10/08/58
บทที่ 3 ทฤษฎีทีเ่ กีย่ วข้องกับ การศึกษาวัฒนธรรม
ทฤษฎีวิวฒ ั นาการทางวัฒนธรรม (Cultural Evolution Theory) นักทฤษฎีคนสําคัญ คือ Edward B. Tylor และ Lewis H. Morgan Tylor ทีไ่ ด้รบั การยกย่องให้เป็ นบิดาแห่ง มานุ ษยวิทยา เขาชี้ ให้เห็นว่าในยุคดั้งเดิมนั้น มนุ ษย์ จัดอยู่ในประเภทคนป่ าเถือ่ นแต่เมือ่ เวลาผ่านไป มนุ ษย์จะมีวิวฒ ั นาการผ่านกระบวนการทางสังคมจน กลายเป็ นสังคมรุ่งเรือง
1
10/08/58
ขณะที่ Morgan ได้ใช้ทฤฤษฎีวิวฒ ั นาการทาง วัฒนธรรม โดยอธิบายลําดับพัฒนาการทางสังคม มนุ ษย์ ตั้งแต่ระดับคนป่ า ระดับสังคมเพาะปลูก และสังคมอารยะ ซึ่งเรียกว่าพัฒนาการทางสังคม 3 ขั้น และได้ให้ความสนใจเกีย่ วกับครอบครัว การ แต่งงาน และการจัดระเบียบทางสังคมและ การเมือง
แนวคิดของทั้งสองมีลกั ษณะคล้ายคลึงกับแนวความคิดของนัก มานุษยวิทยาส่วนมากในศตวรรษที่ 19 ทีเ่ ชื่อว่ามนุ ษย์ ทั้งหลายนั้นล้วนเป็ นสิง่ มีชีวิตทีม่ ีเหตุผล จึ งพยายามหาทาง ปรับปรุงตนเองอยู่เสมอ ดังนั้น วิวฒ ั นาการย่อมเริม่ จากง่าย ไปสู่ยาก จากความไม่เป็ นระเบียบไปสู่ความเป็ นระเบียบ เรียบร้อย
The machine age Agricuture
2
10/08/58
ทฤษฎีนิเวศน์ วทิ ยาวัฒนธรรม (Cultural Ecology Theory) นักมานุษยวิทยากลุ่มนีท้ สี่ ํ าคัญได้ แก่ จูเลียน เอช สจ็วต (Julian H. Steward), แดรี่ ฟอร์ ด(Dary Forde), คลิฟฟอร์ ด กีทซ์ (Clifford Geetz) และมาร์ วิน แฮร์ รีส (Marvin Harris)
สจ็ วต ให้ความหมายนิเวศน์วิทยาว่า คือการ ปรับตัวให้เข้ากับสภาวะแวดล้อม นิเวศน์วิทยาทาง วัฒนธรรม จึ งหมายถึงวิธีการศึกษาหาข้อกําหนด หรือหลักเกณฑ์ทางวัฒนธรรม ซึ่งเป็ นผลกระทบ จากการปรับตัวเข้ากับสภาวะแวดล้อม (ของมนุ ษย์ แต่ละสังคม)
3
10/08/58
นิเวศน์วิทยาวัฒนธรรมจึ งแตกต่างไปจาก นิเวศน์วิทยาสังคม (Social Ecology) เพราะ นิเวศน์วิทยาวัฒนธรรมมุ่งแสวงหากฎเกณฑ์เพือ่ อธิบายทีม่ าของลักษณะและแบบแผนวัฒนธรรมบาง ประการทีม่ ีอยู่ในแต่ละสภาวะแวดล้อม มากกว่ามุ่ง แสวงหาหลักการทัว่ ไปทีใ่ ช้ได้กบั ทุกวัฒนธรรมและ สภาพแวดล้อม
สิ่ งทีส่ ํ าคัญทีส่ ุ ดในแนวคิดนีค้ อื แก่นวัฒนธรรม (Cultural Core) ซึ่งหมายถึง กลุ่มของลักษณะหรือแบบแผนวัฒนธรรมทีม่ ีความสั มพันธ์ ใกล้ ชิดมากทีส่ ุ ดกับกิจกรรมเพือ่ การดํารงชีพและการจัดการทาง เศรษฐกิจ ทั้งนีจ้ ะมุ่งสนใจการนําวัฒนธรรมทางวัตถุ (ระบบเทคนิค วิทยาทีใ่ ช้ หรือเครื่องมือเทคโนโลยี) มาใช้ แตกต่ างกันอย่ างไรและ ก่ อให้ เกิดการจัดการทางด้ านสั งคมทีแ่ ตกต่ างกันอย่ างไรในสภาวะ แวดล้อมทีแ่ ตกต่ างกัน เพราะสภาวะแวดล้ อมแต่ ละแห่ งอาจเป็ นตัวช่ วย หรือข้ อจํากัดใช้ เทคนิควิทยาเหล่ านีก้ ไ็ ด้
4
10/08/58
ในขณะทีแ่ ฮร์ รีส ศึกษาการทําสงครามของชน บรรพกาล (Primitive Warfare) โดยอธิบายว่ า สงครามเป็ นกลไกอันหนึ่งในการปรับจํานวน ประชากรให้ เหลือพอทีจ่ ะสามารถอาศัยอยู่ใน ระบบนิเวศน์ หนึ่งได้ อย่ างเหมาะสม
กรีทซ์ ศึกษาพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของ แบบแผนการเกษตรในอินโดนีเซีย ได้เขียนหนังสือ Agricultural Involution (1963) ชี้ ให้เห็นถึงอิทธิพล ของระบบนิเวศน์ทีม่ ีต่อโครงสร้างสังคม หัวใจที่ สําคัญของแนวคิดนี้ ก็คือ การรวมเอาระบบสังคม วัฒนธรรมและสภาวะทางชีววิทยาเข้าด้วยกันใน การศึกษาการพัฒนาของสังคม
5
10/08/58
ทฤษฎีนเิ วศวิทยาวัฒนธรรมเน้นว่า ความเชื่อและ การปฏิบตั ิต่างๆ ตามระบบวัฒนธรรมทีด่ ูเหมือนไร้ สาระ ไม่มีเหตุผล แต่อาจมีผลในด้านการใช้ทรัพยากร อย่างมีเหตุมีผลก็ได้ โดยคํานึงถึงระดับของ เทคโนโลยีทีใ่ ช้เฉพาะสถานทีด่ ว้ ย
สรุป ทฤษฎีนเิ วศวิทยาวัฒนธรรมนี้ จะช่วยให้ เข้าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่างประชากร สิง่ แวดล้อมทางสังคมและลักษณะทางกายภาพใน สังคมได้อย่างชัดเจนยิง่ ขึ้ น
6
10/08/58
ทฤษฎีการแพร่ กระจายทางวัฒนธรรม (Cultural Diffusion Theory) •
นักมานุษยวิทยาในแนวความคิดนีค้ อื ฟรานซ์ โบ แอส (Franz Boas) เป็ นนักมานุษยวิทยาชาวเยอรมัน เน้ นว่ าการแพร่ กระจายทางวัฒนธรรมเป็ นกระบวนการ ทีม่ ลี กั ษณะสํ าคัญของวัฒนธรรมหนึ่งแพร่ กระจายไปสู่ อีกวัฒนธรรมหนึ่ง โดยปรับเปลีย่ นให้ สอดคล้ องกับ วัฒนธรรมใหม่
เอช.จี. บาร์ เนท (H.G. Barnett) นักมานุษยวิทยา ชาวอเมริกนั ผู้ซึ่งสนใจศึกษาในประเด็นทีเ่ กีย่ วกับ นวัตกรรม (Innovation) ทีถ่ อื ว่ าเป็ นตัวแทนจาก วัฒนธรรมหนึ่งและมีการถ่ ายทอดไปยังวัฒนธรรมอืน่ ในงานเขียนชื่อ Innovation : The Basis of Cultural Change (1953) บาร์ เนทเชื่อว่ า วัฒนธรรม เปลีย่ นไปเพราะนวัตกรรม แต่ ขณะเดียวกันวัฒนธรรม บางวัฒนธรรมอาจไม่ สนับสนุนให้ เกิดมีนวัตกรรมก็ได้
7
10/08/58
เอฟเวอเรท เอ็ม. โรเจอร์ (Everett M. Rogers) ผูเ้ ขียนงานชื่อ Diffusion of Innovations ได้เน้นว่า การเปลีย่ นแปลงสังคมส่วนใหญ่ เกิดจากการแพร่กระจายทางวัฒนธรรมจากภายนอกเข้ามา มากกว่าเกิดจากการประดิษฐ์คิดค้นภายในสังคม และ นวัตกรรม (Innovation) ทีถ่ า่ ยทอดกันนั้นอาจเป็ น ความคิด (Idea) ซึ่งรับมาในรูปสัญลักษณ์ ถ่ายทอดได้ ยาก หรืออาจเป็ นวัตถุทีร่ บั มาในรูปการกระทํา ซึ่งจะเห็น ได้ง่ายกว่า
โรเจอร์ ยังได้กล่าวอีกว่านวัตกรรมทีจ่ ะยอมรับกัน ได้ง่าย ต้องมีลกั ษณะ 5 ประการ ได้แก่ (1) มีประโยชน์มากกว่าของเดิม • (2) สอดคล้องกับวัฒนธรรมของสังคมทีร่ บั • (3) ไม่ย่งุ ยากสลับซับซ้อนมาก • (4) สามารถแบ่งทดลองรับมาปฏิบตั ิเป็ นครั้งคราวได้ • (5) สามารถมองเห็นเข้าใจง่าย
8
10/08/58
• สรุป ทฤษฎีการแพร่กระจายทางวัฒนธรรมนี้ จะ ช่วยอธิบายวิธีการ/ขั้นตอน ของการเผยแพร่วฒ ั นธรรม หนึง่ ไปสู่อีกวัฒนธรรมหนึง่ ซึ่งจะต้องคํานึงถึงข้อเหมือน และข้อต่างของวัฒนธรรมทั้งสองเป็ นสําคัญ
ทฤษฎีโครงสร้าง- หน้าที่ 18
• สมมุติฐาน สังคมเป็ นระบบทีซ่ บั ซ้อนระบบหนึง่ ทีม่ ี องค์ประกอบต่าง ๆ หลายส่วนทํางานร่วมกันจน เกิดความมีเสถียรภาพ (Stability)
ชุดที่1
9
10/08/58
10
10/08/58
องค์ประกอบของทฤษฎี 21
• 1.โครงสร้างสังคม(Social structure)เกิดจาก ความสัมพันธ์ของพฤติกรรมทางสังคม เช่น วิถชี ีวิต ภายในครอบครัวและระบบเศรษฐกิจ เป็ นรูปแบบของ โครงสร้างทางสังคมประเภทหนึง่ ทีเ่ กิดจากพฤติกรรม ทางสังคมโดยความร่วมมือระหว่างกันในครอบครัวจน เกิดเป็ นระบบการผลิต การบริโภค การจํ าแนกแจกจ่ าย และการบริการทีม่ ีขนาดใหญ่ มีความเกีย่ วพันระหว่างกัน ทัว่ ทั้งสังคม ชุดที่1
22
•2. หน้าที่ทางสังคม (Social functions) เป็ น ส่วนที่ทําหน้าที่เชื่อมโครงสร้างสังคมแต่ละ ส่วนเข้าด้วยกัน ทําให้สงั คมทั้งระบบเกิดการ ประสานงานและทํางานร่วมกัน
ชุดที่1
11
10/08/58
23
•
แนวความคิดของทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าที่ เกิด มาจากนักสังคมวิทยาชาวอังกฤษ ชื่อออกุสต์ กองต์ (Auguste Comte) ทีม่ องว่า การทีส่ งั คมจะสามารถ ดํารงอยู่ได้น้นั จะต้องมีการเคลือ่ นไหวและ เปลีย่ นแปลงไปด้วยกันทั้งระบบ
ชุดที่1
•
นักสังคมวิทยาชาวอังกฤษ ชื่อ เฮอร์เบิรต์ สเปน เซอร์ (Herbert Spencer) ได้เสนอแนวความคิดว่า “สังคมมนุ ษย์น้นั มีลกั ษณะเหมือนกับโครงสร้าง ร่างกายของมนุ ษย์ (Human organism) ทีม่ ี ส่วนประกอบต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอก แต่ละ ส่วนประกอบจะมีความความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน และทํางานร่วมกันอย่างเป็ นระบบ” 24
ชุดที่1
12
10/08/58
โรเบิร์ต เค เมอร์ ตนั (Robert K. Merton) 25
• ชาวอเมริกนั ทีม่ องว่ า แต่ ละแบบอย่ างทางสั งคม หรือ โครงสร้ างสั งคมจะมีหน้ าทีห่ ลายและมีหน้ าทีแ่ ตกต่ างกัน ออกไป ขึน้ อยู่กบั การมองว่ าจะมองจากจุดใด และกับ บุคคลใด บางแบบอย่ างทางสั งคมหรือโครงสร้ างสั งคม อาจมีหน้ าทีท่ ชี่ ัดเจนมากกว่ าหน้ าทีอ่ นื่ ซึ่งเรียกว่ า หน้ าที่ หลัก (Manifest functions) ชุดที่1
26
•
แบบอย่างทางสังคมหรือโครงสร้างสังคม บางส่วน อาจมีหน้าที่ที่ไม่สาํ คัญหรือทําหน้าที่ สนับสนุ นมากกว่า ซึ่งเรียกว่า หน้าที่รอง (Latent functions)
ชุดที่1
13
10/08/58
27
•
แต่ บางแบบอย่ างทางสั งคมหรือ โครงสร้ างสั งคมทีเ่ กิดขึน้ มานั้นเป็ นสิ่ งทีส่ ั งคมไม่ ต้ องการจะเรียกว่ า หน้ าทีท่ ไี่ ม่ มีประโยชน์ (Dysfunctions)
ชุดที่1
ทฤษฎีความขัดแย้ง 28
สมมุติฐาน
•
สังคม คือ ระบบทีม่ ีลกั ษณะซับซ้อนของความ ไม่เท่าเทียมกัน (Inequality) และความขัดแย้ง (Conflict) ซึ่งจะนําไปสู่การเปลีย่ นแปลงทางสังคม
ชุดที่1
14
10/08/58
•
เป็ นทฤษฎีที่สนับสนุ นให้ทฤษฎีโครงสร้างหน้าที่มีความสมบูรณ์ขึ้น กล่าวคือ ทฤษฎีความ ขัดแย้งทางสังคมมีแนวความคิดว่า สังคมนั้นไม่ได้ มีความเป็ นอันหนึง่ อันเดียวกัน แต่สงั คมนั้นตั้งอยู่ บนพื้ นฐานของการแบ่งแยก (Division) อันเกิด จากความไม่เท่าเทียมกันทางสังคม 29
ชุดที่1
•
ในสั งคมเกิดการแข่ งขันกันเพราะในสั งคมมีความ ขัดแย้ งกันอันเนื่องมาจากคนกลุ่มต่ างๆ ในสั งคมได้ รับ ผลประโยชน์ และผลตอบแทนทีไ่ ม่ เท่ าเทียมกัน สิ่ งตอบ แทนและผลประโยชน์ ทคี่ นในสั งคมได้ รับมีความ แตกต่ างกันออกไปตามตําแหน่ งและหน้ าทีท่ างสั งคม 30
ชุดที่1
15
10/08/58
31
•
นักความขัดแย้ งจึงมองว่ า สั งคมมีความ ขัดแย้ งกันอย่ างต่ อเนื่อง ซึ่งเป็ นสาเหตุทาํ ให้ สังคม มีการเคลือ่ นไหวและเปลีย่ นแปลงตามมา
ชุดที่1
ประเภทของความยัดแย้ง 32
• 1 ความขัดแย้งในตนเอง 2 ความขัดแย้งระหว่างบุคคล แบ่งออกเป็ น 1) ความขัดแย้งทางความคิด 2) ความขัดแย้งทางธรรมเนียมหรือประเพณีนยิ ม 3) ความขัดแย้งทางระบบ 4) ความขัดแย้งทางวัตถุหรือระดับเครือ่ งมือ ชุดที่1
16
10/08/58
นักทฤษฎีทสี่ ํ าคัญ 33
• คาร์ ล มาร์ กซ์ • ราล์ ฟท์ ดาเฮร์ นดอร์ ฟ • แลนดอล คอลลินส์
ชุดที่1
ทฤษฎีการกระทําระหว่างกัน ด้วยสัญลักษณ์ • สมมุติฐาน •
การทีส่ งั คมดําเนินไปอย่างต่อเนือ่ งนั้นเป็ นเพราะมี จุดเริม่ ต้นมาจากการกระทําระหว่างกันของคนในสังคม และการกระทําของบุคคลในสังคมเป็ นผลมาจาก ความสัมพันธ์ทีบ่ ุคคลมีต่อผูอ้ ื่น
17
10/08/58
35
•
การกระทําและการตอบสนองต่ อบุคคล และสถานการณ์ แวดล้ อมของแต่ ละบุคคลจะขึน้ อยู่กบั การนิยามความหมายทีแ่ ตกต่ างกันของแต่ ละบุคคล และแต่ ละสถานการณ์ โดยรอบ
ชุดที่1
จุดเริม่ ต้นแนวคิด 36
•แมก เวเบอร์ (Max Weber) นักสังคมวิทยาชาว เยอรมัน ให้ความสําคัญกับการศึกษาสังคมโดย ทําความเข้าใจจากจิ ตพิสยั ของคนในสังคม
ชุดที่1
18
10/08/58
37
•
จอร์ด เฮอร์เบิรต์ มี้ ด (George Herbert Mead) ได้ใช้แนวความคิดของเวเบอร์มาใช้ใน การศึกษาสังคมอย่างแท้จริง เพือ่ ค้นหาคําตอบว่า บุคลิกภาพของบุคคลนั้นเกิดมาจากประสบการณ์ ทางสังคมอย่างไร
ชุดที่1
38
•
Mead มีความคิดว่ า การแสดงความคิดและ การ กระทําของมนุษย์ เป็ นนามธรรม (Abstract) ทีแ่ สดงถึง ประสบการณ์ ของแต่ ละคน
ชุดที่1
19
10/08/58
39
• ตัวตน (Self) ภายในทีแ่ ท้จริงของคนเรานั้นเกิดมาจาก การได้รบั เอาบทบาทของผูอ้ ื่น (Taking the role of the other)ทีเ่ กิดจากกระทําระหว่างกันทางสังคม (I) • แต่ในการแสดงออกของคนเราในความเป็ นจริงหรือที่ เรียกว่า (Me) นั้นเป็ นพฤติกรรมทีแ่ สดงออกตามค่านิยม ของสังคม
ชุดที่1
ทฤษฎีปรากฎการณ์ นิยม (Phenomenology) – สมมุตฐิ าน •
มนุษย์ เป็ นผู้สร้ างความหมายต่ างๆ ในสั งคม สร้ างความ แท้ จริงในสั งคม นั่นคือ กฎระเบียบต่ างๆ แล้ วทําความเข้ าใจ ร่ วมกัน และยึดถือเป็ นแนวปฏิบัตใิ นการกระทําระหว่ างกัน แนวความคิดนี้ มนุษย์ จงึ เป็ นตัวสํ าคัญ ให้ เกิดสิ่ งทีเ่ รียกว่ า โครงสร้ างสั งคม
20
10/08/58
•
แต่โครงสร้างสังคมที่มนุ ษย์เองเป็ นคน สร้างขึ้ นนั้นภายหลังทีย่ อมรับกันโดยทัว่ ไปแล้ว ก็อาจมีผลเป็ นตัวบังคับเป็ นตัวแบบให้มนุ ษย์ ต้องปฏิบตั ิตามได้ โครงสร้างสังคมจึ งไม่ใช่ เป็ นสิง่ สมมุติขึ้นมาก่อนอย่างทฤษฎีอื่น แต่เป็ น สิง่ ที่ตามมาทีหลังมนุษย์ เป็ นผลผลิตของ มนุ ษย์ 41
ชุดที่1
จุดสนใจของนักทฤษฎีปรากฎการณ์ นิยม 42
•
การดําเนินชีวิตช่วงใดช่วงหนึง่ หรือชีวิตประจํ าวัน ศึกษา คําพูด เรือ่ งราว ระเบียบแบบแผน การกระทําสิง่ ต่างๆ ของ มนุษย์ในช่วงนั้น ว่าเหตุใดเขาจึ งทําเช่นนั้น เขาทําให้ผูอ้ ื่น ยอมรับความหมายและระเบียบหรือโครงการทีเ่ ขาเสนอนั้น อย่างไร กล่าวอีกนัยหนึง่ เขาสร้างโลกของเขาขึ้ นมาได้อย่างไร
ชุดที่1
21
10/08/58
ประพจน์ สําคัญ 43
• ระเบียบแบบแผนของสั งคมขึน้ อยู่กบั ความนึกคิดของคนใน สั งคมนั้น • การเปลีย่ นแปลงทางสั งคมขึน้ อยู่กบั ความต้ องการหรือ ความเห็นของสมาชิกในชุมชนนั้น • ผู้นําหรือชนชั้นสู งเกิดจากประเพณีทปี่ ฏิบัตมิ าหรือการ ยอมรับของสมาชิกในชุมชน ชุดที่1
44
• อํานาจของคนหรือกลุ่มคนขึ้ นอยู่กบั ความสามารถใน การทําให้ผูอ้ ื่นยอมรับตน • ปั ญหาสังคมเกิดจากการยอมรับ ของกลุ่มคนทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากสิง่ ทีเ่ รียกว่าปั ญหานั้น
ชุดที่1
22
10/08/58
• พฤติกรรมทางสังคมขึ้ นอยู่กบั ประเพณีทีป่ ฏิบตั ิสืบ ต่อกันมา • เมือ่ มีสงิ่ อันพึงปรารถนาเกิดขึ้ น สมาชิกผูไ้ ด้รบั ผลกระทบอาจร่วมกันพิจารณาหาทางแก้ไข และ ปรับเปลีย่ นพฤติกรรมของตนได้ 45
ชุดที่1
เนือ้ หาสาระ 46
•
สั งคมมีลกั ษณะอย่ างไร มีองค์ ประกอบอย่ างไรบ้ าง ส่ วนไหน สํ าคัญ หรือไม่ สําคัญ สํ าคัญอย่ างไร ส่ วนไหนสํ าคัญกว่ าส่ วนไหน ย่ อมขึน้ อยู่กบั ความคิดเห็นของคนทีอ่ ยู่ในสั งคมนั้น
ชุดที่1
23
10/08/58
แนวทางการศึกษา 47
• ทฤษฎีปรากฎการณ์ วทิ ยาเป็ นทฤษฎีระดับจุลภาค (micro level) การเก็บข้ อมูลวิจยั จึงเป็ นการสั งเกตการณ์ ชีวติ ของคน ชุมชน หรือองค์ การทีศ่ ึกษา
ชุดที่1
• ทฤษฎีมีวิธีการวิจยั โดยเฉพาะของทฤษฎี เรียกว่า มานุษย 48 วิธี (ethno methodology) ซึ่งเป็ นวิธีการสังเกตการณ์ ชุมชนทีศ่ ึกษาโดยทัวไปนั ่ นเอง ่ แต่มีวิธีการเฉพาะทีท่ ําใน มานุ ษยวิธีคือการทําให้ชีวิตปกติหยุดชะงักลงชัว่ ขณะ เพือ่ ให้คนในชุมชนได้คิดว่า ชีวิตปกติของเขาเป็ นอย่างไร ทําไมจึ งต้องเป็ นเช่นนั้น
ชุดที่1
24
10/08/58
49
• ดังนั้น เมือ่ มนุษย์ตอ้ งการสิง่ ต่างๆ จากผูอ้ ื่น จึ งต้องเข้าสู่ สัมพันธ์หรือติดต่อกับผูอ้ ื่น และเนือ่ งจากแต่ละคน ต้องการผลประโยชน์ตอบแทนมากทีส่ ุดจากสิง่ ทีต่ นนําไป แลกเปลีย่ นกับผูอ้ ื่น จึ งต้องสร้างกฎเกณฑ์หรือระเบียบ แบบแผนในการแลกเปลีย่ นทีด่ ีมีความยุติธรรมขึ้ น
ชุดที่1
ทฤษฎีการแลกเปลีย่ น (ปริวรรตนิยม) •สมมติฐาน •
มนุษย์แต่ละคนมีความต้องการหลายอย่างในชีวิต แต่ ตัวเองไม่สามารถจะสนองความต้องการของตนทั้งหมดได้ ต้องอาศัยผูอ้ ื่นมาช่วยสนองความต้องการเหล่านั้น • นอกจากนั้นมนุษย์แต่ละคนยังต้องการผลตอบแทนจาก การแลกเปลีย่ นสิง่ ต่างๆ ระหว่างกันให้มากทีส่ ุดเท่าทีจ่ ะ มากได้
25
10/08/58
สาระสําคัญ 51
• มนุ ษย์แต่ละคนมีความต้องการจําเป็ น (needs) หลายอย่างในการ ดํารงชีวติ • มนุ ษย์ตดิ ต่อสัมพันธ์กนั เพือ่ สนองความต้องการจําเป็ นของตน • ในการแลกเปลีย่ นสิง่ ของกัน แต่ละคนต้องการมูลค่าสูงสุดสําหรับ สิง่ ของของตน • ความสัมพันธ์แลกเปลีย่ นจะดํารงอยู่ตราบที่คู่สมั พันธ์คดิ ว่าตนได้ กําไรหรือคิดว่าการแลกเปลีย่ นมีความยุตธิ รรม ชุดที่1
งานชิ้นที่ 2 (งานกลุม่ ) 1. 2. 3.
ให้นิสติ เลือกสถานการณ์ทางสังคม เช่น ข่าว บทความ ละคร ที่มี ความเกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมตามความสนใจ วิเคราะห์สาเหตุ และสถานการณ์โดยใช้ทฤษฎีท่เี กี่ยวข้องกับ การศึกษาวัฒนธรรม นํ าเสนอ กลุม่ ละ 10-15 นาที
26