับฉากของมะโยง ซึ่งมุงแตความสนุกสานและเงิน รายไดเปนสําคัญไมรักษาแบบฉบับที่สวยงามซ้ํา ยังเอาจังหวะเตนรําอื่น ๆ เชน รุมบา แซมบาน ฯลฯ เขาไปปะปนดวย ทําใหคนที่เคยเตนรองเง็งมาแตเดิมมองเห็นวา รองเง็งไดเปลี่ยนไปในทางที่ไมดี จึง พากันเสื่อมความนิยมไปชั่วระยะหนึ่ง ลิเกฮูลู เปนการละเลนพื้นบานแถบจังหวัดชายแดนภาคใต ที่ไดรับความนิยมมากประเภท หนึ่ง คําวา“ลิเก” หรือ “ดิเกร” เปนศัพทเปอรเซียผูรูบางทานกลาววา ลิเกฮูลูเอาแบบอยางการเลน ลําตัดของไทยผสมเขาไปดวย บางทานเลาวา ในสมัยปกครอง ๗ หัวเมือง ถามีงานพิธีตาง ๆ เชน เขา สุหนัต มาแกปูโละ เจาเมืองตาง ๆ มารวมพิธีและชมการแสดงเชน มะโยง โนรา และละไป ละไปนั้น คือ การรองเพลงลําตัดภาษาอาหรับและเรียก “ซีเกรมัรฮาแบ” การรองเปนภาษาอาหรับ ถึงแมจะ ไพเราะแตคนไมเขาใจ จึงนําเอาเนื้อเพลงภาษาพื้นเมือง รองใหเขากับจังหวะรํามะนา จึงกลายมาเปน ลิเกฮูลูสืบทอดจนถึงปจจุบัน 2.1.4.ดานอาหารประจําถิ่น ไกกอและ เนื้อไกนุมเจือดวยรสกลมกลอมของเครื่องปรุง ซึ่งประกอบดวยหอมแดง กระเทียม พริกหยวกแหง กะป ลูกผักชี น้ําตาลแวนที่ตําจนเขากันผสมกับน้ํามะขามเปยก กะทิ โดยกอนจะนําไป ราดบนไก ตองนําไกทาเกลือแลวยางดวยไฟออน ๆ เสียกอน แลวยางตออีกเล็กนอยก็จะไดไกยางที่มี สีสันแตกตางจากทั่วไป คือ มีสีน้ําตาลอมสม รับประทานไดเลยโดยไมตองมีน้ําจิ้ม เนื่องจากรสชาติจะ กลมกลอมอยูแลว


15

ขาวยําปกษใต เปนอาหารที่เชื่อวาทุกคนตองเคยลิ้มลองกันมาบางแลว เพราะเปนอาหารที่ ขึ้นชื่อของชาวใตจนดูเหมือนจะกลายเปนสัญลักษณอาหาร ปกษใตอีกเมนูหนึ่ง ขาวยําของชาวใต จะ อรอยหรือไมก็ขึ้นอยูกับน้ําบูดูเปนสําคัญ น้ําบูดูมีรสเค็ม แหลงที่มีการทําน้ําบูดูมากคือจังหวัดยะลา และป ต ตานี เวลานํ า มาใส ขา วยํ า ต อ งเอาน้ํ า บู ดู ม าปรุ ง รสก อ น จะออกรสหวานเล็ ก น อ ยแล ว แต ความชอบ น้ําบูดูของชาวใตมีกลิ่นคาวของปลา เพราะทํามาจากปลา กลิ่นคลายปลาราของทางภาค อีสาน แตกลิ่นน้ําบูดูจะรุนแรงนอยกวา เนื่องจากน้ําบูดูมีรสเค็ม ชาวใตจึงนํามาใสอาหารแทนน้ําปลา

ภาพที่ 6 ขาวยํา ที่มา : http://4.bp.blogspot.com/xVRO1Gm2UyQ/UdDitE6i7sI/AAAAAAAAB7Y/WwLzGBGqNLo/s500/South+yum+rice.jpg นาซิดาแฆ อาหารพื้นเมืองที่มีเอกลักษณเฉพาะตัวและอรอยมาก รสชาติ หวาน มัน หอมดวย สวนผสมตาง ๆ บวกกับกรรมวิธีการปรุงที่สะอาดตามแบบฉบับชาวอิสลาม โดยนําขาวเจาและขาว เหนียว ในสัดสวนขาวเจามากกวามาคลุกเคลาจนเขากัน นึ่งจนสุก ใชหางกะทิมาคลุกใหทั่ว จากนั้น ยกไปนึ่งบนเตาอีกครั้ง เสร็จแลวนําหัวกะทิมามูลพรอมกับโรยหอมแดงซอยเปนแผนบาง ๆ และฮาลือ บอ (เครื่องเทศ) นาซิดาแฆ ที่ปรุงเสร็จจะหอมมัน แตหากนํามารับประทาน อยางเดียวลวน ๆ จะ ไมไดรสชาติแบบตนตําหรับ สวนใหญจะนิยมทานกับแกงกะทิปลาโอ แกงกะทิไก และแกงไขไก - ไข เปด โรยหนาดวย ขาวคั่วและมะพราวคั่วที่ตําจนละเอียด


16

รอเยาะ เปนอาหารวางชนิดหนึ่ง มีคุณคาทางอาหารลักษณะเชนเดียวกับสลัด เครื่องปรุง ประกอบดวยเสนหมี่ลวก เตาหูทอดและกุงชุบแปงทอดหั่นเปนชิ้นสี่เหลี่ยมผืนผาเล็กขนาดนิ้วมือ ถั่วงอก แตงกวาหั่นเปนชิ้นบางๆ ผักบุงลวกหั่นเปนชิ้นเล็ก และไขตม โรตีปาแย สวนใหญชาวปตตานีจะซื้อมารับประทานกับน้ําชา กาแฟ เปนอาหารเชา ปจจุบัน กลางคืนก็มีโรตีขาย บางก็รับประทานเปนอาหารวาง ก็จะไดประโยชนโดยเฉพาะ คารโบไฮเดรต และ ไขมัน บางคนชอบกินโรตีใสไข ก็จะไดโปรตีนไปดวย โรตีมะตะบะ เปนอาหารขึ้นชื่อที่อยูคูกับชาวมุสลิม ใชแปงโรตีหอไสไวภายในจะเปนเนื้อวัว หรือเนื้อไก ผสมเครื่องเทศรสหอมหวานกลมกลอม หากมองใหดีก็จะคลายกับไขยัดไส เมื่อทอดเสร็จ แลวจะทานคูกับอาจาด โรตีน้ําแกง จะเปนแปงโรตีธรรมดาหรือโรตีใสไข แตไมตองใสนมและน้ําตาล นํามาหั่นเปนชิ้นพอดีคํารับประทานกับน้ําแกง โรตีกลวยหอม แบบนี้หลาย ๆ คนอาจจะเคยทานกัน บางแลว คือ โรตีทอด โดยมีเนื้อของกลวยหอมฝานผสมแลวหั่นเปนชิ้น ๆ รสชาติจะหวานหอม แตไม เลี่ยนจนเกินไป อีกแบบหนึ่งก็ คือ โรตีธรรมดาใส นมน้ําตาล แตจะตางจากที่เราทานแหงอื่น ๆ ก็คือ โรตีสวนใหญจะไมทอดจนกรอบ นิยมทอดแบบหนานุมมากกวา

ภาพที่ 7 มะตะบะ ที่มา : http://ed.files-media.com/ud/images/1/140/418054/Roti_Mataba_cover620x392.JPG


17

สะเตะเนื้อ สวนใหญจะเปนสะเตะเนื้อวัวและเนื้อไก ลักษณะคลายกับหมูสะเตะทางภาค กลาง เพียงแตของปตตานีจะตองทานแกลมกับขาวอัดและอาจาด ที่นําไปตมเคี่ยวละเอียดกวนจน แหง นํามาหอดวยผาขาวจนจับตัวเปนกอน แลวหั่นเปนชิ้นสี่เหลี่ยมพอดีคํา ทานกับสะเตะเนื้อวัว ซึ่ง เลือกตรงสวนของเนื้อสันสวย ๆ มาแลเปนชิ้นเล็ก ๆ หมักกับซีอิ้วขาว ตะไคร ขมิ้นผง แลวนําไปยาง ดวยไฟออนๆ จนสุกหอมกรุนและรสชาตินุมนวลจิ้มกับน้ําแกงสูตรเด็ด ซึ่งใชน้ํากะทิผสมกับพริกแดง หัวหอม กระเทียม น้ํามะขามเปยก ถั่วลิสง และเครื่องปรุงรสตาง ๆ จนรสกลมกลอม ที่มา : https://sites.google.com/site/thaukaenoi/home ขอมูลในแตละหัวขอที่เกี่ยวกับจังหวัดปตตานี เปนเนื้อหาที่สําคัญอยางมากในการวิเคราะห อารมณของสถานที่ตางๆ เพื่อนําไปใชทําเปน Moodboard ในการกําหนดอารมณของแตละหัวขอ จากขอมูลขางตนเราสามารถแบงเนื้อหาเปน 5 ประเภทใหญๆ คือ ดานสถานที่ทองเที่ยง, ดานอาหาร พื้นเมือง, ดานศิลปะการแสดง และดานวิถีชีวิตและวัฒนธรรม

2.2 ความหมายของวีดีโอ วีดีโอคือภาพหลายๆภาพมาตอกันจนทําใหเกินภาพเคลื่อนไหว ซึ่งวีดีโอจะแบงไดเปน 2 ชนิด 1.วิดีโออนาล็อก (Analog Video) เปนวีดีโอที่ทําการบันทึกขอมูลภาพและ เสียงใหอยูใน รูปของสัญญาณไฟฟา มีลักษณะการบันทึกขอมูลที่ใหความคมชัดต่ํา กวาวิดีโอแบบดิจิตอล วิดีโอ อนาล็อกจะใช เทป VHS (Video Home System) หรือ Hi – 8 ซึ่งเปนมวนเทปวีดีโอที่ใชดูกันตาม บาน เมื่อทําการตัดตอขอมูลจะทําใหไดวิดีโอที่มี ความคมชัดต่ํา 2. วีดีโอดิจิตอล (Digital Video) เปนวีดีโอที่ทําการบันทึกขอมูลภาพและ เสียงดวยการแปล สัญญาณคลื่นใหเปนตัวเลข 0 กับ 1 คุณภาพของวิดีโอที่ไดจะมีความใกล เคียงกับตนฉบับมาก ทําให สามารถ บันทึก ขอมูลลงบนฮารดดิสก ซีดีรอม ดีวีดี หรือ อุปกรณบันทึกขอมูลอื่น ๆ และสามารถ แสดงผลบนคอมพิวเตอร ไดอยางมี ประสิทธิภาพ ในการผลิตมัลติมีเดียบน คอมพิวเตอร สามารถ เปลี่ยนรูปแบบของสัญญาณอนาล็อกเปนสัญญาณดิจิตอลได หากผูใชมีทรัพยากรทางดานฮารดแวร และ ซอฟตแวรที่เหมาะสมเทานั้น


18

ภาพที่ 8 ฟลมภาพยนตร ที่มา : http://www.manujarvinen.com/~eternal/images /blogs/blender_aid/asset_library/misc/ref/film/film_04_446.jpg คุณสมบัติของวิดีโอ วิดีโอมีคุณสมบัติที่สําคัญ 3 อยางไดแก Image , Audio , Video 1.Image ประกอบดวยสวนสําคัญ 2 อยางคือ 1.Width คือความกวางของภาพวิดีโอ (pixels) 2.Height คือความสูงของภาพวิดีโอ (pixels) 2.Audio ประกอบดวยสวนสําคัญ 3 อยาง คือ 1.Duration คือ ชวงเวลาของเสียง (00.00.00) 2.Bit Rate คือ อัตราการบีบอัดขอมูลเสียง (มีหนวยเปน kbps) 3.Audio Format คือรูปแบบการเขารหัสไฟลเสียง ( เชน .mp3 , .wma , wav)


19

3.Video ประกอบดวยสวนสําคัญ 4 อยาง คือ 1.Frame Rate คือ ความเร็วในการแสดงผลภาพเคลื่อนไหว โดยมีหนวยเปนเฟรม ตอวินาที 2.Data rate คือ การบีบอัดขอมูลเสียงและภาพวิดีโอ โดยมีตัว เลขบอกเปนกิโลบิต ตอวินาที (Kpbs) หากผูใชงานกําหนดคานี้สูง จะทําใหคุณภาพของ เสียงและภาพมีความ คมชัดยิ่งขึ้น แตขนาด ไฟลก็จะมีขนาดใหญขึ้นดวย 3.Video Sample Size การแสดงผลความละเอียดตอพิกเซล โดยมีหนวยเปนบิต (bit) 4.Video compression เป น เทคโนโลยี ก ารเข า รหั ส ข อ มู ล ซึ่ ง มี ผ ลโดยตรงต อ คุณภาพของวิดีโอ และเปนตัวกําหนดวาวิดีโอนั้นจะใชฟอรแมตใด

ภาพที่ 9 Frame rate ความรูเบื้องตนในการจัดการและตัดตอวีดีโอ คือการทําความรูจ ักกับวีดีโอใน รูปแบบตางๆ เพื่องายตอการตั้งคากลอง เพื่อไดไฟลวีดีโอตามที่เราตองการได ไปจนถึงการ จัดการไฟลที่ไดมาไปตัดตอในโปรแกรมตัดตอในชวง Post-Production ที่มา : www.uniserv.buu.ac.th/km//wp-content/uploads/video


20

2.3 ประเภทของวีดโี อ ปจจุบันสื่อวีดีโอเปนที่สนใจอยางมากในวงการสื่อ และมีเอกลักษณการนําเสนอที่แตกตางกัน ออกไปอาทิเชน -

ภาพยนตร คือการนําเสนอเรื่องใดเรื่องหนึ่งผานการแสดงเพื่อใหผูชมเชื่อ Music Video คือการตีความเพลงใหออกมาเปนพล็อตเรื่อง เพื่อใชประกอบเพลง ภาพยนตรโฆษณา คือการใชการแสดงภาพยนตรในการโนมนาวเพื่อการโฆษณาสินคา สารคดี คือการถายทอดเรื่องจริงบางอยางของเหตุการณท่ีเกิดขึ้นแลวรอยเรียงใหเปน เรื่องราว - ขาว คือการรายงานขอเท็จจริงของเหตุการณที่เกิดขึ้นผานสื่อวีดีโอ โดยไมเนนความ สวยงาม - Animation คือ กระบวนการที่เฟรมแตละเฟรมของภาพยนตร ถูกผลิตขึ้นตางหากจาก กันทีละเฟรม แลวนํามารอยเรียงเขาดวยกัน โดยการฉายตอเนื่องกัน ไมวาจากวิธีการ ใช คอมพิวเตอรกราฟก ถายภาพรูปวาด หรือ หรือรูปถายแตละขณะของหุนจําลองที่คอย ๆ ขยับเมื่อนําภาพดังกลาวมาฉาย ดวยความเร็ว ตั้งแต 16 เฟรมตอวินาที ขึ้นไป เราจะเห็น เหมือนวาภาพดังกลาวเคลื่อนไหวไดตอเนื่องกัน - วีดีโอพรีเซน คือการสื่อสารเพื่อเสนอขอมูลไปสูผูรับสารผานสื่อวีดีโอ ที่มา : itguest.blogspot.com/2014/01/blog-post.html

ภาพที่ 10 หองสตูดีโอ ที่มา : http://f.ptcdn.info/447/015/000/1391920069-a000-o.jpg


21

วีดีโอในแตละประเภทก็มีหนาทีในการสื่อสารกับคนดูแตกตางออกไป รวมไปถึงการ ออกแบบการถายทําก็แตกตางดวยเชนกัน โดยประเภทของวีดีโอที่เราเลือกคือวีดีโอพรีเซน แตเปนการใชเทคนิคการเลาที่นาสนใจกวาวีดีโอพรีเซนปกติ โดยเนนการใชวีดีโอในการดึง อารมณของคนดูได เรียกวา วีดีโออารต

2.4 วีดีโออารต รณรงค บุตรทองแกว Editor บริษัท JAMESDEAN ไดใหสัมภาษณถึงวีดีโออารตวา วีดีโอ อารตคือศิลปะการเลาเรื่องดวยภาพเคลื่อนไหว ที่ใชเทคนิคการทําแบบใหมที่เพิ่มความนาสนใจของ เนื้อหาที่นําเสนอมากขึ้นกวาวีดีโอทั่วไป โดยใชเทคนิคพิเศษในการถายทํา เชน Hyper Laps (การ เคลื่อนกลองในขณะที่ถาย Time laps), Hyper Zoom (การถายสองขนาดภาพที่แตกตางกันแลวมา ตอกัน) และการตัดสลับภาพ (Transition) ในรูปแบบใหม เชน Motion Pan (การ Pan กลองอยาง รวดเร็วเพื่อใหเกิด Motion Blur ในการตัดสลับ), Layer Mask (การตัดภาพพรอมกับ Foreground ที่ผานหนา Frame) เปนตน ในปจจุบันวีดีโออารตในตางประเทศ ไดรับความนิยมเปนอยางมากในการนําเสนอวิถีชีวิตใน ชุมชน ความสวยงามของสถานที่ ความอรอยของอาหาร ฯลฯ เนื่องจากการเลาเรื่องที่เปนเอกลักษณ ของวีดีโออารตสามารถสรางอารมณรวมใหกับผูชมไดเสมือนไปสัมผัสดวยตัวเอง

ภาพที่ 11 วีดีโออารต ที่มา : Watchtower of Turkey on Vimeo


22

2.5 ขั้นตอนการผลิตวีดีโอ 2.5.1 ขั้นตอนกอนผลิต Pre-Production นับเปนขั้นตอนที่มีความสาคัญเปนอยางยิ่งกอนเริ่มทําการผลิตภาพยนตร ไดแกการเตรียม ขอมูล การกําหนดหรือเคาโครงเรื่อง การประสานงาน กองถายกับสถานที่ถายทํา ประชุมวางแผนการ ผลิต การเขียนสคริปต การจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณการถายทํา อุปกรณการบันทึกเสียง หองบันทึกเสียง หองตัดตอ อุปกรณประกอบฉาก อุปกรณแสง การเตรียม ทีมงาน ทุกฝาย การเดิน ทาง อาหาร ที่พัก ฯลฯ หากจัดเตรียมรายละเอียดในขั้นตอนนี้ไดดี ก็จะสงผลใหขั้นตอนการผลิตทาไดงายและรวดเร็ว ยิ่ ง ขึ้ น ดั ง นั้ น Pre Production เป น ขั้ น ตอนที่ ผู อํ า นวยการสร า งหรื อ นายทุ น หนั ง ส ว นใหญ ใ ห ความสําคัญเปน อันดับหนึ่ง เนื่องจากเปนขั้นตอนที่มีสวนอยางมากที่จะชี้เปนชี้ตายไดวาหนังจะ ออกมาดีหรือไมชวง พรี-โพร จะเปนชวงที่หนังเริ่มกอเคาเปนรูปเปนรางจากเรื่องที่ไดรับการอนุมัติ สรางจากนายทุน 2.5.2 ขั้นตอนการผลิต (Production) เปนขั้นตอนการดําเนินการถายทําภาพยนตร(ออกกอง)ทีมงานผูผลิตไดแก ผูกํากับภาพยนตร ชางภาพ ชางไฟ ชางเทคนิคเสียง ชางศิลป ผูแตงหนาทําผม ผูฝกซอมนักแสดง รวมทั้งการบันทึกเสียง ตามที่กําหนดไวในสคริปต ขั้นตอนนี้อาจมีการถายทําแกไขหลายครั้งจนเปนที่พอใจ (take) นอกจากนี้ อาจจําเปนตองเก็ บภาพ/เสีย งบรรยากาศทั่วไป ภาพเฉพาะมุมเพิ่มเติ ม เพื่อใชใ นการขยายความ (insert) เพื่อใหผูชมไดเห็นและเขาใจรายละเอียดมากยิ่งขึ้น 2.5.3 ขั้นตอนหลังการผลิต (Post Production) เปนขั้นตอนการตัดตอเรียบเรียงภาพและเสียงเขาไวดวยกันตามสคริปตหรือเนื้อหาของเรื่อง ขั้นตอนนี้จะมีการใสกราฟกและเทคนิคพิเศษภาพ การเชื่อมตอ ภาพ/ฉาก อาจมีการบันทึกเสียงใน หองบันทึกเสียง เพิ่มเติม อีกก็ได อาจมีการนําดนตรีมาประกอบ เรื่องราวเพื่อเพิ่มอรรธรสในการ รับชมยิ่งขึ้น ขั้นตอนนี้สวนใหญจะดําเนินการอยูในหองตัดตอ มีเฉพาะ คนตัดตอ (Editor) ผูกํากับ ภาพยนตรและชางเทคนิคที่เกี่ยวของเทานั้น ที่มา : http://princezip.blogspot.com/ การทํางาน Production ทั้ง3ขั้นตอน ถือวาเปนขั้นตอนพื้นฐานและเปนความรูสําคัญในการ มองภาพรวมของงานผานทั้ง3กระบวนการนี้ ขั้นตอนการทํางานอยางเปนระบบจึงเปนสิ่งสําคัญ


23

2.6 สัญญะศาสตร

ภาพที่ 12 สัญญะศาสตร ที่มา : http://www.manujarvinen.com/~eternal/ images/blogs/blender_aid/asset_library/misc/ref/film/film_04_446.jpg การศึกษาเรื่องสัญญะและระบบความหมาย มีจุดเริ่มตนมาจากนักวิชาการคนสําคัญ2 คน คือ Ferdinand DeSaussure นักภาษาศาสตรโครงสรางชาวสวิส และ Charles SandersPeirce นักปรัชญาชาวอเมริกัน ซึ่งทั้งสองไดชื่อวาเปนผูบุกเบิกศาสตรใหมที่เรียกวา สัญวิทยา หรือสัญศาสตร (semiology or semiotics) ทั้ง Saussure และ Peirce เสนอวาหนวยที่เล็กที่สุดของภาษาหรือการสื่อสารก็คือ“สัญญะ” (signs) โดย Saussure เสนอวา สัญญะหนึ่ง ๆ นั้น ประกอบดวย 2 สวนคือ“รูปสัญญะ”(signifier หรือ sound image) ซึ่ง หมายถึง สิ่ง ที่แทนสิ่งใดสิ่งหนึ่งและ“ความหมายสัญญะ” (signified หรือ concept) คือความคิดที่หมายถึงสิ่งนั้นๆ ทั้งนี้ความสัมพันธระหวางรูปสัญญะและความหมายสัญญะ นั้นเปนความหมายที่คนกําหนดขึ้น(arbitrary) เชน 1.เนื่องจากคําวา semiotics และ semiology มี ความหมายที่ใกลเคียงกันมาก โดยคําวา semiology เปนคําที่ Ferdinand De Saussure


24

นักภาษาศาสตร ชาวสวิส บัญญัติขึ้นสวนคําวา semiotics เปนคําของ Charles Sanders Peirce นักคิดและนักปรัชญาชาวอเมริกันที่เปนผูบุกเบิกแนวคิดเรื่อง สัญญะและใหความหมายไวคลายๆกัน ดังนั้น จึงนักวิชาการจึงมักใชทั้ง สองคํานี้สลับกันใน ความหมายเดี ย วกั น ได อย า งไรก็ ต ามในการศึก ษาครั้ง นี้ จ ะใช คํา ว าsemiotics หรื อ สั ญ วิ ท ยาใน ภาษาไทย ตลอดทั้งเลม 78 คําวา “มา” ประกอบดวย “รูปสัญญะ” หรือ signifier คือตัวอักษร สระ และวรรณยุกต ที่ประกอบเขาดวยกัน ตามกฎโครงสรางชุดหนึ่ง และ “ความหมายสัญญะ” ก็หมายถึง ความคิดที่ สื่อถึง“สิ่งมีชีวิตประเภทสัตวสี่ขาชนิดหนึ่งที่วิ่งเร็วและแข็งแรง” จะเห็นวารูปสัญญะของ คําวา “มา”ที่ประกอบดวยอักษร “ม” สระ “_า” และวรรณยุกต “โท” ในภาษาไทยนั้นๆ เกิดจาก รหัสหรือกฎเกณฑทางภาษาที่มนุษยสรางขึ้น และมิไดมีความเหมือนหรือรูปรางลักษณะที่เหมือนหรือ คลายคลึงกับ สัตวสี่ขาชนิดหนึ่งที่วิ่งเร็วที่เราเรียกวา “มา” แตอยางใดสวน Peirce นั้น มีแนวคิดใกล เคียงกันกับ Saussure โดยอธิบายความหมายของ“สัญญะ” วาคือ สิ่งที่มีความหมายบางอยางสําหรับ คนๆ หนึ่ ง ในลั ก ษณะใดลั ก ษณะหนึ่ ง (sign is something which stands to somebody for something in some respect or capacity) (Berger, 1991, p. 4) ดั ง นั้ น ในทั ศ นะของ Peirce ทุกสิ่งทุกอยางจึงเปน “สัญญะ” ตราบใดที่มี การใหความหมายกับสิ่งนั้น สัญญะจึงมีอยูมากมายหลาย ลักษณะ เชน สัญญะประเภทขอความ หรือคําพูด (words) ภาพ (images) กลิ่น รสชาติ การกระทํา หรือ วัตถุ อยางไรก็ตาม Peirce แบงสัญญะออกเป น 3 ลักษณะคือ รูปสัญญะที่เปนภาพจํา ลอง (icon) หมายถึ ง รู ป สั ญ ญะที่ มี รู ป ร า งหน า ตาคล า ยหรื อ เหมื อ นกั บ วั ต ถุ ที่ มี จ ริ ง อย า งมากที่ สุ ด (resemblance) เชน ภาพของบุคคล รูปปนของบุคคล เมื่อ เห็นก็ “ถอดรหัส” หรือเขาใจความหมาย ไดทันที เชนภาพถายของผูสมัครตําแหนงทางการเมือง หรือแผนที่ ก็ถือเปนสัญญะประเภทภาพ จําลองเชนกัน รูปสัญญะที่เปนดัชนี (index) หมายถึง สิ่งที่มีความเกี่ยวโยงกันโดยตรงหรือมีความ เชื่อมโยงกันอยูบางกับวัตถุที่มีอยูจริง เชนควันไฟเปนรูปสัญญะแบบดัชนี ของการจุดไฟเทอรโมมิเตอร เปนรูปสัญญะที่เปนดัชนีของการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ เมื่อเราเห็นก็พอที่จะมองความหมายออก การถอดรหัสดัชนี จึง ใชการคิด หาเหตุผลเชื่ อ มโยงความสัม พัน ธเ ชิง เหตุผลระหวางดัชนี กับวัตถุ ตัวอยางเชน ภาพของหอไอเฟล เปนดัชนีที่เชื่อมโยงกับเมืองปารีส หรือประเทศฝรั่งเศสรูปสัญญะ ที่เปนสัญลักษณ (symbols) หมายถึงสัญญะที่ไมมีความเกี่ยวพันอันใดระหวางตัวสัญญะกับวัตถุที่ มีอยูจริง หากแตเปนความเกี่ยวพันที่เกิดขึ้นจากการตกลงรวมกัน(convention) ระหวางผูใชเชน ใน คําในภาษา หรือตัวเลข เปนสิ่งที่ไมไดมีรูปรางหนาตาคลายสิ่งที่มีอยูจริงดังในกรณีของสัญญะที่ เป นภาพจําลอง หรื อ มี ค วามเกี่ ยวโยงสัม พันธใดๆ กั บวั ต ถุ ห รือ สิ่ง ที่ มี อ ยู  จริง ดังในกรณีของดัชนี


25

แต การที่จะเขาใจหรือถอดรหัสความหมายของรูปสัญญะประเภทสัญลักษณได จําเปนตองอาศัยการ เรียนรูของผูใชสัญญะประเภทนี้เทานั้น (กาญจนา แกวเทพ, 9 2543, น. 21) ตัวอยางเชน ดาวเดวิด หมายถึงชนชาติยิว หรือเครื่องหมายสวัสดิกะ หมายถึงพรรคนาซี หรือพวกสัญลักษณปายจราจรตางๆ ก็เปนรูปสัญญะประเภทนี้ดวยเชนกันอยางไรก็ตาม ในการศึกษาครั้งนี้ จะใชแนวคิดทฤษฎีสัญญะของ Saussureเปนหลักเนื่องจากเปนรากฐานของแนวคิดเรื่องมายาคติของ Barthes ซึ่งเปนอีกแนวคิด หนึ่งที่การวิจัยนี้ใชเปนกรอบในการวิเคราะหในตัวบทประเภทโฆษณาทั้งโฆษณาทางสื่อโทรทัศน ภาพยนตรและสิ่งพิมพนั้น ประกอบไปดวยองคประกอบทางดานภาพ คําพูด ขอความ และเสียงเปนจํานวนมาก ดังนั้น ในการวิเคราะหความหมายตัวบทประเภทนี้ จึงเกี่ยวของกับสัญญะ 2 ประเภทใหญๆ คือ ก. สัญญะประเภทภาษาหรือคําพูด (linguistic signs) ไดแก ประโยคหรือขอความ คําพูด ทั้งที่เปนการเขียน และที่เปนเสียงพูด รวมทั้งเสียงเพลงหรือดนตรี ในตัวบทประเภท โฆษณา ตัวอยางของสัญญะประเภทภาษาไดแก พาดหัว สโลแกน คําขวัญ ขอความทาย (endline) เพลงประกอบ ข. สั ญ ญะประเภทภาพ (visual signs) หมายถึ ง สั ญ ญะที่ มิ ใ ช เ ป น ภาษา (nonlinguistic) ไดแกภาพถาย ภาพวาด การจัดองคประกอบของภาพ การใชสี แสง ที่มา : http://digi.library.tu.ac.th/thesis/jc/1580/09CHAPTER_2.pdf

การใหความหมายสิ่งหนึ่งเพื่ออีกสิ่งหนึ่ง แบงเปนสองประเภท ประกอบดวย สัญญะประเภท ภาษาหรือคําพูดและ สัญญะประเภทภาพ ความรูสัญญะศาสตรจะชวยใหงานที่ออกมาดูมีพลัง และ นาสนใจมากขึ้นดังนั้นกอนการถายทําจริงจําปนตองมีการกําหนดอารมณของงานเพื่อทําใหภาพที่ ออกมาตรงกับความหมายที่เราตองการจะสื่อ


26

2.7 การกําหนดอารมณของงาน (Moodboard) 2.7.1. What is a mood board? มูดบอรด (Mood Board) เปนกระดานที่ใชบรรยาย บรรยากาศหรืออารมณ (ถาเปนสิ่งของ เราใชคําวา บรรยากาศ แตกับมนุษยเราใชคําวา อารมณ)พอไดขอมูลที่เราตองการจากลูกคาครบแลว เราก็คิด concept ของงาน แลวก็ไปหาขอมูล หาแหลงอางอิงวาจะเปนแนวไหนเมื่อตกลง concept ไดแลวเราก็ทํา mood board หรือ concept board เพื่อกําหนดอารมณคราวๆของงาน

ภาพที่ 13 Mood Board ที่มา : http://etcserv.pnru.ac.th/pcc/silpagum/knowledge01.html มูดบอรดมีบทบาทในการสื่อสารอยางสําคัญ เพราะเปนสิ่งที่ใชบอกทีมงานถึงเปาหมาย ใน การทําสไตลที่ตองมีอยูรวมกัน แตถาเปนนามธรรมจนถึงขนาดที่คลุมเครือแลว ก็ไมอาจสื่อสารอะไรได และในทายที่สุดเปนมูดบอรที่ลมเหลว และ Mood board แตละชนิดของการออกแบบ ก็ทําแตกตาง กันเนนกันคนละเรื่อง


27

2.7.2. Organize Your Ideas จัดการกับไอเดีย หรือคอนเซ็ปที่คิดไว โดยเริ่มใหนึกถึงการสื่อสารอารมณ หรือความรูสึก (งานทุกชิ้นตองมีความรูสึกเกิดขึ้น ไมมีงานไหนไรความรูสึก) เชน ความสดชื่น ความสบาย แจมใส หรือรูสึกเครงขรึม จากนั้นก็หา หรือเชื่อมโยง feeling ภาพ บรรยากาศ สิ่งที่ทําใหเกิดความรูสึก หรือ สิ่งที่สัมพันธกัน ตัวอยางที่แสดงขางลางนี้ เปนการรวบรวมวาหากออกแบบงานใหเกิดความรูสึกถึง ความเปนญี่ปุนตองคิดถึงสิ่งใดบาง

ภาพที่ 14 สัณลักษณ ที่มา : http://etcserv.pnru.ac.th/pcc/silpagum/knowledge01.html


28

คนหาภาพเพื่อสื่อความหมาย เนนการถายทอดอารมณและความรูสึกให ลูกคาดูแลวเกิด ความเขาใจรวมกัน โดยหาภาพที่ดแี ละชัดเจน ภาพที่ดีคือภาพที่สื่อความหมายได และควรเปนภาพที่ ควรตีความไดตามความรูสึก เชนตัวอยางดานลาง

ภาพที่ 15 Mood & tone ที่มา : http://etcserv.pnru.ac.th/pcc/silpagum/knowledge01.html


29

2.7.4. Layout สไตลบอรด และการจัดวาง สามารถคิดในทิศทางที่เหมาะสมกับลักษณะงาน แตใหเนน องคประกอบการเลาเรื่องใหไดวาทําอะไร เพื่อใหลูกคาเขาใจ หรือนักออกแบบwfhเกิดแรงบันดาลใจ ใหมๆ จากรูปแบบของสี ของพื้นผิว รูปราง รูปทรงที่นํามาจัดเรียงกัน

ภาพที่ 16 Layout ที่มา : http://etcserv.pnru.ac.th/pcc/silpagum/knowledge01.html 2..7.5. Color สี มี บ ท บ า ท สํ า คั ญ ใ น ก า ร สื่ อ อารมณ ใน Mood Borad ควรกําหนดให ชัดเจน กําหนดจานสีที่แนนอน ผานภาพที่ ใชโดยเลื่อภาพที่มีสีที่เหมาะสม หรือจะยัง สามารถใช จ านสี (swatches)มาเป น ตัวแทนสีก็ได

ภาพที่ 17 สี ที่มา : http://etcserv.pnru.ac.th/pcc/silpagum/knowledge01.html


30

2.7.6. Typography ตัวอักษรถือเปนองคประกอบหนึ่งในการสงเสริมอารมณ และตัวอักษรแตละตัวมีบุคลิกที่ สื่อสารมาอยางชัดเจน เพียงแตตองเลือกสิ่งที่เหมาะสม

ภาพที่ 18 Typography ที่มา : http://etcserv.pnru.ac.th/pcc/silpagum.jpg การกําหนด Mood & Tone ของงานใสลงกระดานไอเดีย เรียกวา Moodboard ซึ่งถาเรามี คอนเซ็ปและทิศทางงานที่ชัดเจนทําใหการถายทํางาย ไปจนถึงกระบวนการตัดตอ โดยไมตองกังวลวา งานที่ออกมาจะหลุดจากรูปแบบที่เราวางใหตั้งแตแรก นอกจากการวางแผนการทํางานที่ดี ขนาดภาพ และมุมกลองก็มีความสําคัญดวยไมนอย ที่มา : http://etcserv.pnru.ac.th/pcc/silpagum/knowledge01.html


31

2.8 ขนาดภาพและมุมกลอง 2.8.1 ขนาดภาพ ขนาดภาพจั ด ว า เป น สิ่ ง ที่ สํ า คั ญ มากอย า งหนึ่ ง ในการถ า ยภาพยนตร เ พราะภาพสามารถ ถายทอดความรูสึก ของนักแสดง บอกเลาเรื่องราวตางๆใหกับผูชมไดเขาใจถึงเนื้อหาของภาพยนตร ขนาดภาพจึ ง เป น ตั ว กํ าหนดสิ่ ง ที่ ตอ ง การนํ า เสนอ ว า ต อ งการให ผู ช มเห็ นรื อ ไมเห็ นสิ่ ง ใดในฉาก องคประกอบตางๆเหลานี้เกิด ขึ้นจากผูสรางภาพยนตรที่จะ เลือกตั้งกลองในมุมใด ระยะหางจากสิ่งที่ ถาย เทาใด และใชภาพขนาดใดเปนตัวบอกเลาเรื่อง ขนาดภาพจึงเปนสิ่งที่ จําเปนมากที่จะตองเรียนรู พอๆ กับเรื่องอื่น ในการสรางภาพยนตรขนาดภาพนั้นไมมีกฏเกณฑที่ตายตัว หลักๆแลวมัก ใชดังนี 2.8.1.1 ขนาดภาพไกลมากหรือระยะไกลสุด (Extreme long shot/ ELS) ไดแก ภาพที่ถายภายนอกสถานที่โลงแจง มักเนนพื้นที่หรือ บริเวณที่กวางใหญไพศาล เมื่อ เปรียบเทียบกับ สัดสวนของมนุษยที่มีขนาดเล็ก ภาพELSสวนใหญใชสําหรับเปดฉากเพื่อบอกเวลา และ สถานที่อาจเรียกวา Establishing shot ก็ไดเปนช็อตที่แสดงความยิ่งใหญของฉากหลัง หรือ แสดง แสนยานุ ภ าพของตั ว ละครในหนั ง ประเภทสงครามหรื อ หนั ง ประวั ติ ศ าสตร ส ว นช็ อ ตที่ใช ตามหลังมักเปน ภาพระยะไกล (LS) แตในภาพยนตรหลายเรื่อง ใชภาพระยะใกล (CU) เปดฉากกอน เพื่อเปนการเนนเรียก จุดสนใจหรือบีบอารมณคนดูใหสูงขึ้นอยางทันทีทันใด 2.8.1.2 ภาพระยะใกล (Long shot/ LS) ภาพระยะใกลเปนภาพที่คอนขางสับสนเพราะมีขนาดที่ไมแนนอน บางครั้งเรียกภาพกวาง (Wide Shot) เปนระยะตอจากระยะไกลมาก (ELS) ถึงภาพระยะใกล (LS) ซึ่งเปนภาพขนาดกวางแต เห็นรายละเอียดของฉากหลัง และผูแสดงมากกวาขึ้นเมื่อเทียบกับภาพไกลมาก ภาพระยะไกล (LS) มีขนาดภาพและตัวละครเทากับ คือสามารถเห็นแอ็คชั่นหรือกริยาของ นักแสดงไดอยาง ชัดเจน เชน หนังของชารลีแชปปลิน(Charlie chaplin) ใชภาพขนาดนี้กับ ภาพปาน กลาง(MS)อารมณตลกจนประสบความาสําเร็จ


32

2.8.1.3 ภาพระยะไกลปานกลาง (Medium long shot/ MLS) เปนภาพที่เห็นรายละเอียดของผู แสดงมากขึ้นตั้ง แตศรีษ ะจนถึ งขา หรือหัวเขาซึ่อบางครั้ ง ก็เรียกวา Knee Shot เปนภาพที่เห็นตัว ผู แสดงเคลื่ อนไหวสั มพันธกั บฉากหลัง หรือเห็นอุ ปกรณ ประกอบ ฉากในฉากนั้น 2.8.1.4 ภาพระยะปานกลาง (Medium shot/ MS) ภาพระยะปานกลางเปนขนาดที่มีความหลากหลายเเละมีช่ือเรียกไดหลายชื่อ แตโดนปกติจะมี ขนาดประ มาณตั้งแตหนึ่งในสี่ถึงสามในสี่ของรางกาย บางครั้งเรียกวา Mid shot หรือ Waist shot ก็ ไดเปนขนาดภาพที่ใชมาก ที่สุดในภาพยนตร ภาพระยะปานกลางนิยมใชในฉากสนทนาและเห็ นแอ็คชั่นของผูแสดง นิยมใชเชื่อมเพื่ อ รักษาความตอเนื่อง ของภาพฉากระยะไกล (LS) กับภาพระยะใกล (CU) 2.8.1.5 ภาพระยะใกล ปานกลาง (Medium close-up/ MCU) เป น ภาพแคบครอบคลุม บริเวณตั้งแตศรีษะไปถึง ไหลของผูแสดง ใชสําหรับในฉากที่มีบทสนทนาเพราะสามารถเห็นอารมณ และความรูสึกของใบหนา นักแสดงจะเดนที่ สุดในเฟรม 2.8.1.6 ภาพระยะใกล (Close-up shot/ CU) เปนภาพที่เห็นศรีษะและใบหนาของผูแสดง มีรายละเอียดที่ชัดเจนขึ้น เชน ริ้วรอย บน ใบหนา าตา น สวนใหญเนนความรูสึกของผูแสดงที่สายตา และแววตา เปนภาพที่นิ่ง มากกวาเปนภาพ ที่มีบทสนทนา โดยใชกลองแทนสายตาคนดูเขาไปหาตัวละครอยาใกลชิด สายตาเปนสวนสําคัญของ ภาพขนาดนี้จึงเปนภาพที่บอกทิศทางการ เคลื่อนไหวที่มักจัดองคประกอบภาพใหอยูดานใดดานหนึ่ง ของ เฟรมเพื่อใหเกิดจังหวะการ เปลี่ยนช็อต 2.8.1.7 ภาพระยะใกล (Extreme close-up shot/ ECU หรือ XCU) เปนภาพที่เนนสวนในสวนหนึ่งของรางกาย เชน ตา ปาก เทา มือ เปนตน ภาพจะถูกขยาย ใหญบนจอเห็น รายละเอียดมาก เปนการเพิ่มการเลาเรื่องในหนังใหไดอารมณมากขึ้น เชน ช็อตของ หญิงสาวเดินทางกลับบานคน เดียวในยามวิกาลบนถนน เราอาจจะใชภาพ ECU ดานหลังที่หูของเธอ เพื่อเปนการบอกวาเธอไดยินเสียงฝเทาที่เดิน ตามเธอมาอยางแผวเบา จากนั้นอาจจะใชภาพระยะนี้ แทนที่สายตาเธอเพื่อแสดงความหวาดกลัว


33

2.8.2 มุมกลอง (Camera angles) ในภาพยนตรโดยทั่วไปการตั้งกลองมิไดวางไวแคเฉพาะตรงดานหนาของนักแสดงเทานั้น แต จะทํามุมกับนัก แสดงหรือวัตถุตลอดทั้งเรื่อง ยิ่งกลองทํามุมกับผูแสดงมากเทาไหรยิ่งสะดุดความ สนใจมากขึ้นเทานั้น และการใชมุม กลองตองใหสอดคลองกับการเลาเรื่องดวย เหตุผลในการเปลี่ยนมุมมองของกลองใหหลากหลาย เพื่อใชติดตามผูแสดง เปดเผย/ปดบัง เนื้อเรื่อง หีอตัว ละคร เปลี่ยนมุมมอง บอกสถานที่ เนนอารมณและอื่นๆอีกมากมาย ที่ตองการ สื่อ ความหมายบางอยางในฉากของ ผูกํากับ มุมกลองเกอดขึ้นจากการวางตําแหนงคนดูทําใหทํามุมกับตัวละคร หรือวัตถุทําใหมองตัว ละครในองศาที่แตก ตางกัน จึงแบงมุมกลองไดดังนี้ 2.8.2.1 มุมสายตานก (Bird’s-eye view) มุมชนิดนี้มักเรียกทับศัพทจะทําใหเขาใจมากกวา เรียกวามุมดานบนหรือเหนือศรีษะ ทํามุม ตั้งฉากเปนแนว ดิ่ง 90 องศากับผูแสดง เปนมุมมองที่เราไมคุนเคยทําชีวิตประจําวันจึงเปนมุมที่แปลก แทนสายตานกที่อ ยูบนทองฟา มุมกลองที่คลายกับมุม Bird’s-eye view คือ Aerial shot ซึ่งถายมา จากเฮลิคอปเตอรหรือ เครื่องบินบางก็เรียกวา Helicopter shot หรือ Airplane shot เปนภาพที่ ลาน ถายมาจากดานบนทั้งสิ้น 2.8.2.2 มุมสูง (High-angle shot) เป น มุ ม ที่ ก ล อ งอยู ด า นบนหรือ วางไว บนเครน (Crane) ถ า ยกดมาที่ ผูแสดง แต ไ ม ตั้ งฉาก เทากับมุม Bird’s-eye view มุมสูงที่มีองศาประมาณ 45 องศา เปนมุมมองที่เห็นผูแสดงหรือวัตถุอยู ตํากวา ใชแสดง แทนสายตามองไปยังพื้นเบื้องลาง ถาใชกับตัวละครจะมีความรูสึกาต ต อย ไรศักดิ์ศรี ไมมีความสําคัญ หรือ เพื่อใหเห็นลักษณะภูมิประเทศหรือความกวางใหญไพศาลของภูมิทัศนเมื่อใชกับ ภาพระยะไกล (LS)


34

2.8.2.3 มุมระดับสายตา (Eye-level shot) เปนมุมที่มีความหมายตามชื่อคือใชแทนสายตาซึ่งทําใหคนดูมีสวนรวมในภาพดวย ระดับ กลอง ระดับตัว ละคร และระดับสายตา เปนระดับเดียวกัน ถึงแมวามุมระดับสายตาเปนมุมที่เราใช มองในชีวิตประจําวัน แตก็ถือ วาเปนมุมที่สูงกวาหนาอกเล็กนอย 2.8.2.4 มุมตํา (Low-angle shot) คือมุมที่ตํากวาระดับสายตาของตัวละครประมาณ 70 องศา ทําใหเกิดความลึกของวัตถุ หรือ ตัวละคร มี ลักษณะเปนสามเหลี่ยมรูปทรงเรขาคณิต ใหความมั่นคง นาเกรงขาม ทรงพลังอํานาจ ความเปนวีรบุรุษ และ บงบอกถึงความโออา มั่งคั่งของสถานที่แหงนั้น 2.8.2.5 มุมสายตาหนอน (Worm’s-eye view) เปนมุมที่ตรงกันขามกับมุมสายตานก (Bird’s-eye view) กลองเงยตั้งฉาก 90 องศากับตัว ละคร หรือวัตถุ บอกตําแหนงของคนดูอยูตําสุดมองเห็นพื้นหลังเปนเพดาน หลังคา หรือทองฟา เปน มุมแปลกนอก เหนือจากชีวิตประจําวันอีกมุมหนึ่ง 2.8.2.6 มุมเอียง (Oblique angle shot) เปนมุมที่มีเสนระนาบ (Horizontal line) ของเฟรมไมอยูในระดับสมดุล เอียงไปดานใด ดาน หนึ่งเขาหาเสน ตั้งฉาก(Verticalline) ความหมายของมุมนี้คือ ความไมสมดุลลาดเอียงของพื้นที่ บาง สิ่งบางอยางที่อยูใน สภาพไมดีเชน ในฉากชุลมุลโกลาหล แผนดินไหว ถาใชแทนสายตาของตัว ละคร หมยถึงคนเมาเหลา หกลม สับสน ใหคามรูสึกที่ตึงเครียด 2.8.2.7 มุมเฝามอง (Objective camera angle) คือมุมแอบมองหรือเฝามองตัวละคร แอ็คชั่นแหละเหตุการณที่กําลังเกิดขึ้นในหนัง เปนมุม เดียวกันกับ กลองแตมองไมเห็นคนดูซึ่งคนดูจะอยูหลังกลองโดยผานสายตาของตากลอง หรือบางที เปนการถายโดยคน แสดงไมรูตัว เรียกวาการแอบถาย (Candid camera) 2.8.2.8 มุมแทนสายตา (Subjective camera angle) เปนมุมมองสวนตัวหรือเรียกวา มุมแทนสายตาซึ่งเปนการนําพาคนดูเขามามีสวนรวมใน ภาพดวย เชน นัก แสดงมองมาที่กลองซึ่งจะใหความรูสึกเหมือนมองมาที่คนดูหรือพูดกับ กลอง เชน การอานขาว พีธีกรรายการตางๆ เปนตลักษณะของมุมกลองชนิดนี้


35

เปนความสัมพันธกันระหวาง สายตาตอสายตา (Eye-to-eye relationship) แทนสายตาตัว ละคร เปนการเปลี่ยนสายตาขอคนดูจากการเฝามองมาเปนแทน สายตาในทันทีซึ่งคนดูก็ได เห็นรว มกันกับตัวละคร เชน ตัวละครมองไปที่หนาตาง จากนั้นภาพก็ตัดไป เปนมุมแทน สายตาตัวละครที่มองไปนอกหนาตาง 2.8.2.8 มุมมองใกลชิด (Point-of-view camera angle) มุ ม มองใกล ชิ ด นี้ เรี ย กง า ยๆว า มุ ม พี โ อวี (POV) เป นมุ ม กึ่ ง ระหว า งมุ ม Objective กั บมุ ม Subjective สวนใหญขนาดภาพที่ใชมักเปนภาพระยะใกลกับระยะปานกลาง เพื่อใหสามารถ มองเห็น ภาพการแสดงออก ของใบหนาตัวละครไดอยางชัดเจน มุมนี้มักจะใชช็อตผานไหล หรื อ Over-the- shoulder การใช มุ ม กล อ ง ควรคํ า นึ ง ถึ ง พื้ น ที่ ว า ง(Space) และมุ ม มอง (Viewpoint) ซึ่งตองสัมพันธกันทั้งขนาดภาพ มุมมอง และความ สูงของกลอง ที่มา : http://www.oknation.net/blog/i-film/2007/07/03/entry-1 ในแต ล ะขนาดภาพจะทํ า หน า ที่ อ ธิ บ ายความหมาย, อารมณ และบรรยากาศที่ ต า งกั น การเลือกใชขนาดภาพและมุมกลองที่ตางกัน มีผลตออารมณของคนดู ดังนั้นการเลือกใชตองมีความ สอดคลองกับเนื้อหาขอมูลที่เราจะสื่อสารออกไปดวย

2.9 การจัดองคประกอบภาพ (Composition) 2.9.1 การจัดองคประกอบภาพ คือ การจัดองคประกอบภาพ หรือ Composition ขึ้นอยูกับความคิดสรางสรรคซึ่งไมสามารถ กําหนดไดอยางตายตัว หรือไมมีรูปแบบที่แนนอน การวางองคประกอบภาพไดดีกวาก็จะไดเปรียบ และ อาจไดภาพที่สวยกวา การจัดองคประกอบภาพ ในภาพจะเกิดขึ้นจากการรวมสวนประกอบ หลายๆ สวน เขาดวยกัน เชน จุด เสน รูปทรง พื้นที่วางในภาพ พื้นผิว หรือสีซึ่งในแตละสวนจะสื่อ ถึง อารมณของ ภาพดวยกันทั้งสิ้น ขึ้นอยูกับวาผูถายภาพจะสื่อถึงอะไรและจะใชองคประกอบใดบาง เขา มาอยูในภาพ


36

2.9.2 คิดกอนถาย กอนที่เราจะกดถาย ควรจะทราบกอนวาถายภาพอะไร และตองการสื่อถึงอะไร เริ่มคิดวา เราตองการสื่ออะไร อยางนอยเมื่อเรามองภาพที่ถาย ก็จะทราบวาถายเพราะอะไร เชน ถาเราเห็น ดอกไมกําลังแยมกลีบใหมๆ ถาถายภาพ ไมไดคิดอะไรก็คงจะกดถายไดภาพดอกไมมา 1 ดอกที่มี สีสรรคสวยงาม แตถาเราเริ่มคิดอีก ดอกไมนี้แสดงถึงความ สดใส หรือสิ่งดีๆใหมๆที่กําลังจะเกิดขึ้น เราก็อาจจะถาย ดอกไมพรอมหยาดนาคางที่สองแสงสะทอนใหเห็นถึงความ สดใส ซึ่งก็ถือเปนการ พัฒนาไปอีกขั้นสําหรับ การถายภาพ 2.9.3 กฎสามสวน (Rule of Third) กฎสามสวน หรือ Rule of Third คือ การจัดวางตําแหนงหลักของภาพถาย เปน องคประกอบหนึ่งที่สามา รถทําใหเกิดผลทางดานแนวความคิด และความรูสึกไดการวาง ตําแหนงที่เหมาะสม ของจุดสนใจในภาพ เปนอีกสิ่ง หนึ่งที่สําคัญ กฎสามสวนกลาวไววา ไมวาภาพจะอยูแนวตั้งหรือแนวนอน ก็ตาม หากเราแบงภาพนั้นออกเปนสามสวน ทั้งตาม แนวตั้งและแนวนอน แลวลากเสนแบงภาพทั้งสาม เสน จะเกิดจุดตัดกันทั้งหมด 4 จุด ซึ่ง จุดตัดของเสนทั้งสี่นี้ เปนตําแหนงที่เหมาะสมสําหรับการจัดวาง วัตถุที่ตองการเนนใหเปน จุ ด เด น หลั ก ส ว นรายละเอี ย ดอื่ นๆนั้ น เป นส ว นสํ า คั ญ ที่ ร องลงมา การจั ด วาง ตํ า แหนง จุดเดนหลักไมจําเปนจะตองจํากัดมากนัก อาจถือเอาบริเวณใกลเคียง ทั้ง สี่จุดนี้

ภาพที่ 19 จุดตัด9ชอง ที่มา : https://kittituch55540083.files.wordpress.com/2013/09/post-21-1221539650.jpg


37

นอกจากนี้เรายังสามารถใชแนวเสนแบง 3 เสนนี้เปนแนวในการจัดสัดสวนภาพก็ไดอยาง การ จัดวางเสนข อบฟาใหอยูในแนวเสน แบง โดยใหสวนพื้นดินและทองฟาอยูในอัตราสวน 3:1 หรือ 1:3 แตไมควรแบง 1: 1

ภาพที่ 20 จุดตัด9ชอง ที่มา : http://pigusso.com/blog/wp-content/uploads/2015/04/ex_Roleofthird4.jpg

ภาพที่ 20 จุดตัด9ชอง ที่มา:sites.google.com/site/mayoniis/_/rsrc/1324086361940/page2/page/3%20(1).jpg


38

จากตัวอยางจะเห็นไดวา อัตราสวนระหวางพืน้ ดินกับทองฟาเปน 1:3 นอกจากนี้ตําแหนงจุด สนใจยั ง อยู ที่ บ ริ เ วณจุ ด ตั ด ทํ า ให ภ าพดู ส มบู ร ณ แ ละน า สนใจยิ่ ง ขึ้ น และเรายั ง สามารถนํ า ไป ประยุกตใชในการจัดองคประกอบภาพอื่นๆ โดย ใชหลักการเดียวกัน

ภาพที่ 21 ชัดลึกและชัดตื้น ที่มา : http://photonextor.com/home/wpcontent/uploads/2012/04/aperture51.jpg 2.9.4 ชัดลึกและชัดตื้น (Depth of field) ชัดลึกและชัดตื้น หรือ Depth of Field คือระยะระหวางวัตถุภายในภาพที่ยังคงอยู ในระยะโฟกัส โดยระยะนี้จะถูก ควบคุมโดยขนาดรูรับแสงและทางยาวโฟกัสของเลนสโดย ทางยาวโฟกัส ที่มาก Depth of Field ก็จะนอย ทางยาว โฟกัสนอย Depth of Field ก็จะ มาก พูดแบบงายๆก็คือ ซูม มาก เชน ซูมที่ 200 มม. ภาพก็จะชัดตื้น และในทาง กลับกัน ซูมนอยๆ เชน ที่ 18 มม. ภาพก็จะชัดลึกนั่นเอง


39

ชัดลึก คือ ภาพทั้งภาพดูชัดไปหมด ตั้งแตฉากหนาไปจนถึงฉากหลังในภาพ เปน ภาพตองการความชัดลึกสูงก็ คือภาพวิวทิวทัศนเพราะเราตองการนําเสนอสถานที่นั้นๆใหแก ผูชมภาพ ดังนั้นเราจึงควรจะนําเสนอรายละเอียดของ วิวทิวทัศนนั้นใหไดมากที่สุด เพื่อที่ผูชมจะไดรับรูวาสถานที่ นั้นๆมีอะไรบาง วิธีการถายภาพชัดลึกก็คือ ใชขนาดรู รับ แสงแคบๆ เชน f/8 ขึ้นไป และใชระยะโฟกัส สั้นๆ เชน 18 มม.ลงมา การใชรูรับแสง แคบๆนั้นจะตองระวังเรื่องความ เร็วชัตเตอรที่จะตําลงไปดวย เพราะฉะนั้นควรใชขาตั้งกลอง ควบคูไปดวย

ภาพที่ 22 Perspective ที่มา : https://i.ytimg.com/vi/XRrKohWdpeQ/maxresdefault.jpg ชั ด ตื้ น คื อ ภาพที่ มี ส ว นชั ด และส ว นเบลอๆ ไม ไ ด ชั ด ไปหมดทั้ ง ภาพ เป นภาพที่ ตองการเนนจุดสนใจในภาพใหเดนขึ้ นมา เชน ภาพบุคคล เราไมตองการใหอะไรมาแยงซีน ไปจากนาง แบบหรือนายแบบของเรา เพราะฉะนั้น จะตองทําใหพวกเขาเดนขึ้นมา ทําไดโดย ใชรูรับแสงกวางๆ (f/8 ลงมา) และระยะโฟกัสยาวๆ (50 มม. ขึ้นไป) ภาพที่ ไดก็จะเห็น นางแบบคมชัด สวนฉากหลังนั้นเบลอไป บางทีก็มีโบเกแถมมาใหอีกตางหาก เพิ่มความสวย ไดอีกแบบ ที่มา : https://i.ytimg.com/vi/XRrKohWdpeQ/maxresdefault.jpg การเลือกใชกฎการจัดวางองคประกอบศิลปในการถายทําเปนสิ่งที่เราไมควรมองขาม เพราะ จะมี ผ ลกั บงานโดยตรง ถ า เราใช ก ารวางองค ประกอบศิ ล ป ที่ ล งตั ว งานที่ อ อกมาต อ งทํ า ให ค นดู ประทับใจแนนอน


40

บทที่ 3 ขั้นตอนการดําเนินงาน การทําโครงงานการพัฒนาวีดีโออารต เพื่อสรางมิติเชิงบวกของจังหวัด ปตตานี เปนการ นําเสนอมุมมองเชิงบวกของจังหวัดปตตานีเพื่อเปนตัวแทนของภาพลักษณของสามจังหวัด โดยใช รูปแบบการนําเสนอแบบวีดีโออารต โดยมีจุดประสงคเพื่อลบทัศนคติที่เปนลบของคนนอกพื้นที่ที่มีตอ สามจังหวัด ซึ่งกระบวนการทํางานและขั้นตอนการดําเนินงาน ดังนี้ ผังกระบวนการทํางาน คนควาขอมูล

ปรึกษาผูเชี่ยวชาญดานวีดีโอ รวบรวมและวิเคราะหขอมูล

กําหนดอารมณของแตละหัวขอ, ทํา Mood Board และวาง Timeline หยาบๆ ถายทํา เรียบเรียง, ตัดตอ, Visual Effect , Sound Mix, Color Grading, Rendering

Pre-Production Production Post-Production ใหผูเชี่ยวชาญติชมงาน พัฒนางานจากคําติชม ผาน ประเมินโครงการ

สรุปผลการประเมินโครงการ 40


41

3.1 ขั้นตอน Pre-Production นับเปนขั้นตอนที่มีความสาคัญเปนอยางยิ่งกอนเริ่มทําการผลิตภาพยนตร ไดแกการเตรียม ขอมูล การกําหนดหรือเคาโครงเรื่อง การประสานงาน กองถายกับสถานที่ถายทํา ประชุมวางแผนการ ผลิต การเขียนสคริปต การจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณการถายทํา อุปกรณการบันทึกเสียง หองบันทึกเสียง หองตัดตอ อุปกรณประกอบฉาก อุปกรณแสง การเตรียม ทีมงาน ทุกฝาย การเดิน ทาง อาหาร ที่พัก ฯลฯ หากจัดเตรียมรายละเอียดในขั้นตอนนี้ไดดี ก็จะสงผลใหขั้นตอนการผลิตทาไดงายและรวดเร็ว ยิ่งขึ้น 3.1.1 การคนควาขอมูล 3.1.1.1 ขอมูลเกี่ยวกับจังหวัดปตตานี จังหวัดปตตานีเปนจังหวัดที่มีสิ่งที่นาสนใจอยูหลายเรื่อง ที่คนนอกพื้นที่ยัง ไมเห็น ซึ่งผูจัดทําโครงงานไดแบงเปนสี่หมวดใหญๆ ประกอบดวย ดานการทองเที่ยว , ดานวิถีชีวิตและวัฒนธรรม, ดานศิลปะการแสดงและ ดานอาหารประจําถิ่น โดยแต ละอยางก็จะใหอารมณความรูสึกที่ตางกัน 3.1.1.2 ขอมูลเกี่ยวกับวีดีโออารต วีดีโออารตคือศิลปะการเลาเรื่องดวยภาพเคลื่อนไหว ที่ใชเทคนิคการทํา แบบใหมที่เพิ่มความนาสนใจของเนื้อหาที่นําเสนอมากขึ้นกวาวีดีโอทั่วไป โดยใช เทคนิคพิเศษ ในการถายทําและใช Visual Effect เขามาชวยเพื่อเพิ่มความนาสนใจ ใหกับงาน

ภาพที่ 23 วีดีโออารต ที่มา : Watchtower of Turkey on Vimeo


42

3.1.2 การสราง Mood Board 3.1.2.1 วิเคราะหอารมณ สถานที่ทองเที่ยว

วิถีชีวิตและวัฒนธรรม

การละเลนพื้นเมือง อาหารประจําถิ่น

หาดแฆแฆ = ทะเลที่สงบ หาดตะโละกาโปร = ทิวสนและตนมะพราว ศาลเจาแมลิ้มกอเหนี่ยว = ใหอารมณอารมณความขลัง วัดชางให = ใหอารมณความสงบ มัสยิดกลาง = ความสวยงามของสถาปตยกรรม ศาลหลักเมือง = ใหอารมณความสงบ มัสยิดกรือเซะ = ความเกาแก น้ําตกทรายขาว = ความรมรื่น การกุรบาน = ความศรัทธา บรรยากาศตลาดนัด = ความเปนกันเอง การศักการะบูชา = ความศรัทธา การละหมาด = ความศรัทธา เรือกอและ = ความสวยงาม การกุรบาน = ความศรัทธา บรรยากาศตลาดนัด = ความเปนกันเอง การศักการะบูชา = ความศรัทธา การละหมาด = ความศรัทธา เรือกอและ = ความสวยงาม ปนจสิลัต = ความกลาหาญ ดิเกรฮูลู = ความพรอมเพรียง ไกกอและ = ความหอมหวาน ขาวยําปกษใต = ความเขากัน นาซิดาแฆ = ความหอมมัน ชาชัก = ความนุมของฟอง โรตีมะตะบะ = กรอบนอกนุมใน ตารางที่2 การวิเคราะหอารมณ


43

3.1.2.2 วาง Timeline (หยาบๆ) ความยาววีดีโอประมาณ 4-5 นาที โดยวาง Mood ของเรื่องประมาณนี้ Peak

Peak Silent

Silent

Silent

00.00

01.00

02.00

Mood Board

ภาพที่ 24 Moodboard

03.00

04.00


44

3.2 ขั้นตอน (Production) เปนขั้นตอนการดําเนินการถายทําภาพยนตร(ออกกอง)ทีมงานผูผลิตไดแก ผูกํากับภาพยนตร ชางภาพ ชางไฟ ชางเทคนิคเสียง ชางศิลป ผูแตงหนาทําผม ผูฝกซอมนักแสดง รวมทั้งการบันทึกเสียง ตามที่กําหนดไวในสคริปต ขั้นตอนนี้อาจมีการถายทําแกไขหลายครั้งจนเปนที่พอใจ (take) นอกจากนี้ อาจจําเปนตองเก็ บภาพ/เสีย งบรรยากาศทั่วไป ภาพเฉพาะมุมเพิ่มเติ ม เพื่อใชใ นการขยายความ (insert) เพื่อใหผูชมไดเห็นและเขาใจรายละเอียดมากยิ่งขึ้น

ภาพที่ 25 เบื้องหลังการถายทํา

ภาพที่ 26 เบื้องหลังการถายทํา

ภาพที่ 27 เบื้องหลังการถายทํา


45

ภาพที่ 28 เบื้องหลังการถายทํา

ภาพที่ 29 เบื้องหลังการถายทํา

3.3 ขั้นตอนหลังการถายทํา (Post Production) เปนขั้นตอนการตัดตอเรียบเรียงภาพและเสียงเขาไวดวยกันตามสคริปตหรือเนื้อหาของเรื่อง ขั้นตอนนี้จะมีการใสกราฟกและเทคนิคพิเศษภาพ การเชื่อมตอ ภาพ/ฉาก อาจมีการบันทึกเสียงใน หองบันทึกเสียง เพิ่มเติม อีกก็ได อาจมีการนําดนตรีมาประกอบ เรื่องราวเพื่อเพิ่มอรรธรสในการ รับชมยิ่งขึ้น ขั้นตอนนี้สวนใหญจะดําเนินการอยูในหองตัดตอ มีเฉพาะ คนตัดตอ (Editor) ผูกํากับ ภาพยนตรและชางเทคนิคที่เกี่ยวของเทานั้น


46

3.3.1 การเรียบเรียง-ตัดตอ กอนที่จะเริ่มการตัดตอวีดีโอตองเริ่มจากการจัดการไฟลที่เปนระบบ เพื่อการทํางาน ที่ลื่นไหลไปตามขั้นตอนที่ถูกตองตามกระบวนการทํางานจริง จากนั้นก็จะเริ่มเรียบเรียง ฟุตเทจตามโครงเรื่องที่วางใวใน Moodboad แบบหยาบๆ

ภาพที่ 30 เบื้องหลังการถายทํา

ภาพที่ 31 เบื้องหลังการถายทํา


47

3.3.2 ขั้นตอนการใส Visual Effect เทคนิคพิเศษทําใหวีดีโอดูมีความนาสนใจมากขึ้น ซึ่งขั้นตอนนี้เราไมสามารถทําใน โปรแกรม Premiere Pro ได ขั้นตอนนี้เราใชโปรแกรม After Effcet ในการทําเอฟเฟคตางๆ ไมวาจะเปน Transition ที่ดู Smooth กวาเดิม รวมไปถึงการ Compost ภาพตางๆหลังจาก การตัดตอเบื้องตน

ภาพที่ 32 ขั้นตอนการใส Visual Effect 3.3.3 ขั้นตอนการมิกซเสียง ระบบเสียงที่ดีของวีดีโอเปนหัวใจสําคัญของวีดีโอที่ทําใหคนดูเชื่อ และมีอารมณ ร ว มกั บ ภาพที่ ป รากฏ หลั ง จากที่ เ ราใส Visual Effect เรี ย บร อ ยแล ว ก็ เ ป น การจั ด การ ระบบเสียงใหมีประสิทธิภาพมากที่สุด

ภาพที่ 33 ขั้นตอนการใส Visual Effect


48

3.3.4 ขั้นตอนการแตงสีภาพ เนื่ อ งจากภาพที่ เราถ ายมาเป นภาพที่ม าจากสภาพแสงที่ตางกัน นอกจากนี้แลว เพื่อใหงานมี Mood เดียวกันทั้งงานจึงจําปนตองย อมสีใ หภาพเหมือ นกัน ดังนั้นขั้นตอน สุดทายของการตัดตอวีดีโอ คือการแตงสีภาพทีละคลิป เพื่อความสมบูรณที่สุดของงาน

ภาพที่ 34 ขั้นตอนการการแตงสีภาพ 3.3.5 ขั้นตอน Render&Export หลังจากจัดการทุกอยางแลวก็ทําการ Render&Export เปน Format H.264 ขนาด 1920x1080p ที่ 25fps

ภาพที่ 35 ขั้นตอนการการแตงสีภาพ


49

3.4 การพัฒนางานจากความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ จากการสอบถาม อาจารยรณรงค บุตรทองแกว ตําแหนง Editor อยูท่ีบริษัท Jamesdeen BKK เห็นวา มีการลําดับเรื่องคอนขางดี อาจจะมีบางสวนที่ยังติดการเปลี่ยนฉาก (Transition) ที่ดูไม คอยเนียน แตภาพรวมเปนไปในทิศทางที่ดี หลั ง จากได รั บ คํ า แนะนํ า จากผู เ ชี ย วชาญ ก็ ไ ด พั ฒ นางานบางส ว นในขั้ น ตอน Post-Production จนไดผลงาน Draft2 ที่สมบูรณมากขึ้นกวาเดิม


50

บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน การดําเนินโครงงานการพัฒนาวีดีโออารต เพื่อสรางมิติเชิงบวกของจังหวัดปตตานี ผูจัดทํา โครงงานไดดําเนินการจัดทําโครางงานและทําการวิเคราะหผลงาน ดวยวิธีการทางสถิติและความ คิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ โดยจะนําเสนอผลการดําเนินงานดังนี้

4.1 ผลที่ไดจากการดําเนินโครงงาน หลังจากที่ไดศึกษาและวิเคราะหกระบวนการทั้งหมด ผูจัดทําโครงงานก็ไดลงพื้นที่ถายทําจริง ตามแผนที่ไดวางใว จากนั้นก็ไดเรียบเรียงและตัดตอตัวชิ้นงาน รวมถึงการแกไขและพัฒนางานจาก คําแนะนําจากผูเชี่ยวชาญจนไดงานที่เสร็จสมบูรณ

ภาพที่36 ภาพปกผลงาน

50


51

ภาพที่37 ภาพจากชิ้นงาน


52

ภาพที่38 ภาพจากชิ้นงาน


53

4.2 ผลการวิเคราะหผลงาน 4.2.1 การวิเคราะหจากผูเชี่ยวชาญ จากการสอบถาม อาจารยรณรงค บุตรทองแกว ตําแหนง Editor อยูท่ีบริษัท Jamesdeen BKK เห็ น ว า มี ก ารลํ า ดั บ เรื่ อ งค อ นข า งดี อาจจะมี บ างส ว นที่ ยั ง ติ ด การเปลี่ ย นฉาก (Transition) ที่ดูไมคอยเนียน แตภาพรวมของงานแลวเปนไปในทางที่ดี 4.2.2 การวิเคราะหจากกลุมเปาหมาย ผลการประเมินแบบออนไลน จากกลุมเปาหมายทั้งหมด 32 คน

อายุเฉลี่ย อยูที่ 27 ป


54

ตารางผลการวิเคราะหผลงาน รายการ การเขาถึงอารมณของพืน้ ที่ มุมกลอง เสียง ความตอเนื่องของภาพ สีของภาพ การเลาเรื่อง สัมผัสมุมมองเชิงบวกของปตตานี

5 26 32 28 23 26 24 26

4 6 0 4 9 6 8 6

3 0 0 0 0 0 0 0

2 0 0 0 0 0 0 0

1 0 0 0 0 0 0 0

คาเฉลี่ย 4.8 5 4.9 4.7 4.8 4.7 4.8

สรางภาพลักษณใหกับจังหวัด 29 3 0 0 ปตตานี รวม ตารางที่ 3 ตารางผลการวิเคราะหผลงาน

0

4.9 4.8

เกณฑวัดความพึงพอใจ 1.00 – 1.49 หมายถึง ต่าํ มาก 1.50 – 2.49 หมายถึง ต่าํ 2.50 – 3.49 หมายถึง ปานกลาง 3.50 – 4.49 หมายถึง ดี 4.50 – 5.00 หมายถึง ดีมาก

สรุ ป ได ว า ผลการประเมิ น ผลที่ ไ ด้ คื อ อยู่ ใ นเกณฑ์ ที่ ด ีม าก เนื่ อ งจากส ว นใหญ แ ล ว กลุ ม เป า หมายที่ ใ ห ดู เ ป น คนนอกพื้ น ที่ ทํ า ให ง านที่ อ อกมา ดู พิ เ ศษมากขึ้ น เพราะโดยปกติ แล ว คนนอกพื้นที่ก็จะเห็นแตมุมมองของสถานการณความไมสงบเทานั้น อีกทั้งยังชื่นชมการเลาเรื่อง แบบวีดีโออารตที่ดูลื่นไหลไมสะดุดทําใหดึงคนดูใหดูวีดีโอจนจบได


55

บทที่ 5 สรุป และขอเสนอแนะ 5.1 สรุปผลการดําเนินงาน ผลที่ไดจากการทําโครงงานการพัฒนาวีดีโออารต เพื่อสรางมิติเชิงบวกของจังหวัดปตตานี คือ การนําเสนอขอมูลเชิงสารคดีผานมุมมองและกระบวนการถายทําแบบภาพยนตร เพื่อนําเสนอปตตานี ในเชิงบวก เพื่อสรางภาพลักษณที่ดีใหกับจังหวัดปตตานี เปนวีดีโอความยาว 5 นาที 52 วินาที และ ได ผ ลตอบรั บ จากการเผยแพร ใ ห กั บ กลุ ม เป า หมายหลั ก บางส ว นปรากฏว า อยู ใ นเกณฑ ที่ ดี ม าก เนื่องจากการเลาเรื่องดวยเทคนิคของวีดีโออารตเปนมิติใหมของจังหวัดปตตานีในมุมมองที่แปลกใหม ทําใหทั้งคนในพื้นที่และนอกพื้นที่ดูแลวมีอารมณรวมไปกับเนื้อหาที่นําเสนอไดดี เพราะภาพที่ใชเปน ภาพที่ถายจากสภาพชุมชนจริงๆ จึงทําใหคนดูเขาถึงอารมณของพื้นที่ไดดี มุมกลองที่ใชเปนมุมมอง เป นมุ ม มองของภาพยนตร ทํ าให ไ ด ภ าพที่ แปลกตากว ามุ ม มองปกติ การเสี ย งของวี ดี โ อเป นเสียง ระบบ Sterio Seround ทําใหเสียงที่ไดดูสมจริงและกลมกลืนไปกับภาพ ความตอเนื่องของภาพดี สีของภาพดี ผูชมไดสัมผัสกับมุมมองเชิงบวกของปตตานีตามวัตถุประสงคอยางดี และวีดีโอชิ้นนี้ได สรางภาพลักษณใหกับจังหวัดปตตานีไดดีมาก สรุปไดวา ผลการประเมินที่ได อยูในเกณฑที่ดีมาก เนื่องจากสวนใหญแลวกลุมเปาหมายที่ใหดู เปนคนนอกพื้ นที่ ทําใหงานที่ออกมา ดูพิเศษมากขึ้ น เพราะโดยปกติแลวคนนอกพื้นที่ จะเห็นมุมมองของสถานการณความไมสงบดานเดียว อีกทั้งยังชื่นชม การเลาเรื่องแบบวีดีโออารตที่ทําใหมีความนาสนใจในเนื้อหามากขึ้นไปอีก

5.2 ปญหาที่พบ 5.2.1 ป ญ หาในช ว งถ า ยทํ า (Production) คื อ คนที่ เ รากํ า ลั ง ถ า ยมี ค วามระแวง เนื่องจากเขาไมรูจักเรา ไมรูวาเราถายไปทําอะไรทําใหไมคอยไดรบั ความรวมมือในการถายทํา 5.2.2 ปญหาในชวงตัดตอ (Post-Production) ปญหาเรื่องสภาพแสงที่ตางกันในแต ละ Scene ทําใหตองมาปรับสีทีละคลิปเพื่อคุมภาพรวมของงานใหมีแนวทางเดียวกัน

55


56

5.3 ขอเสนอแนะ การที่เราจะไดชิ้นงานที่มีคุณภาพ มีแนวทางในการปฏิบัติดังนี้ 5.3.1 ควรศึกษาเนื้อหาขอมูลที่เราจะทําใหอยางถี่ถวน และควรหาขอมูลมาจาก หลายๆแหลงสื่อ เพื่อที่เราจะไดขอมูลทีมีคุณภาพมากที่สุด 5.3.2 ทุกครั้งที่ออกไปถายควรใสเสื้อช็อปเพราะเปนการแสดงตนวาเราคือนักศึกษา และ ก อ นที่ เ ราจะถ า ย เราควรไปขออนุ ญ าตและไปคุ ย ทํ า ความรู จั ก กั บ เขาก อ น ทํ า ให ดําเนินการถายทําไดงายขึ้น 5.3.3 เราตองจัดการเก็บไฟลจํานวนมากใหเปนระบบ เพื่อลดปญหาในการหาไฟล ไมเจอและควรสํารองขอมูลเปนสองชุด เพื่อความปลอดภัยของงาน 5.3.4 ควรศึกษาการใชงานโปรแกรม Premiere Pro และ After Effect ใหคลอง กอนที่จะทํางานจริง เพราะชวงเวลาทํางาน Post-Production มีเวลานอยมาก ถาเราเอา เวลาไปศึกษาโปรแกรมดวย ก็อาจจะจบงานนี้ไดยาก 5.3.5 สิ่งที่ควรทําตอจากงานชิ้นนี้ อาจจะเปนการสรางแคมเปญดีดีที่เลาภาพลักษณ เชิงบวกของจังหวัดปตตานี โดยการสรางสื่อหลายๆแบบ แลวทําแผนการประชาสัมพันธท่ีดี นาจะเปนแนวทางทีท่ ําใหไดรับความสนใจจากคนนอกพื้นที่ไมนอย


57

บรรณานุกรม


58

บรรณานุกรม ขอมูลจังหวัดปตตานี. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://sites.google.com/site/thaukaenoi/home (วันที่คนขอมูล : 25 สิงหาคม 2559) คุณสมบัติของวิดีโอ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : 0www.vdolearning.com/vdotutor/videoknowledge/89-what-is-video (วันที่คนขอมูล : 28 สิงหาคม 2559) ขั้นตอนการผลิตวีดีโอ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://princezip.blogspot.com/ (วันที่คน ขอมูล : 28 สิงหาคม 2559) สัญญะศาสตร. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :http://digi.library.tu.ac.th/thesis/jc/1580/ 09CHAPTER_2.pdf (วันที่คนขอมูล : 28 สิงหาคม 2559) การสรางมูดบอรด. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://etcserv.pnru.ac.th/pcc/silpagum/kn owledge01.html (วันที่คนขอมูล : 28 สิงหาคม 2559) ขนาดภาพและมุมกลอง. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.oknation.net/blog/ifilm/2007/07/03/entry-1 (วันที่คนขอมูล : 28 สิงหาคม 2559) การจัดองคประกอบภาพ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://men.kapook.com/view112740.html (วันที่คนขอมูล : 28 สิงหาคม 2559)


59

ภาคผนวก


60

แบบประเมินโครงงานการพัฒนาวีดีโออารต เพื่อสรางมิติเชิงบวกของจังหวัดปตตานี https://goo.gl/069RpG (เขาถึงเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2559)


61


62


63

ประวัติผูจัดทําโครงงาน ชื่อ – สกุล รหัสประจําตัว วันเกิด ที่อยู เบอรติดตอ อีเมล

นายฮาซัน ตาเละ 5620610008 2 กุมภาพันธ 2537 3/3 หมู 5 ต.ประจัน อ.ยะรัง จ.ปตตานี 94160 083-659-4702 hasoniostudio@gmail.com

ประวัติการศึกษา ระดับอนุบาลศึกษา ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา ระดับอุดมศึกษา

โรงเรียนชุมชนบานปูยุด โรงเรียนชุมชนบานปูยุด โรงเรียนบํารุงอิสลาม ปตตานี สาขานวัตกรรมการออกแบบและสรางสรรคสื่อ คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานคริทร วิทยาเขตปตตานี



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.