จดหมายข่าว ตค-ธค 2557

Page 1

ฉบับที่ 6 : ตุลาคม-ธันวาคม 2557

สถานการณ์ด้านนโยบาย และการบังคับใช้กฎหมาย

6th issue: October-December 2014

การค้ามนุษย์ กับเเรงงานประมงทะเล ภัทรานิษฐ์ เยาด�ำ1

ขณะนีม้ รี า่ งกฎหมายหลายฉบับก�ำลังจะเข้าสูก่ ารพิจารณาหรืออยูใ่ นระหว่างพิจารณาของคณะรัฐมนตรีและสภานิตบิ ญ ั ญัติ แห่งชาติหรืออยู่ในระหว่างการผลักดันเพื่อน�ำเสนอของหน่วยงานต้นเรื่อง หนึ่งในกฎหมายที่โครงการต่อต้านการค้ามนุษย์ ด้านเเรงงานให้ความสนใจเป็นพิเศษคือ ร่างกฎหมายว่าด้วยการค้ามนุษย์ หรือร่างพระราชบัญญัติแก้ไขพระราชบัญญัติป้องกัน และปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ... พระราชบัญญัติป้องกันเเละปราบปรามการค้า มนุษย์ พ.ศ. 2551 เดิมเป็นกฎหมายระดับพระราช บัญญัติที่มีส่วนสัมพันธ์โดยตรงกับการแก้ไขปัญหา ค้ามนุษย์อันเป็นผลพวงมาจากการออกกฎหมายหลัง การท�ำรัฐประหารใน ปี 2549 พระราชบัญญัตดิ งั กล่าว มีลักษณะเฉพาะ กล่าวคือเป็นกฎหมายเชิงมาตรการ อันประกอบด้วยมาตรการปราบปรามผูก้ ระท�ำความผิด ฐานค้ามนุษย์เเละมาตรการการเยียวยาผู้เสียหายจาก การค้ามนุษย์ผา่ นการท�ำงานของกลไกส�ำคัญทีเ่ รียกว่า ทีมสหวิชาชีพ 1

หลังจากทีป่ ระเทศไทยถูกลดล�ำดับจากประเทศทีต่ อ้ งจับตามอง ในระดับ Tier 2.5 (ซึ่งได้รับติดต่อกันมาสี่ปีซ้อน) เป็นระดับ Tier 3 ซึง่ ถือว่ารัฐใช้มาตรการป้องกัน ปราบปราม ปัญหาการค้ามนุษย์ได้ตำ�่ กว่า มาตรฐาน (วัดระดับมาตรฐานจากกฎหมายว่าด้วยการค้ามนุษย์ของประเทศ สหรัฐอเมริกา หรืิอ Protection Victims Protection Act 2000) นับจากนัน้ เป็นต้นมา สือ่ มวลชน หน่วยงานราชการ เเละองค์กร พัฒนาเอกชนต่างมีความพยายามที่จะแก้ปัญหาการค้ามนุษย์กันอย่าง คึกคัก ทั้งการตั้งคณะกรรมการ การออกนโยบาย การรณรงค์ การแก้ กฎหมาย ทุกทิศทุกทางล้วนเเล้วเเต่มงุ่ สูป่ ลายทางการขจัดการค้ามนุษย์

นางสาวภัทรานิษฐ์ เยาด�ำ โครงการต่อต้านการค้ามนุษย์ด้านแรงงาน มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนเเละการพัฒนา


1. ท�ำไมต้องตื่นตัวกับการแก้ปัญหาการค้ามนุษย์ ทั้งที่ประเทศไทยมีปัญหามากมายให้ต้องแก้ไข ตั้งเเต่การท�ำนายันปัญหาการขนส่งทางอวกาศ เพราะการค้ามนุษย์คือการละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐานที่สุด ของคน คือสิทธิในเนื้อตัวร่างกายของบุคคลนั้น ผ่านรูปแบบ การเเสวงหาประโยชน์จากการค้าประเวณี การบังคับคนให้ขอทาน การตัดอวัยวะ รวมถึงการบังคับใช้แรงงาน โดยเฉพาะในกิจการ ประมงทะเล เเละท�ำให้การค้ามนุษย์ในกลุ่มเเรงงานกิจการ ประมงทะเลเป็นกลุ่มผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ที่ถูกกล่าวถึง มากที่สุดในขณะนี้

2. แรงงานประมงเป็นใคร? มาจากไหน? แรงงานประมงคือ เเรงงานที่ท�ำงานในกิจการประมง ได้แก่ประมงพื้นบ้าน (ประมงชายฝั่ง) เเละประมงพาณิชย์ เเรงานประมงมีหลายระดับทั้งระดับมีฝีมือ (skills) เช่น ผู้ให้บริการในร้านอาหารบนเรือส�ำราญกลางทะเลเเละระดับ ไม่มีฝีมือ (unskilled) ซึ่งเป็นแรงงานประมงโดยทั่วไปที่เรา สามารถพบเห็นได้บนเรือประมงพาณิชย์ ข้อมูลในปัจจุบัน เเสดงว่ า ประเทศไทยยั ง ต้ อ งการแรงงานประมงประเภทนี้ อีกเป็นจ�ำนวนมาก โดยเฉพาะในกิจการประมงทะเล เนือ่ งจาก ในกิจการส่วนใหญ่ยงั ไม่ได้รบั การปรับปรุงให้ทนั สมัยพอทีจ่ ะใช้ เครื่องจักรหรือแรงงานมีฝีมือเเทนแรงงานไม่มีฝีมือเหล่านี้ได้ ประมาณการจากยอดการจดทะเบียนเรือกว่า 53,141 ล�ำ เเละจากยอดมูลค่าการส่งออกเเค่ไตรมาสที่ 2 ของปี 2556 เป็นจ�ำนวนถึง 899,085.31 ตัน คิดเป็นมูลค่า 109,994.99 ล้านบาท คาดว่ามีเเรงงานกว่า 200,000 คนที่ท�ำหน้าที่เป็น หน่วยผลิตที่ส�ำคัญในกิจการประมงของไทย1[1] และในส่วน ของแรงงานต่างด้าว 3 สัญชาติจากประเทศพม่า กัมพูชา และ ลาวที่ได้รับอนุญาตจากกรมการจัดหางานให้สามารถท�ำงาน ในกิจการประมงทะเลมีเพียง 4,508 คนเท่านั้น3[2] (ข้อมูล ก่อนมีการเปิดให้ขึ้นทะเบียนแรงงานต่างด้าวโดยประกาศของ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ปี 2557) ค�ำถามคือ เเรงงานส่วนต่างที่เหลือกว่าแสนคนนั้น หายไปไหน ค� ำ ตอบคื อ แรงงานที่ ห ายไปยั ง คงอยู ่ เ ป็ น แรงงาน โดยเฉพาะในกิจการประมงทะเล เเต่แรงงานต่างด้าวส่วนใหญ่

2

เเรงงานทีผ่ ดิ กฎหมายหรือแรงงานใต้ดนิ จึงไม่ได้รบั การบันทึก จากรั ฐ ไทยว่ า มี ตั ว ตนเป็ น บุ ค คลที่ เ ข้ า เมื อ งเเละอยู ่ ใ นราช อาณาจักรไทยอย่างถูกกฎหมายหรือที่เราเรียกกันว่า เเรงงาน ต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองนั่นเอง

3. เเล้วเเรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองเหล่านี้ มีความส�ำคัญกับเราอย่างไร สิ่งส�ำคัญประการแรกที่ท�ำให้แรงงานต่างด้าวหลบหนี เข้าเมืองเหล่านี้มีความหมายกับเราและกับรัฐไทย คือ พวกเขาเหล่านี้เป็น “คน” เหมือนเรา และเหมือนกับ นักโทษในคุกอีกกว่า 300,000 คนที่ยังคงเป็นคนเหมือนกัน เเม้ว่าแรงงานต่างด้าวจะเป็นบุคคลที่กระท�ำความผิดพระราช บัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ. 2522 โทษที่ได้รับตามกฎหมายก็คือ การหลบหนีเข้าเมืองเท่านั้น เเต่ความเป็นคนของแรงงาน ต่างด้าวไม่ผิดกฎหมาย สิทธิมนุษยชนจึงยังอยู่ เเละเเน่นอนว่าแรงงานต่างด้าวเหล่านี้ล้วนเเต่เป็น ฟันเฟืองเเละสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจให้กับประเทศไทยอย่าง มหาศาล เเต่เพราะสถานะการหลบหนีเข้าเมืองให้เเรงงาน ต่างด้าวต้องถูกขูดรีดทัง้ จากคนในประเทศเดียวกันเองเเละจาก คนในประเทศไทย ปลายทางของแรงงานต่างด้าวหลายคน จึงกลายเป็นเหยื่อการค้ามนุษย์ บางคนถูกส่งต่อไปยังเรือ หลายล�ำ เป็นเวลานานหลายปี ต้องท�ำงานหนัก กินอยูไ่ ม่สบาย จนสุดท้ายบางคนก็กลายเป็นนายหน้าหาเเรงงานผิดกฎหมาย เสียเอง เเน่นอนว่าไม่ใช่แรงงานต่างด้าวทุกคนที่จะถูกกระท�ำ เช่นนี้ เเต่การถูกละเมิดดังกล่าวเเม้จะเกิดกับคนเพียงคนเดียว ก็ไม่ ใช่เหตุผลที่จะสามารถละเลยได้ไม่ใช่หรือ ดังนัน้ ทางโครงการต่อต้านการค้ามนุษย์ดา้ นแรงงานจึง เห็นว่า หากรัฐไทยตระหนักถึงความส�ำคัญของการแก้ไขปัญหา การค้ามนุษย์อย่างถูกจุดนั้นควบคู่ไปกับการบังคับใช้กฎหมาย เเละบริหารงานยุติธรรมของเพื่อแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ ทั้งระบบ โดยไม่เจาะจงเฉพาะพระราชบัญญัติป้องกันและ ปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 เพียงอย่างเดียว ก็จะ ท�ำให้ทิศทางการแก้ปัญหาการค้ามนุษย์ในประเทศมุ่งไปสู่ จุดเดียวกันคือเคารพถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์กับคนทุกคน อย่างเท่าเทียมมากกว่าการมุ่งที่จะแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ เพราะเหตุผลทางธุรกิจการค้าเท่านั้น

รายงานการศึกษาแนวโน้มความต้องการแรงงานในช่วงปี 2553 – 2557 เข้าถึงได้จาก http://human.aru.ac.th/www/images/stories/Font_Goverment/ 7.pdf (เข้าถึงเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2556) 3 วารสารสถิติจํานวนคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตท�ำงานทั่วราชอาณาจักร ประจ�ำปี 2555 ส�ำนักบริหารแรงงานต่างด้าว กรมจัดหางาน เข้าถึงได้จาก http:// wp.doe.go.th/wp/images/statistic/sy/sy2555.pdf (เข้าถึงเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2556) 2 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


การน�ำนักโทษมาทดแทนแรงงานในกิจการประมง ณัฐรัตน์ อรุณมหารัตน์4

ภายหลังจากที่ประเทศไทยถูกลดอันดับจากบัญชีกลุ่มประเทศที่ 2.5 ประเทศที่ต้องจับตามอง มาอยู่ในบัญชีกลุ่มที่ 3 ซึง่ เป็นกลุม่ ประเทศทีม่ สี ถานการณ์ดา้ นค้ามนุษย์ระดับเลวร้ายทีส่ ดุ เช่นเดียวกับประเทศมาเลเซีย และเวเนซุเอลา แสดงให้เห็นว่า ในสายตาของประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศไทยยังใช้มาตรการป้องกันปราบปรามปัญหาการค้ามนุษย์ได้ต�่ำกว่ามาตรฐาน ที่กฎหมายว่าด้วยการค้ามนุษย์ของประเทศสหรัฐอเมริกา (Victims of Trafficking and Violence Protection Act of 2000) บัญญัติไว้ ท�ำให้หลายหน่วยงานทั้งหน่วยงานราชการ องค์กรพัฒนาเอกชน สื่อมวลชน ผู้ประกอบการ แม้กระทั่งผู้ซื้อผู้บริโภค ต่างมีความตืน่ ตัวและพยายามร่วมกันหาทางออกให้กบั ปัญหาการค้ามนุษย์ไม่วา่ จะในรูปแบบของการตัง้ คณะกรรมการ การออก นโยบาย การรณรงค์ รวมไปถึงการแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองแรงงานและการค้ามนุษย์ แนวคิดการน�ำนักโทษจากเรือนจ�ำมาทดแทนแรงงานใน กิจการประมง ก็เป็นหนึง่ ในความพยายามของกระทรวงแรงงาน ที่ คิ ด ขึ้ น มาเพื่ อ แก้ ไ ขปั ญ หาภาวะการขาดแคลนแรงงานใน เรือประมง โดยมุง่ หวังว่าจะน�ำไปสูก่ ารขจัดปัญหาการใช้แรงงาน ผิดกฎหมายและแรงงานทาส ต่อไปได้ในอนาคต อย่างไรก็ดี แนวนโยบายนี้ก็ได้รับเสียงคัดค้านจากหลายฝ่ายโดยเฉพาะ องค์กรเอกชน ว่าเป็นนโยบายที่มิได้เป็นการแก้ไขที่ตรงจุด และสุ่มเสี่ยงที่นักโทษจะถูกแสวงประโยชน์จากสภาวะความ เปราะบางของตนอีกด้วย เนือ่ งจากนโยบายการน�ำนักโทษจากเรือนจ�ำมาทดแทน แรงงานในกิจการประมงนั้น ผู้ที่ได้รับผลกระทบโดยตรงที่สุด คือ นักโทษ ประกอบกับมีข้อห่วงกังวลถึงความสุ่มเสี่ยงที่จะ ละเมิดสิทธิของนักโทษ จึงจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องศึกษาเรื่อง การใช้แรงงานนักโทษก่อนในขั้นต้นว่า มีกฎหมายไทยฉบับใด ให้การรองรับ และกฎหมายฉบับนัน้ มีความสอดคล้องหรือขัดกัน อย่างไรกับกฎหมายระหว่างประเทศที่มีอยู่ ส�ำหรับประเทศไทยนัน้ กรมราชทัณฑ์กม็ นี โยบายการจัด ให้มกี ารฝึกอาชีพ โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ แก้ไขฟืน้ ฟูสภาพจิตใจ นักโทษ เเละเตรียมความพร้อมให้พวกเขาเหล่านี้สามารถ กลับคืนสู่สังคมได้เมื่อพ้นโทษ ซึ่งนอกจากการฝึกอาชีพแล้ว เรือนจ�ำเองก็ยงั มีการรับงานจากบริษทั เอกชนเข้ามาให้นกั โทษท�ำ ซึ่งในทางปฏิบัติค่าจ้างที่ทางเรือนจ�ำได้รับบางส่วนก็จะน�ำมา แบ่งเป็นค่าเบี้ยเลี้ยงให้แก่นักโทษ โดยงานเช่นนี้ถือเป็นงาน ประเภทหาผลประโยชน์ตามมาตรา 57 ของกฎกระทรวงมหาดไทย ออกตามความในมาตรา 58 แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. 2479 ซึ่งมาตรา 22 ของพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ฯ ก�ำหนดไว้วา่ นักโทษจะต้องท�ำตามค�ำสัง่ ของเจ้าพนักงานเรือนจ�ำ

4

อีกทั้งยังไม่มีสิทธิจะได้รับค่าจ้าง แต่ทางเจ้าพนักงานเรือนจ�ำ ก็สามารถแบ่งรายได้ที่ได้รับมาหักกับค่าใช้จ่าย เช่น ค่าใช้จ่าย ทีต่ อ้ งใช้ในการฝึกอาชีพ เสียก่อนทีจ่ ะให้เป็นรางวัลหรือเบีย้ เลีย้ ง แก่นักโทษได้ ดังนั้น การใช้แรงงานนักโทษโดยปราศจากความ สมัครใจของนักโทษนั้นสามารถท�ำได้ และทางเรือนจ�ำก็ไม่ จ�ำเป็นต้องจ่ายค่าจ้างให้แก่นักโทษด้วย ถ้าหากว่าการใช้งาน นั้นเป็นไปเพื่อการฟื้นฟู และเพิ่มศักยภาพให้แก่นักโทษ เมือ่ พิจารณาประกอบกับกฎหมายระหว่างประเทศ เช่น อนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที่ 29 ว่าด้วย การเกณฑ์แรงงานหรือแรงงานบังคับ พ.ศ. 2473 มาตรา 2 ข้อ 2 (c) ที่ก�ำหนดว่า ค�ำว่า “การบังคับใช้แรงงาน” ตาม อนุสญ ั ญานี้ มิได้หมายความรวมถึง งานหรือบริการใดๆ ทีก่ ระท�ำ โดยผู้ต้องค�ำพิพากษาถึงที่สุด หากงานนั้นได้กระท�ำภายใต้ การควบคุมและการตรวจสอบของพนักงานเจ้าหน้าที่ และ บุคคลนั้นมิได้ถูกจ้างโดยเอกชน กล่าวคือ อนุสัญญาฉบับนี้ ห้ามมิให้มกี ารบังคับใช้แรงงาน เว้นแต่จะเป็นการบังคับใช้แรงงาน นักโทษ ภายใต้การควบคุมดูแลของพนักงานเจ้าหน้าที่ สรุปได้ว่าภายใต้กรอบของกฎหมายไทยและกฎหมาย ระหว่างประเทศ การใช้แรงงานนักโทษสามารถกระท�ำได้ หาก เป็นไปเพือ่ ประโยชน์สาธารณะ หรือเพือ่ เป็นการฟืน้ ฟู เยียวยา เตรียมความพร้อมกลับเข้าสูส่ งั คม แต่หากรัฐบาลประสงค์จะน�ำ นักโทษมาท�ำงานในเรือประมง สิ่งที่รัฐบาลต้องพิจารณา คือ หน่วยงานที่รับผิดชอบจะก�ำหนดให้งานบนเรือประมงนั้นเป็น งานประเภทหาผลประโยชน์ตามพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ฯ ที่นักโทษไม่มีสิทธิได้รับค่าจ้างเพื่อแลกกับการฝึกอาชีพ หรือ จะให้เป็นงานตามสัญญาจ้างแรงงาน ที่นักโทษต้องได้รับ การคุม้ ครองภายใต้พระราชบัญญัตคิ มุ้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541

เขียนโดย นางสาวณัฐรัตน์ อรุณมหารัตน์ ผู้ประสานงานโครงการต่อต้านการค้ามนุษย์ด้านแรงงงาน มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนเเละการพัฒนา Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 3


หากการน�ำนักโทษมาท�ำงานบนเรือประมงเป็นงาน ตามพระราชบัญญัตริ าชทัณฑ์ฯ ค�ำถามทีต่ ามมาคือ สภาพการ ท�ำงานและเงือ่ นไขการจ้างงานบนเรือประมงมีความเหมาะสม ส�ำหรับการฟื้นฟูและบ�ำบัดสภาพจิตใจของนักโทษหรือไม่ แต่ถ้าหากนโยบายนี้เป็นการจ้างงานตามสัญญาจ้าง แรงงานโดยเอกชน เพื่อประโยชน์ของเอกชน ก็ยังเกิดค�ำถาม เดียวกันว่าจากสภาพการท�ำงานและเงือ่ นไขการจ้างงานบนเรือ

ประมงที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน เราจะมั่นใจได้อย่างไรว่าจะไม่มี การบังคับใช้แรงงานเกิดขึ้นกับนักโทษกลุ่มดังกล่าว เพราะ องค์ประกอบของแรงงานบังคับนัน้ มิได้ขนึ้ อยูก่ บั ความสมัครใจ ของแรงงานเพียงอย่างเดียว เเต่ตอ้ งพิจารณาองค์ประกอบอืน่ อีก เช่น สภาพและระดับความอันตรายของงาน สภาพที่อยู่อาศัย ที่ไม่ถูกสุขลักษณะ และชั่วโมงการท�ำงานที่ยาวนาน เป็นต้น จึงเห็นได้วา่ ณ ขณะนี้ นโยบายการน�ำนักโทษมาท�ำงาน บนเรือประมงนั้นยังไม่เหมาะสมที่จะน�ำมาใช้ในทางปฏิบัติ เพราะเรื อ ประมงไทยยั ง ไม่ มี ม าตรฐานเพี ย งพอที่ จ ะสร้ า ง ความเชื่อมั่นให้กับนักโทษ หรือผู้ซื้อผู้บริโภคได้เลยว่าจะไม่มี การบั ง คั บ ใช้ แ รงงานเกิ ด ขึ้ น ประกอบกั บ การแก้ ไ ขปั ญ หา การขาดแคลนแรงงานโดยการทดแทนด้วยแรงงานอีกกลุม่ หนึง่ เป็นการแก้ไขที่ปลายเหตุและเฉพาะหน้า หากกิจการประมง ไทยสามารถยกระดั บ เรื อ ให้ มี ค วามปลอดภั ย ทั น สมั ย ตรวจสอบได้ ลูกจ้างได้รับสวัสดิการ ค่าจ้างที่เป็นธรรม ก็จะ สามารถเพิม่ แรงจูงใจให้แรงงานสนใจมาท�ำงานในกิจการประมง ได้มากขึ้น และเมื่อถึงเวลานั้นการจะน�ำนักโทษมาท�ำงาน บนเรือประมงก็จะมิใช่ประเด็นปัญหาอีกต่อไป

โรฮิงญากับการจัดการของรัฐไทย ปภพ เสียมหาญ5

โรฮิงญากับรูปแบบการค้ามนุษย์ตามกฎหมายไทย การอพยพเข้ามาในประเทศไทยของชาวโรฮิงญา ไม่ได้ เกิดขึ้นเพียงแค่ในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา แต่กลับมีข้อเท็จจริง พบว่า ชาวโรฮิงญาอพยพเข้ามาในประเทศไทยตั้งแต่เมื่อ หลายสิบปีกอ่ น โดยเหตุผลถึงการอพยพเข้ามาในประเทศไทย ก็เพือ่ ความปลอดภัยและการแสวงหาชีวติ ทีด่ กี ว่า แต่เนือ่ งจาก ในขณะนั้นประเทศไทยมีนโยบายออกบัตรประจ�ำตัวให้กับ “บุคคลผู้ไม่มีสถานะทางทะเบียน” ให้กับคนต่างด้าวที่รอ การด�ำเนินการพิสจู น์สญ ั ชาติ รวมกับประเทศไทยก�ำลังประสบ ปัญหาขาดแรงงาน จึงท�ำให้ชาวโรฮิงญาที่อพยพเข้ามาใน ประเทศไทย ได้รับการผ่อนปรนให้อาศัยอยู่ในประเทศไทย และสามารถประกอบอาชีพได้

5

ปัจจุบนั จ�ำนวนชาวโรฮิงญาทีอ่ พยพเข้ามาในประเทศไทย มีจ�ำนวนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากมีนายหน้าหลายกลุ่มอ�ำนวย ความสะดวกให้กับผู้ที่ต้องการออกจากพื้นที่ทั้งในรัฐอาระกัน และประเทศบังคลาเทศ โดยมีขอ้ เสนอทีน่ า่ สนใจคือ การพาไป ท�ำงานในประเทศมาเลเซีย การอ�ำนวยความสะดวกจัดหาพาหนะ และสามารถผ่อนค่าเดินทางได้ภายหลังจากที่ได้ท�ำงานแล้ว แต่ในความเป็นจริงแล้วชาวโรฮิงญาที่ตอบรับข้อเสนอ กลับมี ชีวิตที่ล�ำบาก ต้องเดินทางโดยเรือประมงที่มีชาวโรฮิงญาอยู่ใน เรืออย่างแออัด ได้กินข้าวเพียงวันละมื้อเท่านั้น ประเด็นของชาวโรฮิงญาในประเทศไทยมีการหยิบยก น�ำขึ้นมาพูดในหลายเวที และได้รับความสนใจจากประชาชน เป็นจ�ำนวนมาก ไม่ว่าจะเป็นประเด็นการให้ความช่วยเหลือ ทางด้านมนุษยธรรมหรือประเด็นชาวโรฮิงญากับความมั่นคง ของประเทศไทย แต่ประเด็นที่ได้รับความสนใจมากที่สุดคือ

เขียนโดย นายปภพ เสียมหาญ ผู้ประสานงานฝ่ายคดี โครงการต่อต้านการค้ามนุษย์ด้านแรงงาน มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนเเละการพัฒนา 4 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


“โรฮิงญากับการค้ามนุษย์” สื่อหลายๆ ส�ำนักมักตีข่าวว่าชาว โรฮิงญาคือผู้ที่ถูกค้ามนุษย์ ซึ่งหากพิจารณาตามกฎหมาย พระราชบัญญัตปิ อ้ งกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 ผูท้ จี่ ะตกเป็นเหยือ่ จากการค้ามนุษย์ได้นนั้ จะต้องเข้าองค์ประกอบ คือ การถูกขาย พามาจาก ส่งไปที่ใด หน่วงเหนี่ยว กักขัง โดยวิธีการ ข่มขู่ ใช้ก�ำลัง ลักพาตัว หลอกลวง อีกทั้งต้องมี องค์ประกอบส�ำคัญของกฎหมายฉบับนี้กล่าวคือ การน�ำมา “แสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ” การแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบตามพระราชบัญญัติ ป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ฯ ประกอบไปด้วยหลาย วิธีด้วยกัน แต่หากจะกล่าววิธีการแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ ทีส่ ามารถน�ำมาปรับใช้กบั กรณีของชาวโรฮิงญาได้มอี ยู่ 3 กรณี ได้แก่ - การบังคับใช้แรงงาน กรณีถูกขายเพื่อใช้แรงงาน - การเอาคนลงเป็นทาส กรณีมกี ารปฏิบตั ติ อ่ ชาวโรฮิงญา ในลักษณะการปฏิบัติต่อทาสในอดีต - การอื่นใดที่คล้ายคลึงกันอันเป็นการขูดรีดบุคคล กรณี ชาวโรฮิ ง ญาถู ก เอารั ด เอาเปรี ย บอย่ า งไม่ เ ป็ น ธรรม การท�ำให้ต้องชดใช้หนี้ที่ไม่ถูกต้อง หรือการเรียกค่าไถ่ เป็นต้น ดังนั้น เมื่อมองข้อเท็จจริงตามที่ปรากฏจะเห็นว่าชาว โรฮิงญาทีเ่ ข้ามาในประเทศไทยสามารถจ�ำแนกได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ ชาวโรฮิงญาที่เป็น ผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์และชาว โรฮิงญาที่ไม่ได้เป็นผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ อย่างไรก็ตาม ผู้ที่มีอ�ำนาจในการระบุว่าชาวโรฮิงญาคนใดเป็นผู้เสียหายจาก การค้ามนุษย์คือ ทีมสหวิชาชีพและพนักงานสอบสวน ที่เข้า ด�ำเนินกระบวนการคัดแยกเหยื่อผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ แก่ชาวโรฮิงญา

โรฮิงญากับการแก้ไขปัญหาระหว่างรัฐ ชาวโรฮิงญาในประเทศไทยปัจจุบันส่วนใหญ่ถูกกักขัง ในห้องกัก ด้วยระเบียบและมาตรการของส�ำนักงานตรวจคน เข้าเมือง และตามพระราชบัญญัตคิ นเข้าเมือง พ.ศ. 2522 เพือ่ รอด�ำเนินการส่งกลับประเทศต้นทาง แต่ดว้ ยกฎหมายพลเมือง ค.ศ. 1982 ของประเทศพม่า (Burma Citizenship Law of 1982) มิได้บัญญัติชาติพันธุ์ที่เป็นโรฮิงญาไว้ว่าเป็นประชาชน สัญชาติพม่าท�ำให้กระบวนการพิสูจน์สัญชาติของชาวโรฮิงญา ที่ประเทศต้นทางเป็นไปอย่างล่าช้า ชาวโรฮิงญาที่ถูกกักอยู่ใน ประเทศไทยจึ ง ไม่ ส ามารถส่ ง กลั บ ประเทศต้ น ทางได้ แ ละ ต้องถูกกักอยู่ในห้องกักเป็นระยะเวลานาน แม้ รั ฐ ไทยจะพยายามที่ จ ะแก้ ไ ขปั ญ หาชาวโรฮิ ง ญา ล้นห้องกักก็ตาม แต่ก็ไม่สามารถแก้ไขได้อย่างเต็มที่ ในขณะที่ ชาวโรฮิงญาอพยพเข้ามาในประเทศไทยมีจำ� นวนเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ

มากกว่านัน้ นโยบายของภาครัฐยังแสดงให้เห็นว่า รัฐไทยไม่สามารถ รองรับชาวโรฮิงญาที่อพยพเข้ามาได้อีกต่อไป คือนโยบาย การผลักดันกลับประเทศพม่า ซึ่งเป็นนโยบายที่ขัดต่อหลักการ ห้ามผลักดันกลับ (non-refoulment) ที่บัญญัติไว้ในอนุสัญญา ระหว่างประเทศหลายๆ ฉบับ ซึง่ ถึงแม้วา่ ไทยจะไม่ได้เป็นภาคี ในอนุสัญญานั้นๆ แต่หลักการห้ามผลักดันกลับ (non-refoulment) ก็ได้ถูกปฏิบัติมาจนกลายเป็นกฎหมายจารีตประเพณี ระหว่างประเทศทีป่ ระเทศไทยควรพึงปฏิบตั เิ ช่นเดียวกับนานาชาติ การแก้ปญ ั หาการเข้ามาของชาวโรฮิงญาในประเทศไทย จะสามารถแก้ไขได้โดยอาศัยความร่วมมือจากหลายๆ ฝ่าย ทัง้ ระดับภายในประเทศและระดับนานาชาติ ซึง่ ประการส�ำคัญ ทีจ่ ะแก้ไขปัญหาของชาวโรฮิงญาได้คอื การหารือร่วมกับรัฐบาล พม่า และรัฐบาลบังคลาเทศ ให้เห็นปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ในประเทศไทย และร่วมมือกับรัฐบาลไทยในการแก้ปัญหา อย่างไรก็ตาม การแก้ปัญหาชาวโรฮิงญาในประเทศไทยยังสามารถท�ำได้ โดยปฏิบัติตามแนวทางดังต่อไปนี้ - แสดงจุดยืนที่ชัดเจนของรัฐบาลไทย ถึงสถานภาพ ของชาวโรฮิงญาในประเทศไทย ว่าอยู่ในสถานะใด และปฏิบัติ ต่อชาวโรฮิงญาตามกรอบกฎหมายของไทยและกฎหมายระหว่าง ประเทศ นอกจากจะเป็นการแก้ไขปัญหายังท�ำให้รัฐบาลไทย มีภาพลักษณ์ในการแก้ไขปัญหาชาวโรฮิงญาที่ดีขึ้น - สนับสนุให้เจ้าหน้าที่จากส�ำนักงานข้าหลวงใหญ่ ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ หรื United Nations High Commissioner for Refugees (UNHCR) ให้สามารถเข้ามาร่วม แก้ไขปัญหาชาวโรฮิงญา โดยการจัดท�ำทะเบียนประวัติ ข้อมูล พื้นฐาน ประวัติส่วนตัว เพื่อประโยชน์ในการส่งกลับประเทศ ต้นทางหรือประเทศทีส่ าม การสนับสนุนให้ UNHCR ด�ำเนินการ เก็บข้อมูลกลุ่มชาวโรฮิงญาท�ำให้ประเทศต้นทางอย่างประเทศ พม่าและบังคลาเทศ ไม่สามารถปฏิเสธความรับผิดชอบได้ การก�ำหนดพื้นที่เพื่อจัดตั้งศูนย์พักพิงหรือศูนย์ผู้ลี้ภัยชั่วคราว ก่อนเดินทางต่อไปยังประเทศต้นทางหรือประเทศทีส่ าม ก็เป็น อีกหนทางที่จะช่วยแก้ไขปัญหาชาวโรฮิงญาล้นห้องกัก - ปราบปรามขบวนการขนชาวโรฮิงญา และผู้ที่มีส่วน เกี่ยวข้องโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่รัฐอย่างจริงจัง เพื่อตัดตอน ขบวนการทีเ่ ป็นปัจจัยในการสร้างปัญหา ซึง่ นอกจากจะเป็นการ แก้ปัญหาการเข้ามาของชาวโรฮิงญาได้ ยังสามารถแก้ปัญหา อื่นๆ ที่ขบวนการดังกล่าวนี้เข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องได้อีกด้วย โดยแนวทางทั้งหมดจะต้องค�ำนึงถึงการปฏิบัติต่อชาว โรฮิงญาตามหลักสิทธิมนุษยชนและการเคารพศักดิศ์ รีความเป็น มนุษย์ในตัวชาวโรฮิงญา ไม่ว่าจะเป็นทั้งในประเทศไทยหรือ ประเทศที่ต้นทาง เพื่อเป็นปัจจัยในความยั่งยืนของการอาศัย อยู่ร่วมกันได้อย่างสงบสุข

Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 5


Decent work, Decent life for Domestic Workers6 งานที่มีคุณค่า งานที่มีชีวิต เพื่อลูกจ้างท�ำงานบ้าน เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2554 ที่ประชุมองค์กรด้านแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ได้มีมติให้มีการรับรอง อนุสัญญาฉบับ ที่ 189 ว่าด้วยงานที่มีคุณค่าส�ำหรับลูกจ้างท�ำงานบ้าน (C-189 Domestic Workers Convention, 2011) มีผลบังคับใช้ วันที่ 5 กันยายน 2556 เพื่อก�ำหนดเป็นมาตรฐานในการคุ้มครองลูกจ้างท�ำงานบ้าน ปัจจุบัน มีประเทศภาคีสมาชิกขององค์กร ด้านแรงงานระหว่างประเทศให้สัตยาบันแล้ว 14 ประเทศ โดยประเทศฟิลิปปินส์ เป็นเพียงชาติเดียวในภูมิภาคเอเชีย ที่ได้ ให้สัตยาบันในอนุสัญญาฉบับดังกล่าว ข้อมูลของไอแอลโอ ระบุว่า มีลูกจ้างท�ำงานบ้านอยู่ทั่วโลกประมาณ 85 ล้านคน โดยมี แรงงานจ�ำนวน 20 ล้านคน ที่เป็นลูกจ้างท�ำงานบ้านอยู่ในภูมิภาคเอเชีย แรงงานย้ายถิ่นซึ่งรวมถึงลูกจ้างท�ำงานบ้าน นับว่าเป็น แรงก�ำลังส่วนหนึง่ ในการขับเคลือ่ นหรือช่วยพัฒนาทางเศรษฐกิจ ของประเทศปลายทางให้มีความเจริญรุ่งเรือง และในขณะ เดียวกันการจ้างงานก็ชว่ ยให้แรงงานเองสามารถมีชวี ติ และโอกาส ทางอาชี พ ที่ ดี ขึ้ น ซึ่ ง สถานการณ์ ดั ง กล่ า วจะเกิ ด ขึ้ น ได้ น้ั น ประเทศที่รับจะต้องมีนโยบายหรือการเคารพสิทธิของแรงงาน โดยไม่เลือกปฏิบัติ ในส่วนของแรงงานย้ายถิ่นและลูกจ้าง ท�ำงานเองก็ต้องได้รับข้อมูลด้านนโยบายและสถานการณ์ การจ้างงานพอสมควร เพื่อให้แรงงานได้มีโอกาสเข้าถึงข้อมูล และกลไกการคุ้มครองสิทธิในประเทศที่แรงงานเข้ามาท�ำงาน นั้นด้วย และด้วยวันที่ 18 ธันวาคม ของทุกปี ทางองค์การ สหประชาชาติได้ถือให้เป็นวันย้ายถิ่นสากล ดังนั้นในปีนี้ทาง มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ซึ่งเป็นองค์กรพัฒนา เอกชนที่ด�ำเนินกิจกรรมด้านการสนับสนุนให้แรงงานข้ามชาติ เข้าถึงความเป็นธรรม จึงขอน�ำเสนอภาพสถานการณ์ของ แรงงานข้ามชาติ ที่เป็นลูกจ้างท�ำงานบ้าน สภาพปัญหาและ ข้อเสนอเพื่อให้เกิดการปกป้องและคุ้มครองคุณภาพชีวิตของ ลูกจ้างท�ำงานบ้าน

กฎหมายและนโยบาย ต่อลูกจ้างท�ำงานบ้านในประเทศไทย ปัจจุบัน กระทรวงแรงงาน ได้คาดการณ์ว่ามีลูกจ้าง ท�ำงานบ้านอยู่ในประเทศไทย ประมาณ 300,000 คน โดยมี ลูกจ้างท�ำงานบ้านจากประเทศเพื่อนบ้าน คือ พม่า ลาว และ กัมพุชา จ�ำนวนประมาณ 45,000 คน ซึง่ แรงงานกลุม่ ดังกล่าว ได้รบั การจดทะเบียนเป็นแรงงานข้ามชาติตามนโยบายของรัฐไทย ทีป่ ระกาศใช้ครัง้ แรกเมือ่ ปี 2539 โดยลูกจ้างท�ำงานบ้านจะได้รบั การคุ้มครองตามกฎหมายไทย ดังต่อไปนี้ 6 บทความนี้ใช้น�ำเสนอในงานวันแรงงานย้ายถิ่นสากล

1. กฎกระทรวง (พ.ศ. 2541) ออกตามพระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (2) ลงวันที่ 19 สิงหาคม 2541 ซึง่ ก�ำหนดการคุม้ ครองสิทธิของลูกจ้างท�ำงานบ้านเพียงบางส่วน อันเป็นเหตุให้ลูกจ้างท�ำงานบ้านยังไม่ได้รับการคุ้มครองสิทธิ ขัน้ พืน้ ฐานบางประการ เช่น ค่าจ้างขัน้ ต�ำ่ วันหยุด เช่น วันหยุด ประจ�ำสัปดาห์ วันหยุดตามประเพณี วันหยุดพักผ่อนประจ�ำปี เป็นต้น รวมถึงการยกเว้นการใช้แรงงานที่ก�ำหนดอายุขั้นต�่ำ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ด้วย 2. กฎกระทรวงฉบับที่ 14 (พ.ศ. 2555) ออกตามความ ในพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ลงวันที่ 30 ตุลาคม 2555 ที่ได้ก�ำหนดสิทธิเพิ่มเติมให้แก่ลูกจ้างท�ำงาน บ้าน 7 ประการ ได้แก่ 2.1 ก�ำหนดให้มวี นั หยุดประจ�ำสัปดาห์ ไม่นอ้ ยกว่า สัปดาห์ละ1 ครั้ง (มาตรา 28) 2.2 ก�ำหนดให้นายจ้างต้องจัดให้มีวันหยุดตาม ประเพณีปีละไม่น้อยกว่า13 วัน ซึ่งรวมถึงวันแรงงานแห่งชาติ ด้วย และหากวันหยุดตามประเพณีตรงกับวันหยุดประจ�ำสัปดาห์ ให้ลูกจ้างหยุดเป็นวัน หยุดชดเชยเพิ่มอีก 1 วัน (มาตรา 29) 2.3 ก�ำหนดให้ลกู จ้างทีท่ ำ� งานครบ 1 ปี มีสทิ ธิหยุด พักผ่อนประจ�ำปิ ปีละไม่เกิน 6 วันท�ำงาน (มาตรา 30) 2.4 ก�ำหนดให้ลกู จ้างมีสทิ ธิล์ าป่วยตามทีป่ ว่ ยจริงได้ และหากลา 3 วันขึ้นไป นายจ้างสามารถขอใบรับรองยืนยันจ้าง ลูกจ้างได้ (มาตรา 32) 2.5 ก�ำหนดให้หา้ มมีให้จา้ งเด็กอายุตำ�่ กว่า 15 ปี และให้นายจ้างจ่ายค่าจ้างแก่เด็กโดยตรง (มาตรา 44,51 ว.2) 2.6 ก�ำหนดให้ลูกจ้างที่ท�ำงานในวันหยุดต้องได้ รับเงินค่าท�ำงานในวันหยุด (มาตรา 56) 2.7 ก�ำหนดให้ลูกจ้าง ต้องได้รับค่าจ้างในวันที่ ลาป่วยโดยไม่เกิน 30 วันท�ำงาน (มาตรา 57 ว.1)

เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2557 จัดโดย Migrant Working Group

6 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


ทั้งนี้ยังมีการคุ้มครองการห้ามมิให้นายจ้างกระท�ำการ ล่วงเกินทางเพศต่อลูกจ้างที่เป็นหญิงหรือเด็กด้วย นอกจากนี้ ยังมีกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับการคุม้ ครองสิทธิ ของแรงงาน ที่ส�ำคัญอีกสองฉบับ แต่มิได้ใช้บังคับกับลูกจ้าง ท�ำงานบ้าน ได้แก่ 1. พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตรา 5 กฎหมายฉบับนี้ มุ่งคุ้มครองสิทธิประโยชน์ของลูกจ้างไว้ทั้งสิ้น 7 ประการ ได้แก่ กรณีเจ็บป่วยหรือประสบอันตราย กรณี คลอดบุตร กรณีทพุ พลภาพ กรณีเสียชีวติ กรณีสงเคราะห์บตุ ร กรณีชราภาพ และกรณีว่างงาน 2. พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 มาตรา 5 กฎหมายฉบับนี้ มุง่ คุม้ ครองลูกจ้างทีป่ ระสบอันตรายหรือเจ็บป่วย เนื่องจากการท�ำงาน แม้ว่าทางรัฐไทย จะมีความพยายามในการแก้ไขกฎ กระทรวงให้เป็นไปในทางคุ้มครองสิทธิของลูกจ้างท�ำงานบ้าน มากขึ้น แต่การคุ้มครองสิทธิส�ำหรับกลุ่มลูกจ้างท�ำงานบ้าน ทีท่ ำ� งานให้กบั นายจ้างในสถานทีพ่ กั ซึง่ เป็นทีร่ โหฐานนัน้ ยังนับ ว่าเป็นเรื่องยากและเป็นที่มาของความเสี่ยงที่จะท�ำให้ลูกจ้าง ถูกละเมิดสิทธิและถูกจ�ำกัดเสรีภาพโดยนายจ้าง เพราะสภาพ การจ้างงานไม่มกี ำ� หนดชัว่ โมงการท�ำงานและเลิกงานทีช่ ดั เจน จึงท�ำให้มขี า่ วทีป่ รากฎเรือ่ งการละเมิดสิทธิของลูกจ้างท�ำงานบ้าน ต่อสังคมออกมาเป็นระยะๆ เช่น ข่าวทีล่ กู จ้างสามารถหนีออก มาจากบ้านของนายจ้าง เพือ่ ขอความช่วยเหลือจากบุคคลภายนอก และหลายกรณีพบว่าลุกจ้างถูกกระท�ำการละเมิดทางร่างกาย และจิตใจอย่างรุนแรง หรือเป็นแรงงานทีถ่ กู นายจ้างหลอก หรือ ลักพาตัวมาท�ำงาน เป็นต้น มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา (HRDF) ได้ ด�ำเนินการให้ความช่วยเหลือลูกจ้างท�ำงานบ้าน ซึง่ เป็นผูเ้ สียหาย ในคดีอาญา จากการกระท�ำละเมิดของนายจ้างหลายกรณี ซึ่งมีทั้งกรณีที่เป็นการละเมิดสิทธิในชีวิต ร่างกาย จิตใจ และ การละเมิดสิทธิแรงงานของลูกจ้างท�ำงานบ้าน เช่น การไม่จา่ ย ค่าจ้าง หรือบังคับใช้แรงงานด้วย มูลนิธฯิ ได้รวบรวมกรณีศกึ ษา และน�ำเสนอถึงเส้นทางการเข้าถึงความเป็นธรรมของลูกจ้าง

ท�ำงานบ้าน ในสามกรณี โดยหวังว่าจะน�ำไปสู่ การปรับปรุง กระบวนการคุม้ ครองสิทธิและสวัสดิการของลูกจ้างท�ำงานบ้าน ต่อไป กรณีศกึ ษาที่ 1: นางสาวมาซู ถูกนายจ้างท�ำร้ายร่างกาย จนบาดเจ็บสาหัส เป็นเหตุให้เสียชีวิต

เหตุการณ์ดังกล่าวเกิดเมื่อปี 2545 เมื่อนางสาวมาซู อายุ 18 ปี เดินทางข้ามชายแดนฝั่งเมียวดีมายังประเทศไทย โดยมีนายหน้าเป็นผูจ้ ดั หางานให้ นางสาวมาซูทำ� งานเป็นลูกจ้าง ท�ำงานบ้านให้แก่นายจ้างที่จังหวัดลพบุรี แต่เมื่อนางสาวมาซู ท�ำงานได้ประมาณสามเดือน ก็ถูกนายจ้างกล่าวหาว่านางสาว มาซูลักทรัพย์ของนายจ้างไป แต่เมื่อนางสาวมาซูปฏิเสธก็ถูก นายจ้างท�ำร้ายร่างกายโดยการทารุณกรรม เช่น ทุบตี ใช้ น�ำมันก๊าซราดตัว และจุดไฟเผาร่างกาย เป็นเหตุให้นางสาวมาซู บาดเจ็บสาหัส โดยนายจ้างมิได้ให้การรักษา อีกทั้งยังได้ขัง นางสาวมาซูไว้ในห้องพักภายในบ้านพักของนายจ้างโดยไม่ให้ อาหารเป็นระยะเวลาสามวันและยังถูกท�ำร้ายร่างกายนางสาว มาซูอีก จนนายจ้างคิดว่านางสาวมาซูน่าจะเสียชีวิตแล้ว จึงได้ น�ำร่างของนางสาวมาซูมาทิง้ ไว้ตรงข้างถนน กระทัง่ มีพลเมืองดี มาพบและช่วยน�ำนางสาวมาซูไปรักษาตัวทีโ่ รงพยาบาลจังหวัด อุทัยธานี นางสาวมาซูได้รับการรักษาเป็นระยะเวลา 9 วัน จึงเสียชีวิต เหตุการณ์ดังกล่าวผ่านไปสองปี ทางพนักงาน อัยการจังหวัดอุทยั ธานี จึงได้เป็นโจทก์ยนื่ ฟ้องนายจ้างสองคน เป็นเลขคดีด�ำที่ 1089/2547 ข้อหา “ฆ่าผู้อื่นโดยทรมาน และกระท�ำทารุณโหดร้าย ร่วมกันหน่วงเหนียวท�ำให้ผู้อื่น ปราศจากเสรีภาพในร่างกาย ร่วมกันให้คนต่างด้าวพักอาศัย ซ่ อ นเร้ น หรื อ ช่ ว ยเหลื อ ให้ พ ้ น จากการจั บ กุ ม และร่ ว มกั น รับบุคคลต่างด้าวที่ไม่มีใบอนุญาตโดยฝ่าฝืนกฎหมาย” คดี ดั ง กล่ า วใช้ ร ะยะเวลาเกื อ บสิ บ ปี ใ นการพิ จ ารณา เนื่องจากมีการใช้สิทธิในการต่อสู้คดีของฝ่ายจ�ำเลยที่เป็น นายจ้างจนถึงศาลฎีกา ซึ่งเป็นศาลสุงสุด โดยเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2555 ศาลจังหวัดอุทัยธานี ได้อ่านค�ำพิพากษา ศาลฎีกา เห็นว่าการกระท�ำความผิดของนายจ้าง ที่เป็นจ�ำเลย ที่ 1 มีความผิดฐานท�ำร้ายผู้อื่นจนถึงแก่ความตาย ร่วมกันให้ คนต่างด้าวเข้าพักอาศัยและร่วมกันหน่วงเหนี่ยวกักขัง ลงโทษ จ�ำคุก 17 ปี 4 เดือน ส่วนนายจ้างที่เป็นจ�ำเลยที่ 2 ให้ลงโทษ จ�ำคุก 4 ปี และยกฟ้องส�ำหรับความผิดฐานรับคนต่างด้าวที่ ไม่มใี บอนุญาตเข้าท�ำงาน และริบของกลางทีเ่ ป็นรถยนต์กระบะ แม้ว่านายจ้างจะได้รับการลงโทษตามกฎหมายอาญา แล้วก็ตามแต่นายจ้างได้ละเมิดสิทธิแรงงานของนางสาวมาซู โดยการไม่จา่ ยค่าจ้างเพราะอ้างว่าต้องหักกับค่าใช้จา่ ยทีน่ ายจ้าง จ่ายให้กบั นายหน้า ซึง่ ทายาทของนางสาวมาซูกย็ งั ไม่ได้รบั เงิน ดังกล่าวจากนายจ้างและไม่สามารถ เข้าถึงเงินเยียวยาตามพระราช บัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่ Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 7


จ�ำเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 ได้อกี ด้วย เนือ่ งจากยังขาดกลไก ล้อคด้วยกุญแจมือ จากนัน้ นายจ้างได้นำ� นางสาว ก. ไปอาบน�ำ้ การประสานงานระหว่างหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องกับการช่วยเหลือ และน�ำไปขังไว้ในห้องพักทีม่ เี ครือ่ งรับโทรทัศน์และล้อคกุญแจมือ นางสาว ก. ไว้กับหน้าต่างของห้องพัก แล้วนายจ้างได้น�ำ ผู้เสียหายและญาติของผู้เสียหายจากประเทศต้นทาง กรณีศกึ ษาที่ 2: นางสาว ก. และนางสาว ข. (นามสมมุต)ิ นางสาว ข. ไปอาบน�้ ำ แล้ ว น� ำ มาขั ง ไว้ ใ นห้ อ งเดี ย วกั น กั บ นางสาว ก. แล้วนายจ้างได้เปิดภาพวีดโี อลามกให้ลกู จ้างทัง้ สอง ถูกนายจ้างข่มขืนจนได้รับบาดเจ็บสาหัส นางสาว ก. เดินทางมาจากจังหวัดทวาย ประเทศพม่า ดูแล้วนายจ้างเริม่ ข่มขืนนางสาว ข. จ�ำนวน 2 ครัง้ หลังจากนัน้ ผ่านช่องทางเกาะสอง จังหวัดระนอง เพื่อเข้ามาท�ำงานใน นายจ้างได้นำ� นางสาว ก. ไปทีช่ นั้ บนของบ้านและล้อคกุญแจมือ ประเทศไทย เมือ่ ประมาณปี 2546 โดยได้รบั อนุญาตให้ทำ� งาน ไว้กับราวบ้านได นางสาว ก. ขอยาแก้ปวดจากนายจ้างและ ในประเทศไทยเป็นการชัว่ คราว ต่อมาวันที่ 29 มกราคม 2549 ขอรับประทานอาหารแต่นายจ้างปฏิเสธ โดยอ้างว่าอีกไม่นาน ได้มเี จ้าหน้าทีต่ ำ� รวจหญิงรายหนึง่ ได้ชกั ชวนให้นางสาว ก. และ ลูกจ้างก็จะเสียชีวิตแล้ว และนายจ้างก็ได้ออกจากบ้านพักไป นางสาว ข. ซึง่ เป็นเพือ่ นกัน ไปท�ำงานเป็นแม่บา้ นและเลีย้ งเด็ก กระทัง่ ในช่วงค�ำ่ ได้มชี ายคนขับรถมาทีบ่ า้ นของนายจ้างเพือ่ ปลด ให้กับเพื่อนของตน และ นางสาว ก. และนางสาว ข. จึงตกลง กุญแจมือ แล้วให้ลูกจ้างทั้งสองสวมเสื้อผ้าและให้น�ำกระเป๋า ท�ำงานเป็นลูกจ้างท�ำงานบ้านและพี่เลี้ยงเด็ก และเดินทางไป เสือ้ ผ้าขึน้ รถแล้วชายคนขับรถได้นำ� ทัง้ สองไปส่งให้ให้คนขับรถ ท�ำงานที่บ้านนายจ้างคนใหม่ในวันเดียวกัน เมื่อไปถึงพบว่ามี บรรทุกสิบล้อ โดยคนขับรถบรรทุกสิบล้อได้น�ำลูกจ้างทั้งสอง นายจ้างซึ่งเป็นชายไทย หนึ่งคน โดยนายจ้างคนดังกล่าวสั่งให้ ไปพักที่ห้องแถวที่บ้านส้อง ของอ�ำเภอเวียงสระ รุง่ เช้าวันที่ 31 มกราคม 2549 นางสาว ก. และนางสาว ลูกจ้างทั้งสองคนท�ำงานบ้าน เมื่อท�ำเสร็จแล้วจึงให้ไปชั้นบน ของบ้านเพื่อดูทีวี เวลาผ่านไปไม่นาน นายจ้างชาย ได้อ้างว่ามี ข. ได้พบกับชาวพม่า จึงได้ขอความช่วยเหลือโดยใช้โทรศัพท์ สุนัขเห่าและสั่งให้ลูกจ้างทั้งสองไปดูว่ามีใครมาที่บ้านหรือไม่ ติดต่อไปยังพี่สาวของนางสาว ก. ซึ่งท�ำงานอยู่ในอ�ำเภอเมือง แต่เมือ่ ลูกจ้างลงไปดูแล้วไม่พบใคร นายจ้างจึงสัง่ ให้นางสาว ก. สุราษฎร์ธานี นางสาว ก. เริม่ มีอาการปวดท้อง และต่อมาพีช่ าย ขึน้ ไปดูขา้ งบนบ้านอีกครัง้ และเมือ่ นางสาว ก. ขึน้ ไปแล้วไม่พบ นางสาว ข. และพี่สาวของนางสาว ก. ได้มารับ และได้พา สิง่ ใด จึงเดินทางลงมาทีช่ นั้ ล่างของบ้าน และพบว่า นางสาว ข. นางสาว ก. ไปพบหมอที่คลินิกแห่งหนึ่งเพื่อตรวจหาอาการ ถูกใส่กญ ุ แจมือมัดไว้กบั ราวบันได นางสาว ก. จึงพยายามวิง่ หนี แพทย์ที่คลินิกไม่ได้ท�ำการรักษาเนื่องจากเห็นว่านางสาว ก. แต่ไม่สามามารถหนีออกไปได้โดยนายจ้างได้ใช้อาวุธปืนจี้ไป ต้องได้รับการผ่าตัดช่องท้อง จึงได้ส่งนางสาว ก. ไปรักษาตัว ที่ศีรษะของนางสาว ก. และใช้อาวุธปืนตีที่ศีรษะนางสาว ก. ที่โรงพยาบาลจังหวัดสุราฏร์ธานี จนถึงวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 1 ครัง้ และใช้มอื ตบบริเวณแก้มอีก 1 ครัง้ จากนัน้ ได้ถกู นายจ้าง 2549 แพทย์ได้ทำ� การผ่าตัดช่องท้อง โดยให้นางสาว ก. ใช้สาย น�ำผ้ามามัดคอแล้วลากนางสาว ก. ขึ้นชั้นบนของบ้าน แต่ ยางและให้ออกซิเจนทางจมูก ระหว่างทีร่ กั ษาตัวอยูน่ นั้ ได้มชี าย นางสาว ก. ขัดขืน จึงถูกนายจ้างล้อคด้วยกุญแจมือทั้งสองข้าง คนหนึ่งไม่ทราบชื่อ น�ำเงินมาให้แก่นางสาว ก. และนางสาว ข. ไว้ที่ตรงบริเวณราวบันไดของบ้าน นางสาว ก. และนางสาว ข. เพื่อแลกกับการไม่แจ้งความด�ำเนินคดีและจะไม่มาท�ำร้าย ถูกปิดปากด้วยผ้า และเริม่ ร้องไห้ นายจ้างจึงใช้กำ� ปัน้ ชกบริเวณ ผู้เสียหายทั้งสอง เมื่อผู้เสียหายทั้งสองคนออกจากโรงพยาบาลแล้ว ก็ถูก หน้าท้องอีก 5 ครั้งจนมีการจุกและนายจ้างได้ใช้เท้ากระทืบ บริเวณหน้าท้องนางสาว ก. อีก 2 ครั้งจนท�ำให้นางสาว ก. น�ำตัวไปพักที่บ้านศรีสุราษฎร์ และได้ให้ปากค�ำกับเจ้าหน้าที่ หมดสติ เมือ่ นางสาว ก. ฟืน้ ขึน้ มาแล้วพบว่าตัวเองและนางสาว ข. ต�ำรวจไว้หลังจากนั้น วันที่ 30 มิถุนายน 2549 พนักงานอัยการจังหวัด อยูใ่ นสภาพเปลือย โดยนายจ้างได้นำ� สายยางมัดหน้าต่างเข้ากับ ข้อเท้าข้างหนึง่ ของนางสาว ก. และเท้าอีกข้างหนึง่ ถูกมัดอยูก่ บั สุราษฎร์ธานี ได้เป็นโจทก์ยื่นฟ้องนายจ้าง เป็นคดีอาญา ราวบันได นายจ้างได้กระท�ำการข่มขืนกระท�ำช�ำเรานางสาว ข. หมายเลขด�ำที่ 1096/2549 ข้อหา พยายามฆ่าผูอ้ นื่ โดยทรมาน เมือ่ เสร็จแล้ว นายจ้างก็ทำ� การข่มชืนกระท�ำช�ำเรานางสาว ก. ต่อ หรือโดยกระท�ำทารุณโหดร้าย ข่มขืนกระท�ำช�ำเราหญิงอืน่ ทีม่ ใิ ช่ เมื่อนายจ้างท�ำการข่มขืนเสร็จแล้วได้ทิ้งให้ลูกจ้างทั้งสองนอน ภรรยาของตน หน่วงเหนี่ยวกักขังผู้อื่น ใช้ก�ำลังประทุษร้าย อยู่ในสภาพใส่กุญแจมือและถูกมัดขา ลูกจ้างทั้งสองไม่ได้สวม โดยมีหรือใช้อาวุธปืน มีอาวุธปืนไว้ในครอบครองโดยไม่ได้รับ เสื้อผ้าและไม่ได้รับประทานอาหาร จนกระทั่งรุ่งเช้าของวันที่ อนุญาต พนักงานอัยการคัดค้านการประกันตัวจ�ำเลย และ 30 มกราคม 2549 นายจ้างชายได้ลงมาจากชั้นบนของบ้าน นางสาว ก. ได้ยื่นค�ำร้องเป็นโจทก์ร่วมในคดีดังกล่าวด้วย คดีนี้ เพือ่ มาแก้มัดทีเ่ ท้าลูกจ้างทัง้ สองคน แต่ลกู จ้างทั้งสองยังคงถูก มีการพิจารณาจนถึงศาลสูงสุด

8 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


ศาลฎีกาได้มีค�ำพิพากษาเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2556 (ฎีกาเลขที่ 9260/2556) ลงโทษจ�ำเลยในความผิดฐานอนาจาร นางสาว ก. โจทก์รว่ ม ท�ำร้ายร่างกาย หน่วงเหนียวกักขัง ผูเ้ สียหาย ทั้งสองคน ลงโทษจ�ำคุก 12 ปี 6 เดือน แม้นายจ้างจะได้รับการลงโทษตามกฎหมายอาญาแล้ว แต่ยังไม่มีกระบวนการเยียวยาในทางแพ่ง และการเข้าถึง เงินเยีวยาตามพระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และ ค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จ�ำเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 เนื่องจากยังขาดกลไกการประสานงานระหว่างหน่วยงานที่ เกีย่ วข้องกับการช่วยเหลือผูเ้ สียหายและญาติของผูเ้ สียหายจาก ประเทศต้นทาง

กรณีศึกษาที่ 3: เด็กหญิงแอร์ ถูกนายจ้างลักพาตัวและ บังคับใช้แรงงาน

เมื่อประมาณเดือนพฤษภาคม 2552 เด็กหญิงแอร์ ซึ่งมีอายุได้ประมาณ 8 ปี ถูกลักพาตัวไปจากบ้านพัก ที่อาศัย อยู่กับครอบครัวในพื้นที่จังหวัดก�ำแพงเพชร หลังจากถูกน�ำตัว ไปจากบ้านพักแล้ว เด็กหญิงแอร์ ได้ถกู นายจ้างสองราย ซึง่ เป็น สามีภรรยากัน บังคับใช้แรงงานโดยการท�ำงานในบ้านพัก ระหว่างทีอ่ ยูก่ บั นายจ้างก็ได้ถกู ท�ำร้ายร่างกาย โดยการถูกทุบตี ใช้กรรไกรตัดติง่ หู บังคับให้ไปอยูใ่ นกรงสุนขั และนายจ้างผูช้ าย ได้ใช้นำ� ร้ อ้ นเดือดราดตัวตัง้ แต่ลำ� คอไปจนถึงแขน ขา ในขณะที่ นายจ้างหญิง ยืนดูอยู่แต่ไม่ได้ห้าม และนายจ้างทั้งสองรายก็ ไม่ได้นำ� เด็กหญิงแอร์ไปรักษา จนบาดแผลเน่า และมีความทรมาน และรูปร่างพิการ กระทั่งเดือนกุมภาพันธ์ 2556 เด็กหญิงแอร์ สามารถหนีออกมาจากบ้านของนายจ้างได้ หลังจากได้รับ การช่วยเหลือจากพลเมืองดีและหน่วยงานของรัฐในพืน้ ทีจ่ งั หวัด ก�ำแพงเพชร ท�ำให้เด็กหญิงแอร์ก็ได้พบกับครอบครัวอีกครั้ง ต่อมาเจ้าหน้าที่ต�ำรวจได้ออกหมายจับนายจ้างทั้งสอง คน ซึง่ ทัง้ สองคนได้เดินทางมามอบตัวรับทราบข้อกล่าวหาและ ได้รับการปล่อยชั่วคราวในชั้นพนักงานสอบสวน แต่นายจ้าง

ทัง้ สองคนได้หลบหนีไปจนกระทัง่ ปัจจุบนั ยังไม่สามารถจับกุมตัว นายจ้างทั้งสองมาด�ำเนินคดีได้ ต่อมาเมือ่ เดือนกันยายน 2556 มารดาของเด็กหญิงแอร์ ได้เป็นโจทก์ยนื่ ฟ้องนายจ้างทัง้ สองต่อศาลจังหวัดก�ำแพงเพชร เพือ่ เรียกค่าเสียหายจากการถูกนายจ้างทัง้ สองท�ำร้ายจนได้รบั ความเสียหายทัง้ ทางร่างกายและจิตใจ ศาลจังหวัดก�ำแพงเพชร ได้รับฟ้อง (คดีหมายเลขด�ำที่ 850/2556) และยกเว้นค่า ธรรมเนียมศาล เนื่องจากผู้ฟ้องมีฐานะยากจน ส่วนนายจ้าง ทั้งสองที่เป็นจ�ำเลยในคดีแพ่งได้ขาดนัดยื่นค�ำให้การและขาด การพิจารณา ศาลจึงให้ฝ่ายมารดาเด็กหญิงแอร์ ซึ่งเป็นโจทก์ สามารถน�ำการสืบพยานฝ่ายเดียว 30 มิ ถุ น ายน 2557 ศาลจั ง หวั ด ก� ำ แพงเพชรมี ค�ำพิพากษา (คดีหมายเลขแดง 641/2557) ให้จ�ำเลยทั้งสอง จ่ายค่าเสียหายให้แก่โจทก์อนั ประกอบด้วยค่าใช้จา่ ยทีไ่ ด้เสียไป เพือ่ การรักษาของเด็กหญิงแอร์ ค่าเสียหายทีเ่ สียความสามารถ ในการประกอบการงานทั้งในปัจจุบันและอนาคต ค่าเสียหาย ซึง่ เป็นค่าเสียหายอืน่ ทีม่ ใิ ช่ตวั เงินคือ ค่าทนทุกข์ทรมานระหว่าง เจ็บป่วย ค่าสูญเสียเต้านมและอาจเสียความสามารถในการ เจริญพันธุ์ ค่าสูญเสียความสวยงาม รวมเป็นเงินค่าเสียหาย ที่ น ายจ้ า งทั้ ง สองต้ อ งรั บ ผิ ด ในผลแห่ ง การละเมิ ด ทั้ ง สิ้ น 4,603,233 บาท พร้อมดอกเบีย้ ร้อยละ 7.5 ต่อปี ของเงินต้น นับถัดจากวันฟ้องจนกว่าจ�ำเลยทั้งสองจะช�ำระ การช่วยเหลือคดีเด็กหญิงแอร์นี้ มีกลไกการคุ้มครอง ช่วยเหลือจากภาครัฐ จึงสามารถคุ้มครองผู้เสียหายได้มากขึ้น โดยเฉพาะบ้ า นพั ก ในสั ง กั ด กระทรวงพั ฒ นาสั ง คมและ ความมั่นคงของมนุษย์ ที่ดูแลผู้เสียหายจากการกระท�ำละเมิด กรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุตธิ รรม ทีไ่ ด้ให้ความ ช่วยเหลือด้านการเยียวยาผู้เสียหายในคดีอาญา และการ สนับสนุนค่าใช้จา่ ยส�ำหรับทนายความจากกองทุนยุตธิ รรม แต่ ในส่วนของการบังคับคดีแพ่งนัน้ ยังเป็นจุดพิสจู น์ในการเยียวยา ของกระบวนการยุติธรรม เนื่องจากเมื่อศาลมีค�ำพิพากษาแล้ว ฝ่ายโจทก์ยังต้องติดตามตรวจสอบหาทรัพย์สินของฝ่ายจ�ำเลย เพือ่ ให้เกิดขัน้ ตอนการบังคับคดี ซึง่ ยังไม่แน่ชดั ว่าโจทก์จะสามารถ บังคับคดีเพือ่ เป็นค่าเสียหายตามค�ำพิพากษาของศาลได้หรือไม่ อีกทั้งคดีอาญาก็ยังไม่สั่งฟ้อง เนื่องจากผู้ต้องหาหลบหนี ส่วนกลไกการคุม้ ครองแรงงานนัน้ มีสำ� นักงานคุม้ ครอง แรงงานและสวัสดิการสังคมได้เข้ามาตรวจสอบ ภายหลังจาก ที่ศาลจังหวัดก�ำแพงเพชรได้มีค�ำพิพากษาให้นายจ้างจ่ายค่า เสียหายจากการถูกกระท�ำละเมิดไปแล้ว เพื่อพิจารณาออก ค�ำสั่งเรื่องค่าแรงให้กับเด็กหญิงแอร์ ซึ่งถือว่ากระบวนการ ตรวจสอบดังกล่าวยังมีความล่าช้าอยู่

Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 9


ข้อเสนอในการปรับปรุงสภาพการจ้างงาน เพื่อมุ่งสู่การคุ้มครองสิทธิและรับรอง ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ของลูกจ้างท�ำงานบ้าน จากสามกรณีทยี่ กตัวอย่างมานี้ ผูเ้ สียหายซึง่ เป็นลูกจ้างท�ำงานบ้านไม่อยูใ่ นสภาพทีจ่ ะเดินทาง เข้าออกบ้านพักของนายจ้าง ได้อย่างอิสระ และลูกจ้างจะได้รบั การช่วยเหลือเมือ่ สามารถหลบหนีออกมาได้ และนอกจากนีย้ งั พบว่าลูกจ้างทีถ่ กู กระท�ำละเมิด ส่วนใหญ่ยังเป็น ผู้ที่อยู่ในวันเด็กหรือเยาวชนและผู้หญิง นอกจากจะได้รับผลกระทบทางร่างกายแล้ว ยังมีบาดแผลที่เกิดขึ้น ในจิตใจที่ไม่สามารถก�ำหนดได้ว่า ผู้เสียหายจะพ้นภาวะความหวาดกลัวหรือฝันร้ายจากเหตุการณืที่เกิดขึ้นได้เมื่อไหร่หรือ บางรายอาจจะเป็นทั้งชีวิต ได้ มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนาจึงมีข้อเสนอ ดังต่อไปนี้

1. ขอให้รัฐบาลไทยพิจารณาลงนามในอนุสัญญาของ องค์กรด้านแรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที่ 189 ว่าด้วยเรื่อง งานทีม่ คี ณ ุ ค่าส�ำหรับลูกจ้างท�ำงานบ้าน เพือ่ ขยายการคุม้ ครอง สิทธิของลูกจ้างให้นอกเหนือไปจากสิทธิในการได้รบั ค่าจ้างหรือ สวัสดิการเนื่องมาจากการท�ำงานต่างๆ กล่าวคือ การก�ำหนด ให้ต้องมีมาตรการต่างๆ เพื่อให้ลูกจ้างท�ำงานบ้านได้รับการ คุ้มครองจากการล่วงละเมิด การคุกคาม และความรุนแรง ในทุกรูปแบบ ซึง่ หากรัฐไทย ลงนามในอนุสญ ั ญาฉบับดังกล่าวนี้ ก็จะสามารถท�ำให้มเี ครือ่ งมือทางกฎหมายเพิม่ ขึน้ ในการป้องกัน และคุ้มครองมิให้ลูกจ้างท�ำงานบ้านจากภัยความรุนแรงต่างๆ นอกเหนือจากการคุม้ ครองทีบ่ ญ ั ญัตไิ ว้ในพระราชบัญญัตคิ มุ้ ครอง

10 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

แรงงาน พ.ศ. 2541 รวมทั้งยังช่วยลดการเลือกปฏิบัติต่อสิทธิ ของลูกจ้างท�ำงานบ้าน เช่น สิทธิในการลาคลอดบุตร เป็นต้น 2. ขอให้รฐั ไทย ก�ำหนดให้นายจ้างทีม่ ลี กู จ้างท�ำงานบ้าน ทีอ่ ายุ 15 ปีขนึ้ ไปแต่ไม่เกิน 18 ปี ส่งรายชือ่ ลูกจ้างแก่พนักงาน ตรวจแรงงาน เพื่อป้องกันมิให้มีการนายจ้างให้ลูกจ้างท�ำงาน บ้านที่เป็นเยาวชน ท�ำงานในชั่วโมงการท�ำงาน และงานที่ท�ำ อย่างเหมาะสม 3. ยกเลิกข้อยกเว้นการบังคับใช้มาตรา 41 ว่าด้วย แรงงานที่ตั้งครรภ์ เพื่อเป็นหลักประกันในการจ้างแรงงาน โดยไม่เลือกปฏิบัติ 4. ปรับปรุงให้มกี ารจัดท�ำชัว่ โมงการท�ำงานทีเ่ หมาะสม กับลูกจ้างท�ำงานบ้าน และให้ลกู จ้างท�ำงานบ้านมีสทิ ธิเลือกใน การทีจ่ ะพักหรืออาศัยอยูใ่ นบ้านพักของนายจ้างหรือไม่กไ็ ด้เพือ่ สนับสนุนให้ลกู จ้างท�ำงานบ้านมีเสรีภาพในการเคลือ่ นย้ายและ เปิดโอกาสให้กลไกการคุ้มครองสิทธิสามารถเข้าถึงตัวลูกจ้าง ท�ำงานบ้านได้มากขึ้น 5. ปรับปรุงกลไกการท�ำงานของการพนักงานตรวจ แรงงานเพือ่ ให้พนักงานตรวจแรงงานสามารถเข้าถึงสถานทีพ่ กั ของนายจ้างทีม่ กี ารจ้างลูกจ้างท�ำงานบ้านนัน้ อยูไ่ ด้มากขึน้ และ ป้องกันการปฏิบัติหน้าที่โดยชอบของพนักงานตรวจแรงงาน มิให้ถูกกล่าวหาว่าบุกรุกในที่รโหฐาน 6. ยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต และสวั ส ดิ ก ารของลู ก จ้ า ง ท�ำงานบ้าน โดยการปรับปรุงกฎหมายประกันสังคม กฎหมาย เงินทดแทน และกฎหมายแรงงานสัมพันธ์ เพื่อท�ำให้ลูกจ้าง ท�ำงานบ้าน เข้าถึงประโยชน์จากกองทุนประกันสังคมและเงิน ทดแทน เช่นเดียวกันกับลูกจ้างในภาคกิจการที่ประกอบธุรกิจ รวมอยูด่ ว้ ย และเพือ่ สร้างโอกาสให้ลกู จ้าง ท�ำงานบ้านสามารถ รวมกลุ่มและเจรจาต่อรองกับนายจ้าง เพื่อให้เกิดการคุ้มครอง ลูกจ้างอย่างเป็นธรรมมากขึ้น


คณะกรรมการด้านการปฏิบตั ติ ามปฏิญญาว่าด้วยการปกป้องและส่งเสริมสิทธิของแรงงานข้ามชาติ ได้จดั เวทีสานเสวนา ว่าด้วยแรงงานย้ายถิ่น AFML ครั้งที่ 7 ในหัวข้อ “Towards the ASEAN Community by 2015 with enhanced measures to protect and promote the rights of migrant workers” ระหว่างวันที่ 20-21 พฤศจิกายน 2557 ณ กรุงเนปิดอว์ ประเทศ เมียนมาร์ ซึ่งมีตัวแทนจากรัฐบาลของประเทศสมาชิกอาเซียน ผู้แทนฝ่ายนายจ้าง ลูกจ้าง ภาคประชาสังคม และตัวแทนจาก ภาคอื่นๆ เช่น องค์กรด้านแรงงานระหว่างประเทศ เข้าร่วมประชุมหารือ และมีข้อเสนอแนะด้านการคุ้มครองและส่งเสริม สิทธิของแรงงานข้ามชาติ น�ำจากเวทีประชุม ดังนี้

ข้อเสนอแนะ การเสวนาอาเซียนเรื่องแรงงานข้ามชาติ ครั้งที่ 7 20-21 พฤศจิกายน 2014, เนปิดอว์ พม่า

การเสวนาอาเซี ย นเรื่ อ งแรงงานข้ า มชาติ ครั้ ง ที่ 7 ในประเด็นหลัก “มุ่งสู่ประชาคมอาเซียนปี 2558 พร้อมกับ มาตรการที่ดีขึ้นเพื่อคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิของแรงงาน ข้ามชาติ” ได้จัดขึ้นระหว่างวันที่ 20-21 พฤศจิกายน 2014 ที่ ก รุ ง เนปิ ด อว์ ประเทศพม่ า โดยมี ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มเป็ น ตั ว แทน ของรัฐบาล องค์กรนายจ้าง องค์กรแรงงาน และหน่วยงานภาค ประชาสังคม ได้แก่ รัฐภาคีอาเซียน ส�ำนักเลขาธิการอาเซียน องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) องค์การระหว่างประเทศ เพื่อการโยกย้ายถิ่นฐาน (International Organization for Migration-IOM) องค์การเพื่อการส่งเสริมความเสมอภาค ระหว่างเพศและเพิ่มพลังของผู้หญิงแห่งสหประชาชาติ (UN Women) สมาพันธ์นายจ้างอาเซียน (ASEAN Confederation of Employers-ACE) สภาสหภาพแรงงานอาเซียน (ASEAN Trade Union Council- ATUC) สภาสหภาพการค้าของลูกจ้าง ภาคบริการแห่งอาเซียน (ASEAN Services Employees Trade Union Council-ASETUC) และ Task Force for ASEAN Migrant Workers (TFAMW) การเสวนาอาเซี ย นเรื่ อ งแรงงานข้ า มชาติ ครั้ ง ที่ 7 ได้จัดขึ้นโดยเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติตามปฏิญญาอาเซียน เพื่ อ การคุ ้ ม ครองและส่ ง เสริ ม สิ ท ธิ ข องแรงงานข้ า มชาติ (ASEAN Declaration on the Protection and Promotion of the Rights of Migrant Workers) ตามแผนงานของ ที่ประชุมรัฐมนตรีแรงงานแห่งอาเซียน ประจ�ำปี 2553-2558 และแผนปฏิบัติการชุมชนสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community - ASCC) Blueprint (Action Line C.2.ii) ซึ่งเสนอให้มีการเสวนาอาเซียนเรื่องแรงงาน ข้ามชาติเป็นประจ�ำ โดยให้เป็นเวทีเพือ่ การพูดคุยของหลายฝ่าย ในประเด็นแรงงานข้ามชาติ และให้ถือเป็นส่วนหนึ่งของการ ด�ำเนินงานของคณะกรรมการอาเซียน ซึ่งเป็นไปตามปฏิญญา อาเซียนเพือ่ การคุม้ ครองและส่งเสริมสิทธิของแรงงานข้ามชาติ โดยต้องมีการรายงานต่อที่ประชุมของเจ้าหน้าที่แรงงานระดับ สูงอาเซียน (ASEAN Senior Labour Officials MeetingSLOM)

โดยการยึดถือมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศทีเ่ กีย่ วข้อง ผู้เข้าประชุมเห็นชอบต่อข้อเสนอแนะให้มีมาตรการอย่างเป็น รูปธรรมดังต่อไปนี้ เพือ่ ส่งเสริมและคุม้ ครองสิทธิ และแก้ปญ ั หา เป็นการเฉพาะส�ำหรับแรงงานข้ามชาติทงั้ ชายและหญิงในภูมภิ าค โดยเฉพาะในแง่การปฏิบัติตามพันธกิจของรัฐภาคีอาเซียน ตามข้อ 8 และ 13 ของปฏิญญาอาเซียนเพื่อการคุ้มครองและ ส่งเสริมสิทธิของแรงงานข้ามชาติ ส่งเสริมการคุ้มครองการจ้างงานและการจ่ายค่าแรงที่ เป็นธรรมและเหมาะสม และการเข้าถึงอย่างพอเพียงเพื่อให้ เกิดสภาพการท�ำงานและการด�ำรงชีวติ ทีเ่ หมาะสมส�ำหรับแรงงาน ข้ามชาติ

1. สัญญาจ้างงานควรมีมาตรฐานสอดคล้องกับกฎหมาย แรงงานระดับชาติ โดยอยูบ่ นพืน้ ฐานมาตรฐานแรงงานหลัก และ สอดคล้องกับข้อ 22 ของข้อเสนอแนะว่าด้วยการจ้างแรงงาน ข้ามชาติ (Migration for Employment Recommendation) (No. 86, 1949) ของ ILC 2. สัญญาจ้างงานที่ได้มาตรฐานควรก�ำหนดเงื่อนไข และหลักเกณฑ์ทชี่ ดั เจนเกีย่ วกับการจ้างงาน สิทธิและความรับ ผิดชอบของคนงานและลูกจ้างชายและหญิง รวมทั้งแรงงาน ในภาคทีม่ คี วามเสีย่ งและเข้าถึงได้ยาก อย่างเช่น แรงงานประมง คนท�ำงานบ้าน และงานก่อสร้าง และก�ำหนดกลไกร้องเรียน รวมทั้งการแจ้งให้ทราบรายละเอียดเกี่ยวกับสัญญาและระบบ กฎหมายที่ใช้อ้างอิงในการยื่นค�ำร้อง สัญญาจ้างงานควรเขียน เป็นภาษาที่แรงงานข้ามชาติเข้าใจ และให้ลูกจ้างและแรงงาน เป็นผูล้ งนามก่อนทีจ่ ะเดินทางออกจากประเทศ และตัวแรงงาน ข้ามชาติควรได้รับส�ำเนาของสัญญาจ้างงานดังกล่าว 3. ควรมีการจัดท�ำแนวปฏิบตั /ิ กรอบอาเซียนว่าด้วยสัญญา จ้างงานที่ได้มาตรฐาน โดยรับฟังข้อมูลจากทั้งประเทศต้นทาง และปลายทาง ภาคีด้านสังคม องค์กรภาคประชาสังคม และ สมาคมแรงงานข้ามชาติ และให้คำ� นึงถึงกฎหมายแรงงานระดับ ประเทศที่เกี่ยวข้องของรัฐภาคีอาเซียน 4. ควรขจัดการใช้สัญญาอื่นแทนสัญญาจ้างงาน และ การจัดท�ำสัญญาจ้างงานทีต่ ำ�่ กว่ามาตรฐาน และควรมีบทลงโทษ ที่เหมาะสมต่อนายจ้างที่ไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขดังกล่าว และ Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 11


ให้บันทึกชื่อนายจ้างในฐานข้อมูลของรัฐภาคีอาเซียน ทั้งนี้ โดยให้เป็นไปตามกฎหมายและระเบียบในประเทศ ในกรณี ทีเ่ ป็นสัญญาจ้างงานทีอ่ อกโดยหน่วยงานทีส่ ามทีไ่ ด้รบั อนุญาต ตามกฎหมาย ควรมี ก ารติ ด ตามอย่ า งใกล้ ชิ ด เพื่ อ ประกั น ให้สอดคล้องกับมาตรฐานที่จ�ำเป็น 5. รัฐบาลควรด�ำเนินการและปรับปรุงมาตรการและ จัดสรรทรัพยากรเพือ่ การคุม้ ครองและส่งเสริมสิทธิของแรงงาน ข้ามชาติ รวมทัง้ ให้มกี ารตรวจแรงงานอย่างสม�ำ่ เสมอ โดยเฉพาะ ในภาคส่ ว นและสถานที่ ท� ำ งานที่ มี ค วามเสี่ ย งและยากต่ อ การเข้าถึง (เช่น การท�ำประมง เหมืองแร่ ป่าไม้ เกษตรกรรม และการท�ำงานบ้าน) จัดให้มกี ารอบรมต่อผูต้ รวจแรงงาน และ จั ด ตั้ ง หน่ ว ยปฏิ บั ติ ง านหลายภาคส่ ว นเพื่ อ ตรวจแรงงาน อนุสัญญาแรงงานระหว่างประเทศฉบับที่ 189 และข้อเสนอ แนะฉบับที่ 201 ได้กำ� หนดแนวปฏิบตั สิ ำ� หรับการตรวจแรงงาน กรณีที่เป็นคนท�ำงานบ้าน 6. ควรมีการปรับปรุงอาชีวะอนามัย (Occupational safety and health-OSH) โดยนายจ้างควรจัดอบรมอาชีวะ อนามัยและจัดหาอุปกรณ์เพื่อคุ้มครองส่วนบุคคลในสถานที่ ท�ำงาน แล้วแต่กรณี ทันทีที่แรงงานข้ามชาติเข้าท�ำงาน และให้ จัดท�ำอย่างสม�่ำเสมอหลังจากนั้น รวมทั้งให้มีการจัดท�ำข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูลด้านอาชีวะอนามัยโดยมีการแยกแยะ ตามตัวแปรต่างๆ 7. ควรมีการจัดตัง้ ศูนย์บริการและทรัพยากรเพือ่ แรงงาน ข้ามชาติแบบครบวงจรในรัฐภาคีอาเซียนทุกแห่ง และให้มี การเชือ่ มโยงในระดับพืน้ ที่ ระดับชาติ และภูมภิ าค เพือ่ ประกัน ให้เกิดกลไกคุ้มครองที่ดีขึ้นส�ำหรับแรงงานข้ามชาติทั้งชายและ หญิง ในท�ำนองเดียวกัน ควรมีการจัดท�ำบริการโทรศัพท์สายด่วน ตลอด 24 ชั่วโมง โดยให้บริการเป็นภาษาที่แรงงานข้ามชาติ เข้าใจ และควรมีบริการส่งต่อไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อ ประโยชน์ของแรงงานข้ามชาติ ศูนย์บริการแรงงานข้ามชาติ ดังกล่าวควรอยูภ่ ายใต้การบริหารงานของรัฐบาล องค์กรนายจ้าง องค์กรลูกจ้าง และหน่วยงานภาคประชาสังคม โดยควรให้ บริการสนับสนุนและการคุ้มครองในสถานที่ท�ำงานส�ำหรับ แรงงานข้ามชาติ และควรมีการประสานงานเป็นอย่างดีกับผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียทุกคน 8. ควรมีการจัดตั้งระบบส่งต่อเพื่อรับบริการระหว่าง ประเทศต้นทางกับประเทศปลายทาง และให้มีการด�ำเนินงาน เป็นอย่างดี รวมทั้งสถานทูตควรให้ความช่วยเหลือเพื่อประกัน ให้มีการจ่ายค่าตอบแทนและผลประโยชน์ต่างๆ ตามเวลาที่ ก�ำหนดแก่แรงงานข้ามชาติ แม้ในกรณีที่แรงงานเดินทางกลับ ไปยังประเทศต้นทางแล้ว รวมทัง้ ค่าใช้จา่ ยในการรักษาพยาบาล และการดูแลอาการเจ็บป่วยทีเ่ กิดขึน้ จากการท�ำงานในระยะยาว ควรมีการศึกษาในระดับภูมิภาคโดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่างๆ เพือ่ ส�ำรวจปัญหาและช่องว่างเชิงนโยบายเพื่อให้การช่วยเหลือ กับคนงานทีม่ ปี ญ ั หาทุพลภาพจากการท�ำงาน ภายหลังเดินทาง กลับประเทศต้นทาง 12 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

9. ควรมีการอบรมทูตแรงงานเป็นอย่างดี และให้มกี าร คุ้มครองในที่ท�ำงานอย่างเป็นผล ควรก�ำหนดให้มีความสมดุล ทางเพศสภาพของผู้หน้าที่เป็นทูตแรงงาน โดยให้มีสัดส่วน เหมาะสมกับจ�ำนวนของแรงงานที่เป็นชายและหญิง 10. ส� ำ นั ก งานจั ด หางานควรได้ รั บ การสนั บ สนุ น ให้ สามารถจั ด หาข้ อ เสนอการจ้ า งงานที่ ใ ห้ ผ ลตอบแทนและ ประโยชน์ทดี่ กี ว่าส�ำหรับแรงงานข้ามชาติ โดยรวมถึงการลดหรือ ขจัดค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องส�ำหรับแรงงานข้ามชาติ 11. ควรมีการใช้มาตรการเพื่อสนับสนุนให้แรงงาน ข้ามชาติทั้งที่เป็นชายและหญิงสามารถเข้าถึงสหภาพแรงงาน และสมาคมแรงงาน โดยเฉพาะในภาคส่วนการจ้างงานทีย่ งั ไม่มี การจัดตั้งคนงาน 12. คนงานที่ยื่นข้อร้องเรียนควรได้รับการสนับสนุน ให้สามารถอยูต่ อ่ ไปในประเทศปลายทางได้ ในระหว่างทีม่ กี าร สอบสวนตามข้อร้องเรียนดังกล่าว ในท�ำนองเดียวกัน แรงงาน ข้ามชาติและตัวแทนแรงงานข้ามชาติควรได้รับความช่วยเหลือ ที่เหมาะสมและทันเวลา รวมทั้งการคุ้มครองไม่ให้ถูกตอบโต้ จากนายจ้างในระหว่างยื่นข้อร้องเรียน จัดท�ำนโยบายและขั้นตอนปฏิบัติเพื่อสนับสนุนแรงงาน ข้ามชาติในด้านต่างๆ รวมทั้งการจัดหางาน การเตรียมตัว ก่อนไปท�ำงานต่างประเทศ การคุม้ ครองแรงงานข้ามชาติเมือ่ อยู่ ต่างแดน และการส่งกลับและการกลับเป็นส่วนหนึ่งของสังคม ในประเทศต้นทาง

13. องค์กรนายจ้างและคนงานควรร่วมมือกันอย่าง ใกล้ชิดกับองค์กรภาคประชาสังคม โดยมีการเสวนาอย่างเป็น ระบบเพือ่ การพัฒนา ด�ำเนินการแก้ไขปรับปรุงและ/หรือติดตาม ผลการปฏิบัติตามนโยบายและโครงการเพื่อแรงงานข้ามชาติ ที่มีความสมดุลด้านเพศสภาพในรัฐภาคีอาเซียน 14. ควรด�ำเนินการให้สามารถเข้าถึงกฎหมาย นโยบาย หลักเกณฑ์ และระเบียบระดับชาติที่เกี่ยวข้องกับการจ้างงาน และการอพยพของแรงงาน และแจ้งให้แรงงานข้ามชาติทั้งชาย และหญิงได้ทราบข้อมูลเหล่านี้ รวมทัง้ องค์กรของคนงาน องค์กร ของนายจ้าง และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ควรมีการเผยแพร่ข้อมูลการเข้าเมืองและการขอรับวีซ่าอย่าง กว้างขวางเพื่อให้แรงงานข้ามชาติได้ทราบ และได้รับความ ช่วยเหลือจากทูตแรงงานและสถานทูตต่างๆ 15. ควรมีการจัดระเบียบนโยบายและขัน้ ตอนปฏิบตั ใิ น การจัดหางาน และมีการแจ้งข้อมูลให้แรงงานข้ามชาติและผู้มี ส่วนได้สว่ นเสียทราบเป็นอย่างดี รวมทัง้ การให้บริการแบบครบ วงจรและศูนย์บริการแรงงานทั้งในระดับประเทศและท้องถิ่น 16. ควรมีการจัดท�ำโครงการปฐมนิเทศก่อนการจ้างงาน ก่อนการเดินทาง และภายหลังเดินทางไปถึงประเทศปลายทาง โดยก�ำหนดให้เป็นเงือ่ นไขเชิงบังคับและต้องให้แรงงานข้ามชาติ ทัง้ ชายและหญิงสามารถเข้าร่วมได้โดยไม่มคี า่ ใช้จา่ ย สนับสนุน ให้ผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียมีสว่ นร่วม และควรมีการปรับปรุงคุณภาพ


ของหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง โดยให้ความรู้ท่ีครอบคลุมด้าน วัฒนธรรม สิทธิและพันธกรณีต่างๆ ของแรงงานข้ามชาติ ทั้งชายและหญิงและนายจ้าง 17. ควรจัดประชุมและควรให้ความช่วยเหลือครอบครัว ของแรงงานข้ามชาติ เพื่อให้สามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นใน ระหว่างการจ้างงานในต่างประเทศ 18. ควรสนั บ สนุ น แรงงานข้ า มชาติ ที่ เ ดิ น ทางกลั บ ประเทศ ให้ได้รบั การสนับสนุนด้านต่างๆ ทัง้ การแนะแนวอาชีพ การพัฒนาทักษะที่สอดคล้องกับตลาด และ/หรือทักษะการ เป็นเจ้าของกิจการ ควรมีการบันทึกข้อมูลเกีย่ วกับความต้องการ ของนายจ้างในแง่ประสบการณ์และความช�ำนาญของคนงาน ทั้งนี้เพื่อสนับสนุนให้แรงงานข้ามชาติทั้งชายและหญิงมีโอกาส จะมีงานท�ำมากขึ้นในประเทศของตนเอง 19. ควรสนับสนุนความร่วมมือระหว่างประเทศต้นทาง

และปลายทาง ในแง่การให้ความช่วยเหลือกับแรงงานข้ามชาติ ในส่วนของปัญหาด้านสุขภาพ ทั้งนี้เพื่อประกันให้แรงงาน สามารถเข้าถึงบริการรักษาพยาบาลและสวัสดิการด้านสังคม ที่เกี่ยวข้อง 20. องค์กรแรงงานในรัฐภาคีอาเซียนควรสนับสนุน ความร่วมมือเพือ่ ให้เกิดกลไกคุม้ ครองแรงงานข้ามชาติทเี่ ป็นผล ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มประชุ ม แสดงความยิ น ดี กั บ รั ฐ บาลของ สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า โดยเฉพาะกระทรวงแรงงาน การจ้างงานและความมั่นคงด้านสังคม ส�ำหรับการจัดเตรียม งานเสวนาเป็นอย่างดี และส�ำหรับการต้อนรับที่อบอุ่น ผูเ้ ข้าร่วมประชุมยังขอแสดงความยินดีกบั รัฐบาลมาเลเซีย ซึ่งจะท�ำหน้าที่เป็นประธานสมาคมอาเซียนในปี 2558 และ ขอแสดงความขอบคุณต่อค�ำยืนยันที่จะรับเป็นเจ้าภาพของ การเสวนาอาเซียนเรื่องแรงงานข้ามชาติ ครั้งที่ 8 ในปีหน้า

เครือข่ายคณะท�ำงานด้านประชากรข้ามชาติ (Migrant Working Group) ได้ออกแถลงการณ์หัวข้อ “สถานการณ์เด่น แรงงานข้ามชาติในรอบปี 2557 และแนวโน้มการจัดการแรงงานข้ามชาติในอนาคตของประเทศไทย” มีรายละเอียดดังนี้ เปิด 5 สถานการณ์เด่นแรงงานข้ามชาติปี 2557 ชี้ต้องแก้หลายปมปัญหาหลังไทยถูกลดระดับ ความพยายามตอบสนองต่อสถานการณ์คา้ มนุษย์ (เทียร์ 3) ระบุปญ ั หาการขึน้ ทะเบียน การพิสจู น์ สัญชาติ และประเด็นด้านการเข้าถึงสิทธิการดูแลแรงงานข้ามชาติยงั มีชอ่ งว่าง แนะรัฐเร่งแก้ปญ ั หา โดยด่วน

ในวันที่ 18 ธันวาคมของทุกปี ถูกก�ำหนดให้เป็นวัน แรงงานข้ามชาติสากล เพื่อเป็นการรณรงค์ถึงความส�ำคัญของ แรงงานข้ามชาติและผูต้ ดิ ตามทีเ่ ป็นบุคคลในครอบครัวทีท่ ำ� งาน ย้ายถิ่นทั่วโลก ซึ่งควรได้รับความคุ้มครองทั้งสิทธิมนุษยชน และสิทธิแรงงาน โดยในช่วงปี 2557 ประเทศไทยเราได้มีการ เปลี่ยนแปลงในเชิงนโยบายในการจัดการแรงงานข้ามชาติ ที่มี ผลกระทบต่อสังคมไทยพอสมควร ดังนั้นเพื่อเป็นการทบทวน และน�ำเสนอประเด็นความเปลี่ยนแปลง รวมถึงผลกระทบใน การจัดการแรงงานข้ามชาติในช่วงปีทผี่ า่ นมา เครือข่ายทีท่ ำ� งาน ด้านประชากรข้ามชาติ (Migrant working Group) จึงได้ จัดงานแถลงข่าวในหัวข้อ “สถานการณ์เด่นแรงงานข้ามชาติ ในรอบปี 2557: และแนวโน้มการจัดการแรงงานข้ามชาติ ในอนาคตของประเทศไทย” โดยมีตวั แทนองค์กรทีท่ ำ� งานด้าน แรงงานข้ามชาติเข้าร่วมแถลงข่าวครั้งนี้ด้วย นายอดิศร เกิดมงคล ตัวแทนเครือข่ายองค์กรทีท่ ำ� งาน ด้านประชากรข้ามชาติ กล่าวว่า สถานการณ์เด่นเรื่องแรงงาน ข้ามชาติในรอบปี 2557 มีดังนี้ 1. คณะรัฐมนตรีรักษาการณ์ (อดีต ครม.) ได้มมี ติผอ่ นผันให้แรงงานทีผ่ า่ นการพิสจู น์สญ ั ชาติ ท�ำงานครบ 4 ปี อยู่อาศัยได้ชั่วคราวเพื่อขอขยายเวลาต่อวีซ่า และใบอนุญาตท�ำงาน 2. รัฐบาลมีนโยบายในการจัดตั้งศูนย์ One Stop Service จดทะเบียนแรงงานข้ามชาติ 3. เกิด

ปรากฎการณ์แรงงานกัมพูชากลับประเทศมากที่สุดในช่วง ทศวรรษ 4. ประเทศไทยถูกลดระดับความพยายามตอบสนอง ต่อการค้ามนุษย์ลงไปอยู่กลุ่มที่ 3 หรือเทียร์ 3 (Tier3) 5. ตึก ที่ก�ำลังก่อสร้างที่รังสิตถล่มทับแรงงานที่มีแรงงานข้ามชาติ ท�ำงานด้วย ซึง่ กล่าวสรุปสถานการณ์เด่นทัง้ 5 ประเด็นว่าท�ำให้ เกิดผลกระทบต่อแรงงานข้ามชาติในหลายด้าน อาทิ การจัดตัง้ ศูนย์ One Stop Service เกิดจากปรากฏการณ์การเดินทาง กลับของแรงงานข้ามชาติกมั พูชาและยังส่งผลกระทบต่อชุมชน ชายแดนรวมถึงผูป้ ระกอบการณ์ในประเทศไทยทีต่ อ้ งขาดแคลน แรงงานในช่วงเวลาดังกล่าว นอกจากนี้สิ่งส�ำคัญที่สุดคือการที่ ประเทศไทยถูกลดระดับลงไปอยู่ในกลุ่มเทียร์3 โดยเฉพาะ การค้ามนุษย์ในภาคประมงทะเล และการค้ามนุษย์ในกลุ่ม โรฮิงยาทีม่ เี จ้าหน้าทีร่ ฐั เข้าไปมีสว่ นเกีย่ วข้องด้วย ดังนัน้ รัฐบาล ควรหาแนวทางทีช่ ดั เจนในการแก้ปญ ั หาดังกล่าวอย่างเป็นรูปธรรม และเรื่องที่น่ากังวลอีกประเด็นคือเรื่องความปลอดภัยในการ ท�ำงานของแรงงานข้ามชาติ จากกรณีตัวอย่างของแรงงานข้าม ชาติที่เสียชีวิตขณะปฏิบัติงานในอาคารก่อสร้างคอนโดมิเนียม 6 ชั้นถล่มที่จังหวัดปทุมธานี มีแรงงานข้ามชาติเสียชีวิต 6 ราย และเหตุการณ์การทรุดตัวของปล่องลิฟท์ระหว่างก่อสร้างที่ อาคารสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ซึ่งมีผู้เสียชีวิต 6 ราย ซึ่งแรงงาน Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 13


ข้ามชาติทั้งหมดควรได้รับสิทธิในการดูแลอย่างเป็นธรรมและ ทั่วถึงตามกฎหมายประกันสังคม ทั้งนี้ประเด่นเหล่านี้ถือเป็น 5 สถานการณ์ที่เกิดขึ้นในรอบปี 2557 ของแรงงานข้ามชาติ แต่ยงั มีประเด็นต่างๆ ทีน่ า่ สนใจและน่าติดตามในเรือ่ งการจัดการ ปัญหาแรงงานข้ามชาติและผูต้ ดิ ตาม อาทิ ประเด็นเรือ่ งการศึกษา ของเด็กต่างชาติ ประเด็นเรื่องการเข้าถึงนโยบายสุขภาพของ แรงงานข้ามชาติ ประเด็นสถานการณ์ผู้อพยพลักลอบหนี เข้าเมืองพม่าโรฮิงยา บังคลาเทศ และประเด็นเรื่องสิทธิและ การเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม เปิดประเด็นปัญหาสถานการณ์เด็กต่างชาติ เด็กข้าม ชาติยังเสี่ยงต่อการถูกบังคับเป็นแรงงานประมง ไร่อ้อย และ อุตสาหกรรมอาหารแช่แข็งและสิ่งทอ จี้แก้ระบบขึ้นทะเบียน ให้ เ อื้ อ ต่ อ เด็ ก ทุ ก กลุ ่ ม พร้ อ มห่ ว ง สพฐ.ลดเงิ น อุ ด หนุ น การศึกษาเด็กต่างชาติ แนะรัฐยกเลิกแนวคิดและจัดการศึกษา ให้เหมาะสมส�ำหรับเด็กต่างชาติ น.ส.วรางคณา มุทมุ ล ตัวแทนเครือข่ายองค์กรทีท่ ำ� งาน ด้านประชากรข้ามชาติด้านเด็ก กล่าวว่า สถานการณ์ของเด็ก ต่างชาติในปี 2557 ทีผ่ า่ นมามี 3 ประเด็นเด่น คือ สถานการณ์ ของแรงงานเด็ก สถานการณ์การขึ้นทะเบียนเด็กต่างชาติ และ สถานการณ์เรื่องการศึกษาของเด็กต่างชาติ โดยเด็กต่างชาติ ที่เข้ามาอาศัยในประเทศไทยจะแบ่งเป็น 3 ประเภท คือ เด็ก ที่ถูกน�ำเข้ามาเป็นแรงงานเด็ก เด็กที่เป็นผู้ติดตามบิดามารดา ที่เข้ามาเป็นแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย และเด็กที่เกิด ระหว่างทีบ่ ดิ ามารดาเข้ามาเป็นแรงงานข้ามชาติ ซึง่ ในกลุม่ ของ เด็กดังกล่าวมีสถานการณ์ที่น่ากังวล ดังนี้ ในส่วนของเด็กที่ถูก น�ำเข้ามาเป็นแรงงานเด็ก ยังมีความน่าเป็นห่วง ประเทศคู่ค้า รายใหญ่ที่ส�ำคัญของไทยบางประเทศ ได้จัดท�ำและเผยแพร่ รายชื่อสินค้าที่มีการใช้แรงงานเด็กและแรงงานบังคับซึ่งระบุว่า สินค้าไทยมีเหตุที่เชื่อได้ว่าผลิตจากการใช้แรงงานเด็กและเป็น แรงงานบังคับ ได้แก่ อุตสาหกรรมประมง หรือแรงงานเด็ก ในเรือประมง อุตสาหกรรมอาหารทะเลแปรรูป เช่น กุ้งแช่แข็ง อุตสาหกรรมสิ่งทอ เช่น เครื่องนุ่งห่ม และในภาคเกษตรกรรม เช่น ไร่ออ้ ย นอกจากนีย้ งั มีสถิตจิ ากกระทรวงพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์ที่ระบุถึงการค้ามนุษย์ใน 1,000 คน จะมีเด็กที่อยู่ในกระบวนการค้ามนุษย์ถึงร้อยละ 52 โดยแบ่ง เป็นเด็กผูห้ ญิงและชาย ซึง่ เด็กผูห้ ญิงส่วนใหญ่จะมาจากประเทศ ลาว และเด็กผูช้ ายส่วนใหญ่จะมาจากประเทศพม่า นอกจากนี้ แล้วยังมีการแสวงหาผลประโยชน์ทางเพศกับเด็ก เช่น การเผยแพร่ รูปสื่อลามก อนาจารกับเด็กอีกด้วย นอกจากนีแ้ ล้วยังมีขอ้ มูลทีน่ า่ สนใจจากผูป้ ระกันตนของ ส�ำนักงานประกันสังคม ว่าในปี 2554 มีลูกจ้างที่เป็นแรงงาน เด็กไทยจ�ำนวน 50,239 คน และในปีทผี่ า่ นมาลดลงเหลือเพียง 20,465 คน แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มที่เด็กไทยอายุระหว่าง 14 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

15-18 ปี เข้าสูต่ ลาดแรงงานลดลงแต่อย่างไรก็ตามประเทศไทย ยังมีแรงงานเด็กต่างชาติทตี่ ดิ ตามพ่อแม่ และเด็กต่างชาติทเี่ ข้า มาหางานท�ำในประเทศไทยด้วยซึง่ ไม่มขี อ้ มูลตัวเลขทีแ่ ท้จริงว่า มีจ�ำนวนเท่าใด ด้วยเส้นทางการเข้ามาในประเทศไทยของเด็ก ต่างชาติมีหลายช่องทาง จึงมีแนวโน้มที่แรงงานเด็กต่างชาติจะ เข้ามาในประเทศไทยเพิ่มมากขึ้นทุกปีและมีแนวโน้มว่าตัวเลข ของเด็กไทยที่เป็นแรงงานลดลงอาจถูกแทนที่ด้วยเด็กต่างชาติ ที่ยังไม่สามารถส�ำรวจสถิติท่ีแน่ชัดได้ ซึ่งแนวทางที่จะท�ำให้ ทราบจ�ำนวนทีแ่ น่ชดั ของเด็กต่างชาติทเี่ ข้ามาอยูใ่ นประเทศไทย คือการขึ้นทะเบียนของเด็กต่างชาติ โดยสถานการณ์การขึ้น ทะเบียนของเด็กต่างชาติในประเทศไทยขณะนี้มีสถิติ ณ วันที่ 24 พฤศจิกายน 2557 จ�ำนวน 92,391 คน ซึง่ ต่างจากตัวเลข ประมาณการณ์ 2.5 แสนคน น้อยกว่าครึ่ง แสดงให้เห็นมีเด็ก ที่ตกหล่นจากการขึ้นทะเบียนและน่าเป็นห่วงคือเด็กที่อยู่ใน กลุ่มที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ขึ้นทะเบียนตามนโยบาย เช่น กลุ่ม เด็กต่างด้าวเคลื่อนย้ายที่เดินทางมาเอง หรืออยู่อาศัยกับผู้อื่น ที่ไม่ใช่พ่อแม่หรือผู้ปกครองตามกฎหมาย ส่วนสถานการณ์เรื่องการศึกษาของเด็กต่างชาตินั้น ประเทศไทยเคยตั้งเป้าหมายและมีความมุ่งมั่นที่จะให้โอกาส เด็กทุกคนเข้าถึงการได้รับการศึกษา ซึ่งจะเป็นรากฐานที่ดีของ สังคมไทยและภูมิภาคนี้ ดังนั้นนโยบายเรียนฟรี 15 ปี จึงไม่ใช่ แค่ประเทศไทยประเทศเดียวที่จะได้รับประโยชน์ แต่จะหมาย รวมถึ ง การพั ฒนาทรั พ ยากรบุ ค คลที่ มี คุ ณ ภาพ เพื่ อ สร้ า ง การพัฒนาให้กับประชาคมอาเซียนที่มีประชากรที่มีคุณภาพ ต่อไป แต่เมือ่ ช่วงปีทผี่ า่ นมาส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ได้มีแนวคิดลดการสนับสนุนการศึกษา ของเด็กต่างชาติลงจาก 5 รายการ คือ ค่าเล่าเรียน อุปกรณ์ การเรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชุดนักเรียน และหนังสือเรียน เหลือ 2 รายการ ซึ่งจะส่งผลให้ภาระค่าใช้จ่ายที่เกินตกไปอยู่ กับโรงเรียนและผู้ปกครองของเด็กที่มีฐานะยากจน และท้าย ทีส่ ดุ เมือ่ โรงเรียนไม่ตอ้ งการแบกรับภาระค่าใช้จา่ ยส่วนเกินเหล่านี้ ก็จะตัดสินใจไม่รบั เด็กต่างชาติเข้าเรียน ทัง้ นี้ สพฐ. ได้ให้เหตุผล ในการลดการสนับสนุนว่าจ�ำนวนของเด็กต่างชาติเพิ่มขึ้นมาก ถึง 2.5 แสนคนภายในระยะเวลา 2 ปี จึงท�ำให้ไม่มงี บประมาณ สนับสนุนในเรื่องการเรียนฟรีด้วยการเกลี่ยค่าใช้จ่ายรายหัว แบบเดิมจากเด็กไทยได้อีก ซึ่งเครือข่ายองค์กรที่ท�ำงานด้าน ประชากรข้ามชาติได้ตั้งข้อสังเกตและแสดงความห่วงใยต่อ สถานการณ์ดงั กล่าวว่า อาจเป็นได้วา่ จ�ำนวนเด็กนักเรียนที่ สพฐ. อ้างถึงน่าจะรวมเด็กทุกคนทีไ่ ม่มสี ญ ั ชาติไทย ได้แก่ เด็กต่างด้าว เด็กไม่ปรากฎสัญชาติ เด็กทีไ่ ม่มเี อกสารแสดงตน และเด็กกลุม่ ชาติพนั ธุ์ ซึง่ มีจำ� นวนราวๆ 208,000 คน ซึง่ ในจ�ำนวนนีม้ เี ด็ก ต่างชาติ 3 สัญชาติ คือ พม่า ลาว กัมพูชาเพียง 93,320 คน เท่านั้น หรือคิดเป็นร้อยละ 2-3 ของจ�ำนวนนักเรียนทั้งหมด


เท่านั้น ท�ำให้ปัญหาที่จะเกิดภาระจากการเกลี่ยค่าใช้จ่าย งบประมาณของเด็กไทยมาให้เด็กต่างด้าวจึงเกิดขึน้ ได้นอ้ ยมาก ดังนั้นเราจึงอยากเรียกร้องให้ สพฐ.ยุติการน�ำเสนอนโยบาย ดังกล่าวกับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และให้คง นโยบายเรียนฟรี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ให้กับเด็กต่างชาติ ต่อไป อีกทัง้ กระทรวงศึกษาธิการจะต้องด�ำเนินการอย่างจริงจัง คือสนับสนุนให้เกิดแนวปฏิบตั ทิ ชี่ ดั เจนในการจัดการศึกษาทาง เลือกที่สอดคล้องกับเด็กต่างชาติ เช่น ศูนย์การเรียนชุมชน หลักสูตรส�ำหรับเด็กต่างด้าวในระบบการจัดการศึกษานอก โรงเรียน (กศน.) หรือระบบการศึกษาตามอัธยาศัย เปิดประเด็นปัญหาสุขภาพแรงงานข้ามชาติ ระบุการซื้อ ประกันสุขภาพแรงงานยังเป็นปัญหา พบสถานพยาบาลหลาย แห่งไม่ปฏิบตั ติ ามกฎกระทรวงอ้างเหตุไม่คมุ้ ทุน บางแห่งเก็บเงิน เพิ่มและปฏิเสธรักษาเด็กและผู้ป่วยเอชไอวี แนะกระทรวงออก มาตรการคุมเข้มให้ปฏิบัติตามกฎกระทรวงอย่างเคร่งครัด

น.ส.นงลักษณ์ ดิษฐวงษ์ ตัวแทนเครือข่ายองค์กร ทีท่ ำ� งานด้านสุขภาพของประชากรข้ามชาติ กล่าวว่า ประกาศ ของกระทรวงสาธารณสุขเมื่อวันที่ 26 มิ.ย.2557 ได้ระบุสิทธิ ในการก�ำหนดค่าใช้จา่ ยในการตรวจสุขภาพและประกันสุขภาพ ของแรงงานข้ามชาติไว้ 2 ส่วน คือ แรงงานทีต่ อ้ งได้รบั สิทธิตาม ประกันสังคม คือ แรงงานทีม่ หี นังสือเดินทางถูกต้องและอยูใ่ น กิจการทีต่ อ้ งเข้าสูร่ ะบบประกันสังคม และส่วนทีส่ องคือแรงงาน ที่ต้องซื้อระบบประกันสุขภาพ คือ แรงงานที่ยังไม่มีหนังสือ เดินทาง หรือมีหนังสือเดินทางแล้วแต่อยู่ในกิจการที่ไม่เข้าสู่ ระบบประกันสังคม อาทิ แรงงานแม่บา้ น แรงงานภาคการเกษตร และการประมง ซึ่งแรงงานกลุ่มดังกล่าว กระทรวงสาธารณสุข ได้ก�ำหนดสิทธิในการรักษาพยาบาลโดยให้แรงงานซื้อประกัน สุขภาพเองตามสถานพยาบาลของกระทรวงสาธารณสุข ซึง่ การ ซื้อประกันสุขภาพของแรงงานข้ามชาติ ตามมติ ครม.ปี 2557 แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ แรงงานข้ามชาติและผู้ติดตามที่มีอายุเกิน 7 ปี จะต้องจ่ายค่าประกันสุขภาพ 2100 บาท ซึ่งมีอายุการ คุ้มครอง 1 ปี โดยแบ่งเป็นค่าตรวจสุขภาพ 500 บาท และ ค่าประกับสุขภาพ 1600 บาท และในกลุม่ เด็กอายุไม่เกิน 7 ปี จะต้องจ่ายค่าประกันสุขภาพในราคา 365 บาท ซึ่งมีอายุการ คุ้มครอง 1 ปี โดยไม่ต้องตรวจสุขภาพ และทั้งสองกลุ่มจะ ได้รบั สิทธิประโยชน์เพิม่ เติมคือได้รบั ยาต้านไวรัสเอชไอวี/เอดส์ ซี่งเป็นการประกันสุขภาพภาคบังคับ ทั้งนี้แม้จะมีการก�ำหนด ให้แรงงานข้ามชาติต้องซื้อประกันสุขภาพ แต่ในเรื่องของการ ด�ำเนินการยังมีหลายส่วนที่เป็นปัญหา ไม่ว่าจะเป็นการขาด มาตรการในการบังคับใช้นโยบายให้เป็นไปตามประกาศของ กระทรวงสาธารณสุขในระดับพื้นที่ ซึ่งส�ำนักงานสาธารณสุข จังหวัดหลายแห่ง ไม่สามารถผลักดัน ให้สถานพยาบาลใน จังหวัดของตนที่เข้าร่วมโครงการเปิดขายประกันสุขภาพได้

เนือ่ งจากผูบ้ ริหารสถานพยาบาลมีอำ� นาจเด็ดขาดว่าจะเปิดขาย หรือไม่ ซึ่งความเป็นจริงแล้วทุกสถานพยาบาลต้องเปิดขาย ประกันสุขภาพทีก่ ฎกระทรวงได้กำ� หนดไว้ นอกจากนีย้ งั มีความ ไม่ชดั เจนของการก�ำหนดขอบเขตชุดสิทธิประโยชน์ ท�ำให้มกี าร ปฏิบัติที่แตกต่างไปในแต่ละสถานพยาบาล โดยบางแห่งมีการ เรียกเก็บเงินเพิม่ จากความไม่ชดั เจนนี้ และยังมีสถานพยาบาล บางแห่งไม่ยอมประกันสุขภาพให้กบั แรงงานเนือ่ งจากประเมิน ความไม่คุ้มทุน เช่น ไม่ขายประกันให้เด็กอายุ 0-7 ปี หรือขาย ให้แต่มีเงื่อนไขขอเอกสารประจ�ำตัวเด็กและผู้ปกครอง และไม่ ขายให้กบั กลุม่ ผูป้ ว่ ยทีต่ ดิ เชือ้ เอชไอวี ซึง่ เกิดจากความไม่มน่ั ใจ ของสถานพยาบาล และบางแห่งมีการเก็บเงินเพิ่มหากต้อง ตรวจโรคเพิม่ เติม อีกทัง้ ภาครัฐเองยังขาดระบบประชาสัมพันธ์ และการท�ำงานเชิงรุกที่มีประสิทธิภาพ และในส่วนของการให้ บริการยังมีอปุ สรรคในด้านการสือ่ สารของผูใ้ ห้บริการต่อแรงงาน ข้ามชาติ โดยหลายแห่งไม่มีพนักงานสาธารณสุขที่สามารถ สือ่ สารภาษาของแรงงานข้ามชาติได้ ซึง่ ประเด็นปัญหาดังกล่าว ส่งผลให้แรงงานไม่สนใจและไม่เห็นประโยชน์จากระบบประกัน สุขภาพ เนื่องจากไม่มีข้อมูลและรายละเอียดในเรื่ อ งสิ ทธิ ประโยชน์ของการซื้อประกันสุขภาพ จึงท�ำให้แรงงานข้ามชาติ ไม่เห็นประโยชน์จากประกันสุขภาพดังกล่าว และคิดว่าตนเอง ยังมีสุขภาพที่แข็งแรงดี ทั้งยังไม่เห็นกรณีตัวอย่างของแรงงาน ข้ามชาติ ที่ได้รับสิทธิประโยชน์จากตัวประกันสุขภาพอย่าง เป็นรูปธรรม นอกจากนีส้ าเหตุทแี่ รงงานส่วนหนึง่ ไม่ซอื้ ประกัน สุขภาพ เพราะคิดราคาบัตรประกันสุขภาพมีราคาสูงเกินไป และเห็นว่าสิทธิประโยชน์ท่ีได้รับไม่คุ้มค่ากับเงินที่ต้องเสียไป หากเจ็บป่วยตนก็สามารถใช้บริการคลินิกที่ตั้งอยู่ในชุมชนได้ รวมทั้งแรงงานในกรุงเทพฯ ไม่มีสิทธิเลือกโรงพยาบาลที่ขาย ประกันสุขภาพในการจดทะเบียนที่ศูนย์ One Stop Service โดยจะมีการก�ำหนดโรงพยาบาลให้แรงงานเลยซึ่งส่วนใหญ่ เป็นโรงพยาบาลรัฐทีแ่ รงงานไม่คนุ้ เคย และบางแห่งอยูไ่ กลจาก แหล่งงาน/ที่พักของแรงงาน ส�ำหรับการแก้ปัญหาในประเด็นดังกล่าวคือกระทรวง สาธารณสุขจะต้องมีนโยบายในการควบคุมสถานพยาบาลทีอ่ ยู่ ภายใต้การด�ำเนินงานให้ปฏิบตั ติ ามกฎกระทรวงอย่างเคร่งครัด และไม่เลือกปฏิบัติ อย่างไรก็ตามตัวเลขของแรงงานข้ามชาติ จากการเก็บสถิตขิ องกระทรวงสาธารณสุขและส�ำนักงานประกัน สังคม ตั้งแต่เดือนมกราคมถึงเดือนมิถุนายน 2557 ระบุว่ามี จ�ำนวนแรงงานข้ามชาติที่เข้าสู่ระบบประกันสังคม 333,372 คน คิดเป็นร้อยละ 17 หรือ แรงงานทีเ่ ข้าสูร่ ะบบประกันสุขภาพ 761080 หรือคิดเป็นร้อยละ 39 และแรงงานที่ยังไม่มีความ ชัดเจนหรืออยู่ระหว่างการด�ำเนินงาน 868,803 คน หรือ คิดเป็นร้อยละ 44

Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 15


เปิดปมประเด็นปัญหาชาวพม่าโรฮิงยา/บังคลาเทศ ระบุ รัฐไทยยังแก้ปญ ั หาไม่ถกู จุด กระบวนคัดกรองเหยือ่ มีปญ ั หา แฉ ผูม้ อี ทิ ธิพลในพืน้ ทีแ่ ละนักการเมืองท้องถิน่ มีเอีย่ วกับกระบวนค้า มนุษย์ จีเ้ จ้าหน้าทีต่ ำ� รวจใช้กฎหมายจัดการคนผิดอย่างเคร่งครัด แนะรัฐไทยประสานประเทศต้นทางรองรับสถานกาพชาวโรฮิงยา

นายศิววงศ์ สุขทวี ตัวแทนเครือข่ายองค์กรที่ท�ำงาน ด้านประชากรข้ามชาติ ในกลุ่มผู้อพยพลักลอบหนีเข้าเมือง พม่าโรฮิงยา/บังคลาเทศ กล่าวว่า กลุ่มโรฮิงยาที่ถูกจับกุมใน ประเทศไทยแบ่งออกเป็น 2 กลุม่ คือ โรฮิงยาทีม่ าจากประเทศ พม่า และชาวมุสลิมจากบังคลาเทศ ซึ่งทั้ง 2 กลุ่มนี้เข้ามาใน ประเทศไทยด้วยสาเหตุที่แตกต่างกันคือ 1. กลุ่มที่หลบหนี เข้าเมืองเพราะต้องการหางานท�ำ 2. กลุ่มที่หลบหนี้เข้าเมือง เพราะต้องการหนีจากความตายเนือ่ งจากประเทศต้นทางมีการ สู้รบ ประเด็นปัญหาการเมือง หรือปัญหาเรื่องชาติพันธุ์ใน พื้นที่ และทั้ง 2 กลุ่มนั้นมีความเสี่ยงที่กลายเป็นเหยื่อของ กระบวนการค้ามนุษย์เมื่อเข้ามาในประเทศไทย ทั้งนี้ส่วนใหญ่ ชาวโรฮิงยาบังคลาเทศจะถูกควบคุมไว้ใน 3 จังหวัดหลักของ ประเทศไทย คือ ระนอง พังงา และสงขลา โดยจังหวัดสงขลา มีจำ� นวนชาวโรฮิงยาถูกจับกุม และถูกควบคุมมากทีส่ ดุ เนือ่ งจาก เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ติดต่อกับประเทศมาเลเซีย อย่างไรก็ตาม สถิตกิ ารจับกุมตัง้ แต่เดือนมกราคมถึงเดือนพฤศจิกายน 2557 มีจ�ำนวน 1,329 คน โดยในจ�ำนวนนี้มีผู้เสียชีวิตจ�ำนวน 8 คน โดย 3 คนเสียชีวิตจากอุบัติเหตุรถยนต์ระหว่างการเดินทาง และอีก 5 คน เสียชีวิตหลังจากถูกจับกุมเนื่องจากอยู่ในสภาพ ที่ขาดอาหาร และเจ็บป่วยมาเป็นระยะเวลานาน ทั้ ง นี้ ช าวพม่ า มุ ส ลิ ม โรฮิ ง ยาที่ ไ ม่ ไ ด้ ถู ก คั ด แยกเป็ น ผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์จะถูกผลักดันออกในช่องทางที่ ไม่เป็นทางการ โดยแรงงานที่ถูกผลักดันกลับเหล่านี้ก็จะถูก กระบวนการการค้ามนุษย์และกลับสู่ประเทศไทยอีกครั้ง ส่วน ชาวบังคลาเทศทีถ่ กู ด�ำเนินคดีลกั ลอบเข้าเมืองผิดกฎหมายก็จะ ถูกควบคุมตัวเพื่อรอการประสานกับทางสถานทูตบังคลาเทศ เพื่อรอการด�ำเนินการส่งกลับ โดยที่ผ่านมาตั้งแต่ปี 2555 รัฐบาลไทยได้มีการจับกุมชาวโรฮิงยาเป็นจ�ำนวนมากแต่ไม่มี กระบวนการทีช่ ดั เจนในการส่งกลับ จึงท�ำให้ชาวโรฮิงยาจ�ำนวน มากถูกขังไว้ในห้องกักทีส่ ภาพแวดล้อมไม่เอือ้ อ�ำนวยต่อการอยู่ อาศัย และจ�ำนวนมากที่เป็นโรคขาดสารอาหาร มีอาการเจ็บ ป่ ว ยร้ า ยแรงแต่ ไ ม่ ไ ด้ รั บ การรั ก ษาอย่ า งทั น ท่ ว งที จ นท� ำ ให้ เสียชีวิตในห้องกัก ซึ่งแนวทางในการแก้ปัญหาเรื่องดังกล่าว รัฐบาลไทยควรมีกระบวนการคัดกรองชาวโรฮิงยาที่หลบหนี เข้ามาในประเทศไทยให้ชัดเจนว่าอยู่ในกลุ่มใดเพื่อให้การ ช่วยเหลืออย่างถูกต้อง อาทิ กลุ่มที่หลบหนีเข้าเมืองเพราะ ต้องการหางานท�ำก็จะได้ดำ� เนินการให้คำ� แนะน�ำถึงการเข้าเมือง โดยวิธีที่ถูกกฎหมาย หรือผ่อนผันให้ท�ำงานในอุตสาหกรรม 16 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

ที่ยังขาดแคลน ส่วนกลุ่มที่หลบหนีเข้าเมืองเพราะต้องการหนี จากความตาย เป็นกลุ่มที่ใช้ประเทศไทยเป็นประเทศต้นทาง หรือเพือ่ เป็นทางผ่านไปขอลีภ้ ยั ไปอยูใ่ นประเทศทีส่ าม ทีม่ ชี าว โรฮิงยามีญาติพกั อาศัยอยูก่ อ่ นแล้ว ควรจะได้เข้าสูก่ ระบวนการ การคัดกรองตามหลักสากลในฐานะผูล้ ภี้ ยั แต่เมือ่ ไม่มกี ระบวนการ คัดแยกส่งผลให้กลุ่มโรฮิงยากลุ่มนี้ขาดโอกาสลี้ภัยและต้อง ถูกกักขังโดยไม่รู้ชะตากรรมเป็นระยะเวลานาน ตั ว แทนเครื อ ข่ า ยองค์ ก รที่ ท� ำ งานด้ า นประชากร ข้ามชาติ กล่าวต่อว่า ส่วนกลุ่มที่หลบหนีเข้าเมืองมาและตก เป็นเหยื่อของกระบวนการค้ามนุษย์ ซึ่งส่วนใหญ่จะถูกท�ำร้าย ร่างกายเพื่อให้ญาติ หรือครอบครัวส่งเงินมาไถ่ตัวออกไป หาก ไม่มีญาติก็อาจถูกปล่อยให้ตายหรือถูกขายให้ไปเป็นแรงงาน บนเรือประมง ซึ่งรัฐไทยควรมีกระบวนการดูแลกลุ่มคนเหล่านี้ อย่างจริงจังโดยต้องจัดสรรที่อยู่ที่เหมาะสมส�ำหรับผู้ที่ตกเป็น เหยือ่ และต้องมีกระบวนการเอาผิดกับนายหน้าอย่างชัดเจนและ เป็นรูปธรรม นอกจากนี้ระหว่างการรอด�ำเนินคดีกับนายหน้า ควรมีการผ่อนผันให้กลุ่มโรฮิง ยากลุ่มนี้สามารถหางานท�ำ ในประเทศไทยได้ ตามกฎหมายป้องกันการค้ามนุษย์ ตัวอย่างของกระบวนการค้ามนุษย์ทเี่ ห็นชัดเจนทีส่ ดุ คือ กระบวนการจับกุมครั้งใหญ่ที่เกิดขึ้นเมื่อเดือนมกราคม 2557 ในพื้นที่ ต.ส�ำนักแต้ว อ.สะเดา จ.สงขลา โดยพบชาวพม่า โรฮิงยา/บังคลาเทศ มากถึง 881 คน และในจ�ำนวนนี้มีชาว พม่าโรฮิงยา/บังคลาเทศ จ�ำนวน 25 คนที่เคยถูกจับและถูก ควบคุมในด่านตรวจคนเข้าเมืองมาแล้วก่อนทีจ่ ะถูกผลักดันและ จับกุมใหม่อีกครั้ง และมักพบว่านายหน้าจะเป็น ผู้มีอิทธิพล ในพื้นที่และเป็นนักการเมืองท้องถิ่นที่ร่วมมือกับนายหน้าใน ประเทศต้นทาง โดยกรณีที่ชัดเจนที่สุดคือกรณีของนายมูฮัม หมัด นูสลาม ชาวโรฮิงยาทีถ่ กู นายอนัส หะยีมะแซ สมาชิกสภา องค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล จับตัวไปเรียกค่าไถ่และซ้อม ทรมาน ซึง่ ขณะนีค้ ดีอยูร่ ะหว่างการไต่สวนของศาลจังหวัดสงขลา ที่จะมีการไต่สวนในวันที่ 25-26 ธันวาคมนี้ ส�ำหรับการแก้ไขปัญหาในประเด็นดังกล่าวนั้น รัฐควร ด�ำเนินการดังนี้ 1. ให้ความส�ำคัญในกระบวนการคัดกรองชาว พม่ า โรฮิ ง ยา/บั ง คลาเทศให้ ชั ด เจนว่ า อยู ่ ใ นกลุ ่ ม ไหนเพื่ อ จะสามารถช่วยเหลือได้อย่างถูกวิธี 2. กรณีทเี่ ป็นผุเ้ สียหายจาก การค้ามนุษย์ ควรบังคับใช้กฎหมายด�ำเนินคดีกับนายหน้าค้า มนุษย์อย่างจริงจัง รวมถึงมีกระบวนการดูแลเหยื่อที่ต้องเข้าสู่ กระบวนการค้ามนุษย์ 3. กรณีทเี่ ป็นผูล้ กั ลอบเข้าเมืองมา รัฐเอง ควรประสานไปยั ง สถานทู ต ของแต่ ล ะประเทศ และส� ำนั ก ข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัย ช่วยแบ่งเบาภาระในการด�ำเนินการพิสูจน์ สัญชาติและส่งกลับประเทศอีกครัง้ แต่ประเด็นปัญหาส�ำคัญคือ ไทยยังขาดแคลนล่ามที่จะสื่อสารกับชาวโรฮิงยาที่ถูกจับกุมมา จึงท�ำให้การแก้ไขปัญหาไม่มีประสิทธิภาพ อีกทั้งทัศนคติของ


เจ้าหน้าที่ต�ำรวจมักจะจ�ำแนกชาวโรฮิงยาเป็นพม่ามุสลิมเพื่อ ส่งด�ำเนินคดีลักลอบเข้าเมืองและถูกผลักดันออกนอกประเทศ ก่อนที่ส�ำนักข้าหลวงใหญ่จะเข้ามาถึง จึงท�ำให้ชาวโรฮิงยาใน กลุ่มที่หลบหนีจากความตายไม่ได้รับการช่วยเหลือที่ถูกต้อง เปิดประเด็นปัญหาการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมของ แรงงานข้ามชาติ ระบุลูกจ้างยังถูกเลือกปฏิบัติในการเข้าถึงเงิน ทดแทนจากกองทุนเงินทดแทน เหตุแนวปฏิบัติของส�ำนักงาน ประกันสังคมก�ำหนดให้ลูกจ้างที่มีใบอนุญาตท�ำงานแล้วเท่านั้น สามารถเข้าถึงกองทุนได้ เผยลูกจ้างที่ท�ำงานบ้านยังไม่ได้รับ ความเป็นธรรมทางด้านกฎหมาย ชี้บ้านพักเป็นที่ปิดท�ำให้ง่าย ต่อการถูกล่วงละเมิด ยก 3 กรณีดังนายจ้างทารุณแรงงาน เสนอ 6 ข้อปรับกฎหมายให้คมุ้ ครองศักดิศ์ รีความเป็นมนุษย์และ สิทธิของแรงงานท�ำงานบ้าน ด้านตัวแทนแรงงานแฉเจ้าหน้าที่ ต�ำรวจเก็บส่วยเดือนละ 500 บาท แลกกับการท�ำงานอยูบ่ นเกาะ ระบุแรงงานข้ามชาติได้รับค่าแรงไม่เป็นธรรม

ส�ำหรับประเด็นเรื่องสิทธิและการเข้าถึงกระบวนการ ยุติธรรมของแรงงานข้ามชาตินั้น ยังพบว่ามีหลายส่วนที่เป็น ปัญหา ซึง่ สถิตขิ อ้ มูลบางส่วนของสภาทนายความ ประจ�ำอ�ำเภอ แม่สอด จังหวัดตากทีม่ แี รงงานอาศัยอยูเ่ ป็นจ�ำนวนมาก ได้ระบุ ถึงการให้ความช่วยเหลือคดีที่มีความเกี่ยวข้องกับแรงงาน ข้ามชาติทั้งในส่วนที่เป็นโจทก์และจ�ำเลยว่าเป็นคดีอาญา 22 เปอร์เซ็นต์ คดีอุบัติเหตุ 19 เปอร์เซ็นต์ คดีล่วงละเมิดทางเพศ 18 เปอร์เซ็นต์มีการร้องเรียนในคดีล่วงละเมิดทางเพศ 18 เปอร์เซ็นต์ คดีที่เป็นความรุนแรงในครอบครัว 10 เปอร์เซ็นต์ นางสาวจิ ร ารั ต น์ มู ล ศิ ริ นั ก กฎหมายจากคลิ นิ ก กฎหมายแรงงาน กล่าวว่า ประเด็นที่น่าเป็นห่วงเรื่องการเข้า ถึงกระบวนการยุติธรรมของแรงงานข้ามชาติมีอยู่หลายส่วน และยังเป็นปัญหาต่อเนือ่ งโดยเฉพาะในประเด็นเรือ่ งแนวปฏิบตั ิ ของส�ำนักงานประกันสังคม ทีก่ ำ� หนดให้ลกู จ้างทีไ่ ม่มใี บอนุญาต ท�ำงานแม้นายจ้างจะอยู่ในเกณฑ์ที่จะต้องขึ้นทะเบียนลูกจ้าง ในกองทุนเงินทดแทน ดังนั้นหากลูกจ้างประสบอุบัติเหตุหรือ เจ็บป่วยจากการท�ำงาน นายจ้างจะต้องเป็น ผู้รับผิดชอบจ่าย เงินทดแทนแก่ลกู จ้าง ซึง่ กรณีนนี้ อกจากจะเป็นการเลือกปฏิบตั ิ ต่อแรงงานที่มีสิทธิเข้าถึงเงินทดแทนด้วยเหตุสถานะการเข้า เมืองและการถือใบอนุญาตท�ำงาน กรอบแนวปฏิบัติดังกล่าว ยังอาจจะเป็นช่องทางให้นายจ้างไม่ให้ความส�ำคัญต่อชีวิตของ แรงงาน รวมทั้งเคารพต่อกรอบของกฎหมายที่จะต้องปฏิบัติ ตามแต่อย่างใด แม้ว่าพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 จะได้ก�ำหนดโทษนายจ้างที่ไม่ขึ้นทะเบียนลูกจ้างเป็นความผิด ทางอาญา แต่เมือ่ ส�ำนักงานประกันสังคมมิได้มคี วามจริงจังหรือ ความพยายามในการเอาผิดต่อนายจ้างทีก่ ระท�ำความผิด ท�ำให้ ลูกจ้างที่ประสบอันตรายไม่สามารถเข้าถึงเงินทดแทนได้ โดย กรณีล่าสุดที่มีลูกจ้างที่เป็นแรงงานข้ามชาติประสบอันตราย

จนถึงแก่ชวี ติ ในเหตุการณ์อาคารก่อสร้างจังหวัดปทุมธานีถล่ม ส�ำนักงานประกันสังคม ได้ออกค�ำสั่งให้ทายาทของแรงงาน ข้ามชาติทเี่ สียชีวติ สามารถได้รบั เงินทดแทน โดยให้นายจ้างเป็น ผู้รับชอบแม้นายจ้างจะด�ำเนินกิจการที่เข้าหลักเกณฑ์ต้องจ่าย เงินทดแทน แต่เนือ่ งจากนายจ้างได้จา้ งแรงงานทีไ่ ม่มใี บอนุญาต ท�ำงาน ส�ำนักงานประกันสังคมจึงได้ดำ� เนินการให้นายจ้างเป็น ผูท้ ำ� หน้าทีจ่ า่ ยแทน และทายาทของแรงงานข้ามชาติอาจจะต้อง เข้าสู่กระบวนการเจรจารับเงินทดแทนจากนายจ้างที่อาจจะ ต�่ำกว่าเงินทดแทนที่ส�ำนักงานประกันสังคมก�ำหนดให้จ่ายจริง ดังนัน้ เพือ่ สนับสนุนให้ลกู จ้างทุกคนสามารถเข้าถึงเงินทดแทน โดยไม่เลือกปฏิบัติ ส�ำนักงานประกันสังคม ควรแก้ไขแนวทาง การจ่ายเงินทดแทนโดยให้ลกู จ้างทุกคนทีอ่ ยูใ่ นเกณฑ์ทนี่ ายจ้าง ต้ อ งขึ้ น ทะเบี ย นกั บ กองทุ น เงิ น ทดแทน สามารถเข้ า ถึ ง เงินทดแทนจากกองทุนเงินทดแทนกรณีประสบอันตรายหรือ เจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงานได้ทันที และให้ด�ำเนินมาตรการ อย่างเด็ดขาดตามพระราชบัญญัตเิ งินทดแทน พ.ศ. 2537 หาก พบว่านายจ้างรายใดไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขของกฎหมายในการ ขึ้นทะเบียนต่อกองทุนเงินทดแทน นอกจากนี้ อีกประเด็นทีเ่ ห็นเด่นชัดทีส่ ดุ คือประเด็นของ กลุม่ แรงงานข้ามชาติทเี่ ป็นลูกจ้างท�ำงานบ้าน โดยในประเทศไทย มีการคาดการณ์วา่ มีลกู จ้างทีท่ ำ� งานบ้านประมาณ 300,000 คน เป็นแรงงานจากประเทศพม่า ลาว และกัมพูชา ที่ขึ้นทะเบียน แรงงาน 45,000 คน ซึ่งประเทศไทยก็มีกฎหมายที่คุ้มครอง แรงงานข้ามชาติที่เป็นลูกจ้างท�ำงานบ้านอยู่หลายฉบับ อาทิ กฎกระทรวงแรงงานฉบับที่ 14 พ.ศ. 2555 ทีก่ ำ� หนดให้ลกู จ้าง ต้องมีวันหยุดประจ�ำสัปดาห์ วันหยุดตามประเพณี วันหยุด พักผ่อน และมีกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับการคุม้ ครองสิทธิแรงงาน อีก 3 ฉบับ อาทิ พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2537 ที่ให้สิทธิประโยชน์ของลูกจ้างในกรณีเจ็บป่วย เสียชีวิต คลอด บุตร พิการ ชราภาพ ว่างงาน พระราชบัญญัติเงินทดแทนที่ คุ้มครองลูกจ้างที่ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยจากการท�ำงาน ซึ่งกฎหมายเหล่านี้ก็ได้รับการพัฒนาให้คุ้มครองกับแรงงาน ข้ามชาติในหลายส่วนแล้ว แต่กย็ งั ไม่ได้คมุ้ ครองให้กบั แรงงงาน ในบ้านเพราะวิธกี ารท�ำงานของแรงงานในบ้านเป็นกระบวนการ ท�ำงานทีอ่ ยูใ่ นทีพ่ กั ซึง่ เป็นทีร่ โหฐาน บุคคลภายนอกไม่สามารถ เข้าถึงได้ จึงเป็นเหตุให้การเข้าถึงแรงงานที่ถูกละเมิดสิทธิเป็น เรื่องที่ยากล�ำบาก โดยที่ผ่านมามูลนิธิสิทธิมนุษยชนเพื่อการ พัฒนา ได้เข้าช่วยแหลือลูกจ้างที่ท�ำงานบ้านที่เป็น ผู้เสียหาย ในคดีอาญาจากการกระท�ำละเมิดของนายจ้าง โดยมี 3 กรณี ศึกษา เพื่อน�ำไปสู่การปรับปรุงกระบวนการคุ้มครองสิทธิและ ลูกจ้างท�ำงานบ้าน ดังนี้ กรณีของน.ส.มาซู ซึง่ ถูกนายจ้างท�ำร้าย ร่างกายจนเสียชีวิต โดยมาซูมีอายุเพียง 18 ปี มาท�ำงานเพียง 3 เดือนก็ถูกนายจ้างกล่าวหาว่าลักทรัพย์ และเมื่อปฏิเสธก็ถูก Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 17


ท�ำร้ายร่างกายโดยการทุบตีและใช้นำ�้ มันก๊าซราดแล้วจุดไฟเผา จากนั้นน�ำมาทิ้งไว้ข้างถนน โดยคดีนี้ใช้เวลาในกระบวนการ ยุติธรรมถึง 10 ปีกว่าจะเอาผิดนายจ้างได้ กรณีศึกษาที่ 2 น.ส. ก และ น.ส. ข นามสมมุติ ที่ถูกชักชวนจากต�ำรวจหญิงให้ ไปท�ำงานบ้านและเป็นพี่เลี้ยงเด็กให้กับตนเอง แต่ความจริง กลับต้องไปท�ำงานให้กับนายจ้างที่เป็น ผู้ชาย จนถูกข่มขืนท�ำ ทารุณกรรมจนได้รับบาดเจ็บสาหัส ซึ่งต่อมาก็สามารถเอาผิด กับนายจ้างได้ แต่ทั้งสองคนไม่ได้รับสิทธิในการเยียวยาในทาง แพ่งและการเข้าถึงเงินเยียวยาตามพรบ.ค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จา่ ยแก่จำ� เลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 เนื่องจากยังขาดกลไกระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการ ช่วยเหลือผู้เสียหายจากประเทศต้นทาง และกรณีศึกษาที่ 3 ด.ญ.แอร์ อายุ 8 ปี ถูกนายจ้างลักพาตัว จากบ้านพักที่อาศัย กับครอบครัวที่ จ.ก�ำแพงเพชร เมื่อปี 2552 และบังคับใช้ แรงงานในบ้านพัก รวมถึงถูกทุบตีทำ� ร้าย เช่นใช้กรรไกรตัดติง่ หู บังคับให้อยูใ่ นกรงสุนขั และใช้นำ�้ เดือดราด ซึง่ นายจ้างก็ไม่ได้พา ด.ญ.แอร์ ไปรักษา จนท�ำให้บาดแผลเน่า และด.ญ.แอร์ สามารถ หนีออกมาจากบ้านพักนายจ้างได้ โดยได้รบั ความช่วยเหลือจาก พลเมืองและหน่วยงานในจังหวัดก�ำแพงเพชร ท�ำให้ได้พบ กับครอบครัวอีกครั้ง และเจ้าหน้าที่ต�ำรวจได้ออกหมายจับกับ นายจ้าง แต่จนถึงปัจจุบันยังไม่สามารถจับกุมตัวได้ ซึ่งกรณี ดังกล่าวกลไกการช่วยเหลือจากรัฐได้เข้าถึงผู้เสียหายมาก ไม่ว่าจะเป็นกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กรมคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม โดยจาก 3 กรณีศึกษา ทางมูลนิธิฯ จึงมีข้อเสนอในการ ปรับปรุงการจ้างงานส�ำหรับแรงงานทีท่ ำ� งานบ้าน เพือ่ เข้าสูก่ าร คุ้มครองสิทธิและรับรองศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของลูกจ้าง ท�ำงานบ้านดังนี้ 1. ขอให้รัฐไทยพิจารณาลงนามในอนุสัญญา ขององค์กรด้านแรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที่ 189 ว่าด้วย เรื่องงานที่มีคุณค่าส�ำหรับลูกจ้างท�ำงานบ้าน เพื่อขยายการ คุ้มครองสิทธิของลูกจ้าง ให้นอกเหนือไปจากสิทธิในการได้รับ ค่าจ้างหรือสวัสดิการเนื่องมาจากการท�ำงานต่างๆ กล่าวคือ การก�ำหนดมาตรการต่างๆ เพือ่ ให้ลกู จ้างท�ำงานบ้านได้รบั การ คุ้มครองจากการล่วงละเมิด การคุกคาม และความรุนแรงใน ทุกรูปแบบ ซึ่งหากรัฐไทย ลงนามในอนุสัญญาฉบับนี้ ก็จะ สามารถท�ำให้มีเครื่องมือทางกฎหมายเพิ่มขึ้นในการป้องกัน และคุ้มครองลูกจ้างท�ำงานบ้านจากภัยความรุนแรงต่างๆ นอกเหนือจาก การคุ้มครองที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติ คุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 รวมทัง้ ยังช่วยลดการเลือกปฏิบตั ิ ต่อสิทธิของลูกจ้างท�ำงานบ้าน เช่น สิทธิในการลาคลอดบุตร เป็นต้น 2. ขอให้รฐั ไทย ก�ำหนดให้นายจ้างทีม่ ลี กู จ้างท�ำงานบ้าน ทีอ่ ายุ 15 ปีขนึ้ ไปแต่ไม่เกิน 18 ปี ส่งรายชือ่ ลูกจ้างแก่พนักงาน ตรวจแรงงาน ตามที่ได้ก�ำหนดไว้ใน พรบ.คุ้มครองแรงงาน 18 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

เพื่อให้นายจ้างให้ลูกจ้างท�ำงานบ้านที่เป็นเยาวชน ท�ำงานใน ชั่วโมงการท�ำงาน และงานที่ท�ำอย่างเหมาะสม 3. ยกเลิก ข้อก�ำหนดในกฎกระทรวงที่ให้ยกเว้นการบังคับใช้มาตรา 41 ว่าด้วยแรงงานทีต่ งั้ ครรภ์ เพือ่ เป็นหลักประกันในการจ้างแรงงาน โดยไม่เลือกปฏิบตั ิ 4. ปรับปรุงให้มกี ารจัดท�ำชัว่ โมงการท�ำงาน ทีเ่ หมาะสมกับลูกจ้างท�ำงานบ้านและให้ลกู จ้างท�ำงานบ้านมีสทิ ธิ เลือกที่จะพักหรืออาศัยอยู่ในบ้านพักของนายจ้างหรือไม่ก็ได้ เพือ่ สนับสนุนให้ลกู จ้างท�ำงานบ้านมีเสรีภาพในการเคลือ่ นย้าย เเละเปิดโอกาสให้กลไกคุ้มครองสิทธิสามารถเข้าถึงตัวลูกจ้าง ท�ำงานบ้านได้มากขึน้ 5. ปรับปรุงกลไกการท�ำงานของพนักงาน ตรวจแรงงาน เพื่อให้พนักงานตรวจแรงงานสามารถเข้าถึง สถานทีพ่ กั ของนายจ้างทีม่ กี ารจ้างลูกจ้างท�ำงานบ้านนัน้ อยูไ่ ด้ มากขึ้น เเละป้องกันการปฏิบัติหน้าที่โดยชอบของพนักงาน ตรวจแรงงานมิให้ถกู กล่าวหาว่าบุกรุกทีร่ โหฐาน และ 6. ยกระดับ คุณภาพชีวิตและสวัสดิการของลูกจ้างท�ำงานบ้าน โดยการ ปรับปรุงกฎหมายประกันสังคม กฎหมายเงินทดแทน และ กฎหมายแรงงานสัมพันธ์ เพื่อให้ลูกจ้างท�ำงานบ้าน เข้าถึง ประโยชน์จากกองทุนประกันสังคมและเงินทดแทน เช่นเดียวกัน กับลูกจ้างในภาคกิจการที่ประกอบธุรกิจรวมอยู่ด้วย และเพื่อ สร้างโอกาสให้ลกู จ้าง ท�ำงานบ้านสามารถรวมกลุม่ เจรจาต่อรอง กับนายจ้างอันเป็นจุดเริม่ ต้นของการคุม้ ครองลูกจ้างอย่างเป็นธรรม ด้าน น.ส.เอมาโฉ่ ตัวแทนมูลนิธิสิทธิมนุษยชนเพื่อ การพัฒนา กล่าวว่า ตนในฐานะทีเ่ ป็นตัวแทนแรงงานข้ามชาติ และได้ลงพื้นที่ท�ำงานเรื่องสิทธิมนุษยชนในพื้นที่ที่มีแรงงาน ข้ามชาติท�ำงานอยู่ โดยเฉพาะในพื้นที่เกาะ อาทิ เกาะพะงัน เกาะสมุย และเกาะเต่า ซึ่งประเด็นปัญหาที่พบใน 3 พื้นที่น้ี คือเรื่องสิทธิและสวัสดิการของแรงงานข้ามชาติในหลายส่วน ทัง้ ในเรือ่ งของประกันสังคม ค่าจ้าง และสวัสดิการ โดยแรงงาน ส่วนใหญ่ในเกาะไม่ได้รับการน�ำชื่อเข้าสู่ระบบประกันสังคม เพราะนายจ้างส่วนใหญ่ไม่ให้ความส�ำคัญกับเรือ่ งนี้ ทัง้ นีน้ ายจ้าง ส่วนใหญ่บนเกาะเป็นชาวต่างชาติและชาวไทยที่ไม่ยอมปฏิบัติ ตามกฎหมายแรงงานของประเทศไทย ซ�้ำร้ายเจ้าหน้าที่ต�ำรวจ ในพื้นที่ยังหากินกับแรงงานด้วยการออกตั๋วรายเดือนให้กับ แรงงานเดือนละ 500 บาท โดยเปลี่ยนสัญลักษณ์ของตั๋วไป เรื่อยๆ เมื่อแรงงานถูกเรียกตรวจก็จะยื่นตั๋วนี้ให้กับเจ้าหน้าที่ ซึ่งเป็นกระบวนการที่ไม่ถูกต้องและผิดกฎหมายแสดงให้เห็น ถึ ง กระบวนการคอรั ป ชั่ น ในกระบวนการยุ ติ ธ รรมของไทย อีกทั้งในส่วนของการให้ค่าจ้างแรงงานก็ไม่มีความเป็นธรรม ซึ่งกฎหมายไทยระบุว่าแรงงานจะต้องได้รับค่าจ้างขั้นต�่ำ 300 บาทต่อวัน แต่ความเป็นจริงแรงงานข้ามชาติที่ท�ำงานบนเกาะ ดังกล่าวได้ค่าจ้างเพียงเดือนละ 5,000-7,000 บาท และ บางคนท�ำงานไม่มีวันหยุด หรือต้องท�ำงานเป็นระยะเวลานาน โดยไม่ได้ค่าล่วงเวลา


นอกจากนี้ ยั ง มี ก รณี ศึ ก ษาของแรงงานข้ า มชาติ ที่ มี เอกสารการท�ำงานถูกต้องแต่นายจ้างไม่ยอมพาไปขึน้ ทะเบียน เป็ น ผู ้ กั น ตนในระบบประกั น สั ง คม และเมื่ อ แรงงานได้ รั บ อุบัติเหตุจากการท�ำงานจึงท�ำให้กลายเป็นอัมพาตครึ่งตัวก็ไม่ สามารถไม่สามารถได้รับเงินทดแทนและต้องนอนรักษาตัวอยู่

แรงงานจากโรงงานทอผ้าซิลเวอร์ แอนด์โกลด์ การ์เม็นท์ เข้าเจรจานายจ้างเพื่อแก้ไขปัญหานายจ้าง หักค่าใช้จ่ายในการขึ้นทะเบียนแรงงานข้ามชาติ

ที่โรงพยาบาลเกาะสมุยโดยที่ไม่สามารถช่วยตนเองได้ ตนจึง อยากเรี ย กร้ อ งแทนแรงงานเหล่ า นี้ ว ่ า รั ฐ บาลไทยควรออก มาตรการให้นายจ้างปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด โดย เคารพถึงศักดิศ์ รีความเป็นมนุษยและสิทธิขนั้ พืน้ ฐานทีแ่ รงงาน เหล่านี้ควรได้รับอย่างแท้จริง

สถานการณ์ด้านคดีที่น่าสนใจ โดยมีการแบ่งจ่ายเป็นสองงวด ในงวดแรกนายจ้างได้จ่ายให้ ลูกจ้างแล้วเมือ่ วันที่ 15 ตุลาคม 2557 เป็นเงิน 86,119 บาท เเละงวดที่ ส อง เป็ น เงิ น 132, 993 บาท เมื่ อวั น ที่ 14 พฤศจิกายน 2557 ที่ผ่านมา

ทายาทแรงงานข้ามชาติได้รับค่าสินไหมทดแทน จากบริษัทประกันภัยกรณีแรงงานข้ามชาติเสียชีวิต จากอุบัติเหตุโดยรถยนต์ เป็นเงิน 400,000 บาท เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2557 คลินิกกฎหมายแรงงาน ประจ�ำอ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก รับเรือ่ งร้องเรียนกรณีแรงงาน ข้ามชาติชาวพม่า ซึ่งเป็นลูกจ้างโรงงานทอผ้า ซิลเวอร์ แอนด์ โกลด์ การ์เม็นท์ จ�ำกัด ถูกนายจ้างหักค่าแรงเพื่อน�ำมาเป็นค่า ใช้จา่ ยแก่นายจ้างในการขึน้ ทะเบียนลูกจ้างและการด�ำเนินการ ขอใบอนุญาตท�ำงานให้ลูกจ้าง เป็นเงินจ�ำนวน 2,080 บาท ท� ำ ให้ แ รงงานมี ร ายได้ ไ ม่ เ พี ย งพอต่ อ การด�ำ รงชี พ อี ก ทั้ ง ยั ง เป็นการขัดต่อพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 76 และ มาตรา 77 ทีบ่ ญ ั ญัตไิ ว้วา่ นายจ้างไม่สามารถ หั ก เงิ น จ� ำ นวนดั ง กล่ า วได้ และหากจะหั ก เงิ น ลู ก จ้ า งแล้ ว นายจ้างจะต้องได้รบั ความยินยอมจากลูกจ้างและต้องมีหลักฐาน ที่มีลายมือชื่อของลูกจ้างว่าให้ความยินยอมให้หักเงินนั้นเพื่อ การเฉพาะอย่างเท่านัน้ แรงงานกลุม่ ดังกล่าวจึงประสานให้ทาง คลินิกกฎหมายแรงงานเข้าร่วมเจรจากับฝ่ายนายจ้างเพื่อต่อ รองให้นายจ้างหักค่าใช้จ่ายจากการขึ้นทะเบียนดังกล่าว เป็น เงิน 1,000 บาทต่อเดือน และขอเพิ่มสวัสดิการด้านน�้ำเพื่อ การอุปโภค และวันหยุดประจ�ำสัปดาห์ โดยสามารถหาข้อตกลง ร่วมกันระหว่างนายจ้างเเละลูกจ้างซึ่งเป็นแรงงานข้ามชาติได้ ว่า นายจ้างยินยอมคืนค่าขึ้นทะเบียนแรงงานข้ามชาติและ การขอใบอนุญาตท�ำงานให้แก่แรงงาน คนละ 2,080 บาท เมือ่ วันที่ 13 กันยายน 2557 แต่ยังมีกรณีที่นายจ้างยังค้างจ่าย ค่าจ้างของแรงงานจ�ำนวน 72 คน จึงมีการเจรจากันอีกครั้ง นายจ้างจึงตกลงจ่ายค่าแรงค้างจ่ายของแรงงานจ�ำนวน 72 คน

เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2557 เวลาประมาณ 18.00 น. นายหม่องมิวส่วยหรืออูมิว อายุ 34 ปี แรงงานข้ามชาติ ชาวพม่าซึง่ ประกอบอาชีพกรรมกรประเภทก่อสร้างอยูใ่ นพืน้ ที่ อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ได้ขี่รถจักรยานยนต์จากที่ท�ำงาน กลับบ้านพัก โดยระหว่างทางกลับบ้านมีรถยนต์กระบะโตโยต้า ซึ่งขับตามรถของนายหม่องมิวส่วยมาอย่างเร็วเสียหลักชนกับ รถจักรยานยนต์ที่นายหม่องมิวส่วยขับอยู่ เป็นเหตุให้นาย หม่องมิวส่วยเสียชีวิตทันที ต่อมาเจ้าหน้าที่ต�ำรวจได้เข้ามา ตรวจสถานที่เกิดเหตุและด�ำเนินคดีต่อผู้ขับขี่รถยนต์ที่ชนนาย หม่องมิวส่วย โดยในด้านการชดใช้เยียวยานั้น คลินิกกฎหมาย แรงงาน ประจ�ำอ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ได้ช่วยเหลือนา งด่อแมตู่ อายุ 65 ปี มารดาของนายหม่องมิวส่วย เพื่อขอรับ ค่าสินไหมทดแทนจากบริษทั ประกันภัยทีฝ่ า่ คูก่ รณีได้ทำ� ไว้สอง บริษัท ซึ่งบริษัทประกันภัยท้งสองได้พิจารณาและอนุมัติค่า สินไหมทดแทนให้แก่มารดาของนายหม่องมิวส่ว ดังนี้ 1. บริษทั

Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 19


สินมั่นคงประกันภัย จ�ำกัด มหาชน จ่ายค่าสินไหมทดแทน ให้เป็นเงิน 200,000 บาท รับมอบค่าสินไหมทดแทนเมือ่ วันที่ 6 ตุลาคม 2557 และบริษัทวิริยะประกันภัย จ�ำกัด มหาชน จ่ายค่าสินไหมทดแทนให้เป็นเงิน 200,000 บาท รับมอบ ค่าสินไหมทดแทนเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2557

แรงงานข้ามชาติได้รับค่าสินไหมทดแทน จากบริษัทประกันภัยและค่ารักษาพยาบาล จากเหตุการณ์อุบัติเหตุบนท้องถนน เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2557 คลินิกกฎหมายแรงงาน ประจ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ได้รับแจ้งว่า นางหละเยนุก แรงงานข้ามชาติชาวพม่าประสบอุบตั เิ หตุถกู รถยนต์ชนจนได้รบั บาดเจ็บสาหัสในขณะที่ก�ำลังเดินข้ามถนน ทางเจ้าหน้าที่ ประจ�ำคลินกิ กฎหมายแรงงานจึงได้ด�ำเนินการประสานงานไป ยังพนักงานสอบสวนเจ้าของคดี พร้อมทั้งแนะน�ำไปยังญาติให้ แจ้งกับทางโรงพยาบาลแม่สอดว่านางหละเยนุกสามารถใช้สทิ ธิ รักษาพยาบาลตามพระราชบัญญัตคิ มุ้ ครองผูป้ ระสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 จากบริษัทกรุงไทยประกันภัยได้ ไม่จ�ำเป็นต้อง ส�ำรองจ่ายค่ารักษาพยาบาลก่อน ต่อมาเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2557 ซึ่งเป็นวันนัด เจรจาไกล่เกลีย่ เพือ่ ตกลงชดใช้คา่ สินไหมทดแทน ทางเจ้าหน้าที่ คลินกิ กฎหมายแรงงาน จึงได้พานางหละยะนุกไปพบกับคูก่ รณี พร้อมทัง้ ตัวแทนบริษทั กรุงไทยประกันภัย และพนักงานสอบสวน ณ สถานนีต�ำรวจภูธรแม่สอด โดยมีเจ้าหน้าที่ล่ามของคลินิก เป็นตัวกลางในการแปลภาษา ผลการเจรจาคือ 1. นางหละเยนุกเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน จ�ำนวน 60,000 บาท จากบริษัทกรุงไทยประกันภัยโดยทางตัวเเทน ของบริษัทรับข้อเสนอไปเพื่อพิจารณาอนุมัติเงินดังกล่าว 2. คู ่ ก รณี ม อบเงิ น ช่ ว ยเหลื อ เป็ น เงิ น 5,000 บาท โดยมาจ่ายให้ในวันที่ 8 พฤศจิกายน 2557 ภายหลังจากนั้นทางเจ้าหน้าที่คลินิกกฎหมายแรงงาน ได้ประสานไปยังตัวแทนบริษทั กรุงไทยประกันภัยเพือ่ สอบถาม วันนัดรับค่าสินไหมทดแทนและแจ้งให้นางหละเยนุกทราบถึง วันนัด คือ วันที่19 ธันวาคม 2557 เเละในวันดังกล่าวทาง เจ้าหน้าทีค่ ลินกิ กฎหมายแรงงานได้พานางหละเยนุกไปรับเงิน ค่าสินไหมทดแทนจ�ำนวน 60,000 บาท เป็นที่เรียบร้อย ซึ่ง นางหละเยนุกพอใจแก่และไม่ตดิ ใจเอาความใดๆ กับคูก่ รณีอกี

ส�ำนักงานประกันสังคมอนุมัติค่าชดเชย อันเนื่ิองมาจากการถูกเลิกจ้างเเก่แรงงาน

นาย SOE MYING NAING ป่วยเป็นระยะเวลาหลายวัน นาย SOE MYINT NAING จึงได้ยื่นเรื่องร้องเรียนไปยังส�ำนักงาน สวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน จังหวัดสวัสดิการ และวันที่ 26 ธันวาคม 2557 ฝ่ายนายจ้างได้ตกลงจ่ายค่าชดเชยให้นาย SOE MYING NAING เป็นเงิน 27,000 บาท กรณีเลิกจ้าง ระหว่าง ที่ว่างงาน นาย SOE MYING NAING ได้ยื่นค�ำร้องขอรับเงิน ค่าชดเชยจากส�ำนักงานประกันสังคม และได้รับอนุมัติค�ำร้อง แล้ว โดยนาย SOE MYINT NAING ไปรายงานตัวกับเจ้าหน้าที่ ส�ำนักงานประกันสังคม สมุทรปราการ เพื่อรับเงินประกัน การว่างงานในงวดแรก วันที่ 19 ธันวาคม 2557

ทายาทแรงงานข้ามชาติได้รับสิทธิประโยชน์ จากส�ำนักงานประกันสังคมและค่าสินไหมทดแทน ตาม พรบ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ เมื่อเดือนตุลาคม 2557 นางเมียะ แรงงานข้ามชาติ ประสบอุบตั จิ ากรถยนต์ ขณะทีน่ งั่ ซ้อนท้ายรถจักรยานยนต์สามี กลับบ้าน เหตุเกิดที่จังหวัดเชียงใหม่ เนื่องจากนางเมียะ เป็น แรงงานที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็น ผู้ประกันตนกับส�ำนักงานประกัน สังคม ทายาทจึงได้รับสิทธิประโยชน์เป็นค่าท�ำศพ เป็นเงิน 40,000 บาท และจากเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ ไม่สามารถหาคูก่ รณี มารับผิดชอบได้ ทายาทของนางเมียะจึงได้รับเงินค่าสินไหม ทดแทนตามพรบ.คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 ในงวดแรก เป็นเงิน 43,186 บาท และงวดที่สอง เป็นเงิน 150,000 จะมีก�ำหนดจ่ายเมื่อทายาทได้ยื่นเอกสารครบถ้วน ตามเงื่อนไขการขอรับเงินค่าสินไหมทดแทนเรียบร้อยแล้ว

แรงงานข้ามชาติยังประสบปัญหาการเข้าถึงสิทธิ ประโยชน์กรณีชราภาพ จากส�ำนักงานประกันสังคม สืบเนื่องจากเงื่อนไขด้านเอกสารรับรองทางราชการ

โครงการยุติธรรมเพื่อเเรงงานข้ามชาติ ประจ�ำพื้นที่ มหาชัย จังหวัดสมุทรสาครได้รับเรื่องร้องเรียนจากนางสาว เมื่ อ เดื อ นพฤศจิ ก ายน 2557 นาย SOE MYINT NAY CHI OO แรงงานข้ามชาติชาวพม่า โดยนางสาว NAY NAING ซึง่ ลูกจ้างท�ำหน้าทีต่ ดั เหล็ก ได้ถกู เลิกจ้าง สืบเนือ่ งจาก CHI OC เเจ้งว่าสามีของตนซึง่ เป็นแรงงานข้ามชาติทำ� งานอยูใ่ น 20 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


ประเทศไทยเเละขึ้นทะเบียนเป็น ผู้ประกันตนกับส�ำนักงาน ประกันสังคม ป่วยเป็นโรคไตและเสียชีวติ ลงเมือ่ เดือน กุมภาพันธ์ 2557 แต่เนื่องจากสามีของนางสาว NAY CHI OO เสียขีวิต ที่ประเทศพม่า นางสาว NAY CHI OO จึงไม่สามารถน�ำใบ มรณะบัตรมายื่นค�ำร้องขอรับสิทธิประโยชน์กรณีชราภาพของ ผูต้ ายกับส�ำนักงานประกันสังคมได้ เนือ่ งจากประเทศพม่าไม่มี

ระบบในการออกหนังสือรับรองดังกล่าว ท�ำให้นางสาว NAY CHI OO ใช้ระยะเวลาหลายเดือน ในการด�ำเนินการหาเอกสาร รับรองการเสียชีวิตของสามีจากเจ้าหน้าท่ี่ในประเทศพม่ า และกระบวนการแปลเอกสารรับรองการเสียชีวิตและรับรอง การแปลโดยสถานฑูตพม่าประกอบกับหนังสือรับรองการรักษา อาการป่วยของสามีก่อนเสียชีวิตที่โรงพยาบาล ส�ำนักงาน ประกันสังคมจึงได้ยอมรับค�ำร้องพร้อมเอกสารประกอบการยืน่ ค�ำร้อง และต่อมาส�ำนักงานประกันสังคมได้อนุมตั เิ งินค่าท�ำศพ แก่นางสาว NAY CHI OO เป็นเงิน 40,000 บาท แต่ไม่ สามารถรับสิทธิประโยชน์กรณีชราภาพของผู้ตายได้เนื่องจาก มิได้จดทะเบียนสมรสตามกฎหมายกับผู้ตาย ส่วนพ่อแม่ของ ผูต้ ายก็ได้เสียชีวติ ไปแล้วทัง้ สองคน ทางส�ำนักงานประกันสังคม จึงไม่สามารถจ่ายเงินค่าท�ำศพได้เนื่องจากไม่มีทายาท ท�ำให้ สิทธิประโยชน์กรณีชรราภาพกล่าวตกเป็นของส�ำนักงานประกัน สังคม แนะน�ำกิจกรรม

แนะน�ำรายการวิทยุแม่สอด โครงการต่อต้านการค้ามนุษด้านแรงงาน มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและ การพัฒนา ได้จดั ท�ำรายการวิทยุเพือ่ แรงงานข้ามชาติ ผ่านสถานีวทิ ยุกระจายเสียง แห่งประเทศไทยประจ�ำจังหวัดตาก โดยออกอากาศในระบบ FM คลื่นความถี่ 103.75 เป็นภาษาไทย และภาษาพม่า ซึ่งด�ำเนินรายการโดย เจ้าหน้าที่คลินิก กฎหมายแรงงานประจ�ำอ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ทั้งมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ ผู้ฟังรายการมีความรู้ ความเข้าใจหลักการด้านสิทธิมนุษยชน นโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองสิทธิของแรงงาน กฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ และประเด็นอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจ�ำวันของแรงงานข้ามชาติ รายการวิทยุออกอากาศทุกวันอังคาร หลังข่าวภาคบ่าย เวลา 15.20-16.00 น. 2-3 ตุลาคม 2557 ตัวแทนมูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา เข้าร่วมประชุมและเป็นวิทยากรแลกเปลีย่ นการสัมมนาเรือ่ ง “NGO & Trade Unions Preparatory Meeting” ซึ่งจัดโดยองค์การด้านแรงงานระหว่าง ประเทศ (International Labour Organization : ILO) ณ โรงแรม Amari Watergate กรุงเทพมหานคร โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ ในเรื่องแนวปฏิบัติด้านแรงงานที่ดี (Good Labour Plactice-GLP) ให้แก่ ผู้แทนจากหน่วยงานต่างทั้งจากภาครัฐและเอกชน เช่น กรมสวัสดิการและ คุ้มครองแรงงาน (Department of Labour Protection and Welfare), ศูนย์อภิบาลผู้เดินทางทางทะเลศรีราชา (Stella Maris Seafarers’ Center Sriracha), มูลนิธิเครือข่ายส่งเสริมคุณภาพชีวิตแรงงาน (Labour Rights Promotion Network), และมูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา เป็นต้น รวมถึงเครือข่ายสหภาพแรงงาน พร้อมทั้งได้ให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้เสนอ ความคิดเห็นในการน�ำเอาแนวปฏิบัตินี้ไปปรับใช้กับองค์กรทุกภาคส่วนที่ เกี่ยวข้อง Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 21


3 ตุลาคม 2557 ตัวแทนมูลนิธิเพื่อ สิทธิมนุษยชนและการพัฒนาเข้าร่วมประชุม เวทีประชุมว่าด้วย “การจัดหางานนานาชาติ: กรอบแนวคิดและความท้าทายด้านนโยบาย (International Labour Recruitment: Conceptual and Policy Challenges)” จัดโดยองค์การด้านแรงงานระหว่างประเทศ (International Labor Organization : ILO) ณ ห้ อ งประชุ ม UNESCAP ส� ำ นั ก งาน องค์การสหประชาชาติ กรุงเทพมหานคร การประชุมมีวัตถุประสงค์เพื่อส�ำรวจหาก รอบแนวคิ ด ว่ า ด้ ว ยการจั ด หางาน โดยมี การน�ำเสนอรายงานการวิจัยของอาจารย์ Xiang Biao จากมหาวิทยาลัยออกฟอร์ด ว่าด้วยเรื่องการย้ายถิ่นในเอเชียตะวันออก ในรอบทศวรรษที่ ผ่ า นมา มาตรฐานด้าน แรงงานขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ และการท�ำงานมีคุณค่าในภูมิเอเชีย เพื่อใช้ ในการหารือและส�ำรวจกรอบแนวคิดว่าด้วย การจัดหางานในครั้งนี้ด้วย

5 ตุลาคม 2557 ตัวแทน มู ล นิ ธิ เ พื่ อ สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนเเละการ พัฒนา เข้าร่วมประชุม กรรมการ บริ ห ารเครื อ ข่ า ยทนายความด้ า น การให้ความช่วยเหลือกฎหมายแก่ ประชาชนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (SEALAW) และร่วม แลกเปลี่ยน ความรู้ด้านนโยบายรวมทั้งกิจกรรม การให้ความช่วยเหลือและส่งเสริม แรงงานข้ามชาติให้สามารถเข้าถึง กระบวนการยุตธิ รรมในประเทศไทย ให้แก่นักกฎหมายที่เข้าร่วมอบรม เรือ่ งการให้ความช่วยเหลือประชาชน ทางกฎหมายโดยไม่คิดมูลค่าซึ่งจัด โดยองค์กรสะพานเชือ่ มข้ามพรมแดน ของชุ ม ชนกฎหมายแห่ ง เอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ (BABSEA CLE) และ สภาทนายความของประเทศสิงคโปร์ ณ ประเทศสิงคโปร์ 7 ตุลาคม 2557 ตั ว แทนมู ล นิ ธิ เ พื่ อ สิ ท ธิ มนุษยชนเเละการพัฒนา เข้าร่วมประชุมการหารือ ประเด็น “ติดตามความ คืบหน้าการด�ำเนินการต่อ ร่างกฎกระทรวงว่าด้วย การคุ้มครองแรงงานในงานประมงทะเล พ.ศ. ....” จัดโดย คณะกรรมการปฏิรูป กฎหมายโดยคณะอนุกรรมการปฏิรูปกฎหมายด้านแรงงาน ณ ห้องประชุม ส�ำนักงานคณะกรรมการปฏิรปู กฎหมาย อาคาร์ซอฟต์เเวร์ปาร์ค ต�ำบลคลองเกลือ อ�ำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี โดยมีการแลกเปลี่ยนความเห็นระหว่าง คณะอนุกรรมการปฏิรูปกฎหมายด้านแรงงาน เจ้าหน้าที่จากองค์การแรงงาน ระหว่างประเทศ รวมทั้งผู้เข้าร่วมประชุมจากหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและ เอกชน ต่อร่างกฎกระทรวงฉบับดังกล่าวนี้ด้วย

7-8 ตุลาคม 2557 สหพันธ์ คนงานข้ามชาติและโครงการยุติธรรม เพื่ อ แรงงานข้ า มชาติ ป ระจ� ำ จั ง หวั ด เชียงใหม่ ร่วมกันจัดกิจกรรมเผยแพร่ เอกสารด้ า นสิ ท ธิ แ รงงาน การให้ ค� ำ ปรึกษาทางกฎหมาย และจัดระดมทุน แก่แรงงานข้ามชาติที่มาเที่ยวชมงาน วั ฒ นธรรม ณ วั ด แม่ ก ๊ า อ� ำ เภอ ดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีแรงงานมาขอรับเอกสารและขอค�ำปรึกษากว่า 200 คน

22 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


10 ตุลาคม 2557 คลินกิ กฎหมายแรงงานประจ�ำอ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก จัด กิจกรรมเยี่ยมบ้านแรงงานข้ามชาติ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับ แรงงานข้ามชาติ การให้ความรู้และให้ค�ำปรึกษาด้านกฎหมายแรงงานที่ไม่สามารถเดิน ทางเพือ่ ขอรับการช่วยเหลือหรือค�ำปรึกษาด้านปัญหาแรงงานได้ นองจากนีท้ างเจ้าหน้าที่ คลินิกกฎหมายแรงงานยังได้พบปะแรงงานข้ามชาติในสถานที่ก่อสร้าง พื้นที่ต�ำบลท่า สายลวด อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ทีม่ แี รงงานข้ามชาติประกอบอาชีพกรรมกรก่อสร้าง อยู่กว่า 80 คน ซึ่งมีแรงงานหญิงรวมอยู่ด้วยจ�ำนวน 3 คนโดย แรงงานข้ามชาติได้ร่วม แลกเปลีย่ นถึงสภาพการท�ำงานและสวัสดิการ ซึง่ แรงงานเหล่านีย้ งั ให้ขอ้ มูลเพิม่ เติมแก่ เจ้าหน้าที่คลินิกกฎหมายแรงงานแรงงานทั้งหมดก�ำลังอยู่ในระหว่างขั้นตอนการขึ้น ทะเบียนทีศ่ นู ย์บริการเบ็ดเสร็จซึง่ นายจ้างของแรงงานทัง้ หมดเป็นผูอ้ ำ� นวยความสะดวก ให้เเต่แรงงานข้ามชาติจะต้องเป็นผูร้ บั ผิดชอบค่าใช้จา่ ยเอง ซึง่ เจ้าหน้าทีค่ ลินกิ กฎหมาย แรงงานก็ได้ให้ความรูเ้ พิม่ เติมแก่แรงงานข้ามชาติเกีย่ วกับขัน้ ตอนการขึน้ ทะเบียนแรงงาน และการขอใบอนุญาตท�ำงาน ตามประกาศของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) รวมทั้งการให้ความรู้ด้านกฎหมายคุ้มครองแรงงานอีกด้วย ระหว่ า งวั น ที่ 15-17 ตุลาคม 2557 ตัวเเทนมูลนิธเิ พือ่ สิทธิ มนุษยชนและการพัฒนา เข้าร่วมการประชุมเชิง ปฏิบัติการเรื่อง “การ พัฒนาแนวปฏิบตั กิ ารใช้แรงงานทีด่ ี (ILO RTG Multi-stakeholder Workshop for the Good Labor Practices Programme in Thailand)” ซึ่งจัดโดยองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labor Organization: ILO) ร่ ว มกั บ กรมประมง กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ณ โรงแรมบัดดี้โอเรียนทอล ริเวอร์ไซด์ อ�ำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี เพือ่ พัฒนาแผนแม่บท ในการน� ำ แนวปฏิ บั ติ ด ้ า นแรงงานที่ ดี ไ ปใช้ เ เละเปิ ด โอกาสให้ ผู้เข้าร่วมประชุมก�ำหนดวิสัยทัศน์เเละวัตถุประสงค์ในการน�ำ แผนเเม่บทดังกล่าวไปใช้ในบริบทขององค์กรตัวเองด้วย

20 ตุลาคม 2557 ตัวแทนมูลนิธเิ พือ่ สิทธิมนุษยชน เเละการพัฒนา ตัวแทนจากรัฐบาลไทย ตัวเเทนจากองค์กร นายจ้าง ตัวเเทนจากองค์กรลูกจ้าง และภาคประชาสังคม เข้าร่วมประชุมเพื่อเตรียมข้อเสนอระดับประเทศว่าด้วย การปกป้องและส่งเสริมสิทธิของแรงงานข้ามชาติ เพื่อน�ำ เสนอในเวทีประชุมด้านแรงงานย้ายถิ่น (AFML) ครั้งที่ 7 ประเทศเมียนมาร์ โดยการประชุมเตรียมข้อเสนอระดับ ประเทศครั้ ง นี้ จัดโดยองค์การ ด้านแรงงาน ระหว่างประเทศ (International Labor Organization: ILO) ร่ ว มกั บ กระทรวงแรงงาน ณ โรงแรม แลนด์มาร์ค กรุงเทพมหานคร

21 ตุลาคม 2557 โครงการความร่วมมือเพื่อต่อต้านการค้ามนุษย์แห่งองค์การ สหประชาติ (United Nations for Cooperation against Trafficking in Persons or UN-ACT) ร่วมกับ สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (Thailand Institute of Justice) องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organisation) มูลนิธิ เครือข่ายส่งเสริมคุณภาพชีวติ แรงงาน (Labour Rights Promotion Network) และมูลนิธิ เพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา (Human Rights and Development Foundation) จัดการประชุมคณะผูเ้ ชีย่ วชาญและผูป้ ฏิบตั งิ านด้านการต่อต้านการค้ามนุษย์เรือ่ ง “แรงงาน ขัดหนี้และการค้ามนุษย์ (Roundtable Discussion on Debt Bondage and Human Trafficking)” ณ โรงแรมแลนด์มาร์ค กรุงเทพมหานคร เพือ่ หารือและแลกเปลีย่ นมุมมองในเชิงลึกเกีย่ วกับสถานการณ์แรงงานขัดหนีท้ นี่ ำ� ไปสูก่ ารค้ามนุษย์ในประเทศไทย โดยมีผู้แทนจากส�ำนักงานศาลยุติธรรม หน่วยงานในสังกัดกระบวนการยุติธรรมอาญา เช่น กรมสอบสวนคดีพิเศษ, ส�ำนักงาน อัยการสูงสุด, กองบังคับการป้องกันและปราบปรามการกระท�ำความผิดเกี่ยวกับการค้ามนุษย์ (ปคม.) และหน่วยงานบังคับใช้ กฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนผู้เชี่ยวชาญและตัวแทนจากองค์กรระหว่างประเทศ เข้าร่วมการหารือในครั้งนี้ด้วย Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 23


16 พฤศจิกายน 2557 โครงการ ยุติธรรมเพื่อแรงงานข้ามชาติประจ�ำพื้นที่ มหาชัย จังหวัดสมุทรสาคร จัดกิจกรรม ให้ความรู้ทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิ แรงงาน เช่น กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครอง แรงงาน กฎหมายว่ า ด้ ว ยประกั น สั ง คม กฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน รวมทัง้ สิทธิใน การรวมกลุม่ ของเเรงงานข้ามชาติ ณ ชุมชนแรงงานข้ามชาติ อ�ำเภอเกาะสมุย จังหวัด สุราษฎร์ธานี โดยมีกลุ่มแรงงานข้ามชาติที่เป็นแรงงานในภาคธุรกิจโรงแรมเข้าร่วม กิจกรรมทั้งสิ้น 25 คน 25-26 ตุลาคม 2557 โครงการ ยุ ติ ธ รรมเพื่ อ แรงงานข้ า มชาติ ป ระจ� ำ จังหวัดเชียงใหม่ร่วมกับสหพันธ์คนงาน ข้ามชาติจัดกิจกรรมเสวนาแลกเปลี่ยน ปัญหาระหว่างแรงงานไทยและแรงงาน ข้ า มชาติ โดยมี ส หภาพแรงงานย่ า น รังสิตและใกล้เคียง สหภาพแรงงานไทย จากอ�ำเภอสันก�ำแพง จังหวัดเชียงใหม่ และสหภาพแรงงานไทยจังหวัดล�ำพูน เข้ า ร่ ว มแลกเปลี่ ย นปั ญ หาตลอดจน การพัฒนาการจัดตั้งกลุ่มแรงงาน ณ โรงแรมฮอลิเดย์การ์เดน จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีผู้เข้าร่วมทั้งหมด 33 คน

19 พฤศจิกายน 2557 เจ้าหน้าที่ โครงการต่อต้านการค้ามนุษย์ดา้ นแรงงาน (Anti Labour Trafficking: ALT) เข้าร่วม “การประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารเพือ่ หาทางออก ทีย่ งั่ ยืนให้กบั ปัญ ั หาการค้ามนุษย์ในกิจการ ประมงทะเล (Human Trafficking in the Fisheries Sector: Designing Solutions and Innovations)” ณ โรงแรมบีพี สมิหลา บีช โฮเทล และรีสอร์ท จังหวัดสงขลา ซึ่งจัดขึ้นโดย Project Issara ร่วมกับ Stella Marris โดยมีเจ้าหน้าทีจ่ ากทัง้ หน่วยงานของรัฐ หน่วยงานเอกชน เข้าร่วมการ ประชุมเเละถกประเด็นปัญหาเพื่อร่วมหาทางออกในการแก้ปัญหาการค้ามนุษย์ เช่น ปัญหาในขั้นตอนของการจัดหางานและกระบวนการนายหน้า, การตอบรั บความยุติธรรมทางอาญา (Criminal Justice Response), ระบบการติดตามและ ควบคุมเรือประมง และกระบวนการคุ้มครองเยียวยาผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ เป็นต้น

20 พฤศจิกายน 2557 คลินกิ กฎหมายแรงงานประจ�ำอ�ำเภอ แม่สอด จังหวัดตาก จัดกิจกรรมเยีย่ มบ้านแรงงานข้ามชาติ ณ ชุมชน บ้านฝาย อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ซึง่ เป็นชุมชนทีม่ แี รงงานข้ามชาติ อาศั ย อยู ่ ป ระมาณ 200 คน โดยแรงงานส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ลู ก จ้ า ง ในโรงงานเย็บผ้าและได้ขึ้นทะเบียนแรงงานที่ศูนย์บริการเบ็ดเสร็จ ตามประกาศของคณะรักษาความสงบแห่งชาติเเล้ว ดังนัน้ เจ้าหน้าที่ คลินิกกฎหมายแรงงานจึงให้ความรู้ทางกฎหมายด้านการคุ้มครอง สิทธิของแรงงานรวมทั้งสิทธิอื่นๆ เช่น ระบบประกันสุขภาพตามที่ แรงงานได้ท�ำไว้ระหว่างที่ขึ้นทะเบียนแรงงานที่ศูนย์ การจดทะเบียน การเกิดของลูกแรงงาน เป็นต้น 24 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

22-23 พ ฤ ศ จิ ก า ย น 2557 ผู ้ แ ทน มู ล นิ ธิ เ พื่ อ สิ ท ธิ มนุษยชนเเละการ พั ฒนา เข้ า ร่ ว ม ประชุ ม สั ม มนา เครือข่ายองค์กร ที่ ท� ำ ง า น ด ้ า น ประชากรข้ามชาติ ที่ เ มื อ ง พั ท ย า จังหวัดชลบุรี ซึ่งจัดขึ้นเพื่อหารือเกี่ยวกับโครงสร้าง บทบาทของสมาชิกขอการจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์ และ แผนการท�ำงานร่วมกันของสมาชิกในเครือข่ายองค์กร ที่ท�ำงานด้านประชากรข้ามชาติ


25 พฤศจิกายน 2557 โครงการยุติธรรมเพื่อ แรงงานข้ามชาติประจ�ำจังหวัดเชียงใหม่ ร่วมกับสหพันธ์ คนงานข้ า มชาติ แ ละเครื อ ข่ า ยในจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ จั ด กิ จ กรรมยุ ติ ค วามรุ น แรงต่ อ สตรี แ ละเด็ ก ณ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยมีผู้เข้าร่วมกว่า 100 คน 27 พฤศจิ ก ายน 2557 ผู ้ แ ทน มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนเเละการพัฒนา เข้าร่วมงาน “สัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อ ติดตามผลข้อเสนอจากการประชุมภาค ประชาสังคมและมหกรรมภาคประชาชน อาเซียน ปี 2557 (ASEAN Civil Society/ ASEAN People’s Forum: ACSC/APF 2014)” ณ ห้องประชุม จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย โดยการสัมมนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาสังคม ได้ร่วมกันทบทวนเนื้อหา และข้อเสนอจากการประชุม ACSC/APF 2014 ที่เสนอ ต่อผูแ้ ทนรัฐบาลและภาคประชาชนร่วมทัง้ สนับสนุนให้เกิดความเข้าใจ ความร่วมมือ ระหว่างหน่วยงานภาครัฐ วิชาการ ภาคประชาชนในประเด็นอาเซียน และจัดท�ำเอกสาร การติดตามผลเพื่อเสนอต่อส�ำนักเลขาธิการอาเซียนในเวทีมหกรรมภาคประชาชน อาเซียน ปี 2558 ณ ประเทศมาเลเซีย 1-4 ธันวาคม 2557 ผู้แทนมูลนิธิ เพื่อสิทธิมนุษยชนเเละการพัฒนา เข้าร่วม โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การ จัดท�ำตัวชีว้ ดั การปฏิบตั ติ ามอนุสญ ั ญาด้าน สิทธิมนุษยชน” ณ โรงแรมเซนทาราแกรนด์ แอทเซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพมหานคร ซึง่ จัด โดยศูนย์กฎหมายสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา สาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช ร่วมกับ ส�ำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เพื่อรับ ฟังความคิดเห็นจากผู้ปฏิบัติงาน ทั้งภาครัฐและเอกชนต่อการจัดท�ำร่างตัวชี้วัดตาม อนุสัญญาสิทธิมนุษยชน 9 ฉบับ ทั้งนี้เพื่อปรับปรุงให้มีความสอดคล้องเชื่อมโยงกัน ก่อนพัฒนาไปเป็นร่างตัวชี้วัดฉบับสุดท้ายและจะเสนอต่อคณะกรรมการของแต่ละ สนธิสัญญาต่อไป

29-30 พฤศจิ ก ายน 2557 โครงการยุติธรรมเพื่อแรงงานข้ามชาติ ประจ�ำจังหวัดเชียงใหม่ จัดฝึกอบรม ให้ ค วามรู ้ แ ก่ ก ลุ ่ ม ผู ้ ช ่ ว ยทนายความ ณ มหาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีเนือ้ หาเกีย่ วสิทธิมนุษยชนเบือ้ งต้น กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับแรงงานข้ามชาติ และการสอบข้อเท็จจริง โดยมีผู้เข้าร่วม การอบรมทั้งหมด 18 คน เป็น ผู้ช่วย ทนายความจากอ�ำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ จ�ำนวน 4 คนเเละแรงงานข้ามชาติที่ สนใจอีก 14 คน

13-14 ธันวาคม 2557 ผู้แทนมูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนเเละการพัฒนาเข้าร่วม การประชุม ภูมิภาคว่าด้วยวาระการพัฒนาหลังปี 2015 วิกฤตแรงงานข้ามชาติและ กระบวนการปรึกษาหารือภูมิภาค ซึ่งจัดโดย Migrant Forum in Asia ร่วมกับ Bar Council Migrants Refugees and Immigration Affairs Committee ณ กรุง กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้ตวั แทนองค์กรภาคประชาสังคมทีท่ ำ� งานด้านการปกป้องและคุม้ ครอง สิทธิของแรงงานย้ายถิ่นในเอเชีย ร่วมกันหารือเพื่อน�ำไปสู่การท�ำกิจกรรมด้านการรณงค์ให้เกิดแผนปฏิบัติตามข้อเสนอ 8 ข้อ ที่ เกีย่ วข้องกับแรงงานย้ายถิน่ ตามแผนพัฒนาหลังปี 2015 อันสืบเนือ่ งมาจากผลการเสวนาระดับสูงว่าด้วยการย้ายถิน่ และพัฒนา (จัดโดย ส�ำนักงานองค์การสหประชาชาติ ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยสามารถอ่านรายละเอียดเพิม่ เติมได้ที่ http://hldcivilsociety. org/wp-content/uploads/2013/10/0261-HDL_The-5-year-Action-Plan-GB-web2.pdf ) รวมทั้งหารือเกี่ยวกับแผนการ ติดตามและรณรงค์เพื่อให้เกิดกลไกการคุ้มครองแรงงานย้ายถิ่นในระดับภูมิภาคอาทิ ในระดับอาเซียน ระดับเอเชียใต้ เป็นต้น Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 25


14 ธันวาคม 2557 สหพันธ์คนงานข้ามชาติ ได้จัด ประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี 2557 โดยมีคณะกรรมการและ สมาชิกเข้าร่วมการประชุม 50 คน เเบ่งเป็นผู้เข้าร่วมชาย 22 คน และผู้เข้าร่วมหญิง 28 คน ณ บ้านพักทัศนจร รีสอร์ท ต�ำบล ป่าแดด อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งใน การประชุมมีวาระส�ำคัญเพือ่ จัดตัง้ และสรรหาคณะกรรมการ ชุดใหม่ เพือ่ ทีจ่ ะท�ำงานในสหพันธ์คนงานข้ามชาติในปีถดั ไป

16 ธันวาคม 2557 โครงการยุติธรรมเพื่อแรงงาน ข้ามชาติ ประจ�ำจังหวัดเชียงใหม่ได้ลงพื้นที่ให้ความรู้เรื่อง สิทธิแรงงานแก่แรงงานข้ามชาติ ในแคมป์ก่อสร้าง ต�ำบล แม่เหี่ยะ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีผู้เข้าร่วม ทั้งหมด 21 คน แบ่งเป็นชาย 11 คน และหญิง 10 คน 16-17 ธันวาคม 2557 ตัวแทน มูลนิธเิ พือ่ สิทธิมนุษยชนเเละการพัฒนา เข้าร่วมประชุมระดับภูมภิ าคว่าด้วยการ ปฏิรูปกระบวนการจ้างงาน ซึ่งจัดโดย Migrant Forum in Asia ณ กรุงอัมมาน ประเทศจอร์ แ ดน การประชุ ม ครั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ น� ำ เสนอผลการ ส�ำรวจช่องว่างและความท้าทายของ กระบวนการจัดหางาน การจัดท�ำข้อเสนอ และการพัฒนาแผนปฏิบัติการเพื่อการ รณงค์ให้มกี ารปฏิรปู กระบวนการจัดหา งานโดยมุ่งให้กระบวนการจัดหางาน มีความเป็นธรรมและกลไกการคุม้ ครอง ต่อแรงงานที่ย้ายถิ่นให้ดียิ่งขึ้น

16 ธันวาคม 2557 โครงการความร่วมมือเพื่อ ต่ อ ต้ า นการค้ า มนุ ษ ย์ แ ห่ ง องค์การสหประชาติ (United Nations for Cooperation against Trafficking in Persons: UN-ACT) ได้จดั การประชุมหน่วยงานภาคีเครือข่ายว่าด้วยการต่อต้าน การค้ามนุษย์ในประเทศไทย (Thai Inter-Agency Working Group Meeting on Counter Trafficking) โดยมีการน�ำเสนอ รายงานกระบวนการความร่วมมือระดับรัฐมนตรีของประเทศ ในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น�้ำโขงเพื่อต่อต้านการค้ามนุษย์ (COMMIT Process) และความคืบหน้าในการด�ำเนินงานของโครงการ UN-ACT รวมทั้งการน�ำเสนอรายงานการศึกษาเรื่อง “การค้า มนุษย์การแสวงประโยชน์ และการทารุณกรรมในประเทศภูมภิ าค ลุ่มน�้ำโขง” โดยองค์การระหว่างประเทศเพื่อการโยกย้ายถิ่นฐาน (International Organization for Migration: IOM) ตลอดจน การน�ำเสนอและอภิปรายหัวข้อ “แรงงานประมงและเหยือ่ ค้ามนุษย์: ปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหาเชิงรุก” โดย กระทรวงแรงงาน และมูลนิธิเครือข่ายส่งเสริมคุณภาพชีวิตและแรงงาน (Labour Rights Protection Network : LPN)

วันที่ 17 ธันวาคม 2557 เครือข่ายคณะท�ำงานด้านประชากร ข้ า มชาติ (Migrant working Group) ได้ จั ด งานแถลงข่ า วใน หัวข้อ “สถานการณ์เด่นแรงงาน ข้ามชาติในรอบปี 2557 และแนวโน้มการจัดการแรงงานข้ามชาติในอนาคตของ ประเทศไทย” ณ สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย กรุงเทพมหานคร โดยมีการน�ำเสนอสารคดีสั้นเรื่อง “สถานการณ์เด่นแรงงานข้ามชาติในปี 2557” และแถลงข่าวในหัวข้อ “สถานการณ์เด่นแรงงานข้ามชาติในรอบปี 2557 และ แนวโน้มการจัดการแรงงานข้ามชาติในอนาคตของประเทศไทยในประเด็นสถานการณ์ ต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับแรงงานข้ามชาติ” อาทิเช่น นโยบายสุขภาพและการเข้าถึงบริการ สาธารณะ, เด็กและการศึกษา, การลักลอบหนีเข้าเมืองของชาวโรฮิงญา, สิทธิและ การเข้ากระบวนการยุติธรรม, การค้ามนุษย์และการคุ้มครองแรงงานข้ามชาติ ในกิจการประมงทะเล เป็นต้น

20 ธันวาคม 2557 สหพันธ์คนงานข้ามชาติ ได้ลงพื้นที่ให้ความรู้ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยการประกันสังคมและกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน ให้กับแรงงาน ภาคเกษตร ณ หมูบ่ า้ นต้นผึง้ ต�ำบลเหมืองแก้ว อ�ำเภอแม่รมิ จังหวัดเชียงใหม่ จ�ำนวน 21 คน เเบ่งเป็นชาย 11 คนเเละหญิง 10 คน 26 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


Laws and Policies

Human trafficking and fishery workers Phattranit Yaodam1

Various Bills are tabled for reading or are being read by either the cabinet or the National Legislative Assembly (NLA). They are advocated by the agencies that have made the drafts. One of them that commands attention of the Anti-human Trafficking in Labour Project is the Draft Act for the Amendment of the Prevention and Suppression of Human Trafficking Act B.E.‌ The existing Prevention and Suppression of Human Trafficking Act B.E. 2551 (2008) is a statutory law that deals directly with solutions to human trafficking and it was issued after the coup in 2006. Uniquely, the Act constitutes legal provisions which aim to suppress a human trafficking offense and to provide remedies to victims of human trafficking through multidisciplinary teamwork. That Thailand has been downgraded to Tier 2.5 in the US Watch list (from Tier 3 which Thailand had enjoyed for four years successively) attests to how the state has failed to adequately come up with measures for the prevention and suppression of human trafficking (compared to the standard set forth in the US Protection Victims Protection Act 2000). Since then, media, government agencies and NGOs have been actively endeavoring to solve the problem of human trafficking. Committees have been set up, policies, campaigns and legal amendments have been proposed gearing toward eliminating human trafficking.

to one’s own body. Individuals have been subject to exploitation via prostitution, being forced to beg for money, subject to amputation, subject to forced labor, particularly in marine fishery sector. As a result, human trafficking among marine fishery workers as victims of human trafficking is among the most mentioned problems thus far.

2. Who are the fishery workers? Where do they come from? Fishery workers are those employed in fishery sector including traditional fishery (coastal fishery) and commercial fishery. There are different levels of fishery workers including skilled workers such as those providing services in eateries on the cruise ships and unskilled workers including other general fishery workers who can be found on commercial trawlers. According to the current statistics, there is still high demand for fishery workers of this kind, particularly in marine fishery sector since most of the business has not been developed technologically and adequately 1. Why does Thailand have to prioritize mechanized to replace unskilled labor. Based on the registration of over 53,141 solving human trafficking even though trawlers and the export volume in the second we have many other issues to deal semester of 2013 at 899,085.31 tons or 109,994.99 with including rice farming and million baht, it is estimated that there are over space transportation? 200,000 workers being employed in the strong The reason is that human trafficking is fishery sector of Thailand2[1]. At the same time, only a violation of one of the fundamental rights, the right 4,508 migrant workers from the three nationalities 1

Phattranit Yaodam, HRDF Advisor, Anti-Human Trafficking Project Report on the trend of labor demand, 2010-2014, available at http://human.aru.ac.th/www/images/stories/Font_Goverment/7.pdf (accessed on 15 November 2013)

2 [1]

Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 27


including Burma, Cambodia and Laos are officially registered and work legally in fishery sector3[2]. (The data was retrieved prior to another round of registration of migrant workers organized by the National Council for Peace and Order (NCPO) in 2014.) The question is; where are the more than one hundred thousand of migrant workers who are missing here? The answer is they are not missing. They are still employed in marine fishery sector. However, since most of the migrant fishery workers are employed illegally, they have to stay underground and thus are undocumented in the database of the Thai government. We can call them otherwise illegal migrant workers. 3. How important are these illegal migrant workers to us? First and foremost, they are important to us and the Thai state since they are fellow “human beings” just like all of us, and just like more than 300,000 individuals who are incarcerated in prison. Even though the illegal migrant workers have committed a breach against the Immigration Act B.E. 2522 (1979), but they could only be convicted for making the illegal entries, that’s it. The humanity of

the illegal migrant workers still remains, so do their human rights. And certainly, the migrant workers are fundamentally important and help to generate a lot of economic benefits to the country. But given their illegal entry status, they have been subject to exploitation by their fellow countrymen and people in Thailand. Many migrant workers have unavoidably fallen victim to human trafficking. Some have been put on various trawlers and have to spend years working hard off shore. Eventually, some of them have turned themselves into recruiters of illegal workers. Of course, not all migrant workers have been subject to this treatment. But even there is just one victim, is it not justified for us to act and help? Therefore, the Anti-human Trafficking in Labour Project finds it pertinent that the Thai state realizes the importance of correctly addressing human trafficking and an effort should be made to enforce the law and to ensure justice management to solve human trafficking systematically. An emphasis should not be just put on the enforcement of the Prevention and Suppression of Human Trafficking Act B.E. 2551 (2008). Everything should be geared toward nurturing respect of human dignity equally rather than to address human trafficking based solely on business related and commercial reasons.

Substituting fishery workers with prison inmates Nattarat Aroonmaharat4

Thailand has been downgraded from the Tier 2.5 - Watch List to Tier 3 including countries showing the worst record of human trafficking such as Malaysia and Venezuela. This attests to that USA views Thailand as having been lax in the measures to suppress human trafficking when compared to the legal measures used by USA (Victims of Trafficking and Violence Protection Act of 2000). This has prompted government agencies, NGOs, media and entrepreneurs, even consumers to figure out ways to solve human 3 [2] Journal of statistics of migrants who are registered and allowed to work countrywide in 2012, the Office of Foreign Workers Administration, 4

Department of Employment, available at http://wp.doe.go.th/wp/images/statistic/sy/sy2555.pdf (accessed on 15 November 2013) Written by Ms. Nattarat Aroonmaharat, Coordinator of the Anti Labour Trafficking (ALT), Human Rights and Development Foundation (HRDF)

28 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


trafficking. A number of taskforces and policies and campaigns have been organized and laws have been amended to strengthen protection of labor and to prevent human trafficking. Supplanting fishery workers with prison inmates is one of the efforts initiated by the Ministry of Labor to address labor shortage in fishing trawlers. It aims to eradicate the use of illegal labor and slave labor in future. Nevertheless, the policy has elicited much opposition from various parties, particularly NGOs as it is accused of not effectively solving the problem at its root causes. It also makes it likely for the prisoners to be subjected to exploitation given their vulnerable status. The group that will be most affected by the policy to substitute fishery workers with prison inmates is the prisoners themselves. It has raised concern that it will pave the way for violation of the rights of the prisoners. It is very important that a prior study be undertaken to explore the use of prison labor and any enabling laws and how the enabling Thai laws are in compliance or in breach with international laws or not. As for Thailand, the Department of Corrections has set as a policy to provide skill training for the inmates aimed at their mental rehabilitation and preparing for their reintegration. Apart from skill training, the prisons have also subcontracted work from outside and provided it among the inmates. Part of the wages received by the prisons is given as allowance to the prisoners. Such employment constitutes an exploitation as per Article 57 of the Ministry of Interior Regulation issued by the virtue of Article 58 of the Corrections Act B.E. 2479, Article 22 of the Corrections Act provides that an inmate is obliged to act as instructed by the prison official and is not entitled to receive any wage. But the prison officials may give part of the income to the inmates as allowances after the expenses including the skill training costs. Therefore, it is possible for an inmate to have to work against his or her own will while the prison is not obliged to remunerate them if the work is aimed at providing them mental rehabilitation and empowerment. In light of international laws, the ILO C029 Forced Labour Convention, 1930 (No. 29) ’s

Article 2 (c) provides that “for the purposes of this Convention, the term forced or compulsory labour shall not include any work or service exacted from any person as a consequence of a conviction in a court of law, provided that the said work or service is carried out under the supervision and control of a public authority and that the said person is not hired to or placed at the disposal of private individuals, companies or associations. In sum, according to both domestic law and international law, the use of prison labor is only possible for when it is used to serve public interest or to provide prisoners the rehabilitation, restoration and remedy and to help them with social reintegration. If the government wants to place prison labor in fishing trawlers, they have to consider also which agency shall be responsible to oversee the use of labor on fishing trawlers since such employment constitutes an act of exploitation as per the Corrections Act that bars prisoners from being remunerated. Otherwise, it has to be treated as work according to an employment contract whereby the prison labor must be accorded with protection as per the Labor Protection Act B.E. 2541 (1998). If the placement of prison labor in fishing trawlers is in compliance with the Corrections Act, the question is is the working condition and employment condition on the fishing trawlers suitable for the mental rehabilitation and restoration of the prisoners or not? But if this policy is geared toward supplying labor for the use of a private sector and the workers are subjected to employment contracts, another question arises as given the existing working condition and employment condition on the fishing trawlers, how can we rest assured that there shall be no forced labor among the prisoners? Apart from the willingness of a worker, there are other elements that may give rise to forced labor including the condition and level of hazard of the work, a lack of sanitation of the living quarter, and the long working hours, etc. It seems clear that as of now, it is practically not appropriate to have prisoners work in fishing trawlers since there is not sufficient standard in the Thai fishing trawlers which many assure the Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 29


prisoners or the consumers that it will be completely free of forced labor. Also, by substituting one type of labor by another, it only helps to tackle the immediate symptom of the problem. If the Thai fishery sector is determined to develop the safety level in the fishing trawlers making them advanced and transparent and to ensure that the workers are provided with fair wages and benefits, it will certainly help to attract the attention of the workers. And as a result, there shall no longer be any need to supply prison labor on the trawlers.

How the Thai state should treat the Rohingya migrants Papop Siamhan5

Rohingya and human trafficking in Thai law The immigration of the Rohingya people into Thailand did not just take place in the past couple of years. In fact, they have started to enter Thailand decades ago. Most want to seek a safer refuge and a better life here. Then, there was a policy to issue ID cards to “undocumented persons” including the migrants awaiting nationality verification, coupled with a shortage of labour, the Rohingya migrants were allowed to temporarily stay and work in Thailand. At present, the number of Rohingya migrants seeking a refuge in Thailand has markedly increased. Their entries have been facilitated by a number of agents to help bring them from either the Arakan State or Bangladesh. Their final destination is Malaysia and they are promised with help to be brought over and allowed to pay the expenses in installments. But the promise does not deliver and many Rohingya people who have agreed to come have to suffer an agony being crammed into a fishing boat and allowed to eat once a day. The issues of the Rohingya migrants in Thailand have been raised in various forums and have drawn lots of public attention including how

5

humanitarian assistance has been given to them, or their presence in Thailand and national security. One of the issues that have attracted most attention seems to be “Rohingya and human trafficking”. News agencies often report that the Rohingya migrants are human trafficking victims. According to the Prevention and Suppression of Human Trafficking Act B.E. 2551 (2008), a victim of human trafficking is a person subject to “procuring, buying, selling, vending, bringing from or sending to, detaining or confining, harboring, or receiving any person, by means of the threat or use of force, abduction, fraud, deception”. In addition, another legal element of the crime is “exploitation”. According to the Act, exploitation is consisted of different methods. As far as the Rohingya migrants are concerned, there are basically three major means of exploitation applied against them; - Forced labour if they are sold as workforce - Slavery if the Rohingya migrants are treated just like slaves in the olden day - Any other acts similar to extortion causing the Rohingya migrants to be subject to unfair exploitation and as a result are obliged to service debts or being held for ransom, etc.

Mr.Papop Siamhan is a staff member of the Anti-Labour Trafficking project under the Human Rights and Development Foundation (HRDF)

30 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


Essentially, the Rohingya migrants in Thailand can be divided into two categories including those are victims of human trafficking and those who are not victims of human trafficking. Nevertheless, the persons authorized to determine if a Rohingya migrant is a human trafficking victim or not are the multidisciplinary team and the inquiry officials who will get involved with screening the Rohingya victims of human trafficking.

Rohingya and solutions between the states Most of the Rohingya migrants in Thailand are held in a detention facility. According to the laws and regulations of the Immigration Bureau and the Immigration Act B.E. 2522 (1979), they have to be held in custody while awaiting deportation to the countries of origin. But according to the Burma’s Citizenship Law of 1982, Rohingya is not included as one of the recognized ethnicity. As a result, the nationality verification of the Rohingya people in the country of origin has been sluggish. And the Rohingya migrants held in Thailand could not be deported to the countries of origin and they have to languish in the cells for a long time. However the Thai state has tried to solve the overcrowded facilities filled with the Rohingya migrants, but no solution is in sight. Meanwhile, the number of incoming Rohingya people in Thailand has constantly increased. Even though the Thai state vows to push them back to Burma, but such a policy shall be a breach to the non-refoulment principle enshrined in various International Conventions. Even though, Thailand is not a state party to

some of the Conventions, but the non-refoulment principle has been practiced as an international customary law and Thailand is obliged to follow just like international community. To solve an influx of the Rohingya migrants in Thailand, it requires cooperation from various stakeholders, nationally and internationally. Essential to the effort is to seek collaboration with the governments of Burma and Bangladesh. Nevertheless, in order to solve issues concerning the Rohingya migrants in Thailand, the following steps can be taken; - The Thai government must makes clear its position regarding the status of the Rohingya migrants in Thailand and how to treat them in light of national and international laws. Apart from leading to a solution, by doing so, the Thai government will have its image boosted as far as the issues of the Rohingya migrants are concerned. - UNHCR must be encouraged to help solve the problems of the Rohingya migrants by carrying out the registration and documentation of their personal profile, the information of which is useful when repatriating them back to the countries of origin or third countries. By getting the UNHCR to carry out the profiling of the Rohingya, it would make it difficult for the countries of origin including Burma and Bangladesh to deny their responsibilities. And by designating an area to build a temporary shelter or refugee camp prior to their repatriation to either the countries of origin or third countries is also another possible option to help solve the overcrowded situation of the Rohingya migrants in detention centers. - A serious effort should be made to crack down on organized groups that bring over the Rohingya migrants and on concerned people including state officials. This will help to end the problem at its root causes. Apart from stemming the flow of the migration of the Rohingya, it will help to solve other problems caused by the organized criminal groups. All these options should be taken based on the premises that the Rohingya migrants are treated with respect for their human rights and human dignity, whether in Thailand or in countries of origin. This will eventually help us to mutually and peacefully live together in a long run. Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 31


Decent work, Decent life for Domestic Workers6 On 16 June 2011, at a meeting of the International Labour Organization (ILO), an approval was made to adopt the ILO C189 - Domestic Workers Convention, 2011 (No. 189) which came into force on 5 September 2013 to provide standards for the protection of domestic workers. At present, the Convention has received ratification from 14 member states including the Philippines being the only ratifying country from Asia. According to the ILO, there are around 85 million domestic workers worldwide including 20 millions in Asia. Migrant workers including domestic workers have become instrumental in driving or developing the economy of the receiving countries. Meanwhile, the employments have enabled the workers to attain a better livelihood and occupational options. Such predicament can be made possible only when the receiving countries develop policies or respect labour rights without discrimination. The migrant workers and domestic workers have to be informed of policy and employment situation and thus it is necessary that the workers have access to information and protection mechanisms when working in another country. 18 December of every year is marked by the United Nations as the International Migrants Day. Therefore, this year, the Human Rights and Development Foundation (HRDF), a non-governmental organization working to advocate access to justice among migrant workers, would like to draw your attention to the plight of the migrant workers who are domestic workers including their issues and recommendations to enhance their protection and to uphold their quality of life. Laws and policies regarding domestic workers in Thailand At present, according to the Ministry of Labour, it is estimated that there are around 300,000 domestic workers in Thailand including 45,000 of them coming from our neighboring countries

6 This

including Burma, Lao, and Cambodia. The workers have been registered as migrant workers according to the state policy first declared since 1996. A migrant domestic worker shall be entitled to protection under Thai laws including; 1. Ministerial Regulation (1998) issued by the virtue of the 1998 Labour Protection Act 2541 (2) dated 19 August 1998 providing for protection of part of the rights of domestic workers, although it fails to provide for some fundamental rights including minimum wage, day off including weekly holiday, traditional holiday and annual holiday, etc. as well as prohibition of employment of an underage worker as per the 1998 Labour Protection Act 2541. 2. Ministerial Regulation no. 14 (2012) issued by the virtue of the 1998 Labour Protection Act 2541 dated 30 October 2012 which provides for additional rights of domestic workers on seven aspects including;

article was presented at the event regarding the International Migrants Day on 17 December 2014 held by Migrant Working Group (MWG)

32 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


2.1 Weekly holiday must not be less than once a week (Article 28). 2.2 Employers must ensure that there are at least 13 traditional holidays per year including the May Day. And if the traditional holiday falls on the same day as the weekly holiday, one more extra day must be provided as compensation (Article 29). 2.3 It should be ensured that an employee working for at least one year is entitled to annual holiday for not more than six working days (Article 30) 2.4 An employee must be entitled to medical leave as necessary and if the leave takes place for more than three days, the employer may ask for a letter of certification from the employee (Article 32). 2.5 Employment of a child younger than fifteen years is prohibited and the employer must provide wages directly to an underage worker (Article 44,51 paragraph 2) 2.6 An employee working on a holiday is entitled to receive overtime pay (Article 56). 2.7 An employee is entitled to receive the pay during the medical leave for not more than 30 days (Article 57 paragraph1). There is also a safeguard to prevent an employer from committing a sexual offence against a female or underage employee. In addition, there are other two important legal instruments protecting labour rights but they have not been enforced with domestic workers including; 1. The 1990 Social Security Act’s Article 5 which aims to protect benefits of an employee on seven aspects including work-related injuries or sickness, maternity leave, disability, death, child support, old age support and unemployment. 2. The 1994 Workmen’s Compensation Act’s Article 5 which aims to protect an employee who suffers from occupational injuries. Even though an effort has been made by the Thai state to amend the Ministerial Regulations to enhance protection of the rights of domestic workers, but it is still challenging to protect their rights since they are kept in private working places. This has made them vulnerable to deprivation of their rights and liberty by the employer and the working hours are often inconsistent. There have often been reports

about the violation of domestic workers’ rights including those migrant employees who become so desperate and have run away seeking help from people outside. In many such cases, the employees have been found suffering brutal physical and mental abuse including being lured to work or abducted to work by their employers. The Human Rights and Development Foundation (HRDF) has been working to provide help to domestic workers who have become victims of criminal offences as they suffer from violations committed by the employers. Some have been subject to violations of the right to life, physical and mental abuse and the violation of labour rights of domestic workers including being denied the pay, or being subject to forced labour. HRDF has compiled some case studies which may explain how the domestic workers have been helped to have access to justice including three case studies. We hope it will help to contribute to the betterment of rights and welfare protection of domestic workers in Thailand. Case study 1: Miss Mazu was inflicted with severe injuries by her employers and later died. The incidence took place in 2002, when Miss Mazu, 18 years, crossed the border in Myawaddy into Thailand. She was recruited by a labour agent and worked as a domestic worker for her employers in Lopburi province. After about three months, she was accused of stealing something in the house. As she denied the allegation, she was subject to brutal physical abuse including hitting, being doused with kerosene and lit up causing her to sustain grave injuries. Apart from denying her treatment, her employers kept her in the house without feeding her for three days. Meanwhile, further physical abuse was committed. As the employers presumed she was already dead, they decided to bring the body of Miss Mazu to roadside and left her there. She was found by a Samaritan who brought her to receive treatment at the Provincial Hospital of Uthaithani. After nine days, Miss Mazu succumbed to death. After about two years, the public prosecutor of Uthaithani decided to indict the two employers on Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 33


charges concerning “torturing and brutally murdering another person, depriving another person of liberty, providing living space and hiding aliens, or helping aliens without work permits to avoid the arrest” as the Black Case no. 1089/2547 It took about ten years for the Courts to hear the case and the defendants have appealed the case up to the Supreme Court. Eventually on 8 November, the Supreme Court found the employer, defendant no. 1 guilty for causing death to another person and providing living space and hiding aliens and for depriving another person of liberty and convicted him to seventeen years and four months, whereas defendant no. 2 got four years, with them being acquitted on employing a migrant worker without work permit. Their pickup truck used for committing the offence was also confiscated. Even though the employers were held criminally liable, but they have even infringed on labour rights of Miss Mazu by refusing to provide for her wages claiming that they had been deducted from the fee they have paid to the agent. And the descendant of Miss Mazu did not receive any unpaid wages and is not eligible to ask for remedies invoking the 2001 Act for the Granting of Compensation to Aggrieved Parties and the Accused in Criminal Cases since there is no coordinating mechanism to help them contact concerned agencies Case study 2: Miss A and Miss B (not real names) who were severely injured after being raped by their employer Miss A came from Dawei, Burma, and made her entry through a checkpoint in Kawthaung, Ranong Province to work in Thailand around 2003. She was then given permission to temporarily work in Thailand. On 29 January 2006, a female police officer persuaded Miss A and Miss B who were friends to each other to work as a housemaid and a baby sister for a friend of hers. Both Miss A and Miss B agreed and they went to work with at their new employer’s house the same day. Upon arrival, they found the employer who was a Thai man and they were ordered to do housework. 34 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

After completing their work, they were allowed to watch TV on the second floor of the house. After a while, the employer notified them that there was some dogs barking and asked them to have a look if anyone came at the door. They went down to see and found no one. Then, the employer asked Miss A to go upstairs and have another look. Finding nothing up there, Miss A came down and found Miss B being handcuffed with the stair rail. She tried to run away, but failed and she was kept at gunpoint in her head by her employer. He hit her with the gun at her head once and slapped her face once. Then, the employer tied a piece of clothe around the neck of Miss A and pulled her up the stairs. As she resisted, she was handcuffed both hands at the stair rail. With their mouths stuffed with clothe, they started to cry. Thus, the employer punched in their stomachs five times and stamped two more times on the abdomen of Miss A until she passed out. Upon being conscious, Miss A found herself and Miss B being undressed. The employer tied a tube on one of the ankles of Miss A with the window, while her other leg was tied with the stair rail. Then, the employer started to rape Miss B, after which he also raped Miss A. He left them to lie down there while being handcuffed and having their legs tied up, undressed and unfed. On the morning of 30 January 2006, the male employer came down to untie the legs of both the employees, but still leaving them handcuffed. Then, he took Miss A for a shower and locked her in a room with a television set handcuffing her hands with the window. Then, he came to take Miss B for a shower and locked her in the same room with Miss A. He started to show them adult video and raped Miss B twice. Then, the employer took Miss A up the stairs and handcuffed her with the stair rail. She asked for painkiller and food from the employer, but was denied. She was told that she was going to die soon. Then, he left the house. In the evening, a man drove to the house of the employer to release the two employees from restraint and got them dressed up and took them with their luggage on the car. They drove them to a driver of a truck and the driver took the two women


to Ban Song, Wiang Sra District. At dawn of 31 January 2006, Miss A and Miss B ran into a Burmese and asked for help. They managed to make a phone call the older sister of Miss A who worked in Muang District, Surat Thani. Then, Miss A started to have some stomach pain. The older brother of Miss B and the older sister of Miss A came to retrieve them and took Miss A to a clinic for examination. The doctor recommended that Miss A has an abdominal operation immediately. Thus, she was taken to the Provincial Hospital of Surat Thani. On 16 February 2006, the doctor carried out the operation on her abdomen leaving her on oxygen tube through her nose. While receiving the treatment, an unknown man came to leave money to Miss A and Miss B asking them to not pursue any legal action and promising not to harm them again. After being discharged from the hospital, they stayed for recovery at Sri Surat Shelter Home where they gave their evidence to the police. Then, on 30 June 2006, the Surat Thani prosecutor indicted the employer as the Black Case no. 1096/2549 for attempted murder, rape, depriving another person of liberty with the use and possession of firearm, and having firearm in possession without permission. The prosecutor also proposed not to release the defendant. Miss A asked to be an interpleader in the case and it was tried up to the Supreme Court. The Supreme Court ruled on 27 June 2013 (Dika no. 9260/2556) to convict the defendant on the molestation against Miss A, the interpleader, and for causing bodily injuries, depriving another person of liberty, and sentenced him to twelve years and six months. Even though the employer was held criminally liable, but there was still no civil remedies and no access to compensation as provided for by the Act for the 2001 Granting of Compensation to Aggrieved Parties and the Accused in Criminal Cases as a result of a lack of coordinating mechanisms among concerned agencies and assistance from the sending country.

Case study 3: Girl Air abducted and forced to work by employer Around May 2009, Air who was about eight years old was abducted from her residence shared with a Thai family in Kamphaengpetch province. She was then forced to work by the two employers, a couple, in their house. Air was also subject to physical abuse having her earlobes cut by scissors, being forced to sleep in a cage for dog, and was soaked on her neck and limbs with boiling water by the male employer while the female employer kept watching but did nothing to stop it. The wounds were left to get infected and she suffered physical deformity. Until February 2013, Air managed to escape from the house and received help from a Samaritan and a local state agency in Kamphaengpetch who helped her to get reunited with her family again. Then, arrest warrants were issued against the two employers who later came to turn themselves in. After acknowledging the charges, they were bailed out and then ran away. They are still at large even now. Later in September 2013, Air’s mother filed a case against the two employers with the Provincial Court of Kamphaengpetch asking for damages to provide for the physical and mental injuries sustained by the girl. The case was accepted as the Black Case no. 850/2556 and the court fee was waived given their impoverished status. The two employers failed to turn up to give their evidence and appear in Court, thus, the Court allowed the mother of Air as the plaintiff to give her side of evidence. On 30 June 2014, the Provincial Court of Kamphaengpetch ruled (Red Case no. 641/2557) asking the two defendants to provide damages to the plaintiff including medical expense, compensation for the loss of the ability to work at present and in future, non-monetary compensation including the severe grief sustained during the ailment, a loss of breast, a possible loss of reproductive ability, and a loss of beauty. Altogether, the two employers were held liable to provide for the total compensation of 4,603,233 baht plus 7.5%/year interest from the Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 35


day the case was filed with the Court until the debt is serviced. The rescue of Air was made successful due to help from state mechanisms, in particular the shelter provided by the Ministry of Social Development and Human Security which provides for victims of the violations. The Rights and Liberties Protection Department also helps to ensure the victim receive compensation as an aggrieved party in a criminal case and used the Justice Fund to cover legal expense. The civil remediation sentence needs to be tested. After the Court has made the ruling, the plaintiff has to look for the remaining assets of the defendants. It is still unclear if the execution of the court ruling can be made while the criminal indictment has not been made given the flight of the defendants. As for the labour protection mechanisms, the Labour Protection and Welfare Office helps to speed things up after the Provincial Court of Kamphaengpetch ordered the employer to provide for the compensation. Still there seems to be delay. for the improvement of employment conditions to provide for the protection of rights and upholding of human dignity of domestic workers Based on the above three case studies, the victims worked as domestic workers in the residences of the employers and access to them could not be made easily. Help could only be given after they had managed to escape from their confinement. In addition, it was found that most of the abused employees were children, youth and women. Apart from physical impact, the mental wounds are immeasurable and it is unknown how long it will take before the survivors can overcome the fear or nightmare which may after all haunt them for life. The Human Rights and Development Foundation (HRDF) have the following recommendations; 1. The Thai state should consider signing the C189 Convention on Domestic Workers. Convention concerning Decent Work for Domestic Workers in order to extend protection to the employees. Apart from the right to wages or welfare related to work, 36 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

measures should be put in place to ensure that domestic workers are protected against all forms of violation, intimidation and violence. By signing the Convention, the Thai state shall have one more legal tool which can be used to enhance the prevention and protection of domestic workers against any harm, in addition to what is provided for them in the 1998 Labour Protection Act. It should also minimize discrimination against the rights of the domestic workers including their right to maternity leave, etc. 2. The Thai state should require that an employer who employs a domestic worker older than fifteen but not more than eighteen to submit the name list of their employees to the labour inspection officer in order to ensure that the young domestic workers work for the duration and the type of work that suit their age. 3. Revoke any waiver against the enforcement of Article 41 regarding maternity leave of a worker to ensure that there is no discrimination in the employment. 4. Adjust the working hours making it suit domestic workers who should be allowed to have their separate house or to stay with their employer. Otherwise, the right to mobility of the domestic workers should be promoted and to allow rights safeguard to ensure that the workers have access to the right to protection mechanisms. 5. The work of labour inspection officer should be improved making them have more ground to have access into the house of the employer who employs migrant domestic workers. It should prevent the private sector from holding labour inspection officer legally liable for making an encroachment into a private property. 6. Enhance the quality of life and welfare of domestic workers with the amendment of Social Security Law, Workmen’s Compensation Fund, and labour relations laws. It should help domestic workers to have access to Social Security Fund and the Workmen’s Compensation Fund. Similarly, domestic workers should be encouraged to form as a network to negotiate with the authorities which should help to ensure a beginning of the fair protection of thee employee.


The ASEAN Committee on the Implementation of the ASEAN Declaration on the Protection and Promotion of the Rights of Migrant Workers (ACMW) organized the 7th ASEAN Forum on Migrant Labour (AFML) on “Towards the ASEAN Community by 2015 with enhanced measures to protect and promote the rights of migrant workers” from 20-21 November 2014 in Nai Pyi Taw, Myanmar with delegations from ASEAN governments, representatives from the employers, employees, civil society and other sectors including the International Labour Organization (ILO). Recommendations from the forest for the protection and enhacement of the rights of migrant workers can be summarized as follows;

RECOMMENDATIONS THE 7th ASEAN FORUM ON MIGRANT LABOUR 20-21 November 2014, Nay Pyi Taw, Myanmar The 7th ASEAN Forum on Migrant Labour which carried the theme “Towards the ASEAN Community by 2015 with enhanced measures to protect and promote the rights of migrant workers” was held 20-21 November 2014 in Nay Pyi Taw, Myanmar. Representatives of the governments, employers’ organisations, workers’ organisations, and civil society organisations from ASEAN Member States, the ASEAN Secretariat, International Labour Organization (ILO), International Organization for Migration (IOM), UN Women, ASEAN Confederation of Employers (ACE), ASEAN Trade Union Council (ATUC), ASEAN Services Employees Trade Union Council (ASETUC), and the Task Force for ASEAN Migrant Workers (TFAMW) participated in the Forum. The 7th ASEAN Forum on Migrant Labour was convened as an implementation of the ASEAN Declaration on the Protection and Promotion of the Rights of Migrant Workers, ASEAN Labour Ministers’ Work Programme 2010-2015, and ASEAN Socio-Cultural Community (ASCC) Blueprint (Action Line C.2.ii) which called for a regular ASEAN Forum on Migrant Labour as a platform for broad-based discussions on migrant labour issues under the auspices of the ASEAN Committee on the Implementation of the ASEAN Declaration on the Protection and Promotion of the Rights of Migrant Workers (ACMW) which reports to the ASEAN Senior Labour Officials Meeting (SLOM). Guided by the relevant international labour standards, the participants agreed to recommend the following concrete measures to promote and protect the rights and address the specific vulnerabilities of men and women migrant workers in the region particularly in relation to fulfillment of the commitments of ASEAN Member States in Article 8 and 13 of the ASEAN Declaration on the Protection and Promotion of the Rights of Migrant Workers: Promotion of fair and appropriate employment protection, payment of wages, and adequate access to decent working and living conditions for migrant workers: 1. Employment contracts should be standardized by the national labour laws, based on core labour standards and in line with Article 22 of the ILC’s Migration for Employment Recommendation (No. 86, 1949);

Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 37

1


2. Standard employment contracts should stipulate clear terms and conditions of employment, rights and responsibilities of men and women workers and employers, including in vulnerable and hard-to-reach sectors such as fishing, domestic work and construction work, and grievance mechanisms including contact information and legal systems to file complaints. Employment contracts should be written in language understood by migrant workers, and signed by employers and workers prior to departure. Copies of employment contracts should be provided to migrant workers; 3. ASEAN guidelines/framework of standard employment contracts should be developed with inputs from the countries of origin and destination, social partners, CSOs and migrant workers associations and by taking into account the prevailing national labour laws of ASEAN Member States; 4. Substitution of employment contracts and issuance of sub-standard employment contracts should be eliminated. Non-compliance by employers should be duly penalized and recorded in the databases of ASEAN Member States in accordance with the national laws and regulations. Where employment contracts are issued by a third party, as permitted by laws, they should be closely monitored to ensure meeting the required standards; 5. Governments should take and enhance measures and allocate resources to protect and promote the rights of migrant workers including regularly conduct labour inspection, including in vulnerable and hard-to-reach sectors and workplaces (e.g. fishing, mining, forestry, agriculture, and domestic work), training for labour inspectors and set up multi-sectoral joint task forces for labour inspection. The ILO Convention No. 189 and its accompanying Recommendation No. 201 provide guidance on labour inspection for domestic workers; 6. Occupational safety and health (OSH) should be improved through OSH trainings and provision of personal protective equipments, where applicable, by employers at the worksite upon arrival of migrant workers and on a regular basis thereafter, as well as availability of disaggregated OSH data and analysis; 7. One-stop services and migrants resource centres should be set up in all ASEAN Member States and integrated at local, national and regional levels to ensure better protection mechanisms for men and women migrant workers. In this regard, hotline numbers should be attended 24 hours, available in languages understood by migrant workers, and should provide referral systems to other services required by migrant workers. Migrants resource centres operated by the governments, employers’ organisations, workers’ organisations and civil society organisations should provide support services and on-site protection for migrant workers and be well coordinated among all stakeholders;

2

38 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


8. Referral systems between countries of origin and destination should be set up and function well and assistance of the embassies should be provided to ensure compensations and benefits are duly paid to migrant workers in a timely manner, even after returning to their countries of origin, including health care and treatment for long-term effects of occupational injuries and diseases. A regional study be undertaken with all stakeholders to explore challenges and policy gaps of reintegrating migrant workers with disabilities upon their return to their countries of origin; 9. Labour attachés should be well trained and adequately supported to provide effective on-site protection. Gender balance amongst labour attachés should be by and large proportionate to the composition of male and female migrant workers. 10. Recruitment agencies should be capacitated, where relevant, in securing better package of remunerations and benefits of migrant workers including minimizing or eliminating fees to be charged to migrant workers; 11. Measures should be taken to facilitate access of men and women migrant workers into trade unions and associations, particularly those in sectors where workers are not organized. 12. Workers filing complaints should be given support to stay within the country of destination while complaints are being processed. In this regard, migrant workers and migrant workers’ representatives should be provided with appropriate and timely assistance including protection from employers’ reprisal while filing complaints. Set up policies and procedures to facilitate aspects of migration of workers, including recruitment, preparation for deployment overseas, protection of the migrant workers when abroad, and repatriation and reintegration to the countries of origin: 13. Employers’ and workers’ organizations in close cooperation with civil society organizations should be engaged through institutionalized dialogues in the development, implementation, amendment, and/or monitoring of gender responsive labour migration policies and programmes in ASEAN Member States.; 14. National legislations, policies, rules and regulations concerning employment and labour migration should be accessible and well informed to men and women migrant workers, workers’ organisations, employers’ organisations, and other stakeholders. In particular, immigration information and visa application procedure should be widely disseminated to migrant workers with the support of Labour Attachés and Embassies; 15. Recruitment policies and procedures should be streamlined and well informed to migrant workers and stakeholders, including through one-stop services and migrants resource centres at national and local levels; 3

Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 39


16. The pre-employment, pre-departure and post-arrival orientation programmes should be conducted, mandatory and free of charge for all men and women migrant workers, involve stakeholders, and the quality of curriculum should continuously be improved and include cultural orientation and rights and obligations of men and women migrant workers and employers; 17. Briefings for and assistance to the families of migrant workers should be provided to enable them in coping with the challenges of overseas employment; 18. Support programmes, including job counselling, market-oriented skills development and/or entrepreneurship training, should be provided for returning migrant workers, and documentation of acquired competencies and experiences provided by employers should be introduced where feasible to support better career opportunities of men and women migrant workers in their countries of origin; 19. Cooperation between the countries of origin and destination in providing assistance to migrant workers with health concerns should be strengthened in order to ensure access to treatment and relevant social welfare services; 20. Workers’ organisations in ASEAN Member States should strengthen their cooperation for effective protection mechanisms for migrant workers; The participants extended their appreciation to the Government of the Republic of the Union of Myanmar, particularly the Ministry of Labour, Employment and Social Security, for the excellent arrangements of the Forum and warm hospitality accorded to them. The participants also congratulated the Government of Malaysia for its role as the incoming ASEAN Chair in 2015 and expressed appreciation of its confirmation to host of the 8th ASEAN Forum on Migrant Labour next year. ____________________

4

40 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


The Migrant Working Group (MWG) issued a public state on “The situation of migrant workers in 2014 and trends concerning the management of migrant workers in Thailand” with the following detail; Executive Summary for the Press Conference: “Highlights of Migrant Worker Situations in 2014 and Thailand’s Migrant Worker Management Tendency in the Future”

5 highlights of migrant worker situations in 2014 are revealed. Several problems need solving after Thailand’s attempt to respond to the human trafficking situation has been downgraded to Tier 3. Gaps remain on issues of registration, proof of nationality and access to the rights of migrant workers. The government is advised to solve the problems urgently. December 18 of every year is designated as the International Migrants Day in order to raise awareness of the importance of migrant workers and their followers who are family members that migrate to work around the world. These people should be protected by human rights and labour rights. In 2014, there have been changes in policy regarding the migrant worker management in Thailand which have an impact on Thai society to a certain extent. Thus, in order to review and present the changes as well as the effects from the migrant worker management during the past year, the Migrant Working Group is organizing a press conference under the topic “Highlights of Migrant Worker Situations in 2014 and Thailand’s Migrant Worker Management Tendency in the Future,” which will be attended by the representatives of organizations that work on migrant workers. Mr Adisorn Kerdmongkol, the representative of Migrant Working Group, stated that the highlights of migrant worker situations in 2014 are: 1) the current cabinet has decided to allow workers who have their nationalities proven and have completed their 4th year of work to have a temporary stay in order to extend their visas and work permits; 2) the government has launched a policy to establish One

Stop Service Centers to register migrant workers; 3) Thailand has experienced the biggest exodus of Cambodian workers in the past decade; 4) Thailand’s attempt to respond to the human trafficking situation has been downgraded to Group 3 or Tier 3; 5) A building under construction in Rangsit area collapsed over workers, including migrants. According to his summary, the 5 highlighted situations have affected migrant workers in various aspects. For instance, the establishment of One Stop Service Centers contributed to the phenomenal return of Cambodian migrant workers to their country which also had an impact on border communities and entrepreneurs in Thailand who had to confront labour shortage in such period. The most important situation, however, is the fact that Thailand has been downgraded to a Tier 3 ranking, especially in terms of human trafficking in fishery and Rohingya human trafficking which also involved government officials. Therefore, the government ought to find a clear, concrete approach to solve such problems. Another worrisome issue is the safety of migrants at work. The case studies included the collapse of a 6-storey condominium in Pathum Thani Province which killed 6 migrants at work and the subsidence of elevator shaft during construction at Chakri Naruebodindra Medical Institute, Faculty of Medicine, Ramathibodi Hospital which killed 6 workers. In such cases, all migrant workers should have the rights to be fairly and thoroughly taken care of according to the social security law. The issues that are mentioned above are considered 5 highlights of migrant worker situations in 2014. Nevertheless, there are other interesting and engaging issues which concern the management of migrant workers and their followers Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 41


such as the education of migrant children, the access to health policy of migrant workers, the situation of Rohingya illegal immigrants from Myanmar and Bangladesh as well as the rights and access to justice system. The issue of migrant children situation is raised. The US indicates that many children are forced to become labourers in fishery as well as sugarcane, frozen food and textile industries in Thailand. The registration system must be amended to benefit every group of children. There is also a concern that the Office of the Basic Education Commission will reduce the subsidies for migrant children. It is recommended that the government dismiss such concept and provide proper education for migrant children. Miss Warangkana Mutumol, the representative of the organizational network that works on child migrants, said that there are 3 major issues regarding the situation of migrant children in 2014, i.e., the child labour, the registration of migrant children and the educational situation of migrant children. Migrant children who live in Thailand are divided into 3 categories, which are children who enter the country for child labour, children who follow their parents who enter Thailand to become migrant workers and children who are born in Thailand during the period that their parents work as migrant workers. There are several concerns about the situations of children in these groups. Regarding children who enter the country for child labour, U.S. Department of Labour has prepared and distributed the list of products which use child labour and forced labour, specifying that there are reasons to believe that products from Thailand’s fishery industry (child labour in fishing boats), seafood processing industry such as frozen shrimps, textile industry such as clothing and agricultural sector such as sugarcane field, involve the use of child labour and forced labour. Moreover, sexual exploitation of children like the distribution of pornography also occurs. According to the data of child workers who are the insured persons of the Social Security Office, the number of 42 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

50,239 child workers in 2011 has decreased to 20,465, which demonstrates that fewer Thai children aged between 15-18 years old enter the labour market. However, Thailand still has migrant child workers who accompany their parents into the country and migrant children who enter the country to look for jobs, and the authority does not have the record of their actual number. Since migrant children are able to enter Thailand through various channels, their number tends to increase every year. Also, there is a tendency that the number of Thai child workers may be replaced by foreign child labourers whose number could not be clearly specified by a statistical survey yet. The approach to keep track of the number of migrant child workers in Thailand is the registration of migrant children. As for the current statistics of foreign child registration in Thailand on November 24, 2014, the number of migrant children totaled 92,391, which was less than half of the estimated number of 250 thousand. Such difference in numbers indicated that there were undocumented children, and the cases which stimulate concern are the children who belong to the groups that are not allowed to register according to the policy. These groups include migrant children who travel to Thailand by themselves or live with other people who are not their parents or legal guardians. As for the educational situation of migrant children, Thailand used to set up a goal and was committed to providing opportunities for all children to have an access to education which would become a good foundation of Thai society and this region. Therefore, Thailand would not be the only country to benefit from the 15 years free study policy since this plan also aimed at developing quality human resources for the advancement of ASEAN community which would also gain from quality population. Nevertheless, during the past year, the Office of the Basic Education Commission came up with the idea to reduce support for migrant children’s education in 5 aspects, which were tuition fees, school supplies, activities to develop students, school uniforms and school books, and would only provide support for 2 other aspects. As a result, the


exceeding costs would become burdens for the schools and the poor parents. Finally, when the schools did not want to carry such burdens anymore, they would decide not to accept migrant children. The Office of the Basic Education Commission explained the reason for the reduction of support, saying that the number of migrant children rose to 250,000 within 2 years. Therefore, it was no longer possible to spread the budget per person of Thai children to support free study for migrant children as before. Regarding this issue, the Migrant Working Group has noted and expressed concern about the situation, saying that it might be possible that the number of students that the Office of the Basic Education Commission referred to included every child who did not possess Thai nationality, i.e., migrant children, children without nationality, children with no identity document and ethnic children of which number averaged 208,000. Among these children were only 93, 320 migrant children who were of Burmese, Laotian and Cambodian nationalities or only 2%-3% of all students. Thus, the problem of spreading the budgets of Thai children to support migrant children could hardly occur. For the above reason, the migrant group would like to ask the Office of the Basic Education Commission to stop proposing such policy to the Minister of Education and to maintain the 15 Years Free Quality Education Policy for migrant children. Besides, another task that the Minister of Education has to seriously work on is to encourage the formation of clear guidance regarding the provision of alternative education that suits migrant children such as the establishment of community learning centers and the curricula for alien children in the non-formal and informal educational system. The issue of migrant workers’ health problem is addressed. The buying of health insurance of labourers remains problematic. Many medical centers do not comply with ministerial regulations due to the lack of cost effectiveness. Some require extra payment and some refuse to treat children and HIV patients. The ministry should issue a

measure which compels medical centers to strictly adhere to ministerial regulations. Miss Nonglak Ditthawong, the representative of the organizational network that works on migrants’ health mentioned that the announcement made by the Ministry of Public Health on June 26, 2014 specifies the right to determine the costs of medical check-up and health insurance of migrant workers in 2 parts. The first part indicates that the labourers who must be covered by social security are the ones who carry legal passports and work for the enterprises which must enter into the social security system. The second part states that the labourers who are obliged to buy health insurance are the ones who do not carry passports, or have passports but work for the enterprises which are not under the social security system such as household workers and labourers in agricultural and fishery sectors. For the second group, the Ministry of Public Health has determined the workers’ rights to receive medical care by requiring them to buy their own health insurance from medical centers under the Ministry of Public Health. The purchase of health insurance of migrant workers according to the cabinet’s decision in 2014 is divided into 2 groups: migrant workers and their followers who are over 7 years old have to pay 2,100 Baht for 1-year health insurance (500 Baht for medical check-up and 1600 Baht for health insurance) and children who are younger than 7 years old have to pay 365 Baht for 1-year health insurance with no medical check-up required. Both groups would be given an additional benefit, i.e., to receive anti-retrovirals which is the compulsory health insurance. Even though migrant workers are obliged to buy health insurance, there are still several problems in the operation, including the lack of measure to enforce the policy in response to the announcement by the Ministry of Public Health at local level. Many provincial health offices are unable to impel medical centers in their provinces to join the health insurance scheme since the medical centers’ executives have absolute power to decide whether to sell health insurance or not when, in reality, every medical center must sell health Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 43


insurance according to ministerial regulations. Additionally, the scope of privileges is unclear, causing different practices in different medical centers. Because of such ambiguity, some medical centers require extra payment while others refuse to offer health insurance to labourers due to the lack of cost effectiveness. For instance, they do not sell health insurance to children aged between 0-7 years old, or sell but with the condition that parents and children must submit their personal documents. Some refuse to sell it to HIV patients due to the medical centers’ uncertainty. Also, some request extra payment for additional examinations. Furthermore, the government sector itself still lacks the efficient public information system and proactive operation. In terms of service, there are still barriers in communication between service providers and migrant workers. A large number of medical centers do not have healthcare officials who can speak migrant workers’ languages. Such problem causes workers to become uninterested and to ignore the benefits of health insurance system. Since migrant workers are not informed about the details of privileges that come with the purchase of health insurance, they do not see how they can gain advantage from it. Besides, they think that they are still in good health, and they do not get to know about the cases in which migrant workers gain concrete benefits from health insurance. Another reason why some migrant workers do not buy health insurance is because, in their opinions, the fee of health insurance card is too high and the privileges that they are about to receive are not worth the amount of money that they have to pay. In case of illness, they can use the service of clinics in their communities. Apart from that, workers in Bangkok are not allowed to choose hospitals which offer health insurance during the registration at One Stop Service Centers. The hospitals will be automatically fixed for workers, and most of them are the government hospitals that migrant workers are not familiar with. Some of them are located far from the workers’ workplaces/ homes.

44 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

As for the solutions to such problems, the Ministry of Public Health must set up the policy to control medical centers under its administration to ensure that they would strictly comply with ministerial regulations without discrimination. Nevertheless, the number of migrant workers from the statistics of the Ministry of Public Health and the Social Security Office from January to June 2014 indicated that there were 333,372 migrant workers who entered into the social security system (17%), 761,080 workers who entered into the health insurance system (39%) and 868,803 workers whose statuses were unclear or were still in process (44%). Another issue to be discussed is the problem of Burmese and Bangladeshi Rohingya people. The Thai State’s solutions are still not straight to the point. The victim screening procedure is troublesome. It has been revealed that local influential people and politicians are involved in the human trafficking procedure. The police are urged to use the law to handle wrongdoers strictly. The Thai State is advised to cooperate with the countries of origin to support the statuses of Rohingya people. According to Mr. Siwawong Suktawee, the representative of the organizational network that works on migrants, especially illegal Burmese and Bangladeshi Rohingya immigrants, Rohingyas who have been arrested in Thailand can be divided into 2 groups: Rohingyas from Myanmar and Rohingyas from Bangladesh. Both groups enter Thailand for different reasons which can be categorized as follows: 1) the group that migrates into Thailand to look for jobs; 2) the group that migrates into Thailand to escape from death since there are fighting problems, political issues or ethnical controversies in their countries of origin and 3) the group that migrates into Thailand as victims of human trafficking. Most Rohingyas can be found in 3 provinces in Thailand: Ranong Province, Phang Nga Province and Songkhla Province. The last one is the province that Rohingyas travel to the most since its border is


connected to Malaysia. However, the statistics from January to November 2014 showed that 1,329 of them had been arrested which included 8 deaths; 3 of them died from car accidents while travelling and 5 of them passed away after being captured due to famine and chronic illnesses. Burmese Muslim Rohingyas who are prosecuted will be pushed out of the country through informal channels. Afterward, they will be forced back into human trafficking process and re-enter Thailand. As for illegal Bangladeshi immigrants, they will be arrested and have to wait for the Thai authority to cooperate with the Bangladeshi embassy in order to repatriate them. From 2012 onwards, the Thai government has been arresting a great number of Rohingyas, but there is no clear procedure to return them to their original countries. As a result, a lot of Rohingyas are captured and confined in detention centers of which environment is not suitable for living. There were lots of labourers who suffered malnutrition or serious diseases but did not get to be treated in time, causing hem to die in the detention centers. As for the approach to solve such problems, the Thai government should have a precise procedure to screen Rohingyas who escape into Thailand in order to categorize them and provide help for them accordingly. For example, the group of illegal immigrants who need jobs will be given advice on how to enter the country legally. As for the group of Rohingyas that migrate into the country to escape from death, they use Thailand as the country of origin in order to seek asylum in the third country, i.e., Malaysia and Australia where their relatives live. If Rohingyas from this group go through the screening procedure, they will be aided and treated as refugees based on the universal principle. However, since there is no screening procedure, this group will lose the opportunity to seek asylum and will be incarcerated, not knowing their fate for a long period of time. As for the group of victims of human trafficking who mostly become labourers on fishing boats, the Thai State should have a procedure to seriously take care of these people by providing them proper accommodations and establishing an impeachment

process to punish human trafficking agents explicitly and concretely. Besides, during the accusation procedure, this group of Rohingyas should be allowed to work in Thailand. The most obvious human trafficking process was the major arrest which took place on January 2014 in Samnaktaew Sub-district, Sadao District, Songkhla Province. During this incident, 881 Burmese and Bangladeshi Rohingyas were found, including 25 of them who had been caught and confined at immigration checkpoints before being pushed back and recaptured. In most cases, the agents are local influential people and politicians who collaborated with the agents in the countries of origin. The most evident case was that of Mr. Muhammad Nusalam, a Rohingya who was held for ransom and was tortured by a Satun Provincial Council Member Mr. Anus Hayeemasae. At the moment, the case is being investigated by Satun Provincial Court. The investigation will be conducted on December 23-24 this year. Regarding the solutions for this issue, the government should plan the screening procedure to clearly categorize Burmese and Bangladeshi Rohingya people in order to offer help appropriately. Besides, legal actions should be taken against human trafficking agents. Also necessary is the process to take care of the victims who are forced to become parts of the human trafficking procedure in order to determine appropriate actions. The government should also collaborate with the countries of origin to verify their citizenship statuses to see whether they are Rohingas from Myanmar or from Bangladesh before cooperating with UNHCR or the embassy of each country to verify their nationalities for repatriation. Nevertheless, another major issue is that Thailand still lacks interpreters who can communicate with the Rohingyas who have been arrested, causing the solutions to be inefficient. To aggravate the situation, the police’s attitude is also problematic since they usually regard Rohingyas as Burmese Muslims who will be prosecuted and pushed out of the country before UNHCR arrives. Consequently, the group of Rohingyas who escape from death do not receive proper help. Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 45


The problem regarding the access to justice system of migrant workers is raised as domestic employees are deprived of justice and fairness. The fact that houses are closed areas facilitates abuses. 3 notorious cases of labour abuses by employers are raised for discussion in order to find solutions. 6 legal amendments are suggested for the protection of human dignity and the rights of domestic workers. Miss Aye Ma Cho, the representative of Human Rights and Development Foundation which studies the rights and access to justice system of migrant workers stated that there are numerous issues regarding the access to justice system of migrant workers including 1) Access to the compensation fund. The practical procedure of the Social Security office has indicated that migrant works who do not have work permit will have to receive compensation directly from the employer if the workers undergo any accident or illness as a result of work. By allowing only migrant workers who have legal status and the work permit to receive the compensation from the compensation fund is considered a form of discrimination against migrant labour. Moreover the Social Security office does not attempt to enforce the law in an effective way. Although the Compensation Act B.E. 1994 has stated that the employer is designated by law under the Compensation Act to register all migrant workers so that they will be eligible to access to the compensation fund and a failure to do so is considered as one form of criminal offences which will result punishment, the Social Security Office has not ensured the effective implementation of the law; the Social Security Office does not seriously bring the charge against the employer. Therefore, the migrant workers are still unable to receive benefit from this fund. The latest case of migrant worker who died at the construction sites due to the building collapse in Pathumthani province also demonstrates that this procedure has allowed rooms for negotiation between the migrants and the employer. It leaves room for the employer to avoid taking responsibility towards their migrant workers. Regarding the case 46 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

in Pathumthani since the migrant worker did not have the work permit, the Social Security Office has made an order for the heir to receive the compensation directly from the employer, not from the compensation fund. The heir may have to enter the negotiation process with the employer which could result in receiving less amount of money comparing to receiving compensation from the actual fund. Migrant workers have not fully enjoyed and been able to claim their rights that they are entitled to due to the reason of legal status and the permission to work in Thailand. To support all migrant worker to have equal access to the compensation fund, the Social Security office should issue a fair practical procedure that allow all migrant workers who are eligible to be registered with the compensation fund to immediately receive the compensation form the actual fund when they encounter accident or illnesses as a result of work and that there are sharp prosecution measures according to the Compensation Act for employer who violate the conditions of law regarding the registration of migrant workers under this Act. 2) Access to justice for domestic worker the case of migrant workers who are domestic employees. In Thailand, it is estimated that there are approximately 300,000 domestic workers which consist of only 45,000 registered workers from Myanmar, Laos and Cambodia. There are several Thai laws which protect migrant domestic workers such as the Ministerial Regulation No. 14 (B.E.2555) which states that employees must have weekly holidays, traditional holidays and vacations, and 3 other laws which are related to the protection of labour rights such as the Social Security Act which offers benefits for employees in case of illness, death, child birth, disability, senility and unemployment and the Compensation Act which protects employees who encounter danger or become ill from working. Even if these laws have been developed to protect migrant workers in various aspects, they still do not guarantee safety for domestic workers due to the fact that these labourers work inside houses which are private properties that cannot be entered by outsiders. Therefore, the access to violated


laborers is difficult. In the past, the Human Rights and Development Foundation went to rescue domestic workers who were the injured persons in criminal cases of violation committed by employers. There are 3 case studies which lead to the improvement of procedure to protect the rights of domestic workers. The first case is about Miss Ma Su who died from the assault by her employer. Miss Ma su was only 18 years old and was accused of stealing after working with her employer for 3 months. When she denied it, her employer beat her up, poured Kerosene all over her and burned her. After that, her body was thrown on the side of the road. This case took as long as 10 years in the justice system to penalize the employer. The second case involves Miss A and Miss B (false names) who were persuaded by a female police officer to become her maid and nanny. In reality, however, they had to work for a male employer who raped and tortured them, causing them to be badly injured. Later on, the two girls were able to prove her employer guilty, but they were not granted civil remedies and access to compensation according to the Victim Compensation and Expense for the Defendant in a Criminal Act B.E.2544 due to the lack of mechanism from related agencies and help from the country of origin. The third case concerns an 8-year-old girl called Miss Air. In 2009, her employers abducted her from her house where she lived with her family in Kamphaeng Phet Province and forced her to become their domestic worker. Miss Air was physically injured in many ways. For example, her earlobe was cut off by scissors and she was forced to stay in a dog cage while her employers poured boiled water on her. After that, her employers did not take her to hospital, causing her wound to become rotten. Finally, Miss Air managed to escape from the employers’ house with the help of citizens and agencies in Kamphaeng Phet Province and reunited with her family. The police issued an arrest warrant for her employers, but they were still not arrested until now. In this case, many of the government mechanisms, including the Ministry of Social

Development and Human Security and the Rights and Liberties Protection Department under the Ministry of Justice, were able to reach the injured person. From the 3 case studies above, the foundation has several suggestions for the improvement of domestic employment in order to protect the rights and maintain human dignity of domestic workers as follows: The Thai government should consider signing the 189th International Labour Organization Convention regarding decent work for domestic workers; The Thai State should require employers who have domestic workers aged between 15-18 years old to submit the names of their employees to labour inspectors to make sure that the working hours and the tasks are appropriate for young workers; The exceptions in the enforcement of Section 41 regarding pregnant workers should be cancelled in order to guarantee employment without discrimination; The working hours that are suitable for employees should be determined. Also, employees should have the right to decide whether to stay in their employers’ houses, which not only encourages employees to have freedom of movement, but also allows the rights protection mechanisms to become more accessible in case there is an action which may violate the rights of employees and Improve the investigation mechanism of the labour inspector to ensure that the inspector can have access to the employer’s residences that lodge many of domestic workers and prevent the inspector from the charge of invasion of privacy To lift up the condition of living and welfare of the domestic workers through the improvement of the Social Security Law, the Compensation Law, and the Labour relation Law to enable equal access to the social security and compensation fund and to encourage the domestic worker to gather, assemble, and negotiate with the employers which is the starting point for fair labour protection standard.

Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 47


Migrant workers from “Silver & Gold Garment negotiated with employers concerning the deduction of labor registration from their wages

On16 August 2014, the Labor Law Clinic based in Mae Sot, Tak Province, received a complaint from migrant workers from Burma in Silver & Gold Garment Co., Ltd. whose wages have been deducted for labor registration fee by their employers. A cut of 2,080 baht was allegedly made to provide for the application of work permits. As a result, they had not enough income to earn their living. In addition, such deduction was against the 1998 Labor Protection Act’s Articles 76 and 77 that prohibit an employer from making such deduction. Any deduction can only be made upon obtaining consent from the employee and the employee needs to sign to express their consent to the deduction and it must have a clear and specific agreement between them. The workers have contacted the Labor Law Clinic asking to help negotiate with the employer to reduce the deduction to 1,000 baht per month and to increase allowance on water and the number of weekly holidays. An agreement was reached between the employers and the employees who were migrant workers that the former would return the latter the labor registration fee and the application for work permits for the amount of 2,080 baht each on 13 September 2014. But the employers still owed wages to 72 workers, and another round of negotiation would take place. Later, the employers agreed to pay wages to the 72 workers in two installments. The employees received the first installment, 86,119 baht, on 15 October 2014 and the second installment, 132, 993 baht on 14 November 2014. 48 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

Updates of highlighted cases

Descendants received 400,000 baht as indemnity from insurance company for a migrant worker who died of car accidence On 12 August 2014, around 18.00, Mr. Muang Mew Suay or U Mew, 34 years, a migrant worker from Burma, who worked as construction worker in Mae Sot District, Tak Province, was driving his motorcycle back to his place. En route, he was hit in the back by a speedy Toyota pickup truck causing him to die. The police officials who arrived at the scene pressed charges against the truck driver. As for compensation, the Labor Law Clinic based in Mae Sot, Tak, has provided help to Ms. Daw Mae Tu, 65 years, mother of the deceased to contact the insurance companies of the truck. The two insurance companies have decided to provide indemnity to the mother of the deceased including (1) Syn Mun Kong Public Co., Ltd. to provide 200,000 baht as indemnity on 6 October 2014 and (2) Viriyah Insurance Co., Ltd., to provide 200,000 baht as indemnity on 16 October 2014.

Migrant worker received indemnity from insurance company and medical expense from road accidence On 8 October 2014, Labor Law Clinic (LLC) based in Mae Sot, Tak Province, was informed that Ms. Lah Ye Nuk, a migrant worker from Burma, was hit by a car and suffered grave injuries while she was crossing the road. LLC staff has contacted the police officials over the case and advised relatives of the lady to exercise their right to medical service covered by the 1992 Road Accident Victim Protection Act and from the Krung Thai Insurance Co., Ltd., and


need not advance their money while receiving the treatment at Mae Sot District Hospital. On 4 November 2014, the day of negotiation on the indemnity, LLC staff has accompanied Ms. Lah Ye Nuk to talk with the driver and representatives from Krung Thai Insurance plus the police officials at the Mae Sot Police Station. With interpretation provided by LLC, the result of the negotiation was; 1. Ms. Lah Ye Nuk asked for 60,000 baht as indemnity from the Krung Thai Insurance, and its representative agreed to take this and seek an approval for that. 2. The driver agreed to provide 5,000 baht for her support and the payment shall be made on 8 November 2014. LLC staff followed up with the Krung Thai Insurance and informed Ms. Lah Ye Nuk that the payment of the indemnity shall be made on 19 December 2014. LLC staff has accompanied her to receive the amount and she was content and did not want to file any legal claim against the party. Social Security Fund Office approved severance pay to laid off migrant worker In November 2014, Mr. Soe Myint Naing, a steel cutting worker, was laid off as he was ill for several days. He complained with the Office of Labor Welfare and Protection in Samut Prakarn and on 26 December 2014, the employers agreed to provide him 27,000 baht as severance pay. While being unemployed, he was applying for compensation from the Social Security Office (SSO). As his application was approved, he went to the SSO in Samut Prakarn to collect the first installment of unemployment insurance on 19 December 2014.

150,000 baht, shall be paid off after her descendants file all the required documents. Social Security Fund Office approved severance pay to laid off migrant worker In November 2014, Mr. Soe Myint Naing, a steel cutting worker, was laid off as he was ill for several days. He complained with the Office of Labor Welfare and Protection in Samut Prakarn and on 26 December 2014, the employers agreed to provide him 27,000 baht as severance pay. While being unemployed, he was applying for compensation from the Social Security Office (SSO). As his application was approved, he went to the SSO in Samut Prakarn to collect the first installment of unemployment insurance on 19 December 2014.

Migrant workers still deprived of their access to old age benefits from SSO due to problem to certify documents Migrant Justice Program in Mahachai, Samut Sakhon Province, received a complaint from Ms. Nay Chi Oo, a migrant worker from Burma that her husband, who was also a migrant worker in Thailand was insured with the Social Security Office (SSO) Descendants of migrant worker received suffered from kidney failure and died in February 2014. But since he died in Burma, Ms. Nay Chi Oo benefits from SSO and indemnity for was unable to bring the death certificate to apply Road Accident Victim Protection Act for old age benefits from the SSO in Thailand since In October 2014, Ms. Mia, a migrant worker, there is no system of document certification in Burma. had accidence while riding on a motorcycle with her It took her months to acquire a paper certifying the husband back home. The accidence happened in death of her husband from officials in Burma and to Chiang Mai. Since she was insured with the SSO, her descendants were entitled to receive 40,000 baht for funeral rite. Since the driver of the hitting car could not be identified, descendents of Ms. Mia was entitled to the first installment of indemnity according to the Road Accident Victim Protection Act for the amount of 43,186 baht. The second installment, Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 49


have it translated and have the translation certified by the Embassy of Burma and to obtain a letter to certify the ailment of her husband from the hospital. Eventually, SSO agreed to accept her application coupled with the documents. Later, SSO approved 40,000 baht for funeral rite, but she was unable to tap into old age benefits of the deceased since their marriage was not legally registered. Also, parents of both of them have passed away. As a result, SSO refused to disburse her the funeral rite expense claiming no descendant and thus, all the benefits shall be returned to the SSO. Interesting activities

Mae Sot radio program The Anti Labour Trafficking (ALT), Human Rights and Development Foundation (HRDF), has launched a radio program for migrant workers broadcast via the Radio Thailand based in Tak Province at FM 103.75 MHz in both Thai and Burmese. Hosted by staff from the Labor Law Clinic based in Mae Sot, Tak, the program aims to educate the audience about human rights principles, policies and laws related to labor rights protection, laws concerning the suppression of human trafficking and other issues concerning the daily life of migrant workers. It broadcasts every Tuesday, after hourly news in the afternoon, from 15.20-16.00. 2-3 October 2014, HRDF’s representatives participated and spoke at a seminar on “NGO & Trade Unions Preparatory Meeting” organized by International Labour Organization (ILO) at Amari Watergate, Bangkok. It aimed to raise awareness about Good Labour Practice (GLP) among representatives from various state and private agencies including the Department of Labour Protection and Welfare, Stella Maris Seafarers’ Center Sriracha, Labour Rights Promotion Network (LPN) and HRDF, etc., as well as networks of labour unions. Participants were expected to share their opinions and to adopt the practice and apply it in their respective organizations.

50 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

3 October 2014, HRDF’s representatives participated in a conference on “International Labour Recruitment: Conceptual and Policy Challenges” organized by the International Labor Organization (ILO) at the UNESCAP building, UN, Bangkok. The conference aimed to explore conceptual frameworks regarding labour recruitment. A research study by Xiang Biao from Oxford University on labour migration in East Asia over the last decade, ILO labour standards and recent work in the region was presented as a springboard for further discussion and exploration of the conceptual of labour recruitment.


5 October 2014, HRDF’s representatives participated in the meeting of board of directors of the Network of Lawyers for Public Aid in Southeast Asia (SEALAW) and participated an exchange of knowledge on policies and activities has been made on the promotion and assistance of migrant workers to have access to justice process in Thailand among participating lawyers who participated in workshop on Pro Bono Legal Services, organized by Bridges Across Borders Southeast Asia Community Legal Initiative (BABSEA CLE), and the Law Society of Singapore in Singapore. 7 October 2014 HRDF’s representatives attended a consultation on “monitoring the progress of the Draft Ministerial Regulation for the Protection of Marine Fishery Workers B.E. .... “ organized by the Law Reform Commission (LRC) and its Subcommittee on the Reform of Labour Law at a meeting room of the LRC office, Software Park Building, Pak Kred, Nonthaburi. It was a discussion among staff from the Subcommittee, ILO, and representatives from various state and private agencies regarding the Draft Ministerial Regulation.

7-8 October 2014, Migrant Workers Federation (MWF) and Migrant Justice Program (HRDF-MJP) in Chiang Mai jointly organized an educational activity to raise awareness on labour rights, to provide legal counseling and to fundraise for the migrant workers. Combined with cultural activities, the event took place at Wat Mae Kar, Doi Saket District, Chiang Mai with more than 200 participating workers who have asked for IEC material and advice from MJP and MWF.

10 October 2014, Labor Law Clinic (LLC) based in Mae Sot, Tak, organized a home visit to migrant workers aiming to strengthen relationships with them and to provide knowledge and counseling on labour law for those who find it difficult to make the journey to our office. In addition, the LLC staff has visited over 80 migrant workers at their construction site in Tambon Tha Sai Luad, Mae Sot, Tak including three women workers. They have shared with LLC about their working condition and welfare and information about their applying for the registration at the One Stop Service Center and they are supposed to cover their registration expenses. The LLC staff has given them information about the labour registration process and how to apply for work permits in accordance to additional Announcements issued by the National Council for Peace and Order (NCPO) and general information about labour protection law. Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 51


During 15-17 October 2014, HRDF representatives have participated in a workshop on ILO RTG Multi-stakeholder Workshop for the Good Labor Practices Programme in Thailand organized by the ILO, Department of Fishery, and Labour Protection and Welfare Department and held at Buddy Oriental Riverside Hotel, Pak Kred, Nonthaburi. It was aimed at developing a master plan on good labour practices and to give a chance to the participants to develop the visions and objectives in disseminating information about the master plan which can be adopted to suit the context of their respective organizations.

20 October 2014, HRDF’s representatives, delegation from the Thai government, representatives from employer/employee organizations and civil society participated in a meeting to develop a country proposal regarding the protection and promotion of the rights of migrant workers which shall be presented at the 7th ASEAN Forum on Migrant Labour (AFML in Burma, The preparatory meeting was organized by International Labor Organization (ILO) in collaboration with the Ministry of Labour at Landmark Hotel, Bangkok.

21 October 2014, the United Nations for Cooperation against Trafficking in Persons (UN-ACT) and the Thailand Institute of Justice, ILO, Labour Rights Promotion Network (LPN) and Human Rights and Development Foundation (HRDF) have convened in a meeting of experts and actors in anti-human trafficking on the Roundtable Discussion on Debt Bondage and Human Trafficking at Landmark Hotel, Bangkok. It was aimed at sharing in-depth opinions regarding the situation of debt bondage which has led to human trafficking in Thailand. Present at the meeting were also representatives from the Office of the Court of Justice, agencies involved with criminal justice process including the Department of Special Investigation (DSI). Office of the Attorney General (OAG), Anti Trafficking in Persons Division (ATPD) and other relevant law enforcement agencies along with experts and representatives from international organizations. 52 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

25-26 October 2014, HRDF-MJP in Chiang Mai and Migrant Workers Federation jointly organized a public discussion on Thai workers and migrant workers with participation of the labour unions from Rangsit and adjacent areas, a Thai labour union from San Kam Phaeng District, Chiang Mai, a Thai labour union from Lamphun to exchange their problems and discuss the formation of labour organization at Holiday Inn Hotel, Chiang Mai with 33 participants.


16 November 2014, HRDF-MJP in Mahachai, Samut Sakhon, organized an activity to raise awareness on labour rights laws including the labour protection law, social security law, Workmen’s Compensation Fund law, and the unionization among migrant workers. The activity took place at a community of migrant workers in Koh Samui District, Surat Thani with 25 participants from migrant workers in hotelier business. 19 November 2014, staff from the Anti Labour Trafficking (ALT) participated in a workshop on Human Trafficking in the Fisheries Sector: Designing Solutions and Innovations at BP Samila Beach and Resort Hotel in Songkhla. Organized by the Project Issara and Stella Marris, workshop was attended by staff members from state and private agencies who were there to discuss and exchange problems and solutions regarding human trafficking including issues concerning employment recruitment, labour agent, Criminal Justice Response, system to monitor and control fishing trawlers and redress for victims of human trafficking, etc.

22-23 November 2014, HRDF’s representatives attended a meeting of the network of Migrant Working Group (MWG) in Pattaya, Chonburi to discuss its structure and roles of members and to develop strategic plans and action plans among members in the network.

20 November 2014, Labor Law Clinic based in Mae Sot, Tak, organized a home visit to migrant workers in Ban Fai community, Mae Sot District, Tak, where more than 200 migrant workers live. Most of them are employed in garment factories and have been registered with the One Stop Service Centers as per the Announcement of the NCPO. Therefore, LLC staff has got to give them labour rights protection law including their health security and the right to register child birth.

25 November 2014, HRDF-MJP in Chiang Mai and Migrant Workers Federation along with allied organizations in Chiang Mai, organized activities to campaign for an end of violence against women and children at Chiang Mai University with more than 100 participants.

Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 53


27 November 2014, HRDF’s representatives attended the workshop to monitor response to proposals by the ASEAN Civil Society/ASEAN People’s Forum: ACSC/APF 2014 at a meeting room of Chulalongkorn University. It was aimed at allowing networks of civil society to review detail and proposals from the ACSC/APF 2014, which have been presented to representatives from the government and people’s sector and to promote understanding and collaboration between state sector, academics and people’s sector in terms of ASEAN issues and to develop a report to be presented to the ASEAN Secretariat during the ASEAN People’s Forum in 2015 to be held in Malaysia. 1-4 December 2014, HRDF’s representatives participated in a workshop on “The development of indicators for the implementation of international human rights treaties” held at Centara Grand Hotel in Bangkok. Organized by the Human Rights Law and Peace Study Center, Faculty of Law, Sukhothai Thammathirat University and the National Human Rights Commission. It was aimed at taking input from actors in both state and private sectors regarding the development of indicators for the implementation of nine international human rights conventions. The final indicators shall be submitted to the Treaty Committees later.

29-30 November 2014, HRDFMJP in Chiang Mai organized training to raise awareness among paralegals at the Chiang Mai University. The content deals with basic human rights, laws concerning migrant workers and investigation. Among 18 participants were four paralegals from Fang District, Chiang Mai, and 14 migrant workers.

13-14 December 2014 HRDF’s representatives participated in the Civil Society Regional Conference on Post 2015 Development Agenda, Migrants in Crisis and Regional Consultative Processes organized by the Migrant Forum in Asia (MFA) in collaboration with the Bar Council Migrants Refugees and Immigration Affairs Committee in Kuala Lumpur, Malaysia. It was aimed at giving a chance for representatives from civil society organizations working to protect the rights of migrant workers in Asia to discuss and develop joint advocacies to promote the eight-point proposal regarding migrant workers as per the Post 2015 Development Agenda and in pursuance to the UN High Level Dialogue on International Migration and Development (organized by the United Nations, USA) (for more information, please see http://hldcivilsociety.org/wpcontent/uploads/2013/10/0261-HDL_The-5-year-ActionPlan-GB-web2.pdf ) and to discuss follow up plan to enhance the labour protection mechanisms for migrant workers at the regional level including ASEAN, South Asia, etc.

14 December 2014, Migrant Workers Federation organized its annual regular meeting in 2014 with 50 participants including its board of directors and members including 22 males and 28 females. It was held at Thassanajon Resort, Tambon Pa Daed, Muang District, Chiang Mai. During the meeting, the new board of directors was elected to embark on the activities of the Migrant Workers Federation in the following year. 54 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


16 December 2014, the United Nations for Cooperation against Trafficking in Persons (UN-ACT) organized the Thai InterAgency Working Group Meeting on Counter Trafficking with an aim to enhance Ministerial collaboration of countries in the Mekong Sub region against human trafficking (COMMIT Process), progress of UN-ACT and the presentation of “Human Trafficking, Exploitation and Abuse in Mekong Countries” by the International Organization for Migration (IOM) and to present and discuss on the issue of “Fishery Labour and Human Trafficking Victims: Problems and Solutions based on proactive approaches by the Ministry of Labour and Labour Rights Protection Network (LPN). 16-17 December 2014, HRDF’s representatives participated in a regional meeting on “Recruitment Reform” held by Migrant Forum in Asia at Amman, Jordan. The meeting is aimed at presenting finding from a study of the gaps and challenges regarding employment process, the development of proposals and action plans to campaign for recruitment reform to make possible a fair recruitment process and to provide a mechanism for the protection of migrant workers. 17 December 2014, the Migrant Working Group organized a press conference on “Situation of Migrant Workers in 2014 and the future of migrant worker management in Thailand” at the Thai Journalists Association (TJA) in Bangkok. “Highlights of situations of migrant workers in 2014 and the future of migrant worker management in Thailand”, a short documentary was screened during the occasion. Various issues concerning migrant workers including health and access to public services, education, illegal entry of the Rohingya, the right and access to justice process, human trafficking, and protection of migrant workers in marine fishery, etc., were discussed.

16 December 2014, Migrant Justice Program in Chiang Mai organized field activities to raise awareness on labour rights among migrant workers at a construction camp in Tambon Mae Hia, Muang District, Chiang Mai with 21 participants including 11 males and 10 women.

20 December 2014, Migrant Workers Federation visited and organized an activity to raise awareness on social security law and Workmen’s Compensation Fund for workers in agricultural sector in Ban Tong Phung, Tambon Muang Kaew, Mae Rim District, Chiang Mai, including 11 male workers and 10 female workers.

Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 55


บรรณาธิการ: นางสาวปรีดา ทองชุมนุม และนางสาวภัทรานิษฐ์ เยาด�ำ ติดต่อ: มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ส�ำนักงานกรุงเทพมหานคร (เฉพาะโครงการต่อต้านการค้ามนุษย์ด้านแรงงาน) 109 ซอยสิทธิชน ถนนสุทธิสารวินิจฉัย แขวงสามเสนนอก ห้วยขวาง กรุงเทพ 10310 โทรศัพท์ 02 277 6882 โทรสาร 02 275 4261 www.hrdfoundation.org มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ส�ำนักงานจังหวัดสมุทรสาคร 93/200 หมู่ที่ 7 ต�ำบลท่าทราย อ�ำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร 74000 โทรศัพท์/โทรสาร 034 414 087 มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ส�ำนักงานจังหวัดตาก 14/12 ถนนประสาทวิถีเดิม ต�ำบลแม่สอด อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก 63100 โทรศัพท์/โทรสาร 055 535 995 มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ส�ำนักงานจังหวัดเชียงใหม่ 71 ถนนสนามกีฬาซอย 1 ชุมชนอุ่นอารีย์ ซอย 4 ต�ำบลศรีภูมิ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200 โทรศัพท์/โทรสาร 053 223 077 56 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

Editor: Ms.Preeda Tongchumnum and Ms.Phattranit Yaodam Contact: Human Rights and Development Foundation–Bangkok (for the Anti–Human Trafficking Project only) 109 Soi Sitthichon, Suthisarnwinichai Road, Samsennok, Huaykwang, Bangkok 10310 Tel. 662 277 6882 Fax. 02 2754261 www.hrdfoundation.org HRDF, Samut Sakhon Branch Office 93/200 Moo 7, Ta Sai Sub–district, Muang District, Samut Sakhon 74000 Tel/Fax 034 414 087 HRDF, Mae Sot District Branch Office 14/12 Prasart Witheederm Road, Mae Sot Sub–district, Mae Sot District, Tak 63100 Tel/Fax 055 535 995 HRDF, Chiang Mai Branch Office71 Sanamkeela Road, Soi 1, Un–Aree Community, Soi 4, Sriphum Sub–district, Muang District, Chiang Mai 50200 Tel/Fax 053 223 077


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.