Compilation of HRDF Newsletter Access to Justice and Rights Protection

Page 1

รวมจดหมายขาวดานแรงงานขามชาติในประเทศไทย: การเขาถึงความยุติธรรมและการคุมครองสิทธิ กรกฎาคม 2556-ธันวาคม 2557 Compilation of HRDF Newsletter Access to Justice and Rights Protection for Migrant Workers in Thailand from July 2013-December 2014


จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย การเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand ฉบับที่ 1 : กรกฎาคม–กันยายน 2556

1st issue: July–September 2013


คดีนายโทน เอ กับปัญหา

หลักประกันสิทธิของแรงงานที่ลดลง

จันทร์จิรา จันทร์แผ้ว1

หากกล่ า วจึ ง เจตนารมณ์ ข องพระราชบั ญ ญั ติ เงินทดแทน พ.ศ. ๒๕๓๗ จะเห็นได้ว่ามุ่งคุ้มครองสิทธิของ แรงงานอย่างเท่าเทียมทั้งแรงงานไทยและแรงงานข้ามชาติ โดยไม่เลือกปฏิบตั ิ แม้หลักการดังกล่าวจะเป็นหลักการส�ำคัญ แต่ ในทางปฏิบัติ ไม่อาจปฏิเสธได้ว่ายังมีปัญหาอยู่หลาย ประการ ดังกรณีของนายโทน เอ ลูกจ้างสัญชาติพม่า ในบริษทั แห่งหนึง่ ทีผ่ ลิตบรรจุภณ ั ฑ์พลาสติกโดยใช้เครือ่ งจักร ปั ๊ มพลาสติ ก พลาสติ ก ถื อ เป็ น กิ จ การที่ ก ฎหมายก�ำหนด ให้นายจ้างมีหน้าที่ต้องจ่ายเงินสมทบ ซึ่งเมื่อลูกจ้างประสบ อันตรายจากการท�ำงาน มาตรา ๒๕ ได้บัญญัติไว้ชัดเจนว่า “การจ่ายเงินทดแทนตามหมวดนี้ ในกรณีที่นายจ้างเป็น ผูม้ หี น้าทีต่ อ้ งจ่ายเงินสมทบ ให้สำ� นักงานจ่ายเงินทดแทนแก่ ลูกจ้างหรือผู้มีสิทธิตามมาตรา ๒๐ แทนนายจ้าง...” แต่ ปรากฏว่า กรณีของแรงงานข้ามชาติ รวมถึงกรณีของนาย โทน เอ ส�ำนักงานกองทุนเงินทดแทนได้ผลักภาระให้นายจ้าง เป็นผู้จ่ายเงินดังกล่าวแทน แนวปฏิบัติดังกล่าวก่อให้เกิดปัญหาในเชิงหลักการ สองประการ ประการแรก เป็นการลดทอนหลักประกันสิทธิ ของลูกจ้างตามพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. ๒๕๓๗ เนือ่ งจากให้นายจ้างที่ ไม่จา่ ยเงินสมทบเป็นผูจ้ า่ ยเงินทดแทน หลั ก ประกั น ของลู ก จ้ า งในการที่ จ ะได้ รั บ เงิ น ทดแทนจาก กองทุนฯ ที่มีสถานะทางการเงินมั่นคงกว่านายจ้างจึงถูกตัด ออกไปโดยสิ้นเชิง ประการที่สอง เมื่อนายจ้างถูกสั่งให้จ่าย เงินแก่ลกู จ้าง คูก่ รณีจะเปลีย่ นจาก ๒ ฝ่าย ระหว่าง “กองทุน เงินทดแทน” กับ “นายจ้าง” มาเป็น ๓ ฝ่าย คือระหว่าง

1

“กองทุนเงินทดแทน” “ลูกจ้าง” และ “นายจ้าง” ก่อให้เกิด ช่องว่างให้นายจ้างน�ำคดีขนึ้ สูศ่ าลแรงงานเพือ่ เข้าสูก่ ารเจรจา ไกล่เกลีย่ กับลูกจ้างให้ยอมรับเงินจ�ำนวนต�ำ่ กว่าสิทธิทตี่ นเอง พึงได้รับตามกฎหมาย กล่าวคือ เมื่อกองทุนเงินทดแทนสั่ง ให้นายจ้างจ่ายเงินสมทบ นายจ้างของนายโทน เอ ได้ยื่น อุทธรณ์ค�ำสั่งต่อคณะกรรมการกองทุนเงินทดแทน ต่อมา คณะกรรมการกองทุนเงินทดแทนวินิจฉัยยกอุทธรณ์ของ บริษัท นายจ้างจึงใช้สิทธิฟ้องคดีต่อศาลแรงงาน โดยฟ้อง ส�ำนักงานประกันสังคมแห่งหนึง่ เป็นจ�ำเลย และเรียกนายโทน เอ เข้ามาเป็นจ�ำเลยร่วม เมื่อเข้าสู่การพิจารณาคดีของศาล แรงงาน สิ่งแรกที่เกิดขึ้นในกระบวนพิจารณาคือ “การไกล่ เกลี่ย” เพื่อลดยอดเงินตามกฎหมายที่นายจ้างต้องจ่ายแก่ นายโทน เอ หากนายโทน เอ พอใจเงินจ�ำนวนตามทีน่ ายจ้าง เสนอ คดีก็สามารถจบลงได้ แต่เงินทดแทนที่ลูกจ้างได้รับ จะต�่ำกว่าสิทธิที่ลูกจ้างพึงได้รับตามกฎหมาย ทั้งที่กฎหมาย แรงงานเป็ น กฎหมายเกี่ ย วกั บ ความสงบเรี ย บร้ อ ยของ ประชาชน แต่สามารถไกล่เกลี่ยลดจ�ำนวนเงินที่กฎหมาย ก�ำหนดให้เป็นสิทธิมาตรฐานขั้นต�่ำของลูกจ้างได้ ก่อให้เกิด ค�ำถามต่อการพิจารณาคดีว่าสามารถรักษาสิทธิของลูกจ้าง ได้มากน้อยเพียงใด และอาจส่งผลให้นายจ้างน�ำคดีขนึ้ สูศ่ าล เพื่อเข้าสู่การตกลงไกล่เกลี่ยลดจ�ำนวนเงินทดแทนลง ท�ำให้ เจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติเงินทดแทน กฎหมายฉบับนี้ ที่มุ่งคุ้มครองสิทธิของลูกจ้างถูกลดทอนประสิทธิภาพลง อย่างไม่อาจปฏิเสธได้และกระทบโดยตรงกับสิทธิของลูกจ้าง ในระยะยาว

ทนายความมูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา และกรรมการสมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน

2 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


คดีเด็กและเยาวชน

จะมีทนายความแก้คดีแทนไม่ได้ แต่ให้จ�ำเลยมีที่ปรึกษากฎหมาย... จันทร์จิรา จันทร์แผ้ว2

นายแสง (นามสมมุติ) กับ นายแมน (นามสมมุติ) สองเยาวชนที่ตกเป็นจ�ำเลยในคดีร่วมกันฆ่าผู้อื่น ซึ่งมูลนิธิ เพือ่ สิทธิมนุษยชนและการพัฒนาพิจารณาให้ความช่วยเหลือทางคดี ต้องเผชิญกับปัญหาทีป่ รึกษากฎหมายไม่เพียง พอต่อความต้องการ3 ส่งผลกระทบต่อสิทธิของเด็กและเยาวชนอย่างมาก ปัญหาดังกล่าวมาจากหลายสาเหตุ ผู้เขียนขอมุ่ง พิจารณาความถูกต้องในเชิงหลักการเท่านั้น กล่าวคือ หาก พิจารณาพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและ วิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๒๐ ทีบ่ ญ ั ญัตวิ า่ “ในศาลทีม่ อี ำ� นาจพิจารณาคดีเยาวชนและ ครอบครัว จ�ำเลยจะมีทนายความแก้คดีแทนไม่ ได้ แต่ ให้ จ�ำเลยมีที่ปรึกษากฎหมายเพื่อปฏิบัติหน้าที่ท�ำนองเดียวกับ ทนายความได้ ในกรณีทจี่ ำ� เลยไม่มที ปี่ รึกษากฎหมาย ให้ศาล แต่งตั้งที่ปรึกษากฎหมายให้” และมาตรา ๑๒๑ ที่บัญญัติว่า “ที่ปรึกษากฎหมายตามมาตรา ๑๒๐ ต้องมีคุณสมบัติเป็น ทนายความตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยทนายความและผ่ า น การอบรมเรื่องวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว ความ รู้เกี่ยวกับจิตวิทยา การสังคมสงเคราะห์ และความรู้อื่น ที่เกี่ยวข้องตามที่ก�ำหนดในข้อบังคับของประธานศาลฎีกา” หมายความว่า ทนายความที่จะปฏิบัติหน้าที่ ในคดีที่เด็กและ เยาวชนเป็นจ�ำเลยได้จะต้องผ่านการอบรมตามที่กฎหมาย ก�ำหนด จึงเป็นเสมือน “คุณสมบัต”ิ หนึง่ ทีต่ อ้ งมี ในการปฏิบตั ิ หน้ า ที่ ดั ง นั้ น ทนายความที่ มี ค วามรู ้ ค วามเข้ า ใจและมี ประสบการณ์การท�ำคดีเด็กและเยาวชนมายาวนาน แต่ ไม่ผา่ น การอบรม ก็ ไม่สามารถปฏิบตั หิ น้าทีท่ ปี่ รึกษากฎหมายแก้ตา่ ง ให้เด็กและเยาวชนได้ จึงถือเป็นการตัดสิทธิทนายความ ในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ แ ละกระทบต่ อ สิ ท ธิ ใ นการเข้ า ถึ ง กระบวนการยุติธรรมของเด็กและเยาวชตามรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 40 (7) อย่าง ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้

โดยหลักการวิชาชีพแล้วทนายความสามารถปฏิบัติ หน้าที่ ในคดีเด็กและเยาวชนได้เช่นเดียวกับที่ปฏิบัติหน้าที่ ในศาลช�ำนัญพิเศษอื่น เช่น ศาลทรัพย์สินทางปัญญาและ การค้าระหว่างประเทศ ศาลภาษีอากร ศาลแรงงาน ศาล ล้มละลาย ฯลฯ ซึง่ ต้องอาศัยองค์ความรูแ้ ละความเชีย่ วชาญ เฉพาะด้าน ก็ ไม่ ได้บญ ั ญัตหิ า้ มไม่ ให้ทนายความปฏิบตั หิ น้าที่ ในศาลดั ง กล่ า วหากไม่ ผ ่ า นการอบรมเพิ่ ม องค์ ค วามรู ้ แต่อย่างใด อย่างไรก็ตาม หากพิจารณาผ่านมุมมองผู้ผลักดัน ให้มีการแก้ ไขพระราชบัญญัตินี้ คงเพราะต้องการให้เด็ก และเยาวชนมีทนายความที่มีประสิทธิภาพ เข้าใจและค�ำนึง ถึงสิทธิของเด็กและเยาวชนเป็นส�ำคัญ จึงได้บัญญัติเป็น “คุณสมบัติ” ในการปฏิบัติหน้าที่ แต่ก็มีข้อสังเกตว่าเหตุใด วิชาชีพอื่น ได้แก่ เจ้าพนักงานต�ำรวจ พนักงานอัยการ ศาล ฯลฯ จึงไม่ถูกก�ำหนด “คุณสมบัติ” เช่นเดียวกับทนายความ หรือแท้จริงแล้ว การเพิ่มประสิทธิภาพและ/หรือองค์ความรู้ เฉพาะด้านให้บุคลากรในกระบวนการยุติธรรมควรเป็นไป ในทิศทางส่งเสริมสนับสนุน มากกว่าการบังคับตายตัว ซึง่ จะ ท�ำให้บรรลุเจตนารมณ์กฎหมายได้มากกว่า ดังนั้น พระราชบัญญัติศาลเยาวชนฯ มาตรา ๑๒๐ มาตรา ๑๒๑ และมาตราอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องจึงควรได้รับการ ปรับปรุงแก้ ไขโดยเร่งด่วน เพื่อให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักร พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๔๐(๗) และ เพือ่ อ�ำนวยความยุตธิ รรม คุม้ ครองสิทธิเด็กและเยาวชนต่อไป

2

ทนายความมูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา และกรรมการสมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน ปัญหาจ�ำนวนที่ปรึกษากฎหมายมีน้อย ส่วนหนึ่งมีสาเหตุมาจากปัญหาระหว่างศาลเยาวชนและครอบครัวและสภาทนายความ ซึ่งจะไม่ขอกล่าวในที่นี้ 3

จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 3


ประมง ประสบอุบตั เิ หตุจากการท�ำงาน และสภาพการท�ำงาน ที่เสี่ยงอันตราย เมื่อประสบอุบัติเหตุจนต้องสูญเสียอวัยวะ ที่ต้องใช้แรงงาน เช่น นิ้ว แขน หรือขา หรือบางกรณีก็เสีย ชีวิตระหว่างการท�ำงาน ไม่มีเงินทดแทนใดๆ ที่ ได้รับการ ช่วยเหลือจากกองทุนเงินทดแทน และนายจ้างก็ช่วยเหลือ เยียวยาในอัตราที่น้อยกว่าการสูญเสียที่เกิดขึ้นกับแรงงาน และหลายกรณีพบว่าแรงงานถูกบังคับใช้แรงงาน หรือถูก หลอกให้มาท�ำงาน และกลายเป็นเหยื่อของการค้ามนุษย์ ท�ำให้แรงงานต้องหาทางหลบหนี หรือขอความช่วยเหลือจาก เพือ่ นแรงานด้วยกัน หรือตัดสินใจไม่ทำ� งานประเภทดังกล่าว ต่อปัญหาเหล่านี้ธุรกิจในภาคประมงทะเลจึงประสบปัญหา ขาดแคลนแรงงาน ประกอบกับมีการเรียกร้องจากสังคม ในหลายภาคส่วนทั้งองค์กรในประเทศและระหว่างประเทศ ให้มีการปรับปรุงกฎหมาย หรือระเบียบให้มีการคุ้มครอง จากสถิ ติ ข องกลุ ่ ม วิ เ คราะห์ ก ารค้ า สิ น ค้ า ประมง แรงงานมากขึ้น ระหว่างประเทศ กองประมงต่างประเทศ กรมประมง พบ ว่า ประเทศไทยมีปริมาณและมูลค่าการส่งออกสินค้าประมง ทั้งหมดไปยังประเทศต่างๆ ในปี พ.ศ. 2555 มีปริมาณถึง 1,908,099.577 ตัน มูลค่า 264,766.339487 ล้านบาท (ปรับปรุงข้อมูลเมือ่ เดือนมกราคม 2556) ซึง่ รายได้ทรี่ บั จาก ธุรกิจดังกล่าวนี้ ย่อมหมายถึงการใช้แรงงานในกิจการประมง ปัจจุบัน กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองแรงงาน เป็นจ�ำนวนมาก แต่ปรากฏว่าปัจจุบันปริมาณของแรงงาน ประมงทะเล พบว่า มาตรา 22 แห่งพระราชบัญญัตคิ มุ้ ครอง ในกิจการประมงนัน้ มี ไม่เพียงพอต่อกิจการประมงทะเล เนือ่ ง แรงงาน พ.ศ. 2541 บัญญัตวิ า่ “ให้งานประมงทะเลเป็นงาน ด้วยกิจการประมงมีลกั ษณะงานแตกต่างจากกิจการอืน่ โดย ที่จะก�ำหนดในกฎกระทรวงให้มีการคุ้มครองแรงงานกรณี เป็นงานที่เสี่ยงอันตราย ต้องใช้ระยะเวลาอันยาวนานในการ ต่างๆ แตกต่างไปจากพระราชบัญญัตกิ ็ ได้..” ดังนัน้ กระทรวง ลงเรือไปท�ำงาน ห่างไกลจากครอบครัวและเสี่ยงต่อภัย แรงงานจึงได้ออกกฎกระทรวงฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2541) ธรรมชาติ รวมทัง้ เสีย่ งภัยจากโจรสลัดหรือการถูกจับและรับ ออกตามความในพระราชบัญญัตคิ มุ้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 โทษในต่างแดน ปัญหาเหล่านีท้ ำ� ให้แรงงานไทยหันไปท�ำงาน เพือ่ ใช้บงั คับแก่แรงงานประมงทะเลโดยเฉพาะ แต่จากสภาพ ประเภทอื่นที่มีสภาพการท�ำงาน ที่มีค่าจ้างและสวัสดิการ ปัญหาการขาดแคลนแรงงาน และสภาวะการท�ำงานทีเ่ สีย่ ง ทีด่ กี ว่า จึงพบว่าแรงงานในกิจการประมงทะเลส่วนใหญ่เป็น อันตราย และการเข้าไม่ถงึ กลไกการคุม้ ครองโดยรัฐ กระทรวง แรงงานข้ามชาติ แต่แรงงานข้ามชาติเหล่านี้ก็ยังประสบ แรงงานจึงได้ดำ� เนินการปรับปรุงร่างกฎกระทรวงว่าด้วยการ ปัญหาการเข้าไม่ถงึ การคุม้ ครองทางกฎหมายและการบริการ คุ ้ ม ครองแรงงานภาคประมง พ.ศ. .... โดยมี ต าราง จากภาครั ฐ เช่ น เดี ย วกั น กั บ ที่ แ รงงานไทยเคยประสบมา เปรียบเทียบเนื้อหาของกฎกระทรวงฉบับที่ 10 ที่ยังบังคับใช้ โดยเฉพาะการเข้ า ถึ ง ไม่ ถึ ง พระราชบั ญ ญั ติ เ งิ น ทดแทน อยู่กับร่างกฎกระทรวงฯ ฉบับใหม่ ตามที่ปรากฏในตาราง พ.ศ. 2537 ที่มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ได้ ดังต่อนี้4 ท�ำการสัมภาษณ์อดีตแรงงานข้ามชาติทเี่ คยท�ำงานในกิจการ

กฎหมายและนโยบาย

เปิดนโยบายรัฐบาลกับ การคุม้ ครองสิทธิขอแรงงาน ภาคประมง: ร่างกฎกระทรวง ว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน ภาคประมง พ.ศ. .....

การแก้ไขการคุ้มครอง แรงงานประมงทะเล

4

ทางคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย (คปก.) ได้มีหนังสือถึงนายกรัฐมนตรี (เลขที่ คปก.01/534 ลงวันที่ 21 พฤษภาคม 2556) เรียกร้องให้มีการชะลอการออกกฎกระทรวงฉบับดังกล่าว เพราะยังขาดการรับฟังความคิดเห็นจากบุคคลที่เกี่ยวข้องและลักษณะของ การบังคับใช้ของร่างกฎกระทรวงเป็นการควบคุมและจ�ำกัดสิทธิทั้งฝ่ายนายจ้างและลูกจ้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งยังไม่มีการคุ้มครองสิทธิ ของลูกจ้างเท่าที่ควร 4 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


กฎกระทรวง ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2541) 1. ค�ำว่า “นายจ้าง” “นายจ้าง” หมายความรวมถึง เจ้าของเรือประมงซึ่ง ใช้หรือยินยอมให้บุคคล อื่นใช้เรือประมงนั้นท�ำงานประมง ทะเลเพื่อแบ่งปันผลประโยชน์กัน แต่มิ ให้หมายความรวม ถึงเจ้าของเรือประมงซึ่งให้ ผู้อื่นเช่าเรือประมงเพื่อประกอบกิจการ โดยตนเองไม่มีส่วน เกี่ยวข้องด้วย

ร่างกฎกระทรวงว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน ในงานประมงทะเล พ.ศ. .... 1. แก้ ไขนิยามค�ำว่า “นายจ้าง” โดยเพิม่ ว่า นายจ้าง หมายถึง นายจ้างตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน ด้วย และเพิ่มการก�ำหนดประเภทกิจการ กรณีที่เจ้าของเรือ ประมงซึง่ ให้ผอู้ นื่ เช่าเรือประมง โดยตนเองไม่มสี ว่ นเกีย่ วข้อง ไม่ตอ้ งรับผิดอย่างนายจ้าง โดยเพิม่ เติม จากเดิมว่า “เจ้าของ เรือประมงซึ่งให้ผู้อื่นเช่าเรือประมงเพื่อประกอบกิจการ” แก้เป็น “เจ้าของเรือประมงซึ่งให้ผู้อื่นเช่าเรือประมงเพื่อ ประกอบกิจการงานประมงทะเล”ให้ชัดเจน 2. แก้ ไขนิยามค�ำว่า “ค่าจ้าง” โดยเพิ่มเติมว่า ให้ 2. ค�ำว่า “ค่าจ้าง” “ค่าจ้าง” หมายความรวมถึง ส่วนแบ่งทีน่ ายจ้างตกลง หมายถึง ค่าจ้างตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน จ่ายให้แก่ลูกจ้างตามมูลค่าของสัตว์น�้ำที่จับได้ 3. ขอบเขตการบังคับใช้ 3. ขยายความคุ้มครองครอบคลุมลูกจ้างในงาน จ�ำกัดการคุ้มครองลูกจ้าง โดยไม่ ใช้บังคับงานประมง ประมงทะเลทุกประเภท โดยตัดกฎกระทรวงฯ ข้อ 2. ซึ่ง ทะเล 2 กรณี คือ เป็นบทยกเว้นการให้ความคุ้มครองกรณีงานประมงทะเลที่มี (1) งานประมงทะเลทีม่ จี ำ� นวนลูกจ้างน้อยกว่า 20 คน ลูกจ้างน้อยกว่า 20 คน หรือเรือประมงที่ด�ำเนินการประจ�ำ หรื อ (2) เรื อ ประมงที่ ไปด� ำ เนิ น การประจ� ำ อยู ่ น อก อยู่นอกราชอาณาจักรติดต่อกันตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ราชอาณาจักรติดต่อกัน ตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป 4. เพิม่ อายุขนั้ ต�ำ่ ลูกจ้างท�ำงานในเรือประมง จากเดิม 4. อายุขั้นต�่ำของลูกจ้าง และเงื่อนไขการใช้แรงงาน “ไม่ต�่ำกว่า 16 ปี” มาเป็น “ไม่ต�่ำกว่า 18 ปี” ให้สอดคล้อง เด็ก ลูกจ้างท�ำงานในเรือประมง ต้องมีอายุไม่ตำ�่ กว่า 16 ปี กับสภาพการท�ำงานในกิจการประมงทะเล เนือ่ งจากเป็นงาน เว้นแต่เด็กนั้นอายุไม่ต�่ำกว่า 15 ปี และบิดาหรือมารดาหรือ ทีห่ นักและเสีย่ งอันตราย ประกอบกับการท�ำประมงในปัจจุบนั ผู้ปกครองของเด็กนั้นท�ำงานอยู่ ในเรือประมงนั้นด้วย หรือ เป็นเชิงพาณิชย์ขนาดใหญ่ที่ออกทะเลเป็นระยะเวลานานมิใช่ บิดาหรือมารดาหรือผูป้ กครองของเด็กนัน้ ให้ความยินยอมเป็น กิจการระดับชายฝั่งในครอบครัว และตัดเรื่องเด็กที่มีอายุ ไม่ตำ�่ กว่า 15 ปี ทีบ่ ดิ าหรือมารดาให้ความยินยอมเป็นหนังสือ หนังสือ ให้ท�ำงานในเรือประมงได้ ออก 5. การจัดท�ำและการเก็บรักษาทะเบียนลูกจ้าง ก�ำหนดให้จดั ท�ำทะเบียนลูกจ้างเป็นภาษาไทยมิใช่ ให้นายจ้างจัดท�ำเป็นภาษาไทยและเก็บไว้ ณ สถานที่ ภาษาของลูกจ้าง แต่ แก้ ไขหลักเกณฑ์การจัดท�ำทะเบียน ท�ำงานของนายจ้าง เพื่อให้พนักงานตรวจแรงงานตรวจได้ ลูกจ้างจากเดิมที่ก�ำหนดให้นายจ้างที่มีลูกจ้างตั้งแต่ ๑ และให้สง่ ส�ำเนาทะเบียนลูกจ้าง ให้อธิบดีหรือผูซ้ งึ่ อธิบดีมอบ คนขึ้นไป ต้องจัดท�ำทะเบียนลูกจ้าง โดยแก้เป็น “ให้ หมายภายใน 30 วันนับแต่วันที่เริ่มจ้างลูกจ้างเข้าท�ำงาน นายจ้างที่มีลูกจ้างตั้งแต่ ๑๐ คนขึ้นไป จัดท�ำทะเบียน ลูกจ้าง” แก้ ไขประเด็นการยื่นค�ำร้องในการใช้สิทธิ เรียกร้อง 7. มาตรการทางบริหาร การจั ด เก็ บ เอกสารเกี่ ย วกั บ การจ่ า ยค่ า จ้ า งและ กรณีมีข้อพิพาทตาม กฎหมายให้กว้างขวางขึ้น จากเดิม ก�ำหนดว่า “กรณีมีข้อพิพาทแรงงานตามกฎหมายว่าด้วย ค่าท�ำงานในวันหยุดกรณีมีการใช้สิทธิเรียกร้อง แรงงานสัมพันธ์” แก้เป็น “กรณีมีข้อพิพาทตามกฎหมาย เกี่ยวกับแรงงาน”

จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 5


กฎกระทรวง ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2541) กรณีที่มีการยื่นค�ำร้องว่านายจ้างไม่ปฏิบัติตามกฎ กระทรวงนี้ หรือมีข้อพิพาทแรงงานตามกฎหมายว่าด้วย แรงงานสัมพันธ์หรือมีการฟ้องร้องคดี ให้นายจ้างเก็บรักษา ทะเบียนลูกจ้างและเอกสารเกี่ยวกับการจ่ายค่าจ้าง และค่า ท�ำงานในวันหยุดไว้จนกว่าจะมีคำ� สัง่ หรือค�ำพิพากษาถึงทีส่ ดุ เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว 8. การคุ้มครองเกี่ยวกับก�ำหนดเวลาจ่ายค่าจ้างและ ค่าท�ำงานในวันหยุด 1) กรณีที่ค�ำนวณจ่ายค่าจ้างเป็นรายเดือน รายวัน รายชั่วโมง หรือเป็นระยะเวลาอย่างอื่นที่ ไม่เกินหนึ่งเดือน หรือตามผลงานโดยค�ำนวณเป็นหน่วย ให้จ่ายเดือนหนึ่งไม่ น้อยกว่า 1 ครั้ง เว้นแต่จะมีการตกลงกันเป็นอย่างอื่นที่เป็น ประโยชน์แก่ลูกจ้าง 2) กรณีที่ค�ำนวณจ่ายค่าจ้างนอกจาก 1) ให้จ่ายตาม ก�ำหนดเวลาที่ นายจ้างและลูกจ้างตกลงกัน 3) ค่าท�ำงานในวันหยุด ให้จ่ายเดือนหนึ่งไม่น้อยกว่า 1 ครั้ง 9. การคุ้มครองเกี่ยวกับวันหยุดประจ�ำปี – ให้นายจ้างจัดวันหยุดประจ�ำปี ให้ลูกจ้างปีหนึ่ง ไม่น้อยกว่า 30 วัน โดยได้รับค่าจ้าง โดยให้นายจ้างเป็น ผู้ก�ำหนดล่วงหน้า ถ้านายจ้างให้ลูกจ้างท�ำงานในวันหยุดประจ�ำปี ให้ นายจ้างจ่าย ค่าท�ำงานในวันหยุดแก่ลกู จ้างเพิม่ ขึน้ อีก ไม่นอ้ ย กว่า 1 เท่าของค่าจ้างในส่วนที่ค�ำนวณจ่ายตามระยะเวลา 10. การคุ้มครองลูกจ้าง เกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในการเดิน ทางกลับ – ให้นายจ้างจัดการหรือออกค่าใช้จา่ ยในการเดินทาง กลับภูมิล�ำเนาของลูกจ้างในกรณีดังต่อไปนี้ (1) เรืออับปางหรือไม่อาจใช้การได้ โดยสิ้นเชิง (2) ลูกจ้างประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนือ่ งจาก การท�ำงาน (3) นายจ้างบอกเลิกสัญญาจ้างก่อนครบก�ำหนด อายุสญ ั ญา หรือเปลีย่ นแปลงเงือ่ นไขในสัญญาจ้างโดยลูกจ้าง ไม่ยินยอม (4) สั ญ ญาจ้ า งครบก� ำ หนดในระหว่ า งเวลาที่ ลูกจ้างท�ำงานอยู่ ในที่อื่น อันมิใช่สถานที่ท�ำสัญญาจ้าง 13. ไม่มีการคุ้มครองการใช้แรงงานเด็ก ก่อนวันที่ กฎกระทรวงนี้ ใช้บังคับ

ร่างกฎกระทรวงว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน ในงานประมงทะเล พ.ศ. ....

ไม่ มี ก ารแก้ ไขก� ำ หนดเวลาจ่ า ยค่ า จ้ า งและค่ า ท�ำงานในวันหยุด ยังคงก�ำหนดให้นายจ้างจ่ายค่าจ้างและ ค่าท�ำงานในวันหยุดเดือนหนึ่งไม่น้อยกว่า 1 ครั้ง เว้นแต่จะ มีการตกลงกันเป็นอย่างอื่นที่เป็นประโยชน์กับลูกจ้าง

ไม่มีการแก้ ไขจ�ำนวนวันหยุดประจ�ำปี และอัตรา ค่าท�ำงานในวันหยุด ไม่นอ้ ยกว่า ๑ เท่าของค่าจ้างในส่วน ที่ค�ำนวณจ่ายตามระยะเวลา

แก้ ไขสถานทีท่ ี่ ให้นายจ้างออกค่าใช้จา่ ยในการเดิน ทางกลับ จากเดิม “กลับภูมิล�ำเนาของลูกจ้าง” แก้เป็น “สถานที่ที่นายจ้างรับลูกจ้างเข้าท�ำงาน” และเพิ่มเติมให้นายจ้างออกค่าใช้จ่ายในการเดินทาง กลับกรณีที่ “ลูกจ้างเสียชีวติ เนือ่ งจากการท�ำงาน” ด้วย จาก เดิ ม ที่ ก� ำ หนดไว้ เ พี ย งให้ อ อกค่ า ใช้ จ ่ า ยดั ง กล่ า วในกรณี ที่ “ลูกจ้างประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนือ่ งจากการท�ำงาน”

การคุ ้ ม ครองการใช้ แ รงงานเด็ ก ก่ อ นวั น ที่ ก ฎ กระทรวงนี้ ใช้บังคับ กรณีเด็กอายุต�่ำกว่า 18 ปีซึ่งท�ำงาน อยู่ ในเรือประมงก่อนวันที่กฎกระทรวงนี้ ใช้บังคับ ให้ท�ำงาน ต่อไปได้จนกว่าจะสิ้นสุดสัญญาจ้าง

6 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


สถานการณ์ด้านคดีที่น่าสนใจ

เทศบาลนครแม่สอด ตกลงจ่ายค่าชดใช้สินไหม ทดแทนตามค�ำพิพากษาศาลปกครอง หลังจากที่ นางจูจู้ แรงงานข้ามชาติเป็นโจทก์ฟอ้ งเรียกค่าเสียหาย แก่บุตรสาวที่เสียชีวิต ในมูลละเมิดทางปกครอง

เมือ่ วันที่ 16 กันยายน 2556 นางจูจู้ แรงงานข้ามชาติ พร้อมนายธนู เอกโชติ ทนายความ และเจ้าหน้าที่คลินิก กฎหมายแรงงาน ของมูลนิธเิ พือ่ สิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ประจ�ำพืน้ ทีอ่ ำ� เภอแม่สอด ได้เดินทางไปเทศบาลนครแม่สอด เพื่อรับเงินชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ตามค�ำพิพากษาศาล ปกครองจังหวัดพิษณุโลก ที่ ให้เทศบาลนครแม่สอด จ่ายเงิน ค่าสินไหมทดแทนแก่นางจูจู้เป็นเงิน 750,000 บาท สืบ เนื่องจากเด็กหญิงซาลีมา บุตรสาวของนางจูจู้ ได้ถูกไฟฟ้า ช็อตจากสายไฟฟ้ารัว่ ตามกระแสน�ำ้ ซึง่ อยู่ในความรับผิดชอบ ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคและเทศบาลนครแม่สอดที่จะต้อง ใช้ความระมัดระวังมิ ให้เกิดการรั่วไหลของกระแสฟ้า ใน เหตุการณ์ไฟฟ้าช็อตเด็กหญิงซาลีมา จนได้รบั บาดเจ็บสาหัส และเสียชีวติ ในเวลาต่อมา ถือเป็นการท�ำละเมิดของหน่วยงาน ทางปกครองหรือเจ้าหน้าทีร่ ฐั อันเกิดจากการละเลยต่อหน้าที่ ตามที่กฎหมายก�ำหนด นางจูจู้จึงได้เรียกร้องค่าเสียหายต่อ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคและเทศบาลนครแม่สอด เป็นจ�ำนวน เงินทั้งสิ้น 6,220,185 บาท อันเป็นค่าเสียหายที่เกิดจาก การรักษาพยาบาล การไม่สามารถประกอบการงานได้อย่าง

สิ้นเชิง การทนทุกข์ทรมานนับแต่วันเกิดเหตุและไม่อาจจะ รักษาตัวให้หายขาดได้ ค่าเสียหายที่ผู้ฟ้องคดีต้องขาดงาน ขาดรายได้ เมื่อต้องออกมาดูแลเด็กหญิงซาลีมา ค่ารักษา พยาบาลในอนาคต อย่ า งไรก็ ต ามศาลปกครองจั ง หวั ด พิษณุโลก ได้อ่านค�ำพิพากษาเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2556 ยกฟ้องการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคและเห็นว่าเฉพาะเทศบาลนคร แม่สอด เป็นผู้กระท�ำละมิดต่อนางจูจู้ เทศบาลนครแม่สอด ไม่อุท ธรณ์ค�ำสั่งศาลปกครอง และยอมชดใช้ค ่ า สิ น ไหม ทดแทนตามค�ำพิพากษาศาลปกครอง

อดีตลูกจ้างสัญชาติพม่า บริษทั ยูนโิ อเชียน โคออเปอเรชัน่ จ�ำกัด ได้รบั ค่าแรง ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 จ�ำนวน 81 ราย เป็นเงินรวม 1,864,450.29 บาท รวมระยะเวลาการต่อสู้คดีกว่า 8 ปี เส้นทางการเข้าถึงกลไกการคุ้มครองแรงงานของรัฐ นายโซเล แรงงานข้ามชาติชาวพม่า อดีตลูกจ้าง บริษทั ยูนิโอเชียน โคออเปอเรชัน่ จ�ำกัด เล่าว่าได้ถกู นายจ้าง จากบริษทั ยูนิโอเชียน โคออเปอเรชัน่ ค้างค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าท�ำงานในวันหยุด ค่าล่วงเวลาในวันหยุด ตามประกาศ อัตราค่าจ้างขั้นต�่ำตั้งแต่เริ่มท�ำงานจนถึงวันที่ 18 เมษายน 2548 และได้ถกู เลิกจ้างโดยไม่จา่ ยค่าชดเชย ท�ำให้นายโซเล กับเพือ่ นแรงงานข้ามชาติทถี่ กู เลิกจ้างได้รอ้ งขอความช่วยเหลือ จากองค์กรพัฒนาเอกชน เช่น มูลนิธิเพื่อสุขภาพและการ เรียนรู้ของแรงงานกลุ่มชาติพันธุ์ (MAP Foundation) และ

ได้รับค�ำแนะน�ำให้มาร้องขอความช่วยเหลือภายใต้กลไกของ กรมคุม้ ครองแรงงานและสวัสดิการสังคม นายโซเลกับเพือ่ น แรงงาน รวม 129 คน จึงได้มายื่นค�ำร้องต่อพนักงานตรวจ แรงงาน ส�ำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด ตาก เพื่อสอบสวนและมีค�ำสั่งตามอ�ำนาจหน้าที่ กระทั่งเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2548 พนักงานตรวจ แรงงานได้ออกค�ำสั่งเลขที่ 12/2548 ให้นายจ้างจ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าท�ำงานในวันหยุด และค่าล่วงเวลาในวันหยุด ให้ แ ก่ น ายโซเลและเพื่ อ นแรงงานรวม 81 คน เป็ น เงิ น 1,999,445.50 แต่บริษทั ยูนิโอเชียน โคออเปอเรชัน่ ไม่เห็นด้วย จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 7


วันที่ 27 มีนาคม 2556 ตัวแทนเจ้าหน้าทีค่ ลินกิ กฎหมาย แรงงาน มูลนิธเิ พือ่ สิทธิมนุษยชนและการพัฒนาประจ�ำอ�ำเภอ แม่สอด พร้อมด้วยตัวแทนแรงงาน ได้เดินทางไปยังศาล แรงงานภาค 6 จังหวัดนครสวรรค์ เพื่อขอค�ำปรึกษาและ หาทางช่วยเหลือ และต่อมาวันที่ 30 กรกฎาคม 2556 ศาลแรงงานภาค 6 ได้พิจารณาและมีค�ำสั่งให้จ่ายเงินแก่ ลูกจ้างเป็นเช็คเงินสดเป็นรายบุคคล ซึ่งต่อมาลูกจ้างได้รับ ค่าจ้างแล้วตามค�ำสั่งของศาล

ภาพนายโซเล หนึ่งในกลุ่มลูกจ้างที่เดินทางไปรับเช็ค ที่ศาลแรงงานภาค 6 จังหวัดนครสวรรค์

นายโซเล ตัวแทนของเพื่อนแรงงาน ที่ร่วมกันต่อสู้ เรี ย กร้ อ งความเป็ น ธรรมตามกลไกการคุ ้ ม ครองของรั ฐ กล่าวว่า คดีนี้แม้จะใช้เวลาในการต่อสู้มายาวนานกว่า 8 ปี แต่กลไกของรัฐและระบบยุติธรรมของศาลไทยท�ำให้เราเชื่อ ได้ว่าสามารถให้ความเป็นธรรมกับพวกเราได้ อย่างไรก็ตาม ผมเห็นว่า หากกระทรวงแรงงาน และรัฐบาลไทยจะได้ พิจารณาในเรื่องขั้นตอนการให้ความช่วยเหลือที่รวดเร็วขึ้น ก็จะท�ำให้พี่น้องแรงงานข้ามชาติ มีความมั่นใจในการท�ำงาน อยู่ต่อไปได้อย่างปลอดภัย

จึงได้ยื่นฟ้องต่อศาลแรงงานภาค 6 จังหวัดนครสวรรค์ เพื่อ ขอให้ศาลมีค�ำพิพากษาเพิกถอนค�ำสั่งของพนักงานตรวจ ส�ำนักงานประกันสังคม แรงงาน ส�ำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน จังหวัด ตาก เป็นจ�ำเลย ศาลแรงงานภาค 6 พิจารณาแล้ว พิพากษา จังหวัดเชียงใหม่ จ่ายเงินทดแทนแก่ ให้ แ ก้ ไ ขค� ำ สั่ ง พนั ก งานตรวจแรงงาน สาขาแม่ ส อด ที่ ญาติแรงงานข้ามชาติภาคก่อสร้าง 12/2548 ลงวันที่ 20 กรกฎาคม/2548 ของพนักงาน ตรวจแรงงาน โดยให้บริษัทยูนิโอเชี่ยน โคออปอเรชั่น จ�ำกัด ที่ประสบอุบัติเหตุและเสียชีวิตระหว่าง จ่ า ยค่ า จ้ า งแก่ อ ดี ต ลู ก จ้ า งทั้ ง 81 คน รวมเป็ น เงิ น การท�ำงาน 1,864,450.29 บาท แม้ตอ่ มาบริษทั ยูนิโอเชีย่ น โคออปอเรชัน่ เมือ่ วันที่ 31 กรกฎาคม 2556 ส�ำนักงานประกันสังคม จ�ำกัด จะได้อุทธรณ์ค�ำสั่งของศาลแรงงานภาค 6 ไปยังศาล ฎีกา แต่ศาลฎีกาได้มีค�ำพิพากษาเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม จังหวัดเชียงใหม่ มีหนังสือเลขที่ ชม 0030.6/2124 และ 2555 (เลขฎีกาที่ 6134/2555) เห็นพ้องด้วยกับค�ำพิพากษา ที่ ชม 0030.6/2125 แก่ นางปอย ไม่มนี ามสกุลและนางสาว อู ไม่มนี ามสกุล มารดาและบุตรของนายปัน่ ต๊ะ ลุงมู แรงงาน ศาลแรงงานภาค 6 จังหวัดนครสวรรค์ อย่ างไรก็ ต ามแม้ ค�ำ พิ พ ากษาของศาลจะยืนยันว่า ข้ามชาติภาคก่อสร้างทีป่ ระสบอุบตั เิ หตุจากการท�ำงาน ให้ ได้ แรงงานจะมีสทิ ธิได้รบั ค่าค้างค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าท�ำงาน มีสิทธิ ได้รับเงินทดแทน ตามพระราชบัญญัติเงินทดแทน ในวันหยุด ค่าล่วงเวลาในวันหยุด ตามกฎหมายคุ้มครอง พ.ศ. 2537 ได้แก่ ค่ารักษาพยาบาลตามจริง ค่าท�ำศพ แรงงาน โดยฝ่ายนายจ้างได้จ่ายค่าจ้างเป็นเช็คระบุชื่อของ จ�ำนวน 22,100 บาท และค่าทดแทนกรณีการตาย เป็นระยะ แรงงานแต่ละคนทีม่ สี ทิ ธิได้รบั ค่าจ้างคืน แต่แรงงานส่วนใหญ่ เวลา 96 เดือน เป็นเงินรวม 271,065.60 บาท ก็ยังประสบปัญหาด้านเอกสารพิสูจน์ตัวบุคคล เช่น ไม่มี เอกสารประจ�ำตัว หรือเอกสารทีถ่ อื อยู่ ในปัจจุบนั มีชอื่ ไม่ตรง กับเช็คที่ออกให้ มีบางรายที่เอกสารทางทะเบียนเดิมที่ทาง ราชการเคยออกให้ ได้ถูกเปลี่ยนชื่อและภาพของบุคคลอื่น ไปแล้ว ทางธนาคารจึงปฏิเสธการจ่ายเงินให้ 8 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

นายปัน่ ต๊ะ ลุงมู อายุ 37 ปี เป็นแรงงานข้ามชาติที่ ได้ ผ่านการพิสูจน์สัญชาติและมีหนังสือเดินทาง เมื่อประสบ อุบตั เิ หตุจากการท�ำงาน พบว่า นายจ้างได้แจ้งชือ่ นายปัน่ ต๊ะ ลูกจ้างเข้าสู่ระบบจ่ายเงินทดแทนแล้ว กรณีนี้ส�ำนักงาน ประกันสังคมจึงออกค�ำสั่งให้ลูกจ้างมีสิทธิได้รับเงินทดแทน


ตามกฎหมาย และญาติผู้ตายสามารถรับเงินทดแทนได้ โดยตรงที่ส�ำนักงานประกันสังคม โดยกรณีดังกล่าวลูกจ้าง เข้าถึงกองทุนเงินทดแทนนี้ ได้ เนือ่ งจากนายจ้างแจ้งชือ่ เข้าสู่ กองทุนเงินทดแทน แต่ยงั มีลกู จ้างอีกเป็นจ�ำนวนไม่นอ้ ยทีท่ าง มูลนิธเิ พือ่ สิทธิมนุษยชนมีขอ้ มูลผ่านการร้องเรียนจากลูกจ้าง ว่า ไม่สามารถเข้าถึงสิทธิในกองทุนเงินทดแทนนี้ ได้ เนือ่ งจาก นายจ้างไม่ยอมแจ้งชือ่ ลูกจ้างเข้าสูก่ องทุนเงินทดแทน ดังนัน้ เมือ่ ลูกจ้างประสบอุบตั เิ หตุจากการท�ำงาน ส�ำนักงานประกัน สังคมจะปฏิเสธการเข้าถึงกองทุนเงินทดแทน และออกค�ำสัง่ ให้นายจ้างเป็นผูร้ บั ผิดชอบในการจ่ายเงินดังกล่าว ซึง่ นายจ้าง มักจะหลีกเลีย่ งไม่จา่ ยตามค�ำสัง่ ของส�ำนักงานประกันสังคม อีกทั้งยังฟ้องส�ำนักงานประกันสังคมเป็นจ�ำเลยเพื่อให้เพิก ถอนค�ำสั่งให้นายจ้างจ่ายเงินทดแทน ซึ่งจะต้องเสียเวลา ในการต่อสู้คดีเป็นเวลานับปี เพื่อให้ศาลแรงงานมีค�ำสั่งว่า

ค� ำ สั่ ง ของส� ำ นั ก งานประกั น สั ง คมนั้ น ถู ก ต้ อ งแล้ ว ดั ง นั้ น ส�ำนักงานประกันสังคมควรจะพิจารณาทบทวนการจ่ายเงิน ทดแทนแก่ลกู จ้างใหม่วา่ ตามมาตรา 25 ประกอบมาตรา 44 แห่งพระราชบัญญัติกองทุนเงินทดแทน พ.ศ. 2537 มิได้มี บทบัญญัติในลักษณะใดก�ำหนดให้นายจ้างต้องจ่ายเงินสมทบ เข้าสู่กองทุนเงินทดแทนจนครบตามจ�ำนวนจึงจะก่อให้เกิด สิทธิแก่ลูกจ้างในการเข้าถึงกองทุนนั้น หากจุดประสงค์ที่ แท้ จ ริ ง ของกองทุ น เงิ น ทดแทนคื อ การแบ่ ง ทุ ก ข์ เ ฉลี่ ย สุ ข อย่างแท้จริง เมื่อภารกิจในการจ่ายเงินทดแทนให้แก่ลูกจ้าง ผูม้ สี ทิ ธิควรเป็นของรัฐผูซ้ งึ่ เป็นทัง้ ผูร้ กั ษากฎหมายและรักษา กองทุนเงินทดแทน ฉะนั้น ส�ำนักงานประกันสังคมควรรับ ภารกิจเช่นนี้และกระท�ำการให้เป็นประโยชน์แก่ลูกจ้างเพื่อ เป็นการยืนยันหลักการและเจตนารมณ์ของกฎหมายกองทุน เงินทดแทนเช่นกัน

มารดา ด.ญ.แอร์ ได้เป็นโจทก์ยื่นฟ้องเรียกค่าเสียหายเป็นคดีแพ่ง ด.ญ.แอร์ ถูกนายจ้างลักพาตัว เพื่อบังคับใช้แรงงาน และถูกท�ำร้ายร่างกาย จนบาดเจ็บสาหัส เมื่อวันที่ 17 กันยายน 2556 ทนายความของมารดา ด.ญ.แอร์ ได้ยื่นฟ้องนายนที แตงอ่อน และนางสาวรัตนากร ปิยะวรธรรม นายจ้าง เป็นคดีแพ่งเพื่อเรียกร้องค่าเสียหาย จากการท�ำร้ายร่างกายเด็กหญิงแอร์ ขณะที่ท�ำงานรับใช้ ในบ้านของนายจ้างทั้งสอง เป็นเหตุให้ ได้รับอันตรายสาหัส ได้ รั บ ความทุ ก ข์ ท รมาน เจ็ บ ปวด ท� ำ ให้ เ สี ย สุ ข ภาพจิ ต ไม่สามารถไปไหนมาไหนได้อย่างเช่นคนปกติ ซึ่งรวมทั้ง ค่าเข้ารับการรักษาพยาบาลโดยการผ่าตัด เป็นเงินทั้งสิ้น 4,603,233 บาท ศาลจังหวัดก�ำแพงเพชรได้ก�ำหนดให้มี การไต่สวนค�ำร้องในการขอยกเว้นค่าธรรมศาล ของมารดา ด.ญ.แอร์ โจทก์ ในคดีนี้แล้วเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2556 และศาลจังหวัดก�ำแพงเพชร ก�ำหนดนัดฟังค�ำสั่งในวันที่ 21 พฤศจิกายน 2556 โดยเหตุการณ์ ในคดีนี้เริ่มต้นเมื่อประมาณปี 2552 ขณะที่ ด.ญ.แอร์อายุประมาณ 7 ขวบ ได้หายออกไปจาก บ้านพักที่บิดามารดาซึ่งเป็นแรงงานข้ามชาติชาวพม่า อาศัย อยู่ ในไร่อ้อยของนายจ้าง ที่จังหวัดก�ำแพงเพชร มารดาของ ด.ญ.แอร์สงสัยว่าเหตุที่ทำ� ให้ ด.ญ.แอร์หายตัวไปเนื่องจาก ถูกนายจ้างคนเดิมซึ่งเป็นมารดาของนางสาวรัตนากร ปิยะ วรรธรรม ลักพาตัวไปสืบเนือ่ งจากไม่พอใจทีม่ ารดาและบิดา ของ ด.ญ.แอร์ได้เปลีย่ นนายจ้างคนใหม่ กระทัง่ เมือ่ ต้นเดือน

มกราคม 2556 มีขา่ วการพบตัว ด.ญ.แอร์ โดยการช่วยเหลือ ของชาวบ้านในพื้นที่จังหวัดก�ำแพงเพชร ซึ่ง ด.ญ.แอร์ ได้ ให้ ข้อมูลว่าถูกนายจ้างคนเดิมของบิดามารดาลักพาตัวไปจริง และบังคับให้ท�ำงานเป็นเด็กรับใช้ ในบ้านของนายนที แตง อ่อน และนางสาวรัตนากร ปิยะวรธรรม ในช่วงที่ท�ำงานอยู่ กับนายจ้างทัง้ สองนัน้ ด.ญ.แอร์ได้ถกู นายจ้างร่วมกันท�ำร้าย ร่างกายจนได้รับบาดเจ็บสาหัส ในส่วนของคดีอาญานั้น พนักงานสอบสวนได้ขออนุมัติศาลเพื่อออกหมายจับนายจ้าง ทัง้ สองข้อหา*ร่วมกันท�ำร้ายร่างกายผูอ้ นื่ จนเป็นเหตุให้ ได้รบั อันตรายสาหัสโดยการทรมาน หรือการกระท�ำทารุณ โหด ร้าย, หน่วงเหนี่ยวกักขังผู้อื่นจนเป็นเหตุให้ผู้ถูกหน่วงเหนี่ยว กักขังได้รับอันตรายสาหัส, หน่วงเหนี่ยวกักขังผู้อื่นและให้ ผู้อื่นนั้นกระท�ำการใดๆ ให้แก่ผู้กระท�ำหรือบุคคลอื่น, ร่วม กันเอาคนลงเป็นทาสหรือมีฐานะคล้ายทาส, ร่วมกันพามา จากที่ ใด หรือหน่วงเหนี่ยวกักขังเด็กอายุ ไม่เกิน 15 ปี จน เป็นเหตุให้ ได้รบั อันตรายสาหัส, ร่วมกันพรากเด็กอายุไม่เกิน 15 ปี และร่วมกันค้ามนุษย์ ซึง่ ปัจจุบนั นายจ้างทัง้ สองได้หลบ หนีระหว่างการประกันตัว และเมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2556 พนักงานอัยการได้ยนื่ ค�ำร้องต่อศาลจังหวัดก�ำแพงเพชร เพือ่ ขอให้มีการสืบพยานที่เป็นมารดาและ ด.ญ.แอร์ไว้ก่อน ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 237 ทวิ จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 9


กิจกรรมที่น่าสนใจ โครงการยุ ติ ธ รรมเพื่ อ แรงงาน ข้ามชาติ ประจ�ำจังหวัดเชียงใหม่ ได้จัด ท�ำรายการวิทยุเพือ่ แรงงานข้ามชาติผา่ น สถานีวทิ ยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ออกอากาศในระบบ AM คลืน่ ความถี1่ 475 KHz เป็นภาษาไทใหญ่ โดยวัตถุประสงค์ของการจัดรายการเพือ่ ให้ผฟู้ งั รายการ มีความรู้ความเข้าใจหลักการด้านสิทธิมนุษยชน นโยบาย และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับแรงงานข้ามชาติ รายการวิทยุออก อากาศทุกวันพฤหัสบดีและวันศุกร์ ตัง้ แต่เวลา 10.00–11.00 น. และจะเปิดเป็นเทปบันทึกเสียงอีกครัง้ ในเวลา 22.00–23.00 ของวันเดียวกัน เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2556 เจ้าหน้าที่จากมูลนิธิเพื่อสิทธิเพื่อ สิทธิมนุษยชนและการพัฒนา เดินทางไปยังพื้นที่เมืองเมียวดี ประเทศพม่า เพื่อเยี่ยมแรงงานในระบบ MOU ที่ศูนย์พัก และฝึกอาชีพของตัวแทนบริษัทจัดหางาน ก่อน แรงงานเดินทางมาท�ำงานยังประเทศไทย ทั้งนี้ ตัวแทนของเจ้าหน้าที่ของมูลนิธิฯได้จัดกิจกรรม ให้ ค วามรู ้ ท างด้ า นกฎหมายและนโยบายแก่ แรงงานข้ามชาติกอ่ นเดินทางเข้ามาประเทศไทย

วันที่ 25 สิงหาคม 2556 นางศุกาญจน์ตา สุขไผ่ตา ตัวแทนเจ้าหน้าทีม่ ลู นิธเิ พือ่ สิทธิมนุษยชนและ การพัฒนา ขึ้นรับรางวัลจากประธานกลุ่มเครือข่าย เพื่อสิทธิแรงงานข้ามชาติ (MWRN) ในฐานะที่เป็น ผูส้ นับสนุนงานของกลุม่ เครือข่าย MWRN ในกิจกรรม ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การสนั บ สนุ น ประชาชนเข้ า ถึ ง ความ ยุติธรรม

10 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

6 สิงหาคม 2556 ผู้แทนมูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชน และการพัฒนา ร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์การท�ำงาน ด้านการท�ำงานให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายในคดีคา้ มนุษย์ กับเอกอัครราชทูต หลุยส์ ซีเดอบากา ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงาน ติดตามและต่อต้านการค้ามนุษย์ กระทรวงการต่างประเทศ สหรัฐอเมริกา


วันที่ 1 กันยายน 2556 สมาพันธ์แรงงานรัฐวิสาหกิจ สัมพันธ์ (สรส.) ร่วมกับ คณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย (คสรท.) เครือข่ายเพื่อสิทธิแรงงานข้ามชาติ และมูลนิธิเพื่อสิทธิ มนุษยชนและการพัฒนา ก�ำหนดให้มีการจัดเสวนาเรื่อง “ทิศทาง การจั ด การแรงงานข้ า มชาติ กรณี ก ารสิ้ น สุ ด ระยะเวลา การท�ำงานในประเทศไทย” ณ ห้องประชุมตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาคร มีตวั แทนจากกรมจัดหางาน ตัวแทนสหภาพแรงงาน และเครือข่ายคณะท�ำงานด้านแรงงานข้ามชาติ ร่วมเสวนาในครัง้ นี้ มีแรงงานให้ความสนใจเข้าร่วมกว่า 300 คน วันที่ 16–17 กันยายน 2556 มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา โดยคลินิกกฎหมายแรงงานประจ�ำ อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ได้จดั กิจกรรมแลกเปลีย่ นประสบการณ์การคุม้ ครองสิทธิและการให้ความช่วยเหลือทางกฎหมาย แก่แรงงงานข้ามชาติชาวพม่า ระหว่างผูแ้ ทนทนายความจากประเทศพม่า ผูแ้ ทนสหพันธ์แรงงานจากประเทศพม่า เครือข่าย ทนายความของมูลนิธิฯ ทนายความจากสภาทนายความประจ�ำอ�ำเภอแม่สอด และผู้แทนจากคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย ในการนี้ นอกจากจะท�ำให้ผู้เข้าร่วมมี โอกาสแลกเปลี่ยนความรู้ ความเข้าใจด้านกฎหมายการคุ้มครองแรงงานแล้ว ผู้เข้าร่วมยัง ได้เดินทางไปศึกษาและเรียนรู้งานจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ กลไกของรัฐในการคุ้มครองแรงงานข้ามชาติด้วย A. ผูเ้ ข้าร่วมจากไทยและพม่าร่วมแลกเปลีย่ นประสบการณ์ B. คณะผู ้ เ ข้ า ร่ ว มประชุ ม ถ่ า ยภาพร่ ว มกั บ ผู ้ พิ พ ากษา หัวหน้าศาลจังหวัดแม่สอด C. คณะผูเ้ ข้าร่วมประชุมถ่ายภาพร่วมกับผูแ้ ทนส�ำนักงาน สวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจ�ำอ�ำเภอแม่สอด

วันที่ 20 กันยายน 2556 ผู้แทนจากมูลนิธิเพื่อสิทธิ มนุษยชนและการพัฒนา เข้าร่วมเวทีรับฟังความคิดเห็นเรื่อง การให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ทางกฎหมายแก่ เ ด็ ก และเยาวชนใน กระบวนการยุติธรรมทางอาญา จัดโดยคณะกรรมการปฏิรูป กฎหมาย โดยมีผแู้ ทนผูเ้ สียหายทีต่ อ้ งเป็นผูต้ อ้ งหาในคดีอาญา และเจ้าหน้าที่กระบวนการยุติธรรมที่เกี่ยวข้องกับคดีเด็กและ เยาวชน เข้าร่วมประชุม จ�ำนวน 40 คน เวทีนี้ ได้จัดขึ้นมาโดย มุง่ หวังให้เกิดการทบทวนหลักการ กลไกและแนวทางปฏิบตั เิ กีย่ วกับการให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่เด็ก และเยาวชนในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องและตามหลักการระหว่างประเทศ จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 11


โครงการสนับสนุนการเข้าถึงความยุติธรรม และการคุ้มครองสิทธิของแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา (มสพ.) เป็น องค์กรพัฒนาเอกชน มีวัตถุประสงค์ ในการด�ำเนินกิจกรรม โดยไม่ แ สวงหาก� ำ ไร มสพ.ได้ เ น้ น กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม และ คุม้ ครองสิทธิมนุษยชนแก่กลุม่ แรงงานข้ามชาติและครอบครัว ในประเทศไทย ผ่านโครงการการเข้าถึงความยุติธรรม และ การคุม้ ครองทางกฎหมายต่อบุคคลดังกล่าว รวมทัง้ กิจกรรม อบรมส่งเสริมศักยภาพของชุมชนแรงงานข้ามชาติ โดย ท�ำงานร่วมกับองค์กรภาคประชาสังคมและรัฐทั้งในระดับ ประเทศและระหว่างประเทศ โดยมีความมุ่งหวังให้เกิด

2. แรงงานข้ามชาติมคี วามรูค้ วามใจด้านสิทธิมนุษยชน และการคุ้มครองทางกฎหมาย และสามารถเข้าถึงกลไก การคุ้มครองและร้องเรียนของรัฐ 3. ป้องกันมิ ให้แรงงานข้ามชาติและครอบครัวเป็น เหยื่อของการแสวงหาประโยชน์จากการใช้แรงงานหรือ ถูกบังคับใช้แรงงาน

4. สังคมโดยรวมเข้าใจถึงความจ�ำเป็นในการมีแรงงาน ข้ามชาติ ในประเทศไทย และแรงงานสามารถอยู่ร่วมกับ ประชาชนในสังคมได้ภายใต้ความแตกต่างทางด้านเชื้อชาติ 1. การคุม้ ครองทางสิทธิแก่แรงงานข้ามชาติผา่ นกลไก และวัฒนธรรม การคุ้มครองทางกฎหมายและนโยบาย กลไกการร้องเรียน ของรัฐที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น

12 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


The case of Tun Aye : the Undermining of Worker’s Rights By Junjira Junpaew1

The Workmen’s Compensation Fund Act B.E. 2537 (1994) aims to protect both Thai and foreign workers without discrimination, but there remain a number of obstacles when it comes to enforcing the law. The case of Burmese worker Tun Aye illustrates the issue. His former employer, a manufacturer of plastic containers (involving use of plastic compression machines), was required by law to make contributions to the Fund but refused to do so. In light of work–related injuries, the Act’s Section 25 stipulates that, “in the case where the employer who has a duty to pay compensation, the Office, instead of the employer, shall pay compensation to the employee or the entitled person under Section 20.” However, in Mr Tun Aey’s case, the Workmen’s Compensation Fund Office has instead passed on the responsibility of paying compensation to his former employer. Such practice is problematic for two reasons. First, it undermines the worker’s rights under the Compensation Fund Act B.E. 2537, by ordering the employer, who has failed to comply with the duty to contribute, to pay the worker, thus the worker has been stripped of his entitlement to receive compensation from the more financially secure Fund. Second, when the employer is ordered to pay compensation to the worker, the dispute will thereby shift from between the “Compensation Fund” versus “the Employer” to between “the Compensation Fund” and “the Employee”, versus “the Employer”. Such realignment will create a gap allowing the employ-

1

er to bring the case to the Labour Court, which usually entails negotiations whereby the employee may be persuaded to receive compensation at an amount lower than what he or she should be entitled to. In Mr Tun Aye’s case, the Compensation Fund Office initially ordered his employer to contribute to the Fund, but the company filed an appeal against the order with the Compensation Fund Committee. Following the Committee’s decision to dismiss the employer’s appeal, the company resorted to filing a lawsuit at the Central Labour Court against a branch of the Social Security Office and Mr Tun Aye. During the first stage of the labour court trial, a ‘mediation’ took place wherein Mr Tun Aye’s former employer proposed a sum lower than stipulated by the law to Mr Tun Aye; had he accepted it, the case would have then been closed. To sum up, although the purpose of the labour law is to guarantee the public’s wellbeing, there have been incidences where the amount of a worker’s compensation was negotiated to an amount lower than the minimum rate stipulated by law. Such practices raise questions on how the process of a court trial may not ensure the worker’s rights; the employer may try to pursue the case in court in order to push for the mediation process wherein the worker would be persuaded to accept a lower amount of compensation. This would undermine the effectiveness of the Worker’s Compensation Act and also the worker’s rights in the long run.

Lawyer for HRDF and board member of Human Rights lawyers Association (HRLA) Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 13


Child and Youth court trials allow only “legal advisor” but not “lawyer” By Junjira Junpaew2

For the past few months The Human Rights and Development Foundation (HRDF)has been providing legal assistance to two Chiang Mai–based youths, Mr. A and Mr. B (aliases) who were charged with manslaughter. The case represents a major challenge that affects the rights of children and youths facing a criminal charge: the inadequacy of legal advisors (due in part to a pre–existing dispute over regulations between the Juvenile Court and the Lawyers’ Council–that will not be discussed in detail here). The problem stems from several factors. Here, I will focus only on the validity of the law in dispute. According to Section 120 of the Juvenile and Family Court and Juvenile and Family Court Procedure Act B.E. 2553 (2010), “in a court having the jurisdiction to try juvenile and family cases, the accused person may not have a defence lawyer. The accused person may have a “legal advisor” who will perform duties similar to those of a lawyer. If the accused person(s) does not have a legal advisor, the court shall appoint one for him or her.” Moreover, Section 121 stipulates that, “the legal advisor pursuant to section 120 shall have qualifications of lawyers pursuant to the law on lawyers, and shall have passed a training on juvenile and family case procedure, possess knowledge relating to psychology, social administration and other relevant knowledge pursuant to the regulations of the President of the Supreme Court”. In other words, every lawyer who represents the child and/or youth as defendant must have passed such training as one additional requirement of their “qualifications”. Therefore, a lawyer who may have considerable knowledge, understanding and years of experience in handling cases involving children or youths, but 2

has not yet been through the training, will not be allowed to serve as legal advisor. Such practice thus deprives the lawyer of his or her right to represent their clients, while the child/youth may have difficulty in accessing legal channels, as guaranteed in Section 40 (7) of the Constitution. Professionally speaking, lawyers should be allowed to handle cases involving a child or a youth, as in other specialized courts. Those cases also require specialized knowledge and expertise, be they issues related to intellectual property and international trade, taxation, labour disputes, or bankruptcy. However, so far there has not been any ban on lawyers who have not undertaken any special training from working on those court cases. On the one hand, the proponents of this new law may seek to ensure that the lawyers who handle child and juvenile cases have understanding and awareness of their client’s rights, thus the requirement on this “qualification”. It should be noted, though, that all the other professions in the judicial system–from the police officers to prosecutors and judges–have not been required to possess a similar “qualification” as faced by the lawyers. A voluntary rather than compulsory approach may thus work better at improving the efficiency and/or specialized knowledge among the personnel involved in the judicial system and thereby fulfill the intention of the law. In sum, there should be a swift amendment of the Juvenile Court Act (Sections 120, 121, and so on) in keeping with the Constitution B.E. 2550 (Section 40 [7]), thus ensuring that the rights of the children and youths will be protected and justice is served.

Lawyer for HRDF and board member of Human Rights lawyers Association (HRLA)

14 Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand


Laws and Policies

Thai government policies on protection of workers’ rights in the fisheries sector: A new draft of ministerial regulations on the protection of labour in the fisheries sector B.E. xxx

In 2012, Thailand exported 1,908,099,577 tonnes of fishery products, valued at 264,766.339487 million baht (Unit of International Fishery Trade analysis, Fisheries Foreign Affairs Division, Department of Fisheries, revised statistics for January 2013). Such a lucrative business suggests a large workforce is needed. However, at present there is a shortage of Thai labourers. This is due to the nature of the jobs which are risky, requiring workers to spend a long time working on boats away from their families and making them susceptible to natural disasters, pirate attacks, and possible arrest and punishment by another country. Thai workers thus usually opt for other kinds of work that offer better pay, welfare benefits and working conditions. The majority of workers presently employed in the field are migrants, who often have difficulty getting access to legal protection and service by the state, as faced by Thai workers in the past. Of particular concern is the poor enforcement of rights guaranteed by the Workers’ Compensation Act B.E. 2537 (1994)–WCF. The Human Rights and Development Foundation has interviewed former workers in the fishing industry who experienced work–related injuries and dangerous working conditions. After the loss of body parts such as fingers, arms or legs, and some even their lives, these workers and/or their relatives did not receive any compensation from the WCF,

while the amounts offered by their employers were usually much less than deserved. Moreover, many of these workers were forced or lured into the trade, and as victims of human trafficking, they tried to escape or sought help from their fellow workers, and some decided to stop working in the field. The labour shortage has thus been persistent in the fishing business. There have been calls from various sectors, both inside and outside of the country, to improve the laws and regulations in order to ensure better labour protection.

Amendments of laws on labour protection in the fishing industry According to Section 22 of the Labour Protection Act B.E. 2541 (1998), “work in the [marine] fishing industry may fall under a separate set of ministerial rules on labour protection than other industries designated in the Act,” thus the issuing of Ministerial Rule Number 10 by the Labour and Social Welfare Ministry on September 14, 1998. In light of the persistent labour shortage, dangerous working conditions and lack of access to the state protection mechanisms, the labour ministry has tried to improve the relevant laws. Below is a table comparing the current ministerial rule (No. 10) and a new draft3:

3

The Legal Reform Committee issued a letter to the Prime Minister (No. Khor Por Kor 01/534 dated May 21, 2013) calling for a revision of the present ministerial rules, which were drawn without consultation from the stakeholders and their enforcement has restricted the rights of both the employers and the employees. In particular, the employees’ rights have not been protected adequately. Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 15


Ministerial Rule No.10 B.E. 2541 (1998) 1. Definition of “Employer” “Employer” refers to the owner of a fishing boat who uses or allows others to use the vessel to catch fish in the sea for the purpose of profit sharing. However, the term does not include the owner of a fishing boat who has rented the vessel to others to carry out a certain activity, but he or she is not involved in the act themself. 2. Definition of “Pay” “Pay” also includes a share of the value of the marine catch as promised by the employer. 3. Scope of enforcement Exemption of two categories: 1) fishing activity that involves fewer than twenty employees; or 2) a fishing vessel that has been working outside the territory of the Thai Kingdom for more than a year consecutively. 4. Minimum age of employee(s) and conditions on employment of child labour Every employee on a fishing vessel must be at least sixteen years old, except when the person is over 15 and has parents or guardians working on the same vessel, or already having a parentally issued letter of consent.

Draft of new ministerial rule B.E… 1. Revise the definition of “Employer” to specifically refer to “the employer as designated in the Labour Protection Act” and to specify that the owner who has rented out his or her vessel to “carry out fishing activity” is NOT an employer.

2. Add: a “Pay” in accordance with the labour protection law 3. Expansion of protection to include the two previously exempted categories.

4. Increase the minimum age from “no less than sixteen” to “no less than eighteen” in light of the heavy and dangerous nature of work and the fact that the fishing activity at present has become a large–scale commercial operation that requires long periods on the open sea unlike the family–run coastal operations of the past. Delete the exemption clause on individuals who are over fifteen and whose parents have already issued a letter of consent to work on the fishing boat. Specify that the registration must be in Thai, and not in the employee’s language. Change of requirements on the employer who has more than one employee to produce the employee’s registration to one who has “more than ten employees”.

5. Production and maintenance of employees’ registration documentation The employer must produce the registration in Thai language and keep it at his or her premise for verification by a labour inspector. A copy of the document must be submitted to the director–general or his designated representative within thirty days of the beginning of employment of that employee. 6. Administration protocol 6. Broaden the scope for filing a complaint In the cases where there are complaints over against the employer from “when there is a dispute the employer’s failure to follow the ministerial rule, over labour relations law” to “when there is a dispute labour disputes in accordance with the labour relations over labour laws”. laws, or the filing of lawsuits, the employer must keep the employee’s registration and all documents related to pay and overtime until there is a final court decision on the matter.

16 Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand


Ministerial Rule No.10 B.E. 2541 (1998) 7. Frequency of wage and overtime payment 1) Regardless of the calculation of the wage and overtime per month, day, hour, or any other unit of time measurement that is under one month, or per piece of work, the payment must be no less than once a month, unless there has been any other agreement that is beneficial to the employee. 2) Any other calculation methods must be based on the terms of mutual agreement between the employer and employee. 3) The payment of overtime must be no less than once a month. 8. Annual holidays The employer must provide the employee (s) with at least thirty paid holiday days per year, to be determined in advance by the employer. If the employee has to work during the annual holidays, the employer must pay overtime, calculated at the rate of no less than one time the usual wage rate for that period. 9. Travelling expenses for the employee(s) The employer must arrange or pay the expenses for the employee(s) to travel back to his or her residence in the following cases: (i) when the vessel has capsized or cannot be put to use at all, (ii) the employee has suffered work related injuries or sickness (iii) cancellation of the employment contract before the due date, or change of conditions in the contract without consent from the employee (iv) maturation of the employment contract while the employee is working in another place not designated in the contract. 10. No protection of child labour before the ministerial rule went into effect.

Draft of new ministerial rule B.E… 7. No change in the terms of payment: the employer is required to pay both the wage and overtime no less than once a month, unless there has been any other agreement that is beneficial to the employee(s).

8. No change in the number of annual holidays and the calculation of an overtime rate

9. Change of the destination from the employee’s [residence] to “the place where the employer hired the employee to which the travelling expenses will be covered by the employer. Additional details for the second clause to “(ii) the employee has suffered work–related injuries, sickness, or death.”

10. With regard to the protection of child labour before the ministerial rule went into effect, anyone aged under eighteen who has worked on the fishing vessel before the effective date of the law will be allowed to continue working until the end of the employment contract.

Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 17


Updates of highlighted cases

Mae Sot Municipality pays compensation to an electrocuted girl’s mother

On September 16, 2013, Mrs. Juju, a migrant labourer, Mr Thanu Ekchote, a lawyer, and a staff member at HRDF’s Mae Sot Labour Law Clinic went to the office of Mae Sot municipality, to receive compensation worth 750,000 baht as ordered by the Administrative Court of Phitsanulok. Previously, Mrs Juju’s daughter, Salima was electrocuted after accidental exposure to electrical leakage from a broken power line fallen into puddles of water, which caused her severe injuries and eventually death. Considering it should be the responsibility of the Provincial Electricity Authority and Mae Sot Municipality to use precautionary measures to prevent such leakage, Mrs Juju filed a lawsuit against the two government offices for neglect of duty as stated by law. The sum of compensation she sought was 6,220,185 baht, for covering medical expenses, loss of income for the

time she had to leave her work in order to take care of her daughter, her suffering from an incurable illness since the incident, and future medical costs. The Administrative Court of Phitsanulok issued a verdict on June 19, 2013, absolving the Provincial Electricity Authority, and decided that only Mae Sot Municipality was the guilty party. The Municipality office did not appeal the order, and consented to pay compensation as ordered by the Administrative Court

After eight years, 81 Burmese workers received the overdue pay Obstacles to access labour protection from the Thai state Mr Sole, a Burmese migrant and former employee of Uni–Ocean Cooperative, related how he had been owed past wages and overtime for both the normal working days and holidays (based on the minimum wage rate), since he started working for the company until April 18, 2005 when he was discharged without compensation along with fellow migrant workers. Initially, they sought help from non–government organizations, such as MAP Foundation, which advised them to seek assistance

under the mechanisms of the Labour Protection and Social Welfare Department. Mr Sole and 128 fellow workers thus submitted a petition to the Labour Inspector at the Tak branch office to investigate and issue orders in accordance with their authority. On July 20, 2005, the Labour Inspector issued Order No 12/2548 telling the employer to pay 1,999,445.50 baht to 81 workers, including Mr. Sole, for the unpaid wages and overtime. However, Uniocean Cooperative refused and filed a motion in Regional Labour Court 6 in Nakhon Sawan asking the judge to revoke the Labour Inspector’s order.

18 Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand


In photo # Mr.Sole receiving the cheque at the Regional Labour Court of Nakhon Sawan

The Regional Labour Court reviewed the case and ordered an adjustment of the compensation to 1,864,450.29 baht. On appeal by the company the Supreme Court passed a verdict on May 22, 2012 (No. 6134/2555) confirming the decision of the Regional Labour Court of Nakhon Sawan. Despite the court’s decision, that affirmed the workers’ rights to receive wages and overtime according to the Labour Protection law, the employer

issued the compensation in checks with the names of individual employees, which incurred problems for the majority of the workers as they lacked identity papers, or the spellings of the names on their documents did not match with those appearing on the checks. Some of the workers could not cash their checks because the names and photos of their official identity papers have been changed and thus were not recognized by the bank. On March 27, 2013, the representatives of HRDF’s Mae Sot Labour Law Clinic and the Burmese workers went to seek consultation at the Regional Labour Court 6 of Nakhon Sawan, which investigated and eventually ordered the company to issue cash to the workers on July 30, 2013. The workers have since received their due pay from their former employer. Mr Sole, as representative of the workers, said it may have taken them eight years before justice was served, but the state’s mechanisms and Thai judicial system have proven themselves reliable. However, he would like the Labour Ministry and the Thai government to consider how to process assistance faster in order to make the migrant workers feel more confident about continuing work here.

Chiang Mai Social Security Office pays compensation to relatives of a migrant worker killed in an accident On July 31, 2013, the Social Security Office of Chiang Mai issued a document No. Chor Mor 0030.6/2124 and 0030.6/2125, stating that Mrs. Poy and Miss U, mother and daughter of Mr Panta Lungmu, a migrant labourer who had an accident while working at a construction site, were entitled to receive 271,065.60 baht as compensation for the actual medical expenses, funeral costs (22,100 baht), and an indemnity worth sixty percent of the lost wages for a period of 96 months (Workers’ Compensation Act B.E. 2537).

Mr Panta Lungmu, 37, was a legal migrant worker whose nationality had been proved and a passport issued. At the time of the accident, it was found that his employer had already included his name on the list of workers entitled to compensation, thus the order by the Social Security Office to provide compensation to the worker that could be claimed directly by his relatives. However, HRDF has received a number of complaints from other workers who cannot access the WCF because their employers have refused to submit their names to the WCF list. In case of work–related accidents,

Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 19


the social security office will then refuse to pay these workers their due compensation and instead pass on the responsibility to the employer, who will in turn try to dodge the SSO’s order and even challenge the state agency to cancel the order through a lawsuit that could drag on for a long time before the Labour Court can confirm the validity of the SSO’s initial order. In effect, the SSO should review its policy on payment of compensation, considering that Sections 25 and 44 of the Workers’ Compensation Fund Act B.E. 2537 do not have a clause that says the employer must pay his or her share of contributions in full amount before the employee can have access to the fund. If the purpose of the fund is to provide compensation, the state, as an enforcer of law and protector of the compensation fund, should be responsible for the task. In keeping with the principle and intention of the WCF law, therefore, the SSO should take up the responsibility in serving the employees adequately.

Mother of abducted child files a civil lawsuit against former employers On September 17, 2013, an attorney representing the mother of “Air” filed a lawsuit against Mr. Natee Taeng–on and Miss Rattanakorn Piyaworatham seeking compensation for physical abuses inflicted on her daughter while working at the couple’s house that resulted in severe injuries and mental trauma to the extent she could not function like a normal person. The total compensation, including surgery costs, amounted to 4,603,233 baht. On November 4, 2013, the provincial court of Kamphaeng Phet convened to investigate a request by Air’s mother, as the plaintiff, to waive the Court fees, and the decision is scheduled for November 21, 2013. The case dates back to around 2009, when Air, then seven, disappeared from the residence of

her parents who were migrant workers from Burma and living on a sugarcane plantation belonging to their employer in Kamphaeng Phet. Air’s mother suspected that she might have been abducted by their former employer who is the mother of Miss Rattanakorn Piyaworatham, a co–defendant, due to their dissatisfaction over the decision made by Air’s parents to switch to a new employer. But due to a threat made by her former employers, Air’s mother did not make any attempt to enter their residence to search for her daughter, lest she be arrested by the police for making a false claim. In early January 2013, Air made a successful escape from the employer’s house, thanks in part to help from some locals in Kamphaeng Phet. Air testified that she had been abducted by her parents’ former employer, who forced her to work as a maid in Mr Natee and Miss Ratanakorn’s house. While working there, Air reported being physically abused by both employers until she suffered grievous injuries. With regard to the criminal case, the investigation officers have requested a warrant from the court to arrest the two employers on the following charges: committing bodily harm and thereby, causing the victim to receive grievous bodily harm; detaining and confining another person and causing grievous bodily harm to the detained person; detaining and confining another person and forcing him or her to do any act for the offender or other persons; enslaving a person or causing him or her to be in a position similar to a slave; enslaving a person or causing him or her to be in a position similar to a slave especially when the person is a child not exceeding fifteen years of age and inflicting grievous bodily harm on the person as well; and jointly committing an offence of human trafficking. At present, the two employers are still at large after being granted bail. On March 12, 2013, the Public Prosecutor asked the Provincial Court of Kamphaeng Phet to proceed with witness examination of Air and her mother as per the Criminal Procedure Code’s Section 237 bis.

20 Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand


Activitie Migrant Justice Program, Chiangmai (MJP–CM), launched the Migrant Labour Radio Program through Radio Thailand Chiangmai. The program is broadcast on AM 1475 KHz frequency in Shan language. The objective of the program is to familiarize the listeners with human rights principles and policies and laws relating to rights of migrant workers. The program is broadcasted every Thursday and Friday at 10.00–11.00 AM. A re–run of the morning broadcast is also played at 10.00–11.00 PM on both days. On July 27, 2013, staff members of the Human Rights and Development Foundation paid a visit to the Shelter and Vocational Training Centre run by recruitment agencies in Myawaddy, Myanmar, catering to Burmese workers who have been selected for employment in Thailand under the Memorandum of Understanding (MOU) between the two countries. The HRDF staff provided training on relevant laws and policies to prepare these migrant workers prior to their entrance into Thailand. On August 6, 2013, representatives of the HRDF participated in a meeting where they exchanged their experiences in legal counseling and assistance for victims of human trafficking with Ambassador–at–Large Luis CdeBaca, Director of the US Department of State’s Office to Monitor and Combat Trafficking in Persons.

On August 25, 2013, Ms Sukanya Sukpaita, as HRDF representative, received an award from the chair of the Migrant Worker Rights Network (MWRN), in recognition of HRDF’s support for the MWRN’s campaigns to promote public access to the judicial system.

Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 21


On September 1, 2013, the State Enterprises Workers’ Relation Confederation (SERC), Thai Labour Solidarity Committee (TLSC), Migrant Worker Rights Network, and HRDF jointly held a seminar on “Direction of Migrant Labour Management: Termination of employment in Thailand” in the auditorium of the Talay Thai Market in Samut Sakhon, where over 300 workers as well as representatives from the Department of Employment and networks of migrant labour working groups attended. On September 16–17, 2013, HRDF’s Labour Law Clinic in Mae Sot District organized a forum for the exchange of experiences in rights protection and legal assistance for migrant workers from Burma, attended by representatives from lawyers and labour unions of Burma, HRDF’s lawyer network and from the Lawyers’ Council’s Mae Sot branch, as well as from the Legal Reform Committee. Participants had an opportunity both to exchange information on labour protection laws and to visit agencies involved in state mechanisms for migrant labour protection. A. Participants from Thailand and Burma exchanged their experiences with one another B. Group photo of participants and Chief Justice of Maesod Provincial Court C. Group photo of participants and representatives of the Labour Welfare and Protection Office’s Mae Sot district branch

On September 20, 2013, an HRDF’s representative attended a public meeting on legal assistance for children and youths in the criminal justice system, hosted by the Law Reform Commission of Thailand, to push for a review of the principles, mechanisms and measures in providing legal assistance for the children and youths within the criminal justice system in accordance with pertinent laws and international practice. In all, forty persons attended, including representatives of those facing criminal charges and judicial officers involved in cases related to children and/or youths. 22 Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand


Access to Justice and Rights Protection for Migrant Workers in Thailand The Human Rights and Development Foundation (HRDF) is a non–profit non–government organization that aims to promote and protect the human rights of migrant workers and their families in Thailand. Through the Access to Justice and Legal Protection Project and campaigns to promote the migrant workers’ potentials, HRDF has been working with several civil and state organizations at both national and international levels, with the following objectives:

1. To achieve greater efficiency in protection of the migrant workers’ rights through legal mechanisms and state channels (via petitions), 2. To enable the migrant workers to have better understanding of their human rights and access to the state’s protection and petition mechanisms, 3. To prevent the migrant workers and their families from falling victims to labour exploitation, 4. To educate Thai society about the necessity of migrant labour in Thailand, in order to promote peaceful co–existence despite racial and cultural differences.

Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 23


บรรณาธิการ: นางสาวปรีดา ทองชุมนุม และนางสาวภัทรานิษฐ์ เยาด�ำ ติดต่อ: มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ส�ำนักงานกรุงเทพมหานคร (เฉพาะโครงการต่อต้านการค้ามนุษย์ด้านแรงงาน) 109 ซอยสิทธิชน ถนนสุทธิสารวินิจฉัย แขวงสามเสนนอก ห้วยขวาง กรุงเทพ 10310 โทรศัพท์ 02 277 6882 โทรสาร 02 275 4261 www.hrdfoundation.org มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ส�ำนักงานจังหวัดสมุทรสาคร 93/200 หมู่ที่ 7 ต�ำบลท่าทราย อ�ำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร 74000 โทรศัพท์/โทรสาร 034 414 087 มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ส�ำนักงานอ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก 14/12 ถนนประสาทวิถีเดิม ต�ำบลแม่สอด อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก 63100 โทรศัพท์/โทรสาร 055 535 995 มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ส�ำนักงานอ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 71 ถนนสนามกีฬาซอย 1 ชุมชนอุ่นอารีย์ ซอย 4 ต�ำบลศรีภูมิ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200 โทรศัพท์/โทรสาร 053 223 077

Editor: Ms.Preeda Tongchumnum and Ms.Phattranit Yaodam Contact: To contact the Human Rights and Development Foundation–Bangkok (for the Anti–Human Trafficking Project only) 109 Soi Sitthichon, Suthisarnwinichai Road, Samsennok, Huaykwang, Bangkok 10310 Tel. 662 277 6882 Fax. 02 2754261 www.hrdfoundation.org HRDF, Samut Sakhon Branch Office 93/200 Moo 7, Ta Sai Sub–district, Muang District, Samut Sakhon 74000 Tel/Fax 034 414 087 HRDF, Mae Sot District Branch Office 14/12 Prasart Witheederm Road, Mae Sot Sub–district, Mae Sot District, Tak 63100 Tel/Fax 055 535 995 HRDF, Chiang Mai Branch Office 71 Sanamkeela Road, Soi 1, Un–Aree Community, Soi 4, Sriphum Sub–district, Muang District, Chiang Mai 50200 Tel/Fax 053 223 077


หนังสือข่าวด้านการเข้าถึงความยุติธรรมและ การคุ้มครองสิทธิแก่แรงงานข้ามชาติในประเทศไทย Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand ฉบับที่ 2 : ตุลาคม–ธันวาคม 2556

2nd issue : October–December 2013


การไกล่เกลี่ยประนีประนอม ในคดีแรงงานกับความเป็ นธรรม

สุมิตรชัย หัตถสาร1

ผู้เขียนขอเกริ่นน�ำก่อนด้วยความหมายของกฎหมาย แรงงานว่า หมายถึงระเบียบกฎเกณฑ์หรือมาตรการทีร่ ฐั ก�ำหนด ขึ้นมาเป็นมาตรการให้นายจ้างกับลูกจ้างยึดเป็นแนวปฏิบัติใน การท�ำงานเพือ่ จะคุม้ ครองและส่งเสริมสภาพการท�ำงานของคน งานเกี่ยวกับเรื่องก�ำหนดวัน เวลาท�ำงาน วันหยุด วันลา ค่า ตอบแทนการท�ำงาน ความปลอดภัยและสวัสดิการในการท�ำงาน รวมทัง้ การก�ำหนดแนวทางเกีย่ วกับความสัมพันธ์ของบุคคลสอง ฝ่ายดูแลส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง โดย ก�ำหนดหลักเกณฑ์วิธีการเกี่ยวกับการหารือ การไกล่เกลี่ยระงับ ข้อพิพาทและก�ำหนดวิธีการในกรจัดตั้งและด�ำเนินการองค์กร ของลูกจ้างและนายจ้าง รวมตลอดถึงการด�ำเนินการในด้านการ จัดหางานและความมั่นคงในการท�ำงานด้วย นอกจากนี้กฎหมายแรงงานยังเป็นกฎหมายที่มีลักษณะ เป็นทัง้ กฎหมายมหาชนและกฎหมายเอกชน คือมีทงั้ บทบัญญัติ ที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับนายจ้างและลูกจ้าง และ มีบทบัญญัติที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง องค์กรนายจ้างกับองค์กรลูกจ้าง ฯลฯ กฎหมายแรงงานจึงมี ลั ก ษณะพิ เ ศษแตกต่ า งจากกฎหมายทั่ ว ไป ที่ ส ่ ว นใหญ่จ ะมี ลักษณะเป็นกฎหมายมหาชนหรือกฎหมายเอกชนอย่างชัดเจน ทั้งนี้ เนื่องจากเป็นกฎหมายที่ยึดโยงเอาความสัมพันธ์สามฝ่าย เข้ามาอยู่ด้วยกัน คือ รัฐ นายจ้าง และลูกจ้าง หรือที่เราเรียกว่า “ระบบไตรภาคี” ซึ่งเป็นไปตามหลักการสากลที่ทั่วโลกใช้เป็น บรรทัดฐานเดียวกัน เพราะฉะนั้น โดยนิยามแล้ว กฎหมาย แรงงานจึงเป็นกฎหมายที่เกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยและ ศีลธรรมอันดีของประชาชน เพราะมุ่งถึงประโยชน์ส่วนใหญ่ ของสาธารณชน กล่าวคือ ผู้ใช้แรงงานทั้งหลายให้ได้รับความ 1

ทนายความและผู้อ�ำนวยการศูนย์พิทักษ์และฟื้นฟูสิทธิชุมชนท้องถิ่น

2 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

เป็นธรรมในการจ้างงานมากกว่าจะค�ำนึงถึงเจตนาของบุคคล (ระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง) ในการท�ำสัญญา ดังนั้น สัญญา จ้างแรงงานหรือข้อตกลงกันระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างย่อมไม่มี ผลใช้บังคับถ้าสัญญาหรือข้อตกลงนั้นขัดต่อบทบัญญัติของ กฎหมายแรงงาน ดังตัวอย่าง ค�ำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3583/2524 “ประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่ อ งการคุ ้ ม ครองแรงงาน มีวัตถุประสงค์ในอันที่จะก่อให้เกิดความเป็นธรรมแก่ลูกจ้าง เป็นการคุม้ ครองและอ�ำนวยประโยชน์แก่ลกู จ้าง จึงเป็นกฎหมาย เกีย่ วกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน สัญญาประนีประนอม ยอมความเกี่ยวกับค่าชดเชยซึ่งท�ำขึ้นผิดแผกแตกต่างไปจาก ประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องการคุ้มครองแรงงาน จึงเป็น โมฆะใช้บงั คับไม่ได้” จากนิยามความหมายของกฎหมายแรงงาน ดังกล่าว จะเห็นได้ว่ากฎหมายมุ่งคุ้มครองลูกจ้างที่อยู่ในสถานะ ที่ เ สี ย เปรี ย บนายจ้ า งที่ ไ ม่ มี อ� ำ นาจต่ อ รองใดๆ หรื อ อาจถู ก นายจ้างใช้อ�ำนาจที่เหนือกว่าบังคับให้ท�ำข้อตกลงหรือสัญญาที่ เสียเปรียบทั้งหลาย กฎหมายก็คุ้มครองให้ข้อตกลงหรือสัญญา นั้นเป็นโมฆะไม่มีผลบังคับถ้าขัดต่อบทบัญญัติของกฎหมาย ที่เกริ่นน�ำด้วยนิยามความหมายของกฎหมายแรงงาน ก็เพื่อจะชี้ให้เห็นว่า กฎหมายแรงงานเป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับ ความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน ซึง่ ต้องตีความ เคร่งครัดตามตัวบทและเจตนารมณ์ (ขอเน้นย�ำ้ ตรงนีใ้ นเบือ้ งต้น) ส่วนประเด็นทีผ่ เู้ ขียนอยากจะเขียนในบทความนีค้ อื เรือ่ ง “การไกล่เกลี่ยประนีประนอม” ในคดีแรงงาน “การไกล่เกลี่ย” อาจเป็นค�ำที่คุ้นหูนักกฎหมาย ทนายความทั้งหลาย ที่ปฏิบัติ หน้าที่หรือประกอบวิชาชีพอยู่ในการด�ำเนินคดีในศาลยุติธรรม ทัว่ ไป โดยเฉพาะกว่าหนึง่ ทศวรรษทีผ่ า่ นมา ต่อมาได้รบั การพัฒนา จนกลายเป็น “ระบบไกล่เกลีย่ ” ซึง่ ระบบศาลไทยได้นำ� มาใช้จน กลายเป็นส่วนหนึง่ ของกระบวนการด�ำเนินคดีในศาลไปแล้ว โดย มีการออกเป็นข้อก�ำหนดประธานศาลฎีกาว่าด้วยการไกล่เกลี่ย พ.ศ. 2554 โดยอาศัยอ�ำนาจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความแพ่ง มาตรา 20ทวิ (ตาม พรบ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ 24) พ.ศ. 2551 อย่างไรก็ตาม ผูเ้ ขียนเห็นว่าการไกล่เกลีย่ ในศาลแรงงาน ไม่สามารถจะพิจารณาจากประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ แพ่งและปฏิบัติไปตามข้อก�ำหนดของประธานศาลฎีกาเพียง


เท่านัน้ หากต้องพิจารณาจากพระราชบัญญัตจิ ดั ตัง้ ศาลแรงงาน และวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 ประกอบด้วย เนื่องจาก คดีแรงงานเป็นคดีพิเศษที่แตกต่างไปจากคดีแพ่งทั่วไป เพราะ เกีย่ วข้องกับกฎหมายคุม้ ครองแรงงานหลายฉบับทีเ่ ป็นกฎหมาย ที่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือกล่าวอีกนัยกฎหมายแรงงานเป็นกฎหมายด้านสังคมที่ ต้องค�ำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตัว ท�ำนองเดียวกับคดีแพ่งทั่วไปที่เป็นเรื่องของเอกชนกับเอกชน ที่มีผลประโยชน์ขัดแย้งกัน หรือโต้แย้งสิทธิกันตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ทีต่ า่ งมีผลประโยชน์ตอบแทนกันตาม สัญญา หรือมีนิติกรรม หรือนิติเหตุในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง แม้ว่าคดีแรงงานจะมีลักษณะเป็นนิติกรรมสัญญาแบบหนึ่งใน ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ก็ตาม แต่ความสัมพันธ์ ระหว่างนายจ้างและลูกจ้างมีความเกีย่ วโยงกับสังคมโดยรวมใน ทางเศรษฐกิจ เพราะแรงงานของลูกจ้างเป็นองค์ประกอบส�ำคัญ ของการผลิตสินค้าและบริการให้กับทั้งภาคธุรกิจเอกชนและ ภาครัฐ หากแต่ผลประโยชน์ระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างมีลกั ษณะ ทีข่ ดั แย้งกันอยูต่ ลอดเวลา กล่าวคือ นายจ้างต้องการผลก�ำไรและ ต้องการแรงงานที่มีประสิทธิภาพสูงแต่ค่าแรงต�่ำ ส่วนลูกจ้าง ต้องการเวลาท�ำงานน้อยๆ แต่ต้องการค่าแรงสูงๆ เพื่อคุณภาพ ชีวติ ทีด่ ี ดังนัน้ รัฐจึงต้องเข้ามาเป็นตัวกลางในการสร้างสมดุลใน ความสัมพันธ์ดงั กล่าวให้สามารถด�ำเนินไปได้และเป็นประโยชน์ ต่อเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ ดังนั้น การไกล่เกลี่ยในคดีแรงงานจึงต้องพิจารณาตัวบท ตามพระราชบั ญ ญั ติ จั ด ตั้ ง ศาลแรงงานและวิ ธี พิ จ ารณาคดี แรงงาน พ.ศ. 2522 ด้วย ซึ่งเกี่ยวกับการพิจารณาคดีแรงงาน ได้ก�ำหนดไว้ในข้อก�ำหนดศาลแรงงาน พ.ศ. 2556 เกี่ยวกับการ “ตีความ” ไว้ในข้อ 4 ว่า “เพื่อให้การพิจารณาพิพากษาหรือ มีค�ำสั่งในคดีแรงงานเป็นไปโดยประหยัด สะดวก รวดเร็ว และ เที่ยงธรรม หากมีกรณีต้องตีความหรือปรับใช้ตัวบทกฎหมาย อ�ำนาจศาล สัญญาหรือข้อตกลงใด ให้ตีความหรือปรับใช้ โดยค�ำนึงถึงหลักการคุ้มครองแรงงาน สวัสดิภาพแรงงาน แรงงานสัมพันธ์ การสร้างความเป็นธรรมในสังคมด้านแรงงาน ตลอดจนการส่งเสริมการผลิต การค้าและอุตสาหกรรมของ ประเทศเป็นประการส�ำคัญด้วย ส่วนเกี่ยวกับ “การไกล่เกลี่ย” ได้บญ ั ญัตไิ ว้ใน มาตรา 38 ว่า “เมือ่ โจทก์และจ�ำเลยมาพร้อมกัน แล้ ว ให้ ศ าลแรงงานไกล่ เ กลี่ ย ให้ คู ่ ค วามได้ ต กลงกั น หรื อ ประนีประนอมยอมความกัน โดยให้ถอื ว่าคดีแรงงานมีลกั ษณะ พิเศษอันควรระงับลงได้ด้วยความเข้าใจอันดีต่อกัน เพื่อที่ ทั้งสองฝ่ายจะได้มีความสัมพันธ์กันต่อไป” และในข้อก�ำหนด ศาลแรงงาน ข้อ 32 ว่า “เมือ่ ศาลแรงงานได้พยายามไกล่เกลีย่ ให้คู่ความได้ตกลงกันหรือประนีประนอมยอมความกันตาม เจตนารมณ์ของกฎหมายแล้ว....” ซึง่ จะเห็นได้วา่ ในคดีแรงงาน

ในการไกล่เกลีย่ ของศาลจะต้องค�ำนึงถึงเจตนารมณ์ของกฎหมาย และให้ ตี ค วามหรื อ ปรั บ ใช้ โ ดยค� ำ นึ ง ถึ ง หลั ก การคุ ้ ม ครอง แรงงานเป็นส�ำคัญ เพราะฉะนั้น การน�ำระบบไกล่เกลี่ยไปใช้ในคดีแรงงาน ที่ผ่านมาและปรากฏให้เห็นอยู่บ่อยครั้งที่ศาลใช้การไกล่เกลี่ย ที่ ไ ม่ เ ป็ น ไปตามเจตนารมณ์ ข องกฎหมายคุ ้ ม ครองแรงงาน หลายครั้งศาลต่อรองเกี่ยวกับค่าเสียหายที่เป็นตัวเงินที่นายจ้าง ต้องรับผิดต่อลูกจ้าง เช่น กรณีไม่จ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา หรือ ค่าตอบแทนในรูปแบบอื่น น�ำมาสู่การลดจ�ำนวนเงินลงเหมือน เป็นค่าเสียหายทางแพ่งทั่วไป หรือค่าเสียหายจากการกระท�ำ ละเมิดของนายจ้างทีเ่ กิดจากการท�ำงานให้นายจ้างหรือเกิดจาก การไม่ ป ฏิ บั ติ ต ามเงื่ อ นไขความปลอดภั ย ในการท� ำ งานของ นายจ้างเฉกเช่นเดียวกับค่าเสียหายหายมูลละเมิดธรรมดาตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ โดยหาได้คำ� นึงถึงเจตนารมณ์ ในการคุม้ ครองแรงงานและการสร้างความเป็นธรรมในสังคมด้าน แรงงานเท่าทีค่ วร ทัง้ ๆทีค่ วามเสียหายเหล่านัน้ โดยเฉพาะค่าจ้าง ตามสัญญาจ้างที่นายจ้างต้องรับผิดชอบ ไม่อาจต่อรองราคากัน ได้เหมือนราคาสินค้าหรือค่าเสียหาย เนื่องจากทุกบาทของ ค่าจ้างเป็นหยาดเหงื่อแรงงานและเวลาที่ลูกจ้างต้องสูญเสียไป จากการท�ำงานให้นายจ้างโดยหวังว่าจะได้ค่าตอบแทนที่เป็น ธรรมน�ำกลับไปใช้ด�ำรงชีวิตและเลี้ยงดูครอบครัวตามอัตภาพ ต่างจากนายจ้างทีไ่ ด้ประโยชน์ไปจากมูลค่าส่วนเกินของผลผลิต ที่ลูกจ้างท�ำให้นายจ้างที่มากกว่าค่าแรงหลายเท่า และยิ่งเป็น กรณีที่นายจ้างใช้อ�ำนาจบังคับให้ลูกจ้างท�ำงานเกินเวลา หรือ ท�ำงานที่เสี่ยงอันตรายโดยไม่มีมาตรการป้องกัน หรือกระทั่ง บังคับใช้แรงงานเยีย่ งทาสด้วยแล้ว ยิง่ ไม่ควรไกล่เกลีย่ ต่อรองใดๆ ไม่เช่นนั้นก็เท่ากับเป็นการส่งเสริมให้นายจ้างที่กดขี่เอาเปรียบ ลูกจ้างไม่รสู้ กึ ส�ำนึกถึงการกระท�ำของตนเอง เพราะท�ำแล้วเดีย๋ ว ก็ค่อยมาต่อรองที่ศาลให้จ่ายให้น้อยที่สุดเท่าที่จะจ่ายได้ แล้วก็ กลับไปกระท�ำซ�้ำกับลูกจ้างคนอื่นต่อไปเรื่อยๆ และที่ส�ำคัญว่า หากการไกล่เกลี่ยประนีประนอมนั้นได้ข้อตกลงหรือสัญญาใดๆ ที่ขัดต่อกฎหมายย่อมตกเป็นโมฆะไม่สามารถบังคับใช้ได้ ดังที่ ผู้เขียนได้ยกแนวค�ำพิพากษาฎีกาเอาไว้ในตอนต้น ในบทความนี้ ผู้เขียนไม่ได้ตั้งใจจะกล่าวต�ำหนิผู้ใดเป็น การเฉพาะเจาะจง แต่เห็นว่าโดยเจตนารมณ์ของกฎหมายแรงงาน มีความมุง่ หมายทีจ่ ะสร้างความเป็นธรรมทางสังคมด้านแรงงาน เพียงแต่ในทางปฏิบัติอาจเลือนลางจางไปด้วยความเข้าใจที่ ไม่ตรงกันหรือไม่เข้าใจอย่างถูกต้อง ท�ำให้การปฏิบตั เิ อนเอียงไป ในทางเอือ้ ประโยชน์ให้นายจ้างจนเกินไป ทัง้ ทีส่ ถานะของลูกจ้าง เป็นฝ่ายทีเ่ สียเปรียบนายจ้าง ผูเ้ ขียนจึงหวังว่าบทความนีจ้ ะช่วย กระตุกเตือนนักกฎหมาย ทนายความ หรือผู้ที่เกี่ยวข้องให้ ตระหนักและท�ำหน้าทีใ่ ห้สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของกฎหมาย อย่างเที่ยงตรงและเที่ยงธรรม เพื่อจรรโลงสังคมให้ดีงามต่อไป จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 3


ข้อจ�ำกัดในการเข้าถึง กองทุนเงินทดแทนของแรงงาน

กฎหมายและนโยบาย

ประมงทะเลและแรงงานข้ามชาติ

นางสาวภัทรานิษฐ์ เยาด�ำ ตามทีท่ ราบกันดีวา่ ในบรรดากฎหมายระดับพระราชบัญญัตทิ เี่ กีย่ วข้องกับสิทธิแรงงานทัง้ หมดนัน้ พระราชบัญญัตเิ งินทดแทน พ.ศ. 2537 เป็นอีกฉบับหนึ่งที่มีความส�ำคัญโดยบังคับใช้เมื่อลูกจ้างประสบอันตราย ทุพพลภาพ สูญหายหรือตายอันเนื่องมาจาก การท�ำงานหรือป้องกันรักษาผลประโยชน์ให้แก่นายจ้างหรือเจ็บป่วยเป็นโรคซึ่งเกิดตามลักษณะหรือสภาพของงานหรือโรคซึ่งเกิด จากการท�ำงาน ลูกจ้างมีสิทธิได้รับการปฏิบัติและได้รับเงินทดแทนจากนายจ้าง แต่ทั้งนี้ กระทรวงแรงงานได้มีประกาศกระทรวง แรงงานและสวัสดิการสังคม ซึง่ ออกตามความในมาตรา 6 และมาตรา 44 แห่งพระราชบัญญัตเิ งินทดแทน พ.ศ. 2537 เรือ่ ง ประเภท ขนาดของกิจการ และท้องที่ที่ให้นายจ้างจ่ายเงินสมทบ (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2545 ก�ำหนดให้นายจ้างในกิจการ บางประเภทไม่ต้องจ่ายเงินสมทบเข้าสู่กองทุนเงินทดแทน และส่งผลให้ลูกจ้างไม่สามารถที่จะเรียกค่าทดแทนเอาจากกองทุนเงิน ทดแทนโดยตรงได้ คื อ นายจ้ า งซึ่ ง ประกอบกิ จ การเพาะปลู ก ประมง ป่ า ไม้ และเลี้ ย งสั ต ว์ ซึ่ ง มิ ไ ด้ ใ ช้ ลู ก จ้ า งตลอดปี แ ละ ไม่มงี านลักษณะอืน่ รวมอยูด่ ว้ ย นายจ้างทีเ่ ป็นบุคคลธรรมดา ซึง่ งานทีล่ กู จ้างท�ำนัน้ มิได้มกี ารประกอบธุรกิจรวมอยูด่ ว้ ย และนายจ้าง ซึ่งประกอบการค้าเร่ การค้าแผงลอย และแม้ ใ นปั จ จุ บั น ยั ง ไม่ มี ค วามกระจ่ า งชั ด ว่ า ตาม บทบัญญัตขิ องกฎหมายแล้วลูกจ้างในเรือประมงทะเลเป็นลูกจ้าง ผู้มีสิทธิเข้าถึงกองทุนเงินทดแทนได้โดยตรงหรือไม่ เพราะจาก การพยายามหาบรรทัดฐานในการพิจารณาของเจ้าหน้าที่ระดับ ปฏิบัติการผู้รักษาการตามกฎหมายฉบับนี้ ยังไม่สามารถให้ค�ำ ตอบเป็นในแนวทางเดียวกัน อีกทั้งยังไม่เห็นความพยายามใน การไขข้อสงสัยในเรื่องนี้แต่ประการใดแม้ความจริงที่ปรากฏว่า ประเทศไทยมีลกู จ้างทีท่ ำ� งานในเรือประมงทะเลเป็นจ�ำนวนมาก แต่ เมื่ อพิ จารณาจากสภาพการท� ำ งานของลู ก จ้ า งในกิจ การ ประมงทะเล นอกจากกิจการประมงน�้ำตื้นซึ่งมีลักษณะเป็น การประกอบกิจการแบบครอบครัวแล้ว พบว่าโดยทัว่ ไปลักษณะ ประกอบกิจการตลอดทั้งปีโดยใช้ลูกจ้าง แม้ว่าลูกจ้างส่วนหนึ่ง จะเข้าออกหมุนเวียนเปลี่ยนไปก็ตาม ดังนั้น ในความเห็นของ ผู้เขียน ลูกจ้างในประเภทกิจการประมงโดยเฉพาะกิจการ ประมงทะเลน�้ำลึก และนอกน่านน�้ำไทย จึงไม่อยู่ในข้อยกเว้น ตามประกาศกระทรวงฯ นายจ้างในกิจการประมงทะเลดังกล่าว จึงมีหน้าทีต่ อ้ งจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนทดแทนตามพระราช บัญญัติกองทุนเงินทดแทน พ.ศ. 2537 และลูกจ้างยิ่งมีสิทธิ ได้รับเงินทดแทนจากกองทุนเงินทดแทน ไม่ว่านายจ้างจะ ละเลยหรือหลีกเลี่ยงการจ่ายเงินสมทบหรือไม่ก็ตาม

4 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

และนอกจากนี้ ยังค้นพบว่าแรงงานข้ามชาติยงั มีขอ้ จ�ำกัด ในการเข้าถึงกองทุนเงินทดแทนทีป่ รากฏอยูใ่ นรูปแบบของค�ำสัง่ ภายในส�ำนักงานประกันสังคม คือ แนวปฏิบตั ทิ ี่ รง 0507/ว987 ลงวั น ที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 ที่ ก� ำ หนดหลั ก เกณฑ์ บังคับแก่กรณีลูกจ้างแรงงานข้ามชาติที่จะรับเงินทดแทนจาก กองทุนเงินทดแทนไว้เป็นกรณีเฉพาะ ตาม ข้อ 3 และข้อ 4 ว่า กรณีทแี่ รงงานต่างด้าวจะมีสทิ ธิได้รบั เงินทดแทนจากกองทุนเงิน ทดแทนต้องมีหลักฐาน คือ มีการจดทะเบียนและมีใบอนุญาตให้ ท�ำงาน (Work permit) ที่ทางราชการออกให้และได้รบั อนุญาต ให้เข้าเมืองโดยถูกต้องตามกฎหมาย หรือผ่านการพิสจู น์สญ ั ชาติ ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2555 และหาก กรณีแรงงานต่างด้าวที่ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจาก การท�ำงานให้นายจ้างแต่ไม่มีหลักฐานตาม ข้อ 3 นายจ้างต้อง เป็นผูร้ บั ผิดชอบจ่ายเงินทดแทนตามพระราชบัญญัตเิ งินทดแทน พ.ศ. 2537 ให้แก่ลกู จ้างเอง ทัง้ ทีล่ กู จ้างอันเป็นแรงงานข้ามชาติ บางคนอาจท�ำงานในประเภทกิจการที่มีสิทธิเข้าถึงกองทุนเงิน ทดแทนโดยตรง ดังนั้น แรงงานข้ามชาติที่เป็นลูกจ้างของ นายจ้างที่มีหน้าที่ต้องจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนเงินทดแทน มีสิทธิได้รับเงินทดแทนจากกองทุนไม่ว่านายจ้างที่มีหน้าที่ ต้องจ่ายเงินสมทบจะได้จา่ ยเงินสมทบเข้ากองทุนเงินทดแทน หรือไม่ เพียงใด ก็ตาม เนื่องจากไม่มีข้อบทกฎหมายใดตาม พระราชบัญญัตกิ องทุนเงินทดแทน พ.ศ. 2537 หรือกฎหมาย


อื่นใด ที่กีดกันไม่ให้แรงงานข้ามชาติดังกล่าวเข้าถึงกองทุน เงินทดแทน และไม่มีข้อบทกฎหมายใดที่ให้อ�ำนาจพนักงาน เจ้าหน้าที่จะออกกฎระเบียบใดๆที่จะกีดกันไม่ให้แรงงาน ข้ามชาติดังกล่าวได้รับเงินทดแทนจากกองทุนโดยตรง กรณีศึกษา สภาพการท�ำงานของแรงงานในกิจการ ประมงทะเลและปัญหาการเข้าถึงกองทุนเงินทดแทน เมื่อวันที่ 23 และ 31 พฤษภาคม 2556 มูลนิธิเพื่อสิทธิ มนุษยชนและการพัฒนา ได้มีโอกาสลงพื้นที่สัมภาษณ์แรงงาน ประมงกลุ่มหนึ่ง จ�ำนวน 11 คน จากเรือประมง 11 ล�ำ ในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสาคร และพบว่าแรงงานประมงที่ประสบอุบัติเหตุ จากการท�ำงานและยังไม่สามารถเข้าถึงกองทุนเงินทดแทนได้ กรณีศึกษา: สัมภาษณ์ นาย เอ (นามสมมุติ) แรงงานชาว พม่าคนหนึ่งที่ จังหวัดสมุทรสาคร ประสบอุบัติเหตุกว้านพันขา จนขาขาดหนึ่ ง ข้ า งเกื อ บถึ ง เข่ า ขณะท� ำ งานบนเรื อ ประมง เมื่อประมาณเดือนเมษายน พ.ศ. 2555 นายจ้างส่งไปรักษา พยาบาลที่โรงพยาบาลสมุทรสาครโดยนายจ้างจ่ายค่ารักษา พยาบาลให้ แต่หลังจากนั้นก็ไม่ได้รับการช่วยเหลือจากนายจ้าง อีกเลย ปัจจุบันนายเอ ไม่ได้ท�ำงานประมงแล้ว ทางมูลนิธิ เพือ่ สิทธิมนุษยชนและการพัฒนาได้ให้ความช่วยเหลือในการยืน่ เรื่องต่อส�ำนักงานประกันสังคมจังหวัดสมุทรสาครเพื่อเรียก ค่าทดแทนจากการสูญเสียอวัยวะ ขณะนี้ยังอยู่ระหว่างขั้นตอน การเจรจากันระหว่างลูกจ้างกับนายจ้างโดยนายจ้างยอมรับว่า เป็นลูกจ้าง แต่ยังตกลงกันไม่ได้ โดยส�ำนักงานประกันสังคม จังหวัดสมุทรสาครยังไม่ได้มคี ำ� สัง่ ให้นายจ้างจ่ายหรือไม่จา่ ยเงิน ตามพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 หรือไม่แต่อย่างใด หรือหากมีค�ำสั่งให้นายจ้างจ่ายเงินทดแทน ส�ำนักงานประกัน สังคมจังหวัดสมุทรสาครจะยึดแนวปฏิบัติตามหนังสือเวียนของ ส�ำนักงานประกันสังคมที่ รง 0507/ว988 ลงวันที่ 31 พฤษภาคม 2555 หรือไม่ในกรณีแรงงานข้ามชาติซงึ่ มีการปฏิบตั แิ ตกต่างกัน กับกรณีแรงงานไทย โดยผลักภาระการจ่ายเงินทดแทนให้แก่ นายจ้าง ซึ่งไม่สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติเงิน ทดแทน พ.ศ. 2537 ในการให้ความคุม้ ครองลูกจ้าง (ไม่ควรจ�ำกัด ว่าเป็นเชื้อชาติใด) ที่ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการ ท�ำงานจนเป็นเหตุให้ได้รบั บาดเจ็บ เจ็บป่วย ทุพพลภาพ สูญหาย หรือถึงแก่ความตาย ซึ่งแรงงานข้ามชาติในภาคประมงก็เป็น แรงงานกลุ่มหนึ่งที่มีความส�ำคัญมากในสภาวการณ์ขาดแคลน แรงงานประมงและท�ำประโยชน์ทงั้ แก่นายจ้างและประเทศไทย

แรงงานข้ามชาติ สิทธิการเข้าถึง ความเป็นธรรมภายใต้กฎหมายว่าด้วย ค่าตอบแทนผู ้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้ จ่ายแก่จ�ำเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2548 กฎหมายว่าด้วย ค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทน และค่าใช้จา่ ยแก่จำ� เลยในคดีอาญา 2548 นัน้ ออกตามเจตนารมณ์ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ได้บัญญัติ รับรองสิทธิในการได้รบั ความช่วยเหลือจากรัฐของบุคคลซึง่ ได้รบั ความเสียหายเนื่องจากกระท�ำความผิดอาญาของผู้อื่นโดยที่ตน มิได้มสี ว่ นเกีย่ วข้องกับการกระท�ำความผิด และไม่มโี อกาสได้รบั การบรรเทาความเสียหายโดยทางอื่น รวมทั้งการรับรองสิทธิ ในการได้รับค่าทดแทนในกรณีของบุคคลซึ่งตกเป็นจ�ำเลยใน คดีอาญาและถูกคุมขังระหว่างพิจารณาคดี หากปรากฏตามค�ำ พิพากษาอันถึงทีส่ ดุ ในคดีนนั้ ข้อเท็จจริงฟังเป็นยุตวิ า่ จ�ำเลยมิได้ เป็นผูก้ ระท�ำความผิดหรือการกระท�ำของจ�ำเลยไม่เป็นความผิด โดยกฎหมายดังกล่าวนี้มีความสอดคล้องกับอนุสัญญาว่าด้วย สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ในข้อที่ 2 ทีร่ ะบุไว้ตอนหนึง่ ว่า “.....บุคคลใดที่สิทธิหรือเสรีภาพของตนซึ่งได้รับรองไว้ใน กติกานี้ถูกละเมิดต้องได้รับการเยียวยาอย่างจริงจัง โดยไม่ต้อง ค�ำนึงว่าการละเมิดนัน้ จะถูกกระท�ำโดยบุคคลผูป้ ฏิบตั หิ น้าที.่ ..” ซึ่งกฎหมายดังกล่าวเมื่อออกมาแล้วย่อมใช้บังคับและคุ้มครอง แก่บคุ คลทุกคนโดยเสมอภาคทุกเชือ้ ชาติ สัญชาติ ศาสนา ภาษา หรือสถานะอืน่ ๆ และหมายรวมถึงแรงงานข้ามชาติทเี่ ข้ามาท�ำงาน อยู่ในประเทศไทยด้วย โดยหากบุคคลนั้นมีคุณสมบัติครบตาม หลักเกณฑ์ย่อมยื่นค�ำร้องขอรับเงินค่าตอบแทนหรือค่าทดแทน ได้จากกรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพ ทีม่ คี ณะกรรมการพิจารณา ค่าตอบแทนผูเ้ สียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จา่ ยแก่จำ� เลยใน คดีอาญา เป็นผูพ้ จิ ารณาลงความเห็นว่าสมควรให้จา่ ยค่าเสียหาย หรือค่าทดแทนนั้นหรือไม่ แต่เนือ่ งจากผูท้ สี่ ามารถเข้าถึงการช่วยเหลือเยียวยาตาม กฎหมายดังกล่าว ยังก�ำหนดเฉพาะการเยียวยาในกรณีทเี่ กีย่ วข้อง เฉพาะฐานความผิดเกีย่ วกับเพศ2 และความผิดเกีย่ วกับชีวติ และ ร่างกาย3 เท่านัน้ แต่ไม่รวมถึงกรณีผเู้ สียหายทีเ่ ป็นเหยือ่ จากซ้อม การทรมาน4 และผู้เสียหายที่ตกเป็นเหยื่อในฐานความผิดของ การค้ามนุษย์5 ยังเข้าไม่ถึงการเยียวยากฎหมายฉบับดังกล่าวนี้ นอกจากนี้ยังพบว่า กระบวนการพิจารณาออกค�ำสั่งยังคงมี

2

ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 276–287 ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 288–308 4 ผูเ้ สียหายอาจจะมีความยากล�ำบากในการน�ำพยานหลักฐานมาพิสจ ู น์ เช่น บาดแผลทีถ่ กู ท�ำร้ายร่างกาย เนือ่ งจากวันทีผ่ เู้ สียสามารถร้องขอความเป็นธรรมนัน้ บาดแผล อาจจะไม่ปรากฏเป็นหลักฐานแล้ว ซึ่งท�ำให้มีหลายกรณีที่คณะกรรมการค่าตอบแทนผู้เสียหายฯ ได้มีค�ำสั่งไม่จ่ายค่าเสียหาย สืบเนื่องจากความไม่ชัดเจนของพยาน หลักฐาน 3

จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 5


ความล่าช้า ซึ่งทางมูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา เห็นว่า ควรทบทวนและขยายสิทธิให้แก่ผู้เสียหายกลุ่มนี้ด้วย รวมถึ ง การเร่ ง รั ด ให้ มี ก ารพิ จ ารณาออกค� ำ สั่ ง เยี ย วยาของ คณะกรรมการฯ ให้รวดเร็วยิง่ ขึน้ อันเป็นการประกันสิทธิในการ

เข้ า ถึ ง ความเป็ น ธรรม โดยมู ล นิ ธิ ไ ด้ ด� ำ เนิ น การให้ ค วาม ช่วยเหลือ กลุ่มแรงงานข้ามชาติที่ตกเป็นผู้เสียหายในคดี อาญา ให้เข้าถึงสิทธิในการเยียวยาตามกฎหมายดังกล่าวนี้ ตามกรณีศึกษา ดังต่อไปนี้

กรณีศึกษา การพิจารณาของคณะกรรมการ 1. แรงงานข้ามชาติ ถูกคนร้าย – เมษายน 2553 ทายาทของผูต้ าย 8 ศพ ได้ยนื่ ค�ำร้อง สังหารหมู่ จ�ำนวน 9 ศพ เหตุ ขอรับค่าแทนผู้เสียหายในคดีอาญา ผ่านส�ำนักงาน เกิดเมื่อเดือนมกราคม 2553 ยุติธรรมจังหวัดตาก – สิงหาคม 2554 มสพ.ท�ำหนังสือ ถึงกรมคุ้มครอง สิทธิ แจ้งเรื่องการขอค่าตอบแทนผู้เสียหายฯ – กรกฎาคม 2555 มสพ.สอบถามความคืบหน้าจาก กรมคุ ้ ม ครองสิ ท ธิ แ ละได้ รั บ แจ้ ง ตอบกลั บ ในเดื อ น เดียวกันว่าค�ำร้องของผูเ้ สียหาย อยูร่ ะหว่างการพิจารณา ของคณะกรรมการพิจารณาจ่ายเงินค่าตอบแทนฯ – พฤศจิกายน 2555 คณะกรรมการพิจารณาจ่ายเงิน ค่าตอบแทน มีค�ำสั่งจ่ายเงินแก่ทายาทผู้ตาย 8 ราย 2. คดีแรงงานข้ามชาติถูกข่ม – เมษายน 2553 ผูเ้ สียหายยืน่ ค�ำร้องขอรับค่าตอบแทน รายข่มขืน อันเป็นการกระท�ำ แก่ผู้เสียหายในคดีอาญาฯ ที่มีฐานความผิดทางเพศ เหตุ – เมษายน 2554 คณะกรรมการพิจารณาจ่ายเงิน เกิดเมือ่ เดือนกุมภาพันธ์ 2553 ค่าตอบแทนฯ มีค�ำสั่งจ่ายเงินแก่ผู้เสียหาย 3. คดีแรงงานที่ตกเป็นเหยื่อ – มิถนุ ายน 2554 ผูเ้ สียหายยืน่ ค�ำร้องขอรับค่าแทนแก่ ของการค้ า มนุ ษ ย์ เหตุ ร ้ อ ง ผู้เสียหายในคดีอาญาฯ เรียนเมื่อปี 2553 – เมษายน 2554 คณะกรรมการพิจารณาจ่ายเงิน ค่าตอบแทนฯ มีค�ำสั่งจ่ายเงินแก่ผู้เสียหาย 4. คดีว่าด้วยการกระท�ำฐาน – มิถุนายน 2554ผู้เสียหายยื่นค�ำร้องขอรับค่าแทนแก่ ความผิดทางเพศ เหตุเกิดเมื่อ ผู้เสียหายในคดีอาญาฯ ปี 2554 – มี น าคม 2555 คณะกรรมการพิ จ ารณาจ่ า ยเงิ น ค่าตอบแทนฯ มีค�ำสั่งจ่ายเงินแก่ผู้เสียหาย 5. คดีว่าด้วยการท�ำกระท�ำ – มิถุนายน2554 ผู้เสียหาย2 ราย ยื่นค�ำร้องขอรับค่า ความฐานความผิ ด ทางเพศ แทนแก่ผเู้ สียหายในคดีอาญาฯ ในฐานความผิดทางเพศ และความผิ ด ต่ อ ชี วิ ต รวม 3 – มิถนุ ายน 2554 ผูเ้ สียหาย 1 ราย ยืน่ ค�ำร้องขอรับค่า รายเหตุเกิดเมื่อ พฤษภาคม ตอนแทนแก่ผู้เสียหายในคดีอาญาฯ ฐานความผิดต่อ 2554 ชีวิต – มีนาคม2555 คณะกรรมการพิจารณาจ่ายเงินค่าตอบ แทนฯ มีค�ำสั่งจ่ายเงินแก่ผู้เสียหาย1ราย – เมษายน 2555คณะกรรมการพิจารณาจ่ายเงินค่า ตอบแทนฯ มีค�ำสั่งจ่ายเงินแก่ผู้เสียหาย 2 ราย

5

ระยะเวลาในการด�ำเนินการ – รวมระยะเวลา เกือบ 4 ปี ที่คณะกรรมการรับเรื่อง พิจารณาและมีค�ำสั่งให้จ่ายเงินค่าตอบแทนแก่ทายาท ผู้ตาย ได้แก่ ก.ค่าตอบแทนกรณีผู้เสียหายถึงแก่ความตาย เป็นเงิน 50,000 บาท ข.ค่าจัดการศพ เป็นเงิน 20,000 บาท ค.ค่าขาดอุปการะเลี้ยงดู เป็นเงิน 30,000 บาท รวมเป็นเงิน 100,000 บาท – มิถุนายน 2556 ทายาทของผู้ตาย 5 รายได้รับเงิน ค่าตอบแทน – คณะกรรมการพิจารณาจ่ายเงินค่าตอบแทนฯ ใช้ ระยะเวลา1 ปี และมีค�ำสั่งให้จ่ายค่าตอบแทนเป็นเงิน 30,000 บาท – ผู้เสียหายได้รับเงินค่าตอบแทนแล้ว – คณะกรรมการพิจารณาจ่ายเงินค่าตอบแทนฯ ใช้ ระยะเวลา 10 เดือน ละมีค�ำสั่งให้จ่ายค่าตอบแทน เป็นเงิน 30,000 บาทภายใต้ฐานความผิดทางเพศ – ผู้เสียหายได้รับเงินค่าตอบแทนแล้ว – คณะกรรมการพิจารณาจ่ายเงินค่าตอบแทนฯ ใช้ ระยะเวลา 9 เดือนละมีค�ำสั่งให้จ่ายค่าตอบแทนเป็น เงิน 30,000 บาทภายใต้ฐานความผิดทางเพศ – ผู้เสียหายได้รับเงินค่าตอบแทนแล้ว – คณะกรรมการพิจารณาจ่ายเงินค่าตอบแทนฯ แก่ ผู้เสียหาย 2 รายใช้ระยะเวลา 9 เดือนและ 10 เดือน ตามล�ำดับละมีคำ� สัง่ ให้จา่ ยค่าตอบแทนเป็นเงิน 30,000 บาทต่อราย ภายใต้ฐานความผิดทางเพศ – คณะกรรมการพิจารณาจ่ายเงินค่าตอบแทนฯ แก่ ผู้เสียหาย ใช้ระเวลา 10 เดือน และมีค�ำสั่งให้จ่าย ค่ า ตอบแทนเป็ น เงิ น 315,820 บาท ภายใต้ ฐ าน ความผิดต่อชีวิต – ผู้เสียหายได้รับเงินค่าตอบแทนแล้ว

เนื่องจากผู้เสียหายจากการกระท�ำความผิดฐานค้ามนุษย์ตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 ยังมิใช่ฐานความผิดที่สามารถขอค่า ตอบแทนได้ตามกฎหมายดังกล่าว

6 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


กรณีศึกษา 6. คดีว่าด้วยการกระท�ำฐาน ความผิดทางเพศ ต่อผูเ้ สียหาย 2 ราย เหตุ เ กิ ด เมื่ อ เดื อ น กุมภาพันธ์ 2555

การพิจารณาของคณะกรรมการ – มีนาคม2555ผู้เสียหาย 2 ราย ยื่นค�ำร้องขอรับ ค่าแทนแก่ผู้เสียหายในคดีอาญาฯ – มิถุนายน 2556 คณะกรรมการพิจารณาจ่ายเงิน ค่าตอบแทนฯ มีค�ำสั่งจ่ายเงินแก่ผู้เสียหาย

ระยะเวลาในการด�ำเนินการ – คณะกรรมการพิ จ ารณาจ่ า ยเงิ น ค่ า ตอบแทนฯ ใช้ระยะเวลา 1 ปี กับ 2 เดือน และมีค�ำสั่งให้จ่าย ค่าตอบแทนเป็นเงิน 30,000 บาทต่อราย ภายใต้ฐาน ความผิดทางเพศ – ผู้เสียหายได้รับเงินค่าตอบแทนแล้ว 7. คดีว่าด้วยการกระท�ำฐาน – กุ ม ภาพั น ธ์ 2556ทายาทผู ้ ต ายยื่ น ค� ำ ร้ อ งขอรั บ – คณะกรรมการพิจารณาจ่ายเงินค่าตอบแทนฯ ใช้ ความผิดต่อชีวิต เหตุเกิดเมื่อ ค่าแทนแก่ผู้เสียหายในคดีอาญาฯ ระยะเวลา 8 เดือน ละมีค�ำสั่งให้จ่ายค่าตอบแทนเป็น ปี มกราคม 2556 – ตุ ล าคม 2556 คณะกรรมการพิ จ ารณาจ่ า ยเงิ น ก. ค่าเสียหายผู้ประสบอุบัติเหตุจราจร 30,000 ค่าตอบแทนฯ มีค�ำสั่งจ่ายเงินแก่ผู้เสียหาย บาท ข. ค่าปลงศพ 20,000 บาท ค. ค่าขาดไร้อุปการะ 20,000 บาท รวมเป็นเงิน 80,000 บาท – ยังไม่สามารถติดต่อทายามผูต้ ายรับเงินค่าตอบแทน ได้

สถานการณ์ดา้ นคดีท่นี า่ สนใจ

ศาลฎีกา พิพากษาคดีนายชาลี ดีอยู ่ กรณีย่นื ค�ำร้องให้ศาลยุ ติธรรมไต่สวน

การคุมขังโดยมิชอบด้วยกฎหมาย และให้ชดใช้ค่าเสียหายตามรัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2554 นายชาลี ดีอยู่ แรงงานข้ามชาติ ชาวพม่า ประสบอุบัติเหตุจากการท�ำงานและเข้ารักษาตัวที่ โรงพยาบาลปทุมธานี ระหว่างรักษาตัวที่โรงพยาบาลนั้น นายชาลีได้ท�ำเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการได้รับใบอนุญาตให้ท�ำงานใน ราชอาณาจักจากรมจัดหางาน กระทรวงแรงงาน สูญหาย ท�ำให้เจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลปทุมธานี แจ้งพนักงานต�ำรวจ เมื่อวันที่ 31 มกราคม เพื่อควบคุมตัวนายชาลีไว้โดยอ้างว่าเป็นแรงงานต่างด้าวผิดกฎหมาย พนักงานต�ำรวจสภ.ปทุมธานี จึงได้ส่งตัวนายชา ลีแก่ส�ำนักงานตรวจคนเข้าเมืองเพื่อรอผลักดันกลับประเทศพม่า ในระหว่างที่รอการส่งตัวนายชาลีกลับประเทศพม่าในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ส�ำนักงานตรวจคนเข้าเมืองได้ส่งตัวนายชาลีไปรักษาอาการบาดเจ็บที่โรงพยาบาลต�ำรวจตามการร้องขอของมูลนิธิ เพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ระหว่างพักรักษาตัวที่โรงพยาบาลต�ำรวจ นายชาลียังคงถูกควบคุมตัวอยู่ในห้องผู้ต้องขังที่ป่วย ซึ่งมีลักษณะเป็นห้องขังโดยมีเจ้าหน้าที่ต�ำรวจเฝ้าหน้าห้องตลอด 24 ชั่วโมง และชาลียังถูกล่ามโซ่ไว้กับเตียง มูลนิธิฯ ได้เรียกร้องไปยังส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติให้ ปลดโซ่ตรวนนายชาลี จนกระทั่งมีการปลดโซ่ตรวนออกในวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2554 แต่ยังมีการควบคุมตัวนายชาลีไว้ ซึ่งต่อมา ในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2554 มูลนิธิฯพร้อมทั้งทนายความจาก สภาทนายความ ได้ด�ำเนินการยื่นค�ำร้องต่อศาลอาญากรุงเทพ ใต้เพือ่ ให้มคี ำ� สัง่ ไต่สวนฉุกเฉินกรณีทมี่ กี ารควบคุมตัวโดยมิชอบ ด้ ว ยกฎหมาย ตามกฎหมายวิ ธี พิ จ ารณาความอาญา และ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 และขอให้มี ค�ำสั่งปล่อยตัวนายชาลีโดยทันที พร้อมเรียกร้องให้ผู้ควบคุมตัว

เยียวยาความเสียหายแก่นายชาลี เนือ่ งจากนายชาลี ดีอยู่ ได้รบั อนุญาตให้ทำ� งานในราชอาณาจักรโดยถูกต้องตามกฎหมาย และ ได้รับการผ่อนผันให้อาศัยอยู่ในราชอาณาจักรไทยได้เป็นการ ชัว่ คราวตามระยะเวลาทีไ่ ด้รบั อนุญาตให้ทำ� งานในราชอาณาจักร ศาลชั้นต้นไต่สวนค�ำร้องแล้วและเห็นว่านายชาลีถูกควบคุมตัว โดยไม่ชอบด้วยกฎหมายและมีค�ำสั่งให้เยียวยานายชาลีเป็นเงิน จ�ำนวน 3,000 บาท ฝ่ายส�ำนักงานตรวจคนเข้าเมืองอุทธรณ์ ค�ำสั่ง ไม่เห็นด้วย ศาลอุทธรณ์มีค�ำพิพากษาที่เห็นว่า แม้จะถูก ควบคุมตัวโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย แต่สำ� นักงานตรวจคนเข้าเมือง จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 7


ไม่ตอ้ งเยียวยาความเสียหายแก่นายชาลี นายชาลียนื่ ฎีกาไม่เห็น ด้วยต่อค�ำพิพากษาของศาลอุทธรณ์ต่อศาลฎีกา วันที่ 29 ตุลาคม 2556 ศาลฎีกา ได้นัดอ่านค�ำพิพากษา โดยสรุปว่า ศาลฏีกาเห็นด้วยกับค�ำพิพากษาของศาลอุทธรณ์ที่ เห็นว่า การควบคุมตัวนายชาลีโดยส�ำนักงานตรวจคนเข้าเมืองนัน้ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย และไม่สมควรให้ก�ำหนดให้การเยียวยา ความเสียหายแก่นายชาลี เนือ่ งจากทางส�ำนักงานตรวจคนเข้าเมือง กระท�ำการควบคุมตัวนายชาลีตามหน้าทีโ่ ดยสุจริตและช่วยเหลือ เยียวยานายชาลีได้ได้รับการรักษาบาดแผลตามสมควรแล้ว นอกจากนีน้ ายชาลี ยังได้รบั ความช่วยเหลือในการใช้สทิ ธิ การเข้าถึงกลไกการคุ้มครองสิทธิที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ 1. นายชาลี เป็นโจทก์ยนื่ ฟ้อง คณะกรรมการกองทุนเงิน ทดแทน เป็นจ�ำเลยที่ 1 และส�ำนักงานประกันสังคม เป็นจ�ำเลย ที่ 2 ต่อศาลแรงงานกลาง สืบเนื่องจากภายหลังจากที่นายชาลี ได้ยนื่ ค�ำร้องขอรับค่าทดแทนและค่ารักษาพยาบาลกรณีประสบ อุบัติเหตุจากการท�ำงานที่ส�ำนักงานประกันสังคม แต่ปรากฏว่า ส�ำนักงานประกันสังคมจังหวัดปทุมธานี มีค�ำสั่งที่ 1/2554 และ 3/2554 ให้ห้างหุ่นส่วนจ�ำกัด เอ็น เอส วี ซัพพลาย แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง รับผิดชอบจ่ายเงินทดแทนแก่นายชาลี นายชาลี อุทธรณ์ค�ำสั่งของส�ำนกังานประกันสังคมจังหวัดปทุมธานี ผ่าน คณะกรรมการกองทุนเงินทดแอทน เพื่อให้กองทุนเงินทดแทน จ่ายค่าเงินทดแทนนายชาลี แต่แนวปฎิบตั ขิ องส�ำนักงานประกัน สังคมที่ รส.0711/ว 751 ลงวันที่ 25 ตุลาคม 2554 ก�ำหนด หลั ก เกณฑ์ ห ากแรงงานข้ า มชาติ ไ ม่ มี ห นั ง สื อ เดิ น ทางหรื อ ใบอนุญาตท�ำงานทีท่ างราชการออกให้ นายจ้างจะเป็นผูร้ บั ผิดชอบ จ่ายเงินทดแทนตามพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 แก่นายชาลีเอง ด้วยเหตุดงั กล่าว นายชาลีจงึ ได้ยนื่ ค�ำร้องต่อศาล แรงงานกลางเพื่อยืนยันว่า นายชาลีได้รบั อนุญาตให้ทำ� งานในราชอาณาจักรไทยและ มีหนังสือรับรองการท�ำงานที่ทางราชการออกให้ และมีสถานะ เป็นลูกจ้างตามกฎหมายว่าด้วยการจ้างงาน ตามพระราชบัญญัติ คุ ้ ม ครองแรงาน พ.ศ. 2541 และพระราชบั ญ ญั ติ ก องทุ น เงินทดแทน พ.ศ. 2537 ซึ่งก�ำหนดให้นายจ้างที่ประกอบกิจการ ก่อสร้าง มีหน้าที่ต้องจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนเงินทดแทน และ หากนายจ้างไม่จ่าย ส�ำนักงานประกันสังคม สามารถใช้อ�ำนาจ 8 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

ตามกฎหมายในการเรียกให้นายจ้างจ่ายเงินสมทบย้อนหลัง และ ด�ำเนินการปรับนายจ้างหรือด�ำเนินคดีแก่นายจ้างได้ ดังนัน้ เมือ่ นายจ้างเป็นผูม้ หี น้าทีจ่ า่ ยเงินสมทบเข้ากองทุน เงินทดแทน ดังนัน้ หากนายชาลีประสบอุบตั เิ หตุจากการท�ำงาน ส�ำนักงานประกันสังคม จะต้องมีหน้าที่จ่ายเงินทดแทนให้แก่ นายชาลี อีกทั้งเห็นว่า แนวทางปฏิบัติของส�ำนักงานประกัน สังคมนัน้ ไม่ชอบด้วยกฎหมายและเป็นการเลือกปฏิบตั ิ เนือ่ งจาก ตามพระราชบัญญัตกิ องทุนเงินทดแทนฯ ก�ำหนดให้นายจ้างงาน ทุกคนจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุน แต่สำ� นักงานประกันสังคมกลับ ก�ำหนดเงื่อนไขที่ส่งผลเป็นการกีดกันไม่ให้แรงงานเข้ามชาติ สามารถเข้าถึงกองทุนเงินทดแทน นายชาลี จึงขอให้ศาลมีคำ� สัง่ เพิกถอนหนังสือเลขที่ รส0711/ว 751 ลงวันที่ 25 ตุลาคม 2554 เรื่องแนวปฏิบัติในการให้ความคุ้มครองแก่แรงงานต่างด้าวที่ ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย ของส�ำนักงานประกันสังคม วันที่ 7 พฤศจิกายน 2555 ศาลแรงงานกลางได้อ่าน ค�ำพิพากษายกฟ้อง โดยศาลเห็นว่าแนวปฏิบัติดังกล่าวของ ส�ำนักงานประกันสังคม ไม่เป็นการเลือกปฏิบัติเนื่องจากเป็นไป ตามแนวนโยบายและการบริหารของรัฐที่รับแรงงานข้ามชาติ อย่างไรก็ตาม ค�ำพิพากษาของศาลสวนทางกับความเห็นของ องค์การแรงงานระหว่างประเทศหรือ ILO ทีเ่ ห็นว่าหนังสือเวียน ดังกล่าวเป็นการเลือกปฏิบัติตามอนุสัญญาของ ILO ฉบับที่ C–19 ซึ่งส�ำนักงานประกันสังคมควรเพิกถอนหนังสือแนวทาง ปฏิบตั ฯิ ฉบับนี้ และศาลมิได้วนิ จิ ฉัยความชอบด้วยกฎหมายของ หนังสือฉบับดังกล่าว ด้วยเห็นว่านายชาลีมไิ ด้อา้ งถึงความไม่ชอบ ด้วยกฎหมายมาตั้งแต่ชั้นพนักงานเจ้าหน้าที่ของส�ำนักงาน ประกันสังคมและคณะกรรมการกองทุนเงินทดแทน นายชาลี ไม่เห็นด้วยกับค�ำพิพากษาดังกล่าว จึงได้อทุ ธรณ์คำ� สัง่ ไปยังศาล ฎีกาเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2556 คดีอยู่ระหว่างการพิจารณา ของศาลฎีกา 2. ปี 2555 นายชาลียังได้เป็นโจทก์ยื่นฟ้อง เรียกค่า เสียหายกับนายจ้าง คือนายธารา ริตแตง บริษัท ซี พี ค้าปลีก และการตลาด จ�ำกัด (ลาดหลุมแก้ว) และ ห้างหุน้ ส่วนจ�ำกัด เอ็น เอส วี ซัพพลาย แอนด์ เอ็นจีเนียริ่ง โดยศาลได้มีค�ำพิพากษา ตามการไกล่เกลี่ยข้อตกลงระหว่างนายชาลีและนายจ้าง โดย นายธารา ริตแตง ตกลงจ่ายค่าเสียหายให้แก่นายชาลี 5,000 บาท บริษัท ซี พี ค่าปลีกและการตลาด จ�ำกัด (ลาดหลุมแก้ว) ตกลงจ่ายค่าเสียหายแก่นายชาลี เป็นเงิน 100,000 บาท ส่วน ห้างหุน้ ส่วนจ�ำกัด เอ็น เอส วี ซัพพลาย แอนด์ เอ็นจีเนียริง่ นาย ชาลีได้ถอนฟ้องเนือ่ งจากทางห้างหุน้ ส่วนจ�ำกัดดังกล่าว ยินดีจา่ ย ค่ารักษาพยาบาลให้นายชาลีเป็นเงิน 90,000 บาท หลังจากที่ นายชาลีได้รบั ค่าเสียหายแล้วก็ได้ตดั สินใจเดินทางกลับภูมลิ ำ� เนา ที่ประเทศพม่า เมื่อเดือนกันยายน 2555


ลูกจ้างได้รับเงินชดเชยจากการถูกเลิกจ้าง ภายหลังการเจรจาต่อรอง

ข้อเท็จจริง : เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2556 มีแรงงาน ข้ามชาติจากบริษัทจอยน์ซุน อิเล็กทรอนิกส์ แมนูแฟคเจอริ่ง จ�ำกัด อ�ำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ถูกเลิกจ้างจ�ำนวน 8 ราย โดยบริษัทมิได้แจ้งล่วงหน้า แรงงานข้ามชาติเห็นว่า เป็นการเลิกจ้างโดยไม่เป็นธรรม จึงได้ร้องเรียนมายังเครือข่าย เพื่อสิทธิแรงงานข้ามชาติ หรือ M.W.R.N. และมูลนิธิเพื่อ สิทธิมนุษยชนและการพัฒนา เพื่อขอรับความช่วยเหลือในทาง กฎหมาย เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2556 เวลา 08.10 น. ตัวแทน M.W.R.N. และผูป้ ระสานงานโครงการยุตธิ รรมเพือ่ แรงงานข้าม ชาติ พืน้ ทีม่ หาชัย ได้ลงพืน้ ทีใ่ ห้ความช่วยเหลือแรงงานข้ามชาติ ดังกล่าว โดยมีแรงงานที่มิได้ถูกเลิกจ้างจ�ำนวนกว่าร้อยคน ไม่ยนิ ยอมท�ำงานให้กบั นายจ้าง เนือ่ งจากไม่พอใจทีบ่ ริษทั จอยน์ ซุน อิเล็กทรอนิก เลิกจ้างแรงงานทั้ง 8 รายโดยไม่เป็นธรรม ผูแ้ ทนของ M.W.R.N และมูลนิธฯิ จึงได้ให้คำ� แนะน�ำเบือ้ งเกีย่ วกับ การนัดหยุดงานของลูกจ้างตามกฎหมาย เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2556 ผู้แทนแรงงานข้ามชาติ และ ผู้แทนบริษัท ได้เปิดโต๊ะเจรจาหาทางออกกรณีแรงงาน ข้ามชาติทั้ง 8 ราย ถูกเลิกจ้างโดยไม่เป็นธรรม และมีผู้แทนจาก M.W.R.N. และมูลนิธิ เข้าร่วมพูดคุยด้วย ในการเจรจานั้นทาง บริษัท ได้อ้างถึงข้อสัญญากับบริษัทซับคอนแทร็คว่า “หาก ลูกจ้างท�ำงานไม่ได้ตามเป้าหมายหรือแรงงานมีพฤติกรรมทีไ่ ม่ดี บริษทั (จอยน์ซนุ อิเล็กทรอนิกส์ แมนูแฟคเจอริง่ จ�ำกัด) สามารถ

เลิกจ้างได้ทนั ที โดยบริษทั ซับคอนแทร็คต้องหาลูกจ้างมาแทน” แต่ผู้แทนของมูลนิธิเห็นว่า “การบอกเลิกจ้างลูกจ้างต้องมีการ แจ้งล่วงหน้าก่อนที่จะรับเงินค่าจ้าง คือ 15 วันหรือ 30 วัน หรือ หากลูกจ้างท�ำงานไม่ได้ตามทีก่ ำ� หนดก็ควรจะมีหนังสือเตือน จะ เลิกจ้างลูกจ้างโดยทันทีไม่ได้ และหากมีการเลิกจ้างทางบริษทั ก็ ต้องจ่ายเงินค่าชดเชยให้แก่ลกู จ้างตามกฎหมาย” แต่ทางบริษทั ได้โต้แย้งว่า “ ไม่มสี ว่ นเกีย่ วข้องทีจ่ ะต้องมารับผิดชอบต่อลูกจ้าง เนื่องจากบริษัทซับคอนแทร็คเท่านั้นที่เป็นนายจ้างที่ส่งลูกจ้าง มาท�ำงานในบริษทั ฯ”แต่ทางมูลนิธพิ จิ ารณาจากข้อเท็จจริงและ ข้อกฎหมายแล้วยืนยันว่าบริษทั มีสถานะเป็นนายจ้างของลูกจ้าง ทั้ง 8 รายตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน และหาก บริษทั ไม่รบั ผิดชอบในการจ่ายค่าจ้างและค่าชดเชย แก่ลกู จ้างที่ ถูกเลิกจ้าง ก็จะใช้สิทธิตามกลไกของส�ำนักงานสวัสดิการและ คุม้ ครองแรงงาน” ภายหลังการเจรจาต่อรองแล้ว บริษทั ยินยอม จ่ายค่าจ้างค้างจ่ายประมาณให้ลูกจ้าง คนละ 4,000 บาท และ ค่าชดเชยอีกคนละ 6,000 บาท รวม 10,000 บาทต่อคน โดย ลูกจ้างทั้ง 8 รายพอใจในเงินจ�ำนวนดังกล่าวและไม่ประสงค์จะ ท�ำงานกับทางบริษัทต่อไป กรณีศึกษานี้ ถือเป็นการเน้นย�้ำถึง ความสัมพันธ์ของแรงงานประเภทเหมาค่าแรงทีบ่ ริษทั ผูป้ ระกอบ การที่มีการจ้างแรงงานกลุ่มดังกล่าว กฎหมายคุ้มครองแรงงาน ให้ถือว่าผู้ประกอบการเป็นนายจ้างที่จะต้องรับผิดชอบต่อ การคุ้มครองสิทธิของแรงงาน

ภาพบรรยากาศการให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องการหยุดงานตามกฎหมายของลูกจ้างโดย M.W.R.N และมูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา และบรรยากาศของการตั้งโต๊ะเจรจาต่อรอง

จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 9


โครงการต่อต้านการค้ามนุษย์ด้านแรงงาน

แนะน�ำโครงการใหม่

โดยมูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา

โครงการต่อต้านการค้ามนุษย์ดา้ นแรงงานมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้ความช่วยเหลือผูเ้ สียหายจากการค้ามนุษย์ โดยเฉพาะอย่าง ยิ่ง การค้ามนุษย์อันเกิดจากการแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบจากการบังคับใช้แรงงานซึ่งประเทศไทยเป็นทั้งประเทศต้นทาง ทาง ผ่านและปลายทาง โดยมีเป้าหมายเพือ่ ให้ผเู้ สียหายสามารถเข้าถึงสิทธิทจี่ ะได้รบั ความช่วยเหลือด้านกฎหมาย การเข้าสูก่ ระบวนการ ยุตธิ รรมทัง้ ในทางแพ่งและทางอาญา ตลอดจนการเยียวยาความเสียหายทีเ่ กิดขึน้ อันเนือ่ งมาจากการค้ามนุษย์ดงั กล่าว วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. ให้ความช่วยเหลือแก่ผเู้ สียหายจากการค้ามนุษย์ดา้ น แรงงาน ในการด�ำเนินคดี การเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทั้ง ในทางแพ่งและทางอาญา ตลอดจนการเข้าถึงสิทธิใดๆตาม กฎหมาย ตามหลักสิทธิมนุษยชน และตามหลักนิติธรรมที่ ผู้เสียหายพึงได้รับจากการตกเป็นผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ 2. เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจและวิธีการป้องกัน ตนเองให้ กั บ กลุ ่ ม ผู ้ เ สี ย หายหรื อ กลุ ่ ม เสี่ ย งเพื่ อ มิ ใ ห้ ต กเป็ น ผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ โดยเฉพาะด้านแรงงาน 3. ร่วมมือและประสานงานกับหน่วยงานราชการ ภาค ประชาสังคมและองค์กรพัฒนาเอกชนเพือ่ ให้เกิดการด�ำเนินการ ร่วมกันอย่างเป็นเอกภาพในการปฏิบตั งิ านป้องกันและปราบปราม การค้ามนุษย์ รวมถึงเพื่อให้การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ทีม สหวิชาชีพเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ถูกต้องตามกฎหมาย และ สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชน 4. กระตุ ้ น ภาครั ฐ และภาคประชาสั ง คม ตลอดจน ประชาชนให้ตระหนักและเห็นความส�ำคัญของปัญหาการค้า มนุษย์ที่เกิดขึ้นในสังคม และผลักดันให้ทุกภาคส่วนร่วมมือกัน เพือ่ แก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ดงั กล่าว โดยเฉพาะอย่างยิง่ การแก้ไข ปัญหาในเชิงนโยบายและกฎหมายที่มีต่อปัญหาการค้ามนุษย์ การด�ำเนินงาน 1. ด�ำเนินการคัดแยกผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ด้าน แรงงานออกจากแรงงานข้ามชาติ สอบข้อเท็จจริงจากผูเ้ สียหาย และรวบรวมข้อเท็จจริงทางกฎหมายเพือ่ น�ำคดีเข้าสูก่ ระบวนการ ยุติธรรมทั้งในทางแพ่งและทางอาญา โดยเพื่อให้ผู้เสียหายได้ เข้าถึงสิทธิ และได้รับการเยียวยาอย่างเหมาะสม ตลอดจนมี ส่วนร่วมในการด�ำเนินการรวบรวมข้อมูลพยานหลักฐานทีเ่ กิดขึน้ ว่าการกระท�ำดังกล่าวเข้าลักษณะการกระท�ำผิดฐานค้ามนุษย์ ตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 หรือไม่ โดยด�ำเนินการในฐานะทนายความของผู้เสียหาย ซึ่งจะมีทั้งในส่วนของการเข้าสังเกตการณ์ในขั้นตอนของการ ค้นหาข้อเท็จจริง การด�ำเนินกระบวนพิจารณาในศาล ตลอดจน 10 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

การเยียวยาผู้เสียหาย หรือเข้าเป็นโจทก์ร่วมกับผู้เสียหาย รวม ถึงการให้ความช่วยเหลือด้านกฎหมายในการต่อสู้คดีในกรณีที่ ผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ถูกด�ำเนินคดีหรือตกเป็นผู้ต้องหา ในความผิดฐานอื่นที่เกี่ยวข้องกับความผิดฐานค้ามนุษย์ 2. เก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล คดี ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การด� ำ เนิ น กระบวนการในคดีค้ามนุษย์ทั้งในขั้นตอนการรับแจ้งเหตุและ เข้าช่วยเหลือผู้เสียหาย ขั้นตอนของพนักงานสอบสวน ขั้นตอน กระบวนพิจารณาคดีในศาล ตลอดจนขัน้ ตอนเยียวยาผูเ้ สียหาย ว่ามีการด�ำเนินการสอดคล้องกับหลักกฎหมายและหลักสิทธิ มนุษยชนหรือไม่อย่างไร รวมถึงปัญหาและอุปสรรคทั้งในทาง ปฏิบัติและในทางหลักการในการด�ำเนินกระบวนการในคดี ค้ามนุษย์ และน�ำข้อมูลเหล่านัน้ มาวิเคราะห์วพิ ากษ์ และน�ำเสนอ แก่ภาครัฐและภาคประชาชน เพื่อผลักดันให้เกิดการแก้ไข และ ให้หน่วยงานบังคับใช้กฎหมายน�ำไปปฏิบัติเพื่อให้การด�ำเนิน กระบวนการในคดีคา้ มนุษย์มปี ระสิทธิภาพ และสามารถคุม้ ครอง สิทธิของผู้เสียหายได้อย่างแท้จริง 3. จั ด กิ จ กรรมเพื่ อ เผยแพร่ ข ้ อ มู ล และสร้ า งความ ตระหนักรู้ถึงภัยการค้ามนุษย์ให้กลุ่มเป้าหมายแรงงานข้ามชาติ ในพื้นที่มหาชัย ซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงที่จะตกเป็นผู้เสียหายจาก การค้ามนุษย์ด้านแรงงาน รวมทั้งให้ข้อมูลในการประสาน ขอความช่วยเหลือในกรณีที่ตนเอง หรือผู้อื่นอาจจะ/ก�ำลังถูก แสวงหาประโยชน์โดยมิชอบจากการบังคับใช้แรงงาน 4. จัดท�ำหลักสูตรอบรมเจ้าหน้าที่ทีมสหวิชาชีพในการ ปฏิบัติงานป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์โดยใช้คู่มือ ส�ำหรับเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติงานป้องกันและปราบปรามการ ค้ามนุษย์เป็นเครื่องมือในการจัดท�ำหลักสูตร และน�ำหลักสูตร ดังกล่าวมาด�ำเนินการจัดอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารโดยมีผเู้ ข้าร่วมเป็น เจ้าหน้าที่จากหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนในพื้นที่มหาชัย แม่สอด ระนอง และเชียงใหม่ เพื่อน�ำข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ที่ ไ ด้ จ ากการจั ด อบรมดั ง กล่ า วมาปรั บ ปรุ ง พั ฒ นาคู ่ มื อ ให้ มี ประสิทธิภาพและเจ้าหน้าที่ทีมสหวิชาชีพสามารถน�ำไปปฏิบัติ ได้จริง


แรงบันดาลใจ

แนะน�ำผู ้ประสานงานโครงการเข้าถึง ความยุ ติธรรมแก่แรงงานข้ามชาติ

ในการเข้ามาท�ำงานช่ วยเหลือแรงงานข้ามชาติ ให้เข้าถึงความเป็นธรรม นางสาวชนิดาภา ประกายเพชร ผู ้ประสานโครงการเข้าถึงความ ยุ​ุ ติธรรม คลินิกกฎหมายแรงงาน ประจ�ำอ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ดิ ฉั น มี โ อ ก า ส ได้ เ รี ย นรู ้ วั ฒ นธรรม ความเป็นอยู่ของพี่น้อง แ ร ง ง า น เ พื่ อ น บ ้ า น ความเปลี่ยนแปลง และ ความยากล� ำ บาก การ แสวงหางานท�ำสร้างราย ได้เพื่อด�ำรงชีพหาเลี้ยง ครอบครัว ถึงแม้ความ ต้องการขั้นพื้นฐาน ของแรงงานเพื่อนบ้าน จะขอ แค่ งานสร้างรายได้ อาหารประทังชีวติ ทีอ่ ยูอ่ าศัย ที่ปลอดภัย แต่ยังมิวายถูกเอารัดเอาเปรียบจากผู้ ที่คิดว่าตนมีอิทธิพลเหนือกว่าและผู้แสวงหาผล ประโยชน์โดยมิชอบ โดยตัวแรงงานเองไม่กล้า แม้แต่จะโต้แย้งปกป้องหรือเรียกร้องสิทธิของ ตนเอง ความทุกข์เหล่านี้ ดิฉันได้สัมผัสสิ่งเหล่านี้ ในสังคมของเมืองชายขอบตลอดมา มองในทาง กลับกัน ตัวเราเองก็เป็นแรงงาน ถ้าถูกกระท�ำเช่นนี้ คงรู้สึกเป็นทุกข์ เช่นกันไม่รู้จะขอความช่วยเหลือ ได้จากใคร สิ่งเหล้านี้จึงเป็นแรงผลักให้ดิฉันอยาก มีส่วนร่วมทางสังคม เพื่อปกป้องสิทธิของตนพี่พึง ได้รับ (อาจจะคิดเห็นแก่ตัวอยู่บ้างเพราะคิดว่าถ้า ช่วยเหลือตัวเองได้กพ็ ร้อมทีจ่ ะช่วยเหลือคนอืน่ ได้) กระทั่งได้มีโอกาสเข้ามาร่วมงานกับทางมูลนิธิฯ (HRDF) บทบาทของพวกเรา จึงไม่ใช่เพียงให้ค�ำ ปรึกษาและช่วยด�ำเนินการทางกฎหมายจนสิน้ สุด กระบวนการยุ ติ ธ รรมเท่ า นั้ น ยั ง ต้ อ งเติ ม เต็ ม ความรู้ เผยแพร่ ผลักดัน สร้างความเข้าใจทาง สังคมเพือ่ ลบทัศนะคติทไี่ ม่ดตี อ้ งแรงงานเพือ่ นบ้าน อย่างน้อยก็เป็น พืน้ ฐานให้พนี่ อ้ งแรงงานสามารถ ป้องกันสิทธิ ได้ด้วยตนเอง

นางสาวเอมาโช ผู ้ประสานงานโครงการยุ ติธรรม เพื่อแรงงานข้ามชาติ ประจ�ำจังหวัดสมุทรสาคร ก่อนที่ข้าพเจ้าจะเริ่มท�ำงานให้ กับ มสพ. ตัวข้าพเจ้าเอง เข้ามาใน ประเทศไทยเพือ่ เป็นแรงงานท�ำหน้าที่ ปอกเปลือกกุง้ หรือล้งกุง้ ในช่วงทีเ่ ป็น แรงงานอยูน่ นั้ ข้าพเจ้ามีประสบการณ์ ในการใช้ชวี ติ ไม่ตา่ งกับแรงงานข้ามชาติ ที่ท�ำงานอยู่ในปัจจุบัน เช่น การต้อง เดินทางออกจากบ้านแต่เช้ามืด และ มีความกลัวคนร้ายที่จะดักชิงทรัพย์ หรือการถูกเจ้าหน้าที่บางรายคอยเรียกรับเงินแม้ขา้ พเจ้าจะมีการเอกสารการ รับรองการท�ำงานที่ถูกต้องแล้วก็ตาม และข้าพเจ้าก็เคยประสบกับปัญหากับ กรณีที่ถูกนายจ้างยึดเอกสารการรับรองการท�ำงานไว้ ซึ่งท�ำให้ข้าพเจ้ามีความ กลัวเป็นอย่างมากว่า จะถูกเจ้าหน้าที่ต�ำรวจตรวจคนเข้าเมืองจับกุมและ เนรเทศข้าพเจ้าออกนอกประเทศไป และระหว่างการท�ำงานบางครัง้ ก็พบว่ามี เพื่อนแรงงานเป็นจ�ำนวนมาก ที่ได้รับอุบัติเหตุการณ์การท�ำงาน หรือประสบ อุบัติเหตุโดยรถยนต์และเข้าถึงไม่โอกาสในการได้รับเงินเยียวยาแต่อย่างใด เนื่องจากแรงงานเหล่านั้น เชื่อว่า ตนไม่มีสิทธิเรียกร้องตามกฎหมายไทย และ เกรงว่าหากมีการเรียกร้องก็มีความกลัวว่าจะถูกเลิกจ้าง ข้าพเจ้าจึงตัดสินใจ หาทางช่ ว ยเหลื อ พี่ น ้ อ งแรงงานที่ มี ป ั ญ หาและไม่ ไ ด้ รั บ ความเป็ น ธรรม โดยข้าพเจ้าเริ่มท�ำงานเป็นล่ามภาษาพม่าในโรงพยาบาลแห่งหนึ่งที่จังหวัด สมุทรสาคร เพือ่ ให้แรงงานสามารถเข้าถึงสิทธิในการเข้าถึงการรักษาพยาบาล ที่ถูกต้อง และหลังจากนั้นข้าพเจ้าได้มีโอกาสเข้ารับการอบรมการให้ความรู้ ด้านสิทธิมนุษยชนและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับแรงงานข้ามชาติ และได้เข้ามา ท�ำงานให้กับมูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ประจ�ำพื้นที่จังหวัด สมุทรสาคร เพือ่ คอยรับเรือ่ งร้องเรียนและให้คำ� ปรึกษาเบือ้ งต้นแก่แรงงานข้าม ชาติให้เข้าถึงกลไกการคุ้มครองสิทธิของแรงงานในระดับพื้นที่ เช่น การเข้าถึง สิทธิตามกฎหมายประกันสังคม กฎหมายกองทุนเงินทดแทน และการใช้สิทธิ ในทางศาล เป็นต้น รวมทั้งการลงพื้นที่ชุมชนของแรงงานข้ามชาติเพื่อให้ ความรู้ และให้คำ� แนะน�ำกลไกการคุม้ ครองสิทธิของแรงงานข้ามชาติ นอกจากนี้ ข้าพเจ้ายังได้รว่ มต่อสูใ้ ห้บตุ รของแรงงานข้ามชาติเข้าถึงหนังสือรับรองการเกิด กรณีทแี่ รงงานถูกเอาเปรียบจากบริษทั นายหน้าทีร่ บั ด�ำเนินการด้านเอกสารใน การพิสูจน์สัญชาติของแรงงาน และการสนับสนุนให้บุตรของแรงานข้ามชาติ เข้าถึงสิทธิในการศึกษาในประเทศไทย ด้วยคาดหวังว่าบุตรของแรงงาน ข้ามชาติเหล่านี้จะไม่ตกเป็นเหยื่อของการค้ามนุษย์ จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 11


นางสาวยลดา ธนกรสกุล ผู ้ประสานงานโครงการยุ ติธรรมเพื่อแรงงานข้ามชาติ ประจ�ำจังหวัดเชี ยงใหม่ ในช่วงเวลาที่เรียนอยู่ในมหาวิทายลัยเราต่างได้รับทราบเรื่องราวปัญหาการสู้รบในประเทศพม่า มาโดยตลอดท� ำ ให้ มี ค วามสนใจประเด็ น ผู ้ ล้ี ภ ายและผู ้ อ พยพจากประเทศพม่ า หลั ง จากเรี ย นจบ มหาวิทยาลัย ข้าพเจ้ามีความสนใจอยากเป็นส่วนหนึ่งเล็กๆในสังคมที่มีส่วนในการสร้างความเข้าใจให้ สังคมยอมรับความแตกต่างของกันและกัน โดยเฉพาะกรณีสงั คมไทยส่วนหนึง่ ยังมองว่าแรงงานข้ามชาติ เป็นพวกสร้างอาชญากรรม จึงได้มาท�ำงานด้านสิทธิของแรงงานข้ามชาติกบั HRDF ซึง่ ก�ำลังพยายามต่อสู้ ประเด็นสิทธิในการเข้าถึงกองทุนเงินทดแทนของแรงงานข้ามชาติ และกรณีสิทธิในการเป็นเจ้าของรถ และมีใบขับขี่ของแรงงานข้ามชาติอยู่ ข้าพเจ้าและเพื่อนสมาชิกในองค์กร มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนประเด็นนี้ โดยเฉพาะประเด็นสิทธิในการเป็นเจ้าของรถและ ใบขับขี่ องค์กรไม่ได้ใช้กระบวนการทางศาลขับเคลื่อนเท่านั้น ข้าพเจ้าและเพื่อนสมาชิกจึงได้ท�ำงานที่หลากหลายทั้งฟ้องต่อศาล ปกครองพร้อมกับการท�ำจัดเวทีแลกเปลี่ยนเจรจากับแรงงานข้ามชาติ และหน่วยงานของรัฐด้วย จนกระทั่งกรมการขนส่งทางบก อนุญาตให้แรงงานข้ามชาติสามารถเป็นเจ้าของรถและแรงงานทีม่ หี นังสือเดินทางถูกต้องตามกฎหมายสามารถท�ำใบขับขีไ่ ด้ในทีส่ ดุ

กิจกรรมที่น่าสนใจ

เมือ่ วันที่ 3–4 ตุลาคม 2556 ผูแ้ ทนมูลนิธเิ พือ่ สิทธิมนุษยชน และการพัฒนา (มสพ.) เข้าร่วมสังเกตการณ์การจัดสานเสวนา ระดับสูงว่าด้วยการย้ายถิน่ และการพัฒนา ณ ส�ำนักงานองค์การ สหประชาชาติ กรุงนิวยอร์ค สหรัฐอเมริกา ทั้งนี้ เพื่อให้สมาชิก ขององค์การสหประชาชาติได้น�ำข้อเสนอด้านนโยบายด้านการ ย้ายถิ่นระดับโลกที่เสนอโดยสมาชิกขององค์การสหประชาชาติ และองค์กรภาคประชาสังคมในเวทีดังกล่าว ไปก�ำหนดให้มีการ วิจยั ด้านการย้ายถิน่ และพัฒนาด้านโยบายระดับประเทศ ระดับ ภูมภิ าค และระดับโลก มสพ.ได้รว่ มกับองค์กรเครือข่าย Migrant Forum in Asia และเครือข่ายองค์กรด้านประชากรข้ามชาติ http://hrdfoundation.org/?p=819 (MWG) จัดท�ำข้อเสนอเสนอแนะในระดับภูมิภาคและระดับ http://hrdfoundation.org/?p=816 ประเทศ น�ำเสนอต่อรัฐบาลเพือ่ น�ำข้อเสนอแนะขององค์กรภาค http://hrdfoundation.org/?p=809 ประชาสังคมไปพิจารณาและก�ำหนดเป็นนโยบาย ข้อมูลเพิม่ เติม http://daccess–dds–ny.un.org/doc/UNDOC/LTD/ ด้านข้อเสนอภาคประชาสังคม และร่างข้อเสนอแนะในการ N13/496/04/PDF/N1349604.pdf?OpenElement ประชุมสานเสวนาฯ ได้ที่ 25 ตุลาคม 2556 ผู้แทน มสพ. ร่วมประชุมเตรียมข้อมูลเพื่อน�ำเสนอในงานประชุมอาเซียนว่าด้วยแรงงานย้ายถิ่น ที่จะจัด ขึ้นที่ประเทศบรูไน เดือนพฤศจิกายน 2556 มีตัวแทนจากองค์การแรงงานระหว่างประเทศ หน่วยงานของรัฐ สหภาพแรงงาน และ องค์กรพัฒนาเอกชน ร่วมระดมความคิดเห็นในหัวข้อทีเ่ กีย่ วข้องกับแรงงานข้ามชาติกบั การเข้าถึงกลไกการร้องทุกข์และการคุม้ ครอง สิทธิ (access to complaint mechanisms for migrant workers) และการจัดท�ำระบบจัดเก็บข้อมูลของ แรงงานข้ามชาติ (data collection and sharing) องค์ ก ารแรงงาน ระหว่ า งประเทศร่ ว มกั บ กระทรวง แรงงาน เป็นเจ้าภาพจัดงานเตรียม ความพร้อมครั้งนี้ 12 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


วันที่ 20–21 พฤศจิกายน 2556 ผูแ้ ทน มสพ.พร้อมด้วยตัวแทน องค์กรพัฒนาเอกชนและนักกฎหมายในอาเซียน เข้าร่วมการประชุม ว่าด้วยโครงสร้างการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ต�ำรวจ และปัญหาการ ละเมิดสิทธิมนุษยชนและข้อเสนอในการปฏิรปู ต�ำรวจในระดับอาเซียน จัดโดยคณะกรรมการติดตามกรณีผถู้ กู บังคับให้สญ ู หายและเหยือ่ ของ การละเมิดสิทธิมนุษยชน (KONTRAS) และองค์กรแอมเนสตี้อินเตอร์ แนชันแนล โดยมูลนิธฯิ ได้รว่ มแถลงการณ์ขอ้ เสนอในการปฏิรปู ต�ำรวจ ในระดั บ อาเซี ย น สามารถติ ด ตามอ่ า นแถลงการณ์ ฉ บั บ เต็ ม ได้ ที่ http://hrdfoundation.org/?p=833

วันที่ 17 ธันวาคม 2556 (บน) นางสาวเอมาโช เจ้าหน้าที่ มสพ. ร่วมน�ำเสนอ สถานการณ์เด่นเกีย่ วกับแรงงานข้ามชาติและครอบครัว พ.ศ. 2556 เนือ่ งในวันแรงงาน ข้ามชาติสากล ประเด็น การคุม้ ครองแรงงานข้ามชาติ:กฎหมาย นโยบายและการเข้าถึง วันที่ 18 ธันวาคม 2556 (กลาง) ผู้แทน มสพ. พื้นที่อ�ำเภอแม่สอด ร่วมกับ เครือข่ายแรงงานข้ามชาติ ยืน่ หนังสือถึงนายอ�ำเภอแม่สอด เนือ่ งในวันแรงงานย้ายถิน่ สากล วันที่ 18 ธันวาคม 2556 (ล่าง) ผู้แทน มสพ.พื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ ร่วมกับ เครือข่ายแรงงานข้ามชาติ ยื่นหนังสือถึงผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ เนื่องในวัน แรงงานย้ายถิ่นสากล สามารถติดตามอ่านเอกสารในงานรณรงค์วนั แรงงานย้ายถิน่ สากลทัง้ หมดได้ที่ http://hrdfoundation.org/?p=853 http://hrdfoundation.org/?p=850 http://hrdfoundation.org/?p=848 http://hrdfoundation.org/?p=848&lang=en

กิจกรรมเพิ่มศักยภาพแก่เครือข่ายและชุมชนแรงงานข้ามชาติ เดือนตุลาคม–ธันวาคม 2556

29 ตุลาคม 2556 (ซ้าย), 20 พฤศจิกายน 2556 (กลาง) อาสาสมัครนักกฎหมายที่ผ่านการอบรมเป็นวิทยากรให้ความรู้ ด้านกฎหมายของ มสพ.ประจ�ำจังหวัดเชียงใหม่ ลงพื้นที่แคมป์ ก่อสร้างแรงงานข้ามชาติ ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่ เพื่อ ให้กลุ่มวิทยากรอาสาสมัครที่ MJP ได้ฝึกอบรมให้ ได้ลงพื้นที่

ในแคมป์ก่อสร้างของแรงงานข้ามชาติเพื่อให้ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับกฎหมายคุ้มครองแรงงาน ส่วนวันที่ 22 พฤศจิกายน 2556 (ขวา) ได้จัดที่อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่เพื่อ ติดตามสถานการณ์แรงงานกับการเข้าสู่ระบบประกันสังคม

Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 13


วันที่ 25–27 พฤศจิกายน มสพ. ประจ�ำอ�ำเภอแม่สอด จัดกิจกรรมฝึกอบรม ผู้ช่วยทนายความ โดยผู้เข้าร่วมเป็นตัวของ ชุมชนแรงงานในพื้นที่แม่สอด และเพื่อให้ ผู้ผ่านการอบรมสามารถให้ความรู้และให้ ค� ำ แนะน� ำ ด้ า นกฎหมายเบื้ อ งต้ น ให้ แ ก่ แรงงานในชุมชนของตัวเองได้

เดือนพฤศจิกายน 2556 มสพ.ประจ�ำจังหวัดเชียงใหม่ ร่วมกับตัวแทน สหพันธ์คนงานข้ามชาติท�ำกิจกรรมประชาสัมพันธ์ และแจกเอกสารให้ความรู้ แก่แรงงานข้ามชาติในงานปีใหม่ไต ณ วัดป่าลาน ต.อุโมงค์ อ.เมือง จ.ล�ำพูน ทาง ได้ไปจัดกิจกรรมแจกเอกสารต่างๆทีเ่ กีย่ วข้องกับแรงงาน เช่น พรบ.ประกันสังคม พรบ. กองทุนเงินทดแทน วันที่ 8 ธันวาคม 2556 มสพ.ประจ�ำจังหวัดเชียงใหม่ สนับสนุนผูน้ ำ� ชุมชน จากกลุ่มสหพันธ์คนงานข้ามชาติ (Migrant Workers Federation) และคนงาน จากสหภาพแรงงานไทยจังหวัดล�ำพูนเข้าร่วมฝึกอบรมโครงการโรงเรียนผู้น�ำ ระยะเวลา 3 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม–ธันวาคม 2556 เป็นที่ส�ำเร็จเรียบร้อย ผู้เข้าร่วมทั้งหมด 22 ราย

โครงการสนับสนุน

การเข้าถึงความยุ ติธรรมและ

การคุม้ ครองสิทธิของแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย มูลนิธเิ พือ่ สิทธิมนุษยชนและการพัฒนา (มสพ.) เป็นองค์กรพัฒนาเอกชน มีวตั ถุประสงค์ในการด�ำเนินกิจกรรมโดยไม่แสวงหา ก�ำไร มสพ.ได้เน้นกิจกรรมส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนแก่กลุ่มแรงงานข้ามชาติและครอบครัวในประเทศไทย ผ่านโครงการ การเข้าถึงความยุติธรรม และการคุ้มรองทางกฎหมายต่อบุคคลดังกล่าว รวมทั้งกิจกรรมอบรมส่งเสริมศักยภาพของชุมชนแรงงาน ข้ามชาติ โดยท�ำงานร่วมกับองค์กรภาคประชาสังคมและรัฐทั้งในระดับประเทศและระหว่างประเทศ โดยมีความมุ่งหวังให้เกิด

1. 2.

3. 4.

การคุ ้ ม ครองทางสิ ท ธิ แ ก่ แ รงงานข้ า มชาติ ผ ่ า น ป้องกันมิให้แรงงานข้ามชาติและครอบครัวเป็น ไกการคุ้มครองทางกฎหมายและนโยบาย กลไก เหยือ่ ของการแสวงหาประโยชน์จากการใช้แรงงาน การร้องเรียนของรัฐ ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น หรือถูกบังคับใช้แรงงาน แรงงานข้ า มชาติ มี ค วามรู ้ ค วามใจด้ า นสิ ท ธิ สั ง คมโดยรวมเข้ า ใจถึ ง ความจ� ำ เป็ น ในการมี มนุ ษ ยชนและการคุ ้ ม ครองทางกฎหมาย และ แรงงานข้ า มชาติ ใ นประเทศไทย และแรงงาน สามารถเข้าถึงกลไกการคุ้มครองและร้องเรียนของรัฐ สามารถอยู่ร่วมกับประชาชนในสังคมได้ภายใต้ความแตกต่าง ทางด้านเชื้อชาติ และวัฒนธรรม

14 Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand


Mediation and Justice

in

Labour Dispute Cases

Sumitchai Huttasan

I’d like to begin by first defining ‘labour law’. Labour law can be defined as a set of regulations or measures issued by the state to ensure that the employer and employee observe the guidelines which uphold the protection and promotion of the wellbeing of workers. The law covers workers’ working hours, public holidays, leave days, payment, occupational safety and welfare standards. It governs relations between the two parties in order to enhance relations between them. It includes negotiation, mediation and reconciliation rules, rules on how to establish and operate employee and the employer organizations, as well as those on how to provide employment and job security. Labour law is characterized by both public and private law in that it features provisions related to the relations between the state and the employer and employee, between the employer and the employee and between employer and the employee–organizations. Distinct from other laws, labour law strongly reflects both public laws and/or private laws as it governs the tripartite relations of the state, the employer and employee; the so called “tripartite system” the practice of which is common among countries. Therefore, labour law is the law that deals with public order and high moral ground being geared to promote public interest. And fairness in employment of the workers is taken as more important than the individual intentions expressed herein the contracts. Labour contracts/agreements between employer and employee are not enforceable if they violate the provisions of labour law, as outlined in the Supreme Court Judgment no. 3583/2524 which states that, “as the Ministry of Interior’s Notification on Labour Protection’s aim is to ensure fairness 1. A

among the employees, and for their benefit, thus it is considered a law dealing with public order. Any mediation contract regarding impending compensation which deviates from provisions in the Ministry of Interior’s Notification on Labour Protection is therefore voidable and unenforceable.” According to the interpretation of the labour law, its emphasis is on protecting employees who possess little or no bargaining power. Employees in such situations may be subjugated to disadvantageous contracts or agreements. The provisions of the protective law, therefore, protect vulnerable employees by rendering such contracts or agreements are voidable and unenforceable. I decided to begin with the definition of labour law in order to point out that labour laws are concerned with public order and moral high–ground and that its interpretation has to be precise (I would like to emphasize this point). As for the title of the article related to “mediation in labour dispute cases will be familiar for lawyers and attorneys practicing in the Court of Justice. In the past decade, “mediation” has become a well established part of court proceedings. The 2011, the supreme court president’s rule on mediation was issued invoking the Civil Procedure Code Section 20 bis (as per the Act on the Amendment of the Civil Procedure Code (no.24) B.E. 2551). I tend to think that labour court mediation cannot exclusively rely on the Civil Procedure Code

lawyer and Director of Center for Protection and Recovery of Local Community Rights (CPRLCR) Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 15


and Supreme Court’s rule. The 1979 Establishment of Labour Court and Labour Procedure Acts must also be utilized as labour disputes are different from other types of civil suits. It involves a range of labour protection laws which deal with public order and moral high ground in society. Labour laws are, essentially, a social law that emphasizes public (rather than private) interests. Civil suits are related to matters between private sector actors, particularly those regarding conflicting or contesting interests (as per the Civil and Commercial Code) where private parties are engaged in a reciprocal agreement as per the terms set out in the contract or the relative legal clause/act. Although labour disputes could, in some ways, be seen to fall under the civil and commercial codes, employer–employee relations are strongly related to the overall wellbeing of the economy, thus must be treated separately. Labour is essential in the production of goods and services supplied to both private and state sectors. A conflict of interests between employers and employees arises from the structure of the relationship and the opposing interests of each side; employers seek to maximize profits by keeping production costs low, whilst employees seek to work the least number of hours possible for the highest possible remuneration (to secure the best quality of life possible). It is therefore necessary for the state to intervene in order to find a balance between the opposing sets of interests with the greater goal of benefiting of the nation’s economy. The 1979 Establishment of Labour Court and Labour Procedures, requires mediation in labour disputes. Procedures concerning the adjudication of labour disputes is outlined in article 4 of the 2013 Labour Court’s Notification which states that, “in order to ensure that the judgment or order in labour dispute cases can be made in an economical way, promptly, fast and fairly, if any interpretation or application of any provision, court order, contract or agreement is necessary, the interpretation and application shall be made with a view to protecting labour, welfare, labour relations and 2. Damages

to ensuring social justice on labour as well as to promoting the production of goods and services, trade and industry of the nation”. Article 38 stipulates that, “with the presence of both the plaintiff and defendant, the Labour Court shall mediate the case between the two parties with a view that labour disputes feature special characteristics and should be settled with mutual understandings and to enable the two parties to continue their relations”. The Labour Court’s Notification no. 32, states that “the Labour Court endeavors to mediate between the two parties as per the intent of the law…” Such statements demonstrate labour dispute mediations must be conducted in accordance with the intent of the law. The interpretation or application of any law, thus, can be made with a view to labour protection. Mediation is generally required to settle labour dispute cases in which the Court has failed to meet the intent of the law to provide labour protection. In various instances, the Court–relying on civil case procedures–tends to reduce damages (for which the employer is to be held responsible for) to the employee2. The rule is similarly applied to the damages arising from employer breaches against their employee, or a breach in occupational health and safety standards by the employer. In the latter case, the Court tends to propose the amount of compensation by relying on the Civil and Commercial Code without considering the importance of labour protection and the promotion of social justice. Damages arising from a breach of an employment contract by the employer are non–negotiable and different from the prices of goods or other forms of compensation. Employees work hard in the hope that they will receive fair remuneration to help them and their families to survive. Employers, however, benefit considerably more from the sale margins of the products made by their employees. In cases where the employer simply forces the employee to work overtime or to work in hazardous conditions without any protective equipment no mediation should be allowed. Allowing mediation

commonly include things such as unpaid salaries, overtime pay, or other forms of remuneration, just as in civil suits.

16 Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand


would simply encourage employers’ unfair exploitation of their employees and prevent the realization of the impact of their actions. Allowing mediation, in other words, would promote violations of employees’ rights as employees may perceive it as an issue that can simply be negotiated and settled after the fact. Importantly, any contract or agreement arising from mediation would become voidable and not enforceable as per the aforementioned judgment by the supreme court.

It is not my intention to place the blame on any particular actor, but simply to point out that the goal of the labour law is to ensure social justice for labour In reality, the law has been taken for granted or misunderstood, which has given rise to bias treatment in favor of the employer. I hope this article will encourage lawyers, attorneys, and all those involved in the enforcement and articulation of the law to perform their duties in keeping with the goal of social justice in the most accurate and fair manner possible.

Obstacles to Accessing the Workmen’s Compensation Fund by Workers in the Fishing Sector and Migrant Workers

Laws and Policies

By Ms.Phattranit Yaodam

It is a well–known fact that, of the statutory laws related to labour rights, the 1994 Workmen’s Compensation Act is of significant importance. The Act applies to situations where an employee suffers harm, disability, illness (matching the occupational disease list), disappearance, or death as a result of work–related tasks, or while acting in the interests of the employer. In such cases, employees are entitled to treatment and compensation (from the employer). In addition to the Act, the Ministry of Labour issued a ministerial regulation on labour and social welfare invoking articles 6 and 44 of the 1994 Workmen’s Compensation Act3, which defines the categories and dimensions of businesses and localities required to pay contributions into the Workmen’s Compensation Fund. Exempted industries include agriculture, fishing, forestry, and livestock; industries where employment is often seasonal in nature. Other exempted include informal street hawkers and stall owners. Employees working in these industries are unable to apply for the compensation directly from the Fund. However, the position of workers involved in marine fishing is murky, with no clear practices made by competent officers. No attempt has been made to answer the questions surrounding their position

even though a large number of workers are employed on fishing trawlers. Working conditions in the sector (with the exception of shallow–water fishing which are traditionally household business) are physically intensive and are run year–round, although staff turn–over is high. It is my opinion that employees in the fishing sector, particularly those working on trawlers (those operating in deep–seas and in foreign waters), should be covered by the ministerial regulation. Employers in the marine fishing sector should be required to pay contributions into the Workmen’s Compensation Fund and employees should be entitled to compensation from the related fund, as per the Workmen Compensation Act A.D.1994. Workers should be entitled to compensation regardless of whether or not employers

Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 17


have met their obligations and paid their rightful contribution into the Fund. Migrant workers face yet another obstacle in their bid to access the Workmen’s Compensation Fund. The Social Security Office (SSO)4 states that, in order for a migrant workers to qualify for compensation they must be formally registered, carry a work permit (issued by the government) and be granted the legal right to stay in the country (or have passed the national verification process as per the cabinet meeting resolution made on 13 February 2012). If a migrant worker suffers harm or injury in the course of work–related activities and is unable to produce the necessary documents, the employer shall be held liable and must provide compensation as per the 1994 Workmen’s Compensation Act, even if the worker is employed in a sector deemed to receive direct access to the Workmen’s Compensation Fund. Migrant workers employed by the employers who are obliged to pay contributions into the Workmen’s Compensation Fund, thus should have the right to receive compensation, no matter regardless of whether or not (or in what way) their employers have made a contribution to the Workmen’s Compensation Fund or not. There is no specific provision in the Workmen’s Compensation Fund Act or other laws which excludes migrant workers from accessing the Workmen’s Compensation Fund and there is no legal provision which empowers a competent officer to issue any regulation to strip migrant workers of their right to direct access to the Fund. Case Study: Working Condition in the Marine Fishing Sector and Obstacles to Accessing the Workmen’s Compensation Fund

3. (Ministerial

From 23–31 May, 2013, HRDF conducted field interviews with eleven workers (on eleven trawlers) in Samut Sakhon Province. The interviews uncovered several which highlight the major problems surrounding access the Workmen’s Compensation Fund for migrant workers who have suffered work–place related injuries. Case study: Mr. A5, a migrant worker from Burma working in Samut Sakhon, had his leg was amputated almost to his knee as a result of being crushed by a winch while working on a trawler in April 2012. After the accident, the employer sent Mr. A for treatment at the Samut Sakhon Hospital. Although the employer covered his medical expenses, he did not provide any other assistance. As a result of the accident, Mr. A can no longer work in the fishing sector. With assistance from HRDF, Mr. A filed complaint with the Samut Sakhon Social Security Office (SSO) to apply for compensation. A negotiation between Mr. A and his former employer is underway, but an agreement has not yet been reached. The Samut Sakhon SSO has not yet instructed the employer to pay any compensation and it is unclear whether or not the SSO will follow the Circular Ro Ngor 0807/ Wor 988, dated 31 May, 2012, which imposes specific requirements on migrant workers6 and hands the responsibility of paying compensation to the employer. The 1994 Workmen’s Compensation Act provides protection to any employee (regardless of one’s nationality) who suffers an injury, becomes sick, disabled, disappears, or is killed while performing work–related tasks. Migrant workers in the fishing sector address labour shortages in the sector and provide significant benefits for their Thai employers.

Regulation on Labour and Social Welfare No. 2), dated 27 February, 2002

4. Including Circular Ro Ngor 0607/Wor 987 (particularly rules no 3 and 4), dated 31 May 2012, on the requirements for migrant employees to

qualify for compensation.

5. Pseudonym 6. Requirements

for migrant and Thai workers differ

18 Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand


Migrant Workers’ Right to Justice: Damages for Injured Persons, Compensation and Expense for Defendants in Criminal Cases, Act B.E. 2544 (2001) The 2001 Damages Act, regarding damages for injured persons and compensation and expenses for the accused in criminal cases was promulgated according to the 1997 Constitution of the Kingdom of Thailand which provides for the right of parties aggrieved by criminal action committed by another party to have access to remedies from the state if there is no other way to address the situation. The Act also provides the right to provide compensation for defendants in criminal cases who are subject to pretrial custody if the final verdict of the cases the defendants are found not guilty. The law was promulgated to reflect Article 2 of the International Covenant on Civil and Political Rights (ICCPR) which states that, “…any person whose rights or freedoms as herein recognized are violated shall have an effective remedy, notwithstanding that the violation has been committed by persons acting in an official capacity…”

The law is applied universally to protect to persons, regardless of their race, nationality, religion, language, or other status. As such, the law encompasses migrant workers in Thailand.If the injured person or defendant meet the relevant criteria are eligible to apply for compensation or damages from the Rights and Liberties Protection Department. Applications for compensation (for injured person) and expenses (for defendants in criminal cases) are reviewed and awarded/denied by the Compensation Committee. The law only provides for compensation in offence relating to sexuality7 and offences against life and body8, but does not include survivors of torture9 and survivors of human trafficking10. In addition, the review of application by the Compensation Committee can be extremely slow. HRDF thus proposes that the law be revised to extend to cover victims of torture and human trafficking and that the review process by the Compensation Committee by accelerated, in order to ensure victims of such acts receive the right to justice in a timely manner. HRDF has assisted migrant workers (who are considered as aggrieved parties) in criminal cases, assisting them to access their right to compensation. Case studies are outlined below:

Case studies Compensation Committee’s Decision 1. Nine migrant workers – April 2010: descendants of eight deceased massacred (January persons apply for compensation for aggrieved 2010). parties in criminal cases with the Office of Justice, Tak Province; – August 2011: HRDF writes to notify the Rights and Liberties Protection Department regarding the application; – July 2012: HRDF staff inquire with related department about the progress of the case. HRDF staff informed (later in the month) that the application is being vetted by the Compensation Committee; – November 2012: Committee awards compensation to the descendants of the eight deceased persons.

Duration of the process – nearly four years from filing of complaint to awarding compensation; Compensation details: a. Compensation for the death of the injured persons: 50,000 baht; b. Funeral rite arrangement: 20,000 baht; c. Alimony expenses: 30,000 baht; – Total 100,000 baht. – June 2013: descendants Relatives of five deceased persons have received compensation.

7. Penal Code, Articles 276-287 8. Penal Code, Articles 288-308 9. The aggrieved parties may find it difficult to compile evidence needed to prove their case, i.e. wounds caused on the offence since on the

day they apply for the compensation, the wounds may no longer exist. Thus, in various cases, the Compensation Committee has decided against providing compensation to the aggrieved parties due to the unclear evidence. 10. Survivors of offences committed against the 2008 Prevention and Suppression of Human Trafficking Act are not eligible to apply for the compensation. Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 19


Case studies Compensation Committee’s Decision 2. Rape of a migrant – April 2010, Parties apply for compensation for worker (took place in aggrieved parties in criminal cases; February 2010). – April 2011, Compensation Committee decides to award compensation. 3. Survivor of human – June 2011: Parties apply for compensation trafficking, (2010). for aggrieved parties in criminal cases; – April 2011: Compensation Committee awards compensation. 4. S e x u a l o f f e n c e – June 2011: Survivor applies for compensation; (2011). – March 2012: Compensation Committee decides to provide compensation to the survivor. 5. Sexual offence and – June 2011: Two parties apply for compensamurder–three injured tion for aggrieved parties in criminal cases for persons (May 2011). sexual offence; – June 2011: One party applies for compensation for aggrieved parties in criminal cases for murder offence; – March 2012: Compensation Committee decides to award compensation to one survivor for sexual offence; – April 2012, Compensation Committee decides to award compensation to two parties for sexual and murder offence. 6. S e x u a l o f f e n c e – March 2012: Two parties apply for compenagainst two parties sation for aggrieved parties in criminal cases; (February 2012). – June 2013: Compensation Committee awards compensation. 7. Murder offence (Jan- – February 2013: descendant of the deceased uary 2013). apply for compensation for aggrieved parties in criminal cases; – October 2013: Compensation Committee awards compensation.

Duration of the process – One year to awarding 30,000 baht as compensation; – Parties have received compensation. – Ten months to award 30,000 baht for the sexual offence. ; – Parties have received the compensation. – Nine months to award 30,000 baht; for the sexual offence. – The survivor has received the compensation. – Nine months and ten months (respectively) to award the concerned parties 30,000 baht each for the sexual offence. – Ten months to award 315,820 baht as compensation for murder offence. – Parties have received compensation.

– 14 months to award 30,000 baht each of the parties; – Parties have received compensation. – Eight months to award compensation; Compensation details: a). Traffic accident: 30,000 baht b). Funeral rites: 20,000 baht c) Alimony expenses: 20,000 baht; Total: 80,000 baht – The descendants of the deceased could not be reached and have not yet received compensation.

Supreme Court Judgment: Case Against Mr.Chalee Deeyu: Habeas Corpus Rights and Compensation as per Constitutional Provisions

Updates of highlighted cases

On 9 January 2011, Mr. Chalee Deeyu, a migrant worker from Burma, was injured at work and hospitalized at the Pathumthani Hospital. While hospitalized, Mr. Chalee lost his work permit issued by the Department of Employment, Ministry of Labour. Hospital staff reported the incident to the Station transferred Mr. Chalee to the Immigration police on 31 January, requestion Mr. Chalee be Office where he awaited deportation to Burma. On restrained. Hospital staff claimed he was an undoc- 1 February, (while waiting to be deported), HRDF umented worker. Police from Pathumthani Police requested that Mr. Chalee be transferred to the 20 Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand


Police General Hospital for treatment. While there, he was chained to his bed and guarded by police 24 hours a day. HRDF requested that the police unchain Mr. Chalee which occurred on 4 February. On 14 February 2011, lawyers from HRDF and the Lawyers Council of Thailand (LCT) filed a complaint with the Southern Bangkok Criminal Court asking for an injunction hearing on the (alleged) unlawful detention (or habeas corpus) as per the Criminal Procedure Code and the 2007 Constitution of the Kingdom of Thailand and to request for his immediate release. The agency responsible for Mr. Chalee’s detention was asked to provide compensation on the grounds that he had been granted permission to live and work in the country11. The Lower Court found the detention of Mr. Chalee to indeed be unlawful and asked that the authorities responsible provide 3,000 baht as compensation. The Immigration Office appealed the ruling to the Appeals Court which ruled that though the detention was unlawful, the authorities could not be held liable for any compensation. Mr. Chalee then re–appealed to the Supreme Court in opposition to the Appeals Court ruling. On 29 October 2013, the Supreme Court delivered its verdict which stated, in essence concurred with the ruling by the Appeals Court that the detention of Mr. Chalee by the Immigration Office was unlawful but that no compensation could be offered to Mr. Chalee since the authorities had acted in good faith and had already covered Mr. Chalee’s medical expenses.

HRDF assisted Mr.Chalee to access other rights protection mechanisms including: 1. A complaint with the Central Labour Court against the Compensation Committee as the first defendant and the SSO as the second defendant. After Mr. Chalee applied for compensation and medical expenses from work related injuries he suffered with the Pathumthani SSO, it ordered 11. Migrant workers are granted 12. No. 1/2011 and 3/2011

instructions12 asking the N S V Supplies and Engineering Co. to provide compensation to him. Mr. Chalee appealed the Pathumthani SSO’s instructions via the Compensation Committee to have the Workmen’s Compensation Fund provide him the amount. Circular no. Ro Sor 0711/Wor 751 (dated 25 October 2001), regarding protection for alien workers suffering from work–related injuries or sickness requires that eligible workers must possess a work permit issued by the government and the employer must have contributed to the Fund, as per the 1994 Workmen’s Compensation Act. Mr. Chalee therefore filed a complaint with the Central Labour Court to affirm that; He had been granted permission to work in the Kingdom of Thailand and was in possession of a work permit issued by the relevant Thai authorities. Thus, he must be treated as a legal employee, as per the 1998 Labour Protection Act and the 1994 Workmen’s Compensation Fund Act. The law requires that employers in the construction sector pay contributions into the Workmen’s Compensation Fund. In Mr. Chalee’s case, however, the employer had not contributed to the fund. Nevertheless, the SSO may invoke its power to pressure the employer to provide retrospective payments in addition to fines or prosecution for their illegal action. As the employer is obliged to contribute to the Workmen’s Compensation Fund, and Mr. Chalee suffered from a work related injury, the SSO was required to provide compensation to him. The case seemingly reveals the SSO’s guidelines to be discriminatory as the Workmen’s Compensation Fund Act clearly requires all employers to contribute to the Fund. In this case, however, the related SSO simply created conditions to prevent migrant workers from accessing the Fund. Due to this situation, Mr. Chalee requested that the Court revoke Circular no. Ro Sor 0711/Wor 751 (dated 25 October, 2001) regarding protection for alien workers suffering from work– related injuries or sickness.

permission to live in the country while working.

Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 21


On 7 November, 2012, the Central Labour Court acquitted the case deeming that SSO’s guidelines are not discriminatory as they follows the administrative and policy line of the government to serve the interests of migrant workers. The verdict of the Court, however, sits in opposition to the opinion shared by the International Labour Organization (ILO) which finds it the Circular to be in breach of ILO Convention no. C–19. The SSO should thus revoke these guidelines. Also, the Court has failed to analyze the legality of the circular, which is revealed in its claim that Mr. Chalee failed to refer to its illegality while the case was still being handled by SSO, and Compensation Committee staff. As mentioned above, Mr. Chalee did not concur with the verdict and appealed the case. The appeal motion was passed on to the Supreme Court on 4 February, 2013 and the case is still under examination by the Supreme Court. 2. In 2012 Mr. Chalee filed an additional case requesting damages from his former employers including Mr. Thara Rittaeng, CP Retail and Wholesale Co. (Lat Lum Kaew) and N S V Supplies and Enginerring Co. The Court urged the parties to negotiate and to come to a mutually acceptable deal. The Court read out the verdict, based on the agreement reached in which Mr. Thara, would provide damages of the total sum of 5,000 baht, while CP Retail and Wholesale Co. (Lat Lum Kaew) agreed to pay 100,000 baht to Mr. Chalee. Mr. Chalee has withdrawn the case against the NSV Supplies and Engineering Co. as it has since agreed to pay him 90,000 baht to cover medical expenses. After having received all compensation, Mr. Chalee decided to return to Burma in September 2012.

Case Study: Employees Awarded Severance Compensation after negotiation Fact: On 29 November 2013, eight migrant workers employed by Joinsoon Electronics Manufacturing Co., Ltd., in Bang Phli, Samut Prakan Province, had their employment terminated without any prior notice. The migrant workers regarded the termination

as illegal. On 2 December, the workers took their case to the Migrant Workers Rights Network (MWRN) and HRDF offices, requesting legal assistance. On 2 December, 2013, at 8am, the coordinator of the HRDF Migrant Justice Programme in Mahachai together with representatives MWRN came to assist the workers. Upon arrival the team found over one hundred workers (still employed by Joinsoon Electronics) had gathered to strike in support of the unjust treatment against their former (eight) colleagues. HRDF and MWRN staff thus proceeded to provide the striking workers with information on how to conduct their strike within the provisions of the law. On 2 December, migrant worker representatives, representatives from HRDF and MWRN, and representatives from the Joinsoon Electronics Manufacturing Company sat down to discuss possible solutions concerning the ‘unjust’ dismissal of the eight workers. During the negotiations, the company invoked a contractual clause it had with the subcontractor which stated, “if any worker is found to have failed to achieve their production targets or have shown any improper behavior, the company (Joinsoon Electronics Manufacturing Co., Ltd.) shall be able to terminate their employment immediately, while the subcontractor is obliged to provide a replacement” [SIC]. HRDF’s representatives advised the group that according to the law, workers must be notified of the termination of employment 15 or 30 days prior to receiving wages/payment for services and that immediate termination is not permitted. HRDF went on to inform the parties that the company is obliged to provide warning letters to employees in the event of mistakes or un–met targets, and that should immediate termination occur, workers are entitled to severance pay The company argued in reply that it was not liable in the case as the employees were employed by the subcontractor, not (directly) by the company in question. HRDF informed the company that, given the available facts and legal information, the company can indeed be held liable as the employer as per the labour protection law, and if the company refuses to provide severance pay, the workers are

22 Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand


Photos show the atmosphere during the strike by employees and negotiations, with assistance from HRDF and MWRN

entitled to lodge a complaint to claim their rights through the mechanisms provided by the Office of Labour Welfare and Protection. After negotiations, the company agreed to provide unpaid wages to each of the employees; around 4,000 baht, plus 6,000 baht as severance pay–a total of 10,000 baht per worker. The eight

HRDF Anti Labor Trafficking Project

workers, satisfied with the amount, did not wish to pursue any additional legal action against the company. The case study illustrates the nature of relations between subcontracted workers and their employers and how the labour protection law treats them as ordinary employees entitled to legal protection. Introductions New Project

Anti Labour Trafficking will operate with the goal of assisting victims of human trafficking, particularly those subjected to forced labour in Thailand (which is a sending, transit and receiving country for migrant workers). Through legal assistance, the project will assist victims of human trafficking to access the criminal and civil justice redress mechanisms and enable them to reclaim their legal rights. 4. To increase awareness among state and Project objectives: civil society actors, as well as the general public, on 1. To help victims of labour trafficking to the importance of human trafficking in Thailand. To access legal action (both criminal and civil justice encourage all sectors to collaborate to address procedures and any other rightful legal entitlements human trafficking, particularly in advocating the for survivors based on the principles of human rights institutional and legal changes needed for tackling and the rule of law; human trafficking. 2. To educate, increase awareness and provide survivors and potential targets from becoming victims Implementation 1. Project work involves screening labour of human trafficking, particularly in labour trafficking trafficking survivors (migrant workers), conducting cases; 3. To cooperate and coordinate with govern- initial inquiries with survivors and collating legal ment agencies, civil society and non–governmental information and facts to help to bring about both organizations to ensure a consolidated effort towards criminal and civil justice proceedings. Project activithe effective prevention and suppression of human ties are conducted to ensure that human trafficking trafficking, and to ensure the efficient operation of victims can; access their rights, appropriate legal a multidisciplinary team in accordance with the law redress mechanisms, and participate in efforts to collect evidence in legal cases (in order prove and human rights principles; liability in human trafficking) as per the 2008 Prevention and Suppression of Human Trafficking Act. Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 23


Project work can involve offering legal representation to victims, observation of the trial and inquiry process, and the provision of redress to survivors and co–plaintiffs. In addition, the project staff will provide legal assistance (through the lodging of legal action) in cases whereby human trafficking victims are charged or become defendants in any cases related to human trafficking. 2. The project will assist in compiling information regarding case and legal action in human trafficking lawsuits. Information collected in the process of receiving legal complaints, rescuing and assisting victims, police investigation, court trial and post–trial (where compensation is received). Project work aims to ensure that all of the above procedures are conducted in accordance with correct legal and human rights principles and address problems and obstacles–both practical and conceptual–in an attempt to launch legal action in human trafficking– related cases. Project staff will assist to analyze collected information and publicize it, where appropriate, among relevant state and public sector agencies. Staff will seek to advocate legal changes/reform and ensure that relevant legal enforcement agencies

carry out their duties effectively, while providing genuine protection for victims. 3. Project activities will be organized to maximize the dissemination of information and to raise awareness on human trafficking issues among the migrant worker community in Mahachai (who are particularly vulnerable to human trafficking). Victims of human trafficking will be provided with information on how to seek initial assistance if they or other workers have been exploited (or will be exploited) by abusive treatment/practices. 4. To develop training modules for multidisciplinary teams to assist the prevention and suppression of human trafficking, including the production of guidelines for state officials. Curricula developed through the project will be used in training workshops for participants from state and private agencies based in Mahachai, Mae Sot, Ranong, and Chiang Mai. Feedback and suggestions made during the training sessions will be explored in order to improve the aforementioned guidelines and to ensure its practical usage among the members of multidisciplinary teams.

The inspiration to work and help migrant workers to attain justice Ms. Chanidapa Prakaiphet (Coordinator for Labour Law Clinic, Maesod)

I first learnt about the lives of migrant workers when I saw, first– hand, the hardships they endured in their quest to provide for their families. Even though the aspirations of migrant workers are basic–a source of income, enough food to sustain their lives and a safe place to live–I saw that they were often taken advantage of by those who perceived themselves to be of a superior standing and those who sought to exploit them by illegitimate means for their own benefit. Yet, I despite this I saw that migrant workers were

Introduction HRDF Project Coordinators under the program ‘Facilitate Access to Justice for Migrant Workers’

scared to argue back and demand their rights. I witnessed this kind of suffering in all the border towns, and it was a form pain I knew intimately [as I was a migrant worker myself]; a form of pain for which–at the time–I did not know where to turn for help. The exploitative situation around me drove me to want to play a part in the social protection of the elders close to me (this may sound a little selfish, but I thought that if I could help myself then I could help others). When I was given an opportunity to work with HRDF, I was able to do this. Our mission is not only to provide legal advice and assist migrant workers to receive fair and just treatment, but also to disseminate knowledge, to build greater social understanding, and to force society to change the attitudes which underpin the

24 Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand


The assistance we provide extends to activities discrimination towards migrant workers. This will, at the very least, provide a platform from which migrant like disseminating knowledge and providing advice on how to access justice mechanisms (activities workers can start to protect their own rights. performed in local communities). In addition to this, Ms. Aye Mar Cho (Coordinator for I have been involved in cases involved with the Migrants Justice Program, Samut Sakhon) national verification process, whereby recruitment Before I started working for agencies have exploited the vulnerable position of HRDF, I entered into Thailand to work migrant workers. I have also been involved in as a labourer shelling shrimp. While supporting both the fight to obtain birth certificates working, I had a similar experience for the children of migrant workers and their right to to many migrant workers today, access education in Thailand. This is all done with characterized by things like having to the hope that they will not become victims of leave the house [for work] while still human trafficking. dark, fear of having my things stolen/taken, and officials demanding money (even though I had the Yolanda Tanakronsakul (Coordinator for correct documentation and paperwork). I experi- Migrants Justice Program, Chiangmai) When I was a university student, enced rights violations myself, for example, when my employer unlawfully confiscated my official I learnt about the conflict in Burma. This documents and work permit; an event which made was the first thing that alerted me to me extremely scared that I would be detained by the Burmese refugee and migrant situation and the issues surrounding it. police and deported back to Burma. While working as a labourer, I learned that After graduation, I knew I wanted to be many of my coworkers had been involved in work– a part–if only small part–of building a place and motor–vehicle accidents and had not society which accepts differences; especially relevant received any compensation; partly due to the fact in Thai society where migrant workers are viewed as that they did not believe they possessed the right criminals. With these issues in mind, I came to work on to make a formal legal complaint/case under Thai law, and partly due to the fact that they were scared migrant rights at HRDF, which has fought–and is that, should they make a case, they would be fighting [among other issues] for migrant workers’ rights to access to the Workmen Compensation Fund dismissed immediately. I thus made the decision to help my coworkers and the right to own a motor vehicle and driver’s license. Together with the other members of the and fellow labourers and started working as an interpreter at a hospital in Samut Sakhon where I organization, we have played a part in driving these worked to help improve their access to the health- aforementioned issues forward. Our team has made care system. After that, I had an opportunity to take particular progress on the motor vehicle ownership part in a knowledge–training course on human rights and right to obtain driver’s licenses. We have used and laws related to migrant workers rights. I was then a range of methods (not only legal assistance) to offered the opportunity to work at HRDF in Samut bring about change for the better. This has included Sakhon where I worked to take/receive new rights lodging lawsuits at the administrative court(s) and complaints/cases from members of the local organizing exchange/negotiation forums between community and provide basic consultation services local government offices and migrant workers. As a result of our work, the Department of to assist these workers to access local–level justice protection mechanisms, the social security and Land Transport has since allowed migrant workers workmen compensation funds, and claim their legal to own motor vehicles and–for those with the correct passports/documentation–the ability to rights in the courtroom. obtain a driver’s license. Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 25


From 3–4 October, 2013, HRDF participated in the UN High– Level Dialogue (HLD) on International Migration and Development at the UN headquarters in New York City, USA. The meeting provided a valuable opportunity for UN partners to present policy recommendations relating to migration policy and research at the national, regional and global level with a view to improving the migration governance. Together with the Migrant Forum in Asia (MFA) and the Migrant Working Group (MWG), HRDF submitted national and regional–level recommendations which will present the recommendations of various CSOs to national governments. Additional information, draft policy recommendations and recommendations made during the meeting can be viewed by visiting the links below: http://hrdfoundation.org/?p=819 http://hrdfoundation.org/?p=816 http://hrdfoundation.org/?p=809 http://daccess–dds–ny.un.org/doc/UNDOC/LTD/N13/496/04/PDF/N1349604.pdf?OpenElement

On 25 October, an HRDF representative participated in the Thailand National Preparation Workshop for the 6th ASEAN Forum on Migrant Labor (AFML). Co–hosted by International Labour Organization (ILO) and the Ministry of Labour, the workshop saw labour unions, NGOs and related state agencies come together to articulate opinions on issues related access to legal complaint mechanisms and establishing a data collection and sharing system for and on migrant workers. u

v

w

From 20–21 November, an HRDF representative, in conjunction with NGOs and ASEAN–based lawyers, participated in the Regional Conference on Policing and Human Rights in Southeast Asia. The event was organized by The Commission for “the Disappeared” and Victims of Violence (KontraS) and Amnesty International. HRDF, together with other participants, issued a joint statement calling for, “human rights–based policing”. The full statement can be accessed below: http:// hrdfoundation.org/?p=833

On 17 December (photo#1)–on the eve of International Migrants Day–Ms Aye Mar Cho, HRDF Project Coordinator, cooperated in presenting recommendations entitled, ‘Protecting Migrant Workers: Law, Policy and Access’. The presentation outlined major issues affecting migrant workers and their families. On 18 December (Photo#2)–International Migrants Day–A representative from HRDF’s Mae Sot LLC office, together with other networks working for migrant workers’ rights, submitted a letter to the Mae Sot District Officer. On 18 December (Photo#3)–International Migrants Day–a representatives from HRDF’s Chiang Mai MJP office, together with other networks working for migrant workers’ rights, submitted a letter to the Governor of Chiang Mai Press releases and letters from the above events can be viewed below: http://hrdfoundation.org/?p=853 http://hrdfoundation.org/?p=850 http://hrdfoundation.org/?p=848 http://hrdfoundation.org/?p=848&lang=en

26 Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand


Capacity Building for Network Members and Migrant Worker Community–October, 2013 u

v

w

On 29 October (photo#1) and 20 November (photo#2) respectively, volunteer para–legal aids who had recently passed a training course on providing legal advice and consultation (the training provided by HRDF’s MJP office in Chiangmai) visited a construction workers ‘camp’ in Chang Puek Sub–district, Muang District, Chiang Mai Province, to disseminate basic knowledge about legal protection. On 22 November (photo#3), the team visited Doi Saket sub–district–also in Chiang Mai–to assess the current situation in relation to the issue of access to social security.

From 25–27 November, field officers from HRDF’s LLC in Mae Sot office conducted a training activity for para–legal aids working in Mae Sot. The training was designed to ensure that those who passed the course are able to provide basic legal advice and recommendations to migrant workers in their communities. In November, members of HRDF’s Chiang Mai LLC office, together with representatives from the Migrant Workers Federation (MWF), conducted a public relations activity on the eve of the Tai New Year to disseminate important information on topics such as the social security and workmen compensation acts. The event was held at the Palarn Temple in U–mong Sub–district, Muang District, in Lamphun Province. On 8 December, staff from HRDF’s MJP office in Chiang Mai supported the leaders Migrant Workers Federation (MWF) and local Thai labour unionists from Lamphun Province as part of the three–month, ‘School Leaders’ training project. The project was conducted from October–December 2013, with a total of 22 participants. Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 27


Access to Justice and Rights Protection for Migrant Workers in Thailand The Human Rights and Development Foundation (HRDF) is a non–profit non–government organization that aims to promote and protect the human rights of migrant workers and their families in Thailand. Through the Access to Justice and Legal Protection Project and campaigns to promote the migrant workers’ potentials, HRDF has been working with several civil and state organizations at both national and international levels, with the following objectives:

1. 2.

3. 4.

To achieve greater efficiency in protection To prevent the migrant workers and of the migrant workers’ rights through their families from falling victims to labour legal mechanisms and state channels (via petitions), exploitation, To enable the migrant workers to have To educate Thai society about the better understanding of their human necessity of migrant labour in Thailand, rights and access to the state’s protection and petition in order to promote peaceful co–existence despite mechanisms, racial and cultural differences.

บรรณาธิการ: นางสาวปรีดา ทองชุมนุม และนางสาวภัทรานิษฐ์ เยาด�ำ ติดต่อ: มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ส�ำนักงานกรุงเทพมหานคร (เฉพาะโครงการต่อต้านการค้ามนุษย์ด้านแรงงาน) 109 ซอยสิทธิชน ถนนสุทธิสารวินิจฉัย แขวงสามเสนนอก ห้วยขวาง กรุงเทพ 10310 โทรศัพท์ 02 277 6882 โทรสาร 02 275 4261 www.hrdfoundation.org มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ส�ำนักงานจังหวัดสมุทรสาคร 93/200 หมู่ที่ 7 ต�ำบลท่าทราย อ�ำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร 74000 โทรศัพท์/โทรสาร 034 414 087 มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ส�ำนักงานอ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก 14/12 ถนนประสาทวิถีเดิม ต�ำบลแม่สอด อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก 63100 โทรศัพท์/โทรสาร 055 535 995 มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ส�ำนักงานอ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 71 ถนนสนามกีฬาซอย 1 ชุมชนอุ่นอารีย์ ซอย 4 ต�ำบลศรีภูมิ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200 โทรศัพท์/โทรสาร 053 223 077 Editor: Ms.Preeda Tongchumnum and Ms.Phattranit Yaodam Contact: To contact the Human Rights and Development Foundation–Bangkok (for the Anti–Human Trafficking Project only) 109 Soi Sitthichon, Suthisarnwinichai Road, Samsennok, Huaykwang, Bangkok 10310 Tel. 662 277 6882 Fax. 02 2754261 www.hrdfoundation.org HRDF, Samut Sakhon Branch Office 93/200 Moo 7, Ta Sai Sub–district, Muang District, Samut Sakhon 74000 Tel/Fax 034 414 087 HRDF, Mae Sot District Branch Office 14/12 Prasart Witheederm Road, Mae Sot Sub–district, Mae Sot District, Tak 63100 Tel/Fax 055 535 995 HRDF, Chiang Mai Branch Office 71 Sanamkeela Road, Soi 1, Un–Aree Community, Soi 4, Sriphum Sub–district, Muang District, Chiang Mai 50200 Tel/Fax 053 223 077 28 Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand


หนังสือข่าวด้านการเข้าถึงความยุติธรรมและ การคุ้มครองสิทธิแก่แรงงานข้ามชาติในประเทศไทย Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand ฉบับที่ 3 : มกราคม-มีนาคม 2557

3rd issue : January-March 2014

กระแสปฏิรปู กับแรงงานต่างด้าวเข้าเมือง วีระศักดิ์ โควสุรัตน์ (Weerasak Kowsurat)1

กระแสปฏิรูปกับแรงงานต่างด้าวเข้าเมือง: ตอนที่ 1

ระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ. 2522 เป็นกฎหมายที่ถูก ตราขึ้นใหม่เมื่อ 24 กุมภาพันธ์ 2522 ใช้งานมานับถึงวันนี้ ก็ 35 ปีแล้ว.... กฎหมายคนเข้าเมืองฉบับนี้ ออกมายกเลิกกฎหมายคนเข้าเมือง ฉบับเก่าก่อนหน้าสองฉบับ คือ ฉบับปี พ.ศ. 2493 และฉบับแก้ไข 2497 ซึ่งออกมาเมื่อ 29 ปีก่อนหน้าอีกที

1

แปลว่า กฎหมายคนเข้าเมืองของไทย...แก้ใหม่ยกกะบิ... มาหนเดียว แล้วใช้ต่อมาอีก 35 ปี...น่าจะได้เวลาทบทวนหลักคิด สักทีไหม เพราะ... ประการแรก...เมือ่ คราว พ.ศ. 2493 เป็นช่วงทีร่ ฐั ไทยก�ำลัง ตกใจกับกองทัพแดงตีก๊กมินตั๋งแตก ที่สิบสองปันนา กองพล 93 เริ่มอพยพเข้าตะเข็บชายแดนไทย-พม่า ปีเดียวกันนั้น สงคราม เกาหลีกเ็ ริม่ ขึน้ และสภาวะการณ์ในประเทศก็ยงั มีความไม่ไว้วางใจ กันสูง ศาลฎีกาพิพากษาจ�ำคุกหะยีสหุ ลง (บิดาของ คุณเด่น โต๊ะมีนา) ข้อหากบฏ นาน 4 ปี 8 เดือน ครั้นพอถึง พ.ศ. 2497 แก้กฎหมาย

นายวีระศักดิ์ โควรสุรัตน์ อดีตกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการบริหารแรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมือง ส�ำนักนายกรัฐมนตรี และอดีตกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการพิจารณาการท�ำงานของคนต่างด้าว


คนเข้าเมืองอีกรอบบ้านเมืองก็อยู่ในภาวะตึงเครียดทางการเมือง ระหว่างประเทศต่อไปอีก...กองทัพเวียดมินห์โจมตีฐานทัพฝรัง่ เศส ที่เดียนเบียนฟูจนแตก...ปีเดียวกันนี้ รัฐกระเหรี่ยงถูกจัดตั้งขึ้น ในฐานะเป็นส่วนหนึง่ ของสหภาพพม่าส่วนในประเทศก็บนั ทึกไว้วา่ หะยีสุหลงและคณะหายสาบสูญหลังจากมีผู้พบเห็นว่า หะยีสุหลง ออกเดินทางไปพบหน่วยสันติบาลทีส่ งขลา...ต้นเหตุอกี หนึง่ เรือ่ ง... ของความคับข้องใจของชาวมลายูมสุ ลิม สามจังหวัดชายแดนใต้... แปลว่า เป็นช่วงที่บ้านเมืองไม่ได้มีประชาธิปไตยอย่าง ช่วงหลังๆ นี้ ตอนนั้นไทยมีสภานิติบัญญัติท่ีมาจากการแต่งตั้ง ของขุนศึก และข้าราชการชั้นสูงเป็นหลัก นายกฯ ในขณะนั้นคือ จอมพลแปลก พิบูลสงคราม... กฎหมายย่อมสะท้อนความหวาดกลัวต่อภัยความมัน่ คงจาก สงคราม มีนักรบนักสู้ในภูมิภาคเรียกร้องอิสรภาพจากประเทศ เจ้าอาณานิคมเกิดขึน้ มากมาย การต่อสูเ้ อาชนะของค่ายคอมมิวนิสต์ ก็เริ่มเข้มข้น การมองคนเข้าเมืองจึงมีความหวาดระแวงสูง... ครัน้ เมือ่ ตามไปตรวจสอบ พ.ศ. 2522 หรือ 29 ปีตอ่ มา เหตุ บ้านการเมืองก็ไม่ค่อยดีไปกว่ากันเท่าไหร่ เพราะ พ.ศ. 2522 เป็น ปีก่อตั้งพรรคปฏิวัติประชาชนกัมพูชา เป็นปีที่คลื่นมนุษย์อพยพ ภัยสงคราม อินโดจีนยังไม่หมดลง เป็นปีที่จีนส่งกองทัพบุกข้าม พรมแดนเวียดนาม 120,000 คน เพือ่ ท�ำสงครามสัง่ สอนทางการ เมือง เหตุการณ์ตึงเครียดทั้งภูมิภาคทีเดียว นายกฯ ในวันนั้น คือ พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์... ทหารที่ท�ำแกงไก่ใส่บรั่นดีจนมีชื่อ กฎหมายในเวลานั้น จึงย่อมรับรู้และสะท้อนสภาพของ ภูมิภาค ซึ่งผ่านสงครามที่ยืดเยื้อมาหลายทศวรรษ แต่แล้วบรรยากาศภูมิภาควันนี้กับเมื่อคราว พ.ศ. 2493, 2497 และ 2522 ต่างกันแยะทีเดียว พม่ า ทางทิ ศ ตะวั น ตก ก� ำ ลั ง เข้ า สู ่ เ ส้ น ทางสั น ติ ภ าพที่ หลายปีกอ่ น แทบไม่มใี ครนึกว่าจะก้าวมาได้ไกลขนาดนี.้ ..ว่าไปแล้ว บรรยากาศดีกว่าเมืองไทยตอนนี้ด้วยซ�้ำ... กัมพูชามีการเลือกตัง้ ทีเ่ สียงของประชาชนในหีบบัตร บ่งชีถ้ งึ ความเบ่งบานใหม่ของประชาธิปไตยที่ 40 ปีที่แล้ว ไม่มีใครนึกว่า ชาติทผี่ า่ นยุคเข่นฆ่าของเขมรแดง แล้วถูกกองก�ำลังทหารเวียดนาม บุกเข้ายึดได้ จะก้าวมาไกลจนเพียงนี้ 2 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

นี่แค่ แซมเปิ้ล...ของความเปลี่ยนแปลงไปของสถานการณ์ ประการที่สอง...โครงสร้างเศรษฐกิจไทยเมื่อ พ.ศ. 2522 กับวันนีก้ ต็ า่ งกัน ยุค 2522 เป็นช่วงทีเ่ ราพึง่ จะก้าวสูค่ ำ� ว่า โชติชว่ ง ชัชวาลย์ จากการส�ำรวจพบแหล่งก๊าซธรรมชาติอ่าวไทย เป็นยุค ที่เราพึ่งจะมีองค์กรดึงดูดการลงทุนอย่าง BOI ซึ่งเน้นการส่งเสริม การลงทุนจากต่างประเทศ อุตสาหกรรมสิ่งทอก็ก�ำลังบูม เป็นยุค ทีแ่ รงงานของไทยหาได้งา่ ยจากภาคอีสาน แต่วนั นีเ้ ป็นยุคร่อยหรอ ของแหล่งก๊าซในอ่าวไทย เป็นยุคที่ BOI ต้องหันมาเน้นเสริม ทุนไทยไปขยายฐานในต่างประเทศ เพราะหมดแล้วทั้งวัตถุดิบ ทัง้ ป่า ทัง้ แรงงานอันอุดม เป็นยุคทีแ่ รงงานไทยในราคาค่าจ้างขัน้ ต�ำ่ หายากยังกะร่อนทอง อุตสาหกรรมสิง่ ทอและเสือ้ ผ้าย้ายฐานไปอยู่ กัมพูชาหมดแล้ว แม้แต่ค่าจ้างแม่บ้าน พม่าตามบ้านก็ถีบตัวสูงขึ้นนับร้อย เปอร์เซ็นต์! และหายากขึ้นทุกที... ในขณะเดียวกัน เรากลับจะพบ แรงงานพม่า ตลอดจนกัมพูชาในไทย พูดไทยคล่อง ใช้โทรศัพท์มอื ถือท�ำ Conference Call พูดทีเดียว 3 สาย อย่างถนัดมือ และ ท�ำงานเป็นทีมๆ ในสถานีบริการน�้ำมัน ท�ำความสะอาดห้องน�้ำ ในห้างสรรพสินค้า ตลอดจนเสริฟและปรุงอาหารขายคนไทยกันอย่าง ดาดดื่น

ค�ำถามเชิงเนือ้ หาและเป้าหมายนโยบายสาธารณะในเรือ่ งนี.้ .. จึงมิได้อยูท่ เี่ พียงว่า...เหตุการณ์เปลีย่ นไปเท่านัน้ ...เราก�ำลังต้องการ คนท�ำงานในระบบสังคมและเศรษฐกิจที่ต่างไปจาก 35 ปีก่อน เพียงใดหรือไม่...เราควรมีโครงสร้างเศรษฐกิจภาคแรงงานของเรา อย่างไรในอนาคตต่อไปอีก 10-20 ปีข้างหน้า... อีกประการหนึ่ง กฎหมายคนเข้าเมืองไม่ใช่เรื่องจะแก้ไขกันได้ง่ายๆ ในปีสองปี... เวทีปฏิรูปเศรษฐกิจ สังคมต่างๆ จึงควรสะท้อนความห่วงใยต่อ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจและความต้องการของภาคธุรกิจ ควรมีจุดสมดุลที่จะต้องบัญญัติในกฎหมายอย่างไร และ ในระยะเฉพาะหน้าแรงงานต่างด้าวทีเ่ พิง่ หมดอายุตามบัตรอนุญาต รอบนี้ แล้วยังไม่มรี ฐั บาลทีจ่ ะพิจารณาต่ออายุบตั รให้เขา จ�ำนวน นับล้านคนนั้น...จะเอายังไง สังคมไทยเปลี่ยนไปแล้ว และดูเหมือนจะเริ่มรับสภาพ รับ และกลืนวัฒนธรรมการต้องอยูร่ ว่ มกันแบบนานาชาติอย่างนีเ้ ก่งขึน้


กระแสปฏิรูปกับแรงงานต่างด้าวเข้าเมือง: ตอนที่ 2

ลัดกระทรวงแรงงานให้สมั ภาษณ์สอื่ เมือ่ เร็วๆ นีว้ า่ สำ�นักงาน เศรษฐกิจการแรงงาน สำ�รวจประมาณแนวโน้มความต้องการ แรงงาน ตั้งแต่ปี 2557-2561...คือ ใน 5 ปีข้างหน้า ไทยจะมีความ ต้องการแรงงานโดยรวมถึง 40,473,484 คน ต่อปี ประมาณว่า ต้องการแรงงานส่วนเพิ่มรวม โดยเฉลี่ยปีละ 995,514 คน แจกแจงเป็นแรงงานที่ต้องเพิ่ม เพราะมีต�ำแหน่งงานเพิ่ม เข้ามาปีละ 268,287 คน และเป็นแรงงาน ที่เข้าทดแทนแรงงาน เก่าที่ออกไปจากตลาดแรงงาน 727,227 คนต่อปี ! งานส�ำรวจวิจัยนี้ได้มาจากการส�ำรวจสถานประกอบการ ทีอ่ ยูใ่ นระบบประกันสังคม 28 ประเภทกิจการ โดยการสุม่ ตัวอย่าง เป็นจ�ำนวนถึง 35,107 แห่ง ค้าปลีก-ค้าส่ง มีความต้องการแรงงานมากที่สุด รองมาคือ กิจการยานยนตร์และชิ้นส่วน ส่วนล�ำดับสามคือ กิจการก่อสร้าง ต�ำแหน่งงานที่ขาดแคลนแรงงานมากที่สุด คือ พนักงาน ขายและผู้น�ำเสนอสินค้า รองลงมาคือ ช่างไม้ และช่างซ่อมและ ปรับแต่งเครื่องจักรกลทั่วๆ ไป งานเหล่ า นี้ ส่ ว นมากนายจ้ า งและสถานประกอบการ ย่อมต้องการลูกจ้างคนไทยนั่นแหละ แต่ถ้าขาดแคลนหนักๆ ... จะหาเอาจากไหน...ถ้าไม่ใช่ลูกจ้างต่างด้าวที่พอท�ำงานเหล่านี้ได้ นี่เป็นงานกึ่งฝีมือขึ้นไปทั้งนั้นแหละครับ...ส่วนงานไร้ฝีมือ เช่น กรรมกรในงานก่อสร้าง ช่างปูน ช่างผูกเหล็ก งานประมง สารพัดอย่าง งานแปรรูปและงานบรรจุสินค้าเข้าบรรจุภัณฑ์ งานในแปลงเกษตร งานรับใช้ในบ้าน งานโกดังเก็บสินค้า งาน ท� ำ ความสะอาดอาคาร งานเก็ บ กวาดท� ำ ความสะอาดถนน ในหมู่บ้านจัดสรร งานคัดแยกสินค้า งานบริการตามสถานีบริการ น�้ำมันและก๊าซ ลองสังเกตดีๆ เถอะครับ...เหลือคนไทยท�ำงานต�ำแหน่งนี้ กี่มากน้อย? แปลว่า ดีมานต์...มีมากมาย ยิ่งเมื่อ จะมีการเชื่อมโครงข่ายคมนาคมในอาเซียน ย่อมท�ำให้ซพั พลายเคลือ่ นไหวย้ายตามดีมานด์ ได้สะดวกไปด้วย... โถ...ขนาดเป็ น ป่ า เขา...มี ส ายน�้ ำ ขวางกั้น...ยังมากันเป็นล้านคน...ยิ่งในภาวะ ภั ย แล้ ง เกิ ด ทั่ ว ไปในภู มิ ภ าคและระบบ ชลประทานของไทยมีความพร้อมมากทีส่ ดุ ใน ซีกโลกด้านนี้...ย่อมมีความต้องการแรงงาน มาท�ำงานบนทีด่ นิ ในเขตชลประทานเข้มข้นขึน้ ปฏิรูปประเทศไทยคราวนี้...คงต้อง คิดกันให้ถี่ถ้วน...ว่าเราควรมีนโยบายเรื่อง แรงงานต่ า งด้ า ว ทั้ ง ในระดั บ ฝี มื อ ระดั บ

กึ่งฝีมือ และระดับไร้ฝีมือ...อย่างไร ถ้าวางนโยบายที่เป็นไปได้ บริหารได้ จึงจะเป็นธรรมต่อทุกฝ่าย รักษาความมั่นคงของชาติได้ พร้อมๆ ไปกับรักษาความมัน่ คงของมนุษย์ได้...ไม่วา่ จะคนสัญชาติ ไทยหรือแรงงานต่างชาติที่เข้ามา ผมเห็นว่าตัวบทกฎหมายไม่ใช่อุปสรรคหรอก...อุปสรรค ที่แท้อยู่ที่ความชัดเจนของแนวนโยบาย แห่งรัฐในเรื่องนี้มากกว่า จะเอายังไงถึงบริหารได้จริง... ทีว่ า่ กฎหมายไม่ได้เป็นอุปสรรค เพราะทัง้ พ.ร.บ.คนเข้าเมือง พ.ศ. 2522 และ พ.ร.บ.การท�ำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2551 ต่างก็มีบทอุดช่องว่างที่ควรชื่นชมว่า ยืดหยุ่นดีทั้งคู่ พ.ร.บ.คนเข้าเมือง ม.17 บอกว่า “ในกรณีพเิ ศษเฉพาะเรือ่ ง รัฐมนตรีมหาดไทยโดยอนุมัติของคณะรัฐมนตรี จะอนุญาตให้ คนต่างด้าวผู้ใด หรือจ�ำพวกใดเข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรภายใต้ เงื่อนไขใดๆ หรือจะยกเว้นไม่จ�ำเป็นต้องปฏิบัติตาม พ.ร.บ.นี้ ในกรณีใดๆ ก็ได้” “ส่วน พ.ร.บ.การท�ำงานของคนต่างด้าว ฉบับใหม่ พ.ศ. 2551 นัน้ ได้รบั การปรับปรุงให้ยดื หยุน่ ดีขนึ้ แล้ว อาศัยเพียงกฎกระทรวง ซึง่ ออกตามความในมาตรา 7 กับประกาศกระทรวงตามมาตรา 13 ซึ่งทั้งกฎกระทรวงและประกาศกระทรวงนี้ เป็นอ�ำนาจที่ ครม. จะก�ำหนดเงื่อนไขไว้อย่างใดก็ได้ ทั้งยังมีระบบกองทุนประกัน ค่าใช้จ่ายในการส่งกลับไว้ให้เรียบร้อย” มีกฎหมายแค่ 2 มาตรานี้ บวกค�ำอธิบายที่นิ่งพอ...ปฏิบัติ ได้...ระบบอื่นๆ ที่เป็นธรรมกับทุกฝ่าย จะเคลื่อนเข้ามาประกอบ ได้เอง เพียงแต่ตอนนี้รัฐบาลเป็นเพียงรักษาการ ไม่มีความแน่ใจ ในการเสนอ ครม. ให้อนุมัติต่ออายุคนต่างด้าวที่เคยมีบัตรอยู่แล้ว ตามระบบ...เลยท�ำให้แรงงานเหล่านี้...เถื่อนไปตามระเบียบ... อย่างไม่มีความผิด ! เพียงแต่ตอนนี้รัฐบาลรักษาการช่วยต่ออายุ การอนุญาตให้แรงงานต่างด้าวที่เคย ได้รับบัตรอยู่เดิมและเพิ่ง หมดอายุลง ให้สามารถขยายอายุออกไปอีกหกเดือน หรือจนกว่า รัฐบาลใหม่ จะมีค�ำสั่งเปลี่ยนแปลง

จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 3


แรงงานข้ามชาติถูกปฏิเสธ การใช้สิทธิแรงงานขั้นพื้นฐานในประเทศไทย Mr.Robert Pajkovski2

ระเทศไทยได้ดำ�เนินการหลายขั้นตอนในการเคารพสิทธิ แรงงานสากล ซึง่ ทัง้ โดยหลักการและในทางปฏิบตั ิ จะส่งเสริม สิทธิของคนงานในการรวมตัวจัดตัง้ สหภาพแรงงานและการเจรจา ต่อรองร่วมกับนายจ้าง สิทธิทั้งสองประการอันได้แก่ เสรีภาพใน การรวมตัว และสิทธิในการเจรจาต่อรองร่วม เป็นหัวใจสำ�คัญ ขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) และยังได้รบั การบรรจุ ไว้ในธรรมนูญแห่งองค์การแรงงานระหว่างประเทศ พ.ศ. 2462 ปฏิ ญ ญาฟิ ล าเดลเฟี ย แห่ ง องค์ ก ารแรงงานระหว่ า งประเทศ พ.ศ. 2487 และปฏิญญาว่าด้วยหลักการและสิทธิขั้นพื้นฐาน ในการทำ�งานแห่งองค์การแรงงานระหว่างประเทศ พ.ศ. 2541 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 64 กล่าวไว้ว่า “บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการรวมกันเป็นสมาคม สหภาพ สหพันธ์ สหกรณ์ กลุม่ เกษตรกร องค์การเอกชน องค์การพัฒนาเอกชน หรือ หมู่คณะอื่น” รัฐบาลไทยยังได้ให้สัตยาบันกติการะหว่างประเทศ ว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม แห่งสหประชาชาติ (ICESCR) ซึ่งก�ำหนดให้ “ทุกคนมีสิทธิก่อตั้งสหภาพแรงงานและ เข้าร่วมสหภาพแรงงานตามที่ตนเลือก” รัฐบาลยังได้ให้สัตยาบัน กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง แห่งสหประชาชาติ (ICCPR) ซึ่งระบุว่า “บุคคลทุกคนย่อมมีสิทธิ 2

ในเสรีภาพในการรวมกันเป็นสมาคม รวมทั้งสิทธิที่จะก่อตั้งและ เข้าร่วมสหภาพแรงงานเพื่อปกป้องประโยชน์ของตน” ข้อมูลข้างต้นแสดงให้เห็นว่า เจ้าหน้าทีร่ ฐั บาลและผูบ้ ญ ั ญัติ กฎหมายของไทยต่างตระหนักถึงมาตรฐานแรงงานสากล แต่ยัง มีข้อน่าสังเกตว่ารัฐบาลไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในฐานะสมาชิก ผู้ก่อตั้งองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ยังไม่ได้ให้สัตยาบัน อนุสญ ั ญาแห่งองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที่ 87 ว่าด้วย เสรีภาพในการสมาคมและการคุ้มครองสิทธิในการรวมตัว และ ฉบับที่ 98 ว่าด้วย สิทธิในการรวมตัวและการเจรจาต่อรองร่วม แม้ว่าคณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย องค์การแรงงาน ระหว่างประเทศ และขบวนการสหภาพแรงงานระหว่างประเทศ จะพยายามรณรงค์ไปมากอย่างไร ประเทศไทยก็ยังคงชะลอและ ระงับทุกความพยายามที่จะให้สัตยาบันอนุสัญญาทั้งสองฉบับนี้ แม้ว่าจะเป็นรัฐภาคีผู้ก่อตั้งขององค์การแรงงานระหว่าง ประเทศซึ่งท�ำให้ประเทศไทยมีความรับผิดชอบที่ต้องรับทราบ และเคารพเสรีภาพในการรวมตัวและสิทธิในการเจรจาต่อรองร่วม กฎหมายแรงงานไทยและการคุม้ ครองคนงานก็ยงั ต�ำ่ กว่ามาตรฐาน แรงงานสากลและอนุสัญญาแห่งองค์การแรงงานระหว่างประเทศ อยู่มาก คนงานจ�ำนวนมาก (ประมาณร้อยละ 75-85 ของจ�ำนวน แรงงานทั้งหมด) ในประเทศไทย เช่น ข้าราชการ ครู เจ้าหน้าที่ สาธารณสุข ถูกห้ามไม่ให้แสดงเสรีภาพในการรวมตัวและสิทธิ ในการจัดตั้งและเจรจาต่อรองร่วม ดังนั้น จึงเป็นที่น่าอับอายที่ประเทศไทยมีอัตราการเป็น สมาชิกสหภาพแรงงานของคนงานที่ต�่ำที่สุด-ประมาณร้อยละ 1.5-ในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมถึงบังกลาเทศ กัมพูชา อินโดนีเซีย มาเลเซีย ปากีสถาน และศรีลังกา สภาวะที่ขาดเสรีภาพในการรวมตัวและสิทธิในการเจรจา ต่อรองร่วมปรากฏเด่นชัดและเป็นปัญหาทีส่ ดุ ในหมูแ่ รงงานข้ามชาติ ซึ่ ง มี จ� ำ นวนอาจจะมากถึ ง ร้ อ ยละ 10 ของแรงงานทั้ ง หมด พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 เป็นกฎหมายที่ยังมี บทบัญญัติที่เป็นการเลือกปฏิบัติ ที่ห้ามมิให้บุคคลที่ไม่ได้ถือ สัญญาชาติไทยโดยก�ำเนิดสามารถจัดตัง้ หรือเป็นกรรมการสหภาพ แรงงานได้

นาย Robert Pajkovski ผู้อ�ำนวยการโครงการ ศูนย์อเมริกันเพื่อแรงงานนานาชาติ ประจ�ำประเทศไทย 4 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


แม้แรงงานข้ามชาติจะได้รับอนุญาตให้เข้าเป็นสมาชิก สหภาพแรงงานซึ่งน�ำโดยผู้มีสัญชาติไทยโดยก�ำเนิดได้ แต่ในทาง ปฏิบัติ ไม่มีสหภาพแรงงานในอุตสาหกรรมที่แรงงานข้ามชาติ ส่วนมากท�ำงานอยู่เลย เช่น อุตสาหกรรมอาหารแปรรูป และ ประมง สภาวะนี้เป็นอุปสรรคต่อการขัดขวางแรงงานข้ามชาติ ไม่ให้มีเสรีภาพในการรวมตัวและสิทธิในการเจรจาต่อรองร่วม อย่างชัดเจน เมื่อไม่มีสิทธิในการรวมตัว จัดตั้ง และเจรจาต่อรองร่วม ซึง่ รวมถึงสิทธิในการด�ำเนินกิจกรรมสมานฉันท์อย่างการนัดหยุดงาน แรงงานข้ามชาติจึงมีแนวโน้มหรือมีความเสี่ยงต่อการแสวงหา ประโยชน์ทกุ รูปแบบ รวมถึง การบังคับใช้แรงงานและการค้ามนุษย์ ค่าจ้างน้อย การถูกขโมยค่าจ้าง มาตรฐานความปลอดภัยและ อาชีวอนามัยต�ำ ่ และสภาพการท�ำงานทีเ่ ป็นอันตราย เมือ่ ไม่มสี ทิ ธิ ในการรวมตัว จัดตั้งสหภาพแรงงาน และเจรจาต่อรองร่วมกับ

กฎหมายและนโยบาย

นายจ้าง แรงงานข้ามชาติจึงมีโอกาสเพียงน้อยนิดในการคุ้มครอง ตัวเองจากการกระท�ำทีไ่ ม่เป็นธรรมของนายจ้าง ด้วยความกลัวว่า จะถูกจับกุม ไล่ออก และส่งตัวกลับประเทศ ขบวนการแรงงานไทย น�ำโดยคณะกรรมการสมานฉันท์ แรงงานไทย (คสรท.) และสมาพันธ์แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ (สรส.) ร่วมด้วยขบวนการสหภาพแรงงานระหว่างประเทศ ยังคง ด�ำเนินการเรียกร้องให้รัฐบาลไทยปฏิบัติตามพันธสัญญาระหว่าง ประเทศของตน การปฏิเสธเสรีภาพในการรวมตัวและสิทธิในการ เจรจาต่อรองร่วมของแรงงานข้ามชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน อุตสาหกรรมที่ส่งออกไปยังคู่ค้าส�ำคัญๆ ในสหรัฐอเมริกาและ สหภาพยุโรป ถือเป็นการขัดต่อหลักประชาธิปไตยอย่างรุนแรง การกระท�ำเช่นนี้ของรัฐบาลจะท�ำให้นานาประเทศรุมวิพากษ์ วิจารณ์ประเทศไทยต่อไปและกดดันให้รัฐบาลของชาติต่างๆ ต้อง พิจารณาข้อตกลงทางการค้าของตนที่มีกับประเทศไทยอีกครั้ง

ข้อสังเกตที่ควรมีต่อ กระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ในคดีแรงงานของผูเ้ สียหายจากการค้ามนุษย์ นางสาวภัทรานิษฐ์ เยาด�ำ3

มือ่ วันที่ 22 พฤศจิกายน 2556 ทีผ่ า่ นมา เจ้าหน้าทีแ่ ละทนายความ โครงการต่อต้านการค้ามนุษย์ดา้ นแรงงาน ภายใต้การดำ�เนินการ ของมูลนิธเิ พือ่ สิทธิมนุษยชนและการพัฒนาได้รบั การประสานงาน จากสถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ (ชาย) จังหวัดระนอง เพื่อ ขอความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ผู้เสียหายในคดีค้ามนุษย์จาก การค้ามนุษย์จากการบังคับใช้แรงงานในเรือประมง (ผู้เสียหาย) โดยผู้เสียหายกลุ่มดังกล่าวประสงค์ที่จะเรียกร้องสิทธิในค่าจ้าง เพราะตนมีฐานะเป็นลูกจ้างจากนายจ้างจึงมีข้อพิพาทเป็นคดี แรงงานขึ้น ทางเจ้าหน้าที่และทนายความของโครงการจึงได้ให้ ความช่วยเหลือทางกฎหมายเบือ้ งต้นทัง้ ในส่วนคดีแรงงานและคดี อาญาเนื่องจากกลุ่มผู้เสียหายต้องเข้าเบิกความต่อศาลในฐานะ ประจักษ์พยานประกอบการสืบพยานไว้ล่วงหน้าในการดำ�เนินคดี อาญากับกลุม่ นายหน้าความผิดฐานค้ามนุษย์ ตามพระราชบัญญัติ ป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 ด้วย และในวันที่ 28 พฤศจิกายน 2556 ผู้เสียหายทั้ง 8 คน โดยความยิ น ยอมของสถานคุ้มครองและพัฒ นาอาชีพ (ชาย) 3

จังหวัดระนอง ได้มอบอ�ำนาจให้เจ้าหน้าที่จากโครงการต่อต้าน การค้ามนุษย์ด้านแรงงานเป็นผู้แทนเข้าร่วมเจรจาไกล่เกลี่ยข้อ พิพาทแรงงาน ณ ศาลจังหวัดตรัง โดยเริม่ ต้นผูเ้ สียหายประสงค์จะ เรียกร้องค่าจ้าง 28,000 บาทแต่ภายหลังจากการใช้กระบวนการ ไกล่เกลี่ยทั้งจากศาล นายจ้าง และนิติกรจากกระทรวงแรงงาน ลูกจ้างจึงยินยอมรับค่าจ้างในจ�ำนวน 16,000 บาท แม้ในคดีดังกล่าว ลูกจ้างจะได้รับค่าจ้างจากนายจ้าง ก็ตามแต่สถานการณ์โดยรวมของการกระบวนการไกล่เกลีย่ นัน้ มีการยกเหตุผลที่ไม่เกี่ยวโดยตรงกับการพิจารณาคดีเข้ามาสู่ การพิจารณาและตัดสินใจยอมรับของลูกจ้างด้วย อีกทัง้ ลูกจ้าง บางส่วนก็ไม่ได้พอใจมากนักต่อเงินจ�ำนวนดังกล่าว เนื่องจาก ตนถูกท�ำร้ายร่างกายเพื่อบังคับใช้แรงงานขณะที่ท�ำงานอยู่บน เรือประมง ทางโครงการได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของกระบวนการ เรียกร้องสิทธิค่าจ้างของลูกจ้างซึ่งตกเป็นผู้เสียหายจากการค้า มนุษย์ด้วยประเด็นที่ว่าผู้เสียหายดังกล่าวเป็นกลุ่มเปราะบางทาง

นางสาวภัทรานิษฐ์ เยาด�ำ ที่ปรึกษา โครงการต่อต้านการค้ามนุษย์ในแรงงาน มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 5


สังคมที่ถูกจ�ำกัดด้วยข้อต่อรองทั้งในสภาพการจ้างงานและสภาพ ความเป็นอยู่ ซึ่งแท้จริงแล้วความต้องการของกลุ่มผู้เสียหายนั้น เพื่อที่จะแสวงหาประโยชน์ที่ดีกว่าในการใช้ชีวิต จึงตกเป็นกลุ่ม เสีย่ งในกระบวนการแสวงหาประโยชน์ได้งา่ ย และเมือ่ ต้องตกเป็น ผู้เสียหายก็ต้องอยู่ในสภาพที่ตนไม่สามารถหาเลี้ยงตนเองได้และ ต้องรอกระบวนการหลายขัน้ ตอนเพือ่ ส่งตัวกลับยังประเทศต้นทาง จึงอาจเกิดความรู้สึกสูญเสียความมั่นใจ ไม่เชื่อมั่นในศักยภาพ ของตนเอง ยิ่งเมื่อต้องเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมแล้วพบว่าตน มีขอ้ เท็จจริงทีค่ วรได้รบั ค่าจ้างหรือเงินจ�ำนวนอืน่ ๆ อันพึงมีพงึ ได้ตาม ฐานแห่งสิทธิ แต่ผลสุดท้ายกลับไม่ได้อย่างที่หวังและไม่สามารถ ให้เหตุผลทีแ่ ท้จริงได้วา่ เหตุใดจึงเป็นเช่นนัน้ เพราะทัง้ กระบวนการ มีแต่การอ้างความล่าช้าของการด�ำเนินคดี ความล่าช้าของการทีต่ น จะได้กลับบ้าน ฯลฯ ซึง่ ล้วนแล้วแต่ไม่ตอบค�ำถามอย่างตรงไปตรงมา ที่ว่าเหตุใดผู้เสียหายซึ่งมีข้อเท็จจริงปรากฏได้ชัดแล้วว่ามีความ สัมพันธ์ในฐานะลูกจ้างกับนายจ้างจริง จึงไม่สามารถได้รับเงิน ค่าจ้างที่ถูกค�ำนวณอย่างถูกต้องได้ ทางโครงการจึงได้ศึกษาค้นคว้าถึงแนวคิดและหลักการ กระบวนการไกล่เกลี่ยและมีข้อคิดเห็นบางประการเมื่อทบทวน เอกสารทางวิชาการและเหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติ ป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 แล้ว ปรากฏว่า ความผิดฐานค้ามนุษย์ตามมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติป้องกัน และปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 รวมทั้งการค้าประเวณี ทั้งตามประมวลกฎหมายอาญาและพระราชบัญญัติป้องกันและ ปราบปรามการค้าประเวณี พ.ศ. 2539 ประกอบกับอนุสัญญา สหประชาชาติเพือ่ ต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติทจี่ ดั ตัง้ ในลักษณะ องค์กร (UNTOC) และพิธสี ารเพือ่ ป้องกัน ปราบปรามและลงโทษ การค้ า มนุ ษ ย์ โดยเฉพาะผู ้ ห ญิ ง และเด็ ก เพิ่ ม เติ ม อนุ สั ญ ญา สหประชาชาติเพือ่ ต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติในลักษณะองค์กร (Protocol to prevent, Suppress and Punish Trafficking in Persons, Especially Women and Children, supplementing the United Nations Convention against Transnational Organized Crime) เป็นความผิดทีก่ อ่ ให้เกิดภยันตรายต่อประชาชน โดยส่วนรวม ซึ่งเป็นความผิดกลุ่มเดียวกับ ความผิดฐานวางเพลิง เผาทรัพย์ ความผิดฐานผลิตอาวุธของเอกชนโดยไม่ได้รับอนุญาต และเป็นความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด แม้การด�ำเนินคดีกบั ผูก้ ระท�ำความผิดฐานค้ามนุษย์จะถูก แบ่งโดยประเภทคดีและเขตอ�ำนาจศาล โดยผู้กระท�ำความผิด ฐานค้ามนุษย์จะถูกด�ำเนินคดีทั้งคดีอาญาตามประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาความอาญา พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม การค้ามนุษย์ พ.ศ 2551 และพระราชบัญญัตปิ อ้ งกันและปราบปราม การค้าประเวณี พ.ศ. 2539 ในศาลอาญาและตามพระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ในศาลแรงงาน มีข้อสังเกตว่า การแยกด�ำเนินคดีต่อผู้กระท�ำความผิดฐานค้ามนุษย์ในศาล ต่างกันแต่มลู เหตุอนั ก่อให้เกิดสิทธิเรียกร้องตามกฎหมายล้วนแล้ว 6 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

เกิดมาจากการกระท�ำอันเป็นการแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ ของผู้กระท�ำความผิดฐานค้ามนุษย์ทั้งสิ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การบังคับใช้แรงงาน ซึง่ ตามมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัตปิ อ้ งกัน และปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ 2551 บัญญัติว่า “การบังคับ ใช้แรงงานหรือบริการ” หมายความว่า การข่มขืนใจให้ทำ� งานหรือ ให้บริการโดยท�ำให้กลัวว่าจะเกิดอันตรายต่อชีวติ ร่างกาย เสรีภาพ ชื่อเสียง หรือทรัพย์สินของบุคคลนั้นเองหรือของผู้อื่น โดยขู่เข็ญ ด้วยประการใดๆ โดยใช้กำ� ลังประทุษร้าย หรือโดยท�ำให้บคุ คลนัน้ อยูใ่ นภาวะทีไ่ ม่สามารถขัดขืนได้” อันมีความเข้มข้นในการแสวงหา ประโยชน์โดยมิชอบจากลูกจ้างยิ่งกว่าความสัมพันธ์ในลักษณะ ลูกจ้างนายจ้างในกรณีปกติ การไกล่เกลีย่ ข้อพิพาทคดีแรงงานจึงต้องไม่ละเลยในข้อ เท็จจริงดังกล่าวแม้กระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทคดีแรงงาน ในศาลแรงงานจะก�ำหนดเจตนารมณ์และวิธกี ารไว้อย่างชัดเจน แล้วว่าเพือ่ รักษาและระงับข้อพิพาทด้วยความเข้าใจอันดีระหว่าง ลูกจ้างและนายจ้าง แต่ทางโครงการมีความเห็นว่าไม่สามารถ ใช้ได้ในบริบทของคดีค้ามนุษย์อันลูกจ้างถูกกระท�ำในฐานะ ผูเ้ สียหายในคดีอาญาด้วย โดยลูกจ้างจึงมิได้ถอื สิทธิในฐานะลูกจ้าง ในคดีแรงงานเพียงฐานะเดียวประกอบกับลูกจ้างในคดีแรงงาน ก็มไิ ด้สมัครใจก่อความสัมพันธ์ในฐานะลูกจ้างกับนายจ้างตัง้ แต่ตน้ และทุกครัง้ ทีม่ กี ารใช้กระบวนการการไกล่เกลีย่ ผูไ้ กล่เกลีย่ เจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องเองก็ละเลยที่จะตระหนักและไม่ค้นคว้าถึงข้อเท็จจริง ทีล่ กู จ้างถูกบังคับใช้แรงงานมาเป็นเงือ่ นไขหนึง่ ในการไกล่เกลีย่ ด้วย ยิง่ ตอกย�ำ้ ถึงความไม่สมเจตนารมณ์ตามมาตรา 38 พระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาความศาลแรงงาน พ.ศ. 2522 ดังนั้น จึงควรมีการพิจารณาต่อไปว่าแท้จริงแล้วกระบวน การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทคดีแรงงานในศาลแรงงานที่เป็นส่วนหนึ่ง ของคดีค้ามนุษย์ควรมีอยู่หรือไม่และขอบเขตควรเป็นเช่นไรถึงจะ มีความเหมาะสมและไม่เป็นการละเมิดสิทธิของลูกจ้างซ�้ำสอง และไม่เป็นกระบวนการละเมิดกฎหมายและกระบวนการยุตธิ รรม เสียเอง


เครือข่ายประชากรข้ามชาติส่งหนังสือเปิดผนึกถึงรัฐบาลกรณีแรงงานข้ามชาติท�ำงานครบก�ำหนดวาระ 4 ปี4 1) มาตรการฯ ดังกล่าวสามารถแก้ ไขปั ญหาการขาดแคลนแรงงานโดยเฉียบพลันโดยเฉพาะใน ภาคการผลิตที�มีการใช้ แรงงานเข้ มข้ น อาทิ ภาคอุตสาหกรรมประมงทะเลต่อเนื�อง ภาคการก่อสร้ าง ที�มีการ จ้ างงานแรงงานข้ ามชาติเป็ นจํานวนมากและแรงงานเหล่านัน� ส่วนใหญ่ ได้ ทํ างานในประเทศไทยครบ กําหนดวาระ 4 ปี ซึ�งการขาดแคลนแรงงานข้ ามชาติจํานวนมาก ในขณะที�ไม่สามารถจ้ างแรงงานคนชาติ มาแทนที�ได้ จะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจมหภาคของไทยอย่างหลีกเลี�ยงไม่ได้

จดหมายเปิ ดผนึก วันที� 27 กุมภาพันธ์ 2557 เรื�อง ข้ อเสนอเครือข่ายประชากรข้ ามชาติ ต่อแนวทางแก้ ไขปั ญหาแรงงานข้ ามชาติซงึ� ครบกําหนดวาระการ จ้ างงาน 4 ปี

2) มาตรการฯ ดังกล่าวจะเป็ นหลัก ประกัน ที�สําคัญ ในความต่อเนื� องและชัดเจนในนโยบายการ บริหารจัดการแรงงานข้ ามชาติ ซึ�งสอดคล้ องกับเจตนารมณ์พื �นฐานและความพยายามของรัฐบาลที�ผา่ นมา ในการแก้ ไขปั ญหาแรงงานข้ ามชาติหลบหนีเข้ าเมืองและส่งเสริมการมีสถานภาพทางกฎหมายของแรงงาน ข้ ามชาติจากประเทศเพื�อนบ้ าน

เรียน ฯพณฯท่ านนายกรัฐมนตรี สําเนาถึง 1. รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงแรงงาน 2.อธิบดีกรมจัดหางาน 3.เลขาธิการสภาความมัน� คงแห่งชาติ 4. ผู้บญ ั ชาการสํานักงานตํารวจแห่งชาติ 5. ผู้บญ ั ชาการสํานักงานตรวจคนเข้ าเมือง 6.ประธานคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย 7. ประธานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

เพื�อให้ แนวทางการดําเนินการแก้ ไขปั ญหากรณีแรงงานครบกําหนดวาระ 4 ปี สอดคล้ องต่อสภาพ ปั ญหาและข้ อเท็จจริ งที�เกิดขึ �น เครื อข่ายฯ ขอเสนอแนวทางแก้ ไขปั ญหาที�เพิ�มเติมเพื�อขอให้ ท่านร่วมกับ กระทรวงแรงงาน และหน่วยงานที�เกี�ยวข้ องจักได้ พิจารณาทบทวนแก้ ไขแนวทางดําเนินการฯ ให้ เหมาะสม ดังต่อไปนี � 1. เสนอให้ คณะรัฐมนตรีชดุ รักษาการพิจารณาออกมติคณะรัฐมนตรีเพื�อพิจารณาอนุมตั ิผอ่ นผันให้ แรงงานข้ า มชาติ ที� อ ยู่ใ นราชอาณาจัก รเกิ น ระยะเวลาที� ไ ด้ รั บ อนุญ าต สามารถเดิ น ทางออกนอก ราชอาณาจัก รโดยไม่ถูก จับ กุมดําเนิ น คดีระหว่า งการเดิน ทาง เพื� อ ให้ ก ารนํ าเข้ าแรงงานข้ ามชาติที� มี สถานภาพถูกต้ องตามกฎหมายเป็ นไปอย่างมีป ระสิท ธิภาพ ทัง� นีร� ะยะเวลาการผ่อนผัน ให้ เป็ นไปตาม ระยะเวลาที� คณะรัฐ มนตรี ชุดรั ก ษาการสามารถปฏิบัติ ห น้ าที� ได้ อาทิ ให้ มี ก ารผ่อนผัน โดยมี กํ าหนด ระยะเวลา 3-6 เดือนนับจากวันที�มีมติที�ประชุมของคณะรัฐมนตรี เป็ นต้ น

อ้ างถึง หนังสือ กรมการจัดหางาน เลขที� รง 0307/4936 ลงวันที� 11 กุมภาพันธ์ 2557 ตามที�กรมการจัดหางาน ออกหนังสือด่วน เลขที� รง 0307/4936 ลงวันที� 11 กุมภาพันธ์ 2557 เรื�อง การดําเนินการกับแรงงานเมียนมาที�ผา่ นการพิสจู น์สญ ั ชาติซงึ� จะครบกําหนดวาระการจ้ างงาน 4 ปี ถึง ผู้วา่ ราชการจังหวัดทุกจังหวัด และผู้อํานวยการสํานักจัดหางานกรุงเทพ เขตพืน� ที� ๑ – ๑๐ เพื�อดําเนินการ ตามแนวทางที�กรมฯ กําหนดไว้ นัน�

2. เสนอให้ รัฐบาลพิจารณานํามาตรา 54 แห่งพระราชบัญญัติคนเข้ าเมือง พ.ศ. 2522 เพื�อเป็ น ช่องทางอนุญาตให้ แรงงานข้ ามชาติที�อยู่ในราชอาณาจักรเกินระยะเวลาที�ได้ รับอนุญาต สามารถอาศัยอยู่ ในราชอาณาจักรได้ เป็ นการชัว� คราว ในกรณีมีข้อจํากัดตามข้ อ 1

เครือข่ายประชากรข้ ามชาติ มีความยินดีต่อความมุ่งมัน� ของกรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน ในการบริหารจัดการแรงงานข้ ามชาติสามสัญชาติ โดยเฉพาะความสําเร็จในเรื� องการปรับสถานะแรงงาน ข้ ามชาติให้ ก ลายเป็ นแรงงานที�เข้ าเมืองถูกกฎหมาย แต่อย่างไรก็ดี สถานการณ์ ด้านการเมืองที�ไม่ปกติ นับตังแต่ � เดือนตุลาคม พ.ศ. 2556 เป็ นต้ นมา ส่งผลต่อการชะงักงันในการบริ หารจัดการแรงงานข้ ามชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ�งกรณีแรงงานข้ ามชาติที� ได้ รับอนุญาตให้ ทํางานและครบกํ าหนดวาระ 4 ปี จากการ ประเมินสถานการณ์ดงั กล่าว เครือข่ายฯ ขอเรียนว่า การจัดทํามาตรการการแก้ ไขปั ญหากรณีแรงงานข้ าม ชาติที�ครบกําหนดวาระ 4 ปี อย่างรอบด้ านถือเป็ นกรณีเร่งด่วนและสําคัญ เนื�องจาก

3. เสนอให้ รัฐบาลหารือกับรัฐบาลประเทศต้ นทางเพื�อร่วมทบทวนหลักการการนําเข้ าแรงงานข้ าม ชาติอย่างถูก ต้ องตามกฎหมาย ( MoU) โดยเฉพาะในช่วงเปลี�ยนผ่านทางการเมืองของทัง� สองประเทศ ได้ แก่ 3.1 การร่วมหารื อให้ มีการผ่อนผันให้ ใช้ หนังสือเดินทางแบบชั�วคราวเพื�อการนําเข้ าแรงงานข้ าม ชาติฯ เพือบรรเทาผลกระทบในเบือ� งต้ น โดยให้ หนังสือเดินทางดังกล่าวมีระยะเวลาไม่น้อยกว่า 2 ปี ซึ�ง

ระหว่างการจ้ างงานในประเทศไทยให้ แรงงานมีหน้ าที�ดําเนินการเพื�อให้ ได้ มาซึ�งหนังสือเดินทางแบบปกติ โดยควรเปิ ดให้ ดําเนินการเรื�องการนําเข้ าแรงงานตาม MoU ได้ ที�ศนู ย์บริการเบ็ดเสร็จในพืน� ที�ชายแดนเพื�อ ลดระยะเวลาการดําเนินการให้ สนลง ั � และ/หรือ 3.2 การขอความร่วมมือกับสถานทูตของประเทศต้ นทางเพื�อพิจารณาออกเอกสารรับรองตัวบุคคล (Certificate of Identification –CI) แก่แรงงานที�ทํางานครบตามกําหนดวาระ 4 ปี แล้ ว และต้ องเดินทางไป ยังชายแดน เพื�อมิให้ ต้องถูกจับกุมดําเนินคดี เครือข่ายฯ ขอสนับสนุนให้ รัฐบาลกําหนดยุทธศาสตร์ เชิงรุก และชี �ให้ ประเทศเพื�อนบ้ านเห็นถึงผลดีผลเสียของการดําเนินการดังกล่าว โดยคํานึงถึงผลประโยชน์สงู สุด ของนายจ้ าง แรงงาน และรัฐบาลของทังสองประเทศ � เป็ นหลัก เครือข่ายฯ หวังเป็ นอย่างยิ�งว่าท่านและหน่วยงาน จะพิจารณาข้ อเสนอดังกล่าวถึงผลกระทบเชิง บวกและเชิงลบจากกรณีดงั กล่าวอย่างรอบด้ าน และพิจารณาข้ อเสนอของเครือข่ายฯ ประกอบการทบทวน แก้ ไขปั ญหาเพื�อให้ การดําเนินนโยบายการนําเข้ าแรงงานข้ ามชาติเป็ นไปอย่างต่อเนื�องและมีประสิทธิภาพ สูงสุด จึงเรียนมาเพื�อโปรดพิจารณาดําเนินการ ขอแสดงความนับถือ (ปรีดา ทองชุมนุม) ผู้ประสานงาน ด้ านสิทธิแรงงาน ติดต่ อข้ อมูลเพิ�มเติม: นางสาวปรีดา ทองชุมนุม โทรศัพท์ 089 459 0212

วันที่ 25 มีนาคม 2557 คณะรัฐมนตรี มีมติที่ประชุมเพื่อแก้ไขปัญหาแรงงาน ต่างด้าวสัญชาติเมียนมา ลาว และกัมพูชา ที่ผ่านการพิสูจน์สัญชาติซึ่งครบก�ำหนด วาระการจ้างงาน 4 ปี โดยผ่อนผันให้แรงงานต่างด้าวสัญชาติเมียนมา ลาว และ กัมพูชา ที่ได้รับการพิสูจน์สัญชาติซึ่งครบก�ำหนดวาระการจ้างงาน 4 ปี ที่ถือ หนังสือเดินทาง (Passport) หนังสือเดินทางชัว่ คราว (Temporary Passport) หรือ เอกสารรับรองบุคคล (Certificate of Identity) แต่อาศัยอยู่ในราชอาณาจักรเกิน กว่าระยะเวลาที่ได้รับอนุญาต อยู่ในราชอาณาจักรเป็นกรณีพิเศษเป็นเวลา 180 วัน หรือจนกว่าจะมีคณะรัฐมนตรีชดุ ใหม่ทสี่ ามารถปฏิบตั หิ น้าทีไ่ ด้ เพือ่ ให้นายจ้าง พาแรงงานต่างด้าวไปขอรับการตรวจลงตราและประทับตราอนุญาตให้อยู่ใน ราชอาณาจักร ขอรับใบอนุญาตท�ำงาน ตามขั้นตอนและสถานที่ที่กรมการจัดหา งานก�ำหนด http://www.thaigov.go.th/th/media-centre-governmenthouse/news-summary-cabinet-meeting/item/83041-25-%E0%B8%A1 %E0%B8%B5%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8 %A1-2557.html 4

จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 7


สถานการณ์ดา้ นคดี ทีน่ า่ สนใจ

เด็กหญิงกะเหรี่ยงสองราย ที่ท�ำงานรับใช้ในบ้าน ได้รับการช่วยเหลือออกจากบ้านของนายจ้างแล้ว

มือ่ ช่วงเดือนสิงหาคม 2556 ได้มแี รงงานข้ามชาติซง่ึ เป็นผูป้ กครอง ของเด็กหญิงสองราย เข้าร้องเรียนต่อมูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชน และการพัฒนา ว่าบุตรสาวของตนได้เดินทางไปทำ�งานเป็นเด็กรับใช้ ในบ้านแก่นายจ้างคนไทยในพืน้ ทีจ่ งั หวัดตาก และต่อมาไม่ประสงค์ ทีจ่ ะให้บตุ รสาวทัง้ สองคนทำ�งานกับนายจ้างต่อไป ทางมูลนิธฯิ ได้ ดำ�เนินการประสานไปยังฝ่ายนายจ้างเพื่อแจ้งความประสงค์ของ ผูป้ กครองทีต่ อ้ งการให้เด็กออกจากงาน ทางฝ่ายนายจ้างได้ตอ่ รอง โดยการผ่อนผันเรื่องการให้เด็กออกจากงาน แต่จนกระทั่งเดือน มกราคม 2557 นายจ้างยังไม่อนุญาตให้เด็กทั้งสองออกจากงาน ทางมูลนิธิฯจึงได้นำ�ผู้ปกครองเด็กไปแจ้งความกับพนักงานตำ�รวจ พร้อมทั้งแจ้งให้เจ้าหน้าที่จากกระทรวงพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย์ในพื้นที่จังหวัดตาก เข้ามาช่วยเหลือ จนสามารถ นำ�เด็กทั้งสองคืนแก่ครอบครัวได้ โดยเมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2557 ตัวแทน มูลนิธิฯ ได้ร่วม สั ง เกตการณ์ ก ระบวนการให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ เด็ ก เพื่ อ คื น กลั บ แก่ครอบครัว และอ�ำนวยการให้เด็กสามารถเดินทางกลับประเทศ ต้นทางได้โดยการประสานงานกับเจ้าหน้าทีส่ ำ� นักตรวจคนเข้าเมือง อ�ำเภอแม่สอด และบ้านพักเด็กเบกาทิพย์ ตั้งอยู่ที่ฝั่งชายแดน ประเทศพม่า ปัจจุบันนี้เด็กทั้งสองได้กลับถึงบ้านอย่างปลอดภัย และอยู่ในการดูแลของผู้ปกครองเด็กทั้งสองคนแล้ว

สังคม จังหวัดล�ำพูนได้ออกค�ำสั่งเลขที่ ลพ 0030/5066 ลงวันที่ 3 กันยายน 2556 ให้ลูกจ้างสามารถได้รับค่าท�ำศพ จ�ำนวน 30,000 บาท เงินทดแทนกรณีเสียชีวิต จากกองทุนฯ เป็นเงิน 449,280 บาท และวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2557 มารดาของนายจายส่ายุ่น ได้รับเงินทดแทนที่ส�ำนักงานประกันสังคม จังหวัดล�ำพูนแล้ว การยื่นค�ำร้องขอรับเงินทดแทนครั้งนี้ ปรากฏหลักฐานว่า นายจ้างของนายจายส่​่ายุ่น ได้น�ำลุูกจ้างขึ้นทะเบียนกับประกัน สังคม จังหวัดล�ำพูน และกรณีนี้นายจ้างเป็นผู้มีหน้าที่ต้องจ่ายเงิน สมทบ ดังนัน้ ส�ำนักงานประกันสังคม จึงได้ให้นายจ้างขึน้ ทะเบียน ลูกจ้างในกองทุนเงินทดแทนในคราวเดียวกัน ซึ่งกรณีดังกล่าวนี้ นับเป็นความก้าวหน้าของเจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยปฏิบตั ใิ นการตรวจสอบให้ นายจ้างปฏิบัติตามกฎหมายเงินทดแทน จึงส่งผลให้ส�ำนักงาน ประกั น สั ง คมออกหนั ง สื อ แจ้ ง ค� ำ สั่ ง ให้ ลู ก จ้ า งสามารถเข้ า ถึ ง เงินทดแทนจากกองทุนได้ เมือ่ เปรียบเทียบกับเรือ่ งร้องเรียนทีท่ าง มูลนิธฯิ ได้รบั ในรอบหลายปีทผี่ า่ นมาทีล่ กู จ้างไม่สามารถเข้าถึงเงิน กองทุนเงินทดแทนได้ เมื่อส�ำนักงานประกันสังคมพบว่านายจ้าง ผูม้ หี น้าทีต่ อ้ งจ่ายเงินสมทบไม่ได้ดำ� เนินการน�ำลูกจ้างขึน้ ทะเบียน และจ่ายเงินสมทบ อีกทัง้ ส�ำนักงานประกันสังคมเองก็มไิ ด้ดำ� เนินการ ตามกฎหมายให้นายจ้างจ่ายเงินย้อนหลังตามมาตรา 46 แห่ง พ.ร.บ.เงินทดแทน แต่กลับออกค�ำสั่งให้นายจ้างเป็นผู้รับผิดชอบ ในการจ่ายเงินทดแทนนั้นให้แก่ลูกจ้าง ซึ่งนับว่าเป็นการขัดต่อ หลักเจตนารมณ์ของ พ.ร.บ. เงินทดแทน พ.ศ. 2537 และยังเป็น การปฏิบัติที่แตกต่างกับกรณีแรงงานไทย ที่พบว่า แม้นายจ้าง จะยังไม่ได้จ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนเงินทดแทน แต่ส�ำนักงาน ประกันสังคม ก็สามารถออกหนังสือแจ้งค�ำสั่งให้แรงงานไทย เข้าถึงเงินทดแทนดังกล่าวได้ เช่นนี้ ย่อมถือว่าเป็นการเลือกปฏิบตั ิ ที่ขัดต่ออนุสัญญาไอแอลโอ ฉบับที่ 19 อีกด้วย

(ภาพกระบวนการส่งเด็กกลับประเทศพม่า โดยความช่วยเหลือ จากกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์)

ญาติแรงงานชาวไทใหญ่ ได้รบั เงินทดแทนจากกองทุน เงินทดแทน จากเหตุเสียชีวิตระหว่างการท�ำงาน นายจายส่ายุน่ แรงงานข้ามชาติ อายุ 33 ปี ซึง่ เป็นแรงงาน ก่อสร้างของบริษทั ปาณัท เอ็นจิเนียริง่ จ�ำกัด จังหวัดล�ำพูน ประสบ อันตรายจากท�ำงาน เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2556 เป็นเหตุให้ นายจายส่ายุน่ เสียชีวติ วันถัดมาทางมูลนิธเิ พือ่ สิทธิมนุษยชนและ การพัฒนาพร้อมตัวแทนเครือข่ายสหพันธ์แรงงานข้ามชาติ (MWF) ได้นำ� ญาติของจายส่ายุน่ ยืน่ ค�ำร้องต่อส�ำนักงานประกันสังคม เพือ่ ขอรับเงินทดแทนจากกองทุนเงินทดแทน ต่อมาส�ำนักงานประกัน 8 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

(ภาพ: มารดานายจายส่ายุ่น รับเงินทดแทนจากส�ำนักงานประกันสังคม จังหวัดล�ำพูน)


(ภาพซ้าย: การเจรจาต่อรองระหว่างตัวแทนลูกจ้าง นายจ้าง และตัวแทนจากมูลนิธิฯและเครือข่ายเพื่อสิทธิแรงงานข้ามชาติ ภาพขวา: ภาพหลังจากการเจรจาต่อรองยุติ และลูกจ้างตกลงรับเงินค่าแรงจากฝ่ายนายจ้าง)

ลูกจ้างจากบริษัทรับเหมาช่วง ได้รับเงินชดเชยกรณี ค้างจ่ายตามกฎหมายคุม้ ครองแรงงาน พร้อมทัง้ ออกใบแจ้งออกให้ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร เลิกจ้าง กับคนงานเพื่อให้สามารถไปสมัครงานกับนายจ้างคนใหม่ได้ กรณีที่ 1 เมื่อ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2557 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์ อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) ไม่อนุญาตให้ลกู จ้างซึง่ เป็นแรงงานข้ามชาติ จ�ำนวน 75 ราย ท�ำงานต่อไปได้ โดยสาเหตุของการไม่อนุญาตให้ ลูกจ้างเข้ามาท�ำงานยังไม่ชัดเจน ท�ำให้ตัวแทนลูกจ้างได้ร้องเรียน กรณีดังกล่าวนี้ต่อเครือข่ายเพื่อสิทธิแรงงาน (MWRN) เพื่อให้ การช่วยเหลือกรณีแรงงานไม่สามารถเข้าไปท�ำงานได้ตามปกติ ต่อมาวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2557 ได้มีตัวแทนจากส�ำนักงาน สวัสดิการสังคม ตัวแทนนายจ้าง ลูกจ้าง และตัวแทนจากเครือข่าย เพื่อสิทธิแรงงาน และมูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ร่ ว มเจรจาเพื่ อ หาทางออกต่ อ กรณี ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากผลการให้ ความช่วยเหลือจากการเจรจาต่อรอง ท�ำให้ฝา่ ยนายจ้างและลูกจ้าง สามารถตกลงกันได้ โดยฝ่ายนายจ้าง ตกลงยอมจ่ายเงินให้กับ แรงงาน ในอัตรา 75 เปอร์เซ็นต์ ของค่าจ้างในวันท�ำงาน จากเหตุ ที่นายจ้างไม่สามารถประกอบกิจการได้ตามปกติ สืบเนื่องจาก วัตถุดิบที่บริษัทใช้ในการแปรรูปอาหารมีความขาดแคลน

กรณีที่ 2 เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2557 บริษัทเจริญโภคภัณฑ์อาหาร ได้เลิกจ้างแรงงานพม่าจ�ำนวน 1,200 คน แต่เนื่องจากสาเหตุของ การเลิกจ้างยังไม่ชดั เจน จึงท�ำให้ตวั แทนแรงงานได้ขอความช่วยเหลือ ในการให้ค�ำปรึกษาด้านกฎหมายจากเครือข่ายเพื่อสิทธิแรงงาน ข้ามชาติ (MWRN) และมูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา (HRDF) กระทัง่ มีกระบวนการเจรจากับฝ่ายนายจ้างและฝ่ายลูกจ้าง กรณี ก ารเลิ ก จ้ า งและการจ่ า ยเงิ น ชดเชยตามพระราชบั ญ ญั ติ คุ้มครองแรงงาน โดยทางลูกจ้าง และนายจ้าง สามารถเจรจาและ ตกลงกันได้และวันที่ 25 มีนาคม 2557 ฝ่ายนายจ้างได้แจ้ง ให้ลูกจ้างจ�ำนวนดังกล่าว ทราบว่านายจ้างจะท�ำการเลิกจ้างโดย ให้มผี ลในวันที่ 10 เมษายน 2557 พร้อมจ่ายค่าชดเชยและค่าแรง

นายชานวินอ่อง ตัวแทนฝ่ายแรงงาน เห็นว่า มีความ พึงพอใจต่อการคุม้ ครองแรงงานตามกฎหมายไทยของฝ่ายนายจ้าง ท�ำให้ตนได้รับค่าชดเชยที่เป็นธรรม อีกทั้งอยากเรียกร้องให้ ผู ้ ป ระกอบการอื่ น ๆ และเจ้ า หน้ า ที่ ข องรั ฐ ให้ ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ การคุ้มครองแรงงานตามกฎหมาย อันจะท�ำให้ตนและเพื่อน ร่วมงานคนอื่นๆ มีความตั้งใจที่จะท�ำงานเพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการ พัฒนาเศรษฐกิจของไทยต่อไป

ศาลแพ่ง รัชดา นัดสืบพยานศัลยแพทย์ ในคดีท่ี มารดา ด.ญ.แอร์ เป็นโจทก์ยื่นฟ้องเรียกค่าเสียหาย นายจ้าง ข้อหาท�ำร้ายร่างกาย เมือ่ วันที่ 10 มีนาคม 2557 ช่วงบ่าย ศาลแพ่ง รัชดา ได้นดั สืบพยานคดีเด็กหญิงแอร์ ซึ่งเป็นการส่งประเด็นจากศาลจังหวัด ก�ำแพงเพชร จ�ำนวน 1 ปาก โดยทนายความโจทก์ ได้นำ� นายแพทย์ อาทิ เครือวิทย์ ขึ้นเบิกความ เป็นพยาน สรุปว่า นายแพทย์อาทิ รับราชการต�ำแหน่งศัลยแพทย์ โรงพยาบาลรามาธิบดี โดยเมื่อ ปี 2556 นายแพทย์อาทิ ได้รับเด็กหญิงแอร์ ไม่มีนามสกุล ไว้เพื่อ ท�ำการรักษาบาดแผลตามร่างกายที่พบว่า ร่างกาย เด็กหญิงแอร์ มีลักษณะเป็นแผลนูนทั่วร่างกาย โดยเฉพาะที่แขนและหน้าอก ทั้งบริเวณไหล่ด้านซ้าย ล�ำตัวเล็กน้อย บริเวณขา ซึ่งลักษณะแผล นูน น่าจะเกิดจากการโดนของร้อนกระจัดกระจาย แขนด้านซ้าย งอเข้าล�ำตัวในลักษณะติดล�ำตัวไม่สามารถเหยียดยื่นได้ อันเป็น ผลข้างเคียงหรือโรคแทรกซ้อนจากของร้อน มิใช่เป็นมาแต่ก�ำเนิด ลั ก ษณะของบาดแผลจะเป็ น แผลเป็ น ติ ด ตั ว ไปตลอดชี วิ ต นายแพทย์ฯ จึงได้ดำ� เนินการรักษาโดยการผ่าตัดแก้ไขความพิการ ในหลายจุด เช่น บริเวณแขนทีง่ อแขนข้อศอกไม่ได้ ตัดแต่งบริเวณ ผิวที่ถูกท�ำลายเซลล์รากผม เช่น ที่ศีรษะ ขา และเท้าด้านซ้าย อย่างไรก็ตามแม้เด็กหญิงแอร์จะได้รับการศัลยกรรมและมีสภาพ ร่างกายที่ดีขึ้นแต่จะไม่หายเป็นปกติเหมือนเดิม

จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 9


(ภาพบรรยากาศการเจรจาระหว่างตัวแทนฝ่ายนายจ้างและลูกจ้าง)

นอกจากนีน้ ายแพทย์ฯยังให้การถึงสภาพจิตใจของเด็กหญิง แอร์ ด้วยว่า ในช่วงแรกทีเ่ ริม่ ท�ำการรักษานัน้ เด็กหญิงแอร์ มีความ กังวล ไม่กล้าพูดคุยกับใคร ซึ่งใช้เวลาค่อนข้างนาน ดังนั้นจึงมี แพทย์เด็กเข้ามาดูแลเพิ่มเติมด้านสภาพจิตใจ ท�ำให้สภาพจิตใจ ของเด็กหญิงแอร์ดีขึ้น แต่ไม่ได้หมายความว่าผู้ป่วยจะได้รับ การฟืน้ ฟูจนกระทัง่ หายเป็นปกติได้ เพราะความทรงจ�ำขณะได้รบั การบาดเจ็บย่อมไม่อาจหายขาดได้ หลังเสร็จสิน้ การสืบพยานโจทก์ ปากนายแพทย์แล้ว ในการสืบพยานโจทก์ที่เหลือศาลจังหวัด ก�ำแพงเพชรได้ก�ำหนดวันนัดสืบ วันที่ 8 เมษายน 2557

เมืองยางกุง

คดีนี้หลังจากที่มารดาเด็กหญิงแอร์ เป็นโจทก์ยื่นฟ้อง เรียกค่าเสียหายต่อนายจ้างของเด็กหญิงแอร์ คือนายนที แตงอ่อน และนางสาวรัตนากร ปิยะวรรธรรม เมือ่ เดือนกันยายน 2557 แล้ว (รายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวการฟ้องคดีแพ่ง http://hrdfoundation.org/?p=805) ปรากฎว่านายจ้างทั้งสองรายยังอยู่ระหว่าง การหลบหนีภายหลังได้รบั การปล่อยชัว่ คราวในคดีอาญา นายจ้าง ทั้งสองจึงไม่ได้ยื่นค�ำการและมิได้มาศาลในวันนัดไกล่เกลี่ย และ สืบพยานในครั้งแรก ดังนั้นในการสืบพยานคดีแพ่งนี้ จึงเป็น การสืบพยานโดยที่ฝ่ายนายจ้างไม่มาปรากฎตัวต่อหน้าศาลหรือ ตั้งทนายความมาซักค้านพยานของฝ่ายโจทก์

เรื่องเลา จากเมืองยางกุง

สุนิดา ปิยกุลพานิชย์5

จ สุนิดา ปิยกุลพานิชย์

5

สุนิดา ปิยกุลพานิชย์ เจ้าหน้าที่มูลนิธิ เพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ปัจจุบัน ศึกษาดูงานด้านการให้ความช่วยเหลือคดี ที่ ส� ำ นั ก งานทนายความ ประเทศพม่ า ในโครงการ Fredskorpset Exchange Program (FK-Program)

ากประสบการณ์ที่อยู่ในเมืองย่างกุ้งประเทศเมียนมาร์เป็นระยะเวลากว่า 7 เดือนแล้ว ได้มโี อกาสศึกษาและเรียนรูว้ ฒ ั นธรรมในด้านต่างๆ ของชาวพม่า ซึง่ อาจจะแตกต่างจากไทย ไปบ้างแต่ก็ไม่มากนัก โดยเฉพาะในเรื่องของอารมณ์และความรู้สึก เนื่องด้วยไม่เคยมีโอกาส อยู่ในสังคมที่เต็มไปด้วยชาวต่างชาติไม่ว่าจะเป็นเอเชียด้วยกันหรือตะวันออกอย่างฝรั่งก็ตามมา ก่อน ซึ่งเมื่อก่อนมักมองว่าเค้าเหล่านั้นแตกต่างกับเราอยู่เสมอไม่เคยทำ�ความเข้าใจว่าถึงแม้จะ ต่างเชื้อชาติ ต่างศาสนา ต่างวัฒนธรรมแต่ทุกคนก็เป็นมนุษย์ที่มีอารมณ์ความรู้สึกพื้นฐานที่ เหมือนๆ กัน อยากได้สิ่งดีๆ และต้องการสิ่งดีๆ ด้วยเหมือนๆ กัน ในช่วงเริ่มแรกที่ได้มาอยู่ย่างกุ้ง ยอมรับเลยว่าต้องท�ำความเข้าใจกับตัวเองและพยายาม ปรับตัวอย่างมาก กว่าจะผ่าน 3 เดือนแรกไปอย่างราบเรียบ ด้วยอะไรหลายๆ อย่างที่แตกต่าง จากความคุ้นเคยหรือเคยชินของเราอาจมีชอบบ้างไม่ชอบบ้าง และที่ส�ำคัญการเผชิญหน้ากับ ความโดดเดี่ยวที่แสนจะยากล�ำบากส�ำหรับคนที่ไม่เคยอยู่คนเดียวมาก่อน รวมถึงการสื่อสาร ก็ค่อนข้างมีอุปสรรคไม่ว่าจะเป็นภาษาอังกฤษเนื่องด้วยส�ำเนียงเรามาแบบไทยและส�ำเนียง เค้ามาแบบพม่าอีกอย่างเราก็ไม่ได้เก่งอังกฤษเลย ความหวังสุดท้ายของเราก็คือภาษาพม่าแต่ ปรากฏว่า เค้าก็ฟงั ไม่คอ่ ยรูเ้ รือ่ งอาจเป็นเพราะเราพูดไม่ชดั และบางครัง้ ก็จบั ใจความไม่ได้ คนพูด อย่างเราก็ท้อใจ คนฟังก็เหนื่อยใจ เลยท�ำให้ท้อใจเอามากๆ ส�ำหรับช่วงเริ่มแรก แต่ด้วยก�ำลังใจ จากครอบครัว พี่ๆ ในองค์กร รวมถึงพี่ๆ น้องที่เรารู้จักเลยท�ำให้ผ่านจุดนั้นมาได้

10 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


สภาพบ้านเมืองทีน่ คี้ นส่วนใหญ่คอ่ นข้างจะใช้ชวี ติ ทีเ่ รียบง่าย มื้อเช้าส่วนมากคือชาหรือไม่ก็กาแฟไม่นิยมทานข้าวในมื้อเช้า อาหารยามว่างก็คอื ขนมจีน ทีเ่ รียกกันในนามว่า โม่งฮิงกา การถือ ปิ่นโตไปท�ำงานหรือไปเรียนยังเป็นกิจวัตรประจ�ำวันของคนที่นี่ วัฒนธรรมการกินหมากก็ยงั คงสืบทอดกันมาแต่โบราณ การแต่งกาย ซึง่ เป็นเอกลักษณ์ประจ�ำชาติไม่วา่ จะเป็นชายหญิง เด็กเล็กไปจนถึง คนชราเรียกได้ว่าทุกรุ่นทุกวัยกันเลยทีเดียว คือการนุ่งลงจี หรือ ที่บ้านเรารู้จักในนามว่า ผ้าถุง นั่นเอง สภาพความเป็นอยูข่ องชาวพม่าทีน่ ี่ จะเห็นได้ชดั ว่าช่องว่าง ความแตกต่ า งระหว่ า งคนรวยกั บ คนจนค่ อ นข้ า งชั ด เจนกว่ า เมืองไทยมาก อาจเป็นเพราะพม่าเริ่มเปิดประเทศได้ไม่นาน และ อยู่ในช่วงก�ำลังพัฒนา ที่ส�ำคัญคือพม่าเป็นประเทศที่เต็มไปด้วย แหล่งทรัพยากรธรรมชาติต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ก๊าซธรรมชาติ เพชร พลอย ทองค�ำ อัญมนีต่างๆ จึงเป็นที่จับจ้องของนักลงทุนจาก ประเทศต่างๆ ที่หมายจะมากอบโกยผลประโยชน์ ประกอบกับ ค่าแรงของแรงงานในประเทศที่ค่อนข้างต�่ำเมื่อเทียบกับประเทศ อื่นๆ ในภูมิภาคเดียวกัน ทรัพยากรธรรมชาติส่วนใหญ่ถูกผูกติด อยูก่ บั รัฐบาล ประชาชนไม่มสี ทิ ธิม์ เี สียงไม่วา่ จะได้รบั ผลกระทบใด ก็ตาม อย่างเช่น บางคนที่มีทีดินอยู่เหนือโครงการลงทุนต่างๆ ที่ กิจกรรมที่น่าสนใจ

วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2557 ผู้แทน HRDF ร่วมประชุมกับ ผู้แทนไทยในคณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วย สิทธิมนุษยชน (ASEAN Intergovernmental Commission on Human Rights: AICHR) เพื่อร่วมหารือและแลกเปลี่ยน ความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ กรอบการท� ำ งานและกิ จ กรรมที่ ท าง ผูแ้ ทนไทยสามารถด�ำเนินการร่วมกันกับเครือข่ายภาคประชาสังคม ในปี พ.ศ. 2557

รัฐบาลพม่าได้ท�ำสัญญากับบริษัทต่างชาติไว้ก็จะถูกเวนคืนที่ดิน ประชาชนบางรายไม่ได้แม้กระทั่งค่าชดเชยใดๆ เมื่อไม่สามารถ ท�ำไร่นาได้แล้วก็ตอ้ งดิน้ รนท�ำมาหากินต่อไปตามเมืองต่างๆ อย่าง เมืองย่างกุ้ง รวมถึงการไปเผชิญโชคชะตาในประเทศเพื่อนบ้าน อย่างไทยซึ่งมีชายแดนติดต่อกัน รวมถึงมาเลเซียด้วยที่มีสัดส่วน ของแรงงานชาวพม่าอยู่เป็นจ�ำนวนมาก แม้ว่าประเทศพม่าจะอยู่ในช่วงเปลี่ยนผ่านประชาธิปไตย แต่สภาพการถูกกดขีจ่ ากทางภาครัฐ การสูร้ บในพืน้ ทีค่ วามขัดแย้ง บางแห่ง และการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ต่างๆ ที่เข้ามาลงทุนในพม่า ท�ำให้ค่าครองชีพในประเทศขยับตัวสูงขึ้น แต่ค่าแรงที่ประชาชนในประเทศได้รับยังอยู่ในอัตราที่ต�่ำและ ไม่เพียงพอต่อการด�ำรงชีพ ปัญหาเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยผลักให้ ประชากรในพม่าเดินทางออกนอกประเทศเพื่อแสวงหางานท�ำ เพื่อความมั่นคงและความปลอดภัยในชีวิต ประสบการณ์ที่ข้าพเจ้า ได้เห็นและได้พูดคุยกับประชาชน ในพม่านี้ ท�ำให้ได้เรียนรูว้ า่ ประเทศใดก็ตามหากผูป้ กครองประเทศ ไม่ได้มีการปกครองโดยยึดหลักธรรมาภิบาลและหลักนิติธรรม ไม่เห็นความส�ำคัญของประชาชนในประเทศแล้ว ความเจริญและ ความอยู่ดีกินดีของพลเมืองก็เป็นไปด้วยความยากล�ำบาก วันที่ 11 มกราคม 2557 มสพ.ประจ� ำ จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ สนับสนุนเครือข่ายสหพันธ์แรงงาน ข้ามชาติ (MWF)จัดกิจกรรมเนื่อง ในวันเด็กแห่งชาติ โดยมีผู้เข้าร่วม งานกว่า 200 คน ซึ่งเป็นเด็กจาก ชุ ม ชนคนไทยและชุ ม ชนแรงงาน ข้ามชาติ ในพื้นที่บ้านยวม บ้าน นันทราม และบ้านศรีบุญเรือง วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2557 กลุ ่ ม นั ก ศึ ก ษาจากศู น ย์ ศึ ก ษา สั น ติ ภ าพและความขั ด แย้ ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Rotary Peace Center, Chulalongkorn University) จ�ำนวน 25 คน เข้ า เยี่ ย ม มสพ.ประจ� ำ พื้ น ที่ อ� ำ เภอแม่ ส อด เพื่ อ รั บ ทราบ ข้ อ มู ล การให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ด้านคดีและการอบรมให้ความรู้ ทางกฎหมายแก่แรงงานข้ามชาติ รวมทัง้ สถานการณ์ทวั่ ไปเกีย่ วกับแรงงานข้ามชาติในพืน้ ทีอ่ ำ� เภอ แม่สอด จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 11


วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2557 ผูแ้ ทน HRDF เข้าร่วมประชุมระดมสมอง เพื่อพัฒนาระบบการให้ความช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย จัดโดย คณะกรรมการปฏิรปู กฎหมาย โดยมีวตั ถุประสงค์ให้ผเู้ ข้าร่วมประชุมสามารถ แลกเปลี่ยนอภิปราย แสดงความคิดเห็นเพื่อแสวงหาแนวทางพัฒนาการ ให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายในคดีอาญาให้สอดคล้องกับหลักการของ รัฐธรรมนูญและหลักการสากล วันที่ 8 มีนาคม 2557 มสพ.ประจ�ำ จังหวัดเชียงใหม่ ร่วมกับเครือข่ายสหพันธ์ แรงงานข้ามชาติ (MWF) และเครือข่ายองค์กร พัฒนาเอกชนในจังหวัดเชียงใหม่จัดกิจกรรม วันสตรีสากลในพืน้ ทีจ่ งั หวัดเชียงใหม่ โดยการ เดินขบวนร่วมกันเพือ่ เป็นการแสดงสัญลักษณ์ เนื่องในวันสตรีสากล มีผู้เข้าร่วมเดินขบวน กว่า 300 คน นอกจากนีผ้ แู้ ทนแรงงานจากเครือข่ายสหพันธ์คนงานข้ามชาติ (MWF) ได้ขนึ้ เวทีแถลงความกังวลต่อผลกระทบของแรงงาน จากปัญหากลุ่มแรงงานที่ครบก�ำหนดวาระการจ้างงาน 4 ปี และเรียกร้องให้รัฐบาลหันมาแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นนี้ วันที่ 10 มีนาคม 2557 ตัวแทน HRDF เข้าร่วมประชุมว่าด้วยเรื่อง “มาตรการแก้ไขปัญหากรณีแรงงานข้ามชาติทผี่ า่ นการพิสจู น์สญ ั ชาติทคี่ รบก�ำหนด วาระการจ้างงาน 4 ปี” จัดโดย คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย การประชุมครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เข้าร่วมจากภาคต่างๆ เช่น ตัวแทนกระทรวงแรงงาน ส�ำนักงานตรวจคนเข้าเมือง ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ ตัวแทนฝ่ายนายจ้างและ องค์กรภาคประชาสังคม ร่วมแลกเปลี่ยนเพื่อแสดงความคิดเห็นและเสนอแนะ แนวทางแก้ไขปัญหาแก่แรงงานข้ามชาติทผี่ า่ นการพิสจู น์สญ ั ชาติและครบก�ำหนด วาระการจ้างงาน 4 ปี

วันที่ 11 มีนาคม 2557 หัวหน้าส�ำนักงานประกันสังคม office of Social security) และหัวหน้าส�ำนักงานสวัสดิการและ คุม้ ครองแรงงาน (office of labour protection and welfare) ประจ�ำจังหวัดสมุทรสาคร ได้เดินทางมาเยี่ยมส�ำนักงาน มสพ. ประจ�ำพื้นที่มหาชัย ทั้งนี้เจ้าหน้าที่มสพ.ได้มีโอกาสแลกเปลี่ยน สถานการณ์ แ รงงานข้ า มชาติ ที่ ค รบวาระการจ้ า งงาน 4 ปี และแนวทางในการท�ำงานร่วมมือกันระหว่างภาครัฐและภาค ประชาสังคมในการให้ความช่วยเหลือแรงงานข้ามชาติให้เข้าถึง การคุ้มครองสิทธิตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน 12 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

วันที่ 11 มีนาคม 2 5 5 7 ผู ้ แ ท น จ า ก ศู น ย์ วิ จั ย การย้ า ยถิ่ น แห่งเอเชีย สถาบันเอเชีย ศึ ก ษา จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย (Asian Research for MigrationInstitute of Asian Studies (IAS), Chulalongkorn University) ได้น�ำคณะนักศึกษา ห ลั ก สู ต ร ป ริ ญ ญ า โ ท เข้าเยีย่ มส�ำนักงาน มสพ. ประจ�ำพื้นที่มหาชัย เพื่อศึกษาและเรียนรู้การท�ำงานด้านการ ให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่แรงงานข้ามชาติ รวมทั้ง การลงพื้นที่เยี่ยมแรงงานข้ามชาติที่เป็นแรงงานประมง และ ศูนย์การเรียนรู้ของเด็กข้ามชาติ วัดเทพนรรัตน์ ในพื้นที่มหาชัย จังหวัดสมุทรสาคร


วันที่ 16 มีนาคม 2557 ดร. Phillippe Doneys ได้น�ำกลุ่มนักศึกษา ภาควิชา เพศภาวะและการพัฒนาศึกษา จากสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT)-Gender and Development Program, The Asian Institute of Technology มาศึกษาดูงาน ด้านการให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายของส�ำนักงานมสพ.ประจ�ำพื้นที่มหาชัย เจ้าหน้าที่มสพ.น�ำเสนอคดีที่ให้ความช่วยเหลือและยกตัวอย่างคดีที่เกี่ยวข้องกับ การเข้าถึงเงินทดแทนกรณีแรงงานประสบอุบตั เิ หตุจากการท�ำงาน และกลุม่ นักศึกษา ได้รว่ มกันบริจาคเงิน จ�ำนวน 8,000 แก่แรงงานข้ามชาติทปี่ ระสบอุบตั จิ ากการท�ำงาน และมาขอความช่วยเหลือกับส�ำนักงาน มสพ. ในวันดังกล่าว วันที่ 17-19 มีนาคม 2557 ผู้แทน HRDF ได้ร่วมกิจกรรม การศึกษาดูงานหน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือแรงงานข้ามชาติ ในประเทศสิงคโปร์ (Study Visit to Migrant Resource Centres (MRCs) in Destination Countries) พร้ อ มด้ ว ย ตั ว แทน สหภาพแรงงาน ตัวแทนฝ่ายนายจ้าง ตัวแทนเจ้าหน้าที่กระทรวง แรงงาน จากประเทศไทยและมาเลเซียร่วมน�ำเสนอและแลกเปลีย่ น ประสบการณ์การท�ำงานให้ความช่วยเหลือแรงงานข้ามชาติ ในด้าน ต่างๆ เช่น การให้ความช่วยเหลือด้านสวัสดิการ ด้านการเข้าถึง ความยุติธรรมและการอบรมให้ความรู้แก่แรงงานข้ามชาติ ในครั้งนี้ด้วย กิจกรรมครั้งนี้ จัดโดยองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ร่วมกับสหภาพแรงงาน Singapore National Trades Union Congress (NTUC)

กิจกรรมเพิม่ ศักยภาพแก่เครือข่ายและชุมชนแรงงานข้ามชาติเดือนมกราคม-มีนาคม 2557 วันที่ 19 มกราคม 2557 มสพ.ประจ�ำจังหวัดเชียงใหม่ เข้าสังเกตการณ์การจัดกิจกรรมที่อาสาสมัครแรงงานข้ามชาติลงไป ประเมินผลความเข้าใจด้านกฎหมายคุ้มครองแรงงาน ของชุมชน แรงงานข้ามชาติทอี่ าสาสมัครได้เคยลงไปให้ความรูแ้ ก่ชมุ ชน กิจกรรม ติดตามการประเมินผลความเข้าใจนี้ จัดขึน้ ทีต่ ำ� บลไชยสถาน อ�ำเภอ สารภี จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีแรงงานข้ามชาติที่ผ่านการอบรม ให้ความรู้ทางกฎหมาย เข้าร่วมการประเมินผลทั้งหมด 18 คน

วันที่ 25-26 มกราคม 2557 มสพ. ประจ� ำ หวั ด เชี ย งใหม่ จั ด อบรมในหั ว ข้ อ “การเป็นผู้ฝึกอบรมและพัฒนาการเป็นผู้น�ำ” แก่อาสาสมัครวิทยากรแรงงานข้ามชาติ มีผเู้ ข้า ร่วมจ�ำนวน 16 คน (ชาย 13 คน หญิง 3 คน) ณ พื้นที่อ�ำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่

วันที่ 26 มกราคม 2557 มสพ.ประจ�ำพื้นที่อ�ำเภอแม่สอด ลงพื้นที่ท่าสี่ บ้านสายโทรเลข ต�ำบลท่าสายลวด อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก เพื่อให้ความรู้ ทางกฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยในที่ท�ำงาน สัญญาการจ้างแรงงาน และ สิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานแก่แรงงานข้ามชาติ ที่เข้ามาท�ำงานในระบบ MOU จ�ำนวนทั้งสิ้น 32 คน จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 13


วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2557 มสพ. ประจ�ำหวัดเชียงใหม่ ร่วมกับอาสาสมัครแรงงานข้ามชาติ ลงพืน้ ทีบ่ ริเวณ วัดเจ็ดยอด อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เพือ่ ให้ความรูแ้ ก่แรงงานข้ามชาติ ในประเด็นสิทธิ ตามกฎหมายประกันสังคม และกฎหมายที่ เกี่ยวข้องกับสิทธิของแรงงานข้ามชาติ โดยมีแรงงานข้ามชาติ เข้าร่วมจ�ำนวน 25 คน (ชาย 12 คน หญิง 13คน)

วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2557 มพส.ประจ�ำพื้นที่อ�ำเภอ แม่สอด จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ ความปลอดภัยในที่ท�ำงาน ความรู ้ เ บื้ อ งต้ น เกี่ ย วกั บ กฎหมายคุ้มครองแรงงาน การจ้างงาน และสิทธิของ สตรี แก่แรงงานข้ามชาติ สตรี ทีท่ ำ� งานให้กบั โรงงาน เย็ บ ผ้ า DK Garment มีแรงงานเข้ารับการอบรม จ�ำนวน 19 คน วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2557 มสพ.ประจ�ำหวัดเชียงใหม่ ร่วมกับอาสาสมัครแรงงานข้ามชาติ ลงพื้นที่บริเวณ ชุมชน ก่อสร้างกาญกนกวิว 1 อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อให้ความรู้แก่แรงงาน ว่าด้วยเรื่องกฎหมายคุ้มครองแรงงาน กฎหมายประกันสังคม และกรณีแรงงานข้ามชาติครบวาระ การจ้างงาน 4 ปี โดยมีแรงงานเข้ารับฟังข้อมูลจ�ำนวน 33 คน (ชาย 18 คน หญิง 15 คน)

วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2557 มสพ. ประจ�ำพื้นที่อ�ำเภอแม่สอด ลงพื้นที่บ้านห้วยนกแล อ�ำเภอพบพระ จังหวัดตาก จัดกิจกรรม ให้ความรู้ทางกฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยในการท�ำงาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายคุ้มครองแรงงาน และกฎหมายว่าด้วย คนเข้าเมือง แก่แรงงานข้ามชาติในภาคเกษตร จ�ำนวน 84 คน 14 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


วันที่ 5 มีนาคม 2557 มสพ. ประจ�ำหวัดเชียงใหม่รว่ มกับ อาสาสมัครแรงงานข้ามชาติ ลงพื้นที่บริเวณ ชุมชนก่อสร้าง กาญกนกวิว 2 อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อให้ความ รูเ้ รือ่ งกฎหมายคุม้ ครองแรงงาน กฎหมายประกันสังคม และกรณี แรงงานข้ามชาติครบวาระการจ้างงาน 4 ปี โดยมีแรงงานเข้ารับ ฟังข้อมูลจ�ำนวน 41 คน (ชาย 31 คน หญิง 10 คน)

วันที่ 11-12 มีนาคม 2557 มสพ.ประจ�ำหวัดเชียงใหม่ จัดอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ช่วยทนายความ ให้กับอาสา สมัครผูช้ ว่ ยทนายความแรงงานข้ามชาติ เพือ่ ให้อาสาสมัครผูช้ ว่ ย ทนายความสามารถน�ำความรู้ด้านกฎหมาย ไปใช้ในการให้ ความช่วยเหลือ ให้ความรู้แก่ชุมชนแรงงานข้ามชาติ โดยมี ผู้เข้ารับการอบรมทั้งสิ้น 17 คน (ชาย 9 คน หญิง 8 คน) ณ จังหวัดเชียงใหม่

วันที่ 23 มีนาคม 2557 มสพ. ประจ�ำหวัดเชียงใหม่ จัดประชุมให้กับ อาสาสมัครแรงงานข้ามชาติ ณ ศูนย์การเรียนรูแ้ รงงานข้ามชาติ อ�ำเภอสารภี จังหวัด เชียงใหม่ เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านสถานการณ์กรณีแรงงานข้ามชาติ ครบก�ำหนด วาระการจ้างงาน 4 ปี เนื่องจากนโยบายในการแก้ไขปัญหาแรงงานกลุ่มนี้ยังไม่มี ความชัดเจน บวกกับนโยบายการส�ำรวจส�ำมะโนประชากรของประเทศพม่า จึงท�ำให้ มีแรงงานข้ามชาติที่มาจากรัฐฉานเดินทางกลับไปยังรัฐฉาน ประเทศพม่าไปเป็น จ�ำนวนมาก นอกจากนี้กลุ่มอาสาสมัครแรงงานข้ามชาติยังได้มีการแลกเปลี่ยน เกี่ยวกับกฎหมายและนโยบายที่เกี่ยวข้องกับแรงงานข้ามชาติในประเด็นอื่นๆ เช่น ประเด็นกองทุนเพือ่ การส่งกลับ, ประเด็นการเข้าถึงระบบประกันสังคม เป็นต้น โดยมี อาสาสมัครแรงงานข้ามชาติ เข้าร่วมประชุม จ�ำนวน 6 คน (ชาย 6 คน หญิง 2 คน)

โครงการสนับสนุนการเข้าถึงความยุติธรรม และการคุม้ ครองสิทธิของแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา (มสพ.) เป็นองค์กรพัฒนาเอกชน มีวัตถุประสงค์ในการด�ำเนินกิจกรรมโดยไม่แสวงหา ก�ำไร มสพ.ได้เน้นกิจกรรมส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนแก่กลุ่มแรงงานข้ามชาติและครอบครัวในประเทศไทย ผ่านโครงการ การเข้าถึงความยุติธรรม และการคุ้มรองทางกฎหมายต่อบุคคลดังกล่าว รวมทั้งกิจกรรมอบรมส่งเสริมศักยภาพของชุมชนแรงงาน ข้ามชาติ โดยท�ำงานร่วมกับองค์กรภาคประชาสังคมและรัฐทั้งในระดับประเทศและระหว่างประเทศ โดยมีความมุ่งหวังให้เกิด

1. 2.

3. 4.

การคุม้ ครองทางสิทธิแก่แรงงานข้ามชาติผา่ นกลไกการคุม้ ครอง ป้ อ งกั น มิ ใ ห้ แ รงงานข้ า มชาติ แ ละครอบครั ว เป็ น เหยื่ อ ทางกฎหมายและนโยบาย กลไกการร้องเรียนของรัฐ ที่มี ของการแสวงหาประโยชน์จากการใช้แรงงานหรือถูกบังคับ ประสิทธิภาพมากขึ้น ใช้แรงงาน แรงงานข้ามชาติมีความรู้ความเข้าใจด้านสิทธิมนุษยชน สังคมโดยรวมเข้าใจถึงความจ�ำเป็นในการมีแรงงานข้ามชาติ และการคุ้มครองทางกฎหมาย และสามารถเข้าถึงกลไก ในประเทศไทย และแรงงานสามารถอยู่ร่วมกับประชาชน การคุ้มครองและร้องเรียนของรัฐ ในสังคมได้ภายใต้ความแตกต่างทางด้านเชื้อชาติ และวัฒนธรรม Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 15


Thai Reform and Migrant Workers Issue Weerasak Kowsurat1

Reform and the migration pattern of migrant deadlock. The Battle of Dien Bien Phu reached the climatic confrontation as well as the issue of Kayin workers in Thailand (Part 1)

It

has been 35 years since the first day the Immigration Act 1979 has been promulgated. The law, promulgated on February 24, 1979, aimed at replacing the predecessor legislations, which were; the Immigration Act 1950 and the Immigration Act 1954. This means the current Thai Immigration Act has been reviewed once in 35 years. Therefore, it may be time to examine it again due to several arising factors as follows. Firstly, the legislation, influenced by the impact of the flared-up war and separatist movement in the neighbouring countries during 50’s and 60’s, was not considered up-to-date. It began when Chinese troop’s victory over Kuo Min Ton army at Xishuangbanna Autonomous Region had placed an effect on the migration of Army 93 to Thai-Burmese border in 1950. At the same time, the situation was deteriorated by a new flare-up of the Korean war and the lack of trust in Thai domestic politics. The latter was triggered by the incident where Hayeesulong (father of Mr.Den Toh-meena) was charged with treason and subject to 4 years and 8 months imprisonment. Later in 1954, the Immigration Act was amended while Thailand was juxtaposed with another political

state in Burma. In domestic political arena, more evidences on the disappearance case of Hayeesulong was resurfaced with the confirmation of eye-witness on his last visit at the Police’ Special Branch Office. This fueled distrust atmosphere in particular amongst Muslim population in the Deep-South of Thailand. It was evident Thailand found itself few steps behind the realization of democracy during that period. The country’s legislative assembly was filled with appointed high-ranking members of the army and elites. In parallel, Field Marshall Peak Piboonsongkram was appointed as a Prime Minister. The Communist movement in the region was strengthened against colonial and nationalistic trend. Twenty-nine years later in 1979, the Southeast Asian region was again under the waves of political turmoil. Cambodia’s People’s Party was established while the trend of migration as an effect of war in Indochina was still ongoing. In the same year, 120,000 members of Chinese troop were dispatched to Vietnam. The situation heightened the security trend in the region. General Kriangsak Chamanan, a Prime Minister of Thailand during that time, promulgated

1 Veerasak Kosurat is a former Committee of the National Committee on Illegal Worker Administration under the Office of the Prime Minister and a former Committee Considering Working of Aliens.

16 Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand


migration legislation that well-reflect the regional security crisis. Nevertheless, the situations of Thailand now and then are distinguishable. Burma is walking towards democracy and reform whereas Cambodia endorses general election and many more. Secondly, the present economic structure of Thailand is very much different from that of in 1979. During that period, the Board of Investment (BOI) was fiercely endorsing the foreign investment in energy and several other sectors such as textile. Labors were prevalence especially in the Northeastern part of the country. But today, the natural resources: gas, forest and other raw material are depleting. Moreover, cheap labor in Thailand is not easy to find as a result of the change of location of the majority of garment and textile factories to Cambodia. However, this also affects the situation of domestic workers. With Burmese workers’ wage doubling the rate, fewer workers are willing work as domestic workers. At present, most of them are prefer to work in the gas station, department store and restaurant. The arising question is therefore not limiting to the issue of the changing political and economic landscape. The issue is extending to the demand of labor supply that has displayed a stark contrast with the situation in the last 35 years. What would the economic structure of the labor division be in the next one or two decades? In response to the changing situation, the legal framework needs to be amended through public discussion and participation, which should reflect the real demand of the business sector and relevant to the nation’s economic security. What will then be the balance legal framework especially in dealing with millions of migrant workers whose work permits will be expired anytime soon. The society has changed and become more intercultural, the legislation and culture in migration should also become more inclusive.

Reform and the migration pattern of migrant workers in Thailand: Part 2 The Permanent Secretary of Ministry of Labour recently revealed that Thailand has a demand of 40,473,484 low-skilled workers per year in the next five years (2014-2018). The survey, conducted by the Office of Labour Economics, estimates the increasing labour demand is at 995,514 low-skilled workers per

year, of which 268,287 workers will be needed for new jobs and 727,227 workers per year are needed to replace existing workers who will leave their jobs for different reasons. The survey of labour demand sampled 35,107 enterprises from 28 business categories registered in the social security system. The survey indicates that the highest demands are in the retail and wholesale trade, automotive and electronics industries, and construction sectors respectively. The highest shortage of workers is in salespersons, followed by carpenters and mechanical repair workers. Most employers in Thailand prefer to employ Thai workers. However, due to labour shortages, low-skilled migrant workers from neighbouring countries are employed to do these jobs, particularly in low-skilled and low-wage employment sectors. It has been observed that the semi-skilled to low-skilled employment sectors (construction, fishery and related, domestic work, manufacturing and processing, agriculture and animal husbandry, and other services) are mostly filled by low-skilled migrant workers from neighbouring countries. Thailand has experienced an excessive demand for low-skilled workers and this demand will increase in the future. Additionally, when the ASEAN Economic Community will be more integrated, the mobility of labour force and migration patterns will be facilitated. Therefore, it is likely that more migrant workers will migrate to Thailand to supply the demand for labour. At present, Thailand hosts approximately more than a million migrant workers. This vast majority of migrant workers have migrated from a dry zone in their country of origins, which experience drought conditions, chronic water shortages and insufficient irrigation infrastructures. As a consequence, low productivity and low employment persist. It has a significant impact on people’s decisions to migrate to a country like Thailand, where there is the advantage of available economic and employment opportunity. Thailand and its government must thoroughly consider in its reform of migrant workers related plans and policies in all high-skilled, semi-skilled and low-skilled sectors, if and how the reform could develop to be fair to everyone that works in Thailand, regardless of their nationalities as well as to maintain national security along with human stability. Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 17


In my personal opinion, the current legal framework is not a barrier. The real challenge lies with the clarity of national plans and policies and its implementation. By exploring the labour legal framework in Thailand it is evident that both the Working of Aliens Act (2008) and the Immigration Act (1979) of Thailand fill in the legal gaps as follows: Under Article 7 and 13 of the new Working of Aliens Act (2008), which replaced the Working of Aliens Act of 1978 has increased a flexibility by giving discretion to the Minister of Labour to issue Ministerial Regulations with respect to a job opportunity and work permit for migrant workers. Additionally, there is the Alien Out-of-Kingdom Repatriation Fund, which will be used, among other things, to pay expenses required to repatriate migrant workers who do not use their own funds to leave Thailand. Additionally, Article 17 the Immigration Act of 1979 stipulates that in certain special cases, the Minister, by the Cabinet approval, may permit any alien or any group of aliens to stay in the Kingdom

under certain conditions, or may conditions, or may consider exemption from being conformity with this Act. As demonstrated above, these national legislations represent a flexible and fair labour legal system in Thailand. In addition, there are also other national plans and policies that support the sound legal system. The main challenge is with the current caretaker government that has no confidence to propose a renewal of a work permit plan for legal migrant workers. As a result, legal migrant workers who previously obtained a work permit have become illegal migrants. However, in the recent development, the caretaker government passed a resolution of the Cabinet for migrant workers of Myanmar, Laotian and Cambodian nationalities, who have been through the nationality verification process and whose four year employment is due to expire. In this new resolution, the caretaker Cabinet granted these migrant workers on an exceptional basis a temporary stay for another 180 days, or until there will be a new resolution approved by a successor Cabinet.

Migrant Workers Denied Fundamental Labor Rights in Thailand Mr.Robert Pajkovski2

has taken a number of steps to recognize international Tlaborhailand standards that promote-in

principle and practice-the rights of workers to organize into labor unions and bargain collectively with their employers. These two rights-the freedom of association and the right to organize and bargain collectivelyare at the heart of the ILO (International Labor Organization), and they

2

Robert Pajkovski, Country Program Director, Solidary Center

18 Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand


are enshrined in the ILO Constitution of 1919, the ILO Declaration of Philadelphia of 1944, and the ILO Declaration on Fundamental Principles and Rights at Work of 1998. The Constitution of Thailand, for example, states in Section 64 that Thais will “enjoy the freedom of association in the form of leagues, unions, co-operatives, farmers’ associations, private organizations and other groups.” The Government of Thailand has also ratified the UN International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights (ICESCR), which provides for the “the right of everyone to form trade unions and join the trade union of his choice.” The government has also ratified the UN International Covenant on Civil and Political Rights (ICCPR), which stipulates “Everyone shall have the right to freedom of association with others, including the right to form and join trade unions for the protection of his interests.” All of this would demonstrate that Thai officials and legislators are certainly aware of international labor standards. It is surprising then that the Government of Thailand-especially as a founding member of the ILO-has yet to ratify ILO Convention 87 Freedom of Association and Protection of the Right to Organize and Convention 98 Right to Organize and Collective Bargaining. Despite the best efforts of the Thai Labor Solidarity Committee, ILO and the international trade union movement, Thailand has delayed or blocked any efforts to ratify these two conventions. Although as a founding member of the ILO Thailand has accepted the responsibility to recognize and respect freedom of association and the right to bargain collectively, Thai labor laws and protections for workers fall far short of international labor standards and the ILO conventions. The vast majority of workers (estimates range from 75 to 85 percent of the total workforce) in Thailand, for example, including civil servants such as teachers and health care providers are prohibited from exercising freedom of association and the right to organize and bargain collectively. As a result, Thailand shamefully has the lowest union membership rate or the percentage of the

workforce represented by labor unions-about 1.5 percent-of any country in Southeast Asia, including Bangladesh, Cambodia, Indonesia, Malaysia, Pakistan, and Sri Lanka. Nowhere is the lack of freedom of association and the right to collective bargaining more apparent and troubling than among migrant workers, who make up perhaps as much as 10 percent of the workforce. The Thai Labor Relations Act of 1975 is highly discriminatory and prohibits anyone except Thai nationals by birth from organizing a union or serving as a union officer. Although migrant workers are allowed to join labor unions led by Thai nationals by birth, there are practically no labor unions in industries where migrant workers are concentrated, including seafood processing and fishing. This effectively prevents migrants from having any freedom of association or the right to collective bargaining. Without the right to organize and form unions and bargain collectively, which includes the right to take collective action such as strikes, migrant workers are prone or vulnerable to all forms of exploitation, including forced labor and trafficking, low wages and wage theft, poor health and safety standards, and dangerous working conditions. Without the right to organize, form unions, bargain collectively and negotiate collective bargaining agreements with their employers, migrant workers have very little chance of protecting themselves from abusive employers out of fear of being arrested, dismissed or deported. The Thai labor movement, led by the Thai Labor Solidarity Committee (TLSC) and the State Enterprise Workers’ Relations Confederation (SERC), as well as the international trade union movement continue to call on the Thai government to live up to its international obligations. The denial of freedom of association and the right to collective bargaining for migrant workers, especially in industries that export to key trade partners in the United States and European Union, is extremely undemocratic. It will continue to draw international condemnation and force governments to reconsider their trade agreements with Thailand.

Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 19


Laws and Policies

Observations regarding the mediation in labour dispute cases of human trafficking victims Patthranit Yaodam3

n 22 November 2013, staff members and lawyers of the Anti-Human Trafficking Project under the Human Rights and Development Foundation (HRDF) was asked by the Male Protection and Occupational Skill Training Center in Ranong Province to give legal counseling to human trafficking victims who had been rescued from being slave labour in fishing boats. The group of survivors wanted to claim for their wages as they have been engaged in a legal dispute with their employer. Our staff members and lawyers gave them basic legal information and assistance in both criminal and labour cases as the victims wanted to give evidence to the Court in advance in the prosecution against labour agents for violating the Prevention and Suppression of Human Trafficking Act B.E. 2551 (2008).

O

3

Patthranit Yaodam, HRDF Advisor, Anti-Human Trafficking Project

20 Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand

On 28 November 2013, the eight survivors, with consent from the Ranong Male Protection and Occupational Skill Training Center, signed a power of attorney to authorize staff members of the Anti-Human Trafficking Project to participate in a labour dispute mediation in their behalf at the Provincial Court of Trang. Initially, the survivors demanded the payment of 28,000 baht for their wages. After the mediation process involving the Court, employer and legal officials from Ministry of Labour, the employees agreed to receive the amount of 16,000 baht each. Though the employees have received the wages from the employer, but during the mediation, other reasons have been cited to convince the employees to agree to the term


proposed by the employer. Some of the employees were not happy with the amount of money agreed as they had been subjected to physical abuse while being forced to work on the fishing boat. The Project is aware of the importance of the process to claim for wages of the employees who become human trafficking victims. Their vulnerabilities are attributed to the working and living conditions they live. In fact, the survivors simply wanted to acquire a better quality of life and thus they could easily become victims of the exploitative process. Being a victim and while waiting for deportation, they also find it difficult to make their ends meet. Along the way, they have lost self-confidence and trust in their potential. In the justice process, they also found they were given the amount of wages or other benefits less than what they should have been entitled to. And they did not understand why. In addition, the whole legal process took so long time and it delayed the chance for them to return home. All of these questions have not been directly answered as to why they had to receive the wages lower than what they should have been entitled to even though it has been proven that they were the employers of the employee. The Project has made an attempt to explore mediation concepts and principles and wants to make some observations after studying the rationale for the promulgation of the Prevention and Suppression of Human Trafficking Act B.E. 2551 (2008) including its Article 6 and sex work according to the Penal Code and the Prevention and Suppression of Prostitution Act B.E.2539 (1996) along with United Nations Convention against Transnational Organized Crime which establishes UNTOC and its Protocol to prevent, Suppress and Punish Trafficking in Persons, Especially Women and Children, supplementing the United Nations Convention against Transnational Organized Crime. The offence can cause harm to public and is classified together with the offence of arson, unauthorized production of private weapon and drug. Prosecution against human trafficking offenders can very according to the type of case and jurisdiction. A human trafficking offender can be held liable both criminally according to the Criminal Procedure Code and the Prevention and Suppression of Human Trafficking Act B.E. 2551 (2008)

and Prevention and Suppression of Prostitution Act B.E.2539 (1996) in criminal court and the Labour Protection Act B.E. 2541 (1998). But in Labour Court, it should be noted that though the human trafficking offenders are divided into different groups, but the reason that has given rise to the claim of right is the same including the exploitation of human trafficking victims. Particularly on slave labour, according to Article 4 of the Prevention and Suppression of Human Trafficking Act B.E. 2551 (2008), it states that “Forced labour or service” means compelling the other person to work or provide service by putting such person in fear of injury to life, body, liberty, reputation or property, of such person or another person, by means of intimidation, use of force, or any other means causing such person to be in a state of being unable to resist”. It tends to give more emphasis on the unlawful exploitation of an employee, rather than to treat the matter as in normal employee-employer relations. In labour dispute mediation, the fact cannot be ignored. Though according to the intent and method provided for in labour dispute mediation, the process is aimed at preserving and settle dispute between an employee and an employer while fostering their mutual understanding, but it is noted by the Project that such a clause does not apply in human trafficking cases whereby the employee is being treated as a damaged party in a criminal case as well. Therefore, the employee in such a case does not just exercise their right as an employee in a normal labour dispute case, Also, the employee did not voluntarily want to foster a employee-employer relation since the beginning. And in every mediation process, the mediators and concerned officials fail to realize and come to terms with the facts that the employee has been subjected to forced labour and it should be accounted during the mediation process. It even reflects how insufficient Article 38 of the Act to Establish the Labour Court and Labour Procedure Code B.E. 2522 (1979). Therefore, an effort should be made to explore if there should be a specific mediation process concerning labour dispute of human trafficking victims and the scope of the process in order to avoid an infringement of the right of the employee and to avoid violating the law and justice process

Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 21


The Migrant Working Group (MWG) submitted an Open Letter to the caretaker government of Thailand on the problems concerning migrant workers whose four year employment is due to expire.4 A shortage of labour supply in these sectors, due to a lack of replacement, will definitely and unavoidably affect Thailand’s macro economy.

An Open Letter

2) The measures should essentially ensure continuity and clarity of the policy and management of migrant workers in compliance with the previous government’s effort to tackle the issues of illegal migrant workers and to legalize migrant workers from neighboring countries.

Subject: The Migrant Working Group’s recommendations regarding the government’s solutions to solve issues of migrant workers whose employments have reached four years

To ensure that the solutions to the migrant workers whose employments in Thailand have reached four years this year respond to the existing problems and situations, MWG would like to propose the following recommendations for your consideration as well as other concerned agencies in order to revise properly the existing policy as follows;

27 February 2014

1. The caretaker cabinet should issue a resolution to endorse the provisional permission for the migrant workers to continue to stay in the Kingdom beyond the existing term and that they are able to leave the Kingdom later without having to face any arrest. It should help to ensure efficient management of the legal migrant workers. The provisional permission to extend their stay in the Kingdom can be designated to any particular duration, i.e., three to six months, being effective from the day the resolution is made.

ATT: The Caretaker Prime Minister CC: 1. Minister of Labour 2. Director General of Department of Employment 3. Secretary General of National Security Council 4. Commissioner-General of Royal Thai Police 5. Commissioner of Immigration Bureau 6. Chairperson of Law Reform Commission 7. Chairperson of the National Human Rights Commission

2. The government should consider invoking Article 54 of the Immigration Act B.E. 2522 (1979) in order to give permission to the migrant workers to extend their stay in the Kingdom while their stay in Thailand will be subjected to conditions as stated in (1).

With reference to the Department of Employment’s letter no. R-NG 0307/4936, 11 February 2014 Dear Sir,

3. The government should seek to consult with the governments of sending countries to review the existing Memorandums of Understanding (MoUs) regarding the legal importation of migrant workers given the political transition periods of the two countries including;

As per the Department of Employment’s urgent letter no. R-NG 0307/4936 dated 11 February 2014, regarding the treatment of migrant workers from Myanmar who have completed their nationality verification and whose employments in Thailand have reached four years, and the letter contained the instructions and was addressed to Governors of all provinces and Directors of all Bureaus of Employments in Bangkok and Regions 1-10;

3.1 Consultation should be made on the issuance of provisional passports by the sending countries to ease the importation of migrant workers and to mitigate any impacts whereby the passports should be valid at least two years. And while the migrant workers are in Thailand, they shall be obliged to apply for their normal passports at the One Stop Service Center at the border as per the MoUs on labour importation in order to shorten the time of application and/or;

The Migrant Working Group is pleased with the determination of the Department of Employment and the Ministry of Labour to manage the issues concerning migrant workers of three nationalities, particularly previous success in the legalization of migrant workers. Nevertheless, given the political turbulence which has protracted since October 2013, the management of migrant labour has faced delays, particularly regarding migrant workers who have been granted the temporary right to work and whose employments in Thailand have reached four years this year. In light of the situation, MWG would like to recommend to you that it is very urgent and important that comprehensive solutions to the issues of migrant workers whose employments have reached four years be meted out in the manner that;

3.2 The Embassies of the sending countries in Thailand should be asked to issue a Certificate of Identification (CI) to each of the workers whose employments in Thailand have reached four years and the workers are obliged to make their travel to the border in order to avoid the arrest. MWG urges the Thai government to carry out a proactive strategy and to help point out to the governments of neighboring countries regarding the pros and cons of each of the recommendations. Any action taken should be done so to primarily serve the best interest of the employers, employees and governments of both countries.

1) The measures can help to efficiently address shortage of labour, particularly in migrant labour intensive sectors including marine fishery and downstream industries and construction which employ a massive number of migrant workers and whose employments in Thailand will mostly have reached four years this year.

The Network fervently hopes that you and your administration shall consider the recommendations and comprehensively deliberate both the positive and negative

impacts of each of the recommendations as the recommendations by the Network are geared toward ensuring the continuity and maximum efficiency of the migrant worker importation policy. Thank you very much. Yours sincerely, Preeda Tongchumnum Labour Rights Coordinator, Migrant Working Group For more information, please contact Ms. Preeda Tongchumnum, phone 089 459 0212

22 Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand

4

On 25 March 2014, the caretaker Cabinet of Thailand convened a meeting to discuss and seek resolutions, inter alia, regarding the problems concerning migrant workers of Myanmar, Laotian and Cambodian nationalities, who have been through the nationality verification process and whose four year employment is due to expire. The Cabinet approved a resolution for the above-mentioned Myanmar, Laotian and Cambodian migrant workers who are holding a (temporary) passport or a certification of identity may continue to reside in Thailand even though they are exceeding the permitted period. These migrant workers are approaching the end of their four-year visas and work permits and are granted on an exceptional basis a temporary stay for another 180 days, or until there will be a successor Cabinet. The newly requests for visa and working permits for those migrant workers in accordance with regulations and places determined by the Department of Employment.


Updates of highlighted cases

The case of successful repatriation of two rescued Karen domestic worker girls n August 2013, a migrant worker, who wanted her two daughters to stop working as domestic workers, sought assistance from HRDF to rescue her daughters. The two Karen girls were employed by a Thai employer as domestic workers in Tak province. Accordingly, HRDF contacted the employer informing the employer of the mother’s wish. The employer insisted that the girls had to continue working and did not allow the two girls to leave. In January 2014, HRDF accompanied the parent to file a complaint with the police and the Provincial Office of Social Development and Human Security in Tak, which led to a successful rescue of the two girls. On 12 March 2014, an HRDF representative joined the multidisciplinary team as an observer and to provide assistance to the rescued Karen girls and facilitate their repatriation to their family in the country of origin. The multidisciplinary team consisted of Thai and Myanmar authorities, including Mae Sot Immigration Office, NGOs and Begatip Shelter for victims of human trafficking, which is located across the Thai border in Myanmar. The two children returned home safely and are currently in the custody of their parents.

I

a construction worker for the Panut Engineering Co., Ltd. in Lamphun Province. Jai Sayun suffered a work-related accident on 12 August 2013, which led to his death. After his death, HDRF and the Migrant Workers Federation (MWF) accompanied Jai Sayun’s relative to bring his case to the Social Security Office (SSO) in Lamphun and requested work-related death compensation. The SSO issued its Order No. Lor Por 0030/5066 dated 3 September 2013 to pay funeral expenses of 30,000 baht and compensation because of the death of an employee in the total amount of 449,280 baht from the Workmen’s Compensation Fund (WCF). On 20 February 2014, the mother of Jai Sayun received work-related death compensation from the SSO. It appeared that the employer of Jai Sayun registered him for and paid contributions to the WCF in Lamphun. This case exemplified a good practice in the SSO, which successfully led the migrant worker and his entitled person to the right to access compensation from the WCF. HRDF appreciated the efforts of the SSO officers in Lamphun to register the migrant worker and request his employer to pay contributions to the WCF in accordance to the Workmen’s Compensation Act of 1994. HRDF observed a number of complaints it received with regard to the work related accident compensation. HRDF regretted to find that in most

(Picture: Repatriation process facilitated by the Ministry of Social Development and Human Security)

The case of Jai Sayun, deceased migrant worker: granting an entitled person to receive work-related death compensation from Workmen’s Compensation Fund Jai Sayun, a 33-year old migrant worker of Shan or Tai Yai ethnicity from Myanmar. Jai Sayun was

(Picture: Mother of Jai Sayun received work-related death compensation on behalf of her deceased son at the SSO in Lamphun Province) Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 23


(Left picture: the negotiation between the employer and the employees; right picture: Result of successful negotiation)

cases throughout the country the SSO established a different practice than in the above case or in the case of Thai workers, because in most cases the SSO failed to register the migrant workers and failed to request the employer to pay contributions to the WCF. In these cases the SSO did not facilitate migrant workers’ access to the compensation fund. HRDF also observed that in most cases, the SSO established a condition for the eligibility for migrant workers’ compensation upon the payment of contributions by the employer in respect of the worker concerned. HRDF noted that this practice is contrary to the WCA, which attributes the SSO to pay work-related compensation from the WCF to an injured workers or an entitled person regardless of their nationality. In addition, the SSO also has the competence to order the employer who fails to contribute to the WCF to pay full amount together with an additional interest in accordance with Article 46 of the WCA. Failing to do so leads to a violation of the right to equality of treatment in breach of the ILO’s Equality of Treatment (Accident Compensation) Convention, 1925 No. 19 (‘Convention No. 19’).

The cases of subcontracted workers, receiving compensation on termination of employment from the Charoen Pokphand Foods Public Company Limited Case 1

On 21 February 2014, the Charoen Pokphand Foods Public Company Limited (‘Charoen Pokphand Foods PCL’) dismissed 75 migrant workers. The reason for the termination of their employment was unclear. Subsequently, a migrant workers’ representative sought assistance from the Migrant Worker Rights 24 Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand

Network (MWRN). On 24 February 2014, negotiations between the employer and the employees were convened at the Office of Social Welfare. In the negotiations, a Social Welfare officer, representatives for the employer and employees, as well as representatives of the MWRN and HRDF were present to negotiate and seek a solution. As a result, the negotiation was successful. The employees accepted the negotiation offer to receive a lower rate of 75 percent of their daily wage on the days that they cannot go to work. The reason of termination provided by the employer was that the Charoen Pokphand Foods PCL had to suspend operations due to a raw material shortage for its seafood processing. Case 2

On 14 March 2014, the Charoen Pokphand Foods PCL laid off 1,200 migrant workers. The reason for termination of employment was unclear. This prompted the representative of workers to seek legal advice and assistance from the MWRN and HRDF. The negotiation between the employer and the employees was convened with the representatives from the MWRN and HRDF. As a result, the employer gave the employees notice on 25 March 2014 that the termination will be effective as of 10 April 2014. The employees will receive compensation and pending wage in accordance with the Labour Protection Act of 1998. In addition, the employer will also issue a cessation of employment document. Chan Aung Win, the representative of the workers expressed his satisfaction with the negotiation outcome and that migrant workers can enjoy the protection from the Thai labour law. He


also encourages other employers and government officials to respect labour standards and allow migrant workers to have decent wages and working conditions, which will increase his and other migrant workers’ willingness to continue working to enhance Thailand’s economic growth.

Radchada Civil Court scheduled a witness hearing on the case of Air, abducted and physically and mentally abused child In this case, after the lawyer of the plaintiff submitted the list of testifying witnesses, the Kamphaeng Phet Provincial Court requested the Radchada Civil Court in Bangkok to schedule and proceed with a witness examination of a surgeon, Dr.Arthi Kruawit, who works in the Ramathibodi hospital. On 10 March 2014, in the afternoon, a witness hearing took place at the Radchada Civil Court. In his testimony, Dr. Kruawit stated that he admitted Air, a girl who was abducted and abused by her employers, for her medical treatment in 2013. He indicated that when Air was first received in the hospital she had wounds all over her body particularly on her arms, chest, left shoulder, body and legs. These wounds were caused by the thermal diffusion. Additionally, her left arm was bended to the body and could not be stretched. Dr. Kruawit explained that these wounds would develop into long lasting scars. He further indicated that these wounds are not congenital but they occurred from side effects or complications from heat. Dr.Kruawit treated Air’s wounds and her disabled left arm with surgery and provided deformity correction

in several parts of her body. He also trimmed the damaged skin cells in her head, legs and left foot. As a result, Air’s physical condition was improved, however, her body could not resume its regular physical activity. In addition to Air’s physical condition, Dr.Kruawit testified on Air’s psychological condition. He indicated that Air suffered severe mental trauma. Dr.Kruawit provided the information to the court that, when he began Air’s treatment, she was worried and did not talk to anyone. He indicated that it took quite a long time, with additional treatment by a pediatrician and sessions with a psychologist, before Air began to talk again. However, similar with her physical conditions, Air’s psychological conditions cannot be completely healed, because the memory of the harm inflicted on her will always remain. The remaining witness examination is scheduled on 8 April 2014 at the Provincial Court of Kamphaeng Phet. In this case, Air’s mother filed a lawsuit in 2013, against Natee Taeng-on and Rattanakorn Piyaworatham, seeking compensation for physical abuse inflicted upon her daughter while working at the couple’s house. More detailed information on this civil case can be found at <http://hrdfoundation. org/?p=805>. After granting a provisional release in the criminal case, which is ongoing, both of the defendants fled to escape justice. Therefore the defendants did not appear before the civil court. The witness examination and the ongoing trial are being held in absentia with no cross-examination.

(Pictures: the negotiation atmosphere between the representatives of the employer and the employees) Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 25


Stories from Yangon

Yangon Sunida Piyakulpanich5

I

have been living in Yangon, Myanmar, for 7 months now. It is my first experience living outside my home country, Thailand. Here, I am learning about various aspects of Burmese culture in which I find some similarities with Thai culture. Before moving here, I always thought that every culture is very different. Living in Yangon, made me realise that even though people here are of different ethnicities, religions and cultures, we are all human beings with the same basic emotions and feelings. We all want to live a happy life and have a right to do so.

I must admit that the first three months in Yangon were not so easy for me. In this unfamiliar city, I had to adjust and I got to know myself. Encountering loneliness seems to be one of the hardest things of all, especially for a person like me, who never lived alone before. Communication and language barriers are another challenge. To elaborate, I speak English with my Thai accent and Myanmar people speak it with their very own accent. My last hope was to practice my Burmese with the native speakers but I ended up being lost in translation. Being in contact with my family back home and having support from my colleagues here, who I regard as my brothers and sisters, made it possible for me to live through these difficult times. In Yangon, most people embrace simplicity. Morning tea or coffee serves as a breakfast. A famous snack is Mohinga-a rice noodle. People bring their own lunch boxes to work or school. This daily routine exemplifies a fascinating sense of Myanmar simplicity. Betel nut chewing is a popular Burmese habit inherited from their ancestors. Longyi, a sarong worn by everyone-men, women, children and elder people-is a traditional dress in Myanmar. Disparities and inequalities are very evident in Myanmar. The gap between rich and poor is much wider here than in Thailand. It is most likely because Myanmar is still in a transitional and developing phase, with numerous reforms underway to strengthen the democratisation process. In addition, the country is full of natural resources such as natural gas, diamond, jade and gems, and other mineral resources. 5

Sunida Piyakulpanich

Foreign investors enjoy Myanmar’s rich resources and much lower labour wages comparing to other countries in the region. Extractive industries are the government’s primary source of revenue from foreign investment. The government, who is the sole manager of the natural resources, never shares the resource revenues with local populations. Additionally, people also are impacted by the investment plans of the government and companies. To illustrate, local residents have to relocate when the government expropriates their land. Some people never receive any compensation. When the land is expropriated and farming is not possible, local residents often move from rural farming areas to urban cities like Yangon. Some people decide to look for their fortune in neighbouring countries, such as Thailand and Malaysia, where vast numbers of migrant workers from Myanmar live. Even though Myanmar is in transition to becoming a democratic country. A combination of factors, such as, oppression from the government, internal conflicts in some parts, and higher costs of living because of increased investments, while low labour wages remain, have had a significant impacts on people’s decision to migrate and seek for safety and security in their lives. I have learned from my experience here that any country, which is not governed by the rule of law, where good governance is not exercised and where political leaders do not see the importance of people, it is hard to ensure prosperity and well-being for people.

Sunida Piyakulpanich is a staff member of the Human Rights and Development Foundation (HDRF). She is currently attending the Fredskorpset Exchange Program (FK-Program), exchanging her experience and practice in a law office in Yangon, Myanmar. 26 Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand


Activities

11 January: Staff from HRDF’s Migrant Justice Program (MJP), in conjunction with the Migrant Workers Federation (MWF), conducted activities to celebrate Thailand’s ‘Children’s Day’. Over 200 people-including local Thai and migrant children-from the nearby Baanyuam, Nantaram and Sriboonluang villages-joined in the festivities which included games and food for all the kids.

4 February 2014: HRDF participated in the ASEAN Intergovernmental Commission on Human Rights (AICHR) meeting, which convened by the AICHR representatives of Thailand to discuss a joint framework and working plan of 2014 between the AICHR representatives of Thailand and a network of the civil society organizations.

5 February: A group of 25 students from the Rotary Peace Center, Chulalongkorn University, visited the HRDF Labour Law Clinic (LLC) in Mae Sot District, Tak Province. The students engaged with staff about current issues facing migrant workers in the area and HRDF’s activities, including its legal assistance programs and community workshops. 25 February 2014: HRDF representative attended a meeting organised by the Law Reform Commission of Thailand. The meeting objective was to discuss and seek solutions how to improve and increase legal assistance in the criminal justice system in Thailand in accordance with the Constitution of Thailand and the international standards. Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 27


8 March: Staff from HRDF’s MJP Chiang Mai office, in conjunction with MWF and other NGO network partners, conducted activities to commemorate ‘International Womens’ Day’. Over 300 people attended the event, which included a symbolic march. MWF Representatives gave a speech to the crowd in which they noted their concern for workers with expired visas and work permits and called upon the Thai government to properly address the issue. 11 January: Postgraduate students from the Asian Research Center for Migration (ARCM) from the Institute of Asian Studies (IAS), Chulalongkorn University, visited HRDF’s MJP in Mahachai, Samut Sakorn, to learn more about its legal assistance programs. The students also visited migrant workers employed in the marine fisheries industry and the nearby children’s education center at Wat Thepnorratana. 28 Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand

10 March 2014: HRDF participated in a multi-stakeholder meeting hosted by the Law Reform Commission of Thailand to discuss and seek resolutions to the problem concerning migrant workers of Myanmar, Laotian and Cambodian nationalities who went through nationality verification process and their 4 year employment will be expired. The representatives from private and public sectors included the Ministry of Labour, Immigration Bureau, Royal Thai Police, employers and civil society organizations. 11 March: The heads of both the Samut Sakhorn Provincial Social Security Office and the Labour Protection and Welfare Office visited HRDF’s Samut Sakhorn MJP for a meeting. The representatives discussed issues and exchanged information and views on the current migrant worker situation, including the expiration of four-year visas/work permits, and sought to identify area for mutual cooperation through which to provide assistance and assist to protect the legal rights of migrant workers.


16 March: Students from the Asian Institute of Technology (AIT), studying in the Gender and Development Program, led by Dr. Philippe Doneys, undertook a field trip to HRDF’s MJP project office in Mahachai, Samut Sakorn to observe its legal assistance work. MJP staff presented their legal assistance case work and examples of workmen-compensation-related cases. The visiting students jointly donated 8,000 baht to help migrant workers injured in the workplace who had requested assistance from HRDF on the day of the visit. 17-19 March 2014: HRDF representative attended the Study Visit to Migrant Resource Centres (MRCs) in Destination Countries in Singapore. The attendants included representatives of the Labour Union, employers, Ministry of Labour of Thailand and Malaysia. The Study Visit aims to significantly reduce the exploitation of labour migrants in ASEAN countries by bringing multi-stakeholders together to identify, document and share good practices in the delivery of support services through MRCs to migrants in destination countries. The Study Visit was organised by the International Labour Organization (ILO) and the Singapore National Trades Union Congress (NTUC)

Capacity Building for Network Members and Migrant Worker Community January-March 2014 19 January: Staff from HRDF’s MJP Chiang Mai office went to observe and assess a monitoring and evaluation activity to assess the impact of a previous legal-rights community workshop conducted last year. In total, 18 migrants (men 12 and 6 women) who had completed the previous legal protection workshop participated in the monitoring and evaluation activity which was held in Chaiya Satarn Sub-district, Sarapee District, Chiang Mai Province,. 25-26 January: Staff from HRDF’s MJP office, Chiang Mai, conducted a two-day Training of Trainer (ToT) skill and leadership development course in Sansai District, Chiang Mai Province. In total, 16 volunteer facilitators attended the course (13 male and three female). Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 29


26 January: Staff from HRDF’s Labour Law Clinic (LLC) in Mae Sot District, visited Pier 4 in Sai Toralek Village, Taa Sai Luad Sub-district, Mae Sot, to disseminate information on legal rights and access, safety in the workplace, employer-employee contractual agreements and basic human rights principles to migrant workers working under the Thai-Myanmar migrant worker MOU agreement. In total, 32 migrant workers attended the talk.

12 February: Staff from HRDF’s MJP Chiang Mai office, in conjunction with local volunteer migrant workers, conducted a knowledge-sharing session on migrant worker-rights issues and social security entitlements in the Wat Jet Yod area, Muang District, Chiang Mai Province. The workshop was attended by 25 migrant workers (12 male and 13 female).

20 February: Staff from HRDF’s MJP office in Chiang Mai, in conjunction with migrant worker volunteers, visited the Kankanokview 1 construction site in Doi Saket District, Chiang Mai Province to conduct a information-sharing session with migrant workers. The session focused on providing migrant workers with updated and improved knowledge about legal protection mechanisms, access to social security funds and providing an overview of the four year visa/work permit issue. Some 33 migrantworker participants (18 male and 15 female) attended the session.

30 Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand

12 February: Staff from HRDF’s Labour Law Clinic (LLC) in Mae Sot District, organized and conducted a knowledge-sharing workshop for migrant workers employed in the DK Garment factory on workplace-safety, basic legal protection, employer-employee contractual agreements and womens’ rights. Nine-teen workers attended the workshop.


26 February: Staff from HRDF’s LLC Mae Sot office visited Baan Huay Nok Lae Village in Poppra District, Tak Province, to conduct a knowledge-sharing activity with 84 migrant workers employed in the agricultural sector. The activity was designed to provide participants with a greater awareness of workplace safety standards, legal protection mechanisms and immigration laws.

5 March: Staff from HRDF’s MJP Chiang Mai office, in conjunction with migrant volunteers, visited the Kankanokview 2 construction site in Doi Saket District, Chiang Mai Province, to conduct a community-based information-sharing session with locally-based migrant construction workers. The session saw facilitators share information with 41 migrant workers (31 male and 10 female) about legal protection mechanisms, social security and issues the four-year visas/work permit issue.

11-12 March: Staff from HRDF’s MJP Chiang Mai office conducted a two-day para-legal training session for 17 migrant volunteers (nine male and eight female) in Chiang Mai Province. The training was designed to develop the capacities of migrant volunteers to act as paralegal aides who will, at the completion of the course, go on to provide initial legal consultation services and conduct information sharing sessions in and among migrant worker communities.

23 March: Staff from HRDF’s MJP office, Chiang Mai, conducted a meeting with migrant volunteers at the Migrant Learning and Development Center (MLDC) in Sarapee District, Chiang Mai Province. The meeting provided a platform through which to exchange and share updated information about the four-year visa/work permit issue, which is causing problems for many migrant workers due to both the unclear response from the Thai government and a policy change by the Burmese government calling for a census prior to issuing new travel documents. During the meeting participants discussed the return of large numbers of Burmese migrant workers to Shan State due to the four-year issue and discussed other legal and policy matters including the deportation fund and access to social security payments. Eight volunteer migrant workers attended the meeting (six male and two female). Newsletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 31


Access to Justice and Rights Protection for Migrant Workers in Thailand T

he Human Rights and Development Foundation (HRDF) is a non-profit non-government organization that aims to promote and protect the human rights of migrant workers and their families in Thailand. Through the Access to Justice and Legal Protection Project and campaigns to promote the migrant workers’ potentials, HRDF has been working with several civil and state organizations at both national and international levels, with the following objectives:

1. 2.

To achieve greater efficiency in protection of the migrant workers’ rights through legal mechanisms and state channels (via petitions),

3. 4.

To prevent the migrant workers and their families from falling victims to labour exploitation,

To educate Thai society about the necessity of migrant labour in Thailand, in order to promote To enable the migrant workers to have better understanding of their human rights and access peaceful co-existence despite racial and cultural to the state’s protection and petition mechanisms, differences.

บรรณาธิการ: นางสาวปรีดา ทองชุมนุม และนางสาวภัทรานิษฐ์ เยาด�ำ ติดต่อ: มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ส�ำนักงานกรุงเทพมหานคร (เฉพาะโครงการต่อต้านการค้ามนุษย์ด้านแรงงาน) 109 ซอยสิทธิชน ถนนสุทธิสารวินิจฉัย แขวงสามเสนนอก ห้วยขวาง กรุงเทพ 10310 โทรศัพท์ 02 277 6882 โทรสาร 02 275 4261 www.hrdfoundation.org มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ส�ำนักงานจังหวัดสมุทรสาคร 93/200 หมู่ที่ 7 ต�ำบลท่าทราย อ�ำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร 74000 โทรศัพท์/โทรสาร 034 414 087 มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ส�ำนักงานอ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก 14/12 ถนนประสาทวิถีเดิม ต�ำบลแม่สอด อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก 63100 โทรศัพท์/โทรสาร 055 535 995 มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ส�ำนักงานอ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 71 ถนนสนามกีฬาซอย 1 ชุมชนอุ่นอารีย์ ซอย 4 ต�ำบลศรีภูมิ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200 โทรศัพท์/โทรสาร 053 223 077

Editor: Ms.Preeda Tongchumnum and Ms.Phattranit Yaodam Contact: Human Rights and Development Foundation-Bangkok (for the Anti-Human Trafficking Project only) 109 Soi Sitthichon, Suthisarnwinichai Road, Samsennok, Huaykwang, Bangkok 10310 Tel. 662 277 6882 Fax. 02 2754261 www.hrdfoundation.org HRDF, Samut Sakhon Branch Office 93/200 Moo 7, Ta Sai Sub-district, Muang District, Samut Sakhon 74000 Tel/Fax 034 414 087 HRDF, Mae Sot District Branch Office 14/12 Prasart Witheederm Road, Mae Sot Sub-district, Mae Sot District, Tak 63100 Tel/Fax 055 535 995 HRDF, Chiang Mai Branch Office 71 Sanamkeela Road, Soi 1, Un-Aree Community, Soi 4, Sriphum Sub-district, Muang District, Chiang Mai 50200 Tel/Fax 053 223 077


ฉบับที่ 4 : เมษายน–มิถุนายน 2557

4th issue: April–June 2014

กองทุนส่งกลับต่างด้าว ออกนอกราชอาณาจักร และการเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม สถานการณ์ด้าน นโยบายและการ บังคับใช้กฎหมาย

อุบลวรรณ บุญรัตนสมัย1

องทุนเพื่อส่งคนต่างด้าวกลับออกไปนอกราชอาณาจักร (“กองทุน”) และข้อสังเกตการณ์ เรื่องการปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม กับแรงงานต่างด้าวสามสัญชาติไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่ที่หยิบยกมารณรงค์อีกครั้งในจดหมายข่าวฉบับนี้ เพราะการหักเงิน เข้ากองทุนดังกล่าวมีผลบังคับใช้อีกครั้ง เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2557 ที่ผ่านมา ซึ่งเรื่องนี้เป็นอีกหนึ่งประเด็นที่มีการเรียกร้อง ทั้งจาก แรงงานต่างด้าวและองค์กรสิทธิมนุษยชนมาโดยตลอดนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551 ให้รัฐพิจารณาระงับ แก้ไข และยกเลิก บทบัญญัติในส่วนที่มีการเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมเกี่ยวกับ การเก็บเงินสบทบจากแรงงานต่างด้าวเข้ากองทุน บทความนี้มีวัตถุประสงค์ให้ความเห็นทางกฎหมายตาม หลั ก สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนว่ า เหตุ ใ ดกองทุ น ถึ ง ได้ ไม่ ส อดคล้ อ งกั บ หลักสิทธิมนุษยชนและหลักการตามรัฐธรรมนูญของไทย รวมถึง ระบุข้อจ�ากัดการ บังคับใช้บทบัญญัติและแนวนโยบายตาม กฎกระทรวงที่เกี่ยวข้องกับการเรียกเก็บเงินเข้ากองทุนดังกล่าว พร้อมทัง้ น�าเสนอข้อเรียกร้องต่อรัฐให้ยตุ กิ ารปฏิบตั ทิ ไี่ ม่เป็นธรรม ต่อแรงงานต่างด้าวสาม สัญชาติที่ได้รับผลกระทบจากการเรียก เก็บเงินเข้ากองทุน

ความเป็นมาของกองทุน เพื่อส่งคนต่างด้าวกลับออกไปนอกราชอาณาจักร กองทุนเพือ่ ส่งคนต่างด้าวกลับออกไปนอกราชอาณาจักร เป็นส่วนหนึง่ ของบทบัญญัตแิ ห่งพระราชบัญญัตกิ ารท�างานของ คนต่างด้าว พ.ศ. 2551 เมื่อย้อนไปดู พ.ร.บ. ที่จัดกองทุนนี้ขึ้น ระบุ วัตถุประสงค์ตามมาตรา 29 และ 31 ว่าไม่เพียงแค่เป็น กองทุนส่งแรงงานต่างด้าวออกนอกราชอาณาจักรเท่านั้นแต่ เป็นทุนหมุนเวียนส�าหรับใช้จา่ ยเกีย่ วกับการส่งบุคคล 3 ประเภท

คือ (1) ลูกจ้าง (2) คนต่างด้าว และ (3) ผู้ถูกเนรเนเทศออกนอก ราชอาณาจักร ตลอดจนเพื่อประโยชน์ ในการบริหารจัดการ เกีย่ วกับการท�างานของคนต่างด้าวของหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องโดย มีคณะกรรม การกองทุนพิจารณาจัดสรรงบประมาณกองทุนฯ ด�าเนินการอาศัยอ�านาจตามมาตรา 37 พ.ร.บ. ดังกล่าว

ข้อเท็จจริงในทางปฏิบัติการเรียกเก็บเงินสมทบ เข้ากองทุน เพื่อรวบรวมเงินเข้ากองทุนรัฐมนตรีว่าการกระทรวง แรงงานได้ออกกฎกระทรวงก�าหนดงาน และ จ�านวนเงินทีล่ กู จ้าง ต่ า งด้ า วต้ อ งส่ ง เข้ า กองทุ น โดยอาศั ย อ� า นาจตาม พ.ร.บ. การท�างานของคนต่างด้าว ออกกฎกระทรวงเป็นจ�านวน 4 ฉบับ ทั้งนี้กฎกระทรวงฉบับที่ 1 ออกเมื่อปี พ.ศ. 2553 ได้ก�าหนด เฉพาะงานรับใช้ในบ้านและงานกรรมกรเท่านัน้ ทีล่ กู จ้างสัญชาติ พม่า และลาว ต้องส่ง เงินสมทบเข้ากองทุนจ�านวนคนละ 2,400 บาท และลูกจ้างสัญชาติกมั พูชาส่งเป็นจ�านวนคนละ 2,100 บาท โดยนายจ้างมีหน้าที่หักเงินลูกจ้างและน�าส่งจ�านวนเงินดังกล่าว

อุบลวรรณ บุญรัตนสมัย เจ้าหน้าที่โครงการ United Nations Action for Cooperation against Trafficking in Persons (UN–ACT) บทความนี้เป็นความเห็นส่วนตัวของผู้เขียน ไม่ได้สะท้อนถึงความเห็นของ UN–ACT ผู้เขียนขอขอบคุณคุณอดิศร เกิดมงคล และทีมทนายสิทธิมนุษยชน ของ HRDF

1


เนื่องจากกฎกระทรวงฉบับที่ 1 ก�ำหนดบังคับใช้ในช่วง เวลาทีค่ าบเกีย่ วกับการต่อใบอนุญาต ท�ำงาน ทางกระทรวงแรงงาน จึงเห็นว่าช่วงเวลาดังกล่าวไม่เหมาะสมและอาจท�ำให้แรงงาน ต่างด้าว ไม่ยนื่ ต่อใบอนุญาตท�ำงาน จึงประกาศเลือ่ นการหักเงิน ลูกจ้างเข้ากองทุนสมทบออกไปอีก 1 ปี ตามกฎกระทรวงฉบับ ที่ 2 ออกเมื่อปี พ.ศ. 2554 และได้ขยายเวลาหักเงินออกไป อีก 1 ปี ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 3 ออกเมือ่ ปี พ.ศ. 2555 เพราะ ยังมีลูกจ้างที่อยู่ระหว่างด�ำเนินการ พิสูจน์สัญชาติเป็นจ�ำนวน มากประกอบกับเหตุอุทกภัยครั้งใหญ่ ต่อมากฎกระทรวงฉบับที่ 4 บังคับใช้วนั ที่ 1 มีนาคม 2556 ได้ขยายระยะเวลาหักเงิน อีกครัง้ เป็นระยะเวลา 1 ปี ก�ำหนดเริม่ หักเงินเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2557 ที่ผ่านมา โดยกฏ กระทรวง ฉบับล่าสุดนีไ้ ด้เปลีย่ นอัตราเงินสมทบให้ลกู จ้างแรงงานต่างด้าว 3 สัญชาติส่งเงินเข้า กองทุนในอัตราคนละ 1,000 บาท โดย ให้เหตุผลการปรับลดว่าเพือ่ ให้เหมาะสมกับสภาพการณ์ ปัจจุบนั และเกิดความเสมอภาคแก่ลูกจ้าง เห็นได้ชัดว่าเงินสบทบกองทุนที่เรียกเก็บจากแรงงาน ต่ า งด้ า วเพี ย งสามสั ญ ชาติ แ ละเฉพาะงานสองประเภทนั้ น ก่อให้เกิดภาระค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น และกระทบต่อค่าครองชีพของ แรงงานต่างด้าวที่สูงอยู่แล้วเมื่อเทียบกับรายได้รายวันของ พวกเขา และกฎกระทรวงทีอ่ อกมาอย่างต่อเนือ่ งเพือ่ ขยายเวลา การหักเงินโดยให้เหตุผลในลักษณะเดียวกันแสดงให้เห็นว่าเงิน สมทบดังกล่าวไม่สามารถเรียกเก็บได้จริงในทางปฏิบัติ และเนื่องจากมีผู้ประกอบการเป็นจ�ำนวนมากร้องขอให้ รัฐทบทวนหลักเกณฑ์การน�ำเงินเข้ากองทุน ดังนั้น กรมการ จัดหางานจึงได้ทำ� การศึกษาผลกระทบการบังคับใช้กฎกระทรวง ทีเ่ กีย่ วข้องขึน้ 2 ทีน่ า่ แปลกใจเกีย่ วกับเรือ่ งการศึกษาผลกระทบนี้ คือรัฐน�ำโดยกรมการจัดหางานไม่ได้รายงานผลกระทบที่เกี่ยว กับอุปสรรคเชิงกฎหมายและอุปสรรคเชิงปฏิบตั ิ แต่วธิ กี ารศึกษา ผลกระทบของกรมการจัดหางานคือการท�ำแบบสอบถามนายจ้าง (1,600 คน) แรงงานต่างด้าว 3 สัญชาติ (1,600 คน) และ ประชาชน (507 คน)3 ซึ่งหากเทียบกับจ�ำนวนแรงงานต่างด้าว ที่ อ าศั ย อยู ่ ใ นไทยยั ง ไม่ ถึ ง ร้ อ ยละ 1 ดั ง นั้ น ข้ อ มู ล ดั ง กล่ า ว ไม่สามารถน�ำไปอ้างอิงหรืออธิบายถึงผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ จริงได้ อีกทั้งการอภิปรายผลการศึกษาดังกล่าวได้การน�ำเสนอ ข้ อ มู ล เปรี ย บเที ย บการเก็ บ เงิ น แรงงานไทยที่ ท� ำ งานในต่ า ง ประเทศกับแรงงานต่างด้าวสามสัญชาติ เฉพาะกิจการงานรับใช้ ในบ้านและงานกรรมกรเท่านัน้ ซึง่ ไม่สามารถน�ำมาเปรียบเทียบ ได้ เ ลยเพราะลั ก ษณะงานที่ ต ่ า งกั น และประเทศที่ ถู ก ยกมา

2 กรมการจัดหางาน,

เปรียบเทียบคือประเทศญี่ปุ่น และสาธารณรัฐเกาหลี เป็นต้น โดยประเทศตัวอย่างเหล่านี้มีการบังคับใช้กฎหมายและระบบ ประกันสังคมทีต่ า่ งจากบ้านเราเป็นอย่างมาก และทีน่ า่ ตกใจกว่า ก็คือการอภิปรายผลการศึกษาแจงเหตุที่นายจ้างและประชาชน เห็นว่าควรมีการเรียกเก็บเงินจากแรงงานต่างด้าวเข้ากองทุน เพราะ “เห็นว่าแรงงานต่างด้าวทีเ่ ข้ามาท�ำงานในประเทศไทย มีรายได้เพียงพอทีจ่ ะรับผิดชอบค่าใช้จา่ ยในส่วนนี้ ประกอบ กับการส่งแรงงานต่างด้าวกลับไปยังประเทศต้นทางนั้นเป็น กรณีทเี่ กิดจากการ กระท�ำทีผ่ ดิ กฎหมายของแรงงานต่างด้าว เองจึ ง ไม่ ส มควรที่ จ ะต้ อ งตกเป็ น ภาระแก่ ง บประมาณ แผ่ น ดิ น ซึ่ ง มาจากการเสี ย ภาษี ข องประชาชนคนไทยทุ ก หมู่เหล่า”4 ผลการศึ ก ษาที่ ไ ม่ อิ ง กั บ ความเป็ น จริ ง ทางสั ง คมและ หลักสิทธิมนุษยชนสะท้อนสังคมไทยในหลายด้าน ทั้งมายาคติ และความเข้าใจที่ผิดเกี่ยวกับแรงงานต่างด้าว ซึ่งความเป็นจริง แรงงานต่างด้าว สามสัญชาติเป็นแรงงานที่ได้รับอนุญาตตาม บันทึกความเข้าใจระหว่างประเทศต้นทางและไทยให้ท�ำงาน ในภาคส่วนทีไ่ ทยขาดแคลนแรงงาน โดยผ่านกระบวนการพิสจู น์ สัญชาติ เสียค่าใช้จ่าย ในการด�ำเนินการเพื่อให้ได้เอกสาร การเข้าเมืองและใบอนุญาตท�ำงานที่ถูกกฎหมาย ตลอดจนค่า หลักประกันสุขภาพ ยังไม่รวมถึงปัญหานายหน้าทีเ่ รียกค่าบริการ สูงเกินจริงและด�ำเนินกิจการ โดยขาดการควบคุมเท่าที่ควรจาก ภาครัฐ ค่าใช้จ่ายที่แรงงานสามสัญชาติต้องแบกรับเหล่านี้เป็น ภาระค่าใช้จ่ายที่สูงมากอยู่แล้วเมื่อเทียบกับ รายได้อันน้อยนิด และค่าครองชีพที่สูง บวกกับความเสี่ยงที่จะถูกละเมิดสิทธิ ก็มมี ากกว่าแรงงาน ไทยเพราะการเข้าถึงสิทธิการช่วยเหลือทาง กฎหมายมีไม่ทวั่ ถึง แรงงานต่างด้าวจึงได้รบั สิทธิประโยชน์นอ้ ยกว่า ที่กฎหมายก�ำหนด เช่น กรณีสิทธิประกันสังคม แล้วแรงงาน สามสัญชาตินี้ยังจะต้องจ่ายเงินให้รัฐเพื่อเป็นทุนส่งกลับอีก ดังนี้การก�ำหนดให้ต้องหักเงินจากค่าจ้างจากแรงงาน สามสั ญ ชาติ เ ฉพาะงานรั บ ใช้ ใ นบ้ า นและงาน กรรมกรเพื่ อ น�ำส่งกองทุนเพือ่ การส่งกลับ โดยทีม่ ไิ ด้มผี ลบังคับใช้กบั เเรงงาน สัญชาติอนื่ เป็นการ เลือกปฏิบตั แิ ละสร้างภาระอันเกินควรให้กบั เเรงงานต่างด้าวสามสัญชาติเป็นอย่างมาก นับว่าเป็น การปฏิบตั ิ ที่ ขั ด กั บ หลั ก ความเสมอภาคและน� ำ ไปสู ่ ก ารเลื อ กปฏิ บั ติ ที่ ไม่เป็นธรรมซึ่งขัดแย้งกับหลักสิทธิมนุษยชนและหลักการตาม รัฐธรรมนูญ ประกอบกับเมื่อมองย้อนไปที่วัตถุประสงค์ของ กองทุนซึ่งมิได้มีไว้ให้ส่งกลับแรงงานต่างด้าวชาวพม่า ลาว และ

รายงานผลการศึกษา:โครงการศึกษาเพื่อรองรับนโยบายการเก็บเงินจากลูกจ้างคนต่างด้าวเข้ากองทุนเพื่อเป็นประกันค่าใช้จ่าย ในการส่งลูกจ้างกลับออกไปนอกราชอาณาจักร, กุมภาพันธ์ 2555 (กกจ 15/2555 กวต 2) 3 ตามรายงานผลการศึกษากรมการจัดหางานสรุปว่านายจ้างส่วนใหญ่ร้อยละ63.3และประชาชนร้อยละ 74.8 เห็นด้วยกับการเก็บเงินดังกล่าวโดยระบุ เพิ่มเติมว่านายจ้างร้อยละ 88.8 และประชาชนร้อยละ 70.8 เห็นด้วยกับการเก็บเงินเข้ากองทุนโดยไม่มีการยกเว้นให้ประเทศใดประเทศหนึ่ง 4 ดูอ้างอิง 1 รายงานผลการศึกษา หน้า 56 2 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


กัมพูชาเท่านัน้ ยังมีไว้เพือ่ ส่งกลับ ลูกจ้างคนต่างด้าวสัญชาติอนื่ และผูท้ ถี่ กู เนรเทศตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองและกฎหมาย ว่า ด้วยการเนรเทศตามล�ำดับ ตลอดจนใช้เป็นค่าใช้จ่ายบริหาร กองทุนอีกด้วย ระหว่างทีร่ อรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ออกมาใช้บงั คับ มาตรา 4 แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 นับว่าเป็น บทกฎหมายที่เกี่ยวข้องต่อการป้องกันการเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็น ธรรมมากที่สุด โดยมาตรา 4 แห่งรัฐธรรมนูญระบุว่า “ศักดิ์ศรี ความเป็นมนุษย์ สิทธิเสรีภาพและความเสมอภาคของ บุคคล ย่อมได้รับความคุ้มครอง” ประกอบกับรัฐธรรมนูญ มาตรา 30 วรรค 2 “การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลเพราะเหตุ แห่งความแตกต่างในเรื่อง ถิ่นก�ำเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะ ทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม หรื อ ความคิ ด เห็ น ทางการเมื อ งอั น ไม่ ขั ด ต่ อ บทบั ญ ญั ติ แ ห่ ง รัฐธรรมนูญจะกระท�ำมิได้” องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization–ILO) ได้นิยาม การเลือกปฏิบัติ (discrimination) ไว้ในอนุสัญญาว่าด้วยการเลือกปฏิบัติ (การจ้างงานและอาชีพ) พ.ศ. 2501 ฉบับที่ 111 ว่าเป็นการแบ่งแยกใดๆ เนือ่ งจากเหตุผล ทางเชื้อชาติ สีผิว เพศ ศาสนา ความคิดทางการเมือง ประเด็น ทางสัญชาติหรือภูมหิ ลังทางสังคมซึง่ ท�ำให้สญ ู เสียหรือกระทบต่อ ความเท่าเทียมด้านโอกาสหรือการปฏิบตั ใิ นการจ้างงานหรืออาชีพ ส่วนการตีความของศาลไทยในเรื่องการเลือกปฏิบัติต่อ แรงงานต่ า งด้ า วนั้ น ยั ง ไม่ มี แ นวค� ำ พิ พ ากษาที่ ชั ด เจนแต่ มี ค�ำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ. 251/2551 ที่ศาลเลือก น�ำหลักความเสมอภาค มาใช้ โดยศาลปกครองกล่าวในค�ำ พิพากษาดังกล่าวว่า “การเลือกปฏิบตั ทิ ถี่ อื ว่าไม่เป็นธรรมนัน้ ต้องเป็นกรณีของ การออกค�ำสั่งทางปกครองที่ ขัดต่อหลักความเสมอภาคและ เป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลเพราะเหตุแห่ง

ความ แตกต่างในเรือ่ งถิน่ ก�ำเนิด เชือ้ ชาติ ภาษา เพศ อายุ สภาพ ทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจ หรือ สังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็น ทาง การเมือง” จึงเห็นว่ากฎกระทรวงดังกล่าวมีลักษณะของการเลือก ปฏิบตั แิ ละไม่สอดคล้องต่อเจตนารมณ์ของ กฎหมายการท�ำงาน ของคนต่างด้าวซึ่งก�ำหนดค�ำนิยามของค�ำว่า “ต่างด้าว” ที่ หมายถึงบุคคล ธรรมดาซึง่ ไม่มสี ญ ั ชาติไทย แต่กระทรวงแรงงาน กลับน�ำมาตรการทางกฎหมายนี้ใช้บังคับเอา เฉพาะแรงงาน ต่างด้าว 3 สัญชาติ ได้แก่ พม่า ลาว และกัมพูชา เฉพาะงาน รับใช้ในบ้านและงานกรรมกรเท่านั้น ดั ง นั้ น รั ฐ บาลควรพิ จ ารณายกเลิ ก การเก็ บ เงิ น สมทบ เข้ากองทุนส่งกลับจากแรงงานต่างด้าวสามสัญ ชาติ รัฐเองควร เป็นผู้สนับสนุนงบประมาณกองทุนส่งกลับ โดยอาจก�ำหนด ให้นายจ้างเป็นผู้รับผิด ชอบบางส่วน และรัฐควรออกกฎหมาย และนโยบายที่ให้ความเท่าเทียมกันทางกฎหมาย โดยขจัดการ เลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม นโยบายและกฎกระทรวงที่ออกมา ควรสอดคล้องกับหลักสิทธิ มนุษยชน หลักการตามรัฐธรรมนูญ และหลักกฎหมายสากลเพื่อให้เกิดการปฏิบัติที่สอดคล้อง และ เป็นธรรมในการรับเข้าท�ำงาน การบังคับใช้ค่าแรงขั้นต�่ำตาม กฎหมาย ตลอดจนการเข้าถึง สวัสดิการสังคมและสุขภาพ เพื่อ ให้เเรงงานทั้งไทยและต่างด้าวสามารถเข้าถึงสิทธิประโยชน์ ตาม มาตรฐานกฎหมายเเรงงาน การปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมนั้นไม่ได้มีผลกระทบต่อบุคคล ทีถ่ กู ละเมิดสิทธิโดยตรงเท่านัน้ แต่ยงั ส่งผล กระทบต่อสังคม และ ความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ น�ำไปสูค่ วามไม่เสมอภาคและความ ขัดแย้งทาง สังคมอีกด้วย ไม่วา่ สถานการการเมืองจะเป็นอย่างไร ผู้มีอ�ำนาจการปกครองควรยึดหลักสิทธิ มนุษยชนและค�ำนึงถึง ความเสมอภาคทางกฎหมายตลอดจนการปฏิบัติที่เป็นธรรม เสมอเพราะเป็นหลักส�ำคัญในการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติ

แรงงานประมงกับความเป็นทาส ณัฐรัตน์ อรุณมหารัตน์5

ากรายงานผลการดำ�เนินงานป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของประเทศไทยประจำ�ปี 2556 ทีจ่ ดั ทำ�ขึน้ โดยศูนย์ปฏิบตั ิ การป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์แห่งชาติ สำ�นักงานเลขานุการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พบว่าในช่วงปีที่ผ่านมามีการสอบสวนคดีค้ามนุษย์ 674 คดี ซึ่งเพิม่ ขึ้นจากปี 2555 ถึง 368 คดี โดยที่สถิติการฟ้องคดีค้ามนุษย์ ต่อศาลก็เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยยะสำ�คัญเช่นกัน จาก 56 คดี เป็น 386 คดี อย่างไรก็ดีเพียง 10 เปอร์เซ็นต์ของคดีที่ถูกสอบสวนและ ฟ้องคดีตอ่ ศาลเท่านัน้ ทีเ่ ป็นคดีการบังคับใช้แรงงาน ปัจจัยสำ�คัญปัจจัยหนึง่ ทีท่ ำ�ให้ตวั เลขการสอบสวนและดำ�เนินคดีกบั ผูบ้ งั คับ ใช้แรงงานนั้นต่ำ� อีกทั้งยังไม่สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงที่เกิดขึ้นกับแรงงานโดยเฉพาะแรงงานในเรือประมง นั่นก็คือ การตีความและการบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการค้ามนุษย์ที่ขาดความเป็นพลวัต 5 ณัฐรัตน์

อรุณมหารัตน์ ผู้ประสานงานโครงการต่อต้านการค้ามนุษย์ด้านแรงงาน มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 3


การกระท�ำใดจะเป็นความผิดฐานค้ามนุษย์ในรูปแบบ การบังคับใช้แรงงาน นอกจากการกระท�ำนัน้ จะต้องครบองค์ประกอบ ภายนอกของมาตรา 6(1) พระราชบัญญัติป้องกันและปราบ ปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 อันได้แก่ การเป็นธุระจัดหา ซื้อ ขาย จ�ำหน่าย พามา หรือส่งไปยังที่ใด หน่วงเหนี่ยวกักขัง จัดให้อยูอ่ าศัย หรือรับไว้ซงึ่ บุคคลใด โดยการข่มขู่ ใช้กำ� ลังบังคับ ลักพาตัว ฉ้อฉล หลอกลวง ใช้อ�ำนาจโดยมิชอบ หรือโดยให้เงิน หรือผลประโยชน์อย่างอืน่ แก่ผปู้ กครองหรือผูด้ แู ลบุคคลนัน้ เพือ่ ให้ผปู้ กครองหรือผูด้ แู ลให้ความยินยอมแก่ผกู้ ระท�ำความผิดแล้ว การกระท�ำนัน้ จะต้องกระท�ำลงเพือ่ แสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ โดยการบังคับใช้แรงงาน ซึ่งในมาตรา 4 ของพระราชบัญญัติ ฉบับเดียวกันก็ได้ให้ความหมายของการบังคับใช้แรงงานไว้วา่ เป็น การข่มขืนใจให้ทำ� งาน หรือบริการ โดยท�ำให้กลัวว่าจะเกิดอันตราย โดยขู่เข็ญด้วยประการใดๆ โดยใช้ก�ำลังประทุษร้าย หรือท�ำให้ บุคคลอยู่ในภาวะที่ไม่สามารถขัดขืนได้ ส�ำหรับกรณีการค้ามนุษย์ที่เกิดขึ้นกับแรงงานบนเรือ ประมงนัน้ เจ้าหน้าทีม่ กั จะพุง่ ไปทีป่ ระเด็นการบังคับใช้แรงงาน ซึง่ หลายครัง้ ทีล่ กั ษณะของการกระท�ำความผิดยังมีความคลุมเครือ ว่าบุคคลนัน้ ถูกบังคับใช้แรงงานหรือไม่ แน่นอนว่าแรงงานเหล่านัน้ ถูกแสวงหาประโยชน์ เพราะถูกนายหน้าหลอกให้มาท�ำงานใน เรือประมง แต่ประเด็นอยู่ที่พวกเขาถูกแสวงหาประโยชน์ใน รูปแบบใด หากเป็นการบังคับใช้แรงงาน ก็ต้องน�ำสืบให้เข้า องค์ประกอบทั้งหมดที่กล่าวไปแล้วข้างต้นว่ามีการบังคับข่มขืน ใจให้ท�ำงาน อย่างไรก็ตาม ในความเป็นจริง ถ้าน�ำสืบไม่ได้ว่ามี การบังคับใช้แรงงานจริงๆ พนักงานอัยการก็มกั จะไม่สงั่ ฟ้องเป็น คดีค้ามนุษย์ การที่เจ้าหน้าที่ตั้งธงไว้ตั้งแต่แรกว่าเป็นการบังคับ ใช้แรงงาน ท�ำให้เจ้าหน้าที่มุ่งสอบสวนและหาพยานหลักฐาน ให้เข้าองค์ประกอบความฐานนัน้ แต่เพียงอย่างเดียว ท�ำให้พลาด โอกาสที่จะเอาผิดกับนายหน้า เจ้าของกิจการ หรือ ไต้ก๋งเรือ ในความผิดฐานค้ามนุษย์ในรูปแบบอื่นๆ เช่น การแสวงหา ประโยชน์ในรูปแบบของการเอาคนลงเป็นทาส แม้ว่ารัชกาลที่ 5 จะได้ประกาศยกเลิกทาสในระบบ อุปถัมภ์ไปแล้ว ท�ำให้บุคคลเหล่านั้นได้รับสิทธิในชีวิต ร่างกาย และเสรีภาพอย่างเต็มที่ แต่กม็ ไิ ด้หมายความว่าการเอารัดเอาเปรียบ และการแสวงหาประโยชน์ในตัวบุคคลในลักษณะเอาคนลงเป็น ทาสจะไม่หลงเหลืออยูเ่ ลยในสังคมปัจจุบนั ในทางกลับกัน กลับ ยังคงมีการเอาคนลงเป็นทาสให้เห็นอยูอ่ ย่างแพร่หลาย เพียงแต่ เป็นในรูปแบบและบริบททีแ่ ตกต่างออกไป ปัจจุบนั คดีคา้ มนุษย์ ที่มักจะถูกด�ำเนินคดีฐานเอาคนลงเป็นทาสนั้นส่วนใหญ่จะเป็น คดีที่เกิดขึ้นกับแรงงานท�ำงานบ้าน ที่แรงงานหญิงหรือแรงงาน เด็กถูกนายจ้างกระท�ำทรมานและทารุณกรรม ซึง่ เป็นการเอาคน ลงเป็นทาสที่มีรูปแบบของการกระท�ำความผิดที่ชัดเจน อย่างไร ก็ตาม ยังมีการเอาคนลงเป็นทาสอีกลักษณะหนึ่งที่เรามักจะ พบเห็นอยู่เป็นประจ�ำแต่กลับไม่ถูกตีความว่าเป็นการเอาคนลง เป็นทาสนั่นก็คือ การที่แรงงานถูกนายหน้าหลอกมาขายให้กับ นายจ้ า ง และต้ อ งท� ำ งานชดใช้ ห นี้ ค ่ า นายหน้ า ที่ มี ร าคาสู ง 4 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

เป็นหมื่นถึงสองหมื่นบาท ซึ่งเป็นลักษณะของการใช้แรงงาน ขัดหนี้ หรือ Debt Bondage Debt Bondage หรือแรงงานขัดหนี้ ในทางสากลถือว่า เป็น ทาสในยุคปัจจุบนั (Modern–day slavery) เป็นภาวะทีบ่ คุ คล ถูกหลอกลวงให้มาท�ำงานโดยที่ไม่ได้รับค่าแรงเลยหรือได้เพียง เล็กน้อย เพื่อชดใช้หนี้สินที่ตนเองไม่ได้เป็นคนก่อ แรงงาน ลักษณะนีม้ อี ยูใ่ นทุกๆ พืน้ ทีท่ วั่ โลกโดยเฉพาะอย่างยิง่ ในประเทศ แถบแอฟริกา และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ILO เคยคาดการณ์ ไว้ว่ามีแรงงานไม่ต�่ำกว่า 11.7 ล้านคนในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ทีต่ อ้ งตกเป็นแรงงานขัดหนี้ ในรายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์ ปี 2556 (Trafficking in Persons Report 2013) ก็ได้มกี ารรายงาน ถึ ง สถานการณ์ ข องแรงงานขั ด หนี้ ใ นสถานประกอบการใน ประเทศไทยว่า จากการตรวจสถานประกอบการห้าหมืน่ กว่าแห่ง พบว่ามีแรงงานทีถ่ กู หักค่าแรงเพือ่ ใช้หนี้ และถูกยึดหนังสือเดินทาง เป็นจ�ำนวนมากซึง่ เข้าข่ายการค้ามนุษย์ แต่กลับมีการด�ำเนินคดี ค้ามนุษย์เพียงสองคดีเท่านั้น ซึ่งทั้งสองคดีเป็นคดีการบังคับใช้ แรงงาน ในรายงานยังได้กล่าวถึงรูปแบบของแรงงานขัดหนี้ ในประเทศไทยว่าไม่ได้รับการคุ้มครองที่เหมาะสมอีกด้วย การจะด� ำ เนิ น คดี กั บ นายหน้ า และนายจ้ า งในข้ อ หา เอาคนลงเป็นทาสโดยยึดถือมูลฐานของการใช้แรงงานขัดหนี้ ในประเทศไทยนั้น ยังคงถูกมองว่าขาดน�้ำหนัก และไม่เพียงพอ ที่เอาผิดกับคนเหล่านั้นได้ ทั้งนี้เนื่องจากค�ำว่าแรงงานขัดนี้หนี้ ไม่มีปรากฏอยู่ในกฎหมายไทย ส่วนค�ำพิพากษาคดีการเอาคน ลงเป็นทาสนัน้ ก็ยงั คงจ�ำกัดอยูก่ บั เฉพาะแต่ในกรณีทมี่ กี ารทารุณ กรรมโหดร้ายไร้มนุษยธรรมเท่านั้น อย่างไรก็ตาม อาจารย์จิตติ ติงศภัทยิ ์ เคยได้ให้ความเห็นทางกฎหมายของการเอาคนลงเป็น ทาสตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 312 ไว้ได้อย่างน่าสนใจ ว่า “บุคคลซึง่ ตกอยูภ่ ายใต้อำ� นาจของบุคคลอืน่ ในการใช้แรงงาน โดยไม่ได้รบั ตอบแทนทีส่ มควรจากแรงงานของตนและถูกท�ำโทษ ได้ตามสมควร หาได้หมายความถึงขนาดที่บุคคลนั้นต้องตกอยู่ ภายใต้อ�ำนาจของบุคคลอื่นโดยเด็ดขาดในชีวิตและร่างกายไม่ เช่น การเอาคนมากักขังไว้ในโรงงานท�ำกระดาษ หรือน�ำแรงงาน เด็กมาใช้โดยไม่ให้ได้นอน ให้กนิ แต่นอ้ ย ให้คา่ แรงหรือไม่ให้เลย หรือแม้จะไม่ใช่ทาสเลยทีเดียว แต่ในฐานะคล้ายทาสก็อยู่ใน ความหมายของมาตรา 312 นี้” ค�ำว่า ฐานะคล้ายทาส หรือ Practices similar to Slavery ปรากฏอยู่ใน พิธีสารเพื่อป้องกันและปราบปราม การค้ามนุษย์โดยเฉพาะอย่างยิ่งหญิงและเด็ก (United Nations Convention against Transnational Organized Crime and Protocol to Prevent, Suppress and Punish Trafficking in Persons, especially Women and Children, 2000) ซึ่งเป็นต้น แบบของพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ของไทยที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน โดยที่ มาตรา 1 ของพิธีสารเพิ่มเติม เพื่อขจัดความเป็นทาส การค้าทาส หรือสถาบันหรือการปฏิบัติ ที่ ค ล้ า ยกั บ ความเป็ น ทาส ค.ศ. 1956 (Supplementary Convention on the Abolition of Slavery, the Slave Trade, and


nstitutions and Practices Similar to Slavery 1956) ได้ยก ตัวอย่างการท�ำกระท�ำทีเ่ ป็น “Practices similar to slavery” หรือ “การกระท� ำ อื่ น ใดอั น คล้ า ยคลึ ง กั บ การเอาคนลงเป็ น ทาส” ว่าได้แก่ แรงงานขัดหนี้ (Debt Bondage), ทาสติดที่ดิน (Serfdom), บังคับแต่งงาน ขายภรรยา การตกเป็นมรดกหลังจาก สามีตาย, และการขายเด็กอายุต�่ำกว่า 18 ปี เพื่อน�ำไปแสวง ประโยชน์จากแรงงานเด็ก ความเห็นของท่านอาจารย์จติ ติ และค�ำอธิบายกฎหมาย ระหว่างประเทศข้างต้น ควรถูกน�ำมาใช้ประกอบการพิจารณา บังคับใช้กฎหมายของเจ้าหน้าที่ ส่วนศาลจะยอมรับฟังความเห็น ในทางกฎหมายระหว่างประเทศได้เพียงใดนั้น ไม่ใช่ประเด็น ปัญหา เพราะพระราชบัญญัติป้องกันและปราบการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 นั้นอนุวัติการขึ้นมาจากกฎหมายระหว่างประเทศ ย่อมควรทีจ่ ะน�ำความเห็นในทางระหว่างประเทศในหลายๆ บริบท

มาพิจารณาประกอบ เพือ่ ให้การบังคับใช้กฎหมายนัน้ เป็นไปตาม เจตนารมณ์ทแี่ ท้จริง อีกทัง้ โดยธรรมชาติของกฎหมายนัน้ ตัวมัน เองมีความเป็นพลวัต กล่าวคือ กฎหมายย่อมพัฒนาเปลีย่ นแปลง อยู่ตลอดเวลาตามสภาพกาลและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป เมื่อ บริบทของความเป็นทาสไม่ได้ถูกจ�ำกัดอยู่แต่ในกรอบเดิมๆ อีก ต่อไปแล้ว ผู้บังคับใช้กฎหมายก็ควรที่จะตีความ และบูรณาการ กฎหมายการค้ามนุษย์ของไทยให้เท่าทันด้วย หากเจ้าหน้าที่ ยังคงยึดถือรูปแบบการด�ำเนินคดีในลักษณะเดิมๆ อย่างทีก่ ำ� ลัง ท�ำอยู่ และไม่เปิดรับเอาความเห็นในมุมมองระหว่างประเทศบ้าง ก็คงไม่อาจแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ที่เกิดขึ้นกับแรงงานโดย เฉพาะอย่างยิง่ แรงงานบนเรือประมง ทีเ่ ป็นกลุม่ บุคคลทีถ่ กู แสวง ประโยชน์ จ ากขบวนการค้ า มนุ ษ ย์ ม ากที่ สุ ด แต่ ก ลั บ ได้ รั บ การคุ้มครองต�่ำที่สุดเมื่อเทียบกับแรงงานประเภทอื่นๆ

มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนาออกแถลงการณ์ร่วมกับ องค์กรเอกชน สืบเนื่องจากการประชุมเวที ILO–RTG Multi– stakeholder forum on Labour conditions in fisheries sector in Thailand ระหว่างวันที่ 22–23 พฤษภาคม 2557 ใบแจ้งข่าว อัมสเตอร์ดัม 2 มิถุนายน 2557

แฟร์ฟูด อินเตอร์เนชั่นแนล6 เรียกร้องให้ปรับปรุงสภาพการท�ำงานในอุตสาหกรรมอาหารทะเลไทย การเรียกร้องร่วมกันขององค์กรสิทธิให้ผู้มีอ�ำนาจในการตัดสินใจ แก้ไขปรับปรุงสถานการณ์กรุงเทพมหานคร, ประเทศไทย วันศุกร์ที่ 23 พฤษภาคม 2557 กลุ่มผู้ซื้อสินค้าทะเลไทย จากประเทศแถบตะวันตก กลุ่มตัวแทน อุตสาหกรรมทะเล เจ้า หน้าที่จากหน่วยงานรัฐ องค์กรเอกชนรวมถึงแฟร์ฟูด อินเตอร์ เนชั่นแนล แรงงานข้ามชาติ และตัวแทนจากสหภาพแรงงาน จัดตัง้ แนวทางการท�ำงานร่วมกันเพือ่ พัฒนาปรับปรุง อุตสาหกรรม อาหารทะเลไทย การร่วมมือกันครั้งนี้เป็นผลส�ำเร็จระหว่าง การประชุมสัมมนาซึ่งจัดขึ้นโดยองค์กรแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization) และรัฐบาลไทย โดยในที่ ประชุมกลุ่มผู้ซื้อสินค้าทะเลไทยจากประเทศแถบตะวันตก และ กลุ่มตัวแทนอุตสาหกรรมทะเลได้ ตกลงร่วมกันที่จะปรับปรุง สภาพการท�ำงานให้เป็นไปตามมาตรฐานหรืออยูเ่ หนือมาตรฐาน กฎหมายแรง งานที่ก�ำหนด ถึงแม้ว่ากลุ่มองค์กรอิสระและ สหภาพแรงงานมีความพึงพอใจกับค�ำมัน่ สัญญาครัง้ นีแ้ ละ ยอมรับ

ว่ามาตรฐานแผนการปฏิบตั ติ อ่ แรงงานขององค์กรแรงงานระหว่าง ประเทศหรือที่เรียกเป็นภาษา อังกฤษว่า ILO Good Labour Practices (GPL) ได้ท�ำให้มีการเคารพสิทธิ มนุษยชนเบื้องต้น ของแรงงานในภาคส่วนอุตสาหกรรมอาหารทะลมากขึน้ อย่างไร ก็ดีในการร่างแผน งานและการด�ำเนินการตามแผน GPL ใน อนาคตควรที่จะส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากแรงงานและองค์กร ที่ท�ำงานเพื่อสิทธิของแรงงานมากขึ้น แผนงาน GPL ดังกล่าวเผยแพร่เป็นครั้งแรกเมื่อเดือน กันยายน พ.ศ. 2556 จัดตั้งโดยกรมคุ้มครอง แรงงานและ สวัสดิการสังคม กรมประมง และกลุ่มตัวแทนอุตสาหกรรมทะเล ซึ่งได้รับการสนับสนุน จากโครงการ International Programme on the Elimination of Child Labour (IPEC) ขององค์กรแรงงาน ระหว่างประเทศ แผนงาน GPL นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุง

6

เกี่ยวกับองค์กรแฟร์ฟูดอินเตอร์เนชั่นแนล (Fairfood International) เป็นองค์กรอิสระระหว่างประเทศไม่แสวงหาผลก�ำไร วัตถุประสงค์ขององค์กร คือการปรับปรุง พัฒนาสภาพความเป็นอยู่ทางสังคมและเศรษฐกิจแก่กลุ่มคนที่มีความเสี่ยงต่อการถูกละเมิดสิทธิ เช่น กลุ่มชาวนาที่มีเนื้อที่ท�ำกินขนาดเล็ก แรงงาน (โดยเฉพาะแรงงานผู้หญิง) และผู้บริโภคซึ่งอยู่ในฐาน ลูกค้าระบบอาหารขององค์กร โดยมุ่งเน้นการเปลี่ยนแปลงนโยบายและการปฏิบัติของรัฐและ บริษัทที่เกี่ยวกับเครื่องดื่มและอาหารให้เป็นไปในแนวทางที่ยั่งยืน ข้อมูลเพิ่มเติม: www.fairfood.org จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 5


สภาพการท�ำงานใน อุตสาหกรรมอาหารทะเลไทย โดยด�ำเนิน การตามแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมและการปฏิบัติ ตาม กฎหมายแรงงานและการปฏิบัติที่ดี ตลอดจนการฝึกอบรมแก่ ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมดังกล่าว ประเทศไทยส่งออกผลิตภัณฑ์อาหารทะเลเป็นอันดับสาม ของโลก รวมมูลค่าการส่งออกประมาณ 7.3 พันล้านดอลล่าร์ ในปี 2011 และมากกว่า 8 พันล้านดอลล่าร์ในปี 20127 สหภาพ ยุโรปน�ำเข้า ผลิตภัณฑ์อาหารทะเลจากไทยเป็นมูลค่า 1.15 พันล้านดอลล่าร์ในปี 2012 ขณะที่รายได้จากการ ส่งออกสินค้า อาหารทะเลไปยังประเทศสหรัฐอเมริกามีมูลค่ามากกว่า 1.6 พันล้านดอลล่าร์ในปี 20138 ประเทศไทยผลิตสินค้าอาหารทะเลประมาณ 4.2 ล้าน ตั น ต่ อ ปี หรื อ ประมาณ 90 เปอร์ เซ็ น ของสิ น ค้ า ส่ ง ออก 9 อุตสาหกรรมทะเลจ้างคนงานมากกว่า 650,000 คน ซึง่ ในจ�ำนวน แรงงานนั้น 90 เปอร์เซ็น เป็นแรงงานข้ามชาติจากประเทศ สหภาพพม่า สาธารณรัฐประชาชนลาวและประเทศกัมพูชา10 ส�ำหรับในภาคส่วนประมงนั้น เนื่องจากมีการขาดแคลนแรงงาน อย่างต่อเนื่องจึงส่งผลให้เพิ่มความเสี่ยง ต่อการละเมิดสิทธิ มนุษยชนและสิทธิแรงงาน ตลอดจนความเสีย่ งต่อการค้ามนุษย์11 เพื่ อ ที่ จ ะขจั ด การละเมิ ด สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนและสิ ท ธิ แรงงานจากอุตสาหกรรมสินค้าอาหารทะเลแปรรูปและ อุตสาหกรรมประมง และเพื่อที่จะปรับปรุงส่งเสริมสภาพ การท�ำงานของแรงงานในภาคส่วนนี้ให้ดีขึ้น ตลอดจนเพื่อ ปฏิบัติตามค�ำมั่นสัญญาที่ท�ำขึ้นเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2557 ที่ผ่านมา องค์ที่ลงนาม รวมถึง แฟร์ฟูด อินเตอร์ เนชัน่ แนล ขอเรียกร้องรัฐบาลไทย กลุม่ ตัวแทนอุตสาหกรรม ทะเลไทย กลุม่ ผูซ้ อื้ สินค้าทะเลไทยจากประเทศแถบตะวันตก ให้ปฏิบัติตามข้อเรียกร้องดังต่อไปนี้

พวกเราตระหนักว่า 1. ถึงแม้จะมีความคืบหน้าในการด�ำเนินงานเพือ่ ปรับปรุง สภาพการท�ำงาน อย่างไรก็ดีการละเมิด สิทธิและการเอารัด เอาเปรียบแรงงานยังเป็นปัญหาที่น่าเป็นห่วงในอุตสาหกรรม อาหารแปรรูปทะเลและอุตสาหกรรมประมง และผูป้ ระกอบการ และเจ้าของอุตสาหกรรมดังกล่าวไม่ได้จ่ายค่า จ้างแรงงานตาม ทีแ่ รงงานท�ำงานจริง ค่าจ้างทีแ่ รงงานได้รบั นัน้ น้อยกว่าค่าครองชีพ

7 องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ

ที่ สู ง กว่ า มาก ค่ า ครองชี พ ที่ เ ป็ น ภาระหนั ก ดั ง กล่าวรวมถึง ค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับการท�ำงาน เช่น ค่าการจัด หาจ้างงาน อุปกรณ์ และกองทุนส่งกลับคนต่างด้าวออกนอกราชอาณาจักร ซึ่งค่าใช้ จ่ายเหล่านี้ สูงเกินไปและถือเป็นการปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมเพื่อ เทียบกับรายได้ของนายจ้าง และลูกจ้าง 2. ความยั่งยืนและการเปลี่ยนแปลงในระยะยาวในการ ปรับปรุงสภาพการท�ำงานไม่อาจเกิดขึ้นได้ โดยปราศจากอิสระในการจัดตั้งสมาคมและอ�ำนาจการ ต่อรองของแรงงาน ซึ่งสิทธิแรงงานทั้งสองประการนี้ยังไม่มี ในอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปทะเลและอุตสาหกรรมประมง 3. การเคารพมาตรฐานกฎหมายและสิทธิแรงงาน บังคับ ใช้กฎหมาย และตรวจสอบตามหลักนิติธรรมในอุตสาหกรรม อาหารแปรรูปทะเลและอุตสาหกรรมประมงยังคงเป็นปัญหา (เช่น การตรวจแรงงานและการฟ้องคดีตอ่ ผูก้ ระท�ำผิดและละเมิด สิทธิมนี อ้ ย) การตรวจแรงงานทีไ่ ม่มปี ระสิทธิภาพแทนทีจ่ ะคุม้ ครอง แรงงานกลับท�ำให้เป็นผลเสียต่อแรงงานที่ไม่สามารถร้องเรียน การละเมิดสิทธิดว้ ยตนเองได้ ดังนัน้ การเพิม่ ประสิทธิภาพในการ ด�ำเนินการบังคับใช้ กฎหมายและนโยบายทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับหน้าที่ และสิทธิในอุตสาหกรรมการประมงควรได้รบั การจัดการทีเ่ ร่งด่วน เพื่อก�ำจัดความไม่มีประสิทธิภาพที่ท�ำให้เกิดการละเมิดสิทธิ ทีร่ นุ แรง ตลอดจน เกิดปัญหาการบังคับใช้แรงงานและก่อให้เกิด ภาระหนี้สินที่ไม่สิ้นสุดต่อแรงงานในเรือประมง 4. มาตรการระยะสั้น นโยบายการจัดการแรงงานข้าม ชาติและโยกย้ายถิน่ ฐานแรงงานของไทยท�ำให้ แรงงานข้ามชาติ ด้อยโอกาสและเข้าไม่ถึงสิทธิมากขึ้น ช่องทางการจัดหางาน ให้กับแรงงานข้าม ชาติด�ำเนินการล่าช้า ไม่มีประสิทธิภาพ และ ถูกควบคุมโดยนายหน้าซึ่งน�ำไปสู่การปฏิบัติที่ ไม่เป็นธรรมและ การละเมิดสิทธิแรงงาน 5. อุตสาหกรรมอาหารแปรรูปทะเลและอุตสาหกรรม ประมงขาดความโปร่งใส ยกตัวอย่างโดย การท�ำสัญญาใน ลักษณะผูร้ บั เหมารายย่อยผ่านนายหน้าจัดหางานท�ำให้แรงงาน ไม่สามารถเข้าถึงสิทธิและการคุม้ ครองต่างๆ ในส่วนโรงงานผลิต สิ น ค้ า วั ต ถุ ดิ บ อาหารทะเลก็ มี ร ะบบการตรวจ สอบที่ ไ ม่ มี ประสิทธิภาพและขาดความโปร่งใสก่อให้เกิดประเด็นความเสีย่ ง ด้านคุณธรรมส�ำหรับผู้ ที่ซื้อผลิตภัณฑ์อาหารทะเลไทย

(FAO) (2556). The State of World Fisheries and Aquaculture http://www.fao.org/docrep/016/i2727e/ i2727e.pdf 8 สถิตจ ิ ากนักวิเคราะห์ของกระทรวงการเกษตร อาหารและสิง่ แวดล้อมแห่งประเทศสเปน (MARM) เมือ่ วันที่ 24 มกราคม 2557–แหล่งข้อมูลต้นฉบับ Eurostat 9 กรมการประมงแห่งประเทศไทย (2556). Action Plan and Implementation by the Department of Fisheries in Addressing Labour Issues and Promoting Better Working Conditions in the Thai Fisheries Industry http://www.nocht.m–society.go.th/album/download/367802a4br46d2f4132c7a028e50980f.pdf 10 Accenture (2556). Exploitative Labour Practices in the Global Shrimp Industry http://www.humanityunited.org/pdf/Accenture_Shrimp_Report.pdf 11 องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) (2556). Employment practices and working conditions in Thailand’s fishing sector http://www.ilo.org/wcmsp5/ groups/public/–––asia/–––ro–bangkok/documents/publication/wcms_220596.pd 6 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


ฟ้องร้อง และ ลงโทษผู้ที่เกี่ยวข้องกับการค้ามนุษย์ เราขอเรียกร้องให้รัฐบาลไทยด�ำเนินการดังต่อไปนี้ รวมไปถึงการลงโทษเจ้าหน้าที่รัฐและคนไทยที่มี 1. ปรับปรุงมาตรฐานการท�ำงานอุตสาหกรรมอาหาร ส่วนร่วมกระท�ำความผิด แปรรูปทะเลและอุตสาหกรรมประมงของไทย: • มีมาตรการจัดการและปราบปรามการทุจริตในระบบ • ให้สัตยาบันอนุสัญญาขององค์การแรงงานระหว่าง การจัดการแรงงาน ประเทศฉบับที่ 188 ว่าด้วยการ ท�ำงานในภาค • เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพกระบวนการร้ อ งเรี ย นและ การประมง การเยียวยาตามโรงงานผู้ผลิตหรือในเรือ ประมงซึ่ง • เพิม่ ค่าแรงขัน้ ต�ำ่ ให้แรงงานให้สอดคล้องกับค่าครองชีพ น�ำไปสู่ขั้นตอนการด�ำเนินการทางกฎหมายต่อไป • นายจ้างหรือรัฐบาลควรสนับสนุนให้ความช่วยเหลือ • แก้ปัญหาผู้เสียหายจากการถูกละเมิดสิทธิไม่อยาก ทางการเงินซึ่งจ�ำเป็นส�ำหรับกองทุน ส่งแรงงาน มี ส ่ ว นร่ ว มในกระบวนการยุ ติ ธ รรมของศาลไทย ต่ า งด้ า วกลั บ ออกนอกราชอาณาจั ก ร และการ ยกตัวอย่างเช่น แก้ปัญหาการให้ผู้เสียหายจากการ บริหารงานกองทุนดังกล่าวควร มีความโปร่งใสตรวจ ค้ามนุษย์พกั ในสถาน คุม้ ครองของรัฐเป็นระยะเวลา สอบได้ นานเพราะต้องรอด�ำเนินคดีทางกฎหมายไทย • ควรท�ำบันทึกความเข้าใจระหว่างรัฐบาลไทยและ • กระทรวงแรงงานโดยกรมสวัสดิการและคุ้มครอง รัฐบาลประเทศผู้ส่งแรงงานเข้ามาท�ำ งานในภาค แรงงานควรสนับสนุนการท�ำงาน ขององค์กรที่มี ประมง โดยก�ำหนดให้มีการฝึกอบรมทักษะและ แรงงานข้ามชาติเป็นผู้ดูแลบริหารงานเพื่อท�ำงาน การตรวจร่างกายก่อนเริ่ม ท�ำงานในเรือประมง รณรงค์ให้แรงงานข้ามชาติรับทราบสิทธิและเข้าถึง • พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 ควรได้รับ การคุ้มครองช่วยเหลือตามกฎหมายแรงงาน การปรับปรุงแก้ไขให้แรงงานประมงสามารถเข้าถึง • คุ ้ ม ครองนั ก ปกป้ อ งสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนและไม่ มี ก าร สิทธิกองทุนในกรณีบาดเจ็บ เจ็บป่วย หรือเสียชีวิต ด�ำเนินคดีอาญาต่อกิจกรรมต่างๆ ที่ เกี่ยวข้อง 2. สนับสนุนการรวมกลุ่มกันของลูกจ้างแรงงานและ ในการปกป้องสิทธิมนุษยชน การมีอ�ำนาจร่วมกันในการต่อรองเจรจา: • ร่ า งตั ว อย่ า งสั ญ ญาแจกจ่ า ยส� ำ หรั บ โรงงานเพื่ อ • ให้ ค วามส� ำ คั ญ เป็ น อั น ดั บ แรกในการพิ จ ารณา ให้เป็นตัวอย่างมาตรฐานสัญญาแรงงานประมง ให้สัตยาบันอนุสัญญาขององค์การแรงงานระหว่าง • ด�ำเนินการก�ำจัดแรงงานเด็กและให้บริการจัดหา ประเทศฉบับที่ 87 และ 98 สถานที่ท�ำงานที่ปลอดภัยส�ำหรับเยาวชน • เปลีย่ นแปลงแก้ไขมาตรา 88 และ 100 ของพระราช 4. ปรับปรุงสภาพการท�ำงานทีไ่ ม่เอือ้ ประโยชน์ตอ่ แรงงาน บัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 เพื่อให้แรงงาน ข้ามชาติสามารถจัดตัง้ สหภาพแรงงานและสามารถ ข้ามชาติ เช่น • ให้บริการแรงงานข้ามชาติเข้าถึงสิทธิสุขภาพและ ด�ำรงต�ำแหน่ง เพือ่ บริหารงานสหภาพดังกล่าวได้เอง สิทธิประกันสังคม 3. หน่วยงานที่บังคับใช้กฎหมายของรัฐควรได้รับการ • เปิดโอกาสให้แรงงานข้ามชาติสามารถเปลีย่ นนายจ้าง พัฒนาและหลักนิติธรรมควรได้รับความเคา รพและยึดปฏิบัติ ได้ง่ายขึ้น เพื่อที่แรงงานสามารถเข้าถึงสิทธิขั้นพื้นฐานต่างๆ : • ด�ำเนินการวางแผนนโยบายการโยกย้ายถิน่ ฐานของ • บั ง คั บ ใช้ ค ่ า จ้ า งขั้ น ต�่ ำ ตามกฎหมายและยกเลิ ก แรงงานในระยะยาวที่มีประสิทธิ ภาพ รวมถึงการ การหักค่าจ้างเพื่อจ่ายชุดยูนิฟอร์ม อุปกรณ์และ วางแผนนโยบายที่ครอบคลุมไปถึงครอบครัวของ ค่าสมัครงานจากแรงงานซึ่งถือว่าเป็นการกระท�ำที่ แรงงานข้ามขาติ ผิดกฎหมาย • ให้บริการล่ามที่ไม่มีอคติและเป็นกลางแก่แรงงาน • จัดสรรงบประมาณที่เพียงพอ เช่น กองทุนส�ำหรับ ข้ามชาติ น�้ำมันใช้เดินเรือ และการอบรม เจ้าหน้าที่ ล่าม 5. เพิ่มความโปร่งใสการด�ำเนินงานในภาคประมง: เจ้ า หน้ า ที่ ก ระทรวงแรงงาน เจ้ า หน้ า ที่ ต รวจคน • มี ก ารลงทะเบี ย นศู น ย์ ป ระสานแรงงานประมง เข้าเมือง ต�ำรวจน�้ำ และทหารเรือเพื่อให้เจ้าหน้าที่ และรณรงค์เรื่องการสร้างมาตรฐานการท�ำงานที่ บังคับใช้กฎหมายให้เป็นไปในทางเดียวกันในสถานที่ ปลอดภัยในสถานที่ท�ำงาน ท�ำงานและอ�ำนวยความสะดวกให้แก่เจ้าหน้าที่ • ก� ำ หนดกฏระเบี ย บและบั ง คั บ ใช้ อ ย่ า งเคร่ ง ครั ด ตรวจแรงงานในน่านน�้ำทะเล ให้เจ้าของเรือลงทะเบียนเรือประมง ติดตั้งระบบ • น�ำตัวผู้กระท�ำผิดกฎหมายมาลงโทษตามกฎหมาย การติดตามเรือประมง (vessel monitoring systems) เช่น เพิ่มความพยายามใน การปราบปรามและ เพื่อสามารถ ติดตามพิกัดเรือ เวลาที่เรือเดินทะเล ป้ อ งกั น การค้ า มนุ ษ ย์ โ ดยมี ก ารลงพื้ น ที่ สื บ สวน จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 7


3. กลุม่ ผูซ้ อื้ โดยความร่วมมือกับแรงงาน ผูผ้ ลิต รัฐบาล และองค์กรภาคส่วนประชาชน ควรร่วมมือกันเพื่อพัฒนาระบบ ตรวจสอบที่ โ ปร่ ง ใสและการตรวจแรงงานที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เอื้ออ�ำนวยต่อการมีส่วนร่วมของแรงงาน 4. จัดตัง้ กลไกกับกลุม่ ผูผ้ ลิตซึง่ จะท�ำให้กลุม่ ผูซ้ อื้ สามารถ ติดต่อกับแรงงานได้โดยตรง 5. เพิ่มความโปร่งใสการด�ำเนินงานในภาคประมง: • กลุ ่ ม ผู ้ ซื้ อ ควรตั้ ง เงื่ อ นไขสั ญ ญาการซื้ อ จากกลุ ่ ม ผูผ้ ลิตโดยจะซือ้ วัตถุดบิ จากกลุม่ ผูผ้ ลิตทีจ่ ดทะเบียน ผู้รับเหมารายย่อยเท่านั้น เราขอเรียกร้องให้โรงงานและอุตสาหกรรมด�ำเนินการ • กลุม่ ผูซ้ อื้ ควรเรียกร้องให้กลุม่ ผูผ้ ลิตมีระบบการตรวจ ดังต่อไปนี้ สอบติดตามเรือประมงระบบ vessel monitoring 1. ปรับปรุงมาตรฐานการท�ำงานในอุตสาหกรรมอาหาร systems และมีการตรวจสอบเรือเป็นระยะเพื่อ ทะเล: ให้แน่ใจว่ากลุ่ม ผู้ผลิตดังกล่าวปฏิบัติตามกฎหมาย • เคารพสิทธิแรงงานโดยการบังคับใช้โดยปราศจาก สหภาพแรงงานและองค์กรเอกชนภาคประชาสังคมจะ การเลือกปฏิบตั ติ อ่ แรงงาน โดยเฉพาะ การดูแลเรือ่ ง ค่าแรงที่ควรเหมาะสมกับค่าครองชีพและประกัน ด�ำเนินการดังต่อไปนี้: สังคมต่างๆ 1. รณรงค์ ใ ห้ รั ฐ ลงนามให้ สั ต ยาบั น อนุ สั ญ ญา C87 2. สนับสนุนการรวมกลุ่มกันของลูกจ้างแรงงานและ และ C98 เพื่อให้ระบบแรงงานและกฎหมายภายในประเทศ การมีอ�ำนาจร่วมกันในการต่อรองเจรจา: ที่เกี่ยวข้องมีการปฏิบัติ และบังคับใช้กฎหมาย ที่สอดคล้องและ • ขั้นตอนแรกคือการสนับสนุนการเจรจาสนทนาของ มีพลวัตกับแนวนโยบายของรัฐ ลูกจ้างผ่านการรณรงค์ให้มีการใช้ บทบัญญัติเรื่อง 2. ให้การสนับสนุนแรงงานข้ามชาติมีโอกาสเติบโตและ สวั ส ดิ ก ารสั ง คมและจั ด ตั้ ง คณะกรรมการลู ก จ้ า ง มั่นคง ตามพระราชบัญญัติ แรงงานสัมพันธ์ซงึ่ ขยายความ 3. ให้ความช่วยเหลือแรงงานในการเจรจากับนายจ้าง ไปถึงการรณรงค์ให้คณะกรรมการลูกจ้างนีด้ ำ� เนินการ 4. ให้การอบรมแก่แรงงานและตัวแทนแรงงานเกี่ยวกับ อย่างจริงใจในการแก้ปญ ั หาแรงงานข้ามชาติ รวมไป สิทธิประโยชน์ต่างๆ รวมไปถึงสิทธิอ�ำนาจ ต่อรองร่วมกัน ถึงประเด็นการขาดอ�ำนาจต่อรอง ร่วมกันในรูปแบบ 5. มีส่วนร่วมในการปรับปรุงและให้บริการศูนย์ one– ของสหภาพแรงงานโดยเฉพาะสหภาพแรงงาน stop service ที่มีบริการที่หลากหลายส�ำหรับภาคส่วนประมง ข้ามชาติ 3. จัดตัง้ กลไกการร้องเรียนโดยขอค�ำปรึกษากับแรงงาน ที่ท�ำงานในสถานที่ท�ำงานต่างๆ 4. เพิ่มความโปร่งใสการด�ำเนินงานในภาคประมง: • นายจ้างควรจ้างแรงงานเองโดยไม่ผา่ นระบบนายหน้า • ลงทะเบียนผู้รับเหมารายย่อย • ลงทะเบียนเรือและแรงงานลูกเรือ ปรับปรุงสภาพ การท�ำงานให้ดีขึ้นและปลอดภัย ตลอดจนรณรงค์ ให้แรงงานประมงตะหนักถึงความปลอดภัยในการ ท�ำงาน อยูใ่ นน่านน�ำ้ และดูแลรักษาสมุดปูมเรือให้มี ข้อมูล ที่ถูกต้อง เพื่อท�ำให้มั่นใจว่าแรงงานจะได้รับสิทธิ ประโยชน์ทางประกันสังคม สิทธิประกันสุขภาพ และ ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย • ก�ำหนดให้มกี ารลงทะเบียนและเพิม่ มาตรการบังคับ ใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับนาย หน้าจัดหางานเพื่อ ป้องกันการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมทีเ่ กินอัตราก�ำหนด และสามารถ เรียกร้องให้นายหน้าผู้กระท�ำผิดกฏ ระเบียบรับผิดชอบตามกฎหมาย

เราขอเรียกร้องให้กลุ่มผู้ซื้อด�ำเนินการดังต่อไปนี้ 1. ยืนยันที่จะสนับสนุนการเคารพสิทธิขั้นพื้นฐานของ แรงงานในการท�ำงานในโรงงานผู้ผลิต 2. ส่งเสริมและสนับสนุนให้รัฐบาลและนายจ้างเคารพ เสรีภาพในการสมาคมของแรงงาน ตลอดจนสนับสนุนให้มี การปรับปรุงมาตรฐานแรงงานในภาคประมงให้ดีขึ้น

8 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนาร่วมกับเครือข่ายประชากรข้ามชาติ ออกแถลงการณ์ด่วนกรณีการจัดระเบียบแรงงานข้ามชาติ วันที่ 17 มิถุนายน 2557

แถลงการณ์ด่วน เรียกร้องคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ทบทวนมาตรการจัดการระเบียบแรงงานข้ามชาติ ป้องกันผลกระทบด้านเศรษฐกิจและความมั่นคงของมนุษย์ ตามที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ได้ท�ำการ ยึดอ�ำนาจการปกครอง มาตัง้ แต่วนั ที่ 22 พฤษภาคม 2557 จนถึง ปัจจุบันเป็นระยะเวลาเกือบหนึ่งเดือนแล้วที่ คสช. ได้ออก ประกาศ–ค�ำสั่ง จนถึงวันที่ 16 มิถุนายน 2557 จ�ำนวน 68 ฉบับ โดยมีคำ� สัง่ ที่ 59/2557 และ 60/2557 ลงวันที่ 11 มิถนุ ายน 2557 เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการแก้ไขปัญหาแรงงานข้ามชาติ โดยมีตัวแทนด้านความมั่นคงและข้าราชการพลเรือนร่วมเป็น คณะกรรมการและคณะกรรมการแก้ไขปัญหาดังกล่าว จากการติ ด ตามสถานการณ์ ข องเครื อ ข่ า ยประชากร ข้ามชาติ และองค์กรแนบท้าย พบว่า ก่อน คสช. จะได้ออกค�ำสัง่ เลขที่ 59/2557 และ 60/2557 ลงวันที่ 10 มิถุนายน 2557 หน่วยงานด้านความมัน่ คงและเจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยพลเรือนในนามกอง อ�ำนวยการรักษาความมั่นคงจังหวัด (กอ.รมน.จว.) บางพื้นที่ ได้ให้ข้อมูลผ่านสื่อมวลชนว่าได้ด�ำเนินการที่เรียกว่าจัดระเบียบ แรงงานต่างด้วยโดยใช้ก�ำลังปิดล้อม ตรวจค้นบ้านที่ต้องสงสัย ว่าอาจจะมีแรงงานข้ามชาติที่เข้ามาท�ำงานในประเทศไทยและ ควบคุมแรงงานข้ามชาติไว้เป็นจ�ำนวนมาก จากข้อมูลที่ได้รับ พบว่ามีกลุ่มแรงงานข้ามชาติที่ถูกควบคุมตัวหลายกลุ่ม เช่น แรงงานไม่มีเอกสารเดินทางเข้าเมืองแบบถูกกฎหมายและไม่มี ใบอนุญาตให้ท�ำงาน บางรายมีหนังสือเดินทางแต่ใบอนุญาต ท�ำงานไม่สอดคล้องกับพื้นที่ท�ำงานกับพื้นที่ที่มีการพบและ ควบคุมตัวแรงงาน บางกรณีเป็นแรงงานทีม่ หี นังสือเดินทางและ ใบอนุญาตท�ำงานครบสีป่ ี มีการด�ำเนินการรือ้ ถอนบ้านในชุมชน ทีต่ อ้ งสงสัยว่ามีแรงงานข้ามชาติเข้าเมืองผิดกฎหมายพักอาศัยอยู่ และบางกรณีได้มกี ารด�ำเนินการทีม่ แี นวโน้มจะละเมิดต่อมาตรการ การคุ ้ ม ครองเด็ ก ตามกฎหมายคุ ้ ม ครองของไทย และตาม อนุสัญญาที่เกี่ยวข้องกับสิทธิเด็กประเทศไทยเป็นภาคีสมาชิก ซึง่ จากกระแสข่าวเรือ่ งจัดระเบียบแรงงานต่างด้าวดังกล่าว ท�ำให้ แรงงานข้ามชาติมีความหวาดกลัวและมีความเสี่ยงว่าจะถูก จับกุม จึงทยอยเดินทางออกนอกราชอาณาจักรไทยเป็นจ�ำนวน หลายแสนคน ซึ่งย่อมส่งผลกระทบโดยตรงต่อความมั่นคงทาง เศรษฐกิจของชาติ เนื่องจากประเทศไทยประสบปัญหาภาวะ การขาดแคลนแรงงานในภาคผลิ ต ทั้ ง อุ ต สาหกรรมและภาค การเกษตร ที่ผ่านมาหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องกับการจัดการ การขาดแคลนแรงงาน โดยให้รฐั บาลมีนโยบายจดทะเบียนแรงงาน เพื่อให้แรงงานจากประเทศเพื่อนบ้านได้แก่ประเทศเมียนมาร์

ลาว และกัมพูชา สามารถท�ำงานได้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย และได้ พ ยายามหาทางแก้ ไขปั ญ หากลุ ่ ม แรงงานที่ ท� ำ งาน ในประเทศไทยอย่างผิดกฎหมาย สามารถเข้าสู่กระบวนการ พิสจู น์สญ ั ชาติ มีหนังสือเดินทางและใบอนุญาตท�ำงานทีถ่ กู ต้อง เครือข่ายประชากรข้ามชาติเห็นว่า นอกจากรัฐบาลไทยมีความ พยายามในแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงานแล้ว ยังสามารถ แก้ ไขปั ญ หาด้ า นความมั่ น คงของชาติ ด ้ ว ยเนื่ อ งจากท� ำ ให้ ประเทศไทยมีแรงงานข้ามชาติที่ถูกกฎหมายมากขึ้น ซึ่งถือว่า เป็นความส�ำเร็จในการจัดการแรงงานข้ามชาติ อย่ า งไรก็ ต ามปั ญ หาของแรงงานข้ า มชาติ ยั ง ต้ อ งมี การเดินหน้าแก้ไขปัญหาทีส่ ำ� คัญหลายประการ ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ ง แรงงานที่ผ่านการพิสูจน์สัญชาติ และการน�ำเข้าที่ผ่านบันทึก ข้อตกลงระหว่างรัฐบาลไทยและประเทศเพื่อนบ้าน ที่มีเงื่อนไข อนุญาตให้ท�ำงานได้ครั้งละ 2 ปี และสามารถต่อระยะเวลา การท�ำงานไปได้อีกไม่เกินสองปี ซึ่งปรากฏว่าเมื่อปี 2556 มี แรงงานข้ามชาติทคี่ รบก�ำหนดวาระการจ้างงานสีป่ กี ว่าสองแสน ราย (อ้างถึงหนังสือกระทรวงแรงงานเลขที่ รง 0307/2443 ลงวันที่ 17 มีนาคม 2557 ถึงเลขาธิการคณะรัฐมนตรี) เพื่อ แก้ปัญหาการแก้ไขปัญหาแรงงานข้ามชาติที่ครบระยะเวลาการ จ้างงานสี่ปี และอยู่ในประเทศไทยเกินก�ำหนดระยะเวลา ที่จะ ท�ำให้แรงงานมีความเสีย่ งต่อการถูกจับกุม และภาคธุรกิจประสบ ปัญหาการขาดแคลนแรงงาน กระทรวงแรงงานจึงได้เสนอให้มี มติคณะรัฐมนตรีกำ� หนดให้แรงงานทีค่ รบก�ำหนดวาระการจ้างงาน สีป่ สี ามารถอยูต่ อ่ ในประเทศไทยได้เป็นกรณีพเิ ศษ 180 วัน หรือ จนกว่าจะมีรัฐบาลชุดใหม่ที่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ เพื่อให้ นายจ้างน�ำแรงงานข้ามชาติไปขอรับการตรวจลงตราและประทับ ตราอนุญาตให้อยูใ่ นราชอาณาจักร ขอรับใบอนุญาตท�ำงานตาม ขั้นตอนที่หน่วยงานราชการก�ำหนดไว้ต่อไป ดังนั้นแรงงาน กว่าสองแสนรายที่ครบก�ำหนดวาระการจ้างงานสี่ปี ย่อมได้รับ การคุม้ ครองโดยการไม่ถ่ กู จับกุมและบังคับให้สง่ กลับหากแรงงาน อยู่ระหว่างขั้นตอนการด�ำเนินการขอรับการตรวจลงตราและ ใบอนุญาตท�ำงานตามขั้นตอนที่หน่วยงานของรัฐก�ำหนด เหตุการณ์การปิดล้อม ตรวจค้น จับกุม ควบคุมตัวและ การหลั่งไหลกันกลับประเทศต้นทางของแรงงานข้ามชาติ ย่อม ส่งผลกระทบโดยตรงต่อนโยบายการจัดการแรงงานข้ามชาติ และความสั ม พั น ธ์ ที่ ดี ต ่ อ ประชาชนในประเทศเพื่ อ นบ้ า น จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 9


แม้หลายหน่วยงานรวมทั้งฝ่ายคณะรักษาความสงบแห่งชาติจะ ยืนยันผ่านสือ่ ต่างๆ ว่าไม่มนี โยบายเร่งรัด ปราบปราม กวาดจับ แรงงานข้ามชาติแต่อย่างใด แต่มีแรงงานและผู้ประกอบการอีก จ�ำนวนมากที่ยังไม่มั่นใจต่อนโยบายของฝ่ายไทย มีบางกรณีท่ี ปรากฏเป็นข่าวนายจ้างคนไทยลอยแพแรงงานกว่าสองร้อยคน เนื่องจากเกรงกลัวความผิด หรือกระทั่งเหตุการณ์ล่าสุดที่รถขน แรงงานทีก่ ำ� ลังเดินทางไปชายแดนกัมพูชา ประสบอุบตั เิ หตุทาง รถยนต์เป็นเหตุให้แรงงานชาวกัมพูชาได้รบั บาดเจ็บและเสียชีวติ และชาวบ้านซึ่งเป็นเด็กและอยู่บนท้องถนนใกล้ที่เกิดเหตุถูกยิง ด้วยกระสุนปืนจนได้รับบาดเจ็บ สถานการณ์ที่เกิดขึ้นนี้สะท้อน การขาดการท�ำงานอย่างบูรณาการ ฝ่ายพลเรือนยังถูกจ�ำกัด บทบาทในการร่วมกันแก้ไขปัญหาแรงงานข้ามชาติทยี่ งั คงมีความ สลับซับซ้อนและต้องใช้ระยะเวลา และอาจเป็นอุปสรรคต่อคณะ รักษาความสงบแห่งชาติ ที่จะสร้างความสงบสุข และการปฏิรูป ทางเศรษฐกิจ เครือข่ายประชากรข้ามชาติและองค์กรแนบท้าย จึงขอเรียกร้องและมีข้อเสนอแนะเร่งด่วน ดังนี้ 1. ยุติมาตรการของเจ้าหน้าที่ในการกวาดล้าง จับกุม แรงงานข้ามชาติ และก�ำหนดนโยบายและมาตการในการปฏิบตั ิ ให้ชดั เจน เพือ่ ให้เจ้าหน้าทีใ่ นท้องทีต่ า่ งๆ ปฏิบตั เิ ป็นแนวเดียวกัน อย่างเป็นเอกภาพ ออกประกาศ แจ้งให้หน่วยงานด้านความ มั่นคงและฝ่ายพลเรือนที่เกี่ยวข้องระมัดระวังในการด�ำเนินการ ปราบปรามกลุ่มแรงานที่เข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย เนื่องจาก แรงงานบางรายอาจจะอยู่ในกลุ่มที่อยู่ระหว่างการด�ำเนินการ ออกใบอนุญาตท�ำงานหลังจากที่แรงงานประมาณสองแสนราย ครบวาระการจ้างงานสี่ปี 2. ออกมาตรการด่วนที่จะสร้างความมั่นใจต่อแรงงาน ข้ามชาติ และผู้ประกอบการว่ามาตรการการจัดระบบแรงงาน ข้ามชาติจะไม่ส่งผลกระทบต่อการจ้างงาน เพื่อยับยั้งการไหล ออกของแรงงาน สืบเนื่องจากการได้รับข่าวลือที่ คสช. เห็นว่า ไม่เป็นความจริงแต่ประการใด 3. คสช.ควรปรับโครงสร้างคณะกรรมการแก้ไขปัญหา แรงงานต่างด้าวมีคณะกรรมการที่เป็นตัวแทนผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง กับ การจ้างแรงงานข้ามชาติในแต่ละกลุ่ม เช่น ผู้ประกอบการ ตัวแทนกลุ่มผู้ใช้แรงงาน ภาควิชาการ ภาคประชาสังคม เพื่อ ให้ได้มุมมองและข้อเสนออย่างรอบด้าน และสะท้อนแนวทาง การแก้ไขปัญหาที่สามารถน�ำไปสู่การปฏิบัติได้จริง ซึ่งจะเป็น การรั ก ษาไว้ ซึ่ ง ความมั่ น คงด้ า นเศรษฐกิ จ และเสถี ย รภาพ ความสัมพันธ์ระหว่างไทยและประเทศเพื่อนบ้าน 4. สถานการณ์ทผี่ า่ นมาสะท้อนให้เห็นว่ามาตรการทีเ่ น้น การใช้มิติความมั่นคงอย่างเดียวไม่สามารถแก้ไขปัญหาแรงงาน ข้ามชาติอย่างเป็นระบบได้ ทางคสช. และคณะกรรมการจึงควร ที่จะยืนยันจะด�ำเนินการจัดการแรงงานข้ามชาติที่เน้นการน�ำ แรงงานข้ามชาติเข้าสู่ระบบอย่างถูกกฎหมายตามแนวทางเดิม อย่างต่อเนือ่ งควบคูไ่ ปกับมาตรการอืน่ ๆ เช่น การจ้างงานชายแดน ทั้ ง นี้ โ ดยค� ำ นึ ง ถึ ง ความสมดุ ล ของความมั่ น คงของประเทศ การพัฒนาทางเศรษฐกิจ และการคุ้มครองแรงงานข้ามชาติ 10 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

ด้ ว ยความเคารพในสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนและศั ก ดิ์ ศ รี ค วามเป็ น มนุษย์ 1. เครือข่ายประชากรข้ามชาติ (Migrants Working Group) 2. เครือข่ายปฏิบัติงานเพื่อแรงงานข้ามชาติ (ANM) 3. คลินกิ กฎหมายด้านสิทธิและสถานะบุคคล ศูนย์สงั คม พัฒนา มูลนิธิคาทอลิกสุราษฎร์ธานี 4. โครงการประสานชาติพันธุ์อันดามัน พังงา 5. มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา (HRDF) 6. เครือข่ายสิทธิแรงงานข้ามชาติ (MWRN) 7. สถาบั น วิ จั ย และพั ฒ นาเพื่ อ เฝ้ า ระวั ง สภาวะไร้ รั ฐ (stateless watch) 8. มูลนิธิส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน( Prorights Foundation) 9. สมาคมสิทธิเสรีภาพของประชาชน (UCL) 10. Save the Children

เครือข่ายลูกจ้างท�ำงานบ้านประเทศไทย ร่วมกิจกรรมวันลูกจ้างท�ำงานบ้านสากล เนื่องในวันที่ 16 มิถุนายน 2554 ที่ประชุมองค์กรด้าน แรงงานระหว่างประเทศ (ไอแอลโอ–ILO) ได้มมี ติให้มกี ารรับรอง อนุสญ ั ญาฉบับที่ 189 ว่าด้วยงานทีม่ คี ณ ุ ค่าส�ำหรับลูกจ้างท�ำงาน บ้าน (C–189 Domestic workers Convention, 2011) (มีผลบังคับ ใช้วันที่ 5 กันยายน 2556–entry to force 5 September 2013) เพือ่ ก�ำหนดมาตรฐานในการคุม้ ครองลูกจ้างท�ำงานบ้าน ซึง่ ข้อมูล ของไอแอลโอ ระบุว่า มีแรงงานท�ำงานบ้านอยู่ทั่วโลกประมาณ 85 ล้าน โดย 20 ล้านคน เป็นแรงงานท�ำงานบ้านอยู่ในภูมิภาค เอเชีย ปัจจุบันมีประเทศภาคีสมาชิกขององค์กรด้านแรงงาน ระหว่างประเทศให้สัตยาบันแล้ว 14 ประเทศ โดยในประเทศ เอเชียมีเพียงฟิลิปปินส์เพียงชาติเดียวเท่านั้นที่ได้ให้สัตยาบัน อนุสญ ั ญาฉบับดังกล่าว นอกจากนี้ ลูกจ้างท�ำงานบ้านทัว่ โลกยัง นับวันทีม่ กี ารรับรองอนุสญ ั ญาฉบับที่ 189 เป็น วันลูกจ้างท�ำงาน บ้านสากล (International Domestic Workers’ Day) ซึ่งกลุ่ม ลูกจ้างท�ำงานบ้าน และเครือข่ายทั้งภาครัฐและเอกชน ได้ร่วม กันท�ำกิจกรรมเพือ่ ระลึกถึงวันลูกจ้างท�ำงานบ้านสากลพร้อมทัง้ ข้อเรียกร้องถึงรัฐบาลต่างๆ ในการปรับปรุงสภาพการท�ำงานของ ลูกจ้างท�ำงานบ้านให้ดีขึ้นและเป็นไปตามมาตรฐานที่ก�ำหนด โดยไอแอลโอ ในปีนี้ เมือ่ วันที่ 15 มิถนุ ายน 2557 มูลนิธเิ พือ่ การพัฒนา และอาชีพ (Foundation for Labour and Employment Promotion–Homenet) ร่วมกับมูลนิธิเพื่อการพัฒนาเด็ก (มพด.–Foundation for Child and Development) จึงได้จัดเวทีวันลูกจ้าง ท�ำงานบ้านสากลขึ้น เพื่อให้ตัวแทนของลูกจ้างท�ำงานบ้าน เข้าร่วมกิจกรรมและท�ำข้อเสนอถึงรัฐบาลไทย ปัจจุบนั กระทรวง แรงงานได้คาดการณ์ไว้วา่ มีลกู จ้างท�ำงานบ้านอยูใ่ นประเทศไทย


ประมาณ 300,000 คน โดยมีลูกจ้างท�ำงานบ้านที่เป็นชาวพม่า และคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย ในหัวข้อ ก้าวต่อไปในการ กัมพูชาและลาว ขึน้ ทะเบียนกับกระทรวงแรงงานจ�ำนวน 45,000 คุ้มครองสิทธิลูกจ้างท�ำงานบ้านในประเทศไทยแล้ว เครือข่าย คน ด้านกฎหมายและนโยบายในการคุม้ ครองลูกจ้างท�ำงานบ้าน ลู ก จ้ า งท� ำ งานบ้ า นในประเทศไทยยั ง ได้ อ ่ า นค� ำ ประกาศ นัน้ ปัจจุบนั มีกฎกระทรวงฉบับที่ 14 (พ.ศ. 2555) ออกตามความ เพื่อเรียกร้องหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้เร่งแก้ไขปัญหาที่ลูกจ้าง ในพระราชบัญญัตคิ มุ้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ซึง่ ได้กำ� หนดสิทธิ ท�ำงานบ้านยังไม่ได้รับการคุ้มครอง ดังนี้ และประโยชน์ ข องลู ก จ้ า ง ท�ำงานบ้าน อาทิ ให้นายจ้าง เปิดค�ำประกาศ เครือข่ายลูกจ้างท�ำงานบ้านประเทศไทย จั ด ให้ ลู ก มี วั น หยุ ด ประจ� ำ วันที่ 16 มิถุนายน 2557 สัปดาห์ วันหยุดตามประเพณี วั น หยุ ด พั ก ผ่ อ นประจ� ำ ปี วันลาป่วย และให้นายจ้าง จ่ า ยค่ า จ้ า งให้ แ ก่ ลู ก จ้ า ง เท่ า กั บ ค่ า จ้ า งในวั น ท� ำ งาน นอกจากนี้ ก ฎกระทรวงยั ง ก�ำหนดห้ามมิให้จ้างเด็กอายุ ต�่ำกว่า 15 ปี เพื่อเป็นลูกจ้าง ท� ำ งานบ้ า น และห้ า มมิ ใ ห้ นายจ้ า งจ่ า ยค่ า จ้ า งของ ลูกจ้างทีเ่ ป็นเด็กแก่บคุ คลอืน่ อย่ า งไรก็ ต ามกฎกระทรวง ฉบับดังกล่าวนีย้ งั มิได้กำ� หนด สิทธิของลูกจ้างบางประการ ได้แก่ ชั่วโมงการท�ำงาน ค่า ล่วงเวลา สิทธิในการลาคลอด และนอกจากนี้กฎกระทรวง ฉบั บ ดั ง กล่ า วแล้ ว ลู ก จ้ า ง ท�ำงานบ้านไม่สามารถเข้าถึง ประโยชน์ แ ละสิ ท ธิ ห รื อ ที่ ส� ำ คั ญ เกี่ ย วกั บ เงิ น ทดแทน กรณี ป ระสบอั น ตราย เจ็ บ ป่ ว ยหรื อ เสี ย ชี วิ ต เนื่ อ งจาก การท�ำงาน จากกองทุนตาม พระราชบัญญัตปิ ระกันสังคม พ.ศ. 2533 และพระราช บั ญ ญั ติ เ งิ น ทดแทน พ.ศ. 2537 ดังนัน้ กิจกรรมส�ำคัญ ของเครือข่ายลูกจ้างท�ำงาน บ้านประเทศไทย นอกจาก การแสดงของกลุ ่ ม แทน ลูกจ้างท�ำงานบ้าน การรับฟัง นโยบายของรั ฐ บาลไทย ตัวแทนฝ่ายนายจ้าง ลูกจ้าง

จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 11


มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนาออกแถลงการณ์ต่อกรณีรัฐบาล สหรัฐอเมริกาออกรายงานด้านสถานการณ์ด้านการค้ามนุษย์ในประเทศไทย เผยแพร่วันที่ 24 มิถุนายน 2557

แถลงการณ์ มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา (มสพ.) Human Rights and Development Foundation เลขที่ 109 ซอยสิทธิชน ถนนสุทธิสารวินิจฉัย แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 109 Soi Sitthichon, Suthisarnwinichai Road, Samsennok, Huaykwang. Bangkok 10310 Tel: (+662)277 6882/277 6887 Fax: (+662)277 6882 ext 108 E–mail: info@hrdfoundation.org

รัฐบาลไทยต้องมีเจตจ�ำนงอย่างแน่วแน่ ในการปราบปรามการค้ามนุษย์ในกิจการประมงทะเล ตามที่กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา โดยนาย จอห์น แคร์รี่ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการต่างประเทศได้เผยแพร่ รายงานประจ�ำปี เรื่อง สถานการณ์การค้ามนุษย์ ปี 2557 (Trafficking in Person Report 2014 หรือ Tip report) เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2557 (เวลาประเทศไทย) ที่ผ่านมา โดยในปีนี้ ประเทศไทยถูกลดอันดับจากประเทศที่อยู่ในบัญชีกลุ่มที่ 2 อันเป็นกลุ่มประเทศที่ต้องจับตามองลงมาอยู่ในบัญชีกลุ่มที่ 3 ซึ่งเป็นกลุ่มประเทศที่มีสถานการณ์การค้ามนุษย์ที่เลวร้ายที่สุด ในรายงานฉบับดังกล่าวเเสดงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสถานการณ์ การค้ามนุษย์เเละเสนอข้อแนะน�ำบางประการให้ประเทศไทย พิจารณาเเละทบทวนเพื่อยกระดับการแก้ปัญหาการค้ามนุษย์ ใน 3 ประเด็น ได้แก่ 1. ประเด็นการรณรงค์เเละป้องกันการเกิดปัญหาการค้า มนุ ษ ย์ ซึ่ ง ประเทศไทยได้ ใ ห้ สั ต ยาบั น ในพั น ธกรณี ร ะหว่ า ง ประเทศ คือ The 2000 UN TIP Protocol (Protocol to Prevent, Suppress and Punish Trafficking in Persons, Especially Women and Children, Supplementing the United Nations Convention Against Transnational Organized Crime) เเละ จัดกิจกรรมรณรงค์ให้ประชาชนทั่วไปทราบถึงปัญหาเเละความ ส�ำคัญต่อการยุติการค้ามนุษย์ 2. ประเด็นการคุ้มครองสวัสดิภาพเหยื่อหรือผู้เสียหาย จากการค้ามนุษย์ โดยในเบื้องต้นพบว่ายังไม่สามารถคุ้มครอง สวัสดิภาพเเละให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายอย่างทั่วถึงได้ อี กทั้ ง ยั ง พบความบกพร่ อ งเเละความขั ด เเย้ ง ของเจ้ า หน้ า ที่ ในกระบวนการคัดเเยกผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์อีกด้วย 3. ประเด็นกระบวนการด�ำเนินคดีกับผู้กระท�ำความผิด โดยเฉพาะภาครัฐทีถ่ กู มองว่ายังไม่มคี วามพยายามทีม่ ากพอใน การใช้มาตรการทางกฎหมายเเละมาตรการทางนโยบายอย่าง บูรณาการในการป้องกันเเละปราบปรามการค้ามนุษย์ กล่าวคือ 3.1 ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายทีข่ าดประสิทธิภาพ ทั้งในหน่วยงานด้านการยุติธรรม หน่วยงานที่มีบทบาทในการ 12 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

ป้องกันเเละเยียวยาเหยื่อหรือผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ 3.2 ปั ญ หาการทุ จ ริ ต หรื อ เรี ย กรั บ ประโยชน์ ของเจ้าหน้าที่รัฐ 3.3 ปัญหาการส่งต่อข้อมูลและพยานหลักฐาน ระหว่างหน่วยงานในกระบวนการยุตธิ รรม ส่งผลให้การด�ำเนินคดี ผูก้ ระท�ำความผิดเสีย่ งต่อการเกิดความล้มเหลวและล่าช้าไม่ตอบ สนองนโยบายทีใ่ ห้ความส�ำคัญกับการแก้ปญ ั หาการค้ามนุษย์ให้ เป็นภารกิจหลัก 3.4 ไม่มคี วามคืบหน้าในการด�ำเนินคดีตอ่ ผูก้ ระท�ำ ความผิดในกรณีกลุ่มโรฮิงญา เเต่กลับปรากฏว่ามีการฟ้องคดี โดยกองทัพเรือในข้อหาความผิดฐานหมิน่ ประมาทต่อสือ่ มวลชน ที่น�ำเสนอเรื่องดังกล่าว การจั ด ล� ำ ดั บ และการออกรายงานดั ง กล่ า วของทาง การสหรัฐอเมริกาจะส่งผลกระทบต่อประเทศไทยหลายประการ โดยเฉพาะในภาคธุรกิจกลุม่ กิจการประมงทะเลเเละอุตสาหกรรม ต่อเนื่อง ซึ่งปรากฏว่ามีการบังคับใช้แรงงานข้ามชาติในลักษณะ เเรงงานขัดหนี้เเละแรงงานทาส มีสภาพการท�ำงานที่เลวร้าย และแรงงานไม่ได้รับการคุ้มครองจากกฎหมายคุ้มครองแรงงาน โดยสินค้าจากกิจการดังกล่าวได้ส่งไปจ�ำหน่ายในสหรัฐอเมริกา และกลุม่ ประเทศในทวีปยุโรป และเป็นสินค้าทีท่ ำ� รายได้หลักให้ แก่ประเทศไทยก็อาจถูกตัง้ รังเกียจทางการค้าเเละการลงทุนรวม ทั้งประเทศไทยอาจถูกลดความช่วยเหลือจากสถาบันการเงิน หรือกองทุนการเงินระหว่างประเทศ และอาจส่งผลต่อความเชือ่ มัน่ ทางธุรกิจและการลงทุนของนานาชาติตอ่ ประเทศไทยอีกด้วย มูลนิธเิ พือ่ สิทธิมนุษยชนเเละการพัฒนา (มสพ.) ในฐานะ องค์กรภาคประชาสังคมที่มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความช่วยเหลือ ทางด้านกฎหมายเเละสนับสนุนการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม ของกลุม่ แรงงานข้ามชาติ เเละผูท้ ตี่ กเป็นเหยือ่ หรือผูเ้ สียหายจาก การค้ามนุษย์ ได้ตระหนักเเละได้ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐเเละ ภาคประชาสังคมเพือ่ แก้ปญ ั หาการค้ามนุษย์ตลอดมา ทัง้ มสพ. และองค์การภาคประชาสังคม ได้พยายามเสนอแนะและผลักดัน


ให้ภาครัฐและภาคธุรกิจก�ำหนดนโยบายและมาตรการที่ได้ผล ในการแก้ปัญหาดังกล่าว ซึ่งนอกจากเป็นการคุ้มครองสิทธิ มนุษยชนของผู้ที่อาจตกเป็นเหยื่อของการค้ามนุษย์ในกิจการ ประมงทะเลและอุตสาหกรรมต่อเนือ่ งแล้ว ยังสามารถหลีกเลีย่ ง มิให้ประเทศไทยต้องตกอยู่ในสภาวะเป็นที่รังเกียจทางการค้า ด้วย แต่ข้อเสนอแนะต่างๆ ของ มสพ. และภาคประชาสังคม ไม่ได้รับการตอบสนองเท่าที่ควร ดังนัน้ ในสภาวะทีป่ ระเทศไทยถูกจัดอันดับไปอยูใ่ นบัญชี กลุ่มที่ 3 โดยทางการสหรัฐอเมริกา เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว มสพ. จึงขอเรียกร้องและเสนอแนะต่อทางราชการและหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 1. รั ฐ ต้ อ งก� ำ หนดให้ ก ารแก้ ไขปั ญ หาการค้ า มนุ ษ ย์ เป็นนโยบายแห่งชาติทจี่ ะต้องระดมทรัพยากรและภาคส่วนต่างๆ มาร่วมกันแก้ปัญหา โดยจะต้องก�ำหนดแผนงานการป้องกัน ปราบปรามการค้ามนุษย์ เเละคุ้มครองสวัดิภาพของเหยื่อหรือ ผู้เสียหายอย่างบูรณาการร่วมกับองค์กรภาคประชาสังคม เเละ ผูป้ ระกอบการในธุรกิจทีม่ คี วามเสีย่ งต่อการค้ามนุษย์ โดยเฉพาะ กิจการประมงทะเล เพือ่ ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยแผนงาน ควรก�ำหนดให้สามารถเข้าใจได้ง่ายเเเละสามารถปฏิบัติอย่างได้ ผลภายใต้ภารกิจของแต่ละหน่วยงาน เพือ่ ป้องกันการเกิดปัญหา เรื่องข้อจ�ำกัดของบุคลากร งบประมาณรวมทั้งต้องสนับสนุน ให้การปฏิบัติงานแบบสหวิชาชีพสามารถช่วยเหลือเหยื่อหรือ ผูเ้ สียหายจากการค้ามนุษย์ได้จริงจัง ทัง้ เป็นการพัฒนาศักยภาพ ของทีมสหวิชาชีพไปในคราวเดียวกัน 2. รัฐจะต้องก�ำหนดให้แรงงานในเรือประมงเป็นแรงงาน ทีไ่ ด้รบั การคุม้ ครองตามกฎหมายคุม้ ครองแรงงาน ทัง้ ในเรือ่ งการ ขึ้นทะเบียนเพื่อรองรับการเป็นลูกจ้าง ค่าจ้าง สภาพแวดล้อม ในการท�ำงานและสวัสดิการต่างๆ รวมทั้งการเข้าถึงกองทุนเงิน ทดแทนเมือ่ แรงงานประสบอุบตั เิ หตุหรือเจ็บป่วยจากการท�ำงาน เเละก�ำหนดให้การใช้แรงงานเด็กในกิจการประมงเป็นการกระท�ำ ที่ผิดกฎหมาย 3. รัฐและสมาคมทีเ่ กีย่ วข้องกับกิจการประมงทะเลเเละ อุตสาหกรรมต่อเนือ่ งต้องร่วมมือกันปราบปรามการจ้างแรงงาน ที่ผิดกฎหมายซึ่งเป็นแรงงานที่เสี่ยงต่อการตกเป็นเหยื่อของ การค้ามนุษย์อย่างยิง่ โดยเน้นการลงโทษนายจ้างหรือผูป้ ระกอบ การที่กระท�ำผิด ทั้งนี้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งกระทรวงแรงงาน กรมเจ้าท่า ต�ำรวจน�้ำ กองทัพเรือ เป็นต้น จะต้องร่วมมือกัน อย่างใกล้ชดิ และปราบปรามการทุจริตของเจ้าหน้าทีอ่ ย่างจริงจัง 4. รัฐจะต้องจัดสรรงบประมาณในการส่งเสริมกิจการ ประมง ซึ่งเป็นกิจการที่ส�ำคัญที่ท�ำรายได้ให้แก่ประเทศอย่าง มหาศาล ด้วยการส่งเสริมให้ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย ลดการใช้ แรงงาน ลดต้นทุนเพื่อให้สามารถแข่งขันกับนานาประเทศได้ โดย นายท้ายเรือกลเดินทะเล (ไต้ก๋ง) และคนใช้เครื่องจักรยนต์ ต้องผ่านการฝึกอบรมและได้รับใบอนุญาต จัดระบบควบคุม คุณธรรมและส่งเสริมความสามารถ รวมทัง้ การจัดท�ำประวัตบิ คุ คล

ดังกล่าวเเละเจ้าของเรือประมงเพื่อประโยชน์ในการป้องปราม อาชญากรรมและการค้ามนุษย์ และส่งเสริมกิจการประมง 5. ควรทบทวนประสิทธิภาพการบังคับใช้กฎหมายทัง้ หมด ที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาการค้ามนุษย์ นอกจากพระราช บัญญัติป้องกันเเละปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ โดย เพิม่ มุมมองการบังคับใช้กฎหมายอย่างรอบด้านบนพืน้ ฐานของ การคุม้ ครองเหยือ่ หรือผูเ้ สียหายจากการค้ามนุษย์เเต่ละประเภท ควบคู่กับการเร่งรัดขึ้นทะเบียนแรงงานประมงทะเลอย่างถูก กฎหมาย รวมทัง้ ควรมีระบบตรวจสอบเเละประเมินผล โดยเปิด โอกาสให้ทั้งภาครัฐเเละเอกชนเป็นผู้ประเมิน เพื่อให้เกิดความ เข้าใจและการประสานงานที่ดี การปฏิบัติงานทั้งหมดควรตั้งอยู่ บนพื้นฐานความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ ความสุจริตในการ ปฏิบตั งิ าน การคุม้ ครองกลุม่ เสีย่ งเเละการคุม้ ครองสิทธิมนุษยชน อย่างรอบด้าน 6. ควรส่งเสริมความร่วมมือระหว่างหน่วยงานของรัฐ เอกชนและประชาสังมในการปฏิบัติงานร่วมกัน รวมทั้งในการ พัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่รัฐไปพร้อมๆ กับองค์กรภาค ประชาสังคม ทั้งในประเด็นการรณรงค์ การจัดกิจกรรมการ ต่อต้านการค้ามนุษย์ รวมทั้งการให้ความช่วยเหลือทางกฎหมา ยแก่เหยื่อหรือผู้เสียหาย โดยสร้างเป็นเครือข่ายในการเฝ้าระวัง แต่ต่อต้านการค้ามนุษย์ ด้วยความเคารพในสิทธิมนุษยชนและศักดิ์ศรีความเป็น มนุษย์ มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา (มสพ.) 24 มิถุนายน 2557 สถานการณ์ด้านคดี ที่น่าสนใจ

ศาลจังหวัดก�ำแพงเพชร พิพากษาคดี ด.ญ.แอร์ ผู้เสียหายจากการถูกนายจ้างทรมาน และกระท�ำอย่างทารุณโหดร้าย ได้รับค่าเสียหาย จากการกระท�ำละเมิด จ�ำนวน 4,603,233 บาท ตามที่มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา (มสพ.) ได้ให้ความช่วยเหลือด้านกฎหมายแก่ ด.ญ.แอร์ ชาวกะเหรี่ยง ฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายจากการถูกนายจ้างทารุณกรรมและ ใช้แรงงานเยี่ยงทาสนั้น เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2557 เวลา ประมาณ 14.00 น. ศาลจังหวัดจังหวัดก�ำแพงเพชร ได้อ่านค�ำ พิพากษาในคดีทนี่ างโม วาเตง ผูแ้ ทนโดยชอบธรรมของเด็กหญิง แอร์ เป็นโจทก์ยื่นฟ้อง นายนที แตงอ่อน และนางสาวรัตนากร ปิยะวรธรรม นายจ้าง เป็นคดีแพ่งเพื่อเรียกร้องค่าเสียหายจาก การท�ำร้ายร่างกายเด็กหญิงแอร์ ขณะที่ท�ำงานรับใช้ในบ้านของ นายจ้างทั้งสอง

จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 13


โดยศาลได้พิพากษาให้จ�าเลยทั้งสองร่วมกันชดใช้ค่าเสีย หายแก่โจทก์ ดังนี้

ส่วนที่ 1. ค่าเสียหายที่สามารถค�านวนเป็นจ�านวนเงิน ได้ ตามมาตรา 444 ประมวลกฎหมายแพ่งเเละพาณิชย์ เป็นค่าชดใช้อันต้องสูญเสียไปและค่าเสียหายเพื่อการที่ เสียความสามารถประกอบการงานสิ้งเชิงตามแต่บางส่วนทั้งใน เวลาปัจจุบันและในอนาคตโดยศาลพิจารณาเเล้วจะก�าหนดให้ เหมาะสมแก่พฤติการณ์แห่งความร้ายแรงตามกรณี ประกอบด้วย 1. ค่ า รั ก ษาพยาบาล จ� า นวน 303,233 บาทตาม รายละเอียดใบเสร็จค่ารักษาพยาบาลของโรงพยาบาลรามาธิบดี 2. ค่ารักษาพยาบาลในอนาคต 800,000 บาท 3. ค่ า เสี ย หายที่ จ ะต้ อ งสู ญ เสี ย ความสามารถในการ ประกอบอาชีพไม่น้อยกว่า 50 ปี เป็นเงิน 1,000,000 บาท ส่วนที่ 2. ค่ำเสียหำยที่ไม่อำจคิดค�ำนวนเปนจ�ำนวน เงินได้ ตำมมำตรำ 446 ประมวลกฎหมำยแพ่งเเละพำณิชย์ คือ ค่าทนทุกข์ทรมานระหว่างเจ็บป่วย ค่าเสียสูญเสีย สมรรถภาพในการเจริญพันธุ์ และ ค่าเสียหายจากความสวยงาม ของเด็กหญิงแอร์ โดยโจทก์มสี ทิ ธิเรียกได้ตามกฎหมาย มิจา� ต้อง ค�านึงว่าโจทก์จะได้ประกอบอาชีพหรือไม่ ประกอบด้วย 1. ค่าทนทุกข์ทรมานระหว่างเจ็บป่วย 600,000 บาท 2. ค่าเสียสูญเสียสมรรถภาพในการเจริญพันธุ์ 700,000 บาท 3. ค่าเสียหายจากความสวยงามของโจทก์ 700,000 บาท ทัง้ นี้ ศาลยังสัง่ ให้จา� เลยจ่ายค่ายานพาหนะส�าหรับโจทก์ ในการเดินทางไปรักษาพยาบาลทีโ่ รงพยาบาลรามาธิบดี เป็นเงิน 500,000 บาท รวมค่ำเสียหำยทีศ่ ำลสัง่ ให้จำ� เลยทัง้ สองช�ำระ แก่โจทก์ทั้งสิ้น 4,603,233 บำท เเต่อย่างไรก็ตาม การทีค่ รอบครัวของ ด.ญ.แอร จะได้รบั เงินค่าเสียหายจริงๆ มากน้อยเพียงใด ยังต้องผ่านกระบวนการ บังคับคดีเอากับทรัพยสนิ ของจ�าเลยทัง้ สองอีกขัน้ ตอนหนึง่ จึงจะ สามารถน�าเงินมาช�าระเปนค่าเสียหายให้แก่โจทกตามที่ศาล พิพากษาได้ โดยต้นเหตุอันเป็นที่มาแห่งการเรียกร้องสิทธิเกิดขึ้น เมื่อปี 2552 ขณะนั้นเด็กหญิงแอร์อายุประมาณ 7 ขวบ ได้หาย ออกไปจากบ้านพักที่เด็กหญิงแอร์เคยอยู่ร่วมกับบิดามารดาซึ่ง เป็นแรงงานข้ามชาติชาวพม่า ซึง่ เป็นบ้านพักทีอ่ ยูใ่ นไร่ออ้ ยของ นายจ้าง ที่จังหวัดก�าแพงเพชร ทางบิดาเเละมารดาได้พยายาม ตามหาตัวเด็กหญิงแอร์เเต่ไม่พบ 14 จดหมายขาวดานแรงงานขามชาติในประเทศไทยการเขาถึงความยุติธรรมและการคุมครองสิทธิ

จนกระทัง่ เมือ่ วันที่ 31 มกราคม 2556 มีการประสานงาน จากเจ้าหน้าทีข่ องบ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดก�าแพงเพชร และหน่วยงานอื่นๆ ในพื้นที่รวมทั้งการให้ข้อมูลจากพลเมืองดี ท่านหนีง ท�าให้พบตัวเด็กหญิงแอร์ ซึ่งถูกนายจ้างคนเดิมของ บิดามารดาลักพาตัวจากบ้านพักที่อยู่ในไร่อ้อยของนายจ้าง คนใหม่ของบิดามารดา และบังคับให้ทา� งานเป็นเด็กรับใช้ในบ้าน ของนายจ้าง คือ นายนที แตงอ่อน และนางสาวรัตนากร ปิยะวรธรรม โดยในช่วงที่ท�างานอยู่กับนายจ้างทั้งสองนั้น เด็ก หญิงแอร์ได้ถูกนายจ้างร่วมกันท�าร้ายร่างกายจนได้รับบาดเจ็บ สาหัสเเละมีบาดแผลส่วนหนึ่งที่เกิดจากนายจ้างใช้น�้าเดือดราด ลงไปทีบ่ ริเวณร่างกายจนท�าให้มพี งั ผืดยึดติดกับล�าตัวไม่สามารถ กางแขนและงอแขนได้ เเเละหลังจากนัน้ เจ้าหน้าทีจ่ ากบ้านพักเด็ก และครอบครัวจังหวัดก�าแพงเพชรได้น�าตัวเด็กหญิงแอร์เข้ารับ การรักษาตัวที่โรงพยาบาลรามาธิบดี กรุงเทพมหานคร รายละเอียดเพิ่มเติมกรณีนางโม วาเตง ผู้เเทนโดยชอบ ธรรมของเด็กหญิงแอร์ เป็นโจทก์ยื่นฟ้องนายนที แตงอ่อนเเละ นางสาวรัตนากร ปิยะวรธรรม เป็นจ�าเลยในคดีแพ่งต่อศาล จังหวัดก�าแพงเพชร ปรากฏตามลิงค์ http://hrdfoundation.org/?p=805 และ http://hrdfoundation.org/?p=805&lang=en ปัจจุบันนายจ้างทั้งสองซึ่งตกเป็นจ�าเลยในคดีนี้ ยังเป็น ผู้ต้องหาในคดีอาญา ที่พนักงานสอบสวนตั้งข้อหาว่ากระท�า ความผิดในฐานร่วมกันท�าร้ายร่างกายผู้อื่นจนเป็นเหตุให้ได้รับ อันตรายสาหัสโดยการทรมาน หรือการกระท�าทารุณ โหดร้าย, หน่วงเหนี่ยวกักขังผู้อื่นจนเป็นเหตุให้ผู้ถูกหน่วงเหนี่ยวกักขังได้ รับอันตรายสาหัส, หน่วงเหนีย่ วกักขังผูอ้ นื่ และให้ผอู้ นื่ นัน้ กระท�า การใดๆ ให้แก่ผกู้ ระท�าหรือบุคคลอืน่ , ร่วมกันเอาคนลงเป็นทาส หรือมีฐานะคล้ายทาส, ร่วมกันพามาจากที่ใด หรือหน่วงเหนี่ยว กักขังเด็กอายุ ไม่เกิน 15 ปี จนเป็นเหตุให้ได้รับอันตรายสาหัส เเละร่วมกันพรากเด็กอายุไม่เกิน 15 ปี และร่วมกันค้ามนุษย์ ซึ่งปัจจุบันนายจ้างทั้งสองได้หลบหนีระหว่างการประกันตัวใน ชั้นสอบสวน นางสาวณัฐรัตน์ อรุณมหารัตน์ ผู้ประสานงานโครงการ ต่อต้านการค้ามนุษย์ด้านแรงงาน มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและ การพัฒนา เห็นว่าค�าพิพากษาดังกล่าวนี้เเสดงให้เห็นถึงการ รองรับสิทธิในทางแพ่งของผู้เสียหายในความผิดอาญา ซึ่งเป็น สิทธิอันเกิดจากการถูกละเมิดสิทธิในชีวิตร่างกายเเละเสรีภาพ ของเด็กหญิงแอร์เเละนอกจากจะเป็นความผิดตามประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาเเล้วความผิดดังกล่าวยังเป็น มูลฐานของการกระท�าความผิดฐานค้ามนุษย์ ซึ่งเด็กหญิงแอร์ ถูกแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบโดยการถูกบังคับใช้แรงงานเเละ การเอาคนลงเป็นทาส เเละเเม้เด็กหญิงแอร์จะมีสิทธิได้รับ ค่าสินไหมทดแทนตามพระราชบัญญัติป้องกันเเละปราบปราม การค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 แล้วก็ไม่เป็นการตัดสิทธิทเี่ ด็กหญิงแอร์ จะได้รับชดเชยในลักษณะค่าเสียหายในคดีแพ่งแต่อย่างใด


แรงงานภาคก่อสร้างจังหวัดชลบุรี เข้าเจรจากับนายจ้าง จ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคมไม่ครบก�ำหนดระยะเวลา ที่ได้ก�ำหนดไว้ตามกฎหมาย และจากการตรวจสอบข้อมูลการ หลังจากร้องเรียนเรื่องไม่ได้รับค่าแรงตามกฎหมาย จากกรณีที่แรงงานก่อสร้าง ซึ่งเป็นแรงงานรับเหมาช่วง ของบริษทั ผลิตภัณฑ์คอนกรีตชลบุรี 5 คน เข้าร้องเรียนต่อมูลนิธิ เพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา (มสพ.) เรื่องนายจ้างได้ค้าง จ่ายค่าแรงเป็นเวลา 2 เดือน ตัวแทนมูลนิธิฯร่วมกับผู้แทนจาก เครือข่ายเพื่อสิทธิแรงงานข้ามชาติ ได้ลงพื้นที่จังหวัดชลบุรีเพื่อ หารือกรณีการค้างค่าจ้างแรงงานกับผูจ้ ดั การของบริษทั ผลิตภัณฑ์ คอนกรีตชลบุรี โดยการหารือครัง้ แรกทางผูจ้ ดั การ แจ้งให้แรงงาน ที่มาจากจากบริษัทรับเหมาท�ำงานให้เสร็จตามก�ำหนด จึงจะ สามารถจ่ายเงินค้างจ่ายได้ในวันที่ 20 มิถุนายน 2557 แรงงาน ตกลงตามทีบ่ ริษทั ผลิตภัณฑ์คอนกรีตชลบุรี โดยขอรับเงินค่าจ้าง ในวันดังกล่าว แต่อย่างไรก็ตามเมื่อครบก�ำหนดตามที่ตกลงกัน ไว้ ทางบริษัทฯไม่สามารถจ่ายเงินให้กับแรงงานได้ เนื่องจาก ผลการท�ำงานยังไม่เป็นไปตามที่ตกลงกันไว้ จึงให้แก้ไขงานใหม่ และนัดรับเงินค่าแรงในวันที่ 23 มิถุนายน 2557 แต่ได้เลื่อน การจ่ายค่าแรงในวันที่ 30 มิถุนายน แรงงานทั้ง 5 คน ได้รับ ค่าแรงตามที่ได้ตกลงกันไว้แล้วทั้งหมด

แรงงานข้ามชาติชาย สามารถเข้าถึงสิทธิในการเบิก ค่าคลอดบุตร จากส�ำนักงานประกันสังคม วันที่ 20 มิถุนายน 2557 แรงงานข้ามชาติได้เข้าปรึกษา และขอรับการช่วยเหลือกรณีการยื่นค�ำร้องขอรับค่าคลอดบุตร ซึ่งเป็นสิทธิประโยชน์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 สืบเนื่องจากภรรยาของนาย Aung Ko Ko ซึ่งเป็นแรงงาน ข้ามชาติและมีบัตรประกันสังคม ได้คลอดบุตรเมื่อวันที่ 12 มิถนุ ายน 2557 แต่ไม่สามารถใช้สทิ ธิประโยชน์จากประกันสังคม กรณีค่าคลอดบุตรได้ เนื่องจากภรรยาของนาย Aung Ko Ko ได้

ท�ำงานของนายAung Ko Ko พบว่านาย Aung Ko Ko ซึ่งเป็น ลูกจ้างในกิจการที่ต้องจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคม และได้จ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคมมาแล้วกว่าสามปี จึงสามารถใช้สิทธิในการขอค่าคลอดบุตรจากส�ำนักงานประกัน สังคมได้ โดยทางมูลนิธไิ ด้ชว่ ยเหลือนาย Aung Ko Ko ในการเต รียมเอกสารเพื่อยื่นค�ำร้องขอรับค่าคลอดบุตรจากส�ำนักงาน ประกันสังคม เมือ่ วันที่ 24 มิถนุ ายน 2557 โดยส�ำนักงานประกัน สังคมประจ�ำจังหวัดสมุทรสาครได้พจิ ารณาค�ำร้องแล้วมีคำ� สัง่ ให้ จ่ายเงินค่าคลอดบุตรแก่นาย Aung Ko Ko แล้วในวันเดียวกัน เป็นเงินจ�ำนวน 13,000 บาท

แรงงานข้ามชาติได้รับค่ารักษาพยาบาลจากนายจ้าง กรณีประสบอุบัติเหตุจากการท�ำงานเป็นเหตุให้ ต้องสูญเสียดวงตา คลินกิ กฎหมายแรงงานแม่สอดด�ำเนินการให้ความช่วยเหลือ กรณีนายโก่ชิโก่ ลูกจ้างบริษัทไทยเจริญแกรนิต จ�ำกัด จังหวัด ก�ำแพงเพชร ประสบอุบัติเหตุระหว่างการท�ำงาน เป็นเหตุให้ สูญเสียดวงตาด้านขวา เหตุเกิดเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2556 ซึ่งหลังจากที่นายโก่ชิโก่ประสบอุบัติเหตุแล้ว นายจ้างได้ให้ การช่วยเหลือด้านการรักษาพยาบาลเป็นเงิน 10,000 บาท และ มีเงินไม่เพียงพอในการจ่ายเป็นค่ารักษาพยาบาล จึงมาขอรับ ค�ำแนะน�ำและช่วยเหลือทางกฎหมาย โดยคลินกิ ฎหมายแรงงาน แม่สอด ได้นำ� นายโก่ชโิ ก่ ยืน่ ค�ำร้องแจ้งการประสบอันตรายและ ขอรับเงินทดแทน ตามพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 ทีส่ ำ� นักงานประกันสังคม ต่อมาวันที่ 4 มีนาคม 2557 ส�ำนักงาน ประกันสังคมจังหวัดตาก นัดฝ่ายนายจ้างและลูกจ้างเข้าท�ำ การเจรจาเรื่องค่ารักษาพยาบาลและเงินทดแทน ฝ่ายนายจ้าง และลูกจ้างสามารถตกลงกันได้ โดยนายจ้างยินยอมจ่ายค่ารักษา พยาบาลเป็นเงิน 14,000 บาท และเงินทดแทนกรณีประสบ อุบัติเหตุจากการท�ำงาน เป็นเงิน 100,000 บาท รวม 114,000 บาท อย่างไรก็ตามฝ่ายนายจ้างได้จ่ายเงินให้แก่นายโก่ชิโก เป็นเงิน 70,000 บาท เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2557 หลังจากที่มี การเจรจาต่อรองกัน

จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 15


รู้จักโครงการ สะพานเสียง

อาสาสมัครคนอื่นๆ ในโครงการสะพานเสียง มูลนิธิฯ จึงขอน�ำ บทความสะท้อนประสบการณ์การท�ำงานของอาสาสมัคร นักศึกษาเผยแพร่ต่อในหนังสือข่าวฉบับนี้ ดังนี้

Epi.1: ผ่องนภา คิดหา (ป๊อปแป๊ป) กับมูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา (HRDF) โครงการสะพานเสียงมีจดุ ประสงค์ในการสร้างความเข้าใจ ระหว่างคนไทยและแรงงานข้ามชาติ และลดอคติและความ เข้าใจผิดของคนไทยทัว่ ไปทีม่ ตี อ่ แรงงานข้ามชาติ โครงการยุวทูต สะพานเสียงเป็นหนึง่ ในกิจกรรมทีโ่ ครงการฯได้จดั ขึน้ โดยน�ำกลุม่ เยาวชนที่มีความสนในประเด็นสิทธิแรงงานและการพัฒนา และเล็งเห็นถึงความส�ำคัญของแรงงานข้ามชาติที่เข้ามาท�ำงาน ในประเทศไทยจ�ำนวนกว่าสามล้านคนซึง่ มีสว่ นช่วยในการสร้าง ผลประโยชน์ทางสังคม และเศรษฐกิจต่อประเทศ อย่างไรก็ตาม ประชาชนทั่วไปอาจยังไม่ทราบถึงสถานภาพ บทบาท และสิทธิ ของแรงงานเหล่านี้ การขาดแคลนแรงงานในประเทศที่จ�ำเป็น ต้องพึ่งพาแรงงานในประเทศเพื่อนบ้าน ปัญหาการเข้าไม่ถึง โอกาสและสิทธิที่ควรได้รับตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน หรือ การถูกแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบด้วยกฎหมาย เหล่านีน้ บั เป็น ปัญหาที่แรงงานข้ามชาติจ�ำนวนมากต้องเผชิญในสังคมไทย การสร้ า งอาสาสมั ค รนั ก ศึ ก ษาเพื่ อ ศึ ก ษาดู ง านและ สนับสนุนการท�ำงานขององค์กรภาคประชาสังคมในการส่งเสริม และคุ้มครองสิทธิของแรงงานข้ามชาติ จะเป็นส่วนหนึ่งในการ ร่วมสร้างความเข้าใจที่ดี และช่วยในการน�ำเสนอมุมมองที่เป็น มิตร อันจะน�ำไปสูก่ ารอยูร่ ว่ มกันท่ามกลางความหลากหลายทาง เชือ้ ชาติและสัญชาติ และการสร้างความสันพันธ์ทดี่ กี บั ประชาชน ในประเทศเพื่อนบ้าน ด้วยการสนับสนุนจากองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) และภาคีเครือข่าย โครงการยุวทูตสะพานได้ก่อตัวขึ้นเมื่อ เดือนพฤศจิกายน 2556 โดยมีนายอานัส อาลี เป็นผู้ประสาน งานโครงการฯ ปัจจุบันมีนักศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษาหลาย สถาบันทั่วประเทศที่ให้ความสนใจในกิจกรรมภายใต้โครงการฯ ทั้งนี้นักศึกษาจ�ำนวน 12 คนได้ถูกคัดเลือกเพื่อร่วมเป็นอาสา สมัครนักศึกษาในโครงการยุวทูตสะพานเสียง โดยนักศึกษา จ�ำนวน 3 คน ได้แก่นางสาวดวงตา หม่องภา จากโครงการเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นางสาวผ่ อ งนภา คิ ด หา จากคณะคณะรั ฐ ศาสตร์ แ ละ รัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่และนาย Paing Hein Htet จากคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เข้ามา ศึกษาและสนับสนุนกิจกรรมของมูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและ การพัฒนา เป็นระยะเวลา 6 เดือน โดยในห้วงระยะเวลา 3 เดือน ทีผ่ า่ นมา อาสาสมัครนักศึกษาทัง้ สามคนได้สะท้อนประสบการณ์ การท� ำ งานผ่ า นการเขี ย นบทความเพื่ อ เผยแพร่ ใ ห้ แ ก่ เ พื่ อ น 16 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

จากการที่ ไ ด้ ไ ปอาสาสมั ค รท� ำ งานกั บ มู ล นิ ธิ เ พื่ อ สิ ท ธิ มนุษยชนและการพัฒนา (Human Rights and Development Foundation–HRDF) ได้ท�ำหน้าที่ในการสอนภาษาไทย การเดิน ทาง ไปสอนระยะทางค่อนข้างไกล เนือ่ งจากศูนย์การเรียนรูแ้ ละ การพัฒนาแรงงานข้ามชาติ (MLDC) อยู่ที่หมู่บ้านนันทาราม อ�ำเภอสารภี ศูนย์การเรียนรูแ้ ละการพัฒนาแรงงานข้ามชาติแห่ง นี้ เป็นศูนย์ที่เปิดขึ้นเพื่อให้คนที่สนใจเรียนภาษาทั้ง ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาไทใหญ่ มาเรียนซึ่งไม่ได้เจาะจงเฉพาะ ผู้ที่เป็นแรงงานข้ามชาติเท่านั้น เด็กๆ ชาวไทย หรือผู้ใหญ่ที่อยู่ ใกล้เคียงก็มาเรียนได้ด้วย ซึ่งคนที่สนใจสามารถมาเรียนได้ใน วันจันทร์ พุธ และศุกร์ เวลา 18.00–20.30 น. เนือ่ งจากเป็นเวลา ทีท่ กุ คนเลิกงานกันแล้วความรูส้ กึ ในการทีไ่ ด้ไปสอนครัง้ แรก รูส้ กึ ตืน่ เต้นเป็นอย่างมาก เนือ่ งจากยังไม่เคยสอนภาษาไทยมาก่อน เลย อีกทัง้ คนทีม่ าเรียนภาษาไทยก็เป็นแรงงานข้ามชาติ จึงกังวล ว่าจะสื่อสารกันไม่เข้าใจ แล้วเกิดปัญหาในการเรียนการสอนขึ้น แต่เมื่อได้ไปสอนจริงๆ แล้ว กลับตรงกันข้าม วันแรกที่ไปถึง ทุกคนน่ารักมาก เป็นกันเอง แทบไม่ตอ้ งปรับตัวอะไรมากก็สนิท กันอย่างรวดเร็ว ประทับใจมากทีท่ กุ ครัง้ ทีไ่ ปสอนทุกคนจะพูดว่า “สวัสดีครับ/ค่ะ ครู” ถ้าเกิดเวลามีอะไรสงสัยนักเรียนก็จะเรียก “ครูครับๆ /คะๆ” หรือ เมือ่ สอนเสร็จก็จะอวยพรให้วา่ “ครูครับ/ คะ เดินทางกลับดีๆ นะ” ซึ่งไม่เคยคิดมาก่อนว่าในชีวิตนี้จะมี ใครเรียกว่าครูเช่นนี้ ปัญหาที่เกิดขึ้นในการท�ำงาน คือศูนย์การเรียนรู้แห่งนี้ เป็นศูนย์เปิดที่ใครอยากเรียนก็สามารถเข้ามาเรียนได้ ท�ำให้ บางครัง้ มีนกั เรียนมาเพิม่ ซึง่ ไม่มพี นื้ ฐานภาษาไทยเลย การทีจ่ ะ สอนรวมกับคนอื่นก็เป็นไปไม่ได้อย่างแน่นอน ท�ำให้ต้องแยก สอนเป็นกลุ่มๆ เพราะแต่ละคนมีพื้นฐานไม่เหมือนกัน อีกทั้ง พวกเขาเหล่านี้ก็ไม่ได้ว่างกันทุกคน บางคนลางานไม่ได้ หรือติด ท�ำงานก็ไม่สามารถมาเรียนได้ ท�ำให้การเรียนขาดความต่อเนือ่ ง


แต่เมื่อไหร่ถ้าพวกเขาว่างพวกเขาก็มาเรียน ปัญหาที่เกิดขึ้นจึง ไม่ได้เป็นปัญหาที่ใหญ่มากนัก เนื่องจากเข้าใจว่าแต่ละคนก็มี หน้าที่ที่ต้องท�ำ มีสิ่งที่ต้องรับผิดชอบ การที่พวกเขาเหล่านี้ มีความสนใจในการเรียน สละเวลาของพวกเขามาเรียนก็ถือว่า เป็นสิ่งที่ดีมากแล้ว จากการที่สอนภาษาไทยผ่านมาเดือนกว่าแล้ว สิ่งที่ ได้จากการสอนที่นี่คือ การได้รู้ว่าแรงงานข้ามชาติควรที่จะ ได้รบั โอกาสในการเรียนรู้ แม้วา่ พวกเขาไม่ใช่คนไทย แต่พวก เขาก็มีความส�ำคัญต่อการขับเคลื่อนประเทศของเรา ทั้งใน ด้านเศรษฐกิจ เกษตรกรรม และอุตสาหกรรม ในการท�ำงาน ของแรงงานข้ามชาติเหล่านี้ พวกเขาต่างก็ถูกเอารัดเอาเปรียบ ถูกโกงค่าจ้าง หรือท�ำสัญญาต่างๆ ทีท่ ำ� ให้พวกเขาไม่ได้รบั ความ ยุตธิ รรม การเรียนภาษาไทยจึงเป็นส่วนหนึง่ ทีจ่ ะช่วยพวกเขาให้ ได้รับความยุติธรรมในด้านต่างๆ เนื่องจากถ้าพวกเขาสามารถ อ่านและเขียนภาษาไทยได้ ก็จะไม่ได้ถูกนายจ้างเอาเปรียบอีก ต่อไป พวกเขาสามารถอ่านสัญญาที่ท�ำกับนายจ้างได้ สามารถ กรอกเอกสารสมัครงานทีต่ นเองสนใจได้ ตลอดจนถึงหากมีความ สนใจเรียนต่อให้สูงขึ้นก็สามารถเรียนต่อ กศน. หรือ น�ำความรู้ ที่ได้เรียนไปใช้ในโรงเรียนได้ ซึ่งพวกเขาต่างก็ตระหนักถึงความ ส�ำคัญของการเรียนภาษาไทย จึงใช้เวลาตอนเย็นหลังเลิกเรียน หรือเลิกงาน มาเรียนภาษาไทย แม้ว่าจะเหนื่อยจากการท�ำงาน แต่พวกเขาก็ความพยายาม และมีความตั้งใจเรียนกันมาก

การได้มาสัมผัสและเรียนรู้เกี่ยวกับแรงงานข้ามชาติ จริงๆ ท�ำให้รู้ว่าในขณะที่บางคนได้รับโอกาสในการเรียน มากมาย ใช้ชีวิตอย่างสะดวกสบาย มีเงินเรียนในโรงเรียนดีๆ สถาบันสอนพิเศษชื่อดัง มีโอกาสเข้าถึงสื่อการเรียนรู้ที่ทันสมัย

แต่กลับไม่สนใจในการเรียน ไม่ขวนขวายหาความรู้ ใช้เวลาแต่ละ วันไปอย่างเปล่าประโยชน์ แต่แรงงานข้ามชาติที่นี่กลับไม่ใช่ อย่างนั้น พวกเขาท�ำงานหนัก แต่กลับถูกเอาเปรียบ ไม่ได้รับ โอกาสดีๆ อย่างที่หลายคนได้รับ แต่พวกเขาก็ไม่ท้อ พยายาม ขวนขวายหาความรู้ เพื่อพวกเขาจะไม่ได้รับการเอาเปรียบอีก ต่ อ ไป และพวกเขาต่ า งก็ ห วั ง ว่ า สามารถน� ำ ความรู ้ ที่ ไ ด้ ไ ป ประกอบอาชีพอืน่ ๆ ได้ สิง่ ทีพ ่ วกเราจะสามารถช่วยได้คอื การ ให้โอกาสพวกเขาเหล่านี้ ปรับเปลี่ยนทัศนคติของเราที่มีต่อ แรงงานข้ามชาติใหม่ เพราะไม่ใช่แรงงานข้ามชาติทุกคนที่จะ ก่อปัญหา มีแค่ส่วนน้อยเท่านั้น ก็เหมือนกับคนไทยที่ไม่ได้เป็น คนดีกันทุกคน และไม่ได้เป็นคนไม่ดีกันหมด คนเราก็มีดีบ้าง ไม่ดีบ้างปะปนกันไป เราควรเข้าใจในประเด็นนี้ด้วย ไม่ควรน�ำ ทัศนคติแบบผิดๆ นี้ มามองคนอื่น แม้ว่าพวกเขาเหล่านั้นไม่ใช่ คนไทยก็ตาม สิ่ ง ที่ ท ้ า ทายและความคาดหวั ง ในการท� ำ งานนี้ คื อ การสอนภาษาไทยให้ประสบความส�ำเร็จ นัน่ คือ สามารถท�ำให้ พวกเขาเหล่านี้ อ่านออก เขียนได้ และสามารถน�ำความรู้ ทีไ่ ด้ไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจ�ำวันของพวกเขาได้ เนือ่ งจาก เคยได้มีโอกาสถามว่า “ทุกคนอยากเรียนเรื่องอะไรกันบ้าง?” ซึ่งก็ได้รับค�ำตอบที่หลากหลาย เช่น “การสะกดค�ำครับ” “การ เขียนค่ะ เพราะอ่านได้แต่เขียนไม่คล่อง” หรือแม้แต่ “อะไรก็ได้ ครับ ตามใจครู” แต่ค�ำตอบที่ฟังแล้วรู้สึกชอบคือ มีน้องคนหนึ่ง ตอบว่า “เรียนอะไรก็ได้ครับ ที่ผมสามารถเอาไปใช้จริงๆ ได้” ซึ่งท�ำให้ได้ตระหนักว่า การสอนภาษาไทยให้พวกเขาเหล่านี้ ไม่จ�ำเป็นต้องเรียนแบบท่องจ�ำ ต้องจ�ำให้ได้ ทุกหลักไวยากรณ์ ภาษาไทย เพราะบางครัง้ การท่องจ�ำไม่ได้ชว่ ยให้สามารถน�ำไปใช้ จริงๆ ได้ ถ้าหากสอนภาษาไทยแล้วพวกเขาเหล่านี้สามารถน�ำ ความรู้ไปใช้ได้ และเป็นส่วนหนึ่งที่ท�ำให้พวกเขาเหล่านี้ประสบ ความส�ำเร็จก็รู้สึกดีใจมากแล้ว สุดท้ายนีข้ อขอบคุณโครงการยุวทูตสะพานเสียงทีไ่ ด้มอบ โอกาสดีๆ อย่างนีใ้ ห้ ให้ได้รบั ประสบการณ์ดๆ ี และปรับเปลีย่ น ทัศนคติเกี่ยวกับแรงงานข้ามชาติ รู้สึกดีใจที่ได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่ง ของโครงการนี้ ทีจ่ ะเป็นเสียงหนึง่ ทีช่ ว่ ยแรงงานข้ามชาติให้ได้รบั โอกาส และสิทธิต่างๆ อย่างเพียงพอ และเป็นส่วนหนึ่งในการ ช่วยสร้างความเปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้นได้ในสังคมนี้

จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 17


โครงการสะพานเสียง มูลนิธสิ ทิ ธิมนุษยชนและการพัฒนา ได้วา่ การท�ำ งานสิทธิเพือ่ แรงงานข้ามชาตินนั้ มีประเด็นทางสังคม ที่ ซั บ ซ้ อ นและหลากหลายและจ� ำ เป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ อ งค์ ก รและ และประสบการณ์ครั้งแรกของผม

หน่วยงานต่างๆ ทีม่ คี วามรูค้ วามเชีย่ วชาญทีต่ า่ งกันจะมาท�ำงาน ผมยังจ�ำวันแรกที่เริ่มท�ำงานกับมูลนิธิสิทธิมนุษยชนและ ร่วมกันในเชิงบูรณาการประเด็นแรงงานต่างด้าวที่หลากหลาย การพัฒนา (มสพ.) ได้เป็นอย่างดี ผมมาท�ำงานด้วยความคาดหวัง ว่าจะมีโอกาสได้ช่วยเหลือแรงงานข้ามชาติและส่งเสริมภาพ ลักษณ์ที่ดีของแรงงานข้ามชาติเมื่อมีโอกาสท�ำงานและสื่อสาร กับพวกเขาโดยตรง มาถึงจุดนีค้ วามคาดหวังของผมได้ถกู เติมเต็ม และผมมัน่ ใจได้วา่ เมือ่ ภารกิจการท�ำงานครัง้ นีข้ องผมเสร็จสิน้ ลง ผมจะสามารถช่วยเหลือแรงงานข้ามชาติทตี่ อ้ งการความช่วยเหลือ ได้บ้างไม่มากก็น้อย

วันแรกของการท�ำงานที่ มสพ. ต้องขอบคุณค�ำแนะน�ำ รวมถึงการให้ขอ้ มูลสถานทีต่ งั้ ส�ำนักงานจากคุณ ณัฐรัตน์ทที่ ำ� ให้ ผมสามารถเดินทางไปส�ำนักงานได้งา่ ย สถานทีต่ ง้ั ของ มสพ. เอง นั้นก็น่าสนใจตรงซอยที่ส�ำนักงานตั้งอยู่นั้นเต็มไปด้วยองค์กร เครือข่ายภาคประชาชนท�ำงานเพื่อสิทธิมนุษยชน และชื่อซอย สิทธิชนก็แปลตรงตัวและมีเอกลักษณ์บ่งบอกความเป็นตัวตน ของส�ำนักงานทีนี้ได้ดี (ขอบคุณดวงตา ที่ช่วยอธิบายและแปล ความหมายของชื่อซอยนี้ให้ผมเข้าใจ) เมือ่ ถึง มสพ. ผมกับดวงตาได้รบั การต้อนรับทีอ่ บอุน่ และ เป็นมิตรจากพี่ๆ ที่ท�ำงานอีกทั้งยังพาเยี่ยมชมส่วนต่างๆ ของ ส�ำนักงาน ตัง้ แต่กา้ วแรกทีเ่ ข้าไปส�ำนักงานผมรูเ้ ลยว่าประสบการณ์ ทีผ่ มจะได้รบั จากทีน่ ตี่ อ้ งพิเศษและน่าจดจ�ำอย่างแน่นอน มสพ. เป็นส�ำนักงานทาวน์เฮ้าส์ ท�ำให้ผมนึกถึงส�ำนักงานที่ประเทศ พม่าซึง่ ก็เรียบง่าย ส่วนใหญ่กจ็ ะใช้บา้ นเรือนเป็นส�ำนักงานไม่ได้ ใช้ตกึ สูงระฟ้าเหมือนในเมืองใหญ่ หรือเมืองหลวงประเทศอืน่ ๆ และความโชคดีอกี อย่างคือห้องท�ำงานของผมนัน้ เป็นห้องเดียว กับห้องท�ำงานของคุณปรีดาซึ่งเธอจะเป็นผู้ดูแล ให้ค�ำแนะน�ำ และมอบหมายงานต่างๆ ให้ผม ผมค่อนข้างดีใจทีผ่ มได้รบั มอบหมายให้ทำ� งานทีส่ ำ� นักงาน กรุงเทพของ มสพ. เพราะทีน่ มี่ หี ลายโครงการ และการด�ำเนินงาน กิจกรรมต่างๆ เช่น โครงการยุติธรรมเพื่อแรงงานข้ามชาติ (Migrant Justice Program–MJP) และโครงการต่อต้านการค้า มนุษย์ด้านแรงงาน Anti–Labor Trafficking Project (ALP) ซึง่ ผมได้รบั มอบหมายงานประจ�ำวัน ท�ำรายงาน รวมถึงการแปล บทความต่างๆ ตามความจ�ำเป็น อีกทั้ง มสพ. เองมีเครือข่าย และท�ำงานร่วมกับองค์กรสิทธิอกี หลายองค์กร ท�ำให้ผมตระหนัก 18 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

หน้าทีแ่ รกทีผ่ มได้รบั มอบหมายคืออ่านและท�ำความเข้าใจ กับคดีตา่ งๆ รวมถึงตัวบทกฎหมายและนโยบาย ตลอดจนประเด็น ต่างๆ เกี่ยวกับแรงงานข้ามชาติ ซึ่งการท�ำความเข้าใจกฎหมาย ต่างๆ เหล่านี้มีความส�ำคัญเป็นอย่างมากเพราะพื้นฐานความรู้ ของผมคือเศรษฐศาสตร์ ต้องขอบอกตามตรงว่าส�ำหรับคนที่ พยายาม ท�ำความเข้าใจกับตัวบทกฎหมายและคดีต่างๆ เป็น ครั้งแรกนั้นไม่ใช่เรื่องง่าย อย่างไรก็ตามเมื่ออ่านไปสัก พักท�ำให้ ผมเริม่ เข้าใจและคุน้ เคยกับประเด็นต่างๆ มากขึน้ อีกทัง้ ทุกคนใน ส�ำนักงานก็ช่วยเหลือผมอธิบาย ให้ความกระจ่างตอบข้อสงสัย ของผมเป็นอย่างดี นีค่ อื ก้าวแรกของการเรียนรูแ้ ละท�ำความเข้าใจ ที่ถูกต้อง ในประเด็นแรงงานข้ามชาติของผม และงานชิ้นแรก ที่ได้รับมอบหมายคือการประเมินการท�ำงานของรัฐ บาลไทย และการปฏิ บั ติ ต ามข้ อ เสนอแนะตามกลไกรายงานทบทวน สถานการณ์สิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติสมัยที่ 12 หรือ ที่เรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า Universal Periodic Review (UPR) ซึ่งรายงาน UPR นี้ใช้เป็นตัวประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชน ภายในประเทศ ผมรู้สึกตกใจที่ได้รับ มอบหมายงานส�ำคัญชิ้นนี้ เพราะงานของผมจะส่งไปยังคณะท�ำงาน UPR ของสหประชาชาติ โดยตรง ผมจ�ำได้แม่นและบอกกับตัวเองว่างานนี้ผมไม่สามารถ มีขอ้ ผิดพลาดได้ สุดท้ายแล้วกลายเป็นประสบ การณ์ทมี่ คี า่ มาก เพราะท�ำให้ผมเรียนรูท้ า่ ทีการตอบโต้ของรัฐบาลไทยต่อข้อเสนอ แนะเกีย่ วกับประเด็นแรงงานข้ามชาติ ประกอบกับเพือ่ นร่วมงาน ของผมก็ให้ความช่วยเหลือในด้านข้อมูลและเต็มใจสนับสนุน การท�ำงานของผมเป็นอย่างดี กว่างานของผมจะเป็นชิน้ เป็นอัน เสร็ จ สมบู ร ณ์ ก็ ไ ด้ ผ ่ า นการตรวจพิ สู จ น์ อั ก ษรและการแก้ ไข มากกว่า 5 ครั้ง และหลังจากนั้นผมก็ได้รับมอบหมายให้ท�ำงาน จากมุมมองภาพรวม ขณะที่ดวงตาได้รับมอบหมายให้ท�ำงาน ลงพืน้ ที่ ผมรับผิดชอบในส่วนของการจัดท�ำเอกสารรายงานและ วิเคราะห์ประเด็นต่างๆ ผมเชื่อว่านี่คือการท�ำงานที่ลงตัวมาก เพราะผมและดวงตาสามารถท�ำงานลงลึกใน ส่วนทีเ่ ราถนัดและ สร้างความเชี่ยวชาญให้กับตัวเองในงานที่ท�ำ ผมกับดวงตาสนุก กับงานทีท่ ำ� โดยเฉพาะ ตอนทีเ่ ราแลกเปลีย่ นประสบการณ์เล่าสู่


กันฟังเกี่ยวกับงานเราได้รับมอบหมาย นอกจากนีผ้ มได้มโี อกาสเข้าร่วมงานสัมมนาระดับภูมภิ าค และเดินทางเยี่ยมองค์กรต่างๆ หนึ่งในไฮไลท์ของผมคือการเข้า ร่วมการประชุมติดตามงาน ASEAN Forum on Migrant Labour ครั้งที่ 6 การสัมมนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาปรับปรุง กลไกการร้องเรียนและน�ำเสนอกิจกรรมติดตามผลการสัมมนา ASEAN Forum on Migrant Labour (ASML) ซึ่งเป็นแผนงาน ทีม่ งุ่ เน้นไปยัง การร่วมมือไตรภาคีระหว่างองค์กรภาคประชาชน หน่วยงานรัฐ และแรงงานข้ามชาติ ในส่วนของการ ประชุม สัมมนาทีผ่ มเข้าร่วมนัน้ เป็นการประชุมแผนงานและกิจกรรมสาน ต่อหลังจาก AFML จึงมุ่งเน้นการท�ำงานไปยังภาคส่วนสังคม ผมโชคดีมากทีม่ โี อกาสเข้าร่วมและเรียนรูก้ ารท�ำงานขององค์กร ภาคประชาชนที่ท�ำงานกันอย่างแข็งขัน และไม่ย่อท้อเพื่อสิทธิ ของแรงงานข้ามชาติถงึ แม้วา่ จะมีอปุ สรรคในการท�ำงานมากมาย และเป็นอีกครัง้ ทีผ่ มรูส้ กึ ขอบคุณโอกาสทีพ่ ๆ ี่ และเพือ่ นทีท่ ำ� งาน หยิบยื่นให้ผมได้เข้าร่วม การประชุมสัมมนาในครั้งนี้ ในเดือน พฤษภาคมที่ผ่านมานับเป็นครั้งแรกที่ผมได้มีโอกาสท�ำงานเพื่อ แรงงานข้ามชาติผู้โชคร้ายตกเป็นผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ ในประเทศไทย ผมขอขอบคุ ณ คุ ณ ณั ฐ รั ต น์ คุ ณ ภั ท รานิ ษ ฐ์ คุณปภพ ที่ให้โอกาสดวงตาและผมได้เข้ามามีส่วนร่วมในการ สังเกตการณ์และการท�ำงานช่วยเหลือผู้เสียหายครั้งนี้ โดยพวก เราท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ น ล่ า มและติ ด ต่ อ ประสานงานกั บ ผู ้ เ สี ย หาย โดยตรง ผู้เสียหายนามสมมุติว่านายเอ็นได้เดินทางออกจาก ประเทศพม่าและมายังประเทศไทยโดยความช่วยเหลือของ พี่ชายและลูกพี่ลูกน้อง ซึ่งนายเอ็นหวังว่าเขาจะสามารถหางาน ทีด่ กี ว่าในประเทศไทยเพือ่ ส่งเงินกลับไปขยายกิจการครอบครัว ในประเทศพม่า แต่สิ่งต่างๆ ไม่ได้เป็นไปตามที่เขาคาดหวัง นายเอ็นถูกนายหน้าชาวพม่าโกงและต่อมาเขาถูกบังคับให้ ท�ำงานในเรือประมงโดยไม่ได้รบั ค่าตอบแทนใดๆ เมือ่ พีช่ ายของ เขาทีท่ ำ� งานในประเทศไทยเช่นกันทราบข่าวนายเอ็น พีช่ ายก็รบี มาติดต่อ มสพ. และขอให้มูลนิธิด�ำเนินการช่วยเหลือน้องชาย สิง่ ทีส่ ำ� คัญมากในการช่วยเหลือพีน่ อ้ งแรงงานข้ามชาติ และผูเ้ สีย หายจากการค้ามนุษย์คือการประชาสัมพันธ์และเข้าถึงองค์กร ภาคประชาชน เพราะในกรณีนี้ ถ้าพี่ชายของนายเอ็นไม่รู้จัก มสพ. ตัวคนท�ำงานเพื่อสิทธิเองก็ไม่สามารถรับเรื่องร้องเรียน และเข้าช่วยเหลือผู้ที่ประสบภัยได้ โชคดีที่นายเอ็นได้รับการ

ช่วยเหลือและส่งเข้าสถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ (สถานที่ พักพิงส�ำหรับผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์) น้องของนายเอ็นเอง ก็ถูกบังคับท�ำงานในเรือประ มงเช่นกัน และเขาก็ได้รับการช่วย เหลือและส่งต่อไปยังสถานที่พักพิงส�ำหรับผู้เสียหายจากการค้า มนุษย์ ขณะนีผ้ เู้ สียหายทัง้ สองได้รบั การช่วยเหลือเบือ้ งต้น ส่วน ในการด�ำเนินการทางกฎหมายอยู่ ในระหว่างด�ำเนินคดีจับกุม ผู้กระท�ำผิด โดยผมหวังว่าพวกเขาจะได้รับความเป็นธรรม กรณี ของพวกเขาทัง้ สองท�ำให้ผมตระหนักได้วา่ ชีวติ คนเราสามารถถูก ท�ำลายได้งา่ ยดายยิง่ นัก เราอ่อนแอกว่าทีเ่ ราคิด ดังนัน้ ถือว่าเป็น ความรับผิดชอบร่วมกันของพวกเราทุกคนทีจ่ ะไม่หนั หลังให้พวก เขาและพร้อมที่จะช่วยเหลือในยามที่พวกเขาต้องการเรา การท�ำงานกับ มสพ. เป็นประสบการณ์ที่ให้รางวัลชีวิต แก่ผม ผมขอบคุณพี่ๆ เพื่อนๆ ร่วมงานและ ผู้ประสานงาน โครงการสะพานเสียงที่ให้ผมได้รับโอกาสและประสบการณ์ ครั้งนี้ ผมได้เรียนรู้เบื้องลึก และเข้าใจภาพรวมประเด็นแรงงาน ข้ามชาติ ขณะเดียวกันผมก็ได้ประสบการณ์ตรงจากการท�ำงาน กั บ แรงงานข้ า มชาติ แ ละส่ ง ต่ อ ความรู ้ ที่ ไ ด้ ต ่ อ ไปยั ง พวกเขา ประสบการณ์การเรียนรูท้ ไี่ ด้จากองค์กรต่างๆ ท�ำ ให้ผมสามารถ เป็นกระบอกเสียงให้แรงงานข้ามชาติต่อไป เมื่อไรก็ตามที่ผม มีโอกาสผมจะไม่ลังเลที่จะ ถ่ายทอดประสบการณ์และความ ยากล�ำบากของพี่น้องแรงงานข้ามชาติให้ครอบครัวและเพื่อนๆ ของผม ได้รับรู้การท�ำงานกับ มสพ. ได้กระตุ้นต่อมการเรียนรู้ และสร้างความท้าทายในทุกวันท�ำงานของผม ถึง ตอนนีผ้ มบอก กับตัวเองได้ว่าผมพร้อมทุกวันในการท�ำงานเพื่อสิทธิแรงงาน ข้ามชาติ ถึงแม้ว่าจะมีอุปสรรคบ้างก็ตาม ผมรู้ว่าผมสามารถ ก้าวข้ามอุปสรรคไปได้ดว้ ยการสนับสนุนจากบรรดาพีแ่ ละเพือ่ น ร่วมงาน และอีกครั้งที่ผมอยากจะขอบคุณงานทุกชิ้นที่ผมได้รับ มอบหมาย ผมรูส้ กึ ว่างานทีผ่ มท�ำนัน้ มีคณ ุ ค่า และตัวผมเองก็ได้ รับการปฏิบตั ทิ เี่ ท่าเทียมเสมือนหนึง่ เป็นเจ้าหน้าทีข่ อง มสพ. เอง มีหลาย ประสบการณ์ที่ผมได้เรียนรู้เป็นครั้งแรก ผมเองก็อยาก ที่จะเรียนรู้และรณรงค์ประเด็นสิทธิต่อไป เรื่อยๆ โดยได้รับ การสนับสนุนจากโครงการสะพานเสียง จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 19


Epi.1: ดวงตา หม่องภา (ตา) กับมูลนิธเิ พือ่ สิทธิมนุษยชนและการพัฒนา (HRDF) เรียนรู้…แบ่งปัน… แลกเปลี่ยน… เราทุกคน คือ “สะพานเสียง”

หลังการได้รบั ความรูเ้ บือ้ งต้นเพือ่ เป็นอาวุธพืน้ ฐานในการ ปฏิบัติการต่อไปของช่วงชีวิตประสบการณ์ครั้งแรกในการพา ตัวเองเข้ามาเป็นอาสาสมัครใน “โครงการยุวทูตสะพานเสียง” ซึ่งภารกิจหลักของโครงการ คือ เพื่อสนับสนุนและสร้างความ เข้าใจอันดีงามระหว่างรัฐ และคนในสังคมผูเ้ ป็นเจ้าของประเทศ กับบุคคลผู้เป็น “แรงงานข้ามชาติ” ข้าพเจ้าเป็นหนึ่งในเยาวชนโครงการยุวทูตสะพานเสียง จากทั้งหมด 12 คน และภารกิจของข้าพเจ้านั้น ข้าพเจ้าจะได้ เข้าไปศึกษาเรียนรู้ในองค์กรที่จะช่วยสอนให้ข้าพเจ้ามีความ เข้าใจอย่างถ่องแท้ตอ่ แรงงานข้ามชาติ ข้าพเจ้าโชคดีทไี่ ด้มโี อกาส เข้าไปท�ำงานกับองค์กร Human Rights and Development Foundation : HRDF (มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา: มสพ.) ซึ่งข้าพเจ้าเองรู้สึกตื่นเต้นเป็นอย่างมาก ด้วยภารกิจและ ความตั้งใจอันท่วมท้นอันมาจากความจ�ำเป็นที่ตัวข้าพเจ้าเอง ควรจะ “ต้องรู้” ด้วย เนื่องจากข้าพเจ้าเป็นบุตรแรงงานข้ามชาติ จึงท�ำให้ข้าพเจ้าพอจะทราบเป็นพื้นฐานจากประสบการณ์ตรง รวมทั้งสังคมของประเทศไทยที่ก�ำลังเปลี่ยนไป สังคมไทยไม่ใช่สังคมเดี่ยวที่ประกอบด้วยคนในชาติ เดียวอีกต่อไปหากแต่ความเป็นจริงในปัจจุบนั นัน้ สังคมไทย ก� ำ ลั ง จะกลายเป็ น ประเทศพหุ สั ง คมที่ บ รรจุ ผู ้ ค นหลาก ชาติพนั ธุ์ และหลายสัญชาติ ต่างเกิดการปฏิสมั พันธ์กนั และกัน ความรูแ้ ละความเข้าใจทีป่ ราศจากอคตินบั เป็นสิง่ จ�ำเป็นอย่างยิง่ ที่ควรได้รับการส่งเสริมและสนับสนุน ด้วยเหตุผลและความ จ�ำเป็นดังกล่าว จึงเป็นแรงผลักดันส�ำคัญที่ท�ำให้ข้าพเจ้ามีความ สนใจและกระหายอยากร่วมสร้างความเข้าใจและทัศนคติที่ถูก ต้องต่อแรงงานข้ามชาติ และโครงการยุวทูตสะพานเสียงจึงเป็น ดังแสงสว่างน�ำทางทีเ่ ปิดโอกาส ให้ขา้ พเจ้าและเพือ่ นยุวทูตฯของ โครงการ ได้ร่วมเรียนรู้และแบ่งปันประสบการณ์ดีๆ และส่งต่อ สิ่งมีค่านี้แด่เพื่อนร่วมสังคม ให้สังคมและโลกของเรามีความ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่น่าอยู่มากขึ้น 20 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

เกือบ 2 เดือน นับเริ่มตั้งแต่ข้าพเจ้าได้เข้าเป็นส่วนหนึ่ง ของโครงการยุวทูตสะพานเสียง ทุกๆ วันทีผ่ า่ นไปดูมคี ณ ุ ค่าและ ทวีความส�ำคัญมากขึ้นเรื่อยๆ ภาพเลือนลางของความรู้และ ความเข้าใจเกี่ยวกับแรงงานข้ามชาติที่ข้าพเจ้าเคยมีในงาน ที่ น อกเหนื อ จากการเกษตรกรรม–บั ด นี้ ชั ด เจนมากขึ้ น ข้าพเจ้าได้เรียนรู้ว่าแรงงานข้ามชาติมีความส�ำคัญอย่างยิ่งใน ภาคเศรษฐกิจไทย เพราะเขาเหล่านั้น คือ กลุ่มแรงงานที่ท�ำให้ เศรษฐกิจไทยขับเคลือ่ นก้าวหน้าต่อไปได้ และพวกเขาเหล่านีเ้ อง ทีเ่ ป็นผูท้ ำ� งานทีอ่ นั ตรายและเสีย่ งชีวติ มากกว่า ในงานบางประเภท ที่แรงงานไทยไม่ท�ำ ซึ่งมักเกิดการขาดแคลนแรงงานในงานบาง ประเภท บางกิจการ เช่น งานก่อสร้าง งานทางด้านการเกษตร งานค้าขายหน้าร้าน งานแม่บ้าน งานบริการต่างๆ และกรรมกร อื่นๆ เป็นต้น ท�ำให้นายจ้างเองมีความจ�ำเป็นต้องจ้างแรงงาน ข้ามชาติแทน แต่นบั เป็นเรือ่ งเศร้าและน่ากังวลอย่างยิง่ เมือ่ กลุม่ แรงงานข้ามชาติผู้อาบเหงื่อต่างน�้ำท�ำงานเพื่อแลกค่าแรงงานนี้ กลับถูกเอารัดเอาเปรียบจากผูไ้ ม่ประสงค์ดี รวมทัง้ การถูกละเลย ไม่ให้ความส�ำคัญในเรื่องสิทธิแรงงานที่เท่าเทียมกันของบุคคล และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง จึงท�ำให้คณ ุ ภาพชีวติ ของแรงงานข้าม ชาติยงั มีความน่าเป็นห่วงและจ�ำเป็นอย่างยิง่ ทีเ่ ราทุกคน ควรจะ หันกลับมาดูแลใส่ใจเพื่อนร่วมสังคม และชาวอาเซียนด้วยกัน มากขึ้น

องค์กร HRDF เป็นองค์กรที่ข้าพเจ้าได้เข้าไปศึกษา เรียนรู้และร่วมท�ำงานภายใต้ความร่วมมือขององค์กรเพื่อ สิทธิแรงงานข้ามชาตินั้น เป็นองค์กรไม่แสวงผลก�ำไร ที่มีเจ้า หน้าที่คอยบริการช่วยเหลือความรู้ทางกฎหมายในเรื่องสิทธิ แรงงานข้ามชาติ เช่น สิทธิในประกันสังคม สิทธิที่จะได้รับการ คุ้มครองทั้งชีวิตและทรัพย์สิน ฯลฯ ปัญหาทั่วไปที่แรงงาน มักประสบและเป็นปัญหาที่ไม่ควรที่จะเกิดขึ้นเลย คือ ปัญหา ค่าแรง ปัญหาการถูกยึดหนังสือเดินทาง ปัญหาการถูกท�ำร้ายทัง้ ทางร่างกายและจิตใจ เป็นต้น โดยสาเหตุสว่ นใหญ่ มักเกิดจาก การสื่อสารที่ไม่มีประสิทธิผล ความแตกต่างทางวัฒนธรรม รวมทั้งมายาคติเฉพาะบุคคลที่ตีตราคุณค่าของความเป็น มนุษย์ของคนอื่นด้อยค่าลง น�ำมาสู่ความไม่เข้าใจและเกิด ความขัดแย้งกันในที่สุด แม้ระยะเวลาที่ข้าพเจ้าได้คลุกคลี เรียนรู้เกี่ยวกับ แรงงานข้ามชาติจะยังไม่มากนัก แต่ความรูแ้ ละประสบการณ์


ใหม่ที่ได้มานั้น ไม่สามารถนับค่าราคาได้ องค์กร HRDF เป็น องค์กรที่มีส�ำนักงานประจ�ำอยู่ในหลายจังหวัด หลายภาค ตัว ข้าพเจ้าได้เข้าไปศึกษาเรียนรูแ้ ละท�ำงานทีส่ ำ� นักงานทีป่ ระจ�ำอยู่ ในกรุงเทพมหานคร ช่วง ๒ สัปดาห์แรกเป็นช่วงทีพ่ ๆ ี่ ขององค์กร ช่วยสอนในเรื่องของบทบาท และเป้าประสงค์การท�ำงานของ องค์กร ซึง่ เป็นไปเพือ่ แรงงานข้ามชาติตามทีก่ ล่าวมาข้างต้น และ หลังจากนัน้ สิง่ ทีน่ า่ ตืน่ เต้นและถือเป็นเรือ่ งส�ำคัญมากทัง้ ต่อชีวติ ของแรงงานและการท�ำงานของเจ้าหน้าที่ทุกๆ คน เมื่อมีกรณี ในเรื่องการค้ามนุษย์เข้ามาขอความช่วยเหลือกับทางองค์กร แน่นอนว่าองค์กร HRDF จะไม่เฉย ช่วงนี้เรามีการประสานงาน กับหน่วยงานทั้งทางรัฐ และองค์กรอิสระ ภาคประชาสังคม หลายองค์กร เพื่อเข้าช่วยเหลือเหยื่อถูกค้ามนุษย์ การท�ำงาน โดยส่วนใหญ่จะเป็นในเรือ่ งของกฎหมายทีข่ า้ พเจ้าก�ำลังพยายาม ท�ำความเข้าใจอยู่ เรามีการลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูลประกอบ การวางแผน ข้าพเจ้าแอบปลื้มใจที่ตัวเองได้เป็นส่วนหนึ่งที่ได้ ช่วยเหลือเพือ่ นมนุษย์ดว้ ยกัน ในช่วงการเก็บข้อมูล การสอบข้อ เท็จจริงกับแรงงาน เป็นช่วงที่ข้าพเจ้ามีบทบาทเต็มที่ที่สุด เพราะความสามารถทีข่ า้ พเจ้าพูดได้ทงั้ ภาษาไทยและภาษา เมี ย นมาร์ ไ ด้ นั้ น ได้ ช ่ ว ยให้ ก ารท� ำ งานขององค์ ก รและ หน่วยงานที่ท�ำงานร่วมกัน มีความสะดวกและรวดเร็วมากขึ้น การท�ำงานในสถานการณ์นี้ เวลา คือ ตัวแปรส�ำคัญของชีวิต เพื่อนมนุษย์ มาถึงวันนี้ วันที่เราสามารถช่วยแรงงานออกมาได้ แต่ทางคดีก็ยังเป็นหน้าที่ขององค์กรที่จะต้องจัดการด�ำเนินคดี ตามกฎหมายต่อไป

อย่างที่กล่าวไว้ข้างต้นว่า องค์กร HRDF มีส�ำนักงาน ประจ�ำอยู่หลายพื้นที่ ในระยะต่อมา ข้าพเจ้าได้มีโอกาสไป เรียนรูง้ านในพืน้ ทีม่ หาชัย จังหวัดสมุทรสาคร เป็นทีท่ ราบกัน ทัว่ ไปว่าพืน้ ทีด่ งั กล่าวเป็นพ้นทีท่ ถี่ กู จัดเป็นส่วนของอุตสาหกรรม รวมทัง้ สินค้าทางทะเล ซึง่ เป็นสินค้าหลักของไทยทีส่ ง่ ออกไปขาย ยังต่างประเทศ สร้างรายได้เข้าประเทศอย่างมหาศาลต่อปี พืน้ ที่ มหาชัยจึงเต็มไปด้วยผู้ขายแรงงานในภาคต่างๆ บ้างอยู่โรงงาน บ้างท�ำประมง ฯลฯ เป็นที่น่าสนใจว่า แรงงานหลักและถือว่า แรงงานส่วนใหญ่ เป็นแรงงานข้ามชาติ ที่มาจากประเทศเมีย นมาร์ พืน้ ทีท่ นี่ ี่ มีลกั ษณะเฉพาะทีแ่ ตกต่างจากพืน้ ทีอ่ นื่ ๆ เพราะ ที่นี่เราสามารถเห็นผู้คนต่างวัฒนธรรม ประเพณี แต่พวกเขา ก็ ส ามารถอยู ่ ร ่ ว มกั น ได้ มี ก ารติ ด ป้ า ยประกาศของทางการ ป้ายประกาศรับสมัครคนงานของโรงงาน หรือแม้แต่ร้านค้า

ร้านถ่ายรูปตามข้างทาง จะเขียนบนป้ายเป็นภาษาไว้ทั้ง 2 หรือ อาจ 3 ภาษา คือ ภาษาไทย ภาษาเมียนมาร์ และภาษาอังกฤษ แรงงานข้ามชาติของพื้นที่ในส่วนนี้ดูมีความเข้มแข็ง อาจเพราะ ด้วยจ�ำนวนประชากรแรงงานข้ามชาติที่มีมาก รวมทั้งองค์กร อิสระ ภาคประชาสังคมต่างๆ เข้าให้ความช่วยเหลือ ที่ส�ำคัญ ภาครัฐก็ให้ความส�ำคัญด้วย ข้าพเจ้าจึงได้เห็นการรวมกลุ่มของ แรงงานข้ามชาติเอง อย่างเช่น กลุ่ม Migrant Worker Rights Network : MWRN (เครือข่ายเพื่อสิทธิแรงงานข้ามชาติ) ซึ่งกลุ่ม ดังกล่าวตั้งขึ้น เพื่อให้ค�ำปรึกษาและช่วยเหลือแรงงานข้ามชาติ ทีป่ ระสบปัญหา มีการเปิดสอนภาษาไทยให้กบั แรงงานข้ามชาติ ที่มีเวลาและมีความสนใจอยากเรียนภาษาไทย มีการเปิดเวที ให้ความรูก้ บั แรงงานข้ามชาติเรือ่ งสิทธิของแรงงาน เป็นต้น กลุม่ ดังกล่าวได้รับการสนับสนุน ส่งเสริมจากองค์กร HRDF ซึ่ง จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย ในพื้นที่มหาชัยนี้ เราสามารถ เห็นการประกอบพิธกี ารบวชลูกแก้วแบบวัฒนธรรมเมียนมาร์ใน วัดทีม่ พี ระเป็นไทย ในพืน้ ทีน่ เี้ ราจะเห็นคนหนึง่ คน มีความสามารถ พูดได้อย่างน้อย 2 ภาษา ไม่ว่าจะเป็นคนเชื้อชาติสัญชาติใด ก็ ต าม เราจะเห็ น ความแตกต่ า งทางวั ฒ นธรรมซึ่ ง สามารถ ปรับและอยู่ร่วมกันได้ ซึ่งจากที่ปรากฏ กลุ่มคนในพื้นที่เหล่านี้ พวกเขาต่างหากที่เข้าใจและกลายเป็นชาวอาเซียนโดยแท้จริง

ข้อสังเกตทีข่ า้ พเจ้าได้เรียนรูจ้ ากการเข้าร่วมเป็นอาสา สมัครของโครงการฯ คือ • ความไม่เข้าใจกันและกัน อาจจะเป็นความสัมพันธ์ ระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง ระหว่างเพือ่ นบ้าน หรือผูท้ อี่ ยูร่ ว่ มกัน ในสังคม ซึง่ อุปสรรคส�ำคัญ คือ ภาษา เมือ่ เราไม่สามารถสือ่ สาร กันได้อย่างเข้าใจถ่องแท้ เมือ่ ความสามารถของผูส้ ง่ สารและผูร้ บั สารมีจ�ำกัด มักก่อให้เกิดปัญหาตั้งแต่เรื่องจิปาถะไปจนถึงเรื่อง ใหญ่มากระดับอาเซียน • ต่อมาเป็นเรือ่ งของ มายาคติเดิมๆ จริงๆ แล้วในโลก นีป้ ระกอบขึน้ จากความแตกต่าง หลอมรวมเป็นโลกเพือ่ ให้พงึ่ พา อาศัยและเติมเต็มกันและกัน สัจธรรมความจริงข้อนี้ จะท�ำให้เรา รู้สึกอยากเปิดกว้างมากขึ้น จะเป็น “ชาวเรา ชาวเขา หรือชาว อะไร” ก็ตามที เราสามารถเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกันได้ • คุณค่าของความเป็นมนุษย์ แรงงานข้ามชาติ คือ บุคคลทีใ่ ช้แรงงานแลกเงินเพือ่ หาเลีย้ งชีพและครอบครัว พวกเขา เป็นกลุ่มบุคคลผู้เสียสละท�ำงานที่เราไม่สามารถท�ำได้ พวกเขา เป็นส่วนส�ำคัญทีส่ ร้างรายได้ให้ประเทศ พวกเขาเป็นผูย้ อมเสีย่ ง อันตรายเพื่อให้เศรษฐกิจไทยยังคงขับเคลื่อนก้าวหน้าต่อไป “การเป็นคนขายแรงงาน ไม่ได้แปลว่าเขาไม่มีคุณค่า” เพราะ ฉะนั้นแล้ว สิทธิแรงงานที่มี จึงไม่ใช่การเลือกปฏิบัติ แต่เป็นสิ่งที่ เราทุกๆ คนควรเคารพ สนับสนุนและส่งเสริม • การร่วมสรรค์สร้างสังคม ไม่ใช่หน้าทีค่ นใดหรือเฉพาะ หน่วยงานใด แต่เป็นของทุกๆ คน คนทุกคนมีคุณค่าและมี ความสามารถทีต่ า่ งกัน ร่วมด้วยช่วยกันไม่เพิกเฉยต่อการถูกเอา รัดเอาเปรียบของแรงงานข้ามชาติ ร่วมเคารพ สนับสนุนและส่ง จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 21


ในปัจจุบัน โดยเฉพาะในสังคมไทยที่นับว่ามีการเติบโต ทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนือ่ ง และถือว่าเป็นประเทศทีม่ กี ารพัฒนา ในระดับต้นๆ ของภูมภิ าคประชาคมอาเซียน นับเป็นปัจจัยดึงดูด ส�ำคัญทัง้ นักลงทุนและแรงงานจ�ำนวนมหาศาล ทีต่ า่ งยอมทิง้ บ้าน ทิ้งครอบครัว ด้วยหวังว่าจะมีชีวิตที่ดีกว่าในต่างแดน กว่าครึ่งศตวรรษ ของการหลั่งไหลเข้ามาของแรงงาน ข้ามชาติ ท�ำให้รัฐผู้เป็นเจ้าของประเทศ ต้องมีการปรับตัวและ วางกลไกการดูแลไม่เฉพาะแค่คนไทยอีกต่อไป หากแต่สงั คมไทย นั้น ได้ค่อยๆ ผันแปรตามกาลเวลาและสมาชิกใหม่ในสังคม ภาคพื้นทวีปที่มีเขตติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน จึงสะดวกต่อ การติดต่อเดินทางไปมาหาสู่กันและกัน แม้เดิมยังไม่เกิดรัฐชาติ การอพยพ เคลื่อนย้ายแหล่งที่อยู่อาศัยเป็นไปอย่างปกติ แต่ ยุคหลังการได้รับเอกราชของประเทศในภูมิภาคอาเซียน ความ เข้มข้นของส�ำนึกความเป็นรัฐ เป็นชาติใดๆ ได้นำ� มาสูก่ ารตัง้ กฎ กติกา ที่เรียกว่า ข้อตกลงบ้าง สัญญาบ้าง กฎหมายบ้าง มนุษย์ ถูกแบ่งแยก จัดหมวดหมู่เป็นกลุ่มคนที่อยู่ภายใต้อุปโลกน์รัฐ มนุษย์ทุกคนต้องมีตราประเทศประจ�ำตัวเอง นับเป็นข้อส�ำคัญ ทีม่ นุษย์ตา่ งต้องปฏิบตั ติ ามกฎกติกาดังกล่าว หากการอพยพเข้า มาใหม่เกิดขึ้น กลุ่มคนใหม่ในสังคมได้เข้าสู่สถานะ “ข้ามชาติ” ตัวอย่างที่เกิดขึ้นในสังคมไทย ซึ่งมีปัจจัยดึงดูดจากการขยายตัว เศรษฐกิจ ท�ำให้เกิดอุปสงค์ด้านแรงงานอย่างมหาศาล รวมทั้ง ปัจจัยผลักดันจากประเทศต้นทาง ทีม่ อิ าจอ�ำนวยให้ การด�ำรงชีพ รวมทัง้ การพัฒนาคุณภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ ต่อไปได้ จึงปรากฏแรงงาน ข้ามชาติจ�ำนวนมากในประเทศไทยดั่งในปัจจุบัน การพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย ได้มกี ารแก้ไข ปรับเปลีย่ น และพัฒนาระบบเพือ่ ประโยชน์สงู สุด ของทัง้ ต่อชีวติ แรงงานข้ามชาติเองและรัฐประเทศด้วย ดังจะเห็น ได้จาก ความพยายามที่จะแก้ไขปัญหาแรงงานข้ามชาติที่ผิด กฎหมาย ให้กลายเป็นแรงงานข้ามชาติที่ถูกต้องตามกฎหมาย ไม่ ว ่ า จะเป็ น การออกใบอนุ ญ าตท� ำ งานแก่ แรงงานข้ามชาติ การพิสจู น์สญ ั ชาติ การมีสทิ ธิในประกันสังคม เป็นต้น แม้ในบาง กระบวนการขัน้ ตอนยังไม่อาจสมบูรณ์และเปิดช่องว่างการทุจริต น�ำไปสูก่ ารเอารัดเอาเปรียบแรงงานข้ามชาติ จึงเป็นภาระหน้าที่ ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องที่ควรเร่งแก้ไขและปรับปรุง มิให้เกิดข้อ กังขาต่อสากล แม้ในผู้อพยพย้ายถิ่นเข้ามาขายแรงงานเอง ได้มีความ ใต้ร่มสังคมเดียวกัน เข้มแข็งมากขึ้น เพื่อดูแลเพื่อนร่วมชะตาชีวิตการเป็นแรงงาน โดย ดวงตา หม่องภา ในต่างแดน ดังกลุ่มที่ผู้เขียนได้มีโอกาสสัมภาษณ์มา ดังจะยก ประเทศไทย ร่มเย็น ทั่วถิ่นหล้า ตัวอย่าง ต่อไปนี้ เหล่าประชา สามัคคี มีสุขสันต์ “เครือข่ายเพือ่ สิทธิแรงงานข้ามชาติ” มีชอื่ เรียกเป็นภาษา คนแดนไกล ย้ายเคลื่อน เลื่อนชีวัน อังกฤษว่า “Migrant Worker Right Network : MWRN” ปัจจุบัน ดุจสวรรค์ ได้พึ่งพิง แผ่นดินทอง มีคุณ Aung Kyaw เป็นประธานกลุ่ม ซึ่งท�ำงานร่วมกับเพื่อนๆ เป็นแรงงาน ข้ามชาติ อาบเหงื่อแลก แรงงานข้ามชาติที่มาจากประเทศเมียนมาร์ กลุ่มดังกล่าวตั้งอยู่ ก่อ ขน แบก ปัด กวาด งานทั้งผอง ในพืน้ ทีม่ หาชัย จังหวัดสมุทรสาคร พืน้ ทีท่ ถี่ กู จัดเป็นโซนประกอบ น�้ำพึ่งเรือ เสือพึ่งป่า รักปรองดอง กิจการอุตสาหกรรมของประเทศไทย การก่อตัง้ กลุม่ เกิดขึน้ เมือ่ อาเซียนก้อง ซ้องแซ่ ระบือนาม จ�ำนวนประชากรแรงงานข้ามชาติที่อพยพเข้ามาตั้งแต่ปี 1980

เสริม สิทธิของแรงงานข้ามชาติโดยไม่เลือกปฏิบัติ และการไม่ดู หมิน่ เหยียดหยาม ท�ำร้ายกันและกันทัง้ ทางวาจาและการกระท�ำ อีกหนึง่ เรือ่ งซึง่ เป็นความประทับใจส่วนตัวของข้าพเจ้า คือ วันทีข่ า้ พเจ้าจะได้ไปร่วมรับฟังค�ำพิพากษาทีศ่ าลจังหวัด ก�ำแพงเพชร ในคดีแพ่งของน้องนาแอร์ที่เกิดมีข่าวขึ้นเมื่อ ไม่นานมานี้ ข้าพเจ้าสนใจคดีนี้เป็นพิเศษเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว เพราะเหยื่อเป็นเพียงแค่เด็กหญิงตัวน้อย แต่ถูกท�ำร้ายทารุณ อย่างสาหัส ความเจ็บปวดรวดร้าว ไม่อาจหนีได้แม้เพียงฝัน โทรทัศน์เคยท�ำข่าวช่วงที่เรื่องเกิดขึ้น แต่ก็ไม่ได้มีการน�ำเสนอ ข่าวหลังจากนั้นอีก วันฟังค�ำพิพากษา ข้าพเจ้าตื่นตั้งแต่ 3 นาฬิกา (ตี 3) เพื่อไปขึ้นรถไปก�ำแพงเพชรที่หมอชิต ภารกิจเรา คือ อยากไปให้ทนั ศาลอ่านค�ำพิพากษา ปรากฏว่า รถทีม่ กี บั เส้น ทางของเราบวกกับเวลาที่เร่งรีบ คลาดเคลื่อนกันไปหมด ผลคือ เราจึงไปนั่งรถตู้โดยสารไปนครสรรค์ก่อน ซึ่งรถตู้ก็แวะเติมแก๊ส 2 รอบ พอถึงนครสวรรค์กลับไม่มีรถไปก�ำแพงเพชร ที่มีรถอยู่ก็ ออกช้า แม้เจออุปสรรคแต่การเดินทางของเราก็ยงั คงต้องด�ำเนิน ต่อไป ท�ำให้เราต้องเหมารถคันสีเหลือง (เป็นรถโดยสารสองแถว) นีไ่ ม่ใช่ครัง้ แรกทีข่ า้ พเจ้านัง่ รถสองแถว แต่นเี่ ป็นครัง้ แรกทีร่ ถสอง แถวท�ำข้าพเจ้าหัวฟู ยุง่ เหยิง เข้าไปในศาล ถึงจะท�ำให้เสียความ มัน่ ใจไปบ้าง แต่ความตัง้ ใจเดิมยังมัน่ คง เราไปถึงเกือบเทีย่ งแล้ว เมื่อไปติดต่อที่ศาลปรากฏว่า “ศาลเลื่อนนัดอ่านค�ำพิพากษา” ด้วยเหตุผลบางประการ ไปเป็นวันที่ 30 มิถุนายนนี้ ข้าพเจ้า รู้สึกพูดไม่ออก บอกไม่ถูก แต่ก็รู้สึกประทับใจที่ช่วงบ่ายเราได้มี โอกาสเข้าไปคุยกับกลุม่ งานสวัสดิการแรงงานกรณีของน้อง ตาม ด้วยบะหมี่เกี้ยวชื่อดังเมืองเพชร และข้าวต้มผักบุ้งลอยฟ้า นครสวรรค์ สิ่งที่ข้าพเจ้าตั้งใจอยากให้เกิดขึ้นต่อไปในอนาคตนั้น ข้าพเจ้าก็ยงั จะตามหาสิง่ นัน้ ต่อไป และคิดว่าความคิดดีๆ คงจะ ลอยล่องมา หลังจากที่ข้าพเจ้ายังคงได้เข้าไปท�ำงานที่เกี่ยวข้อง กับแรงงานข้ามชาติ ข้าพเจ้ารู้สึกขอบคุณในโอกาสที่ “โครงการ สะพานเสียง” มอบให้รู้สึกขอบคุณ “พี่ๆ จากองค์กร” ที่ช่วย แนะน�ำและให้คำ� ปรึกษา และรูส้ กึ มีความสุขทีส่ ดุ ที่ (ท่านๆ อ่าน จนตัวหนังสือตัวสุดท้าย) ได้ร่วมแบ่งปันและอยากแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ด้านแรงงานข้ามชาติ โปรดติดตามตอนต่อไป…

22 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


ด้วยปัจจัยทางประเทศต้นทางมีความยากแค้นทางด้านเศรษฐกิจ และเมือ่ ประเทศไทยซึง่ มีฐานะทางเศรษฐกิจทีด่ กี ว่า รวมทัง้ การ มีชายแดนที่ติดต่อกัน จึงเกิดการเดินทางเข้ามายังประเทศไทย อย่างต่อเนื่อง และโดยส่วนมาก กลุ่มคนขายแรงงานที่เดินทาง เข้ามานั้น ไม่มีเอกสารใดๆ ที่แสดงได้ว่า ได้มีการขออนุญาต อย่างถูกต้องตามกฎหมาย บ้างอาจเดินทางมาและรอดปลอดภัย แต่ในหลายกรณีเอง กลายเป็นเหยื่อมิจฉาชีพ และเข้าสู่วงจร ที่น�ำชีวิตไปตกต�่ำ จนท้ายสุดไม่อาจรักษาแม้ชีวิตของตนไว้ได้ การเดิ น ทางเข้ า มายั ง ประเทศไทยอย่ า งผิ ด กฎหมาย ท�ำให้แรงงานข้ามชาติเองก็ต้องหลบๆ ซ่อนๆ เพื่อไม่ให้ถูกจับ ตัวและส่งกลับ เกิดปัญหาการถูกเอารัดเอาเปรียบจากนายจ้าง ความเสี่ยงต่อการเข้าสู่กระบวนการการค้ามนุษย์ คุณภาพชีวิต ที่ย�่ำแย่ ท้ายที่สุดจึงน�ำมาสู่การพยายามเข้ามาแก้ปัญหาต่างๆ ของรัฐ ภาคประชาสังคม รวมถึงผู้ที่เกี่ยวข้อง จ�ำนวนประชากร แรงงานที่มากขึ้น รวมทั้งปัญหาการสื่อสารระหว่างบุคคลใน สังคมเดิมกับสมาชิกใหม่ ท�ำให้แรงงานเอง มีความต้องการที่ อยากมีส่วนร่วมกับการจัดการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ได้เกิดอาสา สมัครเพื่อนแรงงานข้ามชาติ เพื่อเข้ารับการอบรม แลกเปลี่ยน เรียนรู้ ในเวทีสาธารณะ ในด้านประเด็นแรงงานข้ามชาติอย่าง ต่อเนื่อง จนในที่สุด เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2552 อาสาสมัคร แรงงานข้ามชาติ 9 ท่าน ได้ชักชวนกันจัดตั้งกลุ่มเพื่อดูแล ช่วย เหลือ และประสานความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแรงงานข้ามชาติ ขึน้ โดยได้รบั การสนับสนุนจาก มูลนิธเิ พือ่ สิทธิมนุษยชนและการ พัฒนา: มสพ. (Human Rights and Development Foundation : HRDF) โดยเมื่อเริ่มตั้งกลุ่ม ภารกิจหลักที่หนักและยากล�ำบาก อย่างยิง่ คือ การเข้าไปหาแรงงานข้ามชาติดว้ ยกันเอง เนือ่ งจาก แรงงานข้ามชาติส่วนมาก เคยมีประสบการณ์ที่ไม่ค่อยดี จึงไม่ ไว้ใจบุคคลทีต่ นไม่คนุ้ เคย ท�ำให้แกนน�ำกลุม่ ต้องกลับมาทบทวน และวางแผนการท�ำงานใหม่ และสรุปได้ว่า ควรหาความสนใจ ของแรงงานข้ามชาติเหล่านี้ และค่อยๆ สอดแทรกความรู้ ที่ต้องการเผยแพร่ให้ ท้ายที่สุด มาลงตัวที่ ความสนใจในด้าน ศาสนา ทุกๆ ครั้งหลังการท�ำบุญ หลังช่วยกันปัดกวาด ท�ำ ความสะอาดวัดแล้ว ขบวนการให้ความรู้ทางกฎหมายในเรื่อง สิทธิแรงงานก็มกั จะเริม่ ขึน้ เมือ่ เวลาผ่านไป ฐานความรูไ้ ด้ขยาย วงกว้างมากมากขึ้น หลังปี 2555 ทางกลุ่มพบว่า ลักษณะของ แรงงานข้ามชาติที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกมีความเปลี่ยนแปลงไป พวกเขามีความตระหนักในเรือ่ งของการท�ำตัวเองให้ถกู ต้องตาม กฎหมายมากขึ้น และที่ส�ำคัญ มีความรู้ความเข้าใจในกฎหมาย โดยเฉพาะด้านสิทธิของตนเองมากยิ่งขึ้น มีในหลายกรณีที่ แรงงานข้ามชาติได้ลุกขึ้นมาต่อสู้เพื่อทวงคืนสิทธิของตนที่ถูก ละเมิด ตัวอย่างเช่น มีบริษัทแห่งหนึ่ง มีการละเมิดค่าแรงของ แรงงานข้ามชาติและปลดพนักงานออกเป็นจ�ำนวนมาก แรงงาน กลุ่มหนึ่งได้ลุกขึ้นมาต่อสู้เพื่อปกป้องสิทธิของเองตาม พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน มาตรา 75 มาตรา 118 เป็นต้น ท�ำให้แรงงาน ได้ รั บ การคุ ้ ม ครองสิ ท ธิ ต ามกฎหมายดั ง กล่ า ว นอกจากนี้

ทางองค์กรมีการลงพื้นที่ไปอบรมให้ความรู้ทางกฎหมายแก่ พี่น้องแรงงานข้ามชาติ ตามโรงงานต่างๆ เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับแรงงานข้ามชาติ นอกจากความรู้ทางกฎหมายแล้ว องค์กรยังจัดให้มี โครงการการสอนหนั ง สื อ ภาษาไทย ภาษาอั ง กฤษ และ คอมพิ ว เตอร์ แ ก่ แรงงานข้ า มชาติ ด ้ ว ย เนื่ อ งจากเล็ ง เห็ น ว่ า อุปสรรคด้านการสื่อสารยังเป็นปัจจัยส�ำคัญที่ก่อให้เกิดปัญหา ต่างๆ ตามมา โดยมีผสู้ อนทีเ่ ป็นอาสาสมัครผลัดเปลีย่ นหมุนเวียน มาสอนให้อยู่เสมอ ซึ่งพบว่า การเพิ่มพูนทักษะเหล่านี้ให้แก่ แรงงานข้ามชาติ ได้ก่อให้เกิดบุคคลผู้มีความรู้ความสามารถ เพิ่มขึ้น บ้างสามารถเปลี่ยนจากการขายแรงงานในภาคกรรมกร ผันตัวเองไปท�ำงานในร้านคอมพิวเตอร์ อีกทั้งทักษะทางด้าน ภาษา ได้ช่วยลดระยะห่างความเข้าใจกันและกันระหว่างบุคคล ทีอ่ ยูร่ ว่ มกันในสังคมอีกด้วย ทีส่ ำ� คัญ องค์กรยังรวบรวมหนังสือ หลากภาษา จัดท�ำเป็นเสมือนห้องสมุด ที่แรงงานข้ามชาติ สามารถเข้ามานัง่ อ่าน หรือจะยืมกลับก็ได้ ทัง้ นีเ้ พือ่ ส่งเสริมและ สนับสนุนให้แรงงานข้ามชาติ ได้มโี อกาสได้อา่ นหนังสือ เพือ่ เป็น ความรู้ เสริมสร้างชีวิตต่อไป ในด้านการพัฒนาอาชีพ เพือ่ ช่วยลดต้นทุนการด�ำรงชีวติ และเป็นรายได้เสริมแก่ครอบครัว หรืออาจเป็นความรู้เพื่อไป ต่อยอดในการพัฒนาคุณภาพชีวติ ต่อไปในอนาคตได้ เมือ่ อาสา สมัครได้มโี อกาสเข้าอบรมการฝึก พัฒนาฝีมอื อาชีพต่างๆ ก็มกั จะกลับมาอบรมให้ความรู้ส่งต่อมายังแรงงานข้ามชาติคนอื่นๆ ที่ไม่มีโอกาส มีการสอนท�ำน�้ำยาล้างจาน น�้ำยาซักผ้า การปลูก พืชผัก การท�ำเกษตรผสม ตามแนวทางพระราชด�ำริพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพื่อเป็นภูมิความรู้พัฒนาคุณภาพชีวิต ในภายภาคหน้า หลังการท�ำงานเพื่อช่วยเหลือแรงงานข้ามชาติ ทางกลุ่ม ได้เล็งเห็นความส�ำคัญของบุตรของแรงงานข้ามชาติอีกเช่นกัน เนื่ อ งจาก บุ ต รที่ ติ ด ตามบิ ด ามารดาที่ เข้ า มาขายแรงงานใน ประเทศไทยนั้น บ้างไม่ได้เรียนหนังสือ และท้ายที่สุด แม้อายุ ยังไม่ถึงเกณฑ์ เด็กๆ เหล่านี้กลับต้องเข้าสู่ระบบการใช้แรงงาน อย่างเต็มตัว แม้แต่เด็กๆ ที่ก�ำลังเรียนอยู่ในสถานศึกษาก็ตาม เนื่องจากหนังสือเดินทางของบิดามารดาที่มีกำ� หนด 4 ปี แล้ว ต้องเดินทางกลับออกนอกประเทศไทย บุตรแรงงานข้ามชาติ เหล่านี้ ต้องติดตามบิดามารดากลับด้วย ท�ำให้เด็กๆ เหล่านี้ ไม่ได้รบั การศึกษา องค์กรจึงมีการรับอาสาสมัคร เพือ่ สอนหนังสือ ให้แก่เด็กๆ เหล่านี้ รวมทั้งพยายามเทียบให้มาตรฐานการสอน ให้เท่าเทียมกับสถานศึกษาของราชการในประเทศเมียนมาร์ เพื่อให้เด็กๆ เหล่านี้ สามารถกลับไปเทียบวุฒิการศึกษาต่อได้ ทางประธานกลุ ่ ม เคยได้ ก ล่ า วถึ ง ประเด็ น นี้ ใ นการประชุ ม ที่ เนปิดอร์ ประเทศเมียนมาร์ และปีการศึกษาที่ผ่านมา ได้มี ครอบครัวแรงงานข้ามชาติทกี่ ลับประเทศเมียนมาร์และสามารถ ให้บุตรไปเทียบการศึกษาในสถานศึกษาได้

จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 23


คือ

อุปสรรคและปัญหาทีอ่ ยากสะท้อนให้แก่สงั คมได้รบั รู้ • แรงงานข้ามชาติเองมักมีความกังวลใจและเกิดความ กลัว เนื่องจากแม้ในบางกรณี ที่ลูกจ้างถูกกฎหมาย แต่นายจ้างกลับมีการยึดเอกสารเดินทางไว้ เนือ่ งจาก กลัวลูกจ้างหนี ซึ่งในบางกรณีที่เกิดปัญหาขึ้น มัก เกิดจากการไม่เข้าใจกันเนือ่ งจากอุปสรรคทางภาษา • การละเมิดเรือ่ งค่าแรงขัน้ ต�ำ่ ของแรงงานข้ามชาตินนั้ ยังเป็นปัญหาแก่แรงงานข้ามชาติ เนือ่ งจากแรงงาน ข้ามชาติเอง ต้องมีภาระค่าครองชีพ ภาระการเลีย้ ง ดูบุตร อยู่แล้ว จึงอยากให้นายจ้างให้ความส�ำคัญ และตระหนักถึงสิทธิของแรงงานข้ามชาติด้วย • ส่วนสนับสนุนในเรือ่ งของงบประมาณทีย่ งั ไม่แน่นอน เนื่องจากปัญหาการละเมิดสิทธิแรงงานมีอยู่ทั่ว ประเทศ หรือความสามารถในการให้ความรู้และ แลกเปลีย่ นประสบการณ์ระหว่างแรงงานเอง จ�ำเป็น ที่จะต้องมีงบประมาณส่วนหนึ่งเพื่อใช้เป็นค่าเดิน ทาง ค่าพิมพ์เอกสาร เป็นต้น • อยากให้สังคมเห็นคุณค่าของแรงงานข้ามชาติที่ ช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย “ผมเองก็เป็นแรงงาน ข้ามชาติ มา 16 ปีแล้ว อยู่มาตั้งแต่มหาชัยยังเป็น ป่า ตอนนี้กลายเป็นเมืองไปแล้ว” คุณ Aung Kyaw กล่าว การขยายตัวและเติบโตของเศรษฐกิจไทย ท�ำให้มีความต้องการทางด้านแรงงานอย่างสูง เป็น ผลท�ำให้เกิดนายหน้าที่ท�ำการน�ำพาแรงงานเข้ามา ในประเทศไทย ทั้งที่ถูกและผิดกฎหมาย น�ำไปสู่ ปัญหาอื่นๆ ตามมา การเข้ามาท�ำงานของแรงงาน ข้ามชาติเอง แม้นมิอาจรู้ชะตาชีวิตข้างหน้าของ ตนเองได้ หรืออาจถูกเอารัดเอาเปรียบค่าแรงก็ตาม เมื่อเทียบกับการต้องอดอยากเพราะไม่ได้ท�ำงาน เงินทีไ่ ด้แม้จะน้อยนิดแต่กพ็ อประทังจุนเจือครอบครัว ได้บ้าง • อยากแลกเปลีย่ นวิถชี วี ติ ของแรงงานข้ามชาติสสู่ งั คม ด้วย แรงงานข้ามชาติทเี่ ข้ามาอยูใ่ นประเทศไทยเป็น เวลานาน บ้างสามารถพูดภาษาไทยได้ บ้างเข้าใจ วัฒนธรรมได้ บ้างกลมกลืนกับคนในสังคม เสมือน เป็นสังคมของตัวเอง แรงงานข้ามชาติเองต่างรู้สึก ว่าตัวเองเป็นส่วนหนึ่งของสังคมไทย ทุกๆ ครั้งที่มี การจัดงาน ทัง้ ของชุมชน วัด โรงเรียน หรือวันส�ำคัญ ต่างๆ ของประเทศ พี่น้องแรงงานข้ามชาติ ได้เห็น และตระหนักถึงความส�ำคัญ มีความรูส้ กึ ร่วมเดียวกัน เหมือนคนในสังคมไทย เช่น มักร่วมกันปลูกต้นไม้ แก่ชุมชน การช่วยท�ำความสะอาดบริเวณวัดเพื่อ

24 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

จัดเตรียมงานต่างๆ การให้ความร่วมมือกับชุมชน การบริจาคเพื่อพัฒนาชุมชน ซึ่งในการกิจกรรม ล่าสุด ได้มกี ารบรรพชาสามเณร และอุปสมบทพระ ภิกษุ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพฯ เนื่องในวัน คล้ายวันพระราชสมภพ เมือ่ เดือนเมษายนทีผ่ า่ นมา สุดท้ายอยากฝากข้อความถึงผูอ้ า่ น ผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้องใดๆ ที่ได้รับรู้ข้อมูลอีกด้านหนึ่งของแรงงานข้ามชาตินี้ว่า “ทั้งหมดนี้ เป็นข้อมูลจริงจากประสบการณ์จริง อยากให้เกิดการแลกเปลีย่ น และเผยแพร่ต่อๆ ไป เพื่อความเข้าใจกันและกันของผู้คนที่อยู่ ร่วมกันในสังคมเดียวกัน” คุณ Aung Kyaw ประธานเครือข่าย เพื่อสิทธิแรงงานข้ามชาติ กล่าวทิ้งท้าย กิจกรรม ที่น่าสนใจ

วันที่ 13 เมษายน มสพ. ประจ�ำพื้นที่มหาชัย เข้าร่วม กิจกรรมการบรรพชาอุปสมบทหมู่ พระภิกษุสงฆ์ สามเณร และบวชศีลจาริณี ภาคฤดูร้อน ณ วัดเทพนรรัตน์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสมทุรสาคร จัดโดยศูนย์พฒ ั นาเด็กชุมชนแรงงานข้ามชาติ ร่วมกับวัดเทพนรรัตน์ โดยมีกลุม่ แรงงานข้ามชาติและบุตรหลาน ทีม่ าจากชุมชนแรงงานข้ามชาติ เข้าร่วมพิธดี งั กล่าว กิจกรรมครัง้ นี้ มีวตั ถุประสงค์เพือ่ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารีเนื่องในโอกาสวันคล้ายวันพระราชสมภพ 2 เมษายน 2557 และเพื่อเป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมและ ประเพณีของท้องถิ่น และการปลูกฝังค่านิยมและจิตส�ำนึกตาม แนวทางพระพุทธศาสนาแก่เยาวชน


23 เมษายน มสพ. ประจ� ำจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ ร ่ ว มกั บ อาสาสมัครวิทยากรด้านแรงงานข้ามชาติ จัดกิจกรรมให้ความรู้ ในชุมชนแรงงานข้ามชาติ พื้นที่บ้านหม้อ อ�ำเภอสันก�ำแพง จังหวัดเชียงใหม่ ในหัวข้อ “สิทธิประโยชน์ของพระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. 2533 และการเข้าถึงระบบประกันสังคม) มีแรงงานข้ามชาติเข้าร่วมรับฟังจ�ำนวน 22 คน เป็นแรงงานชาย 13 คน และแรงงานหญิง 9 คน

28 เมษายน มสพ. ประจ�ำจังหวัดเชียงใหม่ ร่วมกับอาสา สมั ค รวิ ท ยากรด้ า นแรงงานข้ า มชาติ จั ด กิ จ กรรมให้ ค วามรู ้ ในชุมชนแรงงานข้ามชาติ พื้นที่วัดเจ็ดยอด อ�ำเภอเมือง จังหวัด เชียงใหม่ ในหัวข้อ “สิทธิประโยชน์ของพระราชบัญญัติประกัน สังคม พ.ศ. 2533” รวมทั้งแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านนโยบายของ รัฐกรณีแรงงานข้ามชาติ ที่ครบก�ำหนดวาระการจ้างงาน 4 ปี มีแรงงานเข้าร่วมรับฟังจ�ำนวน 30 คน เป็นแรงานหญิง 13 คน แรงงานชาย 17 คน

เพือ่ สิทธิแรงงานข้ามชาติ (MWRN) สหภาพแรงงานอุตสาหกรรม และตัดเย็บเสื้อผ้าสัมพันธ์ สหภาพแรงงานอิเล็คทรอนิคส์และ อุปกรณ์ไฟฟ้าสัมพันธ์ สหภาพแรงงานอัญมณีและเครือ่ งประดับ สัมพันธ์ เครือข่ายคนงานข้ามชาติ และเครือข่ายองค์กรส่งเสริม สิทธิผู้ใช้แรงงาน จ�ำนวนกว่า 300 คน ท�ำกิจกรรมเดินขบวน รณรงค์และยื่นข้อเรียกร้องถึงรักษาการณ์นายกรัฐมนตรี ผ่าน ผูว้ า่ ราชการจังหวัดเชียงใหม่ เพือ่ ให้กระทรวงแรงงานและรัฐบาล ด�ำเนินนโยบายให้เป็นไปเพือ่ การคุม้ ครองและส่งเสริมสวัสดิภาพ ของแรงงานไทยและแรงงานข้ามชาติ รวมทั้งเรียกร้องให้รัฐบาล ไทยลงนามในอนุสญ ั ญาด้านแรงงานระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิ และเสรีภาพในการรวมกลุ่ม ฉบับที่ 87 และ 98 5 พฤษภาคม มสพ. ประจ�ำจังหวัดเชียงใหม่ร่วมกับ อาสาสมัครวิทยากรด้านแรงงานข้ามชาติ จัดกิจกรรมให้ความรู้ แก่แรงงานข้ามชาติในภาคเกษตร พื้นที่อ�ำเภอแม่ออน จังหวัด เชียงใหม่ ว่าด้วยเรื่องสิทธิของแรงงานตามพระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 และพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 แรงงานที่เข้าร่วมกับฟังส่วนใหญ่ได้รับค่าแรงตาม กฎหมาย แต่ยังขาดความรู้ด้านกฎหมายคุ้มครองแรงงานและ กฎหมายประกันสังคม มีแรงงานเข้าร่วมรับฟังทั้งสิ้น 24 คน เป็นแรงงานหญิง 14 คน แรงงานชาย 10 คน

8 พฤษภาคม เจ้าหน้าที่ มสพ. ประจ�ำพื้นที่มหาชัยและ ตัวแทนเครือข่ายด้านสิทธิแรงงานข้ามชาติ จัดอบรมให้ความรู้ ด้านกฎหมายแก่แรงงานข้ามชาติในชุมชน ที่อ�ำเภอกระทุ่งแบน 1 พฤษภาคม สหพันธ์คนงานข้ามชาติ (Migrant Workers จังหวัดสมุทรสาคร โดยผู้จัดอบรมได้ให้ความรู้แก่แรงงานด้าน Federation) ร่วมกับเครือข่ายด้านสิทธิแรงงาน ได้แก่ เครือข่าย สิทธิมนุษยชน และสิทธิของแรงงานตามกฎหมาย กฎหมาย ประกันสังคม และกฎหมายเงินทดแทน มีแรงงานในชุมชน เข้าร่วมรับการอบรมจ�ำนวน 30 คน การอบรมให้ความรู้ครั้งนี้ จะช่วยสนับสนุนให้แรงงานมีความรูค้ วามเข้าใจสิทธิของแรงงาน และกระบวนการการเข้าถึงกลไกหน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือ เนื่องจากแรงงานกลุ่มดังกล่าวประสบปัญหาการได้รับค่าแรง ที่ไม่เป็นธรรม และอยู่ระหว่างการแก้ไขปัญหาร่วมกันระหว่าง นายจ้าง ลูกจ้าง และเจ้าหน้าที่จากส�ำนักงานสวัสดิการและ คุ้มครองแรงงาน

จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 25


15 พฤษภาคม ผู้แทน มสพ. และมูลนิธิผสานวัฒนธรรม ร่วมเป็นวิทยากรบรรยายแลกเปลี่ยนประสบการณ์การท�ำงาน ด้ า นการสนั บ สนุ น ประชาชนเข้ า ถึ ง ความยุ ติ ธ รรม และการ ช่วยเหลือผู้ต้องขังในคดีอาญา ในงานประชุมหน่วยงานใน พระศาสนจักรคาทอลิกที่ท�ำงานเพื่อผู้ต้องขังในเรือนจ�ำ จัดโดย กรรมาธิการฝ่ายสังคม Caritas Thailand ในสภาพระสังฆราช คาทอลิกแห่งประเทศไทย โดยมีคณะนักบวชชาย–หญิง เข้าร่วม ประชุมทั้งสิ้น 21 คน

วันที่ 20 พฤษภาคม ผู้แทน มสพ. ร่วมกับเครือข่าย ประชากร เข้าพบนาย Thein Naing ฑูตแรงงาน สถานฑูต สาธารณรัฐเมียนมาร์ ประจ�ำประเทศไทยเพือ่ แลกเปลีย่ นข้อมูล และประสบการณ์ดา้ นการท�ำงานให้ความช่วยเหลือแรงงานข้าม ชาติชาวเมียนมาร์ในประเทศไทย รวมทั้งการแสวงหาแนวทาง ในการประสานงานร่วมกันระหว่างองค์กรภาคประชาสังคมและ สถานฑูตในการให้ความช่วยเหลือแรงงานข้ามชาติชาวเมียนมาร์

และแปรรูปอาหารทะเล โดยมีผู้แทนภาครัฐ ภาคธุรกิจจาก กิจการประมง ตัวแทนผูซ้ อื้ สินค้าอาหารแปรรูปทะเลจากสหภาพ ยุโรป และองค์กรภาคประชาสังคมเข้าร่วม โดยมีตวั แทนจากภาค ต่างๆ น�ำเสนอแนวทางในการดูแล การปรับปรุงสภาพการท�ำงาน ของแรงงาน พร้อมทัง้ ข้อเสนอแนะในการปฏิบตั แิ ละการคุม้ ครอง แรงงานภาคประมงและอุตสาหกรรมประมงและแปรรูปอาหาร ทะเล

30 พฤษภาคม มสพ. ประจ�ำจังหวัดเชียงใหม่ จัดประชุม อาสาสมัครวิทยกรแรงงานข้ามชาติ เพือ่ แลกเปลีย่ นสถานการณ์ ของแรงงานข้ามชาติในพื้นที่ชุมชนที่ตัวเองอาศัยอยู่ จากการ แลกเปลีย่ นสถานการณ์พบว่าแรงงานข้ามชาติในชุมชนส่วนใหญ่ ประสบปัญหากรณีใบอนุญาตท�ำงานครบ 4 ปี ค่าธรรมเนียมใน การใช้บริการกับบริษทั นายหน้าในอัตราทีส่ งู ปัญหาการจ่ายเงิน สมทบเข้ากองทุนส่งกลับ มีอาสาสมัครวิทยากรแรงงานข้ามชาติ เข้าร่วม 12 คน เป็นอาสาสมัครหญิง 3 คน อาสาสมัครชาย 9 คน

ระหว่างวันที่ 22–23 พฤษภาคม ผู้แทน มสพ. เข้าร่วม ประชุมเวที ILO–RTG Multi–stakeholder forum on Labour ระหว่างวันที่ 27–28 พฤษภาคม ผู้แทน มสพ. เข้าร่วม conditions in fisheries sector in Thailand จัดโดยกระทรวง ประชุมหารือและติดตามความคืบหน้าเกี่ยวกับข้อเสนอแนะ แรงงานร่วมกับองค์กรแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) เพื่อน�ำ จากการประชุม ASEAN Forum on Migrant Labour (AFML) เสนอสภาพของแรงงานในภาคประมงและอุตสาหกรรมประมง ครั้งที่ 6 ได้แก่ การติดตามกลไกด้านการร้องเรียนที่เกี่ยวข้องกับ

26 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


การคุ้มครองสิทธิของแรงงานและการจัดท�ำฐานข้อมูลเกี่ยวกับ แรงงานข้ามชาติ รวมทัง้ การร่วมหารือการวางแผนตารางกิจกรรม ส�ำหรับการประชุม AFML ในครัง้ ที่ 7 กิจกรรมครัง้ นีจ้ ดั โดย Task Force–ASEAN on Migrant Workers (TF–AMW)

เป็ น เวที ส� ำ หรั บ การทบทวน หารื อ และแลกเปลี่ ย น หลักการปฏิบัติและแนวคิดระหว่างองค์กรของรัฐ แรงงาน และ นายจ้าง และภาคประชาสังคมในประเด็นแรงงานข้ามชาติใน ภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เปิดโอกาสให้ผเู้ ข้าร่วมได้เสนอ แนะแนวทางการปฏิบตั เิ พือ่ ให้เป็นไปตามหลักการของปฏิญญา อาเซียนว่าด้วยการปกป้อง-ส่งเสริมสิทธิแรงงานข้ามชาติ และ น�ำเสนอกิจกรรมต่างๆทีต่ นได้ดำ� เนินการให้เป็นไปตามข้อแนะน�ำ จากการประชุมครั้งก่อนๆในเมืองฮานอย ปี 2553 บาหลี ปี 2554 และเสียมเรียบ ปี 2555 รวมไปถึงประสบการณ์ในการ ร่ า งเอกสารเพื่ อ ให้ เ ป็ น ไปตามปฏิ ญ ญาอาเซี ย นว่ า ด้ ว ยการ ปกป้อง-ส่งเสริมสิทธิแรงงานข้ามชาติ วั น ที่ 29–31 พฤษภาคม คลิ นิ ก กฎหมายแม่ ส อด จัดกิจกรรมอบรมผู้ช่วยทนายความ รุ่นที่ 7 ที่อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก โดยมีตัวแทนแรงงานในภาคอุตสาหกรรมเข้าร่วม ทั้งสิ้น 16 คน เป็นแรงงานหญิง 7 คน และแรงงานชาย 9 คน ผู้จัดอบรมได้ใช้คู่มือฝึกอบรมผู้ช่วยทนายความภาคภาษาพม่า และภาษาไทย ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับการสร้างความรู้ความ เข้าใจด้านกฎหมายคุม้ ครองแรงงาน อบรมทักษะการสอบข้อเท็จ จริง การรวบรวมพยานหลักฐานทีเ่ กีย่ วข้องกับกรณีทแี่ รงงานข้าม ชาติประสบปัญหา การให้ค�ำแนะน�ำเบื้องต้นด้านกฎหมายและ สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนแก่ แรงงานและการสนั บ สนุ น การท� ำ งานของ ทนายความ มีผู้เข้ารับการอบรมครั้งนี้ทั้งสิ้น 16 คน เป็นชาย 9 คน และหญิง 7 คน

30 พฤษภาคม มสพ. ประจ�ำจังหวัดเชียงใหม่รว่ มกับอาสา สมัครวิทยากรแรงงานข้ามชาติ จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่แรงงาน ข้ามชาติ ในกิจการก่อสร้าง พื้นที่อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัด เชียงใหม่ หัวข้อ “สิทธิแรงงานตาม พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน” แรงงานที่เข้าร่วมรับฟังส่วนใหญ่ไม่ได้รับค่าจ้างตาม พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงานและนายจ้างไม่ได้น�ำชื่อลูกจ้างเข้าสู่ระบบ ประกันสังคม มีแรงงานเข้าร่วมรับฟังทั้งสิ้น 41 คน เป็นแรงงาน หญิง 19 คน แรงงานชาย 22 คน

วันที่ 13 มิถนุ ายน 2557 ผูแ้ ทน มสพ. เข้าร่วมประชุมเชิง ปฏิบตั กิ ารว่าด้วยเรือ่ งการเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็ง แก่เจ้าหน้าที่ฑูตแรงงาน (Capacity Building Workshop on Strengthening the Role of Labour Attaches in Thailand) ที่มา จากประเทศเพือ่ นบ้านของไทย ได้แก่เมียนมาร์ ลาว และกัมพูชา จัดโดยองค์การด้านแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) การประชุม ครั้งนี้จัดขึ้นนอกจากการเสริมสร้างศักยภาพการท�ำงานของฑูต แรงงานแล้ ว ยั ง เป็ น มี วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ ห้ เ กิ ด การประสานงาน การสื่ อ สารร่ ว มกั น ระหว่ า งฑู ต แรงงาน หน่ ว ยงานอื่ น ๆ ที่ เกี่ ย วข้ อ งที่ ท� ำ งานด้ า นการให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ และคุ ้ ม ครอง แรงงานข้ามชาติในประเทศไทย ผูแ้ ทน มสพ. ไ้ดม้ โี อกาสน�ำเสนอ

จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 27


• To collect views on and inputs to the work of the ข้อเสนอแนะในการท�ำงานประสานการให้ความช่วยเหลือกรณี แรงงานข้ามชาติที่ประสบปัญหา รวมทั้งการจัดอบรมให้ความรู้ AICHR as well as future efforts that the AICHR should unด้านกฎหมายและนโยบายแก่แรงงานในชุมชน และการอบรม dertake in the promotion and protection of human rights within ASEAN consistent with the principles and purposes อาสาสมัครนักกฎหมายเพื่อช่วยเหลืองานของฑูตแรงงาน of the ASEAN Charter and the AICHR TOR. • To recommend to the ASEAN Foreign Ministers Meeting (AMM) on ways and means to improve the AICHR’s work as well as to contribute to the review of the AICHR TOR. วันที่ 18 มิถุนายน ตัวแทน มสพ. ประจ�ำพื้นที่มหาชัย เข้าร่วมประชุมเครือข่ายชุมชนแรงงานข้ามชาติทที่ ำ� กิจกรรมด้าน การส่งเสริมสิทธิด้านสุขภาพของแรงงาน ณ วัดเทพนรรัตน์ 18, 27–28 มิถุนายน 2557 ผู้แทน มสพ. เข้าร่วมประชุม จังหวัดสมุทรสาคร การประชุมครั้งนี้จัดขึ้นเพื่อเตรียมความ เตรียมการและร่วมสังเกตการณ์การประชุมระดับภูมภิ าคว่าด้วย พร้อมในการประชุมประจ�ำปีของเครือข่ายเพื่อสิทธิแรงงานข้าม เรือ่ ง การทบทวนการแก้ไขเขตอ�ำนาจหน้าทีข่ องคณะกรรมาธิการ ชาติและจะมีการจัดกิจกรรมเพื่อหารายได้แก่ศูนย์พัฒนาเด็ก ระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (กรรมาธิการ) (The ชุมชนแรงงานข้ามชาติ (The Migrant Children’s Development AICHR Regional Consultation on the Contribution to the Center–MCDC) วัดเทพนรรัตน์ Review of the AICHR’s Terms of Reference โดยการจัดงาน ครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ ตรวจสอบความก้าวหน้าและข้อท้าทาย ในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมาธิการฯ การรวบรวมความ เห็นจากผูเ้ ข้าร่วมประชุมเพือ่ ปรับปรุงการท�ำงานของคณะกรรม การฯเพื่อให้การด�ำเนินการเป็นไปเพื่อการส่งเสริมและคุ้มครอง สิทธิมนุษยชน์ภายใต้กรอบของกฎบัตรของอาเซียนและเขต อ�ำนาจหน้าที่ของกรรมาธิการฯ

การแก้ไขขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมาธิการ ระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (Term of Reference of ASEAN Intergovernmental Commission on Human Rights) • To examine the AICHR’s progress as well as challenges in discharging its mandate and functions as stipulated in the AICHR’s TOR. 28 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

วันที่ 19 มิถนุ ายน 2557 ผูแ้ ทน มสพ. เข้าร่วมเวทีสมั มนา หัวข้อ “ไทย ที่พักพิง ผู้อพยพหนีภัยสงคราม ผู้แสวงหาที่ลี้ภัย” จั ด โดย คณะอนุ ก รรมการด้ า นสิ ท ธิ พ ลเมื อ งและสิ ท ธิ ท าง การเมือง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (“Thailand, Shelter, War Refugees, Asylumand ShelterSeekers” Arranged by Board of Sub–Committee of Civil Rights and Political Rights, NHRC) มีผแู้ ทนองค์กรภาคเอกชน ทีท่ ำ� กิจกรรมให้ความ ช่วยเหลือผู้อพยพชาวโรฮิงญาและชาวมุสลิมไม่ทราบสัญชาติ ในพื้นที่ภาคใต้ และเจ้าหน้าที่จากส�ำนักงานตรวจคนเข้าเมือง ร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์การให้ความช่วยเหลือผู้อพยพ ชาวโรฮิงญาและชาวมุสลิมไม่ทราบสัญชาติ และความพยายาม ในการด�ำเนินคดีแก่ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการค้ามนุษย์หรือการ


แสวงหาประโยชน์ อั น มิ ช อบด้ ว ยกฎหมายแก่ ก ลุ ่ ม ดั ง กล่ า ว นอกจากนี้ในช่วงบ่ายมีตัวแทนจากองค์กรระหว่างประเทศและ หน่วยงานด้านความมัน่ คงของรัฐและกระทรวงการต่างประเทศ ร่วมแลกเปลี่ยนสถานการณ์ผู้ลี้ภัยในประเทศไทย และแนวโน้ม การปิดค่ายผู้ลี้ภัยในพื้นที่ชายแดนของไทย

26–27 มิถุนายน เจ้าหน้าที่ มสพ. ประจ�ำพื้นที่อ�ำเภอ แม่สอด จัดกิจกรรมอบรมวิทยากรเพื่อเผยแพร่ความรู้กฎหมาย ด้านสิทธิแรงงาน ผู้จัดอบรมได้น�ำคู่มือว่าด้วยการอบรมอาสา สมัครผู้ช่วยทนายความ ซึ่งประกอบไปด้วยเนื้อหาด้านหลักการ พืน้ ฐานด้านสิทธิมนุษยชน กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับการคุม้ ครอง 11 มิถนุ ายน ตัวแทน มสพ. ประจ�ำพืน้ ทีม่ หาชัย ลงพืน้ ที่ แรงงาน และการเข้าถึงกลไกการคุม้ ครองสิทธิแรงงาน มีผเู้ ข้าร่วม ชุมชนแรงงานภาคก่อสร้าง จังหวัดชลบุรี เพื่อให้ความรู้แก่ ทั้งหมด 10 คน เป็นผู้เข้าร่วมชาย 8 คน และผู้เข้าร่วมหญิง แรงงานข้ า มชาติ เ กี่ ย วกั บ สิ ท ธิ ข องแรงงานภายใต้ ก ฎหมาย 2 คน คุ ้ ม ครองแรงงาน และกฎหมายประกั น สั ง คม สื บ เนื่ อ งจาก แรงงานได้ ร ้ อ งเรี ย นเรื่ อ งไม่ ไ ด้ รั บ ค่ า แรงตามที่ ไ ด้ ก�ำหนดไว้ มีแรงงานประมาณ 15 คน เข้าร่วมรับฟังการให้ความรู้

โครงการสนับสนุนการเข้าถึงความยุติธรรมและ การคุ้มครองสิทธิของแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย

มู

ลนิธเิ พือ่ สิทธิมนุษยชนและการพัฒนา (มสพ.) เป็นองค์กรพัฒนาเอกชน มีวตั ถุประสงค์ในการดำ�เนินกิจกรรมโดยไม่แสวงหา กำ�ไร มสพ. ได้เน้นกิจกรรมส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนแก่กลุ่มแรงงานข้ามชาติและครอบครัวในประเทศไทย ผ่านโครงการการเข้าถึงความยุติธรรม และการคุ้มรองทางกฎหมายต่อบุคคลดังกล่าว รวมทั้งกิจกรรมอบรมส่งเสริมศักยภาพ ของชุมชนแรงงานข้ามชาติ โดยทำ�งานร่วมกับองค์กรภาคประชาสังคมและรัฐทั้งในระดับประเทศและระหว่างประเทศ โดยมี ความมุ่งหวังให้เกิด 1. การคุ้มครองทางสิทธิแก่แรงงานข้ามชาติผ่านไกการคุ้มครองทางกฎหมายและนโยบาย กลไกการร้องเรียนของรัฐ ที่มี ประสิทธิภาพมากขึ้น 2. แรงงานข้ามชาติมคี วามรูค้ วามใจด้านสิทธิมนุษยชนและการคุม้ ครองทางกฎหมาย และสามารถเข้าถึงกลไกการคุม้ ครอง และร้องเรียนของรัฐ 3. ป้องกันมิให้แรงงานข้ามชาติและครอบครัวเป็นเหยือ่ ของการแสวงหาประโยชน์จากการใช้แรงงานหรือถูกบังคับใช้แรงงาน 4. สังคมโดยรวมเข้าใจถึงความจ�ำเป็นในการมีแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย และแรงงานสามารถอยู่ร่วมกับประชาชน ในสังคมได้ภายใต้ความแตกต่างทางด้านเชื้อชาติ และวัฒนธรรม จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 29


Laws and Policies

Repatriation Fund and Discrimination against Migrant Workers Ubonwan Boonrattanasamai1

M

igrant workers from Myanmar, Lao PDR and Cambodia, who work in construction and domestic–service sectors are obligated by a series of labour Ministerial Regulations to contribute to a repatriation fund. At the same time, a series of campaign combating discrimination against migrant workers relating to the fund has been launched since the establishment of the repatriation fund (2008). Human rights organisations and affected migrant workers from three neighbouring countries have called the government to suspend, amend and revoke the discriminatory provisions with regard to the contribution criteria and requirements. This article aims to provide a legal opinion in accor- rised to submit the contribution to the Fund Committees, dance with human rights standards pointing out why this will deduct the mandatory contribution from migrant workers’ repatriation fund is not consistent with human rights norms wages. In practice, the Ministerial Regulation No. 1 could not and the principles under the Constitution of Thailand. This article further reflects enforcement limitations and implemen- be enforceable because it was implemented at the same tation gaps of these series of the Ministerial Regulations and time as the renewal period of work permits. Therefore, the relevant laws. In addition, it also serves as a voice of affect- Ministry of Labour decided that the implementation of the ed migrant workers by calling the key government agencies fund at that time was not appropriate and it could demotivate to stop implementing this discriminatory laws and policies. migrant workers to renew their work permits. As a result, deduction for the contribution of the fund was suspended for a year in accordance with the Ministerial Regulation Repatriation Fund No. 2 issued in 2011. Further, the mandatory contribution A legal framework for the fund was established in the remained problematic and could not be implemented due amended Alien Working Act (2008). The sources and objec- to National Verification process and the big floods in Thailand tives of the fund can be found in Article 29 and 31 of the in 2012, which led to the issue of the Ministerial Regulation Act. The fund will be used to cover repatriation expenses of No. 3 to suspend it another year. (1) alien workers, (2) aliens and (3) persons under deportation Subsequently, the Ministerial Regulation No. 4 was in accordance with the Immigration Act and the Deportation issued in 2013, effective from 1 March 2014, to regulate Act subsequently as well as to cover expenses of fund migrant workers from Myanmar, Laos PDR and Cambodia managements. The Fund Committees, who have power and to contribute 1,000 baht to the fund. The Minister of Labour duty under Article 37, are appointed to manage the fund clarified that the rate of contribution has changed to 1,000 accordingly. baht each worker because it found to be more reasonable and equal amount. Ministerial Regulations and Practices However, it is clear that the Ministerial Regulations In order to collect repatriation fund in accordance with remain questionable in terms of implementation. It has been the Alien Working Act, the Minister of Labour issued 4 suspended by subsequent Ministerial Regulation for 4 conMinisterial Regulations, of which the first one was issued in tinuing years. In addition, under the MOUs, migrant workers 2010. Migrant workers, who work in construction and in construction and domestic–service sectors from Myanmar, domestic–service sectors, are obligated to pay contribution Lao PDR and Cambodia are also required to pay other costs. to the fund. Workers from Myanmar and Lao PDR shall Together with high costs of living, it is difficult to enforce the contribute 2,400 baht and Cambodian workers shall con- Ministerial Regulations in reality. (This article does not discuss tribute 2,100 baht. Registered employers, whom are autho- the issue of unregistered migrant workers.) 1 Ubonwan

Boonrattanasamai, National Project Officer, United Nations Action for Cooperation against Trafficking in Persons (UN–ACT) This article is of author’s personal view and do not necessarily reflect and represent UN–ACT. Author wishes to thank Adisorn Kerdmongkol and HRDF lawyers for their contributions 30 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


Employers and migrant workers have called for the government agencies to review and reconsider the criteria and requirements of repatriation fund. This prompted the Department of Employment (DOE) to study the impact of the implementation.2 Disappointedly, the study did not address legal gaps, implementation challenges and solutions. But the research was conducted in a methodology of a questionnaire survey, to question 1,600 employers, 1,600 migrant workers from Myanmar, Lao PDR and Cambodia and 507 random Thai nationals. It’s noted that this figure does not reflect even 1 percent of migrant workers in Thailand. Therefore the data cannot be used as a tool to effectively address the challenges and impacts the mandatory contribution to repatriation fund may have. Furthermore, the study drew a comparison of the contribution between Thai workers, who work overseas and require to pay a foreign fund, and migrant workers in Thailand. However because of contexualised and unique situation each country may face, this comparison is flaw. For example, Japan and Korea have very different social security and law enforcement systems from Thailand. The DOE’s study further revealed a result of the poll that employers and Thai people agreed that migrant workers should pay contribution to the fund because: “Migrant workers, who entered Thailand to work, have sufficient income to be able to contribute to the repatriation fund. Furthermore, repatriation of migrant workers to their countries of origin occurs when these migrants committed an illegal act in Thailand. Therefore Thai citizen, who regularly pay income tax, should not bear a burden of the fund.”3 The result of this study is not an evidence–based research. It is a focus–group interview with a set of questionnaires. It reflects negative perceptions and misunderstanding towards migrant workers issues in Thai society. Contrary to the DOE’s findings, due to labour shortage, the MOUs were made between three countries of origin and the Thai government to allow migrant workers to work in Thailand. The MOUs have outlined the requirements and expenses for the recruitment of migrant workers from Myanmar, Lao PDR and Cambodia to pay for visas, work permits, health insurance, taxes and employment contracts. In addition, visas must be obtained in accordance with the Nationality Verification process. This process is often an

informal recruitment involving higher fees administrated by unauthorised brokers. Therefore the government should put more efforts to facilitate this process with transparency and accountability. In addition to concerns about high expenses in obtaining a work permit in Thailand, migrant workers does not receive protection and service as broadly established by the MOUs. Contrary, they are more vulnerable to labour rights violations and abuses. The protection issues and access to legal assistance are also major concerns including equal access to social security fund. Therefore the costs are very high relative to the income of migrant workers in construction and domestic–service sectors and risks they take. Migrant workers from Myanmar, Lao PDR and Cambodia should not further bear a burden of repatriation fund. It is of a view that the requirements of the Ministerial Regulations, stipulating only to migrant workers from Myanmar, Lao PDR and Cambodia who work in construction and domestic–service sectors, contribute towards unjust discrimination and unfair treatment against them, which are contrary to the principles of equality and human rights as well as principles outlined in the Constitutional law. Furthermore, the purposes of the fund are not established to only facilitate the repatriation of migrant workers from Myanmar, Lao PDR and Cambodia in construction and domestic–service sectors but the fund also covers the expenses for other aliens and deportees in accordance to relevant laws. While waiting the new constitutional law to be put in place, Article 4 and Article 30 of the Constitution of Thailand (2007) are the most relevant with respect to prevention against discrimination. The Article 4 states “Human dignity, rights, liberty and equality of the people shall be protected.” Together with paragraph 3 of Article 30, which stipulates “Unjust discrimination against a person on the grounds of the difference in origin, race, language, sex, age, physical or health condition, personal status, economic or social standing, religious belief, education or Constitutional political views, shall not be permitted.” International Labour Organization (ILO) defines discrimination in respect of employment and occupation in its Convention No. 111. Article 1 reads: “1. For the purpose of this Convention the term “discrimination” includes —

2 DOE, 3 Ibid,

esearch on the implementation of repatrition fund’ February 2012 <http://info.doe.go.th/pagedata/frmDocDetail2.aspx?docno=11725> p. 56 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 31


(a) any distinction, exclusion or preference made on the basis of race, colour, sex, religion, political opinion, national extraction or social origin, which has the effect of nullifying or impairing equality of opportunity or treatment in employment or occupation; (b) such other distinction, exclusion or preference which has the effect of nullifying or impairing equality of opportunity or treatment in employment or occupation as may be determined by the Member concerned after consultation with representative employers’ and workers’ organisations, where such exist, and with other appropriate bodies…” In Thailand, the Court has no consistent jurisprudence on the issue of discrimination against migrant workers. However the judgment of Supreme Administrative Court Aor. 251/2551 is found to be relevant. In this case, the Court interpreted the principle of equality under the Constitutional law. The judgment partly reads: “Administrative order that constitutes to discrimination, which violates the principle of equality and non–discrimination is the act of unjust discrimination against a person on the grounds of the difference in origin, race, language, sex, age, physical or health condition, personal status, economic or social standing, religious belief, education or Constitutional political views.” The Ministerial Regulations contains discriminatory provisions and are not coherent with the objectives of the

Alien Working Act, which defines ‘Alien’ as a natural person who has non–Thai nationality. Therefore, the Ministerial Regulations, which enforce only to migrant workers from Myanmar, Lao PDR and Cambodia, are contrary to the principles of equality and non–discrimination. The Ministerial Regulations, which require migrant workers from Myanmar, Lao PDR and Cambodia working in construction and domestic–service sectors to contribute to the repatriation fund, should be revoked. The government led by the Ministry of Labour should subsidise the repatriation fund with a possibility to collect partly contribution from employers. In addition, Ministerial Regulations and relevant policies should be in consistent and coherent with human rights principles, the Constitution of Thailand and international law to facilitate access to labour rights and legal assistance, transparent recruitment process, and better protection for Thai and migrant workers. Discrimination and unfair treatment does not only have direct adverse impact to a person whose rights are violated but such practices also have significant negative impact to a society and undermine the economic development bringing a society into inequality and potential social conflicts. No matter the political situation in a country might be, it is very important that rulers should follow the human rights standards particularly the principles of equality and non– discrimination because these principles are strong and necessary foundations of a peaceful and sustainable society.

Labour in fisheries and Modern Slavery Nattarat Aroonmaharat4

Situation and Progress Report on Prevention and Suppression of Trafficking in Persons’ prepared by the ❛Thailand National Operation Center on Prevention and Suppression of Human Trafficking, Minister of Social Development and

Human Security highlighted in its 2013 report that there were 674 human trafficking cases, which has increased dramatically by 368 cases from previous year. The report further drew a comparison with regard to ongoing legal cases from 56 cases in 2012 to 368 cases in 2013. Nevertheless it is interesting to note that only 10 percent of all legal cases are forced labour cases. The low percentage of prosecution does not reflect reality. The main findings are erred law interpretation together with weak and inconsistent law enforcement. According to Thai law, definitions of trafficking in can be defined through a combination of these three persons can be found in the Anti–Trafficking in Persons Act constituent elements. Definitions of an act and means (actus B.E. 2551, which stipulates three constituent elements: an reus requirements) of human trafficking can be found in act, means and exploitative purpose. The crime of trafficking Article 6 as follows. 4 Nattarat

Aroonmaharat, Project Coordinator, Anti–Labour Trafficking ProjectHuman Rights and Development Foundation (HRDF)

32 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


Article 6: (1) procuring, buying, selling, vending, bringing from or sending to, detaining or confining, harboring, or receiving any person, by means of the threat or use of force, abduction, fraud, deception, abuse of power, or of the giving money or benefits to achieve the consent of a person having control over another person in allowing the offender to exploit the person under his control; or (2) procuring, buying, selling, vending, bringing from or sending to, detaining or confining, harboring, or receiving a child; Article 4 requires the exploitative purpose, which means seeking benefits from, inter alia, forced labour or service, regardless of such person’s consent. Article 4 further clarifies forced labour or service, which means “compelling the other person to work or provide service by putting such person in fear of injury to life, body, liberty, reputation or property, of such person or another person, by means of intimidation, use of force, or any other means causing such person to be in a state of being unable to resist.” In a case of human trafficking in fisheries sector, police officers and other law enforcement authorities tend to focus on exploitation in a form of forced labour, which often falls into a grey area whether workers were forced to work or not. It was obvious in many cases that workers were exploited because they were deceived and coerced by brokers and recruitment agencies and subsequently were forced to work on board vessels. However sometimes it is not a clear–cut case on which forms of exploitation. A scenario involving exploitation in a form of forced labour, attention should be paid to assess whether there are elements of a forced labour situation. Consequently, when there is insufficient evidence of forced labour (involuntary servitude), prosecutors often drop a legal case of force labour trafficking, which results to failure to bring a broker, business owner or boat captain to justice for the purpose of exploitation in other forms such as such as slavery. Thailand, formerly known as Siam, has abolished the Siamese corvée system and slavery since King Rama V reign. It was a turning point from servitude to freedom. However this does not mean that exploitation no longer exists in Thai society. In fact, slavery is still prevalent in many different forms. Today human trafficking and slavery are often cases of domestic workers, women and child abuses. But we also witness a circumstance when a broker sells a worker to an employer and deceives, coerces or forces the worker to work off transportation cost, which could accumulate to ten or twenty thousand baht under exploitative conditions. Abuses of contracts and hazardous conditions of employ-

ment are known as ‘debt bondage’, which is often not interpreted by law enforcement agencies as slavery. International community has recognised debt bondage as modern slavery. Labourers are forced to work for an employer in order to pay off actually incurred or inherited debts. Millions of people are believed to be in debt bondage worldwide particularly in Africa and South East Asia. The International Labour Organization (ILO) estimated 11.7 million of forced labourers in the Asia and Pacific region. In addition, 2013 Trafficking in Persons Report released by the U.S. government stated “Inspections of 54,090 workplaces revealed thousands of workplace violations indicative of trafficking—such as the illegal withholding of wages for recruitment fees and passport confiscation—but only two cases of forced labor appear to have been recognized. The two cases of labor trafficking were referred to the police, but the others were adjudicated under administrative labor laws; the government systematically failed to criminally investigate for possible trafficking violations uncovered through labor inspections of worksites.” There are difficulties in applying the legal concepts against forced labour and debt bondage in Thailand. The law enforcement agencies are reluctant to prosecute and punish brokers and employers who subject workers to forced labour and debt bondage because there is no definition of debt bondage in Thai anti–trafficking laws. Furthermore, criminal prosecutions and jurisprudence are limited only to cruel, inhumane or degrading treatment forms of trafficking in persons. Professor Jitti Tingsapat provided his legal opinion on the anti–slavery provision contained in Article 312 of Thailand’s Criminal Code: “A person who falls under the control of another person and works without reasonable payment with punishment or abuse does not always lead to the person being under the absolute control of life and body by the other person. For example, detaining people in a paper factory or using child labour while not allowing children to sleep and allow them to eat so little with or without payment, might strictly speaking not fall into slavery under the article but since these practices are similar to slavery they still fall under Article 312.” ‘Practices similar to slavery’ appears in the United Nations Convention against Transnational Organized Crime and Protocol to Prevent, Suppress and Punish Trafficking in Persons, especially Women and Children (2000), which the Anti–Trafficking Act of Thailand has followed. In addition, Article 1 under Section 1 of the Supplementary Convention on the Abolition of Slavery, the Slave Trade, and Institutions and Practices Similar to Slavery (1956) provided acts of จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 33


‘Practices similar to slavery’ include debt bondage, serfdom, forced marriage, practice whereby a woman on the death of her husband is liable to be inherited by another person or practice whereby a child or young person under the age of 18 years, is delivered by either or both of his natural parents or by his guardian to another person with a view to the exploitation of the child or young person or of his labour. Therefore the legal opinion of Professor Tingsapat and the above mentioned United Nations convention should be considered and understood by law enforcement agencies. Whether or not the court will assess and consider international law constitutes a secondary concern because the

Anti–Trafficking in Persons Act of Thailand–national law–was adopted in accordance with international standards. As a result, there should be a level of consistency and coherence in enforcement and implementation. In addition, law has a dynamic nature and evolves over time in changing societies. In society slavery is no longer limited only in the traditional view. Law enforcement agencies should aim to establish a common understanding on the definitions of trafficking in persons in accordance with international definitions so that they can increase efforts to pro–actively identify and assist victims of trafficking, particularly the most vulnerable and least protected group working in the fisheries sector.

HRDF and non–profit organizations launched a joint statement in response ILO–RTG Multi–stakeholder forum on Labour conditions in fisheries sector in Thailand from 22–23 may 2014 PRESS RELEASE Amsterdam, 2 June 2013

Fairfood International calls for improved working conditions in Thai seafood industry A joint call to action for key decision makers Bangkok, Thailand On Friday 23 May 2014, Western buyers of seafood products from Thailand, Thai seafood industry representatives, representatives from the Royal Thai Government, NGOs including Fairfood International, migrant workers and trade unions established a framework for joint action to ensure improvement in the Thai seafood industry. This was achieved during a conference hosted by the International Labour Organization (ILO) and the Royal Thai Government. At the event, Western buyers and Thai industry representatives agreed to improve working conditions to ensure they always meet or exceed the legally required minimum standards. Although NGOs and trade unions are pleased with this commitment and recognise that the ILO Good Labour Practices (GPL) programme has made some progress in respecting basic human rights of workers in the seafood sector, the programme must encourage increased participation from workers and worker organisations in its future design and implementation. 5 Food

The GLP programme was launched in September 2013 by the Department of Labour Protection and Welfare (DLPW), Department of Fisheries (DOF) and seafood industry representatives with the support from the ILO through its International Programme on the Elimination of Child Labour (IPEC). The GLP programme intends to improve labour conditions in the seafood industry through the development of industry guidelines on the application of labour legislation and good practices, as well as a training programme for enterprises in the industry. Thailand is the third largest seafood exporter in the world, with seafood exports valued at $7.3 billion in 2011 and over $8 billion in 2012.5 The European Union imported more than $1.15 billion worth of seafood from Thailand in 2012, while the value of imports by the United States exceeded $1.6 billion in 2013.6 Thailand produces around 4.2 million tonnes of seafood per year, around 90% of which is destined for export.7 The industry employs over 650,000 people, as much

and Agriculture Organization (FAO) (2013). The State of World Fisheries and Aquaculture http://www.fao.org/docrep/016/i2727e/i2727e.pdf

6 Statistics provided by analysts at the Spanish Ministry of Agriculture, Food and Environment (MARM) on 24 January 2014–original source: Eurostat 7 Department

of Fisheries, Thailand (2013). Action Plan and Implementation by the Department of Fisheries in Addressing Labour Issues and Promoting Better Working Conditions in the Thai Fisheries Industry http://www.nocht.m–society.go.th/album/download/367802a4br46d2f4132c7a028e50980f.pdf 34 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


ers are slow, inefficient and controlled by brokers as 90% of whom are migrants from Myanmar, Laos and 8 leading to extortionate practices and violations Cambodia. For the fishing sector in particular, persisting of worker rights. shortfalls in the availability of labour exacerbate the risks of 9 5. lack of transparency in the industry, such as the human and labour rights violations, including human trafficking. subcontracting of work and workers through In order to eradicate human and labour rights labour brokers, is prevalent and weakens violations from the seafood and fisheries industry, to protection and rights of workers. Poor traceability actively promote better working conditions and to and transparency of supply chains originating in comply with the commitments made on Friday 23 May marine fisheries exacerbates the ethical risks to 2014, the undersigned organisations including Fairfood international purchasers of Thai seafood. International call upon the Royal Thai Government, Thai seafood industry representatives and Western buyers of We ask the Royal Thai Government to take the seafood products from Thailand to take the following following actions: actions: 1. Improve working standards in the Thai fisheries We consider that: and seafood industry: 1. although real progress has been made, serious • Ratify ILO C188–Work in Fishing Convention; human and labour rights abuses continue to be • Increase minimum wage to a living wage; a problem in the Thai seafood and fisheries • Employers and/or the government should provide industry and the industry does not provide a real all financial resources required for the deportation living wage for workers. Wages are further fund of migrants and the management of said undermined by the overall financial burden on resources should be transparent; workers for work–related costs such as recruit• Develop a specific MOU between the Government, equipment and repatriation funds, which ment and sending countries relating to workers are too high and not fairly shared between that are recruited for the fishing sector, requiring workers and employers. skills training and health checks before work on 2. there can be no sustainable, long term changes board fishing boats; in working conditions without freedom of asso• The Workmen’s Compensation Act should be ciation and collective bargaining, both of which amended to include access for fisherman to the continue to be notably absent from the industry. Workmen’s Compensation Fund in case of 3. there continues to be a lack of respect for the injury, sickness or death. rule of law and poor monitoring and enforcement 2. Promote freedom of association and collective of legal standards (i.e. poor labour inspections bargaining: and low prosecution rates for violations) through• Ratify the ILO C87 and C98 as a matter of out the industry. Ineffective audits manipulate priority; rather than empower workers, who cannot speak • Amend articles 88 and 100 of the Labour out about labour rights abuses. Strengthening Relations Act of 1975 to allow migrant workers the excessively weak regulatory framework to form their own labour unions and occupy governing fishing and labour practices in the leadership positions within them. marine fisheries sector–which results in regular 3. Law enforcement should be strengthened and the incidences of extreme violence as well as forced rule of law respected so that workers are able to receive all and bonded labour aboard vessels–should basic rights: constitute an urgent priority. • Enforce the minimum wage and stop deductions 4. short–term, piecemeal Thai labour migration for uniforms, equipment and recruitment fees policies continue to leave migrant workers from workers’ salaries as these are unlawful; vulnerable. Channels for recruiting migrant work8 Ibid

9 International

Labour Organization (ILO) (2013). Employment practices and working conditions in Thailand’s fishing sector http://www.ilo.org/ wcmsp5/groups/public/–––asia/–––ro–bangkok/documents/publication/wcms_220596.pdf จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 35


• Allocate sufficient financial resources (e.g. funds for fuel) and adequately trained officers, including interpreters, to the Ministry of Labour, Immigration Bureau, Marine Police and the Royal Thai Navy in order to facilitate effective workplace and inspections at sea; • Assure that violations of the law are penalised, for example by improving efforts to investigate, prosecute and convict those involved in the trafficking of persons; including, where appropriate, Thai nationals and Government officials; • Address the corruption rampant in labour management systems; • Ensure efficient grievance and redress mechanisms–within factories or on boats–that alert law enforcement to problems; • Address the systemic disincentives discouraging victims of abuse from pursuing cases through Thai courts, for example by reducing long stays in Government shelters and lengthy legal proceedings for victims of trafficking; • The Ministry of Labour and the Department of Labour Protection and Welfare should support the efforts of migrant worker–led organizations to support migrant workers seeking assistance with the labour law; • Protect human rights defenders and ensure that their activities are not criminalised; • Develop sample employment contracts for factories and disseminate the model contract issued for fishers widely; • Eliminate child labour and provide safe work for youth. 4. Improve the vulnerable working conditions of migrant workers, for example: • Ensure they have access to health care and social security benefits; • Allow migrant workers to easily change employers; • Develop a comprehensive, long–term migration policy that extends to migrant workers’ families; • Ensure migrant workers are provided with impartial interpretation services when needed. 5. Increase transparency in the sector: • Register all pre–processing facilities and raise awareness to create safe working conditions in all work places; • Require and strictly enforce fishing boat owners 36 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

to register fishing boats, install vessel monitoring systems (VMS) to track location and time spent at sea, and maintain accurate logs of fishers on each boat to ensure workers receive social security benefits, health care coverage and protection under the law; • Require registration of and increase regulation of migrant labour recruiters to ensure they are not charging excessive fees, and hold those that do legally accountable.

We ask the industry to take the following action: 1. Improve working standards in the seafood industry: • Respect worker’s rights by enforcing the law without discrimination against any worker, particularly through ensuring living wage and social security coverage. 2. Promote freedom of association and collective bargaining: • As an initial step in the promotion of worker dialogue given the existing lack of collective bargaining in the form of trade unions and the challenges to migrants forming unions, use the existing provisions in the Labour Relations Act on welfare and employee committees and extend the scope of these committees to genuinely address worker challenges; • Workplace management should carry out regular dialogue with workers to address pressing workplace issues. 3. Establish a complaints settlement mechanism in consultation with workers at the workplace. 4. Increase transparency in the sector: • Employ workers directly and not through brokers; • Register any subcontracting of work to other parties; • Register the boats and workers and provide better and safe working conditions and provide safety awareness to fishers and safe and working conditions. We ask the buyers to take the following actions: 1. Commit themselves to ensuring that the fundamental rights of workers are respected throughout their supply chains. 2. Proactively promote and encourage the Government and employers to respect and recognize the freedom of association of workers and to provide better labour standards in the sector.


3. Provide assistance to migrant workers in 3. Buyers–in collaboration with workers, Thai suppliers, the Government and civil society–should work together negotiating with employers. 4. Provide training to workers and their representato develop more transparent audit and inspection regimes that allows more opportunities for genuine worker engage- tives on workers’ rights and collective bargaining skills. 5. Engage in improving and diversifying the services ment and input. 4. Establish direct mechanisms together with of the one–stop service centers for fishers. suppliers whereby buyers can contact workers directly. 5. Increase transparency in the sector: • Buyers should require in contracts and purchasing agreements that their suppliers only subcontract to registered establishments; • Buyers should demand full supply chain traceability down to the boat level by requiring their suppliers to purchase from boats installed with VMS systems and regularly review boat manifests to ensure supplying boats are in compliance with the law.

Trade Unions and NGOs will: 1. Continue campaigning for ratification of ILO C87 and C98 and for a coherent and comprehensive Act on labour relations within the national legal framework. 2. Support migrant workers movements to grow and strengthen.

HRDF together with Migrant Working Group (MWG) launched an urgent statement on the issue of foreign workers management 17 June 2014

Urgent Statement Calling the National Council for Peace and Order to Review the Measures for Controlling Migrant Workers and Prevent Economic Effects and Human Security The National Council for Peace and Order (NCPO) has seized the power since 22nd May 2014. Now it is almost a month that the NCPO has issued many orders and announcements, as of 16 June 2014, there were 68 orders/ announcements. Particularly, Order No. 59/2557 and Order No. 60/2557, dated 11 June 2014, regarding the administration of migrant workers problems by representatives from the security sector and civil officials to sit as committee members and the committee to address the migrant workers problem. The Migrant Working Group and the undersigned organization have monitored the situation and noted that before the NCPO has issued the Order No. 59/2557 and Order No. 60/2557, dated 10 June 2014, security agencies

and civil officials, under the name of “Provincial Internal Security Commands Operation” (P–ISOC) in some areas have informed the press that there is an operation called “migrant workers regularization operation” using searching and surrounding of suspected premises where there may be migrant workers working in Thailand. Additionally, a number of migrant workers had face the soft deportation. According to our information, there has been many group of migrant workers arrested, such as migrants without valid immigration documents and work permits; migrants with passports but their work permits indicate different workplace that the current place they has been found and arrested; some migrants possess expired passports and work permits. It has been found that houses where migrant workers were จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 37


suspected to reside have been demolished. In some case, the operations tended to violate the child protection measure, under the Thai child protection law and the Convention on the Rights of the Child, which Thailand is the state party. The news of the recent regularization of migrant workers make them fear and they are at risk of arrests. Thus, hundreds of thousands have started to gradually migrate out of Thailand. The phenomenon has a direct effect to the Thai economic security because the country is facing labor shortage in manufacturing sector and agricultural sector. Agencies solving the labor shortage problem have addressed it through migrant workers registration to enable workers from Myanmar, Laos PRD and Cambodia to work legally in Thailand. Thai and origin governments also addressed undocumented migrant worker issue by introducing of the nationality verification process, so that the migrants can have valid travel documents and work permits. The Migrant Working Group found that the Thai government had attempted to address labor shortage problem and, at the same time, the government has addressed the national security issues by increasing the attempt to regularize migrant workers. The following measures were the success for migrant workers administration. Migrant workers problems need more steps forward to address important problems, namely, migrant workers who have passed the nationality verification process; workers employed through the Memorandum of Understanding (MoU) between Thailand and the neighboring countries, which set a term of employment for two years at the time, extendable for not exceeding two years. In 2013, there were over 200,000 migrants whose the employment period were over four years (Letter from Ministry of Labor No. RorNgor 0307/2443, dated 17 March 2014 to the Secretary–General to the Cabinet). The Ministry of Labor has addressed the labor shortage and alleviate the problem of migrants who had reached four years of employment period and are overstaying in Thailand, that put the migrant workers at risk of arrest and employees facing lack of labor force, by proposing a Cabinet’s Resolution to allow migrants whose employment term are reached, to stay as a special case for 180 days or until the new functioning government will be taking the office. The measure enables migrant workers to have apply for and receive visa extension and obtain work permits, as stipulated in the process to be further determined by the relevant agencies. Over 200,000 migrants whose four year employment terms were expired can be protected from arrests and forced repatriation if they are in the process of renewing their visas and work permits, according the the official’s processes. 38 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

The arrest, search and surrounding of the cordon and the massive flows of migrants back to their sending countries have direct impact to the migrant workers administration policy and good relationship with nationals from the neighboring countries. Despite many agencies and the NCPO have confirmed that there would not be any acceleration of arrests suppression and crackdowns of migrants. Nevertheless, migrants and a large number of entrepreneurs are not confident with the Thai policy. In certain case, it was reported that some employers laid–off over 200 migrants, fearing that they would violate the law. Additionally, there is a case injury and death of Cambodian migrants, in a road accident while the migrant were traveling to Cambodian border. It was found that some migrants and local child victims who were on the road at the same time near the scene sustained injuries from gunshot wounds. The above phenomenon reflects lack of integration, limitation of civil officials to address the migrant worker issues, which is very complex and requires some time to address, thus, it may present an obstacle for the NCPO to bring peace and economic reform. The Migrant Working Group (MWG) and the undersigned request the NCPO to urgently consider the following demands and recommendations. 1. Stop the crackdowns, arrest and suppression of migrant workers. Impose clear operational measures and policies to be used as a guideline for officials in local areas to follow in a unified manner. Issue and announce to security agencies and civil agencies to exercise caution in their operation to crackdown illegal migrant workers because some of them are in the work permit renewal process after about 200,000 workers’ permits will reach four years term. 2. Issue an urgent measure to build trust among migrant workers and entrepreneurs that the regularization measures will not affect employment to prevent the outflow of the migrant workers, who received the rumor that the NCPO regraded as not accurate. 3. The NCPO should restructure the committee to address the foreign workers’ problem. The committee member should have representatives from relevant bodies that employ migrant workers from different groups, namely, employers, representative from migrant workers, the academia and the civil society sector, to have well–rounded insights and perspective from the and reflect practical resolution that can be implemented so that it will preserve the economic security, stability and relationship between Thailand and neighboring countries. 4. The past situation indicated that security–oriented measures alone cannot address the migrant workers


problems. The NCPO and the committee should affirm to administrate migrant workers by encouraging process of migrant regularization, as in the previous path along with other measures such as border employment, with a view that embraces a balance between the national security, economic development and migrant workers protection. With respect to human rights and human dignity 1. Migrant Working Group (MWG) 2. Action Network for Migrants (ANM) 3. Legal Clinic, Diocesan Social Action of Surathani Catholic Foundation 4. Cross–ethnic Integration in Andaman, Phang–Nga 5. Human Rights and Development Foundation (HRDF) 6. Migrant Worker Rights Network (MWRN) 7. Stateless Watch 8. Prorights Foundation 9. Union for Civil Liberty (UCL) 10. Save the Children

Network of Thai Domestic Workers joined the International Domestic Workers Day At the International Labour Conference on 16 June 2011, the Convention concerning decent work for domestic workers, (‘Convention No. 189’), was adopted to set international labour standards for labour and social protection dedicated to domestic workers. Subsequently, it entered into force on 5 September 2013. The International Labour Organization (ILO) estimated there are 85 millions are domestic workers including 20 millions domestic workers in Asia. Currently the Philippines is the only country in Asia that has ratified the Convention from 14 state parties. In addition, the adoption date, 16th of June has been recognised by domestic workers around the world as the International Domestic Workers’ Day (IDWD). Each year, 16th of June, groups of domestic workers, civil society organisations as well as government agencies worldwide take part in the celebration of the IDWD to propose government agencies around the world to improve work conditions in accordance to the standards set in the Convention No. 189. On 15 June 2014, Foundation for Labour and

Employment Promotion (HomeNet Thailand) in collaboration with Foundation for Child Development (FCD) jointly organised an annual IDWD. Representatives of domestic workers were invited to join activities and proposed recommendations to the Thai government. The Ministry of Labour estimated 300,000 domestic workers in Thailand, of which registered 45,000 workers are from Myanmar, Cambodia and Lao PDR. In addition to the Labour Protection Act B.E. 2541 (1998), a new Ministerial Regulation No. 14 B.E. 2555, which was issued under the Labour Protection Act, is a legal protection framework for domestic workers in Thailand. The Ministerial Regulation No. 14 has improved legal protection and workplace rights for domestic workers such as entitlements with continued payment to weekly holiday, traditional holidays and annual holidays, remuneration and sick leave. Furthermore, the Ministerial regulation has set a minimum age of employment to be 15 years old. Protection of young domestic workers includes an employer is prohibited to pay remuneration of a young domestic worker to other person than the domestic worker him or herself. Despite the new Ministerial Regulation has set good initiatives to protect domestic workers. Nevertheless, other rights and entitlements of domestic workers still remain to be excluded, for example, working hours limitations, overtime compensation and maternity leave. Domestic workers also have no access to social security protection. There is no entitlement to compensation schemes to cover injuries, illness and death from workplace in accordance with the Social Security Act B.E. 2533 and the Workmen’s Compensation Act B.E. 2537. Consequently, the IDWD in 2014 in Thailand was advocated for an improvement of protection for domestic workers. The activities included a performance of domestic workers, a dialogue between representatives of employers, employees and the Law Reform Commission of Thailand and a discussion on ‘Protection of Domestic Workers in Thailand and the next step’. Furthermore, the highlighted activities of the Network of Thai Domestic Workers were to request relevant agencies to find solutions and provide protection for domestic workers. The statement can be read as follows.

Network of Thai Domestic Workers Statement for International Domestic Workers Day 2014 On the occasion of the International Domestic Workers Day and on the 3rd anniversary of the ILO’s Convention concerning Decent Work for Domestic Workers also known as Convention 189, the Network of Thai Domestic Workers (NTDW) congratulates 14 states that ratified the Convention 189. The ratifying states are Argentina, Plurinational State of Bolivia, Colombia, Costa Rica, Ecuador, Germany, Guyana, Italy, Mauritius, Nicaragua, Paraguay, Philippines, South Africa and Uruguay. จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 39


The Network of Thai Domestic Workers notes that it is an important step to protect rights of domestic workers, although 14 states are not sufficient to protect domestic workers worldwide. Every domestic workers around the world needs social protection and guarantee of their rights equivalent to those of other workers. All governments including Thai government should proceed to ratify and incorporate into domestic laws in accordance with this Convention to protect rights of all domestic workers irrespective of their ethnicity or religion. Despite Thailand’s new Ministerial Regulation No. 14 B.E. 2555 (2012) has entered into force, domestic workers still lack of protection and cannot access to a number of important labour rights. Moreover, in practice, the Ministerial Regulation cannot be fully implemented and effectively enforced to protect every domestic worker in Thailand. On the occasion of IDWD 2014, the Network of Thai Domestic Workers requests all stakeholders as follows: 1. Requests the Department of Welfare and Labour Protection fully and effectively implements and enforces the Ministerial Regulation No. 14 B.E. 2555 (2012) to protect all domestic workers in Thailand. 2. Requests the Social Security Office to provide domestic workers protection and access to social and labour rights in accordance with Article 33. 3. Requests the minimum wage to be set for domestic workers. The Network of Thai Domestic Workers calls on all stakeholders to urgently and sincerely consider all requests and ensure the protection of domestic workers and their access to rights and justice. With respect, Network of Thai Domestic Workers 15 June 2014

HRDF released a statement concerning US Trafficking in Persons Report มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา (มสพ.) Human Rights and Development Foundation เลขที่ 109 ซอยสิทธิชน ถนนสุทธิสารวินิจฉัย แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 109 Soi Sitthichon, Suthisarnwinichai Road, Samsennok, Huaykwang. Bangkok 10310 Tel: (+662)277 6882/277 6887 Fax: (+662)277 6882 ext 108 E–mail: info@hrdfoundation.org For immediate release on 24 June 2014

Press Statement The Thai government’s determination to suppress human trafficking in sea fisheries urged On June 2014, the US State Department led by its Secretary, Mr. John Kerry, released the Trafficking in Persons Report 2014 (TIP Report) in which Thailand has been downgraded from Tier 2 Watch list to Tier 3 . The Tier 3 lists countries whose governments do not fully comply with the minimum standards and are not making significant efforts to do so. The report provides a description of the state of human trafficking along with recommendations for Thailand to review and improve its performance and obtain a better tier ranking. In particular, the following issues are emphasized; 1. The advocacy and campaign to prevent human trafficking related to Thailand’s ratification of international protocols including the 2000 UN TIP Protocol (Protocol to Prevent, Suppress and Punish Trafficking in Persons, Especially Women and Children, Supplementing the United Nations Convention Against Transnational Organized Crime) and the public campaign to raise awareness on the issue and the importance for ending human trafficking. 40 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

2. The protection of wellbeing of victims of human trafficking as it has been found that the victims do not receive sufficient welfare protection and legal aid. Some shortcomings and conflicts among officials were identified in the screening process of human trafficking victims as well. 3. The prosecution of perpetrators, since the State has not yet launched comprehensive and effective legal and policy measures for the prevention and suppression of human trafficking including; 3.1 A lack of effective law enforcement among justice agencies and those involved with the prevention and the provision of remedies for human trafficking victims 3.2 Corruption or bribery among state officials 3.3 Problems in information and evidence sharing among justice agencies which have resulted in failure or delays in holding the perpetrators accountable indicating an ineffective response to the policy of tackling human trafficking issues.


3.4 No progress has been made to prosecute perpetrators who have victimized the Rohingyas. The Royal Thai Navy even proceeded to file a defamation suit against media that have published the story. The findings of the TIP report may have a significant impact on Thailand, particularly on sea fisheries and downstream industry which have been found to employ forced labour as either bonded labour or slave labour. It has been found that the workers in these industries are forced to work in exploitative environments and are accorded the protection of labour laws. As a result, products from these industries exported to markets in USA and certain countries in Europe could be subjected to trade and investment restriction. In addition, aid and assistance from international financial institutions that Thailand has enjoyed may face a cut. These may have an impact on international trade and investments in Thailand. As a nongovernmental organization which provides legal aid and promotes access to justice amongst migrant workers and human trafficking victims, the Human Rights and Development Foundation (HRDF) realizes the importance of the issues and has been collaborating with state agencies and civil society organizations to tackle human trafficking. HRDF and other civil society organizations have proposed and advocated among State and business sectors the adoption of effective policies and measures to solve the problems. As Thailand has now been downgraded to the Tier 3 by the US government, and in order to strengthen the systems for addressing the problem of human trafficking, HRDF would like to propose the following recommendations to concerned state agencies and other organizations; 1. The state must prioritize an effort to tackle human trafficking as a National Agenda in order to mobilize resources from various sectors to tackle the problem. Action plans for the prevention and suppression of human trafficking and the protection of wellbeing of the victims must be laid down comprehensively with participation from civil society organizations and entrepreneurs in businesses, which can potentially be involved with human trafficking in sea fisheries. All efforts should be streamlined and the action plans should be made with clarity to ensure understanding and effective implementation by each of the agencies involved. It should help to overcome personnel and funding scarcity and promote interdisciplinary work to genuinely address the needs of victims and those affected by human trafficking with a view of empowering the interdisciplinary teams at same time. 2. The state must ensure that workers in sea fishing boats are provided with protection under labour protection laws, such as by registering them as employees, guaran-

teeing their wages, decent working environment and other benefits as well as access to the compensation fund in case of occupational accidents or health problems. Also, the use of child labour in fisheries industry must be prohibited. 3. The State and associations related to sea fisheries and downstream industry must collaborate to abolish the employment of illegal workers. An emphasis should be placed on punishing employers and entrepreneurs who break the law and concerned State agencies including Ministry of Labour, Harbor Department, Marine Police and Royal Thai Navy, etc. Close collaboration is needed amongst the concerned agencies and entities for effective suppression of corruption. 4. The State must set aside funding to support fisheries industry since it has helped in generating huge income to the country. Such support will enable the industry to use modern technologies, minimize labour intensity, and reduce cost to promote their competitiveness in international markets. The captains and technicians in fishing vessels must receive training and obtain licenses as well as undergo ethical control and other empowerment schemes. Their profiles and the profiles of the vessel owners must be made public so as to help in the suppression of crime and human trafficking and to promote sea fisheries. 5. The enforcement of all legislations must be reviewed to ensure that it can effectively tackle human trafficking including Anti–Trafficking in Persons Act B.E 2551 (2008). Its enforcement must be carried out comprehensively based on the understanding and protection of victims and those affected by human trafficking in different categories. Along with the acceleration of registration of sea fisheries labour, there should an inspection and evaluation system, which involves participation of both state and private sectors to enhance their mutual understanding and collaboration. All implementations must be carried out based on the understanding of the officials and the faithful delivery of their services in order to protect the vulnerable groups and to ensure comprehensive human rights protection. 6. Collaboration among state agencies, private sector and civil society sector should be promoted along with the empowerment of both state officials and staff members of civil society organizations. The collaboration can be made on campaign and advocacy to raise awareness on anti–human trafficking effort and the provision of legal aid to victims and affected persons through the development of network to monitor and suppress human trafficking. With respect in human rights and human dignity Human Rights and Development Foundation (HRDF) 24 June 2014 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 41


Updates of highlighted cases

Kampaeng Phet Provincial Court awarded 4,603,233 baht as compensation to Girl Air for torture and cruel treatment inflicted on her by her employers The Human Rights and Development Foundation (HRDF) has been providing legal representation to Air, an ethnic Karen girl who has filed a case against her former employers for inflicting on her cruel treatment and enslavement. On 30 June 2014, around 2pm, the Kampaeng Phet Provincial Court read a verdict for the case filed by Air’s custodian, Mrs. Mo Wateng, on her behalf against Mr. Natee Taeng–on and Miss Rattanakorn Piyaworatham, her employers. The civil suit for damages was filed as it was alleged that while serving as housemaid for the two employers, the girl had been subjected to egregious physical abuse. The Court ordered the two defendants to collectively award the plaintiff the following; Part I: Regarding the pecuniary damages and according to Section 444 of the Civil and Commercial Code concerning reimbursement of the expenses and damages for total or partial disability to work for the present as well as for the future, the Court deemed that it fits the arising circumstances and gravity of the charges to award the damages including the following; 1. Incurred medical treatment: 303,233 baht as per the receipts issued by the Ramathibodi Hospital 2. Future medical treatment: 800,000 baht 3. Damages for disability to work of at least 50 years: 1,000,000 baht Part II: Regarding the non–pecuniary damages and according to Section 446 of the Civil and Commercial Code including agonies during the ailment, the loss of ability to reproduce, and the loss of beauty for Girl Air, for which, the plaintiff is entitled to request regardless of whether it is concerned with the livelihood of the plaintiff or not, it shall include; 1. Agonies incurred during the ailment: 600,000 baht 2. A loss of ability to reproduce: 700,000 baht 3. A loss of beauty for the plaintiff: 700,000 baht In addition, the Court ordered the defendants to provide 500,000 baht to cover transportation costs of the plaintiff to seek treatment from the Ramathibodi Hospital. In total, the two defendants are required to provide 4,603,233 baht as damages. 42 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

However, the exact amount to be received by the damaged parties shall be dependent on further executions in order to acquire assets belonging to the employers and to provide the compensation to the plaintiff as ruled by the Court. The case began around 2009, when Air, a seven year old girl disappeared from the living quarter of her parents who were migrant workers from Burma and employed by Thai employers in the province of Kamphaeng Phet. The search effort by her parents came to no avail. On 31 January 2013, Air successfully made an escape from the house and was assisted by some samaritans. She, then, received help and shelter from officers of the Kamphaeng Phet Children and Families shelter and other local agencies. According to Air, she was abducted by the former employers of her parents from the residence of her parents in the sugar cane plantation. Since then, she had been forced to serve as a housemaid in the house of Mr. Natee Taeng–on and Miss Rattanakorn Piyaworatham. During her time working with the two employers, she suffered abuses inflicted on her by them until she sustained grievous injuries including some wounds caused by her being poured with boiling water. The brute has also caused ligaments that make her unable to stretch her arms out and to bend her elbows. Officers of the Children’s and Family’s Home in Kamphaeng Phet has transferred her to Ramathibodi Hospital in Bangkok for further treatment. More detail of the case filed by Air’s custodian, Mrs. Mo Wateng, on her behalf against Mr. Natee Taeng–on and Miss Rattanakorn Piyaworatham, her employers in a civil suit with the Kampaeng Phet Provincial Court can be found at http://hrdfoundation.org/?p=805 and http://hrdfoundation. org/?p=805&lang=en . At present, the two employers are also the suspects in a separate criminal case as they are pressed with the accusation of committing bodily harm and thereby, causing the victim to receive grievous bodily harm, cruel treatment, deprivation of other’s liberties and as a result of which severe injuries have been inflicted on the person, deprivation of other’s liberties and as a result of which the person is forced to serve other persons or the perpetrator, enslaving a person or causing a person to be in a position similar to a slave, conspiring to bring forth a person or to deprive of liberties of the person younger than 15 years of age and as a result of which the person is inflicted with grievous bodily harm, taking away a child not yet 15 years of age from parents, and conspiring to conduct human trafficking. At present, the two employers are still at large after being granted bail by the police.


Ms. Nattarat Aroonmaharat, Coordinator of the Anti– labour trafficking, Human Rights and Development Foundation (HRDF), deems that the verdict underlies civil rights of a damaged party in a criminal offence including the right to be free from infringements on one’s body and freedom. Apart from being an offence against Criminal Procedure Code, the violations committed against Air can be persecuted as a human trafficking offence as Air has been a victim of unlawful exploitation including forced labour and enslavement and that Air is entitled to damages provided for by the 2008 Anti–Trafficking in Persons Act does not in any way deprive her of the right to be provided for with damages resulting from a civil suit.

Male labour migrant rights in claiming birth cost benefit from Social Security Fund

On 20th June 2014, a Burmese worker met with HRDF in Mahachai office to discuss their entitlement to birth cost benefit under Social Security Fund Act. Following the case of Aung Ko Ko, his wife, who is a migrant labour and social security card holder, gave birth to their child on 12th June 2014. She has dismissed from the birth cost benefit due to legal requirement for claimants to pay their social security fund for a certain period of time, of which she failed to meet that condition. However, her husband, Aung Ko Ko, has paid his social security fund for over three years and is entitled to receive the birth cost benefit from social security On 24th June 2014, HRDF assisted Aung Ko Ko in Construction Workers in Cholburi mediated fund. his application for the birth cost benefit. Social with their employer after filed an unpaid work preparing Security Fund office, Samutsakhon considered his application complaint and ordered the birth cost benefit payment for Aung Ko Ko A group of five subcontract construction workers at for 13,000 Baht on the same day. Cholburi concrete construction contractor filed a two months unpaid work complaint with HRDF in Mahachai office against their employer. Representatives from HRDF and MWRN met with the Cholburi concrete construction contractor’s manager to discuss the case. At the first meeting, the manager suggested the workers to complete their task within certain date set before the unpaid wage payment can be released on 20th June 2014. The workers agreed on this condition and requested the outstanding payment to be paid on the exact agreed date. However, after a completion of the work, the company refused to pay the workers claiming Labour migrants entitlement to medical that their finished work does not comply with the contract compensation from their employer when work requirements and requested the workers to redo their work injuries resulting in the loss of their eye. before payment. The new payment date was set to be Following the case of Mr.Korchitko, he worked for the on 23rd June 2014. Nevertheless, after completion, the Thai chareon Granite company in Kampaeng Phet province. company failed to pay the workers and postponed the On 26th July 2013, he had an accident during work that payment from 23rd to 30th June instead. All five workers have resulted in the loss of his right eye. His employer paid him now received their payment as agreed. 10,000 Baht for his medical treatment. However the amount given by his employer is insufficient to cover his medical treatment costs. He then seeked legal advise with the HRDF

จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 43


labour Law Clinic in Maesod. The clinic assisted Korchitko in filing the application to seek the indemnity for work injuries under Workmen Compensation Act at the social security fund office, Tak Province. Later on 4th March 2014, social security fund office, Tak Province called in both employer and employee to mediate the medical treatment and compensation matter. Both parties agreed that the employer will pay Korchitko a total of 114,000 Baht, which 14,000 Baht to be for his medical costs and another 100,000 baht to be for his injury at work compensation. On 5th of April 2014, the employer paid Korchitko 70,000 Baht. The Saphan Siang Project

The Saphan Siang (Bridge of Voices) project seeks to promote better understanding between Thais and migrant workers and reduce negative stereotypes and bias prevalent against migrant workers. It tries to meet its objectives by creating opportunities of interaction between Thais and migrant people. One of the activities under the Saphan Siang project is promoting youth ambassadors who are interested in the issues of development and labor rights of more than three million migrant workers in Thailand. Migrant workers contribute to economic growth in Thailand and because of labor shortage, Thailand depends on migrant workers from neighboring countries. Yet, Thai people remain aware about the status, role and rights of migrant workers who face exploitation and abuse while working in Thailand. Migrant workers also face numerous obstacles while trying to access their rights under the labor protection laws. The Saphan Siang Youth Ambassadors initiative seeks to promote understanding about cultural and ethnic diversity and create good relationships with people from neighboring countries. With the support from ILO and their alliance partners, the Saphan Siang Youth Ambassador initiative was launched in November 2013 and Mr. Aanas Aree is the project coordinator. At present, 12 students from various universities 44 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

have been deployed as youth ambassadors. Amongst them, Ms.Pongnapa Kidha from the faculty of Political Science and Public Administration, Chiangmai University, Mr.Paing Hein Htet from the faculty of Economic, Thammasat University and Ms.Duangtha Mongpa from the faculty of Liberal Art: South East Asian Studies Program, Thammasat University were placed with HRDF for 6 months to learn and support its activities with migrant workers. Three months have passed since they first started their work with HRDF. The youth ambassadors have written short articles, reflecting on their learnings and experiences of the past three months and HRDF is presenting these articles in the present edition of the newsletter.

Episode 1: Pongnapa kidha and her experience with Human Rights and Development Foundation (HRDF) During my volunteer work with Human Rights and Development Foundation (HRDF), I had an exciting opportunity to take a long journey up to Nantaram village located in Sarapee district in the northern region of Thailand. I was tasked to teach Thai at the Migrant Learning and Development Center (MLDC), which is situated in Chiang Mai province.

The MLDC was established, inter alia, as a language learning centre teaching Thai, English, and Tai Yai or Shan. The MLDC provides an educational opportunity not only for migrants but also for Thai children and adults who are interested. The MLDC is open on Monday, Wednesday and Friday from 18.00–20.30 hours, which are after working hours. It was my first teaching experience. I was very enthusiastic and eager to teach Thai to migrants. Nevertheless I predicted that it would be very challenging and I anticipated difficulties due to language barrier between the learners and myself. Thankfully, I was totally wrong. As the first day progressed, I felt so welcome and everyone was so friendly and easy–going without self–adaptation needed. I was


impressed every time when learners greeted me in Thai “Sawaddee krap/ka teacher”. It was the first time for me and I felt honoured to be called “teacher”. When I left the MLDC, I was so touched when they all wished me well with my journey back. Apart from the get–along–well part, I also encountered some challenges. I experienced increasing interests from migrants in learning Thai. It got difficult when learners have different levels of language skills. Some interested migrants had no basic background. It was not possible to take a single one–size–fits–all approach but on the other hand, it was also impossible to tailor my teaching to each individual learner. Time and availability of learners were another challenge to be considered. It is noted that the MLDC has a voluntary nature because it is open for everyone. On the opposite side, the non–compulsory part undermines the consistency and continuity to learn. Some learners could not manage to take time off work. I am very well aware of their conditions and therefore I would not conclude that these issues are big obstacles because everyone has other responsibilities and obligations. Flexibility is the right approach for the MLDC to carry out its learning objectives. The interest and willingness to learn is there and this is the key to success. It was more than a month that I taught there. I am fully aware that the right to education of migrants is essential. Even though they are not Thai, migrants are very important workforces that contribute to our economic growth, particularly in agriculture and industry sectors. Unfortunately, far too many disadvantaged migrants face exploitation, unequal treatment and discrimination. By facilitating access to education, which is a fundamental right, migrants will be empowered. Learning Thai particularly reading and writing skills will help migrants eliminate the language barrier. As a consequence, this will be another way to decrease their vulnerability and prevent exploitation from their employers. Increasing the ability to speak Thai for migrants would assist them to accessing information. Not only will those migrants be able to read job advertisements, ask for better work conditions and be able to apply to any job they want, they are also able to pursue further education to improve their life conditions.

Working in the MLDC and spending time with migrant workers made me realise an ironic fact about ‘opportunity’. Some children have abundant opportunities to live comfortably, be able to attend famous schools, afford private tutoring services and access to modern learning infrastructures. On the other hand, migrants have very limited opportunities and often they have no access to basic services that most people take for granted. I learnt from the MLDC that migrants are often to be found in labour intensive jobs and suffer from exploitation in various forms. I noticed they never give–up on seeking better opportunities. This includes learning Thai language or attending provided vocational trainings in order to enhance their skills and further increase their chance to find better employment without discrimination and exploitation. I believe that we can offer better opportunities for migrant workers by eliminating deep–seated attitudes of prejudice and xenophobia against them. Any society consists of good and bad people. It is a misperception that migrants are the cause of problems in our society.

In working for the MLDC, my challenge and ultimate expectation was to teach the students how to read and write Thai so they can eventually benefit from it in their daily lives. I once asked students in my class what they want to learn. I received various answers ranging from spelling, writing or even: “whatever you would like to teach us”. But there was one student that gave me a very จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 45


impressive answer: “a practical thing that I can use in my daily life”. Consequently, his answer inspired my lesson plan. I realised that learning a language is a lot more than just a list of structures to be memorised. In many cases, our memory lasts shortly. A useful lesson for migrants does not mean that they have to memorise all the grammar rules but instead I prepared lessons so that they can practically speak in their daily lives. And one day, I would be very happy to know that they find it useful and that I was part of their success stories. Lastly, I would like to sincerely thank the ‘Saphan Siang Youth Ambassadors’ project that offers me an incredible opportunity. This valuable experience has changed my attitude towards migrant workers. I am delightful to be part of this project. I will continue to be a voice advocating for a change of attitude towards migrant workers and for better opportunities and human rights for migrant workers.

Nattarat, it was easy to locate the office. The location of the office is interesting for the soi is occupied by Civil Society Organizations, fighting for Human Rights and is named Soi Sittichon–literally translated as Road for Actions on Human Rights (thanks to Duangtha for the translation!). Along with Duangtha, we were given a short tour of the office and were warmly welcomed by the friendly colleagues. On the first sight, I knew that the experience at this place will be special. The warmth and welcoming stance of the organization can be felt as soon as I step into the office. The office is based in a townhouse which reminds me of the simple offices back in Myanmar where offices are based in residences rather than skyscrapers. Luckily, my workspace is allocated along with Khun Preeda who would later become my close mentor and assigns works for me. I’m quite happy to be placed at the Bangkok office of HRDF as it is involved in wide range of activities, such as Migrant Justice Program (MJP) and Anti–Labor Trafficking Project (ALTP) for those I am currently involved in day–to–day assistance and provision of reports and translations when needed. Moreover, HRDF is linked with many other organizations. This makes me realize that the issues of migrant workers are multi–faceted and needs different specializations organizations to encounter these issues.

Episode 1 Mr.Paing Hein Htet: Saphan Siang, HRDF and my first experiences I still clearly remember the first time that I started my placement at the Human Rights and Development Foundation (HRDF). I came in with full expectation to help the migrant workers and to promote the positive images of the migrant workers, while fully involved in communicating with them. Up to this point, my expectation has been fulfilled and I am sure that by the end of the placement, I would be able to contribute something to the migrant workers in need.

My first task kicked off with reading various kinds of cases, familiarizing with the laws and codes of the issues….

These are of great importance as my background is Economics and being familiarized with the laws is necessary. To be honest, it was difficult to read the laws and cases at the start. However, overtime, I start to get familiar and everyone at the office explained to me whenever I have questions. This was my first steps towards understanding the migrant worker issues appropriately. My first assignment was the Assessment of the On the first day at the HRDF, thanks to the Royal Thai Government’s implementations on the recominstructions and location of the office provided by Khun mendations suggested at the Universal Periodic Review 46 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


(UPR) Twelfth session. UPR is a mechanism by the United Nations that examines the human rights performances of the nation. I was shocked being assigned this task as my work will be submitted to the UPR bodies directly. I remembered saying to myself that I cannot make mistakes. It turned out to be quite a rewarding experience as I was able to look at the Royal Thai Government’s responses on the migrant issues. My colleagues were really supportive and were willing to support any available information. The work was edited for more than five times and it came out perfect. From then on, I was more involved in looking at the issues from macro perspectives. While Duangtha was out on the field, I would be more involved in helping producing documents and analyzing the issues one at a time. I believe this is a good combination as we could specialize and it was always fun, catching up, talking about our experiences.

Moreover, I was allowed to attend conferences and short visits to other organizations whenever possible and some short visits. One of the highlight was attending the 6th Post ASEAN Forum on Migrant Labours (AFML). This conference revolved around improving the complaint mechanisms and upcoming activities for the AFML. The AFML focuses on the co–operation between the tripartite parties, namely Civil Society Organizations, the Government and the migrant workers. However, since this is a post activity, it was focusing on the CSOs. I was fortunate enough to be there as I was able to witness how the Civil Society Organizations in ASEAN are working hard for migrant workers’ issues even though they are facing numerous constraints. Again, I am really thankful for allowing me to participate in this conference. My first contact with the unfortunate migrant worker who was subsequently trafficked within Thailand was in May. Thanks to Khun Nattarat, Khun Patthranit and Khun Papop, Duangtha and I were able to involve in monitoring this case, through means of being translators and having contact with this person. Mr. N left Myanmar and come to Thailand through his brothers and cousins’

help, in the hope that he would be able to find a rewarding job, earn money and go back to Myanmar to expand his family business.

However, things did not turn out as he expected! Mr. N was forced into working on the fishing boat without any salary after being cheated by the Burmese brokers. When his brother who is also in Thailand heard this news, he immediately came to HRDF and asked to rescue his brother. One thing to be noted is that, prominence and accessibility of the CSOs are important. If his brother had not knew about HRDF, we would never be able to hear this saddening story. Mr. N was then rescued and was sent to the shelters for the Trafficked people. His another brother was also on the ship. Subsequently, he was rescued and now both of them are at the shelter. The case is still on– going and hopefully, justice will be done. This case had struck me, making me realize that a person’s life can be destroyed within seconds and is even more vulnerable than we might have thought. Therefore, it is our responsibility not to turn our blind side on them and be ready to help those whoever is in need of help. The placement at HRDF has been a rewarding experience for me. I am really thankful towards the colleagues and the Saphan Siang coordinators for giving me this opportunity. I am able to gain a deeper understanding at a macro level. At the same time, I am more able to engage at individuals levels and give advice with the knowledge that I learned. The experiences at these institutions made me more vocal for the migrant workers. Whenever I have the chance, I do not think twice to recount and expound the hardships faced by the migrant workers to my families and friends. Works at HRDF have been intellectually stimulating and challenging enough that every day that I go to work, I am fully prepared and say to myself that I am ready for the day. Even though there are challenges sometimes, I was able to go through those with the support from the colleagues. Again, I am really grateful that I have been assigned with important tasks and equally treated as a full– time employee. Manymemorable first experiences have been formed and I am จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 47


expecting more of like these works and at the same time, fellow youth ambassadors and myself to learn, exchange running campaigns with the support of Saphan Siang. ideas and share good practices and experiences. It is not only among us but also with other people in the society and Episode 1: Duangtha Mongpa (Ta) beyond in order to build and to be part of a resilient and and her experience with Human Rights harmonised global community.

and Development Foundation (HRDF)

Learn, Share, Exchange … through our voice and our shared experience, we build a “knowledge bridge”

Having completed the orientation training, I am now equipped with the basic knowledge and ready for my first volunteer mission in the ‘Saphan Siang Youth Ambassadors’ project. The goal of this project is to build and promote greater understanding between the Thai government, its citizen and migrant workers. I am one of the twelve youth ambassadors in the Saphan Siang project. Among other things, my task was to work with a host human rights organisation in order to build further understanding and knowledge on migrant workers issues. I felt lucky and excited to be working with the Human Rights and Development Foundation (HRDF). In addition to my strong intention to learn, volunteer and advocate for migrant workers, I have a personal connection with the subject. As a daughter of migrant workers I have a sound understanding of migrant workers’ issues and I am aware of the shift in the migration situation in Thailand. Thailand is not a singular–cultural society but the country hosts a cultural diversity of communities. Evidently, Thailand is becoming a more and more multicultural society with various ethnicities and nationalities living and interacting with each other. Having understanding and being unbiased are necessary keys to a harmonisation in a multicultural society. These factors are my motivations that drive me forward to promote understanding and advocate for an unbiased and tolerated society for migrant workers. Therefore, the Saphan Siang Youth Ambassadors project served as a light that illuminated my path. It offers an amazing opportunity for my 48 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

In the almost two months that I am part of the Saphan Siang Youth Ambassadors project, I have cherished everyday moments, enjoyed my time and valued the volunteer experience. Apart from gaining basic knowledge about migrant workers in the agricultural sector, I have benefited from this project by developing a sound knowledge and understanding towards migrant workers in a broader context. I learnt that not only in the agricultural sector migrant workers are an important workforce but also in other sectors. In fact, migrant workers provide significant contributions to the Thai economy. Due to labour shortages, migrants are employed to carry out dirty, dangerous and degrading work that Thai workers are unwilling to do, particularly in some sectors such as construction, agricultural work, domestic work, manual labour related work and other services. Migrant workers often face multifaceted challenges in the Thai society. In addition to the dirty, dangerous and degrading nature of jobs which are filled by migrants, they also suffer significantly from human rights violations, discrimination, and exploitation. Relevant organisations and their personnel often ignore the human rights of migrants. The combinations of these factors have worsened the quality of life for migrant workers. It is an issue of our concern and it is essential for everyone to be able to realise their human rights. We should treat migrant workers with respect and dignity and help migrant workers from the ASEAN neighbouring countries in realising their human rights and improving their life conditions. HRDF is my host organisation in this project. It is a non–profit organisation that works closely together with the ‘Migrant Worker Rights Network’ (MWRN). Its


staff members, among other things, provide legal advice and assistance relating to rights of migrant workers. Prominent work of HRDF includes providing legal advice to migrant workers, particularly with regard to rights to social security including social insurance and rights to seek protection of life, liberty and property. A number of migrant workers do not receive a fair or minimum wage they are entitled to. In many cases, the right to freedom of movement is often infringed upon when a passport or a travel document of migrant workers is seized or confiscated. In worst–case scenarios, migrant workers suffer physical or mental abuse. These are only a few examples of the most common problems that seriously undermine rights of migrant workers. Major causes of these problems often result from ineffective communication, cultural differences as well as individual attitudes that give expression to myths about other racial or ethnic groups. This leads to devaluation of other human beings and it can bring misunderstanding and potential conflicts. It is a very short period of time in which I have learned and volunteered to advocate for the rights of migrant workers but the knowledge and experience I have gained are priceless. It is a privilege that HRDF has its branches in several provinces and regions in Thailand. In the initial phase, I was based in Bangkok. During the first two–week, HRDF senior staff members guided me through the role and objectives of the organisation focusing particularly on human rights of migrant workers. Shortly after, I was thrilled to be part of HRDF’s anti–trafficking work. Safety and security are the first priorities when it comes to counter trafficking work. These are the highest considerations for both lives of trafficked migrant workers and also to HRDF’s aid workers, especially in raid and rescue operations. HRDF staff members work closely with government agencies and civil society organisations to rescue trafficked persons. In this period, I learnt a lot on the role of the organisation and its anti–trafficking project, which focuses on legal assistance to trafficked persons. HRDF does not only provide legal assistance to trafficked persons. Together with a multi–disciplinary team, HRDF is also involved in raid and rescue operations as well as fact–finding missions. I was part of HRDF’s fact–finding field missions to collect information and interview trafficked migrant workers. I am proud to assist trafficked persons and to be able to contribute significantly to HRDF’s anti–trafficking work because I can speak both Thai and Myanmar (Burmese). In counter trafficking work particularly a raid and rescue operation, time is a key factor in saving

lives. Being bilingual, I can directly facilitate an effective and faster communication between trafficked (Burmese) migrants and a multi–disciplinary team consisting of HRDF and other organisations. However, after trafficked migrants are rescued, HRDF continues its important legal work in initiating and following up with legal proceedings.

As I mentioned earlier, HRDF has branches covering several provinces in Thailand. After being based in Bangkok and learning about the counter trafficking work, I was later based in Mahachai district, Samutsakorn. This province is well known for its industrialised areas and its seafood– processed products produced in factories. Thailand is regarded as one of world largest seafood–product exporters bringing massive income to the country. Therefore Mahachai hosts a large number of labourers working in various sectors such as processing factories or fisheries. It’s interesting to note that a majority of workers are migrants from Myanmar. I found Mahachai to be one of the unique multicultural and multi–traditional communities. People are diverse but yet harmonised. To demonstrate, official announcements, shop signs and job advertisements are written here in two languages, Thai and Myanmar. Sometimes there are also English signs. Migrant communities are strongly united because there are NGOs providing assistance in various sectors as well as government agencies recognising the importance of migrant workers. I also learnt that migrant workers here have formed their own network, the MWRN. A great initiative supported by, among other organisations, HRDF. The MWRN is legally registered in accordance with the Thai law. It provides advice and assists migrant workers who face challenges living in the communities. In addition, the MWRN runs a language school teaching Thai for migrants who are interested and have time to learn. The MWRN activities include organising dialogues and workshops to advocate for the rights of migrant workers, which are also supported by HRDF. In Mahachai, Poy Sang Long or the festival of the Crystal Sons, a rite of passage ceremony originated from Shan ethnicity in Myanmar is widely practiced in Thai จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 49


temples. Regardless of ethnicity or nationality, a lot of people here can speak at least 2 languages. It is a multicultural society, which is adaptive and harmonised. This demonstrates a true ASEAN. My observations as a youth ambassador in the Saphan Siang project: • Misunderstanding–Language barrier is one of potential causes for misunderstanding. It may occur between employers–employees, neighbour or people in the communities. When we misunderstand each other then problems can arise from a little issue to a big regional ASEAN issue. • Attitudes of prejudice–Myths about other racial or ethnic groups can also cause misunderstanding and conflict. In fact, our global community is rich in diversity. We all depend on, rely on and fulfil each other. Realising these factors will guide us to openness. No matter where you come from, which ethnicity you are, we all can live together peacefully. • Human values–migrant workers work hard to earn their livings and support their families. Migrant workers carry out dirty, dangerous and degrading work that no Thai worker wishes to do. Migrant workers contribute significantly to economic growth. Being a migrant worker does not mean your human values are lower. There is a need to eliminate discrimination and to ensure rights of migrant workers are respected, promoted and protected. • Building a multicultural society–This is not a responsibility of particular individuals or assigned agencies but it is a shared responsibility for everyone in a society. We all have values and differentiated capacities to build and fulfil a society we live in. Importantly, there should be no society that tolerates exploitation of migrant workers. And people in a society should not insult, discriminate or harm migrant workers verbally or by actions. Another experience worth to share was the day I attended the Kampangpetch Provincial Court in its delivery of the judgment on the civil case of a Karen girl, Na Air. I paid a particular attention to this case because the victim is a very young girl who was severely injured and abused. Her shocking story was circulating in several media in Thailand recently however the story faded away right after the rescue operation. 50 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

On the day that the Court was scheduled to deliver its judgment I woke up at three in the morning to catch a public bus from Bangkok to Kampangpetch. My mission was to be on time for the reading of the judgment. Due to the rush hour in in the morning and the nature of traffic in Thailand, everything went wrong that day. I had to catch another minivan to Nakorn Sawan, which was even slower than I expected because the driver had to stop twice for patrols. Then when I arrived in Nakorn Sawan, it turned out that there was no express bus to Kampangpetch. But I did not give up. I hired a songthaw or a slow local minibus to continue my long and tiring journey. It was not my first time with a songthaw but it was the first time that a songthaw made my hair completely messy. When arriving at the Court, I lost my confidence but I managed to restore it back quickly with a strong intention to hear the Court’s judgment. It was almost noon when I arrived, only to find out that the verdict has been delayed until the 30th of June 2014. Of course I was speechless after going through all the difficulties in getting there. But it was not too miserable. There was an impressive moment. In fact, it was a highlight of my day when I was able to discuss the case of Na Air with the Provincial Office of Labour Protection and Welfare. As the day progressed, I cheered myself up with Kampangpetch’s famous wonton noodle. Eventually, I ended my day with a rice soup and delicious stir–fried morning glory in Nakorn Sawan. I am still searching for my future goals. And I strongly believe that there will be a continuity of productive ideas after I stepped myself into work relating to migrant workers. I am grateful for the opportunity that the Saphan Siang Youth Ambassadors Project offered. I am sincerely thankful to each and every one from HRDF for giving me useful advice and suggestions. At last, I am the happiest person to know that you read my story until the last word. I am so eager to share my work experience on migrant workers and would like to exchange it with you. Under the Same Umbrella: Migrant Workers in the Thai Society Duangtha Mongpha Thailand is an umbrella It has been sheltering various people Migrants have been moving to this paradise as a shelter Working hard to help build, clean and other jobs in this land Thais and migrants are depending on each other; Living in harmony, ASEAN praises as an example.


Nowadays, the Thai society has continuous economic growth and additionally, it is among the top developed nation in ASEAN. Thus, Thailand attracts investments as well as migrant workers, who leaves their homeland and families for better live in a foreign country. Over half a century ago, the flow of migrant workers has shaped an adjustment and mechanism in the destination country to include migrants in Thailand. The Thai society has shifted and adapted by time and new members in the society and the fact that Thailand has many areas that connect the country with other neighbours, facilitating migration, which even regularly exists before the nation states. However, after independence, the concentration of nationalism in each state makes the rules, such as agreements, contracts, and laws, that separate and categorise people under the imagined states. Every human being must bear a mark of a country once belong. It is vital that all have to follow the rule,. While people who has recently migrated will be “migrants.” An example in Thailand, which has a pull factor from the economic expansion, resulting in enormous demands for labour force, coupling with a push factor in the home countries that obstruct them from fulfilling their livelihood and enhancement of quality of live, witnesses a large flow of migrants to the country. Thailand has attempted to develop quality of live for migrant workers. It has adjusted and developed the systems to ensure maximum benefits for both migrants’ lives and the country. An obvious evident is Thailand’s endeavour to address irregular migrant workers and regularise them through migrant worker registration permits, nationality verification, coverage under the Social Security Scheme, etc. Despite some processes are not completed and have loopholes for corruption, leading to exploitation of migrant workers. Thus, the stakeholders must improve and address the situation to reduce international scrutiny. I have had an opportunity to interview a group of migrant manual workers empowered themselves to take care of those sharing the same destiny as fellow workers in the foreign land, to shed some light as an example. “Migrant Worker Right Network (MWRN) is a migrant workers member based group, chaired by Mr. Aung Kyaw and his friends and colleague from Myanmar. MWRN is located in Maha Chai, Samutsakorn Province, Thailand, where the area is under the industrial zoning. The MWRN was established because of a large number of migrant workers who have been migrating since 1980 because of economic poverty in the home countries to Thailand, where the economic situation is better and Thailand has connecting border to those countries. Thus, migrants

continuously crossed the border to Thailand. The majority of migrant labourers are usually cannot produce any document to show that they are regular migrants with lawful permits. Some people can survive the trip. In many cases, they fell victims to criminals and into vicious cycle that may even cost them their lives. Irregular migrants travel to Thailand, thus, they have to hide to avoid arrests and deportations. Migrant workers are at risk exploitation and being induced to human trafficking rings that subject to low quality of lives. Finally, the state, civil society sector and stakeholders have tried to address the issues such as increasing number of migrant workers, communities of newcomers’ communication with original members. Migrant workers also want to address the problem, so they create the friend of migrant workers’ volunteers. Volunteers are migrant workers who have been trained and participated in public forums on migrant workers for a certain period of time. On 29 March 2009, nine migrant workers established a group to take care and assist fellow migrant workers, with the support from the Human Rights and Development Foundation (HRDF). During an initial period, the first and the most difficult mission is to approach and recruit migrant workers. They had to overcome the fear and distrust from migrant workers, who had faced unfriendly experiences in the past. Nevertheless, the core leaders had reviewed their approach and their working plan. They finally reached an agreement that they should use the migrant workers’ interests and use them as entry points to communicate knowledge to fellow workers. Finally, they agreed that the religion issue is the most suitable to be used as an entry point. Every time after merit making and cleaning the temple area, the group would provide a session on labour rights. After a while, they can increase the knowledge base. After 2012, the group found that the demographic of the migrant workers had changed. Migrant workers who are MWRN’s members are more aware of regularisation process. They have more understanding of the law and on their rights. Many cases, the workers demanded their rights when they had been abused. For example, when a company abuse the contractual payment and illegally dismissed the workers, a group of workers demanded their rights under Section 75 and Section 118 until they can receive protection under the law. The MWRN also organised mobile legal clinic to provide legal knowledge to migrant workers in factories. Apart from legal knowledge the MWRN also established Thai, English and Computer classes for migrants to eliminate language and communication barrier that cause other problems. Skill training from migrant workers by จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 51


volunteer teachers increase the number of skilled migrants. Some can shift their occupations from labourers to work in computer shops. Language training also assist workers to communicate and reduce the gap with other people in the community. The MWRN also hosts a library for migrants to read or borrow, thus, it supports migrants to increase their skills and upgrade their lives. The MWRN has occupational training program to reduce costs of living and create additional income for the family. The project can also provide knowledge to increase the migrants’ quality of live in the future. By organising a training for trainer program, trained volunteers provides training for other less fortunate migrant workers. Training includes making dish detergent, vegetable gardening, mixed agriculture under HM the King’s initiative , etc to develop their knowledge and quality of live in the future. After assisting migrant workers, the MWRN realised that migrant children are also important. The children following their parents to work in Thailand face some issue such as schooling opportunity, leading to entering into the work force when they are still underage. Children who can reach schools also have a problem when their parents have to return home at the end of the four years temporary residence period, thus their education is compromised. The MWRN recruits volunteers to teach these children and is now working to standardise the the education provided with the Myanmar’s state schools’ curriculum, so that the students can earn their education certification in Myanmar. The MWRN president raised this issue in a meeting at Naypyidaw, Myanmar, and in the past year, families of migrant workers who has returned can have their children’s certification recognised in Myanmar. Problems and obstacles that the MWRN wants the society to know • Migrants often fear and concern for their safety, because even legalised migrant workers, have their passport confiscated by Thai employers due to the fear taht thier workers will run away. This problem often caused by misunderstandings due to language barriers. • One of the most common problem migrant workers experienced is the minimum wage violations. Migrants themselves have a many burdens such as costs of living, child supports,, thus, employers should realise and focus on the rights of migrant workers.

52 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

• Lack of regular and secure financial support for transportation and publication materials and the capacity of workers to provide knowledge and exchange among themselves is limited. Thus lack of funding is a drawback to address the problem of migrant worker abuses which happen all over the country. • The Thai society should recognise the contribution from migrant workers that drive the Thai economy. Aung Kyaw said, “I have been a migrant worker for 16 years when Mahachai was nothing but forest. Now it is a city.” He added that the expansion of the Thai economy create huge demand for labour. Consequentially, brokers smuggle migrants to Thailand legally and illegally and afterward there are many problems that follow. Despite migrant workers may not know their destiny or they may face exploitation and abuses, they are willing to risk because it is better than facing starvation because of lack of employment. The small amount of money can still meagrely support their families. • Migrants also want to exchange their way of life to the society. Those who have been living in Thailand for a long time can speak Thai, understand the Thai culture and integrate in the society as if it is their own. They feel that they are the part of the society. Every time there is a festival or a traditional event in a community, at schools, at a temple or in important national events, migrants share the same feeling as Thai people. They participate in planting trees in local communities, cleaning temples to prepare for various festival, cooperating with the community and contributing to community development. Recently, they organised novices and monks ordination ceremony on Princess Sirindhorn’s Birthday royal birth in April. Aung Kyaw, MWRN president, had a concluding remark for readers and stakeholders who have known the other side of migrant workers. “These are real experiences and information. I would like to see them being exchanged and disseminated to the wider public for mutual understanding of the people in the same society,” he said.


Activities

13 April: HRDF’s MJP in Mahachai HRDF participated in group novice and monk ordinations and layman precepts observers for summer period at Thep Nararat Temple, Mueang District, Samut Sakorn Province. The event is organised by Migrant Children Development Center with the Thep Nararat Temple. Migrant children and adults joined the ceremony to celebrate and make merit for Princess Sirindhorn’s birthday on 2nd April 2014. The ordination also intends to preserve local culture and tradition and to instil Buddhism values to children.

23 April, HRDF’s MJP Chiangmai office and migrant worker resource persons organise a knowledge activity in migrant communities at Baan Moh, Sankampaeng District, Chiang Mai Province. The session was entitled “Benefits of and Access to the Social Security Scheme.” Twenty two migrants (13 males, 9 females) participated.

(Photo# 3) 28 April, HRDF’s MJP Chiangmai office and migrant worker resource persons organise a knowledge activity in migrant communities at Wat Ched Yord, Mueng District, Chiang Mai Province. The session was entitled “Benefits of the Social Security Act” and also featured a discussion on the state’s policy on migrant workers who has completed the four years residency term. Thirty migrants (17 males, 13 females) attended.

1 May, The Migrant Workers Federation (MWF) and workers’ right network such as the Migrant Workers Right Network (MWRN), the Garment and Industrial Workers Relation Confederation, the Electronic and Electrical Workers Union, the Gems and Jewellery Workers’ Union, Migrant Worker Network and Workers’ Rights Promotion Network of over 300 persons marched and campaigned to Acting Prime Minister, through Chiang Mai Governor to demand the Ministry of Labor and the Government to implement policy to protect and promote welfares of Thai and migrant workers and that the government should sign the ILO C 87 and 98 on the collective bargaining and association.

5 May, HRDF’s MJP Chiangmai office and migrant worker resource persons organise a knowledge activity in agricultural migrant sectors at Mae On,

Chiang Mai Province. on labour rights under the Labour Protection Act and the the Social Security Act. The majority of migrants receive the wage at the legal rate but still do not have sufficient knowledge on labour rights and social security laws. Twenty four migrants (10 males, 14 females) attended.

8 May, HRDF’s MJP in Mahachai and MWRN representatives organised a legal knowledge training to migrant workers in Krathum Baen community, Samut Sakorn Province. Resource persons trained them on human rights and labour rights under the law, the Social Security Act and the Workmen Compensation Act. There are 30 trainees from the community. This training would enable them to know about labour rights and the mechanism where they can access help from many organisations because they were facing unfair wages problems and they were negotiating with their employer, the workers and a labour welfare and protection official.

15 May, HRDF and Cross Cultural Foundation Representative were resource persons to exchange experience and knowledge to provide access to justice and assistance to criminal prisoners in Catholic organisations working for the prisoners, organised by the Social Activity of Caritas Thailand, under the

จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 53


Catholic Bishops’ Conference of Thailand. society sector. People attending the Twenty one male and female priests forum provided recommendations to monitor, improve the working condition attended the training. and practical guideline to protect workers in the fishery and seafood processing industries. HRDF’s MJP Chiangmai office organised a training of volunteers from various community to exchange and update the situation of migrant workers On 20 May, HRDF and Migrant in their respective area.s It was found that Network met Mr Thein Naing, Labour migrants who have reached the full four Attaché of the Burmese Embassy to years term of their work permit faced exchange and discuss information and problems, the fees to use brokers to experience on providing assistance to handle the matter was high, the repatriBurmese migrant workers in Thailand and ation fund problem. There were 12 to seek future collaboration opportunity volunteers, 9 males and 3 females. between the civil society sector and the During 27–28 May, HRDF Burmese Embassy to provide assistance representative attended the 6th ASEAN to Burmese migrant workers. Forum on Migrant Labour (AFML) to update and monitor the situation, in particular the complaint mechanism regarding labour rights protection and the migrant worker database. Collaboration and schedule for the 6th AFML Forum was also discussed. The meeting was organised by the Task Force–ASEAN on Migrant Workers (TF–AMW) During 22–23 May 2014, HRDF representative attended the ILO–RTG Multi–stakeholder forum on Labour conditions in fisheries sector in Thailand organized by the ILO to provide an overview of workers in fishery and seafood processing industries. The forum was attended by state sector, industry’s representatives, buyer’s representative from the European Union and the civil About AFML: AFML is an open platform for the review, discussion and exchange of best practices and ideas between governments, workers’ and employers’ organisations, and civil society

54 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

stakeholders on key issues facing migrant workers in South East Asia, and to develop recommendations to advance the implementation of the principles of the ASEAN Declaration on the Protection and Promotion of the Rights of Migrant Workers. The Forum provides opportunity to share stakeholder activities to implement the recommendations from past forums in Hanoi 2010, Bali 2011, and Siem Reap 2012, as well as the experience of developing the draft ASEAN Instrument on the Protection and Promotion of the Rights of Migrant Workers. On 29–31 May, HRDF’s LLC Mae Sot office organised a 7th paralegal training for Mae Sot District, Tak Province for 16 workers, 7 females, 9 males. Trainers used both Thai and Burmese version of the training manual, featuring topics on an understanding and knowledge of labour protection law, fact finding skills, gathering witnesses and evidences of migrant worker cases and basic legal counselling to workers and supporting to work of lawyers. There were 16 trainees, 9 males and 7 females.

30 May, HRDF’s MJP Chiang Mai and volunteer migrant resource persons provide knowledge activity for migrant workers in construction sector at Doi Saket District, Chiang Mai, on “Labour Rights under the Labour Protection Act.”


Workers in this training mostly did not receive the wages according to the Labour Protection Act and their employees did not register them with the Social Security Scheme. Forty four workers, 19 females, 22 males, attended.

on 13 June 2014, HRDF representative attended a workshop on the Capacity Building Workshop on Strengthening the Role of Labour Attaches in Thailand. Participants came from the neighbouring countries of Thailand, including Myanmar, Laos and Cambodia. The workshop was organised by the International Labour Organisation (ILO) In addition to strengthening the work of labour attaché, the workshop also served the purpose for coordination and communication among labour attaché and other agencies involved with migrant worker protection and assistance in Thailand. HRDF Representative had the opportunity to present suggestions for the coordination of case assistances when migrants face problems and providing training, law and policy knowledge for workers in the community, and para–legal volunteer training to assist the labour attaché.

On 18, 27–28 June 2014, HRDF representatives attended a preparatory meeting and observed the meeting on The AICHR Regional Consultation on the Contribution to the Review of the AICHR’s Terms of Reference. The consultation intended to monitor progress and challenges for AICHR as well as to gather inputs from participants to improve AICHR to protect and promote human rights and under the ASEAN Charter and the AICHR’s mandate.

On 19 June 2014, HRDF representative attended a seminar on“Thailand, Shelter, War Refugees, Asylum and Shelter Seekers” by of Sub–Committee of Civil Rights and Political Rights, National HUman Rights Commission. The seminar also invited representatives of NGOs that assist immigrants Rohingya and Muslims whose nationality cannot be determined in the southern part of Thailand as well as officials from the Immigration Bureau to share their experiences to help Rohingya and unidentified muslim immigrants. The seminar discussed an effort to prosecute those who were involved in human trafficking or unlawful exploitation of such groups. In the afternoon, representatives from international organisations and agencies, the State’s Security Agencies and the Ministry of Foreign Affairs also discussed the refugee situation in Thailand and a likelihood that the border 18 June, HRDF’s MJP in shelters would be closed. Mahachai representative attended community network migrants meeting with a migrant network to promote health of workers at Wat Thep Nararat, Samut Sakhon Province. This meeting was held to prepare the annual conference of the MWRN and a fund–raising event for The 11 June, HRDF’s MJP in Migrant Children’s Development Center Mahachai representative visited a (MCDC) at Wat Thep Nararat. construction site in Cholburi Province to educate migrant workers on the rights under the Labor Protection Law and the Social Security Act after the workers had

จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ 55


complained about the overdue payment. Fifteen workers attended the session. During 26–27 June, HRDF’s LLC Mae Sot office organised a training of trainers session to train resource persons on labour rights, using paralegal manual in Thai and Burmese versions, featuring topics on an understanding and knowledge of fundamental human rights principle, labour protection law, and access to labour protection mechanism There were 10 trainees, 8 males and 2 females.

Access to Justice and Rights Protection for Migrant Workers in Thailand The Human Rights and Development Foundation (HRDF) is a non–profit non–government organization that aims to promote and protect the human rights of migrant workers and their families in Thailand. Through the Access to Justice and Legal Protection Project and campaigns to promote the migrant workers’ potentials, HRDF has been working with several civil and state organizations at both national and international levels, with the following objectives: 1. To achieve greater efficiency in protection of the migrant workers’ rights through legal mechanisms and state channels (via petitions), 2. To enable the migrant workers to have better understanding of their human rights and access to the state’s protection and petition mechanisms, 3. To prevent the migrant workers and their families from falling victims to labour exploitation, 4. To educate Thai society about the necessity of migrant labour in Thailand, in order to promote peaceful co–existence despite racial and cultural differences. Editor: Ms.Preeda Tongchumnum and Ms.Phattranit Yaodam

บรรณาธิการ: นางสาวปรีดา ทองชุมนุม และนางสาวภัทรานิษฐ์ เยาด�ำ ติดต่อ: มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ส�ำนักงานกรุงเทพมหานคร (เฉพาะโครงการต่อต้านการค้ามนุษย์ด้านแรงงาน) 109 ซอยสิทธิชน ถนนสุทธิสารวินิจฉัย แขวงสามเสนนอก ห้วยขวาง กรุงเทพ 10310 โทรศัพท์ 02 277 6882 โทรสาร 02 275 4261 www.hrdfoundation.org มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ส�ำนักงานจังหวัดสมุทรสาคร 93/200 หมู่ที่ 7 ต�ำบลท่าทราย อ�ำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร 74000 โทรศัพท์/โทรสาร 034 414 087 มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ส�ำนักงานจังหวัดตาก 14/12 ถนนประสาทวิถีเดิม ต�ำบลแม่สอด อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก 63100 โทรศัพท์/โทรสาร 055 535 995 มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ส�ำนักงานจังหวัดเชียงใหม่ 71 ถนนสนามกีฬาซอย 1 ชุมชนอุ่นอารีย์ ซอย 4 ต�ำบลศรีภูมิ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200 โทรศัพท์/โทรสาร 053 223 077 56 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

Editor: Ms.Preeda Tongchumnum and Ms.Phattranit Yaodam Contact: Human Rights and Development Foundation–Bangkok (for the Anti–Human Trafficking Project only)109 Soi Sitthichon, Suthisarnwinichai Road, Samsennok, Huaykwang, Bangkok 10310 Tel. 662 277 6882 Fax. 02 2754261 www.hrdfoundation.org HRDF, Samut Sakhon Branch Office 93/200 Moo 7, Ta Sai Sub–district, Muang District, Samut Sakhon 74000 Tel/Fax 034 414 087 HRDF, Mae Sot District Branch Office 14/12 Prasart Witheederm Road, Mae Sot Sub–district, Mae Sot District, Tak 63100 Tel/Fax 055 535 995 HRDF, Chiang Mai Branch Office71 Sanamkeela Road, Soi 1, Un–Aree Community, Soi 4, Sriphum Sub–district, Muang District, Chiang Mai 50200 Tel/Fax 053 223 077


ฉบับที่ 5 : กรกฎาคม–กันยายน 2557

5th issue: July–September 2014

ข้อสังเกตบางประการ ต่อการแก้ไขกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน เพื่ อขยายขอบข่ายความคุ้มครองประกันสังคม แก่ลูกจ้างในภาคเกษตรเเละภาคประมง

สถานการณ์ ด้านนโยบายและ การบังคับใช้กฎหมาย

ภัทรานิษฐ์ เยาด�ำ

มื่อพิจารณาถึงสถิติของกองประมงต่างประเทศ กรมประมง พบว่าประเทศไทยมีปริมาณการส่งออกสินค้าประมงทั้งหมด ไปยังประเทศต่างๆ ในไตรมาสที่ 1 ของปี 2557 เป็นจำ�นวนถึง 704,658.02 ตัน คิดเป็นมูลค่า 86,596.03 ล้านบาท อันเเสดงให้เห็นถึงความต้องการแรงงานภาคประมงเป็นจำ�นวนมากโดยมีการประมาณการว่าในสายพานการผลิตดังกล่าว ต้องอาศัยผูป้ ฏิบตั งิ านด้านการประมงชายฝัง่ ทะเลและการประมงนอกน่านน้ำ� เป็นจำ�นวนกว่า 283,557 คน เเละตัวเลขดังกล่าว มีความใกล้เคียงกับเเรงงานภาคเกษตรที่ปัจจุบันกลายเป็นกำ�ลังหลักในการผลิตขั้นพื้นฐานในประเทศเช่นเดียวกัน เเม้ โ ดยสภาพของอั ต ราการผลิ ต จะเเสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ความส�ำคัญของแรงงานกลุ่มใหญ่ที่เป็นก�ำลังหลักของงาน ทั้งสองประเภท เเต่ทิศทางการให้ความคุ้มครองทางกฎหมาย กลั บ แปรไปในทิ ศ ทางผกพั น โดยเฉพาะเจตนารมณ์ ข อง กฎหมายว่าด้วยเงินทดแทนทีม่ งุ่ คุม้ ครองเเรงงานอันเป็นลูกจ้าง ทีป่ ระสบอุบตั เิ หตุหรือเจ็บป่วยอันเนือ่ งมาจากการท�ำงาน ตาม ประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม พ.ศ. 2545

ยังยกเว้นให้นายจ้างในบางกิจการ ซึง่ รวมถึงนายจ้างซึง่ ประกอบ กิจการเพาะปลูก ประมง ป่าไม้ และเลี้ยงสัตว์ซึ่งมิได้ใช้ลูกจ้าง ตลอดปีและไม่มงี านลักษณะอืน่ รวมอยูด่ ว้ ยไม่มหี น้าทีต่ อ้ งจ่าย เงินสมทบเข้ากองทุนเงินทดแทน ท�ำให้ลกู จ้างต้องเรียกร้องสิทธิ ในเงินทดแทนดังกล่าวจากนายจ้างเอง อันเป็นปัญหาการเข้าถึง สิทธิในกองทุนเงินทดแทนของลูกจ้างอย่างยิง่ โดยเฉพาะลูกจ้าง ที่เป็นแรงงานข้ามชาติ


ในช่วงเดือนสิงหาคม 2557 ส�ำนักงานประกันสังคม ได้จัดโครงการประชุมรับฟังความคิดเห็นต่อการขยายขอบข่าย ความคุม้ ครองประกันสังคมแก่ลกู จ้างในภาคเกษตรเเละประมง ตลอดช่วงเดือนสิงหาคมในพืน้ ที่ 4 จังหวัด คือ ระยอง ขอนแก่น ตาก เเละสุราษฏร์ธานี ซึ่งผู้เข้าร่วมส่วนใหญ่ประกอบด้วย ตัวเเทนนายจ้าง ลูกจ้าง เเละองค์กรภาคประชาสังคมนั้นเห็น ด้วยต่อการเสนอปรับปรุงกฎหมายในประเด็นดังกล่าวเเต่ทั้งนี้ มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนาได้สะท้อนข้อสังเกต บางประการที่รัฐไทยอาจต้องประสบ ดังนี้ 1. การจัดการระบบการขึน้ ทะเบียนลูกจ้าง สืบเนือ่ งจาก สภาพการจ้างงานของแรงงานประมงนั้นยังไม่มีมาตรฐาน เพียงพอที่เอื้อต่อการจัดหาลูกจ้างที่ถูกกฎหมาย ท�ำให้เกิด ระบบนายหน้าจัดหาแรงงานขึ้นมา เพื่อสนองความต้องการในการผลิต ซึ่ ง หากไม่ ส ามารถจั ด การปั ญ หา ดังกล่าวได้ ย่อมไม่สามารถพัฒนา ระบบการขึน้ ทะเบียนลูกจ้างให้เข้ามา อยู ่ ใ นระบบกองทุ น เงิ น ทดแทน ได้อย่างเเน่นอน 2. ป ั ญ ห า ก า ร ตี ค ว า ม นิติสัมพันธ์ระหว่างการจ้างแรงงาน เเละการจ้ า งท� ำ ของ อั น เป็ น หลั ก กฎมายเบื้ อ งต้ น ของการคุ ้ ม ครอง สิทธิลูกจ้างที่ต้องมีนิติสัมพันธ์กับ นายจ้างในลักษณะการจ้างเเรงงาน เเต่ พ บว่ า งานเกษตรโดยเฉพาะ ในรายที่ น ายจ้ า งเป็ น เจ้ า ของสวน ยางพาราเเละสวนปาล์มมีลักษณะ การหมุ น เวี ย นลู ก จ้ า งท� ำ งานกั บ นายจ้ า งหลายคนเเละบางครั้ ง ลูกจ้างก็น�ำคนในครอบครัวมาช่วย งานนายจ้างด้วย อันเป็นประเด็นข้อ กฎหมายทีล่ ะเอียดอ่อนในการตีความ เเละหากเจ้าหน้าที่หรือนายจ้างไม่มี ความรู้ความเข้าใจถึงความเเตกต่าง ระหว่างสองนิติสัมพันธ์จะก่อให้เกิด ความสับสนเเละเกิดผลกระทบต่อ การขึ้นทะเบียนลูกจ้างเเละนายจ้าง ได้ 3. ข้ อจ� ำ กั ด ของการเข้ า ถึ ง สิทธิของลูกจ้างทีเ่ ป็นแรงงานข้ามชาติ โดยเฉพาะกรณี ที่ ลู ก จ้ า งมี สิ ท ธิ ใ น กองทุ น เงิ น ทดแทนเเล้ ว เเต่ มี เ หตุ 2 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

จ�ำเป็นบางประการท�ำให้ตอ้ งเดินทางจากออกจากประเทศไทย เช่นนี้ รัฐไทยอาจต้องมีการพัฒนาระบบการเข้าถึงกองทุนเงิน ทดแทนขนานใหญ่เพือ่ มิให้ขอ้ จ�ำกัดในการติดต่อระหว่างรัฐมา ตัดสิทธิของแรงงานข้ามชาติ จากข้ อ สั ง เกตข้ า งต้ น สะท้ อ นให้ เ ห็ น ความท้ า ทาย ในอีกครั้งของความพยายามในการบริหารจัดการของรัฐไทย ซึ่งเเน่นอนว่าการลบข้อจ�ำกัดของกฎหมายออกนั้นเป็นการ เริ่ ม ต้ น ที่ มี ค วามหมายเเละก่ อ ให้ เ กิ ด ความหวั ง แก่ ลู ก จ้ า ง นับเเสนราย อย่างไรก็ตามหากรัฐไทยสามารถลดปัญหาในทาง ปฏิบัติที่รับทราบเเล้วว่าอาจเกิดขึ้นได้ย่อมเป็นการเปิดโอกาส ในการเข้าถึงกองทุนเงินทดแทนให้แก่ลูกจ้างอย่างเเท้จริง


วิเคราะห์นโยบายการจดทะเบียนแรงงาน ณ ศูนย์บริการเบ็ดเสร็จ (ONE STOP SERVICE) ปภพ เสียมหาญ1

ศู

นย์บริการจดทะเบียนแรงงานต่างด้าวแบบเบ็ดเสร็จ (ONE STOP SERVICE) (ต่อไปเรียก “ศูนย์บริการ”) ถูกตั้งขึ้นตามประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ฉบับที่ 70 ลงวันที่ 25 มิถุนายน 2557 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเป็นมาตรการชั่วคราวในการแก้ไขปัญหาแรงงานต่างด้าว และการค้ามนุษย์ นำ�ไปสูก่ ารจัดระเบียบแรงงานต่างด้าวภายใน ประเทศและเป็นการสร้างมาตรฐานให้สอดคล้องกับมาตรฐาน สากล เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนให้แก่ผู้ประกอบการหรือ นายจ้าง ที่ประกอบกิจการบางประเภท เช่น กิจการประมงซึ่ง มีความต้องการแรงงานจำ�นวนมาก และเพื่อขจัดการแสวงหา ประโยชน์โดยมิชอบจากแรงงานต่างด้าว อันเป็นสาเหตุให้เกิด ปัญหาการค้ามนุษย์

ปัจจุบันศูนย์บริการเปิดให้บริการมาเป็นระยะเวลากว่า 3 เดือน (ตั้งแต่ 26 มิถุนายน 2557 ถึง 5 ตุลาคม 2557) มีแรงงานต่างด้าวเข้าจดทะเบียนจ�ำนวน 1,261,161 คน ซึ่งถือว่าประสบความส�ำเร็จในด้านจ�ำนวนผู้จดทะเบียนและ การให้ความร่วมมือ แต่อย่างไรก็ตามตลอดระยะเวลาทีผ่ า่ นมา ศูนย์บริการ ได้เผยให้เห็นถึงข้อจ�ำกัดของการท�ำงาน ทัง้ ในด้าน นโยบายและการปฏิบัติงาน ดังนี้ 1. ข้อจ�ำกัดด้านระยะเวลาและระบบการตรวจสอบ เนือ่ งจากศูนย์บริการมีเป้าหมายในการด�ำเนินการเพือ่ เร่งจัดท�ำ ทะเบียนแรงงานต่างด้าวให้ถูกกฎหมาย ดังนั้นกลุ่มแรงงาน ต่างด้าวที่เข้ารับบริการจึงประกอบด้วยกลุ่มแรงงานต่างด้าว 1 ปภพ

หลายประเภทเเละมีจ�ำนวนมากภายใต้ระยะเวลาที่จ�ำกัดตาม ประกาศจากคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ท� ำ ให้ การจดทะเบียนขาดการตรวจสอบข้อมูลทีถ่ กู ต้องเเละเกิดปัญหา ความลักลั่นของสถานะเเรงงานต่างด้าว มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษย ชนเเละการพัฒนาพบกลุม่ แรงงานต่างด้าวบางกลุม่ ทีเ่ ข้ามาใน ประเทศไทยผ่านการน�ำเข้าตามบันทึกข้อตกลงระหว่างประเทศไทย กับประเทศเพื่อนบ้าง หรือที่เรียกว่าแรงงานในระบบ MOU เข้ามาจดทะเบียน ณ ศูนย์บริการด้วย ซึ่งท�ำให้แรงงานกลุ่ม ดังกล่าวเป็นบุคคลที่มี 2 สถานะ นอกจากนี้ยังพบการใช้ กระบวนการนายหน้าน�ำพาแรงงานต่างด้าวมาจดทะเบียน และยังมีกลุ่มแรงงานต่างด้าวบางส่วนที่มีอายุต�่ำกว่า 15 ปี มาจดทะเบียนโดยอ้างว่ามีอายุเกินกว่า 18 ปีเพื่อให้สามารถ ออกใบอนุญาตท�ำงานได้ ดังนัน้ ข้อจ�ำกัดในแนวทางด�ำเนินการ ที่เป็นไปอย่างไร้การตรวจสอบจึงยังถือว่าเป็นปัญหาส�ำคัญ ในการจัดระเบียบแรงงานต่างด้าวของศูนย์บริการ 2. ความไม่ชัดเจนเรื่องทิศทางการด�ำเนินงานในระยะ ยาว กล่าวคือ นโยบายของศูนย์บริการเป็นเพียงการออกใบ อนุญาตท�ำงานประเภทชั่วคราวเท่านั้น (ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2558) ซึง่ หากต้องการทีจ่ ะได้รบั อนุญาตให้อยูใ่ นราชอาณาจักร ตามพระราชบัญญัตคิ นเข้าเมือง พ.ศ.2522 และได้รบั อนุญาต ท�ำงานตามพระราชบัญญัติการท�ำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2551 จะต้องเข้าสู่กระบวนการพิสูจน์สัญชาติจากประเทศ ต้นทาง โดยในขณะนี้ยังไม่มีความชัดเจนเท่าที่ควรในประเด็น ความร่วมมือในการพิสูจน์สัญชาติของกลุ่มแรงงานต่างด้าวที่ เข้ารับการบริการ ล่าสุดคณะรัฐมนตรีได้มีมติ เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2557 เรื่อง การด�ำเนินการตรวจสัญชาติแรงงาน ต่างด้าวสัญชาติเมียนมา ลาว และกัมพูชา โดยมีมติเพียงแค่ มอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องก�ำกับดูแลกระบวนการ พิสูจน์สัญชาติ และให้แรงงานประมงที่ได้รับอนุญาต ตามมติ คณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2556 เข้าสู่กระบวนการ พิสูจน์สัญชาติเช่นกัน โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ก. แนวทางการตรวจสัญชาติแรงงานต่างด้าวสัญชาติ เมียนมา ลาว และกัมพูชาที่ได้รับอนุญาตท�ำงานชั่วคราวจาก ศูนย์บริการจดทะเบียนแรงงานต่างด้าวแบบเบ็ดเสร็จ (One

เสียมหาญ เจ้าหน้าที่โครงการต่อต้านการค้ามนุษย์ในแรงงาน มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา NEWSLETTERS Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 3


Stop Service) และมอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการต่างประเทศ ส�ำนักงานตรวจ คนเข้ า เมื อ ง กระทรวงแรงงาน (กรมการจั ด หางานและ ส�ำนักงานประกันสังคม) กระทรวงสาธารณสุข ส�ำนักงาน ต�ำรวจแห่งชาติและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ด�ำเนินการในส่วนที่ เกี่ยวข้องต่อไป ทั้งนี้ ให้หน่วยงานต่าง ๆ ด�ำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้อง ได้ทนั ทีนบั แต่วนั ทีค่ ณะรัฐมนตรีมมี ติเห็นชอบ โดยให้เริม่ ด�ำเนินการ ตรวจสัญชาติแรงงานต่างด้าวโดยเร็วและให้สนิ้ สุดการด�ำเนินการ ในวันที่ 31 มีนาคม 2558 ข. ให้แรงงานต่างด้าวทีไ่ ด้รบั อนุญาตท�ำงานในกิจกรรม การประมง ตามมติคณะรัฐมนตรี (6 สิงหาคม 2556) ทีเ่ ห็นชอบ ให้มกี ารจดทะเบียนปีละ 2 ครัง้ โดยในครัง้ แรก (สิน้ สุดการผ่อนผัน ในวันที่ 24 กันยายน 2557) ให้ไปด�ำเนินการจดทะเบียนแรงงาน

ต่างด้าว ณ ศูนย์บริการจดทะเบียนแรงงานต่างด้าวแบบเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) และเข้าสูก่ ระบวนการตรวจสัญชาติตอ่ ไป ส่วนครั้งที่สอง (สิ้นสุดการผ่อนผันวันที่ 2 มีนาคม 2558) ให้เข้าสู่กระบวนการตรวจสัญชาติตามมาตรการนี้ด้วย ดังนัน้ แม้วา่ การจัดตัง้ ศูนย์บริการจะช่วยลดขัน้ ตอนการ จดทะเบียนภายในประเทศแต่อาจประสบปัญหาการประสาน งานทีล่ า่ ช้าจากประเทศต้นทางทีเ่ เรงงานต่างด้าวต้องเข้ารับการ พิสจู น์สญ ั ชาติได้ประกอบกับการท�ำงานของศูนย์บริการมีระยะ เวลาทีจ่ ำ� กัด หากไม่สามารถด�ำเนินกระบวนการพิสจู น์สญ ั ชาติ ได้ภายในวันที่31มีนาคม2558หรือไม่มีเเนวทางใดออกมา แก้ ไ ขปั ญ หาดั ง กล่ า วก็ จ ะส่ ง ผลต่ อ สิ ท ธิ ใ นการอยู ่ ใ นราช อาณาจักรเป็นการชั่วคราวของเเรงงานต่างด้าวตามพระราช บัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ. 2522 3. ข้อจ�ำกัดด้านการบูรณาการภาระงานระหว่างหน่วย งานทีร่ บั ผิดชอบ เนือ่ งจากกระบวนการจดทะเบียนภายในศูนย์ 2

บริการมีหลายขัน้ ตอนจึงต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างหน่วย งานราชการหลายหน่วย เเละหน่วยงานเหล่านี้ต้องปฏิบัติงาน ภายใต้คณะกรรมการนโยบายการจัดการปัญหาแรงงานต่างด้าว (กนร.) และคณะอนุ ก รรมการประสานงานจั ด การปั ญ หา แรงงานต่างด้าว (อกนร.) ซึ่งจัดตั้งขึ้นตามค�ำสั่งของคณะรักษา ความสงบแห่งชาติ (คสช.) เเละหากมีการบังคับใช้พระราช บั ญ ญั ติ ก ารบริ ห ารจั ด การและคุ ้ ม ครองการท� ำ งานของคน ต่างด้าว พ.ศ. ......2 จะท�ำให้คณะกรรมการทั้ง 2 กลุ่มถูกจัดตั้ง ขึ้นอย่างถาวร ตามพระราชบัญญัติดังกล่าวอาจท�ำให้แนวทาง การด�ำเนินงานของศูนย์บริการเปลี่ยนแปลงไปในลักษณะการ จัดการเเรงงานต่างด้าวอย่างเบ็ดเสร็จภายใต้การด�ำเนินงานของ กนร. เเละ อกนร. นอกจากนี้การท�ำงานของศูนย์บริการมีระยะเวลาที่ จ�ำกัด หากไม่สามารถด�ำเนินกระบวนการพิสูจน์สัญชาติได้ ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2558 หรือไม่มีเเนวทางใดออกมา แก้ ไ ขปั ญ หาดั ง กล่ า วก็ จ ะส่ ง ผลต่ อ สิ ท ธิ ใ นการอยู ่ ใ นราช อาณาจักรเป็นการชั่วคราวของเเรงงานต่างด้าวตามพระราช บัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ. 2522 4. ข้อจ�ำกัดในการเข้าถึงข้อมูลและสิทธิตามกฎหมาย แรงงานและสิทธิอื่นๆ เนื่องจากจ�ำนวนแรงงานต่างด้าวที่ขึ้น ทะเบียนกับศูนย์บริการมีจ�ำนวนมากประกอบกับจ�ำนวนเจ้า หน้าในศูนย์บริการสามารถปฏิบัติได้อย่างจ�ำกัดท�ำให้ขาดการ ประชาสัมพันธ์เรื่องการเข้าถึงสิทธิตามกฎหมายในด้านต่างๆ จากการสั ง เกตในหลายศู น ย์ บ ริ ก ารมู ล นิ ธิ เ พื่ อ สิ ท ธิ ม นุ ษ ย ชนเเละการพัฒนาพบว่ามีเพียงเจ้าหน้าทีเ่ พียง 1–2 คน ในจุด บริการอธิบายสิทธิแรงงานอีกทัง้ เเรงงานต่างด้าวส่วนใหญ่มไิ ด้ เป็น ผู้รับทราบข้อมูลจากเจ้าหน้าที่ในจุดนี้โดยตรง เเต่จะรับ ทราบผ่านการถ่ายทอดของนายจ้างหรือตัวแทนของนายจ้าง ทีม่ ารับบริการ ณ จุดบริการดังกล่าว เเม้วา่ เเท้จริงเเล้วลักษณะ การจ้างงานที่จะท�ำให้เกิดความสัมพันธ์ในฐานะลูกจ้างเเละ นายจ้างอันส่งผลให้ลกู จ้างมีสทิ ธิในตามกฎหมายเเรงงานจะ สามารถเกิดขึน้ โดยพฤติการณ์เเละกฎหมายเเรงงานก็รองรับ สิทธิดังกล่าวก็ตามเเต่การที่แรงงานต่างด้าวมาขึ้นทะเบียนที่ ศูนย์บริการจะท�ำให้เเรงงานต่างด้าวได้รับการรับรองสิทธิใน ฐานะลูกจ้างตามกฎหมายเเรงงานอย่างเป็นทางการเเละอยู่ ภายใต้การรับทราบของรัฐไทยเเละนายจ้างหากเกิดข้อติดขัดดัง กล่าวย่อมท�ำให้เเรงงานต่างด้าวไม่สามารถรับรู้สิทธิ การใช้สิ ทธิเเละการเข้าถึงสิทธิตามกฎหมายเเรงงานเเละสิทธิอื่นๆ ได้ อย่างถูกต้อง เเละย่อมไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการจัด ตั้งศูนย์บริการอย่างเเเน่นอน

เสนอโดย คณะอนุกรรมการประสานงานการจัดการปัญหาแรงงานต่างด้าว และข้อเสนอแนะจากกระทรวงสาธารสุข ตามหนังสือด่วนที่สุด สธ.0228.05.4 ลงวันที่ 22 สิงหาคม 2557 4 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


ข้อสังเกตต่อวัตถุประสงค์ ในการแก้ไขปัญหาแรงงานต่างด้าว โดยศูนย์บริการจดทะเบียน แรงงานต่างด้าวแบบเบ็ดเสร็จ (ONE STOP SERVICE)

แต่ปรากฏตามข้อมูลของศูนย์บริการที่เปิดให้บริการมา เป็นระยะเวลา 3 เดือนเศษ (ตั้งแต่ 26 มิถุนายน 2557 ถึง 5 ตุลาคม 2557) มีแรงงานต่างด้าวเข้าจดทะเบียนจ�ำนวน 1,261,161 คน แต่จ�ำนวนแรงงานต่างด้าวที่ประสงค์จะ จดทะเบียนเพื่อท�ำงานภาคกิจการประมงทะเลนั้นยังมีจ�ำนวน เพียง 32,112 คนเท่านัน้ (ข้อมูลถึงวันที่ 18 สิงหาคม 2557) เทียบกับความต้องการจ�ำนวนแรงงานกว่า 200,000 คน 1. การแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ ย่อมเห็นถึงความแตกต่างได้ชัด การจดทะเบียนแรงงานเป็นการยืนยันถึงการจ้างงาน จึงอาจกล่าวได้วา่ “ศูนย์บริการ” ยังไม่ประสบความส�ำเร็จ ที่ถูกต้องตามกฎหมาย การยืนยันในข้อมูลต่างๆ ของลูกจ้าง ในเชิงการเพิ่มจ�ำนวนแรงงานในภาคกิจการประมงทะเลตาม ทั้งชื่อสกุลและที่อยู่โดยกระบวนการพิสูจน์สัญชาติในประเทศ เหตุผลที่กล่าวมาข้างต้น ต้นทางเเละยังเป็นสามารถตรวจสอบข้อมูลของนายจ้างได้หาก 2. การแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิแรงงาน เกิ ด กรณี ที่ ลู ก จ้ า งการถู ก หลอกหรื อ ถู ก บั ง คั บ ให้ ม าท� ำ งาน การละเมิดสิทธิแรงงานมักเกิดขึน้ ในกลุม่ เเรงงานต่างด้าว (อันมีลักษณะเป็นการจ้างงานที่ไม่ชอบหรือบังคับใช้เเรงงาน) แต่อย่างไรก็ตามหากการจดทะเบียนแรงงานขาดความละเอียด ที่เข้ามาเเละอยู่ในราชอาณาจักรไทยโดยผิดกฎหมายส่งผล ในการตรวจสอบให้แน่ชดั ว่าเป็นข้อมูลจริงหรือไม่การจดทะเบียน ให้แรงงานต่างด้าวขาดอ�ำนาจในการต่อรองไม่สามารถร้องเรียน แรงงานมีขนึ้ เพือ่ เพียงแค่ยนื ยันความสุจริตของนายจ้างในขณะที่ เพื่อให้สามารถรับการคุ้มครองจากหน่วยงานของรัฐได้เเม้ว่า โดยสถานะของเเรงงานต่างด้าวจะมีสิทธิในฐานะลูกจ้างตาม จดทะเบียนแรงงานเท่านั้น นอกจากนี้ปัญหาการค้ามนุษย์ก็ไม่สามารถที่จะแก้ไข กฎหมายเเรงงานก็ตาม ดังนัน้ ภายหลังทีม่ กี ารจดทะเบียนก็จะท�ำให้สถานะของ ได้โดยวิธีการจัดท�ำทะเบียนแรงงานต่างด้าวเพียงวิธีการเดียว เนื่องจากการแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ต้องประกอบไปด้วย เเรงงานต่างด้าวถูกต้องตามกฎหมาย อาจเป็นการเพิ่มความ ปัจจัยหลายประการในลักษณะการใช้ทงั้ มาตรการป้องกันเเละ สามารถในการต่อรองกับนายจ้าง สามารถร่วมกลุม่ อย่างไม่เป็น ปราบปราม เช่น การจัดท�ำทะเบียนเรือ การตรวจคนออกนอกท่า ทางการเพือ่ ร้องเรียนต่อองค์กรภาคประชาสังคมได้ จึงอาจเป็น หนทางหนึ่งในการลดปัญหาการละเมิดสิทธิแรงงานได้ ดังนั้น จึงต้องใช้การประสานงานจากหลายภาคส่วน 3. ค วามสอดคล้อ งกั บ แนวทางจั ด การกิ จ การ เเละสืบเนื่องมาจากกรณีดังกล่าวมูลนิธิฯ พบว่า ยังมี กระบวนการนายหน้าเข้ามาพัวพันกับการน�ำเเรงงานต่างด้าว ประมงทะเลตามกฎหมายและนโยบาย กิจการประมงยังประสบปัญหาขาดแคลนแรงงานอัน มาจดทะเบียนทีศ่ นู ย์บริการ ซึง่ เป็นทีท่ ราบกันดีวา่ กระบวนการ นายหน้ามิใช่บุคคลหรือองค์กรที่ได้รับรองการปฏิบัติงานอย่าง เนือ่ งมาจากเป็นงาน ประเภท 3D อันได้แก่ งานสกปรก (Dirty) ถูกกฎหมาย การปฏิบัติงานของนายหน้ามักเป็นการท�ำหน้าที่ งานเสี่ยง (Dangerous) และงานยากล�ำบาก (Difficult) และ เเทนนายจ้างในการจัดหาลูกจ้าง อันเป็นการตัดตอนความสัมพันธ์ ขั้นตอนการจดทะเบียนแรงงานตามในระบบปกติยังมีขั้นตอน ระหว่างนายจ้างเเละลูกจ้าง เเละเปิดช่องว่างให้นายหน้าบางกลุม่ ที่ยุ่งยากและมีค่าใช้จ่ายสูงไม่สอดคล้องกับสภาพการจ้างงาน ของกิจการประมงทะเลดังนัน้ การจัดตัง้ ศูนย์บริการจึงสอดคล้อง เรียกรับผลประโยชน์จากทั้งฝ่ายนายจ้างเเละลูกจ้างอีกด้วย ประกอบกับข้อมูลสถานการณ์การค้ามนุษย์ทปี่ รากฏใน กับนโยบายการแก้ปัญหาขั้นตอนการจ้างงานให้มีระยะเวลา ประเทศไทยพบว่ากลุ่มเสี่ยงของแรงงานที่จะตกเป็นผู้เสียหาย สัน้ ลง (30–45 นาทีตอ่ คน) เพือ่ ช่วยลดปัญหาขัน้ ตอนทีย่ งุ่ ยาก จากการค้ามนุษย์นั้นคือกลุ่มแรงงานในกิจการประมงทะเล และลดค่าใช้จ่ายในการจดทะเบียนในแต่ละครั้ง กล่าวโดยสรุป การที่รัฐไทยเปิดศูนย์บริการเบ็ดเสร็จ ข้อมูลจากการศึกษาและงานวิจัยหลายฉบับชี้ให้เห็นว่ากิจการ ประมงทะเลในประเทศไทยยังต้องการแรงงานกลุ่มนี้อีกเป็น (ONE STOP SERVICE) ถือเป็นการวางทิศทางที่สอดคล้อง จ�ำนวนมาก (ประมาณ 200,000 คน)3 และวัตถุประสงค์หนึง่ กับหลักการคุ้มครองสิทธิของเเรงงานหลายประการ ที่ส�ำคัญ ของการจัดตั้งศูนย์บริการคือการพยายามเพิ่มจ�ำนวนแรงงาน คือ การใช้มาตรการผ่อนปรนให้เเรงงานต่างด้าวที่เข้ามาเเละ อยู่ในราชอาณาจักรไทยโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายกลายเป็น ในกิจการดังกล่าวด้วย 3 มีการประมาณการความต้องการแรงงานจ�ำแนกตามหมวดอาชีพผูป ้ ฏิบตั งิ านด้านการประมงชายฝัง่ ทะเลและการประมงนอกน่านน�ำ้ ในปี ๒๕๕๗ เป็นจ�ำนวน

283,557 (จ�ำนวนนี้รวมประมงน�้ำจืด) ; โปรดดู รายงานการศึกษาแนวโน้มความต้องการแรงงานในช่วงปี ๒๕๕๓-๒๕๕๗ http://human.aru.ac.th/www/ images/stories/Font_Goverment/7.pdf NEWSLETTERS Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 5


เเรงงานต่างด้าวที่อยู่ในราชอาณาจักรไทยโดยชอบด้วยกฎหมายย่อมท�ำให้ รัฐไทยทราบจ�ำนวนเเรงงานต่างด้าวทีเ่ เท้จริงทีอ่ ยูใ่ นประเทศไทย อันเป็นข้อมูล พื้นฐานในการวางยุทธศาสตร์การจัดการเเรงงานต่างด้าวต่อไป เเละเป็น การเเสดงออกถึงนัยยะที่ส�ำคัญของแรงงานต่างด้าวที่กลายมาเป็นก�ำลังหลัก ในการพัฒนาเศรษฐกิจระดับฐานล่างของประเทศไทยเมื่อความต้องการ เเรงงานต่างด้าวมีเป็นจ�ำนวนมากการจัดการเเรงงานต่างด้าวกลุ่มนี้ย่อมต้อง ได้รับการจัดการอย่างถูกวิธีผ่านการพิจารณาที่รอบคอบชอบด้วยกฎหมาย เเละมีหน่วยงานเจ้าภาพรับผิดชอบอย่างชัดเจน เเละรัฐไทยพึงต้องตระหนัก ว่าการแก้ปญ ั หาเเรงงานข้ามชาติจะเป็นประเด็นทีท่ า้ ทายต่อหลักกฎหมายเเละ หลักการด้านสิทธิมนุษยชน ดังนั้น การเปิดโอกาสให้มีการรับฟังเเลกเปลี่ยน ความเห็นจากทุกภาคส่วน ย่อมท�ำให้การจัดการปัญหาเป็นไปอย่างรอบด้าน มากยิ่งขึ้น

สถานการณ์ด้านคดี ที่น่าสนใจ

ศาลปกครองสูงสุด นั่งพิ จารณาครั้งแรก ในคดีแรงงาน ข้ามชาติฟ้องส�ำนักงานประกันสังคม กรณีการแนวปฏิบัติด้าน การคุ้มครองแรงงานข้ามชาติที่ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย จากการท�ำงาน ที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายและเลือกปฏิบัติ

ตามทีม่ ลู นิธเิ พือ่ สิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ได้ดำ� เนินการ ให้ความช่วยเหลือทางกฎหมาย กรณีนายโจ แรงงานข้ามชาติ ชาวพม่า และพวก เป็นโจทก์ยื่นฟ้อง ส�ำนักงานประกันสังคม เมือ่ วันที่ 28 มกราคม 2553 กรณีการออกแนวปฏิบตั เิ กีย่ วกับ การให้ความคุ้มครองแรงงานข้ามชาติที่ประสบอันตรายหรือ เจ็บป่วยจากการท�ำงาน ตามหนังสือที่ รส.0711/ว 751 ลงวั น ที่ 25 ตุ ล าคม 2544 ซึ่ ง ออกโดยมติ ที่ ป ระชุ ม ของ คณะกรรมการกองทุนเงินทดแทน ครั้งที่ 20/2544 เมื่อวันที่ 7 กันยายน 2544 เนือ่ งจากเห็นว่า พระราชบัญญัตเิ งินทดแทน พ.ศ. 2537 จะมีผลบังคับใช้ครอบคลุมถึงลูกจ้างทีเ่ ป็นแรงงาน ข้ามชาติผเู้ ข้ามาท�ำงานในประเทศไทย หากปรากฎหลักฐานว่า เเรงงานข้ามชาตินั้น 1. มีการจดทะเบียนและมีใบอนุญาตให้ท�ำงานที่ทาง ราชการออกให้ 2. นายจ้างจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนเงินทดแทนใน อัตราไม่ต�่ำกว่าค่าจ้างขั้นต�่ำ 3. ลูกจ้างที่ยื่นขึ้นทะเบียนต้องยื่นแบบเสียภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดาให้กับประเทศไทย หากลูกจ้างทีเ่ ป็นเเรงงานข้ามชาติไม่มหี ลักฐานดังกล่าว ข้างต้น นายจ้างจะต้องเป็นผูร้ บั ผิดชอบค่าจ่าย ตามพระราชบัญญัติ เงินทดแทน พ.ศ. 2537เอง 6 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

ต่อมา ส�ำนักงานประกันสังคม ได้น�ำมติคณะกรรมการ กองทุนเงินทดแทน ครั้งที่ 23/2544 ลงวันที่ 12 ตุลาคม 2544 ก�ำหนดให้การขึ้นทะเบียนประกันสังคมของแรงงาน ข้ามชาติจะต้องมีหลักฐานประกอบการขึ้นทะเบียนดังนี้ 1. ใบอนุญาตท�ำงาน และหนังสือเดินทาง หรือมี 2. ใบอนุญาตท�ำงาน และใบส�ำคัญประจ�ำตัวคนต่างด้าว ผู้ฟ้องคดี ซึ่งเป็นแรงงานข้ามชาติ เห็นว่า แนวปฏิบัติ ดังกล่าวไม่ชอบด้วยกฎหมายโดยเห็นว่าเป็นการก�ำหนดหลักเกณฑ์ ที่เป็นการเลือกปฏิบัติเพราะเหตุในด้านเชื้อชาติ ต่อเเรงงาน ข้ามชาติอันเป็นประธานแห่งสิทธิตามตามพระราชบัญญัติเงิน ทดแทน พ.ศ. 2537 ขัดต่อบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน อนุสญ ั ญา ว่ า ด้ ว ยการขจั ด การเลื อ กปฎิ บั ติ ท างเชื้ อ ชาติ ใ นทุ ก รู ป แบบ อนุสญ ั ญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ และขัดต่อปฏิญญา สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เรือ่ ง การปกป้อง และส่งเสริมสิทธิของแรงงานข้ามชาติ และอนุสัญญาว่าด้วย การปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกัน (เรื่องกองทุนเงินทดแทนกรณี อุบัติเหตุ) พ.ศ. 2468 (ฉบับที่ 19) นอกจากนี้การที่ส�ำนักงาน ประกันสังคมไม่ด�ำเนินการให้นายจ้างขึ้นทะเบียนเพื่อจ่ายเงิน สมทบให้แก่กองทุนเงินทดแทนส�ำหรับแรงงานข้ามชาติ ย่อม เป็นการละเลยต่อหน้าที่ตามกฎหมายที่ก�ำหนดให้ต้องปฏิบัติ


ดังนั้น การก�ำหนดแนวปฏิบัติดังกล่าวย่อมก่อให้เกิดความ เสียหายในการเข้าถึงเงินทดแทนได้กรณีทปี่ ระสบอันตรายหรือ เจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงาน ต่อมาวันที่ 17 กรกฎาคม 2557 ศาลปกครองสูงสุด นัดพิจารณาคดีครั้งแรก โดยมูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนเเละ การพัฒนาสรุปความเห็นของตุลาการผูแ้ ถลงคดีสรุปความเห็น4 ได้ดังนี้ 1. แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการให้ความคุ้มครองแรงงาน ข้ามชาติทปี่ ระสบอันตรายหรือเจ็บป่วยจากการท�ำงาน ตามหนังสือ ที่ รส.0711/ว 751 ลงวันที่ 25 ตุลาคม 2544 ของส�ำนักงาน ประกันสังคม ทีไ่ ด้กำ� หนดคุณสมบัตขิ องลูกจ้างในการเข้าถึงเงิน ทดแทน เป็นการก�ำหนดกฎเกณฑ์ขึ้นใหม่ จึงมีสภาพเป็นกฎ5 ตามมาตรา 3 ของพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและ วิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 2. เมื่อพิจารณาถึงพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 แล้ว มีความมุ่งคุ้มครองลูกจ้างที่ประสบอันตรายหรือ เจ็บป่วยจากการท�ำงาน ไม่วา่ ลูกจ้างจะมีสญ ั ชาติไทยหรือต่างด้าว 3. มาตรา 6 แห่ ง เมื่ อ พิ จ ารณาถึ ง พระราชบั ญ ญั ติ เงินทดแทน พ.ศ. 2537 บัญญัติให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวง แรงงาน รักษาการตามพระราชบัญญัติฉบับนี้ และมีอ�ำนาจ ในการออกกฎกระทรวง ระเบียบและประกาศเพื่อปฏิบัติตาม พระราชบัญญัตินี้ 4. มาตรา 32 แห่งพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 บัญญัติอ�ำนาจของคณะกรรมการกองทุนเงินทดแทน ในการพิจารณาให้ความเห็นและเสนอต่อรัฐมนตรี 5. เมื่อพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 ได้ บัญญัตอิ ำ� นาจในการออกกฎ ให้บรรลุเจตนารมณ์ตามพระราช บัญญัตเิ ป็นอ�ำนาจของรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงแรงงาน ดังนัน้ อ� ำ นาจของคณะกรรมการกองทุ น เงิ น ทดแทน เป็ น เพี ย ง การท�ำความเห็นและข้อเสนอแนะเท่านั้น 6. เเม้คณะกรรมการกองทุนเงินทดแทนจะสามารถ ออกแนวปฏิบัติดังกล่าวให้เจ้าหน้าที่ของรัฐมาบังคับใช้เพื่อ ความมุ่งหมายไม่ให้นายจ้างน�ำแรงงานข้ามชาติเข้ามาโดย ไม่ชอบด้วยกฎหมายและสามารถได้ประโยชน์จากกองทุนเงิน ทดแทนเช่นเดียวกับเเรงงงานอื่นก็ตามแต่เเนวปฏิบัติดังกล่าว

มีลักษณะเป็น “กฎ” ก็มิได้ออกโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวง เเรงงานโดยอาศั ย อ� ำ นาจตามพระราชบั ญ ญั ติ เ งิ น ทดแทน พ.ศ. 2537 แต่อย่างใด ดังนัน้ การทีส่ ำ� นักงานประกันสังคม ผูถ้ กู ฟ้องคดีนำ� มติ ของคณะกรรมการกองทุนเงินทดแทนมาแจ้งให้หน่วยงาน รับผิดชอบถือปฏิบตั ิ ตามแนวปฏิบตั เิ กีย่ วกับการให้ความคุม้ ครอง แรงงานข้ามชาติทปี่ ระสบอันตรายหรือเจ็บป่วยจากการท�ำงาน ตามหนังสือที่ รส.0711/ว 751 ลงวันที่ 25 ตุลาคม 2544 จึงเป็นการกระท�ำโดยปราศจากอ�ำนาจโดยกรณีดังกล่าวนี้ เป็นปัญหาทีเ่ กีย่ วข้องกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน เเละ ตุลาการผู้เเถลงคดีเห็นว่าควรกลับค�ำพิพากษาของศาลชั้นต้น เเละเห็นควรเพิกถอนแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการให้ความคุ้มครอง แรงงานข้ามชาติทปี่ ระสบอันตรายหรือเจ็บป่วยจากการท�ำงาน ตามหนังสือที่ รส.0711/ว 751 ลงวันที่ 25 ตุลาคม 2544 ส่วนประเด็นที่ผู้ฟ้องคดีขอให้ส�ำนักงานประกันสังคม แจ้งให้นายจ้างที่มีแรงงานข้ามชาติยื่นแบบจ่ายเงินสมทบนั้น เป็นค�ำขอที่ศาลไม่อาจบังคับได้

ศาลจังหวัดแม่สอด ลงโทษจ�ำคุก จ�ำเลย ในคดีความผิดทางเพศ เนื่องจากคลินิกกฎหมายแรงงาน ได้ให้ความช่วยเหลือ แก่ผเู้ สียหายทีเ่ ป็นแรงงานข้ามชาติหญิง ซึง่ ร้องเรียนมายังคลินกิ กฎหมายเเรงงานว่าเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2557 ผู้เสียหาย ถูกนายนก ไม่มีนามสกุล ก่อเหตุข่มขืนกระท�ำช�ำเรา โดยการ หลอกให้ดมื่ นมในแก้วซึง่ นายนกได้ใส่ยานอนหลับผสมไว้ ท�ำให้ ผู้เสียหายมีอาการง่วง และไม่มีแรงที่จะขัดขืนหรือหลบหนี คลินกิ ฎหมายแรงงานจึงได้นำ� ผูเ้ สียหาย เข้าร้องทุกข์กบั พนักงานสอบสวน สถานีต�ำรวจภูธรแม่สอด จังหวัดตากเพื่อ ด�ำเนินคดีอาญากับนายนกฐานข่มขืนกระท�ำช�ำเราตามมาตรา 276ประมวลกฎหมายอาญา และพนักงานอัยการได้ยื่นฟ้อง นายนกต่อศาลจังหวัดแม่สอดในความผิดฐานดังกล่าว ต่อมาวันที่ 17 กรกฎาคม 2557 ศาลจังหวัดแม่สอด มีค�ำพิพากษาจ�ำคุกนายนก เป็นเวลา 1 ปี 4 เดือน

4 การพิจารณาพิพากษาคดีในศาลปกครอง ถือหลักถ่วงดุลการใช้อ�ำนาจระหว่างตุลาการ โดยก�ำหนดให้มีตุลาการเจ้าของส�ำนวนคนหนึ่งซึ่งแต่งตั้งจากตุลาการ

ในองค์คณะที่พิจารณาพิพากษาคดีนั้นเป็นผู้ด�ำเนินการแสวงหาและรวบรวมข้อเท็จจริง และมีตุลาการอีกคนหนึ่งซึ่งไม่ได้อยู่ในองค์คณะ เรียก "ตุลาการผู้แถลง คดี" เป็นผู้ท�ำหน้าที่ตรวจสอบ และถ่วงดุลการท�ำหน้าที่ของตุลาการเจ้าของส�ำนวนและองค์คณะ 5 “กฎ" หมายความว่า พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ข้อบัญญัติท้องถิ่น ระเบียบ ข้อบังคับ หรือบัญญัติอื่นที่มีผลบังคับเป็นการทั่วไป โดยไม่มุ่งหมายใช้บังคับแก่กรณีใดหรือบุคคลใดเป็นการเฉพาะ NEWSLETTERS Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 7


ส�ำนักงานต�ำรวจตรวจคนเข้าเมืองพื้ นที่อ�ำเภอแม่สอดและพื้ นที่เมียวดี ประเทศพม่า ร่วมกันติดตาม หาผู้กระท�ำผิดเกี่ยวกับการปลอมแปลงเอกสาร หลังแรงงานข้ามชาติได้รับเอกสารการเดินทางปลอมจากนายหน้า คลินิกกฎหมายแรงงานได้ให้ความช่วยเหลือนางนินอิไล อายุ 25 ปี แรงงานข้ามชาติชาวพม่า กรณีถูกเจ้าหน้าที่ต�ำรวจตรวจคน เข้าเมือง ซึ่งปฏิบัติงานอยู่ในบริเวณสะพานมิตรภาพไทย–พม่า อ�ำเภอ แม่สอด จังหวัดตาก ควบคุมตัวไว้เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2557 โดย เจ้าหน้าที่ต�ำรวจตรวจคนเข้าเมืองได้แจ้งข้อหานางนินอิไล ว่ากระท�ำ ความผิดฐานปลอมแปลงเเละใช้หนังสือเดินทางปลอมตามประมวล กฎหมายอาญา นางนินอิไลได้ให้ข้อมูลว่า ตนได้ว่าจ้างนายหน้าชาวพม่าเพื่อ ช่วยด�ำเนินการต่ออายุหนังสือเดินทางช�ำระค่าใช้จ่ายให้แก่นายหน้า ดังกล่าวเป็นเงิน 3,000 บาท ใช้เวลาในการด�ำเนินการ 2 เดือน ต่อมา นายหน้าได้น�ำหนังสือเดินทางมอบให้แก่นางนินอิไล ที่ประเทศพม่า เมื่อนางนินอิไลใช้หนังสือเดินทางดังกล่าวเพื่อเข้ามายังประเทศไทย จึงถูกเจ้าหน้าต�ำรวจตรวจคนเข้าเมืองกักตัวไว้และแจ้งข้อหาดังกล่าว ในขณะนี้ คดีอยูใ่ นชัน้ สอบสวนเเละนางนินอิไลยังถูกควบคุมตัวในระหว่าง การสอบสวนอีกด้วย ตั ว แทนคลิ นิ ก กฎหมายแรงงาน ได้ ป ระสานกั บ ส� ำ นั ก งาน ภาพบรรยากาศ การประชุมร่วมกัน ระหว่าง ต�ำรวจตรวจคนเข้าเมือง เทศบาลนครแม่สอด เกี่ยวกับข้อเท็จจริงที่ คลินิกกฎหมายแรงงานแม่สอด ส�ำนักงาน เกิดขึ้น จากนั้นจึงได้มีการประชุมหารือร่วมกันเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล ตรวจคนเข้าเมืองอ�ำเภอแม่สอดและเมืองเมียวดี และหาแนวทางในการจับกุมตัวและด�ำเนินคดีต่อนายหน้าที่เกี่ยวข้อง กับการจัดท�ำเอกสารทางราชการปลอมให้กับแรงงานข้ามชาติ ในช่วง เจ้าหน้าทีจ่ ากส�ำนักงานต�ำรวจตรวจคนเข้าเมืองฝัง่ เมียวดี เดือนกันยายน 2557 โดยมีสำ� นักงานต�ำรวจตรวจคนเข้าเมืองฝัง่ เมียววดี ได้นำ� หลักฐาน หนังสือเดินทางปลอมอีก 8 เล่ม ทีส่ ามารถ ประเทศเมียนมาร์เข้าร่วมประชุมด้วย ทัง้ นีใ้ นระหว่างการประชุม ตัวแทน ยึดได้จากนายหน้ามาน�ำเสนอในที่ประชุมด้วย

ทายาทของแรงงานข้ามชาติที่เสียชีวิตจากอุบัติเหตุ ได้รับค่าสินไหมทดแทนจากบริษัทประกันภัย

ภาพบรรยากาศการรับเงินค่าสินไหม ทดแทนจากบริษัทประกันภัย

เนือ่ งด้วยเมือ่ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2557 นางสาวสิ่นหม่าเปียก ไม่มี นามสกุล แรงงานข้ามชาติ ชาวพม่า ประสบอุบัติจากการถูกรถชน และ ต่ อ มา วั น ที่ 24 เมษายน 2557 ได้เสียชีวิตลงที่โรงพยาบาลแม่สอด ในการนี้ ค ลิ นิ ก กฎหมายแรงงาน จึ ง ด� ำ เนิ น การช่ ว ยเหลื อ ทายาท ให้สามารถเข้าถึงเงินสินไหมทดแทน จากบริษัทวิริยะประกัน มหาชน จ�ำกัด ที่คู่กรณี ได้ท�ำประกันส�ำหรับรถยนต์ที่เกิดเหตุ เเละวันที่ 3 มิถุนายน 2557 นางเมี้ยะเมี้ยะวิน ไม่มีนามสกุล มารดาของผู้ตาย ได้รบั ค่าสินไหมทดแทนจากบริษทั ประกันภัย ทัง้ สิน้ 200,000 บาท ทัง้ นี้ จะต้องหักเป็น ค่ารักษาพยาบาลของผูต้ ายให้แก่โรงพยาบาล เป็นเงิน 50,000 บาท นอกจากนี้ ทางฝ่าย คู่กรณีได้จ่ายเงินช่วยเหลือมารดาผู้ตาย เป็นเงิน 30,000 บาทอีกด้วย

8 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


ศาลจังหวัดสงขลา สืบพยานล่วงหน้า ในคดีค้ามนุษย์ โดยการแสวงหา ประโยชน์โดยมิชอบประเภท การขูดรีดบุคคลจากการเรียกค่าไถ่ เจ้าหน้าที่โครงการต่อต้านการค้ามนุษย์ด้านแรงงาน และทนายความ ได้เข้าร่วมสังเกตการณ์ การสืบพยานก่อนฟ้อง นาย อ. (นามสมมุติ) ผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ และ นาย ม. (นามสมมุต)ิ ญาติของผูเ้ สียหาย เมือ่ วันที่ 30 กรกฎาคม 2557 เวลา 09.00 น. ณ ศาลจังหวัดสงขลา ซึง่ มีพนักงานอัยการเป็น โจทก์ยื่นฟ้องนายอนัส หะยีมะแซและพวกเป็นจ�ำเลย ในฐาน ความผิดค้ามนุษย์ โดยการแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบประเภท การอื่นใดที่คล้ายคลึงกันอันเป็นการขูดรีดบุคคลจากการเรียก ค่าไถ่ ตามพระราชบัญญัตปิ อ้ งกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 และฐานเรียกค่าไถ่ ความผิดเกี่ยวกับเสรีภาพ และหน่วงเหนี่ยวกักขัง ตามประมวลกฎหมายอาญา ในวันสืบพยานดังกล่าว มีเพียงญาติผู้เสียหายขึ้นเบิก ความเป็นพยาน สรุปว่า นาย ม. ได้รับการติดต่อจากญาติที่ ประเทศพม่า ให้ช่วยเหลือนาย อ. หลานชาย ผู้เสียหายในคดีนี้ จากกลุม่ ขบวนการนายหน้าโดยให้นำ� เงินจ�ำนวน 60,000 บาท มาแลกกับตัวของผู้เสียหาย สืบเนื่องจากผู้เสียหายได้ออก เดินทางจากรัฐยะไข่ประเทศพม่าเนื่องจากกลัวภัยประหัติหาร

ไปยังประเทศมาเลเซียผ่านขบวนการนายหน้า มีการตกลง จ่ายค่าเดินทางเมื่อไปถึงประเทศมาเลเซียเป็นที่เรียบร้อยแล้ว อย่ า งไรก็ ต ามเมื่ อ ผู ้ เ สี ย หายเดิ น ทางมากั บ กลุ ่ ม ขบวนการ นายหน้าแล้ว กลับถูกน�ำมากักไว้ในประเทศไทย และถูกกลุ่ม ขบวนการนายหน้าบังคับให้ผู้เสียหายโทรศัพท์แจ้งญาติและ ได้ทำ� การท�ำร้ายร่างกายผูเ้ สียหายขณะทีพ่ ดู คุยโทรศัพท์กบั ญาติ เพื่อให้ญาติยอมจ่ายเงินเพื่อแลกกับอิสรภาพของผู้เสียหาย ในคดีนี้ จากการช่วยเหลือขององค์กรภาคประชาสังคมและ เจ้าหน้าทีต่ ำ� รวจ พยานจึงตกลงพบกับกลุม่ ขบวนการนายหน้าที่ สถานีขนส่งอ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ซึ่งเมื่อนายอนัส หะยีมะแซ จ�ำเลยในคดีนี้ น�ำผู้เสียหายมาส่งตามก�ำหนด นัด ต�ำรวจจึงได้ท�ำการเข้าจับกุมและด�ำเนินคดี ภายหลังจากเสร็จสิ้นกระบวนการสืบพยานนาย ม.แล้ว ศาลจังหวัดสงขลาได้ก�ำหนดวันนัดสืบพยานฝ่ายโจทก์วันที่ 21–24 ตุลาคม และนัดสืบพยานฝ่ายจ�ำเลยวันที่ 30–31 ตุลาคม 2557

แรงงานข้ามชาติ จ�ำนวน 6 ราย ได้รับค่าจ้างค้างจ่าย จากนายจ้างเหมาค่าแรงภายหลังยื่นเรื่องร้องเรียน ที่ส�ำนักงานคุ้มครองแรงงานและสวัสดิการสังคม จังหวัดสมุทรปราการ โครงการยุตธิ รรมเพือ่ สิทธิแรงงานข้ามชาติ ประจ�ำ พื้นที่ต�ำบลมหาชัย ได้รับเรื่องร้องเรียนจากนาย Aung Tun Win และเพื่อนรวม 6 คน ลูกจ้างบริษัทอู่เรือ มารีน แอ็คมีไทย จ�ำกัด จังหวัดสมุทรปราการว่าตนเเละเพื่อน ไม่ได้รบั ค่าจ้างจากนายจ้างทีเ่ หมาช่วงการจ้างงานมาจาก บริษัทดังกล่าวต่อมา ลูกจ้างที่ประสบปัญหาดังกล่าว ได้ดำ� เนินการยืน่ เรือ่ งร้องเรียนต่อส�ำนักงานคุม้ ครองแรงงาน และสวัสดิการสังคม จังหวัดสมุทรปราการ เมื่อช่วงเดือน มิถุนายน 2557 วันที่ 3 กันยายน 2557 เจ้าหน้าที่จากส�ำนักงาน คุ้มครองแรงงานเเละสวัสดิการสังคมจึง เรียกนายจ้างรับ เหมาและตัวแทนของบริษัทมาเจรจาเรื่องค่าจ้างค้างจ่าย ผลการเจรจาสรุปว่าบริษัทตกลงจ่ายค่าจ้างให้ลูกจ้างทั้ง 6 คน แทนนายจ้างผูร้ บั เหมา โดยมีการท�ำบันทึกข้อตกลงการจ่ายค่า จ้างในวันเดียวกัน และลูกจ้างทั้งหมดได้รับค่าจ้างค้างจ่ายแล้ว

NEWSLETTERS Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 9


มูลนิธิฯ ลงพื้ นที่เกิดเหตุอาคารก่อสร้างคอนโดถล่ม เพื่ อให้ความช่วยเหลือแรงงาน ที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ จากเหตุการณ์อาคารยูเพลส คอนโด ซึง่ เป็นอาคารทีก่ ำ� ลัง ก่อสร้างในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี ได้ถล่มลงมาเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2557 เวลาประมาณ 16.20 น. เป็นเหตุให้มผี เู้ สียชีวติ จ�ำนวน 14 คน ซึ่งรวมถึงแรงงานข้ามชาติชาวกัมพูชาจ�ำนวน 3 คนด้วย นางศุกาญจน์ตา สุขไผ่ตา ตัวแทนเจ้าหน้าที่โครงการ ยุตธิ รรมเพือ่ สิทธิแรงงานข้ามชาติ พืน้ ทีเ่ ชียงใหม่รว่ มกับตัวแทน สหภาพแรงงานย่านรังสิตและพืน้ ทีใ่ กล้เคียงรวมทัง้ สภาเครือข่าย ผูป้ ว่ ยเนือ่ งจากการท�ำงาน ได้ลงพืน้ ทีเ่ พือ่ เยีย่ มผูไ้ ด้รบั ผลกระทบ และให้ความช่วยเหลือแรงงานให้สามารถเข้าถึงการเยียวยา และการคุ้มครองตามกฎหมาย เบื้องต้น มูลนิธิฯ ร่วมกับ สหภาพแรงงานย่านรังสิตและสภาเครือข่ายผูป้ ว่ ยจากการท�ำงาน ได้ยื่นหนังสือถึงผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานีเพื่อเรียกร้องให้มี การตรวจสอบข้อเท็จจริงและด�ำเนินการให้ความช่วยเหลือแก่ แรงงานข้ามชาติที่ได้รับผลกระทบ และเข้าหารือกับส�ำนักงาน ประกันสังคม จังหวัดปทุมธานี เพือ่ เรียกร้องให้แรงงานข้ามชาติ เข้าถึงสิทธิในเงินทดแทนเนื่องจากกรณีประสบอุบัติเหตุจาก การท�ำงาน รวมทัง้ ช่วยเหลือเรียกร้องให้นายจ้างจ่ายเงินค่าแรง ค้างจ่ายระหว่างวันที่ 16 กรกฎาคม–15 สิงหาคม 2557

ภาพบรรยากาศการเข้าเยี่ยมผู้ป่วย จากเหตุการณ์อาคารก่อสร้างถล่ม

แก่แรงงานชาวกัมพูชา 28 คน และแรงงานชาวไทย 3 คน โดยฝ่ายนายจ้างได้ดำ� เนินการจ่ายตามทีล่ กู จ้างได้เรียกร้องแล้ว วันที่ 29 สิงหาคม 2557 ส�ำนักงานประกันสังคม จังหวัดปทุมธานี ได้ออกค�ำสัง่ ให้จา่ ย ให้นายจ้างจ่ายเงินทดแทน แรงงานแก่ทายาทของแรงงานชาวกัมพูชาสองราย (ทายาทของ นายโอยและนายอิมเผือ) เนือ่ งจากเเรงงานข้ามชาติทงั้ สองราย เสียชีวติ เนือ่ งมาจากประสบอุบตั เิ หตุจากการท�ำงาน โดยส�ำนักงาน ประกันสังคม ยังคงบังคับใช้หลักเกณฑ์เดิมทีใ่ ห้นายจ้างจ่ายเงิน ทดแทนแก่ลูกจ้างหรือทายาทแก่เเรงงานผู้เสียชีวิตในกรณีที่ ไม่ปรากฎว่านายจ้างได้ขึ้นทะเบียนลูกจ้างเพื่อจ่ายเงินสมทบ เข้ากองทุนเงินทดแทนเเต่ทงั้ นีย้ งั ไม่ได้ปรากฎข้อมูลว่าส�ำนักงาน ประกันสังคมได้ด�ำเนินคดีต่อนายจ้างที่ไม่ปฏิบัติตามพระราช บัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537กรณีที่ไม่จ่ายเงินสมทบเข้า กองทุนหรือไม่ อย่างไร

มูลนิธิฯ ลงพื้ นที่เพื่ อเยี่ยมแรงงานข้ามชาติที่ได้รับผลกระทบ จากเหตุการณ์เครื่องหม้อไอน�้ำ จังหวัดสมุทรปราการ ระเบิด เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2557 ตัวแทนมูลนิธิฯได้ลงพื้นที่จังหวัด สมุทรปราการเพื่อเยี่ยมแรงงานข้ามชาติ ที่ได้รับผลกระทบในเหตุการณ์ เครือ่ งหม้อไอน�ำ้ ซึง่ เป็นเหตุให้แรงงานข้ามชาติทอี่ ยูใ่ นโรงงานและทีพ่ กั อาศัย อยู่ใกล้บริเวณที่เกิดเหตุได้รับบาดเจ็บ เบื้องต้นพบว่า มีผู้ได้รับบาดเจ็บ ที่เข้ารับการรักษาตัวที่โรงพยาบาลสมุทรปราการทั้งสิ้น 22 ราย เเบ่งเป็น ผูไ้ ด้รบั บาดเจ็บเล็กน้อยทีแ่ พทย์อนุญาตให้ออกจากโรงพยาบาลแล้ว 7 ราย และยังผูไ้ ด้รบั บาดเจ็บทีย่ งั คงรักษาตัวทีโ่ รงพยาบาล อีก 15 ราย นอกจากนี้ ยังมีแรงงานข้ามชาติที่พักอาศัยอยู่ใกล้โรงงานได้เสียชีวิตจากเหตุการณ์ ดังกล่าวด้วย โดยทางเจ้าของโรงงานดังกล่าวได้แจ้งเเละเเสดงความรับผิดชอบ ในส่วนค่ารักษาพยาบาลของผู้ที่บาดเจ็บเเละค่าทดแทนแก่ผู้เสียชีวิตเเล้ว ในการนีเ้ จ้าหน้าทีม่ ลู นิธฯิ ได้เยีย่ มและสัมภาษณ์ผปู้ ว่ ยและญาติของ ผู้ป่วยบางราย พร้อมทั้งยินดีให้ค�ำแนะน�ำกับแรงงานข้ามชาติหรือญาติ ของแรงงานข้ามชาติที่ประสงค์จะขอความช่วยเหลือด้านกฎหมายหรือ การเข้าถึงกระบวนการเยียวยาตามกฎหมายอีกด้วย ภาพบรรยากาศการเข้าเยี่ยมผู้ป่วย จากเหตุการณ์เครื่องหม้อไอน�้ำระเบิด 10 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


แนะน�ำ กิจกรรม

สื

กิจกรรมพั ฒนาศักยภาพการเรียนรู้ ของเด็กในชุมชนแรงงานข้ามชาติ

บเนื่องจากโครงการยุติธรรมเพื่อแรงงานข้ามชาติ โดยมูลนิธิเพื่อสิทธิ มนุษยชนและการพัฒนาได้สนับสนุนให้ ชุมชนแรงงานชาติจัดตั้งกลุ่ม สหพันธ์แรงงานข้ามชาติ หรือ Migrant Workers Federation–MWF เพื่อ จัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการช่วยเหลือและพัฒนาศักยภาพของแรงงาน ข้ามชาติ เช่น ให้บริการห้องสมุดเพื่อเปิดโอกาสให้แรงงานข้ามชาติสมัคร เป็นสมาชิกของห้องสมุด เเละทำ�กิจกรรมภายในห้องสมุด เช่น อ่านหนังสือ เรียนภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาไทใหญ่ การฝึกทักษะด้านการใช้งาน คอมพิวเตอร์ การให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ แรงงานในชุ ม ชนกรณี ที่ ป ระสบปั ญ หา ด้านกฎหมายหรือถูกละเมิดสิทธิ รวมทัง้ การเป็นศูนย์กลางในการท�ำกิจกรรม ด้านวัฒนธรรมร่วมกับชุมชนไทยเพือ่ สร้างการเรียนรูแ้ ละเข้าใจความแตกต่าง ด้านภาษาและวัฒนธรรมเเละเมื่อเปิดด�ำเนินการมาระยะหนึ่ง ทางโครงการ ยุติธรรมเพื่อแรงงานข้ามชาติก็พบว่ามีลูกหลานของแรงงานข้ามชาติจ�ำนวน หนึ่งที่ให้ความสนใจที่จะเข้าร่วมท�ำกิจกรรมในห้องสมุดด้วย ดังนั้น ทางโครงการยุติธรรมเพื่อแรงงานข้ามชาติจึงจัดกิจกรรมเพื่อ พัฒนาศักยภาพทางของลูกหลานของเเรงงานข้ามชาติ เช่น กิจกรรมที่เรียก ว่า “ชั่วโมงชวนคุย” โดยเน้นกิจกรรมที่ท�ำ เพื่อให้เด็กมีความกล้าแสดงออก กล้าแลกเปลี่ยนความคิดเห็น กิจกรรม ที่น่าสนใจ

1 กรกฎาคม 2557 ผู้แทนเจ้าหน้าที่จาก สถานเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกา ได้เข้าเยี่ยม ส�ำนักงาน มสพ. ประจ�ำพื้นมหาชัย เพื่อรับทราบ การท�ำงานด้านการให้ความช่วยเหลือแรงงานข้าม ระหว่างวันที่ 13–14 กรกฎาคม 2557 มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชน ชาติและแรงงานที่เป็นผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ และการพัฒนา ร่วมกับส�ำนักงานกฎหมาย U Kyaw Myint ซึ่งมีส�ำนักงาน อยู่ที่กรุงย่างกุ้ง ประเทศพม่า จัดท�ำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อ แลกเปลีย่ นความรูแ้ ละประสบการณ์การให้ความช่วยเหลือแรงงานข้ามชาติ ที่ท�ำงานในประเทศไทย ทางกฎหมาย ระหว่างทนายความไทยและพม่า (Workshop on Sharing Knowledge and Experience with Lawyers from Myanmar on Legal Aid to Migrant Workers in Thailand) มีตวั แทนทนายความ ทัง้ ไทยและพม่า สหภาพแรงงาน องค์กรพัฒนาเอกชน และองค์การด้านแรงงานระหว่างประเทศเข้าร่วมการประชุม 60 คน หลังจากการประชุมครัง้ นีแ้ ล้วตัวแทนทนายความทัง้ สองประเทศจะพัฒนา กิจกรรมร่วมกันเพือ่ น�ำไปสูก่ ารช่วยเหลือแรงงานข้ามชาติชาวพม่า ให้รบั ทราบ ข้อมูลด้านนโยบายและการจ้างแรงานข้ามชาติในประเทศไทย และการให้ สนับสนุนงานด้านคดีที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองสิทธิของแรง NEWSLETTERS Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 11


15 กรฎาคม 2557 ตัวแทน มสพ. ร่วมกับสมาชิก เครือข่ายท�ำงานด้านประชากรข้ามชาติ (MWG) ลงพืน้ ทีจ่ งั หวัด สมุทรสาคร เพื่อสังเกตุการณ์การเปิดศูนย์จดทะเบียนแรงงาน เบ็ดเสร็จ (one stop Service) ที่ได้มีการตั้งขึ้นตามประกาศ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ฉบับที่ 70 ลงวันที่ 25 มิถุนายน 2557 เพื่อเป็นมาตรการั่วคราวในการแก้ไขแรงงาน ข้ามชาติและการค้ามนุษย์ ศูนย์บริการเบ็ดเสร็จ จังหวัดสมุทรสาคร เป็นศูนย์แรกทีเ่ ปิดขึน้ ทะเบียนแรงงานพร้อมผูต้ ดิ ตาม ซึง่ ปรากฎ ว่ามีแรงงานทั้งสามสัญชาติและผู้ติดตามมาขึ้นทะเบียนเป็น จ�ำนวนมากโดยมีนายจ้างหรือตัวแทนนายจ้างเป็น ผู้น�ำมาขึ้น ทะเบียน หลังขึ้นทะเบียนแล้วแรงานและผู้ติดตามจะได้รับ

บัตรประจ�ำตัวชั่วคราวและ ทร.38/1 ซึ่งท�ำให้แรงงานข้ามชาติ สามารถอยู่และท�ำงานประเทศไทยเป็นการชั่วคราว จากนั้น แรงงานข้ามชาติจะต้องเข้าสูก่ ระบวนการของการพิสจู น์สญ ั ชาติ ต่อไป จากนัน้ คณะผูส้ งั เกตุการณ์ได้เดินทางไปเยีย่ มศูนย์บริการ เบ็ดเสร็จทีเ่ ปิดให้บริการส�ำหรับแรงงานข้ามชาติทผี่ า่ นการพิสจู น์ สัญชาติแล้วแต่วาระการจ้างงานครบก�ำหนด 4 ปี นายจ้าง จะต้องน�ำลูกจ้างมาขอรับการตรวจลงตราและประทับตราอนุญาต ให้อยูใ่ นราชอาณาจักรและขอรับใบอนุญาตท�ำงานตามขัน้ ตอน ที่กรมการจัดหางานก�ำหนด ศูนย์ดังกล่าวนี้มีเจ้าหน้าที่จาก ส�ำนักงานจัดหางานและส�ำนักงานตรวจคนเข้าเมืองบริหาร จัดการ

19 กรกฎาคม 2557 มสพ. ประจ�ำพื้นที่ จังหวัดเชียงใหม่ ร่วมกับอาสาสมัครแรงงานข้ามชาติ ลงพืน้ ทีช่ มุ ชนก่อสร้าง บริเวณ วัดดงจันทร์ ต�ำบลสารภี จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อให้ความรู้ด้านกฎหมายคุ้มครอง แรงงาน นโยบายด้านแรงงานข้ามชาติภายใต้คณะรักษา ความสงบแห่งชาติ และอัพเดทสถานการณ์ของแรงงาน ข้ามชาติในชุมชน มีแรงงานข้ามชาติเข้าร่วมจ�ำนวน 25 คน (เป็นชาย 15 คน หญิง 10 คน) วันที่ 21 กรกฎาคม 2557 ตัวแทน มพส. เข้ า ร่ ว มประชุ ม หารื อ กั บ คณะอนุ ก รรมการปฏิ รู ป กฎหมายด้านอาเซียน ซึ่งท�ำการศึกษาวิจัยการจัดท�ำ ข้อเสนอกลไกที่เหมาะสมส�ำหรับการคุ้มครองและ ส่งเสริมสิทธิแรงานอาเซียน อันน�ำมาสูก่ ารจัดท�ำ “ร่าง ข้อตกลงอาเซียนว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิแรงงาน” โดยคณะอนุกรรมการฯ ได้นำ� เสนอร่างข้อตกลงอาเซียน ว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิแรงงาน และรับทราบความ คิดเห็นจากผู้เข้าร่วมประชุมจากภาครัฐ ภาคเอกชน และภาควิชาการ จากนัน้ คณะอนุกรรมการฯ จะน�ำไป ปรับปรุงก่อนเผยแพร่และรับฟังความคิดเห็นในระดับ ประเทศและระดับภูมิภาคอาเซียน

12 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

ระหว่างวันที่ 21–23 กรกฎาคม 2557 ตัวแทน มพส. เข้าร่วม ประชุมเชิงปฏิบัติการยกระดับเครือข่ายแรงงานข้ามชาติระดับประเทศ (CBO Summit) ครัง้ ที่ 1 จัดโดยเครือข่ายองค์กรทีท่ ำ� งานด้านประชากร ข้ามชาติ (MWG) เพือ่ เป็นเวทีให้กลุม่ องค์กรแรงานข้ามชาติในประเทศไทย ได้ แ ลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล ประสบการณ์ ด ้ า นการท� ำ งาน และกระตุ ้ น ให้เกิดเครือข่ายการท�ำงานด้าน การคุ ้ ม ครองสิ ท ธิ แ ละพั ฒนา คุณภาพชีวติ ของแรงงานข้ามชาติ ทั้งในระดับประเทศและระดับ ภูมภิ าค หลังเสร็จสิน้ การประชุม แล้ ว ได้ มี ตั ว แทนแรงงาน ข้ า มชาติ จ ากสหพั น ธ์ แ รงงาน ข้ า มชาติ จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ เข้าเยี่ยมและเรียนรู้การท�ำงาน ให้ความช่วยเหลือแรงงานข้าม ชาติ ที่ มสพ. ส�ำนักงานมหาชัย จังหวัดสมุทรสาคร


30 กรกฎาคม 2557 มสพ .ประจ�ำจังหวัดเชียงใหม่ ร่วมกับอาสาสมัคร แรงานข้ามชาติ ลงพืน้ ทีช่ มุ ชนก่อสร้างบริเวณส่าเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อให้ความรู้ว่าด้วยสิทธิของงานแรงงานตาม พรบ. ประกันสังคม นโยบายด้าน แรงงานข้ามชาติภายใต้คณะรักษาความสงบแห่งชาติ และอัพเดทสถานการณ์ของ แรงงานข้ามชาติในชุมชน มีแรงงานข้ามชาติเข้าร่วมจ�ำนวน 29 คน (เป็นชาย 9 คน หญิง 20 คน) 30 กรกฎาคม 2557 ส�ำนักงาน คลินิกกฎหมาย มสพ. ได้ลงพื้นที่เยี่ยม ชุมชนแรงงานข้ามชาติ ชุมชนป่ากล้วย เขต ซอยร่วมใจ อ�ำเภอแม่สอด พบว่ามีแรงงาน ข้ามชาติชาวพม่าอาศัยอยูก่ ว่าสิบหลังคาเรือน แรงงานในชุมชนส่วนใหญ่ประสบปัญหา ด้านเอกสารประจ�ำตัว แรงงานส่วนใหญ่ มีอาชีพรับจ้างทัว่ ไป บุตรหลานของแรงงาน มีโอกาสเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาในโรงเรียน ทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ โดยองค์กรภาคประชาสังคมของ พม่าในพื้นที่แม่สอด

30 กรกฎาคม 2557 มสพ. ประจ�ำจังหวัด เชี ย งใหม่ จั ด ประชุ ม ที่ ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู ้ ส� ำ หรั บ แรงงานข้ามชาติ ที่ต�ำบลสารภี จังหวัดเชียงใหม่ เพื่ อ อั พ เดทการท� ำ กิ จ กรรมร่ ว มกั บ อาสาสมั ค ร แรงานข้ามชาติ ทีม่ สี ว่ นช่วยให้แรงงานที่ มสพ. และ ทีมอาสาสมัครฯลงไปท�ำกิจกรรมให้ความรูใ้ นชุมชน มีความกล้าสือ่ สาร มีความมัน่ ใจในการแลกเปลีย่ น สภาพปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ในชุมชนแรงงาน และมีความ เข้าใจด้านการเข้าถึงกลไกการคุ้มครองสิทธิของ แรงงานข้ามชาติ มีอาสาสมัครแรงงานข้ามชาติเข้า ร่วมจ�ำนวน 14 คน (เป็นชาย 11 คน หญิง 3 คน)

1 สิงหาคม 2557 ผู้แทน มสพ. เข้าร่วมรับฟัง การเสวนาภายใต้หวั ข้อ “เวที สือ่ สารสาธารณะ เพือ่ ต่อต้าน การค้ามนุษย์” จัดขึ้นโดย กระทรวงพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์ โดย มีวัตถุประสงค์เพื่อชี้แจงให้ทุกภาคส่วนได้ทราบถึงทิศทาง ในการด�ำเนินการเพือ่ ป้องกันและปราบการค้ามนุษย์ภายหลัง จากทีป่ ระเทศไทยถูกจัดอันดับโดยกระทรวงต่างประเทศของ สหรัฐอเมริกาให้ตกอยู่ในอันดับ 3 ในรายงานสถานการณ์ การค้ามนุษย์ (TIP Report) โดยมีหม่อมหลวง ปุณฑริก สมิติ รองปลัดกระทรวงแรงงาน ,พลต�ำรวจเอก เอก อังสนานนท์ รองผู้บัญชาการต�ำรวจแห่งชาติ, พลต�ำรวจเอก ชัชวาลย์ สุ ข สมจิ ต ร์ อธิ บ ดี ก รมสอบสวนคดี พิ เ ศษ, นายทรงศั ก สายเชื้อ อธิบดีกรมอเมริกาและแปซิฟิกใต้ และนางญาณี เลิศไกร อธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ เข้าร่วมเสวนา ณ ห้องแกรนด์ฮอลล์ ชั้น ๒ โรงแรมพลาซ่า แอทธินี รอยัล เมอริเดียน กรุงเทพฯ

4 สิงหาคม 2557 ทางเจ้าหน้าที่ คลินิกกฎหมายแรงงานแม่สอด เข้าร่วมงาน คื น ธรรมชาติ คื นวั ฒ นธรรม คื น คนตาก คืนความสุขให้ประชาชน ซึง่ จัดโดยบ้านพักเด็ก และครอบครัวจังหวัดตาก ซึ่งผู้เข้าร่วมงาน มีทงั้ องค์กรทางภาครัฐและภาคเอกชนรวมถึง ภาคประชาสังคม เพื่อร่วมกันถกถึงประเด็น ปัญหาต่างๆ ด้านการค้ามนุษย์ในพืน้ ทีอ่ ำ� เภอ แม่ ส อด จั ง หวั ด ตาก และยั ง มี ก ารจั ด ตั้ ง บูธงานต่างๆ เพื่อรณรงค์การป้องการและ การแก้ไขปัญหาการค้ามนุษณ์ให้ผู้ร่วมงาน ได้ ต ระหนั ก ถึ ง ความส� ำ คั ญ ของประเด็ น ปัญหาการค้ามนุษย์ที่เกิดอีกด้วย

NEWSLETTERS Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 13


ระหว่างวันที่ 6–8 สิงหาคม 2557 ผู้แทน มสพ. ได้เข้า ร่วมประชุมระดับภูมิภาคขององค์กรหุ้นส่วนในโครงการแลก เปลี่ยนเจ้าหน้าที่เพื่อศึกษาดูงานระหว่างองค์กร สนับสนุนโดย องค์กรพัฒนาเอกชน ชื่อว่า Fredsorpset (FK–Norway) จาก ประเทศนอร์เวย์ การประชุมครั้งนี้ เพื่อท�ำความเข้าใจระบบ การบริหารจัดการในการส่งเจ้าหน้าที่มาแลกเปลี่ยน รวมทั้ง การพบปะระหว่างตัวแทนองค์กรหุ้นส่วน และเจ้าหน้าที่ที่ผ่าน การคัดเลือกไปศึกษาดูงาน ส�ำหรับ มพส. ได้เป็นองค์กรหุน้ ส่วน กับส�ำนักงานกฎหมาย U Kyaw Myint ประเทศพม่า และองค์กร พัฒนาเอกชนชื่อว่า Lembaga Batuan Hukum (LBH– Jakarta) ประเทศอินโดนีเซีย มีวัตถุประสงค์ในการแลกเปลี่ยน เจ้าหน้าทีข่ ององค์กรเพือ่ ศึกษาดูงานด้านกิจกรรมให้ความช่วยเหลือ ประชาชนทางกฎหมาย

ระหว่างวันที่ 15–16 สิงหาคม 2557 ผู้แทน มสพ. เข้าร่วมประชุมหารือเกี่ยวกับแนวปฏิบัติที่ดีเพื่อน�ำมาสู่ การปรั บ ปรุ ง กลไกการร้ อ งเรี ย นที่ เ หมาะสมแก่ แ รงงาน ข้ามชาติ ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา จัดโดย คณะ ท�ำงานด้านแรงงานชาติอาเซียน (Task Force on ASEAN Migrant Workers) โดยผู้เข้าร่วมจากองค์กรพัฒนาเอกชน ที่ท�ำงานด้านการคุ้มครองสิทธิแรงานข้ามชาติ ได้น�ำเสนอ ประสบการณ์ด้านการช่วยเหลือและสนับสนุนให้แรงงาน ข้ามชาติเข้าถึงกลไกการร้องเรียนการคุ้มครองสิทธิทั้งใน ระดับประเทศและระดับระหว่างประเทศ และการน�ำเสนอ ตัวอย่างการจัดท�ำแบบฟอร์มเพื่อบันทึกข้อร้องเรียนจาก แรงานข้ามชาติ

17 สิงหาคม 2557 มสพ. ประจ�ำ จังหวัดเชียงใหม่ ร่วมกับอาสาสมัครแรงาน ข้ า มชาติ ลงพื้ น ที่ ชุ ม ชนก่ อ สร้ า งบริ เ วณ วัดเจ็ดยอด จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อให้ความรู้ ว่าด้วยกฎหมายคุ้มครองแรงงาน แรงงาน ในชุมชนก่อสร้างเขตนี้มีประสบปัญหาการ ไม่ได้รบั ค่าแรงงานขัน้ ต�ำ่ และนายจ้างได้ยดึ หนังสือเดินทางของแรงานไว้ โดยเจ้าหน้าที่ มสพ. ได้ให้ค�ำแนะน�ำในการเรียกร้องสิทธิตามกฎหมายแรงงาน และขั้นตอนในการ ขอคืนหนังสือเดินทางจากนายจ้าง มีแรงงานข้ามชาติเข้าร่วมจ�ำนวน 46 คน (เป็นชาย 38 คน หญิง 8 คน) ระหว่างวันที่ 23–24, 30–31 สิงหาคม 2557 ผู้แทน มสพ. เข้าร่วมประชุมการรับฟังความคิดเห็นการขยายขอบข่าย ความคุม้ ครองประกันสังคมแก่ลกู จ้างในภาคเกษตรและประมงทีจ่ งั หวัดขอนแก่น จังหวัดระยอง จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดตาก จัดโดยส�ำนักงานประกันสังคม เพื่อน�ำข้อมูลจากเวทีรับฟังความคิดเห็นเป็นข้อมูลประกอบการน�ำเสนอแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย ประกันสังคมและกฎหมายเงินทดแทนที่เกี่ยวกับการขยายข่ายความคุ้มครองให้ลูกจ้างในกิจการเกษตรและประมง โดยการร่วม ประชุมเวทีรับฟังความคิดเห็นดังกล่าว ทางมูลนิธิฯ ได้จัดท�ำเอกสารว่าด้วยข้อสังเกตุบางประการต่อการแก้ไขกฎหมายว่าด้วย เงินทดแทนแก่แรงงานภาคเกษตรและภาคประมงต่อส�ำนักงานประกันสังคมด้วย

14 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


26 สิงหาคม 2557 ผู้แทน มสพ. เข้าร่วมประชุมผู้บริหาร เพือ่ พัฒนากลไกการร้องทุกข์และส่งเสริมการเข้าถึงกลไกการคุม้ ครอง สิทธิของแรงงานข้ามชาติ จัดโดยองค์การแรงงานระหว่างประเทศร่วม กับกระทรวงแรงงาน ทั้งนี้คณะผู้จัดงานได้น�ำเสนอผลการด�ำเนิน กิจกรรมว่าด้วยการพัฒนากลไกการร้องทุกข์ใน 7 จังหวัดเป้าหมาย ได้แก่ กรุงเทพมหานคร สมุทรสาคร สมุทรปราการ เชียงใหม่ แม่สอด ตาก ระยอง และจังหวัดสุราษฎร์ธานี

29 สิ ง หาคม 2557 ตั ว แทน มสพ. เข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมมอบ ประกาศนี ย บั ต รแก่ นั ก ศึ ก ษาที่ เ ข้ า ร่ ว มโครงการยุ ว ฑู ต สะพานเสี ย ง (Saphansiang Youth Ambassador) สนับสนุนโครงการโดยองค์การ ด้านแรงงานระหว่างประเทศ เพือ่ ให้นกั ศึกษาทีผ่ า่ นการคัดเลือกเข้าศึกษา ดูงานด้านการคุ้มครองสิทธิของแรงานข้ามชาติในประเทศไทย เริ่มตั้งแต่ เดือนเมษายน–กันยายน 2557 ทางโครงการยุวฑูตสะพานเสียงได้ส่ง ศึกษาจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมหาลัยเชียงใหม่ เข้าศึกษาดูงาน กับ มสพ. จ�ำนวน 3 คน

18. 31 สิงหาคม 2557 มสพ. ประจ�ำจังหวัด เชียงใหม่ ร่วมกับอาสาสมัครแรงานข้ามชาติ ลงพื้นที่ ชุมชนก่อสร้างสะเมิง บ้านแม่เหียะ เพือ่ ประเมินความ รู ้ ค วามเข้ า ใจของแรงงานข้ า มชาติ ว่ า ด้ ว ย พรบ. ประกันสังคม และการเข้าถึงสิทธิใน พรบ. ประกัน สังคม โดยแรงงานที่เข้าร่วมประเมินความรู้ให้ข้อมูล ว่า พรบ. ประกันสังคมมีประโยชน์ต่อแรงงาน แต่ เนือ่ งจากแรงงานได้รบั ค่าแรงต�ำ่ กว่าอัตราค่าแรงขัน้ ต�ำ่ และนายจ้ า งไม่ ย อมน� ำ ลู ก จ้ า งขึ้ น ทะเบี ย นกั บ ส�ำนักงานประกันสังคม มีแรงงานข้ามชาติเข้าร่วม กิจกรรมประเมินความรู้ จ�ำนวน 22 คน (เป็นชาย 9 คน หญิง 13 คน)

5 กั น ยายน 2557 นางสาวสุนิดา ปิยกุลพานิยช์ เจ้าหน้าที่ คลินกิ กฎหมายแรงงาน แม่สอด ได้จัดกิจกรรม แลกเปลีย่ นประสบการณ์ การเข้ า ร่ ว มโครงการ ศึ ก ษาดู ง านระหว่ า ง องค์ ก ร โดยนางสาว สุ นิ ด า ได้ เ ดิ น ทางไป ศึกษาดูงานทีส่ ำ� นักงาน กฎหมาย U Kyaw Myint กรุงย่างกุ้ง ประเทศพม่า เป็นระยะเวลา 1 ปี โดยมีเจ้าหน้าที่ ของคลินิกกฎหมายแรงงานแม่สอด ตัวแทนจากเครือข่ายชุมชนแรงงาน ข้ามชาติ หรือ CBO ตัวแทนจากสภาทนายความพื้นที่อ�ำเภอแม่สอด เข้าร่วมรับฟัง นางสาวสุนิดา ได้น�ำเสนอประสบการณ์การเรียนรู้ด้าน สภาพการเมืองและเศรษฐกิจ การบังคับใช้กฎหมายคุ้มครองแรงงาน ภายในประเทศพม่า ปัจจัย ผลักที่ให้ชาวพม่าเดินทางมาท�ำงานใน ประเทศไทย กลไกในการให้ความช่วยเหลือแรงงานในประเทศพม่า การพัฒนาแนวทางการสนับสนุนด้านคดีแก่แรงงานข้ามชาติที่ประสบ ปัญหาระหว่าง มสพ. และส�ำนักงานกฎหมาย U Kyaw Myint นอกจากนี้ ยังได้มีการหารือกับผู้เข้าร่วมประชุมเกี่ยวกับแนวทางการจัดท�ำคู่มือ ส�ำหรับแรงงานข้ามชาติในการใช้ชวี ติ ในประเทศไทยและการเข้าถึงกลไก การคุ้มครองสิทธิกรณีที่แรงงานประสบปัญหา NEWSLETTERS Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 15


19 กันยายน 2557 คณะกรรมาธิการระหว่างอาเซียนว่า ด้วยสิทธิมนุษยชน (ASEAN Intergovernmental Commission on Human Rights–AICHR) ได้จัดประชุมเพื่อแลกเปลี่ยน ประสบการณ์การจัดท�ำรายงานทบทวนสถานการณ์สทิ ธิมนุษยชน ของประเทศ (Universal Periodic Review–UPR) ซึ่งรัฐบาล สมาชิกขององค์การสหประชาชาติหรือยูเอ็น ทุกประเทศจะต้อง ท�ำรายงานดังกล่าวถึงส�ำนักข้าหลวงใหญ่ด้านสิทธิมนุษยชน องค์กรสหประชาชาติ ทุก 4 ปี พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้องค์กร ภาคประชาชนสามารถจัดท�ำรายงานในลักษณะคูข่ นานถึงส�ำนัก ข้าหลวงใหญ่ฯ ได้อีกทางหนึ่ง การจัดประชุมโดย AICHR ครั้งนี้ เพื่อให้ตัวแทนภาครัฐ ภาคประชาสังคมจากประเทศสมาชิก อาเซี ย น หารื อ ร่ ว มแลกเปลี่ ย นประสบการณ์ ใ นการจั ด การ กับความท้าทายภายใต้กระบวนการจัดท�ำรายงาน UPR รวมถึง การแสวงหาแนวทางในการพัฒนาและจัดการกับความท้าทาย ร่วมกันในระดับภูมิภาค

10 กันยายน 2557 เจ้าหน้าทีค่ ลินกิ กฎหมาย แรงงานแม่สอด ได้จัดกิจกรรมลงพื้นที่เยี่ยมแรงงาน ในชุมชน หมู่บ้านห้วยน�้ำขุ่น หมู่ 8 ต�ำบลมหาวัน อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก จากเข้าเยีย่ มพบว่าชาวบ้าน ในชุมชนส่วนใหญ่เป็นชาวกะเหรี่ยง จ�ำนวนร้อยกว่า ครั ว เรื อ น ประกอบอาชี พ เกษตรกรรมเพาะปลู ก เด็กเล็กส่วนใหญ่มีโอกาสในทางการศึกษาเนื่องจาก มีโรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดนประจ�ำอยู่ในชุมชน

16 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

ระหว่างวันที่ 5–7 กันยายน 2557 องค์กรพัฒนา เอกชน Migrant Forum in ASIA (MFA) ร่วมกับ Caritas Lebanon Migrants Center จัดประชุมครั้งที่สองกับเครือ ข่ายทนายความไร้พรมแดน Lawyers Beyond Borders ที่กรุงเบรุต ประเทศเลบานอน เพื่อน�ำตัวแทนทนายความ และนักกฎหมายจากภูมภิ าคเอเชียตะวันออกกลาง เอเชียใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จ�ำนวน 21 คน ซึ่งเป็น ผู้มี ประสบการณ์ในการให้ความช่วยเหลือคดีแก่แรงงานข้ามชาติ โดยตั ว แทน มสพ. ได้ เ ข้ า ร่ ว มแลกเปลี่ ย นและน� ำ เสนอ ประสบการณ์ กรณีศึกษาด้านการให้ความช่วยเหลือคดีแก่ แรงงานข้ามชาติโดยเฉพาะแรงงานข้ามชาติชาวพม่า โดย ปัญหาของแรงงานข้ามชาติทแี่ รงงานประสบคล้ายๆ กัน ได้แก่ การถูกเอารัดเอาเปรียบจากการท�ำสัญญาจ้างงานที่ไม่เป็น ธรรม การถูกหลอกจากบริษัทจัดหางานหรือนายหน้า การ เข้าไม่ถึงกลไกการคุ้มครองสิทธิของแรงงาน โดยเฉพาะ แรงงานท�ำงานในบ้าน

14 กันยายน 2557 มสพ. ประจ�ำจังหวัดเชียงใหม่ จั ด กิ จ กรรมให้ ค วามรู ้ แ ก่ อาสาสมัครแรงานข้ามชาติ ทีศ่ นู ย์ความรูส้ ำ� หรับแรงงาน ข้ามชาติ ต�ำบลสารภี จังหวัด เชียงใหม่ มีตวั แทนทนายความ เป็นผูใ้ ห้ความรูด้ า้ นกฎหมายประกันภัย กรณีทมี่ อี บุ ตั เิ หตุจากรถยนต์ และร่วมแลกเปลีย่ นกรณีศกึ ษาทีเ่ กิดขึน้ จริง แนวทางการให้ความช่วยเหลือ แรงงานข้ามชาติ ในเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับอุบัติเหตุทางรถยนต์ มีอาสาสมัครแรงงานข้ามชาติ เข้าร่วม จ�ำนวน 15 คน (เป็นชาย 11 คน หญิง 4 คน)


19 กันยายน 2557 มสพ. ประจ�ำจังหวัดเชียงใหม่ ร่วมกับอาสาสมัครแรงานข้ามชาติ ลงพื้นที่ชุมชนก่อสร้างกาญจนา 1 จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อประเมินความรู้ความเข้าใจของแรงงานข้ามชาติ ว่าด้วย พรบ. เงินทดแทน และการเข้าถึงสิทธิใน พรบ. เงินทดแทน มีแรงงานข้ามชาติเข้าร่วมกิจกรรมประเมินความรู้ จ�ำนวน 21 คน (เป็นชาย 11 คน หญิง 10 คน)

8 กันยายน 2557 ผู้แทนมูลนิธิฯ เข้า ร่วมประชุมเรือ่ ง “หลักการส�ำคัญของกฎหมาย ประกันสังคม เพื่อคนท�ำงานทุกคน” เพื่อรับ ความคิดเห็นและข้อเสนอต่อหลักการส�ำคัญ ของกฎหมายประกั น สั ง คมและพิ จ ารณา ปรับปรุงและพัฒนากฎหมายประกันสังคม ให้ สอดคล้องกับระบบการประกันสังคม อันน�ำมา สูก่ ารพัฒนาคุณภาพชีวติ ของแรงงานทัง้ ในและ นอกระบบรวมทั้งแรงงานข้ามชาติด้วย จัดโดย คณะกรรมการปฏิรปู กฎหมาย ซึง่ มีคณะท�ำงาน พิจารณาเนื้อหาและสาระส�ำคัญของกฎหมาย ประกั น สั ง คม และได้ ก� ำ หนดแนวทางการ พิจารณาปรับปรุงและพัฒนากฎหมายประกัน สังคม

25. 25 กันยายน 2557 คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมายจัดประชุม รับฟังความคิดเห็น เรือ่ ง ร่างพระราชบัญญัตแิ ก้ไขเพิม่ เติมประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาความแพ่ง ว่าด้วยการด�ำเนินคดีแบบกลุ่ม (Class Action) ที่ น�ำเสนอโดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) โดยมีผแู้ ทนจากนักวิชาการ ผู้พิพากษา อัยการ นักกฎหมายด้านคดีแรงงาน (นายชฤทธิ์ มีสิทธิ และ ผู้แทน มสพ.) ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านผู้บริโภค ร่วมแลกเปลี่ยนแสดง ความคิดเห็นและประสบการณ์ทางวิชการเกี่ยวกับกระบวนการด�ำเนินคดี แบบกลุม่ เพือ่ ให้ทางคณะกรรมการปฏิรปู กฎหมาย รวบรวมความเห็นและ จัดท�ำเป็นข้อเสนอแนะต่อไป

วันที่ 26 กันยายน 2557 ผูแ้ ทน มพส. และสมาชิกเครือ ข่ายองค์กรทีท่ ำ� งานด้านประชากรข้ามชาติ (MWG) ร่วมประชุม ปรึกษาหารือว่าด้วยแรงงานข้ามชาติทผี่ า่ นการจ้างงานในระบบ การจัดท�ำบันทึกข้อตกลงระหว่างประเทศไทย (MOU) และ ประเทศเพือ่ นบ้านจากพม่า ลาว และกัมพูชา สนับสนุนกิจกรรม โดยองค์การด้านแรงานระหว่างประเทศ การประชุมปรึกษา หารือครัง้ นีเ้ พือ่ สะท้อนประสบการณ์ดา้ นการให้ความช่วยเหลือ และปัญหาของแรงงานข้ามชาติทผี่ า่ นการจ้างงานในระบบ MOU เพือ่ จัดท�ำเป็นข้อเสนอให้เกิดการแก้ไขในเชิงนโยบายต่อการน�ำเข้า แรงงานระบบ MOU

NEWSLETTERS Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 17


Some observations regarding the amendment of workmen’s compensation fund to expand social security protection to employees in agricultural and fishery sectors

Laws and Policies

Phattranit Yaodam

A

ccording to the Thailand’s Fisheries Foreign Affairs Division (FiFAD), Department of Fisheries, Thailand has exported fishery products to other countries in the first semester of 2014 at 704,658.02 tons, worth 86,596.03 million baht. It is indicative of our massive potential in fishery sector. An estimate goes that our fishery assembly lines, inshore and offshore, rely on 283,557 workers. The number is similar to the number of workers employed in agricultural sector which is one of the main production sectors of the country as well. Despite the massive number of workers employed in both sectors, but the legal protection meted out for them is minimal.

The workmen’s compensation law aims to protect workers suffering from work–related accidence or illness. But according to the Ministry of Labour and Social Welfare’s Regulation B.E. 2545 (2002), employers in certain sectors including plantation, fishery, forestry and husbandry who do not employer workers all year round are not required to pay contribution to the workmen’s compensation fund. As a result, if any mishaps happen, the employees have to ask for compensation from the 18 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

employers directly and it has become an obstacle for workers, particularly migrant workers, in terms of their access to the workmen’s compensation fund. Therefore, the Social Security Office (SSO) has conducted a public hearing on the proposed expansion of social security protection to employees in agricultural and fishery sectors in August 2014 covering four provinces including Rayong, Khon Kaen, Tak and Surat Thani with most of the participants included representatives


of employers, employees and civil society organizations. order to avoid the impediment of the rights of migrant They shared the idea that the law should be amended workers by the state. The above observations reflect another set of to address the problem and HRDF have some obser challenges regarding the management of the Thai state. vations regarding its implications as follows; 1. Employee registration management: Due Of course, by eradicating the legal impediment, it gives to a lack of standard protocol for the employment of us a good start and makes hundreds of thousand of workers in fishery sector, labour agents have emerged workers become more hopeful. If the Thai state is able to meeting the demand of labour in manufacturing sector. to minimize practical hassles, it would enable workers If the issue cannot be addressed, it would not be possible to have effective access to the workmen’s compensation to develop the employee registration system and to ensure fund. the migrant workers shall become Regulation of the Social Security Office (SSO) a part of the workmen’s compensation fund system. Registration of Alien Workers from Lao, Cambodia and Myanmar 2. Issues concerning the having been given the right to temporary stay in Thailand interpretation employment and In order to ensure orderly and effective registration of alien workers hired work which is so key and fundamental to providing for right from Lao, Cambodia and Myanmar, who have been given the right to protection of the employees who temporary stay in Thailand; By the virtue of Article 32 of the State Administration Act B.E. 2534 are supposed to be “employed’ by their employers. But in reality, we (1991) amended by the State Administration Act (No. 5), B.E. 2545 have found a number of workers in (2002), the Secretary–General of the Social Security Office has the agricultural sector including rubber following to announce; and palm oil plantations who have (1) The Regulation of the Social Security Office (SSO) on the become rotational labour for different Registration of Alien Workers from Lao, Cambodia and Myanmar who have employers. In some instances, the undergone nationality verification, dated 8 October 2010, shall be repealed. workers also get their family mem(2) Employers shall have their alien workers from Lao, Cambodia bers to help in their work. It requires sensitivity in the interpretation. If the and Myanmar registered as employees as per the SSO Regulation on authorities or the employers have the Registration of Employers issued by the virtue of the Workmen’s not enough understanding to distin- Compensation Fun Act B.E. 2537 (1994) dated 1 July 1994 and to have guish between the two legal defini- them registered as insured persons as per the SSO Regulation the Format tions, it could give rise to confusion of Registration issued by the virtue of the Social Security Act B.E.2533 and impact on the registration of (1990) dated 24 March 2003, by using an ID card issued by the Department of Provincial Administration for persons without Thai nationality. employers and employees. (3) The Regulation shall come into force since 16 July 2014 onward. 3. Restrictions to access to rights of migrant workers: Some Announced on 16 July 2014 migrant workers have the right to Mrs. Ammorn Chaowalit access the workmen’s compensation Secretary–General of the Social Security Office (SSO) fund, but are obliged to leave the country, thus their access will be Social Security Fund has announced regulations dated 16 July 2014 impeded. The Thai state is then on migrant workers registration from Laos, Cambodia, required to overhaul access to the and Myanmar accordingly to the Workmen’s Compensation Act of B.E.2537 workmen’s compensation fund in and Social Security Act of B.E.2533 NEWSLETTERS Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 19


An analysis of the labor registration policy at the One Stop Service Center Papop Siamhan1

T

he One Stop Service Center for Registration of Alien Labor (ONE STOP SERVICE) (hereafter called “Service Center”) is established by the virtue of the National Council for Peace and Order (NCPO) Announcement No. 70 dated 25 June 2014. It was aimed at providing a temporary measure to address migrant labor and human trafficking issues by launching the registration of migrant workers in the country and to develop the standards on par with international ones. It is supposed to address the need of the entrepreneurs or employers in certain business sectors including the labor intensive fishery and to eradicate any exploitation of migrant workers which has given rise to human trafficking. The Center has been operating for more than three months (since 26 June 2014 to 5 October 2014) and there have been 1,261,161 migrant workers who got registered. It could be touted as a success in term of the number of registrants and cooperation. Nevertheless, there is also room for improvement from the existing operation of the Center which should prompt changes in the policy and at the operational level as follows; 1. Challenges regarding the time and verification system: Since the Service Center aims to accelerate the registration of migrant workers and thus there have been a range of workers and a massive number of them who apply for the registration all at once as required by the NCPO Announcement. As a result,

1

the verification has to be done in haste causing errors and inconsistencies regarding the status of the migrant workers. Human Rights and Development Foundation (HRDF) have found that even some migrant workers who have entered the country via a Memorandum of Understanding (MOU) made between Thailand and our neighboring countries have registered themselves at the Service Center as well. As a result, they would have two statuses of workers at the same time. In addition, agents have been involved in facilitating the registration of the workers and some workers who are under fifteen years of age have been brought for registration and they had to falsely claim that they are over eighteen years old in order to be eligible for the work permits. The requirement for the process to be conducted in haste without proper verification is still a major issue faced by the Service Center as far as the registration of migrant workers is concerned. 2. No clear long term policy: The Service Center policy is simply a provisional measure to provide temporary work permits (which will expire in 31 March 2015). If the worker wants to extend his or her permit and to stay in the Kingdom as prescribed for by the 1979 Immigration Act and the Working of Aliens Act B.E. 2551 (2008), he or she has to enter the nationality verification process starting from his or her country of origin. Right now, there is no clarity as to the cooperation in nationality verification of the migrant workers. Of late, the cabinet endorsed in principle on 28 October 2014 the verification of nationality of migrant workers from Myanmar, Lao and Cambodia. Basically, concerned agencies have been designated to oversee the nationality verification process and the fishing workers who have been granted permission to work as per the cabinet resolution made on 2 August 2013 are required to enter the nationality verification with the following detail.

Mr. Pabhop Siamhan is a staff member of the Anti-human trafficking project under the Human Rights and Development Foundation (HRDF).

20 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


(a) The verification of nationality of migrant workers from Myanmar, Lao and Cambodia who have been granted temporary right to work by the Service Center through the One Stop Service package. Concerned agencies including the Ministry of Interior, Ministry of Foreign Affairs, Immigration Bureau, Ministry of Labor (Department of Employment and Social Security Office), Ministry of Public Health, Royal Thai Police and other agencies have been designate to perform their relevant duties. All concerned agencies are authorized to carry out their work immediately after the endorsement of the cabinet resolution. All nationality verification process of the migrant workers has to be promptly conducted and should be finished by 31 March 2015. (b) All fishing workers granted permission to work as per the cabinet resolution made on 6 August 2013 and the registration process shall take place twice a year, the first of which will be ended on 24 September 2014 are required to get registered at the One Stop Service Center prior to getting through the nationality verification process. Also, those who get registered in the second round (ended on 2 March 2015) are required to go through the nationality verification as well. Therefore, even though the Service Centers can help to facilitate registration procedure, but its work can be impeded by delay of coordinate in the sending countries. In addition, given the specific period of time, the Service Centers have in order to complete nationality verification within 31 March 2015, and if there is no other solution to address the problem, it could affect the migrant workers’ right to provisional stay in the country as per the 1979 Immigration Act. 3. A lack of integration among concerned agencies: The registration via the Service Center has to go through a number of steps and depends on cooperation from various government agencies. All these agencies have to work under supervision of the Committee on the Policy to Address Issues of Alien

Workers and the Subcommittee for Coordination on Addressing Issues of Alien Workers established by the order of the NCPO Order. If the Act on Management and Protection of the Work by Alien Workers B.E‌‌2 is invoked, the two committees could be established permanently As a result, the operation of the Service Center shall be developed into a one stop service operation under the supervision of the Committee and the Subcommittee. In addition, the operation of the Service Center lasts during a limited period of time. If the nationality verification cannot be completed within 31 March 2015 or no other ad hoc measures are meted out to address the issue, it will have affected their right to temporary stay in the Kingdom of the migrant workers as per the 1979 Immigration Act. 4. There are many obstacles in the access to information and legal labor rights and other rights of migrant workers registered with the Service Center. In addition, there are limited number of officials who work in the Service Center and thus their limited performance. There has also been a lack of effort to publicize information regarding the right to have access to many legal rights. From our observation, it was found that each Service Center features only one or two staff members on spot to explain about labor rights to the migrant workers. Most of the workers receive the information from their employers or representatives of employers. They are not aware that in fact once their employment relationship is established, they as employees shall enjoy the rights as provided for in labor laws. That they get registered at the Service Center will make their employee status officially recognized and acknowledged by the Thai state and their employers. But as of now, there are obstacles preventing them from having proper access to the information and to exercise their legal and labor rights and other rights. Thus, this will certainly fail to serve the purpose for the establishment of the Service Center.

2

Proposed by the Subcommittee for Coordination on Addressing Issues of Alien Workers and the Ministry of Public Health as per the most urgent letter no. ST 0228.05.4 dated 22 August 2014. NEWSLETTERS Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 21


An observation of the use of One Stop Service Center to address problems in migrant worker registration

But according to the Service Center that has been operating for over three months (from 26 June 2014 to 5 October 2014), 1,261,161 migrant workers have got registered with them. Of this number, there are just 32,112 workers in sea fishery (as of 18 August 2014). It was a stark difference when compared to the number 1. Tackling human trafficking of 200,000 workers needed for the sector. Labor registration helps to affirm legality of an It could be said that the “Service Center” has not employment. It provides personal information of an been very successful in terms of boosting the number employee including their names and addresses and of workers in sea fishery sector due to the above reasons. other information regarding the nationality verification in 2. Tackling violation of labor rights their countries of origin. It is useful for tracking down Labor rights violation is not uncommon among the employer when the employee has been lured or forced to work (illegal workers or forced labor). Never- migrant workers who enter and live in the Kingdom of theless, with good information and stringent verification, Thailand illegally. As a result, they have no bargaining it will make labor registration fail to provide correct and power and are not able to demand protection from state detailed information and even to verify the authenticity authorities even though they are entitled to as they are of the information. It is important to affirm integrity of the an employee according to the labor law. Therefore, labor registration lately initiated could employer. It is not possible to use labor registration alone help to legalize the status of the migrant workers giving to tackle human trafficking since it depends upon them more leverage to negotiate with their employers. various factors including the use of suppression and They can even participate in unofficially recognized prevention measures such as the registration of fishing groups to campaign with civil society organizations. This boats, keeping record of persons boarding the boats could help to reduce labor rights violation. and coordination with other sectors. 3. Consistencies of the law to organize HRDF has also found that labor agents have sea fishery and policy become involved with the registration of migrant workers There is a huge labor shortage in fishery sector at the Service Center. It is known that the agents are since the work is considered “3D” (dirty, dangerous and not recognized officially or legally. They often work in difficult). Normal labor registration is consisted of too behalf of the employers to procure employees. Apart complicated and expensive process and not compatible from shortcutting relations between the employer and with the nature of employment in sea fishery. The the employee, some agents have made their gain from establishment of Service Center should help to reduce exploiting and asking for money from both the employer the time used for registration of employment (30–45 and the employee. minutes per worker) and address the complicated and According to human trafficking database, workers expensive process. in Thailand vulnerable to human trafficking are those In conclusion, the opening of One Stop Service employed in sea fishery. Based on various studies, there Center by the Thai state can be beneficial to the cause is a shortage of labor in the sector and a lot more for the protection of labor rights in various ways. Most workers (about 200,000 workers) are needed.3 One of importantly, it paves the way to use more lenient the purposes for the establishment of the Service approaches and to transform the illegal migrant workers Center is to boost the number of workers in the sector. to legal workers who can live lawfully in Thailand. It helps 3

The number has been calculated based on those working for inshore and offshore fishery. In 2014, the number of inshore fishers is 283,557 (including freshwater fishery). Please see a report on the study of projected labor demand during 2010-2014. http://human.aru. ac.th/www/images/stories/Font_Goverment/7.pdf 22 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


the Thai state to gauge the exact number of the migrant workers, the information of which is essentially important for the stratification labor management plans. It also indicates how the importance of migrant workers is acknowledged since they are so instrumental in developing the economy from the ground up. Since there is a great demand of migrant workers, it is proper then to arrange for a system through which the workers can be handled lawfully and certain agencies are clearly designated with the roles to help them. And the Thai state should realize that addressing issues of migrant workers can be quite challenging with regard to the law and existing human rights principles. It is therefore necessary to allow more exchange of opinions from various sectors to ensure comprehensive solutions of the problems.

First Hearing of the Supreme Administrative Court On cases filed by migrant workers against Social Security Office regarding the discriminatory and unlawful guidelines for protection of migrant workers suffers from injuries or sickness from work

Updates of highlighted cases

The Human Rights and Development Foundation (HRDF) has been providing legal representation to Mr. Joe, a migrant worker from Burma and his colleagues in their litigation against the Social Security Office (SSO) on 28 January 2010. Previously, SSO issued a guideline regarding the protection of migrant workers suffering from occupational health as per the circular no. RS0711/ W751 dated 25 October 2001, which was approved at the meeting of the Workmen’s Compensation Fund Committee in its meeting no. 20/2544 on 7 September 2001. The lawsuit was launched since existing laws including the 1994 Workmen’s Compensation Act already covers all employees including migrant workers in Thailand, provided that the worker has the following qualifications; 1. Having been registered and granted work permit by the Thai authorities 2. Their employers have paid contributions to the Workmen’s Compensation Fund at the rate not lower than minimum wage. 3. The employee has submitted personal income tax form to the Thai authorities. Normally, a migrant worker despite their having none of the above documents is still eligible to compensation from their employer as provided for in the 1994 Workmen’s Compensation Act. Later, the SSO invoked a resolution made by the

Workmen’s Compensation Fund Committee no. 23/2544 dated 12 October 2001 to require that in order to apply for social security status, a migrant worker is obliged to produce the following documents; 1. Work permit and passport, if there is any 2. Work permit and Alien ID Card The migrant workers who filed complaint found the measure unlawful since it imposes a discriminatory requirement based on racial biases against them even though according to the 1994 Workmen’s Compensation Act, they are entitled to the right. The new guideline by SSO is also found to have breached the Constitution of the Kingdom of Thailand, the Universal Declaration for Human Rights (UDHR), International Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination (ICERD), ILO Conventions, and even the Charter of the Association of Southeast Asian Nations regarding the protection and promotion of the rights of migrant workers and the Convention on Equal Treatment (regarding the 1925 Workmen’s Compensation Fund’s policy on accidence no. 19. In addition, SSO has failed to ensure that the employer pays the contribution to the Workmen’s Compensation Fund, and thus it must be found to have neglected their duties as required by law. Therefore, the implementation of the guideline will become a hurdle to access to the Workmen’s Compensation Fund if the worker suffers from a work–related injury. NEWSLETTERS Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 23


Later on 17 July 2014, the Supreme Administrative Court held the first hearing on this case and the Judge’s statement during the first hearing can be summarized by HRDF as follows;4 1. The SSO’s protection of migrant workers suffering from occupational health as per the circular no. RS0711/W751 dated 25 October 2001 which requires a new set of qualifications of the employee to have access to compensation is a new rule and therefore must be treated as a by–law5 as per Article 3 of the “Act on Establishment of Administrative Courts and Administrative Court Procedure, B.E. 2542 (1999). 2. In view of the 1994 Workmen’s Compensation Act ,it intends to protect an employee suffering from or being injured during their work regardless if the employee is a Thai or alien national. 3. Article 6 of the 1994 Workmen’s Compensation Act provides that the Minister of Labour shall have charge and control of the execution of this Act and shall have powers to issue Ministerial Regulations, Rules and Promulgations for the execution of this Act. 4. Article 32 of the 1994 Workmen’s Compensation Act provides that the Workmen’s Compensation Fund Committee shall have the powers to submit opinions to the Minister. 5. Since the 1994 Workmen’s Compensation Act provides that the Minister of Labour have the powers to issue a Ministerial Regulation, therefore, the Workmen’s Compensation Fund Committee shall only have the powers to just submit opinions and suggestions. 6. Even though the Workmen’s Compensation Fund Committee has the powers to issue a guideline to be enforced by government officials in order to prevent the employer from importing illegally their migrant workers and to enable their employees to have access to compensation, similar to other workers, but the guideline which constitutes as a by–law can only be issued by the Minister of Labour invoking his power 4

provided for by the 1994 Workmen’s Compensation Act. Therefore, that the SSO, a defendant in this case, invoked the resolution of the Workmen’s Compensation Fund Committee and instructed concerned agencies to act in compliance with it with regard to the guideline for the protection of migrant workers suffering from occupational health as per the circular no. RS0711/ W751 dated 25 October 2001 is an unauthorized act. Since the case is involved with public order, the judge who makes the conclusions for consideration deems it fit to overturn the decision made by the Lower Administrative Court and to revoke the protection of migrant workers suffering from occupational health as per the circular no. RS0711/W751 dated 25 October 2001. As for the request for the Court to ask the SSO to instruct the employer of the migrant workers to proceed with paying contribution to the Fund is not executable by the Court.

The Provincial Court of Mae Sot sentenced a sexual abuser to jail HRDF–labor law clinic (LLC) has provided legal assistance to a female migrant worker who complained that on 24 February 2014 she was raped by Mr. Nok with unknown last name. According to her, she was lured to drink milk mixed with sedative substance which made her feel sleepy and weak and could not resist the raping attempt or to run away. Our labor Law clinic has accompanied the damaged party to report the case to the police at the Mae Sot Police Station in Tak province asking that the perpetrator be charged with rape as per Article 276 of the Penal Code. Mr.Nok later indicted on the charge with the Provincial Court of Mae Sot. On 17 July 2014, the Court found Mr. Nok guilty of the charge and sentenced him to one year and four months.

Adjudication process in the Administrative Court is based on checks and balances among the judiciaries. One of the judges is designated as the judge in charge of the case shall prepare and deliver a case file to the judge who makes the conclusions for consideration. The latter judge plays a role in verifying the performance of duties of the judge in charge of the case and the whole division of judges. 5 A “by-law” means a Royal Decree, Ministerial Regulation, Notification of a Ministry, ordinance of local administration, rule, regulation or other provision which is of general application and not intended to be addressed to any specific case or person. 24 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


Immigration Offices in Mae Sot District and Burma’s Myawaddy collaborating to crack down on agents forging counterfeit passports for the migrant workers HRDF–Labour Law Clinic (LLC) in Mae Sot District has given help to Mrs. NinIlai, 25 years, a migrant worker from Burma, who was apprehended by the immigration official at the Thailand–Burma Friendship Bridge in Mae Sot District on 3 September 2014. She was charged for forging official documents and using counterfeit passport as per the Penal Code. According to Mrs. NinIlai, she hired a labor agent in Burma to extend her passport giving him the amount of 3,000 baht. After two months, she was given the passport in Burma and later she used it to make her entry into Thailand and was nabbed and charged. She has been held in custody during the investigation by the police. Our LLC in Mae Sot District has contacted the Immigration Office in Mae Sot District to inquire about the incidence. A meeting was later held with immigration officials from Thailand including officials from the Burma’s Myawaddy Immigration Office to exchange information and to explore ways to crack down on the agents involved with the passport forgery in September 2014. During the meeting, the officials from Burma even showed us eight more counterfeit passports seized from labor agents.

(Photo#) The meeting attended by representatives from our labor rights clinic in Mae Sot District, officials from both Thai and Burmese Immigration Offices in Mae Sot District and Myawaddy

Heir of migrant worker who died from car accident awarded indemnity from insurance company

(photo#) When the indemnity was awarded by the insurance company

On 6 February 2014, Ms. Sinmapiak (no last name), a migrant worker from Burma, was hit by a car and died at Mae Sot Hospital on 24 April 2014. HRDF Labour Law Clinic in Mae Sot District helped to facilitate for her heir to have access to the indemnity from the Viriyah Insurance PLC, which is contracted to provide the service by the car owner. On 3 June 2014, Mrs. Mia Mia Win (no last name), the deceased’s mother, was awarded 200,000 baht as indemnity from the insurance company. 50,000 baht has been deducted from the amount to foot the medical bill. In addition, the party that has accidentally killed her also provided the amount of 30,000 baht to the deceased’s mother as well. NEWSLETTERS Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 25


The Provincial Court of Songkhla conducting advance witness examination in human trafficking case involved with illegal exploitation and extortion Staff from the anti–labor–human–trafficking project under the Human Rights and Development Foundation (HRDF) and lawyers have observed the witness examination of Mr. Or (not real name), a survivor of human trafficking and Mr. M (not real name), his relative on 30 July 2014 at 09.00 am at the Provincial Court of Songkhla. In this case, Mr. Anus Hayeemasae and others were indicted on human trafficking charges including illegal exploitation and extortion as per the Prevention and Suppression of Human Trafficking Act B.E. 2551 (2008) and on kidnapping, offence against freedom and arbitrary detention as per the Penal Code. During the witness examination, relatives of the survivor gave evidence that Mr. M was contacted by his relatives in Burma and was asked to help Mr. Or, a damaged party in this case. He was kidnapped by the broker who demanded 60,000 baht as ransom. The victim has fled from Rakhine State in Burma fearing

persecution there and wanted to go to Malaysia with help from the broker. It was agreed that the sum of money would be paid in its entirety once he sets his foot on Malaysia. Nevertheless, he was held in custody while in Thailand by the broker and was forced by them to make a phone call and informed his relatives in Burma. While his relatives were phone, he was tortured so that they could hear his groaning and prompted to pay the ransom. With coordination from civil society organizations and police officials, the witness arranged to meet with the broker at the Hat Yai bus station in Songkhla Province. There, Mr. Anus Hayeemasae, a defendant in this case, brought the victim and the police made the arrest and took legal action against him. After witness examination, the Provincial Court of Songkhla will further conduct examination of prosecution of witnesses during 21–24 October and examination of prosecution witnesses during 30–31 October 2014.

Six migrant workers received overdue wages from employer after lodging complaint with the Office of Labor Protection and Social Welfare in Samut Prakan Province HRDF–Migrant Justice Program (MJP) in Mahachai District received a complaint from Mr. Aung Tun Win and four friends who worked at Marine Acme Thai Dockyard Co., Ltd in Samut Prakan since they had not received any wages from the employer who subcontracted the work from the company. They later complained with the Office of Labor Protection and Social Welfare in Samut Prakan Province in Samut Prakan in June 2014. On 3 September 2014, officials from the Office of Labor Protection and Social Welfare in Samut Prakan Province asked the subcontract employer and representative from the company to have a meeting. Eventually, the company agreed to pay wages to all the six employees instead of the subcontract employer. An agreement was made to record the payment the same day all the employees received their pay. (Photo#) Five migrant workers complaining with the Office of Labor Protection and Social Welfare in Samut Prakan Province

26 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


HRDF visiting the collapsing condominium to provide humanitarian to affected workers The U Place condominium collapsed during the construction in the province of Pathumthani on 11 August 2014 about 16.20 causing 14 deaths including three migrant workers from Cambodia. Mrs. Sugarnta Sookpaita, staff of the Migrant Justice Program (MJP) in Chiang Mai with representatives from labor unions in Rangsit and adjacent areas and the Council of Work and Environment Related Patent’s Network of Thailand (WEPT) have made a visit to the affected workers and to provide them help making them have access to remedies and protection as provided for by law. Initially, HRDF and labor unions in Rangsit and the Council of Work and Environment Related Patent’s Network of Thailand (WEPT) have submitted a letter of petition to the Pathumthani Governor asking for an inquiry into the incidence and remedies for the affected migrant workers. A meeting was held with the Social Security Office (SSO) in Pathumthani to ensure that the migrant workers have access to compensation since they suffer from work–related injuries and to help them receive the overdue wages

Staff visiting building collapse patients

covering the period of 16 July–15 August 2014 for the 28 workers from Cambodia and three from Thailand. Later the wages have been paid by the employer. On 29 August 2014, Pathumthani SSO instructed the employer to provide compensation to the heirs of the two deceased workers from Cambodia (Mr. Ouy and Mr. Im Phua) since the two of them died of work–related accidence. SSO applied the same guideline for the employer to provide compensation to the heir of the deceased employees even though the employer did not pay his contribution to the Workmen’s Compensation Fund, Nevertheless, it did not appear that the SSO has taken any legal action against the employer who has failed to act in compliance with the 1994 Workmen’s Compensation Act since he has failed to pay his contributions to the Fund.

HRDF visited affected migrant workers from bursting boiler in Samut Prakan

Staff visiting bursting boiler patients

On 20 August 2014, representatives from HRDF have gone to Samut Prakan to visit migrant workers who suffered from an explosion of boiler causing injuries among migrant workers in the factory and those living close to the crime scene. Initially, it was found that 22 of them were receiving treatment at Samut Prakan Hospital, seven of them were inflicted with minor wounds and were allowed to return home while 15 others were admitted into hospital. In addition, some migrant workers who lived closer to the factory also died from the incidence. The factory’s owner has indicated his intention to provide for medical expense and compensation to the heirs of the deceased. HRDF staffs have visited and interviewed the patients and their relatives and were willing to advice the migrant workers or their relatives who wanted to have access to their legal rights and remedies. NEWSLETTERS Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 27


Introducing awareness raising activities among children in migrant workers community

Child learning empowerment in migrant worker community

T

he Migrant Justice Program (MJP) under Human Rights and Development Foundation (HRDF) has supported migrant labor community to found the Migrant Workers Federation (MWF) in order to organize activities to provide for and develop capacity building of migrant workers including the opening of library for migrant workers and its memberships, activities in the library such as reading, learning Thai, English, Shan and practicing computer skill.

We also provide help including legal aid to those whose rights have been violated as well as work to promote cultural activities with Thai community to nurture mutual understanding of the language and cultural differences. The MJP has found a number of descendants of migrant workers are interested to participate in our library activities as well. The MJP therefore organized capacity building activities for children of the migrant workers emphasizing activities to encourage them to express themselves, to share their experience, and to provide them with library services.

Activities

1 July, The US Embassy representative visited the HRDF–MJP Mahachai office to learn about assistances to migrant workers and human trafficking victims.

13–14 July 2014 HRDF and U Kyaw Myint Legal office of Yangon jointly organized a Workshop on Sharing Knowledge and Experience with Lawyers from Myanmar on Legal Aid to Migrant Workers in Thailand. The workshop composed of sixty participants attorneys from Thailand and Myanmar, labor union members, Ngos and international labor organization. After the meeting, the two attorneys from both countries will develop an activity together to provide legal aid to migrant workers from Myanmar to know about employment and labor policies in Thailand. They also discussed about migrant labor rights case work supports

28 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


On 15 July, a HRDF representative and members of Migrant Working Group (MWG) organized a field observation trip to observe the opening of the one stop service migrant workers registration process stop (One Stop Service) which has been established under the Declaration National Council for Peace and Order (NCPO) No. 70, dated 25 June 2014, as a temporary measure to resolve migrant workers and human trafficking issues. The Samutsakorn Center Comprehensive Migrant Registration Services is first center for registering workers along with their dependents. Many migrant workers came to register with the employer or employer’s representatives, then migrants and dependents will receive a temporary identification and TR. 38/1. This allows workers to live and work temporarily in Thailand. Then, workers will need to follow the process of nationality verification. Later the observers visited the service center for migrants who passed the nationality verification process but whose terms of employment expired after four 4 years. Employers will need to obtain a visa to remain in the kingdom and a work permit at the Department of Employment. Office of Employment and Immigration office staffs manage this center. 19 July, HRDF–MJP Chiang Mai staff and migrant workers volunteers visited Dong Wat Chan construction site community, Sarapi sub–district, Chiang Mai to educate on labor protection law, migrant workers policies under the NCPO and receive and update on the situation of migrant workers in the community. There were 25 participants, 15 males and 10 females

21 July, a HRDF representative joined a meeting with the Law Reform Commision, Sub–commission on the ASEAN. The Sub–commission is responsible for designing an appropriate mechanism to protect and promote the rights of workers in ASEAN, which will be incorporated in the “Draft ASEAN Agreement on Protection of the Rights of Worker” The Sub–commission has presented the draft and received inputs from participants from the state, the civil society and the academic sector. Then it will use the inputs to revise and publish the draft for national public hearing and for ASEAN public hearing.

6. From 21–23 July, a HRDF representative attended a workshop to upgrade the first national network of migrant workers community based organizations (CBO Summit) organized by the Migrant Working Group (MWG) to be a forum for migrant workers organizations to exchange information, practices and experience. The workshop aimed at encouraging migrants to network to protect the rights and improve livelihood of fellow migrant workers nationally and regionally. After the meeting, a representative from the Migrant Workers Federation (MWF) from Chiang Mai visited and learned about HRDF’s mission to help migrant workers at Samutsakorn office. NEWSLETTERS Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 29


30 July, HRDF–MJP Chiang Mai and migrant volunteers visited a construction site in Baan Sa Muang, Muang Chiang Mai District to educate the workers in the labor rights of under the Social Security Act, migrant workers policy under the NCPO and to receive an update the situation of migrants in the community. There were 29 migrants in the session, including 20 males and 9 females. On July 30, HRDF–Legal Clinic office visited the migrant community at Pa Kluay community, Soi Ruam Jai, Mae Sot. There were over ten Burmese migrant workers households. Most workers in communities are experiencing identity document related issues and are generally employed as manual workers. Their children can access to education in schools established by Burmese civil society organizations in Mae Sot.

30 July, HRDF–MJP Chiang Mai organized a meeting at the migrant workers learning center, Sarapi District of Chiang Mai Province to update activities with migrant volunteers to help HRDF activities and community visits in migrant communities. The meeting intended to help the volunteer team to educate the community, to have the courage to communicate with confident during their discussion of problems in migrant communities and to understand various protection mechanisms for migrant rights. There were 14 volunteers, 11 males, 3 females in the meeting.

1 August, a HRDF representative participated in a seminar, entitled “A Public Forum Against Human Trafficking,” by Ministry of Social Welfare and Human Security. The seminar intended to inform the direction that the Ministry will address the human trafficking prevention and elimination after Thailand has been demoted to TIP Tier 3. The seminar was organized at Plaza Athinee Royal Meridien and included ML Budaril Samiti, Deputy Permanent Secretary of the Ministry of Labor; Deputy Police Commander Pol. Gen. Ake Angsananon; Pol. Gen. Chatchawal Suksomjit, Director General of Department of Special Investigation (DSI); Mr. Songsak Saichuer, Director General of America and Southern Pacific Department, Ministry of Foreign Affairs and Ms. Yanee Lertkrai, Director General of the Social Development and Welfare Department. 30 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


4 August, HRDF–Labor Clinic Office representative attended a Returning Nature, Culture, Tak people and Happiness to the All organized by the Tak Children and Family Shelter. The participants, both public, private and civil society sectors jointly discussed the issues of human trafficking in Mae Sot District, Tak Province. There was a booth to promote the prevention and resolving trafficking in human issues to participants to be aware of this problem.

Between 6–8 August 2014 a HRDF representative attended a regional meeting of partner organizations in an Exchange Program to study international organizations sponsored by the Fredsorpset (FK–Norway) an NGO from Norway. The meeting aimed to provide an understanding to the management system of the exchange program, an interactions between representatives of partner organizations and staff selected to participate in the exchange program. HRDF is a partner with the U Kyaw Myint law firm in Myanmar and Lembaga Batuan Hukum (LBH–Jakarta), Indonesia. The purpose of the exchange program is to study the activities of the host organizations to provide legal aid to the public.

Between 15–16 August, HRDF representative attended a meeting on best practices to improve a complaint mechanism for migrant workers in Phnom Penh, Cambodia, organized by the Task Force on ASEAN Migrant Workers. The participants from NGOs working on the protection of migrant rights offered experience of their supports and promotion for workers to access the complaint mechanism to protect migrant workers both nationally and internationally. They also discussed a preparation and a presentation of complaint application forms for recording complaints from migrant workers.

NEWSLETTERS Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 31


17 August, HRDF–MJP Chiang Mai office and migrant volunteers organized an outreach visit to a community area construction site in Wat Jed Yod in Chiangmai to inform them about the labor law. The workers in the construction site were having a minimum wage problem and employers have confiscated their passports. The HRDF officer advised them to claim their rights under the labor law and how to retrieve their passports from their employers. There were 46 migrant participants, 38 females and 8 men. During 23–24 and 30–31 August, HRDF representatives attended a hearing on the extension of social security protection to migrant workers in agriculture and fisheries sectors in Khon Kaen Province, Surat Thani Province, Rayong Province and Tak Province by the Social Security Office. The data from the hearing would be used to amend the Social Security Act and Workmen Compensation Act to consider the extension of the schemes to workers in the agriculture and fisheries sectors. The Foundation’s representative had prepared a document on some observations of the Social Security Act and the Workmen Compensation Act amendments, on the compensation for agriculture, fisheries and other sectors to the social security office representative.

26 August, a HRDF representative attended a board meetings to develop an access to a complaint mechanism and to promote access to complaint mechanisms for the protection of migrant workers’ rights organized by the ILO in collaboration with the Thai Ministry of Labour. The organizing committee had presented its activities on the development of a mechanism for grievances in seven pilot provinces in Bangkok, Samut Sakhon, Samut Prakan, Chiang Mai, Mae Sot, Tak, Rayong and Surat Thani 32 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

29 August, HRDF representatives participated in an certificate presentation ceremony to students who had participated in Saphansiang Youth Ambassador project by the International Labour Organization. The students who had been qualified for a study trip on the protection of migrant workers’ rights in Thailand from April–September 2014. The three candidates are undergraduates from Chiang Mai University and Thammasat University took an internship at HRDF.


31 August, HRDF–MJP Chiang Mai office and migrant volunteers visited a construction site community in Samoeng, Baan Mae Hia to assess migrant workers’ understanding and an access of their rights under the Social Security Act. The migrant workers participated in the assessment said that the Social Security Act is useful but since they are paid less than the minimum wage, in addition to their employers have not registered them with the Social Security Office. There were 22 migrant workers participating in the assessment, 9 males and 13 females 5 September 2014, Ms. Sunida Piyakulpanich, HRDF–Mae Sot Labor Law Clinic officer, who has participated in an exchange program with U Kyaw Myint Legal Office of Yangon, Myanmar for a period of one year, gave a talk to staff of the labor law clinic, Mae Sot, community representative, migrant workers, CBO representatives, local Lawyer Council representatives in Mae Sot area. Ms. Sunida presented her experience from economical and political background, enforcement of labor laws in the country, push factors for the Burmeses to migrate to Thailand, domestic mechanisms to assist workers in Burma, a development of the legal aid guideline for migrants at HRDF and the U Kyaw Myint Legal Office. Participants also discussed the guidelines to prepare a manual for migrants so that they can know about living and accessing labor rights protection mechanism in Thailand when they experience problems 19 September, the ASEAN Intergovernmental Commission on Human Rights (AICHR) held a meeting to change experience over the country Universal Periodic Review (UPR), in which every member government must submit a report to the United Nations through the Office of the High Commissioner for Human Rights every four years. The civil society may also prepare their parallel reports to the state report to the High Commissioner. The AICHR meeting provided an exchange forum for representatives of government, civil society from ASEAN countries to discuss and exchange experiences in handling challenges under the UPR process, as well as seeking a way to develop and manage common challenges in the region.

NEWSLETTERS Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 33


During 5–7 September 2014, the Migrant Forum in ASIA (MFA), an NGO and the Caritas Lebanon Migrants Center held a second meeting with Lawyers Beyond Borders network from Beirut, Lebanon. The workshop bring 21 attorneys and lawyers representatives from Asia, the Middle East, South Asia and Southeast Asia, who have experiences in providing legal aid to migrant workers. A HRDF representative attended the workshop to present, exchange experience and case studies to support migrants litigation, especially among migrant workers from Myanmar where migrant workers experience similar exploitation such as unfair employment contract, being tricked by their employers, brokers, and in–access to labor right protection mechanism especially among domestic workers. 14 September, HRDF–MJP Chiang Mai organized a workshop for migrant volunteers at Learning Center for Migrant Workers in Fang District, Chiang Mai. There were legal representatives to inform them about road accident insurance law in case of a car accident, case studies, a guideline to assist migrants in a car accident. There were 15 participants, 4 females and 11 males.

10 September, HRDF–Mae Sot Labor Clinic staff organized a community visited Baan Huay Nam Khun Village, Moo 8, Maha Wan Sub–district, Mae Sot District, Tak Province. Populations are Karens. There are a little over one hundred households and they planted agricultural crops. Young kids are educated in Border Partrol Police School in the community.

34 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


19 September, HRDF–MJP Chaing Mai and migrant volunteers visited Kanchana 1 construction site community in Chiang Mai to assess an understanding on the Workmen Compensation Act and access to rights stipulated in the Act. There were 21 migrant workers participating in the assess, of which are 10 females and 11 males.

25 September, the Law Reform Commission of Thailand held a hearing on the draft Bill to Amend the Civil Procedure Code on Class Action, proposed by the National Council for Peace and Order (NCPO) The representatives from judge, public prosecutor, academics, lawyers, labor law lawyers (Mr Charit Meesit and a HRDF representative), environmental lawyers and consumer lawyers commented and shared their experience about a litigation process to the Law Reform Commission to take stock and make recommendations.

8 September, a HRDF representative attended a meeting “the Principle of the Social Security Law for All Workers “to voice opinions and proposals to improve and amend Social Security Act , its principle and a coherence to the social security system. Thus, the law can enhance quality of life of formal and informal workers, including migrant workers. The meeting is organized by the Law Reform Commission. The Working Group will consider the content and the principle social security law as well as guidelines for an amendment and a development of the social security law.

On September 26, a HRDF representative and member of Migrant Working Group (MWG) had a consultative meeting on MOU Employment for Migrant Workers from Neighboring countries (Myanmar, Laos and Cambodia). The meeting is sponsored by the ILO with an aim to reflect on the experience of aid and the problems facing migrant workers through the MOU employment and to develop a proposal to amend the MOU recruitment and employment policy. NEWSLETTERS Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 35


บรรณาธิการ: นางสาวปรีดา ทองชุมนุม และนางสาวภัทรานิษฐ์ เยาด�ำ ติดต่อ: มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ส�ำนักงานกรุงเทพมหานคร (เฉพาะโครงการต่อต้านการค้ามนุษย์ด้านแรงงาน) 109 ซอยสิทธิชน ถนนสุทธิสารวินิจฉัย แขวงสามเสนนอก ห้วยขวาง กรุงเทพ 10310 โทรศัพท์ 02 277 6882 โทรสาร 02 275 4261 www.hrdfoundation.org มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ส�ำนักงานจังหวัดสมุทรสาคร 93/200 หมู่ที่ 7 ต�ำบลท่าทราย อ�ำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร 74000 โทรศัพท์/โทรสาร 034 414 087 มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ส�ำนักงานจังหวัดตาก 14/12 ถนนประสาทวิถีเดิม ต�ำบลแม่สอด อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก 63100 โทรศัพท์/โทรสาร 055 535 995 มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ส�ำนักงานจังหวัดเชียงใหม่ 71 ถนนสนามกีฬาซอย 1 ชุมชนอุ่นอารีย์ ซอย 4 ต�ำบลศรีภูมิ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200 โทรศัพท์/โทรสาร 053 223 077 36 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

Editor: Ms.Preeda Tongchumnum and Ms.Phattranit Yaodam Contact: Human Rights and Development Foundation–Bangkok (for the Anti–Human Trafficking Project only)109 Soi Sitthichon, Suthisarnwinichai Road, Samsennok, Huaykwang, Bangkok 10310 Tel. 662 277 6882 Fax. 02 2754261 www.hrdfoundation.org HRDF, Samut Sakhon Branch Office 93/200 Moo 7, Ta Sai Sub–district, Muang District, Samut Sakhon 74000 Tel/Fax 034 414 087 HRDF, Mae Sot District Branch Office 14/12 Prasart Witheederm Road, Mae Sot Sub–district, Mae Sot District, Tak 63100 Tel/Fax 055 535 995 HRDF, Chiang Mai Branch Office71 Sanamkeela Road, Soi 1, Un–Aree Community, Soi 4, Sriphum Sub–district, Muang District, Chiang Mai 50200 Tel/Fax 053 223 077


ฉบับที่ 6 : ตุลาคม-ธันวาคม 2557

สถานการณ์ด้านนโยบาย และการบังคับใช้กฎหมาย

6th issue: October-December 2014

การค้ามนุษย์ กับเเรงงานประมงทะเล ภัทรานิษฐ์ เยาด�ำ1

ขณะนีม้ รี า่ งกฎหมายหลายฉบับก�ำลังจะเข้าสูก่ ารพิจารณาหรืออยูใ่ นระหว่างพิจารณาของคณะรัฐมนตรีและสภานิตบิ ญ ั ญัติ แห่งชาติหรืออยู่ในระหว่างการผลักดันเพื่อน�ำเสนอของหน่วยงานต้นเรื่อง หนึ่งในกฎหมายที่โครงการต่อต้านการค้ามนุษย์ ด้านเเรงงานให้ความสนใจเป็นพิเศษคือ ร่างกฎหมายว่าด้วยการค้ามนุษย์ หรือร่างพระราชบัญญัติแก้ไขพระราชบัญญัติป้องกัน และปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ... พระราชบัญญัติป้องกันเเละปราบปรามการค้า มนุษย์ พ.ศ. 2551 เดิมเป็นกฎหมายระดับพระราช บัญญัติที่มีส่วนสัมพันธ์โดยตรงกับการแก้ไขปัญหา ค้ามนุษย์อันเป็นผลพวงมาจากการออกกฎหมายหลัง การท�ำรัฐประหารใน ปี 2549 พระราชบัญญัตดิ งั กล่าว มีลักษณะเฉพาะ กล่าวคือเป็นกฎหมายเชิงมาตรการ อันประกอบด้วยมาตรการปราบปรามผูก้ ระท�ำความผิด ฐานค้ามนุษย์เเละมาตรการการเยียวยาผู้เสียหายจาก การค้ามนุษย์ผา่ นการท�ำงานของกลไกส�ำคัญทีเ่ รียกว่า ทีมสหวิชาชีพ 1

หลังจากทีป่ ระเทศไทยถูกลดล�ำดับจากประเทศทีต่ อ้ งจับตามอง ในระดับ Tier 2.5 (ซึ่งได้รับติดต่อกันมาสี่ปีซ้อน) เป็นระดับ Tier 3 ซึง่ ถือว่ารัฐใช้มาตรการป้องกัน ปราบปราม ปัญหาการค้ามนุษย์ได้ตำ�่ กว่า มาตรฐาน (วัดระดับมาตรฐานจากกฎหมายว่าด้วยการค้ามนุษย์ของประเทศ สหรัฐอเมริกา หรืิอ Protection Victims Protection Act 2000) นับจากนัน้ เป็นต้นมา สือ่ มวลชน หน่วยงานราชการ เเละองค์กร พัฒนาเอกชนต่างมีความพยายามที่จะแก้ปัญหาการค้ามนุษย์กันอย่าง คึกคัก ทั้งการตั้งคณะกรรมการ การออกนโยบาย การรณรงค์ การแก้ กฎหมาย ทุกทิศทุกทางล้วนเเล้วเเต่มงุ่ สูป่ ลายทางการขจัดการค้ามนุษย์

นางสาวภัทรานิษฐ์ เยาด�ำ โครงการต่อต้านการค้ามนุษย์ด้านแรงงาน มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนเเละการพัฒนา


1. ท�ำไมต้องตื่นตัวกับการแก้ปัญหาการค้ามนุษย์ ทั้งที่ประเทศไทยมีปัญหามากมายให้ต้องแก้ไข ตั้งเเต่การท�ำนายันปัญหาการขนส่งทางอวกาศ เพราะการค้ามนุษย์คือการละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐานที่สุด ของคน คือสิทธิในเนื้อตัวร่างกายของบุคคลนั้น ผ่านรูปแบบ การเเสวงหาประโยชน์จากการค้าประเวณี การบังคับคนให้ขอทาน การตัดอวัยวะ รวมถึงการบังคับใช้แรงงาน โดยเฉพาะในกิจการ ประมงทะเล เเละท�ำให้การค้ามนุษย์ในกลุ่มเเรงงานกิจการ ประมงทะเลเป็นกลุ่มผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ที่ถูกกล่าวถึง มากที่สุดในขณะนี้

2. แรงงานประมงเป็นใคร? มาจากไหน? แรงงานประมงคือ เเรงงานที่ท�ำงานในกิจการประมง ได้แก่ประมงพื้นบ้าน (ประมงชายฝั่ง) เเละประมงพาณิชย์ เเรงานประมงมีหลายระดับทั้งระดับมีฝีมือ (skills) เช่น ผู้ให้บริการในร้านอาหารบนเรือส�ำราญกลางทะเลเเละระดับ ไม่มีฝีมือ (unskilled) ซึ่งเป็นแรงงานประมงโดยทั่วไปที่เรา สามารถพบเห็นได้บนเรือประมงพาณิชย์ ข้อมูลในปัจจุบัน เเสดงว่ า ประเทศไทยยั ง ต้ อ งการแรงงานประมงประเภทนี้ อีกเป็นจ�ำนวนมาก โดยเฉพาะในกิจการประมงทะเล เนือ่ งจาก ในกิจการส่วนใหญ่ยงั ไม่ได้รบั การปรับปรุงให้ทนั สมัยพอทีจ่ ะใช้ เครื่องจักรหรือแรงงานมีฝีมือเเทนแรงงานไม่มีฝีมือเหล่านี้ได้ ประมาณการจากยอดการจดทะเบียนเรือกว่า 53,141 ล�ำ เเละจากยอดมูลค่าการส่งออกเเค่ไตรมาสที่ 2 ของปี 2556 เป็นจ�ำนวนถึง 899,085.31 ตัน คิดเป็นมูลค่า 109,994.99 ล้านบาท คาดว่ามีเเรงงานกว่า 200,000 คนที่ท�ำหน้าที่เป็น หน่วยผลิตที่ส�ำคัญในกิจการประมงของไทย1[1] และในส่วน ของแรงงานต่างด้าว 3 สัญชาติจากประเทศพม่า กัมพูชา และ ลาวที่ได้รับอนุญาตจากกรมการจัดหางานให้สามารถท�ำงาน ในกิจการประมงทะเลมีเพียง 4,508 คนเท่านั้น3[2] (ข้อมูล ก่อนมีการเปิดให้ขึ้นทะเบียนแรงงานต่างด้าวโดยประกาศของ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ปี 2557) ค�ำถามคือ เเรงงานส่วนต่างที่เหลือกว่าแสนคนนั้น หายไปไหน ค� ำ ตอบคื อ แรงงานที่ ห ายไปยั ง คงอยู ่ เ ป็ น แรงงาน โดยเฉพาะในกิจการประมงทะเล เเต่แรงงานต่างด้าวส่วนใหญ่

2

เเรงงานทีผ่ ดิ กฎหมายหรือแรงงานใต้ดนิ จึงไม่ได้รบั การบันทึก จากรั ฐ ไทยว่ า มี ตั ว ตนเป็ น บุ ค คลที่ เ ข้ า เมื อ งเเละอยู ่ ใ นราช อาณาจักรไทยอย่างถูกกฎหมายหรือที่เราเรียกกันว่า เเรงงาน ต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองนั่นเอง

3. เเล้วเเรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองเหล่านี้ มีความส�ำคัญกับเราอย่างไร สิ่งส�ำคัญประการแรกที่ท�ำให้แรงงานต่างด้าวหลบหนี เข้าเมืองเหล่านี้มีความหมายกับเราและกับรัฐไทย คือ พวกเขาเหล่านี้เป็น “คน” เหมือนเรา และเหมือนกับ นักโทษในคุกอีกกว่า 300,000 คนที่ยังคงเป็นคนเหมือนกัน เเม้ว่าแรงงานต่างด้าวจะเป็นบุคคลที่กระท�ำความผิดพระราช บัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ. 2522 โทษที่ได้รับตามกฎหมายก็คือ การหลบหนีเข้าเมืองเท่านั้น เเต่ความเป็นคนของแรงงาน ต่างด้าวไม่ผิดกฎหมาย สิทธิมนุษยชนจึงยังอยู่ เเละเเน่นอนว่าแรงงานต่างด้าวเหล่านี้ล้วนเเต่เป็น ฟันเฟืองเเละสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจให้กับประเทศไทยอย่าง มหาศาล เเต่เพราะสถานะการหลบหนีเข้าเมืองให้เเรงงาน ต่างด้าวต้องถูกขูดรีดทัง้ จากคนในประเทศเดียวกันเองเเละจาก คนในประเทศไทย ปลายทางของแรงงานต่างด้าวหลายคน จึงกลายเป็นเหยื่อการค้ามนุษย์ บางคนถูกส่งต่อไปยังเรือ หลายล�ำ เป็นเวลานานหลายปี ต้องท�ำงานหนัก กินอยูไ่ ม่สบาย จนสุดท้ายบางคนก็กลายเป็นนายหน้าหาเเรงงานผิดกฎหมาย เสียเอง เเน่นอนว่าไม่ใช่แรงงานต่างด้าวทุกคนที่จะถูกกระท�ำ เช่นนี้ เเต่การถูกละเมิดดังกล่าวเเม้จะเกิดกับคนเพียงคนเดียว ก็ไม่ ใช่เหตุผลที่จะสามารถละเลยได้ไม่ใช่หรือ ดังนัน้ ทางโครงการต่อต้านการค้ามนุษย์ดา้ นแรงงานจึง เห็นว่า หากรัฐไทยตระหนักถึงความส�ำคัญของการแก้ไขปัญหา การค้ามนุษย์อย่างถูกจุดนั้นควบคู่ไปกับการบังคับใช้กฎหมาย เเละบริหารงานยุติธรรมของเพื่อแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ ทั้งระบบ โดยไม่เจาะจงเฉพาะพระราชบัญญัติป้องกันและ ปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 เพียงอย่างเดียว ก็จะ ท�ำให้ทิศทางการแก้ปัญหาการค้ามนุษย์ในประเทศมุ่งไปสู่ จุดเดียวกันคือเคารพถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์กับคนทุกคน อย่างเท่าเทียมมากกว่าการมุ่งที่จะแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ เพราะเหตุผลทางธุรกิจการค้าเท่านั้น

รายงานการศึกษาแนวโน้มความต้องการแรงงานในช่วงปี 2553 – 2557 เข้าถึงได้จาก http://human.aru.ac.th/www/images/stories/Font_Goverment/ 7.pdf (เข้าถึงเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2556) 3 วารสารสถิติจํานวนคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตท�ำงานทั่วราชอาณาจักร ประจ�ำปี 2555 ส�ำนักบริหารแรงงานต่างด้าว กรมจัดหางาน เข้าถึงได้จาก http:// wp.doe.go.th/wp/images/statistic/sy/sy2555.pdf (เข้าถึงเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2556) 2 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


การน�ำนักโทษมาทดแทนแรงงานในกิจการประมง ณัฐรัตน์ อรุณมหารัตน์4

ภายหลังจากที่ประเทศไทยถูกลดอันดับจากบัญชีกลุ่มประเทศที่ 2.5 ประเทศที่ต้องจับตามอง มาอยู่ในบัญชีกลุ่มที่ 3 ซึง่ เป็นกลุม่ ประเทศทีม่ สี ถานการณ์ดา้ นค้ามนุษย์ระดับเลวร้ายทีส่ ดุ เช่นเดียวกับประเทศมาเลเซีย และเวเนซุเอลา แสดงให้เห็นว่า ในสายตาของประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศไทยยังใช้มาตรการป้องกันปราบปรามปัญหาการค้ามนุษย์ได้ต�่ำกว่ามาตรฐาน ที่กฎหมายว่าด้วยการค้ามนุษย์ของประเทศสหรัฐอเมริกา (Victims of Trafficking and Violence Protection Act of 2000) บัญญัติไว้ ท�ำให้หลายหน่วยงานทั้งหน่วยงานราชการ องค์กรพัฒนาเอกชน สื่อมวลชน ผู้ประกอบการ แม้กระทั่งผู้ซื้อผู้บริโภค ต่างมีความตืน่ ตัวและพยายามร่วมกันหาทางออกให้กบั ปัญหาการค้ามนุษย์ไม่วา่ จะในรูปแบบของการตัง้ คณะกรรมการ การออก นโยบาย การรณรงค์ รวมไปถึงการแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองแรงงานและการค้ามนุษย์ แนวคิดการน�ำนักโทษจากเรือนจ�ำมาทดแทนแรงงานใน กิจการประมง ก็เป็นหนึง่ ในความพยายามของกระทรวงแรงงาน ที่ คิ ด ขึ้ น มาเพื่ อ แก้ ไ ขปั ญ หาภาวะการขาดแคลนแรงงานใน เรือประมง โดยมุง่ หวังว่าจะน�ำไปสูก่ ารขจัดปัญหาการใช้แรงงาน ผิดกฎหมายและแรงงานทาส ต่อไปได้ในอนาคต อย่างไรก็ดี แนวนโยบายนี้ก็ได้รับเสียงคัดค้านจากหลายฝ่ายโดยเฉพาะ องค์กรเอกชน ว่าเป็นนโยบายที่มิได้เป็นการแก้ไขที่ตรงจุด และสุ่มเสี่ยงที่นักโทษจะถูกแสวงประโยชน์จากสภาวะความ เปราะบางของตนอีกด้วย เนือ่ งจากนโยบายการน�ำนักโทษจากเรือนจ�ำมาทดแทน แรงงานในกิจการประมงนั้น ผู้ที่ได้รับผลกระทบโดยตรงที่สุด คือ นักโทษ ประกอบกับมีข้อห่วงกังวลถึงความสุ่มเสี่ยงที่จะ ละเมิดสิทธิของนักโทษ จึงจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องศึกษาเรื่อง การใช้แรงงานนักโทษก่อนในขั้นต้นว่า มีกฎหมายไทยฉบับใด ให้การรองรับ และกฎหมายฉบับนัน้ มีความสอดคล้องหรือขัดกัน อย่างไรกับกฎหมายระหว่างประเทศที่มีอยู่ ส�ำหรับประเทศไทยนัน้ กรมราชทัณฑ์กม็ นี โยบายการจัด ให้มกี ารฝึกอาชีพ โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ แก้ไขฟืน้ ฟูสภาพจิตใจ นักโทษ เเละเตรียมความพร้อมให้พวกเขาเหล่านี้สามารถ กลับคืนสู่สังคมได้เมื่อพ้นโทษ ซึ่งนอกจากการฝึกอาชีพแล้ว เรือนจ�ำเองก็ยงั มีการรับงานจากบริษทั เอกชนเข้ามาให้นกั โทษท�ำ ซึ่งในทางปฏิบัติค่าจ้างที่ทางเรือนจ�ำได้รับบางส่วนก็จะน�ำมา แบ่งเป็นค่าเบี้ยเลี้ยงให้แก่นักโทษ โดยงานเช่นนี้ถือเป็นงาน ประเภทหาผลประโยชน์ตามมาตรา 57 ของกฎกระทรวงมหาดไทย ออกตามความในมาตรา 58 แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. 2479 ซึ่งมาตรา 22 ของพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ฯ ก�ำหนดไว้วา่ นักโทษจะต้องท�ำตามค�ำสัง่ ของเจ้าพนักงานเรือนจ�ำ

4

อีกทั้งยังไม่มีสิทธิจะได้รับค่าจ้าง แต่ทางเจ้าพนักงานเรือนจ�ำ ก็สามารถแบ่งรายได้ที่ได้รับมาหักกับค่าใช้จ่าย เช่น ค่าใช้จ่าย ทีต่ อ้ งใช้ในการฝึกอาชีพ เสียก่อนทีจ่ ะให้เป็นรางวัลหรือเบีย้ เลีย้ ง แก่นักโทษได้ ดังนั้น การใช้แรงงานนักโทษโดยปราศจากความ สมัครใจของนักโทษนั้นสามารถท�ำได้ และทางเรือนจ�ำก็ไม่ จ�ำเป็นต้องจ่ายค่าจ้างให้แก่นักโทษด้วย ถ้าหากว่าการใช้งาน นั้นเป็นไปเพื่อการฟื้นฟู และเพิ่มศักยภาพให้แก่นักโทษ เมือ่ พิจารณาประกอบกับกฎหมายระหว่างประเทศ เช่น อนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที่ 29 ว่าด้วย การเกณฑ์แรงงานหรือแรงงานบังคับ พ.ศ. 2473 มาตรา 2 ข้อ 2 (c) ที่ก�ำหนดว่า ค�ำว่า “การบังคับใช้แรงงาน” ตาม อนุสญ ั ญานี้ มิได้หมายความรวมถึง งานหรือบริการใดๆ ทีก่ ระท�ำ โดยผู้ต้องค�ำพิพากษาถึงที่สุด หากงานนั้นได้กระท�ำภายใต้ การควบคุมและการตรวจสอบของพนักงานเจ้าหน้าที่ และ บุคคลนั้นมิได้ถูกจ้างโดยเอกชน กล่าวคือ อนุสัญญาฉบับนี้ ห้ามมิให้มกี ารบังคับใช้แรงงาน เว้นแต่จะเป็นการบังคับใช้แรงงาน นักโทษ ภายใต้การควบคุมดูแลของพนักงานเจ้าหน้าที่ สรุปได้ว่าภายใต้กรอบของกฎหมายไทยและกฎหมาย ระหว่างประเทศ การใช้แรงงานนักโทษสามารถกระท�ำได้ หาก เป็นไปเพือ่ ประโยชน์สาธารณะ หรือเพือ่ เป็นการฟืน้ ฟู เยียวยา เตรียมความพร้อมกลับเข้าสูส่ งั คม แต่หากรัฐบาลประสงค์จะน�ำ นักโทษมาท�ำงานในเรือประมง สิ่งที่รัฐบาลต้องพิจารณา คือ หน่วยงานที่รับผิดชอบจะก�ำหนดให้งานบนเรือประมงนั้นเป็น งานประเภทหาผลประโยชน์ตามพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ฯ ที่นักโทษไม่มีสิทธิได้รับค่าจ้างเพื่อแลกกับการฝึกอาชีพ หรือ จะให้เป็นงานตามสัญญาจ้างแรงงาน ที่นักโทษต้องได้รับ การคุม้ ครองภายใต้พระราชบัญญัตคิ มุ้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541

เขียนโดย นางสาวณัฐรัตน์ อรุณมหารัตน์ ผู้ประสานงานโครงการต่อต้านการค้ามนุษย์ด้านแรงงงาน มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนเเละการพัฒนา Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 3


หากการน�ำนักโทษมาท�ำงานบนเรือประมงเป็นงาน ตามพระราชบัญญัตริ าชทัณฑ์ฯ ค�ำถามทีต่ ามมาคือ สภาพการ ท�ำงานและเงือ่ นไขการจ้างงานบนเรือประมงมีความเหมาะสม ส�ำหรับการฟื้นฟูและบ�ำบัดสภาพจิตใจของนักโทษหรือไม่ แต่ถ้าหากนโยบายนี้เป็นการจ้างงานตามสัญญาจ้าง แรงงานโดยเอกชน เพื่อประโยชน์ของเอกชน ก็ยังเกิดค�ำถาม เดียวกันว่าจากสภาพการท�ำงานและเงือ่ นไขการจ้างงานบนเรือ

ประมงที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน เราจะมั่นใจได้อย่างไรว่าจะไม่มี การบังคับใช้แรงงานเกิดขึ้นกับนักโทษกลุ่มดังกล่าว เพราะ องค์ประกอบของแรงงานบังคับนัน้ มิได้ขนึ้ อยูก่ บั ความสมัครใจ ของแรงงานเพียงอย่างเดียว เเต่ตอ้ งพิจารณาองค์ประกอบอืน่ อีก เช่น สภาพและระดับความอันตรายของงาน สภาพที่อยู่อาศัย ที่ไม่ถูกสุขลักษณะ และชั่วโมงการท�ำงานที่ยาวนาน เป็นต้น จึงเห็นได้วา่ ณ ขณะนี้ นโยบายการน�ำนักโทษมาท�ำงาน บนเรือประมงนั้นยังไม่เหมาะสมที่จะน�ำมาใช้ในทางปฏิบัติ เพราะเรื อ ประมงไทยยั ง ไม่ มี ม าตรฐานเพี ย งพอที่ จ ะสร้ า ง ความเชื่อมั่นให้กับนักโทษ หรือผู้ซื้อผู้บริโภคได้เลยว่าจะไม่มี การบั ง คั บ ใช้ แ รงงานเกิ ด ขึ้ น ประกอบกั บ การแก้ ไ ขปั ญ หา การขาดแคลนแรงงานโดยการทดแทนด้วยแรงงานอีกกลุม่ หนึง่ เป็นการแก้ไขที่ปลายเหตุและเฉพาะหน้า หากกิจการประมง ไทยสามารถยกระดั บ เรื อ ให้ มี ค วามปลอดภั ย ทั น สมั ย ตรวจสอบได้ ลูกจ้างได้รับสวัสดิการ ค่าจ้างที่เป็นธรรม ก็จะ สามารถเพิม่ แรงจูงใจให้แรงงานสนใจมาท�ำงานในกิจการประมง ได้มากขึ้น และเมื่อถึงเวลานั้นการจะน�ำนักโทษมาท�ำงาน บนเรือประมงก็จะมิใช่ประเด็นปัญหาอีกต่อไป

โรฮิงญากับการจัดการของรัฐไทย ปภพ เสียมหาญ5

โรฮิงญากับรูปแบบการค้ามนุษย์ตามกฎหมายไทย การอพยพเข้ามาในประเทศไทยของชาวโรฮิงญา ไม่ได้ เกิดขึ้นเพียงแค่ในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา แต่กลับมีข้อเท็จจริง พบว่า ชาวโรฮิงญาอพยพเข้ามาในประเทศไทยตั้งแต่เมื่อ หลายสิบปีกอ่ น โดยเหตุผลถึงการอพยพเข้ามาในประเทศไทย ก็เพือ่ ความปลอดภัยและการแสวงหาชีวติ ทีด่ กี ว่า แต่เนือ่ งจาก ในขณะนั้นประเทศไทยมีนโยบายออกบัตรประจ�ำตัวให้กับ “บุคคลผู้ไม่มีสถานะทางทะเบียน” ให้กับคนต่างด้าวที่รอ การด�ำเนินการพิสจู น์สญ ั ชาติ รวมกับประเทศไทยก�ำลังประสบ ปัญหาขาดแรงงาน จึงท�ำให้ชาวโรฮิงญาที่อพยพเข้ามาใน ประเทศไทย ได้รับการผ่อนปรนให้อาศัยอยู่ในประเทศไทย และสามารถประกอบอาชีพได้

5

ปัจจุบนั จ�ำนวนชาวโรฮิงญาทีอ่ พยพเข้ามาในประเทศไทย มีจ�ำนวนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากมีนายหน้าหลายกลุ่มอ�ำนวย ความสะดวกให้กับผู้ที่ต้องการออกจากพื้นที่ทั้งในรัฐอาระกัน และประเทศบังคลาเทศ โดยมีขอ้ เสนอทีน่ า่ สนใจคือ การพาไป ท�ำงานในประเทศมาเลเซีย การอ�ำนวยความสะดวกจัดหาพาหนะ และสามารถผ่อนค่าเดินทางได้ภายหลังจากที่ได้ท�ำงานแล้ว แต่ในความเป็นจริงแล้วชาวโรฮิงญาที่ตอบรับข้อเสนอ กลับมี ชีวิตที่ล�ำบาก ต้องเดินทางโดยเรือประมงที่มีชาวโรฮิงญาอยู่ใน เรืออย่างแออัด ได้กินข้าวเพียงวันละมื้อเท่านั้น ประเด็นของชาวโรฮิงญาในประเทศไทยมีการหยิบยก น�ำขึ้นมาพูดในหลายเวที และได้รับความสนใจจากประชาชน เป็นจ�ำนวนมาก ไม่ว่าจะเป็นประเด็นการให้ความช่วยเหลือ ทางด้านมนุษยธรรมหรือประเด็นชาวโรฮิงญากับความมั่นคง ของประเทศไทย แต่ประเด็นที่ได้รับความสนใจมากที่สุดคือ

เขียนโดย นายปภพ เสียมหาญ ผู้ประสานงานฝ่ายคดี โครงการต่อต้านการค้ามนุษย์ด้านแรงงาน มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนเเละการพัฒนา 4 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


“โรฮิงญากับการค้ามนุษย์” สื่อหลายๆ ส�ำนักมักตีข่าวว่าชาว โรฮิงญาคือผู้ที่ถูกค้ามนุษย์ ซึ่งหากพิจารณาตามกฎหมาย พระราชบัญญัตปิ อ้ งกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 ผูท้ จี่ ะตกเป็นเหยือ่ จากการค้ามนุษย์ได้นนั้ จะต้องเข้าองค์ประกอบ คือ การถูกขาย พามาจาก ส่งไปที่ใด หน่วงเหนี่ยว กักขัง โดยวิธีการ ข่มขู่ ใช้ก�ำลัง ลักพาตัว หลอกลวง อีกทั้งต้องมี องค์ประกอบส�ำคัญของกฎหมายฉบับนี้กล่าวคือ การน�ำมา “แสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ” การแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบตามพระราชบัญญัติ ป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ฯ ประกอบไปด้วยหลาย วิธีด้วยกัน แต่หากจะกล่าววิธีการแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ ทีส่ ามารถน�ำมาปรับใช้กบั กรณีของชาวโรฮิงญาได้มอี ยู่ 3 กรณี ได้แก่ - การบังคับใช้แรงงาน กรณีถูกขายเพื่อใช้แรงงาน - การเอาคนลงเป็นทาส กรณีมกี ารปฏิบตั ติ อ่ ชาวโรฮิงญา ในลักษณะการปฏิบัติต่อทาสในอดีต - การอื่นใดที่คล้ายคลึงกันอันเป็นการขูดรีดบุคคล กรณี ชาวโรฮิ ง ญาถู ก เอารั ด เอาเปรี ย บอย่ า งไม่ เ ป็ น ธรรม การท�ำให้ต้องชดใช้หนี้ที่ไม่ถูกต้อง หรือการเรียกค่าไถ่ เป็นต้น ดังนั้น เมื่อมองข้อเท็จจริงตามที่ปรากฏจะเห็นว่าชาว โรฮิงญาทีเ่ ข้ามาในประเทศไทยสามารถจ�ำแนกได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ ชาวโรฮิงญาที่เป็น ผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์และชาว โรฮิงญาที่ไม่ได้เป็นผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ อย่างไรก็ตาม ผู้ที่มีอ�ำนาจในการระบุว่าชาวโรฮิงญาคนใดเป็นผู้เสียหายจาก การค้ามนุษย์คือ ทีมสหวิชาชีพและพนักงานสอบสวน ที่เข้า ด�ำเนินกระบวนการคัดแยกเหยื่อผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ แก่ชาวโรฮิงญา

โรฮิงญากับการแก้ไขปัญหาระหว่างรัฐ ชาวโรฮิงญาในประเทศไทยปัจจุบันส่วนใหญ่ถูกกักขัง ในห้องกัก ด้วยระเบียบและมาตรการของส�ำนักงานตรวจคน เข้าเมือง และตามพระราชบัญญัตคิ นเข้าเมือง พ.ศ. 2522 เพือ่ รอด�ำเนินการส่งกลับประเทศต้นทาง แต่ดว้ ยกฎหมายพลเมือง ค.ศ. 1982 ของประเทศพม่า (Burma Citizenship Law of 1982) มิได้บัญญัติชาติพันธุ์ที่เป็นโรฮิงญาไว้ว่าเป็นประชาชน สัญชาติพม่าท�ำให้กระบวนการพิสูจน์สัญชาติของชาวโรฮิงญา ที่ประเทศต้นทางเป็นไปอย่างล่าช้า ชาวโรฮิงญาที่ถูกกักอยู่ใน ประเทศไทยจึ ง ไม่ ส ามารถส่ ง กลั บ ประเทศต้ น ทางได้ แ ละ ต้องถูกกักอยู่ในห้องกักเป็นระยะเวลานาน แม้ รั ฐ ไทยจะพยายามที่ จ ะแก้ ไ ขปั ญ หาชาวโรฮิ ง ญา ล้นห้องกักก็ตาม แต่ก็ไม่สามารถแก้ไขได้อย่างเต็มที่ ในขณะที่ ชาวโรฮิงญาอพยพเข้ามาในประเทศไทยมีจำ� นวนเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ

มากกว่านัน้ นโยบายของภาครัฐยังแสดงให้เห็นว่า รัฐไทยไม่สามารถ รองรับชาวโรฮิงญาที่อพยพเข้ามาได้อีกต่อไป คือนโยบาย การผลักดันกลับประเทศพม่า ซึ่งเป็นนโยบายที่ขัดต่อหลักการ ห้ามผลักดันกลับ (non-refoulment) ที่บัญญัติไว้ในอนุสัญญา ระหว่างประเทศหลายๆ ฉบับ ซึง่ ถึงแม้วา่ ไทยจะไม่ได้เป็นภาคี ในอนุสัญญานั้นๆ แต่หลักการห้ามผลักดันกลับ (non-refoulment) ก็ได้ถูกปฏิบัติมาจนกลายเป็นกฎหมายจารีตประเพณี ระหว่างประเทศทีป่ ระเทศไทยควรพึงปฏิบตั เิ ช่นเดียวกับนานาชาติ การแก้ปญ ั หาการเข้ามาของชาวโรฮิงญาในประเทศไทย จะสามารถแก้ไขได้โดยอาศัยความร่วมมือจากหลายๆ ฝ่าย ทัง้ ระดับภายในประเทศและระดับนานาชาติ ซึง่ ประการส�ำคัญ ทีจ่ ะแก้ไขปัญหาของชาวโรฮิงญาได้คอื การหารือร่วมกับรัฐบาล พม่า และรัฐบาลบังคลาเทศ ให้เห็นปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ในประเทศไทย และร่วมมือกับรัฐบาลไทยในการแก้ปัญหา อย่างไรก็ตาม การแก้ปัญหาชาวโรฮิงญาในประเทศไทยยังสามารถท�ำได้ โดยปฏิบัติตามแนวทางดังต่อไปนี้ - แสดงจุดยืนที่ชัดเจนของรัฐบาลไทย ถึงสถานภาพ ของชาวโรฮิงญาในประเทศไทย ว่าอยู่ในสถานะใด และปฏิบัติ ต่อชาวโรฮิงญาตามกรอบกฎหมายของไทยและกฎหมายระหว่าง ประเทศ นอกจากจะเป็นการแก้ไขปัญหายังท�ำให้รัฐบาลไทย มีภาพลักษณ์ในการแก้ไขปัญหาชาวโรฮิงญาที่ดีขึ้น - สนับสนุให้เจ้าหน้าที่จากส�ำนักงานข้าหลวงใหญ่ ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ หรื United Nations High Commissioner for Refugees (UNHCR) ให้สามารถเข้ามาร่วม แก้ไขปัญหาชาวโรฮิงญา โดยการจัดท�ำทะเบียนประวัติ ข้อมูล พื้นฐาน ประวัติส่วนตัว เพื่อประโยชน์ในการส่งกลับประเทศ ต้นทางหรือประเทศทีส่ าม การสนับสนุนให้ UNHCR ด�ำเนินการ เก็บข้อมูลกลุ่มชาวโรฮิงญาท�ำให้ประเทศต้นทางอย่างประเทศ พม่าและบังคลาเทศ ไม่สามารถปฏิเสธความรับผิดชอบได้ การก�ำหนดพื้นที่เพื่อจัดตั้งศูนย์พักพิงหรือศูนย์ผู้ลี้ภัยชั่วคราว ก่อนเดินทางต่อไปยังประเทศต้นทางหรือประเทศทีส่ าม ก็เป็น อีกหนทางที่จะช่วยแก้ไขปัญหาชาวโรฮิงญาล้นห้องกัก - ปราบปรามขบวนการขนชาวโรฮิงญา และผู้ที่มีส่วน เกี่ยวข้องโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่รัฐอย่างจริงจัง เพื่อตัดตอน ขบวนการทีเ่ ป็นปัจจัยในการสร้างปัญหา ซึง่ นอกจากจะเป็นการ แก้ปัญหาการเข้ามาของชาวโรฮิงญาได้ ยังสามารถแก้ปัญหา อื่นๆ ที่ขบวนการดังกล่าวนี้เข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องได้อีกด้วย โดยแนวทางทั้งหมดจะต้องค�ำนึงถึงการปฏิบัติต่อชาว โรฮิงญาตามหลักสิทธิมนุษยชนและการเคารพศักดิศ์ รีความเป็น มนุษย์ในตัวชาวโรฮิงญา ไม่ว่าจะเป็นทั้งในประเทศไทยหรือ ประเทศที่ต้นทาง เพื่อเป็นปัจจัยในความยั่งยืนของการอาศัย อยู่ร่วมกันได้อย่างสงบสุข

Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 5


Decent work, Decent life for Domestic Workers6 งานที่มีคุณค่า งานที่มีชีวิต เพื่อลูกจ้างท�ำงานบ้าน เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2554 ที่ประชุมองค์กรด้านแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ได้มีมติให้มีการรับรอง อนุสัญญาฉบับ ที่ 189 ว่าด้วยงานที่มีคุณค่าส�ำหรับลูกจ้างท�ำงานบ้าน (C-189 Domestic Workers Convention, 2011) มีผลบังคับใช้ วันที่ 5 กันยายน 2556 เพื่อก�ำหนดเป็นมาตรฐานในการคุ้มครองลูกจ้างท�ำงานบ้าน ปัจจุบัน มีประเทศภาคีสมาชิกขององค์กร ด้านแรงงานระหว่างประเทศให้สัตยาบันแล้ว 14 ประเทศ โดยประเทศฟิลิปปินส์ เป็นเพียงชาติเดียวในภูมิภาคเอเชีย ที่ได้ ให้สัตยาบันในอนุสัญญาฉบับดังกล่าว ข้อมูลของไอแอลโอ ระบุว่า มีลูกจ้างท�ำงานบ้านอยู่ทั่วโลกประมาณ 85 ล้านคน โดยมี แรงงานจ�ำนวน 20 ล้านคน ที่เป็นลูกจ้างท�ำงานบ้านอยู่ในภูมิภาคเอเชีย แรงงานย้ายถิ่นซึ่งรวมถึงลูกจ้างท�ำงานบ้าน นับว่าเป็น แรงก�ำลังส่วนหนึง่ ในการขับเคลือ่ นหรือช่วยพัฒนาทางเศรษฐกิจ ของประเทศปลายทางให้มีความเจริญรุ่งเรือง และในขณะ เดียวกันการจ้างงานก็ชว่ ยให้แรงงานเองสามารถมีชวี ติ และโอกาส ทางอาชี พ ที่ ดี ขึ้ น ซึ่ ง สถานการณ์ ดั ง กล่ า วจะเกิ ด ขึ้ น ได้ น้ั น ประเทศที่รับจะต้องมีนโยบายหรือการเคารพสิทธิของแรงงาน โดยไม่เลือกปฏิบัติ ในส่วนของแรงงานย้ายถิ่นและลูกจ้าง ท�ำงานเองก็ต้องได้รับข้อมูลด้านนโยบายและสถานการณ์ การจ้างงานพอสมควร เพื่อให้แรงงานได้มีโอกาสเข้าถึงข้อมูล และกลไกการคุ้มครองสิทธิในประเทศที่แรงงานเข้ามาท�ำงาน นั้นด้วย และด้วยวันที่ 18 ธันวาคม ของทุกปี ทางองค์การ สหประชาชาติได้ถือให้เป็นวันย้ายถิ่นสากล ดังนั้นในปีนี้ทาง มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ซึ่งเป็นองค์กรพัฒนา เอกชนที่ด�ำเนินกิจกรรมด้านการสนับสนุนให้แรงงานข้ามชาติ เข้าถึงความเป็นธรรม จึงขอน�ำเสนอภาพสถานการณ์ของ แรงงานข้ามชาติ ที่เป็นลูกจ้างท�ำงานบ้าน สภาพปัญหาและ ข้อเสนอเพื่อให้เกิดการปกป้องและคุ้มครองคุณภาพชีวิตของ ลูกจ้างท�ำงานบ้าน

กฎหมายและนโยบาย ต่อลูกจ้างท�ำงานบ้านในประเทศไทย ปัจจุบัน กระทรวงแรงงาน ได้คาดการณ์ว่ามีลูกจ้าง ท�ำงานบ้านอยู่ในประเทศไทย ประมาณ 300,000 คน โดยมี ลูกจ้างท�ำงานบ้านจากประเทศเพื่อนบ้าน คือ พม่า ลาว และ กัมพุชา จ�ำนวนประมาณ 45,000 คน ซึง่ แรงงานกลุม่ ดังกล่าว ได้รบั การจดทะเบียนเป็นแรงงานข้ามชาติตามนโยบายของรัฐไทย ทีป่ ระกาศใช้ครัง้ แรกเมือ่ ปี 2539 โดยลูกจ้างท�ำงานบ้านจะได้รบั การคุ้มครองตามกฎหมายไทย ดังต่อไปนี้ 6 บทความนี้ใช้น�ำเสนอในงานวันแรงงานย้ายถิ่นสากล

1. กฎกระทรวง (พ.ศ. 2541) ออกตามพระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (2) ลงวันที่ 19 สิงหาคม 2541 ซึง่ ก�ำหนดการคุม้ ครองสิทธิของลูกจ้างท�ำงานบ้านเพียงบางส่วน อันเป็นเหตุให้ลูกจ้างท�ำงานบ้านยังไม่ได้รับการคุ้มครองสิทธิ ขัน้ พืน้ ฐานบางประการ เช่น ค่าจ้างขัน้ ต�ำ่ วันหยุด เช่น วันหยุด ประจ�ำสัปดาห์ วันหยุดตามประเพณี วันหยุดพักผ่อนประจ�ำปี เป็นต้น รวมถึงการยกเว้นการใช้แรงงานที่ก�ำหนดอายุขั้นต�่ำ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ด้วย 2. กฎกระทรวงฉบับที่ 14 (พ.ศ. 2555) ออกตามความ ในพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ลงวันที่ 30 ตุลาคม 2555 ที่ได้ก�ำหนดสิทธิเพิ่มเติมให้แก่ลูกจ้างท�ำงาน บ้าน 7 ประการ ได้แก่ 2.1 ก�ำหนดให้มวี นั หยุดประจ�ำสัปดาห์ ไม่นอ้ ยกว่า สัปดาห์ละ1 ครั้ง (มาตรา 28) 2.2 ก�ำหนดให้นายจ้างต้องจัดให้มีวันหยุดตาม ประเพณีปีละไม่น้อยกว่า13 วัน ซึ่งรวมถึงวันแรงงานแห่งชาติ ด้วย และหากวันหยุดตามประเพณีตรงกับวันหยุดประจ�ำสัปดาห์ ให้ลูกจ้างหยุดเป็นวัน หยุดชดเชยเพิ่มอีก 1 วัน (มาตรา 29) 2.3 ก�ำหนดให้ลกู จ้างทีท่ ำ� งานครบ 1 ปี มีสทิ ธิหยุด พักผ่อนประจ�ำปิ ปีละไม่เกิน 6 วันท�ำงาน (มาตรา 30) 2.4 ก�ำหนดให้ลกู จ้างมีสทิ ธิล์ าป่วยตามทีป่ ว่ ยจริงได้ และหากลา 3 วันขึ้นไป นายจ้างสามารถขอใบรับรองยืนยันจ้าง ลูกจ้างได้ (มาตรา 32) 2.5 ก�ำหนดให้หา้ มมีให้จา้ งเด็กอายุตำ�่ กว่า 15 ปี และให้นายจ้างจ่ายค่าจ้างแก่เด็กโดยตรง (มาตรา 44,51 ว.2) 2.6 ก�ำหนดให้ลูกจ้างที่ท�ำงานในวันหยุดต้องได้ รับเงินค่าท�ำงานในวันหยุด (มาตรา 56) 2.7 ก�ำหนดให้ลูกจ้าง ต้องได้รับค่าจ้างในวันที่ ลาป่วยโดยไม่เกิน 30 วันท�ำงาน (มาตรา 57 ว.1)

เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2557 จัดโดย Migrant Working Group

6 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


ทั้งนี้ยังมีการคุ้มครองการห้ามมิให้นายจ้างกระท�ำการ ล่วงเกินทางเพศต่อลูกจ้างที่เป็นหญิงหรือเด็กด้วย นอกจากนี้ ยังมีกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับการคุม้ ครองสิทธิ ของแรงงาน ที่ส�ำคัญอีกสองฉบับ แต่มิได้ใช้บังคับกับลูกจ้าง ท�ำงานบ้าน ได้แก่ 1. พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตรา 5 กฎหมายฉบับนี้ มุ่งคุ้มครองสิทธิประโยชน์ของลูกจ้างไว้ทั้งสิ้น 7 ประการ ได้แก่ กรณีเจ็บป่วยหรือประสบอันตราย กรณี คลอดบุตร กรณีทพุ พลภาพ กรณีเสียชีวติ กรณีสงเคราะห์บตุ ร กรณีชราภาพ และกรณีว่างงาน 2. พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 มาตรา 5 กฎหมายฉบับนี้ มุง่ คุม้ ครองลูกจ้างทีป่ ระสบอันตรายหรือเจ็บป่วย เนื่องจากการท�ำงาน แม้ว่าทางรัฐไทย จะมีความพยายามในการแก้ไขกฎ กระทรวงให้เป็นไปในทางคุ้มครองสิทธิของลูกจ้างท�ำงานบ้าน มากขึ้น แต่การคุ้มครองสิทธิส�ำหรับกลุ่มลูกจ้างท�ำงานบ้าน ทีท่ ำ� งานให้กบั นายจ้างในสถานทีพ่ กั ซึง่ เป็นทีร่ โหฐานนัน้ ยังนับ ว่าเป็นเรื่องยากและเป็นที่มาของความเสี่ยงที่จะท�ำให้ลูกจ้าง ถูกละเมิดสิทธิและถูกจ�ำกัดเสรีภาพโดยนายจ้าง เพราะสภาพ การจ้างงานไม่มกี ำ� หนดชัว่ โมงการท�ำงานและเลิกงานทีช่ ดั เจน จึงท�ำให้มขี า่ วทีป่ รากฎเรือ่ งการละเมิดสิทธิของลูกจ้างท�ำงานบ้าน ต่อสังคมออกมาเป็นระยะๆ เช่น ข่าวทีล่ กู จ้างสามารถหนีออก มาจากบ้านของนายจ้าง เพือ่ ขอความช่วยเหลือจากบุคคลภายนอก และหลายกรณีพบว่าลุกจ้างถูกกระท�ำการละเมิดทางร่างกาย และจิตใจอย่างรุนแรง หรือเป็นแรงงานทีถ่ กู นายจ้างหลอก หรือ ลักพาตัวมาท�ำงาน เป็นต้น มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา (HRDF) ได้ ด�ำเนินการให้ความช่วยเหลือลูกจ้างท�ำงานบ้าน ซึง่ เป็นผูเ้ สียหาย ในคดีอาญา จากการกระท�ำละเมิดของนายจ้างหลายกรณี ซึ่งมีทั้งกรณีที่เป็นการละเมิดสิทธิในชีวิต ร่างกาย จิตใจ และ การละเมิดสิทธิแรงงานของลูกจ้างท�ำงานบ้าน เช่น การไม่จา่ ย ค่าจ้าง หรือบังคับใช้แรงงานด้วย มูลนิธฯิ ได้รวบรวมกรณีศกึ ษา และน�ำเสนอถึงเส้นทางการเข้าถึงความเป็นธรรมของลูกจ้าง

ท�ำงานบ้าน ในสามกรณี โดยหวังว่าจะน�ำไปสู่ การปรับปรุง กระบวนการคุม้ ครองสิทธิและสวัสดิการของลูกจ้างท�ำงานบ้าน ต่อไป กรณีศกึ ษาที่ 1: นางสาวมาซู ถูกนายจ้างท�ำร้ายร่างกาย จนบาดเจ็บสาหัส เป็นเหตุให้เสียชีวิต

เหตุการณ์ดังกล่าวเกิดเมื่อปี 2545 เมื่อนางสาวมาซู อายุ 18 ปี เดินทางข้ามชายแดนฝั่งเมียวดีมายังประเทศไทย โดยมีนายหน้าเป็นผูจ้ ดั หางานให้ นางสาวมาซูทำ� งานเป็นลูกจ้าง ท�ำงานบ้านให้แก่นายจ้างที่จังหวัดลพบุรี แต่เมื่อนางสาวมาซู ท�ำงานได้ประมาณสามเดือน ก็ถูกนายจ้างกล่าวหาว่านางสาว มาซูลักทรัพย์ของนายจ้างไป แต่เมื่อนางสาวมาซูปฏิเสธก็ถูก นายจ้างท�ำร้ายร่างกายโดยการทารุณกรรม เช่น ทุบตี ใช้ น�ำมันก๊าซราดตัว และจุดไฟเผาร่างกาย เป็นเหตุให้นางสาวมาซู บาดเจ็บสาหัส โดยนายจ้างมิได้ให้การรักษา อีกทั้งยังได้ขัง นางสาวมาซูไว้ในห้องพักภายในบ้านพักของนายจ้างโดยไม่ให้ อาหารเป็นระยะเวลาสามวันและยังถูกท�ำร้ายร่างกายนางสาว มาซูอีก จนนายจ้างคิดว่านางสาวมาซูน่าจะเสียชีวิตแล้ว จึงได้ น�ำร่างของนางสาวมาซูมาทิง้ ไว้ตรงข้างถนน กระทัง่ มีพลเมืองดี มาพบและช่วยน�ำนางสาวมาซูไปรักษาตัวทีโ่ รงพยาบาลจังหวัด อุทัยธานี นางสาวมาซูได้รับการรักษาเป็นระยะเวลา 9 วัน จึงเสียชีวิต เหตุการณ์ดังกล่าวผ่านไปสองปี ทางพนักงาน อัยการจังหวัดอุทยั ธานี จึงได้เป็นโจทก์ยนื่ ฟ้องนายจ้างสองคน เป็นเลขคดีด�ำที่ 1089/2547 ข้อหา “ฆ่าผู้อื่นโดยทรมาน และกระท�ำทารุณโหดร้าย ร่วมกันหน่วงเหนียวท�ำให้ผู้อื่น ปราศจากเสรีภาพในร่างกาย ร่วมกันให้คนต่างด้าวพักอาศัย ซ่ อ นเร้ น หรื อ ช่ ว ยเหลื อ ให้ พ ้ น จากการจั บ กุ ม และร่ ว มกั น รับบุคคลต่างด้าวที่ไม่มีใบอนุญาตโดยฝ่าฝืนกฎหมาย” คดี ดั ง กล่ า วใช้ ร ะยะเวลาเกื อ บสิ บ ปี ใ นการพิ จ ารณา เนื่องจากมีการใช้สิทธิในการต่อสู้คดีของฝ่ายจ�ำเลยที่เป็น นายจ้างจนถึงศาลฎีกา ซึ่งเป็นศาลสุงสุด โดยเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2555 ศาลจังหวัดอุทัยธานี ได้อ่านค�ำพิพากษา ศาลฎีกา เห็นว่าการกระท�ำความผิดของนายจ้าง ที่เป็นจ�ำเลย ที่ 1 มีความผิดฐานท�ำร้ายผู้อื่นจนถึงแก่ความตาย ร่วมกันให้ คนต่างด้าวเข้าพักอาศัยและร่วมกันหน่วงเหนี่ยวกักขัง ลงโทษ จ�ำคุก 17 ปี 4 เดือน ส่วนนายจ้างที่เป็นจ�ำเลยที่ 2 ให้ลงโทษ จ�ำคุก 4 ปี และยกฟ้องส�ำหรับความผิดฐานรับคนต่างด้าวที่ ไม่มใี บอนุญาตเข้าท�ำงาน และริบของกลางทีเ่ ป็นรถยนต์กระบะ แม้ว่านายจ้างจะได้รับการลงโทษตามกฎหมายอาญา แล้วก็ตามแต่นายจ้างได้ละเมิดสิทธิแรงงานของนางสาวมาซู โดยการไม่จา่ ยค่าจ้างเพราะอ้างว่าต้องหักกับค่าใช้จา่ ยทีน่ ายจ้าง จ่ายให้กบั นายหน้า ซึง่ ทายาทของนางสาวมาซูกย็ งั ไม่ได้รบั เงิน ดังกล่าวจากนายจ้างและไม่สามารถ เข้าถึงเงินเยียวยาตามพระราช บัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่ Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 7


จ�ำเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 ได้อกี ด้วย เนือ่ งจากยังขาดกลไก ล้อคด้วยกุญแจมือ จากนัน้ นายจ้างได้นำ� นางสาว ก. ไปอาบน�ำ้ การประสานงานระหว่างหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องกับการช่วยเหลือ และน�ำไปขังไว้ในห้องพักทีม่ เี ครือ่ งรับโทรทัศน์และล้อคกุญแจมือ นางสาว ก. ไว้กับหน้าต่างของห้องพัก แล้วนายจ้างได้น�ำ ผู้เสียหายและญาติของผู้เสียหายจากประเทศต้นทาง กรณีศกึ ษาที่ 2: นางสาว ก. และนางสาว ข. (นามสมมุต)ิ นางสาว ข. ไปอาบน�้ ำ แล้ ว น� ำ มาขั ง ไว้ ใ นห้ อ งเดี ย วกั น กั บ นางสาว ก. แล้วนายจ้างได้เปิดภาพวีดโี อลามกให้ลกู จ้างทัง้ สอง ถูกนายจ้างข่มขืนจนได้รับบาดเจ็บสาหัส นางสาว ก. เดินทางมาจากจังหวัดทวาย ประเทศพม่า ดูแล้วนายจ้างเริม่ ข่มขืนนางสาว ข. จ�ำนวน 2 ครัง้ หลังจากนัน้ ผ่านช่องทางเกาะสอง จังหวัดระนอง เพื่อเข้ามาท�ำงานใน นายจ้างได้นำ� นางสาว ก. ไปทีช่ นั้ บนของบ้านและล้อคกุญแจมือ ประเทศไทย เมือ่ ประมาณปี 2546 โดยได้รบั อนุญาตให้ทำ� งาน ไว้กับราวบ้านได นางสาว ก. ขอยาแก้ปวดจากนายจ้างและ ในประเทศไทยเป็นการชัว่ คราว ต่อมาวันที่ 29 มกราคม 2549 ขอรับประทานอาหารแต่นายจ้างปฏิเสธ โดยอ้างว่าอีกไม่นาน ได้มเี จ้าหน้าทีต่ ำ� รวจหญิงรายหนึง่ ได้ชกั ชวนให้นางสาว ก. และ ลูกจ้างก็จะเสียชีวิตแล้ว และนายจ้างก็ได้ออกจากบ้านพักไป นางสาว ข. ซึง่ เป็นเพือ่ นกัน ไปท�ำงานเป็นแม่บา้ นและเลีย้ งเด็ก กระทัง่ ในช่วงค�ำ่ ได้มชี ายคนขับรถมาทีบ่ า้ นของนายจ้างเพือ่ ปลด ให้กับเพื่อนของตน และ นางสาว ก. และนางสาว ข. จึงตกลง กุญแจมือ แล้วให้ลูกจ้างทั้งสองสวมเสื้อผ้าและให้น�ำกระเป๋า ท�ำงานเป็นลูกจ้างท�ำงานบ้านและพี่เลี้ยงเด็ก และเดินทางไป เสือ้ ผ้าขึน้ รถแล้วชายคนขับรถได้นำ� ทัง้ สองไปส่งให้ให้คนขับรถ ท�ำงานที่บ้านนายจ้างคนใหม่ในวันเดียวกัน เมื่อไปถึงพบว่ามี บรรทุกสิบล้อ โดยคนขับรถบรรทุกสิบล้อได้น�ำลูกจ้างทั้งสอง นายจ้างซึ่งเป็นชายไทย หนึ่งคน โดยนายจ้างคนดังกล่าวสั่งให้ ไปพักที่ห้องแถวที่บ้านส้อง ของอ�ำเภอเวียงสระ รุง่ เช้าวันที่ 31 มกราคม 2549 นางสาว ก. และนางสาว ลูกจ้างทั้งสองคนท�ำงานบ้าน เมื่อท�ำเสร็จแล้วจึงให้ไปชั้นบน ของบ้านเพื่อดูทีวี เวลาผ่านไปไม่นาน นายจ้างชาย ได้อ้างว่ามี ข. ได้พบกับชาวพม่า จึงได้ขอความช่วยเหลือโดยใช้โทรศัพท์ สุนัขเห่าและสั่งให้ลูกจ้างทั้งสองไปดูว่ามีใครมาที่บ้านหรือไม่ ติดต่อไปยังพี่สาวของนางสาว ก. ซึ่งท�ำงานอยู่ในอ�ำเภอเมือง แต่เมือ่ ลูกจ้างลงไปดูแล้วไม่พบใคร นายจ้างจึงสัง่ ให้นางสาว ก. สุราษฎร์ธานี นางสาว ก. เริม่ มีอาการปวดท้อง และต่อมาพีช่ าย ขึน้ ไปดูขา้ งบนบ้านอีกครัง้ และเมือ่ นางสาว ก. ขึน้ ไปแล้วไม่พบ นางสาว ข. และพี่สาวของนางสาว ก. ได้มารับ และได้พา สิง่ ใด จึงเดินทางลงมาทีช่ นั้ ล่างของบ้าน และพบว่า นางสาว ข. นางสาว ก. ไปพบหมอที่คลินิกแห่งหนึ่งเพื่อตรวจหาอาการ ถูกใส่กญ ุ แจมือมัดไว้กบั ราวบันได นางสาว ก. จึงพยายามวิง่ หนี แพทย์ที่คลินิกไม่ได้ท�ำการรักษาเนื่องจากเห็นว่านางสาว ก. แต่ไม่สามามารถหนีออกไปได้โดยนายจ้างได้ใช้อาวุธปืนจี้ไป ต้องได้รับการผ่าตัดช่องท้อง จึงได้ส่งนางสาว ก. ไปรักษาตัว ที่ศีรษะของนางสาว ก. และใช้อาวุธปืนตีที่ศีรษะนางสาว ก. ที่โรงพยาบาลจังหวัดสุราฏร์ธานี จนถึงวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 1 ครัง้ และใช้มอื ตบบริเวณแก้มอีก 1 ครัง้ จากนัน้ ได้ถกู นายจ้าง 2549 แพทย์ได้ทำ� การผ่าตัดช่องท้อง โดยให้นางสาว ก. ใช้สาย น�ำผ้ามามัดคอแล้วลากนางสาว ก. ขึ้นชั้นบนของบ้าน แต่ ยางและให้ออกซิเจนทางจมูก ระหว่างทีร่ กั ษาตัวอยูน่ นั้ ได้มชี าย นางสาว ก. ขัดขืน จึงถูกนายจ้างล้อคด้วยกุญแจมือทั้งสองข้าง คนหนึ่งไม่ทราบชื่อ น�ำเงินมาให้แก่นางสาว ก. และนางสาว ข. ไว้ที่ตรงบริเวณราวบันไดของบ้าน นางสาว ก. และนางสาว ข. เพื่อแลกกับการไม่แจ้งความด�ำเนินคดีและจะไม่มาท�ำร้าย ถูกปิดปากด้วยผ้า และเริม่ ร้องไห้ นายจ้างจึงใช้กำ� ปัน้ ชกบริเวณ ผู้เสียหายทั้งสอง เมื่อผู้เสียหายทั้งสองคนออกจากโรงพยาบาลแล้ว ก็ถูก หน้าท้องอีก 5 ครั้งจนมีการจุกและนายจ้างได้ใช้เท้ากระทืบ บริเวณหน้าท้องนางสาว ก. อีก 2 ครั้งจนท�ำให้นางสาว ก. น�ำตัวไปพักที่บ้านศรีสุราษฎร์ และได้ให้ปากค�ำกับเจ้าหน้าที่ หมดสติ เมือ่ นางสาว ก. ฟืน้ ขึน้ มาแล้วพบว่าตัวเองและนางสาว ข. ต�ำรวจไว้หลังจากนั้น วันที่ 30 มิถุนายน 2549 พนักงานอัยการจังหวัด อยูใ่ นสภาพเปลือย โดยนายจ้างได้นำ� สายยางมัดหน้าต่างเข้ากับ ข้อเท้าข้างหนึง่ ของนางสาว ก. และเท้าอีกข้างหนึง่ ถูกมัดอยูก่ บั สุราษฎร์ธานี ได้เป็นโจทก์ยื่นฟ้องนายจ้าง เป็นคดีอาญา ราวบันได นายจ้างได้กระท�ำการข่มขืนกระท�ำช�ำเรานางสาว ข. หมายเลขด�ำที่ 1096/2549 ข้อหา พยายามฆ่าผูอ้ นื่ โดยทรมาน เมือ่ เสร็จแล้ว นายจ้างก็ทำ� การข่มชืนกระท�ำช�ำเรานางสาว ก. ต่อ หรือโดยกระท�ำทารุณโหดร้าย ข่มขืนกระท�ำช�ำเราหญิงอืน่ ทีม่ ใิ ช่ เมื่อนายจ้างท�ำการข่มขืนเสร็จแล้วได้ทิ้งให้ลูกจ้างทั้งสองนอน ภรรยาของตน หน่วงเหนี่ยวกักขังผู้อื่น ใช้ก�ำลังประทุษร้าย อยู่ในสภาพใส่กุญแจมือและถูกมัดขา ลูกจ้างทั้งสองไม่ได้สวม โดยมีหรือใช้อาวุธปืน มีอาวุธปืนไว้ในครอบครองโดยไม่ได้รับ เสื้อผ้าและไม่ได้รับประทานอาหาร จนกระทั่งรุ่งเช้าของวันที่ อนุญาต พนักงานอัยการคัดค้านการประกันตัวจ�ำเลย และ 30 มกราคม 2549 นายจ้างชายได้ลงมาจากชั้นบนของบ้าน นางสาว ก. ได้ยื่นค�ำร้องเป็นโจทก์ร่วมในคดีดังกล่าวด้วย คดีนี้ เพือ่ มาแก้มัดทีเ่ ท้าลูกจ้างทัง้ สองคน แต่ลกู จ้างทั้งสองยังคงถูก มีการพิจารณาจนถึงศาลสูงสุด

8 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


ศาลฎีกาได้มีค�ำพิพากษาเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2556 (ฎีกาเลขที่ 9260/2556) ลงโทษจ�ำเลยในความผิดฐานอนาจาร นางสาว ก. โจทก์รว่ ม ท�ำร้ายร่างกาย หน่วงเหนียวกักขัง ผูเ้ สียหาย ทั้งสองคน ลงโทษจ�ำคุก 12 ปี 6 เดือน แม้นายจ้างจะได้รับการลงโทษตามกฎหมายอาญาแล้ว แต่ยังไม่มีกระบวนการเยียวยาในทางแพ่ง และการเข้าถึง เงินเยีวยาตามพระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และ ค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จ�ำเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 เนื่องจากยังขาดกลไกการประสานงานระหว่างหน่วยงานที่ เกีย่ วข้องกับการช่วยเหลือผูเ้ สียหายและญาติของผูเ้ สียหายจาก ประเทศต้นทาง

กรณีศึกษาที่ 3: เด็กหญิงแอร์ ถูกนายจ้างลักพาตัวและ บังคับใช้แรงงาน

เมื่อประมาณเดือนพฤษภาคม 2552 เด็กหญิงแอร์ ซึ่งมีอายุได้ประมาณ 8 ปี ถูกลักพาตัวไปจากบ้านพัก ที่อาศัย อยู่กับครอบครัวในพื้นที่จังหวัดก�ำแพงเพชร หลังจากถูกน�ำตัว ไปจากบ้านพักแล้ว เด็กหญิงแอร์ ได้ถกู นายจ้างสองราย ซึง่ เป็น สามีภรรยากัน บังคับใช้แรงงานโดยการท�ำงานในบ้านพัก ระหว่างทีอ่ ยูก่ บั นายจ้างก็ได้ถกู ท�ำร้ายร่างกาย โดยการถูกทุบตี ใช้กรรไกรตัดติง่ หู บังคับให้ไปอยูใ่ นกรงสุนขั และนายจ้างผูช้ าย ได้ใช้นำ� ร้ อ้ นเดือดราดตัวตัง้ แต่ลำ� คอไปจนถึงแขน ขา ในขณะที่ นายจ้างหญิง ยืนดูอยู่แต่ไม่ได้ห้าม และนายจ้างทั้งสองรายก็ ไม่ได้นำ� เด็กหญิงแอร์ไปรักษา จนบาดแผลเน่า และมีความทรมาน และรูปร่างพิการ กระทั่งเดือนกุมภาพันธ์ 2556 เด็กหญิงแอร์ สามารถหนีออกมาจากบ้านของนายจ้างได้ หลังจากได้รับ การช่วยเหลือจากพลเมืองดีและหน่วยงานของรัฐในพืน้ ทีจ่ งั หวัด ก�ำแพงเพชร ท�ำให้เด็กหญิงแอร์ก็ได้พบกับครอบครัวอีกครั้ง ต่อมาเจ้าหน้าที่ต�ำรวจได้ออกหมายจับนายจ้างทั้งสอง คน ซึง่ ทัง้ สองคนได้เดินทางมามอบตัวรับทราบข้อกล่าวหาและ ได้รับการปล่อยชั่วคราวในชั้นพนักงานสอบสวน แต่นายจ้าง

ทัง้ สองคนได้หลบหนีไปจนกระทัง่ ปัจจุบนั ยังไม่สามารถจับกุมตัว นายจ้างทั้งสองมาด�ำเนินคดีได้ ต่อมาเมือ่ เดือนกันยายน 2556 มารดาของเด็กหญิงแอร์ ได้เป็นโจทก์ยนื่ ฟ้องนายจ้างทัง้ สองต่อศาลจังหวัดก�ำแพงเพชร เพือ่ เรียกค่าเสียหายจากการถูกนายจ้างทัง้ สองท�ำร้ายจนได้รบั ความเสียหายทัง้ ทางร่างกายและจิตใจ ศาลจังหวัดก�ำแพงเพชร ได้รับฟ้อง (คดีหมายเลขด�ำที่ 850/2556) และยกเว้นค่า ธรรมเนียมศาล เนื่องจากผู้ฟ้องมีฐานะยากจน ส่วนนายจ้าง ทั้งสองที่เป็นจ�ำเลยในคดีแพ่งได้ขาดนัดยื่นค�ำให้การและขาด การพิจารณา ศาลจึงให้ฝ่ายมารดาเด็กหญิงแอร์ ซึ่งเป็นโจทก์ สามารถน�ำการสืบพยานฝ่ายเดียว 30 มิ ถุ น ายน 2557 ศาลจั ง หวั ด ก� ำ แพงเพชรมี ค�ำพิพากษา (คดีหมายเลขแดง 641/2557) ให้จ�ำเลยทั้งสอง จ่ายค่าเสียหายให้แก่โจทก์อนั ประกอบด้วยค่าใช้จา่ ยทีไ่ ด้เสียไป เพือ่ การรักษาของเด็กหญิงแอร์ ค่าเสียหายทีเ่ สียความสามารถ ในการประกอบการงานทั้งในปัจจุบันและอนาคต ค่าเสียหาย ซึง่ เป็นค่าเสียหายอืน่ ทีม่ ใิ ช่ตวั เงินคือ ค่าทนทุกข์ทรมานระหว่าง เจ็บป่วย ค่าสูญเสียเต้านมและอาจเสียความสามารถในการ เจริญพันธุ์ ค่าสูญเสียความสวยงาม รวมเป็นเงินค่าเสียหาย ที่ น ายจ้ า งทั้ ง สองต้ อ งรั บ ผิ ด ในผลแห่ ง การละเมิ ด ทั้ ง สิ้ น 4,603,233 บาท พร้อมดอกเบีย้ ร้อยละ 7.5 ต่อปี ของเงินต้น นับถัดจากวันฟ้องจนกว่าจ�ำเลยทั้งสองจะช�ำระ การช่วยเหลือคดีเด็กหญิงแอร์นี้ มีกลไกการคุ้มครอง ช่วยเหลือจากภาครัฐ จึงสามารถคุ้มครองผู้เสียหายได้มากขึ้น โดยเฉพาะบ้ า นพั ก ในสั ง กั ด กระทรวงพั ฒ นาสั ง คมและ ความมั่นคงของมนุษย์ ที่ดูแลผู้เสียหายจากการกระท�ำละเมิด กรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุตธิ รรม ทีไ่ ด้ให้ความ ช่วยเหลือด้านการเยียวยาผู้เสียหายในคดีอาญา และการ สนับสนุนค่าใช้จา่ ยส�ำหรับทนายความจากกองทุนยุตธิ รรม แต่ ในส่วนของการบังคับคดีแพ่งนัน้ ยังเป็นจุดพิสจู น์ในการเยียวยา ของกระบวนการยุติธรรม เนื่องจากเมื่อศาลมีค�ำพิพากษาแล้ว ฝ่ายโจทก์ยังต้องติดตามตรวจสอบหาทรัพย์สินของฝ่ายจ�ำเลย เพือ่ ให้เกิดขัน้ ตอนการบังคับคดี ซึง่ ยังไม่แน่ชดั ว่าโจทก์จะสามารถ บังคับคดีเพือ่ เป็นค่าเสียหายตามค�ำพิพากษาของศาลได้หรือไม่ อีกทั้งคดีอาญาก็ยังไม่สั่งฟ้อง เนื่องจากผู้ต้องหาหลบหนี ส่วนกลไกการคุม้ ครองแรงงานนัน้ มีสำ� นักงานคุม้ ครอง แรงงานและสวัสดิการสังคมได้เข้ามาตรวจสอบ ภายหลังจาก ที่ศาลจังหวัดก�ำแพงเพชรได้มีค�ำพิพากษาให้นายจ้างจ่ายค่า เสียหายจากการถูกกระท�ำละเมิดไปแล้ว เพื่อพิจารณาออก ค�ำสั่งเรื่องค่าแรงให้กับเด็กหญิงแอร์ ซึ่งถือว่ากระบวนการ ตรวจสอบดังกล่าวยังมีความล่าช้าอยู่

Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 9


ข้อเสนอในการปรับปรุงสภาพการจ้างงาน เพื่อมุ่งสู่การคุ้มครองสิทธิและรับรอง ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ของลูกจ้างท�ำงานบ้าน จากสามกรณีทยี่ กตัวอย่างมานี้ ผูเ้ สียหายซึง่ เป็นลูกจ้างท�ำงานบ้านไม่อยูใ่ นสภาพทีจ่ ะเดินทาง เข้าออกบ้านพักของนายจ้าง ได้อย่างอิสระ และลูกจ้างจะได้รบั การช่วยเหลือเมือ่ สามารถหลบหนีออกมาได้ และนอกจากนีย้ งั พบว่าลูกจ้างทีถ่ กู กระท�ำละเมิด ส่วนใหญ่ยังเป็น ผู้ที่อยู่ในวันเด็กหรือเยาวชนและผู้หญิง นอกจากจะได้รับผลกระทบทางร่างกายแล้ว ยังมีบาดแผลที่เกิดขึ้น ในจิตใจที่ไม่สามารถก�ำหนดได้ว่า ผู้เสียหายจะพ้นภาวะความหวาดกลัวหรือฝันร้ายจากเหตุการณืที่เกิดขึ้นได้เมื่อไหร่หรือ บางรายอาจจะเป็นทั้งชีวิต ได้ มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนาจึงมีข้อเสนอ ดังต่อไปนี้

1. ขอให้รัฐบาลไทยพิจารณาลงนามในอนุสัญญาของ องค์กรด้านแรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที่ 189 ว่าด้วยเรื่อง งานทีม่ คี ณ ุ ค่าส�ำหรับลูกจ้างท�ำงานบ้าน เพือ่ ขยายการคุม้ ครอง สิทธิของลูกจ้างให้นอกเหนือไปจากสิทธิในการได้รบั ค่าจ้างหรือ สวัสดิการเนื่องมาจากการท�ำงานต่างๆ กล่าวคือ การก�ำหนด ให้ต้องมีมาตรการต่างๆ เพื่อให้ลูกจ้างท�ำงานบ้านได้รับการ คุ้มครองจากการล่วงละเมิด การคุกคาม และความรุนแรง ในทุกรูปแบบ ซึง่ หากรัฐไทย ลงนามในอนุสญ ั ญาฉบับดังกล่าวนี้ ก็จะสามารถท�ำให้มเี ครือ่ งมือทางกฎหมายเพิม่ ขึน้ ในการป้องกัน และคุ้มครองมิให้ลูกจ้างท�ำงานบ้านจากภัยความรุนแรงต่างๆ นอกเหนือจากการคุม้ ครองทีบ่ ญ ั ญัตไิ ว้ในพระราชบัญญัตคิ มุ้ ครอง

10 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

แรงงาน พ.ศ. 2541 รวมทั้งยังช่วยลดการเลือกปฏิบัติต่อสิทธิ ของลูกจ้างท�ำงานบ้าน เช่น สิทธิในการลาคลอดบุตร เป็นต้น 2. ขอให้รฐั ไทย ก�ำหนดให้นายจ้างทีม่ ลี กู จ้างท�ำงานบ้าน ทีอ่ ายุ 15 ปีขนึ้ ไปแต่ไม่เกิน 18 ปี ส่งรายชือ่ ลูกจ้างแก่พนักงาน ตรวจแรงงาน เพื่อป้องกันมิให้มีการนายจ้างให้ลูกจ้างท�ำงาน บ้านที่เป็นเยาวชน ท�ำงานในชั่วโมงการท�ำงาน และงานที่ท�ำ อย่างเหมาะสม 3. ยกเลิกข้อยกเว้นการบังคับใช้มาตรา 41 ว่าด้วย แรงงานที่ตั้งครรภ์ เพื่อเป็นหลักประกันในการจ้างแรงงาน โดยไม่เลือกปฏิบัติ 4. ปรับปรุงให้มกี ารจัดท�ำชัว่ โมงการท�ำงานทีเ่ หมาะสม กับลูกจ้างท�ำงานบ้าน และให้ลกู จ้างท�ำงานบ้านมีสทิ ธิเลือกใน การทีจ่ ะพักหรืออาศัยอยูใ่ นบ้านพักของนายจ้างหรือไม่กไ็ ด้เพือ่ สนับสนุนให้ลกู จ้างท�ำงานบ้านมีเสรีภาพในการเคลือ่ นย้ายและ เปิดโอกาสให้กลไกการคุ้มครองสิทธิสามารถเข้าถึงตัวลูกจ้าง ท�ำงานบ้านได้มากขึ้น 5. ปรับปรุงกลไกการท�ำงานของการพนักงานตรวจ แรงงานเพือ่ ให้พนักงานตรวจแรงงานสามารถเข้าถึงสถานทีพ่ กั ของนายจ้างทีม่ กี ารจ้างลูกจ้างท�ำงานบ้านนัน้ อยูไ่ ด้มากขึน้ และ ป้องกันการปฏิบัติหน้าที่โดยชอบของพนักงานตรวจแรงงาน มิให้ถูกกล่าวหาว่าบุกรุกในที่รโหฐาน 6. ยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต และสวั ส ดิ ก ารของลู ก จ้ า ง ท�ำงานบ้าน โดยการปรับปรุงกฎหมายประกันสังคม กฎหมาย เงินทดแทน และกฎหมายแรงงานสัมพันธ์ เพื่อท�ำให้ลูกจ้าง ท�ำงานบ้าน เข้าถึงประโยชน์จากกองทุนประกันสังคมและเงิน ทดแทน เช่นเดียวกันกับลูกจ้างในภาคกิจการที่ประกอบธุรกิจ รวมอยูด่ ว้ ย และเพือ่ สร้างโอกาสให้ลกู จ้าง ท�ำงานบ้านสามารถ รวมกลุ่มและเจรจาต่อรองกับนายจ้าง เพื่อให้เกิดการคุ้มครอง ลูกจ้างอย่างเป็นธรรมมากขึ้น


คณะกรรมการด้านการปฏิบตั ติ ามปฏิญญาว่าด้วยการปกป้องและส่งเสริมสิทธิของแรงงานข้ามชาติ ได้จดั เวทีสานเสวนา ว่าด้วยแรงงานย้ายถิ่น AFML ครั้งที่ 7 ในหัวข้อ “Towards the ASEAN Community by 2015 with enhanced measures to protect and promote the rights of migrant workers” ระหว่างวันที่ 20-21 พฤศจิกายน 2557 ณ กรุงเนปิดอว์ ประเทศ เมียนมาร์ ซึ่งมีตัวแทนจากรัฐบาลของประเทศสมาชิกอาเซียน ผู้แทนฝ่ายนายจ้าง ลูกจ้าง ภาคประชาสังคม และตัวแทนจาก ภาคอื่นๆ เช่น องค์กรด้านแรงงานระหว่างประเทศ เข้าร่วมประชุมหารือ และมีข้อเสนอแนะด้านการคุ้มครองและส่งเสริม สิทธิของแรงงานข้ามชาติ น�ำจากเวทีประชุม ดังนี้

ข้อเสนอแนะ การเสวนาอาเซียนเรื่องแรงงานข้ามชาติ ครั้งที่ 7 20-21 พฤศจิกายน 2014, เนปิดอว์ พม่า

การเสวนาอาเซี ย นเรื่ อ งแรงงานข้ า มชาติ ครั้ ง ที่ 7 ในประเด็นหลัก “มุ่งสู่ประชาคมอาเซียนปี 2558 พร้อมกับ มาตรการที่ดีขึ้นเพื่อคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิของแรงงาน ข้ามชาติ” ได้จัดขึ้นระหว่างวันที่ 20-21 พฤศจิกายน 2014 ที่ ก รุ ง เนปิ ด อว์ ประเทศพม่ า โดยมี ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มเป็ น ตั ว แทน ของรัฐบาล องค์กรนายจ้าง องค์กรแรงงาน และหน่วยงานภาค ประชาสังคม ได้แก่ รัฐภาคีอาเซียน ส�ำนักเลขาธิการอาเซียน องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) องค์การระหว่างประเทศ เพื่อการโยกย้ายถิ่นฐาน (International Organization for Migration-IOM) องค์การเพื่อการส่งเสริมความเสมอภาค ระหว่างเพศและเพิ่มพลังของผู้หญิงแห่งสหประชาชาติ (UN Women) สมาพันธ์นายจ้างอาเซียน (ASEAN Confederation of Employers-ACE) สภาสหภาพแรงงานอาเซียน (ASEAN Trade Union Council- ATUC) สภาสหภาพการค้าของลูกจ้าง ภาคบริการแห่งอาเซียน (ASEAN Services Employees Trade Union Council-ASETUC) และ Task Force for ASEAN Migrant Workers (TFAMW) การเสวนาอาเซี ย นเรื่ อ งแรงงานข้ า มชาติ ครั้ ง ที่ 7 ได้จัดขึ้นโดยเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติตามปฏิญญาอาเซียน เพื่ อ การคุ ้ ม ครองและส่ ง เสริ ม สิ ท ธิ ข องแรงงานข้ า มชาติ (ASEAN Declaration on the Protection and Promotion of the Rights of Migrant Workers) ตามแผนงานของ ที่ประชุมรัฐมนตรีแรงงานแห่งอาเซียน ประจ�ำปี 2553-2558 และแผนปฏิบัติการชุมชนสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community - ASCC) Blueprint (Action Line C.2.ii) ซึ่งเสนอให้มีการเสวนาอาเซียนเรื่องแรงงาน ข้ามชาติเป็นประจ�ำ โดยให้เป็นเวทีเพือ่ การพูดคุยของหลายฝ่าย ในประเด็นแรงงานข้ามชาติ และให้ถือเป็นส่วนหนึ่งของการ ด�ำเนินงานของคณะกรรมการอาเซียน ซึ่งเป็นไปตามปฏิญญา อาเซียนเพือ่ การคุม้ ครองและส่งเสริมสิทธิของแรงงานข้ามชาติ โดยต้องมีการรายงานต่อที่ประชุมของเจ้าหน้าที่แรงงานระดับ สูงอาเซียน (ASEAN Senior Labour Officials MeetingSLOM)

โดยการยึดถือมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศทีเ่ กีย่ วข้อง ผู้เข้าประชุมเห็นชอบต่อข้อเสนอแนะให้มีมาตรการอย่างเป็น รูปธรรมดังต่อไปนี้ เพือ่ ส่งเสริมและคุม้ ครองสิทธิ และแก้ปญ ั หา เป็นการเฉพาะส�ำหรับแรงงานข้ามชาติทงั้ ชายและหญิงในภูมภิ าค โดยเฉพาะในแง่การปฏิบัติตามพันธกิจของรัฐภาคีอาเซียน ตามข้อ 8 และ 13 ของปฏิญญาอาเซียนเพื่อการคุ้มครองและ ส่งเสริมสิทธิของแรงงานข้ามชาติ ส่งเสริมการคุ้มครองการจ้างงานและการจ่ายค่าแรงที่ เป็นธรรมและเหมาะสม และการเข้าถึงอย่างพอเพียงเพื่อให้ เกิดสภาพการท�ำงานและการด�ำรงชีวติ ทีเ่ หมาะสมส�ำหรับแรงงาน ข้ามชาติ

1. สัญญาจ้างงานควรมีมาตรฐานสอดคล้องกับกฎหมาย แรงงานระดับชาติ โดยอยูบ่ นพืน้ ฐานมาตรฐานแรงงานหลัก และ สอดคล้องกับข้อ 22 ของข้อเสนอแนะว่าด้วยการจ้างแรงงาน ข้ามชาติ (Migration for Employment Recommendation) (No. 86, 1949) ของ ILC 2. สัญญาจ้างงานที่ได้มาตรฐานควรก�ำหนดเงื่อนไข และหลักเกณฑ์ทชี่ ดั เจนเกีย่ วกับการจ้างงาน สิทธิและความรับ ผิดชอบของคนงานและลูกจ้างชายและหญิง รวมทั้งแรงงาน ในภาคทีม่ คี วามเสีย่ งและเข้าถึงได้ยาก อย่างเช่น แรงงานประมง คนท�ำงานบ้าน และงานก่อสร้าง และก�ำหนดกลไกร้องเรียน รวมทั้งการแจ้งให้ทราบรายละเอียดเกี่ยวกับสัญญาและระบบ กฎหมายที่ใช้อ้างอิงในการยื่นค�ำร้อง สัญญาจ้างงานควรเขียน เป็นภาษาที่แรงงานข้ามชาติเข้าใจ และให้ลูกจ้างและแรงงาน เป็นผูล้ งนามก่อนทีจ่ ะเดินทางออกจากประเทศ และตัวแรงงาน ข้ามชาติควรได้รับส�ำเนาของสัญญาจ้างงานดังกล่าว 3. ควรมีการจัดท�ำแนวปฏิบตั /ิ กรอบอาเซียนว่าด้วยสัญญา จ้างงานที่ได้มาตรฐาน โดยรับฟังข้อมูลจากทั้งประเทศต้นทาง และปลายทาง ภาคีด้านสังคม องค์กรภาคประชาสังคม และ สมาคมแรงงานข้ามชาติ และให้คำ� นึงถึงกฎหมายแรงงานระดับ ประเทศที่เกี่ยวข้องของรัฐภาคีอาเซียน 4. ควรขจัดการใช้สัญญาอื่นแทนสัญญาจ้างงาน และ การจัดท�ำสัญญาจ้างงานทีต่ ำ�่ กว่ามาตรฐาน และควรมีบทลงโทษ ที่เหมาะสมต่อนายจ้างที่ไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขดังกล่าว และ Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 11


ให้บันทึกชื่อนายจ้างในฐานข้อมูลของรัฐภาคีอาเซียน ทั้งนี้ โดยให้เป็นไปตามกฎหมายและระเบียบในประเทศ ในกรณี ทีเ่ ป็นสัญญาจ้างงานทีอ่ อกโดยหน่วยงานทีส่ ามทีไ่ ด้รบั อนุญาต ตามกฎหมาย ควรมี ก ารติ ด ตามอย่ า งใกล้ ชิ ด เพื่ อ ประกั น ให้สอดคล้องกับมาตรฐานที่จ�ำเป็น 5. รัฐบาลควรด�ำเนินการและปรับปรุงมาตรการและ จัดสรรทรัพยากรเพือ่ การคุม้ ครองและส่งเสริมสิทธิของแรงงาน ข้ามชาติ รวมทัง้ ให้มกี ารตรวจแรงงานอย่างสม�ำ่ เสมอ โดยเฉพาะ ในภาคส่ ว นและสถานที่ ท� ำ งานที่ มี ค วามเสี่ ย งและยากต่ อ การเข้าถึง (เช่น การท�ำประมง เหมืองแร่ ป่าไม้ เกษตรกรรม และการท�ำงานบ้าน) จัดให้มกี ารอบรมต่อผูต้ รวจแรงงาน และ จั ด ตั้ ง หน่ ว ยปฏิ บั ติ ง านหลายภาคส่ ว นเพื่ อ ตรวจแรงงาน อนุสัญญาแรงงานระหว่างประเทศฉบับที่ 189 และข้อเสนอ แนะฉบับที่ 201 ได้กำ� หนดแนวปฏิบตั สิ ำ� หรับการตรวจแรงงาน กรณีที่เป็นคนท�ำงานบ้าน 6. ควรมีการปรับปรุงอาชีวะอนามัย (Occupational safety and health-OSH) โดยนายจ้างควรจัดอบรมอาชีวะ อนามัยและจัดหาอุปกรณ์เพื่อคุ้มครองส่วนบุคคลในสถานที่ ท�ำงาน แล้วแต่กรณี ทันทีที่แรงงานข้ามชาติเข้าท�ำงาน และให้ จัดท�ำอย่างสม�่ำเสมอหลังจากนั้น รวมทั้งให้มีการจัดท�ำข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูลด้านอาชีวะอนามัยโดยมีการแยกแยะ ตามตัวแปรต่างๆ 7. ควรมีการจัดตัง้ ศูนย์บริการและทรัพยากรเพือ่ แรงงาน ข้ามชาติแบบครบวงจรในรัฐภาคีอาเซียนทุกแห่ง และให้มี การเชือ่ มโยงในระดับพืน้ ที่ ระดับชาติ และภูมภิ าค เพือ่ ประกัน ให้เกิดกลไกคุ้มครองที่ดีขึ้นส�ำหรับแรงงานข้ามชาติทั้งชายและ หญิง ในท�ำนองเดียวกัน ควรมีการจัดท�ำบริการโทรศัพท์สายด่วน ตลอด 24 ชั่วโมง โดยให้บริการเป็นภาษาที่แรงงานข้ามชาติ เข้าใจ และควรมีบริการส่งต่อไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อ ประโยชน์ของแรงงานข้ามชาติ ศูนย์บริการแรงงานข้ามชาติ ดังกล่าวควรอยูภ่ ายใต้การบริหารงานของรัฐบาล องค์กรนายจ้าง องค์กรลูกจ้าง และหน่วยงานภาคประชาสังคม โดยควรให้ บริการสนับสนุนและการคุ้มครองในสถานที่ท�ำงานส�ำหรับ แรงงานข้ามชาติ และควรมีการประสานงานเป็นอย่างดีกับผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียทุกคน 8. ควรมีการจัดตั้งระบบส่งต่อเพื่อรับบริการระหว่าง ประเทศต้นทางกับประเทศปลายทาง และให้มีการด�ำเนินงาน เป็นอย่างดี รวมทั้งสถานทูตควรให้ความช่วยเหลือเพื่อประกัน ให้มีการจ่ายค่าตอบแทนและผลประโยชน์ต่างๆ ตามเวลาที่ ก�ำหนดแก่แรงงานข้ามชาติ แม้ในกรณีที่แรงงานเดินทางกลับ ไปยังประเทศต้นทางแล้ว รวมทัง้ ค่าใช้จา่ ยในการรักษาพยาบาล และการดูแลอาการเจ็บป่วยทีเ่ กิดขึน้ จากการท�ำงานในระยะยาว ควรมีการศึกษาในระดับภูมิภาคโดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่างๆ เพือ่ ส�ำรวจปัญหาและช่องว่างเชิงนโยบายเพื่อให้การช่วยเหลือ กับคนงานทีม่ ปี ญ ั หาทุพลภาพจากการท�ำงาน ภายหลังเดินทาง กลับประเทศต้นทาง 12 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

9. ควรมีการอบรมทูตแรงงานเป็นอย่างดี และให้มกี าร คุ้มครองในที่ท�ำงานอย่างเป็นผล ควรก�ำหนดให้มีความสมดุล ทางเพศสภาพของผู้หน้าที่เป็นทูตแรงงาน โดยให้มีสัดส่วน เหมาะสมกับจ�ำนวนของแรงงานที่เป็นชายและหญิง 10. ส� ำ นั ก งานจั ด หางานควรได้ รั บ การสนั บ สนุ น ให้ สามารถจั ด หาข้ อ เสนอการจ้ า งงานที่ ใ ห้ ผ ลตอบแทนและ ประโยชน์ทดี่ กี ว่าส�ำหรับแรงงานข้ามชาติ โดยรวมถึงการลดหรือ ขจัดค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องส�ำหรับแรงงานข้ามชาติ 11. ควรมีการใช้มาตรการเพื่อสนับสนุนให้แรงงาน ข้ามชาติทั้งที่เป็นชายและหญิงสามารถเข้าถึงสหภาพแรงงาน และสมาคมแรงงาน โดยเฉพาะในภาคส่วนการจ้างงานทีย่ งั ไม่มี การจัดตั้งคนงาน 12. คนงานที่ยื่นข้อร้องเรียนควรได้รับการสนับสนุน ให้สามารถอยูต่ อ่ ไปในประเทศปลายทางได้ ในระหว่างทีม่ กี าร สอบสวนตามข้อร้องเรียนดังกล่าว ในท�ำนองเดียวกัน แรงงาน ข้ามชาติและตัวแทนแรงงานข้ามชาติควรได้รับความช่วยเหลือ ที่เหมาะสมและทันเวลา รวมทั้งการคุ้มครองไม่ให้ถูกตอบโต้ จากนายจ้างในระหว่างยื่นข้อร้องเรียน จัดท�ำนโยบายและขั้นตอนปฏิบัติเพื่อสนับสนุนแรงงาน ข้ามชาติในด้านต่างๆ รวมทั้งการจัดหางาน การเตรียมตัว ก่อนไปท�ำงานต่างประเทศ การคุม้ ครองแรงงานข้ามชาติเมือ่ อยู่ ต่างแดน และการส่งกลับและการกลับเป็นส่วนหนึ่งของสังคม ในประเทศต้นทาง

13. องค์กรนายจ้างและคนงานควรร่วมมือกันอย่าง ใกล้ชิดกับองค์กรภาคประชาสังคม โดยมีการเสวนาอย่างเป็น ระบบเพือ่ การพัฒนา ด�ำเนินการแก้ไขปรับปรุงและ/หรือติดตาม ผลการปฏิบัติตามนโยบายและโครงการเพื่อแรงงานข้ามชาติ ที่มีความสมดุลด้านเพศสภาพในรัฐภาคีอาเซียน 14. ควรด�ำเนินการให้สามารถเข้าถึงกฎหมาย นโยบาย หลักเกณฑ์ และระเบียบระดับชาติที่เกี่ยวข้องกับการจ้างงาน และการอพยพของแรงงาน และแจ้งให้แรงงานข้ามชาติทั้งชาย และหญิงได้ทราบข้อมูลเหล่านี้ รวมทัง้ องค์กรของคนงาน องค์กร ของนายจ้าง และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ควรมีการเผยแพร่ข้อมูลการเข้าเมืองและการขอรับวีซ่าอย่าง กว้างขวางเพื่อให้แรงงานข้ามชาติได้ทราบ และได้รับความ ช่วยเหลือจากทูตแรงงานและสถานทูตต่างๆ 15. ควรมีการจัดระเบียบนโยบายและขัน้ ตอนปฏิบตั ใิ น การจัดหางาน และมีการแจ้งข้อมูลให้แรงงานข้ามชาติและผู้มี ส่วนได้สว่ นเสียทราบเป็นอย่างดี รวมทัง้ การให้บริการแบบครบ วงจรและศูนย์บริการแรงงานทั้งในระดับประเทศและท้องถิ่น 16. ควรมีการจัดท�ำโครงการปฐมนิเทศก่อนการจ้างงาน ก่อนการเดินทาง และภายหลังเดินทางไปถึงประเทศปลายทาง โดยก�ำหนดให้เป็นเงือ่ นไขเชิงบังคับและต้องให้แรงงานข้ามชาติ ทัง้ ชายและหญิงสามารถเข้าร่วมได้โดยไม่มคี า่ ใช้จา่ ย สนับสนุน ให้ผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียมีสว่ นร่วม และควรมีการปรับปรุงคุณภาพ


ของหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง โดยให้ความรู้ท่ีครอบคลุมด้าน วัฒนธรรม สิทธิและพันธกรณีต่างๆ ของแรงงานข้ามชาติ ทั้งชายและหญิงและนายจ้าง 17. ควรจัดประชุมและควรให้ความช่วยเหลือครอบครัว ของแรงงานข้ามชาติ เพื่อให้สามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นใน ระหว่างการจ้างงานในต่างประเทศ 18. ควรสนั บ สนุ น แรงงานข้ า มชาติ ที่ เ ดิ น ทางกลั บ ประเทศ ให้ได้รบั การสนับสนุนด้านต่างๆ ทัง้ การแนะแนวอาชีพ การพัฒนาทักษะที่สอดคล้องกับตลาด และ/หรือทักษะการ เป็นเจ้าของกิจการ ควรมีการบันทึกข้อมูลเกีย่ วกับความต้องการ ของนายจ้างในแง่ประสบการณ์และความช�ำนาญของคนงาน ทั้งนี้เพื่อสนับสนุนให้แรงงานข้ามชาติทั้งชายและหญิงมีโอกาส จะมีงานท�ำมากขึ้นในประเทศของตนเอง 19. ควรสนับสนุนความร่วมมือระหว่างประเทศต้นทาง

และปลายทาง ในแง่การให้ความช่วยเหลือกับแรงงานข้ามชาติ ในส่วนของปัญหาด้านสุขภาพ ทั้งนี้เพื่อประกันให้แรงงาน สามารถเข้าถึงบริการรักษาพยาบาลและสวัสดิการด้านสังคม ที่เกี่ยวข้อง 20. องค์กรแรงงานในรัฐภาคีอาเซียนควรสนับสนุน ความร่วมมือเพือ่ ให้เกิดกลไกคุม้ ครองแรงงานข้ามชาติทเี่ ป็นผล ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มประชุ ม แสดงความยิ น ดี กั บ รั ฐ บาลของ สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า โดยเฉพาะกระทรวงแรงงาน การจ้างงานและความมั่นคงด้านสังคม ส�ำหรับการจัดเตรียม งานเสวนาเป็นอย่างดี และส�ำหรับการต้อนรับที่อบอุ่น ผูเ้ ข้าร่วมประชุมยังขอแสดงความยินดีกบั รัฐบาลมาเลเซีย ซึ่งจะท�ำหน้าที่เป็นประธานสมาคมอาเซียนในปี 2558 และ ขอแสดงความขอบคุณต่อค�ำยืนยันที่จะรับเป็นเจ้าภาพของ การเสวนาอาเซียนเรื่องแรงงานข้ามชาติ ครั้งที่ 8 ในปีหน้า

เครือข่ายคณะท�ำงานด้านประชากรข้ามชาติ (Migrant Working Group) ได้ออกแถลงการณ์หัวข้อ “สถานการณ์เด่น แรงงานข้ามชาติในรอบปี 2557 และแนวโน้มการจัดการแรงงานข้ามชาติในอนาคตของประเทศไทย” มีรายละเอียดดังนี้ เปิด 5 สถานการณ์เด่นแรงงานข้ามชาติปี 2557 ชี้ต้องแก้หลายปมปัญหาหลังไทยถูกลดระดับ ความพยายามตอบสนองต่อสถานการณ์คา้ มนุษย์ (เทียร์ 3) ระบุปญ ั หาการขึน้ ทะเบียน การพิสจู น์ สัญชาติ และประเด็นด้านการเข้าถึงสิทธิการดูแลแรงงานข้ามชาติยงั มีชอ่ งว่าง แนะรัฐเร่งแก้ปญ ั หา โดยด่วน

ในวันที่ 18 ธันวาคมของทุกปี ถูกก�ำหนดให้เป็นวัน แรงงานข้ามชาติสากล เพื่อเป็นการรณรงค์ถึงความส�ำคัญของ แรงงานข้ามชาติและผูต้ ดิ ตามทีเ่ ป็นบุคคลในครอบครัวทีท่ ำ� งาน ย้ายถิ่นทั่วโลก ซึ่งควรได้รับความคุ้มครองทั้งสิทธิมนุษยชน และสิทธิแรงงาน โดยในช่วงปี 2557 ประเทศไทยเราได้มีการ เปลี่ยนแปลงในเชิงนโยบายในการจัดการแรงงานข้ามชาติ ที่มี ผลกระทบต่อสังคมไทยพอสมควร ดังนั้นเพื่อเป็นการทบทวน และน�ำเสนอประเด็นความเปลี่ยนแปลง รวมถึงผลกระทบใน การจัดการแรงงานข้ามชาติในช่วงปีทผี่ า่ นมา เครือข่ายทีท่ ำ� งาน ด้านประชากรข้ามชาติ (Migrant working Group) จึงได้ จัดงานแถลงข่าวในหัวข้อ “สถานการณ์เด่นแรงงานข้ามชาติ ในรอบปี 2557: และแนวโน้มการจัดการแรงงานข้ามชาติ ในอนาคตของประเทศไทย” โดยมีตวั แทนองค์กรทีท่ ำ� งานด้าน แรงงานข้ามชาติเข้าร่วมแถลงข่าวครั้งนี้ด้วย นายอดิศร เกิดมงคล ตัวแทนเครือข่ายองค์กรทีท่ ำ� งาน ด้านประชากรข้ามชาติ กล่าวว่า สถานการณ์เด่นเรื่องแรงงาน ข้ามชาติในรอบปี 2557 มีดังนี้ 1. คณะรัฐมนตรีรักษาการณ์ (อดีต ครม.) ได้มมี ติผอ่ นผันให้แรงงานทีผ่ า่ นการพิสจู น์สญ ั ชาติ ท�ำงานครบ 4 ปี อยู่อาศัยได้ชั่วคราวเพื่อขอขยายเวลาต่อวีซ่า และใบอนุญาตท�ำงาน 2. รัฐบาลมีนโยบายในการจัดตั้งศูนย์ One Stop Service จดทะเบียนแรงงานข้ามชาติ 3. เกิด

ปรากฎการณ์แรงงานกัมพูชากลับประเทศมากที่สุดในช่วง ทศวรรษ 4. ประเทศไทยถูกลดระดับความพยายามตอบสนอง ต่อการค้ามนุษย์ลงไปอยู่กลุ่มที่ 3 หรือเทียร์ 3 (Tier3) 5. ตึก ที่ก�ำลังก่อสร้างที่รังสิตถล่มทับแรงงานที่มีแรงงานข้ามชาติ ท�ำงานด้วย ซึง่ กล่าวสรุปสถานการณ์เด่นทัง้ 5 ประเด็นว่าท�ำให้ เกิดผลกระทบต่อแรงงานข้ามชาติในหลายด้าน อาทิ การจัดตัง้ ศูนย์ One Stop Service เกิดจากปรากฏการณ์การเดินทาง กลับของแรงงานข้ามชาติกมั พูชาและยังส่งผลกระทบต่อชุมชน ชายแดนรวมถึงผูป้ ระกอบการณ์ในประเทศไทยทีต่ อ้ งขาดแคลน แรงงานในช่วงเวลาดังกล่าว นอกจากนี้สิ่งส�ำคัญที่สุดคือการที่ ประเทศไทยถูกลดระดับลงไปอยู่ในกลุ่มเทียร์3 โดยเฉพาะ การค้ามนุษย์ในภาคประมงทะเล และการค้ามนุษย์ในกลุ่ม โรฮิงยาทีม่ เี จ้าหน้าทีร่ ฐั เข้าไปมีสว่ นเกีย่ วข้องด้วย ดังนัน้ รัฐบาล ควรหาแนวทางทีช่ ดั เจนในการแก้ปญ ั หาดังกล่าวอย่างเป็นรูปธรรม และเรื่องที่น่ากังวลอีกประเด็นคือเรื่องความปลอดภัยในการ ท�ำงานของแรงงานข้ามชาติ จากกรณีตัวอย่างของแรงงานข้าม ชาติที่เสียชีวิตขณะปฏิบัติงานในอาคารก่อสร้างคอนโดมิเนียม 6 ชั้นถล่มที่จังหวัดปทุมธานี มีแรงงานข้ามชาติเสียชีวิต 6 ราย และเหตุการณ์การทรุดตัวของปล่องลิฟท์ระหว่างก่อสร้างที่ อาคารสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ซึ่งมีผู้เสียชีวิต 6 ราย ซึ่งแรงงาน Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 13


ข้ามชาติทั้งหมดควรได้รับสิทธิในการดูแลอย่างเป็นธรรมและ ทั่วถึงตามกฎหมายประกันสังคม ทั้งนี้ประเด่นเหล่านี้ถือเป็น 5 สถานการณ์ที่เกิดขึ้นในรอบปี 2557 ของแรงงานข้ามชาติ แต่ยงั มีประเด็นต่างๆ ทีน่ า่ สนใจและน่าติดตามในเรือ่ งการจัดการ ปัญหาแรงงานข้ามชาติและผูต้ ดิ ตาม อาทิ ประเด็นเรือ่ งการศึกษา ของเด็กต่างชาติ ประเด็นเรื่องการเข้าถึงนโยบายสุขภาพของ แรงงานข้ามชาติ ประเด็นสถานการณ์ผู้อพยพลักลอบหนี เข้าเมืองพม่าโรฮิงยา บังคลาเทศ และประเด็นเรื่องสิทธิและ การเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม เปิดประเด็นปัญหาสถานการณ์เด็กต่างชาติ เด็กข้าม ชาติยังเสี่ยงต่อการถูกบังคับเป็นแรงงานประมง ไร่อ้อย และ อุตสาหกรรมอาหารแช่แข็งและสิ่งทอ จี้แก้ระบบขึ้นทะเบียน ให้ เ อื้ อ ต่ อ เด็ ก ทุ ก กลุ ่ ม พร้ อ มห่ ว ง สพฐ.ลดเงิ น อุ ด หนุ น การศึกษาเด็กต่างชาติ แนะรัฐยกเลิกแนวคิดและจัดการศึกษา ให้เหมาะสมส�ำหรับเด็กต่างชาติ น.ส.วรางคณา มุทมุ ล ตัวแทนเครือข่ายองค์กรทีท่ ำ� งาน ด้านประชากรข้ามชาติด้านเด็ก กล่าวว่า สถานการณ์ของเด็ก ต่างชาติในปี 2557 ทีผ่ า่ นมามี 3 ประเด็นเด่น คือ สถานการณ์ ของแรงงานเด็ก สถานการณ์การขึ้นทะเบียนเด็กต่างชาติ และ สถานการณ์เรื่องการศึกษาของเด็กต่างชาติ โดยเด็กต่างชาติ ที่เข้ามาอาศัยในประเทศไทยจะแบ่งเป็น 3 ประเภท คือ เด็ก ที่ถูกน�ำเข้ามาเป็นแรงงานเด็ก เด็กที่เป็นผู้ติดตามบิดามารดา ที่เข้ามาเป็นแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย และเด็กที่เกิด ระหว่างทีบ่ ดิ ามารดาเข้ามาเป็นแรงงานข้ามชาติ ซึง่ ในกลุม่ ของ เด็กดังกล่าวมีสถานการณ์ที่น่ากังวล ดังนี้ ในส่วนของเด็กที่ถูก น�ำเข้ามาเป็นแรงงานเด็ก ยังมีความน่าเป็นห่วง ประเทศคู่ค้า รายใหญ่ที่ส�ำคัญของไทยบางประเทศ ได้จัดท�ำและเผยแพร่ รายชื่อสินค้าที่มีการใช้แรงงานเด็กและแรงงานบังคับซึ่งระบุว่า สินค้าไทยมีเหตุที่เชื่อได้ว่าผลิตจากการใช้แรงงานเด็กและเป็น แรงงานบังคับ ได้แก่ อุตสาหกรรมประมง หรือแรงงานเด็ก ในเรือประมง อุตสาหกรรมอาหารทะเลแปรรูป เช่น กุ้งแช่แข็ง อุตสาหกรรมสิ่งทอ เช่น เครื่องนุ่งห่ม และในภาคเกษตรกรรม เช่น ไร่ออ้ ย นอกจากนีย้ งั มีสถิตจิ ากกระทรวงพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์ที่ระบุถึงการค้ามนุษย์ใน 1,000 คน จะมีเด็กที่อยู่ในกระบวนการค้ามนุษย์ถึงร้อยละ 52 โดยแบ่ง เป็นเด็กผูห้ ญิงและชาย ซึง่ เด็กผูห้ ญิงส่วนใหญ่จะมาจากประเทศ ลาว และเด็กผูช้ ายส่วนใหญ่จะมาจากประเทศพม่า นอกจากนี้ แล้วยังมีการแสวงหาผลประโยชน์ทางเพศกับเด็ก เช่น การเผยแพร่ รูปสื่อลามก อนาจารกับเด็กอีกด้วย นอกจากนีแ้ ล้วยังมีขอ้ มูลทีน่ า่ สนใจจากผูป้ ระกันตนของ ส�ำนักงานประกันสังคม ว่าในปี 2554 มีลูกจ้างที่เป็นแรงงาน เด็กไทยจ�ำนวน 50,239 คน และในปีทผี่ า่ นมาลดลงเหลือเพียง 20,465 คน แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มที่เด็กไทยอายุระหว่าง 14 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

15-18 ปี เข้าสูต่ ลาดแรงงานลดลงแต่อย่างไรก็ตามประเทศไทย ยังมีแรงงานเด็กต่างชาติทตี่ ดิ ตามพ่อแม่ และเด็กต่างชาติทเี่ ข้า มาหางานท�ำในประเทศไทยด้วยซึง่ ไม่มขี อ้ มูลตัวเลขทีแ่ ท้จริงว่า มีจ�ำนวนเท่าใด ด้วยเส้นทางการเข้ามาในประเทศไทยของเด็ก ต่างชาติมีหลายช่องทาง จึงมีแนวโน้มที่แรงงานเด็กต่างชาติจะ เข้ามาในประเทศไทยเพิ่มมากขึ้นทุกปีและมีแนวโน้มว่าตัวเลข ของเด็กไทยที่เป็นแรงงานลดลงอาจถูกแทนที่ด้วยเด็กต่างชาติ ที่ยังไม่สามารถส�ำรวจสถิติท่ีแน่ชัดได้ ซึ่งแนวทางที่จะท�ำให้ ทราบจ�ำนวนทีแ่ น่ชดั ของเด็กต่างชาติทเี่ ข้ามาอยูใ่ นประเทศไทย คือการขึ้นทะเบียนของเด็กต่างชาติ โดยสถานการณ์การขึ้น ทะเบียนของเด็กต่างชาติในประเทศไทยขณะนี้มีสถิติ ณ วันที่ 24 พฤศจิกายน 2557 จ�ำนวน 92,391 คน ซึง่ ต่างจากตัวเลข ประมาณการณ์ 2.5 แสนคน น้อยกว่าครึ่ง แสดงให้เห็นมีเด็ก ที่ตกหล่นจากการขึ้นทะเบียนและน่าเป็นห่วงคือเด็กที่อยู่ใน กลุ่มที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ขึ้นทะเบียนตามนโยบาย เช่น กลุ่ม เด็กต่างด้าวเคลื่อนย้ายที่เดินทางมาเอง หรืออยู่อาศัยกับผู้อื่น ที่ไม่ใช่พ่อแม่หรือผู้ปกครองตามกฎหมาย ส่วนสถานการณ์เรื่องการศึกษาของเด็กต่างชาตินั้น ประเทศไทยเคยตั้งเป้าหมายและมีความมุ่งมั่นที่จะให้โอกาส เด็กทุกคนเข้าถึงการได้รับการศึกษา ซึ่งจะเป็นรากฐานที่ดีของ สังคมไทยและภูมิภาคนี้ ดังนั้นนโยบายเรียนฟรี 15 ปี จึงไม่ใช่ แค่ประเทศไทยประเทศเดียวที่จะได้รับประโยชน์ แต่จะหมาย รวมถึ ง การพั ฒนาทรั พ ยากรบุ ค คลที่ มี คุ ณ ภาพ เพื่ อ สร้ า ง การพัฒนาให้กับประชาคมอาเซียนที่มีประชากรที่มีคุณภาพ ต่อไป แต่เมือ่ ช่วงปีทผี่ า่ นมาส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ได้มีแนวคิดลดการสนับสนุนการศึกษา ของเด็กต่างชาติลงจาก 5 รายการ คือ ค่าเล่าเรียน อุปกรณ์ การเรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชุดนักเรียน และหนังสือเรียน เหลือ 2 รายการ ซึ่งจะส่งผลให้ภาระค่าใช้จ่ายที่เกินตกไปอยู่ กับโรงเรียนและผู้ปกครองของเด็กที่มีฐานะยากจน และท้าย ทีส่ ดุ เมือ่ โรงเรียนไม่ตอ้ งการแบกรับภาระค่าใช้จา่ ยส่วนเกินเหล่านี้ ก็จะตัดสินใจไม่รบั เด็กต่างชาติเข้าเรียน ทัง้ นี้ สพฐ. ได้ให้เหตุผล ในการลดการสนับสนุนว่าจ�ำนวนของเด็กต่างชาติเพิ่มขึ้นมาก ถึง 2.5 แสนคนภายในระยะเวลา 2 ปี จึงท�ำให้ไม่มงี บประมาณ สนับสนุนในเรื่องการเรียนฟรีด้วยการเกลี่ยค่าใช้จ่ายรายหัว แบบเดิมจากเด็กไทยได้อีก ซึ่งเครือข่ายองค์กรที่ท�ำงานด้าน ประชากรข้ามชาติได้ตั้งข้อสังเกตและแสดงความห่วงใยต่อ สถานการณ์ดงั กล่าวว่า อาจเป็นได้วา่ จ�ำนวนเด็กนักเรียนที่ สพฐ. อ้างถึงน่าจะรวมเด็กทุกคนทีไ่ ม่มสี ญ ั ชาติไทย ได้แก่ เด็กต่างด้าว เด็กไม่ปรากฎสัญชาติ เด็กทีไ่ ม่มเี อกสารแสดงตน และเด็กกลุม่ ชาติพนั ธุ์ ซึง่ มีจำ� นวนราวๆ 208,000 คน ซึง่ ในจ�ำนวนนีม้ เี ด็ก ต่างชาติ 3 สัญชาติ คือ พม่า ลาว กัมพูชาเพียง 93,320 คน เท่านั้น หรือคิดเป็นร้อยละ 2-3 ของจ�ำนวนนักเรียนทั้งหมด


เท่านั้น ท�ำให้ปัญหาที่จะเกิดภาระจากการเกลี่ยค่าใช้จ่าย งบประมาณของเด็กไทยมาให้เด็กต่างด้าวจึงเกิดขึน้ ได้นอ้ ยมาก ดังนั้นเราจึงอยากเรียกร้องให้ สพฐ.ยุติการน�ำเสนอนโยบาย ดังกล่าวกับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และให้คง นโยบายเรียนฟรี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ให้กับเด็กต่างชาติ ต่อไป อีกทัง้ กระทรวงศึกษาธิการจะต้องด�ำเนินการอย่างจริงจัง คือสนับสนุนให้เกิดแนวปฏิบตั ทิ ชี่ ดั เจนในการจัดการศึกษาทาง เลือกที่สอดคล้องกับเด็กต่างชาติ เช่น ศูนย์การเรียนชุมชน หลักสูตรส�ำหรับเด็กต่างด้าวในระบบการจัดการศึกษานอก โรงเรียน (กศน.) หรือระบบการศึกษาตามอัธยาศัย เปิดประเด็นปัญหาสุขภาพแรงงานข้ามชาติ ระบุการซื้อ ประกันสุขภาพแรงงานยังเป็นปัญหา พบสถานพยาบาลหลาย แห่งไม่ปฏิบตั ติ ามกฎกระทรวงอ้างเหตุไม่คมุ้ ทุน บางแห่งเก็บเงิน เพิ่มและปฏิเสธรักษาเด็กและผู้ป่วยเอชไอวี แนะกระทรวงออก มาตรการคุมเข้มให้ปฏิบัติตามกฎกระทรวงอย่างเคร่งครัด

น.ส.นงลักษณ์ ดิษฐวงษ์ ตัวแทนเครือข่ายองค์กร ทีท่ ำ� งานด้านสุขภาพของประชากรข้ามชาติ กล่าวว่า ประกาศ ของกระทรวงสาธารณสุขเมื่อวันที่ 26 มิ.ย.2557 ได้ระบุสิทธิ ในการก�ำหนดค่าใช้จา่ ยในการตรวจสุขภาพและประกันสุขภาพ ของแรงงานข้ามชาติไว้ 2 ส่วน คือ แรงงานทีต่ อ้ งได้รบั สิทธิตาม ประกันสังคม คือ แรงงานทีม่ หี นังสือเดินทางถูกต้องและอยูใ่ น กิจการทีต่ อ้ งเข้าสูร่ ะบบประกันสังคม และส่วนทีส่ องคือแรงงาน ที่ต้องซื้อระบบประกันสุขภาพ คือ แรงงานที่ยังไม่มีหนังสือ เดินทาง หรือมีหนังสือเดินทางแล้วแต่อยู่ในกิจการที่ไม่เข้าสู่ ระบบประกันสังคม อาทิ แรงงานแม่บา้ น แรงงานภาคการเกษตร และการประมง ซึ่งแรงงานกลุ่มดังกล่าว กระทรวงสาธารณสุข ได้ก�ำหนดสิทธิในการรักษาพยาบาลโดยให้แรงงานซื้อประกัน สุขภาพเองตามสถานพยาบาลของกระทรวงสาธารณสุข ซึง่ การ ซื้อประกันสุขภาพของแรงงานข้ามชาติ ตามมติ ครม.ปี 2557 แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ แรงงานข้ามชาติและผู้ติดตามที่มีอายุเกิน 7 ปี จะต้องจ่ายค่าประกันสุขภาพ 2100 บาท ซึ่งมีอายุการ คุ้มครอง 1 ปี โดยแบ่งเป็นค่าตรวจสุขภาพ 500 บาท และ ค่าประกับสุขภาพ 1600 บาท และในกลุม่ เด็กอายุไม่เกิน 7 ปี จะต้องจ่ายค่าประกันสุขภาพในราคา 365 บาท ซึ่งมีอายุการ คุ้มครอง 1 ปี โดยไม่ต้องตรวจสุขภาพ และทั้งสองกลุ่มจะ ได้รบั สิทธิประโยชน์เพิม่ เติมคือได้รบั ยาต้านไวรัสเอชไอวี/เอดส์ ซี่งเป็นการประกันสุขภาพภาคบังคับ ทั้งนี้แม้จะมีการก�ำหนด ให้แรงงานข้ามชาติต้องซื้อประกันสุขภาพ แต่ในเรื่องของการ ด�ำเนินการยังมีหลายส่วนที่เป็นปัญหา ไม่ว่าจะเป็นการขาด มาตรการในการบังคับใช้นโยบายให้เป็นไปตามประกาศของ กระทรวงสาธารณสุขในระดับพื้นที่ ซึ่งส�ำนักงานสาธารณสุข จังหวัดหลายแห่ง ไม่สามารถผลักดัน ให้สถานพยาบาลใน จังหวัดของตนที่เข้าร่วมโครงการเปิดขายประกันสุขภาพได้

เนือ่ งจากผูบ้ ริหารสถานพยาบาลมีอำ� นาจเด็ดขาดว่าจะเปิดขาย หรือไม่ ซึ่งความเป็นจริงแล้วทุกสถานพยาบาลต้องเปิดขาย ประกันสุขภาพทีก่ ฎกระทรวงได้กำ� หนดไว้ นอกจากนีย้ งั มีความ ไม่ชดั เจนของการก�ำหนดขอบเขตชุดสิทธิประโยชน์ ท�ำให้มกี าร ปฏิบัติที่แตกต่างไปในแต่ละสถานพยาบาล โดยบางแห่งมีการ เรียกเก็บเงินเพิม่ จากความไม่ชดั เจนนี้ และยังมีสถานพยาบาล บางแห่งไม่ยอมประกันสุขภาพให้กบั แรงงานเนือ่ งจากประเมิน ความไม่คุ้มทุน เช่น ไม่ขายประกันให้เด็กอายุ 0-7 ปี หรือขาย ให้แต่มีเงื่อนไขขอเอกสารประจ�ำตัวเด็กและผู้ปกครอง และไม่ ขายให้กบั กลุม่ ผูป้ ว่ ยทีต่ ดิ เชือ้ เอชไอวี ซึง่ เกิดจากความไม่มน่ั ใจ ของสถานพยาบาล และบางแห่งมีการเก็บเงินเพิ่มหากต้อง ตรวจโรคเพิม่ เติม อีกทัง้ ภาครัฐเองยังขาดระบบประชาสัมพันธ์ และการท�ำงานเชิงรุกที่มีประสิทธิภาพ และในส่วนของการให้ บริการยังมีอปุ สรรคในด้านการสือ่ สารของผูใ้ ห้บริการต่อแรงงาน ข้ามชาติ โดยหลายแห่งไม่มีพนักงานสาธารณสุขที่สามารถ สือ่ สารภาษาของแรงงานข้ามชาติได้ ซึง่ ประเด็นปัญหาดังกล่าว ส่งผลให้แรงงานไม่สนใจและไม่เห็นประโยชน์จากระบบประกัน สุขภาพ เนื่องจากไม่มีข้อมูลและรายละเอียดในเรื่ อ งสิ ทธิ ประโยชน์ของการซื้อประกันสุขภาพ จึงท�ำให้แรงงานข้ามชาติ ไม่เห็นประโยชน์จากประกันสุขภาพดังกล่าว และคิดว่าตนเอง ยังมีสุขภาพที่แข็งแรงดี ทั้งยังไม่เห็นกรณีตัวอย่างของแรงงาน ข้ามชาติ ที่ได้รับสิทธิประโยชน์จากตัวประกันสุขภาพอย่าง เป็นรูปธรรม นอกจากนีส้ าเหตุทแี่ รงงานส่วนหนึง่ ไม่ซอื้ ประกัน สุขภาพ เพราะคิดราคาบัตรประกันสุขภาพมีราคาสูงเกินไป และเห็นว่าสิทธิประโยชน์ท่ีได้รับไม่คุ้มค่ากับเงินที่ต้องเสียไป หากเจ็บป่วยตนก็สามารถใช้บริการคลินิกที่ตั้งอยู่ในชุมชนได้ รวมทั้งแรงงานในกรุงเทพฯ ไม่มีสิทธิเลือกโรงพยาบาลที่ขาย ประกันสุขภาพในการจดทะเบียนที่ศูนย์ One Stop Service โดยจะมีการก�ำหนดโรงพยาบาลให้แรงงานเลยซึ่งส่วนใหญ่ เป็นโรงพยาบาลรัฐทีแ่ รงงานไม่คนุ้ เคย และบางแห่งอยูไ่ กลจาก แหล่งงาน/ที่พักของแรงงาน ส�ำหรับการแก้ปัญหาในประเด็นดังกล่าวคือกระทรวง สาธารณสุขจะต้องมีนโยบายในการควบคุมสถานพยาบาลทีอ่ ยู่ ภายใต้การด�ำเนินงานให้ปฏิบตั ติ ามกฎกระทรวงอย่างเคร่งครัด และไม่เลือกปฏิบัติ อย่างไรก็ตามตัวเลขของแรงงานข้ามชาติ จากการเก็บสถิตขิ องกระทรวงสาธารณสุขและส�ำนักงานประกัน สังคม ตั้งแต่เดือนมกราคมถึงเดือนมิถุนายน 2557 ระบุว่ามี จ�ำนวนแรงงานข้ามชาติที่เข้าสู่ระบบประกันสังคม 333,372 คน คิดเป็นร้อยละ 17 หรือ แรงงานทีเ่ ข้าสูร่ ะบบประกันสุขภาพ 761080 หรือคิดเป็นร้อยละ 39 และแรงงานที่ยังไม่มีความ ชัดเจนหรืออยู่ระหว่างการด�ำเนินงาน 868,803 คน หรือ คิดเป็นร้อยละ 44

Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 15


เปิดปมประเด็นปัญหาชาวพม่าโรฮิงยา/บังคลาเทศ ระบุ รัฐไทยยังแก้ปญ ั หาไม่ถกู จุด กระบวนคัดกรองเหยือ่ มีปญ ั หา แฉ ผูม้ อี ทิ ธิพลในพืน้ ทีแ่ ละนักการเมืองท้องถิน่ มีเอีย่ วกับกระบวนค้า มนุษย์ จีเ้ จ้าหน้าทีต่ ำ� รวจใช้กฎหมายจัดการคนผิดอย่างเคร่งครัด แนะรัฐไทยประสานประเทศต้นทางรองรับสถานกาพชาวโรฮิงยา

นายศิววงศ์ สุขทวี ตัวแทนเครือข่ายองค์กรที่ท�ำงาน ด้านประชากรข้ามชาติ ในกลุ่มผู้อพยพลักลอบหนีเข้าเมือง พม่าโรฮิงยา/บังคลาเทศ กล่าวว่า กลุ่มโรฮิงยาที่ถูกจับกุมใน ประเทศไทยแบ่งออกเป็น 2 กลุม่ คือ โรฮิงยาทีม่ าจากประเทศ พม่า และชาวมุสลิมจากบังคลาเทศ ซึ่งทั้ง 2 กลุ่มนี้เข้ามาใน ประเทศไทยด้วยสาเหตุที่แตกต่างกันคือ 1. กลุ่มที่หลบหนี เข้าเมืองเพราะต้องการหางานท�ำ 2. กลุ่มที่หลบหนี้เข้าเมือง เพราะต้องการหนีจากความตายเนือ่ งจากประเทศต้นทางมีการ สู้รบ ประเด็นปัญหาการเมือง หรือปัญหาเรื่องชาติพันธุ์ใน พื้นที่ และทั้ง 2 กลุ่มนั้นมีความเสี่ยงที่กลายเป็นเหยื่อของ กระบวนการค้ามนุษย์เมื่อเข้ามาในประเทศไทย ทั้งนี้ส่วนใหญ่ ชาวโรฮิงยาบังคลาเทศจะถูกควบคุมไว้ใน 3 จังหวัดหลักของ ประเทศไทย คือ ระนอง พังงา และสงขลา โดยจังหวัดสงขลา มีจำ� นวนชาวโรฮิงยาถูกจับกุม และถูกควบคุมมากทีส่ ดุ เนือ่ งจาก เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ติดต่อกับประเทศมาเลเซีย อย่างไรก็ตาม สถิตกิ ารจับกุมตัง้ แต่เดือนมกราคมถึงเดือนพฤศจิกายน 2557 มีจ�ำนวน 1,329 คน โดยในจ�ำนวนนี้มีผู้เสียชีวิตจ�ำนวน 8 คน โดย 3 คนเสียชีวิตจากอุบัติเหตุรถยนต์ระหว่างการเดินทาง และอีก 5 คน เสียชีวิตหลังจากถูกจับกุมเนื่องจากอยู่ในสภาพ ที่ขาดอาหาร และเจ็บป่วยมาเป็นระยะเวลานาน ทั้ ง นี้ ช าวพม่ า มุ ส ลิ ม โรฮิ ง ยาที่ ไ ม่ ไ ด้ ถู ก คั ด แยกเป็ น ผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์จะถูกผลักดันออกในช่องทางที่ ไม่เป็นทางการ โดยแรงงานที่ถูกผลักดันกลับเหล่านี้ก็จะถูก กระบวนการการค้ามนุษย์และกลับสู่ประเทศไทยอีกครั้ง ส่วน ชาวบังคลาเทศทีถ่ กู ด�ำเนินคดีลกั ลอบเข้าเมืองผิดกฎหมายก็จะ ถูกควบคุมตัวเพื่อรอการประสานกับทางสถานทูตบังคลาเทศ เพื่อรอการด�ำเนินการส่งกลับ โดยที่ผ่านมาตั้งแต่ปี 2555 รัฐบาลไทยได้มีการจับกุมชาวโรฮิงยาเป็นจ�ำนวนมากแต่ไม่มี กระบวนการทีช่ ดั เจนในการส่งกลับ จึงท�ำให้ชาวโรฮิงยาจ�ำนวน มากถูกขังไว้ในห้องกักทีส่ ภาพแวดล้อมไม่เอือ้ อ�ำนวยต่อการอยู่ อาศัย และจ�ำนวนมากที่เป็นโรคขาดสารอาหาร มีอาการเจ็บ ป่ ว ยร้ า ยแรงแต่ ไ ม่ ไ ด้ รั บ การรั ก ษาอย่ า งทั น ท่ ว งที จ นท� ำ ให้ เสียชีวิตในห้องกัก ซึ่งแนวทางในการแก้ปัญหาเรื่องดังกล่าว รัฐบาลไทยควรมีกระบวนการคัดกรองชาวโรฮิงยาที่หลบหนี เข้ามาในประเทศไทยให้ชัดเจนว่าอยู่ในกลุ่มใดเพื่อให้การ ช่วยเหลืออย่างถูกต้อง อาทิ กลุ่มที่หลบหนีเข้าเมืองเพราะ ต้องการหางานท�ำก็จะได้ดำ� เนินการให้คำ� แนะน�ำถึงการเข้าเมือง โดยวิธีที่ถูกกฎหมาย หรือผ่อนผันให้ท�ำงานในอุตสาหกรรม 16 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

ที่ยังขาดแคลน ส่วนกลุ่มที่หลบหนีเข้าเมืองเพราะต้องการหนี จากความตาย เป็นกลุ่มที่ใช้ประเทศไทยเป็นประเทศต้นทาง หรือเพือ่ เป็นทางผ่านไปขอลีภ้ ยั ไปอยูใ่ นประเทศทีส่ าม ทีม่ ชี าว โรฮิงยามีญาติพกั อาศัยอยูก่ อ่ นแล้ว ควรจะได้เข้าสูก่ ระบวนการ การคัดกรองตามหลักสากลในฐานะผูล้ ภี้ ยั แต่เมือ่ ไม่มกี ระบวนการ คัดแยกส่งผลให้กลุ่มโรฮิงยากลุ่มนี้ขาดโอกาสลี้ภัยและต้อง ถูกกักขังโดยไม่รู้ชะตากรรมเป็นระยะเวลานาน ตั ว แทนเครื อ ข่ า ยองค์ ก รที่ ท� ำ งานด้ า นประชากร ข้ามชาติ กล่าวต่อว่า ส่วนกลุ่มที่หลบหนีเข้าเมืองมาและตก เป็นเหยื่อของกระบวนการค้ามนุษย์ ซึ่งส่วนใหญ่จะถูกท�ำร้าย ร่างกายเพื่อให้ญาติ หรือครอบครัวส่งเงินมาไถ่ตัวออกไป หาก ไม่มีญาติก็อาจถูกปล่อยให้ตายหรือถูกขายให้ไปเป็นแรงงาน บนเรือประมง ซึ่งรัฐไทยควรมีกระบวนการดูแลกลุ่มคนเหล่านี้ อย่างจริงจังโดยต้องจัดสรรที่อยู่ที่เหมาะสมส�ำหรับผู้ที่ตกเป็น เหยือ่ และต้องมีกระบวนการเอาผิดกับนายหน้าอย่างชัดเจนและ เป็นรูปธรรม นอกจากนี้ระหว่างการรอด�ำเนินคดีกับนายหน้า ควรมีการผ่อนผันให้กลุ่มโรฮิง ยากลุ่มนี้สามารถหางานท�ำ ในประเทศไทยได้ ตามกฎหมายป้องกันการค้ามนุษย์ ตัวอย่างของกระบวนการค้ามนุษย์ทเี่ ห็นชัดเจนทีส่ ดุ คือ กระบวนการจับกุมครั้งใหญ่ที่เกิดขึ้นเมื่อเดือนมกราคม 2557 ในพื้นที่ ต.ส�ำนักแต้ว อ.สะเดา จ.สงขลา โดยพบชาวพม่า โรฮิงยา/บังคลาเทศ มากถึง 881 คน และในจ�ำนวนนี้มีชาว พม่าโรฮิงยา/บังคลาเทศ จ�ำนวน 25 คนที่เคยถูกจับและถูก ควบคุมในด่านตรวจคนเข้าเมืองมาแล้วก่อนทีจ่ ะถูกผลักดันและ จับกุมใหม่อีกครั้ง และมักพบว่านายหน้าจะเป็น ผู้มีอิทธิพล ในพื้นที่และเป็นนักการเมืองท้องถิ่นที่ร่วมมือกับนายหน้าใน ประเทศต้นทาง โดยกรณีที่ชัดเจนที่สุดคือกรณีของนายมูฮัม หมัด นูสลาม ชาวโรฮิงยาทีถ่ กู นายอนัส หะยีมะแซ สมาชิกสภา องค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล จับตัวไปเรียกค่าไถ่และซ้อม ทรมาน ซึง่ ขณะนีค้ ดีอยูร่ ะหว่างการไต่สวนของศาลจังหวัดสงขลา ที่จะมีการไต่สวนในวันที่ 25-26 ธันวาคมนี้ ส�ำหรับการแก้ไขปัญหาในประเด็นดังกล่าวนั้น รัฐควร ด�ำเนินการดังนี้ 1. ให้ความส�ำคัญในกระบวนการคัดกรองชาว พม่ า โรฮิ ง ยา/บั ง คลาเทศให้ ชั ด เจนว่ า อยู ่ ใ นกลุ ่ ม ไหนเพื่ อ จะสามารถช่วยเหลือได้อย่างถูกวิธี 2. กรณีทเี่ ป็นผุเ้ สียหายจาก การค้ามนุษย์ ควรบังคับใช้กฎหมายด�ำเนินคดีกับนายหน้าค้า มนุษย์อย่างจริงจัง รวมถึงมีกระบวนการดูแลเหยื่อที่ต้องเข้าสู่ กระบวนการค้ามนุษย์ 3. กรณีทเี่ ป็นผูล้ กั ลอบเข้าเมืองมา รัฐเอง ควรประสานไปยั ง สถานทู ต ของแต่ ล ะประเทศ และส� ำนั ก ข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัย ช่วยแบ่งเบาภาระในการด�ำเนินการพิสูจน์ สัญชาติและส่งกลับประเทศอีกครัง้ แต่ประเด็นปัญหาส�ำคัญคือ ไทยยังขาดแคลนล่ามที่จะสื่อสารกับชาวโรฮิงยาที่ถูกจับกุมมา จึงท�ำให้การแก้ไขปัญหาไม่มีประสิทธิภาพ อีกทั้งทัศนคติของ


เจ้าหน้าที่ต�ำรวจมักจะจ�ำแนกชาวโรฮิงยาเป็นพม่ามุสลิมเพื่อ ส่งด�ำเนินคดีลักลอบเข้าเมืองและถูกผลักดันออกนอกประเทศ ก่อนที่ส�ำนักข้าหลวงใหญ่จะเข้ามาถึง จึงท�ำให้ชาวโรฮิงยาใน กลุ่มที่หลบหนีจากความตายไม่ได้รับการช่วยเหลือที่ถูกต้อง เปิดประเด็นปัญหาการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมของ แรงงานข้ามชาติ ระบุลูกจ้างยังถูกเลือกปฏิบัติในการเข้าถึงเงิน ทดแทนจากกองทุนเงินทดแทน เหตุแนวปฏิบัติของส�ำนักงาน ประกันสังคมก�ำหนดให้ลูกจ้างที่มีใบอนุญาตท�ำงานแล้วเท่านั้น สามารถเข้าถึงกองทุนได้ เผยลูกจ้างที่ท�ำงานบ้านยังไม่ได้รับ ความเป็นธรรมทางด้านกฎหมาย ชี้บ้านพักเป็นที่ปิดท�ำให้ง่าย ต่อการถูกล่วงละเมิด ยก 3 กรณีดังนายจ้างทารุณแรงงาน เสนอ 6 ข้อปรับกฎหมายให้คมุ้ ครองศักดิศ์ รีความเป็นมนุษย์และ สิทธิของแรงงานท�ำงานบ้าน ด้านตัวแทนแรงงานแฉเจ้าหน้าที่ ต�ำรวจเก็บส่วยเดือนละ 500 บาท แลกกับการท�ำงานอยูบ่ นเกาะ ระบุแรงงานข้ามชาติได้รับค่าแรงไม่เป็นธรรม

ส�ำหรับประเด็นเรื่องสิทธิและการเข้าถึงกระบวนการ ยุติธรรมของแรงงานข้ามชาตินั้น ยังพบว่ามีหลายส่วนที่เป็น ปัญหา ซึง่ สถิตขิ อ้ มูลบางส่วนของสภาทนายความ ประจ�ำอ�ำเภอ แม่สอด จังหวัดตากทีม่ แี รงงานอาศัยอยูเ่ ป็นจ�ำนวนมาก ได้ระบุ ถึงการให้ความช่วยเหลือคดีที่มีความเกี่ยวข้องกับแรงงาน ข้ามชาติทั้งในส่วนที่เป็นโจทก์และจ�ำเลยว่าเป็นคดีอาญา 22 เปอร์เซ็นต์ คดีอุบัติเหตุ 19 เปอร์เซ็นต์ คดีล่วงละเมิดทางเพศ 18 เปอร์เซ็นต์มีการร้องเรียนในคดีล่วงละเมิดทางเพศ 18 เปอร์เซ็นต์ คดีที่เป็นความรุนแรงในครอบครัว 10 เปอร์เซ็นต์ นางสาวจิ ร ารั ต น์ มู ล ศิ ริ นั ก กฎหมายจากคลิ นิ ก กฎหมายแรงงาน กล่าวว่า ประเด็นที่น่าเป็นห่วงเรื่องการเข้า ถึงกระบวนการยุติธรรมของแรงงานข้ามชาติมีอยู่หลายส่วน และยังเป็นปัญหาต่อเนือ่ งโดยเฉพาะในประเด็นเรือ่ งแนวปฏิบตั ิ ของส�ำนักงานประกันสังคม ทีก่ ำ� หนดให้ลกู จ้างทีไ่ ม่มใี บอนุญาต ท�ำงานแม้นายจ้างจะอยู่ในเกณฑ์ที่จะต้องขึ้นทะเบียนลูกจ้าง ในกองทุนเงินทดแทน ดังนั้นหากลูกจ้างประสบอุบัติเหตุหรือ เจ็บป่วยจากการท�ำงาน นายจ้างจะต้องเป็น ผู้รับผิดชอบจ่าย เงินทดแทนแก่ลกู จ้าง ซึง่ กรณีนนี้ อกจากจะเป็นการเลือกปฏิบตั ิ ต่อแรงงานที่มีสิทธิเข้าถึงเงินทดแทนด้วยเหตุสถานะการเข้า เมืองและการถือใบอนุญาตท�ำงาน กรอบแนวปฏิบัติดังกล่าว ยังอาจจะเป็นช่องทางให้นายจ้างไม่ให้ความส�ำคัญต่อชีวิตของ แรงงาน รวมทั้งเคารพต่อกรอบของกฎหมายที่จะต้องปฏิบัติ ตามแต่อย่างใด แม้ว่าพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 จะได้ก�ำหนดโทษนายจ้างที่ไม่ขึ้นทะเบียนลูกจ้างเป็นความผิด ทางอาญา แต่เมือ่ ส�ำนักงานประกันสังคมมิได้มคี วามจริงจังหรือ ความพยายามในการเอาผิดต่อนายจ้างทีก่ ระท�ำความผิด ท�ำให้ ลูกจ้างที่ประสบอันตรายไม่สามารถเข้าถึงเงินทดแทนได้ โดย กรณีล่าสุดที่มีลูกจ้างที่เป็นแรงงานข้ามชาติประสบอันตราย

จนถึงแก่ชวี ติ ในเหตุการณ์อาคารก่อสร้างจังหวัดปทุมธานีถล่ม ส�ำนักงานประกันสังคม ได้ออกค�ำสั่งให้ทายาทของแรงงาน ข้ามชาติทเี่ สียชีวติ สามารถได้รบั เงินทดแทน โดยให้นายจ้างเป็น ผู้รับชอบแม้นายจ้างจะด�ำเนินกิจการที่เข้าหลักเกณฑ์ต้องจ่าย เงินทดแทน แต่เนือ่ งจากนายจ้างได้จา้ งแรงงานทีไ่ ม่มใี บอนุญาต ท�ำงาน ส�ำนักงานประกันสังคมจึงได้ดำ� เนินการให้นายจ้างเป็น ผูท้ ำ� หน้าทีจ่ า่ ยแทน และทายาทของแรงงานข้ามชาติอาจจะต้อง เข้าสู่กระบวนการเจรจารับเงินทดแทนจากนายจ้างที่อาจจะ ต�่ำกว่าเงินทดแทนที่ส�ำนักงานประกันสังคมก�ำหนดให้จ่ายจริง ดังนัน้ เพือ่ สนับสนุนให้ลกู จ้างทุกคนสามารถเข้าถึงเงินทดแทน โดยไม่เลือกปฏิบัติ ส�ำนักงานประกันสังคม ควรแก้ไขแนวทาง การจ่ายเงินทดแทนโดยให้ลกู จ้างทุกคนทีอ่ ยูใ่ นเกณฑ์ทนี่ ายจ้าง ต้ อ งขึ้ น ทะเบี ย นกั บ กองทุ น เงิ น ทดแทน สามารถเข้ า ถึ ง เงินทดแทนจากกองทุนเงินทดแทนกรณีประสบอันตรายหรือ เจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงานได้ทันที และให้ด�ำเนินมาตรการ อย่างเด็ดขาดตามพระราชบัญญัตเิ งินทดแทน พ.ศ. 2537 หาก พบว่านายจ้างรายใดไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขของกฎหมายในการ ขึ้นทะเบียนต่อกองทุนเงินทดแทน นอกจากนี้ อีกประเด็นทีเ่ ห็นเด่นชัดทีส่ ดุ คือประเด็นของ กลุม่ แรงงานข้ามชาติทเี่ ป็นลูกจ้างท�ำงานบ้าน โดยในประเทศไทย มีการคาดการณ์วา่ มีลกู จ้างทีท่ ำ� งานบ้านประมาณ 300,000 คน เป็นแรงงานจากประเทศพม่า ลาว และกัมพูชา ที่ขึ้นทะเบียน แรงงาน 45,000 คน ซึ่งประเทศไทยก็มีกฎหมายที่คุ้มครอง แรงงานข้ามชาติที่เป็นลูกจ้างท�ำงานบ้านอยู่หลายฉบับ อาทิ กฎกระทรวงแรงงานฉบับที่ 14 พ.ศ. 2555 ทีก่ ำ� หนดให้ลกู จ้าง ต้องมีวันหยุดประจ�ำสัปดาห์ วันหยุดตามประเพณี วันหยุด พักผ่อน และมีกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับการคุม้ ครองสิทธิแรงงาน อีก 3 ฉบับ อาทิ พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2537 ที่ให้สิทธิประโยชน์ของลูกจ้างในกรณีเจ็บป่วย เสียชีวิต คลอด บุตร พิการ ชราภาพ ว่างงาน พระราชบัญญัติเงินทดแทนที่ คุ้มครองลูกจ้างที่ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยจากการท�ำงาน ซึ่งกฎหมายเหล่านี้ก็ได้รับการพัฒนาให้คุ้มครองกับแรงงาน ข้ามชาติในหลายส่วนแล้ว แต่กย็ งั ไม่ได้คมุ้ ครองให้กบั แรงงงาน ในบ้านเพราะวิธกี ารท�ำงานของแรงงานในบ้านเป็นกระบวนการ ท�ำงานทีอ่ ยูใ่ นทีพ่ กั ซึง่ เป็นทีร่ โหฐาน บุคคลภายนอกไม่สามารถ เข้าถึงได้ จึงเป็นเหตุให้การเข้าถึงแรงงานที่ถูกละเมิดสิทธิเป็น เรื่องที่ยากล�ำบาก โดยที่ผ่านมามูลนิธิสิทธิมนุษยชนเพื่อการ พัฒนา ได้เข้าช่วยแหลือลูกจ้างที่ท�ำงานบ้านที่เป็น ผู้เสียหาย ในคดีอาญาจากการกระท�ำละเมิดของนายจ้าง โดยมี 3 กรณี ศึกษา เพื่อน�ำไปสู่การปรับปรุงกระบวนการคุ้มครองสิทธิและ ลูกจ้างท�ำงานบ้าน ดังนี้ กรณีของน.ส.มาซู ซึง่ ถูกนายจ้างท�ำร้าย ร่างกายจนเสียชีวิต โดยมาซูมีอายุเพียง 18 ปี มาท�ำงานเพียง 3 เดือนก็ถูกนายจ้างกล่าวหาว่าลักทรัพย์ และเมื่อปฏิเสธก็ถูก Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 17


ท�ำร้ายร่างกายโดยการทุบตีและใช้นำ�้ มันก๊าซราดแล้วจุดไฟเผา จากนั้นน�ำมาทิ้งไว้ข้างถนน โดยคดีนี้ใช้เวลาในกระบวนการ ยุติธรรมถึง 10 ปีกว่าจะเอาผิดนายจ้างได้ กรณีศึกษาที่ 2 น.ส. ก และ น.ส. ข นามสมมุติ ที่ถูกชักชวนจากต�ำรวจหญิงให้ ไปท�ำงานบ้านและเป็นพี่เลี้ยงเด็กให้กับตนเอง แต่ความจริง กลับต้องไปท�ำงานให้กับนายจ้างที่เป็น ผู้ชาย จนถูกข่มขืนท�ำ ทารุณกรรมจนได้รับบาดเจ็บสาหัส ซึ่งต่อมาก็สามารถเอาผิด กับนายจ้างได้ แต่ทั้งสองคนไม่ได้รับสิทธิในการเยียวยาในทาง แพ่งและการเข้าถึงเงินเยียวยาตามพรบ.ค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จา่ ยแก่จำ� เลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 เนื่องจากยังขาดกลไกระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการ ช่วยเหลือผู้เสียหายจากประเทศต้นทาง และกรณีศึกษาที่ 3 ด.ญ.แอร์ อายุ 8 ปี ถูกนายจ้างลักพาตัว จากบ้านพักที่อาศัย กับครอบครัวที่ จ.ก�ำแพงเพชร เมื่อปี 2552 และบังคับใช้ แรงงานในบ้านพัก รวมถึงถูกทุบตีทำ� ร้าย เช่นใช้กรรไกรตัดติง่ หู บังคับให้อยูใ่ นกรงสุนขั และใช้นำ�้ เดือดราด ซึง่ นายจ้างก็ไม่ได้พา ด.ญ.แอร์ ไปรักษา จนท�ำให้บาดแผลเน่า และด.ญ.แอร์ สามารถ หนีออกมาจากบ้านพักนายจ้างได้ โดยได้รบั ความช่วยเหลือจาก พลเมืองและหน่วยงานในจังหวัดก�ำแพงเพชร ท�ำให้ได้พบ กับครอบครัวอีกครั้ง และเจ้าหน้าที่ต�ำรวจได้ออกหมายจับกับ นายจ้าง แต่จนถึงปัจจุบันยังไม่สามารถจับกุมตัวได้ ซึ่งกรณี ดังกล่าวกลไกการช่วยเหลือจากรัฐได้เข้าถึงผู้เสียหายมาก ไม่ว่าจะเป็นกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กรมคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม โดยจาก 3 กรณีศึกษา ทางมูลนิธิฯ จึงมีข้อเสนอในการ ปรับปรุงการจ้างงานส�ำหรับแรงงานทีท่ ำ� งานบ้าน เพือ่ เข้าสูก่ าร คุ้มครองสิทธิและรับรองศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของลูกจ้าง ท�ำงานบ้านดังนี้ 1. ขอให้รัฐไทยพิจารณาลงนามในอนุสัญญา ขององค์กรด้านแรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที่ 189 ว่าด้วย เรื่องงานที่มีคุณค่าส�ำหรับลูกจ้างท�ำงานบ้าน เพื่อขยายการ คุ้มครองสิทธิของลูกจ้าง ให้นอกเหนือไปจากสิทธิในการได้รับ ค่าจ้างหรือสวัสดิการเนื่องมาจากการท�ำงานต่างๆ กล่าวคือ การก�ำหนดมาตรการต่างๆ เพือ่ ให้ลกู จ้างท�ำงานบ้านได้รบั การ คุ้มครองจากการล่วงละเมิด การคุกคาม และความรุนแรงใน ทุกรูปแบบ ซึ่งหากรัฐไทย ลงนามในอนุสัญญาฉบับนี้ ก็จะ สามารถท�ำให้มีเครื่องมือทางกฎหมายเพิ่มขึ้นในการป้องกัน และคุ้มครองลูกจ้างท�ำงานบ้านจากภัยความรุนแรงต่างๆ นอกเหนือจาก การคุ้มครองที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติ คุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 รวมทัง้ ยังช่วยลดการเลือกปฏิบตั ิ ต่อสิทธิของลูกจ้างท�ำงานบ้าน เช่น สิทธิในการลาคลอดบุตร เป็นต้น 2. ขอให้รฐั ไทย ก�ำหนดให้นายจ้างทีม่ ลี กู จ้างท�ำงานบ้าน ทีอ่ ายุ 15 ปีขนึ้ ไปแต่ไม่เกิน 18 ปี ส่งรายชือ่ ลูกจ้างแก่พนักงาน ตรวจแรงงาน ตามที่ได้ก�ำหนดไว้ใน พรบ.คุ้มครองแรงงาน 18 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

เพื่อให้นายจ้างให้ลูกจ้างท�ำงานบ้านที่เป็นเยาวชน ท�ำงานใน ชั่วโมงการท�ำงาน และงานที่ท�ำอย่างเหมาะสม 3. ยกเลิก ข้อก�ำหนดในกฎกระทรวงที่ให้ยกเว้นการบังคับใช้มาตรา 41 ว่าด้วยแรงงานทีต่ งั้ ครรภ์ เพือ่ เป็นหลักประกันในการจ้างแรงงาน โดยไม่เลือกปฏิบตั ิ 4. ปรับปรุงให้มกี ารจัดท�ำชัว่ โมงการท�ำงาน ทีเ่ หมาะสมกับลูกจ้างท�ำงานบ้านและให้ลกู จ้างท�ำงานบ้านมีสทิ ธิ เลือกที่จะพักหรืออาศัยอยู่ในบ้านพักของนายจ้างหรือไม่ก็ได้ เพือ่ สนับสนุนให้ลกู จ้างท�ำงานบ้านมีเสรีภาพในการเคลือ่ นย้าย เเละเปิดโอกาสให้กลไกคุ้มครองสิทธิสามารถเข้าถึงตัวลูกจ้าง ท�ำงานบ้านได้มากขึน้ 5. ปรับปรุงกลไกการท�ำงานของพนักงาน ตรวจแรงงาน เพื่อให้พนักงานตรวจแรงงานสามารถเข้าถึง สถานทีพ่ กั ของนายจ้างทีม่ กี ารจ้างลูกจ้างท�ำงานบ้านนัน้ อยูไ่ ด้ มากขึ้น เเละป้องกันการปฏิบัติหน้าที่โดยชอบของพนักงาน ตรวจแรงงานมิให้ถกู กล่าวหาว่าบุกรุกทีร่ โหฐาน และ 6. ยกระดับ คุณภาพชีวิตและสวัสดิการของลูกจ้างท�ำงานบ้าน โดยการ ปรับปรุงกฎหมายประกันสังคม กฎหมายเงินทดแทน และ กฎหมายแรงงานสัมพันธ์ เพื่อให้ลูกจ้างท�ำงานบ้าน เข้าถึง ประโยชน์จากกองทุนประกันสังคมและเงินทดแทน เช่นเดียวกัน กับลูกจ้างในภาคกิจการที่ประกอบธุรกิจรวมอยู่ด้วย และเพื่อ สร้างโอกาสให้ลกู จ้าง ท�ำงานบ้านสามารถรวมกลุม่ เจรจาต่อรอง กับนายจ้างอันเป็นจุดเริม่ ต้นของการคุม้ ครองลูกจ้างอย่างเป็นธรรม ด้าน น.ส.เอมาโฉ่ ตัวแทนมูลนิธิสิทธิมนุษยชนเพื่อ การพัฒนา กล่าวว่า ตนในฐานะทีเ่ ป็นตัวแทนแรงงานข้ามชาติ และได้ลงพื้นที่ท�ำงานเรื่องสิทธิมนุษยชนในพื้นที่ที่มีแรงงาน ข้ามชาติท�ำงานอยู่ โดยเฉพาะในพื้นที่เกาะ อาทิ เกาะพะงัน เกาะสมุย และเกาะเต่า ซึ่งประเด็นปัญหาที่พบใน 3 พื้นที่น้ี คือเรื่องสิทธิและสวัสดิการของแรงงานข้ามชาติในหลายส่วน ทัง้ ในเรือ่ งของประกันสังคม ค่าจ้าง และสวัสดิการ โดยแรงงาน ส่วนใหญ่ในเกาะไม่ได้รับการน�ำชื่อเข้าสู่ระบบประกันสังคม เพราะนายจ้างส่วนใหญ่ไม่ให้ความส�ำคัญกับเรือ่ งนี้ ทัง้ นีน้ ายจ้าง ส่วนใหญ่บนเกาะเป็นชาวต่างชาติและชาวไทยที่ไม่ยอมปฏิบัติ ตามกฎหมายแรงงานของประเทศไทย ซ�้ำร้ายเจ้าหน้าที่ต�ำรวจ ในพื้นที่ยังหากินกับแรงงานด้วยการออกตั๋วรายเดือนให้กับ แรงงานเดือนละ 500 บาท โดยเปลี่ยนสัญลักษณ์ของตั๋วไป เรื่อยๆ เมื่อแรงงานถูกเรียกตรวจก็จะยื่นตั๋วนี้ให้กับเจ้าหน้าที่ ซึ่งเป็นกระบวนการที่ไม่ถูกต้องและผิดกฎหมายแสดงให้เห็น ถึ ง กระบวนการคอรั ป ชั่ น ในกระบวนการยุ ติ ธ รรมของไทย อีกทั้งในส่วนของการให้ค่าจ้างแรงงานก็ไม่มีความเป็นธรรม ซึ่งกฎหมายไทยระบุว่าแรงงานจะต้องได้รับค่าจ้างขั้นต�่ำ 300 บาทต่อวัน แต่ความเป็นจริงแรงงานข้ามชาติที่ท�ำงานบนเกาะ ดังกล่าวได้ค่าจ้างเพียงเดือนละ 5,000-7,000 บาท และ บางคนท�ำงานไม่มีวันหยุด หรือต้องท�ำงานเป็นระยะเวลานาน โดยไม่ได้ค่าล่วงเวลา


นอกจากนี้ ยั ง มี ก รณี ศึ ก ษาของแรงงานข้ า มชาติ ที่ มี เอกสารการท�ำงานถูกต้องแต่นายจ้างไม่ยอมพาไปขึน้ ทะเบียน เป็ น ผู ้ กั น ตนในระบบประกั น สั ง คม และเมื่ อ แรงงานได้ รั บ อุบัติเหตุจากการท�ำงานจึงท�ำให้กลายเป็นอัมพาตครึ่งตัวก็ไม่ สามารถไม่สามารถได้รับเงินทดแทนและต้องนอนรักษาตัวอยู่

แรงงานจากโรงงานทอผ้าซิลเวอร์ แอนด์โกลด์ การ์เม็นท์ เข้าเจรจานายจ้างเพื่อแก้ไขปัญหานายจ้าง หักค่าใช้จ่ายในการขึ้นทะเบียนแรงงานข้ามชาติ

ที่โรงพยาบาลเกาะสมุยโดยที่ไม่สามารถช่วยตนเองได้ ตนจึง อยากเรี ย กร้ อ งแทนแรงงานเหล่ า นี้ ว ่ า รั ฐ บาลไทยควรออก มาตรการให้นายจ้างปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด โดย เคารพถึงศักดิศ์ รีความเป็นมนุษยและสิทธิขนั้ พืน้ ฐานทีแ่ รงงาน เหล่านี้ควรได้รับอย่างแท้จริง

สถานการณ์ด้านคดีที่น่าสนใจ โดยมีการแบ่งจ่ายเป็นสองงวด ในงวดแรกนายจ้างได้จ่ายให้ ลูกจ้างแล้วเมือ่ วันที่ 15 ตุลาคม 2557 เป็นเงิน 86,119 บาท เเละงวดที่ ส อง เป็ น เงิ น 132, 993 บาท เมื่ อวั น ที่ 14 พฤศจิกายน 2557 ที่ผ่านมา

ทายาทแรงงานข้ามชาติได้รับค่าสินไหมทดแทน จากบริษัทประกันภัยกรณีแรงงานข้ามชาติเสียชีวิต จากอุบัติเหตุโดยรถยนต์ เป็นเงิน 400,000 บาท เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2557 คลินิกกฎหมายแรงงาน ประจ�ำอ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก รับเรือ่ งร้องเรียนกรณีแรงงาน ข้ามชาติชาวพม่า ซึ่งเป็นลูกจ้างโรงงานทอผ้า ซิลเวอร์ แอนด์ โกลด์ การ์เม็นท์ จ�ำกัด ถูกนายจ้างหักค่าแรงเพื่อน�ำมาเป็นค่า ใช้จา่ ยแก่นายจ้างในการขึน้ ทะเบียนลูกจ้างและการด�ำเนินการ ขอใบอนุญาตท�ำงานให้ลูกจ้าง เป็นเงินจ�ำนวน 2,080 บาท ท� ำ ให้ แ รงงานมี ร ายได้ ไ ม่ เ พี ย งพอต่ อ การด�ำ รงชี พ อี ก ทั้ ง ยั ง เป็นการขัดต่อพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 76 และ มาตรา 77 ทีบ่ ญ ั ญัตไิ ว้วา่ นายจ้างไม่สามารถ หั ก เงิ น จ� ำ นวนดั ง กล่ า วได้ และหากจะหั ก เงิ น ลู ก จ้ า งแล้ ว นายจ้างจะต้องได้รบั ความยินยอมจากลูกจ้างและต้องมีหลักฐาน ที่มีลายมือชื่อของลูกจ้างว่าให้ความยินยอมให้หักเงินนั้นเพื่อ การเฉพาะอย่างเท่านัน้ แรงงานกลุม่ ดังกล่าวจึงประสานให้ทาง คลินิกกฎหมายแรงงานเข้าร่วมเจรจากับฝ่ายนายจ้างเพื่อต่อ รองให้นายจ้างหักค่าใช้จ่ายจากการขึ้นทะเบียนดังกล่าว เป็น เงิน 1,000 บาทต่อเดือน และขอเพิ่มสวัสดิการด้านน�้ำเพื่อ การอุปโภค และวันหยุดประจ�ำสัปดาห์ โดยสามารถหาข้อตกลง ร่วมกันระหว่างนายจ้างเเละลูกจ้างซึ่งเป็นแรงงานข้ามชาติได้ ว่า นายจ้างยินยอมคืนค่าขึ้นทะเบียนแรงงานข้ามชาติและ การขอใบอนุญาตท�ำงานให้แก่แรงงาน คนละ 2,080 บาท เมือ่ วันที่ 13 กันยายน 2557 แต่ยังมีกรณีที่นายจ้างยังค้างจ่าย ค่าจ้างของแรงงานจ�ำนวน 72 คน จึงมีการเจรจากันอีกครั้ง นายจ้างจึงตกลงจ่ายค่าแรงค้างจ่ายของแรงงานจ�ำนวน 72 คน

เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2557 เวลาประมาณ 18.00 น. นายหม่องมิวส่วยหรืออูมิว อายุ 34 ปี แรงงานข้ามชาติ ชาวพม่าซึง่ ประกอบอาชีพกรรมกรประเภทก่อสร้างอยูใ่ นพืน้ ที่ อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ได้ขี่รถจักรยานยนต์จากที่ท�ำงาน กลับบ้านพัก โดยระหว่างทางกลับบ้านมีรถยนต์กระบะโตโยต้า ซึ่งขับตามรถของนายหม่องมิวส่วยมาอย่างเร็วเสียหลักชนกับ รถจักรยานยนต์ที่นายหม่องมิวส่วยขับอยู่ เป็นเหตุให้นาย หม่องมิวส่วยเสียชีวิตทันที ต่อมาเจ้าหน้าที่ต�ำรวจได้เข้ามา ตรวจสถานที่เกิดเหตุและด�ำเนินคดีต่อผู้ขับขี่รถยนต์ที่ชนนาย หม่องมิวส่วย โดยในด้านการชดใช้เยียวยานั้น คลินิกกฎหมาย แรงงาน ประจ�ำอ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ได้ช่วยเหลือนา งด่อแมตู่ อายุ 65 ปี มารดาของนายหม่องมิวส่วย เพื่อขอรับ ค่าสินไหมทดแทนจากบริษทั ประกันภัยทีฝ่ า่ คูก่ รณีได้ทำ� ไว้สอง บริษัท ซึ่งบริษัทประกันภัยท้งสองได้พิจารณาและอนุมัติค่า สินไหมทดแทนให้แก่มารดาของนายหม่องมิวส่ว ดังนี้ 1. บริษทั

Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 19


สินมั่นคงประกันภัย จ�ำกัด มหาชน จ่ายค่าสินไหมทดแทน ให้เป็นเงิน 200,000 บาท รับมอบค่าสินไหมทดแทนเมือ่ วันที่ 6 ตุลาคม 2557 และบริษัทวิริยะประกันภัย จ�ำกัด มหาชน จ่ายค่าสินไหมทดแทนให้เป็นเงิน 200,000 บาท รับมอบ ค่าสินไหมทดแทนเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2557

แรงงานข้ามชาติได้รับค่าสินไหมทดแทน จากบริษัทประกันภัยและค่ารักษาพยาบาล จากเหตุการณ์อุบัติเหตุบนท้องถนน เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2557 คลินิกกฎหมายแรงงาน ประจ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ได้รับแจ้งว่า นางหละเยนุก แรงงานข้ามชาติชาวพม่าประสบอุบตั เิ หตุถกู รถยนต์ชนจนได้รบั บาดเจ็บสาหัสในขณะที่ก�ำลังเดินข้ามถนน ทางเจ้าหน้าที่ ประจ�ำคลินกิ กฎหมายแรงงานจึงได้ด�ำเนินการประสานงานไป ยังพนักงานสอบสวนเจ้าของคดี พร้อมทั้งแนะน�ำไปยังญาติให้ แจ้งกับทางโรงพยาบาลแม่สอดว่านางหละเยนุกสามารถใช้สทิ ธิ รักษาพยาบาลตามพระราชบัญญัตคิ มุ้ ครองผูป้ ระสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 จากบริษัทกรุงไทยประกันภัยได้ ไม่จ�ำเป็นต้อง ส�ำรองจ่ายค่ารักษาพยาบาลก่อน ต่อมาเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2557 ซึ่งเป็นวันนัด เจรจาไกล่เกลีย่ เพือ่ ตกลงชดใช้คา่ สินไหมทดแทน ทางเจ้าหน้าที่ คลินกิ กฎหมายแรงงาน จึงได้พานางหละยะนุกไปพบกับคูก่ รณี พร้อมทัง้ ตัวแทนบริษทั กรุงไทยประกันภัย และพนักงานสอบสวน ณ สถานนีต�ำรวจภูธรแม่สอด โดยมีเจ้าหน้าที่ล่ามของคลินิก เป็นตัวกลางในการแปลภาษา ผลการเจรจาคือ 1. นางหละเยนุกเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน จ�ำนวน 60,000 บาท จากบริษัทกรุงไทยประกันภัยโดยทางตัวเเทน ของบริษัทรับข้อเสนอไปเพื่อพิจารณาอนุมัติเงินดังกล่าว 2. คู ่ ก รณี ม อบเงิ น ช่ ว ยเหลื อ เป็ น เงิ น 5,000 บาท โดยมาจ่ายให้ในวันที่ 8 พฤศจิกายน 2557 ภายหลังจากนั้นทางเจ้าหน้าที่คลินิกกฎหมายแรงงาน ได้ประสานไปยังตัวแทนบริษทั กรุงไทยประกันภัยเพือ่ สอบถาม วันนัดรับค่าสินไหมทดแทนและแจ้งให้นางหละเยนุกทราบถึง วันนัด คือ วันที่19 ธันวาคม 2557 เเละในวันดังกล่าวทาง เจ้าหน้าทีค่ ลินกิ กฎหมายแรงงานได้พานางหละเยนุกไปรับเงิน ค่าสินไหมทดแทนจ�ำนวน 60,000 บาท เป็นที่เรียบร้อย ซึ่ง นางหละเยนุกพอใจแก่และไม่ตดิ ใจเอาความใดๆ กับคูก่ รณีอกี

ส�ำนักงานประกันสังคมอนุมัติค่าชดเชย อันเนื่ิองมาจากการถูกเลิกจ้างเเก่แรงงาน

นาย SOE MYING NAING ป่วยเป็นระยะเวลาหลายวัน นาย SOE MYINT NAING จึงได้ยื่นเรื่องร้องเรียนไปยังส�ำนักงาน สวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน จังหวัดสวัสดิการ และวันที่ 26 ธันวาคม 2557 ฝ่ายนายจ้างได้ตกลงจ่ายค่าชดเชยให้นาย SOE MYING NAING เป็นเงิน 27,000 บาท กรณีเลิกจ้าง ระหว่าง ที่ว่างงาน นาย SOE MYING NAING ได้ยื่นค�ำร้องขอรับเงิน ค่าชดเชยจากส�ำนักงานประกันสังคม และได้รับอนุมัติค�ำร้อง แล้ว โดยนาย SOE MYINT NAING ไปรายงานตัวกับเจ้าหน้าที่ ส�ำนักงานประกันสังคม สมุทรปราการ เพื่อรับเงินประกัน การว่างงานในงวดแรก วันที่ 19 ธันวาคม 2557

ทายาทแรงงานข้ามชาติได้รับสิทธิประโยชน์ จากส�ำนักงานประกันสังคมและค่าสินไหมทดแทน ตาม พรบ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ เมื่อเดือนตุลาคม 2557 นางเมียะ แรงงานข้ามชาติ ประสบอุบตั จิ ากรถยนต์ ขณะทีน่ งั่ ซ้อนท้ายรถจักรยานยนต์สามี กลับบ้าน เหตุเกิดที่จังหวัดเชียงใหม่ เนื่องจากนางเมียะ เป็น แรงงานที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็น ผู้ประกันตนกับส�ำนักงานประกัน สังคม ทายาทจึงได้รับสิทธิประโยชน์เป็นค่าท�ำศพ เป็นเงิน 40,000 บาท และจากเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ ไม่สามารถหาคูก่ รณี มารับผิดชอบได้ ทายาทของนางเมียะจึงได้รับเงินค่าสินไหม ทดแทนตามพรบ.คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 ในงวดแรก เป็นเงิน 43,186 บาท และงวดที่สอง เป็นเงิน 150,000 จะมีก�ำหนดจ่ายเมื่อทายาทได้ยื่นเอกสารครบถ้วน ตามเงื่อนไขการขอรับเงินค่าสินไหมทดแทนเรียบร้อยแล้ว

แรงงานข้ามชาติยังประสบปัญหาการเข้าถึงสิทธิ ประโยชน์กรณีชราภาพ จากส�ำนักงานประกันสังคม สืบเนื่องจากเงื่อนไขด้านเอกสารรับรองทางราชการ

โครงการยุติธรรมเพื่อเเรงงานข้ามชาติ ประจ�ำพื้นที่ มหาชัย จังหวัดสมุทรสาครได้รับเรื่องร้องเรียนจากนางสาว เมื่ อ เดื อ นพฤศจิ ก ายน 2557 นาย SOE MYINT NAY CHI OO แรงงานข้ามชาติชาวพม่า โดยนางสาว NAY NAING ซึง่ ลูกจ้างท�ำหน้าทีต่ ดั เหล็ก ได้ถกู เลิกจ้าง สืบเนือ่ งจาก CHI OC เเจ้งว่าสามีของตนซึง่ เป็นแรงงานข้ามชาติทำ� งานอยูใ่ น 20 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


ประเทศไทยเเละขึ้นทะเบียนเป็น ผู้ประกันตนกับส�ำนักงาน ประกันสังคม ป่วยเป็นโรคไตและเสียชีวติ ลงเมือ่ เดือน กุมภาพันธ์ 2557 แต่เนื่องจากสามีของนางสาว NAY CHI OO เสียขีวิต ที่ประเทศพม่า นางสาว NAY CHI OO จึงไม่สามารถน�ำใบ มรณะบัตรมายื่นค�ำร้องขอรับสิทธิประโยชน์กรณีชราภาพของ ผูต้ ายกับส�ำนักงานประกันสังคมได้ เนือ่ งจากประเทศพม่าไม่มี

ระบบในการออกหนังสือรับรองดังกล่าว ท�ำให้นางสาว NAY CHI OO ใช้ระยะเวลาหลายเดือน ในการด�ำเนินการหาเอกสาร รับรองการเสียชีวิตของสามีจากเจ้าหน้าท่ี่ในประเทศพม่ า และกระบวนการแปลเอกสารรับรองการเสียชีวิตและรับรอง การแปลโดยสถานฑูตพม่าประกอบกับหนังสือรับรองการรักษา อาการป่วยของสามีก่อนเสียชีวิตที่โรงพยาบาล ส�ำนักงาน ประกันสังคมจึงได้ยอมรับค�ำร้องพร้อมเอกสารประกอบการยืน่ ค�ำร้อง และต่อมาส�ำนักงานประกันสังคมได้อนุมตั เิ งินค่าท�ำศพ แก่นางสาว NAY CHI OO เป็นเงิน 40,000 บาท แต่ไม่ สามารถรับสิทธิประโยชน์กรณีชราภาพของผู้ตายได้เนื่องจาก มิได้จดทะเบียนสมรสตามกฎหมายกับผู้ตาย ส่วนพ่อแม่ของ ผูต้ ายก็ได้เสียชีวติ ไปแล้วทัง้ สองคน ทางส�ำนักงานประกันสังคม จึงไม่สามารถจ่ายเงินค่าท�ำศพได้เนื่องจากไม่มีทายาท ท�ำให้ สิทธิประโยชน์กรณีชรราภาพกล่าวตกเป็นของส�ำนักงานประกัน สังคม แนะน�ำกิจกรรม

แนะน�ำรายการวิทยุแม่สอด โครงการต่อต้านการค้ามนุษด้านแรงงาน มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและ การพัฒนา ได้จดั ท�ำรายการวิทยุเพือ่ แรงงานข้ามชาติ ผ่านสถานีวทิ ยุกระจายเสียง แห่งประเทศไทยประจ�ำจังหวัดตาก โดยออกอากาศในระบบ FM คลื่นความถี่ 103.75 เป็นภาษาไทย และภาษาพม่า ซึ่งด�ำเนินรายการโดย เจ้าหน้าที่คลินิก กฎหมายแรงงานประจ�ำอ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ทั้งมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ ผู้ฟังรายการมีความรู้ ความเข้าใจหลักการด้านสิทธิมนุษยชน นโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองสิทธิของแรงงาน กฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ และประเด็นอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจ�ำวันของแรงงานข้ามชาติ รายการวิทยุออกอากาศทุกวันอังคาร หลังข่าวภาคบ่าย เวลา 15.20-16.00 น. 2-3 ตุลาคม 2557 ตัวแทนมูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา เข้าร่วมประชุมและเป็นวิทยากรแลกเปลีย่ นการสัมมนาเรือ่ ง “NGO & Trade Unions Preparatory Meeting” ซึ่งจัดโดยองค์การด้านแรงงานระหว่าง ประเทศ (International Labour Organization : ILO) ณ โรงแรม Amari Watergate กรุงเทพมหานคร โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ ในเรื่องแนวปฏิบัติด้านแรงงานที่ดี (Good Labour Plactice-GLP) ให้แก่ ผู้แทนจากหน่วยงานต่างทั้งจากภาครัฐและเอกชน เช่น กรมสวัสดิการและ คุ้มครองแรงงาน (Department of Labour Protection and Welfare), ศูนย์อภิบาลผู้เดินทางทางทะเลศรีราชา (Stella Maris Seafarers’ Center Sriracha), มูลนิธิเครือข่ายส่งเสริมคุณภาพชีวิตแรงงาน (Labour Rights Promotion Network), และมูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา เป็นต้น รวมถึงเครือข่ายสหภาพแรงงาน พร้อมทั้งได้ให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้เสนอ ความคิดเห็นในการน�ำเอาแนวปฏิบัตินี้ไปปรับใช้กับองค์กรทุกภาคส่วนที่ เกี่ยวข้อง Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 21


3 ตุลาคม 2557 ตัวแทนมูลนิธิเพื่อ สิทธิมนุษยชนและการพัฒนาเข้าร่วมประชุม เวทีประชุมว่าด้วย “การจัดหางานนานาชาติ: กรอบแนวคิดและความท้าทายด้านนโยบาย (International Labour Recruitment: Conceptual and Policy Challenges)” จัดโดยองค์การด้านแรงงานระหว่างประเทศ (International Labor Organization : ILO) ณ ห้ อ งประชุ ม UNESCAP ส� ำ นั ก งาน องค์การสหประชาชาติ กรุงเทพมหานคร การประชุมมีวัตถุประสงค์เพื่อส�ำรวจหาก รอบแนวคิ ด ว่ า ด้ ว ยการจั ด หางาน โดยมี การน�ำเสนอรายงานการวิจัยของอาจารย์ Xiang Biao จากมหาวิทยาลัยออกฟอร์ด ว่าด้วยเรื่องการย้ายถิ่นในเอเชียตะวันออก ในรอบทศวรรษที่ ผ่ า นมา มาตรฐานด้าน แรงงานขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ และการท�ำงานมีคุณค่าในภูมิเอเชีย เพื่อใช้ ในการหารือและส�ำรวจกรอบแนวคิดว่าด้วย การจัดหางานในครั้งนี้ด้วย

5 ตุลาคม 2557 ตัวแทน มู ล นิ ธิ เ พื่ อ สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนเเละการ พัฒนา เข้าร่วมประชุม กรรมการ บริ ห ารเครื อ ข่ า ยทนายความด้ า น การให้ความช่วยเหลือกฎหมายแก่ ประชาชนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (SEALAW) และร่วม แลกเปลี่ยน ความรู้ด้านนโยบายรวมทั้งกิจกรรม การให้ความช่วยเหลือและส่งเสริม แรงงานข้ามชาติให้สามารถเข้าถึง กระบวนการยุตธิ รรมในประเทศไทย ให้แก่นักกฎหมายที่เข้าร่วมอบรม เรือ่ งการให้ความช่วยเหลือประชาชน ทางกฎหมายโดยไม่คิดมูลค่าซึ่งจัด โดยองค์กรสะพานเชือ่ มข้ามพรมแดน ของชุ ม ชนกฎหมายแห่ ง เอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ (BABSEA CLE) และ สภาทนายความของประเทศสิงคโปร์ ณ ประเทศสิงคโปร์ 7 ตุลาคม 2557 ตั ว แทนมู ล นิ ธิ เ พื่ อ สิ ท ธิ มนุษยชนเเละการพัฒนา เข้าร่วมประชุมการหารือ ประเด็น “ติดตามความ คืบหน้าการด�ำเนินการต่อ ร่างกฎกระทรวงว่าด้วย การคุ้มครองแรงงานในงานประมงทะเล พ.ศ. ....” จัดโดย คณะกรรมการปฏิรูป กฎหมายโดยคณะอนุกรรมการปฏิรูปกฎหมายด้านแรงงาน ณ ห้องประชุม ส�ำนักงานคณะกรรมการปฏิรปู กฎหมาย อาคาร์ซอฟต์เเวร์ปาร์ค ต�ำบลคลองเกลือ อ�ำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี โดยมีการแลกเปลี่ยนความเห็นระหว่าง คณะอนุกรรมการปฏิรูปกฎหมายด้านแรงงาน เจ้าหน้าที่จากองค์การแรงงาน ระหว่างประเทศ รวมทั้งผู้เข้าร่วมประชุมจากหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและ เอกชน ต่อร่างกฎกระทรวงฉบับดังกล่าวนี้ด้วย

7-8 ตุลาคม 2557 สหพันธ์ คนงานข้ามชาติและโครงการยุติธรรม เพื่ อ แรงงานข้ า มชาติ ป ระจ� ำ จั ง หวั ด เชียงใหม่ ร่วมกันจัดกิจกรรมเผยแพร่ เอกสารด้ า นสิ ท ธิ แ รงงาน การให้ ค� ำ ปรึกษาทางกฎหมาย และจัดระดมทุน แก่แรงงานข้ามชาติที่มาเที่ยวชมงาน วั ฒ นธรรม ณ วั ด แม่ ก ๊ า อ� ำ เภอ ดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีแรงงานมาขอรับเอกสารและขอค�ำปรึกษากว่า 200 คน

22 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


10 ตุลาคม 2557 คลินกิ กฎหมายแรงงานประจ�ำอ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก จัด กิจกรรมเยี่ยมบ้านแรงงานข้ามชาติ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับ แรงงานข้ามชาติ การให้ความรู้และให้ค�ำปรึกษาด้านกฎหมายแรงงานที่ไม่สามารถเดิน ทางเพือ่ ขอรับการช่วยเหลือหรือค�ำปรึกษาด้านปัญหาแรงงานได้ นองจากนีท้ างเจ้าหน้าที่ คลินิกกฎหมายแรงงานยังได้พบปะแรงงานข้ามชาติในสถานที่ก่อสร้าง พื้นที่ต�ำบลท่า สายลวด อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ทีม่ แี รงงานข้ามชาติประกอบอาชีพกรรมกรก่อสร้าง อยู่กว่า 80 คน ซึ่งมีแรงงานหญิงรวมอยู่ด้วยจ�ำนวน 3 คนโดย แรงงานข้ามชาติได้ร่วม แลกเปลีย่ นถึงสภาพการท�ำงานและสวัสดิการ ซึง่ แรงงานเหล่านีย้ งั ให้ขอ้ มูลเพิม่ เติมแก่ เจ้าหน้าที่คลินิกกฎหมายแรงงานแรงงานทั้งหมดก�ำลังอยู่ในระหว่างขั้นตอนการขึ้น ทะเบียนทีศ่ นู ย์บริการเบ็ดเสร็จซึง่ นายจ้างของแรงงานทัง้ หมดเป็นผูอ้ ำ� นวยความสะดวก ให้เเต่แรงงานข้ามชาติจะต้องเป็นผูร้ บั ผิดชอบค่าใช้จา่ ยเอง ซึง่ เจ้าหน้าทีค่ ลินกิ กฎหมาย แรงงานก็ได้ให้ความรูเ้ พิม่ เติมแก่แรงงานข้ามชาติเกีย่ วกับขัน้ ตอนการขึน้ ทะเบียนแรงงาน และการขอใบอนุญาตท�ำงาน ตามประกาศของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) รวมทั้งการให้ความรู้ด้านกฎหมายคุ้มครองแรงงานอีกด้วย ระหว่ า งวั น ที่ 15-17 ตุลาคม 2557 ตัวเเทนมูลนิธเิ พือ่ สิทธิ มนุษยชนและการพัฒนา เข้าร่วมการประชุมเชิง ปฏิบัติการเรื่อง “การ พัฒนาแนวปฏิบตั กิ ารใช้แรงงานทีด่ ี (ILO RTG Multi-stakeholder Workshop for the Good Labor Practices Programme in Thailand)” ซึ่งจัดโดยองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labor Organization: ILO) ร่ ว มกั บ กรมประมง กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ณ โรงแรมบัดดี้โอเรียนทอล ริเวอร์ไซด์ อ�ำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี เพือ่ พัฒนาแผนแม่บท ในการน� ำ แนวปฏิ บั ติ ด ้ า นแรงงานที่ ดี ไ ปใช้ เ เละเปิ ด โอกาสให้ ผู้เข้าร่วมประชุมก�ำหนดวิสัยทัศน์เเละวัตถุประสงค์ในการน�ำ แผนเเม่บทดังกล่าวไปใช้ในบริบทขององค์กรตัวเองด้วย

20 ตุลาคม 2557 ตัวแทนมูลนิธเิ พือ่ สิทธิมนุษยชน เเละการพัฒนา ตัวแทนจากรัฐบาลไทย ตัวเเทนจากองค์กร นายจ้าง ตัวเเทนจากองค์กรลูกจ้าง และภาคประชาสังคม เข้าร่วมประชุมเพื่อเตรียมข้อเสนอระดับประเทศว่าด้วย การปกป้องและส่งเสริมสิทธิของแรงงานข้ามชาติ เพื่อน�ำ เสนอในเวทีประชุมด้านแรงงานย้ายถิ่น (AFML) ครั้งที่ 7 ประเทศเมียนมาร์ โดยการประชุมเตรียมข้อเสนอระดับ ประเทศครั้ ง นี้ จัดโดยองค์การ ด้านแรงงาน ระหว่างประเทศ (International Labor Organization: ILO) ร่ ว มกั บ กระทรวงแรงงาน ณ โรงแรม แลนด์มาร์ค กรุงเทพมหานคร

21 ตุลาคม 2557 โครงการความร่วมมือเพื่อต่อต้านการค้ามนุษย์แห่งองค์การ สหประชาติ (United Nations for Cooperation against Trafficking in Persons or UN-ACT) ร่วมกับ สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (Thailand Institute of Justice) องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organisation) มูลนิธิ เครือข่ายส่งเสริมคุณภาพชีวติ แรงงาน (Labour Rights Promotion Network) และมูลนิธิ เพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา (Human Rights and Development Foundation) จัดการประชุมคณะผูเ้ ชีย่ วชาญและผูป้ ฏิบตั งิ านด้านการต่อต้านการค้ามนุษย์เรือ่ ง “แรงงาน ขัดหนี้และการค้ามนุษย์ (Roundtable Discussion on Debt Bondage and Human Trafficking)” ณ โรงแรมแลนด์มาร์ค กรุงเทพมหานคร เพือ่ หารือและแลกเปลีย่ นมุมมองในเชิงลึกเกีย่ วกับสถานการณ์แรงงานขัดหนีท้ นี่ ำ� ไปสูก่ ารค้ามนุษย์ในประเทศไทย โดยมีผู้แทนจากส�ำนักงานศาลยุติธรรม หน่วยงานในสังกัดกระบวนการยุติธรรมอาญา เช่น กรมสอบสวนคดีพิเศษ, ส�ำนักงาน อัยการสูงสุด, กองบังคับการป้องกันและปราบปรามการกระท�ำความผิดเกี่ยวกับการค้ามนุษย์ (ปคม.) และหน่วยงานบังคับใช้ กฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนผู้เชี่ยวชาญและตัวแทนจากองค์กรระหว่างประเทศ เข้าร่วมการหารือในครั้งนี้ด้วย Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 23


16 พฤศจิกายน 2557 โครงการ ยุติธรรมเพื่อแรงงานข้ามชาติประจ�ำพื้นที่ มหาชัย จังหวัดสมุทรสาคร จัดกิจกรรม ให้ความรู้ทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิ แรงงาน เช่น กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครอง แรงงาน กฎหมายว่ า ด้ ว ยประกั น สั ง คม กฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน รวมทัง้ สิทธิใน การรวมกลุม่ ของเเรงงานข้ามชาติ ณ ชุมชนแรงงานข้ามชาติ อ�ำเภอเกาะสมุย จังหวัด สุราษฎร์ธานี โดยมีกลุ่มแรงงานข้ามชาติที่เป็นแรงงานในภาคธุรกิจโรงแรมเข้าร่วม กิจกรรมทั้งสิ้น 25 คน 25-26 ตุลาคม 2557 โครงการ ยุ ติ ธ รรมเพื่ อ แรงงานข้ า มชาติ ป ระจ� ำ จังหวัดเชียงใหม่ร่วมกับสหพันธ์คนงาน ข้ามชาติจัดกิจกรรมเสวนาแลกเปลี่ยน ปัญหาระหว่างแรงงานไทยและแรงงาน ข้ า มชาติ โดยมี ส หภาพแรงงานย่ า น รังสิตและใกล้เคียง สหภาพแรงงานไทย จากอ�ำเภอสันก�ำแพง จังหวัดเชียงใหม่ และสหภาพแรงงานไทยจังหวัดล�ำพูน เข้ า ร่ ว มแลกเปลี่ ย นปั ญ หาตลอดจน การพัฒนาการจัดตั้งกลุ่มแรงงาน ณ โรงแรมฮอลิเดย์การ์เดน จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีผู้เข้าร่วมทั้งหมด 33 คน

19 พฤศจิกายน 2557 เจ้าหน้าที่ โครงการต่อต้านการค้ามนุษย์ดา้ นแรงงาน (Anti Labour Trafficking: ALT) เข้าร่วม “การประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารเพือ่ หาทางออก ทีย่ งั่ ยืนให้กบั ปัญ ั หาการค้ามนุษย์ในกิจการ ประมงทะเล (Human Trafficking in the Fisheries Sector: Designing Solutions and Innovations)” ณ โรงแรมบีพี สมิหลา บีช โฮเทล และรีสอร์ท จังหวัดสงขลา ซึ่งจัดขึ้นโดย Project Issara ร่วมกับ Stella Marris โดยมีเจ้าหน้าทีจ่ ากทัง้ หน่วยงานของรัฐ หน่วยงานเอกชน เข้าร่วมการ ประชุมเเละถกประเด็นปัญหาเพื่อร่วมหาทางออกในการแก้ปัญหาการค้ามนุษย์ เช่น ปัญหาในขั้นตอนของการจัดหางานและกระบวนการนายหน้า, การตอบรั บความยุติธรรมทางอาญา (Criminal Justice Response), ระบบการติดตามและ ควบคุมเรือประมง และกระบวนการคุ้มครองเยียวยาผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ เป็นต้น

20 พฤศจิกายน 2557 คลินกิ กฎหมายแรงงานประจ�ำอ�ำเภอ แม่สอด จังหวัดตาก จัดกิจกรรมเยีย่ มบ้านแรงงานข้ามชาติ ณ ชุมชน บ้านฝาย อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ซึง่ เป็นชุมชนทีม่ แี รงงานข้ามชาติ อาศั ย อยู ่ ป ระมาณ 200 คน โดยแรงงานส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ลู ก จ้ า ง ในโรงงานเย็บผ้าและได้ขึ้นทะเบียนแรงงานที่ศูนย์บริการเบ็ดเสร็จ ตามประกาศของคณะรักษาความสงบแห่งชาติเเล้ว ดังนัน้ เจ้าหน้าที่ คลินิกกฎหมายแรงงานจึงให้ความรู้ทางกฎหมายด้านการคุ้มครอง สิทธิของแรงงานรวมทั้งสิทธิอื่นๆ เช่น ระบบประกันสุขภาพตามที่ แรงงานได้ท�ำไว้ระหว่างที่ขึ้นทะเบียนแรงงานที่ศูนย์ การจดทะเบียน การเกิดของลูกแรงงาน เป็นต้น 24 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

22-23 พ ฤ ศ จิ ก า ย น 2557 ผู ้ แ ทน มู ล นิ ธิ เ พื่ อ สิ ท ธิ มนุษยชนเเละการ พั ฒนา เข้ า ร่ ว ม ประชุ ม สั ม มนา เครือข่ายองค์กร ที่ ท� ำ ง า น ด ้ า น ประชากรข้ามชาติ ที่ เ มื อ ง พั ท ย า จังหวัดชลบุรี ซึ่งจัดขึ้นเพื่อหารือเกี่ยวกับโครงสร้าง บทบาทของสมาชิกขอการจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์ และ แผนการท�ำงานร่วมกันของสมาชิกในเครือข่ายองค์กร ที่ท�ำงานด้านประชากรข้ามชาติ


25 พฤศจิกายน 2557 โครงการยุติธรรมเพื่อ แรงงานข้ามชาติประจ�ำจังหวัดเชียงใหม่ ร่วมกับสหพันธ์ คนงานข้ า มชาติ แ ละเครื อ ข่ า ยในจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ จั ด กิ จ กรรมยุ ติ ค วามรุ น แรงต่ อ สตรี แ ละเด็ ก ณ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยมีผู้เข้าร่วมกว่า 100 คน 27 พฤศจิ ก ายน 2557 ผู ้ แ ทน มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนเเละการพัฒนา เข้าร่วมงาน “สัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อ ติดตามผลข้อเสนอจากการประชุมภาค ประชาสังคมและมหกรรมภาคประชาชน อาเซียน ปี 2557 (ASEAN Civil Society/ ASEAN People’s Forum: ACSC/APF 2014)” ณ ห้องประชุม จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย โดยการสัมมนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาสังคม ได้ร่วมกันทบทวนเนื้อหา และข้อเสนอจากการประชุม ACSC/APF 2014 ที่เสนอ ต่อผูแ้ ทนรัฐบาลและภาคประชาชนร่วมทัง้ สนับสนุนให้เกิดความเข้าใจ ความร่วมมือ ระหว่างหน่วยงานภาครัฐ วิชาการ ภาคประชาชนในประเด็นอาเซียน และจัดท�ำเอกสาร การติดตามผลเพื่อเสนอต่อส�ำนักเลขาธิการอาเซียนในเวทีมหกรรมภาคประชาชน อาเซียน ปี 2558 ณ ประเทศมาเลเซีย 1-4 ธันวาคม 2557 ผู้แทนมูลนิธิ เพื่อสิทธิมนุษยชนเเละการพัฒนา เข้าร่วม โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การ จัดท�ำตัวชีว้ ดั การปฏิบตั ติ ามอนุสญ ั ญาด้าน สิทธิมนุษยชน” ณ โรงแรมเซนทาราแกรนด์ แอทเซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพมหานคร ซึง่ จัด โดยศูนย์กฎหมายสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา สาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช ร่วมกับ ส�ำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เพื่อรับ ฟังความคิดเห็นจากผู้ปฏิบัติงาน ทั้งภาครัฐและเอกชนต่อการจัดท�ำร่างตัวชี้วัดตาม อนุสัญญาสิทธิมนุษยชน 9 ฉบับ ทั้งนี้เพื่อปรับปรุงให้มีความสอดคล้องเชื่อมโยงกัน ก่อนพัฒนาไปเป็นร่างตัวชี้วัดฉบับสุดท้ายและจะเสนอต่อคณะกรรมการของแต่ละ สนธิสัญญาต่อไป

29-30 พฤศจิ ก ายน 2557 โครงการยุติธรรมเพื่อแรงงานข้ามชาติ ประจ�ำจังหวัดเชียงใหม่ จัดฝึกอบรม ให้ ค วามรู ้ แ ก่ ก ลุ ่ ม ผู ้ ช ่ ว ยทนายความ ณ มหาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีเนือ้ หาเกีย่ วสิทธิมนุษยชนเบือ้ งต้น กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับแรงงานข้ามชาติ และการสอบข้อเท็จจริง โดยมีผู้เข้าร่วม การอบรมทั้งหมด 18 คน เป็น ผู้ช่วย ทนายความจากอ�ำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ จ�ำนวน 4 คนเเละแรงงานข้ามชาติที่ สนใจอีก 14 คน

13-14 ธันวาคม 2557 ผู้แทนมูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนเเละการพัฒนาเข้าร่วม การประชุม ภูมิภาคว่าด้วยวาระการพัฒนาหลังปี 2015 วิกฤตแรงงานข้ามชาติและ กระบวนการปรึกษาหารือภูมิภาค ซึ่งจัดโดย Migrant Forum in Asia ร่วมกับ Bar Council Migrants Refugees and Immigration Affairs Committee ณ กรุง กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้ตวั แทนองค์กรภาคประชาสังคมทีท่ ำ� งานด้านการปกป้องและคุม้ ครอง สิทธิของแรงงานย้ายถิ่นในเอเชีย ร่วมกันหารือเพื่อน�ำไปสู่การท�ำกิจกรรมด้านการรณงค์ให้เกิดแผนปฏิบัติตามข้อเสนอ 8 ข้อ ที่ เกีย่ วข้องกับแรงงานย้ายถิน่ ตามแผนพัฒนาหลังปี 2015 อันสืบเนือ่ งมาจากผลการเสวนาระดับสูงว่าด้วยการย้ายถิน่ และพัฒนา (จัดโดย ส�ำนักงานองค์การสหประชาชาติ ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยสามารถอ่านรายละเอียดเพิม่ เติมได้ที่ http://hldcivilsociety. org/wp-content/uploads/2013/10/0261-HDL_The-5-year-Action-Plan-GB-web2.pdf ) รวมทั้งหารือเกี่ยวกับแผนการ ติดตามและรณรงค์เพื่อให้เกิดกลไกการคุ้มครองแรงงานย้ายถิ่นในระดับภูมิภาคอาทิ ในระดับอาเซียน ระดับเอเชียใต้ เป็นต้น Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 25


14 ธันวาคม 2557 สหพันธ์คนงานข้ามชาติ ได้จัด ประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี 2557 โดยมีคณะกรรมการและ สมาชิกเข้าร่วมการประชุม 50 คน เเบ่งเป็นผู้เข้าร่วมชาย 22 คน และผู้เข้าร่วมหญิง 28 คน ณ บ้านพักทัศนจร รีสอร์ท ต�ำบล ป่าแดด อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งใน การประชุมมีวาระส�ำคัญเพือ่ จัดตัง้ และสรรหาคณะกรรมการ ชุดใหม่ เพือ่ ทีจ่ ะท�ำงานในสหพันธ์คนงานข้ามชาติในปีถดั ไป

16 ธันวาคม 2557 โครงการยุติธรรมเพื่อแรงงาน ข้ามชาติ ประจ�ำจังหวัดเชียงใหม่ได้ลงพื้นที่ให้ความรู้เรื่อง สิทธิแรงงานแก่แรงงานข้ามชาติ ในแคมป์ก่อสร้าง ต�ำบล แม่เหี่ยะ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีผู้เข้าร่วม ทั้งหมด 21 คน แบ่งเป็นชาย 11 คน และหญิง 10 คน 16-17 ธันวาคม 2557 ตัวแทน มูลนิธเิ พือ่ สิทธิมนุษยชนเเละการพัฒนา เข้าร่วมประชุมระดับภูมภิ าคว่าด้วยการ ปฏิรูปกระบวนการจ้างงาน ซึ่งจัดโดย Migrant Forum in Asia ณ กรุงอัมมาน ประเทศจอร์ แ ดน การประชุ ม ครั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ น� ำ เสนอผลการ ส�ำรวจช่องว่างและความท้าทายของ กระบวนการจัดหางาน การจัดท�ำข้อเสนอ และการพัฒนาแผนปฏิบัติการเพื่อการ รณงค์ให้มกี ารปฏิรปู กระบวนการจัดหา งานโดยมุ่งให้กระบวนการจัดหางาน มีความเป็นธรรมและกลไกการคุม้ ครอง ต่อแรงงานที่ย้ายถิ่นให้ดียิ่งขึ้น

16 ธันวาคม 2557 โครงการความร่วมมือเพื่อ ต่ อ ต้ า นการค้ า มนุ ษ ย์ แ ห่ ง องค์การสหประชาติ (United Nations for Cooperation against Trafficking in Persons: UN-ACT) ได้จดั การประชุมหน่วยงานภาคีเครือข่ายว่าด้วยการต่อต้าน การค้ามนุษย์ในประเทศไทย (Thai Inter-Agency Working Group Meeting on Counter Trafficking) โดยมีการน�ำเสนอ รายงานกระบวนการความร่วมมือระดับรัฐมนตรีของประเทศ ในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น�้ำโขงเพื่อต่อต้านการค้ามนุษย์ (COMMIT Process) และความคืบหน้าในการด�ำเนินงานของโครงการ UN-ACT รวมทั้งการน�ำเสนอรายงานการศึกษาเรื่อง “การค้า มนุษย์การแสวงประโยชน์ และการทารุณกรรมในประเทศภูมภิ าค ลุ่มน�้ำโขง” โดยองค์การระหว่างประเทศเพื่อการโยกย้ายถิ่นฐาน (International Organization for Migration: IOM) ตลอดจน การน�ำเสนอและอภิปรายหัวข้อ “แรงงานประมงและเหยือ่ ค้ามนุษย์: ปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหาเชิงรุก” โดย กระทรวงแรงงาน และมูลนิธิเครือข่ายส่งเสริมคุณภาพชีวิตและแรงงาน (Labour Rights Protection Network : LPN)

วันที่ 17 ธันวาคม 2557 เครือข่ายคณะท�ำงานด้านประชากร ข้ า มชาติ (Migrant working Group) ได้ จั ด งานแถลงข่ า วใน หัวข้อ “สถานการณ์เด่นแรงงาน ข้ามชาติในรอบปี 2557 และแนวโน้มการจัดการแรงงานข้ามชาติในอนาคตของ ประเทศไทย” ณ สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย กรุงเทพมหานคร โดยมีการน�ำเสนอสารคดีสั้นเรื่อง “สถานการณ์เด่นแรงงานข้ามชาติในปี 2557” และแถลงข่าวในหัวข้อ “สถานการณ์เด่นแรงงานข้ามชาติในรอบปี 2557 และ แนวโน้มการจัดการแรงงานข้ามชาติในอนาคตของประเทศไทยในประเด็นสถานการณ์ ต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับแรงงานข้ามชาติ” อาทิเช่น นโยบายสุขภาพและการเข้าถึงบริการ สาธารณะ, เด็กและการศึกษา, การลักลอบหนีเข้าเมืองของชาวโรฮิงญา, สิทธิและ การเข้ากระบวนการยุติธรรม, การค้ามนุษย์และการคุ้มครองแรงงานข้ามชาติ ในกิจการประมงทะเล เป็นต้น

20 ธันวาคม 2557 สหพันธ์คนงานข้ามชาติ ได้ลงพื้นที่ให้ความรู้ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยการประกันสังคมและกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน ให้กับแรงงาน ภาคเกษตร ณ หมูบ่ า้ นต้นผึง้ ต�ำบลเหมืองแก้ว อ�ำเภอแม่รมิ จังหวัดเชียงใหม่ จ�ำนวน 21 คน เเบ่งเป็นชาย 11 คนเเละหญิง 10 คน 26 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


Laws and Policies

Human trafficking and fishery workers Phattranit Yaodam1

Various Bills are tabled for reading or are being read by either the cabinet or the National Legislative Assembly (NLA). They are advocated by the agencies that have made the drafts. One of them that commands attention of the Anti-human Trafficking in Labour Project is the Draft Act for the Amendment of the Prevention and Suppression of Human Trafficking Act B.E.‌ The existing Prevention and Suppression of Human Trafficking Act B.E. 2551 (2008) is a statutory law that deals directly with solutions to human trafficking and it was issued after the coup in 2006. Uniquely, the Act constitutes legal provisions which aim to suppress a human trafficking offense and to provide remedies to victims of human trafficking through multidisciplinary teamwork. That Thailand has been downgraded to Tier 2.5 in the US Watch list (from Tier 3 which Thailand had enjoyed for four years successively) attests to how the state has failed to adequately come up with measures for the prevention and suppression of human trafficking (compared to the standard set forth in the US Protection Victims Protection Act 2000). Since then, media, government agencies and NGOs have been actively endeavoring to solve the problem of human trafficking. Committees have been set up, policies, campaigns and legal amendments have been proposed gearing toward eliminating human trafficking.

to one’s own body. Individuals have been subject to exploitation via prostitution, being forced to beg for money, subject to amputation, subject to forced labor, particularly in marine fishery sector. As a result, human trafficking among marine fishery workers as victims of human trafficking is among the most mentioned problems thus far.

2. Who are the fishery workers? Where do they come from? Fishery workers are those employed in fishery sector including traditional fishery (coastal fishery) and commercial fishery. There are different levels of fishery workers including skilled workers such as those providing services in eateries on the cruise ships and unskilled workers including other general fishery workers who can be found on commercial trawlers. According to the current statistics, there is still high demand for fishery workers of this kind, particularly in marine fishery sector since most of the business has not been developed technologically and adequately 1. Why does Thailand have to prioritize mechanized to replace unskilled labor. Based on the registration of over 53,141 solving human trafficking even though trawlers and the export volume in the second we have many other issues to deal semester of 2013 at 899,085.31 tons or 109,994.99 with including rice farming and million baht, it is estimated that there are over space transportation? 200,000 workers being employed in the strong The reason is that human trafficking is fishery sector of Thailand2[1]. At the same time, only a violation of one of the fundamental rights, the right 4,508 migrant workers from the three nationalities 1

Phattranit Yaodam, HRDF Advisor, Anti-Human Trafficking Project Report on the trend of labor demand, 2010-2014, available at http://human.aru.ac.th/www/images/stories/Font_Goverment/7.pdf (accessed on 15 November 2013)

2 [1]

Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 27


including Burma, Cambodia and Laos are officially registered and work legally in fishery sector3[2]. (The data was retrieved prior to another round of registration of migrant workers organized by the National Council for Peace and Order (NCPO) in 2014.) The question is; where are the more than one hundred thousand of migrant workers who are missing here? The answer is they are not missing. They are still employed in marine fishery sector. However, since most of the migrant fishery workers are employed illegally, they have to stay underground and thus are undocumented in the database of the Thai government. We can call them otherwise illegal migrant workers. 3. How important are these illegal migrant workers to us? First and foremost, they are important to us and the Thai state since they are fellow “human beings” just like all of us, and just like more than 300,000 individuals who are incarcerated in prison. Even though the illegal migrant workers have committed a breach against the Immigration Act B.E. 2522 (1979), but they could only be convicted for making the illegal entries, that’s it. The humanity of

the illegal migrant workers still remains, so do their human rights. And certainly, the migrant workers are fundamentally important and help to generate a lot of economic benefits to the country. But given their illegal entry status, they have been subject to exploitation by their fellow countrymen and people in Thailand. Many migrant workers have unavoidably fallen victim to human trafficking. Some have been put on various trawlers and have to spend years working hard off shore. Eventually, some of them have turned themselves into recruiters of illegal workers. Of course, not all migrant workers have been subject to this treatment. But even there is just one victim, is it not justified for us to act and help? Therefore, the Anti-human Trafficking in Labour Project finds it pertinent that the Thai state realizes the importance of correctly addressing human trafficking and an effort should be made to enforce the law and to ensure justice management to solve human trafficking systematically. An emphasis should not be just put on the enforcement of the Prevention and Suppression of Human Trafficking Act B.E. 2551 (2008). Everything should be geared toward nurturing respect of human dignity equally rather than to address human trafficking based solely on business related and commercial reasons.

Substituting fishery workers with prison inmates Nattarat Aroonmaharat4

Thailand has been downgraded from the Tier 2.5 - Watch List to Tier 3 including countries showing the worst record of human trafficking such as Malaysia and Venezuela. This attests to that USA views Thailand as having been lax in the measures to suppress human trafficking when compared to the legal measures used by USA (Victims of Trafficking and Violence Protection Act of 2000). This has prompted government agencies, NGOs, media and entrepreneurs, even consumers to figure out ways to solve human 3 [2] Journal of statistics of migrants who are registered and allowed to work countrywide in 2012, the Office of Foreign Workers Administration, 4

Department of Employment, available at http://wp.doe.go.th/wp/images/statistic/sy/sy2555.pdf (accessed on 15 November 2013) Written by Ms. Nattarat Aroonmaharat, Coordinator of the Anti Labour Trafficking (ALT), Human Rights and Development Foundation (HRDF)

28 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


trafficking. A number of taskforces and policies and campaigns have been organized and laws have been amended to strengthen protection of labor and to prevent human trafficking. Supplanting fishery workers with prison inmates is one of the efforts initiated by the Ministry of Labor to address labor shortage in fishing trawlers. It aims to eradicate the use of illegal labor and slave labor in future. Nevertheless, the policy has elicited much opposition from various parties, particularly NGOs as it is accused of not effectively solving the problem at its root causes. It also makes it likely for the prisoners to be subjected to exploitation given their vulnerable status. The group that will be most affected by the policy to substitute fishery workers with prison inmates is the prisoners themselves. It has raised concern that it will pave the way for violation of the rights of the prisoners. It is very important that a prior study be undertaken to explore the use of prison labor and any enabling laws and how the enabling Thai laws are in compliance or in breach with international laws or not. As for Thailand, the Department of Corrections has set as a policy to provide skill training for the inmates aimed at their mental rehabilitation and preparing for their reintegration. Apart from skill training, the prisons have also subcontracted work from outside and provided it among the inmates. Part of the wages received by the prisons is given as allowance to the prisoners. Such employment constitutes an exploitation as per Article 57 of the Ministry of Interior Regulation issued by the virtue of Article 58 of the Corrections Act B.E. 2479, Article 22 of the Corrections Act provides that an inmate is obliged to act as instructed by the prison official and is not entitled to receive any wage. But the prison officials may give part of the income to the inmates as allowances after the expenses including the skill training costs. Therefore, it is possible for an inmate to have to work against his or her own will while the prison is not obliged to remunerate them if the work is aimed at providing them mental rehabilitation and empowerment. In light of international laws, the ILO C029 Forced Labour Convention, 1930 (No. 29) ’s

Article 2 (c) provides that “for the purposes of this Convention, the term forced or compulsory labour shall not include any work or service exacted from any person as a consequence of a conviction in a court of law, provided that the said work or service is carried out under the supervision and control of a public authority and that the said person is not hired to or placed at the disposal of private individuals, companies or associations. In sum, according to both domestic law and international law, the use of prison labor is only possible for when it is used to serve public interest or to provide prisoners the rehabilitation, restoration and remedy and to help them with social reintegration. If the government wants to place prison labor in fishing trawlers, they have to consider also which agency shall be responsible to oversee the use of labor on fishing trawlers since such employment constitutes an act of exploitation as per the Corrections Act that bars prisoners from being remunerated. Otherwise, it has to be treated as work according to an employment contract whereby the prison labor must be accorded with protection as per the Labor Protection Act B.E. 2541 (1998). If the placement of prison labor in fishing trawlers is in compliance with the Corrections Act, the question is is the working condition and employment condition on the fishing trawlers suitable for the mental rehabilitation and restoration of the prisoners or not? But if this policy is geared toward supplying labor for the use of a private sector and the workers are subjected to employment contracts, another question arises as given the existing working condition and employment condition on the fishing trawlers, how can we rest assured that there shall be no forced labor among the prisoners? Apart from the willingness of a worker, there are other elements that may give rise to forced labor including the condition and level of hazard of the work, a lack of sanitation of the living quarter, and the long working hours, etc. It seems clear that as of now, it is practically not appropriate to have prisoners work in fishing trawlers since there is not sufficient standard in the Thai fishing trawlers which many assure the Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 29


prisoners or the consumers that it will be completely free of forced labor. Also, by substituting one type of labor by another, it only helps to tackle the immediate symptom of the problem. If the Thai fishery sector is determined to develop the safety level in the fishing trawlers making them advanced and transparent and to ensure that the workers are provided with fair wages and benefits, it will certainly help to attract the attention of the workers. And as a result, there shall no longer be any need to supply prison labor on the trawlers.

How the Thai state should treat the Rohingya migrants Papop Siamhan5

Rohingya and human trafficking in Thai law The immigration of the Rohingya people into Thailand did not just take place in the past couple of years. In fact, they have started to enter Thailand decades ago. Most want to seek a safer refuge and a better life here. Then, there was a policy to issue ID cards to “undocumented persons” including the migrants awaiting nationality verification, coupled with a shortage of labour, the Rohingya migrants were allowed to temporarily stay and work in Thailand. At present, the number of Rohingya migrants seeking a refuge in Thailand has markedly increased. Their entries have been facilitated by a number of agents to help bring them from either the Arakan State or Bangladesh. Their final destination is Malaysia and they are promised with help to be brought over and allowed to pay the expenses in installments. But the promise does not deliver and many Rohingya people who have agreed to come have to suffer an agony being crammed into a fishing boat and allowed to eat once a day. The issues of the Rohingya migrants in Thailand have been raised in various forums and have drawn lots of public attention including how

5

humanitarian assistance has been given to them, or their presence in Thailand and national security. One of the issues that have attracted most attention seems to be “Rohingya and human trafficking”. News agencies often report that the Rohingya migrants are human trafficking victims. According to the Prevention and Suppression of Human Trafficking Act B.E. 2551 (2008), a victim of human trafficking is a person subject to “procuring, buying, selling, vending, bringing from or sending to, detaining or confining, harboring, or receiving any person, by means of the threat or use of force, abduction, fraud, deception”. In addition, another legal element of the crime is “exploitation”. According to the Act, exploitation is consisted of different methods. As far as the Rohingya migrants are concerned, there are basically three major means of exploitation applied against them; - Forced labour if they are sold as workforce - Slavery if the Rohingya migrants are treated just like slaves in the olden day - Any other acts similar to extortion causing the Rohingya migrants to be subject to unfair exploitation and as a result are obliged to service debts or being held for ransom, etc.

Mr.Papop Siamhan is a staff member of the Anti-Labour Trafficking project under the Human Rights and Development Foundation (HRDF)

30 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


Essentially, the Rohingya migrants in Thailand can be divided into two categories including those are victims of human trafficking and those who are not victims of human trafficking. Nevertheless, the persons authorized to determine if a Rohingya migrant is a human trafficking victim or not are the multidisciplinary team and the inquiry officials who will get involved with screening the Rohingya victims of human trafficking.

Rohingya and solutions between the states Most of the Rohingya migrants in Thailand are held in a detention facility. According to the laws and regulations of the Immigration Bureau and the Immigration Act B.E. 2522 (1979), they have to be held in custody while awaiting deportation to the countries of origin. But according to the Burma’s Citizenship Law of 1982, Rohingya is not included as one of the recognized ethnicity. As a result, the nationality verification of the Rohingya people in the country of origin has been sluggish. And the Rohingya migrants held in Thailand could not be deported to the countries of origin and they have to languish in the cells for a long time. However the Thai state has tried to solve the overcrowded facilities filled with the Rohingya migrants, but no solution is in sight. Meanwhile, the number of incoming Rohingya people in Thailand has constantly increased. Even though the Thai state vows to push them back to Burma, but such a policy shall be a breach to the non-refoulment principle enshrined in various International Conventions. Even though, Thailand is not a state party to

some of the Conventions, but the non-refoulment principle has been practiced as an international customary law and Thailand is obliged to follow just like international community. To solve an influx of the Rohingya migrants in Thailand, it requires cooperation from various stakeholders, nationally and internationally. Essential to the effort is to seek collaboration with the governments of Burma and Bangladesh. Nevertheless, in order to solve issues concerning the Rohingya migrants in Thailand, the following steps can be taken; - The Thai government must makes clear its position regarding the status of the Rohingya migrants in Thailand and how to treat them in light of national and international laws. Apart from leading to a solution, by doing so, the Thai government will have its image boosted as far as the issues of the Rohingya migrants are concerned. - UNHCR must be encouraged to help solve the problems of the Rohingya migrants by carrying out the registration and documentation of their personal profile, the information of which is useful when repatriating them back to the countries of origin or third countries. By getting the UNHCR to carry out the profiling of the Rohingya, it would make it difficult for the countries of origin including Burma and Bangladesh to deny their responsibilities. And by designating an area to build a temporary shelter or refugee camp prior to their repatriation to either the countries of origin or third countries is also another possible option to help solve the overcrowded situation of the Rohingya migrants in detention centers. - A serious effort should be made to crack down on organized groups that bring over the Rohingya migrants and on concerned people including state officials. This will help to end the problem at its root causes. Apart from stemming the flow of the migration of the Rohingya, it will help to solve other problems caused by the organized criminal groups. All these options should be taken based on the premises that the Rohingya migrants are treated with respect for their human rights and human dignity, whether in Thailand or in countries of origin. This will eventually help us to mutually and peacefully live together in a long run. Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 31


Decent work, Decent life for Domestic Workers6 On 16 June 2011, at a meeting of the International Labour Organization (ILO), an approval was made to adopt the ILO C189 - Domestic Workers Convention, 2011 (No. 189) which came into force on 5 September 2013 to provide standards for the protection of domestic workers. At present, the Convention has received ratification from 14 member states including the Philippines being the only ratifying country from Asia. According to the ILO, there are around 85 million domestic workers worldwide including 20 millions in Asia. Migrant workers including domestic workers have become instrumental in driving or developing the economy of the receiving countries. Meanwhile, the employments have enabled the workers to attain a better livelihood and occupational options. Such predicament can be made possible only when the receiving countries develop policies or respect labour rights without discrimination. The migrant workers and domestic workers have to be informed of policy and employment situation and thus it is necessary that the workers have access to information and protection mechanisms when working in another country. 18 December of every year is marked by the United Nations as the International Migrants Day. Therefore, this year, the Human Rights and Development Foundation (HRDF), a non-governmental organization working to advocate access to justice among migrant workers, would like to draw your attention to the plight of the migrant workers who are domestic workers including their issues and recommendations to enhance their protection and to uphold their quality of life. Laws and policies regarding domestic workers in Thailand At present, according to the Ministry of Labour, it is estimated that there are around 300,000 domestic workers in Thailand including 45,000 of them coming from our neighboring countries

6 This

including Burma, Lao, and Cambodia. The workers have been registered as migrant workers according to the state policy first declared since 1996. A migrant domestic worker shall be entitled to protection under Thai laws including; 1. Ministerial Regulation (1998) issued by the virtue of the 1998 Labour Protection Act 2541 (2) dated 19 August 1998 providing for protection of part of the rights of domestic workers, although it fails to provide for some fundamental rights including minimum wage, day off including weekly holiday, traditional holiday and annual holiday, etc. as well as prohibition of employment of an underage worker as per the 1998 Labour Protection Act 2541. 2. Ministerial Regulation no. 14 (2012) issued by the virtue of the 1998 Labour Protection Act 2541 dated 30 October 2012 which provides for additional rights of domestic workers on seven aspects including;

article was presented at the event regarding the International Migrants Day on 17 December 2014 held by Migrant Working Group (MWG)

32 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


2.1 Weekly holiday must not be less than once a week (Article 28). 2.2 Employers must ensure that there are at least 13 traditional holidays per year including the May Day. And if the traditional holiday falls on the same day as the weekly holiday, one more extra day must be provided as compensation (Article 29). 2.3 It should be ensured that an employee working for at least one year is entitled to annual holiday for not more than six working days (Article 30) 2.4 An employee must be entitled to medical leave as necessary and if the leave takes place for more than three days, the employer may ask for a letter of certification from the employee (Article 32). 2.5 Employment of a child younger than fifteen years is prohibited and the employer must provide wages directly to an underage worker (Article 44,51 paragraph 2) 2.6 An employee working on a holiday is entitled to receive overtime pay (Article 56). 2.7 An employee is entitled to receive the pay during the medical leave for not more than 30 days (Article 57 paragraph1). There is also a safeguard to prevent an employer from committing a sexual offence against a female or underage employee. In addition, there are other two important legal instruments protecting labour rights but they have not been enforced with domestic workers including; 1. The 1990 Social Security Act’s Article 5 which aims to protect benefits of an employee on seven aspects including work-related injuries or sickness, maternity leave, disability, death, child support, old age support and unemployment. 2. The 1994 Workmen’s Compensation Act’s Article 5 which aims to protect an employee who suffers from occupational injuries. Even though an effort has been made by the Thai state to amend the Ministerial Regulations to enhance protection of the rights of domestic workers, but it is still challenging to protect their rights since they are kept in private working places. This has made them vulnerable to deprivation of their rights and liberty by the employer and the working hours are often inconsistent. There have often been reports

about the violation of domestic workers’ rights including those migrant employees who become so desperate and have run away seeking help from people outside. In many such cases, the employees have been found suffering brutal physical and mental abuse including being lured to work or abducted to work by their employers. The Human Rights and Development Foundation (HRDF) has been working to provide help to domestic workers who have become victims of criminal offences as they suffer from violations committed by the employers. Some have been subject to violations of the right to life, physical and mental abuse and the violation of labour rights of domestic workers including being denied the pay, or being subject to forced labour. HRDF has compiled some case studies which may explain how the domestic workers have been helped to have access to justice including three case studies. We hope it will help to contribute to the betterment of rights and welfare protection of domestic workers in Thailand. Case study 1: Miss Mazu was inflicted with severe injuries by her employers and later died. The incidence took place in 2002, when Miss Mazu, 18 years, crossed the border in Myawaddy into Thailand. She was recruited by a labour agent and worked as a domestic worker for her employers in Lopburi province. After about three months, she was accused of stealing something in the house. As she denied the allegation, she was subject to brutal physical abuse including hitting, being doused with kerosene and lit up causing her to sustain grave injuries. Apart from denying her treatment, her employers kept her in the house without feeding her for three days. Meanwhile, further physical abuse was committed. As the employers presumed she was already dead, they decided to bring the body of Miss Mazu to roadside and left her there. She was found by a Samaritan who brought her to receive treatment at the Provincial Hospital of Uthaithani. After nine days, Miss Mazu succumbed to death. After about two years, the public prosecutor of Uthaithani decided to indict the two employers on Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 33


charges concerning “torturing and brutally murdering another person, depriving another person of liberty, providing living space and hiding aliens, or helping aliens without work permits to avoid the arrest” as the Black Case no. 1089/2547 It took about ten years for the Courts to hear the case and the defendants have appealed the case up to the Supreme Court. Eventually on 8 November, the Supreme Court found the employer, defendant no. 1 guilty for causing death to another person and providing living space and hiding aliens and for depriving another person of liberty and convicted him to seventeen years and four months, whereas defendant no. 2 got four years, with them being acquitted on employing a migrant worker without work permit. Their pickup truck used for committing the offence was also confiscated. Even though the employers were held criminally liable, but they have even infringed on labour rights of Miss Mazu by refusing to provide for her wages claiming that they had been deducted from the fee they have paid to the agent. And the descendant of Miss Mazu did not receive any unpaid wages and is not eligible to ask for remedies invoking the 2001 Act for the Granting of Compensation to Aggrieved Parties and the Accused in Criminal Cases since there is no coordinating mechanism to help them contact concerned agencies Case study 2: Miss A and Miss B (not real names) who were severely injured after being raped by their employer Miss A came from Dawei, Burma, and made her entry through a checkpoint in Kawthaung, Ranong Province to work in Thailand around 2003. She was then given permission to temporarily work in Thailand. On 29 January 2006, a female police officer persuaded Miss A and Miss B who were friends to each other to work as a housemaid and a baby sister for a friend of hers. Both Miss A and Miss B agreed and they went to work with at their new employer’s house the same day. Upon arrival, they found the employer who was a Thai man and they were ordered to do housework. 34 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

After completing their work, they were allowed to watch TV on the second floor of the house. After a while, the employer notified them that there was some dogs barking and asked them to have a look if anyone came at the door. They went down to see and found no one. Then, the employer asked Miss A to go upstairs and have another look. Finding nothing up there, Miss A came down and found Miss B being handcuffed with the stair rail. She tried to run away, but failed and she was kept at gunpoint in her head by her employer. He hit her with the gun at her head once and slapped her face once. Then, the employer tied a piece of clothe around the neck of Miss A and pulled her up the stairs. As she resisted, she was handcuffed both hands at the stair rail. With their mouths stuffed with clothe, they started to cry. Thus, the employer punched in their stomachs five times and stamped two more times on the abdomen of Miss A until she passed out. Upon being conscious, Miss A found herself and Miss B being undressed. The employer tied a tube on one of the ankles of Miss A with the window, while her other leg was tied with the stair rail. Then, the employer started to rape Miss B, after which he also raped Miss A. He left them to lie down there while being handcuffed and having their legs tied up, undressed and unfed. On the morning of 30 January 2006, the male employer came down to untie the legs of both the employees, but still leaving them handcuffed. Then, he took Miss A for a shower and locked her in a room with a television set handcuffing her hands with the window. Then, he came to take Miss B for a shower and locked her in the same room with Miss A. He started to show them adult video and raped Miss B twice. Then, the employer took Miss A up the stairs and handcuffed her with the stair rail. She asked for painkiller and food from the employer, but was denied. She was told that she was going to die soon. Then, he left the house. In the evening, a man drove to the house of the employer to release the two employees from restraint and got them dressed up and took them with their luggage on the car. They drove them to a driver of a truck and the driver took the two women


to Ban Song, Wiang Sra District. At dawn of 31 January 2006, Miss A and Miss B ran into a Burmese and asked for help. They managed to make a phone call the older sister of Miss A who worked in Muang District, Surat Thani. Then, Miss A started to have some stomach pain. The older brother of Miss B and the older sister of Miss A came to retrieve them and took Miss A to a clinic for examination. The doctor recommended that Miss A has an abdominal operation immediately. Thus, she was taken to the Provincial Hospital of Surat Thani. On 16 February 2006, the doctor carried out the operation on her abdomen leaving her on oxygen tube through her nose. While receiving the treatment, an unknown man came to leave money to Miss A and Miss B asking them to not pursue any legal action and promising not to harm them again. After being discharged from the hospital, they stayed for recovery at Sri Surat Shelter Home where they gave their evidence to the police. Then, on 30 June 2006, the Surat Thani prosecutor indicted the employer as the Black Case no. 1096/2549 for attempted murder, rape, depriving another person of liberty with the use and possession of firearm, and having firearm in possession without permission. The prosecutor also proposed not to release the defendant. Miss A asked to be an interpleader in the case and it was tried up to the Supreme Court. The Supreme Court ruled on 27 June 2013 (Dika no. 9260/2556) to convict the defendant on the molestation against Miss A, the interpleader, and for causing bodily injuries, depriving another person of liberty, and sentenced him to twelve years and six months. Even though the employer was held criminally liable, but there was still no civil remedies and no access to compensation as provided for by the Act for the 2001 Granting of Compensation to Aggrieved Parties and the Accused in Criminal Cases as a result of a lack of coordinating mechanisms among concerned agencies and assistance from the sending country.

Case study 3: Girl Air abducted and forced to work by employer Around May 2009, Air who was about eight years old was abducted from her residence shared with a Thai family in Kamphaengpetch province. She was then forced to work by the two employers, a couple, in their house. Air was also subject to physical abuse having her earlobes cut by scissors, being forced to sleep in a cage for dog, and was soaked on her neck and limbs with boiling water by the male employer while the female employer kept watching but did nothing to stop it. The wounds were left to get infected and she suffered physical deformity. Until February 2013, Air managed to escape from the house and received help from a Samaritan and a local state agency in Kamphaengpetch who helped her to get reunited with her family again. Then, arrest warrants were issued against the two employers who later came to turn themselves in. After acknowledging the charges, they were bailed out and then ran away. They are still at large even now. Later in September 2013, Air’s mother filed a case against the two employers with the Provincial Court of Kamphaengpetch asking for damages to provide for the physical and mental injuries sustained by the girl. The case was accepted as the Black Case no. 850/2556 and the court fee was waived given their impoverished status. The two employers failed to turn up to give their evidence and appear in Court, thus, the Court allowed the mother of Air as the plaintiff to give her side of evidence. On 30 June 2014, the Provincial Court of Kamphaengpetch ruled (Red Case no. 641/2557) asking the two defendants to provide damages to the plaintiff including medical expense, compensation for the loss of the ability to work at present and in future, non-monetary compensation including the severe grief sustained during the ailment, a loss of breast, a possible loss of reproductive ability, and a loss of beauty. Altogether, the two employers were held liable to provide for the total compensation of 4,603,233 baht plus 7.5%/year interest from the Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 35


day the case was filed with the Court until the debt is serviced. The rescue of Air was made successful due to help from state mechanisms, in particular the shelter provided by the Ministry of Social Development and Human Security which provides for victims of the violations. The Rights and Liberties Protection Department also helps to ensure the victim receive compensation as an aggrieved party in a criminal case and used the Justice Fund to cover legal expense. The civil remediation sentence needs to be tested. After the Court has made the ruling, the plaintiff has to look for the remaining assets of the defendants. It is still unclear if the execution of the court ruling can be made while the criminal indictment has not been made given the flight of the defendants. As for the labour protection mechanisms, the Labour Protection and Welfare Office helps to speed things up after the Provincial Court of Kamphaengpetch ordered the employer to provide for the compensation. Still there seems to be delay. for the improvement of employment conditions to provide for the protection of rights and upholding of human dignity of domestic workers Based on the above three case studies, the victims worked as domestic workers in the residences of the employers and access to them could not be made easily. Help could only be given after they had managed to escape from their confinement. In addition, it was found that most of the abused employees were children, youth and women. Apart from physical impact, the mental wounds are immeasurable and it is unknown how long it will take before the survivors can overcome the fear or nightmare which may after all haunt them for life. The Human Rights and Development Foundation (HRDF) have the following recommendations; 1. The Thai state should consider signing the C189 Convention on Domestic Workers. Convention concerning Decent Work for Domestic Workers in order to extend protection to the employees. Apart from the right to wages or welfare related to work, 36 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

measures should be put in place to ensure that domestic workers are protected against all forms of violation, intimidation and violence. By signing the Convention, the Thai state shall have one more legal tool which can be used to enhance the prevention and protection of domestic workers against any harm, in addition to what is provided for them in the 1998 Labour Protection Act. It should also minimize discrimination against the rights of the domestic workers including their right to maternity leave, etc. 2. The Thai state should require that an employer who employs a domestic worker older than fifteen but not more than eighteen to submit the name list of their employees to the labour inspection officer in order to ensure that the young domestic workers work for the duration and the type of work that suit their age. 3. Revoke any waiver against the enforcement of Article 41 regarding maternity leave of a worker to ensure that there is no discrimination in the employment. 4. Adjust the working hours making it suit domestic workers who should be allowed to have their separate house or to stay with their employer. Otherwise, the right to mobility of the domestic workers should be promoted and to allow rights safeguard to ensure that the workers have access to the right to protection mechanisms. 5. The work of labour inspection officer should be improved making them have more ground to have access into the house of the employer who employs migrant domestic workers. It should prevent the private sector from holding labour inspection officer legally liable for making an encroachment into a private property. 6. Enhance the quality of life and welfare of domestic workers with the amendment of Social Security Law, Workmen’s Compensation Fund, and labour relations laws. It should help domestic workers to have access to Social Security Fund and the Workmen’s Compensation Fund. Similarly, domestic workers should be encouraged to form as a network to negotiate with the authorities which should help to ensure a beginning of the fair protection of thee employee.


The ASEAN Committee on the Implementation of the ASEAN Declaration on the Protection and Promotion of the Rights of Migrant Workers (ACMW) organized the 7th ASEAN Forum on Migrant Labour (AFML) on “Towards the ASEAN Community by 2015 with enhanced measures to protect and promote the rights of migrant workers” from 20-21 November 2014 in Nai Pyi Taw, Myanmar with delegations from ASEAN governments, representatives from the employers, employees, civil society and other sectors including the International Labour Organization (ILO). Recommendations from the forest for the protection and enhacement of the rights of migrant workers can be summarized as follows;

RECOMMENDATIONS THE 7th ASEAN FORUM ON MIGRANT LABOUR 20-21 November 2014, Nay Pyi Taw, Myanmar The 7th ASEAN Forum on Migrant Labour which carried the theme “Towards the ASEAN Community by 2015 with enhanced measures to protect and promote the rights of migrant workers” was held 20-21 November 2014 in Nay Pyi Taw, Myanmar. Representatives of the governments, employers’ organisations, workers’ organisations, and civil society organisations from ASEAN Member States, the ASEAN Secretariat, International Labour Organization (ILO), International Organization for Migration (IOM), UN Women, ASEAN Confederation of Employers (ACE), ASEAN Trade Union Council (ATUC), ASEAN Services Employees Trade Union Council (ASETUC), and the Task Force for ASEAN Migrant Workers (TFAMW) participated in the Forum. The 7th ASEAN Forum on Migrant Labour was convened as an implementation of the ASEAN Declaration on the Protection and Promotion of the Rights of Migrant Workers, ASEAN Labour Ministers’ Work Programme 2010-2015, and ASEAN Socio-Cultural Community (ASCC) Blueprint (Action Line C.2.ii) which called for a regular ASEAN Forum on Migrant Labour as a platform for broad-based discussions on migrant labour issues under the auspices of the ASEAN Committee on the Implementation of the ASEAN Declaration on the Protection and Promotion of the Rights of Migrant Workers (ACMW) which reports to the ASEAN Senior Labour Officials Meeting (SLOM). Guided by the relevant international labour standards, the participants agreed to recommend the following concrete measures to promote and protect the rights and address the specific vulnerabilities of men and women migrant workers in the region particularly in relation to fulfillment of the commitments of ASEAN Member States in Article 8 and 13 of the ASEAN Declaration on the Protection and Promotion of the Rights of Migrant Workers: Promotion of fair and appropriate employment protection, payment of wages, and adequate access to decent working and living conditions for migrant workers: 1. Employment contracts should be standardized by the national labour laws, based on core labour standards and in line with Article 22 of the ILC’s Migration for Employment Recommendation (No. 86, 1949);

Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 37

1


2. Standard employment contracts should stipulate clear terms and conditions of employment, rights and responsibilities of men and women workers and employers, including in vulnerable and hard-to-reach sectors such as fishing, domestic work and construction work, and grievance mechanisms including contact information and legal systems to file complaints. Employment contracts should be written in language understood by migrant workers, and signed by employers and workers prior to departure. Copies of employment contracts should be provided to migrant workers; 3. ASEAN guidelines/framework of standard employment contracts should be developed with inputs from the countries of origin and destination, social partners, CSOs and migrant workers associations and by taking into account the prevailing national labour laws of ASEAN Member States; 4. Substitution of employment contracts and issuance of sub-standard employment contracts should be eliminated. Non-compliance by employers should be duly penalized and recorded in the databases of ASEAN Member States in accordance with the national laws and regulations. Where employment contracts are issued by a third party, as permitted by laws, they should be closely monitored to ensure meeting the required standards; 5. Governments should take and enhance measures and allocate resources to protect and promote the rights of migrant workers including regularly conduct labour inspection, including in vulnerable and hard-to-reach sectors and workplaces (e.g. fishing, mining, forestry, agriculture, and domestic work), training for labour inspectors and set up multi-sectoral joint task forces for labour inspection. The ILO Convention No. 189 and its accompanying Recommendation No. 201 provide guidance on labour inspection for domestic workers; 6. Occupational safety and health (OSH) should be improved through OSH trainings and provision of personal protective equipments, where applicable, by employers at the worksite upon arrival of migrant workers and on a regular basis thereafter, as well as availability of disaggregated OSH data and analysis; 7. One-stop services and migrants resource centres should be set up in all ASEAN Member States and integrated at local, national and regional levels to ensure better protection mechanisms for men and women migrant workers. In this regard, hotline numbers should be attended 24 hours, available in languages understood by migrant workers, and should provide referral systems to other services required by migrant workers. Migrants resource centres operated by the governments, employers’ organisations, workers’ organisations and civil society organisations should provide support services and on-site protection for migrant workers and be well coordinated among all stakeholders;

2

38 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


8. Referral systems between countries of origin and destination should be set up and function well and assistance of the embassies should be provided to ensure compensations and benefits are duly paid to migrant workers in a timely manner, even after returning to their countries of origin, including health care and treatment for long-term effects of occupational injuries and diseases. A regional study be undertaken with all stakeholders to explore challenges and policy gaps of reintegrating migrant workers with disabilities upon their return to their countries of origin; 9. Labour attachés should be well trained and adequately supported to provide effective on-site protection. Gender balance amongst labour attachés should be by and large proportionate to the composition of male and female migrant workers. 10. Recruitment agencies should be capacitated, where relevant, in securing better package of remunerations and benefits of migrant workers including minimizing or eliminating fees to be charged to migrant workers; 11. Measures should be taken to facilitate access of men and women migrant workers into trade unions and associations, particularly those in sectors where workers are not organized. 12. Workers filing complaints should be given support to stay within the country of destination while complaints are being processed. In this regard, migrant workers and migrant workers’ representatives should be provided with appropriate and timely assistance including protection from employers’ reprisal while filing complaints. Set up policies and procedures to facilitate aspects of migration of workers, including recruitment, preparation for deployment overseas, protection of the migrant workers when abroad, and repatriation and reintegration to the countries of origin: 13. Employers’ and workers’ organizations in close cooperation with civil society organizations should be engaged through institutionalized dialogues in the development, implementation, amendment, and/or monitoring of gender responsive labour migration policies and programmes in ASEAN Member States.; 14. National legislations, policies, rules and regulations concerning employment and labour migration should be accessible and well informed to men and women migrant workers, workers’ organisations, employers’ organisations, and other stakeholders. In particular, immigration information and visa application procedure should be widely disseminated to migrant workers with the support of Labour Attachés and Embassies; 15. Recruitment policies and procedures should be streamlined and well informed to migrant workers and stakeholders, including through one-stop services and migrants resource centres at national and local levels; 3

Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 39


16. The pre-employment, pre-departure and post-arrival orientation programmes should be conducted, mandatory and free of charge for all men and women migrant workers, involve stakeholders, and the quality of curriculum should continuously be improved and include cultural orientation and rights and obligations of men and women migrant workers and employers; 17. Briefings for and assistance to the families of migrant workers should be provided to enable them in coping with the challenges of overseas employment; 18. Support programmes, including job counselling, market-oriented skills development and/or entrepreneurship training, should be provided for returning migrant workers, and documentation of acquired competencies and experiences provided by employers should be introduced where feasible to support better career opportunities of men and women migrant workers in their countries of origin; 19. Cooperation between the countries of origin and destination in providing assistance to migrant workers with health concerns should be strengthened in order to ensure access to treatment and relevant social welfare services; 20. Workers’ organisations in ASEAN Member States should strengthen their cooperation for effective protection mechanisms for migrant workers; The participants extended their appreciation to the Government of the Republic of the Union of Myanmar, particularly the Ministry of Labour, Employment and Social Security, for the excellent arrangements of the Forum and warm hospitality accorded to them. The participants also congratulated the Government of Malaysia for its role as the incoming ASEAN Chair in 2015 and expressed appreciation of its confirmation to host of the 8th ASEAN Forum on Migrant Labour next year. ____________________

4

40 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


The Migrant Working Group (MWG) issued a public state on “The situation of migrant workers in 2014 and trends concerning the management of migrant workers in Thailand” with the following detail; Executive Summary for the Press Conference: “Highlights of Migrant Worker Situations in 2014 and Thailand’s Migrant Worker Management Tendency in the Future”

5 highlights of migrant worker situations in 2014 are revealed. Several problems need solving after Thailand’s attempt to respond to the human trafficking situation has been downgraded to Tier 3. Gaps remain on issues of registration, proof of nationality and access to the rights of migrant workers. The government is advised to solve the problems urgently. December 18 of every year is designated as the International Migrants Day in order to raise awareness of the importance of migrant workers and their followers who are family members that migrate to work around the world. These people should be protected by human rights and labour rights. In 2014, there have been changes in policy regarding the migrant worker management in Thailand which have an impact on Thai society to a certain extent. Thus, in order to review and present the changes as well as the effects from the migrant worker management during the past year, the Migrant Working Group is organizing a press conference under the topic “Highlights of Migrant Worker Situations in 2014 and Thailand’s Migrant Worker Management Tendency in the Future,” which will be attended by the representatives of organizations that work on migrant workers. Mr Adisorn Kerdmongkol, the representative of Migrant Working Group, stated that the highlights of migrant worker situations in 2014 are: 1) the current cabinet has decided to allow workers who have their nationalities proven and have completed their 4th year of work to have a temporary stay in order to extend their visas and work permits; 2) the government has launched a policy to establish One

Stop Service Centers to register migrant workers; 3) Thailand has experienced the biggest exodus of Cambodian workers in the past decade; 4) Thailand’s attempt to respond to the human trafficking situation has been downgraded to Group 3 or Tier 3; 5) A building under construction in Rangsit area collapsed over workers, including migrants. According to his summary, the 5 highlighted situations have affected migrant workers in various aspects. For instance, the establishment of One Stop Service Centers contributed to the phenomenal return of Cambodian migrant workers to their country which also had an impact on border communities and entrepreneurs in Thailand who had to confront labour shortage in such period. The most important situation, however, is the fact that Thailand has been downgraded to a Tier 3 ranking, especially in terms of human trafficking in fishery and Rohingya human trafficking which also involved government officials. Therefore, the government ought to find a clear, concrete approach to solve such problems. Another worrisome issue is the safety of migrants at work. The case studies included the collapse of a 6-storey condominium in Pathum Thani Province which killed 6 migrants at work and the subsidence of elevator shaft during construction at Chakri Naruebodindra Medical Institute, Faculty of Medicine, Ramathibodi Hospital which killed 6 workers. In such cases, all migrant workers should have the rights to be fairly and thoroughly taken care of according to the social security law. The issues that are mentioned above are considered 5 highlights of migrant worker situations in 2014. Nevertheless, there are other interesting and engaging issues which concern the management of migrant workers and their followers Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 41


such as the education of migrant children, the access to health policy of migrant workers, the situation of Rohingya illegal immigrants from Myanmar and Bangladesh as well as the rights and access to justice system. The issue of migrant children situation is raised. The US indicates that many children are forced to become labourers in fishery as well as sugarcane, frozen food and textile industries in Thailand. The registration system must be amended to benefit every group of children. There is also a concern that the Office of the Basic Education Commission will reduce the subsidies for migrant children. It is recommended that the government dismiss such concept and provide proper education for migrant children. Miss Warangkana Mutumol, the representative of the organizational network that works on child migrants, said that there are 3 major issues regarding the situation of migrant children in 2014, i.e., the child labour, the registration of migrant children and the educational situation of migrant children. Migrant children who live in Thailand are divided into 3 categories, which are children who enter the country for child labour, children who follow their parents who enter Thailand to become migrant workers and children who are born in Thailand during the period that their parents work as migrant workers. There are several concerns about the situations of children in these groups. Regarding children who enter the country for child labour, U.S. Department of Labour has prepared and distributed the list of products which use child labour and forced labour, specifying that there are reasons to believe that products from Thailand’s fishery industry (child labour in fishing boats), seafood processing industry such as frozen shrimps, textile industry such as clothing and agricultural sector such as sugarcane field, involve the use of child labour and forced labour. Moreover, sexual exploitation of children like the distribution of pornography also occurs. According to the data of child workers who are the insured persons of the Social Security Office, the number of 42 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

50,239 child workers in 2011 has decreased to 20,465, which demonstrates that fewer Thai children aged between 15-18 years old enter the labour market. However, Thailand still has migrant child workers who accompany their parents into the country and migrant children who enter the country to look for jobs, and the authority does not have the record of their actual number. Since migrant children are able to enter Thailand through various channels, their number tends to increase every year. Also, there is a tendency that the number of Thai child workers may be replaced by foreign child labourers whose number could not be clearly specified by a statistical survey yet. The approach to keep track of the number of migrant child workers in Thailand is the registration of migrant children. As for the current statistics of foreign child registration in Thailand on November 24, 2014, the number of migrant children totaled 92,391, which was less than half of the estimated number of 250 thousand. Such difference in numbers indicated that there were undocumented children, and the cases which stimulate concern are the children who belong to the groups that are not allowed to register according to the policy. These groups include migrant children who travel to Thailand by themselves or live with other people who are not their parents or legal guardians. As for the educational situation of migrant children, Thailand used to set up a goal and was committed to providing opportunities for all children to have an access to education which would become a good foundation of Thai society and this region. Therefore, Thailand would not be the only country to benefit from the 15 years free study policy since this plan also aimed at developing quality human resources for the advancement of ASEAN community which would also gain from quality population. Nevertheless, during the past year, the Office of the Basic Education Commission came up with the idea to reduce support for migrant children’s education in 5 aspects, which were tuition fees, school supplies, activities to develop students, school uniforms and school books, and would only provide support for 2 other aspects. As a result, the


exceeding costs would become burdens for the schools and the poor parents. Finally, when the schools did not want to carry such burdens anymore, they would decide not to accept migrant children. The Office of the Basic Education Commission explained the reason for the reduction of support, saying that the number of migrant children rose to 250,000 within 2 years. Therefore, it was no longer possible to spread the budget per person of Thai children to support free study for migrant children as before. Regarding this issue, the Migrant Working Group has noted and expressed concern about the situation, saying that it might be possible that the number of students that the Office of the Basic Education Commission referred to included every child who did not possess Thai nationality, i.e., migrant children, children without nationality, children with no identity document and ethnic children of which number averaged 208,000. Among these children were only 93, 320 migrant children who were of Burmese, Laotian and Cambodian nationalities or only 2%-3% of all students. Thus, the problem of spreading the budgets of Thai children to support migrant children could hardly occur. For the above reason, the migrant group would like to ask the Office of the Basic Education Commission to stop proposing such policy to the Minister of Education and to maintain the 15 Years Free Quality Education Policy for migrant children. Besides, another task that the Minister of Education has to seriously work on is to encourage the formation of clear guidance regarding the provision of alternative education that suits migrant children such as the establishment of community learning centers and the curricula for alien children in the non-formal and informal educational system. The issue of migrant workers’ health problem is addressed. The buying of health insurance of labourers remains problematic. Many medical centers do not comply with ministerial regulations due to the lack of cost effectiveness. Some require extra payment and some refuse to treat children and HIV patients. The ministry should issue a

measure which compels medical centers to strictly adhere to ministerial regulations. Miss Nonglak Ditthawong, the representative of the organizational network that works on migrants’ health mentioned that the announcement made by the Ministry of Public Health on June 26, 2014 specifies the right to determine the costs of medical check-up and health insurance of migrant workers in 2 parts. The first part indicates that the labourers who must be covered by social security are the ones who carry legal passports and work for the enterprises which must enter into the social security system. The second part states that the labourers who are obliged to buy health insurance are the ones who do not carry passports, or have passports but work for the enterprises which are not under the social security system such as household workers and labourers in agricultural and fishery sectors. For the second group, the Ministry of Public Health has determined the workers’ rights to receive medical care by requiring them to buy their own health insurance from medical centers under the Ministry of Public Health. The purchase of health insurance of migrant workers according to the cabinet’s decision in 2014 is divided into 2 groups: migrant workers and their followers who are over 7 years old have to pay 2,100 Baht for 1-year health insurance (500 Baht for medical check-up and 1600 Baht for health insurance) and children who are younger than 7 years old have to pay 365 Baht for 1-year health insurance with no medical check-up required. Both groups would be given an additional benefit, i.e., to receive anti-retrovirals which is the compulsory health insurance. Even though migrant workers are obliged to buy health insurance, there are still several problems in the operation, including the lack of measure to enforce the policy in response to the announcement by the Ministry of Public Health at local level. Many provincial health offices are unable to impel medical centers in their provinces to join the health insurance scheme since the medical centers’ executives have absolute power to decide whether to sell health insurance or not when, in reality, every medical center must sell health Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 43


insurance according to ministerial regulations. Additionally, the scope of privileges is unclear, causing different practices in different medical centers. Because of such ambiguity, some medical centers require extra payment while others refuse to offer health insurance to labourers due to the lack of cost effectiveness. For instance, they do not sell health insurance to children aged between 0-7 years old, or sell but with the condition that parents and children must submit their personal documents. Some refuse to sell it to HIV patients due to the medical centers’ uncertainty. Also, some request extra payment for additional examinations. Furthermore, the government sector itself still lacks the efficient public information system and proactive operation. In terms of service, there are still barriers in communication between service providers and migrant workers. A large number of medical centers do not have healthcare officials who can speak migrant workers’ languages. Such problem causes workers to become uninterested and to ignore the benefits of health insurance system. Since migrant workers are not informed about the details of privileges that come with the purchase of health insurance, they do not see how they can gain advantage from it. Besides, they think that they are still in good health, and they do not get to know about the cases in which migrant workers gain concrete benefits from health insurance. Another reason why some migrant workers do not buy health insurance is because, in their opinions, the fee of health insurance card is too high and the privileges that they are about to receive are not worth the amount of money that they have to pay. In case of illness, they can use the service of clinics in their communities. Apart from that, workers in Bangkok are not allowed to choose hospitals which offer health insurance during the registration at One Stop Service Centers. The hospitals will be automatically fixed for workers, and most of them are the government hospitals that migrant workers are not familiar with. Some of them are located far from the workers’ workplaces/ homes.

44 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

As for the solutions to such problems, the Ministry of Public Health must set up the policy to control medical centers under its administration to ensure that they would strictly comply with ministerial regulations without discrimination. Nevertheless, the number of migrant workers from the statistics of the Ministry of Public Health and the Social Security Office from January to June 2014 indicated that there were 333,372 migrant workers who entered into the social security system (17%), 761,080 workers who entered into the health insurance system (39%) and 868,803 workers whose statuses were unclear or were still in process (44%). Another issue to be discussed is the problem of Burmese and Bangladeshi Rohingya people. The Thai State’s solutions are still not straight to the point. The victim screening procedure is troublesome. It has been revealed that local influential people and politicians are involved in the human trafficking procedure. The police are urged to use the law to handle wrongdoers strictly. The Thai State is advised to cooperate with the countries of origin to support the statuses of Rohingya people. According to Mr. Siwawong Suktawee, the representative of the organizational network that works on migrants, especially illegal Burmese and Bangladeshi Rohingya immigrants, Rohingyas who have been arrested in Thailand can be divided into 2 groups: Rohingyas from Myanmar and Rohingyas from Bangladesh. Both groups enter Thailand for different reasons which can be categorized as follows: 1) the group that migrates into Thailand to look for jobs; 2) the group that migrates into Thailand to escape from death since there are fighting problems, political issues or ethnical controversies in their countries of origin and 3) the group that migrates into Thailand as victims of human trafficking. Most Rohingyas can be found in 3 provinces in Thailand: Ranong Province, Phang Nga Province and Songkhla Province. The last one is the province that Rohingyas travel to the most since its border is


connected to Malaysia. However, the statistics from January to November 2014 showed that 1,329 of them had been arrested which included 8 deaths; 3 of them died from car accidents while travelling and 5 of them passed away after being captured due to famine and chronic illnesses. Burmese Muslim Rohingyas who are prosecuted will be pushed out of the country through informal channels. Afterward, they will be forced back into human trafficking process and re-enter Thailand. As for illegal Bangladeshi immigrants, they will be arrested and have to wait for the Thai authority to cooperate with the Bangladeshi embassy in order to repatriate them. From 2012 onwards, the Thai government has been arresting a great number of Rohingyas, but there is no clear procedure to return them to their original countries. As a result, a lot of Rohingyas are captured and confined in detention centers of which environment is not suitable for living. There were lots of labourers who suffered malnutrition or serious diseases but did not get to be treated in time, causing hem to die in the detention centers. As for the approach to solve such problems, the Thai government should have a precise procedure to screen Rohingyas who escape into Thailand in order to categorize them and provide help for them accordingly. For example, the group of illegal immigrants who need jobs will be given advice on how to enter the country legally. As for the group of Rohingyas that migrate into the country to escape from death, they use Thailand as the country of origin in order to seek asylum in the third country, i.e., Malaysia and Australia where their relatives live. If Rohingyas from this group go through the screening procedure, they will be aided and treated as refugees based on the universal principle. However, since there is no screening procedure, this group will lose the opportunity to seek asylum and will be incarcerated, not knowing their fate for a long period of time. As for the group of victims of human trafficking who mostly become labourers on fishing boats, the Thai State should have a procedure to seriously take care of these people by providing them proper accommodations and establishing an impeachment

process to punish human trafficking agents explicitly and concretely. Besides, during the accusation procedure, this group of Rohingyas should be allowed to work in Thailand. The most obvious human trafficking process was the major arrest which took place on January 2014 in Samnaktaew Sub-district, Sadao District, Songkhla Province. During this incident, 881 Burmese and Bangladeshi Rohingyas were found, including 25 of them who had been caught and confined at immigration checkpoints before being pushed back and recaptured. In most cases, the agents are local influential people and politicians who collaborated with the agents in the countries of origin. The most evident case was that of Mr. Muhammad Nusalam, a Rohingya who was held for ransom and was tortured by a Satun Provincial Council Member Mr. Anus Hayeemasae. At the moment, the case is being investigated by Satun Provincial Court. The investigation will be conducted on December 23-24 this year. Regarding the solutions for this issue, the government should plan the screening procedure to clearly categorize Burmese and Bangladeshi Rohingya people in order to offer help appropriately. Besides, legal actions should be taken against human trafficking agents. Also necessary is the process to take care of the victims who are forced to become parts of the human trafficking procedure in order to determine appropriate actions. The government should also collaborate with the countries of origin to verify their citizenship statuses to see whether they are Rohingas from Myanmar or from Bangladesh before cooperating with UNHCR or the embassy of each country to verify their nationalities for repatriation. Nevertheless, another major issue is that Thailand still lacks interpreters who can communicate with the Rohingyas who have been arrested, causing the solutions to be inefficient. To aggravate the situation, the police’s attitude is also problematic since they usually regard Rohingyas as Burmese Muslims who will be prosecuted and pushed out of the country before UNHCR arrives. Consequently, the group of Rohingyas who escape from death do not receive proper help. Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 45


The problem regarding the access to justice system of migrant workers is raised as domestic employees are deprived of justice and fairness. The fact that houses are closed areas facilitates abuses. 3 notorious cases of labour abuses by employers are raised for discussion in order to find solutions. 6 legal amendments are suggested for the protection of human dignity and the rights of domestic workers. Miss Aye Ma Cho, the representative of Human Rights and Development Foundation which studies the rights and access to justice system of migrant workers stated that there are numerous issues regarding the access to justice system of migrant workers including 1) Access to the compensation fund. The practical procedure of the Social Security office has indicated that migrant works who do not have work permit will have to receive compensation directly from the employer if the workers undergo any accident or illness as a result of work. By allowing only migrant workers who have legal status and the work permit to receive the compensation from the compensation fund is considered a form of discrimination against migrant labour. Moreover the Social Security office does not attempt to enforce the law in an effective way. Although the Compensation Act B.E. 1994 has stated that the employer is designated by law under the Compensation Act to register all migrant workers so that they will be eligible to access to the compensation fund and a failure to do so is considered as one form of criminal offences which will result punishment, the Social Security Office has not ensured the effective implementation of the law; the Social Security Office does not seriously bring the charge against the employer. Therefore, the migrant workers are still unable to receive benefit from this fund. The latest case of migrant worker who died at the construction sites due to the building collapse in Pathumthani province also demonstrates that this procedure has allowed rooms for negotiation between the migrants and the employer. It leaves room for the employer to avoid taking responsibility towards their migrant workers. Regarding the case 46 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

in Pathumthani since the migrant worker did not have the work permit, the Social Security Office has made an order for the heir to receive the compensation directly from the employer, not from the compensation fund. The heir may have to enter the negotiation process with the employer which could result in receiving less amount of money comparing to receiving compensation from the actual fund. Migrant workers have not fully enjoyed and been able to claim their rights that they are entitled to due to the reason of legal status and the permission to work in Thailand. To support all migrant worker to have equal access to the compensation fund, the Social Security office should issue a fair practical procedure that allow all migrant workers who are eligible to be registered with the compensation fund to immediately receive the compensation form the actual fund when they encounter accident or illnesses as a result of work and that there are sharp prosecution measures according to the Compensation Act for employer who violate the conditions of law regarding the registration of migrant workers under this Act. 2) Access to justice for domestic worker the case of migrant workers who are domestic employees. In Thailand, it is estimated that there are approximately 300,000 domestic workers which consist of only 45,000 registered workers from Myanmar, Laos and Cambodia. There are several Thai laws which protect migrant domestic workers such as the Ministerial Regulation No. 14 (B.E.2555) which states that employees must have weekly holidays, traditional holidays and vacations, and 3 other laws which are related to the protection of labour rights such as the Social Security Act which offers benefits for employees in case of illness, death, child birth, disability, senility and unemployment and the Compensation Act which protects employees who encounter danger or become ill from working. Even if these laws have been developed to protect migrant workers in various aspects, they still do not guarantee safety for domestic workers due to the fact that these labourers work inside houses which are private properties that cannot be entered by outsiders. Therefore, the access to violated


laborers is difficult. In the past, the Human Rights and Development Foundation went to rescue domestic workers who were the injured persons in criminal cases of violation committed by employers. There are 3 case studies which lead to the improvement of procedure to protect the rights of domestic workers. The first case is about Miss Ma Su who died from the assault by her employer. Miss Ma su was only 18 years old and was accused of stealing after working with her employer for 3 months. When she denied it, her employer beat her up, poured Kerosene all over her and burned her. After that, her body was thrown on the side of the road. This case took as long as 10 years in the justice system to penalize the employer. The second case involves Miss A and Miss B (false names) who were persuaded by a female police officer to become her maid and nanny. In reality, however, they had to work for a male employer who raped and tortured them, causing them to be badly injured. Later on, the two girls were able to prove her employer guilty, but they were not granted civil remedies and access to compensation according to the Victim Compensation and Expense for the Defendant in a Criminal Act B.E.2544 due to the lack of mechanism from related agencies and help from the country of origin. The third case concerns an 8-year-old girl called Miss Air. In 2009, her employers abducted her from her house where she lived with her family in Kamphaeng Phet Province and forced her to become their domestic worker. Miss Air was physically injured in many ways. For example, her earlobe was cut off by scissors and she was forced to stay in a dog cage while her employers poured boiled water on her. After that, her employers did not take her to hospital, causing her wound to become rotten. Finally, Miss Air managed to escape from the employers’ house with the help of citizens and agencies in Kamphaeng Phet Province and reunited with her family. The police issued an arrest warrant for her employers, but they were still not arrested until now. In this case, many of the government mechanisms, including the Ministry of Social

Development and Human Security and the Rights and Liberties Protection Department under the Ministry of Justice, were able to reach the injured person. From the 3 case studies above, the foundation has several suggestions for the improvement of domestic employment in order to protect the rights and maintain human dignity of domestic workers as follows: The Thai government should consider signing the 189th International Labour Organization Convention regarding decent work for domestic workers; The Thai State should require employers who have domestic workers aged between 15-18 years old to submit the names of their employees to labour inspectors to make sure that the working hours and the tasks are appropriate for young workers; The exceptions in the enforcement of Section 41 regarding pregnant workers should be cancelled in order to guarantee employment without discrimination; The working hours that are suitable for employees should be determined. Also, employees should have the right to decide whether to stay in their employers’ houses, which not only encourages employees to have freedom of movement, but also allows the rights protection mechanisms to become more accessible in case there is an action which may violate the rights of employees and Improve the investigation mechanism of the labour inspector to ensure that the inspector can have access to the employer’s residences that lodge many of domestic workers and prevent the inspector from the charge of invasion of privacy To lift up the condition of living and welfare of the domestic workers through the improvement of the Social Security Law, the Compensation Law, and the Labour relation Law to enable equal access to the social security and compensation fund and to encourage the domestic worker to gather, assemble, and negotiate with the employers which is the starting point for fair labour protection standard.

Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 47


Migrant workers from “Silver & Gold Garment negotiated with employers concerning the deduction of labor registration from their wages

On16 August 2014, the Labor Law Clinic based in Mae Sot, Tak Province, received a complaint from migrant workers from Burma in Silver & Gold Garment Co., Ltd. whose wages have been deducted for labor registration fee by their employers. A cut of 2,080 baht was allegedly made to provide for the application of work permits. As a result, they had not enough income to earn their living. In addition, such deduction was against the 1998 Labor Protection Act’s Articles 76 and 77 that prohibit an employer from making such deduction. Any deduction can only be made upon obtaining consent from the employee and the employee needs to sign to express their consent to the deduction and it must have a clear and specific agreement between them. The workers have contacted the Labor Law Clinic asking to help negotiate with the employer to reduce the deduction to 1,000 baht per month and to increase allowance on water and the number of weekly holidays. An agreement was reached between the employers and the employees who were migrant workers that the former would return the latter the labor registration fee and the application for work permits for the amount of 2,080 baht each on 13 September 2014. But the employers still owed wages to 72 workers, and another round of negotiation would take place. Later, the employers agreed to pay wages to the 72 workers in two installments. The employees received the first installment, 86,119 baht, on 15 October 2014 and the second installment, 132, 993 baht on 14 November 2014. 48 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

Updates of highlighted cases

Descendants received 400,000 baht as indemnity from insurance company for a migrant worker who died of car accidence On 12 August 2014, around 18.00, Mr. Muang Mew Suay or U Mew, 34 years, a migrant worker from Burma, who worked as construction worker in Mae Sot District, Tak Province, was driving his motorcycle back to his place. En route, he was hit in the back by a speedy Toyota pickup truck causing him to die. The police officials who arrived at the scene pressed charges against the truck driver. As for compensation, the Labor Law Clinic based in Mae Sot, Tak, has provided help to Ms. Daw Mae Tu, 65 years, mother of the deceased to contact the insurance companies of the truck. The two insurance companies have decided to provide indemnity to the mother of the deceased including (1) Syn Mun Kong Public Co., Ltd. to provide 200,000 baht as indemnity on 6 October 2014 and (2) Viriyah Insurance Co., Ltd., to provide 200,000 baht as indemnity on 16 October 2014.

Migrant worker received indemnity from insurance company and medical expense from road accidence On 8 October 2014, Labor Law Clinic (LLC) based in Mae Sot, Tak Province, was informed that Ms. Lah Ye Nuk, a migrant worker from Burma, was hit by a car and suffered grave injuries while she was crossing the road. LLC staff has contacted the police officials over the case and advised relatives of the lady to exercise their right to medical service covered by the 1992 Road Accident Victim Protection Act and from the Krung Thai Insurance Co., Ltd., and


need not advance their money while receiving the treatment at Mae Sot District Hospital. On 4 November 2014, the day of negotiation on the indemnity, LLC staff has accompanied Ms. Lah Ye Nuk to talk with the driver and representatives from Krung Thai Insurance plus the police officials at the Mae Sot Police Station. With interpretation provided by LLC, the result of the negotiation was; 1. Ms. Lah Ye Nuk asked for 60,000 baht as indemnity from the Krung Thai Insurance, and its representative agreed to take this and seek an approval for that. 2. The driver agreed to provide 5,000 baht for her support and the payment shall be made on 8 November 2014. LLC staff followed up with the Krung Thai Insurance and informed Ms. Lah Ye Nuk that the payment of the indemnity shall be made on 19 December 2014. LLC staff has accompanied her to receive the amount and she was content and did not want to file any legal claim against the party. Social Security Fund Office approved severance pay to laid off migrant worker In November 2014, Mr. Soe Myint Naing, a steel cutting worker, was laid off as he was ill for several days. He complained with the Office of Labor Welfare and Protection in Samut Prakarn and on 26 December 2014, the employers agreed to provide him 27,000 baht as severance pay. While being unemployed, he was applying for compensation from the Social Security Office (SSO). As his application was approved, he went to the SSO in Samut Prakarn to collect the first installment of unemployment insurance on 19 December 2014.

150,000 baht, shall be paid off after her descendants file all the required documents. Social Security Fund Office approved severance pay to laid off migrant worker In November 2014, Mr. Soe Myint Naing, a steel cutting worker, was laid off as he was ill for several days. He complained with the Office of Labor Welfare and Protection in Samut Prakarn and on 26 December 2014, the employers agreed to provide him 27,000 baht as severance pay. While being unemployed, he was applying for compensation from the Social Security Office (SSO). As his application was approved, he went to the SSO in Samut Prakarn to collect the first installment of unemployment insurance on 19 December 2014.

Migrant workers still deprived of their access to old age benefits from SSO due to problem to certify documents Migrant Justice Program in Mahachai, Samut Sakhon Province, received a complaint from Ms. Nay Chi Oo, a migrant worker from Burma that her husband, who was also a migrant worker in Thailand was insured with the Social Security Office (SSO) Descendants of migrant worker received suffered from kidney failure and died in February 2014. But since he died in Burma, Ms. Nay Chi Oo benefits from SSO and indemnity for was unable to bring the death certificate to apply Road Accident Victim Protection Act for old age benefits from the SSO in Thailand since In October 2014, Ms. Mia, a migrant worker, there is no system of document certification in Burma. had accidence while riding on a motorcycle with her It took her months to acquire a paper certifying the husband back home. The accidence happened in death of her husband from officials in Burma and to Chiang Mai. Since she was insured with the SSO, her descendants were entitled to receive 40,000 baht for funeral rite. Since the driver of the hitting car could not be identified, descendents of Ms. Mia was entitled to the first installment of indemnity according to the Road Accident Victim Protection Act for the amount of 43,186 baht. The second installment, Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 49


have it translated and have the translation certified by the Embassy of Burma and to obtain a letter to certify the ailment of her husband from the hospital. Eventually, SSO agreed to accept her application coupled with the documents. Later, SSO approved 40,000 baht for funeral rite, but she was unable to tap into old age benefits of the deceased since their marriage was not legally registered. Also, parents of both of them have passed away. As a result, SSO refused to disburse her the funeral rite expense claiming no descendant and thus, all the benefits shall be returned to the SSO. Interesting activities

Mae Sot radio program The Anti Labour Trafficking (ALT), Human Rights and Development Foundation (HRDF), has launched a radio program for migrant workers broadcast via the Radio Thailand based in Tak Province at FM 103.75 MHz in both Thai and Burmese. Hosted by staff from the Labor Law Clinic based in Mae Sot, Tak, the program aims to educate the audience about human rights principles, policies and laws related to labor rights protection, laws concerning the suppression of human trafficking and other issues concerning the daily life of migrant workers. It broadcasts every Tuesday, after hourly news in the afternoon, from 15.20-16.00. 2-3 October 2014, HRDF’s representatives participated and spoke at a seminar on “NGO & Trade Unions Preparatory Meeting” organized by International Labour Organization (ILO) at Amari Watergate, Bangkok. It aimed to raise awareness about Good Labour Practice (GLP) among representatives from various state and private agencies including the Department of Labour Protection and Welfare, Stella Maris Seafarers’ Center Sriracha, Labour Rights Promotion Network (LPN) and HRDF, etc., as well as networks of labour unions. Participants were expected to share their opinions and to adopt the practice and apply it in their respective organizations.

50 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

3 October 2014, HRDF’s representatives participated in a conference on “International Labour Recruitment: Conceptual and Policy Challenges” organized by the International Labor Organization (ILO) at the UNESCAP building, UN, Bangkok. The conference aimed to explore conceptual frameworks regarding labour recruitment. A research study by Xiang Biao from Oxford University on labour migration in East Asia over the last decade, ILO labour standards and recent work in the region was presented as a springboard for further discussion and exploration of the conceptual of labour recruitment.


5 October 2014, HRDF’s representatives participated in the meeting of board of directors of the Network of Lawyers for Public Aid in Southeast Asia (SEALAW) and participated an exchange of knowledge on policies and activities has been made on the promotion and assistance of migrant workers to have access to justice process in Thailand among participating lawyers who participated in workshop on Pro Bono Legal Services, organized by Bridges Across Borders Southeast Asia Community Legal Initiative (BABSEA CLE), and the Law Society of Singapore in Singapore. 7 October 2014 HRDF’s representatives attended a consultation on “monitoring the progress of the Draft Ministerial Regulation for the Protection of Marine Fishery Workers B.E. .... “ organized by the Law Reform Commission (LRC) and its Subcommittee on the Reform of Labour Law at a meeting room of the LRC office, Software Park Building, Pak Kred, Nonthaburi. It was a discussion among staff from the Subcommittee, ILO, and representatives from various state and private agencies regarding the Draft Ministerial Regulation.

7-8 October 2014, Migrant Workers Federation (MWF) and Migrant Justice Program (HRDF-MJP) in Chiang Mai jointly organized an educational activity to raise awareness on labour rights, to provide legal counseling and to fundraise for the migrant workers. Combined with cultural activities, the event took place at Wat Mae Kar, Doi Saket District, Chiang Mai with more than 200 participating workers who have asked for IEC material and advice from MJP and MWF.

10 October 2014, Labor Law Clinic (LLC) based in Mae Sot, Tak, organized a home visit to migrant workers aiming to strengthen relationships with them and to provide knowledge and counseling on labour law for those who find it difficult to make the journey to our office. In addition, the LLC staff has visited over 80 migrant workers at their construction site in Tambon Tha Sai Luad, Mae Sot, Tak including three women workers. They have shared with LLC about their working condition and welfare and information about their applying for the registration at the One Stop Service Center and they are supposed to cover their registration expenses. The LLC staff has given them information about the labour registration process and how to apply for work permits in accordance to additional Announcements issued by the National Council for Peace and Order (NCPO) and general information about labour protection law. Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 51


During 15-17 October 2014, HRDF representatives have participated in a workshop on ILO RTG Multi-stakeholder Workshop for the Good Labor Practices Programme in Thailand organized by the ILO, Department of Fishery, and Labour Protection and Welfare Department and held at Buddy Oriental Riverside Hotel, Pak Kred, Nonthaburi. It was aimed at developing a master plan on good labour practices and to give a chance to the participants to develop the visions and objectives in disseminating information about the master plan which can be adopted to suit the context of their respective organizations.

20 October 2014, HRDF’s representatives, delegation from the Thai government, representatives from employer/employee organizations and civil society participated in a meeting to develop a country proposal regarding the protection and promotion of the rights of migrant workers which shall be presented at the 7th ASEAN Forum on Migrant Labour (AFML in Burma, The preparatory meeting was organized by International Labor Organization (ILO) in collaboration with the Ministry of Labour at Landmark Hotel, Bangkok.

21 October 2014, the United Nations for Cooperation against Trafficking in Persons (UN-ACT) and the Thailand Institute of Justice, ILO, Labour Rights Promotion Network (LPN) and Human Rights and Development Foundation (HRDF) have convened in a meeting of experts and actors in anti-human trafficking on the Roundtable Discussion on Debt Bondage and Human Trafficking at Landmark Hotel, Bangkok. It was aimed at sharing in-depth opinions regarding the situation of debt bondage which has led to human trafficking in Thailand. Present at the meeting were also representatives from the Office of the Court of Justice, agencies involved with criminal justice process including the Department of Special Investigation (DSI). Office of the Attorney General (OAG), Anti Trafficking in Persons Division (ATPD) and other relevant law enforcement agencies along with experts and representatives from international organizations. 52 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

25-26 October 2014, HRDF-MJP in Chiang Mai and Migrant Workers Federation jointly organized a public discussion on Thai workers and migrant workers with participation of the labour unions from Rangsit and adjacent areas, a Thai labour union from San Kam Phaeng District, Chiang Mai, a Thai labour union from Lamphun to exchange their problems and discuss the formation of labour organization at Holiday Inn Hotel, Chiang Mai with 33 participants.


16 November 2014, HRDF-MJP in Mahachai, Samut Sakhon, organized an activity to raise awareness on labour rights laws including the labour protection law, social security law, Workmen’s Compensation Fund law, and the unionization among migrant workers. The activity took place at a community of migrant workers in Koh Samui District, Surat Thani with 25 participants from migrant workers in hotelier business. 19 November 2014, staff from the Anti Labour Trafficking (ALT) participated in a workshop on Human Trafficking in the Fisheries Sector: Designing Solutions and Innovations at BP Samila Beach and Resort Hotel in Songkhla. Organized by the Project Issara and Stella Marris, workshop was attended by staff members from state and private agencies who were there to discuss and exchange problems and solutions regarding human trafficking including issues concerning employment recruitment, labour agent, Criminal Justice Response, system to monitor and control fishing trawlers and redress for victims of human trafficking, etc.

22-23 November 2014, HRDF’s representatives attended a meeting of the network of Migrant Working Group (MWG) in Pattaya, Chonburi to discuss its structure and roles of members and to develop strategic plans and action plans among members in the network.

20 November 2014, Labor Law Clinic based in Mae Sot, Tak, organized a home visit to migrant workers in Ban Fai community, Mae Sot District, Tak, where more than 200 migrant workers live. Most of them are employed in garment factories and have been registered with the One Stop Service Centers as per the Announcement of the NCPO. Therefore, LLC staff has got to give them labour rights protection law including their health security and the right to register child birth.

25 November 2014, HRDF-MJP in Chiang Mai and Migrant Workers Federation along with allied organizations in Chiang Mai, organized activities to campaign for an end of violence against women and children at Chiang Mai University with more than 100 participants.

Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 53


27 November 2014, HRDF’s representatives attended the workshop to monitor response to proposals by the ASEAN Civil Society/ASEAN People’s Forum: ACSC/APF 2014 at a meeting room of Chulalongkorn University. It was aimed at allowing networks of civil society to review detail and proposals from the ACSC/APF 2014, which have been presented to representatives from the government and people’s sector and to promote understanding and collaboration between state sector, academics and people’s sector in terms of ASEAN issues and to develop a report to be presented to the ASEAN Secretariat during the ASEAN People’s Forum in 2015 to be held in Malaysia. 1-4 December 2014, HRDF’s representatives participated in a workshop on “The development of indicators for the implementation of international human rights treaties” held at Centara Grand Hotel in Bangkok. Organized by the Human Rights Law and Peace Study Center, Faculty of Law, Sukhothai Thammathirat University and the National Human Rights Commission. It was aimed at taking input from actors in both state and private sectors regarding the development of indicators for the implementation of nine international human rights conventions. The final indicators shall be submitted to the Treaty Committees later.

29-30 November 2014, HRDFMJP in Chiang Mai organized training to raise awareness among paralegals at the Chiang Mai University. The content deals with basic human rights, laws concerning migrant workers and investigation. Among 18 participants were four paralegals from Fang District, Chiang Mai, and 14 migrant workers.

13-14 December 2014 HRDF’s representatives participated in the Civil Society Regional Conference on Post 2015 Development Agenda, Migrants in Crisis and Regional Consultative Processes organized by the Migrant Forum in Asia (MFA) in collaboration with the Bar Council Migrants Refugees and Immigration Affairs Committee in Kuala Lumpur, Malaysia. It was aimed at giving a chance for representatives from civil society organizations working to protect the rights of migrant workers in Asia to discuss and develop joint advocacies to promote the eight-point proposal regarding migrant workers as per the Post 2015 Development Agenda and in pursuance to the UN High Level Dialogue on International Migration and Development (organized by the United Nations, USA) (for more information, please see http://hldcivilsociety.org/wpcontent/uploads/2013/10/0261-HDL_The-5-year-ActionPlan-GB-web2.pdf ) and to discuss follow up plan to enhance the labour protection mechanisms for migrant workers at the regional level including ASEAN, South Asia, etc.

14 December 2014, Migrant Workers Federation organized its annual regular meeting in 2014 with 50 participants including its board of directors and members including 22 males and 28 females. It was held at Thassanajon Resort, Tambon Pa Daed, Muang District, Chiang Mai. During the meeting, the new board of directors was elected to embark on the activities of the Migrant Workers Federation in the following year. 54 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


16 December 2014, the United Nations for Cooperation against Trafficking in Persons (UN-ACT) organized the Thai InterAgency Working Group Meeting on Counter Trafficking with an aim to enhance Ministerial collaboration of countries in the Mekong Sub region against human trafficking (COMMIT Process), progress of UN-ACT and the presentation of “Human Trafficking, Exploitation and Abuse in Mekong Countries” by the International Organization for Migration (IOM) and to present and discuss on the issue of “Fishery Labour and Human Trafficking Victims: Problems and Solutions based on proactive approaches by the Ministry of Labour and Labour Rights Protection Network (LPN). 16-17 December 2014, HRDF’s representatives participated in a regional meeting on “Recruitment Reform” held by Migrant Forum in Asia at Amman, Jordan. The meeting is aimed at presenting finding from a study of the gaps and challenges regarding employment process, the development of proposals and action plans to campaign for recruitment reform to make possible a fair recruitment process and to provide a mechanism for the protection of migrant workers. 17 December 2014, the Migrant Working Group organized a press conference on “Situation of Migrant Workers in 2014 and the future of migrant worker management in Thailand” at the Thai Journalists Association (TJA) in Bangkok. “Highlights of situations of migrant workers in 2014 and the future of migrant worker management in Thailand”, a short documentary was screened during the occasion. Various issues concerning migrant workers including health and access to public services, education, illegal entry of the Rohingya, the right and access to justice process, human trafficking, and protection of migrant workers in marine fishery, etc., were discussed.

16 December 2014, Migrant Justice Program in Chiang Mai organized field activities to raise awareness on labour rights among migrant workers at a construction camp in Tambon Mae Hia, Muang District, Chiang Mai with 21 participants including 11 males and 10 women.

20 December 2014, Migrant Workers Federation visited and organized an activity to raise awareness on social security law and Workmen’s Compensation Fund for workers in agricultural sector in Ban Tong Phung, Tambon Muang Kaew, Mae Rim District, Chiang Mai, including 11 male workers and 10 female workers.

Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 55


บรรณาธิการ: นางสาวปรีดา ทองชุมนุม และนางสาวภัทรานิษฐ์ เยาด�ำ ติดต่อ: มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ส�ำนักงานกรุงเทพมหานคร (เฉพาะโครงการต่อต้านการค้ามนุษย์ด้านแรงงาน) 109 ซอยสิทธิชน ถนนสุทธิสารวินิจฉัย แขวงสามเสนนอก ห้วยขวาง กรุงเทพ 10310 โทรศัพท์ 02 277 6882 โทรสาร 02 275 4261 www.hrdfoundation.org มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ส�ำนักงานจังหวัดสมุทรสาคร 93/200 หมู่ที่ 7 ต�ำบลท่าทราย อ�ำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร 74000 โทรศัพท์/โทรสาร 034 414 087 มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ส�ำนักงานจังหวัดตาก 14/12 ถนนประสาทวิถีเดิม ต�ำบลแม่สอด อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก 63100 โทรศัพท์/โทรสาร 055 535 995 มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ส�ำนักงานจังหวัดเชียงใหม่ 71 ถนนสนามกีฬาซอย 1 ชุมชนอุ่นอารีย์ ซอย 4 ต�ำบลศรีภูมิ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200 โทรศัพท์/โทรสาร 053 223 077 56 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

Editor: Ms.Preeda Tongchumnum and Ms.Phattranit Yaodam Contact: Human Rights and Development Foundation–Bangkok (for the Anti–Human Trafficking Project only) 109 Soi Sitthichon, Suthisarnwinichai Road, Samsennok, Huaykwang, Bangkok 10310 Tel. 662 277 6882 Fax. 02 2754261 www.hrdfoundation.org HRDF, Samut Sakhon Branch Office 93/200 Moo 7, Ta Sai Sub–district, Muang District, Samut Sakhon 74000 Tel/Fax 034 414 087 HRDF, Mae Sot District Branch Office 14/12 Prasart Witheederm Road, Mae Sot Sub–district, Mae Sot District, Tak 63100 Tel/Fax 055 535 995 HRDF, Chiang Mai Branch Office71 Sanamkeela Road, Soi 1, Un–Aree Community, Soi 4, Sriphum Sub–district, Muang District, Chiang Mai 50200 Tel/Fax 053 223 077


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.