มูลนิธเิ พือ่ สิทธิมนุษยชนและการพัฒนา (มสพ.) Human Rights and Development Foundation เลขที่ 109 ซอยสิทธิชน ถนนสุทธิสารวินจ ิ ฉั ย แขวงสามเสนนอก เขตห ้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 109 Soi Sitthichon, Suthisarnwinichai Road, Samsennok, Huaykwang. Bangkok 10310 Tel: (+662) 227 6882 /(+662) 277 6887 Fax: (+662 275 4261) E-mail: info@hrdfoundation.org
แถลงการณ์ เรียกร้ องให้ รัฐบาลไทย ทบทวนการบังคับใช้ กฎหมายและนโยบายเพือ่ นาไปสู่ การแก้ไขปัญหาการค้า มนุษย์ คณะกรรมการ มูลนิ ธิเพื่อสิ ทธิ มนุษยชน และการพัฒนา (มสพ.) นายโคทม อารียา ประธาน ม.ร.ว. พฤทธิ สาณ ชุมพล รองประธาน นายวิ ทยา สุจริ ตธนารักษ์ กรรมการ นายบุญแทน ตันสุเทพวีรวงศ์ กรรมการ นางสาวญาดา หัตถธรรมนูญ กรรมการ นางทรงพร ทาเจริ ญศักดิ์ กรรมการและเหรัญญิ ก นางสาวอโณทัย โสมา กรรมการและผูช้ ่วยเหรัญญิ ก นายสมชาย หอมลออ กรรมการและเลขานุการ
เนื่องด้วยเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2558 กระทรวงต่างประเทศ สหรัฐอเมริ กา ได้เผยแพร่ รายงาน สถานการณ์การค้ามนุษย์ ประจาปี 2558 (Trafficking in Person Report 2015 หรื อ Tip report) โดยประเทศไทย ยังคงถูกจัดให้อยูใ่ นบัญชีกลุ่มที่3 (Tier3) ซึ่ งเป็ นกลุ่มประเทศที่มีสถานการณ์คา้ มนุษย์ระดับเลวร้ายที่สุด โดยใน รายงานฉบับดังกล่าวได้สะท้อนการจัดการแก้ไขปั ญหาการค้ามนุษย์ในช่วงเวลา 1 ปี ที่ผา่ นมา ซึ่ งแสดงให้เห็นว่า ประเทศไทยได้มีความพยายามในการแก้ไขปั ญหาการค้ามนุษย์ แต่กย็ งั ไม่เพียงพอที่จะสามารถแก้ไขปั ญหาการค้า มนุษย์ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยได้ดว้ ยสาเหตุดงั นี้ 1. เจ้าหน้าที่รัฐไทยยังขาดความรู้ความเข้าใจในพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ.2551 เช่น นิ ยามของการแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ และองค์ประกอบของการค้ามนุษย์ ส่ งผลให้การบังคับใช้กฎหมายไม่มีประสิ ทธิ ภาพ ไม่สามารถนาตัวผูก้ ระทาผิดมาลงโทษได้ 2. ในขณะที่รัฐไทยกาลังพยายามที่จะแก้ไขปั ญหาการค้ามนุษย์ กลับมีรายงานว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐไทยมี ส่ วนเกี่ยวข้องในการเรี ยกรับผลประโยชน์จากขบวนการค้ามนุษย์ 3. ประสิ ทธิภาพในกระบวนการคัดแยกผูเ้ สี ยหายจากการค้ามนุษย์ยงั คงมีปัญหาในทางปฏิบตั ิ แม้วา่ ใน แต่ละพื้นที่จะมีการทางานในรู ปแบบของทีมสหวิชาชีพ แต่ดว้ ยข้อจากัดในเรื่ องของศักยภาพของแต่ ละหน่วยงาน ประกอบกับช่วงเวลาที่ทีมสหวิชาชีพเข้าถึงตัวผูเ้ สี ยหายที่ล่าช้า และสถานที่ในการ ดาเนินกระบวนการที่ไม่เหมาะสม รวมถึงข้อจากัดทางภาษาของล่ามทาให้ไม่สามารถสื่ อความได้ ตามเจตนารมณ์ โดยปั จจัยเหล่านี้ ส่งผลให้กระบวนการคัดแยกเหยือ่ ผูเ้ สี ยหายจากการค้ามนุษย์ไม่ ประสบความสาเร็ จ 4. การคุม้ ครองสวัสดิภาพผูเ้ สี ยหายจากการค้ามนุษย์ยงั ไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดในพระราชบัญญัติ ป้ องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 เป็ นผลให้ผเู้ สี ยหายขาดแรงจูงใจในการให้ความ ร่ วมมือกับเจ้าหน้าที่รัฐในการดาเนินคดี 5. ถึงแม้วา่ รัฐไทยจะมีการปรับปรุ งพระราชบัญญัติป้องกันเเละปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 เพื่อให้ความคุม้ ครองแก่ผแู ้ จ้งเหตุในกรณี ที่พบเห็นว่ามีการค้ามนุษย์เกิดขึ้น แต่กลับมีการฟ้ องคดี โดยกองทัพเรื อในความผิดฐานหมิ่นประมาทต่อสื่ อมวลชน มูลนิธิเพื่อสิ ทธิมนุษยชนและการพัฒนา (มสพ.) เห็นว่ารายงานสถานการร์ดา้ นการค้ามนุษย์ฉบับนี้ ได้สะท้อนให้ เห็นว่าแม้วา่ ในหนึ่งปี ที่ผา่ นมา รัฐไทยจะมีความพยายามในการแก้ไขปั ญหาการค้ามนุษย์มากขึ้น แต่กย็ งั ไม่เพียง พอที่จะแก้ไขปั ญหาการค้ามนุษย์ในระยะยาวได้ เพราะยังขาดความเข้าใจถึงสภาพปั ญหาที่แท้จริ ง ส่ งผลให้เกิดการ แก้ไขปั ญหาที่ไม่ตรงจุด เช่น ยังขาดการพิเคราะห์ถึงสาเหตุอนั ก่อให้เกิดความต้องการใช้เเรงงานอย่างเข้มข้น ใน ภาคประมงทะเลเเละอุตสาหกรรมต่อเนื่องประมงทะเล ขาดการบูรณาการในการดาเนินงานระหว่างหน่วยงานของ รัฐและภาคประชาสังคม ตลอดจนขาดความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบังคับใช้กฎหมายเเละการใช้ดุลพินิจของ
เจ้าหน้าที่ในการปฏิบตั ิตามกฎหมายทั้งตามพระราชบัญญัติป้องกันเเละปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ .2551 เองเเละ ตามกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ส่ งผลโดยตรงให้การป้ องกันเเละปราบปราบผูก้ ระทาความผิดไม่ได้รับความสาเร็ จ เท่าที่ควรเเละกระทบไปยังประสิ ทธิภาพของกระบวนการคุม้ ครองสวัสดิภาพผูเ้ สี ยหายจากการค้ามนุษย์ภายใต้การ ดูเเลของรัฐไทย ดังนั้น มูลนิธิฯ จึงขอให้รัฐบาลไทยพิจารณาข้อเสนอต่อไปนี้ 1. จาเป็ นอย่างยิง่ ที่รัฐไทยควรต้องทบทวนการใช้มาตรการทางกฎหมายเพื่อประโยชน์ในการขยาย คณะกรรมการ มูลนิ ธิเพื่อสิ ทธิ มนุษยชน และการพัฒนา (มสพ.) นายโคทม อารียา ประธาน ม.ร.ว. พฤทธิ สาณ ชุมพล รองประธาน นายวิ ทยา สุจริ ตธนารักษ์ กรรมการ นายบุญแทน ตันสุเทพวีรวงศ์ กรรมการ นางสาวญาดา หัตถธรรมนูญ กรรมการ นางทรงพร ทาเจริ ญศักดิ์ กรรมการและเหรัญญิ ก นางสาวอโณทัย โสมา กรรมการและผูช้ ่วยเหรัญญิ ก นายสมชาย หอมลออ กรรมการและเลขานุการ
ขอบเขตการปราบปรามผูก้ ระทาความผิดเเละรับรองสิ ทธิของผูเ้ สี ยหายจากการค้ามนุษย์ดว้ ยการ แก้ไขนิยามของคาว่าแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบตาม มาตรา 4 พระราชบัญญัติป้องกันเเละ ปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 ให้สอดคล้องกับข้ อ 3 พิธีสารป้ องกัน ปราบปราม และลงโทษ การค้ามนุษย์ หรื อพิธีสารพาเลอโม (Palermo Protocol) จะเป็ นการง่ายต่อการใช้ดุลพินิจของ เจ้าหน้าที่ในการปฏิบตั ิตามกฎหมายดังกล่าวอีกด้วย 2. ในกรณี ของการค้ามนุษย์ในรู ปแบบการบังคับใช้แรงงาน รัฐไทยควรมีการพัฒนาแบบฟอร์มการคัด แยกผูเ้ สี ยหายจากการค้ามนุษย์เบื้องต้น ให้มีความเหมาะสมต่อการปฏิบตั ิงานของทีมสหวิชาชีพ โดยนาเอาข้อบ่งชี้ของการบังคับใช้แรงงานที่กาหนดโดยองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO Indicator) มาประกอบกับการใช้แบบฟอร์ มการคัดแยกผูเ้ สี ยหายจากการค้ามนุษย์ ทั้งนี้ เพื่อให้ได้ ข้อมูลที่มีความถูกต้องเเละต้องตรงกับบทบัญญัติกฎหมายที่ควรบังคับใช้ เช่น ตามพระราชบัญญัติ ป้ องกันเเละปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ เเละพระราชบัญญัติคุม้ ครองแรงงาน พ .ศ.2551 3. รัฐไทยควรพิจารณาและเปิ ดโอกาสให้องค์กรภาคเอกชนที่มีศกั ยภาพเฉพาะด้านในการคุม้ ครอง สวัสดิภาพผูเ้ สี ยหายจากการค้ามนุษย์ เช่น หน่วยงานด้านศาสนา หน่วยงานภาคประชาสังคม ที่มี ความพร้อมในการดูเเลเเละเสริ มสร้างศักยภาพให้ผเู้ สี ยหายจากการค้ามนุษย์สามารถเข้ามามีส่วน ร่ วมในกระบวนการคุม้ ครองสวัสดิภาพอันจะเป็ นการส่ งเสริ มการทางานแบบบูรณการระหว่าง หน่วยงานภาครัฐและเอกชนให้กา้ วหน้ายิง่ ขึ้น เเต่ท้ งั นี้ การจัดการดังกล่าวยังคงอยูภ่ ายใต้มาตรฐาน เเละการกากับดูเเลของรัฐไทย 4. ในกรณี การฟ้ องร้องสื่ อมวลชนโดยกองทัพเรื อ รัฐไทยควรส่ งเสริ มการใช้กฎหมายอื่นควบคู่กบั พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ยกตัวอย่างเช่นประมวลกฎหมายอาญา ที่ บัญญัติให้คุม้ ครองผูท้ ี่แสดงข้อความโดยสุ จริ ตในการแจ้งข่าวด้วยความเป็ นธรรม เพื่อประโยชน์ แห่งความยุติธรรมและเป็ นการคุม้ ครองสิ ทธิ เสรี ภาพในการนาเสนอข่าวของสื่ อมวลชน ด้วยความเคารพในสิ ทธิ มนุษยชนและศักดิ์ศรี ความเป็ นมนุษย์ มูลนิธิเพื่อสิ ทธิมนุษยชนและการพัฒนา (มสพ.) 30 กรกฎาคม 2558 ----------------------------------------------------------------------------------------ข้ อมูลเพิม่ เติม ติดต่ อ นางสาวณัฐรัตน์ อรุ ณมหารัตน์ ผูป้ ระสานงานโครงการต่อต้านการค้ามนุษย์ดา้ นแรงงาน มูลนิธิเพื่อสิ ทธิ มนุษยชนเเละการพัฒนา โทร 092 6690417
นายปภพ เสี ยมหาญ ผูป้ ระสานงานฝ่ ายคดี โครงการต่อต้านการค้ามนุษย์ดา้ นแรงงาน มูลนิธิเพื่อสิ ทธิ มนุษยชนเเละการพัฒนา โทร 094 - 5485306
คณะกรรมการ มูลนิ ธิเพื่อสิ ทธิ มนุษยชน และการพัฒนา (มสพ.) นายโคทม อารียา ประธาน ม.ร.ว. พฤทธิ สาณ ชุมพล รองประธาน นายวิ ทยา สุจริ ตธนารักษ์ กรรมการ นายบุญแทน ตันสุเทพวีรวงศ์ กรรมการ นางสาวญาดา หัตถธรรมนูญ กรรมการ นางทรงพร ทาเจริ ญศักดิ์ กรรมการและเหรัญญิ ก นางสาวอโณทัย โสมา กรรมการและผูช้ ่วยเหรัญญิ ก นายสมชาย หอมลออ กรรมการและเลขานุการ