Id workshop

Page 1

สารบัญ วีดีโออาร์ต คืออะไร? ขั้นตอนการผลิตวีดีโอ สัญญะศาสตร์

2 2 4 7


2

การผลิตวีดีโออาร์ต

วีดีโออาร์ต คืออะไร? รณรงค์ บุตรทองแก้ว Editor บริษทั JAMESDEAN ได้ให้สมั ภาษณ์ถงึ วีดโี ออาร์ตว่า วีดโี ออาร์ตคือศิลปะการเล่าเรือ่ งด้วยภาพเคลือ่ นไหว ทีใ่ ช้เทคนิคการทำ�แบบใหม่ทเี่ พิม่ ความน่า สนใจของเนือ้ หาทีน่ �ำ เสนอมากขึน้ กว่าวีดโี อทัว่ ไป โดยใช้เทคนิคพิเศษในการถ่ายทำ� เช่น Hyper Laps (การเคลื่อนกล้องในขณะที่ถ่าย Time laps), Hyper Zoom (การถ่ายสองขนาดภาพ ที่แตกต่างกันแล้วมาต่อกัน) และการตัดสลับภาพ (Transition) ในรูปแบบใหม่ เช่น Motion Pan (การ Pan กล้องอย่างรวดเร็วเพื่อให้เกิด Motion Blur ในการตัดสลับ), Layer Mask (การตัดภาพพร้อมกับ Foreground ที่ผ่านหน้า Frame) เป็นต้น


3

การผลิตวีดีโออาร์ต

ในปัจจุบนั วีดโี ออาร์ตในต่างประเทศ ได้รบั ความนิยมเป็นอย่างมากในการนำ�เสนอวิถี ชีวิตในชุมชน ความสวยงามของสถานที่ ความอร่อยของอาหาร ฯลฯ เนื่องจากการเล่าเรื่องที่ เป็นเอกลักษณ์ของวีดีโออาร์ต

สามารถสร้างอารมณ์ร่วมให้กับผู้ชมได้เสมือนไปสัมผัสด้วยตัวเอง


4

การผลิตวีดีโออาร์ต

ขั้นตอน การผลิตวีดีโอ ขั้นตอนก่อนผลิต Pre-Production นับเป็นขั้นตอนที่มีความสาคัญเป็น อย่างยิง่ ก่อนเริม่ ทำ�การผลิตภาพยนตร์ ได้แก่ การเตรียมข้อมูล การกำ�หนดหรือเค้าโครง เรื่อง การประสานงาน กองถ่ายกับสถานที่ ถ่ายทำ� ประชุมวางแผนการผลิต การเขียน สคริปต์ การจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์การถ่าย ทำ� อุปกรณ์การบันทึกเสียง ห้องบันทึกเสียง ห้องตัดต่อ อุปกรณ์ประกอบฉาก อุปกรณ์ แสง การเตรียม ทีมงาน ทุกฝ่าย การเดิน ทาง อาหาร ที่พัก ฯลฯ หากจัดเตรียมรายละเอียด ในขั้นตอนนี้ได้ดี ก็จะส่งผลให้ขั้นตอน การผลิตทาได้งา่ ยและรวดเร็วยิง่ ขึน้ ดังนัน้ Pre


5

การผลิตวีดีโออาร์ต

Production เป็นขัน้ ตอนทีผ่ อู้ �ำ นวยการสร้าง หรือนายทุนหนังส่วนใหญ่ให้ความสำ�คัญเป็น อันดับหนึง่ เนือ่ งจากเป็นขัน้ ตอนทีม่ สี ว่ นอย่าง มากที่จะชี้เป็นชี้ตายได้ว่าหนังจะออกมาดีหรือ ไม่ช่วง พรี-โพร จะเป็นช่วงที่หนังเริ่มก่อเค้า เป็นรูปเป็นร่างจากเรือ่ งทีไ่ ด้รบั การอนุมตั สิ ร้าง จากนายทุน

ขั้นตอนการผลิต (Production) เป็นขั้นตอนการดำ�เนินการถ่ายทำ� ภาพยนตร์(ออกกอง)ทีมงานผู้ผลิตได้แก่ ผู้ กำ�กับภาพยนตร์ ช่างภาพ ช่างไฟ ช่างเทคนิค เสียง ช่างศิลป์ ผู้แต่งหน้าทำ�ผม ผู้ฝึกซ้อมนัก แสดง รวมทั้งการบันทึกเสียงตามที่กำ�หนด ไว้ในสคริปต์ ขั้นตอนนี้อาจมีการถ่ายทำ�แก้ไข หลายครั้งจนเป็นที่พอใจ (take) นอกจาก นี้อาจจำ�เป็นต้องเก็บภาพ/เสียงบรรยากาศ ทั่วไป ภาพเฉพาะมุมเพิ่มเติมเพื่อใช้ในการ ขยายความ (insert) เพื่อให้ผู้ชมได้เห็นและ เข้าใจรายละเอียดมากยิ่งขึ้น


6

การผลิตวีดีโออาร์ต

ขั้นตอนหลังการผลิต (Post Production) เป็ น ขั้ น ตอนการตั ด ต่ อ เรี ย บเรี ย ง ภาพและเสียงเข้าไว้ด้วยกันตามสคริปต์หรือ เนื้อหาของเรื่อง ขั้นตอนนี้จะมีการใส่กราฟิก และเทคนิคพิเศษภาพ การเชือ่ มต่อ ภาพ/ฉาก อาจมีการบันทึกเสียงในห้องบันทึกเสียง เพิ่ม เติม อีกก็ได้ อาจมีการนำ�ดนตรีมาประกอบ เรื่องราวเพื่อเพิ่มอรรธรสในการรับชมยิ่งขึ้น ขั้ น ตอนนี้ ส่ ว นใหญ่ จ ะดำ � เนิ น การอยู่ ใ นห้ อ ง ตัดต่อ มีเฉพาะ คนตัดต่อ (Editor) ผู้กำ�กับ ภาพยนตร์และช่างเทคนิคที่เกี่ยวข้องเท่านั้น


การผลิตวีดีโออาร์ต

7

สัญญะ ศาสตร์ การศึ ก ษาเรื่ อ งสั ญ ญะและระบบ ความหมาย มีจุดเริ่มตนมาจากนักวิชาการ คนสําคัญ2 คน คือ Ferdinand DeSaussure นักภาษาศาสตร โครงสรางชาวสวิส และ Charles SandersPeirce นักปรัชญา ชาวอเมริกัน ซึ่งทั้งสองไดชื่อวาเปนผูบุกเบิก ศาสตร ใ หม ที่ เ รี ย กว า สั ญ วิ ท ยา หรื อ สั ญ ศาสตร (semiology or semiotics) ทั้ง Saussure และ Peirce เสนอวาหนวย ที่ เ ล็ ก ที่ สุ ด ของภาษาหรื อ การสื่ อ สารก็ คือ“สัญญะ” (signs) โดย Saussure เส นอวา สัญญะหนึ่ง ๆ นั้น ประกอบดวย 2 สวนคือ“รูปสัญญะ”(signifier หรือ sound image) ซึ่ง หมายถึง สิ่ง ที่แทนสิ่งใดสิ่งหนึ่ง และ“ความหมายสัญญะ” (signified หรือ concept) คือความคิดที่หมายถึงสิ่งนั้นๆ ทัง้ นีค้ วามสัมพันธร ะหวา งรูปสัญญะและความ หมายสั ญ ญะนั้ น เป น ความหมายที่ ค นกํ า หนดขึ้น(arbitrary) เชน 1.เนื่องจากคําวา semiotics และ semiology มีความหมาย ที่ใกลเคียงกันมาก โดยคําวา semiology

เปนคําที่ Ferdinand De Saussure นัก ภาษาศาสตร ชาวสวิส บัญญัติขึ้นสวนคําวา semiotics เปนคําของ Charles Sanders Peirce นักคิดและนักปรัชญาชาวอเมริกันที่ เปนผูบุกเบิกแนวคิดเรื่อง สัญญะและใหความหมายไวคลายๆกัน ดัง นั้น จึงนักวิชาการจึงมักใชทั้ง สองคํานี้สลับ กันในความหมายเดียวกันได้ อยางไรก็ตาม ในการศึกษาครั้งนี้จะใชคําวาsemiotics หรือ สั ญ วิ ท ยาในภาษาไทย ตลอดทั้ ง เล ม 78 คําวา “มา” ประกอบดวย “รูปสัญญะ” หรือ signifier คือตัวอักษร สระ และวรรณยุกต ที่ประกอบเขาดวยกัน ตามกฎโครงสรางชุด หนึ่ง และ “ความหมายสัญญะ” ก็หมายถึง ความคิดที่ สื่อถึง“สิ่งมีชีวิตประเภทสัตวสี่ ขาชนิดหนึ่งที่วิ่งเร็วและแข็งแรง” จะเห็นวารูป สัญญะของคําวา “มา”ที่ประกอบดวยอักษร


8

การผลิตวีดีโออาร์ต

“ม” สระ “_า” และวรรณยุกต “โท” ในภาษา ไทยนั้ น ๆ เกิ ด จากรหั ส หรื อ กฎเกณฑ ท าง ภาษาทีม่ นุษยสรางขึน้ และมิไดม คี วามเหมือน หรือรูปรางลักษณะที่เหมือนหรือคลายคลึง กับ สัตวสี่ขาชนิดหนึ่งที่วิ่งเร็วที่เราเรียกวา “มา” แตอยางใดสวน Peirce นั้น มีแนวคิด ใกล  เ คี ย งกั น กั บ Saussure โดยอธิ บ าย ความหมายของ“สัญญะ” วาคือ สิ่งที่มีความ หมายบางอยางสําหรับคนๆ หนึง่ ในลักษณะใด ลักษณะหนึ่ง (sign is something which stands to somebody for something in some respect or capacity) (Berger, 1991, p. 4) ดังนั้น ในทัศนะของ Peirce

ทุกสิ่งทุกอยางจึงเปน “สัญญะ” ตราบใดที่ มี การใหความหมายกับสิ่งนั้น สัญญะจึงมี อยูมากมายหลายลักษณะ เชน สัญญะประ เภทขอความ หรือคําพูด (words) ภาพ (images) กลิ่น รสชาติ การกระทํา หรือ วัตถุ อยางไรก็ตาม Peirce แบงสัญญะออก


การผลิตวีดีโออาร์ต เปน 3 ลักษณะคือ รูปสัญญะทีเ่ ปนภาพจําลอง (icon) หมายถึงรูปสัญญะที่มีรูปรางหนา ตาคลา ยหรือ เหมือนกับวัตถุทมี่ จี ริงอยา งมาก ที่สุด (resemblance) เชน ภาพของบุคคล รูปปน ของบุคคล เมือ่ เห็นก็ “ถอดรหัส” หรือ เขาใจความหมายไดทันที เชนภาพถายของ ผูสมัครตําแหนงทางการเมือง หรือแผนที่ ก็ ถือเปนสัญญะประเภทภาพจําลองเชนกัน รูป สัญญะที่เปนดัชนี (index) หมายถึง สิ่ง ที่ มี ค วามเกี่ ย วโยงกั น โดยตรงหรื อ มี ค วาม เชื่อมโยงกันอยูบางกับวัตถุที่มีอยูจริง เชน ควันไฟ เปนรูป สัญญะแบบดัชนี ของการจุด ไฟ เทอรโมมิเตอร เปนรูปสัญญะที่เปนดัชนี ของการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ เมื่อเราเห็นก็ พอที่จะมองความหมายออก การถอดรหัส ดัชนี จึง ใชการคิด หาเหตุผลเชื่ อ มโยงความ สัม พัน ธเ ชิง เหตุผลระหวางดัชนี กับวัตถุ ตัวอยางเชน ภาพของหอไอเฟล เปนดัชนีที่ เชื่อมโยงกับเมืองปารีส หรือประเทศฝรั่งเศส รู ป สั ญ ญะที่ เ ป  น สั ญ ลั ก ษณ (symbols) หมายถึงสัญญะที่ไมมีความเกี่ยวพันอันใด ระหว า งตั ว สั ญ ญะกั บ วั ตถุที่มีอยูจ ริง หาก แตเปนความเกี่ยวพันที่เกิดขึ้นจากการตก ลงรวมกัน(convention) ระหวางผูใชเชน ในคําในภาษา หรือตัวเลข เปนสิ่งที่ไมไดมีรู ปรางหนาตาคลายสิง่ ทีม่ อี ยูจ ริงดังในกรณีของ สัญญะที่เปนภาพจําลอง หรือมีความเกี่ยว โยงสัมพันธใดๆ กับวัตถุหรือสิ่ง ที่มีอยูจริง ดังในกรณีของดัชนี แต การที่จะเขาใจหรือ

9

ถอดรหัสความหมายของรูปสัญญะประเภท สัญลักษณได จาํ เปน ตอ งอาศัยการเรียนรูข อง ผูใชสัญญะประเภทนี้เทานั้น (กาญจนา แกว เทพ, 9 2543, น. 21) ตัวอยางเชน ดาว เดวิด หมายถึงชนชาติยิว หรือเครื่องหมาย สวั ส ดิ ก ะ หมายถึ ง พรรคนาซี หรื อ พวก สัญลักษณปายจราจรตางๆ ก็เปนรูปสัญญะ ประเภทนี้ดวยเชนกันอยางไรก็ตาม ในการ ศึกษาครั้งนี้ จะใชแนวคิดทฤษฎีสัญญะของ Saussure เปนหลักเนือ่ งจากเปนรากฐานของ แนวคิดเรือ่ งมายาคติของ Barthes ซึง่ เปนอีก แนวคิดหนึ่งที่การวิจัยนี้ใชเปนกรอบในการ วิเคราะหในตัวบทประเภทโฆษณาทั้งโฆษณา ทางสื่อโทรทัศนภาพยนตรและสิ่งพิมพนั้น ประกอบไปดว ยองคป ระกอบทางดา นภาพ คาํ พูด ขอความ และเสียงเปนจํานวนมาก ดังนั้น ในการวิเคราะหความหมายตัวบทประเภทนี้ จึง


10

การผลิตวีดีโออาร์ต

เกี่ยวของกับสัญญะ 2 ประเภทใหญๆ คือ ก. สัญญะประเภทภาษาหรือคําพูด (linguistic signs) ไดแก ประโยคหรือขอความ คําพูด ทั้งที่เปนการเขียน และที่เปนเสียงพูด รวมทั้งเสียงเพลงหรือดนตรี ในตัวบทประเภทโฆษณา ตัวอยางของสัญญะประเภทภาษาไดแก พาดหัว สโลแกน คําขวัญ ขอความทาย (endline) เพลงประกอบ ข. สัญญะประเภทภาพ (visual signs) หมายถึง สัญญะที่มิใชเปนภาษา (nonlinguistic) ไดแกภาพถาย ภาพวาด การจัดองคประกอบของภาพ การใชสี แสง

- จบแล้ว -


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.