HEMRAJ : Annual Report 2010 TH

Page 1

รายงานประจำปี 2553 บริ ษ ั ท เหมราชพั ฒ นาที ่ ด ิ น จำกั ด (มหาชน)

ชั้น 18 อาคารยูเอ็มทาวเวอร์ เลขที่ 9 ถนนรามคำแหง สวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 ประเทศไทย โทรศัพท์ : 66-2719-9555 โทรสาร : 66-2719-9546-7 ทะเบียนเลขที่ : บมจ.0107536000676

Hemaraj Land And Development Public Company Limited th

18 FL., UM Tower, 9 Ramkhamhaeng Rd., Suangluang, Bangkok 10250 THAILAND Tel : 66-2719-9555 Fax : 66-2719-9546-7 Registration No. : BORMORJOR.0107536000676 e-mail : marketing@hemaraj.com, invest@hemaraj.com www.hemaraj.com, www.theparkresidence.co.th

Annual Report 2010 Hemaraj Land And Development Public Company Limited

บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน)

รายงานประจำปี 2553

Annual Report 2010

P roperty I

ndustrial estates

U tilities บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน)

Hemaraj Land And Development Public Company Limited


สารบัญ

Contents 02 จุดเด่นทางการเงิน 03 สาส์นจากคณะกรรมการบริษัทฯ 04 ข้อมูลของคณะกรรมการและคณะผู้บริหาร 09 ลักษณะการดำเนินธุรกิจและโครงสร้างธุรกิจ 13 เหตุการณ์ที่สำคัญในปี 2553 23 ภาวะเศรษฐกิจและการแข่งขัน 24 บทรายงานและการวิเคราะห์ของฝ่ายบริหาร 27 โครงสร้างการจัดการ 32 การปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี 39

105 Financial Highlights 106 Message from the Board of Directors 107 Information of Board of Directors and Management 112 The Company’s Business Profile

40 รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบประจำปี 2553 42 รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต 43 งบการเงิน 53 หมายเหตุประกอบงบการเงิน 96 โครงสร้างผู้ถือหุ้นและโครงสร้างองค์กร 97 รายการระหว่างกัน 100

143 Audit Committee Report for 2010 145 Independent Certified Public Accountants’ Report 146 Financial Statements 156 Notes to Financial Statements 199 Shareholding & Organization Structure 200 Transactions with Related Parties 204 Holding Structure and Revenue of the Company,

and Business Structure Major/Significant Events in 2010 Economic & Competitive Condition

116 126 127 Management Analysis 130 Management Structure 135 Good Corporate Governance 142 Report on Responsibilities of the Board of Directors

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ในการจัดทำรายงานทางการเงินประจำปี 2553 Towards the Financial Report of the Year 2010

โครงสร้างการลงทุนและรายได้ของบริษัท บริษัทย่อย และบริษัทร่วม ข้อมูลการดำรงตำแหน่งของกรรมการและผู้บริหาร ในบริษัท บริษัทย่อยและบริษัทร่วม ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี บุคคลอ้างอิงอื่นๆ

96

103 104

Subsidiaries and Associated Companies

206 Information of Directors and Management in Company, Subsidiaries and Associated Companies

207 The Remuneration of the Auditor of Company 208 Other References


Corporate Vision, Mission & Strategy Strategy Corporate Vision

To create long-term shareholder value in a controlled way achieved through focused appropriate strategic, business, financial and governance disciplines. This long-term value can be realized by demonstrating and communicating respect for our customers, employees, and stakeholders while behaving in a manner that is communally, ethically, and environmentally responsible.

Mission

“To Develop World Class Industrial Estates Utilities and Property Customer Solutions�

Hemaraj Strategy

1. Developing industrial estate, utility, and property solutions that have predictable growing revenue and superior profit opportunities in order to optimize shareholder value. 2. Leveraging complementary management expertise in property, utilities infrastructure and environmental competence. 3. Utilizing company financial resources selectively for competing investment opportunities.


จุดเด่นทางการเงิน

0

ตัวเลขทางการเงิน

อัตราส่วนทางการเงิน

(ล้านบาท)

2551

2552

2553

รายได้จากการขายและบริการ*

4,714

2,229

4,220

รายได้จากการขายที่ดินอุตสาหกรรม* รายได้จากระบบสาธารณูปโภค* รายได้จากอสังหาริมทรัพย์สำหรับเช่า และจากค่าบริการ* รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์* รายได้รวม กำไรสุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด สินทรัพย์รวม เงินกู้ หนี้สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้น กำไรสุทธิต่อหุ้น (บาท) ราคาพาร์ (บาท)

2,854 922

704 1,026

1,501 1,472

480 459 4,983 1,342 932 13,712 3,454 5,574 8,138 0.14 0.40

515 (15) 2,223 575 910 13,680 4,023 5,222 8,458 0.06 0.40

480 766 4,020 1,216 3,517 18,715 8,011 9,577 9,138 0.13 0.40

อัตราทุนหมุนเวียน อัตราหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตรากำไรสุ​ุทธิ กำไรสุทธิต่อหุ้น พื้นฐาน (บาท) กำไรสุทธิต่อหุ้น ปรับลด (บาท) มูลค่าหุ้นตามบัญชี (บาท) จำนวนหุ้นที่ออกและชำระแล้ว (ล้านหุ้น) จำนวนใบสำคัญแสดงสิทธิ (ล้านหุ้น)

2551

2552

2553

2.35 2.42 5.27 0.57 0.51 0.66 8% 4% 5% 13% 6% 11% 27% 26% 30% 0.14 0.06 0.13 0.14 0.06 0.13 0.87 0.87 0.94 9,381.84 9,705.19 9,705.19 327.55 - -

หมายเหตุ : *การจัดประเภทงบการเงินใหม่ภายใน

รายได้จากการขายและบริการ

กำไรสุทธิ

6,000

1,400

5,000

1,200

4,000 3,000

4,714 459 480

4,220

922

480 2,229 515

2,000

2,854

1,000

1,472

1,026 1,501

704 (-15)

0 -1000 (ล้านบาท)

766

2551

575

600 400 200

2551

2552

2253

รายได้จากระบบสาธารณูปโภค รายได้จากการขายที่ดินอุตสาหกรรม

อัตราหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น

สินทรัพย์รวมและหนี้สินรวม 20,000

18,715 15,000

1.00

0.75

13,712

13,680

10,000

9,577 5,574

5,000

5,222

0.50

0.57

0.66 0.51

0.25

0

0.00

2551 สินทรัพย์รวม

รายงานประจํ า ปี 2553

800

2553

รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ รายได้จากอสังหาริมทรัพย์สำหรับเช่าและจากค่าบริการ

(ล้านบาท)

1,216

1,000

0 (ล้านบาท)

2552

1,342

2552 หนี้สินรวม

• Annual Report 2010

2553

(เท่า)

2551

2552

2553


สาส์นจากคณะกรรมการบริษัทฯ

0 บริษัทเหมราชพัฒนาที่ดินจำกัด (มหาชน) มีผลการดำเนินงานสำหรับปี 2553 ด้วยผลกำไรสุทธิ 1,215.9 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 111 จากปี 2552 ซึ่งผลกำไรสุทธิสำหรับปีนี้ ได้รวมกำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจากโครงการลงทุนซึ่งยังไม่ ได้เริ่มดำเนินการ 394 ล้านบาท โดย บริษัทฯ มีรายได้รวม 4,020.2 ล้านบาทเปรียบเทียบกับรายได้รวมในปี 2552 จำนวน 2,223 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 81 ผลการประกอบการปี 2553 ได้สะท้อนถึงการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจของประเทศไทยที่เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันขึ้นอย่างมาก เนื่องจาก การลงทุนในประเทศไทยนั้นสามารถเข้าถึงตลาดต่างๆ ที่มีการขยายตัวอย่างสูง ความสามารถในการแข่งขันไม่ว่าจะเป็นเรื่องของต้นทุนการผลิต และอัตราแลกเปลี่ยน รวมถึงโอกาสการควบรวมกิจการเพื่อเพิ่มขีดความสามารถของบริษัทต่างๆ ยอดขายที่ดินอุตสาหกรรมของบริษัทฯ ในปี 2553 มีจำนวนทั้งหมด 930 ไร่ (หรือ 372 เอเคอร์) จากความต้องการของอุตสาหกรรมยานยนต์ ที่เพิ่มมากขึ้น จะเห็นได้จาก ตั้งแต่ต้นปี 2553 บริษัทฟอร์ด มอเตอร์ ที่ ได้มาตั้งโรงงานผลิตระดับภูมิภาคแห่งใหม่พื้นที่ 468ไร่ (หรือ 187 เอเคอร์) ที่นิคมอุตสาหกรรมเหมราชอีสเทิร์นซีบอร์ด ในพื้นที่ซึ่งรู้จักกันในนาม “ดีทรอยต์ตะวันออก” ศูนย์กลางอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ บริษทั ฯเชือ่ ว่าโอกาสด้านอุตสาหกรรมสะท้อนให้เห็นถึงการเติบโตของการผลิตยานยนต์เป็นจำนวน 1,645,000 คัน (อันดับที่ 13 ของโลกในปี 2553) หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 65 เมื่อเทียบกับปี 2552 นอกจากนี้ยังมี โรงงานประกอบรถยนต์ที่กำลังดำเนินการสร้าง รวมถึงผู้ผลิตและผู้จัดซื้อ ชิ้นส่วน ยานยนต์ที่จะเกิดขึ้นใหม่ซึ่งจะมาพร้อมกับผลิตภัณฑ์ ใหม่ๆ ที่มีความหลากหลายมากขึ้น การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจของประเทศไทยได้สร้างเสริมบรรยากาศการลงทุน อีกทั้งการบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจังได้ช่วยลดความเสี่ยงทางด้าน การเมือง อย่างไรก็ตาม การทีภ่ าครัฐยังไม่ ให้ความสำคัญอย่างเพียงพอในด้านความเป็นธรรมแก่ผลู้ งทุนโดยเฉพาะอย่างยิง่ การดำเนินการในหลักเกณฑ์ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมซึ่งขณะนี้หลายโครงการยังคงอยู่ระหว่างการดำเนินการขออนุมัติผลการศึกษาผลกระทบดังกล่าว ทั้งนี้เป็นโอกาสดีของประเทศไทยที่จะได้รับประโยชน์จากการขยายตัวของการลงทุนและการรวมศูนย์การผลิตนำไปสู่การเลือกทำเลที่ตั้งใหม่ที่มี ศักยภาพพร้อม การรวมกลุ่มกันของธุรกิจอุตสาหกรรมยานยนต์ ปิ โตรเคมี และอุตสาหกรรมอื่นในระยะยาวจะดำเนินต่อไปโดยเฉพาะอย่างยิ่ง กลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ ในนิคมอุตสาหกรรมของเหมราช “ดีทรอย์ตะวันออก” บริษัทฯ เชื่อมั่นว่ากลยุทธและแผนการดำเนินงานของบริษัทฯ ในภาค อุตสาหกรรม ยังคงมีประสิทธิภาพ สำหรับแผนการลงทุนของบริษัทฯ นั้นบริษัทฯ ได้ตกลงที่จะเข้าลงทุนในโครงการขนาดใหญ่ซึ่งใช้เงินลงทุนจำนวนสูงซึ่งจะนำมาซึ่งโอกาสและ การดำเนินงานอย่างมีศักยภาพและมีฐานรายได้ที่กว้างขึ้น ในขณะเดียวกันบริษัทฯ ยังคงนโยบายในการรักษาฐานะทางการเงินให้มีทั้งสภาพคล่องและ ความแข็งแกร่ง บริษัทฯได้ลงทุนในโครงการโรงงานไฟฟ้าอิสระ เก็คโค่-วัน ซึ่งอยู่ระหว่างการดำเนินการก่อสร้าง และลงทุนในโครงการไฟฟ้าอื่นๆ โรงงานสำเร็จรูป รวมถึงโครงการสาธารณูป โภคอื่นๆ ในปี 2553 บริษัทฯได้ซื้อหุ้นส่วนที่เหลืออีก 75% ในเขตประกอบการอุตสาหกรรมเหมราช สระบุรี และเขตประกอบการอุตสาหกรรมเหมราชระยอง จากเครือซีเมนต์ ไทยอีกด้วย ทางด้านการเงิน บริษัทเหมราชยังคงรักษางบดุลที่แข็งแกร่งและสภาพคล่องสำหรับดำเนินตามแผนงาน ณ สิ้นปี 2553 บริษัทฯ มีสินทรัพย์ ทั้งหมด 18,715 ล้านบาทซึ่งรวมถึงเงินสดและเงินสดที่ฝากไว้ 4,283 ล้านบาท มีหนี้สิน 9,577 ล้านบาท และส่วนของผู้ถือหุ้น 9,138 ล้านบาท อัตราส่วนหนี้ต่อทุนอยู่ที่ 0.66 ต่อ 1 เท่า ซึ่งต่ำกว่า 1 ต่อ 1 เท่า สำหรับการจัดหาเงินทุนในปี 2553 บริษัทฯ ได้ออกหุ้นกู้เป็นประเภทไม่มีหลักทรัพย์ค้ำประกัน กำหนดอัตราดอกเบี้ยคงที่ จำนวน 6 พันล้าน บาทโดยมีระยะเวลาครบกำหนดไถ่ถอน 3 ถึง 9 ปี เพื่อเป็นการขยายแหล่งเงินทุนและเป็นการจัดการทางการเงินล่วงหน้าในช่วงเวลาที่อัตราดอกเบี้ย อยู่ ในระดับที่ต่ำมากและมีแนวโน้มที่จะปรับตัวสูงขึ้นในอนาคตอันใกล้ บริษัทยึดถือแนวปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี โดยตระหนักถึงความสำคัญและความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสียของบริษัทมาโดยตลอด ด้วยความมุ่งมั่น ทุ่มเท และความร่วมมืออย่างเต็มที่ของทุกฝ่ายทำให้บริษัทได้รับการจัดอันดับอยู่ ในเกณฑ์ ‘ดีเลิศ’ จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทยในปี 2553 ดังนั้นในภาพรวมของแผนทั้งหมดของบริษัทฯ ไม่ว่าจะเป็นแผนกลยุทธ แผนธุรกิจ แผนการเงินและแผนการดำเนินการตามหลักกำกับดูแล กิจการที่ดี ได้สะท้อนให้เห็นถึงความก้าวหน้าในการพัฒนาโอกาสทางธุรกิจของบริษัทฯ ให้ ได้รับผลตอบแทนสูงสุดนี้ ให้แก่ผู้ถือหุ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้ตระหนักถึงสภาวะทางการเมือง เศรษฐกิจและสภาวะความเสี่ยงของตลาด เช่นเดียวกันกับการฟื้นตัวของเศรษฐกิจทั่วโลก คณะกรรมการ และคณะผู้บริหารของบริษัทฯ ขอแสดงความขอบคุณที่ท่านได้ ให้ความไว้วางใจให้ดูแลและรับผิดชอบต่อการบริหารของบริษัทฯ เสมอมา

(นายเดวิด ริชาร์ด นาร์โดน)

(นายชวลิต เศรษฐเมธีกุล)

กรรมการผู้จัดการ 10 มีนาคม 2553

ประธานคณะกรรมการบริษัทฯ 10 มีนาคม 2553

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


0

ข้อมูลของคณะกรรมการและคณะผู้บริหาร บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน) คณะกรรมการบริษัทฯ อายุ : วุฒิทางการศึกษา / การอบรม :

นายชวลิต เศรษฐเมธีกุล

ประธานคณะกรรมการ, กรรมการสรรหาและพิจารณาผลตอบแทน

64 ปี ปริญญาโท รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต (บริหารรัฐกิจ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปริญญาบัตร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรรุ่น 40 เนติบัณฑิตไทย สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา ปริญญาตรี นิติศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมดี) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DAP 6/2003 และ DCP 74/2006 Kellogg School of Management หลักสูตร Strategic Thinking and Executive Action (Kellogg School of Management, Evanston, Illinois, Campus of Northwestern University, USA) การดำรงตำแหน่งปัจจุบัน : • ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บมจ. ศรีราชาฮาร์เบอร์ ประสบการณ์การทำงาน : • อธิบดีกรมศุลกากร • รองปลัดกระทรวงการคลัง • ผู้ตรวจราชการกระทรวงการคลัง • รองอธิบดีกรมสรรพสามิต • ประธานกรรมการ บรรษัท ประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) • รองประธานกรรมการ การไฟฟ้านครหลวง • รองประธาน บจ. ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) • รองประธาน บมจ. ที โอที • กรรมการ ในคณะกรรมการกฤษฎีกา สำนักงานกฤษฎีกา • กรรมการ ในคณะกรรมการเนติบัณฑิตสภา สัดส่วนการถือครองหลักทรัพย์ ณ วันที่ 31/12/53 :

0.00%

อายุ :

67 ปี วุฒิทางการศึกษา/การอบรม : วิชาการบัญชีชั้นสูง จากสถาบันชาร์เตอร์แอคเค้าแทนท์ ประเทศอังกฤษและเวลล์ สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร ACP 6/2005, DAP 2/2003, DCP 57/2005, MIA 3/2008, MIR 4/2008, QFR 3/2006, RCC 8/2009, DCP Re 2/2009 การดำรงตำแหน่งปัจจุบัน : • กรรมการ บจ. วสุภัคแอสโซซิเอทส์ ประสบการณ์การทำงาน : • กรรมการ บจ. ยูเนียนอุตสาหกรรมสิ่งทอ • กรรมการ บจ. ยูเนียนอุตสาหกรรมด้าย

นายสุทธิพันธุ์ จารุมณี

กรรมการอิสระ, ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณา ผลตอบแทน

รายงานประจํ า ปี 2553

สัดส่วนการถือครองหลักทรัพย์ ณ วันที่ 31/12/53 :

• Annual Report 2010

0.00%


0 อาย :

58 ปี วุฒิทางการศึกษา / การอบรม : มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนโรจน์เสรีอนุสรณ์ สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DAP 77/2009 การดำรงตำแหน่งปัจจุบัน : • บริษัทย่อย ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการและกรรมการในบริษัทย่อยของบริษัทฯนอก ตลาดหลักทรัพย์ จำนวน 12 บริษัท • บริษัทอื่นๆ กรรมการ บจ. ลีฟสมาร์ท กรรมการ บจ. ร่วมฤดี แคปปิตอล ประสบการณ์การทำงาน : • กรรมการ บจ. แพนสุขภัณฑ์ • กรรมการ เจ้าของธุรกิจส่วนตัว สัดส่วนการถือครองหลักทรัพย์ ณ วันที่ 31/12/53 :

0.02%

นายธงชัย ศรีสมบูรณานนท์ กรรมการ, ประธานคณะกรรมการบริหาร กรรมการสรรหาและพิจารณาผลตอบแทน

อายุ :

55 ปี วุฒิทางการศึกษา / การอบรม : ปริญญาโทบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยนอร์ทอีสเทอร์น บอสตัน สหรัฐอเมริกา สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DCP 57/2005 การดำรงตำแหน่งปัจจุบัน : • บริษัทย่อย ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการและกรรมการในบริษัทย่อยของบริษัทฯนอก ตลาดหลักทรัพย์ จำนวน 14 บริษัท • บริษัทร่วม รองประธานกรรมการ บจ. เก็คโค่-วัน ประธานกรรมการ บจ. โคเฟลี (ประเทศไทย) กรรมการ บจ. ห้วยเหาะไทย กรรมการ บจ. ห้วยเหาะเพาเวอร์ สัดส่วนการถือครองหลักทรัพย์ ณ วันที่ 31/12/53 :

0.43%

นายเดวิด ริชาร์ด นาร์โดน กรรมการและกรรมการบริหาร กรรมการผู้จัดการ

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


อายุ :

55 ปี ปริญญาตรีคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาสุขาภิบาล จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DAP 2/2003 และ DCP 38/2003 การดำรงตำแหน่งปัจจุบัน : • บริษัทย่อย ดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษัทย่อยของบริษัทฯนอกตลาดหลักทรัพย์ จำนวน 14 บริษัท • บริษัทร่วม กรรมการ บจ. เก็คโค่-วัน กรรมการ บจ. โคเฟลี (ประเทศไทย) กรรมการ บจ. ห้วยเหาะไทย กรรมการ บจ. ห้วยเหาะเพาเวอร์

0

วุฒิทางการศึกษา / การอบรม :

นายวิวัฒน์ จิรัฐติกาลสกุล กรรมการและกรรมการบริหาร รองกรรมการผู้จัดการ

สัดส่วนการถือครองหลักทรัพย์ ณ วันที่ 31/12/53 :

0.09%

อายุ :

นายปีเตอร์ จอห์น เอ็ดมันสัน

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ

61 ปี วุฒิทางการศึกษา : ปริญญาตรีเกียรตินิยมเคมี มหาวิทยาลัยเชพฟิลล์ อังกฤษ การดำรงตำแหน่งปัจจุบัน : • ที่ปรึกษาด้านการลงทุน หน่วยงานภาคเอกชนต่างๆ ประสบการณ์การทำงาน: • ผู้จัดการทั่วไป West Merchant Bank ประเทศสิงคโปร์ • กรรมการ Standard Charter Merchant Bank ประเทศสิงคโปร์ • ผู้จัดการอาวุโส The Arab Investment Company ริยาบร์และบารเรนห์ • ผู้จัดการ Williams & Glyn’s Bank สัดส่วนการถือครองหลักทรัพย์ ณ วันที่ 31/12/53 :

0.05%

อายุ :

นางพรรณี วรวุฒิจงสถิต กรรมการอิสระ, กรรมการตรวจสอบ กรรมการบรรษัทภิบาล

59 ปี วุฒิทางการศึกษา / การอบรม : ปริญญาโทบัญชี จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร ACP 2/2004, DAP 2/2003, DCP 38/2003, MFM 1/2009, MFR 5/2007, MIA 1/2007, MIR 2/2008, QFR 1/2006, RCC 7/2008, DCP Re 2/2009 วุฒิบัตร CPA ประเทศไทย วุฒิบัตร CIA สมาคมตรวจสอบภายในสหรัฐอเมริกา วุฒิบัตร CPIA, QIA สมาคมตรวจสอบภายในประเทศไทย Chartered Director การดำรงตำแหน่งปัจจุบัน : • กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บมจ.บรู๊คเคอร์ กรุ๊ป • กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บจ.ไทยวาโก้ • กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บจ. โมโนเทคโนโลยี • กรรมการ บจ. บุญกร • กรรมการด้านบัญชีภาษีอากร สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ • กรรมการภาษีอากร สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ประสบการณ์การทำงาน : • กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บมจ. จีเอ็ม มัลติมีเดีย สัดส่วนการถือครองหลักทรัพย์ ณ วันที่ 31/12/53 :

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010

0.00%


อายุ :

49 ปี วุฒิทางการศึกษา / การอบรม : ปริญญาโทบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DAP 1/2003, DCP 55/2005, RCC 9/2009 การดำรงตำแหน่งปัจจุบัน : • บริษัทย่อย ดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษทั ย่อยของบริษทั ฯนอกตลาดหลักทรัพย์ จำนวน 11 บริษทั • บริษัทร่วม กรรมการ บจ. โคเฟลี (ประเทศไทย) กรรมการ บจ. เก็คโค่ - วัน กรรมการ บจ. ห้วยเหาะไทย • บริษัทอื่น กรรมการ บจ. ซี เอ โพสท์ ไทยแลนด์ สัดส่วนการถือครองหลักทรัพย์ ณ วันที่ 31/12/53 :

0.00%

0 นางสาวปัทมา หอรุ่งเรือง กรรมการและกรรมการบริหาร รองกรรมการผู้จัดการ กรรมการบรรษัทภิบาล

อายุ :

67 ปี วุฒิทางการศึกษา / การอบรม : ปริญญาโทบริหารธุรกิจ (การเงิน) มหาวิทยาลัยมิชิแกนเสตท สหรัฐอเมริกา (ทุน ก.พ.) สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร ACP 13/2006, DCP 62/2005, MFM 1/2009, MFR 9/2009, MIA 5/2009, MIR 6/2009 RCP 17/2007, DCP Re 2/2009 การดำรงตำแหน่งปัจจุบัน : • ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บมจ. ประสิทธิ์พัฒนา • ประธานคณะกรรมการ บจ. เอราวัญสิ่งทอ • ประธานกรรมการตรวจสอบ บจ. ไทยซีคอมพิทักษ์กิจ ประสบการณ์การทำงาน : • ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ธนาคารออมสิน • ประธานกรรมการ คณะกรรมการบริหารโครงการปริญญาโทด้านบริหารธุรกิจ ม. ธรรมศาสตร์ • ประธานกรรมการ องค์การคลังสินค้า กระทรวงพาณิชย์ • อนุกรรมการ คณะอนุกรรมการจัดทำบันทึกข้อตกลงและประเมินผลการดำเนินงาน ของรัฐวิสาหกิจ สนง. คณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ กระทรวงการคลัง • กรรมการ บมจ. สหพัฒนาอินเตอร์ โฮลดิ้ง • เลขาธิการ คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน สัดส่วนการถือครองหลักทรัพย์ ณ วันที่ 31/12/53 :

0.00%

นายสมพงษ์ วนาภา

กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการบรรษัทภิบาล

อายุ :

40 ปี วุฒิทางการศึกษา / การอบรม : ปริญญาโทบริหารธุรกิจ (การเงิน) มหาวิทยาลัยนอร์ธอีสเทิรน์ สหรัฐอเมริกา สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DCP 64/2005, DCP Re 2/2009 การดำรงตำแหน่งปัจจุบัน : • กรรมการผู้จัดการ บมจ. ศรีราชาฮาร์เบอร์ • รองกรรมการผู้จัดการ บจ. ที.ซี เอ็กซ์ซิบิชั่น • กรรมการ บจ. ซันเทคเมทัลส์ • กรรมการ บจ. เฟรมมิ่ง พร๊อพเพอร์ตี้ • กรรมการ บจ. อีสเทอร์นเวลธ์ เอ็นเตอร์ ไพรส์ • กรรมการ บจ. ซีเอ โพสท์ (ประเทศไทย) ประสบการณ์การทำงาน • กรรมการ บจ. พรหมนเรศวร • รองกรรมการผู้จัดการ บจ. Neo Step สัดส่วนการถือครองหลักทรัพย์ ณ วันที่ 31/12/53 :

นายวิกิจ หอรุ่งเรือง กรรมการ

1.12% รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


0 17

10

8

5

14

16

4

2

1

3

9

11

12

15

6

13

9 นางสาวอัญชลี ประเสริฐจันทร์ อายุ 41 วุฒิทางการศึกษา ปริญญาโทสาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ,ปริญญาโทด้านภาษาญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยเคโอ โตเกียว ญี่ปุ่น

คณะผู้บริหาร

การดำรงตำแหน่งปัจจุบัน

1 นายเดวิด ริชาร์ด นาร์โดน อายุ 55 วุฒิทางการศึกษา ปริญญาโทบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยนอร์ทอีสเทอร์น บอสตัน สหรัฐอเมริกา การดำรงตำแหน่งปัจจุบัน

ผู้อำนวยการฝ่ายลูกค้าสัมพันธ์ธุรกิจนิคมอุตสาหกรรม ร่วมงานกับบริษัทฯ เหมราชตั้งแต่ปี 2544 % การถือครองหลักทรัพย์ ณ วันที่ 31/12/53 0.00% 10 นางสาวสมใจ วชิรห้า อายุ 50 วุฒิทางการศึกษา ปริญญาตรีสาขาการบริหารงานทั่วไป คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคำแหง การดำรงตำแหน่งปัจจุบัน

กรรมการ, กรรมการบริหาร, กรรมการผู้จัดการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ร่วมงานกับบริษัทฯ เหมราชตั้งแต่ปี 2536 % การถือครองหลักทรัพย์ ณ วันที่ 31/12/53 0.43% 2 นายวิวัฒน์ จิรัฐติกาลสกุล อายุ 55 วุฒิทางการศึกษา ปริญญาตรีคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาสุขาภิบาล จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย

2533 % การถือครองหลักทรัพย์ ณ วันที่ 31/12/53 0.00% 11 นางสาวจิณณพัต ทองวิเศษกุล อายุ 41 วุฒิทางการศึกษา ปริญญาโทสาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจและการจัดการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กรรมการ, กรรมการบริหาร และรองกรรมการผู้จัดการ ร่วมงานกับบริษัทฯ เหมราชตั้งแต่ปี 2532 % การถือครองหลักทรัพย์ ณ วันที่ 31/12/53 0.09% 3 นางสาวปัทมา หอรุ่งเรือง อายุ 49 วุฒิทางการศึกษา ปริญญาโทบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ผู้อำนวยการฝ่ายลูกค้าสัมพันธ์ โครงการธุรกิจที่พักอาศัย ร่วมงานกับบริษัทฯ เหมราชตั้งแต่ปี % การถือครองหลักทรัพย์ ณ วันที่ 31/12/53 12 นางสาวฉันทนา หินแก้ว

การดำรงตำแหน่งปัจจุบัน

การดำรงตำแหน่งปัจจุบัน

กรรมการ, กรรมการบริหาร, รองกรรมการผูจ้ ดั การและประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารการเงิน ร่วมงานกับบริษัทฯ เหมราชตั้งแต่ปี 2546 % การถือครองหลักทรัพย์ ณ วันที่ 31/12/53 0.00% 4 นายสุนทร คงสุนทรกิจกุล อายุ 60 วุฒิทางการศึกษา ปริญญาตรีวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย การดำรงตำแหน่งปัจจุบัน

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการฝ่ายปฎิบัติการธุรกิจนิคมอุตสาหกรรม ร่วมงานกับบริษัทฯ เหมราชตั้งแต่ปี 2550 % การถือครองหลักทรัพย์ ณ วันที่ 31/12/53 0.00% 5 นายปรีเปรม มาลาสิทธฺ์ อายุ 58 วุฒิทางการศึกษา ปริญญาโทบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยนอร์ทเทอร์น อิลีนอยล์ สหรัฐอเมริกา การดำรงตำแหน่งปัจจุบัน

ผู้อำนวยการฝ่ายศูนย์การฝึกอบรมนิคมอุตสาหกรรม ร่วมงานกับบริษัทฯ เหมราชตั้งแต่ปี 2550 % การถือครองหลักทรัพย์ ณ วันที่ 31/12/53 0.00% 6 นายศิริศักดิ์ กิจรักษา อายุ 50 วุฒิทางการศึกษา ปริญญาตรีคณะบัญชี มหาวิทยาลัยกรุงเทพ การดำรงตำแหน่งปัจจุบัน

ผู้อำนวยการฝ่ายบัญชีและกฏหมาย

ร่วมงานกับบริษัทฯ เหมราชตั้งแต่ปี 2533 % การถือครองหลักทรัพย์ ณ วันที่ 31/12/53 0.00% 7 นายคำฮอง รัศมานี อายุ 44 วุฒิทางการศึกษา ปริญญาโทบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ การดำรงตำแหน่งปัจจุบัน

ผู้อำนวยการฝ่ายวางแผนโครงการระบบน้ำและโรงไฟฟ้าขนาดเล็ก ร่วมงานกับบริษัทฯ เหมราชตั้งแต่ปี 2538 % การถือครองหลักทรัพย์ ณ วันที่ 31/12/53 0.00% 8 นางสาวลัดดา โรจนาวิไลวุฒิ อายุ 43 วุฒิทางการศึกษา ปริญญาโทสาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, ปริญญาโทด้านภาษาญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยสตรีนารา, นารา, ญี่ปุ่น การดำรงตำแหน่งปัจจุบัน

ผู้อำนวยการฝ่ายลูกค้าสัมพันธ์ธุรกิจนิคมอุตสาหกรรม ร่วมงานกับบริษัทฯ เหมราชตั้งแต่ปี % การถือครองหลักทรัพย์ ณ วันที่ 31/12/53

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010

2544 0.00%

ผู้อำนวยการฝ่ายการเงิน

ร่วมงานกับบริษัทฯ เหมราชตั้งแต่ปี

การดำรงตำแหน่งปัจจุบัน

2536 0.00% อายุ 41

วุฒิทางการศึกษา

ปริญญาโทสาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยนอตติ้งแฮม อังกฤษ, ปริญญาโทวารสารศาตร์สาขาวิชาสื่อสาร มวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การดำรงตำแหน่งปัจจุบัน

ผู้อำนวยการฝ่ายการตลาด

ร่วมงานกับบริษัทฯ เหมราชตั้งแต่ปี

% การถือครองหลักทรัพย์ ณ วันที่ 31/12/53 13 นายอภิชาติ ตรงสุขสรรค์

2547 0.00% อายุ 46

วุฒิทางการศึกษา

ปริ ญ ญาโทสาขาบริ ห ารธุ ร กิ จ สถาบั น บั ณ ฑิ ต พั ฒ นบริ ห ารศาสตร์ , ปริ ญ ญาโทสาขาคอมพิ ว เตอร์ มหาวิทยาลัยมหิดล การดำรงตำแหน่งปัจจุบัน

ผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายระบบข้อมูลและบริการ ร่วมงานกับบริษัทฯ เหมราชตั้งแต่ปี % การถือครองหลักทรัพย์ ณ วันที่ 31/12/53 14 นายธนินทร์ ทรัพย์บุญเรือง วุฒิทางการศึกษา

ปริญญาโทสาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ การดำรงตำแหน่งปัจจุบัน

ผู้อำนวยการฝ่ายพัฒนาโครงการธุรกิจนิคมอุตสาหกรรม ร่วมงานกับบริษัทฯ เหมราชตั้งแต่ปี % การถือครองหลักทรัพย์ ณ วันที่ 31/12/53 15 นายเผ่าพิทยา สมุทรกลิน วุฒิทางการศึกษา

ปริญญาโทด้านการเงิน มหาวิทยาลัยเดรกเซล สหรัฐอเมริกา การดำรงตำแหน่งปัจจุบัน

ผู้อำนวยการฝ่ายวางแผนและนักลงทุนสัมพันธ์ ร่วมงานกับบริษัทฯ เหมราชตั้งแต่ปี % การถือครองหลักทรัพย์ ณ วันที่ 31/12/53 16 นายนิพนธ์ หาญพัฒนพานิชย์ วุฒิทางการศึกษา

ปริญญาโทสาขาบริหารธุรกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การดำรงตำแหน่งปัจจุบัน

2537 0.00% อายุ 47 2539 0.00% อายุ 40 2539 0.00% อายุ 54

ผู้อำนวยการฝ่ายวางแผนโครงการธุรกิจที่พักอาศัย ร่วมงานกับบริษัทฯ เหมราชตั้งแต่ปี 2546 % การถือครองหลักทรัพย์ ณ วันที่ 31/12/53 0.00% 17 นางสาวปรารถนา กิจจานนท์ อายุ 46 วุฒิทางการศึกษา ปริญญาโทสาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การดำรงตำแหน่งปัจจุบัน

ผู้อำนวยการฝ่ายจัดหา

ร่วมงานกับบริษัทฯ เหมราชตั้งแต่ปี

% การถือครองหลักทรัพย์ ณ วันที่ 31/12/53

2551 0.00%


ลักษณะการดำเนินธุรกิจและโครงสร้างธุรกิจ

0

บริษทั ฯ เป็นผูน้ ำในด้านการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมและระบบสาธารณูปโภคในประเทศไทยนับตัง้ แต่ปี 2531เป็นต้น มา “ดีทรอย์ออฟเดอะอีสท์” ในอีสเทิรน์ ซีบอร์ด เป็นศูนย์รวมของกลุม่ อุตสาหกรรมรถยนต์ระดับชัน้ นำ เป็นทีต่ งั้ ของบริษทั ฟอร์ด บริษทั มาสด้า บริษทั เจนเนอรัล มอเตอร์ส (ประเทศไทย) จำกัด บริษทั ออโต้อลั ลายแอนซ์ (ประเทศไทย) จำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ร่วมทุนระหว่างฟอร์ดและมาสด้า และอีกกว่า 140 บริษทั ทัว่ โลกที่ ได้เลือกนิคมของบริษทั ฯ เป็นฐานทีต่ งั้ การผลิตในประเทศไทย ด้วยทำเลที่ตั้งใกล้กับศูนย์ปิ โตรเคมีแห่งชาติ ท่าเรือน้ำลึกมาบตาพุดในจังหวัดระยองและท่าเรือน้ำลึกแหลมฉบังในจังหวัดชลบุรี นิคมอุตสาหกรรมของบริษทั ฯ จึงเป็นศูนย์รวมของอุตสาหกรรมในกลุม่ ปิโตรเคมี และอุตสาหกรรมอืน่ ๆ มาเป็นเวลากว่า 20 ปี นอกเหนือจากที่ดินในนิคมอุตสาหกรรม ระบบสาธารณูป โภค โรงงานสำเร็จรูปสำหรับขายและเช่า การให้บริการใน นิคมอุตสาหกรรมอื่นๆ ที่รวมไปถึงระบบโลจิสติกส์และระบบการบริหารจัดการ Supply Chain ในนิคมอุตสาหกรรมและเขต ประกอบการอุตสาหกรรมของบริษทั ฯ ทัง้ 6 แห่งซึง่ ส่วนใหญ่ตงั้ อยู่ ในเขตอีสเทิรน์ ซีบอร์ดประเทศไทยแล้ว บริษทั ฯ มีความมุง่ มัน่ ในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมมีการวางนโยบายและแผนงานในนิคมอุตสาหกรรมของบริษัทฯ จากความสำเร็จในการดำเนิน การจัดตั้ง “ศูนย์ป้องกันและเฝ้าระวังทางด้านสิ่งแวดล้อมแบบครบวงจร” หรือ “ศูนย์ E=MC2” การได้รับการรับรองระบบ คุณภาพ ISO 14001, ISO 9001:2000 และรางวัลจาก EIA ด้านการจัดการเรื่องสิ่งแวดล้อมจากกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม รวมไปถึงผลการประเมินการกำกับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนในประเทศไทยประจำปี 2553 ใน ระดับ “5 ดาว” หรือ “ดีเลิศ” ทำให้บริษทั ฯ ได้รบั การคัดเลือกให้เป็นนิคมฯต้นแบบในการบริหารจัดการนิคมอุตสาหกรรมเชิง เศรษฐนิเวศน์ (Eco Industrial Estate) ร่วมกับการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยในปี 2553 นิคมอุตสาหกรรม บริษทั ฯ ได้พฒั นาและบริหารนิคมอุตสาหกรรมจำนวน 4 แห่งและเขตประกอบการอุตสาหกรรมจำนวน 2 แห่งมีพนื้ ที่ รวมกว่า 31,350 ไร่ (13,000 เอเคอร์) ด้วยจำนวนลูกค้ากว่า 426 รายจากจำนวนสัญญาทีร่ วมสัญญาเช่าจำนวน 643 สัญญา ในจำนวนนีเ้ ป็นกลุม่ ลูกค้ายานยนตร์จำนวน 148 รายจากจำนวน 223 สัญญา ด้วยเงินลงทุนรวมกันกว่า 20,000 ล้านเหรียญ ดอลล่าร์สหรัฐและจำนวนพนักงานรวมกว่า 80,000 คน 1. นิคมอุตสาหกรรมเหมราชอีสเทิรน์ ซีบอร์ด (H-ESIE) 2. นิคมอุตสาหกรรมอีสเทิรน์ ซีบอร์ด (ESIE) 3. นิคมอุตสาหกรรมเหมราชตะวันออก (HEIE) 4. นิคมอุตสาหกรรมเหมราชชลบุรี (HCIE) 5. เขตประกอบการอุตสาหกรรมเหมราชระยอง (HRIL) 6. เขตประกอบการอุตสาหกรรมเหมราชสระบุรี (HSIL) H-ESIE ESIE HEIE HCIE HRIL HSIL รวมทั้งสิ้น

ที่ตั้ง อำเภอปลวกแดง ระยอง อำเภอปลวกแดง ระยอง อำเภอมาบตาพุด ระยอง อำเภอบ่อวิน ชลบุรี อำเภอบ้านค่าย ระยอง อำเภอหนองแค สระบุรี

BOI โซน พื้นที่ (ไร่) 2, 3, เขตปลอดภาษี 8,126 2, 3, เขตปลอดภาษี 8,628 3 3,546 2, เขตปลอดภาษี 3,993 3 3,438 2 3,619 31,350

อุตสาหกรรมหลักที่สำคัญ ผลิตรถยนต์และวัสดุอุปกรณ์รถยนต์ ผลิตรถยนต์และวัสดุอุปกรณ์รถยนต์ เคมี ปิโตรเคมี เหล็ก พลังงาน อิเล็กทรอนิกส์ เหล็ก พลังงาน เคมีเบา สินค้าอุปโภคบริโภค วัสดุก่อสร้าง อิเล็กทรอนิกส์ รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


10

ระบบสาธารณูปโภคในนิคมอุตสาหกรรม บริษัทฯ เป็นบริษัทเอกชนผู้ ให้บริการจัดหาน้ำดิบ น้ำประปาเพื่อใช้ ในอุตสาหกรรมรายใหญ่ที่สุดด้วยปริมาณน้ำที่ สามารถจ่ายได้ถงึ 165,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน และความ สามารถในการบำบัดน้ำเสียได้ถึง 96,000 ลูกบาศก์เมตร ต่อวัน บริษัทฯ ให้บริการด้านระบบสาธารณูป โภคในนิคม อุตสาหกรรมทีม่ คี วามน่าเชือ่ ถือให้กบั ลูกค้าในนิคมอุตสาหกรรม มีการบริหารจัดการนิคมอุตสาหกรรมและระบบสาธารณูป โภค เพือ่ ตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าในอุตสาหกรรมการผลิต นอกจากนีน้ คิ มอุตสาหกรรมทุกนิคมอุตสาหกรรมของบริษทั ฯ ได้รับการรับรองระบบคุณภาพ ISO 14001, ISO 9001:2000 และรางวัลจาก EIA ด้านการจัดการเรื่องสิ่งแวดล้อมจาก กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิง่ แวดล้อม พลังงาน:

- บริ ษั ท เก็ ค โค่ - วั น เป็ น บริ ษั ท ร่ ว มทุ น ระหว่ า ง บริษทั ฯ กับบริษทั โกลว์พลังงาน ซึง่ เป็นบริษทั ในกลุม่ ของ GDF Suez Energy (เดิมคือ Tractebel Belgium) ในโครงการ โรงไฟฟ้าอิสระกำลังการผลิต 660 เมกกะวัตต์ โดยกลุม่ บริษทั โกลว์เป็นผูถ้ อื หุน้ ร้อยละ 65 และ บริษทั ฯ ถือหุน้ ร้อยละ 35 ในการเป็นผูผ้ ลิตและจำหน่ายไฟฟ้าให้กบั การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย (กฟผ.) โดยโครงการเก็คโค่-วัน นี้ ได้รบั การอนุมตั ิ ผ่านการประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมเมือ่ วันที่ 15 พฤษภาคม 2551 และอยู่ ในระหว่างการก่อสร้าง มีกำหนดเริม่ ดำเนินการต้นปี 2555 - บริษทั ฯ ถือหุน้ ร้อยละ 5 ในบริษทั โกลว์ ไอพีพี ซึง่ เป็นผูผ้ ลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ดว้ ยกำลังการผลิต 713 เมกะวัตต์ ทีต่ งั้ อยู่ ในนิคมอุตสาหกรรมเหมราช ชลบุร ี - บริษทั ฯ ถือหุน้ ร้อยละ 12.75 ในโครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำ ห้วยเหาะพาวเวอร์ ในประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว โดยถือผ่านบริษทั ห้วยเหาะไทยจำกัด ซึง่ มีผถู้ อื หุน้ หลักคือ บริษทั ฯ และบริษทั ในกลุม่ โกลว์ ห้วยเหาะพาวเวอร์เป็น บริษัทที่ดำเนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังน้ำขนาด 152 เมกะวัตต์ ในประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวที่ ได้รับสัมปทาน จากรัฐบาลลาวเป็นระยะเวลา 30 ปี น้ำ:

- บริษทั เหมราช วอเตอร์ จำกัด เป็นบริษทั ย่อยทีบ่ ริษทั ฯ ถือหุน้ ร้อยละ 100 เพือ่ พัฒนาและบริหารแหล่งน้ำและจัดจำหน่ายน้ำให้แก่ลกู ค้ากลุม่ โรงงานอุตสาหกรรม - บริษทั เหมราช คลีน วอเตอร์ จำกัด เป็นบริษทั ย่อยทีบ่ ริษทั ฯ ถือ หุน้ ร้อยละ 100 เพือ่ ผลิตและจัดจำหน่ายน้ำที่ ใช้ ในอุตสาหกรรมการผลิตให้แก่ ลูกค้ากลุม่ โรงงานอุตสาหกรรมในนิคมอุตสาหกรรม การให้บริการและระบบสาธารณูปโภคอื่นๆ: บริษัท ฯ ให้บริการด้านสาธารณูป โภคและบริการด้านอุตสาหกรรม อื่นๆ แก่ลูกค้าเพื่อประโยชน์ของลูกค้าในการใช้ทรัพยากรร่วมกัน ซึ่งเป็นการ ขยายขีดความสามารถของบริษัท ฯ และบริษัทฯ คู่ค้าในระดับสากลที่นอก เหนือไปจากการบริหารจัดการในธุรกิจนิคมอุตสาหกรรมของบริษทั ฯ - บริษทั โคเฟลี (ประเทศไทย) เดิมชือ่ บริษทั เอลโย่ เอช ฟาซิลติ ี้ แมนเนจเม้นท์ เป็นบริษัทร่วมทุนกับบริษัท GDF Suez Energy และบริษัท เตียวฮง สีลม จำกัด โดยบริษทั ฯ ถือหุน้ ร้อยละ 40 เพือ่ ให้บริการในด้านการ จัดการดูแลระบบสาธารณูป โภคให้แก่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมในนิคม อุตสาหกรรม ลูกค้าหลัก เช่น ESSO, Glow , Lite On, Saint-Gobain Sekurit, Thai German Ceramic และกลุม่ ของ Siam Ceramic

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


- บริษทั อีสเทิรน์ ไพพ์ ไลน์เซอร์วสิ เซส เป็นบริษทั ย่อยทีบ่ ริษทั ฯ ถือหุน้ ร้อยละ 100 เพือ่ ดำเนินธุรกิจบริการให้เช่าฐาน วางท่อสำหรับการขนส่งสารเคมี ไอน้ำ และแก๊สที่ ใช้ ในอุตสาหกรรมสำหรับลูกค้ากลุม่ อุตสาหกรรมหนักด้วยเงินลงทุนกว่า 200 ล้านบาท - บริษทั เอช-คอนสตรัคชัน่ แมนเนจเมนท์ แอนด์ เอ็นจิเนียริง่ เป็นบริษทั ย่อยทีบ่ ริษทั ฯ ถือหุน้ ร้อยละ 100 เพือ่ ดำเนินธุรกิจการให้บริการด้านการออกแบบ การควบคุมก่อสร้าง และบริการการจัดการในงานก่อสร้าง อสังหาริมทรัพย์

11

โรงงานสำเร็จรูปสำหรับขายและเช่า:

บริษัทฯ ได้ออกแบบและพัฒนาโรงงานสำเร็จรูปที่สามารถขยายพื้นที่ ใช้สอยเพื่อตอบสนองต่อความต้องการในอนาคต ของลูกค้า มีขนาดของโรงงานตัง้ แต่ 500 ตารางเมตรถึง 8,000 ตารางเมตรสำหรับเช่าและขาย ตัง้ อยู่ ในเขตอุตสาหกรรมทัว่ ไป และเขตปลอดภาษี ในหลายนิคมอุตสาหกรรมหรือเขตประกอบการอุตสาหกรรมของบริษทั ฯ ทั้งนี้ โรงงานสำหรับเช่าจะช่วยเพิ่มความยืดหยุ่นให้ กับลูกค้าของบริษทั ฯ ทัง้ ในด้านเงินลงทุน การเงิน รวมไปถึง โอกาสในการขยายพื้นที่ ไปยังโรงงานที่ ใหญ่ขึ้น หรือพื้นที่ที่ พัฒนาเมื่อมีการเติบโตของธุรกิจ โดยมี บริษัท เอช-คอน สตรัคชั่น แมนเนจเม้นท์แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด ซึ่งเป็น บริษัทย่อยของบริษัทฯ เป็นผู้ดูแลจัดการถึงความต้องการใน ระบบสาธารณูป โภคและขนาดของโรงงานเพื่อตอบสนองต่อ ความต้องการของลูกค้า ปัจจุบันบริษัทฯ ได้สร้างโรงงาน สำเร็ จ รู ป จำนวนทั้ ง สิ้ น 125 โรงงานมี พื้ น ที่ ร วมทั้ ง สิ้ น 276,000 ตารางเมตรในหลายนิคมอุตสาหกรรมหรือเขต ประกอบการอุตสาหกรรมของบริษทั ฯ

อสังหาริมทรัพย์เฉพาะเจาะจง:

- บริษัท เอช-ฟีนิกซ์ พร็อพเพอร์ตี้ เป็นบริษัทย่อยที่บริษัทฯ ถือหุ้น ร้อยละ 100 เพือ่ ดูแลจัดการด้านการให้เช่าและการขายอสังหาริมทรัพย์ ในประเภท ที่อยู่อาศัยหรือสำนักงาน มีทุนจดทะเบียนและชำระแล้ว 480 ล้านบาท โดย บริษัทฯ เอช-ฟีนิกซ์ พร็อพเพอร์ตี้ ได้ซื้อกรรมสิทธิ์ ในพื้นที่สำนักงานส่วนใหญ่ของ อาคาร ยูเอ็มทาวเวอร์ และที่ดินที่ติดกันรวม 2ไร่ 3 งาน 55.2 ตารางวา (หรือ 1,155.2 ตารางวา หรือ 4,620.8 ตารางเมตร) อาคารยูเอ็มทาวเวอร์ เป็น อาคารสูง 31ชั้นตั้งอยู่บนที่ดินขนาด 2 ไร่ มีพื้นที่ ในการเช่าและขายกว่า 35,500 ตารางเมตร อาคารนี้ตั้งอยู่ที่เลขที่ 9 ถนนรามคำแหง ซึ่งอยู่ ใกล้กับทางด่วน สนามบิน ส่วนต่อกับอีสเทิร์นซีบอร์ด และติดกับสถานี Airport Express ที่ ได้ เริ่มเปิดดำเนินการในปี 2553 นี้ ด้วยอัตราการเช่าพื้นที่ ในปัจจุบันประมาณ 75% สำหรั บ ที่ ดิ น ที่ ติ ด กั น จะเป็ น ส่ ว นที่ ส ร้ า งโอกาสให้ กั บ บริ ษั ท ฯ ในการพั ฒ นา อสังหาริมทรัพย์ ในอนาคตต่อไป - “เดอะพาร์ค ชิดลม” โครงการคอนโดมิเนียมทีพ่ กั อาศัยระดับหรูใจกลาง กรุ ง เทพฯ ที่ ถู ก รั ง สรรค์ ขึ้ น ภายใต้ แ นวคิ ด “สุ น ทรี ย ภาพแห่ ง ที่ พั ก อาศั ย (A Symphony in Living)” ทีพ่ รัง่ พร้อมด้วยสิง่ อำนวยความสะดวกอันทันสมัย และได้ มาตรฐานระดับโลก ในทำเลทีส่ ะดวกทีส่ ดุ ของกรุงเทพฯ ตัง้ อยู่ ในทีด่ นิ ขนาด 5.5 ไร่ ประกอบด้วยอาคารชุดพักอาศัยจำนวน 2 อาคาร คืออาคารสมคิด ซึ่งมีความสูง 35 ชัน้ และอาคารชิดลม ซึง่ มีความสูง 28 ชัน้ รวมห้องพัก 218 ยูนติ ด้วยขนาด พืน้ ทีร่ วม 87,000 ตารางเมตร หรือคิดเป็นพืน้ ทีข่ ายสุทธิ 53,299 ตารางเมตร ซึ่งได้รับรางวัลชนะเลิศที่พักอาศัยอาคารสูงยอดเยี่ยมของประเทศไทย ในงาน ประกาศผลรางวัลซีเอ็นบีซี เอเชีย แปซิฟกิ อะวอร์ด 2008 จัดขึน้ ทีป่ ระเทศสิงคโปร์

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010

บริษัทร่วม

บริษัทย่อย

บจ.เหมราช ระยอง ที่ดินอุสาหกรรม

99.99%

บจ.เหมราช สระบุรี ที่ดินอุสาหกรรม 99.99%

บจ.อีสเทิร์น อินดัสเตรียลเอสเตท 99.99%

บจ.เหมราช อีสเทิร์น ซีบอร์ด อินดัสเตรียลเอสเตท 99.99%

บจ.อีสเทิร์น ซีบอร์ด อินดัสเตรียลเอสเตท (ระยอง) 60%

นิคมอุตสาหกรรม/ เขตประกอบการอุตสาหกรรม

บจ.เหมราช วอเตอร์

99.99%

บจ.เหมราช คลีน วอเตอร์ 99.99%

น้ำ

บจ.โรงไฟฟ้าห้วยเหาะ (ประเทศ สปป.ลาว)

บจ.เก็คโค่-วัน 35%

พลังงาน

25%

บริการสาธารณูปโภค

25%

บจ.โคเฟลี (ประเทศไทย) 39.99%

บจ.อีสเทิร์น ไพพ์ไลน์ เซอร์วิสเซส 74.99%

บจ.เอช-คอนสตรัคชัน่ แมนเนจเม้นท์ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง 99.99%

อื่นๆ

บมจ.เหมราชพัฒนาที่ดิน

โครงสร้างธุรกิจ

บจ.เดอะพาร์ค เรสซิเดนซ์ 99.99%

บจ.เอช-ฟีนิกซ์ 99.99%

บจ.เอสเอ็มอี แฟคเทอรี่ 99.99%

อสังหาริมทรัพย์

บจ.ห้วยเหาะไทย 51%

Hemaraj International 100%

H-International (BVI) 100%

อื่นๆ

12


เหตุการณ์ที่สำคัญในปี 2553

13

ยอดขายที่ดินอุตสาหกรรม

หลั ง จากภาวะชะลอตั ว ของเศรษฐกิ จ ในปี 2552 บริษัทเหมราชฯ ได้เห็นถึงการกลับมาอย่างต่อ เนื่องของเศรษฐกิจในภาคการผลิตที่สำคัญและการ กลับมาของเศรษฐกิจในระดับโลกในปี 2553 โดย เฉพาะอย่างยิ่งในอุตสาหกรรมยานยนต์และในด้าน การลงทุ น ของอุ ต สาหกรรมในตลาดเกิ ด ใหม่ โดย เฉพาะในประเทศไทย ด้ ว ยการสนั บ สนุ น จากการ เติบโตของตลาด สภาวะการแข่งขัน และโอกาสในการ รวมตัวกัน ส่งผลให้ยอดขายที่ดินอุตสาหกรรมในปี 2553 เพิ่มขึ้นเป็นจำนวน 930 ไร่ (372 เอเคอร์) จากความต้องการอย่างต่อเนื่องของอุตสาหกรรมยานยนต์ เน้นย้ำถึงความสำเร็จของ“ ดีทรอย์ออฟเดอะอีสท์” และการ ขยายความสัมพันธ์มาเป็นเวลายาวนานกว่า 16 ปี บริษัทฟอร์ด มอเตอร์จำกัด ได้เลือกนิคมอุตสาหกรรมเหมราชอีส เทิรน์ ซีบอร์ดให้เป็นทีต่ งั้ ของโรงงานผลิตรถยนต์แห่งใหม่ในประเทศไทยบนเนือ้ ที่ 468 ไร่ (187 เอเคอร์) เมือ่ ต้นปี 2553 จำนวนสัญญาในปี 2553 มีจำนวนทั้งสิ้น 41 สัญญา เป็นลูกค้าใหม่จำนวน 19 รายและเป็น การขยาย โครงการของลูกค้าเก่าอีก 22 ราย โดยรวมแล้วบริษัทฯ มีลูกค้ารวมทั้งหมด 426 รายจากจำนวนสัญญา 643 สัญญา เป็นลูกค้าในกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์จำนวน 148 รายจากจำนวนสัญญา 223 สัญญา

บริษัทฯ ใช้สิทธิซื้อหุ้นส่วนที่เหลือ 75% ในบริษัท เอส ไอ แอล ที่ดินอุตสาหกรรม บริษทั ฯ ได้เข้าซือ้ หุน้ ส่วนทีเ่ หลือร้อยละ 75 ในบริษทั เอส ไอ แอล ทีด่ นิ อุตสาหกรรม จำกัด(เอส ไอ แอล) จาก บริษทั ซีเมนต์ไทย โฮลดิง้ จำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ในเครือ บมจ.ปูนซีเมนต์ไทย เป็นมูลค่าโดยประมาณ 763.7 ล้านบาท รวม กับเงินให้กยู้ มื ของบริษทั กับ เอส ไอ แอล จำนวนเงิน 380 ล้านบาท รวมเป็นจำนวนเงิน 1,143,.7 ล้านบาท บริษทั เอส ไอ แอล ทีด่ นิ อุตสาหกรรม จำกัด (เอส ไอ แอล) เป็นบริษทั พัฒนาเขตประกอบการอุตสาหกรรม ตัง้ อยูท่ จี่ งั หวัดสระบุรี ประเทศไทย และเป็นผูถ้ อื หุน้ ทัง้ หมดในบริษทั ระยองทีด่ นิ อุตสาหกรรม จำกัด (อาร์ ไอ แอล) ตัง้ อยูท่ ี่ จังหวัดระยอง โดยมีทดี่ นิ รวมทัง้ 2 บริษทั อยูก่ ว่า 7,000 ไร่ โดยเมือ่ วันที่ 3 ธันวาคม 2553 บริษทั ฯ ได้จดทะเบียนเปลีย่ นชือ่ บริษทั ระยองทีด่ นิ อุตสาหกรรม จำกัด เป็น บริษทั เหมราช ระยอง ทีด่ นิ อุตสาหกรรม จำกัด และเมือ่ วันที่ 7 ธันวาคม 2553 บริษทั ได้จดทะเบียนเปลีย่ นชือ่ บริษทั เอส ไอ แอล ทีด่ นิ อุตสาหกรรม จำกัด เป็น บริษทั เหมราช สระบุรี ทีด่ นิ อุตสาหกรรม จำกัด บริษัทฯ ร่วมกับ กสท. ให้บริการวงจรสื่อสารความเร็วสูงในนิคมของเหมราช เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2553 บริษัทฯ ร่วมกับ บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) ลงนามบันทึกข้อ ตกลง (MOU) จัดทำ “โครงการความร่วมมือการให้บริการวงจรสื่อสารความเร็วสูง” ทั้งนี้ เพื่อยกระดับระบบสื่อสาร รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


14

โทรคมนาคมภายในนิคมอุตสาหกรรมในกลุ่มเหมราชฯ ให้มีระบบสื่อสารโทรคมนาคมที่มีศักยภาพ ทันสมัย รวดเร็ว ตอบ สนองต่อความต้องการของผู้ประกอบการ และนักลงทุนทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ โดยกสท.จะเป็นผู้ดำเนินการ จัดหาวางระบบโครงข่ายเคเบิลใยแก้วให้ครอบคลุมพื้นที่ในนิคมฯ ทั้งหมดด้วยเทคโนโลยี Fiber To The Factory ซึ่ง นับเป็นโครงการนำร่องในนิคมอุตสาหกรรมเป็นแห่งแรกของประเทศไทย ทริสเรตติ้งคงอันดับเครดิตองค์กรที่ “A-” และปรับแนวโน้มจาก“ลบ”เป็น “คงที่” เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2553 ทริสเรทติ้งยืนยันอันดับเครดิตของบริษัทฯ ที่ระดับ “A-” โดยอันดับเครดิตสะท้อน ถึงผลงานในการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมซึ่งเป็นที่ยอมรับ ตลอดจนรายได้จากบริการสาธารณูปโภคที่แน่นอน และ โครงสร้างทางการเงินที่อยู่ในระดับดี ในขณะเดียวกัน ทริสเรทติ้งยังปรับแนวโน้มอันดับเครดิตของบริษัทเป็น “คงที่” จาก “ลบ” ซึ่งสะท้อนถึงการฟื้นตัวของยอดขายที่ดินในนิคมอุตสาหกรรมของบริษัทและแนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ โลกซึ่งจะส่งผลให้ความต้องการที่ดินในนิคมอุตสาหกรรมโดยรวมเพิ่มขึ้นในอนาคต อย่างไรก็ตามสถานการณ์ทางการ เมืองภายในประเทศที่ยังไม่มีเสถียรภาพและปัญหาในพื้นที่มาบตาพุดยังคงเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการพิจารณาอันดับเครดิต แนวโน้มอันดับเครคิต “คงที่” สะท้อนถึงการฟื้นตัวอย่างต่อเนื่องของการผลิตในภาคอุตสาหกรรมที่สำคัญ ซึ่งจะส่งผลให้ ความต้องการที่ดินในนิคมอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น รายได้จากธุรกิจบริการสาธารณูปโภคและค่าเช่าที่เพิ่มขึ้นจะช่วยเพิ่ม กระแสเงินสดและช่วยลดความผันผวนของรายได้จากการขายที่ดินในนิคมอุตสาหกรรมให้แก่บริษัท ทั้งนี้ทริสเรทติ้งคาด หวังว่าบริษัทจะยังคงดำเนินธุรกิจอย่างระมัดระวังและสามารถรักษาอัตราส่วนเงินกู้ต่อโครงสร้างเงินทุนให้ต่ำกว่าเกณฑ์ 50% ได้ บริษัทฯ ได้รับการจัดอันดับในเกณฑ์ดีเลิศจากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย และดีเยี่ยมจากสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย จากการประเมินการกำกับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนประจำปี 2553 โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย บริษัทฯ ได้คะแนนประเมินอยู่ในเกณฑ์ “ดีเลิศ“และจากการประเมินการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจำปี 2553 โดยสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย บริษัทฯ ได้รับคะแนนอยู่ในเกณฑ์ “ดีเย่ียม“ งานลูกค้าสัมพันธ์ที่สำคัญในระหว่างปี

• บริษัทฯ แสดงความยินดีกับ บริษัท ฟอร์ดมอเตอร์ ประเทศไทย ในโอกาสวางศิลาฤกษ์โรงงานแห่งใหม่

บริษทั ฯ ร่วมแสดงความยินดีกบั ฟอร์ด มอเตอร์ คัมปะนี ประเทศไทย ในพิธวี างศิลาฤกษ์โรงงานผลิตรถยนต์ แห่งใหม่ของฟอร์ดบนพืน้ ที่ 468 ไร่ ในนิคมฯ เหมราช อีสเทิรน์ ซี บอร์ด โอกาสเดียวกันยังเป็นการฉลองวาระครบรอบ 15 ปี แห่ง ความสัมพันธ์ในการร่วมสร้าง “ดีทรอยท์แห่งตะวันออก” ให้เติบโต ด้วย บริษทั ฟอร์ด มอเตอร์ คัมปะนี ประเทศไทย ได้ประกาศการ ลงทุน 15,000 ล้านบาท เพือ่ ก่อสร้างโรงงานผลิตรถยนต์แห่งใหม่ นี้ ซึ่ ง จะเริ่ ม ผลิ ต รถยนต์ นั่ ง ในปี 2555 ด้ ว ยกำลั ง การผลิ ต 150,000 คันต่อปี • บริษัท อิตะคุระ จิทซึเงียว เซ็นสัญญาซื้อโรงงานสำเร็จรูป

ที่นิคมเหมราชฯ

บริษัท อิตะคุระ จิทซึเงียว จำกัด ได้ลงนามสัญญาซื้อ โรงงานสำเร็จรูปภายในนิคมอุตสาหกรรม เหมราชอีสเทิร์นซีบอร์ด โดยโรงงานแห่งนี้จะประกอบชิ้นส่วนกระจกรถยนต์เพื่อส่งให้กับ บริษัท ซูซูกิ ออโตโมบิล แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จำกัด

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


• ชาลิปส์ ไซลินเดอร์ ซื้อที่ดิน 70 ไร่ในนิคมฯ อีสเทิร์นซีบอร์ด (ระยอง)

บริษัท ชาลิปส์ ไซลินเดอร์ จำกัด ผู้นำในการผลิตถังบรรจุ ก๊าซความดันสูงจากอิตาลี ได้ลงนามในสัญญาซื้อขายที่ดินจำนวน 70 ไร่ภายในนิคมอุตสาหกรรมอีสเทิร์นซีบอร์ด (ระยอง) เพื่อเป็นที่ ตั้งโรงงานแห่งแรกในประเทศไทย ซึ่งจะใช้เป็นฐานการผลิตภาชนะ สำเร็จรูปสำหรับบรรจุก๊าซอัด หรือก๊าซเหลว ด้วยกำลังการผลิต 200,000 ชิ้นต่อปี โดยมีแผนเริ่มการผลิตในปี 2554 ด้วยเงิน ลงทุน 2,000 ล้านบาท

15

• เอ็มแอนด์ทีฯ ซื้อที่ดินเพิ่มในนิคมฯ อีสเทิร์นซีบอร์ด (ระยอง)

บริษัท เอ็มแอนด์ที อัลไลด์ เทคโนโลยี่ส์ จำกัด ผู้นำใน การผลิตและประกอบชิ้นส่วนอุปกรณ์ยานยนต์สำหรับรถยนต์จาก ประเทศญี่ ปุ่น ได้ ล งนามในสั ญ ญาซื้ อ ที่ ดิ น เพิ่ ม 5 ไร่ เพื่ อ ขยาย โรงงานภายในนิคมอุตสาหกรรมอีสเทิร์นซีบอร์ด (ระยอง) เอ็ ม แอนด์ ที ฯ เป็ น บริ ษั ท ผลิ ต คั น เกี ย ร์ ร ถยนต์ แ ละตั ว แขวนยาง อะไหล่ การขยายโรงงานในครั้งนี้ เป็นไปตาม แผนงานขยายกำลัง การผลิตเพื่อส่งให้กับบริษัทผลิตรถยนต์ชั้นนำ อาทิ โตโยต้า อีซูซุ ฮอนด้า ฟอร์ด มาสด้า และซูซูกิ

• เคซี อัลเทคฯ เซ็นสัญญาซื้อโรงงานสำเร็จรูปที่นิคมเหมราชฯ

บริษัท เคซี อัลเทค (ประเทศไทย) จำกัด ได้ลงนามใน สัญญาซื้อโรงงานสำเร็จรูปภายในนิคม โรงงานแห่งนี้จะใช้ผลิตท่อ อลูมิเนียมเพื่อส่งให้กับ บริษัท แอลจี อีเลคทรอนิคส์ (ประเทศไทย) จำกัด และ บริษัท ฮาลล่า ไคลเมท คอนโทรล (ประเทศไทย) จำกัด ด้วยทุนจดทะเบียน 37 ล้านบาท

• ไดเคียวนิชิกาวา (ประเทศไทย) เตรียมขยายโรงงานซื้อ ที่ดินเพิม่ 14 ไร่ ในนิคมฯ เหมราช อีสเทิร์นซีบอร์ด

บริษัท ไดเคียวนิชิกาวา (ประเทศไทย) จำกัด หนึ่งใน ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกที่ใหญ่ที่สุดจากประเทศญี่ปุ่นซื้อที่ดินเพิ่ม 14 ไร่ จากเดิมที่มีพื้นที่ 25 ไร่ เพื่อขยายโรงงานในเขตนิคม อุตสาหกรรมเหมราชอีสเทิร์นซีบอร์ด โดยคาดว่าโรงงานแห่งใหม่จะ สามารถเพิ่มกำลังการผลิตชิ้นส่วนพลาสติกสำหรับรถยนต์เพื่อป้อน ให้ บริษัท ออโต้ อัลลายแอนซ์ (ประเทศไทย) จำกัด

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


16

• โบลเวลล์ โฮลดิ้งส์ (ไทยแลนด์) ซื้อโรงงานสำเร็จรูปใน นิคมฯ เหมราช อีสเทิร์นซีบอร์ด

บริษัท โบลเวลล์ โฮลดิ้งส์ (ไทยแลนด์) จำกัด บริษัท ผู้เชี่ยวชาญในด้านการผลิตชิ้นส่วนพลาสติกจากประเทศออสเตรเลีย ได้ เ ซ็ น สั ญ ญาซื้ อ ที่ ดิน และโรงงานสำเร็จ รูปในนิ ค มอุ ต สาหกรรม เหมราชอีสเทิร์นซีบอร์ด โรงงานแห่งนี้จะผลิตชิ้นส่วนพลาสติกเพื่อ ส่งออก โดยมีกำลังการผลิตสูงสุด 75,000 ชิ้น ต่อปี

• นารูมิ (ประเทศไทย) เซ็นสัญญาซื้อโรงงานสำเร็จรูปใน

นิคมฯ อีสเทิร์นซีบอร์ด (ระยอง)

บริ ษั ท นารูมิ (ประเทศไทย) จำกัด ได้ เ ซ็ น สั ญ ญาซื้ อ โรงงานสำเร็จรูป ในนิคมอุตสาหกรรม อีสเทิร์นซีบอร์ด (ระยอง) ด้วยเงินทุนจดทะเบียน 100 ล้านบาท โรงงานแห่งนี้จะผลิตที่ เปิดประตูรถยนต์ เพื่อจัดส่งให้แก่ มิตซูบิชิ แหลมฉบัง โดยมีกำลัง การผลิต 2 ล้านชิ้นต่อปี

• ยูโรเครา (ประเทศไทย) เช่าโรงงานสำเร็จรูปในนิคมฯ เหมราชอีสเทิร์นซีบอร์ด บริษัท ยูโรเครา (ประเทศไทย) จำกัด ผู้ผลิตแก้วเซรามิค กันความร้อนชั้นนำจากฝรั่งเศส ได้เซ็นสัญญาเช่าโรงงานสำเร็จรูป ในนิคมอุตสาหกรรมเหมราชอีสเทิร์นซีบอร์ด เพื่อผลิตชิ้นส่วนแก้ว เซรามิคสำหรับอุปกรณ์ไฟฟ้าในห้องครัว โดยจะเปิดทำการอย่าง เต็มรูปแบบภายในปี 2554

• คาทูน นาที (ไทยแลนด์) ขยายโรงงานในนิคมฯ เหมราชอีสเทิร์นซีบอร์ด

บริษัท คาทูน นาที (ไทยแลนด์) จำกัด ผู้นำด้านการ บริการระบบโลจิสติกส์แบบเพิ่มมูลค่าจากประเทศเบลเยียม ได้เซ็น สัญญาซื้อที่ดินจำนวน 65 ไร่ ในนิคมอุตสาหกรรมเหมราชอีสเทิร์น ซีบอร์ด เพื่อขยายโรงงานและฐานบริการระบบโลจิสติกส์ โดยจะให้ บริ ก ารขนส่ ง สินค้า รับฝากและจัดเก็บสินค้า รวมถึงการจัดการ คลังสินค้า บรรจุภณ ั ฑ์และฉลาก เป็นต้น

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


• แสงเจริญ อีสเทิร์น กัลวาไนซ์ ซื้อที่ดิน 21 ไร่ ในนิคมฯ

เหมราชชลบุรี

17

บริษัท แสงเจริญ อีสเทิร์น กัลวาไนซ์ จำกัด ผู้ให้บริการ งานชุบเคลือบสังกะสี และโลหะ ได้เซ็นสัญญาซื้อที่ดิน 21 ไร่ ในนิ ค มอุ ต สาหกรรมเหมราชชลบุ รี เพื่ อ สร้ า งโรงงานแห่ ง ใหม่ ด้วยเงินลงทุนจดทะเบียน 25 ล้านบาท

• มิโนรุ (ไทยแลนด์) เซ็นสัญญาซื้อโรงงานสำเร็จรูปใน นิคมฯ อีสเทิร์นซีบอร์ด (ระยอง)

บริษัท มิโนรุ (ไทยแลนด์) จำกัด ผู้ผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ จากประเทศญี่ ปุ่ น ได้ เ ซ็ น สั ญ ญาซื้ อ โรงงานสำเร็ จ รู ป ในนิ ค ม อุตสาหกรรมอีสเทิร์นซีบอร์ด (ระยอง) โดยโรงงานแห่งนี้จะผลิต ท่อแอร์รถยนต์, สปอยเลอร์ และกล่อง HVAC ด้วยกำลังผลิต 350,000 ชิ้นต่อเดือน เพื่อจัดจำหน่ายให้บริษัทผู้ผลิตรถยนต์และ ชิ้นส่วนรถยนต์อื่น ๆ

• ทานากะ อาอิ (ประเทศไทย) ขยายโรงงานในนิคมฯ อีสเทิร์นซีบอร์ด (ระยอง)

บริษัท ทานากะ อาอิ (ประเทศไทย) จำกัด ผู้ให้บริการ ตั ด แผ่ น ผ้ า ปลอดเชื้ อ สำหรั บ ผ้ า อ้ อ มชั้ น นำจากประเทศญี่ ปุ่ น ได้ เซ็นสัญญาซื้อที่ดินเพิ่ม 12 ไร่ เพื่อขยายโรงงานในนิคม การซื้อ ที่ดินเพิ่มครั้งนี้จะทำให้ บริษัท ทานากะ อาอิ (ประเทศไทย) มีพื้นที่ ประกอบการรวมทั้งสิ้นประมาณ 92 ไร่ ในนิคมฯ อีสเทิร์นซีบอร์ด (ระยอง) การส่งเสริมและใส่ใจคุณภาพสังคม

• เหมราชฯ ร่วมมือกับ สอศ. และ สพฐ.จัดทำโครงการส่งเสริมทักษะอาชีวอุตสาหการให้แก่เด็กนักเรียน ในจังหวัดระยองและชลบุรี

นางสาวนริ ศ รา ชวาลตั น พิ พั ท ธ์ รั ฐ มนตรี ช่ ว ยว่ า การ กระทรวงศึกษาธิการ ให้เกียรติเป็นประธานในพิธีลงนามความ ร่ ว มมื อ (MOU) ”โครงการส่ ง เสริ ม ทั ก ษะอาชี ว อุ ต สาหการให้ นักเรียนในโรงเรียนขยายโอกาส และโรงเรียนในสังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ในเขตพื้นที่จังหวัดระยองและ ชลบุรี ระหว่าง บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน) กับ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) และสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) โครงการดังกล่าว มีวัตถุประสงค์ที่จะสอนทักษะทางวิชาชีพอาชีวอุตสาหการ ในวิชาไฟฟ้าเบื้องต้น และวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ให้เยาวชนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เพื่อให้มีทักษะที่เป็นประโยชน์กรณีเข้าสู่ตลาดช่างฝีมือแรงงานในอนาคต รวมทั้ง เป็นการเปิดโลกวิชาชีพด้านอาชีวศึกษาให้เป็นทางเลือกการในศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพเพื่อตอบรับกับความต้องการ ในภาคอุตสาหกรรม โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการในระยะแรกเป็นโรงเรียนอยู่รายรอบเขตนิคมอุตสาหกรรมของ เหมราชในจังหวัดระยองและชลบุรีรวม 7 โรงเรียน รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


18

• เหมราชฯ บริจาคเงินช่วยเหลือผู้ประสบภัยแผ่นดินไหวที่เฮติ นายสุเทพ เทือกสุบรรณ รองนายกรัฐมนตรีฝ่ายความ

มั่นคง ร่วมเป็นสักขีพยานในการรับมอบเงินบริจาคจำนวนกว่า 6.6 ล้านบาท จาก ผู้บริหาร และพนักงานของ บริษัทฯ และบริษัท ในเครือ ให้แก่ นายวีระชัย วีระเมธีกุล รัฐมนตรีประจำสำนักนายก รัฐมนตรี เพื่อสมทบทุนช่วยเหลือผู้ประสบภัยแผ่นดินไหวในประเทศ เฮติ ที่ทำเนียบรัฐบาล

• เหมราชฯ ได้รับรางวัล CSR Excellence Awards ประจำปี 2553 จากหอการค้าอเมริกันฯ

บริษัทฯ ได้รับรางวัลองค์กรที่มีผลงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ดีเด่น ประจำปี 2553 (CSR Excellence Awards 2010) จาก หอการค้าอเมริกันในประเทศไทย (AMCHAM) รางวัลดังกล่าวจัดขึ้น เพื่อเชิดชูคุณความดีบริษัทฯ สมาชิก ที่ได้ดำเนินโครงการ และกิจกรรมที่ เป็นประโยชน์และรับผิดชอบต่อสังคมในรูปแบบต่างๆ ทั้งนี้ เหมราชฯ ได้ดำเนินธุรกิจโดยใช้ระบบธรรมาภิบาล ควบคู่ไปกับการทำกิจกรรมเพื่อ สังคมอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนมากว่า 20 ปี • เหมราชฯ จัดกิจกรรมปลูกต้นไม้ในนิคมฯ อีสเทิร์นซีบอร์ด

(ระยอง)

บริษัทฯ จัดโครงการปลูกต้นไม้ในนิคมอุตสาหกรรมอีสเทิร์น ซีบอร์ด (ระยอง) เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวและเสริมแนวกันชนให้กับพื้นที่ ภายในนิคมฯ ในการปลูกต้นไม้ จำนวน 1,000 ต้น ร่วมกับ บริษัทฯ ผู้นำชุมชน สมาชิกชุมชน และผู้ประกอบการในนิคมฯ อีสเทิร์นซีบอร์ด (ระยอง) • เหมราชฯ จัดโครงการ “วาดศิลป์...ที่บ้านเกิด“ บริษัทฯ ได้จัดโครงการ “วาดศิลป์...ที่บ้านเกิด“ เป็นโครงการ ต่ อ เนื่ อ ง โดยเริ่ ม ตั้ ง แต่ ปี 2552 โดยจั ด เป็ น ค่ า ยศิ ล ปะสำหรั บ เด็ ก นักเรียน โดยเชิญศูนย์ศิลปะวัฒนธรรมสัญจรมาให้ความรู้เบื้องต้นทาง ศิลปะ ทั้งภาคทฤษฎีอย่างง่ายๆ และภาคปฏิบัติที่สนุกสนานพร้อม เชื่อมโยงศิลปะเข้ากับสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมท้องถิ่นเพื่อเพิ่มความรู้ ด้านศิลปะ ส่งเสริมการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ รวมทั้งปลูกจิตสำนึก ให้เด็กๆ เกิดความภูมิใจและรักถิ่นฐานของตนเอง

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


• ชมรมความปลอดภัย นิคมฯ เหมราชตะวันออก จัดกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์

ชมรมความปลอดภั ย และสิ่ ง แวดล้ อ ม (ESEC) นิ ค ม อุตสาหกรรมเหมราชตะวันออก (มาบตาพุด) ร่วมกับ การนิคม อุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย จั ด กิ จ กรรม “ESEC Day in School” ที่โรงเรียนวัดมาบชลูด จังหวัดระยอง เพื่อให้ความรู้ใน ด้ า นความปลอดภั ย แก่ ผู้ เ กี่ ย วข้ อ งในโรงเรี ย น โดยมี ตั ว แทนผู้ ประกอบการในนิคมฯ ร่วมกันปรับปรุงพื้นที่ต่างๆ ในโรงเรียนให้ เกิดความปลอดภัย อาทิ การทาสีตีเส้นจราจร และการปรับปรุง แผ่นปิดรางระบายน้ำในโรงเรียน

19

• เหมราชฯ สนับสนุนสโมสรชลบุรี เอฟซีในการแข่งขัน ฟุตบอลไทยพรีเมียร์ลีก 2010

บริษัทฯ ในฐานะผู้สนับสนุนหลักของสโมสรชลบุรีเอฟซี ร่วมงานแถลงข่าวความพร้อมของสโมสรชลบุรีเอฟซีใน “การแข่งขัน ฟุตบอลไทยพรีเมียร์ลีก 2010” ซึ่งจะจัดขึ้นในระหว่างวันที่ 13 มีนาคม – 30 ตุลาคม 2553 ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้เข้าร่วมสนับสนุน สโมสรชลบุรีเอฟซีมาตั้งแต่ปี 2551 โดยมอบเงินให้แก่สโมสรปีละ 6,000,000 บาท เป็นระยะเวลา 3 ปีติดต่อกัน รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 18 ล้านบาท

• เอส ไอ แอล รับมอบโล่และเกียรติบัตร CSR-DIW

นายวิฑูรย์ สิมะโชคดี ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม มอบโล่ และเกียรติบัตรรับรองการปฏิบัติตามมาตรฐานของกรมโรงงาน อุ ต สาหกรรม ว่ า ด้ ว ยการแสดงความรั บ ผิ ด ชอบของโรงงาน อุตสาหกรรมต่อสังคม (CSR-DIW) ให้แก่ นายสุนทร คงสุนทรกิจกุล ผู้ช่วยกรรมการผุ้จัดการ บริษัท เอส ไอ แอล ที่ดินอุตสาหกรรม จำกั ด ภายหลั ง ผ่ า นการอบรมและทวนสอบจากสถาบั น รั บ รอง มาตรฐานไอ เอส โอ (MASCI) ทั้งนี้ เอส ไอ แอล เป็นหนึ่งในสอง บริษัทในจังหวัดสระบุรีที่ได้รับการรับรอง CSR-DIW

• เหมราชฯ ต่อยอดโครงการสอนแบบบูรณาการ แก่ครูประถมในอีสเทิร์นซีบอร์ด

บริษัทฯ ร่วมกับ มูลนิธิหอการค้าอเมริกันแห่งประเทศไทย จัด “สัมมนาและนิทรรศการการศึกษาแบบ บูรณาการ” เพื่อต่อยอดจากโครงการ Adopt A School : Train the Trainers ที่อีซี่พลาซ่า 1 นิคมฯ อีสเทิร์น ซีบอร์ด (ระยอง) โดยมี 6 โรงเรียนนำร่อง ในจังหวัดระยองและชลบุรีซึ่งได้เข้ารับการอบรมและสัมมนาการจัดการเรียน การสอนโดยเน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง แทนการเรียนแบบการท่องจำ โดยโรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา จังหวัดบุรีรัมย์ นำโครงงาน การ บริหารจัดการ และประสบการณ์จริงที่เกิดขึ้นมาพูดคุยแลกเปลี่ยน อีกทั้ง ยังได้นำชิ้นงานของนักเรียนที่ได้รับการเรียนการสอนแบบบูรณาการ ดังกล่าวมาจัดแสดงให้ชมด้วย นอกจากนี้ยังเปิดรับสมัครโรงเรียนที่สนใจ เข้ า ร่ ว มโครงการเพิ่ ม โดยบริ ษั ท เหมราชฯ และ มู ล นิ ธิ ห อการค้ า อเมริกันฯ จะยังคงให้การสนับสนุนอย่างต่อเนื่องต่อไป

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


20

• เหมราชฯ แจกจ่ายน้ำให้แก่ผู้ประสบภัยแล้งที่ อ.ปลวกแดง จ.ระยอง

บริษัทฯ ร่วมกับ ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย องค์การ บริหารส่วนตำบลปลวกแดง จังหวัดระยอง แจกจ่ายน้ำให้กับชุมชนต่างๆ ในเขต อบต.ปลวกแดงที่ประสบปัญหาขาดแคลนน้ำในการอุปโภคบริโภค อันเนื่องมาจากสถานการณ์ภัยแล้ง โดยตั้งแต่เดือนมีนาคม - เดือน พฤษภาคม ได้แจกจ่ายน้ำให้แก่ชุมชนไปแล้วกว่า 1400 ลูกบาศก์เมตร

• เหมราชฯ มอบอุปกรณ์การศึกษาแก่ 51 โรงเรียน

ในจังหวัดระยองและชลบุร ี

บริษัทฯ ร่วมกับลูกค้าและพันธมิตรในนิคมอุตสาหกรรมของ เหมราชฯ มอบอุ ป กรณ์ ก ารศึ ก ษาและกี ฬ าประจำปี 2553 ให้ แ ก่ เด็กนักเรียนกว่า 13,700 คน จาก 51 โรงเรียน ในจังหวัดระยอง และชลบุรี ซึ่งโครงการดังกล่าวเป็นหนึ่งในกิจกรรมเพื่อสังคมที่บริษัท เหมราชฯ จัดขึ้นอย่างต่อเนื่องมากว่า 12 ปี

• กนอ. และชมรมผู้ประกอบการในเขตมาบตาพุดสนับสนุนเอกชนดึงรายได้สู่ท้องถิ่นระยอง

การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) ร่วมกับ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) และชมรม ผู้ประกอบการนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง ลงนามบันทึก แสดงเจตนารมณ์ร่วมกันสนับสนุนให้ผู้ประกอบการในนิคมอุตสาหกรรม พื้นที่มาบตาพุดดึงรายได้สู่ท้องถิ่น จ.ระยอง โดยการให้หน่วยงาน และ บุคลากรของแต่ละองค์กร โอนย้ายทะเบียนรถและทะเบียนราษฎร์สู่ จังหวัดระยอง เพื่อนำรายได้จากภาษีธุรกิจ ภาษีล้อเลื่อนและภาษีบุคคล มาพัฒนาพืน้ ที่ และคุณภาพชีวติ ของชาวจังหวัดระยอง โดยมีผปู้ ระกอบการ แจ้งความจำนงค์ที่จะย้ายทะเบียนรถมาเป็นทะเบียนจังหวัดระยองแล้ว กว่า 1,500 คัน เป็นการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมของผูป้ ระกอบการ อุตสาหกรรมในพื้นที่

• เหมราชฯ จัดหน่วยวัดสายตา ตัดแว่นฟรีให้ชุมชน

บริษัทฯ ได้จัดหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ เข้าร่วมโครงการตลาดนัด สุ ข ภาพ ประจำปี 2553 จั ด โดยองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นตำบลตาสิ ท ธิ์ จังหวัดระยอง เพื่อให้บริการวัดสายตาประกอบแว่นแก่ประชาชนในตำบล ตาสิทธิ์

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


• เหมราชฯ ช่วยเหลือชุมชนมาบชลูด

ทีมงานดับเพลิงของบริษัทฯ และบริษัท ศรีราชากรีนพ้อยท์ จำกัด ร่วมช่วยเหลือชุมชนมาบชลูดและการเคหะห้วยโป่ง ในบริเวณ ใกล้เคียงนิคมอุตสาหกรรมเหมราชตะวันออก (มาบตาพุด) ทำความ สะอาดและเตรียมสถานที่จัดงานวันแม่แห่งชาติ ปี 2553 โดยบริษัทฯ ช่วยเหลือน้ำจำนวน 5,000 ลิตร ในการทำความสะอาดครั้งนี้

21

• เหมราชฯ ร่วมประกาศเจตนารมณ์ ขับเคลื่อนการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์

บริษัทฯ ได้รับเลือกให้เป็นหนึ่งในผู้ริเริ่มผลักดันการพัฒนา อุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์ ในการประชุมเชิงปฏิบัติการหัวข้อ “เดินหน้า ประเทศไทย ก้ า วไกลสู่ อุ ต สาหกรรมเชิ ง นิ เ วศน์ ” จั ด โดยกระทรวง อุ ต สาหกรรม พร้ อ มกั น นี้ ไ ด้ ร่ ว มลงนามบั น ทึ ก ความร่ ว มมื อ ระหว่ า ง กระทรวงอุตสาหกรรม การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กรม โรงงานอุ ต สาหกรรม และผู้ พั ฒ นานิ ค มอุ ต สาหกรรม เพื่ อ ประกาศ เจตนารมณ์รว่ มขับเคลือ่ นการพัฒนาและนำแนวคิดอุตสาหกรรม เชิงนิเวศน์ ไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมเป็นครั้งแรก

• เหมราชฯ บริจาคเงิน 1 ล้านบาทช่วยน้ำท่วม

บริษัทฯ เป็นตัวแทนเขตประกอบการอุตสาหกรรม เอสไอแอล (สระบุรี) มอบเงินบริจาคจำนวน 1,000,000 บาท แก่นายถาวร พรหมมีชัย ผู้ว่าราชการจังหวัดสระบุรี เพื่อสมทบทุนช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยน้ำท่วมในจังหวัดสระบุรี

การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ มุ่งเน้นนโยบายในเรื่องการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมควบคู่ไปกับการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมโดยเน้น ย้ำถึงการพัฒนาที่ดินควบคู่ไปกับการเพิ่มศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถในการให้บริการสาธารณูปโภค นอกเหนือไป จากการเน้นในเรื่องการบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อมแล้ว บริษัทฯ ได้ส่งเสริมบริษัทที่ตั้งในนิคมอุตสาหกรรมของบริษัทฯ ให้ตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและความสัมพันธ์กับชุมชนรอบด้าน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อผล ประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกคน จึงได้มีการการจัดตั้งชมรมสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยขึ้น ซึ่งมีโรงงานผู้ ประกอบการในนิคมฯ ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกและร่วมดำเนินกิจกรรมร่วมกันโดยมีจุดประสงค์เพื่อส่งเสริมการรักษาสิ่ง แวดล้อม และจัดกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อสิ่งแวดล้อม สุขภาพ และชุมชน นอกจากนี้แล้วบริษัทฯ ได้จัดให้มีการฝึกเตรียม ความพร้อมการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทั้งภายในและภายนอกอย่างสม่ำเสมอรวมไปถึงในระดับนิคมฯ และร่วมกับชุมชนรอบ ด้านซึ่งเป็นหนึ่งในกิจกรรมหลัก อีกทั้งบริษัทฯ ได้มีการวางแผนการบริหารการจัดการเพื่อดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างเป็น ระบบ ผ่านระบบการบริหารจัดการที่ได้รับการรับรองมาตรฐานสำหรับ Environmental Management System: ISO14001 รวมทั้งการได้รับรางวัลการจัดการสิ่งแวดล้อมดีเด่น (EIA Award)

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


22

ในปี 2553 เป็นปีทบี่ ริษทั ฯ ได้รวมโครงการด้านสิง่ แวดล้อมและกิจกรรมต่อสังคมจากโครงการทีไ่ ด้ดำเนินการใน ปีที่ผ่านมาและได้เพิ่มโครงการใหม่ในระหว่างปีเพื่อพัฒนาคุณภาพของสิ่งแวดล้อม สุขภาพ และความปลอดภัยสำหรับ ชุมชนโดยรอบนิคมให้ดยี งิ่ ขึน้ จากความสำเร็จในการดำเนินการจัดตัง้ “ศูนย์ปอ้ งกันและเฝ้าระวังทางด้านสิง่ แวดล้อมแบบ ครบวงจร” หรือ “ศูนย์ E=MC2” ในปี 2552 ควบคูไ่ ปกับโครงการทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมและชุมชน ทำให้บริษทั ฯ ได้ รับการคัดเลือกให้เป็นนิคมฯ ต้นแบบในการบริหารจัดการนิคมอุตสาหกรรมเชิงเศรษฐนิเวศน์ (Eco Industrial Estate) ร่วมกับการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยในปี 2553 ซึง่ เป็นนโยบายหลักของการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ต่อทุกนิคมอุตสาหกรรมเพือ่ ให้เป็นนิคมอุตสาหกรรมทีม่ กี ารพัฒนาอย่างยัง่ ยืนภายในปี 2557 การส่งเสริมและใส่ใจคุณภาพสังคม (Corporate Social Responsibility) ก็เป็นเครื่องมือที่สำคัญที่บริษัทฯ ใช้เพื่อรวมประสิทธิภาพของการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมและชุมชนเข้าไว้ด้วยกัน โดยตลอดปี 2553 บริษัทฯ ได้จัด กิจกรรมหลากหลายเพื่อส่งเสริมและใส่ใจคุณภาพสังคมขึ้น อีกทั้งได้ริเริ่มเรื่องความร่วมมือด้านการส่งเสริมและใส่ใจ คุณภาพสังคมกับผู้เชียวชาญ เจ้าหน้าที่ที่มากด้วยประสบการณ์เพื่อช่วยสร้างสิ่งแวดล้อมให้ดียิ่งขึ้นรวมไปถึงการแก้ปญั หา สังคมเพื่อผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกคน นอกจากนี้แล้วบริษัทฯ ยังยึดมั่นในเรื่องของการเฝ้าติดตามเรื่องของ สิ่งแวดล้อมและการเข้ามามีส่วนร่วมของชุมชนใกล้เคียงด้วยความโปร่งใส บริษัทฯ ได้จัดให้มีการรับฟังข้อคิดเห็น (Public Hearing) จากชุมชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการจัดทำแผนในระหว่างการเริ่มพัฒนาที่ดินแปลงใหม่ด้วย บริษัทฯ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการดำเนินโครงการรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่วันแรก บริษัทฯ เชื่อมั่น และยึดถือในหลักการของการรักษาสิ่งแวดล้อมและชุมชนให้อยู่ร่วมกันอย่างยั่งยืนดังที่เป็น สัญญาที่ให้ไว้กับสาธารณะ

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


ภาวะเศรษฐกิจและการแข่งขัน ภาวะเศรษฐกิจของประเทศไทยในปี 2553 คาดการณ์วา่ จะขยายตัวร้อยละ 7.8 เปรียบเทียบกับร้อยละ -2.3 ใน ปี 2552 ด้วยปัจจัยต่างๆ จากการขยายตัวของการส่งออกทั้งสินค้าและบริการ และจากการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจของ ประเทศคูค่ า้ ทีส่ ำคัญๆ ทัง้ ในเอเซียและในตลาดเกิดใหม่ แม้วา่ จะมีปจั จัยลบเช่น การแข็งค่าของเงินบาทและปัญหาน้ำท่วม ในช่วงครึง่ ปีหลังก็ตาม ในปี 2553 ดัชนีการบริโภคของภาคเอกชนเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 5.9 เนือ่ งมาจากการจ้างงานทีเ่ พิม่ ขึน้ ราคาผลผลิต ทางการเกษตรสูงขึน้ และจากความเชือ่ มัน่ ผูบ้ ริโภคทีเ่ พิม่ ขึน้ ภายหลังจากความไม่สงบทางการเมือง ดัชนีภาคอุตสาหกรรม เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.9 และอัตราการใช้กำลังการผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 63.4 ดัชนีการลงทุนของภาคเอกชนเพิ่มขึ้นร้อยละ 17.6 ขณะทีม่ ลู ค่าการส่งออกของประเทศไทยก็เพิม่ ขึน้ เป็น 195.3 พันล้านดอลล่าร์สหรัฐ หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 28 มูลค่า การนำเข้าเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 37 คิดเป็นมูลค่า 179.6 พันล้านดอลล่าร์สหรัฐ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ยอดนำเข้าวัตถุดบิ และสินค้า ทุนทีเ่ พิม่ ขึน้ ร้อยละ 42 และ 27 ตามลำดับ ยอดบัญชีเดินสะพัด ณ สิน้ ปีมยี อดเกินดุล 14.8 พันล้านดอลล่าร์สหรัฐ และ มีดลุ การชำระเงินเกินดุลที่ 31.3 พันล้านดอลล่าร์สหรัฐ สำหรับภาคธุรกิจทีด่ นิ เพือ่ อุตสาหกรรมมียอดเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 294 จาก 901 ไร่ในปี 2552 เป็นจำนวน 3,622 ไร่ ในปี 2553 ซึ่งเหมราชขายที่ดินเพื่ออุตสาหกรรมได้ 930 ไร่ในปี 2553 หรือคิดเป็นร้อยละ 26 ของส่วนแบ่งตลาด ทัง้ หมด โครงการทีไ่ ด้รบั การส่งเสริมจากกรมส่งเสริมการลงทุน (BOI) ในปี 2553 ก็เพิ่มขึน้ อย่างมากด้วยมูลค่าทัง้ สิน้ 491,300 ล้านบาท เทียบกับปี 2552 ซึง่ มีมลู ค่า 281,300 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 75 ด้วยจำนวนโครงการทีไ่ ด้รบั การส่งเสริมเป็นจำนวน 1,566 โครงการเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 56 เมือ่ เทียบกับปี 2552 ประเทศไทยยังเป็นศูนย์การผลิตรถยนต์ทสี่ ำคัญในระดับภูมภิ าคของ ASEAN โดยเฉพาะรถยนต์ปกิ อัพขนาด 1 ตัน และรถส่วนบุคคลขนาดเล็ก ในปี 2553 ยอดการผลิตเพิม่ ขึน้ เป็น 1,645,000 คันจาก 999,378 คันในปี 2552 หรือ เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 65 ด้วยยอดขายรถยนต์ภายในประเทศจำนวน 800,357 คันและส่งออก 896,065 คัน โดยในปี 2552 ยอดการส่งออกรถยนต์มมี ลู ค่าร้อยละ 10 ของมูลค่าการส่งออก อัตราการเดิบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ

อัตราการใช้กำลังการผลิต

%

%

110

10.0

100

8.0

7.8

90

5.1

6.0 4.0

23

80

4.9

4.5

70

3.0

60

2.0

50

0.0

40

-2.3

-2.0

30 20

-4.0

10

2548

2549

2550

2551

2552

2253

4,617

4,000 3,000

3,236

4,170 3,546

2,865

2,000 1,000

900

0

ไร่

2548

2549

2550

2551

2545

2547

2549

2551

2553

ทัง้ หมด ปิโตรเคมี ยานยนต์และส่วนประกอบ โครงการที่ได้รับการส่งเสริมจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน

ตลาดที่ดินเพื่ออุตสาหกรรมในประเทศไทย 5,000

2543

2552

2553

800 700 600 500 400 300 200 100 0

พันล้านบาท

1 ไร่ = 1,600 ตารางเมตร หรือ 0.4 เอเคอร์ ทีม่ า : ธนาคารแห่งประเทศไทย มีนาคม 2553, คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน มกราคม 2553 CB Richard Ellis ไตรมาสที่ 4 ปี 2552

744 571

500

491

373 281

2548

2549

2550

2551

2552

รายงานประจํ า ปี 2553

2553

• Annual Report 2010


บทรายงานและการวิเคราะห์ของฝ่ายบริหาร

24

สรุปผลการดำเนินงาน สำหรับปี 2553 บริษทั ฯ มีผลกำไรสุทธิทงั้ สิน้ 1,215.9 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 111 จากปี 2552 การเพิ่มขึ้นของกำไรสุทธิในปี 2553 มาจากการเพิ่มขึ้นของยอดขายที่ดินอุตสาหกรรม การเพิ่มขึ้นของรายได้จาก สาธารณูปโภคในนิคมอุตสาหกรรม การเพิ่มขึ้นจากการเช่าและขายโรงงานสำเร็จรูปและจากการขายโครงการที่พักอาศัย รวมไปถึงกำไรจากการลงทุนในบริษัทร่วม (ซึ่งส่วนสำคัญเป็นกำไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจากอัตราแลกเปลี่ยนในโครงการพลังงาน จำนวน 394 ล้านบาท) เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา กำไรสุทธิต่อหุ้นเท่ากับ 0.125 บาทต่อหุ้น เพิ่มขึ้นร้อยละ 105 เมื่อเทียบกับปี 2552 สำหรับปี 2553 บริษทั ฯ มีรายได้รวมจำนวน 4,020.2 ล้านบาท เมือ่ เปรียบเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปี 2552 จำนวน 2,222.7 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 81 โดยมีรายได้จากการประกอบธุรกิจหลักจำนวน 4,219.7 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 89 เปรียบเทียบกับปี 2552 รายได้การขายที่ดินนิคมอุตสาหกรรมสำหรับปี 2553 ซึ่งรวมกำไรจาก นิคมอุตสาหกรรมร่วมทุนจำนวน 1,501.0 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 113 โดยมีรายได้จากการขายพื้นที่นิคม อุตสาหกรรมที่รอการรับรู้อีกเป็นจำนวน 788 ล้านบาท จากวิธีการรับรู้รายได้ตามการแล้วเสร็จของการพัฒนานิคม อุตสาหกรรมเฟสใหม่อีก 3 เฟส โดยจะเริ่มใช้มาตราฐานบัญชีใหม่ของประเทศไทยที่เปลี่ยนวิธีการรับรู้รายได้ในปี 2554 รายได้จากระบบสาธารณูปโภครวมถึงค่าบริการระบบสาธารณูปโภคในนิคมอุตสาหกรรม กำไรและเงินปันผล จากบริษัทร่วมด้านพลังงานและสาธารณูปโภค และค่าบริการระบบสาธารณูปโภคและบริการอื่นๆ ที่เพิ่มขึ้นเป็นจำนวน 1,472.4 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 43 โดยรายได้จากระบบสาธารณูปโภคเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 26 เป็น 967.7 ล้านบาท จากความต้องการน้ำที่เพิ่มขึ้นและจากการรวมงบการเงินของเขตประกอบการอุตสาหกรรมเหมราชสระบุรีและเขต ประกอบการอุตสาหกรรมเหมราชระยองในไตรมาส 4 ปี 2553 อย่างไรก็ตามมีการลดลงของรายได้จาก capacity charge ของธุรกิจปิโตรเคมีที่สะท้อนให้เห็นในรายได้จากสาธารณูปโภคอื่นๆและค่าบริการที่ลดลงร้อยละ 79 รายได้จากเช่าที่รวมถึงการเช่าโรงงานสำเร็จรูป การให้เช่าฐานวางท่อ และการให้เช่าออฟฟิสสำนักงานและอื่นๆ รวมเป็นจำนวน 480.4 ล้านบาท หรือลงลงร้อยละ 7 ซึ่งเป็นผลจากการลดลงของรายได้จากการจัดการการก่อสร้างที่ ลดลงร้อยละ 64 อย่างไรก็ตามรายได้จากการเช่าโรงงานสำเร็จรูป การให้เช่าฐานวางท่อ และการให้เช่าออฟฟิส สำนักงานนั้นเพิ่มขึ้นร้อยละ 13 จากความต้องการในการเช่าที่เพิ่มมากขึ้น รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ที่รวมถึงการขายโรงงานสำเร็จรูปและการขายโครงการที่พักอาศัย เพิ่มขึ้น จากปี 2552 ซึ่งไม่มียอดขาย เป็นจำนวน 766 ล้านบาท ฐานะทางการเงิน ฐานะทางการเงินรวมของบริษัทฯ ในปี 2553 สามารถสรุปได้ดังนี้ ในปี 2553 บริษทั ฯ มีสนิ ทรัพย์รวมทัง้ สิน้ 18,715 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 37 จากจำนวน 13,681 ล้านบาท ในปี 2552 ในส่วนของสินทรัพย์หมุนเวียนนั้น ในปี 2553 มีจำนวน 11,202 ล้านบาท เปรียบเทียบกับปี 2552 ซึ่งมี จำนวน 7,684 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 46 ซึ่งรวมเงินสดและเงินฝากจำนวน 3,517 ล้านบาท ลูกหนี้การค้า จำนวน 561 ล้านบาท และที่ดินที่รอการพัฒนาจำนวน 7,046 ล้านบาท สินทรัพย์อื่นๆ ในปี 2553 มีจำนวน 7,513 ล้านบาท ในจำนวนนี้รวมถึงที่ดินที่รอการพัฒนาในเชิงพาณิชย์ จำนวน 315 ล้านบาท สินทรัพย์ให้เช่าจำนวน 2,021 ล้านบาท และเงินลงทุนในบริษัทอื่นๆจำนวน 3,479 ล้านบาท ซึ่งรวมถึง การลงทุน 5% ในบริษัท โกลว์ไอพีพี ผู้ผลิตไฟฟ้าจำนวน 713 เมกะวัตต์ การลงทุน 51% ในบริษัทห้วยเหาะ ไทยซึ่ ง ถื อ หุ้ น 25% ในห้ ว ยเหาะ พาวเวอร์ ซึ่ ง เป็ น บริ ษั ท ที่ ด ำเนิ น ธุ ร กิ จ โรงไฟฟ้ า พลั ง น้ ำ ขนาด 152 เมกะวั ต ต์ ในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และการลงทุน 35% ในบริษัท เก็คโค่-วัน โครงการผู้ผลิตไฟฟ้าจำนวน 660 เมกะวัตต์ รวมเป็นเงินฝากจำนวน 766 ล้านบาท ไว้กับธนาคารเพื่อเป็นหลักประกันในการชำระค่าหุ้นของบริษัท เก็กโค่-วัน อนึ่งโครงการพลังงานทั้งสามโครงการเป็นการร่วมลงทุนกับบริษัทในกลุ่มโกลว์พลังงาน (จีดีเอฟ ซุเอซ) หนีส้ นิ รวมในปี 2553 จำนวน 9,577 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 82 จากจำนวน 5,222 ล้านบาท ในปี 2552 ลดลงเนื่องจากในปี 2553 บริษัทได้มีการออกหุ้นกู้ประเภทไม่มีหลักประกันจำนวน 6,000 ล้านบาท เพื่อชำระคืน ตราสารหนี้ระยะสั้น และเพื่อสนับสนุนโครงการลงทุนต่างๆ ของบริษัท โดยเฉพาะโครงการลงทุนในธุรกิจโรงงาน พลังงานไฟฟ้าและโครงการอสังหาริมทรัพย์

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


ส่วนของผู้ถือหุ้น ในปี 2553 มีจำนวน 9,138 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 8 เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2552 จำนวน 8,459 ล้านบาทจากผลกำไรจากการดำเนินกิจการของปี 2553 และจากการเติบโตของรายได้ของบริษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 มีหุ้นสามัญจำหน่ายแล้ว 9,705.19 ล้านหุ้น สำหรับสัดส่วนของหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ในปี 2553 อยู่ในระดับที่ 0.66 ต่อ 1 ปัจจัยความเสี่ยง ความเสี่ยงจากปัจจัยภายนอก บริษัทฯ มีความเสี่ยงจากการลงทุนและการดำเนินงานอันเกี่ยวเนื่องมาจากปัจจัยภายนอกไม่ว่าจะเป็นจาก นโยบายของรัฐบาลและธนาคารแห่งประเทศไทย จากสภาวะทางการเมือง กฎหมาย และเศรษฐกิจของประเทศไทย ประเทศเพื่อนบ้านและประเทศอื่นๆ การลงทุนจากต่างประเทศ ภาวะเงินเฟ้อ การเปลี่ยนแปลงของราคาน้ำมัน อัตรา ดอกเบี้ยและราคาที่ดิน วัสดุก่อสร้าง การก่อสร้างที่ล่าช้า และการขาดแคลนแรงงานที่มีฝีมือล้วนเป็นปัจจัยที่จะมี ผลกระทบต่อการดำเนินงานธุรกิจของบริษัทฯ ทั้งสิ้น อย่างไรก็ตามบริษัทฯ ได้ตระหนักถึงความเสี่ยงและผลกระทบจากปัจจัยดังกล่าว โดยพยายามติดตามและ วิเคราะห์ผลกระทบต่อการดำเนินงานอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องเพื่อป้องกันหรือลดผลกระทบจากปัจจัยดังกล่าวให้เหลือ น้อยที่สุด ในระดับที่รับได้เมื่อเทียบกับผลตอบแทนที่คาดไว้ คณะกรรมการบริษัท และคณะผู้บริหาร ได้ดำเนินกลยุทธ์ ธุรกิจอย่างรอบคอบและได้มีการปรับแผนเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันอย่างเหมาะสมที่สุด โดยจะเห็นได้จาก ผลของความสำเร็จจากฐานรายได้จากการดำเนินงานที่กว้างขึ้น อัตราส่วนกำไรที่มั่นคง รายได้จากการเช่าโรงงาน สำเร็จรูปและรายได้จากระบบสาธารณูปโภคที่มีความสม่ำเสมอช่วยเพิ่มสมดุลให้แก่โครงสร้างรายได้ นิคมอุตสาหกรรม และเขตประกอบการอุตสาหกรรมทั้งหกแห่งของบริษัทฯ ซึ่งมีลูกค้าขยายธุรกิจในสัดส่วนที่สูงและการลงทุนในโครงการ อสังหาริมทรัพย์เฉพาะกลุ่มยังช่วยลดความเสี่ยงอีกด้วย แม้กระนั้นด้วยฐานรายได้ที่กว้างและงบดุลที่แข็งแกร่งของบริษัทฯ ประกอบกับพื้นที่สำหรับอุตสาหกรรมได้มี การพัฒนาให้มีความพร้อมอยู่เสมอช่วยลดผลกระทบอันเนื่องมาจากปัจจัยดังกล่าว

ความเสี่ยงด้านการเงิน

ความเสี่ยงจากการพึ่งพาลูกค้ากลุ่มอุตสาหกรรมปิโตรเคมีเละยานยนต์

25

ความสามารถในการบริหารการเงินของบริษัทฯ ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ ทั้งจากผลประกอบการ ฐานะ ทางการเงินของบริษัท ภาวะเศรษฐกิจของประเทศไทยและประเทศอื่นๆ รวมถึงการระดมเงินทั้งจากตลาดเงิน/ตลาดทุน ทั้งในและต่างประเทศและอัตราดอกเบี้ย ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เป็นธุรกิจที่ใช้เงินลงทุนและมีการแข่งขันสูงเพื่อให้บริษัทฯ มีศักยภาพในการดำเนิน ทางธุรกิจ บริษัทฯ จึงมีความจำเป็นต้องจัดหาแหล่งเงินทุนที่เหมาะสมและพอเพียงโดยมีต้นทุนอยู่ในระดับที่เหมาะสม หลังจากวิกฤตการณ์เศรษฐกิจเป็นต้นมา บริษัทฯ ได้มีการปรับโครงสร้างทางการเงินของบริษัทฯ อย่างต่อเนื่องดังจะเห็น ได้จากผลการดำเนินงานในระยะเวลาที่ผ่านมา บริษัทฯ มีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนในระดับที่ต่ำ ทั้งนี้เพื่อให้บริษัทฯ สามารถดำรงสภาพคล่องในการดำเนินการขยายธุรกิจและลดความเสี่ยงด้านการเงิน บริษัทฯ จึงดำเนินการโดยให้มี งบดุลที่มีสภาพแข็งแกร่ง มีหนี้สินในระดับต่ำ รักษาเงินสดในมือให้มีความคล่องตัว ไม่มีเงินกู้ยืมในเงินตราต่างประเทศ และพยายามจัดแหล่งเงินกู้ที่หลากหลาย ปัจจัยต่างๆ ที่กล่าวมานี้จะช่วยเพิ่มความยืดหยุ่นให้บริษัทฯ ในการขยายธุรกิจ และลดความเสี่ยงทางด้านการเงิน บริษัทฯ มีความเสี่ยงจากการพึ่งพาลูกค้ากลุ่มอุตสาหกรรมปิโตรเคมีเละยานยนต์ โดยบริษัทฯ มีลูกค้ากลุ่ม อุตสาหกรรมปิโตรเคมี (49) เละยานยนต์จำนวน (148) 197 ราย จากจำนวนลูกค้าทั้งหมด 426 รายคิดเป็น 46% ของจำนวนลูกค้าทั้งหมดของบริษัทฯ หากการลงทุนจากอุตสาหกรรมดังกล่าวลดลงหรือชะลอตัวลง ก็อาจส่งผลกระทบ ต่อ ยอดขายที่ดินของบริษัทฯ และรายได้ส่วนอื่นที่เกี่ยวข้องของบริษัทฯ บริษัทฯ ได้ตระหนักถึงความเสี่ยงและผลกระทบจากปัจจัยดังกล่าวโดยมีการวางแผนทางการตลาดเจาะกลุ่มเป้า หมายที่หลากหลาย ไม่เพียงแต่ กลุ่มปิโตรเคมี หรือ ยานยนต์เท่านั้น เพื่อไม่ให้พึ่งพาอุตสาหกรรมใดมากเกินไป โดยนิคม อุ ต สาหกรรมและเขตประกอบการอุ ต สาหกรรมทั้ ง 6 แห่ ง ของบริ ษั ท ได้ เ จาะกลุ่ ม เป้ า หมายที่ แ ตกต่ า งกั น เช่ น อิเล็กทรอนิกส์ พลังงาน เหล็ก วัสดุก่อสร้าง เป็นต้น ในไตรมาสที่ 4 ปี 2553 บริษัทฯ ได้เข้าซื้อหุ้นส่วนที่เหลือร้อยละ 75 ในบริษัท เอส ไอ แอล ที่ดินอุตสาหกรรม จำกัด (เอส ไอ แอล) จากบริษัทในเครือบมจ.ปูนซีเมนต์ไทย โดยมีพื้นที่ รวมทั้ง 2 บริษัทอยู่กว่า 7,000 ไร่ ขณะเดียวกันก็ได้ขยายฐานลูกค้าไปยังกลุ่มอุตสาหกรรมอื่นๆ นอกเหนือจากที่บริษัท มีอยู่แล้วด้วย นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังติดตามและวิเคราะห์ถึงสัดส่วนการลงทุนของกลุ่มอุตสาหกรรมต่างๆที่เข้ามาลงทุน ในประเทศ เพื่อปรับกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับสภาวะดังกล่าว รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


26

ความเสี่ยงจากการเข้าร่วมลงทุนในโครงการผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (IPP)

บริษัทฯ ได้เข้าร่วมลงทุนในโครงการผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (IPP) ในบริษัท เก็คโค่-วัน จำกัด กับบริษัท ในกลุ่มโกลว์ พลังงาน ทั้งนี้เป็นไปตามแผนกลยุทธ์การดำเนินกิจการของบริษัทฯ ที่ต้องการขยายฐานรายได้ของบริษัทฯ ไปยังธุรกิจที่จะให้ผลตอบแทนในระดับที่น่าพอใจที่มีความต่อเนื่องสม่ำเสมอในระยะยาว ความเสี่ยงของโครงการขนาด ใหญ่นี้ เช่น ความเสี่ยงทางกฎหมาย ข้อบังคับ และนโยบายของรัฐบาล ความล่าช้าจากการก่อสร้าง ความเสี่ยงจากการ หาแหล่งเงินทุน ความเสี่ยงจากปัญหาสิ่งแวดล้อม ความเสี่ยงจากวัตถุดิบ ความเสี่ยงจากการที่มีลูกค้าเป็นการไฟฟ้า ฝ่ายผลิตเพียงรายเดียว ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนและอัตราดอกเบี้ย ฯลฯ ความเสี่ยงที่เกิดจากปัจจัยเหล่านี้ อาจมี ผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญและอาจจะทำความเสียหายให้กับโครงการดังกล่าวและบริษัทฯ ได้ บริษัทฯ ได้ตระหนักถึงความเสี่ยงและผลกระทบจากปัจจัยดังกล่าว โดยได้มีการศึกษาข้อดีข้อเสียและความ เป็นไปได้ของโครงการ (Feasibility Study) และมีการศึกษาผลกระทบจากปัจจัยต่างๆ (Sensitivity Analysis) เพื่อ ครอบคลุมทุกด้าน ประกอบกับการพิจารณาอัตราผลตอบแทนซึ่งโครงการจะให้ผลตอบแทนในระยะยาวและเป็น ผลตอบแทนที่มีความ ต่อเนื่องและสม่ำเสมอที่บริษัทฯ จะได้รับหากโครงการดังกล่าวเปิดดำเนินการ โครงการนี้บริหาร งานโดยทีมงานของ บริษัท โกลว์ พลังงาน จำกัด (มหาชน) ทีมงานบริหารมีความรู้ความชำนาญประสบความสำเร็จ จากการดำเนินงานโรงงานไฟฟ้าในประเทศไทยมาหลายโรงงานแล้วภายใต้การสนับสนุนของ กลุ่มบริษัท จีดีเอฟ-สุเอซ ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ซึง่ เป็นบริษทั ชัน้ นำระดับโลกในธุรกิจด้านพลังงาน นอกจากนีบ้ ริษทั เก็คโค่ - วัน จำกัด ได้ผา่ นการศึกษา ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) และอยู่ระหว่างการดำเนินการในการยื่นผลการศึกษาผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม (EHIA) ต่อคณะกรรมการสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และได้เซ็นสัญญาซื้อขายไฟฟ้า กับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เซ็นสัญญาซื้อถ่านหินระยะยาวกับคู่ค้า เซ็นสัญญากู้ยืมเงินกับสถาบันการเงิน ต่างๆ เซ็นสัญญาก่อสร้างกับผู้รับเหมา โดยโรงไฟฟ้าเก็คโค่วันได้ดำเนินการก่อสร้างแล้วและคาดว่าจะเปิดดำเนินงานได้ ในปี 2555 นอกจากนี้ยังเซ็นสัญญาป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน (F/X Swap) หรือ จากอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Swap) สัญญาซื้อขายถ่านหินล่วงหน้า และสัญญาอื่นๆ เพื่อให้รายรับ รายจ่าย เงินกู้ และอัตราดอก เบี้ยที่มีหลากหลายสกุลเงินมีความสอดคล้องกัน เพื่อลดความเสี่ยงจากปัจจัยต่างๆ ความคืบหน้าในการก่อสร้างโรงไฟฟ้าเก็คโค่ วัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 สร้างแล้วเสร็จ 88% ความเสี่ยงจากเหตุการณ์มาบตาพุด ในเดือนกันยายน 2552 ศาลปกครองกลาง ได้มีคำสั่งให้ 8 หน่วยงานราชการระงับการดำเนินการของ โครงการที่ก่อผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงในพื้นที่รวม 76 โครงการในพื้นที่มาบตาพุดและพื้นที่ใกล้เคียง ไว้เป็นการ ชั่วคราว จนกว่าจะได้มีการดำเนินการเพื่อให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ 2550 มาตรา 67 วรรค 2 ต่อมาในเดือน ธันวาคม 2552 ศาลปกครองสูงสุดได้มีคำสั่งแก้คำสั่งของศาลปกครองกลาง โดยให้เพิกถอนใบอนุญาตสำหรับโครงการ ที่ออกหลังจากรัฐธรรมนูญปี 2550 และอยู่ในโครงการหรือกิจกรรมในประเภทอุตสาหกรรม 11 ประเภทโครงการที่อาจ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมฉบับลงวันที่ 31 สิงหาคม 2553 จนกว่าจะได้มีการปฏิบัติตามมาตรา 67 วรรค 2 แล้ว ทั้งนี้ ถึงปัจจุบัน หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทั้ง ในภาครัฐ ภาคเอกชนผู้ลงทุน และชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดและออกกฏระเบียบต่างที่เกี่ยวข้องในราย ละเอียดเพื่อเป็นเกณฑ์ในการปฏิบัติแก่โครงการที่เข้าข่ายเป็นโครงการที่อาจมีผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง อันจะต้อง ทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบในด้านสิ่งแวดล้อมและด้านสุขภาพ (EHIA) ซึ่งได้มีการทะยอยออกหลักเกณฑ์ต่างๆ แต่โดยที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานจำนวนมากและชุมชน ดังนั้น ผลกระทบจึงขึ้นอยู่กับระยะเวลาในการดำเนินการจัดทำและ ออกกฏระเบียบในรายละเอียดที่เหมาะสมและเป็นที่ยอมรับของทุกฝ่าย ในส่วนของบริษัท แม้ในปัจจุบันโครงการนิคมอุตสาหกรรมของบริษัทฯยังมิได้เข้าข่ายในการต้องจัดทำรายงาน การวิเคราะห์ผลกระทบในด้านสิ่งแวดล้อมและด้านสุขภาพ (EHIA) แต่เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อม และเพื่อสามารถ จะให้ข้อมูลแก่นักลงทุนได้บริษัทได้ตั้งคณะทำงานขึ้นเป็นการเฉพาะเพื่อประสานงานและให้ข้อมูลต่างๆ อันเป็นประโยชน์ กับหน่วยงานจากภาครัฐและเอกชน และชุมชนอย่างเต็มที่เพื่อแก้ใขปัญหาดังกล่าวให้ลุล่วงอย่างเหมาะสมโดยเร็ว นอกจากนี้สำหรับการเตรียมการรับมือในระยะยาวนั้น บริษัทมีนโยบายที่จะขยายฐานรายได้ของบริษัทออกไปใน ธุรกิจต่างๆที่มีความสม่ำเสมอเช่นรายได้จากการให้บริการสาธารณูปโภค ฯลฯ เพื่อลดการพึ่งพารายได้จากการขายที่ดิน เพียงอย่างเดียวโดยในปี 2553 บริษัทมีสัดส่วนรายได้จากการดำเนินงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่มาจากการขายที่ดินถึงร้อยละ 63 ของรายได้ที่มาจากการดำเนินงานทั้งหมด

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


โครงสร้างการจัดการ คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ประกอบด้วยกรรมการจำนวน 10 ท่าน คือ 1. นายชวลิต เศรษฐเมธีกุล* ประธานกรรมการ / กรรมการ 2. นายธงชัย ศรีสมบูรณานนท์ กรรมการ / ประธานกรรมการบริหาร / กรรมการสรรหาและพิจารณาผลตอบแทน 3. นายเดวิด ริชาร์ด นาร์โดน กรรมการผู้จัดการ / กรรมการบริหาร 4. นายสุทธิพันธุ์ จารุมณี กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการตรวจสอบ/ ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาผลตอบแทน 5. นายปีเตอร์ จอห์น เอ็ดมันสัน กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ 6. นางพรรณี วรวุฒิจงสถิต** กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการบรรษัทภิบาล / กรรมการสรรหาและพิจารณาผลตอบแทน 7. นายวิวัฒน์ จิรัฐติกาลสกุล กรรมการ / กรรมการบริหาร 8. นางสาวปัทมา หอรุ่งเรือง กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการบรรษัทภิบาล 9. นายสมพงษ์ วนาภา กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล 10. นายวิกิจ หอรุ่งเรือง กรรมการ โดยมีนายศิริศักดิ์ กิจรักษา เป็นเลขานุการบริษัท * ได้ลาออกจากการเป็นกรรมการสรรหาและพิจารณาผลตอบแทน มีผลตั้งแต่ วันที่ 28 ก.พ. 54 ** ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการสรรหาและพิจารณาผลตอบแทนเมื่อวันที่ 28.ก.พ.54 กรรมการอิสระของบริษัทมีจำนวน 4 คน มีคุณสมบัติเข้มกว่าตามข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ ไทยและ ก.ล.ต. ดังต่อไปนี้ 1. ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 0.50 ของจำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง ทัง้ นี้ ให้นบั รวมการถือหุน้ ของผูท้ เี่ กีย่ วข้องของกรรมการอิสระรายนัน้ ๆ ด้วย 2. ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้เงินเดือนประจำ หรือ ผู้มีอำนาจควบคุมของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยลำดับเดียวกัน หรือนิติบุคคลที่อาจมีความ ขัดแย้ง เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อนวันที่ยื่นคอขออนุญาตต่อสำนักงาน 3. ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เป็น บิดา มารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตรรวมทั้งคู่สมรสของบุตร ของผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอำนาจควบคุม หรือบุคคล ที่จะได้รับการเสนอให้เป็นผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจควบคุมของบริษัท หรือบริษัทย่อย 4. ไม่มีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจ มีความขัดแย้ง ในลักษณะที่อาจเป็นการขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทั้งไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ถือหุ้น รายใหญ่ กรรมการซึ่งไม่ใช่กรรมอิสระ หรือผู้บริหาร ของผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อน วันที่ยื่นคำขออนุญาตต่อสำนักงาน ความสัมพันธ์ทางธุรกิจ รวมถึงการทำรายการทางการค้าที่กระทำเป็นปกติเพื่อประกอบกิจการ การเช่าหรือ ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ รายการเกี่ยวกับสินทรัพย์หรือบริการหรือการให้หรือรับความช่วยเหลือทางการเงิน ด้วยการรับ หรือให้กู้ยืม ค้ำประกัน การให้สินทรัพย์เป็นหลักประกันหนี้สิน รวมถึงพฤติการณ์อื่นทำนองเดียวกัน ซึ่งเป็นผลให้ผู้ขอ อนุญาตหรือคู่สัญญาภาระหนี้สินที่ต้องชำระต่ออีกฝ่ายหนึ่ง ตั้งแต่ร้อยละสามของสินทรัพย์ที่มีตัวตนสุทธิของผู้ขออนุญาต หรือตั้งแต่ยี่สิบล้านบาทขึ้นไป แล้วแต่จำนวนใดจะต่ำกว่า ทั้งนี้การคำนวณภาระหนี้สินดังกล่าวให้เป็นไปตามวิธีการ คำนวณมูลค่าของรายการที่เกี่ยวโยงกันตามประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยว่าด้วยการเปิดเผย ข้อมูลและการปฎิบัติการของบริษัทจดทะเบียนในรายการที่เกี่ยวโยงกัน โดยอนุโลม แต่ในการพิจารณาภาระหนี้ดังกล่าว ให้นับรวมภาระหนี้สินที่เกิดขึ้นในระหว่างหนึ่งปีก่อนวันที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน รายงานประจํ า ปี 2553

27

• Annual Report 2010


28

5. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม หรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง และไม่เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการซึ่งไม่ใช่กรรมการอิสระ ผู้บริหาร หรือหุ้นส่วนผู้จัดการของสำนักงานสอบบัญชี ซึ่งมี ผู้สอบบัญชีของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อยบริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งสังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พ้นจาก การมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อนวันที่ยื่นคำขออนุญาตต่อสำนักงาน 6. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพใดๆซี่งรวมถึงการให้บริการเป็นที่ปรึกษากฏหมายหรือที่ปรึกษา ทางการเงิน ซึ่งได้รับค่าบริการเกินกว่าสองล้านบาทต่อปีจากบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง ทั้งนี้กรณีที่ผู้ให้บริการทางวิชาชีพเป็นนิติบุคคล ให้รวมถึงการเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการ ซึ่งไม่ใช่กรรมการอิสระ ผู้บริหาร หรือหุ้นส่วนผู้จัดการ ของผู้ให้บริการทางวิชาชีพนั้นด้วย เว้นแต่จะได้พ้นจากการ มีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อนวันที่ยื่นคำขออนุญาตต่อสำนักงาน 7. ไม่เป็นกรรมการทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ ขึน้ เพือ่ เป็นตัวแทนของกรรมการของบริษทั ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูถ้ อื หุน้ ซึ่งเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท 8. ไม่มีลักษณะอื่นใดท่​่ีทำให้ไม่สามารถ ให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกี่ยวกับการดำเนินงานของบริษัท หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท : คณะกรรมการบริษัทฯ มีหน้าที่หลักในการกำหนดวิสัยทัศน์ นโยบายโดยรวม ตลอดจนกลยุทธ์สำคัญในการ ดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ด้วยความสามารถและความสุจริตรอบคอบเพื่อรักษาผลประโยชน์ของบริษัทฯและของผู้ถือหุ้น อย่างต่อเนื่องยาวนาน รวมถึงการควบคุมกำกับฝ่ายบริหารจัดการของบริษัทฯ ให้ดำเนินการตามที่ได้รับมอบหมายอย่าง มีประสิทธิภาพ และอย่างถูกต้องตามกฏหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษัทและมติคณะกรรมการ มติของที่ประชุม ผู้ถือหุ้นตลอดจนข้อกำหนดขององค์กรกำกับดูแลต่างๆ ตลอดจนของบริษัทฯ เอง อีกทั้งมีความสอดคล้องกับหลักเกณท์ การกำกับดูแลกิจการที่ดี ทั้งนี้ คณะกรรมการอาจแต่งตั้งหรือมอบหมายให้กรรมการคนหนึ่งคนใดหรือหลายคนหรือ บุคคลอื่นกระทำการอย่างหนึ่งอย่างใดแทนคณะกรรมการ ทั้งสามารถยกเลิก เปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขอำนาจนั้นๆ ได้ตาม ที่เห็นสมควร

วาระการดำรงตำแหน่งของกรรมการ :

ในการประชุมสามัญประจำปี กรรมการบริษัทต้องออกจากตำแหน่งจำนวน 1 ใน 3 ถ้าจำนวนกรรมการที่จะ แบ่งออกให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ ให้ออกโดยจำนวนใกล้ที่สุดกับส่วน 1 ใน 3 กรรมการบริษัทที่ออกไปนั้นอาจได้รับเลือก ตั้งให้ดำรงตำแหน่งต่อไปอีกได้ คณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ประกอบด้วยกรรมการบริหารจำนวน 4 คน คือ 1. นายธงชัย ศรีสมบูรณานนท์ ประธานกรรมการบริหาร 2. นายเดวิด ริชาร์ด นาร์โดน กรรมการบริหาร 3. นายวิวัฒน์ จิรัฐติกาลสกุล กรรมการบริหาร 4. นางสาวปัทมา หอรุ่งเรือง กรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหาร ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการของบริษัทฯ ให้ช่วยงานด้านนโยบายและวางแผน ให้ แก่คณะกรรมการของบริษัทฯ รวมถึงการกำกับดูแลให้ฝ่ายจัดการของบริษัทฯ นำนโยบายและแผนกลยุทธ์ที่ได้รับความ เห็นชอบแล้วนั้นไปดำเนินการปฏิบัติอย่างมีความรับผิดชอบ ความระมัดระวังและความซื่อสัตย์สุจริต รวมทั้งปฏิบัติให้เป็น ไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษัท และมติของคณะกรรมการตลอดจนมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้น

ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร

1. พิจารณากลัน่ กรองและสอบทานแผนธุรกิจและแผนการลงทุนและงบประมาณต่างๆ ของบริษทั ฯ ทีน่ ำเสนอ จากฝ่ายบริหารจัดการก่อนนำเสนอให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ 2. ติดตาม กำกับ และควบคุมให้การปฏิบตั งิ านบรรลุเป้าหมายของแผนงานทีไ่ ด้รบั การอนุมตั จิ ากคณะกรรมการ หรือตามที่คณะกรรมการมอบหมาย 3. พิจารณาอนุมัติให้ดำเนินการ หรืออนุมัติการใช้จ่ายเงินเพื่อการดำเนินการต่างๆ ในส่วนที่เกินกว่าอำนาจ หรือเกินวงเงินอนุมัติของฝ่ายจัดการ ทั้งนี้ให้เป็นไปตามระเบียบอำนาจอนุมัติของบริษัทฯ หรือตามงบประมาณที่ได้รับ การอนุมัติแล้ว

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


4. กำหนดผังโครงสร้างองค์กร อำนาจการบริหารจัดการ นโยบายอัตราค่าตอบแทน และโครงสร้างเงินเดือน ของบริษัทฯ เพื่อนำเสนอต่อคณะกรรมการ 5. มอบหมายเพื่อให้บุคคลหนึ่งหรือหลายบุคคลมีอำนาจกระทำการใดๆ แทนคณะกรรมการบริหารตามที่ คณะกรรมการบริหารเห็นสมควร และคณะกรรมการบริหารอาจยกเลิกเพิกถอนเปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขอำนาจนั้นๆ ได้ 6. ดำเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย ทั้งนี้ ขอบเขตอำนาจที่คณะกรรมการบริหารได้รับมอบหมายไม่ครอบคลุมถึงรายการที่กรรมการบริหารผู้ใดผู้ หนึ่งหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งตามประกาศสำนักงาน ก.ล.ต. คนใดคนหนึ่ง มีส่วนได้เสียหรือมีความขัดแย้งทางผล ประโยชน์กับบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย ในกรณีเช่นนั้นคณะกรรมการบริหารจะต้องนำเสนอเรื่องสู่การพิจารณาให้ความเห็น ชอบโดยคณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรือ ที่ประชุมผู้ถือหุ้น ตามแต่กรณี เว้นแต่คณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรือที่ ประชุมผู้ถือหุ้นจะได้ยกเว้นโดยชอบเป็นเฉพาะกรณีไว้ก่อนหน้านั้นแล้ว คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ประกอบด้วยกรรมการตรวจสอบจำนวน 3 คน คือ 1. นายสุทธิพันธุ์ จารุมณี ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ (เป็นกรรมการตรวจสอบที่มี ความรู้และประสบการณ์ในการสอบทานงบการเงินของบริษัท) 2. นายปีเตอร์ จอห์น เอ็ดมันสัน กรรมการตรวจสอบ 3. นางพรรณี วรวุฒิจงสถิต กรรมการตรวจสอบ (เป็นกรรมการตรวจสอบที่มีความรู้และ ประสบการณ์ในการสอบทานงบการเงินของบริษัท) คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทมีขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบตามชาร์เตอร์ของตนต่อคณะกรรมการ บริษัทฯ ดังนี้ 1. สอบทานว่าบริษัทฯ มีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ 2. สอบทานว่าบริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายใน (Internal control) และการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความเห็น ชอบในการพิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้างหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน หรือหน่วยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับ การตรวจสอบภายใน 3. สอบทานว่ า บริ ษั ท ฯ ได้ ป ฏิ บั ติ ต ามกฎหมายว่ า ด้ ว ยหลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ข้ อ กำหนดของ ตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป็นอิสระเพื่อทำหน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัท และเสนอ ค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทัง้ เข้าร่วมประชุมกับผูส้ อบบัญชีโดยไม่มฝี า่ ยจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง 5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้เป็นไปตามกฎหมายและ ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัท 6. จัดทำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบเปิดเผยไว้ในรายงานประจำปีของบริษัทฯ ซึ่งรายงานดังกล่าว ต้องลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ - ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษัท - ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัท - ความเห็ น เกี่ ย วกั บ การปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายว่ า ด้ ว ยหลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ข้ อ กำหนดของ ตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท - ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี - ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ - จำนวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน - ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร (charter) - รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบ ภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับ มอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท

รายงานประจํ า ปี 2553

29

• Annual Report 2010


30

7. รายงานการดำเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบให้คณะกรรมการของบริษทั ฯ ทราบเป็นประจำอย่างน้อย ไตรมาสละ 1 ครั้ง 8. ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการของบริษทั ฯ ได้มอบหมายด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 3 ปี เมื่อครบกำหนดออกตามวาระอาจได้รับแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งต่อไปอีกได้ คณะกรรมการบรรษัทภิบาล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ประกอบด้วยกรรมการบรรษัทภิบาลจำนวน 3 คน คือ 1. นายสมพงษ์ วนาภา ประธานคณะกรรมการบรรษัทภิบาล 2. นางพรรณี วรวุฒิจงสถิต กรรมการบรรษัทภิบาล 3. นางสาวปัทมา หอรุ่งเรือง กรรมการบรรษัทภิบาล คณะกรรมการบรรษัทภิบาล ทำหน้าที่พิจารณานำเสนอแนวปฏิบัติและให้คำแนะนำด้านการกำกับดูแลกิจการ ที่ดีและเป็นไปตามแนวทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) รวมทั้งสอดคล้องกับข้อเสนอของสถาบันต่างๆ บริษัทได้มีการจัดทำนโยบายการกำกับดูแลกิจการรวมทั้งจรรยาบรรณ ธุรกิจ ตามข้อเสนอแนะและแนวทางของคณะกรรมการบรรษัทภิบาล คณะกรรมการบรรษัทภิบาลได้พิจารณาแก้ไขและ นำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท โดยได้รับอนุมัติให้ประกาศใช้แล้ว คณะกรรมการบรรษัทภิบาลมีวาระการดำรงตำแหน่ง คราวละ 3 ปี เมื่อครบกำหนดออกตามวาระอาจได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งต่อไปอีกได้ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาผลตอบแทน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ประกอบด้วยกรรมการจำนวน 3 คน คือ 1. นายสุทธิพันธุ์ จารุมณี ประธานคณะกรรมการสรรหาฯ 2. นายชวลิต เศรษฐเมธีกุล กรรมการสรรหาฯ 3. นายธงชัย ศรีสมบูรณานนท์ กรรมการสรรหาฯ ในเดือนกุมภาพันธ์ 2554 นายชวลิต เศรษฐเมธีกุล ได้ขอลาออกจากคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาผล ตอบแทนและคณะกรรมการได้มีมติแต่งตั้ง นางพรรณี วรวุฒิจงสถิต เข้าดำรงตำแหน่ง คณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาผลตอบแทนแทน ในส่วนของการสรรหาคณะกรรมการสรรหาฯ จะทำหน้าที่สรรหา คัดเลือกและจัดเตรียมข้อมูลเกี่ยวกับผู้ที่ เหมาะสมที่จะเข้าดำรงตำแหน่งกรรมการที่ว่างลงหรือที่พึงตั้งเพิ่ม หรือตำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ โดยนำเสนอสู่การ พิจารณาของคณะกรรมการบริษัทฯ รายชื่อผู้เหมาะสมพร้อมประวัติจะได้รับการนำเสนอล่วงหน้าโดยกรรมการหรือโดย ผู้ถือหุ้น เพื่อการเตรียมพิจารณาในที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ซึ่งจะคำนึงในอันดับแรกถึงความต้องการของบริษัทฯ ก่อนเริ่มการพิจารณาในเชิงลึกเกี่ยวกับชื่อเสียง ประสบการณ์ ความน่าเชื่อถือ ความสามารถ วิสัยทัศน์และจริยธรรมที่ดี ตลอดจนประเด็นเกี่ยวข้องอื่นของบุคคลนั้นๆ โดยรายชื่อที่คณะกรรมการมีมติรับรองจะได้รับการนำเสนอต่อที่ประชุม ผู้ถือหุ้นเพื่อการพิจารณาอนุมัติต่อไป คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาผลตอบแทนมีหน้าที่พิจารณากำหนดค่าตอบแทนของคณะกรรมการรวมทั้ง สำหรับคณะกรรมการชุดย่อยเพื่อนำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทพิจารณาและพิจารณาอนุมัติโดยที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจำปีโดยคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาผลตอบแทนจะมีการประเมินค่าตอบแทนเทียบเคียงกับท้องตลาดรวมถึง ข้อมูลที่ได้รับจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ภาระหน้าที่ความรับผิดชอบและผลงาน รวมถึงฐานะทางการเงินและ ผลประกอบการของบริษัทฯด้วย คณะกรรมการสรรหาฯ จะมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 3 ปี เมื่อครบกำหนดออก ตามวาระอาจได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งต่อไปอีกได้ ฝ่ายจัดการ คณะผู้บริหาร ประกอบด้วย : 1. นายเดวิด ริชาร์ด นาร์โดน กรรมการผู้จัดการ 2. นายวิวัฒน์ จิรัฐติกาลสกุล รองกรรมการผู้จัดการ 3. นางสาวปัทมา หอรุ่งเรือง รองกรรมการผู้จัดการ 4. นายสุนทร คงสุนทรกิจกุล ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ-ฝ่ายปฏิบัติการธุรกิจนิคมอุตสาหกรรม

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


5. นายธนินทร์ ทรัพย์บุญเรือง ผู้อำนวยการ - ฝ่ายพัฒนาโครงการธุรกิจนิคมอุตสาหกรรม 6. นายศิริศักดิ์ กิจรักษา ผู้อำนวยการ - ฝ่ายบัญชี และกฎหมาย 7. นางสาวสมใจ วชิรห้า ผู้อำนวยการ - ฝ่ายการเงิน 8. นายนิพนธ์ หาญพัฒนพานิชย์ ผู้อำนวยการ - ฝ่ายวางแผนโครงการธุรกิจที่พักอาศัย 9. นายคำฮอง รัศมี ผูอ้ ำนวยการ - ฝ่ายวางแผนโครงการระบบน้ำและโรงไฟฟ้าขนาดเล็ก 10. นายเผ่าพิทยา สมุทรกลิน ผู้อำนวยการ - ฝ่ายวางแผนและนักลงทุนสัมพันธ์ 11. นางสาวจิณณพัต ทองวิเศษกุล ผู้อำนวยการ - ฝ่ายลูกค้าสัมพันธ์โครงการธุรกิจที่พักอาศัย 12. นางสาวลัดดา โรจนาวิไลวุฒิ ผู้อำนวยการ - ฝ่ายลูกค้าสัมพันธ์ธุรกิจนิคมอุตสาหกรรม 13. นางสาวอัญชลี ประเสริฐจันทร์ ผู้อำนวยการ - ฝ่ายลูกค้าสัมพันธ์ธุรกิจนิคมอุตสาหกรรม 14. นางสาวฉันทนา หินแก้ว ผู้อำนวยการ - ฝ่ายการตลาด 15. นายปรีเปรม มาลาสิทธิ์ ผู้อำนวยการ - ฝ่ายศูนย์การฝึกอบรมนิคมอุตสาหกรรม 16. นางสาวปรารถนา กิจจานนท์ ผู้อำนวยการ - ฝ่ายจัดหา 17. นายอภิชาติ ตรงสุขสรรค์ ผู้ช่วยผู้อำนวยการ - ฝ่ายระบบข้อมูลและบริการ กรรมการผู้จัดการเป็นผู้รับผิดชอบต่อการมอบหมายอำนาจหน้าที่ที่เหมาะสมแก่บุคลากรในฝ่ายจัดการแต่ละราย เพื่อให้บริษัทฯ สามารถนำนโยบายและแผนกลยุทธ์ตลอดจนแผนธุรกิจต่างๆ ออกปฎิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล ตามเป้าหมายและกรอบงบประมาณที่คณะกรรมการและ/หรือคณะกรรมการบริหารของบริษัทฯ ได้กำหนด หรือให้ความเห็นชอบไว้ ค่าตอบแทนกรรมการ/ผู้บริหาร 1. ค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริษัทจำนวน 10 ท่าน ในปี 2553 เป็นเงิน 16,150,000บาท (ในปี 2552 เป็นเงิน 15,795,000 บาท) โดยจ่ายเป็นเบี้ยประชุมและค่าตอบแทน รวมถึงค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการ ชุดย่อยด้วย โดยมีรายละเอียดแยกตามรายกรรมการ ดังนี้

กรรมการ

1. นายชวลิต เศรษฐเมธีกุล

ตำแหน่ง

31

ค่าตอบแทน (บาท) เบี้ยประชุม ค่าตอบแทน รวม กรรมการ 270,000.00 1,500,000.00 1,770,000.00

ประธานกรรมการ/กรรมการสรรหาและ พิจารณาผลตอบแทน 2. นายธงชัย ศรีสมบูรณานนท์ กรรมการ/ประธานกรรมการบริหาร/ 195,000.00 2,000,000.00 2,195,000.00 กรรมการสรรหาและพิจารณาผลตอบแทน 3. นายสุทธิพันธุ์ จารุมณี กรรมการอิสระ/ประธานกรรมการตรวจสอบ/ 365,000.00 1,000,000.00 1,365,000.00 ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณา ผลตอบแทน 4. นายเดวิด ริชาร์ด นาร์โดน กรรมการ/กรรมการบริหาร 175,000.00 1,750,000.00 1,925,000.00 5. นายปีเตอร์ จอห์น เอ็ดมันสัน กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ 260,000.00 1,000,000.00 1,260,000.00 6. นางพรรณี วรวุฒิจงสถิต กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ/ 335,000.00 1,000,000.00 1,335,000.00 กรรมการบรรษัทภิบาล 7. นายวิวัฒน์ จิรัฐติกาลสกุล กรรมการ/กรรมการบริหาร 175,000.00 1,750,000.00 1,925,000.00 8. นางสาวปัทมา หอรุ่งเรือง กรรมการ/กรรมการบริหาร/ 215,000.00 1,750,000.00 1,965,000.00 กรรมการบรรษัทภิบาล 9. นายสมพงษ์ วนาภา กรรมการ/ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล 235,000.00 1,000,000.00 1,235,000.00 10. นายวิกิจ หอรุ่งเรือง กรรมการ 175,000.00 1,000,000.00 1,175,000.00 รวม 2,400,000.00 13,750,000.00 16,150,000.00

2. ค่าตอบแทนรวมกรรมการบริหารและฝ่ายบริหารจัดการในรูปของเงินเดือน เงินสมทบกองทุนสำรอง เลี้ยงชีพ และเงินรางวัลประจำปี จำนวน 19 คน ในปี 2553 เป็นจำนวนเงิน 115.90 ล้านบาท รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


การปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี

32

บริษัทเล็งเห็นถึงความสำคัญของการกำกับดูแลกิจการที่ดี จึงมีนโยบายนำหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยมาเป็นแนวทางปฏิบัติและพยายามปรับปรุงการปฏิบัติให้ครบถ้วนต่อเนื่องตลอดมา เพื่อ ให้มีมาตรฐานการจัดการกิจการที่ดีสร้างประสิทธิภาพความโปร่งใสในการดำเนินธุรกิจของบริษัท และสร้างความเชื่อมั่น แก่ผู้ถือหุ้น นักลงทุนและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย โดยมีเนื้อหาสำคัญดังนี้ สิทธิของผู้ถือหุ้น บริษัทฯตระหนักถึงหน้าที่ในการดูแลสิทธิและผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้น โดยการดำเนินธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ สร้างความเจริญเติบโตอย่างยั่งยืนแก่บริษัทและมีผลตอบแทนที่เหมาะสมให้ผู้ถือหุ้นเป็นสำคัญ รวมถึงส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้น ได้ใช้สิทธิของตนในการประชุมผู้ถือหุ้น และจะไม่กระทำการอันเป็นการละเมิดหรือลิดรอนสิทธิของผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้นทุกรายจะได้รับเชิญให้เข้าร่วมประชุมสามัญประจำปีหรือการประชุมวิสามัญ (ถ้ามี) โดยมีการจัดส่ง หนังสือเชิญประชุมพร้อมวาระการประชุมเพื่อพิจารณาก่อนประชุมทุกครั้ง ผู้ถือหุ้นมีสิทธิออกเสียงได้ตามจำนวนหุ้นที่ ครอบครองและผู้ถือหุ้นแต่ละคนต้องใช้คะแนนเสียงที่มีอยู่ทั้งหมดในการออกเสียงเพื่อลงมติการประชุมและรักษา ผลประโยชน์ในฐานะผู้ลงทุน และให้ความเห็นต่อการตัดสินใจที่สำคัญ เช่น การจัดสรรเงินกำไรและพิจารณาจ่าย เงินปันผล การแต่งตั้งผู้สอบบัญชี การกำหนดค่าตอบแทนและการเลือกตั้งคณะกรรมการบริษัท การแก้ไขกฎข้อบังคับ ของบริษัทฯ และการเพิ่มทุน เป็นต้น ผู้ถือหุ้นทุกรายมีสิทธิ์จะได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง เปิดเผย เพียงพอและทันต่อเหตุการณ์ และผู้ถือหุ้นซึ่งต้องการแต่งตั้งตัวแทนเข้าร่วมประชุมสามารถกระทำได้โดยแต่งตั้งบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ตนเห็นสมควร หรือจะแต่งตั้งประธานคณะกรรมการตรวจสอบผู้เป็นกรรมการอิสระตามคำแนะนำของสำนักงานคณะกรรมการกำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ได้ ในการประชุมบริษัทฯได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นซักถามในเรื่องที่เกี่ยวกับบริษัท ได้อย่างเท่าเทียมกันตามความเหมาะสม ในการประชุมผู้ถือหุ้นแต่ละครั้ง คณะกรรมการบริษัท ผู้บริหารระดับสูงที่เกี่ยวข้อง ถือเป็นหน้าที่และความ รับผิดชอบในการเข้าร่วมประชุมเพื่อร่วมชี้แจงรายละเอียดที่เกี่ยวข้องของระเบียบวาระต่างๆ รวมถึงตอบข้อซักถามของ ผู้ถือหุ้นด้วย โดยหากมีเหตุจำเป็นไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ จะมีการแจ้งให้ประธานกรรมการหรือสำนักงานเลขานุการ บริษัททราบล่วงหน้า การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน บริษัทฯ ให้ความสำคัญและดูแลให้มีการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกันและเป็นธรรม เพื่อให้การพิจารณามีความชัดเจนและโปร่งใสรวมทั้งช่วยให้บริษัทสามารถปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการ ที่ดี บริษัทฯ จึงเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยเสนอวาระการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น และชื่อบุคคลเพื่อแต่งตั้งเป็นกรรมการ ล่วงหน้า โดยกำหนดหลักเกณฑ์การให้ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยเสนอระเบียบวาระการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น และชื่อบุคคลเพื่อ แต่งตั้งเป็นกรรมการล่วงหน้า สำหรับใช้ในการพิจารณากลั่นกรองระเบียบวาระอันจะเป็นประโยชน์ต่อบริษัท ในการ คัดสรรบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมและปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัทและต่อผู้มีส่วน ได้เสียทุกฝ่าย โดยจะได้เผยแพร่หลักการไว้บนเว็บไซต์ของบริษัทฯ ผู้ถือหุ้นทุกรายจะได้รับเชิญให้เข้าร่วมประชุมสามัญหรือวิสามัญผู้ถือหุ้นทุกครั้งที่บริษัทฯ จัดขึ้น และได้จัดส่ง หนังสือเชิญประชุมพร้อมระบุวาระการประชุมเพื่อให้พิจารณาล่วงหน้าก่อนประชุมทุกครั้งโดยเฉพาะก่อนการประชุม สามัญผู้ถือหุ้นซึ่งกำหนดให้มีปีละครั้งภายในเดือนเมษายน ทั้งนี้ บริษัทฯ จะไม่มีการเพิ่มวาระที่สำคัญโดยไม่แจ้งให้ ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้า เพื่อให้ผู้ถือหุ้นมีโอกาสศึกษาข้อมูลประกอบระเบียบวาระก่อนการตัดสินใจ ผู้ถือหุ้นที่ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมด้วยตนเองได้ บริษัทได้อำนวยความสะดวกให้ โดยจัดส่งหนังสือมอบฉันทะ ตามแบบที่กระทรวงพาณิชย์กำหนดทุกแบบให้แก่ผู้ถือหุ้นพร้อมหนังสือเชิญประชุม เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถมอบฉันทะ ให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งเข้าร่วมประชุมแทนได้ และบริษัทจะเสนอชื่อพร้อมข้อมูลของกรรมการอิสระของบริษัท อย่างน้อย 1 คน เพื่อเป็นทางเลือกเพิ่มเติมให้ผู้ถือหุ้น

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


ในการออกเสียงลงคะแนน ผู้ถือหุ้นมีสิทธิ์ออกเสียงได้ตามจำนวนหุ้นที่ครอบครองและผู้ถือหุ้นแต่ละคนต้องใช้ คะแนนเสียงที่มีอยู่ทั้งหมดในการออกเสียงเพื่อลงมติการประชุมและรักษาผลประโยชน์ของผู้ลงทุน เพื่อความโปร่งใสและ สามารถตรวจสอบได้ ในการลงคะแนนเสียงอย่างน้อยสำหรับวาระที่สำคัญ บริษัทได้ใช้บัตรลงคะแนนซึ่งจะมอบให้ผู้ถือหุ้น ตอนลงทะเบียน บัตรลงคะแนนจะมีเท่ากับวาระการประชุม โดยเมื่อมีการตอบข้อซักถามจนเป็นที่พอใจบริษัทจะให้ ผู้ถือหุ้นลงคะแนนในบัตรลงคะแนนตามวาระนั้นๆ จากนั้นจะเก็บบัตรลงคะแนนจากผู้ถือหุ้นเพื่อนำมานับคะแนนเสียง และจะจัดให้บุคคลที่เป็นกลางเข้าเป็นผู้นับคะแนนเสียง เพื่อความโปร่งใส บริษทั ได้บนั ทึกรายงานการประชุมอย่างถูกต้องและเหมาะสมชัดเจนในสาระสำคัญ และจัดส่งรายงานการประชุม ให้แก่ผถู้ อื หุน้ ทุกราย ภายหลังจากทีไ่ ด้จดั ส่งรายงานต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ และ ก.ล.ต.แล้วหลังการประชุมเสร็จสิน้ 14 วัน เสมอ และได้เผยแพร่รายงานดังกล่าวไว้บนเว็บไซต์ของบริษัทด้วย บริษัทได้กำหนดแนวทางการเก็บรักษาข้อมูล และการป้องกันการใช้ข้อมูลภายในเป็นลายลักษณ์อักษรในการ กำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท เพื่อความเป็นธรรมต่อผู้ถือหุ้นและจะแจ้งเตือนไม่ให้กรรมการ พนักงาน และบุคคลที่ เกี่ยวข้อง ได้แก่ คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ และ Nominee ใช้ข้อมูลภายในที่เป็นสาระสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลง ราคาหุ้น และยังไม่ได้เปิดเผยแก่สาธารณะชน ไปซื้อขายหุ้น ทั้งนี้ ตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 กรรมการและผู้บริหารจะต้องรายงานการถือหลักทรัพย์ของบริษัท เมื่อแรกเข้ารับตำแหน่ง และรายงานทุก ครั้งเมื่อมีการซือ้ ขายหลักทรัพย์ภายใน 3 วันทำการต่อ ก.ล.ต. และบริษทั จะนำรายงานดังกล่าวรวบรวมเป็นระเบียบวาระ แจ้งให้ทปี่ ระชุมคณะกรรมการบริษัททราบเป็นประจำ บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย บริษทั ฯ ได้ตระหนักถึงสิทธิของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทุกกลุม่ ตัง้ แต่ผถู้ อื หุน้ พนักงาน ลูกค้า เจ้าหนี้ คูค่ า้ และคูแ่ ข่ง สิ่งแวดล้อมและสังคม หน่วยงานของรัฐ ให้ได้รับการดูแลสิทธิตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องหรือตามข้อตกลงโดยต้องไม่ถูก ละเมิดใดๆ โดยกำหนดหลักเกณฑ์ในการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียแต่ละกลุ่ม ดังนี้

33

ผู้ถือหุ้น

การเปิดเผยข้อมูลที่สำคัญทั้งข้อมูลการเงิน และข้อมูลไม่ใช่ทางการเงินต่อผู้ถือหุ้นอย่างถูกต้อง เหมาะสม เท่าเทียม และทันเวลา โดยผ่านช่องทางต่างๆ เช่น การแจ้งข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัทฯ การประกาศทาง หนังสือพิมพ์ หรือการส่งจดหมายเป็นลายลักษณ์อักษรเป็นต้น

พนักงาน

บริษัทให้ความสำคัญกับพนักงานโดยถือว่าเป็นทรัพยากรที่มีค่าไม่ว่าจะทำงานอยู่ในส่วนใด โดยให้ผลตอบแทน ที่เป็นธรรมต่อพนักงาน มีการจ่ายผลตอบแทนให้แก่พนักงานอย่างเหมาะสม สร้างสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ดี ปลอดภัย และจัดให้พนักงานทุกคนรับทราบนโยบายและสวัสดิการที่พนักงานพึงได้รับ โดยมีคู่มือพนักงานซึ่งกำหนด ระเบียบข้อบังคับการทำงาน คู่มือประกันสุขภาพแบบกลุ่ม การประกันชีวิตแบบกลุ่ม กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เป็นต้น ให้ ความสำคัญต่อการพัฒนาความรู้ ความสามารถ และทักษะของพนักงาน โดยส่งเสริมให้พนักงานได้รับการอบรม สัมมนา ทั้งจากภายในและภายนอกบริษัทฯ โดยได้จัดตั้งงบประมาณในฝึกอบรมประจำปีในด้านต่างๆ ให้แก่พนักงาน เพื่อให้พนัก งานได้รับการพัฒนาจนมีความเชี่ยวชาญ ความชำนาญ และความสามารถในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ลูกค้า

ให้ความสำคัญกับความพึงพอใจของลูกค้า และปฏิบัติตามสัญญาหรือเงื่อนไขต่างๆ ที่ตกลงกันไว้อย่างเคร่งครัด และใส่ใจต่อการแก้ไขปัญหาในทุกเรื่องที่ลูกค้าร้องเรียนหรือให้ข้อแนะนำ

เจ้าหนี้ คู่ค้าและคู่แข่ง

ประพฤติปฏิบัติภายใต้กรอบกติกาของการแข่งขันที่ดี เช่น การปฏิบัติตามเงื่อนไขและข้อกำหนดของสัญญา การไม่เอาเปรียบทางการค้า ไม่หาประโยชน์โดยการให้ข้อมูลเท็จหรือปกปิดข้อความจริง ไม่ใช้วิธีการที่ไม่สุจริตเพื่อทำลาย คู่แข่งขัน

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


34

สิ่งแวดล้อมและสังคม

ด้านการดูแลสิ่งแวดล้อมและสังคม บริษัทฯ มีนโยบาย ด้านสิ่งแวดล้อมโดยให้การพัฒนานิคมอุตสาหกรรมที่ เป็นธุรกิจของบริษัทฯ ต้องควบคู่ไปกับการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ตามมาตรฐานระบบการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ISO 14001 ด้านการมีส่วนในสังคม บริษัทมีนโยบายที่จะส่งเสริมการมีส่วนร่วมกับหน่วยงานต่างๆในสังคม ชุมชนและ บริเวณใกล้เคียงทั้งในการศึกษาการดูแลรักษาความปลอดภัยและอัคคีภัยและอื่นๆ เช่นการจัดให้มีโครงการทุนการศึกษา แก่โรงเรียนในชุมชนโครงการเปิดให้สถานศึกษาต่างๆเข้าชมนิคมและงานด้านต่างๆของบริษัท และการจัดตั้งศูนย์ ความปลอดภัยและดับเพลิงของกลุ่มบริษัท หน่วยงานของรัฐ ปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบและข้อกำหนดต่างๆ ของทางราชการ รวมทั้งการให้ความร่วมมือที่ดีกับ หน่วยงานรัฐ บริษัทมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติตามกฎหมายและมาตรฐานทางด้านสิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัดโดยกำหนดให้ผู้บริหาร และพนักงานทุกคน ยึดถือและปฏิบัติงานให้เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ กฎหมาย นโยบาย ข้อกำหนดและมาตรฐาน ด้านคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และด้านสิ่งแวดล้อม ที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด และได้เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ เพือ่ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ ขัน้ ตอนวิธปี ฏิบตั ิ และข้อควรระวังต่างๆ ตลอดจนการนำไปปฏิบตั อิ ย่างถูกต้อง ไม่ก่อให้เกิด อันตรายต่อสุขภาพ ทรัพย์สินและสิ่งแวดล้อม และมีการพัฒนา ทบทวน แก้ไข การมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบต่อสังคม ด้านความปลอดภัย ชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง การใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยตระหนักถึงความสำคัญของสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยของผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งการส่งเสริมกิจกรรม ทางสังคมในการรักษาสิ่งแวดล้อมและพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้กำหนดให้มีช่องทางสำหรับแจ้งเบาะแสกระทำผิดให้คณะกรรมการทราบ ผ่าน website ของบริษัท หรือสามารถแจ้งเบาะแสการกระทำผิด โดยมีช่องทางการรับเรื่องดังนี้ 1. ยื่นเรื่องโดยตรงที่สำนักงานเลขานุการบริษัท 1.1 โทรศัพท์ หมายเลข 02-719-9555 1.2 โทรสาร หมายเลข 02-719-9546-47 1.3 E-mail ของสำนักงานเลขานุการบริษัท E-mail : secretarycompany@hemaraj.com 2. ยื่นเรื่องโดยตรงถึงประธานกรรมการตรวจสอบ E-mail : auditcommittee@hemaraj.com การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส บริษัทฯ มีการเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศทางการเงินและอื่นๆที่เกี่ยวกับธุรกิจและผลประกอบการของบริษัทอย่าง ถูกต้อง เพียงพอ สม่ำเสมอ ทันเวลา เชื่อถือได้ ผ่านช่องทางตลาดหลักทรัพย์ในแบบแสดงรายการข้อมูลประจำปี (แบบ 56-1) และรายงานประจำปี (56-2) ตามที่ ก ำหนด และบริ ษั ท ยั ง ได้ น ำข้ อ มู ล ลงบน Website ของบริ ษั ท ที่ www.hemaraj.com และที่ invest@hemaraj.com ทั้งภาษาไทยและอังกฤษโดยได้มีการพัฒนาปรับปรุงข้อมูลให้ทัน สมัยอยู่เสมอ เพื่อให้นักลงทุนสามารถรับทราบ และ/หรือ ศึกษาเกี่ยวกับบริษัทฯ ได้อย่างชัดเจน ทั้งในเชิงกว้างและลึก อีกทั้งผู้บริหารระดับสูงยังได้จัดให้มีการสัมมนาประชุมระหว่างผู้บริหารระดับสูงกับนักลงทุนสัมพันธ์ นักวิเคราะห์ และ นักข่าวเศรษฐกิจ ทั้งในและต่างประเทศอย่างสม่ำเสมอ และการจัดให้ผู้สนใจจากแวดวงสำคัญต่างๆ เข้าเยี่ยมชมนิคม อุตสาหกรรมของบริษัทฯ อีกด้วย นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ยั ง ได้ จั ด ให้ มี ห น่ ว ยงาน “นั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ ” ซึ่ ง รั บ ผิ ด ชอบโดยตรงในการทำหน้ า ที่ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อนักลงทุน ผู้ถือหุ้น ผู้เกี่ยวข้อง สาธารณะชนทั่วไป สถาบันการเงิน และ นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ โดยให้ข้อมูลข่าวสารต่างๆ ของบริษัท ที่จะเป็นประโยชน์ต่อนักลงทุน สารสนเทศที่สำคัญของบริษัทประกอบด้วยข้อมูลทางการเงินและข้อมูลที่ไม่ใช่ทางการเงิน โดยเฉพาะในส่วนของ งบการเงินนัน้ ได้ผา่ นการสอบทาน/ตรวจสอบจากผูส้ อบบัญชี ว่าถูกต้องตามทีค่ วรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีทรี่ บั รอง ทั่วไป และผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ/คณะกรรมการบริษัทก่อนเปิดเผยแก่ผู้ถือหุ้น โดยคณะ กรรมการบริษัทได้เปิดเผยรายงานความรับผิดชอบต่อรายงานทางการเงินในรายงานประจำปีด้วย สำหรับการเปิดเผย ข้อมูลที่ไม่ใช่ทางการเงินนั้น บริษัทได้เปิดเผยรายการระหว่างกัน บทวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการและการบริหารความเสี่ยง รวมถึงรายงานการกำกับดูแลกิจการที่ดีไว้ในรายงานประจำปี และแบบ 56-1 และในเว็บไซต์ของบริษัทด้วย

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


บริษัทได้เปิดเผยรายละเอียดบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ จำนวนครั้งของการประชุม และจำนวนครั้งที่คณะกรรมการแต่ละท่านเข้าร่วมประชุม รวมทั้งความเห็นของคณะ กรรมการในการดำเนินงาน และได้เปิดเผยนโยบายการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหารระดับสูงไว้ในแบบแสดง รายการข้อมูลประจำปีของบริษัท (แบบ 56-1) และรายงานประจำปีของบริษัทด้วย ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ โครงสร้างและคณะกรรมการชุดย่อยชุดต่างๆ โครงสร้างคณะกรรมการ คณะกรรมการของบริษัทสามารถจัดกลุ่มตามลักษณะ คือ - กรรมการซึ่งเป็นฝ่ายบริหาร - กรรมการซึ่งไม่เป็นผู้บริหาร - กรรมการอิสระ คณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วยกรรมการอิสระไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของกรรมการทั้งหมด แต่ต้องไม่น้อย กว่า 3 คน ปัจจุบันคณะกรรมการของบริษัทมีจำนวน 10 คน ประกอบด้วยกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารจำนวน 6 คนซึ่ง 4 ใน 6 คน เป็นกรรมการอิสระ คณะกรรมการมีวาระการดำรงตำแหน่ง 3 ปี โดยในการประชุมสามัญประจำปีทุกครั้งให้กรรมการออกจาก ตำแหน่ง 1 ใน 3 หากแบ่งให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจำนวนใกล้ที่สุดกับส่วน 1 ใน 3 โดยกรรมการที่ออก จากตำแหน่งนี้จะได้รับการเลือกตั้งให้กลับเข้ามารับตำแหน่งอีกก็ได้ บริษทั ได้กำหนดคุณสมบัตขิ องกรรมการอิสระของบริษทั ประกอบด้วยบุคคลผูม้ คี วามรูด้ า้ นการเงิน เศรษฐศาสตร์ การบัญชี การบริหารรัฐกิจ และธุรกิจแขนงอื่นอย่างหลากหลายหลายแขนงเป็นอย่างดี เหมาะสมต่อการเป็นองค์ประกอบ ของมาตรการปกป้องผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นและอื่นๆ นอกจากนี้ยังครอบคลุมคุณสมบัติที่กำหนดไว้ในข้อกำหนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสำนักงานคณะกรรมการก.ล.ต. บริษัทมีนโยบายให้กรรมการบริษัทดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษัทอื่นๆ ได้ตามสมควร ไม่ให้มากเกินไป และ หากดำรงตำแหน่งกรรมการในกิจการประเภทเดียวกันจะต้องเปิดเผยข้อมูลการดำรงตำแหน่งของกรรมการแต่ละคนให้ ผู้ถือหุ้นทราบด้วย บริษัทมีนโยบายให้กรรมการบริษัทดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนไม่เกิน 5 บริษัท และหากดำรง ตำแหน่งกรรมการในกิจการประเภทเดียวกันจะต้องเปิดเผยข้อมูลการดำรงตำแหน่งของกรรมการแต่ละคนให้ผู้ถือหุ้น ทราบด้วย การไปดำรงตำแหน่งกรรมการบริษัทอื่นของกรรมการผู้จัดการและผู้บริหารระดับสูง บริษัทมีนโยบายไม่ให้ดำรง ตำแหน่งมากเกินไปจนทำให้ไม่มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และหากดำรงตำแหน่ง กรรมการผู้จัดการหรือผู้บริหาร ระดับสูงในบริษัทอื่นในกิจการเดียวกันจะต้องเปิดเผยข้อมูลการดำรงตำแหน่งของกรรมการแต่ละคนให้ผู้ถือหุ้นทราบด้วย บริษัทได้มีการแบ่งแยกผู้ดำรงตำแหน่งและหน้าที่ความรับผิดชอบของประธานกรรมการบริษัท และกรรมการ ผู้จัดการออกจากกันอย่างชัดเจน บริษัทได้แต่งตั้งเลขานุการบริษัทเพื่อทำหน้าที่ให้คำแนะนำด้านกฏหมาย กฎเกณฑ์ ข้อกำหนดต่างๆ ของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายต่างๆ ที่ ควรทราบ รวมทั้งประสานงานให้มีการปฏิบัติตามมติคณะกรรมการ และดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการด้วย บทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท การกำหนดอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทให้เป็นไปตามกฎหมายกฎเกณฑ์ และข้อ กำหนดที่เกี่ยวข้อง รวมถึงกำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ ไว้ เพื่อให้คณะกรรมการ บริษัทและคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ พิจารณาและให้ความเห็นได้ตามขอบเขตอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบได้ อย่างถูกต้อง โดยบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท มีดังนี้ - คณะกรรมการบริษัท ต้องมีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ที่จะเป็นประโยชน์ต่อการดำเนินธุรกิจ มีความสนใจในกิจการของบริษัทที่ตนเองเป็นกรรมการ มีความตั้งใจและมีจริยธรรมในการดำเนินธุรกิจ - คณะกรรมการบริษัท ต้องปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมายด้วยความสุจริตและตั้งใจดูแลการดำเนินการ ของบริษัทให้เป็นไปตามกรอบข้อกฎหมาย ข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและสำนักงานคณะกำกับหลัก ทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และเป็นไปตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี รายงานประจํ า ปี 2553

35

• Annual Report 2010


36

- คณะกรรมการบริษัทฯ มีหน้าที่หลักในการกำหนดวิสัยทัศน์ นโยบายโดยรวม ตลอดจนกลยุทธ์สำคัญในการ ดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ด้วยความสามารถและความสุจริตรอบคอบเพื่อรักษาผลประโยชน์ของบริษัทฯ และของผู้ถือหุ้น อย่างต่อเนื่องยาวนาน รวมถึงการควบคุมกำกับฝ่ายบริหารจัดการของบริษัทฯ ให้ดำเนินการตามที่ได้รับมอบหมายอย่าง มีประสิทธิภาพ และอย่างถูกต้องตามข้อบังคับของกฏหมายและข้อกำหนดขององค์กรกำกับดูแลต่างๆ ตลอดจนของ บริษทั ฯ เอง อีกทัง้ มีความสอดคล้องกับหลักเกณฑ์การกำกับดูแลกิจการทีด่ ี ทัง้ นืค้ ณะกรรมการอาจแต่งตัง้ หรือมอบหมาย ให้กรรมการคนหนึ่งคนใดหรือหลายคนหรือบุคคลอื่นกระทำการอย่างหนึ่งอย่างใดแทนคณะกรรมการ ทั้งสามารถยกเลิก เปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขอำนาจนั้นๆ ได้ตามที่เห็นสมควร - คณะกรรมการบริษัท ต้องดำเนินการให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในที่มี ประสิทธิผล คณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการบริษัท ได้จัดให้มีคณะกรรมการชุดย่อยเพื่อปฏิบัติหน้าที่เฉพาะเรื่องและเสนอเรื่องให้คณะ กรรมการบริษัทได้พิจารณาหรือรับทราบ และได้กำหนด คุณสมบัติ และขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบของคณะ กรรมการชุดย่อยเฉพาะเรื่องไว้ ดังนี้ - คณะกรรมการบริหาร ขณะนี้ประกอบด้วยกรรมการจำนวน 4 คน ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการของ บริษัทฯ ให้เป็นผู้ช่วยงานด้านนโยบายและวางแผน ให้แก่คณะกรรมการของบริษัทฯ รวมถึงการกำกับ ติดตาม ดูแลให้ ฝ่ายจัดการของบริษัทฯ นำนโยบายและแผนกลยุทธ์ที่ได้รับความเห็นชอบแล้วนั้นดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพและ โดยระมัดระวังเพื่อการบรรลุเป้าหมายของกิจการ - คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการบริษัทที่เป็นกรรมการอิสระจำนวน 3 คน โดยกรรมการ ตรวจสอบทุกคนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีประสบการณ์การทำงานด้านบัญชี กฎหมายหรือการเงินเป็นอย่างดี มีขอบเขต หน้าที่และความรับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริษัทและเป็นไปตามที่กำหนดโดยสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยคณะกรรมการตรวจสอบทำหน้าที่สอบทานการดำเนินงานให้ถูกต้องตามนโยบาย และระเบียบข้อบังคับ ตลอดจนกฎหมาย ระเบียบปฏิบัติและข้อกำหนดของหน่วยงานกำกับดูแล ส่งเสริมให้พัฒนาระบบ รายงานทางการเงินและบัญชีให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลเหมาะสมกับบริษัท รวมทั้งสอบทานให้มีระบบการควบคุม ภายใน ระบบตรวจสอบภายใน และระบบบริหารความเสี่ยงที่เพียงพอและเหมาะสม คณะกรรมการตรวจสอบปฏิบัติ หน้าที่และแสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระ โดยมีหน่วยงานตรวจสอบภายในซึ่งบริษัทได้ว่าจ้างจากภายนอกรายงาน ตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบเป็นหน่วยปฏิบัติรวมทั้งมีการปรึกษาหารือกับผู้สอบบัญชีที่ปรึกษาเป็นประจำรวมทั้งการ ปรึกษากับผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายและบัญชีในกรณีที่จำเป็น โดยคณะกรรมการตรวจสอบจะมีการประชุมร่วมกับผู้สอบ บัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าประชุมอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อขอความเห็นจากผู้สอบบัญชีในเรื่องต่างๆ - คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาผลตอบแทน ประกอบด้วยกรรมการจำนวน 3 คน มีขอบเขตหน้าที่และ ความรับผิดชอบดังนี้ - สรรหาคัดเลือกบุคคลที่เหมาะสมต่อการได้รับเสนอชื่อเป็นกรรมการบริษัทหรือกรรมการผู้จัดการใหญ่ของ บริษทั อย่างมีหลักเกณฑ์ที่เหมาะสม เพื่อนำเสนอให้พิจารณาโดยคณะกรรมการบริษัทหรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นต่อไป ตามแต่ กรณี - พิจารณาค่าตอบแทนของคณะกรรมการรวมทั้งสำหรับคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ และนำเสนอเพื่อ พิจารณาโดยคณะกรรมการบริษัทเพื่อเสนอพิจารณาอนุมัติในที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปีต่อไป - คณะกรรมการบรรษัทภิบาล ประกอบด้วยกรรมการจำนวน 3 คน ทำหน้าที่พิจารณานำเสนอแนวปฏิบัติและ ให้คำแนะนำการปรับปรุงต่างๆ ด้านการกำกับดูแลกิจการที่ดีและเป็นไปตามแนวทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ ไทยและสำนักงานคณะกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ต่อคณะกรรมการบริษัท นโยบายการกำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการของบริษทั ฯ ได้มนี โยบายเกีย่ วกับการกำกับดูแลกิจการทีด่ แี ละการ ปฏิบตั ติ ามนโยบายดังกล่าว กับมีการทบทวนนโยบายและการปฏิบตั ดิ งั กล่าวให้เหมาะสมอยูเ่ สมออย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ จรรยาบรรณธุรกิจ บริษัทฯได้จัดทำจรรยาบรรณธุรกิจของบริษัท เพื่อเป็นคู่มือให้คณะกรรมการ ผู้บริหาร และ พนักงาน เข้าใจมาตรการด้านจริยธรรมที่บริษัทใช้ในการดำเนินธุรกิจ เพื่อให้นำไปปฏิบัติอย่างทั่วถึง

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


การป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการและฝ่ายบริหารของบริษัทฯ ได้ให้ความสำคัญต่อ กฎหมาย ข้อบังคับ และจริยธรรมว่าด้วยความขัดแย้งของผลประโยชน์และรายการระหว่างกัน โดยได้เปิดเผยข้อมูล พร้อมคำชี้แจงเหตุการณ์ไว้ ในหนังสือรายงานประจำปี และในแบบ 56-1 ของบริษัทฯ อย่างถูกต้อง ครบถ้วนและ ชัดเจนเพียงพอในสาระสำคัญ ตามระบุในกฏหมายและข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์และของคณะกรรมการกำกับ หลักทรัพย์ นอกจากนี้บริษัทฯ มีการสอบทานโดยคณะกรรมการตรวจสอบ พร้อมผลรายงานของผู้ตรวจสอบภายใน ผู้สอบบัญชีภายนอก และที่ปรึกษากฎหมาย เพื่อให้แน่ใจว่าบริษัทฯ ได้ถือปฏิบัติอย่างสอดคล้องกับหลักเกณฑ์ที่ได้กล่าวไว้ นอกจากนั้น บริษัทและบริษัทย่อยอาจมีรายการระหว่างกันกับกรรมการ ผู้บริหาร หรือบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง ในอนาคต ในกรณีที่เป็นรายการธุรกิจปกติหรือรายการสนับสนุนธุรกิจปกติ คณะกรรมการบริษัทอนุมัติในหลักการให้ ฝ่ายจัดการสามารถอนุมัติการทำธุรกรรมดังกล่าวเหล่านั้นได้ โดยต้องมีข้อตกลงทางการค้าในลักษณะเดียวกับที่วิญญูชน จะพึงกระทำกับคูส่ ญั ญาทัว่ ไปในสถานการณ์เดียวกัน ด้วยอำนาจต่อรองทางการค้าทีป่ ราศจากอิทธิพลในการทีต่ นมีสถานะ เป็นกรรมการ ผูบ้ ริหาร หรือบุคคลทีเ่ กีย่ วข้อง ตามพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 ระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน บริษัทได้ให้ความสำคัญต่อรายการควบคุมภายในโดยมุ่งเน้น ให้มีระบบความควบคุมภายในที่เพียงพอ และเหมาะสมในการดำเนินธุรกิจเพื่อป้องกันความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นกับ บริษัทฯ คณะกรรมการตรวจสอบทำหน้าที่พิจารณาสอบทานความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริษัท โดย จากการประชุมหารือรายไตรมาสกับผู้ตรวจสอบภายในมืออาชีพ (ที่ว่าจ้างจากภายนอก) ร่วมกับผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ผู้มีประสบการณ์สูงและกับตัวแทนของฝ่ายจัดการเองด้วยแล้ว ผลของการสอบทานนี้คณะกรรมการตรวจสอบได้รายงาน ต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เป็นรายไตรมาสเพื่อรับทราบ การบริหารความเสีย่ ง คณะกรรมการได้ให้ความสำคัญเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงเป็นอย่างมาก โดยกำหนด ให้บริษัททำการประเมินปัจจัยความเสี่ยงในการประกอบธุรกิจอย่างสม่ำเสมอ รวมทั้งวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น จากความเสี่ยงและการกำหนดมาตราการป้องกันหรือลดความเสี่ยง และรายงานให้แก่คณะกรรมการทราบเป็นประจำ การดูแลเรือ ่ งการใช้ขอ ้ มูลภายในของบริษทั บริษัทได้จัดวางมาตราการเพื่อสนองนโยบายของตลาดหลักทรัพย์ ในอันที่จะป้องกันมิให้ข้อมูลภายในที่สำคัญของบริษัทฯถูกนำไปใช้ประโยชน์โดยบุคคลากรของบริษัท (หรือผู้เกี่ยวข้อง) ในครรลองทีม่ ชิ อบ หรือรัว่ ไหลสูบ่ คุ คลภายนอกเป็นการเฉพาะรายหรือเฉพาะกลุม่ ก่อนทีบ่ ริษทั ฯ จะเผยแพร่ขอ้ มูลดังกล่าว เป็นการทั่วไป ทั้งนี้บริษัทได้เผยแพร่ต่อบุคลากรโดยเฉพาะระดับบริหารถึงจรรยาบรรณ ชื่อเสียงภาพพจน์ขององค์กร ตลอดจนกฎเกณฑ์และวิธีการของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ในเรื่อง รวมถึงหน้าที่ที่ต้องเปิดเผยและรายงานการถือและการเปลี่ยนแปลงการถือหุ้น ในบริษัทเป็นที่ชัดเจน

37

การประชุมคณะกรรมการ

คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้กำหนดวันประชุมโดยกำหนดเป็นการล่วงหน้า โดยได้กำหนดให้มีการประชุมคณะ กรรมการอย่างน้อยปีละ 4 ครั้ง เพื่อรับรองงบรายไตรมาสของบริษัท ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบ ได้มีการพิจารณาสอบ ทานความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูลงบการเงินและรายงานผลการประชุมให้คณะกรรมการของบริษัทฯ ทราบทุกไตรมาส นอกจากการประชุมตามที่ได้กำหนดเป็นรายปีไว้แล้วบริษัทยังมีการประชุมเพื่อพิจารณาเกี่ยวกับการดำเนินธุรกิจ ต่างๆ ตามความจำเป็นรวมทั้งอาจมีการประชุมเป็นกรณีเร่งด่วนอีกด้วย ในการประชุมแต่ละครั้งประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการ จะได้ร่วมกันพิจารณากำหนดเรื่องต่างๆ ที่จะ นำเข้าวาระการประชุม นอกจากนี้คณะกรรมการบริษัทแต่ละคนสามารถเสนอเรื่องที่เห็นว่ามีความสำคัญและจำเป็น เข้าประชุมได้ ในการประชุมบริษัทจะส่งหนังสือเชิญประชุมพร้อมวาระการประชุมพร้อมรายละเอียดประกอบให้คณะกรรมการ ทราบและพิจารณาล่วงหน้าก่อนการประชุมทุกครั้งตามข้อบังคับของบริษัท และสำหรับเรื่องที่เป็นวาระไม่เปิดเผยจะนำ เรื่องเข้าอภิปรายในที่ประชุม ประธานคณะกรรมการจะจัดสรรเวลาเพื่อให้ฝ่ายจัดการได้เสนอเรื่องและกรรมการจะอภิปรายปัญหาต่างๆ อย่างพอเพียง รอบคอบและทั่วถึง ในการประชุมคณะกรรมการอาจเชิญผู้บริหารระดับสูงเข้าร่วมประชุมเพื่อให้สารสนเทศ รายละเอียด และข้อมูล เพิ่มเติมในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับปัญหานั้นๆ เพื่อให้ที่ประชุมสามารถได้รับทราบข้อมูลอย่างเพียงพอในฐานะผู้เกี่ยวข้องและ ผู้ปฏิบัติงาน

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


38

บริษัทมีนโยบายให้กรรมการอิสระที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการมีการประชุม เพื่ออภิปรายปัญหาต่างๆ ร่วมกันโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วย ในระหว่างเดือนมกราคม ถึง เดือนธันวาคม ปี 2553 บริษัทได้จัดประชุมคณะกรรมการรวม 5 ครั้ง อันเป็น จำนวนที่ครอบคลุมทั้งการประชุมในวาระปกติและวาระฉุกเฉิน ซึ่งกรรมการส่วนใหญ่เข้าร่วมประชุมครบถ้วน เว้นแต่ ติดภาระกิจสำคัญเร่งด่วนหรือในกรณีเป็นวาระฉุกเฉินไม่สามารถเดินทางจากต่างประเทศได้ทัน สำหรับการเข้าร่วมประชุมของกรรมการบริษัทแต่ละท่านสรุปได้ดังนี้ รายชื่อคณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ

นายชวลิต เศรษฐเมธีกุล

นายธงชัย ศรีสมบูรณานนท์ นายเดวิด ริชาร์ด นาร์โดน นายสุทธิพันธุ์ จารุมณี นายปีเตอร์ จอห์น เอ็ดมันสัน นางพรรณี วรวุฒิจงสถิต นายวิวัฒน์ จิรัฐติกาลสกุล นางสาวปัทมา หอรุ่งเรือง นายสมพงษ์ วนาภา นายวิกิจ หอรุ่งเรือง

บริษัท

ตรวจสอบ

สรรหาและพิจาราณา ผลตอบแทน

บรรษัทภิบาล

5/5 5/5 5/5 5/5 4/5 5/5 5/5 5/5 5/5 5/5

- - - 4/4 4/4 4/4 - - - -

1/1 1/1 - 1/1 - - - - - -

- - - - - 2/2 - 2/2 2/2 -

การประเมินตนเองของคณะกรรมการ คณะกรรมการของบริษัทฯ จะต้องประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตามแบบประเมินของบริษัทเป็น ประจำ เพื่อให้คณะกรรมการร่วมกันพิจารณาผลงานและปัญหา เพื่อหาแนวทางปรับปรุงแก้ไขให้มีการดำเนินการที่มี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพื่อจัดเตรียมบุคลากรให้สามารถปฏิบัติหน้าที่แทนกรณีกรรมการผู้จัดการใหญ่ / ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ไม่สามารถปฏิบัติงานได้หรือครบวาระการดำรงตำแหน่ง ตลอดจนลดความเสี่ยงหรือผลกระทบจากการขาดความต่อเนื่อง ในการบริหารจัดการบริษัท บริษัทจึงได้จัดทำแผนสืบทอดตำแหน่ง รวมทั้งจัดอบรมและพัฒนาความรู้ความสามารถให้แก่ ผู้บริหาร เพื่อให้มีความเข้าใจ มีประสบการณ์และความพร้อมในการบริหารงาน อันเป็นการคัดสรรผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะ สมตามที่กำหนดเข้ารับการคัดเลือกในตำแหน่งนี้ได้ ค่าตอบแทนของคณะกรรมการและผู้บริหาร ค่าตอบแทนของคณะกรรมการและคณะกรรมการชุดย่อยจะได้รับการพิจารณาและกลั่นกรองจากคณะกรรมการ สรรหาและพิจารณาผลตอบแทนก่อนนำเสนอคณะกรรมการของบริษัทเพื่อพิจารณานำเสนอเพื่อการพิจารณาอนุมัติจาก ที่ ป ระชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ประจำปี โดยมี ก ารประเมิ น ค่ า ตอบแทนเที ย บเคี ย งกั บ ท้ อ งตลาดรวมถึ ง ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ รั บ จาก ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยด้วย ในส่วนของการกำหนดค่าตอบแทนของฝ่ายจัดการระดับสูงและกรรมการผู้จัดการ เป็นอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารของบริษัทโดยคำนึงถึงอัตราพื้นฐานภายใน สภาวะการว่าจ้างในท้องตลาด ประสิทธิภาพการทำงานหรือผลงานเฉพาะตัว ระดับความทุ่มเทที่ให้แก่องค์กรรวมถึงความจำเป็นของบริษัทฯ ในการ ว่าจ้างด้วย ข้อพิจารณาเหล่านี้ถือเป็นองค์ประกอบร่วมที่เหมาะสมต่อการดึงดูดและการรักษาไว้ซึ่งบุคลากรที่มีคุณภาพ เพื่อประโยชน์แก่กิจการของบริษัทฯ การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร คณะกรรมการของบริษัทฯ มีนโยบายส่งเสริมให้มีการฝึกอบรมและให้ความรู้แก่กรรมการ กรรมการตรวจสอบ ผู้บริหาร เลขานุการ และพนักงานบริษัท เกี่ยวกับระบบการกำกับดูแลกิจการ จรรยาบรรณธุรกิจและการปฏิบัติตาม มาตรฐานระบบการจัดการด้านคุณภาพของการบริการ ISO 9001 : 2000 เพื่อนำมาปรับปรุงการปฏิบัติงานอย่าง ต่อเนื่อง โดยเฉพาะกรรมการและเลขานุการของบริษัทฯ สนับสนุนให้มีการเข้าร่วมอบรมตามหลักสูตรต่างๆ ของสมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย บริษัทได้จัดทำคู่มือกรรมการที่มีข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะและการดำเนินธุรกิจของบริษัทไว้เพื่อให้กรรมการใหม่ สามารถศึกษาและเป็นประโยชน์รวมทั้งเป็นแนวทางในการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการใหม่ด้วย รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ในการจัดทำรายงานทางการเงินประจำปี 2553

39

คณะกรรมการบริษัทฯ มีหน้าที่และความรับผิดชอบในฐานะกรรมการของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ในการกำกับดูแลให้รายงานทางการเงินประจำปีบัญชี 2553 ของบริษัทฯ ที่จัดทำขึ้น มีข้อมูลทางบัญชี ที่ถูกต้องครบถ้วนในสาระสำคัญ โปร่งใส อย่างเพียงพอ รวมทั้งได้ถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป ใช้ นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติโดยสม่ำเสมอ ตลอดจนมีการพิจารณาถึงความสมเหตุสมผล และความรอบคอบใน การจัดทำงบการเงินรวมของบริษัทฯ และบริษัทย่อย และงบการเงินเฉพาะบริษัทฯ รวมถึงข้อมูลสารสนเทศทางการเงิน ที่ปรากฏในรายงานประจำปีบัญชี 2553 ทั้งนี้คณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วย กรรมการอิสระผู้ซึ่งมีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทำหน้าที่สอบ ทานให้บริษัทฯ มีรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องเพียงพอ มีการเปิดเผยข้อมูลรายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่อาจ มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อย่างโปร่งใส ถูกต้อง และครบถ้วน รวมทั้งให้มีการบริหารความเสี่ยง การควบคุมภายใน การตรวจสอบภายในและการกำกับดูแลที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล มีการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ นโยบายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย คณะกรรมการบริษัทฯ มีความเห็นว่างบการเงินและข้อมูลทางการเงินประจำปี 2553 ที่คณะกรรมการตรวจ สอบได้สอบทานร่วมกับฝ่ายจัดการและผู้สอบบัญชี ได้มีการแสดงข้อมูลอย่างถูกต้องครบถ้วน ในสาระสำคัญเกี่ยวกับฐานะ ทางการเงิน ผลการดำเนินงานและกระแสเงินสดของบริษัทและบริษัทย่อยแล้ว และได้ปฏิบัติตามหลักการบัญชีที่รับรอง ทั่วไป และใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติโดยสม่ำเสมอและปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง

(นายเดวิด ริชาร์ด นาร์โดน)

(นายชวลิต เศรษฐเมธีกุล)

กรรมการผู้จัดการ

ประธานคณะกรรมการบริษัทฯ

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบประจำปี 2553

40

คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทเหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน) มีองค์คณะประกอบด้วยกรรมการ อิสระผู้ปราศจากบทบาทด้านงานบริหาร ตามรายชื่อต่อไปนี้ 1. นายสุทธิพันธุ์ จารุมณี ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 2. นายปีเตอร์ เจ. เอ็ดมอนด์สัน กรรมการตรวจสอบ 3. นางพรรณี วรวุฒิจงสถิต กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบแต่ละรายเป็นผู้มีคุณสมบัติตามข้อกำหนดและกฎระเบียบของสำนักงานคณะกรรมการกำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์และของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับตำแหน่งหน้าที่ตน และใน ฐานะคณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบภายใต้กฏเกณฑ์ทางการและตามเงื่อนไขกฏบัตรที่คณะ กรรมการบริษัทกำหนดไว้ คณะกรรมการตรวจสอบได้จัดประชุมอย่างเป็นทางการขึ้น 4 ครั้ง เพื่อปฏิบัติหน้าที่ประจำปีการเงิน2553โดย การประชุมดังกล่าวได้เชิญผู้ตรวจสอบภายใน ผู้สอบบัญชีภายนอก และฝ่ายจัดการที่เกี่ยวข้องซึ่งรวมถึงรองกรรมการผู้ จัดการสายงานการเงินและการบัญชี โดยมีกรรมการผู้จัดการใหญ่และที่ปรึกษากฎหมายภายนอกของบริษัทฯเข้าร่วม ประชุมด้วยเป็นครั้งคราวตามคำขอของคณะกรรมการตรวจสอบ นอกจากนี้กรรมการตรวจสอบยังได้มีการพบปะหารือ ต่างหากกับผู้ตรวจสอบภายในและผู้สอบบัญชีภายนอกในลักษณะที่ปราศจากผู้บริหารของบริษัทฯร่วมอยู่ โดยจัดประชุม เต็มคณะอย่างเป็นทางการ 2 ครั้ง ในช่วงกลางปีและปลายปี ทั้งได้มีการหารือนอกรอบตามที่เห็นสมควรด้วย การปฏิบัติภารกิจโดยคณะกรรมการตรวจสอบครอบคลุมหัวข้อดังนี้ 1. สอบทานงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจำปี 2553 เพื่อให้มั่นใจว่ามีความถูกต้อง สมบูรณ์และมีการเปิดเผยสาระสำคัญอย่างเพียงพอ การสอบทานนี้ได้ใช้ข้อมูล คำชี้แจง และความเห็น จากฝ่ายจัดการ และผู้สอบบัญชีภายนอกเป็นปัจจัยพื้นฐาน โดยคณะกรรมการตรวจสอบได้ข้อสรุปเช่นกันกับผู้สอบบัญชีภายนอกว่า งบ การเงินดังกล่าวได้จัดทำขึ้นอย่างถูกต้องตามที่ควรในสาระสำคัญตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป ทั้งนี้ไม่อาจขาด การกล่าวเสริมว่าบริษัทฯในฐานะกิจการจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์นั้น ณ สิ้นปี 2553 กำลังอยู่ระหว่างการประเมิน ผลกระทบที่จะเกิดต่อตนเองจากมาตรฐานการบัญชีใหม่ ที่สภาวิชาชีพบัญชีแห่งประเทศไทยได้กำหนดให้เริ่มบังคับใช้จาก ปี2554 เพื่อความสอดคล้องกับมาตรฐานการบัญชีสากล 2. สอบทานระบบการควบคุมภายใน เพื่อให้มั่นใจว่าเป็นระบบที่เหมาะสมและบังเกิดผลในภาคปฏิบัติ ตามที่มุ่งหมาย การสอบทานนี้ได้ใช้ผลการตรวจของผู้ตรวจสอบภายในควบคู่กับการหารือผลการตรวจกับผู้สอบบัญชี ภายนอก ซึ่งไม่ปรากฏการได้พบจุดอ่อนหรือข้อบกพร่องที่สำคัญ คณะกรรมการตรวจสอบและผู้ตรวจทั้งสองคณะจึงมี ความเห็นร่วมกันว่าระบบควบคุมภายในที่ปัจจุบันใช้ปฏิบัติอยู่ มีความเหมาะสมตามข้อกำหนดของสำนักงานคณะกรรมกา รก.ล.ต และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทั้งมีประสิทธิภาพในการปกป้องทรัพย์สินและในการเปิดเผยข้อมูลอย่างถูก ต้องเพียงพอ 3. สอบทานว่าการดำเนินงานตรวจสอบภายในกระทำอย่างมีประสิทธิภาพและด้วยความ เป็นอิสสระ การตรวจสอบภายในของบริษัทฯและบริษัทย่อยนั้นได้มอบหมายให้สำนักงานบัญชีภายนอกที่มีชื่อเสียงเป็น ที่รู้จักแห่งหนึ่งเป็นผู้ดำเนินการ โดยถือปฏิบัติตามแผนงานต่อเนื่องที่คณะกรรมการตรวจสอบและฝ่ายจัดการได้ร่วม พิจารณาและให้ความเห็นชอบด้วยแล้ว ทั้งนี้ผู้ตรวจสอบภายในจะนำส่งรายงานให้แก่ทั้งคณะกรรมการตรวจสอบและฝ่าย จัดการของบริษัทฯเป็นรายไตรมาส โดยคณะกรรมการตรวจสอบเชื่อว่าระบบงานตรวจสอบภายในของกิจการนั้นเหมาะ สม มีความเป็นอิสระ และบรรลุผล 4. สอบทานว่าได้มีการปฏิบัติตามกฎหมายและกฏระเบียบทางการ อันรวมถึงกฏหมายว่าด้วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนระเบียบกฏเกณฑ์ต่างๆของสำนักงานคณะกรรมกา รก.ล.ต.และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย อีกทั้งระเบียบข้อบังคับภายในและพันธสัญญากับภายนอกด้วย ในการสอบ ทานเรื่องนี้คณะกรรมการตรวจสอบได้ประสานงานอย่างใกล้ชิดกับผู้ตรวจสอบภายใน และมิได้พบข้อบกพร่องที่เป็นสาระ สำคัญแต่อย่างใด

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


5.สอบทานและให้ความเห็นต่อรายการที่เกี่ยวโยงกัน และต่อรายการที่อาจจะเกิดความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ รวมถึงประเด็นการเปิดเผยข้อมูลรายการดังกล่าว อันมีข้อกำหนดของ สำนักงานคณะกรรมการก.ล.ต.และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเป็นปัจจัยสำคัญ ในหัวข้อนี้คณะกรรมการตรวจสอบ ตลอดจนผู้ตรวจสอบภายในและและผู้สอบบัญชีภายนอก ต่างเห็นพ้องต้องกันว่ารายการที่กล่าวถึงได้มีการเปิดเผยอย่าง เหมาะสมครบถ้วนไว้ในงบการเงินและในหมายเหตุประกอบงบการเงินแล้ว โดยเป็นรายการธุรกิจปกติที่เป็นประโยชน์ต่อ กิจการของบริษัทฯ 6. พิจารณาและเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชีภายนอกและค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี ประจำปี2554 โดยคณะกรรมการตรวจสอบได้ให้ความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อการนำเสนอและขออนุมัติต่อ ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปีต่อไปแล้ว ทั้งนี้จากการได้พิจารณาถึงผลงาน ความเป็นอิสระ รวมถึงระดับค่าตอบแทน ของผู้สอบบัญชีภายนอกในระยะเวลาที่ผ่านมา คณะกรรมการตรวจสอบมีความพึงพอใจในผู้ตรวจสอบของสำนักงานสอบ บัญชี เอ.เอ็ม.ที.แอสโซซิเอท ในทุกด้านที่กล่าว ดังนั้นคณะกรรมการตรวจสอบ จึงเสนอแนะให้แต่งตั้งนางณัฐสรัคร์ สโรช นันท์จีน (ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตหมายเลข 4563) ผู้ได้ทำหน้าที่ในปี 2553 หรือ ศาตราจารย์เกษรี ณรงค์เดช (ผู้สอบ บัญชีรับอนุญาตหมายเลข 76) หรือนายสุมิตร ขอไพบูลย์ (ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตหมายเลข 4885) แห่งสำนักงาน เอ.เอ็ม.ที.แอสโซซิเอท เป็นผู้สอบบัญชีภายนอกของบริษัทฯสำหรับปีการบัญชีสิ้นสุดณวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ในอัตรา ค่าตอบแทน 1,240,000 บาท (หนึ่งล้านสองแสนสี่หมื่นบาทถ้วน) โดยส่วนที่เพิ่มขึ้น 110,000 บาท (หนึ่งแสนหนึ่ง หมื่นบาทถ้วน) จากอัตราของปี 2552-2553 มีสาเหตุหลักจากงานจัดทำงบการเงินรวมที่ขยายปริมาณจากจำนวน บริษัทลูกที่ได้เพิ่มขึ้น 3 บริษัท คณะกรรมการตรวจสอบยังได้เสนอแนะให้แต่งตัง้ นางณัฐสรัคร์ สโรชนันท์จนี หรือ ศาตราจารย์เกษรี ณรงค์เดช หรือนายสุมิตร ขอไพบูลย์ หรือนายชัยยุทธ อังศุวิทยา (ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตหมายเลข 3885) หรือนายสมชัย กาญจนวงศ์ไพศาล (ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตหมายเลข 3428) แห่งสำนักงาน เอ.เอ็ม.ที. แอสโซซิเอท ให้เป็นผู้สอบบัญชี ภายนอกของบริษัทย่อยประจำปี2554 ในจำนวนเงินค่าตอบแทน 3,400,000 บาท (สามล้านสี่แสนบาทถ้วน) โดยส่วน ที่เพิ่มขึ้น 700,000 บาท (เจ็ดแสนบาทถ้วน) จากอัตราของปี 2552-2553 มีสาเหตุสำคัญจากจำนวนบริษัทลูกที่เพิ่ม ขึ้น 3 บริษัทดังกล่าว อนึ่งผู้สอบบัญชีภายนอกที่ได้รับการเสนอแต่งตั้งข้างต้น มิได้มีความสัมพันธ์ทางครอบครัว หรือมีผลประโยชน์ ทางการเงินที่เกี่ยวข้อง หรือเป็นลูกจ้างบริษัทฯหรือบริษัทย่อย หรือมีความสัมพันธ์ทางการลงทุนหรือทางธุรกิจ กับ บริษัทฯหรือบริษัทย่อย ยกเว้นการดำรงฐานะผู้สอบบัญชีภายนอกเท่านั้น โดยสรุปแล้วคณะกรรมการตรวจสอบในขั้นตอนของการปฏิบัติหน้าที่ในความรับผิดชอบตามกฏบัตรที่คณะ กรรมการบริษัทมอบหมาย ได้พบจากการสอบทานว่าบริษัทฯได้นำเสนอข้อมูลด้านการเงินและด้านปฎิบัติการอย่างถูก ต้องเป็นธรรม มีระบบควบคุมภายใน ระบบตรวจสอบภายใน และการจัดการความเสี่ยงทางธุรกิจที่เหมาะสมและได้ผล การดำเนินกิจการได้ยึดถือตามระเบียบกฎเกณฑ์ ข้อบังคับของกฎหมาย และพันธะทางธุรกิจ ทั้งได้มีการเปิดเผยรายการที่เกี่ยวโยงกันอย่างถูกต้องโปร่งใส ทั้งนี้ บริษัทฯได้ให้ความสำคัญและถือปฏิบัติตามหลักเกณฑ์บรรษัทภิบาลอย่างจริงจัง โดยระหว่างปี 2553 ยังคงได้รับการจัด อันดับความน่าเชื่อถือจากคณะกรรมการบรรษัทภิบาลแห่งชาติในระดับ “ดีเลิศ” ทั้งจากแง่ของการดำเนินการประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจำปีของบริษัทฯ และจากแง่ของการกำกับดูแลกิจการภายใต้หลักบรรษัทภิบาล ระหว่างกิจการใน ตลาดหลักทรัพย์ด้วยกัน

(นายสุทธิพันธุ์ จารุมณี)

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 12 มีนาคม 2554

41

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

42

เสนอ ผู้ถือหุ้น บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน)

ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวม งบกำไรขาดทุนรวม และงบกระแสเงินสดรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของแต่ละปีของ บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และได้ตรวจสอบงบการเงินเฉพาะของ บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน ซึ่งผู้ บริหารของกิจการเป็นผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงินเหล่านี้ ส่วนข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบใน การแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ตามทีก่ ล่าวไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 10 ข้าพเจ้าไม่ ได้ตรวจสอบงบการเงินของบริษัทย่อยสองแห่ง (ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2553 บริษัทฯ ได้ลงทุนเพิ่มจากร้อยละ 25 เป็นร้อยละ 100) ซึ่งรวมอยู่ ในการจัดทำงบการเงินรวมสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 งบการเงินของบริษัทย่อย เหล่านั้นมียอดรวมสินทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 เป็นจำนวนเงิน 1,499.92 ล้านบาท มียอดรวมรายได้ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2553 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2553 เป็นจำนวนเงิน 29.42 ล้านบาท งบการเงินของบริษัทย่อยดังกล่าวตรวจสอบโดย ผู้สอบบัญชีอื่น โดยข้าพเจ้าได้รับรายงานของผู้สอบบัญชี และการเสนอรายงานการตรวจสอบของข้าพเจ้าในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ จำนวนเงินของรายการต่างๆ ของบริษัทย่อยดังกล่าว ซึ่งรวมอยู่ ในงบการเงินรวมสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ได้ ถือตามรายงานของผู้สอบบัญชีอื่นนั้น ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกำหนดให้ข้าพเจ้าต้องวางแผนและ ปฏิบัติงานเพื่อให้ ได้ความเชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลว่า งบการเงินแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญหรือไม่ การตรวจ สอบรวมถึงการใช้วิธีการทดสอบหลักฐานประกอบรายการ ทั้งที่เป็นจำนวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน การประเมิน ความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใช้ และประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินที่เป็นสาระสำคัญซึ่งผู้บริหารเป็น ผู้จัดทำขึ้น ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการที่นำเสนอในงบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื่อว่า การตรวจสอบดังกล่าวให้ข้อสรุปที่เป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า จากการตรวจสอบของข้าพเจ้าและจากรายงานการตรวจสอบของผู้สอบบัญชีอื่นตามที่กล่าวไว้ ในวรรคแรก ข้าพเจ้า เห็นว่า งบการเงินข้างต้นแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ผลการดำเนินงาน และกระแสเงินสด สำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของแต่ละปีของ บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และเฉพาะของ บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยไม่เป็นเงื่อนไขในการแสดงความเห็นต่องบการเงิน ข้าพเจ้าขอให้สังเกตเรื่องที่กล่าวในหมายเหตุประกอบงบการ เงินข้อ 10.2 ว่า ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2553 บริษัทฯ ได้ลงทุนในบริษัทร่วมสองแห่งเพิ่มจากร้อยละ 25 เป็นร้อยละ 100 มีผล ทำให้บริษัทร่วมทั้งสองแห่งดังกล่าวเปลี่ยนฐานะเป็นบริษัทย่อย ดังนั้น งบการเงินรวมของบริษัทฯ จึงได้รวมงบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และงบกำไรขาดทุนตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2553 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ของบริษัทย่อยดังกล่าวแล้ว เงินลงทุนส่วนที่เพิ่มใหม่ ในบริษัทย่อยดังกล่าว ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2553 บริษัทฯ จ่ายซื้อเป็นจำนวนเงิน 763.69 ล้านบาท เกิดกำไรจากการต่อรองราคาซื้อ ซึ่งแสดงเป็นรายได้ ในงบกำไรขาดทุนรวมสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 เป็นจำนวน เงิน 145.41 ล้านบาท

สำนักงาน เอ.เอ็ม.ที. แอสโซซิเอท กรุงเทพมหานคร วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2554

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010

(นางณัฐสรัคร์ สโรชนันท์จีน)

ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 4563


งบดุล บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

43

บาท

สินทรัพย์

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2553

2552

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2553

2552

สินทรัพย์หมุนเวียน

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 6 3,516,614,394.23 909,430,084.97 3,001,237,078.14 525,127,783.23 เงินลงทุนชั่วคราว - หลักทรัพย์ ในความต้องการของตลาด สุทธิ 755,798.96 600,342.36 755,798.96 600,342.36 ลูกหนี้การค้า กิจการที่เกี่ยวข้องกัน สุทธิ 7 70,620.40 2,286,088.44 34,258,661.43 29,175,393.14 อื่น ๆ สุทธิ 7 195,246,817.85 132,980,476.01 17,634,387.72 9,268,004.19 มูลค่างานที่เสร็จแต่ยังไม่ ได้เรียกเก็บ 7 365,485,061.27 215,482,928.21 78,960,609.00 63,380,832.09 เงินให้กู้ยืมระยะสั้นและเงินทดรองแก่ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 5 5,629,016.44 5,627,942.47 1,033,768,366.76 724,452,492.75 สินค้าคงเหลือ 11,040,000.00 11,520,000.00 11,040,000.00 11,520,000.00 ต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ สุทธิ 9, 28 และ 29 7,046,528,352.61 6,371,980,818.17 1,486,393,762.01 1,884,398,188.52 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น ลูกหนี้กรมสรรพากร 41,282,628.25 2,171,777.95 31,045,720.45 ดอกเบี้ยค้างรับ 456,968.67 4,340,592.42 456,968.67 4,340,592.42 อื่นๆ 18,754,961.58 28,019,473.20 6,192,868.10 8,067,948.54 รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 11,201,864,620.26 7,684,440,524.20 5,701,744,221.24 3,260,331,577.24 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

เงินฝากสถาบันการเงินที่มีภาระผูกพัน 6 และ 28 766,176,577.64 2,059,901,000.00 766,176,577.64 เงินลงทุนในบริษัทย่อย 5, 10 และ 28 - - 3,935,034,591.50 เงินลงทุนในบริษัทร่วม 2.2, 5, 10, 28 และ 29 3,479,385,280.15 763,408,020.52 2,988,869,244.04 เงินลงทุนระยะยาวอื่น กิจการที่เกี่ยวข้องกัน สุทธิ 11 1,500,000.00 1,500,000.00 - อื่น ๆ สุทธิ 11, 28 และ 29 142,783,002.50 142,783,002.50 142,500,002.50 สินทรัพย์ ให้เช่า สุทธิ 12 และ 28 2,021,019,844.15 2,077,394,869.55 85,720,072.77 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สุทธิ 13 และ 28 574,087,219.51 440,117,205.76 91,494,979.75 สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น สิทธิการเช่าและที่ดิน เพื่อจัดหาผลประโยชน์ สุทธิ 14 และ 28 314,936,500.00 314,936,500.00 314,936,500.00 กองทุนจม สุทธิ 15 และ 29 80,309,310.50 82,359,744.69 19,683,721.98 เงินจ่ายล่วงหน้าค่าสิทธิ 109,890,841.22 106,937,302.50 109,890,841.22 อื่น ๆ สุทธิ 23,436,191.39 6,891,466.15 20,277,429.05 รวมสินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน 7,513,524,767.06 5,996,229,111.67 8,474,583,960.45 รวมสินทรัพย์ 18,715,389,387.32 13,680,669,635.87 14,176,328,181.69

2,059,901,000.00 2,931,595,206.50 640,369,244.04 142,500,002.50 91,324,397.16 94,123,951.27 314,936,500.00 21,214,259.95 106,937,302.50 2,935,055.66 6,405,836,919.58 9,666,168,496.82

หมายเหตุประกอบงบการเงินถือเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


งบดุล (ต่อ) บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

44

บาท

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2553

งบการเงินเฉพาะบริษัท

2552

2553

2552

หนี้สินหมุนเวียน

เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 16 เจ้าหนี้การค้า กิจการที่เกี่ยวข้องกัน อื่น ๆ เงินกู้ยืมระยะยาวส่วนที่ถึงกำหนด ชำระภายในหนึ่งปี 20 และ 28 เงินกู้ยืมระยะยาวส่วนที่มีกำหนดชำระ ตามประมาณการโอนภายในหนึ่งปี 20 และ 28 เงินกู้ยืมระยะสั้นและเงินทดรองจาก กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 5 เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการและบุคคลอื่น 17 และ 28 หนี้สินหมุนเวียนอื่น ค่างวดที่ยังไม่รับรู้เป็นรายได้และ รายได้รับล่วงหน้า 8 ดอกเบี้ยค้างจ่าย ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เจ้าหนี้อื่น ภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย 26 เจ้าหนี้กรมสรรพากร ภาษีธุรกิจเฉพาะและ ค่าธรรมเนียมการโอนค้างจ่าย เงินปันผลค้างจ่าย 22 อื่น ๆ รวมหนี้สินหมุนเวียน

-

450,000,000.00

-

450,000,000.00

4,073,977.41 209,246,369.23

2,921,314.93 216,492,490.17

893,241.35 11,478,466.91

6,991,431.36 9,479,728.02

656,428,432.70

719,483,965.00

353,750,750.00

389,805,500.00

93,505,125.00

311,641,440.00

17,343,625.00

244,885,250.00

- 30,000,000.00

267,394,103.76 450,000,000.00

861,882,623.30 65,027,324.08 49,174,322.08 5,276,024.15 48,511,027.84 19,955,087.37

599,683,192.77 5,204,181.87 29,329,504.66 6,815,234.01 62,921,742.41 12,562,607.03

18,864,315.28 - 8,143,925.76 6,425,129.06 57,270,784.05 24,164,497.25 2,127,359,338.25 3,165,039,402.92

- - 11,704,688.88 64,841,907.67 28,697,289.89 1,178,616.39 - 10,920,832.41

237,394,103.76 420,000,000.00 20,178,712.02 4,895,318.17 18,032,693.99 1,155,885.37 44,636,676.76 6,872,793.47

4,602,959.37 8,143,684.77 6,424,825.22 9,103,066.41 10,814,358.09 522,659,129.05 1,871,567,276.23

หนี้สินไม่หมุนเวียน

หุ้นกู้ 18 เงินกู้ยืมระยะยาวอื่น สุทธิ 20 และ 28 เงินกู้ยืมระยะยาวและเงินทดรอง จากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 5 และ 19 หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น เงินประกันผลงานก่อสร้าง เงินมัดจำการเช่าและค้ำประกันรับ รายได้ค่าสิทธิการเช่ารอตัดบัญชี กิจการที่เกี่ยวข้องกัน สุทธิ 5 อื่น ๆ สุทธิ อื่น ๆ รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน หมายเหตุประกอบงบการเงินถือเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010

6,000,000,000.00 - 6,000,000,000.00 1,230,982,991.68 1,859,139,214.38 975,000,000.00 1,135,114,750.00 - 71,274,799.45 120,712,702.01

- 78,731,424.74 96,831,540.63

988,693,397.33 1,058,559,125.42 20,352,439.61 3,529,000.00

27,869,881.94 5,169,050.00

- - 55,879,791.88 58,363,791.84 15,049,613.35 16,987,857.64 - 11,379,029.85 5,353,007.81 9,766,447.31 2,705,526.11 7,449,399,136.34 2,057,043,045.20 8,053,221,076.13 2,287,782,125.31 9,576,758,474.59 5,222,082,448.12 8,575,880,205.18 4,159,349,401.54


งบดุล (ต่อ) บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

45

บาท

หมายเหตุ

ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น - มูลค่าหุ้นละ 0.40 บาท ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 15,000,000,000 หุ้น ทุนที่ออกและชำระแล้ว หุ้นสามัญ 9,705,186,191 หุ้น ส่วนเกิน (ต่ำกว่า) มูลค่าหุ้นสามัญ สุทธิ กำไร (ขาดทุน) ที่ยังไม่เกิดจากหลักทรัพย์เผื่อขาย ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน กำไรสะสม จัดสรรแล้วเป็นทุนสำรองตามกฎหมาย 22 ยังไม่ ได้จัดสรร รวมส่วนของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

งบการเงินรวม 2553

2552

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2553

2552

6,000,000,000.00 6,000,000,000.00 6,000,000,000.00 6,000,000,000.00 3,882,074,476.40 3,882,074,476.40 3,882,074,476.40 3,882,074,476.40 438,704,620.10 438,704,620.10 438,704,620.10 438,704,620.10 477,211.62 321,755.02 477,211.62 321,755.02 (32,062,345.83) (30,268,955.06) - 588,247,395.00 535,664,645.14 409,930,799.66 378,570,532.18 3,894,949,609.59 3,265,337,687.05 869,260,868.73 807,147,711.58 8,772,390,966.88 8,091,834,228.65 5,600,447,976.51 5,506,819,095.28 366,239,945.85 366,752,959.10 - 9,138,630,912.73 8,458,587,187.75 5,600,447,976.51 5,506,819,095.28 18,715,389,387.32 13,680,669,635.87 14,176,328,181.69 9,666,168,496.82

หมายเหตุประกอบงบการเงินถือเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


งบกำไรขาดทุน บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

46

บาท

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2553

2552

1,486,183,484.53

688,618,386.66

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2553

2552

รายได้

รายได้จากการขายที่ดิน รายได้จากการขาย อาคารโรงงานอุตสาหกรรมสำเร็จรูป รายได้จากการขายอาคารชุด รายได้ค่าบริการ 5 รายได้อื่น กำไรจากการต่อรองราคาซื้อ 10.2 ดอกเบี้ยรับ 5 รายได้ค่าบริหารงานและค่านายหน้า 5 รายได้เงินปันผล 10 กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน อื่น ๆ รวมรายได้

183,832,522.11

1,199,909.36

272,175,113.80 42,776,200.00 - 493,722,496.82 (57,472,769.71) 493,722,496.82 1,433,175,676.88 1,375,831,672.83 156,492,200.34

(57,472,769.71) 156,260,762.96

145,408,440.80 - - 77,485,444.44 73,798,505.45 91,418,172.49 23,963,966.83 33,184,365.20 77,376,177.91 64,616,271.82 35,966,583.35 611,335,485.52 - 30,122.33 69,584,941.05 23,488,593.78 29,968,823.69 14,408,142.11 4,020,219,489.70 2,222,701,889.80 1,698,170,138.35

83,133,604.49 67,000,593.60 695,536,334.94 33,984,147.92 13,134,084.21 992,776,667.77

964,293,216.18 385,271,928.68 178,643,192.87 35,654,970.94 270,623,225.07 (20,538,302.18) 841,585,894.74 789,102,263.82 122,262,065.63 59,537,781.15 421,696,408.84 334,114,552.48 24,690,000.00 24,335,000.00 2,823,794,003.33 1,607,478,194.89

134,577,533.91 - 270,623,225.07 111,243,024.42 55,816,021.13 258,139,889.74 16,150,000.00 846,549,694.27

335,239.42 (14,418,302.18) 125,621,493.82 32,975,439.02 193,565,634.31 15,795,000.00 353,874,504.39

1,196,425,486.37 421,954,962.86 1,618,380,449.23 (284,069,552.72) 1,334,310,896.51 (46,896,960.95) 1,287,413,935.56

615,223,694.91 80,619,045.21 695,842,740.12 (143,753,206.61) 552,089,533.51 46,793,493.91 598,883,027.42

851,620,444.08 - 851,620,444.08 (268,467,016.80) 583,153,427.28 44,051,922.26 627,205,349.54

638,902,163.38 638,902,163.38 (144,660,125.59) 494,242,037.79 102,295,701.62 596,537,739.41

1,215,926,597.31 71,487,338.25 1,287,413,935.56

575,238,626.43 23,644,400.99 598,883,027.42

627,205,349.54 - 627,205,349.54

596,537,739.41 596,537,739.41

0.13 9,705,186,191

0.06 9,482,856,164

0.06 9,705,186,191

0.06 9,482,856,164

ค่าใช้จ่าย

ต้นทุนขายที่ดิน ต้นทุนขายอาคารโรงงานอุตสาหกรรมสำเร็จรูป ต้นทุนขายอาคารชุด ต้นทุนบริการ 5 ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าตอบแทนกรรมการ 23 รวมค่าใช้จ่าย กำไรก่อนส่วนแบ่งผลกำไร จากเงินลงทุนในบริษัทร่วม ส่วนแบ่งผลกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม 2.2 และ 10 กำไรก่อนต้นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้ ต้นทุนทางการเงิน 5 กำไรก่อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ 26 กำไรสุทธิ การแบ่งปันกำไร

ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน

กำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ จำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (หุ้น) หมายเหตุประกอบงบการเงินถือเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


รายงานประจํ า ปี 2553

บาท

3,752,736,411.60 - - - - 129,338,064.80 3,882,074,476.40

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 กำไรที่ยังไม่เกิดจากหลักทรัพย์เผื่อขาย กำไรสุทธิ สำรองตามกฎหมาย 22 เงินปันผลจ่าย 22 ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ 21 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

หมายเหตุประกอบงบการเงินถือเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

3,882,074,476.40 - - - - 3,882,074,476.40

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 กำไรที่ยังไม่เกิดจากหลักทรัพย์เผื่อขาย กำไรสุทธิ สำรองตามกฎหมาย 22 เงินปันผลจ่าย 22 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

438,704,620.10 - - - - 438,704,620.10

927,637.64 475,608,366.36 - - - - - - - - (927,637.64) (36,903,746.26) - 438,704,620.10

- - - - - -

94,558.36 227,196.66 - - - - 321,755.02

321,755.02 155,456.60 - - - 477,211.62

รวม

348,743,645.21 568,796,041.94 5,146,906,661.11 - - 227,196.66 - 596,537,739.41 596,537,739.41 29,826,886.97 (29,826,886.97) - (328,359,182.80) (328,359,182.80) - - 91,506,680.90 378,570,532.18 807,147,711.58 5,506,819,095.28

378,570,532.18 807,147,711.58 5,506,819,095.28 - - 155,456.60 - 627,205,349.54 627,205,349.54 31,360,267.48 (31,360,267.48) - (533,731,924.91) (533,731,924.91) 409,930,799.66 869,260,868.73 5,600,447,976.51

กำไรสะสม ทุนเรือนหุ้น ใบสำคัญ ส่วนเกิน (ต่ำกว่า) กำไร (ขาดทุน) จัดสรรแล้วเป็น ยังไม่ได้จัดสรร ที่ออก แสดงสิทธิ มูลค่าหุน้ ที่ยังไม่เกิดจาก ทุนสำรอง กำไรสะสม หมายเหตุ และชำระแล้ว ทีจ่ ะซือ ้ หุน้ สามัญ สามัญ สุทธิ หลักทรัพย์เผือ ่ ขาย ตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร

งบการเงินเฉพาะบริษัท

บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น

47

• Annual Report 2010


รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010

3,882,074,476.40 - - - - - - - - 3,882,074,476.40 3,752,736,411.60 - - - - - - - - 129,338,064.80 3,882,074,476.40

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 กำไรที่ยังไม่เกิดจากหลักทรัพย์เผื่อขาย ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน รายการที่ยังไม่รับรู้ ในงบกำไรขาดทุน กำไรสุทธิ สำรองตามกฎหมาย 22 เงินปันผลจ่าย 22 ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยที่เพิ่มขึ้นระหว่างปี เงินปันผลที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ถือหุ้นส่วนน้อย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 กำไรที่ยังไม่เกิดจากหลักทรัพย์เผื่อขาย ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน รายการที่ยังไม่รับรู้ ในงบกำไรขาดทุน กำไรสุทธิ สำรองตามกฎหมาย 22 เงินปันผลจ่าย 22 ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยที่ลดลงระหว่างปี เงินปันผลที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ถือหุ้นส่วนน้อย ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ 21 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

หมายเหตุประกอบงบการเงินถือเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ทุนเรือนหุน้ ทีอ่ อก และชำระแล้ว

หมายเหตุ

บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

บาท

- - - - - - - - - - 927,637.64 - - - - - - - - (927,637.64) -

438,704,620.10 - - - - - - - - 438,704,620.10 475,608,366.36 - - - - - - - - (36,903,746.26) 438,704,620.10

321,755.02 155,456.60 - 155,456.60 - - - - - 477,211.62 94,558.36 227,196.66 - 227,196.66 - - - - - - 321,755.02

(30,268,955.06) - (1,793,390.77) (1,793,390.77) - - - - - (32,062,345.83) (28,991,779.31) - (1,277,175.75) (1,277,175.75) - - - - - - (30,268,955.06)

535,664,645.14 3,265,337,687.05 8,091,834,228.65 - - 155,456.60 - - (1,793,390.77) - - (1,637,934.17) - 1,215,926,597.31 1,215,926,597.31 52,582,749.86 (52,582,749.86) - - (533,731,924.91) (533,731,924.91) - - - - - - 588,247,395.00 3,894,949,609.59 8,772,390,966.88 467,851,405.48 3,086,271,483.08 7,754,498,083.21 - - 227,196.66 - - (1,277,175.75) - - (1,049,979.09) - 575,238,626.43 575,238,626.43 67,813,239.66 (67,813,239.66) - - (328,359,182.80) (328,359,182.80) - - - - - - - - 91,506,680.90 535,664,645.14 3,265,337,687.05 8,091,834,228.65

รวม 366,752,959.10 8,458,587,187.75 - 155,456.60 - (1,793,390.77) - (1,637,934.17) 71,487,338.25 1,287,413,935.56 - - (533,731,924.91) 190.00 190.00 (72,000,541.50) (72,000,541.50) 366,239,945.85 9,138,630,912.73 383,109,447.82 8,137,607,531.03 - 227,196.66 - (1,277,175.75) - (1,049,979.09) 23,644,400.99 598,883,027.42 - - (328,359,182.80) (21.00) (21.00) (40,000,868.71) (40,000,868.71) - 91,506,680.90 366,752,959.10 8,458,587,187.75

ใบสำคัญ ส่วนเกิน (ต่ำกว่า) กำไร (ขาดทุน) ผลต่างจากการ กำไรสะสม รวม แสดงสิทธิ มูลค่าหุน้ ทีย่ งั ไม่เกิดจาก แปลงค่า จัดสรรแล้วเป็นทุน ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ทีจ่ ะซือ้ หุน้ สามัญ สามัญ สุทธิ หลักทรัพย์เผือ่ ขาย งบการเงิน สำรองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร บริษทั ใหญ่ ส่วนน้อย

ส่วนของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่

งบการเงินรวม

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น

48


งบกระแสเงินสด บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

49

บาท

หมายเหตุ

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท

2553

2552

2553

2552

1,287,413,935.56

598,883,027.42

627,205,349.54

596,537,739.41

(711,471.08)

1,356,103.56

(2,321,838.54)

1,558,600.82

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน :

กำไรสุทธิ รายการปรับกระทบกำไรสุทธิเป็นเงินสดรับ(จ่าย) ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ส่วนแบ่งผลกำไรจากเงินลงทุนตาม วิธีส่วนได้เสีย - บริษัทร่วม 2.2 และ 10 กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน กำไรจากการขายอุปกรณ์ บริจาคทรัพย์สิน ค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์ 12 และ 13 ค่าตัดจำหน่ายกองทุนจม 15 สำรองค่าซ่อมแซม สำรองค่าภาษีเงินได้ถูก หัก ณ ที่จ่าย ปรับปรุงเงินประกันผลงานก่อสร้าง กำไรจากการต่อรองราคาซื้อ 10.2 รายได้เงินปันผล 10 รายได้ค่าสิทธิการเช่าตัดบัญชี กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 5 รายได้ค่าสิทธิการเช่าตัดบัญชี - อื่น ๆ ต้นทุนทางการเงิน 5 ภาษีเงินได้ 26 สินทรัพย์ดำเนินงานลดลง (เพิ่มขึ้น) ลูกหนี้การค้ากิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้การค้ากิจการอื่น มูลค่างานที่เสร็จแต่ยังไม่ ได้เรียกเก็บ สินค้าคงเหลือ ต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น

(421,954,962.86) (80,619,045.21) - - - (69,765,728.09) (33,915,610.59) (155,622.85) (1,862,605.82) (62,165.91) (775,697.93) - 2,957,619.47 - 2,957,619.47 181,033,182.68 169,960,500.15 20,567,024.34 22,015,880.53 5,405,121.69 5,077,961.10 1,530,537.97 1,530,537.87 5,139,627.04 4,639,857.92 (4,117,754.34) 74,522.47 - 1,942,929.98 - - (1,002,190.75) - (1,002,190.75) (145,408,440.80) - - (64,616,271.82) (35,966,583.35) (611,335,485.52) (695,536,334.94) - - (2,483,999.96) (2,483,999.96) (1,938,244.29) (1,372,508.09) - 284,069,552.72 143,753,206.61 268,467,016.80 144,660,125.59 46,896,960.95 (46,793,493.91) (44,051,922.26) (102,295,701.62) 1,175,173,366.94 760,954,779.08 183,631,034.03 (66,674,509.63) 2,215,468.04 1,153,141.23 (5,083,268.29) 75,184,227.10 (61,554,870.76) (1,062,711.61) (6,044,544.99) (5,437,499.11) (150,002,133.06) 880,644,988.01 (15,579,776.91) 815,389,978.94 480,000.00 240,000.00 480,000.00 240,000.00 (577,393,989.22) (459,654,295.91) 398,004,426.51 (159,799,082.31) 8,609,102.85 31,511,183.52 5,758,704.19 3,620,580.57 (17,375,492.51) (24,571,627.54) (20,295,912.11) (28,370,895.92)

หมายเหตุประกอบงบการเงินถือเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


งบกระแสเงินสด (ต่อ) บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

50

บาท

หมายเหตุ

หนี้สินดำเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้การค้าบริษัทที่เกี่ยวข้อง เจ้าหนี้การค้าอื่น ค่างวดที่ยังไม่รับรู้เป็นรายได้และรายได้รับล่วงหน้า ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เจ้าหนี้อื่น ภาษีธุรกิจเฉพาะและค่าธรรมเนียมโอนค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินประกันผลงานก่อสร้าง เงินค้ำประกันรับ หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น เงินสดได้มาจาก(ใช้ ไปใน)กิจกรรมดำเนินงาน จ่ายต้นทุนทางการเงิน จ่ายภาษีเงินได้นิติบุคคล เงินสดสุทธิ ได้มาจาก(ใช้ ไปใน)กิจกรรมดำเนินงาน

หมายเหตุประกอบงบการเงินถือเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010

งบการเงินรวม 2553 1,152,662.48 (7,246,120.94) 262,199,430.53 19,844,817.42 (1,539,209.86) 18,864,315.28 35,359,140.10 (7,456,625.29) 23,881,161.38 6,026,022.04 731,237,045.42 (262,120,974.13) (98,124,729.95) 370,991,341.34

2552

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2553

2552

(292,883.09) (6,098,190.01) 5,390,095.04 (107,602,244.51) 1,998,738.89 (29,156,716.13) (426,750,273.25) (8,474,023.14) (21,161,630.64) (41,148,750.28) 10,664,595.90 (35,461,013.43) (1,205,075.50) 22,731.02 1,020,330.42 (344,768.73) 4,602,959.37 (1,326,513.32) (55,196,533.84) 6,454,501.60 (46,213,436.35) (42,224,238.50) (7,517,442.33) (41,144,448.75) (3,070,768.91) (1,640,050.00) (524,687.90) (3,293,265.97) 7,060,921.20 (2,134,878.10) 508,086,654.20 547,945,404.93 463,439,900.48 (216,739,384.17) (213,856,490.67) (168,649,632.28) (176,395,007.35) (31,630,474.95) (101,240,311.54) 114,952,262.68 302,458,439.31 193,549,956.66


งบกระแสเงินสด (ต่อ) บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

51

บาท

หมายเหตุ

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน : เงินให้กู้ยืมระยะสั้นและเงินทดรองแก่ กิจการที่เกี่ยวข้องกันเพิ่มขึ้น เงินลงทุนในบริษัทย่อยลดลง (เพิ่มขึ้น) 10.2 เงินสดรับจากการซื้อบริษัทย่อย 10.2 เงินลงทุนในบริษัทร่วมเพิ่มขึ้น เงินปันผลรับจากบริษัทย่อย เงินปันผลรับจากบริษัทร่วม เงินปันผลรับจากบริษัทอื่น เงินฝากที่ติดภาระผูกพันลดลง เงินสดรับจากการขายอาคารและอุปกรณ์ อาคารและอุปกรณ์เพิ่มขึ้น สินทรัพย์ ให้เช่าเพิ่มขึ้น กองทุนจมเพิ่มขึ้น เงินสดสุทธิ ได้มาจาก(ใช้ ไปใน)กิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน : เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินลดลง หุ้นกู้เพิ่มขึ้น 18 เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการและบุคคลอื่นลดลง 17 เงินกู้ยืมระยะสั้นและเงินทดรองจาก กิจการที่เกี่ยวข้องกันเพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินกู้ยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันลดลง เงินกู้ยืมระยะยาวอื่นเพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินสดรับจากการใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญ เงินปันผลจ่าย 22 เงินปันผลจ่ายผู้ถือหุ้นส่วนน้อย เงินสดรับ(จ่าย)จากผู้ถือหุ้นส่วนน้อย เงินสดสุทธิ ได้มาจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน

งบการเงินรวม 2553

2552

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2553

2552

(1,073.97) (5,627,942.47) (170,901,112.95) - - (763,689,385.00) 34,730,597.00 - - (2,307,937,010.11) (267,219,274.04) (2,588,250,000.00) - - 395,889,729.30 13,914,713.34 9,274,986.00 13,914,713.34 64,616,271.82 35,966,583.35 63,116,281.82 1,293,724,422.36 - 1,293,724,422.36 2,189,085.94 1,862,616.82 2,095,628.00 (181,197,186.79) (113,031,157.23) (14,367,190.52) (33,279,183.30) (70,326,192.15) - (3,354,687.50) (6,780,133.46) - (1,116,594,051.21) (415,880,513.18) (1,768,466,913.65)

(580,658,648.28) 240,499,979.00 (267,219,274.04) 737,774,717.85 9,274,986.00 34,916,590.35 775,700.93 (4,170,972.61) 171,193,079.20

(450,000,000.00) (685,000,000.00) (450,000,000.00) (685,000,000.00) 6,000,000,000.00 - 6,000,000,000.00 (420,000,000.00) 420,000,000.00 (420,000,000.00) 420,000,000.00 (232,058,040.39) - (909,348,070.00) - (532,013,065.36) (102,000,604.35) 190.00 3,354,580,409.90

222,058,040.39 - 601,237,322.40 91,506,680.90 (329,852,792.82) (40,000,868.71) (21.00) 279,948,361.16

ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน

(1,793,390.77)

(1,277,175.75)

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี 6

2,607,184,309.26 909,430,084.97 3,516,614,394.23

(232,058,040.39) (100,000.00) (423,711,125.00) - (532,013,065.36) - - 3,942,117,769.25 -

(22,257,065.09) 2,476,109,294.91 931,687,150.06 525,127,783.23 909,430,084.97 3,001,237,078.14

(550,557,892.42) (20,624,720.00) 819,805,500.00 91,506,680.90 (329,853,076.37) (254,723,507.89) 110,019,527.97 415,108,255.26 525,127,783.23

หมายเหตุประกอบงบการเงินถือเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


งบกระแสเงินสด (ต่อ) บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

52

บาท

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2553

งบการเงินเฉพาะบริษัท

2552

2553

2552

ข้อมูลเพิ่มเติมประกอบกระแสเงินสด

กิจกรรมดำเนินงาน กิจกรรมลงทุนและกิจกรรมจัดหาเงินที่ ไม่กระทบเงินสด การเพิ่มสัดส่วนเงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทย่อยเพิ่มขึ้น เงินลงทุนในบริษัทร่วมลดลง เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายงวด เพิ่มขึ้นเนื่องจากการเพิ่มสัดส่วนเงินลงทุน ในบริษัทย่อย ณ วันซื้อธุรกิจ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายงวดเพิ่มขึ้น ลูกหนี้การค้ากิจการที่เกี่ยวข้องกันเพิ่มขึ้น ลูกหนี้การค้ากิจการอื่นเพิ่มขึ้น ต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพิ่มขึ้น สินทรัพย์หมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น อาคารและอุปกรณ์เพิ่มขึ้น สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น เจ้าหนี้การค้าบริษัทที่เกี่ยวข้องเพิ่มขึ้น เจ้าหนี้การค้าอื่นเพิ่มขึ้น ค่าใช้จ่ายค้างจ่ายเพิ่มขึ้น เจ้าหนี้อื่นเพิ่มขึ้น ภาษีธุรกิจเฉพาะและค่าธรรมเนียมโอนค้างจ่ายเพิ่มขึ้น ภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่ายเพิ่มขึ้น หนี้สินหมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น เงินประกันผลงานก่อสร้างเพิ่มขึ้น เงินค้ำประกันรับเพิ่มขึ้น เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันเพิ่มขึ้น กำไรสะสมเพิ่มขึ้น

หมายเหตุประกอบงบการเงินถือเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010

(280,312,989.89) 280,312,989.89

- -

- -

-

(30,710,983.77) (3,460.79) (20,447,958.91) (1,410,856,508.61) (2,308,721.53) (35,394,695.05) (197,792.30) 2,483,782.80 7,823,643.95 5,369,662.81 724,800.43 345,637.30 9,311,645.70 16,846,075.27 107,305.00 166,650.00 380,000,000.00 576,740,917.70

- - - - - - - - - - - - - - - - - -

- - - - - - - - - - - - - - - - - -

-


หมายเหตุประกอบงบการเงิน บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

53

1. ข้อมูลทั่วไป

1.1 เรื่องทั่วไป

บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน) (“บริษัท”) จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์ของประเทศไทยเป็นบริษัทจำกัดเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2531 ต่อมาได้จดทะเบียนเป็นบริษัทจด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชนจำกัด ตามกฎหมายว่าด้วยบริษัท มหาชนจำกัด เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2535 และวันที่ 12 กรกฎาคม 2536 ตามลำดับ บริษัทเป็นบริษัทใหญ่ ในกลุ่มบริษัทเหมราชฯ มีธุรกิจหลักคือ โครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ดังนี้ 1. นิคมอุตสาหกรรมในภาคพื้นชายฝั่งทะเลตะวันออกของประเทศไทยตามสัญญาร่วมดำเนินงานกับการ นิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) ซึ่งดำเนินการในนามของบริษัทและบริษัทย่อยอีก 3 แห่ง ดังนี้

บริษัท

นิคมอุตสาหกรรม

บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน) เหมราชชลบุรี บริษัท อีสเทิร์นอินดัสเตรียลเอสเตท จำกัด เหมราชตะวันออก (มาบตาพุด) บริษัท อีสเทิร์น ซีบอร์ด อินดัสเตรียล เอสเตท อีสเทิร์นซีบอร์ด (ระยอง) (ระยอง) จำกัด บริษัท เหมราช อีสเทิร์นซีบอร์ด เหมราช อีสเทิร์นซีบอร์ด อิสดัสเตรียลเอสเตท จำกัด

2. เขตอุตสาหกรรม ซึ่งดำเนินการในนามของบริษัทย่อย 2 แห่ง ดังนี้

บริษัท

สถานที่ตั้ง

เขตประกอบการอุตสาหกรรม

บริษทั เหมราช สระบุรี ทีด่ นิ อุตสาหกรรม จำกัด เหมราชสระบุรี (เดิมชือ่ “บริษทั เอส ไอ แอล ทีด่ นิ อุตสาหกรรม จำกัด”) บริษทั เหมราช ระยอง ทีด่ นิ อุตสาหกรรม จำกัด เหมราชระยอง (เดิมชือ่ “บริษทั ระยองทีด่ นิ อุตสาหกรรม จำกัด”)

อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี อำเภอเมือง จังหวัดระยอง อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง

สถานที่ตั้ง

อำเภอหนองแค สระบุรี อำเภอบ้านค่าย ระยอง

3. อาคารชุดเพื่อขาย ซึ่งดำเนินการในนามของบริษัท โดยใช้ชื่อโครงการว่า “โครงการเดอะพาร์คชิดลม” มี สถานที่ตั้งที่ถนนชิดลม กรุงเทพมหานคร 4. ธุรกิจบริการที่เกี่ยวเนื่องกับนิคมอุตสาหกรรมและเขตประกอบการอุตสาหกรรมดังกล่าวข้างต้น ซึ่ง ประกอบด้วย การบริการสาธารณูป โภคและสิ่งอำนวยความสะดวก การขายและให้เช่าอาคารสำนักงาน การขายและให้เช่าอาคารโรงงานสำเร็จรูป การให้เช่าที่ดิน อาคารพาณิชย์ สถานที่และฐานวางท่อขน ถ่ายวัตถุในนิคมอุตสาหกรรม การรับจ้างก่อสร้างต่อเติมอาคารและอื่นๆ กลุ่มบริษัทเหมราชฯ มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ ชั้น 18 อาคาร ยูเอ็ม ทาวเวอร์ เลขที่ 9 ถนนรามคำแหง แขวง สวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย 10250

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


54

1.2 ศาลปกครองกลางสั่งคุ้มครองชั่วคราว 76 โครงการในจังหวัดระยอง

ตามที่ศาลปกครองกลางได้มีคำสั่งเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2552 ให้หน่วยงานของรัฐ 8 หน่วยงานสั่งระงับ โครงการหรือกิจกรรมรวม 76 โครงการในจังหวัดระยองไว้เป็นการชั่วคราวจนกว่าศาลจะมีคำพิพากษาหรือ คำ สั่ ง เปลี่ ย นแปลงเป็ น อย่ า งอื่ น ยกเว้ น โครงการหรื อ กิ จ กรรมที่ ไ ด้ รั บ ใบอนุ ญ าตก่ อ นวั น ประกาศใช้ บั ง คั บ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 และโครงการหรือกิจกรรมที่ ไม่ต้องทำรายงานผลกระทบ ต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม (Environmental Impact Assessment : EIA) ตามประกาศของกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ลงวันที่ 16 มิถุนายน 2552 ต่อมาเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2552 ศาล ปกครองสูงสุดได้มีคำสั่งให้แก้ ไขคำสั่งศาลปกครองกลางที่สั่งให้คุ้มครองชั่วคราวต่อโครงการลงทุน 76 โครงการ โดยมีคำสั่งผ่อนปรน 11 โครงการ และยังระงับโครงการต่อไปอีก 65 โครงการ ซึ่งหากในอนาคตโครงการที่ เหลือ 65 โครงการมีการดำเนินการ ภายใต้มาตรา 67 วรรค 2 ตามรัฐธรรมนูญปี 2550 แล้ว จึงสามารถยื่น ขอออกจากคำสั่งคุ้มครองได้ และในเดือนมกราคม 2553 บริษัทย่อยซึ่งมีหนึ่งในโครงการที่เป็นผู้มีส่วนได้เสีย ได้ขอให้การนิคมฯพิจารณาว่าการที่ โครงการขยายของบริษัทได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการนิคมอุตสาหกรรม (ขยายนิคมอุตสาหกรรม) เขตนิคมอุตสาหกรรมในเดือนกันยายน 2549 เป็นการได้รับอนุญาตจากเจ้าหน้าที่ซึ่ง มีอำนาจตามกฎหมายเฉพาะ ซึ่งหมายความว่า เป็นโครงการที่ ได้รับอนุญาตก่อนวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ตามคำสั่งจากศาลปกครองกลาง ในเดือนธันวาคม 2552 ทั้งนี้บริษัทได้ รับแจ้งจากการนิคมฯแก่บริษัทย่อยว่าเป็นผู้ที่ ได้รับอนุญาตตามความหมายที่ศาลปกครองกลางได้พิเคราะห์ ไว้ เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2553 ศาลปกครองได้มีคำพิพากษา โดยตัดสินให้ ในกรณีที่ โครงการหรือกิจกรรมใดที่ ใบ อนุญาตออกหลังรัฐธรรมนูญปี 2550 มีผลบังคับใช้ และถูกกำหนดให้เป็นประเภทโครงการหรือกิจกรรมที่อาจ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงฯ ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ฉบับลง วันที่ 31 สิงหาคม 2553 และยังดำเนินการไม่ครบถ้วนตามมาตรา 67 วรรค 2 ของรัฐธรรมนูญฯ ให้เพิกถอน ใบอนุญาตของโครงการหรือกิจกรรมนั้นๆ และให้คำสั่งคุ้มครองชั่วคราวของศาลปกครองกลาง ซึ่งแก้ ไขโดยศาล ปกครองสูงสุดบังคับต่อไปจนกว่าคดีจะถึงทีส่ ดุ หรือจนกว่าศาลปกครองสูงสุดจะมีคำสัง่ เปลีย่ นแปลงเป็นอย่างอืน่ โดยผลของคำพิพากษาของศาลปกครองดังกล่าวข้างต้นและตามหนังสือของการนิคมฯที่บริษัทได้รับแจ้งเรื่อง การพิจารณาโครงการที่ ไม่เข้าข่ายโครงการที่ส่งผลกระทบรุนแรงว่าโครงการส่วนขยายในกลุ่มของบริษัททั้ง 2 โครงการไม่ เ ข้ า ข่ า ยเป็ น โครงการที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด ผลกระทบต่ อ ชุ ม ชนอย่ า งรุ น แรงตามประกาศกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น ฉบับลงวันที่ 31 สิงหาคม 2553 โครงการส่วนขยายทั้ง 2 โครงการจึงสามารถดำเนินการตามที่เคยได้รับอนุญาตไว้

1.3 การประกาศใช้มาตรฐานการบัญชีใหม่

ในเดือนพฤษภาคม 2552 สภาวิชาชีพบัญชี ได้ออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชีฉบับที่ 12/2552 เรื่อง การจัดเลข ระบุฉบับมาตรฐานการบัญชีของไทยให้ตรงตามมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ ดังนั้นการอ้างอิงเลข มาตรฐานการบัญชี ในงบการเงินนี้ ได้ถือปฏิบัติตามประกาศสภาวิชาชีพฉบับดังกล่าว ในระหว่างปีปัจจุบัน สภาวิชาชีพบัญชี ได้ออกมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงและมาตรฐานการบัญชี ใหม่ ซึ่งได้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว 1) มาตรฐานการบัญชีที่มีผลบังคับใช้ ในปีปัจจุบัน มีดังนี้ แม่บทการบัญชี (ปรับปรุง 2552) อย่างไรก็ตาม ฝ่ายบริหารของบริษัทฯ ได้พิจารณาแล้วเห็นว่ามาตรฐานการบัญชีดังกล่าวข้างต้น ไม่มีผล กระทบอย่างเป็นสาระสำคัญต่องบการเงินสำหรับปีปัจจุบัน

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


2) มาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ยังไม่มีผลบังคับใช้ ในปีปัจจุบัน มีดังนี้

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 26 มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 6 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 เรื่อง

วันที่มีผลบังคับใช้

เรื่อง การนำเสนองบการเงิน 1 มกราคม 2554 เรื่อง สินค้าคงเหลือ 1 มกราคม 2554 เรื่อง งบกระแสเงินสด 1 มกราคม 2554 เรื่อง นโยบายการบัญชีการเปลี่ยนแปลง 1 มกราคม 2554 ประมาณการทางบัญชีและข้อผิดพลาด เรื่อง เหตุการณ์ภายหลัง 1 มกราคม 2554 รอบระยะเวลารายงาน เรื่อง สัญญาก่อสร้าง 1 มกราคม 2554 เรื่อง ภาษีเงินได้ 1 มกราคม 2556 เรื่อง ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ 1 มกราคม 2554 เรื่อง สัญญาเช่า 1 มกราคม 2554 เรื่อง รายได้ 1 มกราคม 2554 เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงาน 1 มกราคม 2554 เรื่อง การบัญชีสำหรับเงินอุดหนุน 1 มกราคม 2556 จากรัฐบาล และการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับ ความช่วยเหลือจากรัฐบาล เรื่อง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง 1 มกราคม 2556 ของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ เรื่อง ต้นทุนการกู้ยืม 1 มกราคม 2554 เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับ 1 มกราคม 2554 บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน วันที่มีผลบังคับใช้ เรื่อง การบัญชีและการรายงาน 1 มกราคม 2554 โครงการผลประโยชน์เมื่อออกจากงาน เรื่อง งบการเงินรวมและ 1 มกราคม 2554 งบการเงินเฉพาะกิจการ เรื่อง เงินลงทุนในบริษัทร่วม 1 มกราคม 2554 เรื่อง การรายงานทางการเงินใน 1 มกราคม 2554 สภาพเศรษฐกิจ ที่เงินเฟ้อรุนแรง เรื่อง ส่วนได้เสียในการร่วมค้า 1 มกราคม 2554 เรื่อง กำไรต่อหุ้น 1 มกราคม 2554 เรื่อง งบการเงินระหว่างกาล 1 มกราคม 2554 เรื่อง การด้อยค่าของสินทรัพย์ 1 มกราคม 2554 เรื่อง ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่ 1 มกราคม 2554 อาจเกิดขึ้น และสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น เรื่อง สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน 1 มกราคม 2554 เรื่อง อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน 1 มกราคม 2554 เรื่อง การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ 1 มกราคม 2554 เรื่อง การรวมธุรกิจ 1 มกราคม 2554

55

เรื่อง สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน ที่ถือไว้ 1 มกราคม 2554 เพื่อขาย และการดำเนินงานที่ยกเลิก เรื่อง การสำรวจและการประเมินค่า 1 มกราคม 2554 แหล่งทรัพยากรแร่ สัญญาการก่อสร้าง 1 มกราคม 2554 อสังหาริมทรัพย์

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


56

บริษัทจะเริ่มถือปฏิบัติมาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการตีความมาตรฐานการ รายงานทางการเงินในวันที่มีผลบังคับใช้ ยกเว้น มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2552) บริษัทได้ถือปฏิบัติก่อนวันที่มีผลบังคับใช้ ฝ่ายบริหารของบริษัท ได้พิจารณาแล้วเห็นว่า 1. มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐาน การรายงานทางการเงินฉบับที่ 2 และมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 6 ไม่เกี่ยวข้องกับกิจการ 2. มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2552) และการ ตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 อยู่ระหว่างการพิจารณาผลกระทบต่องบการเงินในปีที่เริ่ม ใช้มาตรฐานการบัญชีดังกล่าว 3. มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินอื่นๆ ฝ่ายบริหารพิจารณาแล้วเห็นว่าจะไม่มีผล กระทบอย่างเป็นสาระสำคัญต่องบการเงิน

1.4 ค่าธรรมเนียมการโอนกรรมสิทธิ์และภาษีธุรกิจเฉพาะ

พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการลดอัตรารัษฎากร (ฉบับที่ 472 พ.ศ. 2551 และ ฉบับที่ 488 พ.ศ. 2552) ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและ นิติกรรมตามประมวลกฎหมายที่ดิน กรณีสนับสนุนการซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรี กำหนด และประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่อง การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตาม กฎหมายว่าด้วยอาคารชุด กรณีสนับสนุนการซื้อขายห้องชุดตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรีกำหนด ได้ประกาศ ลดภาษีธุรกิจเฉพาะจากอัตราร้อยละ 3.3 เหลืออัตราร้อยละ 0.11 สำหรับการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ที่ ได้กระทำในระหว่างวันที่ 28 มีนาคม 2551 ถึงวันที่ 28 มีนาคม 2553 และลดค่า จดทะเบียนการโอนอสังหาริมทรัพย์จากอัตราร้อยละ 2 เหลืออัตราร้อยละ 0.01 สำหรับการจดทะเบียนสิทธิและ นิติกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ที่ ได้กระทำในระหว่างวันที่ 28 มีนาคม 2551 ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2553

2. เกณฑ์ในการจัดทำและการแสดงรายการในงบการเงินและงบการเงินรวม

2.1 เกณฑ์ในการจัดทำงบการเงิน

2.2 เกณฑ์ในการจัดทำและการแสดงรายการในงบการเงินรวม

รายงานประจํ า ปี 2553

งบการเงินของบริษัท ได้จัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป รวมถึงการตีความและแนวปฏิบัติ ทางการบัญชีที่ประกาศใช้ โดยสภาวิชาชีพบัญชี งบการเงินของบริษัทได้จัดทำขึ้นเป็นภาษาไทยตามระเบียบข้อบังคับหรือกฎหมายไทย ซึ่งแปลเป็นภาษาอังกฤษ เพื่อความสะดวกของผู้อ่านงบการเงิน รายการในงบการเงินปี 2552 บางรายการได้จัดประเภทใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับรายการในปี 2553 ซึ่งไม่มีผล กระทบต่อกำไรสุทธิและส่วนของผู้ถือหุ้นตามที่ ได้รายงานไปแล้ว งบการเงินรวมของบริษัทได้รวมงบการเงินของบริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน) และของบริษัทย่อยที่ ถือหุ้นทั้งทางตรงและทางอ้อมเกินกว่าร้อยละ 50 ของทุนที่ออกจำหน่าย และได้จัดทำขึ้นโดยใช้หลักเกณฑ์เดียว กับ งบการเงินรวมสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552

• Annual Report 2010


บริษัทย่อยทั้งหมด จดทะเบียนจัดตั้งในประเทศไทย ยกเว้น H-International (BVI) Company Limited และ Hemaraj International Limited ซึ่งเป็นบริษัทที่จัดตั้งขึ้นใน British Virgin Islands และ Cayman Islands ตามลำดับ นอกจากนี้งบการเงินรวมสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ได้รวมส่วนแบ่งผลกำไร(ขาดทุน)ของบริษัทร่วม ดังนี้

57

ล้านบาท

บริษัท โคเฟลี (ประเทศไทย) จำกัด * (เดิมชื่อ “บริษัท เอลโย่-เอช ฟาซิลีตี้ แมนเนจเมนท์ จำกัด”) บริษัท เหมราช สระบุรี ที่ดินอุตสาหกรรม จำกัด ** (เดิมชื่อ “บริษัท เอส ไอ แอล ที่ดินอุตสาหกรรม จำกัด”) (งบการเงินรวม) (หมายเหตุ 10) บริษัท เก็คโค่-วัน จำกัด ** บริษัท ห้วยเหาะไทย จำกัด (งบการเงินรวม) ** รวม

2553

2552

3.63

3.60

14.81 393.51 10.01 421.96

14.85 74.25 (12.08) 80.62

* ใช้ข้อมูลจากงบการเงินที่จัดทำขึ้นโดยฝ่ายบริหารและไม่ผ่านการตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชี ** ใช้ข้อมูลจากงบการเงินที่ตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีอื่น 3. สรุปนโยบายการบัญชีที่สำคัญ

3.1 เกณฑ์การวัดค่าในการจัดทำงบการเงิน

3.2 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย ได้แก่ เงินลงทุนในตราสารทุนในความต้องการของตลาด แสดงในมูลค่า ยุติธรรม (สุทธิจากค่าเผื่อการปรับมูลค่าเงินลงทุน) กำไร (ขาดทุน) จากการปรับมูลค่าเงินลงทุนแสดงไว้ ในส่วนของผู้ถือหุ้น

3.4 ลูกหนี้การค้าและค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ได้แก่ เงินสด เงินฝากธนาคาร ตั๋วเงินฝาก และเงินลงทุนชั่วคราว แสดง สุทธิจากเงินฝากธนาคารที่ติดภาระผูกพัน

3.3 เงินลงทุนชั่วคราว

นอกจากที่เปิดเผยไว้ ในหัวข้ออื่นๆ ในสรุปนโยบายการบัญชีที่สำคัญ และหมายเหตุประกอบงบการเงินอื่นๆ เกณฑ์ ในการแสดงมูลค่าในงบการเงินใช้ราคาทุนเดิม

ลูกหนี้การค้าแสดงตามมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ บริษัทและบริษัทย่อย บันทึกค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำหรับผลขาดทุน โดยประมาณที่อาจเกิดขึ้นจากการเก็บเงินลูกหนี้ ไม่ ได้ ซึ่งโดยทั่วไปพิจารณาจากประสบการณ์การเก็บเงินและการ วิเคราะห์อายุลูกหนี้ บริษัทและบริษัทย่อย ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ค่าบริการที่ค้างชำระเกิน 90 วัน

3.5 สินค้าคงเหลือ

สินค้าคงเหลือแสดงมูลค่าตามราคาทุน (วิธีถัวเฉลี่ย) หรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่า

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


58

3.6 ต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์

3.7 การรวมต้นทุนการกู้ยืมเป็นราคาทุนของสินทรัพย์

ที่ดินให้เช่าแสดงในราคาทุน สินทรัพย์ ให้เช่าอื่นนอกเหนือจากที่ดิน แสดงในราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสม ค่า เสื่อมราคาคำนวณโดยวิธีเส้นตรงตามเกณฑ์อายุการใช้สินทรัพย์ โดยประมาณ 15 ปี สำหรับฐานวางท่อขนถ่าย วัตถุ และ 20 ปี สำหรับอาคาร ไม่มีการคำนวณค่าเสื่อมราคาสำหรับที่ดินให้เช่า

3.10 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์

รายงานประจํ า ปี 2553

เงินลงทุน ก. เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมแสดงตามวิธีราคาทุนในงบการเงินเฉพาะกิจการ และเงินลงทุนใน บริษัทร่วมแสดงตามวิธีส่วนได้เสียในงบการเงินรวม ข. เงินลงทุนทั่วไปได้แก่ เงินลงทุนในบริษัทที่เกี่ยวข้องกันและเงินลงทุนในบริษัทอื่น แสดงในราคาทุนสุทธิ จากค่าเผื่อการด้อยค่า ขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุนทั่วไปแสดงไว้ ในงบกำไรขาดทุน เงินให้กู้ยืม บริษัทและบริษัทย่อยตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญจากจำนวนที่คาดว่าจะเรียกเก็บไม่ ได้ โดยวิเคราะห์จากฐานะการ เงินและความสามารถในการชำระหนี้ โดยมีนโยบายหยุดรับรู้รายได้ดอกเบี้ยเมื่อค้างชำระเกิน 180 วัน

3.9 สินทรัพย์ให้เช่า

ต้นทุนการกู้ยืม ถือเป็นค่าใช้จ่ายในงวดบัญชีที่ค่าใช้จ่ายนั้นเกิดขึ้น ยกเว้น ต้นทุนการกู้ยืม ของเงินกู้ยืมระยะยาว และเงินกู้ยืมจากกิจการและบุคคลอื่น ที่เกิดขึ้นโดยตรงกับการพัฒนาโครงการรวมเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุน โครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โดยจะหยุดบันทึกเป็นต้นทุนของสินทรัพย์ เมื่อการดำเนินการส่วนใหญ่ที่จำเป็น ในการเตรียมสินทรัพย์ ให้อยู่ ในสภาพพร้อมที่จะใช้หรือขายตามประสงค์ และการรวมต้นทุนการกู้ยืมเป็นราคาทุน ของสินทรัพย์จะหยุดพัก ในระหว่างที่การดำเนินการพัฒนาสินทรัพย์หยุดชะงักลงเป็นเวลาต่อเนื่อง บริษัทและ บริษัทย่อย จะบันทึกขาดทุนจากการด้อยค่าเมื่อราคาตามบัญชีของสินทรัพย์สูงกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน

3.8 เงินลงทุนและเงินให้กู้ยืม

ต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์แสดงตามราคาทุน ประกอบด้วย ต้นทุนที่ดิน ต้นทุนในการพัฒนา โครงการ ต้นทุนในการก่อสร้างอาคารโรงงานอุตสาหกรรมสำเร็จรูป ต้นทุนในการก่อสร้างอาคารชุด ต้นทุน ทางการเงินจากการกู้ยืมเพื่อใช้ ในการพัฒนาโครงการก่อสร้างอาคารโรงงานอุตสาหกรรมสำเร็จรูป และก่อสร้าง อาคารชุด เงินมัดจำค่าที่ดิน และเงินจ่ายล่วงหน้าค่าก่อสร้าง และจะโอนเป็นต้นทุนขายเมื่อมีการขายหรือมีราย ได้จากโครงการดังกล่าว ต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ แสดงในราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใด จะต่ำกว่า ขาดทุนจากการประเมินราคาโครงการแสดงไว้ ในงบกำไรขาดทุน

ที่ดินแสดงในราคาทุน อาคาร และอุปกรณ์ แสดงในราคาทุน หักค่าเสื่อมราคาสะสม และค่าเผื่อการด้อยค่า สินทรัพย์ ยานพาหนะภายใต้สัญญาเช่าทางการเงินแสดงตามราคายุติธรรมหลังหักค่าเสื่อมราคาสะสม ค่าเสื่อม ราคาคำนวณโดยวิธีเส้นตรงตามเกณฑ์อายุการใช้สินทรัพย์ โดยประมาณ 5 ปี สำหรับอุปกรณ์ และ 20 ปี สำหรับอาคารและสิ่งปลูกสร้าง ไม่มีการคำนวณค่าเสื่อมราคาสำหรับที่ดิน

• Annual Report 2010


3.11 สิทธิการเช่าและที่ดินเพื่อจัดหาผลประโยชน์

บริษัทและบริษัทย่อย รับรู้ เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัส เงินสมทบกองทุนประกันสังคมและกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ และผลประโยชน์อื่นๆ เป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดรายการ บริษัทและบริษัทย่อย ไม่ ได้บันทึกหนี้สินเกี่ยวกับผลประโยชน์พนักงาน ซึ่งอาจต้องจ่ายในภายหน้า ภายใต้ กฎหมายแรงงานไทย

3.17 รายได้ค่าสิทธิการเช่ารอตัดบัญชี

ค่างวดที่ยังไม่รับรู้เป็นรายได้และรายได้รับล่วงหน้า ประกอบด้วยเงินที่รับชำระจากสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินและ อาคารชุด ส่วนที่เกินกว่ารายได้ที่รับรู้ตามวิธีอัตราส่วนของงานที่แล้วเสร็จ รวมทั้งเงินรับล่วงหน้าจากค่าบริการ สาธารณูป โภค และค่าเช่า

3.16 ผลประโยชน์พนักงาน

บริษัทและบริษัทย่อยมีการประเมินการด้อยค่าของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ และทรัพย์สินอื่นๆ เมื่อมี เหตุการณ์หรือมีการเปลี่ยนแปลงสภาพการณ์ที่ทำให้เกิดข้อบ่งชี้ว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์มี จำนวนต่ำกว่าราคาตามบัญชีของสินทรัพย์นั้น โดยบริษัทและบริษัทย่อยจะรับรู้รายการขาดทุนจากการด้อยค่า เป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุน

3.15 ค่างวดที่ยังไม่รับรู้เป็นรายได้และรายได้รับล่วงหน้า

ดอกเบี้ยตามสัญญาเช่าซื้อรอตัดบัญชี กำหนดตัดบัญชีตามอัตราผลตอบแทนที่แท้จริงโดยแสดงสุทธิจากเจ้าหนี้ เช่าซื้อ

3.14 การด้อยค่าของสินทรัพย์

บริษัทและบริษัทย่อยบันทึกกองทุนเพื่อบำรุงรักษาและสร้างทดแทนระบบสาธารณูป โภคและสิ่งอำนวยความ สะดวกในนิคมอุตสาหกรรม ตามเงื่อนไขในสัญญาร่วมดำเนินงานกับการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) เป็นกองทุนจมรอตัดจ่ายและตัดจ่ายเป็นต้นทุนบริการตามวิธีเส้นตรงเป็นระยะเวลา 20 ปี

3.13 ดอกเบี้ยตามสัญญาเช่าซื้อรอตัดบัญชี

59

3.12 กองทุนจม

สิทธิการเช่าและที่ดินเพื่อจัดหาผลประโยชน์ เป็นโครงการที่รอการพัฒนาและโครงการที่หยุดการพัฒนาชั่วคราว ประกอบด้วย สิทธิการเช่าที่ดิน ต้นทุนที่ดิน ต้นทุนในการพัฒนาโครงการและต้นทุนทางการเงินจากการกู้ยืม เพื่อใช้ ในการพัฒนาโครงการ สิทธิการเช่าและที่ดินเพื่อจัดหาผลประโยชน์ แสดงในราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับที่ต่ำกว่า ขาดทุนจากการประเมินราคาโครงการแสดงไว้ ในงบกำไรขาดทุน

รายได้ค่าสิทธิการเช่ารอตัดบัญชี ได้แก่ ค่าสิทธิการเช่ารับจากการให้เช่าที่ดิน อาคาร ฐานวางท่อขนถ่ายวัตถุ และค่าเช่าสิทธิในการจำหน่ายน้ำเพื่อการอุตสาหกรรม กำหนดบันทึกบัญชีเป็นรายได้ตามอายุสัญญาเช่า

3.18 การรับรู้รายได้และค่าใช้จ่าย

นอกจากที่เปิดเผยไว้ ในหัวข้ออื่นๆ บริษัทและบริษัทย่อยมีนโยบายรับรู้รายได้และค่าใช้จ่ายดังต่อไปนี้

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


60

ก. การรับรู้รายได้และต้นทุนจากการขายที่ดิน บริษัทและบริษัทย่อยรับรู้รายได้จากการขายที่ดินเมื่อได้มีการทำสัญญาจะซื้อจะขาย และรับเงินค่างวด แล้ว โดยวิธีอัตราส่วนของงานที่แล้วเสร็จ ซึ่งคำนวณตามอัตราส่วนของต้นทุนการพัฒนาที่เกิดขึ้นแล้วกับ ต้นทุนทั้งหมดที่ประมาณว่าจะใช้ ในการพัฒนาแต่ละโครงการย่อย โดยไม่รวมต้นทุนที่ดิน ส่วนต้นทุนขาย คำนวณจากรายได้ที่รับรู้แล้วตามอัตราส่วนของประมาณการต้นทุนทั้งหมดกับประมาณการราคาขาย ทั้งหมดของแต่ละโครงการย่อย ต้นทุนทั้งหมดและราคาขายทั้งหมดของแต่ละโครงการย่อยที่ประมาณการไว้จะมีการปรับปรุง เมื่อมีการ เปลี่ยนแปลงอย่างมีสาระสำคัญในจำนวนต้นทุนและราคาขายที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจริงในการพัฒนาแต่ละ โครงการย่อย ข. การรับรู้รายได้และต้นทุนจากการขายอาคารโรงงานอุตสาหกรรมสำเร็จรูป บริษัทและบริษัทย่อยรับรู้รายได้และต้นทุนขายอาคารโรงงานอุตสาหกรรมสำเร็จรูป เมื่อมีการทำสัญญา ซื้อขายโดยวิธีอัตราส่วนของงานที่แล้วเสร็จ ค. การรับรู้รายได้และต้นทุนจากการขายอาคารชุด บริษัทรับรู้รายได้และต้นทุนขายอาคารชุดตามวิธีอัตราส่วนของงานที่แล้วเสร็จ ซึ่งคำนวณตามอัตราส่วน ต้นทุนของงานที่เกิดขึ้นแล้วกับต้นทุนทั้งหมด โดยไม่รวมต้นทุนที่ดิน ที่ประมาณว่าจะใช้ ในการก่อสร้าง ตามสัญญาซึ่งประเมินโดยวิศวกรที่ปรึกษาของบริษัท บริษัทจะเริ่มรับรู้รายได้เมื่อมีการทำสัญญาจะซื้อจะ ขายไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของพื้นที่เปิดขายและได้รับชำระเกินกว่าร้อยละ 20 ของแต่ละสัญญา และ งานระหว่างก่อสร้างได้ผ่านขั้นตอนเบื้องต้นแล้วเกินกว่าร้อยละ 10 ของงานก่อสร้างอาคารชุด ง. การรับรู้รายได้และต้นทุนค่าบริการ บริษัทและบริษัทย่อยรับรู้รายได้และต้นทุนค่าบริการตามเกณฑ์สิทธิสำหรับ รายได้ค่าบริการซึ่งประกอบ ด้วย รายได้ค่าบริการสาธารณูป โภคและสิ่งอำนวยความสะดวก รายได้จากการขายน้ำประปา น้ำดิบและ น้ำหมุนเวียน รายได้จากการบำบัดน้ำเสียในนิคมอุตสาหกรรม รายได้จากการรับจ้างก่อสร้างต่อเติม อาคาร รายได้จากการให้เช่าที่ดิน อาคารพาณิชย์ อาคารคลังสินค้า อาคารโรงงาน ที่พักอาศัย และฐาน วางท่อขนถ่ายวัตถุในนิคมอุตสาหกรรม รายได้จากศูนย์ฝึกอบรม และ รายได้จากศูนย์ธุรกิจ ส่วนต้นทุน ค่าบริการเป็นต้นทุนที่เกิดจากการให้บริการดังกล่าว บริษัทและบริษัทย่อยรับรู้รายได้และต้นทุนจากการรับจ้างก่อสร้างอาคารโรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลาง และขนาดเล็ก เมื่อได้มีการทำสัญญาก่อสร้าง และรับเงินค่างวดแล้วโดยวิธีอัตราส่วนของงานที่แล้วเสร็จ บริษัทและบริษัทย่อยมีนโยบายหยุดรับรู้รายได้ค่าบริการสาธารณูป โภคจากลูกหนี้ที่หยุดดำเนินกิจการ และมีปัญหาในการจ่ายชำระหนี้ จ. รายได้และค่าใช้จ่ายอื่น บริษัทและบริษัทย่อยรับรู้รายได้ ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ต้นทุนทางการเงินและค่าใช้จ่ายอื่นตาม เกณฑ์สิทธิ

3.19 บัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศ

ก. งบการเงินของบริษัทย่อยในต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทเพื่อการจัดทำงบการเงินรวมโดยใช้อัตรา แลกเปลี่ยนดังนี้ ก.1 สินทรัพย์และหนี้สินแปลงค่าโดยใช้อัตราถัวเฉลี่ยขายและซื้อ ณ วันสิ้นปี ก.2 รายได้และค่าใช้จ่ายแปลงค่าโดยใช้อัตราถัวเฉลี่ยขายและซื้อ ณ วันสิ้นเดือนแต่ละเดือน ก.3 ส่วนของผู้ถือหุ้นแปลงค่าโดยใช้อัตรา ณ วันที่เกิดรายการ ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินต่างประเทศ แสดงไว้ ในส่วนของผู้ถือหุ้น

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


ภาษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับแต่ละปีบันทึกตามเกณฑ์คงค้าง

3.21 กำไรต่อหุ้น

61

3.20 ภาษีเงินได้นิติบุคคล

ข. รายการบัญชีอื่นที่เป็นเงินตราต่างประเทศที่เกิดขึ้นในระหว่างปีแปลงค่าเป็นเงินบาทตามอัตราแลก เปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศ ณ วันสิ้นปี แปลงค่าเป็นเงิน บาทตามอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันนั้น กำไรและขาดทุนจากการแปลงค่าแสดงไว้ ในงบกำไรขาดทุน

กำไรต่อหุ้นที่แสดงไว้ ในงบกำไรขาดทุนเป็นกำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน ซึ่งคำนวณโดยการหารกำไรสุทธิสำหรับปีด้วย จำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักที่ออกจำหน่ายและชำระแล้วอยู่ ในระหว่างปี

4. การใช้ดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีที่สำคัญ

ในการจัดทำงบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป ฝ่ายบริหารอาจต้องใช้ดุลยพินิจและการประมาณการผล กระทบของเหตุการณ์ที่ ไม่แน่นอนในอนาคตที่อาจมีผลกระทบต่อจำนวนเงินที่แสดงในงบการเงินและการเปิดเผยข้อมูล ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ด้วยเหตุนี้ผลที่เกิดขึ้นจริงจึงอาจแตกต่างไปจากจำนวนที่ประมาณการไว้

5. รายการบัญชีกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

บริษัทมีรายการบัญชีบางส่วนกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รายการบัญชีระหว่างกันที่เป็นสาระสำคัญได้ตัดออกแล้วในการทำ งบการเงินรวม รายการดังกล่าวเป็นไปตามเงื่อนไขและเกณฑ์ที่ ได้ตกลงร่วมกันระหว่างบริษัท กับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เหล่านั้น ทั้งนี้การกู้ยืมระหว่างกันเป็นหนี้ที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจที่ทำร่วมกัน กิจการที่ถูกควบคุมโดยบริษัท หรือกิจการที่อยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริษัท โดยทางตรงหรือทางอ้อมและกิจการ ที่เป็นบริษัทในเครือเดียวกัน โดยเป็นผู้ถือหุ้นและมีกรรมการร่วมกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม ดังนี้

บริษัท

ประเภทธุรกิจ

ลักษณะ ความสัมพันธ์

ร้อยละการถือหุ้น 2553

บริษัทย่อย บริษัท อีสเทิร์นอินดัสเตรียลเอสเตท จำกัด พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เป็นผู้ถือหุ้นและ 99.99 มีกรรมการร่วมกัน บริษัท อีสเทิร์น ซีบอร์ด อินดัสเตรียล เอสเตท พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ,, 60.00 (ระยอง) จำกัด บริษัท เหมราช อีสเทิร์นซีบอร์ด พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ,, 99.99 อินดัสเตรียล เอสเตท จำกัด บริษัท เหมราช สระบุรี ที่ดินอุตสาหกรรม จำกัด พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ,, 99.99 (เดิมชื่อ “บริษัท เอส ไอ แอล ที่ดินอุตสาหกรรม จำกัด”) บริษัท เหมราช ระยอง ที่ดินอุตสาหกรรม จำกัด พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ,, 99.99 (เดิมชือ่ “บริษทั ระยองทีด่ นิ อุตสาหกรรม จำกัด”) บริษัท อีสเทิร์น ไพพ์ ไลน์ เซอร์วิสเซส จำกัด บริการให้เช่าฐานวางท่อขนถ่ายวัตถุ ,, 99.99 H-International (BVI) Company Limited Holding Company ,, 100.00 Hemaraj International Limited Holding Company ,, 100.00 บริษัท เอช-คอนสตรัคชั่น แมนเนจเม้นท์ บริการออกแบบและ ,, 99.99 แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด ควบคุมการก่อสร้าง บริษัท เดอะพาร์คเรสซิเดนซ์ จำกัด พัฒนาอสังหาริมทรัพย์และ ,, 99.99 บริหารจัดการงานบริการ

รายงานประจํ า ปี 2553

2552 99.99 60.00 99.99 99.99 100.00 100.00 99.99 99.99

• Annual Report 2010


62

บริษัท

บริษัท เหมราช วอเตอร์ จำกัด บริษัท เอสเอ็มอี แฟคทอรี่ จำกัด บริษัท เอช – ฟีนิกซ์ พร็อพเพอร์ตี้ จำกัด บริษัท เหมราช คลีน วอเตอร์ จำกัด

ประเภทธุรกิจ พัฒนาบริหารและจัดการ ทรัพยากรน้ำ ขายและให้เช่าโรงงานสำเร็จรูป อาคารชุดเพื่อขาย ให้เช่า และ ให้บริการ ผลิตและจำหน่าย น้ำเพื่อ การอุตสาหกรรม

กิจการ บริษัทร่วม บริษัท โคเฟลี (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท เก็คโค่-วัน จำกัด บริษัท เหมราช สระบุรี ที่ดินอุตสาหกรรม จำกัด (เดิมชื่อ “บริษัท เอส ไอ แอล ที่ดินอุตสาหกรรม จำกัด”) บริษัท เหมราช ระยอง ที่ดินอุตสาหกรรม จำกัด (เดิมชือ่ “บริษทั ระยองทีด่ นิ อุตสาหกรรม จำกัด”) บริษัท ห้วยเหาะไทย จำกัด บริษัท โรงไฟฟ้าห้วยเหาะ จำกัด

ลักษณะ ความสัมพันธ์

ร้อยละการถือหุ้น 2553

2552

เป็นผู้ถือหุ้นและ มีกรรมการร่วมกัน ,, ,,

99.99

99.99

99.99 99.99

99.99 99.99

,,

99.99

99.99

ประเภทธุรกิจ

ลักษณะ ความสัมพันธ์

ให้บริการเกี่ยวกับ ระบบสาธารณูป โภค ผลิตไฟฟ้าและพลังงาน พัฒนาอสังหาริมทรัพย์

เป็นผู้ถือหุ้นและ มีกรรมการร่วมกัน ,, ,,

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ Holding Company ผลิตและจำหน่ายไฟฟ้า

ร้อยละการถือหุ้น 2553

2552

39.99

39.99

35.00 -

35.00 25.00

,,

-

25.00

,, ,,

51.00 12.75

51.00 12.75

บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ศรีราชา ฮาเบอร์ จำกัด (มหาชน) บริการท่าเทียบเรือและขนส่ง เป็นผู้ถือหุ้นและ 6.40 มีกรรมการร่วมกัน บริษัท อีสเทิร์น ฟลูอิด ทรานสปอร์ต จำกัด ซ่อมแซมบำรุงรักษาโครงสร้างส ,, 15.00 ำหรับฐานวางท่อ บริษัท สตีลทอป จำกัด ผลิตและขายเหล็ก มีความสัมพันธ์ - ผ่านกรรมการ บริษัท อาหารสยาม จำกัด (มหาชน) อุตสาหกรรมอาหารเกษตร เป็นผู้ร่วมลงทุน - บริษัท เตียวฮง สีลม จำกัด ให้บริการเกี่ยวกับระบบสาธารณูป โภค ,, - บริษัท ซิเมนต์ ไทย โฮลดิ้ง จำกัด Holding Company ,, - บริษัท โกลว์ พลังงาน จำกัด (มหาชน) ธุรกิจพลังงาน ,, - บริษัท โกลว์ ไอพีพี2 โฮลดิ้ง จำกัด Holding Company ,, - บริษัท โคเฟลี เซาท์ อีสต์เอเซีย พีทีอี ลิมิเต็ด ธุรกิจพลังงาน ,, -

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010

6.40 15.00 -


ยอดคงเหลือกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งแสดงรวมเป็นส่วนหนึ่งในงบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้

สินทรัพย์

63

พันบาท งบการเงินรวม 2553 2552

งบการเงินเฉพาะบริษัท นโยบายการคิด 2553 2552 ต้นทุนระหว่างกัน

เงินให้กู้ยืมระยะสั้นและเงินทดรองแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย : บริษัท อีสเทิร์นอินดัสเตรียลเอสเตท จำกัด - - 110,684 - บริษัท อีสเทิร์น ซีบอร์ด อินดัสเตรียล เอสเตท - - 4,270 55,138 (ระยอง) จำกัด บริษัท เหมราช อีสเทิร์นซีบอร์ด อินดัสเตรียล - - 124,000 321,169 เอสเตท จำกัด บริษัท เหมราช สระบุรี ที่ดินอุตสาหกรรม จำกัด - - 380,000 - (เดิมชื่อ “บริษัท เอส ไอ แอล ที่ดินอุตสาหกรรม จำกัด”) บริษัท อีสเทิร์น ไพพ์ ไลน์ เซอร์วิสเซส จำกัด - - 30,778 20,067 บริษัท เอสเอ็มอี แฟคทอรี่ จำกัด - - 29,192 27,268 บริษัท เหมราช คลีน วอเตอร์ จำกัด - - 128,940 24,353 บริษัท เอช – ฟีนิกซ์ พร็อพเพอร์ตี้ จำกัด - - 220,275 270,829 บริษัทร่วม: บริษัท โคเฟลี (ประเทศไทย) จำกัด 5,629 5,628 5,629 5,628 บริษัทที่เกี่ยวข้อง : บริษัท ศรีราชาฮาเบอร์ จำกัด (มหาชน) * 11,355 11,355 11,355 11,355 รวม 16,984 16,983 1,045,123 735,807 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (11,355) (11,355) (11,355) (11,355) สุทธิ 5,629 5,628 1,033,768 724,452

MLR - 0.50% และเงินปันผลค้างรับ เงินทดรองจ่าย และเงินปันผลค้างรับ MLR - 0.50% และเงินปันผลค้างรับ MLR - 0.50% MLR - 0.50% และเงินปันผลค้างรับ MLR - 0.50% MLR - 0.50% และเงินปันผลค้างรับ MLR - 0.50% MLR ตามอัตราที่กำหนดไว้ ในแผนฟื้นฟูกิจการ

* ตามหลักเกณฑ์การตั้งสำรองของบริษัท ในส่วนของ บริษัท ศรีราชาฮาเบอร์ จำกัด (มหาชน) เป็นหนี้ยกมาตั้งแต่ปี 2540 ซึ่งเกิดวิกฤติการณ์เศรษฐกิจ ต่อมาบริษัทที่เกี่ยวข้องกันได้เข้าสู่แผนฟื้นฟูกิจการ บริษัทยังมิ ได้ปรับสำรองในส่วนของหนี้ ภายใต้แผนฟื้นฟูกิจการ โดยจะดำเนินการปรับต่อเมื่อได้รับชำระหนี้จากลูกหนี้ ซึ่งได้ชำระหนี้ตามแผนฟื้นฟูกิจการ บริษัท ได้ตั้งสำรองค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำหรับเงินให้กู้ยืมระยะสั้นในกิจการที่เกี่ยวข้องในขณะนั้นไว้เต็มจำนวน

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


64

ยอดคงเหลือกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน - สินทรัพย์ มีการเปลี่ยนแปลงระหว่างปี 2553 เป็นดังนี้

พันบาท

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

งบการเงินรวม เงินให้กู้ยืมระยะสั้นและเงินทดรองแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทร่วม (1) บริษัทที่เกี่ยวข้อง รวม หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ งบการเงินเฉพาะบริษัท เงินให้กู้ยืมระยะสั้นและเงินทดรองแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทที่เกี่ยวข้อง รวม หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ

การเคลื่อนไหวในระหว่างปี เพิ่มขึ้น ลดลง

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

5,628 11,355 16,983 (11,355) 5,628

394,305 113 394,418 - 394,418

(394,304) (113) (394,417) - (394,417)

5,629 11,355 16,984 (11,355) 5,629

718,824 5,628 11,355 735,807 (11,355) 724,452

1,198,125 394,305 113 1,592,543 - 1,592,543

(888,810) (394,304) (113) (1,283,227) - (1,283,227)

1,028,139 5,629 11,355 1,045,123 (11,355) 1,033,768

(1) รายการเคลื่อนไหวในระหว่างปี 2553 ของบริษัทร่วมนั้น ประกอบด้วย เงินให้กู้ยืมแก่ บริษัท เหมราช สระบุรี ที่ดิน อุตสาหกรรม จำกัด (HSIL) จำนวน 380 ล้านบาท (หมายเหตุ 10.2) ดอกเบี้ยรับจำนวน 0.39 ล้านบาท และเงินปันผล รับจำนวน 13.91 ล้านบาท

หนี้สิน

พันบาท

งบการเงินรวม 2553 2552 เงินกู้ยืมระยะสั้นและเงินทดรองจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการที่เกี่ยวข้องกัน : บริษัท โกลว์ จำกัด (1) บริษัท อาหารสยาม จำกัด (มหาชน) รวม เงินกู้ยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย : H-International (BVI) Company Limited รายได้ค่าสิทธิการเช่ารอตัดบัญชี บริษัทย่อย : บริษัท เหมราช คลีน วอเตอร์ จำกัด (2) รายได้ค่าสิทธิการเช่ารอตัดบัญชี หัก ตัดจำหน่ายสะสม รายได้ค่าสิทธิการเช่ารอตัดบัญชี สุทธิ

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010

งบการเงินเฉพาะบริษัท นโยบายการคิด 2553 2552 ต้นทุนระหว่างกัน

- - -

237,394 30,000 267,394

- - -

237,394 - 237,394

MLR – 2% เงินปันผลค้างจ่าย

-

-

988,693

1,058,559

-

- - -

- - -

62,100 (6,220) 55,880

62,100 ตามราคาที่ตกลงร่วมกัน (3,736) 58,364


(1) บริษัทได้ทำสัญญากู้ยืมเงินระยะสั้นจากบริษัท โกลว์ จำกัด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนำมาใช้ ในการลงทุนซื้อหุ้นเพิ่มทุนใน บริษัท ห้วยเหาะไทย จำกัด (ถือหุ้นร้อยละ 51) โดยได้ชำระคืนทั้งจำนวนแล้วในปี 2553 (2) บริษัทและบริษัทย่อย 3 แห่ง ได้ทำสัญญาให้เช่าสิทธิดำเนินการผลิตและจำหน่ายน้ำเพื่ออุตสาหกรรมกับบริษัท เหมราช คลีน วอเตอร์ จำกัด (เป็นบริษัทย่อย) เป็นจำนวนเงิน 559 ล้านบาทเป็นระยะเวลา 25 ปี ยอดคงเหลือกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน - หนี้สิน มีการเปลี่ยนแปลงระหว่างปี 2553 เป็นดังนี้

65

พันบาท

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

งบการเงินรวม เงินกู้ยืมระยะสั้นและเงินทดรองจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทที่เกี่ยวข้อง งบการเงินเฉพาะบริษัท เงินกู้ยืมระยะสั้นและเงินทดรองจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัทที่เกี่ยวข้อง เงินกู้ยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย

การเคลื่อนไหวในระหว่างปี เพิ่มขึ้น ลดลง

267,394

74,399

(341,793)

-

- 237,394

467,153 2,399

(467,153) (239,793)

-

1,058,559

-

(69,866)

988,693

รายการค้าที่สำคัญกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้ ล้านบาท งบการเงินรวม 2553 2552

งบการเงินเฉพาะบริษัท นโยบายการคิด 2553 2552 ต้นทุนระหว่างกัน

รายได้ค่าบริการ 1.02 0.01 14.59 11.53 ดอกเบี้ยรับ 0.50 0.25 24.28 10.66 รายได้ค่านายหน้า 23.13 33.18 76.54 67.00 และบริหารงาน ต้นทุนบริการ 13.15 12.18 1.27 1.21 ต้นทุนทางการเงิน 2.40 5.34 2.92 24.24 รายได้ค่าสิทธิการเช่าตัดบัญชี - - 2.48 2.48

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

ตามราคาตลาด MLR – 0.5% และ MLR 5% -10% ของราคา ขายตามสัญญา และ 5% ของรายได้ค่าบริการรับ ตามราคาตลาด MLR – 2.00% และ MLR – 0.50% ตามราคาที่ตกลงร่วมกัน

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


6. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

66

เพื่อวัตถุประสงค์ ในการจัดทำงบกระแสเงินสดตามมาตรฐานการบัญชีที่เกี่ยวข้อง เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม ประกอบด้วย

พันบาท

เงินสดและเงินฝากสถาบันการเงิน เงินลงทุนชั่วคราว - เงินฝากประจำ เงินฝากสถาบันการเงินที่มีภาระผูกพัน รวม หัก เงินฝากสถาบันการเงินที่มีภาระผูกพัน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท

2553

2552

2553

2552

563,033 2,953,581 766,177 4,282,791 (766,177) 3,516,614

904,334 5,096 2,059,901 2,969,331 (2,059,901) 909,430

247,737 2,753,500 766,177 3,767,414 (766,177) 3,001,237

525,111 17 2,059,901 2,585,029 (2,059,901) 525,128

7. ลูกหนี้การค้า สุทธิ

ลูกหนี้การค้า สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ประกอบด้วย

พันบาท

งบการเงินรวม 2553

กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้ค่าบริการ ค่าบริการค้างรับ - บริษัทย่อย ค่าบริการค้างรับ - บริษัทที่เกี่ยวข้อง ค่าบริการค้างรับ หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้ค่าบริการ สุทธิ ลูกหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน สุทธิ

2552

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2553

2552

- 7,476 7,476 (7,405) 71 71

- 9,691 9,691 (7,405) 2,286 2,286

34,259 - 34,259 - 34,259 34,259

26,907 2,268 29,175 29,175 29,175

กิจการอื่น ลูกหนี้ค่าบริการ ค่าบริการค้างรับ หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้ค่าบริการ สุทธิ ลูกหนี้อสังหาริมทรัพย์ จำนวนเงินตามที่ ได้ทำสัญญาจะซื้อจะขายแล้ว

156,579 (22,116) 134,463

107,211 (22,445) 84,766

34,892 (17,257) 17,635

28,854 (19,586) 9,268

31,001,064

28,859,504

8,414,177

7,879,676

ค่างวดที่ถึงกำหนดชำระ หัก เงินรับชำระแล้ว ลูกหนี้อสังหาริมทรัพย์ สุทธิ ลูกหนี้การค้า – กิจการอื่น สุทธิ

30,616,442 (30,555,658) 60,784 195,247

28,294,718 (28,246,504) 48,214 132,980

8,335,266 (8,335,266) - 17,635

7,690,249 (7,690,249) 9,268

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


มูลค่างานที่เสร็จแต่ยังไม่ ได้เรียกเก็บและค่างวดที่ยังไม่รับรู้เป็นรายได้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ประกอบด้วย

พันบาท

การรับรู้รายได้ตามอัตราส่วนของงานที่ทำเสร็จ หัก ค่างวดที่ถึงกำหนดชำระ สุทธิ รายการดังกล่าวประกอบด้วย มูลค่างานที่เสร็จแต่ยังไม่ ได้เรียกเก็บ ค่างวดที่ยังไม่รับรู้เป็นรายได้ สุทธิ

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท

2553

2552

2553

2552

30,214,752 (30,616,442) (401,690)

27,998,012 (28,294,718) (296,706)

8,413,334 (8,335,266) 78,068

7,736,000 (7,690,249) 45,751

365,485 (767,175) (401,690)

215,483 (512,189) (296,706)

78,961 (893) 78,068

63,381 (17,630) 45,751

67

ลูกหนี้การค้ากิจการอื่น - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม แยกตามอายุหนี้ที่ค้างชำระ ดังนี้

พันบาท

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท

2553

2552

2553

2552

ค่าบริการค้างรับ ไม่เกิน 3 เดือน มากกว่า 3 เดือน ถึง 6 เดือน มากกว่า 6 เดือน ถึง 12 เดือน มากกว่า 12 เดือนขึ้นไป รวม หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวมค่าบริการค้างรับ สุทธิ

134,463 2,383 199 19,534 156,579 (22,116) 134,463

84,766 868 1,423 20,154 107,211 (22,445) 84,766

17,635 - - 17,257 34,892 (17,257) 17,635

9,268 526 1,357 17,703 28,854 (19,586) 9,268

ลูกหนี้อสังหาริมทรัพย์ ไม่เกิน 3 เดือน มากกว่า 3 เดือน ถึง 6 เดือน มากกว่า 6 เดือน ถึง 12 เดือน มากกว่า 12 เดือนขึ้นไป รวมลูกหนี้อสังหาริมทรัพย์ ลูกหนี้การค้า - กิจการอื่น สุทธิ

60,784 - - - 60,784 195,247

48,214 - - - 48,214 132,980

- - - - - 17,635

9,268

ในส่วนค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้การค้ากิจการที่เกี่ยวข้องกันจำนวน 7.40 ล้านบาท และกิจการอื่นจำนวน 16.71 ล้านบาทเป็นรายการที่เกิดจากค่าบริการสาธารณูป โภคส่วนกลางในนิคมอุตสาหกรรมซึ่งบริษัทเหล่านี้ตั้งอยู่ โดยบริษัท เป็นผูบ้ ริหารและจัดเก็บ ซึง่ เมือ่ ประเทศไทยเกิดภาวะวิกฤติการณ์เศรษฐกิจในปี 2540 บริษทั เหล่านีป้ ระสบปัญหาในการดำเนินงาน บริษัทได้ตั้งสำรองค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ-ลูกหนี้ค่าบริการในขณะนั้นไว้เต็มจำนวนตามหลักเกณฑ์การตั้งสำรองของบริษัท ต่อมา บริษัทเหล่านี้ ได้มีการปรับโครงสร้างหนี้ภายใต้คณะกรรมการปรับโครงสร้างหนี้ (CDRAC) หรือเข้าสู่แผนฟื้นฟูกิจการภายใต้ ศาลล้มละลาย บริษัทจะยังมิ ได้ปรับปรุงกลับสำรองในส่วนของหนี้ภายใต้แผนฟื้นฟูกิจการของบริษัทเหล่านี้ จนกระทั่งเมื่อได้รับ ชำระหนี้ค่าบริการจากลูกหนี้เหล่านี้ซึ่งจะเป็นไปตามแผนฟื้นฟูกิจการหรือแผนปรับโครงสร้างหนี้ของแต่ละบริษัท

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


68

การเปลี่ยนแปลงหนี้สงสัยจะสูญในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้

พันบาท

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท

2553

2552

2553

2552

กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ยอดคงเหลือต้นงวด ตั้งเพิ่มในระหว่างงวด ได้รับชำระคืนในระหว่างงวด ยอดคงเหลือปลายงวด

7,405 - - 7,405

7,405 - - 7,405

- - - -

-

กิจการอื่น ยอดคงเหลือต้นงวด ตั้งเพิ่มในระหว่างงวด ได้รับชำระคืนในระหว่างงวด ยอดคงเหลือปลายงวด

22,445 4,853 (5,182) 22,116

21,089 2,353 (997) 22,445

19,586 - (2,329) 17,257

18,028 1,944 (386) 19,586

8. ค่างวดที่ยังไม่รับรู้เป็นรายได้และรายได้รับล่วงหน้า

ค่างวดที่ยังไม่รับรู้เป็นรายได้และรายได้รับล่วงหน้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม ประกอบด้วย

พันบาท

ค่างวดที่ยังไม่รับรู้เป็นรายได้ ลูกหนี้ตามสัญญาจะซื้อจะขาย หัก เงินรับผ่อนชำระจากลูกหนี้ เงินงวดค้างรับตามสัญญา หัก รายได้รอตัดบัญชี ค่างวดที่ยังไม่รับรู้เป็นรายได้ เงินมัดจำรับค่าอสังหาริมทรัพย์ ค่าบริการและค่าเช่ารับล่วงหน้า รวมค่างวดที่ยังไม่รับรู้เป็นรายได้และรายได้รับล่วงหน้า

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท

2553

2552

2553

2552

(9,407,409) 9,236,825 (170,584) 920,998 750,414 23,917 87,552 861,883

(10,834,878) 10,739,822 (95,056) 607,245 512,189 2,000 85,494 599,683

(211,459) 211,509 50 843 893 7,156 3,656 11,705

(211,459) 225,509 14,050 3,580 17,630 2,000 549 20,179

9. ต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ สุทธิ

ต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ประกอบด้วย

พันบาท

ต้นทุนที่ดินกำลังพัฒนา ต้นทุนในการพัฒนาโครงการ ต้นทุนทางการเงินที่บันทึกเป็นต้นทุนโครงการ งานเพิ่มเติมระบบงานสาธารณูป โภค เงินจ่ายล่วงหน้าค่าก่อสร้าง รวม

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท

2553

2552

2553

2552

8,757,844 14,476,996 2,604,139 7,192 22,236 25,868,407

7,682,741 13,491,101 2,571,601 7,751 3,023 23,756,217

1,909,333 4,293,424 750,000 7,022 154 6,959,933

1,909,333 4,285,231 750,000 7,581 1,150 6,953,295


พันบาท

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท

2553

2552

2553

2552

หัก จำนวนที่รับรู้เป็นต้นทุนขายสะสม จำนวนที่ โอนเป็นสินทรัพย์ ให้เช่าสะสม จำนวนที่ โอนสินทรัพย์เพื่อชำระหนี้ ต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ สุทธิ

(17,101,081) (1,576,960) (143,838) 7,046,528

(15,729,303) (1,511,095) (143,838) 6,371,981

(5,282,927) (46,774) (143,838) 1,486,394

(4,878,285) (46,774) (143,838) 1,884,398

ต้นทุนทางการเงินสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ที่รวมอยู่ ในต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์

32,538

64,041

-

4,125

69

ข้อมูลเกีย่ วกับต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ในบริษทั เหมราชพัฒนาทีด่ นิ จำกัด (มหาชน) บริษทั อีสเทิรน์ อินดัสเตรียล เอสเตท จำกัด บริษัท อีสเทิร์น ซีบอร์ด อินดัสเตรียล เอสเตท (ระยอง) จำกัด บริษัท เหมราช อีสเทิร์นซีบอร์ด อินดัสเตรียล เอสเตท จำกัด บริษทั เหมราช สระบุรี ทีด่ นิ อุตสาหกรรม จำกัด บริษทั เหมราช ระยอง ทีด่ นิ อุตสาหกรรม จำกัด และ บริษัท เอสเอ็มอี แฟคทอรี่ จำกัด มีดังนี้ การแสดงมูลค่าในงบการเงิน ต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 เป็นต้นทุนที่อยู่ ในทำเลเดียวกันของแต่ละ บริษัท และแสดงในราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะได้รับที่ต่ำกว่า ภาระผูกพันของสินทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ที่ดินบางส่วนในโครงการของบริษัทและบริษัทย่อยถูกจดจำนองเพื่อเป็นหลักประกัน ในการกู้ยืมเงินกับสถาบันการเงินในประเทศหลายแห่ง นิติบุคคล และบุคคลอื่น

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010

- - - - - - - - - - - - - - -

- - - - - - - - - - - - - - -

214.80

400.00

- 56.34 0.07 0.03

-

17.15 17.15 0.25 0.25 - - 37.00 37.00 480.00 480.00 645.00 645.00 3,935.04 2,931.60

- 56.34 0.07 0.03

1,003.44

1,080.96 1,080.96

214.80

400.00

550.13

515.85

-

16.65 17.86 1.92 1.34 126.04 118.15 36.02 37.21 484.88 483.57 668.36 663.72 7,703.42 5,647.97

1,007.29 - 83.16 108.85 997.48 1,074.29 0.03 0.03

1,015.01

2,224.18 2,076.97

549.36

493.04

- 0.90 - - 2.40 63.85 534.30

- 23.25 - -

-

248.90

108.00

87.00

5.00 0.05 6.40 50.31 651.35

17.59 -

-

50.00

60.00

462.00

เงินปันผลรับ สำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2553 2552

* งบการเงินของบริษัทย่อยดังกล่าวตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีอื่นซึ่งรวมอยู่ ในการจัดทำงบการเงินรวมสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 งบการเงินของบริษัทย่อยทั้งสองบริษัทมียอดรวมสินทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 เป็นจำนวนเงิน 1,499.92 ล้านบาท มียอดรวมรายได้ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2553 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2553 เป็นจำนวนเงิน 29.42 ล้านบาท

บริษัทย่อย : เป็นผู้ถือหุ้นและมีกรรมการร่วมกัน บริษัท อีสเทิร์นอินดัสเตรียลเอสเตท จำกัด 400.00 400.00 99.99 99.99 บริษัท อีสเทิร์น ซีบอร์ด อินดัสเตรียล เอสเตท (ระยอง) จำกัด 358.00 358.00 60.00 60.00 บริษัท เหมราช อีสเทิร์นซีบอร์ด อิสดัสเตรียลเอสเตท จำกัด 1,000.00 1,000.00 99.99 99.99 บริษัท เหมราช สระบุรี ที่ดินอุตสาหกรรม จำกัด (*) (เดิมชื่อ “บริษัท เอส ไอ แอล ที่ดินอุตสาหกรรม จำกัด”) (1) 500.00 - 99.99 - บริษัท เหมราช ระยอง ที่ดินอุตสาหกรรม จำกัด (*) (เดิมชื่อ “บริษัท ระยองที่ดิน อุตสาหกรรม จำกัด”) (2) 1,000.00 - 99.99 - บริษทั อีสเทิรน์ ไพพ์ ไลน์ เซอร์วสิ เซส จำกัด (3) 100.00 100.00 99.99 99.99 H-International (BVI) Company Limited (4) 0.08 0.08 100.00 100.00 Hemaraj International Limited (5) 0.03 0.03 100.00 100.00 บริษัท เอช-คอนสตรัคชั่น แมนเนจเม้นท์ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด 17.15 17.15 99.99 99.99 บริษัท เดอะพาร์คเรสซิเดนซ์ จำกัด 0.25 0.25 99.99 99.99 บริษัท เหมราช วอเตอร์ จำกัด (6) 100.00 100.00 99.99 99.99 บริษัท เอสเอ็มอี แฟคทอรี่ จำกัด 37.00 37.00 99.99 99.99 บริษัท เอช - ฟีนิกซ์ พร็อพเพอร์ตี้ จำกัด (7) 480.00 480.00 99.99 99.99 บริษัท เหมราช คลีน วอเตอร์ จำกัด 645.00 645.00 99.99 99.99 รวมเงินลงทุน - บริษัทย่อย

มูลค่าเงินลงทุน (ล้านบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท มูลค่าทางบัญชี ทุนชำระแล้ว (ล้านบาท) สัดส่วนเงินลงทุน (ร้อยละ) (ราคาทุน) ตามสัดส่วนเงินลงทุน บริษัท 2553 2552 2553 2552 2553 2552 2553 2552 2553 2552

ณ วันที่ 31 ธันวาคม บริษัทมีเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม ดังนี้

10.1 เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม

10. เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม

70


รายงานประจํ า ปี 2553

เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม (ต่อ)

534.30 13.92 63.12 611.34

13.92 548.22

- - 1.62 -

10.50

1.80

651.35 9.27 34.92 695.54

9.27 660.62

-

7.87

1.40

เงินปันผลรับ สำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2553 2552

(1) ในปี 2553 บริษัทได้จ่ายเงินค่าซื้อเงินลงทุนในบริษัท เหมราช สระบุรี ที่ดินอุตสาหกรรม จำกัด (HSIL) แก่บริษัท ซีเมนต์ ไทย โฮลดิ้ง จำกัด (CHC) เป็นจำนวนเงิน 763.69 ล้านบาท (หมายเหตุ 10.2) (2) ถือหุ้นทางอ้อมโดยผ่านบริษัท เหมราช สระบุรี ที่ดินอุตสาหกรรม จำกัด ร้อยละ 99.99 (3) ถือหุ้นทางตรง ร้อยละ 74.99 และถือหุ้นทางอ้อมโดยผ่านบริษัท อีสเทิร์นอินดัสเตรียลเอสเตท จำกัด อีกร้อยละ 25 (4) H-International (BVI) Company Limited จดทะเบียนใน British Virgin Islands (ใช้สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐในการดำเนินธุรกิจ) ไม่มีการสำรองภาษีเงินได้ของประเทศไทยไว้สำหรับกำไรของบริษัทย่อยในต่างประเทศที่ยังไม่ ได้แบ่งสรร เนื่องจากบริษัท ตั้งใจที่จะคงกำไรดังกล่าวไว้ที่บริษัทย่อยเพื่อวัตถุประสงค์ ในการลงทุนต่อ (5) Hemaraj International Limited จดทะเบียนใน Cayman Islands (ใช้สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐในการดำเนินธุรกิจ) บริษัทใช้ข้อมูลจากงบการเงินที่จัดทำขึ้นโดยฝ่ายบริหารของบริษัทย่อยและไม่ผ่านการตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชี อย่างไรก็ตามยอดสินทรัพย์ รวมและกำไรสุทธิที่แสดงในงบการเงินดังกล่าวไม่มีสาระสำคัญต่องบการเงินรวม

บริษัทร่วม : เป็นผู้ถือหุ้นและมีกรรมการร่วมกัน บริษัท โคเฟลี (ประเทศไทย) จำกัด (เดิมชื่อ “บริษัท เอลโย่-เอช ฟาซิลีตี้ แมนเนจเมนท์ จำกัด”) 50.00 50.00 39.99 39.99 26.97 25.14 20.00 20.00 26.97 25.15 บริษัท เหมราช สระบุรี ที่ดินอุตสาหกรรม จำกัด (เดิมชื่อ “บริษัท เอส ไอ แอล ที่ดินอุตสาหกรรม จำกัด”) (1) - 500.00 - 25.00 - 276.01 - 239.75 - 265.03 บริษทั เหมราช ระยอง ทีด่ นิ อุตสาหกรรม จำกัด (เดิมชื่อ “บริษัท ระยองที่ดินอุตสาหกรรม จำกัด”) (2) - 1,000.00 - 25.00 - - - - - - บริษัท เก็คโค่-วัน จำกัด (8) 7,719.00 324.00 35.00 35.00 3,188.88 207.12 2,701.65 113.40 3,188.88 207.12 บริษัท ห้วยเหาะไทย จำกัด (9) 527.69 527.69 51.00 51.00 263.53 255.14 267.22 267.22 285.39 277.17 บริษัท โรงไฟฟ้าห้วยเหาะ จำกัด (9) 50.00 50.00 12.75 12.75 - - - - - - (ล้านเหรียญสหรัฐ) (ล้านเหรียญสหรัฐ) รวมเงินลงทุน - บริษัทร่วม 3,479.38 763.41 2,988.87 640.37 3,501.24 774.47 รวมเงินลงทุน 3,479.38 763.41 6,923.91 3,571.97 11,204.66 6,422.44 เงินปันผลรับซึ่งแสดงในงบกำไรขาดทุนสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทอื่น รวม

มูลค่าเงินลงทุน (ล้านบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท มูลค่าทางบัญชี ทุนชำระแล้ว (ล้านบาท) สัดส่วนเงินลงทุน (ร้อยละ) (ราคาทุน) ตามสัดส่วนเงินลงทุน บริษัท 2553 2552 2553 2552 2553 2552 2553 2552 2553 2552

71

• Annual Report 2010


72

(6) ถือหุ้นทางอ้อมโดยผ่านบริษัท เหมราช คลีน วอเตอร์ จำกัด ร้อยละ 99.99 (7) ในปี 2552 บริษัท เอช – ฟีนิกซ์ พร็อพเพอร์ตี้ จำกัด ได้เรียกชำระค่าหุ้นครบเต็มจำนวน และได้จดทะเบียนลดทุนจดทะเบียนลงเหลือ 480 ล้านบาท (8) ถือหุ้นทางตรงในบริษัท เก็คโค่-วัน จำกัดร้อยละ 35 ในปี 2553 บริษัทได้จ่ายชำระค่าหุ้นเพิ่มทุนให้แก่บริษัท เก็คโค่-วัน จำกัด เป็นจำนวนเงิน 2,588.25 ล้าน บาท เพื่อรักษาสัดส่วนการถือหุ้นเดิม (9) ถือหุ้นทางตรงในบริษัท ห้วยเหาะไทย จำกัด ร้อยละ 51 โดย บริษัท ห้วยเหาะไทย จำกัด ถือหุ้นในบริษัท โรงไฟฟ้าห้วยเหาะ จำกัด จดทะเบียนในประเทศ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ใช้สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐในการดำเนินธุรกิจ) ร้อยละ 25 บริษัทไม่ ได้จัดทำงบการเงินรวมในส่วนของ บริษัท ห้วยเหาะไทย จำกัด เนื่องจากบริษัทเป็นหุ้นส่วนยุทธศาสตร์ ส่วนผู้ลงทุนอื่นมีความเชี่ยวชาญในการดำเนินงานโรงไฟฟ้าทั้งหมด และผู้ลงทุนอื่นให้การสนับสนุนทางการเงินกับ บริษัทเพื่อนำไปลงทุนในบริษัท ห้วยเหาะไทย จำกัดโดยได้ชำระคืนทั้งจำนวนแล้วในปี 2553

10.2 การซื้อธุรกิจ

เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2553 บริษัทจ่ายเงินค่าซื้อเงินลงทุนร้อยละ 75 ในบริษัท เหมราช สระบุรี ที่ดิน อุตสาหกรรม จำกัด (HSIL) ให้แก่บริษัท ซีเมนต์ ไทย โฮลดิ้ง จำกัด (CHC) เป็นจำนวนเงิน 763.69 ล้านบาท ทำให้บริษัทถือหุ้นใน HSIL เพิ่มจากเดิมร้อยละ 25 เป็นร้อยละ 99.99 และเนื่องจาก HSIL ถือหุ้นในบริษัท เหมราช ระยอง ที่ดินอุตสาหกรรม จำกัด (HRIL) ร้อยละ 99.99 จึงทำให้บริษัทเป็นบริษัทใหญ่ของทั้ง HSIL และ HRIL ด้วย ดังนั้นงบการเงินรวมของบริษัทจึงได้รวมงบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และงบกำไร ขาดทุนสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2553 จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ของบริษัทย่อย ทั้งสองแห่งดังกล่าว นอกจากการเข้าทำรายการซื้อเงินลงทุนโดยใช้สิทธิ์ซื้อหุ้นที่คงเหลือร้อยละ 75 จาก CHC แล้ว บริษัทได้ ให้ HSIL กู้ยืมเงินจำนวน 380 ล้านบาทเพื่อจ่ายคืนเงินกู้ยืมระยะยาวให้แก่ CHC ด้วย การจ่ายซื้อเงินลงทุนใน HSIL เป็นจำนวนเงิน 763.69 ล้านบาทดังกล่าวข้างต้น ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2553 ก่อ ให้เกิดกำไรจากการต่อรองราคาซื้อ ซึ่งแสดงเป็นรายได้ ในงบกำไรขาดทุนรวมสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 เป็นจำนวนเงิน 144.15 ล้านบาท ตามรายละเอียดการซื้อธุรกิจดังต่อไปนี้

(หน่วย : พันบาท)

มูลค่ายุติธรรมสุทธิของสินทรัพย์และหนี้สิน สินทรัพย์ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 34,731 ลูกหนี้การค้า 19,452 ต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ 1,504,000 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น 2,091 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สุทธิ 52,909 สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น 25 หนี้สิน เจ้าหนี้การค้า 10,343 เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 380,000 ภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย 10,778 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 22,676 สินทรัพย์สุทธิ เงินสดจ่ายซือ้ ธุรกิจและมูลค่ายุตธิ รรมของส่วนได้เสียทีถ่ อื อยูก่ อ่ นซือ้ ธุรกิจ มูลค่ายุติธรรมของส่วนได้เสียที่ถืออยู่ก่อนซื้อธุรกิจ (ร้อยละ 25) 280,314 เงินสดจ่ายซือ้ เงินลงทุนเพิม่ เติม ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2553 (ร้อยละ 75) 763,689 กำไรจากการต่อรองราคาซื้อ

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010

1,613,208

423,797 1,189,411

1,044,003 145,408


บริษัทย่อยทั้งสองแห่งที่ซื้อมามีรายได้จากการขายรวมเป็นจำนวน 29.32 ล้านบาท และผลขาดทุนสุทธิรวมเป็น จำนวน 1.87 ล้านบาท ซึ่งรวมอยู่ ในงบการเงินรวมของบริษัทสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2553 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ถ้าการซื้อกิจการดังกล่าวเกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553 รายได้รวม และกำไรสุทธิรวมในงบการเงินรวมของบริษัทย่อยทั้งสองแห่งสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 จะมี จำนวน 252.57 ล้านบาท และจำนวน 92.23 ล้านบาท ตามลำดับ

73

11. เงินลงทุนระยะยาวอื่น สุทธิ

เงินลงทุนระยะยาวอื่น สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ประกอบด้วย

กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ศรีราชา ฮาเบอร์ จำกัด (มหาชน) บริษัท อีสเทิร์น ฟลูอิด ทรานสปอร์ต จำกัด รวม หัก ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุน เงินลงทุนระยะยาวอื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน สุทธิ อื่นๆ บริษัท โกลว์ ไอพีพี จำกัด บริษัทอื่น รวม หัก ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุน เงินลงทุนระยะยาวอื่น - อื่นๆ สุทธิ เงินลงทุนระยะยาวอื่น สุทธิ

พันบาท

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท

2553

2552

2553

2552

15,000 1,500 16,500 (15,000) 1,500

15,000 1,500 16,500 (15,000) 1,500

- - - - -

-

142,500 1,000 143,500 (717) 142,783 144,283

142,500 1,000 143,500 (717) 142,783 144,283

142,500 - 142,500 - 142,500 142,500

142,500 142,500 142,500 142,500

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010 - - - -

32,740 70,897 884 104,521

(891) (1,324) - (2,215)

(2,144) 20,381 (145) - 25,040 (25,040) 18,092 31,849 69,573 884 102,306

386,380 1,937,432 14,236 3,989 298,858 - 2,640,895 - 13,129 68 13,197

- 392,263 7,220 891 111,754 - 512,128 - 3,526 44 3,570

- 96,338 1,588 781 18,874 - 117,581

- 16,474 112 16,586

- 478,795 8,780 1,672 130,628 - 619,875

117,581

113,494

งบการเงินรวม 2553 2552

- (181) - (181)

- (9,806) (28) - - - (9,834)

(*) ที่ดินและอาคารให้เช่าเป็นส่วนที่ โอนมาจากต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 สินทรัพย์ ให้เช่าของบริษัทและบริษัทย่อยถูกจดจำนองเพื่อเป็นหลักประกันในการกู้ยืมเงินกับสถาบันการเงินในประเทศหลายแห่ง และบุคคลอื่น

ค่าเสื่อมราคาที่รวมอยู่ ในงบกำไรขาดทุนสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม : ต้นทุนบริการ

- - 944 582 31,754 - 33,280

388,524 1,917,051 13,437 3,407 242,064 25,040 2,589,523

ยอดต้นปี

(หน่วย พันบาท)

31,849 53,099 772 85,720

386,380 1,458,637 5,456 2,317 168,230 2,021,020

3,570

3,589

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2553 2552

32,740 57,768 816 91,324

388,524 1,524,788 6,217 2,516 130,310 25,040 2,077,395

การเปลี่ยนแปลงราคาทุน การเปลี่ยนแปลงค่าเสื่อมราคาสะสม มูลค่าตามบัญชีสุทธิ เพิ่มขึ้น จำหน่าย/โอน ยอดปลายปี ยอดต้นปี ค่าเสื่อมราคา จำหน่าย/โอน ยอดปลายปี ยอดต้นปี ยอดปลายปี

สินทรัพย์ ให้เช่า สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ประกอบด้วย

งบการเงินรวม ที่ดิน (*) อาคาร (*) ส่วนปรับปรุงอาคาร เครื่องตกแต่งและติดตั้ง ฐานวางท่อขนถ่ายวัตถุ งานระหว่างก่อสร้าง สินทรัพย์ ให้เช่า สุทธิ งบการเงินเฉพาะบริษัท ที่ดิน (*) อาคาร (*) ส่วนปรับปรุงอาคาร สินทรัพย์ ให้เช่า สุทธิ

12. สินทรัพย์ให้เช่า สุทธิ

74


ยอดต้นปี

การเปลี่ยนแปลงราคาทุน เพิ่มขึ้น (*) จำหน่าย/โอน ยอดปลายปี

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ประกอบด้วย การเปลี่ยนแปลงค่าเสื่อมราคาสะสม ยอดต้นปี ค่าเสื่อมราคา (*) จำหน่าย/โอน ยอดปลายปี

4,579 87,761 3,225 74,839 30,853 116,538 19,482 88,060 24,946 450,283 (10,166) 440,117

5,999 151,792 10,196 75,135 32,093 192,695 16,252 82,838 17,253 584,253 (10,166) 574,087

มูลค่าตามบัญชีสุทธิ ยอดต้นปี ยอดปลายปี

(หน่วย พันบาท)

* ได้รวมทรัพย์สินจากการซื้อธุรกิจในราคาทุน 713.46 ล้านบาท และค่าเสื่อมราคาสะสม 676.81 ล้านบาท หากไม่รวมทรัพย์สินดังกล่าว สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ทรัพย์สินรวมเพิ่มขึ้นจำนวน 160.77 ล้านบาท และมีค่าเสื่อมราคารวม จำนวน 63.45 ล้านบาท

งบการเงินรวม ที่ดิน 4,579 1,420 - 5,999 - - - - อาคารและสิ่งปลูกสร้าง 138,815 73,229 44,373 256,417 51,054 53,571 - 104,625 ส่วนปรับปรุงอาคาร 8,876 373,165 2,583 384,624 5,651 368,777 - 374,428 เครื่องตกแต่งและอุปกรณ์ 196,738 277,936 3,865 478,539 121,899 281,505 - 403,404 ยานพาหนะ 96,803 17,765 (419) 114,149 65,950 16,525 (419) 82,056 ท่อส่งน้ำดิบ 129,167 13,281 74,309 216,757 12,629 11,433 - 24,062 อ่างเก็บน้ำธรรมชาติ 26,315 - - 26,315 6,833 3,230 - 10,063 ระบบผลิตน้ำเพื่ออุตสาหกรรม 100,506 - - 100,506 12,446 5,222 - 17,668 งานระหว่างก่อสร้าง 24,946 117,437 (125,130) 17,253 - - - - รวม 726,745 874,233 (419) 1,600,559 276,462 740,263 (419) 1,016,306 หัก ค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ (*) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สุทธิ

13. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สุทธิ

75

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010

ยอดต้นปี

763,692

อาคารและอุปกรณ์ที่คิดค่าเสื่อมราคาเต็มจำนวนแล้วแต่ยังใช้งานอยู่

(*) ค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ทั้งจำนวนเป็นค่าเผื่อการด้อยค่าสำหรับงานระหว่างก่อสร้างในส่วนที่หยุดดำเนินการก่อสร้าง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ที่ดิน และอาคารของบริษัทและบริษัทย่อยถูกจดจำนองเพื่อเป็นหลักประกันในการกู้ยืมเงินกับสถาบันการเงินในประเทศหลายแห่ง

41,488 21,965 63,453

113,859

32,399 24,067 56,466

งบการเงินรวม 2553 2552

ค่าเสื่อมราคาที่รวมอยู่ ในงบกำไรขาดทุนสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม : ต้นทุนบริการ ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร รวมค่าเสื่อมราคาสำหรับปี

(หน่วย พันบาท)

2,983 57,251 138 13,552 15,378 2,193 724 92,219 (724) 91,495

81,438

2,021 14,975 16,996

65,830

1,905 16,522 18,427

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2553 2552

2,983 62,967 192 16,694 8,695 2,593 724 94,848 (724) 94,124

การเปลี่ยนแปลงราคาทุน การเปลี่ยนแปลงค่าเสื่อมราคาสะสม มูลค่าตามบัญชีสุทธิ เพิ่มขึ้น จำหน่าย/โอน ยอดปลายปี ยอดต้นปี ค่าเสื่อมราคา จำหน่าย/โอน ยอดปลายปี ยอดต้นปี ยอดปลายปี

งบการเงินเฉพาะบริษัท ที่ดิน 2,983 - - 2,983 - - - - อาคารและสิ่งปลูกสร้าง 88,874 - - 88,874 25,907 5,716 - 31,623 ส่วนปรับปรุงอาคาร 3,482 - - 3,482 3,290 54 - 3,344 เครื่องตกแต่งและอุปกรณ์ 78,166 3,026 - 81,192 61,472 6,168 - 67,640 ยานพาหนะ 44,927 11,341 - 56,268 36,232 4,658 - 40,890 ท่อส่งน้ำดิบ 6,008 - - 6,008 3,415 400 - 3,815 งานระหว่างก่อสร้าง 724 - - 724 - - - - รวม 225,164 14,367 - 239,531 130,316 16,996 - 147,312 หัก ค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ (*) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สุทธิ

13. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สุทธิ (ต่อ)

76


14. สิทธิการเช่าและที่ดินเพื่อจัดหาผลประโยชน์ สุทธิ

สิทธิการเช่าและที่ดินเพื่อจัดหาผลประโยชน์ สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ประกอบด้วย

พันบาท

ต้นทุนที่ดินรอการพัฒนา ต้นทุนที่ดินโครงการที่หยุดพัฒนาชั่วคราว ต้นทุนในการพัฒนาโครงการ ที่หยุดพัฒนาชั่วคราว ต้นทุนทางการเงินที่บันทึกเป็นต้นทุนโครงการ สิทธิการเช่าที่ดิน รวม หัก จำนวนที่รับรู้เป็นต้นทุนขายสะสม จำนวนที่ โอนสินทรัพย์เพื่อชำระหนี้ ค่าเผื่อการลดมูลค่า สิทธิการเช่าและที่ดินเพื่อจัดหาผลประโยชน์ สุทธิ

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท

2553 10,201 1,135,711

2552 10,201 1,135,711

2553 10,201 1,135,711

2552 10,201 1,135,711

268,452 556,119 77,077 2,047,560 (841,514) (645,413) (245,696) 314,937

268,452 556,119 77,077 2,047,560 (841,514) (645,413) (245,696) 314,937

268,452 556,119 77,077 2,047,560 (841,514) (645,413) (245,696) 314,937

268,452 556,119 77,077 2,047,560 (841,514) (645,413) (245,696) 314,937

77

ข้อมูลเกี่ยวกับสิทธิการเช่าและที่ดินเพื่อจัดหาผลประโยชน์ ในบริษัท มีดังนี้ การแสดงมูลค่าในงบการเงิน ในปี 2551 บริษัทจัดให้มีการประเมินราคาโดยบริษัทผู้ประเมินราคาอิสระ ซึ่งเกิดส่วนลดราคาตามบัญชีจากที่เคย ประเมินราคาในปี 2549 บริษัทได้บันทึกรายการส่วนลดดังกล่าวเป็นรายการ “ค่าเผื่อการการลดมูลค่าโครงการพัฒนา อสังหาริมทรัพย์” จำนวน 11.20 ล้านบาทไว้ ในงบกำไรขาดทุนสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 ภาระผูกพันของสินทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ที่ดินบางส่วนในโครงการของบริษัทนำไปจดจำนองเพื่อเป็นหลักประกัน ในการกู้ยืมเงินกับสถาบันการเงินภายในประเทศหลายแห่ง

15. กองทุนจม สุทธิ

ตามที่กล่าวไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ 29 บริษัทและบริษัทย่อยได้เข้าร่วมดำเนินโครงการจัดตั้งนิคม อุตสาหกรรมกับการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (“กนอ.”) ตามสัญญาร่วมดำเนินงานฯ ซึ่งกำหนดให้บริษัทและ บริษัทย่อยเป็นผู้ ให้บริการระบบสาธารณูป โภคและสิ่งอำนวยความสะดวกแก่ผู้ประกอบการในนิคมอุตสาหกรรม และ ต้องจัดให้มีกองทุนเพื่อการบำรุงรักษาและสร้างทดแทนระบบสาธารณูป โภค และสิ่งอำนวยความสะดวกในนิคม อุตสาหกรรม (“กองทุนจม”) บริษัทและบริษัทย่อยได้ชำระเงินสดและโอนที่ดินอีกส่วนหนึ่งจัดตั้งเป็นกองทุนจม และยก สิทธิ์ ในการเบิกจ่ายให้แก่ กนอ. ตามเงื่อนไขในสัญญา ทั้งนี้บริษัทและบริษัทย่อย ได้บันทึกเงินสดและที่ดินที่ชำระให้กับ การนิคมอุตสาหกรรมเพื่อเป็นกองทุนจม โดยอิงตามผลประโยชน์ที่จะได้รับในอนาคตตามสัญญาร่วมดำเนินงาน ซึ่ง ตัดจำหน่ายเป็นระยะเวลา 20 ปี กองทุนจม สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ประกอบด้วย

พันบาท

กองทุนจม หัก ตัดจำหน่ายสะสม กองทุนจม สุทธิ

งบการเงินรวม 2553 183,777 (103,468) 80,309

2552 180,423 (98,063) 82,360

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2553 52,405 (32,721) 19,684

2552 52,405 (31,191) 21,214

16. เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน

เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทมีเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินในประเทศหลายแห่ง จำนวนเงินรวม 450 ล้านบาท โดยมีอัตราดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 เท่ากับร้อยละ 4.40 ถึง 5.375 ต่อปี

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


78

เงินเบิกเกินบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัทและบริษัทย่อยมีวงเงินสำหรับเงินเบิกเกินบัญชีจากสถาบันการเงินใน ประเทศรวมทั้งสิ้น 160 ล้านบาท และ 140 ล้านบาท ตามลำดับ ในอัตราดอกเบี้ยร้อยละ MOR และ MOR + 0.50 ต่อปี เงินเบิกเกินบัญชีดังกล่าว ค้ำประกันโดยการจดจำนองที่ดินและสิ่งปลูกสร้างในโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์บาง ส่วนของบริษัทและบริษัทย่อย

17. เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการและบุคคลอื่น

เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการและบุคคลอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม ประกอบด้วย

พันบาท

ตั๋วแลกเงินขายลดในอัตราร้อยละ 2.90-3.75 โดยไม่มีหลักทรัพย์ค้ำประกัน - กิจการอื่น - บุคคลอื่น ตั๋วสัญญาใช้เงินอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 4.75–5.50 - บุคคลอื่น รวมเงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการและบุคคลอื่น

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท

2553

2552

2553

2552

- -

380,000 40,000

- -

380,000 40,000

30,000 30,000

30,000 450,000

- -

420,000

18. หุ้นกู้

ในปี 2553 บริษัทได้ออกจำหน่ายหุ้นกู้ ไม่ด้อยสิทธิและไม่มีหลักประกัน จำนวนเงินรวม 6,000 ล้านบาท (6,000,000 หน่วย มูลค่าตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท) โดยออกจำหน่ายในราคาหน่วยละ 1,000 บาท จ่ายชำระดอกเบี้ยทุก ไตรมาส ออกเสนอขายแก่บุคคลในวงจำกัด ผู้ลงทุนสถาบันและผู้ลงทุนรายใหญ่ ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้ ครั้งที่

วันที่

ครบกำหนด

อัตราดอกเบี้ย

1/2553 5 มีนาคม 2553 5 มีนาคม 2556 ร้อยละ 4.50 2/2553 8 เมษายน 2553 8 เมษายน 2556 ร้อยละ 4.50 8 เมษายน 2553 8 เมษายน 2557 ร้อยละ 4.90 3/2553 25 พฤษภาคม 2553 25 พฤษภาคม 2556 ร้อยละ 4.50 25 พฤษภาคม 2553 25 พฤษภาคม 2558 ปีที่ 1-3 ร้อยละ 4.90 ปีที่ 4 ร้อยละ 5.80 และ ปีที่ 5 ร้อยละ 6.50 4/2553 21 กรกฎาคม 2553 21 กรกฎาคม 2560 ปีที่ 1-3 ร้อยละ 4.90 ปีที่ 4-6 ร้อยละ 6.00 และ ปีที่ 7 ร้อยละ 6.50 5/2553 5 ตุลาคม 2553 5 ตุลาคม 2562 ปีที่ 1-3 ร้อยละ 4.90 ปีที่ 4-6 ร้อยละ 6.00 ปีที่ 7 ร้อยละ 6.50 และ ปีที่ 8-9 ร้อยละ 6.75 รวมทั้งสิ้น

จำนวนเงิน (พันบาท)

450,000 562,000 400,000 150,000 1,500,000 2,300,000 638,000

6,000,000

19. เงินกู้ยืมระยะยาวและเงินทดรองจ่ายจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

รายงานประจํ า ปี 2553

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทมีรายการเงินกู้ยืมจาก H-International (BVI) Company Limited ซึ่งเป็น บริษัทย่อยแห่งหนึ่งในต่างประเทศ จำนวนเงิน 21.66 ล้านเหรียญสหรัฐและ 332.38 ล้านบาท (2552: 21.66 ล้าน เหรียญสหรัฐและ 332.48 ล้าน

• Annual Report 2010


รายงานประจํ า ปี 2553

450.00

328.75

MLR+0.50

ปีที่ 1 MLR-1.00, ปีที่ 2 MLR-0.75, ปีที่ 3 MLR-0.50 MLR

-

350.00

ปีที่ 1-2 MLR-1.50, ปีที่ 3-4 MLR-1.125, ปีที่ 5 MLR–1.00

280.00

589.81

500.00

400.00

เงินต้นคงเหลือ การจ่ายชำระดอกเบี้ย (ล้านบาท) ทุกงวด อัตรา (ร้อยละ) ต่อปี 2553 2552

ก. เงินกู้ยืมจากธนาคารพาณิชย์ ในประเทศ ประกอบด้วย ก.1 450 มิถุนายน 2551 - ชำระคืนทุก 3 เดือน รวม 28 งวด เริ่มงวดแรก 9 เดือน สิ้นเดือน ธันวาคม 2558 นับจากวันเบิกถอนเงินกู้งวดแรก งวดที่ 1-12 ชำระคืนงวดละ 12.50 ล้านบาท งวดที่ 13-20 ชำระคืนงวดละ 15.00 ล้านบาท งวดที่ 21-27 ชำระคืนงวดละ 22.50 ล้านบาท งวดที่ 28 ชำระส่วนที่เหลือทั้งหมด ก.2 500 ธันวาคม 2551 - ชำระคืนทุก 3 เดือน รวม 16 งวด เริ่มงวดแรกในเดือน สิ้นเดือน ธันวาคม 2556 มีนาคม 2553 งวดที่ 1-8 ชำระคืนงวดละ 12.50 ล้านบาท งวดที่ 9-12 ชำระคืนงวดละ 37.50 ล้านบาท งวดที่ 13-16 ชำระคืนงวดละ 62.50 ล้านบาท ก.3 700 มีนาคม 2552 - ชำระคืนเมื่อมีการปลอดจำนองห้องชุดในโครงการ สิ้นเดือน มีนาคม 2555 ก.4 436 ธันวาคม 2552 - ชำระคืนทุก 6 เดือน เริ่มงวดแรกเมื่อครบ 13 เดือน สิ้นเดือน ธันวาคม 2557 นับจากวันเบิกถอนเงินกู้งวดแรก งวด 1 ชำระคืนงวดละ 92.00 ล้านบาท งวด 2-7 ชำระคืนงวดละ 53.00 ล้านบาท งวด 8 ชำระคืนงวดละ 13.00 ล้านบาท งวด 9 ชำระส่วนที่เหลือทั้งหมด หรือชำระคืนเมื่อมีการปลอดจำนองที่ดิน

บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน)

วงเงิน (ล้านบาท)

เงื่อนไขการกู้ยืม ระยะเวลา การให้สินเชื่อ การจ่ายชำระเงินต้น

เงินกู้ยืมระยะยาวอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม ประกอบด้วย

20. เงินกู้ยืมระยะยาวอื่น

79

• Annual Report 2010


รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010

วงเงิน (ล้านบาท)

เงื่อนไขการกู้ยืม ระยะเวลา การให้สินเชื่อ การจ่ายชำระเงินต้น

- -

1,769.81

17.34 200.00

1,346.09

(*) เงินกู้ยืมระยะยาวส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปีสำหรับงบการเงินเฉพาะบริษัท สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 เป็นจำนวนเงินประมาณ 353.75 ล้านบาท และ 389.81 ล้านบาท ตามลำดับ เงินกูย้ มื ระยะยาวส่วนทีม่ กี ำหนดชำระตามประมาณการโอนภายในหนึง่ ปี สำหรับงบการเงินเฉพาะบริษทั สำหรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 เป็นจำนวนเงินประมาณ 17.34 ล้านบาท และ 244.89 ล้านบาท ตามลำดับ

-

-

เงินต้นคงเหลือ การจ่ายชำระดอกเบี้ย (ล้านบาท) ทุกงวด อัตรา (ร้อยละ) ต่อปี 2553 2552

ก.5 1,000 ยังไม่ ได้เบิกถอนเงินกู้ ชำระคืนทุก 6 เดือน เริ่มงวดแรกเมื่อครบ 13 เดือน สิ้นเดือน MLR งวดแรก นับจากวันเบิกถอนเงินกู้งวดแรก งวด 1 ชำระคืนงวดละ 208.00 ล้านบาท งวด 2-7 ชำระคืนงวดละ 122.00 ล้านบาท งวด 8 ชำระคืนงวดละ 30.00 ล้านบาท งวด 9 ชำระส่วนที่เหลือทั้งหมด หรือชำระคืนเมื่อมีการปลอดจำนองที่ดิน ก.6 332 กุมภาพันธ์ 2553 - ชำระคืนครั้งเดียวทั้งจำนวน เมื่อครบกำหนดระยะเวลา 60 เดือน สิ้นเดือน MLR กุมภาพันธ์ 2558 นับจากวันเบิกถอนเงินกู้งวดแรก หรือชำระคืน เมื่อมีการปลอดจำนองที่ดิน ก.7 800 ธันวาคม 2553 - ชำระคืนทุก 3 เดือน เริ่มงวดแรกในปี 2555 สิ้นเดือน MLR – 1.50 มีนาคม 2560 ปี 2555 ชำระคืนงวดละ 38.50 ล้านบาท ปี 2556 - 2558 ชำระคืนงวดละ 43.25 ล้านบาท ปี 2559 ชำระคืนงวดละ 31.75 ล้านบาท ปี 2560 ชำระส่วนที่เหลือทั้งหมด หรือชำระคืนเมื่อมีการปลอดจำนองที่ดิน รวม 4,218 (*)

เงินกู้ยืมระยะยาวอื่น (ต่อ)

80


เงื่อนไขการกู้ยืม ระยะเวลา การให้สินเชื่อ การจ่ายชำระเงินต้น

55.06

ปีที่1-3 MLR-2.00, ปีที่ 4-5 MLR-1.00 ปีที่ 1-2 MLR-1.75, 0.69 ปีที่ 3-4 MLR-1.25, ปีที่ 5-6 MLR-1.00 ปีที่ 1 MLR-1.00, - ปีที่ 2 MLR-0.75, ปีที่ 3 MLR-0.50, ปีที่ 4-5 MLR MLR-1.50 90.00

MLR-0.75

118.00

15.73

10.70

103.06

เงินต้นคงเหลือ การจ่ายชำระดอกเบี้ย (ล้านบาท) ทุกงวด อัตรา (ร้อยละ) ต่อปี 2553 2552

ก. เงินกู้ยืมจากธนาคารพาณิชย์ ในประเทศ ประกอบด้วย ก.1 300 มกราคม 2552 - ชำระคืนทุก 3 เดือน งวดละ 12.0 ล้านบาท เริ่มงวดแรกในเดือน สิ้นเดือน ธันวาคม 2554 มีนาคม 2552 หรือชำระคืนเมื่อมีการปลอดจำนองที่ดิน ธันวาคม 2546 - ชำระคืนเมื่อมีการปลอดจำนองที่ดิน สิ้นเดือน ธันวาคม 2551 ก.2 50 กรกฎาคม 2548 - ชำระคืนเป็นรายเดือนๆ ละ 0.84 ล้านบาท รวม 60 งวด สิ้นเดือน กรกฎาคม 2554 เริ่มชำระงวดแรกในเดือนที่ 13 นับจากวันเบิกถอนเงินกู้งวดแรก โดยในเดือนสุดท้ายให้ชำระส่วนที่เหลือทั้งจำนวน ก.3 80 ธันวาคม 2549 - ชำระคืนทุก 3 เดือน งวดละ 5 ล้านบาทเริ่มงวดแรกในเดือนที่ 15 สิ้นเดือน ธันวาคม 2554 นับจากวันเบิกถอนเงินกู้งวดแรก ก.4 175 กันยายน 2551 - ชำระคืนทุก 3 เดือน งวดละ 7.0 ล้านบาท รวม 25 งวด โดย สิ้นเดือน กันยายน 2558 งวดที่ 25 ชำระส่วนที่เหลือทั้งหมด เริ่มงวดแรกในเดือนที่ 13 นับจากวันเบิกถอนเงินกู้ งวดแรก หรือชำระคืนเมื่อมีการปลอด จำนองที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง

บริษัท อีสเทิร์น ซีบอร์ด อินดัสเตรียล เอสเตท (ระยอง) จำกัด

วงเงิน (ล้านบาท)

เงินกู้ยืมระยะยาวอื่น (ต่อ)

81

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


รายงานประจํ า ปี 2553

เงื่อนไขการกู้ยืม ระยะเวลา การให้สินเชื่อ การจ่ายชำระเงินต้น

• Annual Report 2010

ก. เงินกู้ยืมจากธนาคารพาณิชย์ ในประเทศ ประกอบด้วย ก.1 800 ธันวาคม 2548 - ชำระคืนเมื่อมีการปลอดจำนองที่ดิน สิ้นเดือน MLR-1.00 ธันวาคม 2553 ก.2 245 มิถุนายน 2550 - ปลอดชำระเงินต้น 2 ปี โดยปีที่ 3-5 ชำระคืนเงินต้นทุก สิ้นเดือน MLR-1.00 มิถุนายน 2555 ไตรมาสๆ ละ 20.42 ล้านบาท กำหนดชำระหนี้ ให้เสร็จสิ้นใน 5 ปี นับจากวันที่จัดทำสัญญา หรือชำระคืนเมื่อมีการปลอดจำนองที่ดิน ก.3 245 พฤศจิกายน 2551 - ชำระคืนทุก 3 เดือน งวดละ 12.09 ล้านบาท รวม 24 งวด สิ้นเดือน MLR-1.00 พฤศจิกายน 2558 เริ่มงวดแรกในเดือนที่ 13 นับจากวันที่จัดทำสัญญา หรือชำระคืน เมื่อมีการปลอดจำนองที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง รวม 1,290

บริษัท เหมราช อีสเทิร์นซีบอร์ด อิสดัสเตรียลเอสเตท จำกัด

228.30 196.92 232.91 658.13

151.35 115.24 125.73 392.32

292.49

45.00

เงินต้นคงเหลือ การจ่ายชำระดอกเบี้ย (ล้านบาท) ทุกงวด อัตรา (ร้อยละ) ต่อปี 2553 2552

ข. เงินกู้ยืมจากบุคคลอื่น ข.1 63 มีนาคม 2551 - ชำระคืนทุก 3 เดือน งวดละ 3 ล้านบาท เริ่มชำระงวดแรก สิ้นเดือน MLR-0.875 ของ 18.00 มีนาคม 2554 กันยายน 2551 ธนาคารกสิกรไทยจำกัด (มหาชน) รวม 668 163.75

วงเงิน (ล้านบาท)

เงินกู้ยืมระยะยาวอื่น (ต่อ)

82


เงื่อนไขการกู้ยืม ระยะเวลา การให้สินเชื่อ การจ่ายชำระเงินต้น

ที่ดินส่วนใหญ่ ในโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ และสินทรัพย์ ให้เช่า ของบริษัทและบริษัทย่อยจดจำนองเพื่อค้ำประกันเงินกู้ยืมดังกล่าว * เงินกู้ยืมระยะยาวส่วนที่มีกำหนดชำระตามประมาณการโอนภายในหนึ่งปีเป็นส่วนของเงินกู้ยืมระยะยาวที่ประมาณว่าจะคืนให้กับสถาบันการเงินเมื่อมีการโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินตามเงื่อนไขการกู้ยืม

ก. เงินกู้ยืมจากธนาคารพาณิชย์ ในประเทศ ประกอบด้วย ก.1 80 ธันวาคม 2549 - ชำระคืนเป็นรายเดือนๆ ละ 1.34 ล้านบาท รวม 60 งวด สิ้นเดือน ปีที่ 1-2 MLR-0.50, ธันวาคม 2555 เริ่มชำระงวดแรกในเดือนที่ 13 นับจากวันที่ลงนามในสัญญาเงินกู้ ปีต่อไป MLR-0.25 โดยในเดือนสุดท้ายให้ชำระส่วนที่เหลือทั้งจำนวน รวม 80 รวมทั้งสิ้น 6,556 หัก เงินกู้ยืมระยะยาวส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี เงินกู้ยืมระยะยาวส่วนที่มีกำหนดชำระตามประมาณการโอนภายในหนึ่งปี * เงินกู้ยืมระยะยาวอื่น สุทธิ

บริษัท เหมราช วอเตอร์ จำกัด

23.94 1,980.91 (656.43) (93.50) 1,230.98

23.94

54.81

54.81

40.02 2,890.26 (719.48) (311.64) 1,859.14

40.02

129.81

129.81

เงินต้นคงเหลือ การจ่ายชำระดอกเบี้ย (ล้านบาท) ทุกงวด อัตรา (ร้อยละ) ต่อปี 2553 2552

ก. เงินกู้ยืมจากธนาคารพาณิชย์ ในประเทศ ประกอบด้วย ก.1 300 พฤษภาคม 2552 - ชำระคืนทุก 3 เดือน งวดละ 37.50 ล้านบาท รวม 12 งวด สิ้นเดือน ปีที่ 1 MLR-1, พฤษภาคม 2555 หรือชำระคืนเมื่อมีการปลอดจำนองที่ดิน ปีที่ 2-3 MLR-0.75 รวม 300

บริษัท อีสเทิร์นอินดัสเตรียลเอสเตท จำกัด

วงเงิน (ล้านบาท)

เงินกู้ยืมระยะยาวอื่น (ต่อ)

83

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


84

21. ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ

บริษัทออกใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญจำนวน 141,531,150 หน่วย ตามมติที่ประชุมใหญ่สามัญผู้ถือหุ้นของ บริษัท เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2542 โดยจำหน่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมและนักลงทุนโดยเฉพาะเจาะจง ในราคาหน่วยละ 0.10 บาท ได้รับเงินจากการจำหน่ายทั้งสิ้นจำนวนเงินประมาณ 14.15 ล้านบาท และได้ดำเนินการจดทะเบียนใบ สำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลาดหลักทรัพย์ฯ) และตลาดหลักทรัพย์ฯได้อนุมัติให้เป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนตั้งแต่วันที่ 15 ธันวาคม 2542 เป็นต้นมา เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2544 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทครั้งที่ 1/2544 มีมติให้ขยายอายุใบสำคัญแสดงสิทธิ เป็น 10 ปี นับตั้งแต่วันที่ออกใบสำคัญแสดงสิทธิ โดยจะสิ้นสุดในวันที่ 30 กันยายน 2552 และให้ปรับลดราคาการใช้ สิทธิเป็นราคาหุ้นละ 3 บาท ต่อมาเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2545 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 1/2545 มีมติอนุมัติการปรับจำนวนหน่วย ของใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มขึ้นจำนวน 2.33333 หน่วย ต่อจำนวน 1 หน่วยเดิม ตามแนวทางปฏิบัติ เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงการใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิ ในประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ รวมจำนวนใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญหลังปรับทั้งสิ้น 471,686,471 หน่วย โดยมีอัตรา การใช้สิทธิใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ 1 หน่วย ต่อหุ้นสามัญ 1 หุ้น ในราคาหุ้นละ 3 บาท เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2546 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 7/2546 มีมติเรื่องการปรับสิทธิ ให้เป็นไปตาม เงื่อนไขซึ่งระบุในหนังสือชี้ชวน จากเดิม 1 ใบสำคัญแสดงสิทธิ ต่อ 1 หุ้นสามัญ เป็น 1 ใบสำคัญแสดงสิทธิ ต่อ 1.05918 หุ้นสามัญ โดยการเปลี่ยนแปลงราคาการใช้สิทธิจะไม่มีการปรับ แต่จะนำไปรวมสะสมกับการปรับสิทธิในครั้ง ต่อไป ซึ่งการปรับสิทธิดังกล่าวจะมีผลบังคับทันทีนับแต่วันแรกของการเสนอขายหุ้นสามัญที่ออกใหม่ ต่อมาเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2546 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทมีมติอนุมัติ ให้เปลี่ยนแปลงมูลค่าหุ้น เป็นผลให้ อัตราการใช้สิทธิเปลี่ยนแปลงจากเดิม 1 ใบสำคัญแสดงสิทธิ ต่อ 1.05918 หุ้นสามัญ เป็น 1 ใบสำคัญแสดงสิทธิต่อ 10.5918 โดยมีราคาการใช้สิทธิ 0.283 บาทต่อหุ้น แต่เนื่องจากตามแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงการใช้ สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิ ในประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ อนุญาตให้บริษัท สามารถเลือกใช้วิธีการปรับจำนวนหน่วยของใบสำคัญแสดงสิทธิแทนการปรับอัตราการใช้สิทธิ ได้ ดังนั้นบริษัทจึงเลือกวิธี การปรับจำนวนหน่วย ซึ่งส่งผลให้จำนวนใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญจากเดิม 427,084,638 หน่วย เพิ่มขึ้น เป็นจำนวน 4,527,831,794 หน่วยโดยมีอัตราการใช้สิทธิอัตราเดิมคือ 1 ใบสำคัญแสดงสิทธิต่อ 1 หุ้นสามัญ ในราคา การใช้สิทธิ 0.283 บาทต่อหุ้น ณ วันที่ 30 กันยายน 2552 ยอดคงเหลือของใบสำคัญ แสดงสิทธิซื้อหุ้นสามัญที่ยังไม่ ได้ ใช้สิทธิดังกล่าว 4,202,737 หน่วย โดยใบสำคัญแสดงสิทธิจำนวนที่เหลือนี้ ได้พ้นจากการเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ตั้งแต่วันที่ 16 กันยายน 2552 และไม่สามารถใช้สิทธิแปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญได้อีก

22. ทุนสำรองตามกฎหมายและงินปันผลจ่าย

รายงานประจํ า ปี 2553

ทุนสำรองตามกฎหมายของบรัษัท เพื่อให้เป็นไปตามมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 บริษัทจะต้องจัดสรรกำไรสุทธิ ประจำปีส่วนหนึ่งไว้เป็นทุนสำรองไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของกำไรสุทธิประจำปีหักด้วยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนสำรองนี้จะมีจำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน ทุนสำรองตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถนำ ไปจ่ายเป็นเงินปันผลได้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัทได้จัดสรรกำไรสุทธิสำหรับปี จำนวน 31.36 ล้านบาท และ 29.83 ล้านบาท ตามลำดับ ไปเป็นทุนสำรองตามกฎหมาย ทุนสำรองตามกฎหมายของบริษัทย่อย ตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บริษัทย่อยต้องจัดสรรกำไรสุทธิสำหรับปีส่วนหนึ่งไว้เป็น ทุนสำรองตามกฎหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของกำไรสุทธิทุกคราวที่ประกาศจ่ายเงินปันผลจนกว่าทุนสำรองนี้จะมี จำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน ทุนสำรองตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถนำไปจ่ายเป็นเงินปันผลได้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัทย่อยได้จัดสรรกำไรสุทธิสำหรับปี จำนวน 21.22 ล้านบาท และ 37.98 ล้านบาท ตามลำดับ ไปเป็นทุนสำรองตามกฎหมาย

• Annual Report 2010


เงินปันผลจ่าย

เงินปันผล อนุมัติโดย

เงินปันผลจ่าย เงินปันผล (ล้านบาท) จ่ายต่อหุ้น

วันที่จ่ายเงินปันผล

85

2553

เงินปันผลระหว่างกาลสำหรับปี 2553 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเมื่อ วันที่ 10 สิงหาคม 2553 เงินปันผลประกาศจ่ายจากกำไร ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ของปี 2552 วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2553 และ ที่ประชุมใหญ่สามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2553 วันที่ 29 เมษายน 2553 รวมเงินปันผลจ่ายระหว่างปี 2553

242.58

0.025

8 กันยายน 2553

291.15

0.030

17 พฤษภาคม 2553

533.73

0.055

328.36

0.035

328.36

0.035

2552

เงินปันผลประกาศจ่ายจากกำไรของ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเมื่อ ปี 2551 วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2552 และ ที่ประชุมใหญ่สามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2552 วันที่ 29 เมษายน 2552 รวมเงินปันผลจ่ายระหว่างปี 2552

15 พฤษภาคม 2552

23. ค่าตอบแทนกรรมการ

ค่าตอบแทนกรรมการซึ่งประกอบด้วย เบี้ยประชุมและค่าตอบแทนรายปีของคณะกรรมการและกรรมการชุดย่อย สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม มีจำนวนดังนี้

ล้านบาท

บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน) บริษัท อีสเทิร์น ซีบอร์ด อินดัสเตรียล เอสเตท (ระยอง) จำกัด รวม

2553

2552

16.15 8.54 24.69

15.80 8.54 24.34

24. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

บริษัทและบริษัทย่อยทั้ง 5 คือ บริษัท อีสเทิร์นอินดัสเตรียลเอสเตท จำกัด บริษัท อีสเทิร์น ซีบอร์ด อินดัสเตรียล เอสเตท (ระยอง) จำกัด บริษัท อีสเทิร์น ไพพ์ ไลน์ เซอร์วิสเซส จำกัด บริษัท เอช-คอนสตรัคชั่น แมนเนจเม้นท์ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด และบริษัท เอช - ฟีนิกซ์ พร็อพเพอร์ตี้ จำกัด ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพทิสโก้ร่วมทุน มั่นคง ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ตามพระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ.2530 จึงไม่มียอดปรากฏในงบดุล สมาชิก ประกอบด้วยพนักงานประจำของบริษัทและบริษัทย่อย ตามระเบียบของกองทุน ในแต่ละเดือนสมาชิกและบริษัทจ่ายเงิน สะสมเข้ากองทุนในอัตราร้อยละ 4 ถึงร้อยละ 10 ของค่าจ้างโดยขึ้นกับอายุงาน สมาชิกมีสิทธิ ได้รับเงินสะสมของ สมาชิกคืนทั้งจำนวนรวมทั้งผลประโยชน์สุทธิ และได้รับเงินสมทบของบริษัทรวมทั้งผลประโยชน์สุทธิ ในอัตราที่กำหนด ตามอายุงานของสมาชิก กองทุนสำรองเลี้ยงชีพนี้บริหารโดย บริษัท หลักทรัพย์จัดการกองทุน ทิสโก้ จำกัด ในระหว่าง ปี 2553 และ 2552 บริษัทและบริษัทย่อยจ่ายสมทบเข้ากองทุนเป็นจำนวนเงินประมาณ 9.53 ล้านบาท และ 9.01 ล้านบาท (เฉพาะบริษัท : จำนวนเงินประมาณ 4.35 ล้านบาท และ 4.09 ล้านบาท) ตามลำดับ

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


86

บริษัทย่อยอีก 2 บริษัท คือ บริษัท เหมราช สระบุรี ที่ดินอุตสาหกรรม จำกัด และบริษัท เหมราช ระยอง ที่ดิน อุตสาหกรรม จำกัด ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพพนักงานจัดการบริษัท ปูนซิเมนต์ ไทย จำกัด (มหาชน) ซึ่ง จดทะเบียนแล้ว และกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เครือซิเมนต์ ไทย ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ตามพระราชบัญญัติกองทุนสำรอง เลี้ยงชีพ พ.ศ.2530 จึงไม่มียอดปรากฏในงบดุล สมาชิกประกอบด้วยพนักงานประจำของบริษัทย่อย ตามระเบียบ ของกองทุน ในแต่ละเดือนสมาชิกและบริษัทจ่ายเงินสะสมเข้ากองทุนในอัตราร้อยละ 3 ถึงร้อยละ 10 ของค่าจ้างโดย ขึ้นกับอายุงาน สมาชิกมีสิทธิ ได้รับเงินสะสมของสมาชิกคืนทั้งจำนวนรวมทั้งผลประโยชน์สุทธิ และได้รับเงินสมทบของ บริษัทรวมทั้งผลประโยชน์สุทธิ ในอัตราที่กำหนดตามอายุงานของสมาชิก กองทุนสำรองเลี้ยงชีพนี้บริหารโดย บริษัท หลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม ไอเอ็นจี จำกัด ในระหว่างปี 2553 บริษัทย่อยทั้งสองแห่งจ่ายสมทบเข้ากองทุน เป็นจำนวนเงินประมาณ 0.14 ล้านบาท

25. ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ

ค่าใช้จ่ายสำคัญ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ซึ่งจำแนกตามลักษณะได้ดังนี้

ล้านบาท

การเปลี่ยนแปลงในต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ การลงทุนในต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ต้นทุนทางการเงินที่ถือเป็นรายจ่ายฝ่ายทุน การลงทุนในต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ที่ถือเป็นรายจ่ายฝ่ายทุน ค่าใช้จ่ายพนักงาน ค่าเสื่อมราคาและค่าใช้จ่ายตัดบัญชี ภาษีธุรกิจเฉพาะและค่าธรรมเนียมโอนที่ดิน ค่าธรรมเนียมให้คำแนะนำและปรึกษา ขาดทุน(กำไร)จากอัตราแลกเปลี่ยน

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท

2553

2552

2553

2552

(674.55) 2,085.53 32.54

(385.37) 800.89 64.04

398.00 7.20 -

(160.97) 142.76 4.12

(29.96) 240.21 186.44 62.41 81.42 0.17

(79.17) 216.31 175.04 1.32 18.60 (0.03)

- 118.24 22.10 13.14 70.05 (69.58)

105.41 23.55 (0.06) 11.98 (33.98)

26. ภาษีเงินได้นิติบุคคล

บริษัทและบริษัทย่อยบันทึกภาษีเงินได้นิติบุคคลทางบัญชี ในส่วนของกิจการเกี่ยวกับการขายอสังหาริมทรัพย์ตามหลัก การรับรู้รายได้และต้นทุนตามวิธีอัตราส่วนของงานที่ทำเสร็จ ส่วนภาษีเงินได้นิติบุคคลตามประมวลรัษฎากรคำนวณตาม จำนวนเงินค่างวดที่ถึงกำหนดชำระ ทั้งนี้บริษัทและบริษัทย่อยจะทบทวนผลแตกต่างที่เกิดขึ้นนี้ ในสิ้นงวดของรอบระยะ เวลาบัญชี ในแต่ละปี รายละเอียดเกี่ยวกับภาษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้

ล้านบาท

ภาษีเงินได้นิติบุคคลทางบัญชี ภาษีเงินได้นิติบุคคลตามประมวลรัษฎากร

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท

2553

2552

2553

2552

46.90 68.28

(46.79) 87.90

(44.05) -

(102.30) 34.32


ต้นทุนพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ สุทธิ สิทธิการเช่าและที่ดินเพื่อจัดหาผลประโยชน์ สุทธิ สินทรัพย์ ให้เช่า สุทธิ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สุทธิ สินทรัพย์อื่น รวมสินทรัพย์

7,046.53 314.94 1,852.79 280.46 8,610.57 18,105.29

- - 168.23 293.63 134.66 596.52

- - - - 13.59 13.59

7,046.53 314.94 2,021.02 574.09 8,758.82 18,715.40

2553 ในประเทศ ต่างประเทศ ธุรกิจ Holding อสังหาริมทรัพย์ อื่นๆ Company รวม

6,371.98 314.94 1,922.04 244.19 4,340.96 13,194.11

- - 155.35 195.93 114.72 466.00

- - - - 20.56 20.56

2552 ในประเทศ ต่างประเทศ ธุรกิจ Holding อสังหาริมทรัพย์ อื่นๆ Company

ล้านบาท

รายการจัดประเภทสินทรัพย์ของแต่ละส่วนงานทางธุรกิจในประเทศและต่างประเทศในงบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้

27. ข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงาน

รวม

6,371.98 314.94 2,077.39 440.12 4,476.24 13,680.67

87

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010

รายได้จากการขายที่ดิน 1,486.18 - - รายได้จากการขายอาคารโรงงานอุตสาหกรรมสำเร็จรูป 272.18 - - รายได้จากการขายอาคารชุด 493.72 - - รายได้ค่าบริการ 921.79 511.38 - รวมรายได้จากการขายและบริการ 3,173.87 511.38 - กำไร(ขาดทุน) จากการดำเนินงาน 522.88 368.66 (5.20) รายได้อื่น 188.46 1.09 - กำไรจากการต่อรองราคาซื้อ 145.41 - - กำไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยน (0.18) - - ค่าตอบแทนกรรมการ (24.69) - - ส่วนแบ่งผลกำไรจากเงินลงทุน ตามวิธีส่วนได้เสีย - บริษัทร่วม 421.95 - - ต้นทุนทางการเงิน (282.18) (1.89) - ภาษีเงินได้ (25.85) (21.05) - กำไร(ขาดทุน)หลังภาษีเงินได้ 945.81 346.81 (5.20) กำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย กำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่

80.62 (143.76) 46.80 598.88 (23.64) 575.24

421.95 80.62 - - (284.07) (140.94) (2.82) - (46.90) 62.40 (15.60) - 1,287.41 316.81 287.32 (5.25) (71.49) 1,215.92

- - - 423.82 423.82 305.14 0.60 - - -

รวม

688.62 42.78 (57.47) 1,375.83 2,049.76 467.71 172.92 0.03 (25.44)

688.62 42.78 (57.47) 952.01 1,625.94 167.82 172.32 - 0.03 (25.44)

2552 ในประเทศ ต่างประเทศ ธุรกิจ Holding อสังหาริมทรัพย์ อื่นๆ Company

- - - - - (5.25) - - - -

1,486.18 272.18 493.72 1,433.17 3,685.25 886.34 189.55 145.41 (0.18) (24.69)

2553 ในประเทศ ต่างประเทศ ธุรกิจ Holding อสังหาริมทรัพย์ อื่นๆ Company รวม

ล้านบาท

ข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงาน (ต่อ) ข้อมูลเกี่ยวกับการดำเนินงานตามประเภทส่วนงานทางธุรกิจในประเทศและต่างประเทศในงบกำไรขาดทุนรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้

88


28. สินทรัพย์ที่ใช้เป็นหลักประกัน

สินทรัพย์ที่ ใช้เป็นหลักประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ประกอบด้วย

บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน)

1. เงินฝากประจำ จำนวนเงินประมาณ 766.18 ล้านบาท เพื่อเป็นหลักประกันการร่วมทุนของบริษัทแก่เจ้าหนี้ สถาบันการเงินในโครงการของบริษัท เก็คโค่-วัน จำกัด 2. เงินลงทุนในหุ้นสามัญของบริษัท เหมราช อีสเทิร์นซีบอร์ด อินดัสเตรียล เอสเตท จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อย จำนำเป็นหลักประกันการกู้ยืมเงินกู้ระยะยาวให้กับบริษัทย่อยดังกล่าว 3. เงินลงทุนในหุ้นสามัญของบริษัท เก็คโค่-วัน จำกัด จำนวน 221.34 ล้านหุ้น จำนำเพื่อเป็นหลักประกันการกู้ยืม เงินให้กับบริษัทดังกล่าว 4. เงินลงทุนในหุ้นสามัญของบริษัท โกลว์ ไอพีพี จำกัด จำนวน 14.25 ล้านหุ้น จำนำเพื่อเป็นหลักประกันการกู้ ยืมเงินให้กับบริษัทดังกล่าว 5. ที่ดินบางส่วนในโครงการของบริษัทรวมทั้งส่วนควบ ถูกจดจำนองเพื่อใช้เป็นหลักประกันการกู้ยืมกับธนาคาร พาณิชย์และสถาบันการเงินในประเทศ 6. อาคารชุดพักอาศัยบางส่วนในโครงการของบริษัท ได้นำไปจดจำนองเพื่อใช้เป็นหลักประกันการกู้ยืมของบริษัทกับ ธนาคารพาณิชย์ ในประเทศแห่งหนึ่ง 7. อาคารชุดสำนักงานของบริษัท ได้นำไปจดจำนองเพื่อใช้เป็นหลักประกันการกู้ยืมของบริษัทกับธนาคารพาณิชย์ ในประเทศแห่งหนึ่ง

บริษัท อีสเทิร์นอินดัสเตรียลเอสเตท จำกัด

ที่ดินส่วนใหญ่ ในโครงการของบริษัทได้นำไปจดจำนองเพื่อเป็นหลักประกันการกู้ยืมเงินต่อธนาคารพาณิชย์แห่งหนึ่ง

บริษัท อีสเทิร์น ซีบอร์ด อินดัสเตรียล เอสเตท (ระยอง) จำกัด

1. เงินฝากประจำ จำนวนเงินประมาณ 0.05 ล้านบาท ใช้ค้ำประกันการบริการสาธารณูป โภค 2. ที่ดินส่วนใหญ่ ในโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์และอาคารโรงงานอุตสาหกรรมสำเร็จรูปของบริษัท จดจำนอง เพื่อค้ำประกันเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมกับธนาคารพาณิชย์ 3. ที่ดินบางส่วนและอาคารโรงงานอุตสาหกรรมสำเร็จรูปขนาดเล็กของบริษัท จดจำนองเป็นหลักประกันเงินกู้ยืม จากบุคคลอื่น

บริษัท เหมราช อีสเทิร์นซีบอร์ด อินดัสเตรียลเอสเตท จำกัด

ที่ดินและอาคารโรงงานอุตสาหกรรมสำเร็จรูปบางส่วนในโครงการของบริษัทได้นำไปจดจำนองเพื่อเป็นหลักประกันการกู้ ยืมเงินของบริษัทและบริษัทใหญ่ต่อธนาคารพาณิชย์ ในประเทศ

บริษัท เอช – ฟีนิกซ์ พร็อพเพอร์ตี้ จำกัด

อาคารชุดสำนักงานของบริษัท ได้นำไปจดจำนองเพื่อใช้เป็นหลักประกันการกู้ยืมของบริษัทใหญ่กับธนาคารพาณิชย์ ใน ประเทศแห่งหนึ่ง

บริษัท เหมราช สระบุรี ที่ดินอุตสาหกรรม จำกัด

ที่ดินส่วนใหญ่ ในโครงการของบริษัท ได้นำไปจดจำนองเพื่อใช้เป็นหลักประกันการกู้ยืมของบริษัทใหญ่กับธนาคารพาณิชย์ ในประเทศแห่งหนึ่ง

บริษัท เหมราช ระยอง ที่ดินอุตสาหกรรม จำกัด

ที่ดินส่วนใหญ่ ในโครงการของบริษัท ได้นำไปจดจำนองเพื่อใช้เป็นหลักประกันการกู้ยืมของบริษัทใหญ่กับธนาคารพาณิชย์ ในประเทศแห่งหนึ่ง

รายงานประจํ า ปี 2553

89

• Annual Report 2010


29. ข้อผูกพันตามสัญญา

90

ข้อผูกพันตามสัญญา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ประกอบด้วย ตามที่บริษัทและบริษัทย่อยได้เข้าร่วมดำเนินงานโครงการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรม กับการนิคมอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย (“กนอ.”) ตามสัญญาร่วมดำเนินงาน 1) นิคมอุตสาหกรรมเหมราชชลบุรีระยะที่ 1 และระยะที่ 2 สัญญาลงวันที่ 5 กรกฎาคม และวันที่ 29 ธันวาคม 2532 ตามลำดับ ซึ่งบริษัทได้แก้ ไขสัญญาร่วมดำเนินงานดังกล่าวกับ กนอ. เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2544 ต่อมา เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2548 ได้รวมสัญญาทั้ง 2 ฉบับเป็นฉบับเดียว 2) นิคมอุตสาหกรรมเหมราชตะวันออก (มาบตาพุด) สัญญาลงวันที่ 27 ธันวาคม 2532 นั้น บริษัทได้แก้ ไขสัญญา ร่วมดำเนินงานดังกล่าวกับ กนอ. เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2544 ต่อมาเมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2548 ได้รวม สัญญาทั้ง 2 ฉบับเป็นฉบับเดียว 3) นิคมอุตสาหกรรมอีสเทิร์นซีบอร์ด (ระยอง) สัญญาเลขที่ 1/ 2539 และเลขที่ 1/2540 4) นิคมอุตสาหกรรมเหมราช อีสเทิร์นซีบอร์ด สัญญาเลขที่ 1/2542 (ทีเอส 21) โดยเงื่อนไขที่สำคัญสรุปได้ดังนี้ 1) บริษัทและบริษัทย่อยเป็นผู้ ให้บริการระบบสาธารณูป โภคและสิ่งอำนวยความสะดวกแก่ผู้ประกอบการในนิคม อุตสาหกรรม โดยต้องจ่ายค่าใช้จ่ายในการร่วมดำเนินงานแก่ กนอ. 2) บริษัทและบริษัทย่อยไม่ต้องโอนอสังหาริมทรัพย์ ส่วนควบและอุปกรณ์ ตลอดจนระบบสาธารณูป โภคและสิ่ง อำนวยความสะดวกแก่ กนอ. 3) บริษัทและบริษัทย่อยต้องจัดให้มีกองทุนเพื่อการบำรุงรักษาและสร้างทดแทนระบบสาธารณูป โภคและสิ่งอำนวย ความสะดวกในนิคมอุตสาหกรรม (“กองทุนจม”) บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน)

1. เงินลงทุนในบริษัท โกลว์ ไอพีพี จำกัด จำนวน 142.50 ล้านบาท บริษัทเข้าถือครองในอัตราส่วนร้อยละ 5 เพื่อรักษาสัดส่วนการถือหุ้นให้เป็นไปตามเงื่อนไขที่ต้องปฏิบัติต่อการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย 2. เงินลงทุนในบริษัท เก็คโค่-วัน จำกัดจำนวน 2,701.65 ล้านบาท บริษัทถือหุ้นในอัตราร้อยละ 35 โดยบริษัท มีภาระผูกพันที่ต้องชำระค่าหุ้นเพิ่มทุนและให้กู้ยืมเงินตามสัดส่วนของการถือหุ้น โดยบริษัท เก็คโค่-วัน จำกัด ได้ทำสัญญาซื้อขายไฟฟ้ากับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) แล้วเมื่อวันที่ 10 กันยายน 2551 ตามสัญญาซื้อขายไฟฟ้า บริษัท เก็คโค่-วัน จำกัด จะขายกำลังการผลิตไฟฟ้าทั้งหมดให้กับ กฟผ. เป็นระยะ เวลา 25 ปี นับจากวันเริ่มดำเนินการผลิตเชิงพาณิชย์ ภายใต้ โครงการผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (IPP) ทั้งนี้ บริษัท เก็คโค่-วัน จำกัด ได้วางหนังสือค้ำประกันธนาคารมูลค่า 10 ล้านเหรียญสหรัฐไว้เพื่อเป็นหลักประกันกับ ทางการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย โรงงานผลิตไฟฟ้ากำลังอยู่ระหว่างการดำเนินการก่อสร้างและค้ำ ประกันโดยบริษัทตามสัดส่วนการลงทุน มูลค่าเงินลงทุนในโครงการทั้งสิ้นของบริษัท เก็คโค่-วัน จำกัด อยู่ที่ประมาณ 1,170 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือ 38,991 ล้านบาท โดยใช้เงินลงทุนจากผู้ถือหุ้น ประมาณ 13,500 ล้านบาท บริษัทมีข้อผูกพันจะต้องใช้เงิน ลงทุนตามสัดส่วนการถือหุ้น ร้อยละ 35 เป็นจำนวนเงินประมาณ 4,750 ล้านบาท บริษัท เก็คโค่-วัน จำกัด ได้รับการสนับสนุนสินเชื่อโครงการจากผู้ ให้กู้สถาบันการเงินทั้งต่างประเทศและในประเทศเป็นจำนวนเงิน 460 ล้านเหรียญสหรัฐ และ 9,960 ล้านบาทโดยมีเงื่อนไขตามสัญญาเงินกู้ที่เกี่ยวเนื่องกับบริษัทในการให้บริษัทต้อง มีเงินฝากหรือหนังสือเลตเตอร์ออฟเครดิตของธนาคารเป็นประกันการร่วมทุนของบริษัทในส่วนที่ยัง ไม่ ได้ชำระ เป็นจำนวนเงินรวม 966.18 ล้านบาท และ บริษัทจะต้องนำหุ้นของบริษัท เก็คโค่-วัน จำกัด ซึ่งบริษัท ลงทุนจำนำเป็นหลักประกันการกู้ยืมเงินของโครงการนี้ด้วย

บริษัท อีสเทิร์นอินดัสเตรียลเอสเตท จำกัด

บริษัทมีภาระผูกพันตามสัญญางานก่อสร้างในระบบสาธารณูป โภคคิดเป็นจำนวนเงินคงเหลือ 127.33 ล้านบาท

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


บริษัท อีสเทิร์น ซีบอร์ด อินดัสเตรียล เอสเตท (ระยอง) จำกัด

บริษัทมีภาระผูกพันตามสัญญาร่วมลงทุนระหว่าง บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน) และบริษัทอีกแห่งหนึ่ง โดยบริษัทมีภาระต้องจ่ายค่านายหน้าจากการขายที่ดิน ค่าบริหารงานจากการให้บริการสาธารณูป โภค และการให้เช่า อาคารโรงงานให้แก่ บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน) เป็นอัตราร้อยละของยอดรายได้

บริษัท เหมราช อีสเทิร์นซีบอร์ด อินดัสเตรียลเอสเตท จำกัด

บริษัทมีภาระผูกพันตามสัญญาจ้างเหมางานก่อสร้างโรงงานสำเร็จรูป และระบบสาธารณูป โภค คิดเป็นจำนวนเงิน คงเหลือตามสัญญา 211.33 ล้านบาท

บริษัท เหมราช คลีน วอเตอร์ จำกัด

บริษัทมีภาระผูกพันตามสัญญางานก่อสร้างในระบบสาธารณูป โภคคิดเป็นจำนวนเงินคงเหลือ 7.20 ล้านบาท

บริษัท เอสเอ็มอี แฟคทอรี่ จำกัด

บริษัทมีภาระผูกพันตามสัญญาจ้างเหมางานก่อสร้างโรงงานสำเร็จรูป คิดเป็นจำนวนเงินคงเหลือตามสัญญา 69.68 ล้านบาท

91

30. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นในภายหน้า

ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นในภายหน้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ประกอบด้วย 1. บริษัทและบริษัทย่อยได้ทำสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินโดยมีเงื่อนไขว่าถ้าผู้จะซื้อมิ ได้รับการส่งเสริมการลงทุนจาก คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน และ/หรือ ไม่ ได้รับอนุญาตในการใช้ที่ดินจากการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศ ไทย (กนอ.) แล้ว บริษัทและบริษัทย่อยจะต้องจ่ายคืนเงินค่างวดและเงินมัดจำแก่ผู้จะซื้อที่ดิน 2. บริษัทและบริษัทย่อยมีภาระผูกพันจากการค้ำประกันการทำสัญญากู้ยืมเงินของบริษัทและบริษัทย่อยหลายแห่ง เพื่อเป็นหลักประกันในการกู้ยืมวงเงินรวม 7,032 ล้านบาท (เฉพาะบริษัท : 2,434 ล้านบาท) 3. บริษัทและบริษัทย่อยมีภาระผูกพันจากการค้ำประกันการทำสัญญาเช่าซื้อของบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งมียอดคง เหลือรวม 4.03 ล้านบาท (เฉพาะบริษัท : 0.67 ล้านบาท) 4. บริษัทและบริษัทย่อยมีภาระผูกพันจากการค้ำประกันและการขอให้ธนาคารออกหนังสือค้ำประกันบริษัท ในการ ปฏิบัติตามสัญญาร่วมดำเนินงานแก่การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ปฏิบัติตามสัญญาต่อกรมศุลกากร ในเขตปลอดอากรนิคมอุตสาหกรรมการก่อสร้างระบบสาธารณูป โภคตามสัญญาซื้อขายที่ดินในโครงการ การก่อสร้างสายส่งไฟฟ้าและสถานี ไฟฟ้า การปฏิบัติตามสัญญาซื้อขายน้ำดิบและอื่นๆ วงเงินรวม 833.36 ล้านบาท (เฉพาะบริษัท : 212.20 ล้านบาท) 5. บริษัทมีข้อพิพาทกับผู้รับเหมารายหนึ่ง (ผู้เรียกร้อง) ได้ยื่นคำเสนอข้อพิพาทต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ ให้ บริษัทชำระค่างานคงค้างเป็นจำนวนเงิน 82 ล้านบาทและค่าใช้จ่ายอื่นรวมทั้งค่าเสียหายจากการสูญเสีย ประโยชน์ทางธุรกิจเป็นจำนวนเงิน 510 ล้านบาท ซึ่งบริษัทมิ ได้เป็นฝ่ายผิดสัญญาและมิ ได้ค้างชำระค่างาน ตามที่ผู้เรียกร้องกล่าวอ้าง รวมถึงไม่ควรต้องรับผิดชอบค่าเสียหายอื่นแต่อย่างใด ในทางกลับกันผู้เรียกร้อง เป็นฝ่ายที่ ไม่สามารถปฏิบัติงานตามสัญญาจ้างเหมา ซึ่งบริษัทได้ยื่นคำคัดค้านและเรียกร้องค่าเสียหายและ เรียกเงินซึ่งบริษัทได้ชำระเกินจากสัญญาจ้างเหมาต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการแล้ว ขณะนี้คดีอยู่ ในระหว่าง การดำเนินกระบวนพิจารณาขั้นต้น

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


92

31. สิทธิและประโยชน์ตามบัตรส่งเสริมการลงทุน

บริษัทและบริษัทย่อย 7 บริษัท ได้รับสิทธิพิเศษทางภาษีจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนการส่งเสริมการลงทุนตาม พระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 สิทธิประโยชน์ที่สำคัญบางประการสามารถสรุปได้ดังต่อไปนี้

ขนาด/จำนวนหน่วยที ่ วันทีไ่ ด้รบั การส่งเสริม ได้รบั การส่งเสริม การลงทุน การลงทุน

สิทธิประโยชน์ทส่ี ำคัญ ยกเว้นภาษีเงินได้ ลดหย่อนภาษีเงินได้นติ ิ นิตบิ คุ คลเป็นเวลา (***) บุคคลร้อยละ 50 เป็นเวลา (****)

บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน)

ก. ข.

เขตนิคมอุตสาหกรรม ก.1 29 ธันวาคม 2531 ก.2 15 กุมภาพันธ์ 2533 ก.3 25 กรกฎาคม 2544 พัฒนาอาคารสำหรับโรงงานอุตสาหกรรม ข.1 21 มิถุนายน 2543

1,500 ไร่ 2,000 ไร่ 1,282 ไร่

7 ปี (*) 7 ปี (*) 7 ปี (**)

5 ปี (*) ไม่มี ไม่มี

11 หน่วย

7 ปี (*)

ไม่มี

626 ไร่ 1,850 ไร่ (ส่วนขยาย) 1,240 ไร่ 576 ไร่

5 ปี (*) 8 ปี (*)

5 ปี (*) 5 ปี (*)

8 ปี 8 ปี

5 ปี 5 ปี

2,063 ไร่ 1,532 ไร่ (ส่วนขยาย) 2,466 ไร่ 325 ไร่ (ส่วนขยาย) 716 ไร่ 1,020 ไร่ 520 ไร่

8 ปี (*) 8 ปี (*)

5 ปี (*) 5 ปี (*)

8 ปี (*) 8 ปี (*)

5 ปี 5 ปี

7 ปี 8 ปี 8 ปี

ไม่มี 5 ปี 5 ปี

22 หน่วย 13 หน่วย 12 หน่วย 51 หน่วย 22 หน่วย 6 หน่วย 7 หน่วย

8 ปี (*) 8 ปี (*) 8 ปี (*) 8 ปี 8 ปี 8 ปี 8 ปี

5 ปี 5 ปี 5 ปี 5 ปี 5 ปี 5 ปี 5 ปี

บริษัท อีสเทิร์นอินดัสเตรียลเอสเตท จำกัด

ก. เขตนิคมอุตสาหกรรม ก.1 8 พฤษภาคม 2532 23 กันยายน 2535 ก.2 27 พฤศจิกายน 2545 ก.3 17 มีนาคม 2552

บริษัท อีสเทิร์น ซีบอร์ด อินดัสเตรียล เอสเตท (ระยอง) จำกัด

ก. เขตนิคมอุตสาหกรรม ก.1 21 มิถุนายน 2538 9 สิงหาคม 2539 ก.2 27 ตุลาคม 2540 31 กรกฎาคม 2543 ก.3 25 กรกฎาคม 2544 ก.4 8 ธันวาคม 2547 ก.5 17 ตุลาคม 2550 ข. พัฒนาอาคารสำหรับโรงงานอุตสาหกรรม ข.1 19 มกราคม 2543 ข.2 21 มิถุนายน 2543 ข.3 29 พฤศจิกายน 2543 ข.4 16 มกราคม 2545 ข.5 27 มีนาคม 2545 ข.6 7 กันยายน 2549 ข.7 23 มีนาคม 2550

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


สิทธิและประโยชน์ตามบัตรส่งเสริมการลงทุน (ต่อ) ขนาด/จำนวนหน่วยที ่ วันทีไ่ ด้รบั การส่งเสริม ได้รบั การส่งเสริม การลงทุน การลงทุน

สิทธิประโยชน์ทส่ี ำคัญ ยกเว้นภาษีเงินได้ ลดหย่อนภาษีเงินได้นติ ิ นิตบิ คุ คลเป็นเวลา (***) บุคคลร้อยละ 50 เป็นเวลา (****)

93

บริษัท เหมราช อีสเทิร์นซีบอร์ด อินดัสเตรียลเอสเตท จำกัด

ก. ข.

เขตนิคมอุตสาหกรรม ก.1 22 พฤษภาคม 2540 ก.2 22 พฤษภาคม 2540 ก.3 22 พฤษภาคม 2540 ก.4 26 กันยายน 2539 ก.5 23 มกราคม 2551 พัฒนาอาคารสำหรับโรงงานอุตสาหกรรม ข.1 14 สิงหาคม 2550 ข.2 29 ธันวาคม 2551 ข.3 30 ธันวาคม 2552 ข.4 30 ธันวาคม 2552 ข.5 30 ธันวาคม 2552 ข.6 4 มกราคม 2553

1,407 ไร่ 1,375 ไร่ 1,485 ไร่ 1,653 ไร่ 1,500 ไร่

8 ปี 8 ปี 8 ปี 8 ปี 8 ปี

5 ปี 5 ปี 5 ปี 5 ปี 5 ปี

13 หน่วย 1 หน่วย 1 หน่วย 1 หน่วย 1 หน่วย 1 หน่วย

8 ปี 8 ปี 8 ปี 8 ปี 8 ปี 8 ปี

5 ปี 5 ปี 5 ปี 5 ปี 5 ปี 5 ปี

1,450 ไร่ 1,200 ไร่ 890 ไร่

7 ปี (*) 7 ปี (*) 7 ปี

-

1,600 ไร่ 520 ไร่ 1,343 ไร่

8 ปี (*) 8 ปี (*) 8 ปี

5 ปี (*) 5 ปี 5 ปี

8 ปี

5 ปี

บริษัท เหมราช สระบุรี ที่ดินอุตสาหกรรม จำกัด

ก.

เขตอุตสาหกรรม ก.1 21 พฤศจิกายน 2534 ก.2 25 สิงหาคม 2537 ก.3 27 เมษายน 2548

บริษัท เหมราช ระยอง ที่ดินอุตสาหกรรม จำกัด

ก.

เขตอุตสาหกรรม ก.1 26 มกราคม 2539 ก.2 16 สิงหาคม 2543 ก.3 14 มีนาคม 2544

บริษัท เหมราช วอเตอร์ จำกัด

ก.

กิจการสาธารณูป โภคและบริการพื้นฐาน ก.1 25 ตุลาคม 2548 12.27 ล้าน ลบ.ม.

บริษัท เอสเอ็มอี แฟคทอรี่ จำกัด

ก.

พัฒนาอาคารสำหรับโรงงานอุตสาหกรรม ก.1 21 พฤษภาคม 2550 * ** *** ****

3 หน่วย

7 ปี

ไม่มี

สิทธิประโยชน์ที่สำคัญสิ้นสุดแล้ว ยังไม่เริ่มมีรายได้จากการประกอบกิจการจึงยังไม่ ได้ ใช้สิทธิประโยชน์ที่สำคัญ นับจากวันที่มีรายได้จากการประกอบกิจการ นับจากวันที่การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลหมดลง

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


94

รายได้ ในประเทศแยกตามส่วนงานทางธุรกิจที่ ได้รับการส่งเสริมและไม่ ได้รับการส่งเสริมการลงทุนสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ได้ดังนี้ (หน่วย: พันบาท)

ส่วนที่ได้รับการส่งเสริม ส่วนที่ไม่ได้รับการส่งเสริม 2553 2552 2553 2552

รวม 2553

2552

งบการเงินรวม

รายได้จากการขาย ที่ดิน อาคารโรงงาน อุตสาหกรรมสำเร็จรูป อาคารชุด รายได้ค่าบริการ รวม งบการเงินเฉพาะบริษัท

1,245,492.96 653,624.67 240,690.52

34,993.72 1,486,183.48 688,618.39

213,538.48 42,776.20 58,636.63 - 272,175.11 42,776.20 - - 493,722.50 (57,472.77) 493,722.50 (57,472.77) 514,389.41 551,466.54 918,786.27 824,365.13 1,433,175.68 1,375,831.67 1,973,420.85 1,247,867.41 1,711,835.92 801,886.08 3,685,256.77 2,049,753.49

รายได้จากการขาย ที่ดิน อาคารโรงงาน อุตสาหกรรมสำเร็จรูป อาคารชุด รายได้ค่าบริการ รวม

-

-

183,832.52

1,199.91 183,832.52

1,199.91

- - - -

- - - -

- - - 493,722.50 (57,472.77) 493,722.50 (57,472.77) 156,492.20 156,260.76 156,492.20 156,260.76 834,047.22 99,987.90 834,047.22 99,987.90

32. เครื่องมือทางการเงิน

นโยบายการบริหารความเสี่ยง

ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย และความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ เกิดขึ้นจากการดำเนินธุรกิจตาม ปกติ ซึ่งขึ้นอยู่กับความเสี่ยงของการเปลี่ยนแปลงอัตราในท้องตลาดหลังวันที่เกิดรายการ กลุ่มบริษัทเหมราชฯ มีนโยบายป้องกันความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย และความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่าง ประเทศด้วยวิธีการ ดังต่อไปนี้

ก. ดำรงสัดส่วนระหว่างเงินกู้ยืมในประเทศและต่างประเทศ ข. จัดหาเงินกู้ เงินยืมทั้งในรูปอัตราดอกเบี้ยคงที่ และอัตราดอกเบี้ยลอยตัว ค. การใช้สินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ค้ำประกันการกู้ยืมเงิน ทั้งนี้กลุ่มบริษัทเหมราชฯ ไม่มีนโยบายที่จะประกอบธุรกรรมตราสารทางการเงินนอกงบดุลที่เป็นตราสารอนุพันธ์ เพื่อ การเก็งกำไรหรือการค้า

มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน

นอกจากที่เปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ 3 มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินที่สำคัญ ประกอบด้วย ก. มูลค่ายุติธรรมของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมจากสถาบัน การเงิน เจ้าหนี้การค้า และค่าใช้จ่ายค้างจ่าย ประมาณเท่ากับมูลค่าตามบัญชี ซึ่งใกล้เคียงกัน เนื่องจากเป็น เครื่องมือทางการเงินที่ครบกำหนดในระยะสั้น ข. มูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนระยะสั้นในหลักทรัพย์เผื่อขายเท่ากับมูลค่าตามราคาตลาด

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


ค. มูลค่ายุติธรรมของเงินให้กู้ยืมระยะสั้นและเงินทดรองแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้อง กัน เงินกู้ยืมอื่น เงินกู้ยืมระยะสั้นและเงินทดรองจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน และเจ้าหนี้และเงินกู้ยืมจากกิจการที่ เกี่ยวข้องกัน ไม่สามารถประมาณได้ เนื่องจากมีระยะเวลาในการจ่ายชำระไม่แน่นอน

33. เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบการเงิน

95

เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 1/ 2554 ของบริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน) ได้มีมติอนุมัติ ให้จ่ายเงินปันผลอีกในอัตราหุ้นละ 0.03 บาท เมื่อรวมกับเงินปันผลระหว่างกาลที่จ่ายแล้วใน อัตราหุ้นละ 0.025 บาท เป็นเงินปันผลทั้งปี 2553 ในอัตราหุ้นละ 0.055 บาท ซึ่งจะนำเสนอเพื่อขออนุมัติต่อที่ ประชุมผู้ถือหุ้นต่อไป

34. การอนุมัติงบการเงิน

งบการเงินนี้ ได้รับอนุมัติ โดยคณะกรรมการของบริษัท เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2554

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


โครงสร้างผู้ถือหุ้นและโครงสร้างองค์กร

96

รายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรก ณ วันที่ 25 สิงหาคม 2553 ลำดับที่

ชื่อ-สกุล

1 2 3 4 5 6 7 9 8 10

น.ส.เพ็ญพรรณี หอรุ่งเรือง Chase Nominees Limited 42 Credit Agricole (Suisse) SA, Singapore Branch Nomura Singapore Limited – Customer Segregated Account EFG Bank AG นางกนกกานต์ ศิริรัตนพันธ นายสมบัติ เทพสถิตย์ นายอับดุลเลาะ คานดา น.ส.กานดา กรกชสกุลวงศ์ บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำกัด

จำนวนหุ้น

% จำนวนหุ้น

1,068,725,770 871,192,312 849,906,389 643,484,500 617,377,000 437,910,100 417,567,600 407,954,200 374,782,700 368,914,221

11.01 8.98 8.76 6.63 6.36 4.51 4.30 4.20 3.86 3.80

ผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาผลตอบแทน

คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการบรรษัทภิบาล คณะกรรมการบริหาร กรรมการผู้จัดการ ผู้ตรวจสอบภายใน

รองกรรมการผู้จัดการ

รองกรรมการผู้จัดการ

ฝ่ายลูกค้าสัมพันธ์ ธุรกิจนิคม อุตสาหกรรม

ฝ่ายวางแผน โครงการระบบน้ำ และโรงไฟฟ้า ขนาดเล็ก

ฝ่ายปฏิบัติการ ธุรกิจนิคม อุตสาหกรรม

รายงานประจํ า ปี 2553

ฝ่ายระบบข้อมูล และบริการ

ฝ่ายพัฒนา โครงการ ธุรกิจนิคม อุตสาหกรรม

• Annual Report 2010

ฝ่ายการตลาด

ฝ่ายวางแผน และ นักลงทุนสัมพันธ์

ฝ่ายลูกค้าสัมพันธ์ โครงการธุรกิจ ที่พักอาศัย

ฝ่ายวางแผน โครงการ ธุรกิจที่พักอาศัย

ฝ่ายการเงิน

ฝ่ายบัญชี และ กฎหมาย

ฝ่ายจัดหา


รายงานประจํ า ปี 2553

รายได้ ดอกเบี้ยรับ รายได้ค่า ต้นทุน ค่าบริการ นายหน้าและ บริการ บริหารงาน

ต้นทุนทาง การเงิน

ความจำเป็น/ความเห็น คณะกรรมการตรวจสอบ

1. บริษัทร่วม : 1.1 บริษัท โคเฟลี (ประเทศไทย) - เป็นบริษัทร่วมลงทุนโดย บริษัทฯ 1,017 333 13,149 - บริษัทฯให้บริการสาธารณูปโภค - อัตราค่าบริการสาธารณูปโภค จำกัด ถือหุ้นร้อยละ 39.99 ส่วนกลางแก่บริษัทร่วม ค่าบริการเป็นอัตราตลาด (เดิมชื่อบริษัท เอลโย่-เอช ฟาซิลิตี้ - กรรมการบริหารบริษัทฯ 3 ท่าน - บริษัทฯ ให้เงินกู้ยืมตั้งแต่ปี 2552 แมนเนจเมนท์ จำกัด) เป็นกรรมการและกรรมการบริหาร จำนวน 5.6 ล้านบาทเพื่อใช้เป็น - การให้กู้ยืมเป็นการให้กู้ยืม ดำเนินธุรกิจให้บริการเกี่ยวกับการ ในบริษัทร่วม และผู้บริหารเป็น เงินทุนหมุนเวียน ในฐานะผู้ถือหุ้น ตามสัดส่วนการถือหุ้น ดูแลรักษาระบบสาธารณูปโภค เช่น กรรมการในบริษัทร่วม 1 ท่าน ตามสัดส่วนการถือหุน้ อัตราดอกเบีย้ ระบบปรับอากาศ ระบบน้ำหล่อเย็น ทั้งนี้เป็นไปตามนโยบายของบริษัท MLR ของธนาคารพาณิชย์แห่งหนึง่ เป็นต้น ในการร่วมทุน ชำระดอกเบี้ยเป็นรายเดือน - บริษัทฯ ได้ใช้บริการในการบำรุง รักษาเครื่องมือและอุปกรณ์ ในลักษณะ Preventive Maintenance และบริการซ่อมแซมในโรงงาน สำเร็จรูปและนิคมอุตสาหกรรม จากบริษัทร่วม

ชื่อบริษัทที่มีผลประโยชน์ร่วม

รายการระหว่างกันที่เกิดขึ้นนระหว่างปี 2553 กับบริษัทฯและบริษัทย่อย มีรายการระหว่างกัน กับบริษัทร่วมและบริษัทที่เกี่ยวข้องมีรายละเอียด ดังนี้ ลักษณะความสัมพันธ์ ลักษณะรายการ (หน่วย : พันบาท) รายละเอียด

ความจำเป็นและความสมเหตุสมผลของรายการระหว่างกันที่เกิดขึ้น รายการระหว่างกันที่เกิดขึ้นระหว่างบริษัทฯ กับบริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือบริษัทที่เกี่ยวข้องนั้น เป็นรายการที่ดำเนินการทางธุรกิจตามปกติการค้าและมีการพิจารณาค่าตอบแทน ในราคาตลาดที่ยุติธรรมและสมเหตุสมผล และเป็นไปตามกฏระเบียบของบริษัท โดยได้ผ่านการพิจารณาอนุมัติจากคณะกรรมการ คณะกรรมการบริหารหรือผู้บริหารในแต่ละระดับตามแต่ กรณี รวมถึงการสอบทานโดยคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งเป็นไปตามกฏหมายต่างๆ และข้อบังคับตามเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลัก ทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต) รวมทั้งเป็นไปตามมาตรฐานบัญชีเรื่องการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งกำหนดโดยสมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาต แห่งประเทศไทย

รายการระหว่างกัน

97

• Annual Report 2010


รายงานประจํ า ปี 2553

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ (หน่วย : พันบาท) รายได้ ดอกเบี้ยรับ รายได้ค่า ต้นทุน ค่าบริการ นายหน้าและ บริการ บริหารงาน ต้นทุนทาง การเงิน

รายละเอียด

ความจำเป็น/ความเห็น คณะกรรมการตรวจสอบ

1.2 บริษัท เหมราช สระบุรี - เป็นบริษัทร่วมลงทุนโดยบริษัทฯ - บริษัทฯ ให้เงินกู้ยืมโดยมีวัตถุ - อัตราดอกเบี้ยเป็นไปตามอัตรา ที่ดินอุตสาหกรรม จำกัด ถือหุ้นร้อยละ 25.00 และตั้งแต่ 57 19,764 ประสงค์เพื่อนำไปจ่ายคืนเงินกู้ยืม ตลาดในอัตรา MLR-0.5 (เดิมชื่อ “บริษัท เอส ไอ แอล วันที่ 1 ต.ค. 2553 บริษัทฯ ระยะยาวคงเหลือแก่บริษัท ที่ดินอุตสาหกรรม จำกัด”) ได้ลงทุนเพิ่มอีกร้อยละ 75 มีผล ซีเมนต์ไทยโฮลดิ้ง จำกัด ซึ่งเป็นไป ดำเนินธุรกิจเขตอุตสาหกรรม ทำให้บริษัท HSIL เป็นบริษัทย่อย ตามข้อตกลงการซื้อหุ้นส่วนที่เหลือ ของบริษัทฯ ทั้งหมด (ร้อยละ75) ในบริษัท - กรรมการบริหารบริษัทฯ เป็น เอสไอแอล ทีด่ นิ อุตสาหกรรม จำกัด กรรมการและกรรมการบริหาร - บริษัทให้บริการด้านบริหารการ - อัตราค่าบริหารงาน 5% - 8% ในบริษัทร่วม 2 ท่าน ตามนโยบาย จัดการโครงการเขตอุตสาหกรรม ของรายได้ ของบริษัทในการร่วมลงทุน - บริษัทย่อยให้บริการด้านการ - อัตราค่าบริการสาธารณูปโภค ควบคุมงานก่อสร้างและออกแบบ เป็นอัตราตลาด 1.3 บริษัท เหมราช ระยอง - เป็นบริษัทร่วมลงทุนโดยบริษัท 3,368 - บริษัทให้บริการด้านบริหารการ - อัตราค่าบริหารงาน 5% - 8% ที่ดินอุตสาหกรรม จำกัด ถือหุ้นร้อยละ 25 (ทางอ้อม) และ จัดการโครงการเขตอุตสาหกรรม ของรายได้ (เดิมชื่อ “บริษัท ระยองที่ดิน ตั้งแต่ 1 ต.ค.2553 บริษัทฯ - บริษทั ย่อยให้บริการด้านการควบคุม - อัตราค่าบริการสาธารณูปโภค อุตสาหกรรม จำกัด”) ได้ลงทุนเพิ่มอีกร้อยละ 75 มีผล งานก่อสร้างและออกแบบ เป็นอัตราตลาด ดำเนินธุรกิจเขตอุตสาหกรรม ทำให้ ถือหุ้น ทางอ้อมโดยผ่าน บริษัท เหมราช สระบุรี ที่ดิน อุตสาหกรรม จำกัด (ร้อยละ 99.99) ทำให้บริษัท HRIL เป็น บริษัทย่อยของบริษัทฯ - กรรมการบริหารฯเป็นกรรมการ และกรรมการบริหารในบริษัทร่วม 2 ท่าน ตามนโยบายของบริษัท ในการร่วมลงทุน 2.บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน 2.1 บริษัท ศรีราชา ฮาเบอร์ จำกัด - บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 6.40 113 - เป็นดอกเบี้ยจากเงินให้กู้ยืมตั้งแต่ปี - เป็น เงินให้กู้ยืมตามความจำเป็น (มหาชน) - กรรมการบริษัทฯ เป็นกรรมการ 2539 บริษัทฯให้เงินกู้ยืมในฐานะ และขณะนี้ลูกหนี้อยู่ในระหว่าง ดำเนินธุรกิจให้บริการท่าเทียบเรือ บริหารของบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน ผู้ถือหุ้น (ร้อยละ 15) เป็นจำนวน การดำเนินการตามแผนฟื้นฟู และขนส่ง 2 ท่าน คือ นายวิกิจ หอรุ่งเรือง เงินกู้ 20 ล้านบาท ต่อมาเกิดช่วง กิจการ และนายชวลิต เศรษฐเมธีกุล วิกฤติการณ์เศรษฐกิจในปี 2540 บริษัทศรีราชา ฮาร์เบอร์ไม่สามารถ ชำระหนี้ได้ และเข้าสู่แผนฟื้นฟู กิจการ แผนการชำระคืนจึงมีการ ทะยอยชำระตามแผนฟื้นฟูกิจการ (ปี 2546)

ชื่อบริษัทที่มีผลประโยชน์ร่วม

98

• Annual Report 2010


รายงานประจํ า ปี 2553

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ (หน่วย : พันบาท) รายได้ ดอกเบี้ยรับ รายได้ค่า ต้นทุน ค่าบริการ นายหน้าและ บริการ บริหารงาน ต้นทุนทาง การเงิน

รายละเอียด

ความจำเป็น/ความเห็น คณะกรรมการตรวจสอบ

และมีการพิจารณาคำเนินการในราคาตลาดที่อนุมัติและสมเหตุสมผล และเป็นไปตามกฏระเบียบของบริษัท โดยต้องผ่านการพิจารณาอนุมัติจากฝ่ายบริหารในแต่ละระดับ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการ หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ตามแต่กรณี ซึ่งเป็นไป ตามขั้นตอนการอนุมัติที่เหมาะสมตามระเบียบของบริษัทฯ ผู้มีส่วนได้เสียหรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในรายการ ไม่อาจมีส่วนร่วมในการอนุมัติรายการนั้นๆ โดยมีกระบวนการตรวจสอบ/ สอบทานโดยผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ผู้ตรวจสอบภายใน (ที่ว่าจ้างจากภายนอก) และคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ ตามระบบงานที่ดี และโดยที่บริษัทฯ เปิดเผยรายละเอียดของรายการที่เกี่ยว โยงกันตามประกาศและข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต) ที่เกี่ยวข้องและตามที่ระบุไว้ในมาตรฐานการบัญชี อันเป็นที่รับรองทั่วไปที่กำหนดโดยสมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย

นโยบายและมาตรการการอนุมัติการทำรายการระหว่างกันในอนาคต รายการระหว่างกันในอนาคตจะเป็นรายการที่ดำเนินการตามปกติทางการค้าเป็นไปตามกลไกราคาตลาดทางธุรกิจ

- บริษัทได้ตั้งสำรองค่าเผื่อหนี้สงสัย จะสูญสำหรับเงินให้กู้ยืมระยะสั้น ในบริษทั ศรีราชา ฮาเบอร์ ใน ขณะนัน้ ไว้เต็มจำนวนตามหลักเกณฑ์ การตัง้ สำรองของบริษทั บริษทั ยังมิได้ ปรับสำรองในส่วนของหนี้ภายใต้ แผนฟื้นฟูกิจการ โดยจะดำเนินการ ปรับต่อเมื่อได้รับชำระจากลูกหนี้ ซึ่งจะชำระหนี้ตามแผนฟื้นฟูกิจการ (ตามแผนฟื้นฟู บริษัทจะได้รับชำระ ดอกเบี้ยในอัตรา 1% ทุกปี ส่วน เงินต้นได้รับชำระทั้งหมดเต็มจำนวน ภายใน 10 ปี) 2.2 บริษัท โกลว์ จำกัด - บริษัทมีการร่วมลงทุนในโครงการ 2,399 - บริษัทฯ มีการกู้ยืมเงินระยะสั้น - อัตราดอกเบี้ย MLR-2% ดำเนินธุรกิจพลังงาน พลังงาน จากบริษทั ดังกล่าวโดยมีวตั ถุประสงค์ เพือ่ นำไปใช้ในการลงทุนซือ้ หุน้ เพิม่ ทุน ในบริษัท ห้วยเหาะไทย จำกัด (ถือหุ้นร้อยละ 51) ซึ่งเป็น Holding Company ในโครงการไฟฟ้าพลังน้ำ ห้วยเหาะในลาว เงินกู้ดังกล่าวครบ กำหนดในปี 2553 โดยบริษัทฯ ได้ชำระคืนเป็นที่เรียบร้อยแล้ว

ชื่อบริษัทที่มีผลประโยชน์ร่วม

99

• Annual Report 2010


รายงานประจํ า ปี 2553

บริษัท

ที่อยู่

ประเภทกิจการ

ทุนชำระแล้ว (ล้านบาท)

% การลงทุน 2553

%

รายได้ (ล้านบาท) 2552 % 2551

บริษทั เหมราชพัฒนาทีด่ นิ จำกัด (มหาชน) เลขที่ 9 ชัน้ 18 อาคารยูเอ็มทาวเวอร์ พัฒนานิคมอุตสาหกรรม 3,882 1,133.78 26% 240.85 11% 649.00 ทะเบียนเลขที่ บมจ. 0107536000676 ถ.รามคำแหง สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 ระบบสาธารณูปโภค ทุนจดทะเบียน 15,000,000,000 หุน้ โทรศัพท์ (662) 719-9555 และอสังหาริมทรัพย์ ทุนทีอ่ อก 9,705,186,191 หุน้ โทรสาร (662) 719-9546-7 www.hemaraj.com E-mail: invest@hemaraj.com บริษทั ย่อย Hemaraj International Limited (1) Scotia Centre, 4th Floor Holding Company 0.03 100 P.O.Box 2804, George Town, Grand Cayman, Cayman Islands H-International (BVI) Company Limited (2) Romasco Place, Wickhams Cay 1, Holding Company 0.08 100 - 0% - 0% - P. O. Box 3140, Road Town, Tortola British Virgin Islands. บริษทั อีสเทิรน์ อินดัสเตรียลเอสเตท จำกัด เลขที่ 9 ชัน้ 18 อาคารยูเอ็มทาวเวอร์ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ 400 99.99 336.97 8% 819.66 36% 899.58 ถ.รามคำแหง สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 บริษทั อีสเทิรน์ ไพพ์ ไลน์เซอร์วสิ เซส จำกัด (3) เลขที่ 9 ชัน้ 18 อาคารยูเอ็มทาวเวอร์ บริการให้เช่าวางท่อขนถ่ายวัตถุ 100 99.99 94.45 2% 75.38 3% 67.51 ถ.รามคำแหง สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 บริษทั อีสเทิรน์ ซีบอร์ดอินดัสเตรียล เอสเตท เลขที่ 9 ชัน้ 18 อาคารยูเอ็มทาวเวอร์ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ 358 60 663.70 15% 317.37 14% 1,216.06 (ระยอง) จำกัด ถ.รามคำแหง สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 บริษทั เอช-คอนสตรัคชัน่ แมนเนจเม้นท์ เลขที่ 9 ชัน้ 18 อาคารยูเอ็มทาวเวอร์ ให้บริหารออกแบบและ 17.15 99.99 12.02 0% 23.09 1% 34.12 แอนด์ เอ็นจิเนียริง่ จำกัด ถ.รามคำแหง สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 ควบคุมงานก่อสร้าง บริษทั เดอะพาร์คเรสซิเดนซ์ จำกัด เลขที่ 9 ชัน้ 18 อาคารยูเอ็มทาวเวอร์ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์และ 0.25 99.99 3.31 0% 7.43 0% 5.64 ถ.รามคำแหง สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 บริหารจัดการงานบริการ บริษทั เหมราช อีสเทิรน์ ซีบอร์ด เลขที่ 9 ชัน้ 18 อาคารยูเอ็มทาวเวอร์ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ 1,000 99.99 1,242.93 28% 300.24 13% 1,847.48 อินดัสเตรียล เอสเตท จำกัด ถ.รามคำแหง สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 บริษทั เหมราช วอเตอร์ จำกัด (4) เลขที่ 9 ชัน้ 18 อาคารยูเอ็มทาวเวอร์ พัฒนาบริหารและจัดการ 100 99.99 185.11 4% 147.71 6% 94.39 ถ.รามคำแหง สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 ทรัพยากรน้ำ บริษทั เอสเอ็มอี แฟคทอรี่ จำกัด เลขที่ 9 ชัน้ 18 อาคารยูเอ็มทาวเวอร์ จำหน่ายและให้เช่าโรงงานสำเร็จรูป 37 99.99 1.31 0% 21.13 1% 4.09 ถ.รามคำแหง สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 บริษทั เอช-ฟีนกิ ซ์ พร็อพเพอร์ต้ี จำกัด เลขที่ 9 ชัน้ 18 อาคารยูเอ็มทาวเวอร์ อาคารชุดเพือ่ ขาย และให้เช่า 480 99.99 96.32 2% 91.60 4% 80.28 ถ.รามคำแหง สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 และให้บริการ บริษทั เหมราช คลีน วอเตอร์ จำกัด (5) เลขที่ 9 ชัน้ 18 อาคารยูเอ็มทาวเวอร์ ผลิตและจำหน่ายน้ำ 645 99.99 220.91 5% 178.24 8% 84.36 ถ.รามคำแหง สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 เพือ่ อุตสาหกรรม บริษทั เหมราช สระบุรี ทีด่ นิ อุตสาหกรรม จำกัด * เลขที่ 111 หมู่ 7 หนองปลาหมอ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ 500 99.99 21.92 1% (เดิมชือ่ ”บริษทั เอส ไอ แอล ทีด่ นิ อุตสาหกรรม จำกัด”) หนองแค สระบุรี 18140 บริษทั เหมราช ระยองทีด่ นิ อุตสาหกรรม จำกัด * (6) เลขที่ 9 ชัน้ 18 อาคารยูเอ็มทาวเวอร์ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ 1,000 99.99 7.49 0% (เดิมชือ่ ”บริษทั ระยอง ทีด่ นิ อุตสาหกรรม จำกัด”) ถ.รามคำแหง สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250

โครงสร้างการลงทุนและรายได้ของบริษัท บริษัทย่อย และบริษัทร่วม

100

• Annual Report 2010

2%

2%

0%

2%

37%

0%

1%

24%

1%

18%

0%

13%

%


รายงานประจํ า ปี 2553

บริษัท

ที่อยู่

ประเภทกิจการ

ทุนชำระแล้ว (ล้านบาท)

% การลงทุน 2553

%

รายได้ (ล้านบาท) 2552 % 2551

%

บริษทั ร่วม (9) บริษทั โคเฟลี (ประเทศไทย) จำกัด เลขที่ 107/1 หมู่ 4 ให้บริการเกีย่ วกับระบบสาธารณูปโภค 50 40 3.63 0% 3.60 0% 2.76 0% (เดิมชือ่ “บริษทั เอลโย่-เอช ฟาซิลตี ้ี แมนเนจเมนท์ จำกัด”) นิคมอุตสาหกรรมอีสเทิรน์ ซีบอร์ด(ระยอง) ปลวกแดง ระยอง บริษทั เหมราช สระบุรี ทีด่ นิ อุตสาหกรรม จำกัด (7) เลขที่ 111 หมู่ 7 หนองปลาหมอ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ 500 25 13.67 0% 3.55 0% 12.64 0% (เดิมชือ่ ”บริษทั เอส ไอ แอล ทีด่ นิ อุตสาหกรรม จำกัด”) หนองแค สระบุรี 18140 บริษทั เหมราช ระยองทีด่ นิ อุตสาหกรรม จำกัด (6) เลขที่ 9 ชัน้ 18 อาคารยูเอ็มทาวเวอร์ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ 1,000 25 1.14 0% 11.30 1% (6.50) 0% (เดิมชือ่ ”บริษทั ระยอง ทีด่ นิ อุตสาหกรรม จำกัด”) ถ.รามคำแหง สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 บริษทั เก็คโค่-วัน พลังงาน จำกัด 195 ตึกเอ็มไพร์ทาวเวอร์ ชัน้ 38 พาร์ควิง ผลิตไฟฟ้าและพลังงาน 7,719 35 393.51 9% 74.25 3% 19.69 0% ถนน สาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 บริษทั ห้วยเหาะไทย จำกัด 10 / 190-193 อาคารเดอะ เทรนดี้ ช้น 26 Holding Company 527.69 51 (0.10) 0% (0.19) 0% ซอยสุขมุ วิท 13 ถนนสุขมุ วิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา บริษทั โรงไฟฟ้าห้วยเหาะ จำกัด (8) P.O.Box 5464, Nong Bone Road ผลิตและจำหน่ายไฟฟ้า 50 12.75 10.10 0% (11.89) -1% Bane Fai, Xaysetta District, Vientiane (ล้านเหรียญสหรัฐ) Lao People’s Democratic Republic บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกัน บริษทั อีสเทิรน์ ฟลูอดิ ทรานสปอร์ต จำกัด เลขที่ 618 ถนนนิคมมักกะสัน มักกะสัน ซ่อมแซมและบำรุงรักษา 10 15 ราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โครงสร้างฐานวางท่อ บริษทั โกลว์ ไอพีพี จำกัด 195 ตึกเอ็มไพร์ทาวเวอร์ ชัน้ 38 พาร์ควิง บริการเกีย่ วกับไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า 2,850 5 ถนน สาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 ยอดรวมรายได้ของบริษทั เหมราชพัฒนาทีด่ นิ จำกัด (มหาชน) และ บริษทั ฯย่อย 4,442.17 100% 2,303.32 100% 5,011.10 100% หมายเหตุ 1) จัดตัง้ ใน Cayman Islands 2) จัดตัง้ อาณาเขตของ British Virgin Islands 3) ถือหุน้ ทางตรงร้อยละ 74.99 และ ถือหุน้ ทางอ้อมโดยผ่านบริษทั อีสเทิรน์ อินดัสเตรียลเอสเตรท จำกัด อีกร้อยละ 25 4) ถือหุน้ ทางอ้อมร้อยละ 99.99 โดยผ่านบริษทั เหมราช คลีน วอเตอร์ จำกัด 5) ในปี 2552 บริษทั เหมราช คลีน วอเตอร์ จำกัด ได้เรียกชำระค่าหุน้ ครบเต็มจำนวน (ในปี 2551 บริษทั ได้ทำการจัดตัง้ บริษทั เหมราช คลีน วอเตอร์ จำกัด โดยมีทนุ จดทะเบียนเริม่ ต้น 645 ล้านบาท และบริษทั ได้จา่ ยชำระค่าหุน้ รวม 580.50 ล้านบาท ) 6) ถือหุน้ ทางอ้อมโดยผ่านบริษทั เหมราช สระบุรี ทีด่ นิ อุตสาหกรรม จำกัด ร้อยละ 99.99 7) ในปี 2553 บริษทั ได้จา่ ยเงินค่าซือ้ เงินลงทุนในบริษทั เหมราช สระบุรี ทีด่ นิ อุตสาหกรรม จำกัด(HSIL) แก่บริษทั ซีเมนต์ ไทย โฮลดิง้ จำกัด (CHC) 8) ถือหุน้ ทางตรงในบริษทั ห้วยเหาะไทย จำกัด ร้อยละ 51 โดยบริษทั ห้วยเหาะไทย จำกัด ถือหุน้ ในบริษทั โรงไฟฟ้าห้วยเหาะ จำกัด จดทะเบียนในประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ใช้สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐในการดำเนินธุรกิจ) ร้อยละ 25 9) ปี 2551 ส่วนแบ่งผลขาดทุนจากเงินลงทุนตามวิธสี ว่ นได้เสีย - บริษทั ร่วม แสดงเป็นค่าใช้จา่ ยในงบกำไรขาดทุน * การจัดทำงบการเงินรวมสิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ของบริษทั ได้รวมรายได้ของบริษทั ย่อยทัง้ 2 แห่งตัง้ แต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2553 ถึง วันที่ 31 ธันวาคม 2553

101

• Annual Report 2010


• Annual Report 2010 บริษัท เอช-ฟีนิกซ์ พร็อพเพอร์ตี้ จำกัด

บริษัท เอสเอ็มอี แฟคทอรี่ จำกัด

บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน)

บริษัทย่อย

บริษัท เก็คโค่-วัน จำกัด

บริษัท เหมราช ระยองที่ดิน อุตสาหกรรม จำกัด

Hemaraj International Co.,Ltd.

H-International (BVI) Co., Ltd.

บริษัท เหมราชคลีน วอเตอร์ จำกัด

บริษัท เหมราช วอเตอร์ จำกัด

บริษัท เอช-คอนสตรัคชั่น แมนเนจเม้นท์ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด

บริษัท เดอะพาร์คเรสซิเดนซ์ จำกัด

บริษัท อีสเทิร์นไพพ์ไลน์เซอร์ วิสเซส จำกัด

บริษัท เหมราช อีสเทิร์นซีบอร์ด อินดัสเตรียล เอสเตท จำกัด

บริษัท อีสเทิร์นซีบอร์ด อินดัสเตรียล เอสเตท ระยอง จำกัด

บริษัท อีสเทิร์นอินดัสเตรียล เอสเตท จำกัด

บริษัทร่วม

หมายเหตุ: / = กรรมการ

X = ประธานกรรมการ

// = กรรมการบริหาร

1 นายชวลิต เศรษฐเมธีกุล /, X 2 นายสุทธิพันธุ์ จารุมณี / 3 นายธงชัย ศรีสมบูรณานนท์ /, // X /, // X / X X X X X / X X 4 นายเดวิด ริชาร์ด นาร์โดน /, // / /, // / X / X / / / / / / / / / X / 5 นายวิวัฒน์ จิรัฐติกาลสกุล /, // / /, // / / / / / / / / / / / / / / / 6 นายปีเตอร์ จอห์น เอ็ดมันสัน / 7 นางพรรณี วรวุฒิจงสถิต / 8 นางสาวปัทมา หอรุ่งเรือง /, // / /, // / / / / / / / / / / / / 9 นายสมพงษ์ วนาภา / 10 นายวิกิจ หอรุ่งเรือง / 11 นายสุนทร คงสุนทรกิจกุล / / / 12 นายคำฮอง รัศมานี / 13 นายธนินทร์ ทรัพย์บุญเรือง / 14 นายศิริศักดิ์ กิจรักษา /

ชื่อ

บริษัท โคเฟลี (ประเทศไทย) จำกัด

ข้อมูลการดำรงตำแหน่งของกรรมการและผู้บริหารในบริษัท บริษัทย่อยและบริษัทร่วม

บริษัท ห้วยเหาะไทย จำกัด

รายงานประจํ า ปี 2553 บริษัท เหมราช สระบุรีที่ดิน อุตสาหกรรม จำกัด

102 / /

บริษัท ห้วยเหาะ เพาเวอร์ จำกัด


ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี

103 ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (audit fee) บริษัทและบริษัทย่อยจ่ายค่าตอบแทนการสอบบัญชีให้แก่สำนักงาน เอ. เอ็ม. ที. แอสโซซิเอท ซึ่งเป็นสํานักงาน ที่ผู้สอบบัญชีสังกัด ในรอบปีบัญชีที่ผ่านมามีจํานวนเงินรวม 4.10 ล้านบาท และ ค่าสอบบัญชีบริษัทย่อยที่ตรวจสอบโดย ผู้สอบบัญชีอื่นจำนวนเงินรวม 0.50 ล้านบาท ค่าบริการอื่น (non-audit fee) บริษัทและบริษัทย่อยจ่ายค่าตอบแทนของงานบริการอื่น ซึ่งได้แก่ ค่าบริการสำหรับจัดทำรายงานของ BOI ให้ แก่สำนักงาน เอ. เอ็ม. ที. แอสโซซิเอท ซึ่งเป็นสํานักงานที่ผู้สอบบัญชีสังกัด ในรอบปีบัญชีที่ผ่านมามี จํานวนเงินรวม 110,000 บาท

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


บุคคลอ้างอิงอื่นๆ

104 นายทะเบียนหลักทรัพย์

บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์ประเทศไทย ชั้น 4, 6-7 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110, ประเทศไทย โทรศัพท์ 0-2229-2800 โทรสาร 0-2654-5427 ผู้สอบบัญชี นางณัฐสรัคร์ สโรชนันท์จีน CPA No. 4563 สำนักงาน เอ.เอ็ม.ที แอสโซซิเอท 491/27 สีลมพลาซ่า ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500, ประเทศไทย โทรศัพท์ 0-2234-1676, 0-2234-1678 โทรสาร 0-2237-2133 ที่ปรึกษากฎหมาย บริษัท อัลเลน แอนด์ โอเวอรี่ (ประเทศไทย) จำกัด 130 อาคารสินธร 3 ชั้น 22 ถนนวิทยุ กรุงเทพฯ 10330, ประเทศไทย โทรศัพท์ 0-2263-7600 โทรสาร 0-2263-7699 ที่ปรึกษาทางการเงิน พิจารณาตามโครงการ

รายงานประจํ า ปี 2553

• Annual Report 2010


รายงานประจำปี 2553 บริ ษ ั ท เหมราชพั ฒ นาที ่ ด ิ น จำกั ด (มหาชน)

ชั้น 18 อาคารยูเอ็มทาวเวอร์ เลขที่ 9 ถนนรามคำแหง สวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 ประเทศไทย โทรศัพท์ : 66-2719-9555 โทรสาร : 66-2719-9546-7 ทะเบียนเลขที่ : บมจ.0107536000676

Hemaraj Land And Development Public Company Limited th

18 FL., UM Tower, 9 Ramkhamhaeng Rd., Suangluang, Bangkok 10250 THAILAND Tel : 66-2719-9555 Fax : 66-2719-9546-7 Registration No. : BORMORJOR.0107536000676 e-mail : marketing@hemaraj.com, invest@hemaraj.com www.hemaraj.com, www.theparkresidence.co.th

Annual Report 2010 Hemaraj Land And Development Public Company Limited

บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน)

รายงานประจำปี 2553

Annual Report 2010

P roperty I

ndustrial estates

U tilities บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน)

Hemaraj Land And Development Public Company Limited


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.