แถลงการณ์คัดค้านควบรวมกสม.-รายชื่อองค์กรร่วมลงนาม_29Jan15(final).pdf

Page 1

แถลงการณ คัดคานการควบรวมคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติและผูตรวจการแผนดิน เผยแพรวันที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๕๘

ตามที่คณะกรรมาธิการยกรางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยไดพิจารณารางรัฐธรรมนูญเป นรายมาตรา ในหมวด ๒ การตรวจสอบการใชอํานาจรัฐสวนที่ ๕ องคกรตามรัฐธรรมนูญ ตอนที่ ๔ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ตอนที่ ๕ ผูตรวจการแผนดิน โดยเสนอใหมีการควบรวมทั้งสององคกรเขาดวยกันเมื่อวันที่ ๒๘ มกราคม ๒๕๕๘ โดยที่ประชุมไดมีการพิจารณามีความเห็นไปในทางเดียวกันวาใหรอการพิจารณาไวกอนโดยไปศึกษาขอดี ขอเสียในการควบรวมทั้งสองหนวยงานเขาดวยกันเพื่อเปนขอมูลประกอบการพิจารณาของคณะกรรมา ธิการยกรางรัฐธรรมนูญในคราวตอไป และมีมติใหแตงตั้งคณะทํางานขึ้นคณะหนึ่งเพื่อศึกษาแนวทางในการควบรวมคณะกรรมการสิทธิมนุษย ชนแหงชาติและผูตรวจการแผนดินเขาดวยกันนั้น สมาคมสิทธิเสรีภาพของประชาชน (สสส.) สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน(สนส.)และองคกรที่มีรายชื่อทายแถลงการณฉบับนี้ ขอคัดคานการควบรวมคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติและผูตรวจการแผนดินเขาดวยกัน โดยขอแสดงความเห็นและขอเสนอแนะประกอบความคิดเห็นดังตอไปนี้ ๑. ที่มาและเจตนารมณของการกอตั้งคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติและผูตรวจการแผนดินในระ ดับสากล คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติถือเปนสถาบันระดับชาติดานการสงเสริมและคุมครองสิท ธิมนุษยชนตามหลักการปารีส (Paris Principles -ดูเอกสารสหประชาชาติ A/RES/48/134) ซึ่งเกิดขึ้นจากผลการประชุม International Workshop on National Institutions for the Promotion and Protection of Human Rights ในปค.ศ.๑๙๙๑ และไดรับการรับรองตามมติที่ประชุมสมัชชาใหญสหประชาชาติที่ ๔๘/๑๓๔ ลงวันที่ ๒๐ ธันวาคม ๑๙๙๓ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหความคุมครองและสงเสริมสิทธิมนุษยชน ตามปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ปจจุบันมีสถาบันระดับชาติดานการสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนกวา ๑๐๖ ประเทศทั่วโลก ในขณะทีผ่ ูตรวจการแผนดิน หรือ Ombudsman นั้น มีที่มาจากประเทศสวีเดน กอตั้งขึ้นในราวป ๑๘๐๙ ใหทําหนาที่ตางพระเนตรพระกรรณของพระเจาแผนดิน บรรเทาทุกขเดือดรอนของประชาชนที่เกิดจากความอยุติธรรมอันเกิดจากการกระทําของเจาหนาที่รัฐ เมื่อประเทศสวีเดนเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเปนระบอบประชาธิปไตย แนวคิดเรื่อง Ombudsman จึงยังคงอยูแตองคกรผูใชอํานาจนี้ คือ สภาผูแทนราษฎร จึงเรียกวา “ผูตรวจการรัฐสภา” คือ ทําหนาที่แทนฝายนิติบัญญัติในการเยียวยาแกไขปญหาใหแกประชาชนอันเกิดจากการกระทําที่ไมเปนธรร มของเจาหนาที่รัฐ อันเปนบทบาทขององคกรที่ทําหนาที่ตรวจสอบอํานาจรัฐ ที่สําคัญองคกรหนึ่งที่ยึดโยงกับตัวแทนของผูใชอํานาจอธิปไตย1 เมื่อพิจารณาจากที่มาขององคกรทั้งสองในระดับสากลจะเห็นวาเจตนารมณของการจัดตั้งและภ ารกิจนั้นแตกตางกัน 1

สรุปความจากบทสัมภาษณ ศาสตราจารยธีรภัทร เสรีรังสรรค วารสารผูตรวจการแผนดิน ปที่ ๖ ฉบับที่ ๑ มกราคม-มิถุนายน ๒๕๕๖ หนา ๗-๘


กลาวคือคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติมุงแกไขปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน สวนผูตรวจการแผนดินนั้นมีวัตถุประสงคตรวจสอบการใชฝายปกครองมิใหใชอํานาจตามอําเภอใจในกา รดําเนินการบริหารบานเมือง ๒.อํานาจหนาที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติและผูตรวจการแผนดินในประเทศไทย ในประเทศไทยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ และผูตรวจการแผนดิน มีที่มาจากรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ๒๕๔๐ และรัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐ โดยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ มีอํานาจหนาที่สําคัญ คือ การตรวจสอบและรายงานการกระทําหรือการละเลยการกระทํา อันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนตามกฎหมาย รัฐธรรมนูญ หรือไมเปนไปตามพันธกรณีระหวางประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเปนภาคีและเสนอมาตรก ารการแกไขที่เหมาะสม ตอบุคคลหรือหนวยงานที่กระทํา หรือละเลยการกระทําดังกลาว การเสนอนโยบายกฎหมายดานสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการสงเสริมการศึกษาสิทธิมนุษยชน สวนอํานาจหนาที่ของผูตรวจการแผนดินมีอํานาจหนาที่สําคัญ คือ ในการพิจารณาและสอบสวนหาขอเท็จจริงกรณีการรองเรียนวา ขาราชการ พนักงาน หรือลูกจางของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่นไมปฏิบัติตามกฎหมาย หรือปฏิบัตินอกเหนืออํานาจหนาที่ หรือการปฏิบัติหรือละเลยไมปฏิบัติหนาที่และกอใหเกิดความเสียหายแกผูรองเรียนหรือประชาชนโดยไมเป นธรรม รวมถึงการตรวจสอบการละเลยการปฏิบัติหนาที่หรือการปฏิบัติหนาที่โดยไมชอบดวยกฎหมายขององค กรตามรัฐธรรมนูญและองคกรในกระบวนการยุติธรรม ทั้งนี้ไมรวมถึงการพิจารณาพิพากษาอรรถคดีของศาล เมื่อพิจารณาถึงอํานาจหนาที่ดังกลาว แมทั้งสององคกรจะเปนองคกรอิสระ และมีอํานาจหนาที่ในการตรวจสอบการรองเรียนเชนเดียวกัน แตเนื้อหาและวัตถุประสงคในการตรวจสอบมีความแตกตางกัน กลาวคือ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนมุงตรวจสอบและคุมครองการละเมิดสิทธิมนุษยชนตามกฎหมาย รัฐธรรมนูญ หรือตามสนธิสัญญาที่ประเทศไทยมีพันธกรณีที่จะตองปฏิบัตติ าม ไมวาการละเมิดสิทธิมนุษยชนนั้นจะเกิดจากการกระทําของบุคคลใด สวนผูตรวจการแผนดินนั้นมุงตรวจสอบการกระทําของเจาหนาที่รัฐตามกฎหมายโดยการกระทําดังกลา วอาจจะไมเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนก็ได อยางไรก็ตามแมมีบางกรณีที่สามารถรองเรียนไดทั้งสององคกรคือกรณีการละเมิดสิทธิมนุษย ชนโดยเจาหนาที่รัฐ แตเมื่อมีการตรวจสอบหลักเกณฑในการตรวจสอบของทั้งสององคกรยอมมีความแตกตางกัน เพราะนอกจากคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนจะตองตรวจสอบความชอบดวยกฎหมายแลว ยังตองพิจารณาวากรณีดังกลาวเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือไมอยางไร ซึ่งจะนําไปสูขอเสนอในเชิงนโยบายและกฎหมายเพื่อใหสอดคลองกับพันธกรณีดังกลาว ประชาชนจึงยอมไดรับความคุมครองสิทธิมากกวาการพิจารณาโดยอาศัยบทบัญญัติทางกฎหมายเพียง อยางเดียว สมาคมสิทธิเสรีภาพของประชาชน สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน และองคกรขางทายนี้ เห็นวาการที่คณะกรรมาธิการยกรางรัฐธรรมนูญ จะพิจารณาควบรวมหนวยงานทั้งสองเขาดวยกัน โดยอางวาเปนเพราะอํานาจหนาที่ของทั้งสองหนวยงานคลายคลึงกันนั้น ยอมเปนความเขาใจที่คลาดเคลื่อนในเจตนารมณและภารกิจขององคกร


และขอเสนอแนะใหคณะกรรมาธิการยกรางรัฐธรรมนูญ พิจารณายกรางบทบัญญัติใหคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ และผูตรวจการแผนดิน เปนหนวยงานอิสระแยกจากกันเปนสองหนวยงาน อันสอดคลองกับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๔๐ และ ๒๕๕๐ และจะนําไปสูการคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนอยางมีประสิทธิภาพตามมาตรฐานสิทธิมนุษยชนต อไป ดวยความเคารพตอสิทธิเสรีภาพของประชาชน 1. สมาคมสิทธิเสรีภาพของประชาชน (สสส.) 2. สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน (สนส.) 3. มูลนิธิสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชน (Prorights Foundation) 4. มูลนิธิผสานวัฒนธรรม (CrCF) 5. มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา (มสพ.) 6. มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดลอม (EnLaw) 7. มูลนิธิยุติธรรมเพื่อสันติภาพ 8. มูลนิธิศักยภาพชุมชน 9. คณะกรรมการประสานงานองคกรพัฒนาเอกชน (กป.อพช.) 10. มูลนิธิเพื่อการพัฒนาแรงงานและอาชีพ (Homenet) 11. คณะกรรมการรณรงคเพื่อสิทธิมนุษยชน (ครส.) 12. ศูนยขอมูลสิทธิมนุษยชนและสันติธรรม (สสธ.) 13. คณะทํางานไทยเพื่อกลไกสิทธิมนุษยชนอาเซียน 14. พิพิธภัณฑแรงงานไทย 15. เครือขายผูหญิงอีสาน 16. ศูนยกฎหมายสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา 17. มูลนิธิพิทักษสตรีและเด็ก 18. มูลนิธิชุมชนไท 19. ศูนยศึกษาและฟนฟูนิเวศวัฒนธรรมชุมชนเทือกเขาเพชรบูรณ 20. เครือขายปฏิรูปที่ดินภาคอีสาน 21. เครือขายทรัพยากรภาคเหนือตอนลาง 22. สหพันธเกษตรกรภาคเหนือ(สกน.) 23. เครือขายสลัมสี่ภาค 24. ศูนยขอมูลสิทธิมนุษยชนและสันติภาพ ภาคอีสาน 25. กลุมนิเวศวัฒนธรรมศึกษา 26. ศูนยสงเสริมศักยภาพประชาชนนครราชสีมา 27. สถาบันชุมชนอีสาน 28. โครงการปาชุมชน 29. โครงการทามมูน 30. ขบวนผูหญิงปฏิรูปประเทศไทย 31. สมาคมผูหญิงเพื่อสันติภาพ 32. สมาคมลุมน้ําสายบุรี 33. สมาคมสงเสริมสิทธิชุมชน 34. คณะทํางานวาระทางสังคม


35. เครือขายเกษตรกรรมทางเลือก 36. คณะกรรมการสมานฉันทแรงงานไทย 37. ผูแทนไทยในคณะกรรมาธิการระหวางรัฐบาลอาเซียนวาดวยสิทธิมนุษยชน 38. สมัชชาองคกรเอกชนดานการคุมครองสิ่งแวดลอมและอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ (สคส.) 39. เครือขายชนเผาพื้นเมืองแหงประเทศไทย 40. สภาชนเผาพื้นเมืองประเทศไทย 41. สมาคมศูนยรวมการศึกษาและวัฒนธรรมของชาวไทยภูเขาในประเทศไทย 42. มูลนิธิอาสาสมัครเพื่อสังคม 43. สมาคมสงเสริมศักยภาพสตรีพิการ 44. เครือขายพิทักษสิทธิชุมชนเขาคูหา อ.รัตภูมิ จ.สงขลา 45. นายสมชาย หอมลออ 46. นางสุนี ไชยรส 47. ดร.ศรีประภา เพชรมีศรี 48. นายชํานาญ จันทรเรือง 49. นางสาวดาราราย รักษาสิริพงศ 50. นายสรรพสิทธิ์ คุมพประพันธ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.