บทที่ 7 การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม
วัฒนธรรมกับการเปลีย่ นแปลงสังคม
1
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
2
ดังนั้น
ความสัมพันธ์ดา้ นต่าง ๆ ของคนในสังคมเปลี่ยนแปลง ไป อาจเปลี่ยนแปลงในทางดีข้ ึนหรื อแย่ ลง หรื ออาจ เปลี่ยนแปลงอย่างถาวรหรื อชั่วคราว อาจเปลี่ยนแปลงไป อย่างมีการวางแผนหรื อเปลี่ยนแปลงไปเองโดยไม่ มกี าร วางแผนก็ได้ สังคมจะประกอบไปด้วยระบบ ความสัมพันธ์ยอ่ ยๆหลายระบบ และนําไปสู่การ เปลี่ยนแปลง ระเบียบสังคม สถานภาพ บทบาท สิ ทธิ หน้าที่ต่าง ๆ ของคนในสังคม
ประเภทของการเปลีย่ นแปลงทางสั งคม 1. การเปลีย่ นแปลงจากภายนอก สังคม 1.1 การอพยพเคลือ่ นย้าย 1.2 การติดต่อระหว่างประเทศ 1.3 สงคราม
3
2.การเปลี่ยนแปลงภายในสังคม 2.1 สังคมเปิ ดโอกาส 2.2 การประดิษฐ์คิดค้น 2.3 ชนชั้นปกครอง 2.4 การวางแผนพัฒนาเศรฐกิจ 2.5 การควบคุมทางสังคม 2.6 การขัดเกลาทางสังคม 2.7 การเพิ่มของประชากร 2.8 ภัยพิบตั ิ 2.9 ความขัดแย้งของกลุ่มผลประโยชน์
3. สิ่ งทีก่ ่ อให้ เกิดการเปลีย่ นแปลงทางสั งคม 3.1 การคมนาคม 3.2 สื่ อสารมวลชน 3.3 พื้นฐานทางวัฒนธรรม 3.4 บทบาทของตัวแทนการเปลี่ยนแปลทางสังคม 3.5 การเพิ่มขึ้นของประชากร 3.6 ทัศนคติและค่านิยม 3.7 การศึกษา 3.8 สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ 3.9 ทรัพยากรทางธรรมชาติ 3.10 ลักษณะของคนในสังคม
4
สาเหตุเชิงรู ปธรรมของการเปลีย่ นแปลงสั งคม 1.สิ่ งแวดล้อมทางกายภาพและประชากร (The physical environment and population)ปรากฏการณ์ ทางธรรมชาติ เช่น แผ่นดินไหว นํ้าท่วม ความแห้ง แล้ง เป็ นสาเหตุหนึ่งที่ทาํ ให้สงั คมเกิดการเสี ย ระเบียบของสังคม (Disorganization) และ ความสัมพันธ์ของคนในสังคมที่มีต่อกันถูก เปลี่ยนไป
5
2.เทคโนโลยี (Technology) เมื่อมีสิ่งใหม่ที่ทนั สมัยเกิดขึ้น ในสังคมไม่วา่ จะเป็ นการคิดค้นได้เองหรื อการรับเอามา ใช้ สังคมย่อมได้รับผลกระทบและมีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งอาจเป็ นระดับกลุ่มหรื อระดับโครงสร้างสังคมขึ้นอยู่ กับว่าคนในสังคมได้รับผลประโยชน์จากเทคโนโลยีน้ นั มากหรื อน้อย
การนําเอาเทคโนโลยีมาใช้อาจทําให้เกิดความล้าทาง วัฒธรรม (Cultural lag) ซึ่ งเป็ นช่องว่างระหว่างสิ่ งเก่ากับสิ่ ง ใหม่ ที่ปรับตัวในอัตราที่ไม่เท่ากันจนเกิดเป็ นความเหลื่อมลํ้าระหว่าง กันและเป็ นปัญหาสังคมตามมา อันเป็ นเหตุแห่งกการเปลี่ยนแปลง ทางสังคม เช่น 1.วัฒนธรรมอวัตถุ (Nonmaterial culture) นักสังคมวิทยามองว่า วัฒนธรรมที่เป็ นอวัตถุเป็ นสาเหตุที่สาํ คัญที่ทาํ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของ วัฒนธรรมที่เป็ นวัตถุตามมา สิ่ งประดิษฐ์ต่าง ๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้นมาทั้งหลาย เกิดมาจากคตินิยม (Ideology) ที่ถ่ายทอดออกมาสู่วฒั นธรรมที่เป็ นวัตถุ
6
2.กระบวนการทางวัฒนธรรม (Cultural processes) เมื่อเกิดการ ค้นพบ (Discovery) และมีการประดิษฐ์ (Invention) จนเกิดเป็ น นวัตกรรม (Innovation) ขึ้นในสังคม การเคลื่อนไหวทางสังคม (Social movement) ทําให้ เกิดการแพร่ กระจายของวัฒนธรรม (Cultural diffusion) จากคนกลุ่ม หนึ่งหรื อสังคมหนึ่ง ไปสู่ คนกลุ่มอื่นหรื อสังคมอื่น สังคมที่รับเอานวัตกรรมไว้ ใช้กจ็ ะเกิดการเปลี่ยนแปลงในสังคมเกิดขึ้น
3.การพัฒนาทางเศรษฐกิจ (Economic development) ทําให้เกิด ความทันสมัย(Modernization) เพราะมีการเปลี่ยนแปลงการผลิต ตามแบบดั้งเดิมในยุคสังคมเกษตรกรรม(Preindustrial society) ไปสู่ การผลิตแบบอุตสาหกรรมและแบบเมือง ทําให้สงั คมเกิดการ เปลี่ยนแปลงไปสู่ ความเป็ นอุตสาหกรรม (Industrialization) ที่ เปลี่ยนระบบการผลิตจากการใช้แรงงานมนุษย์ไปสู่การใช้แรงงานจาก เครื่ องจักรกล ใช้ระบบการทํางานแบบอุตสาหกรรม บริ เวณที่มีการ เปลี่ยนแปลงไปสู่ ความเป็ นอุตสาหกรรม เกิดความเป็ นเมือง (Urbanization)
7
8
การเปลีย่ นแปลงของสั งคมโลกกับการเปลีย่ นแปลงของ สั งคมไทยทีม่ ผี ลต่ อวัฒนธรรมไทย
การเปลี่ยนแปลงที่อยูอ่ าศัย
การแต่งกายตามตะวันตก
การจาราจรแออัด
อาหารแบบตะวันตก ภาพตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยที่มีผลต่อวัฒนธรรม
9
อิทธิพลของวัฒนธรรมต่ างชาติทมี่ ตี ่ อสั งคมไทย วัฒนธรรมเป็ นสิ่ งที่ไม่มนั่ คงที่หรื อใช้เฉพาะในสังคมหนึ่ง เท่านั้น ในปั จจุบนั มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและการขนส่ ง คมนาคม ทําให้การเผยแพร่ วฒั นธรรมกระทําได้รวดเร็ วยิง่ ขึ้น กระบวนการนี้เรี ยกว่า การเผยแพร่ หรื อการกระจายทางวัฒนธรรม (Cultural Diffusion)
หลังการปฏิวตั ิอุตสาหกรรมในยุโรป ทําให้ ชนชาติต่างๆแข่ งขันกัน แสวงหาอาณานิคมในทวีปเอเชีย สั งคมไทยก็ตกเป็ นเป้าหมายของกลุ่มชาว ยุโรป โดยเฉพาะอังกฤษ ฝรั่งเศส และอิทธิพลของวัฒนธรรมตะวันตกก็ ยังคงต่ อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน ด้ วยสาเหตุดังนี้ 1. ความเจริญทางด้านการคมนาคมขนส่ง ทําให้การเดินทางสะดวก การเผยแพร่ วัฒนธรรมจะเร็วขึ้น
การเจริญทางด้ านการคมนาคมขนส่ ง
10
2. อิทธิพลจากสือ่ มวลชนต่าง ๆ เช่น ภาพยนตร์ โทรทัศน์ หนังสือ และสิง่ ตีพิมพ์อนื่ ๆ
3. การเผยแพร่ วฒั นธรรมโดยตรง คือ ประเทศต่าง ๆ ส่ งคนเข้ามาเผยแพร่ หรื อจากการออกไปศึกษา เล่าเรี ยน เมื่อกลับมาแล้วก็นาํ วัฒนธรรมนั้นมา เผยแพร่
11
ดังนั้น สังคมไทยต้ องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงของโลกหลาย ด้ านส่ งผลกระทบทัง้ ทีเ่ ป็ นโอกาสและข้ อจํากัดต่ อการพัฒนา ด้ านวัฒนธรรม วิถกี ารดําเนินชีวิตทีม่ ีผลต่ อการพัฒนาประเทศเป็ น อย่ างมาก ซึ่งแนวโน้ มมีการเปลี่ยนแปลงดังนี้
1. การเปลีย่ นแปลงทางเทคโนโลยีอย่างก้ าวกระโดด
2. การเปลีย่ นแปลงด้ านสั งคม ประเทศทีพ่ ฒั นาแล้วหลายประเทศกําลังเข้ าสู่ สังคมผู้สูงอายุ โดยการขยายตลาดสิ้นค้ าเพือ่ สุ ขภาพ การให้ บริการด้ านอาหารสุ ขภาพ ภูมิปัญญาท้ องถิน่ และ แพทย์ พนื้ บ้ าน สถานทีถ่ ่ องเทีย่ วและการพักผ่ อนระยะยาวของผู้สูงอายุ นับเป็ นโอกาสในการ พัฒนาภูมิปัญญาท้ องถิน่ ของไทย ซึ่งเป็ นทรัพย์สินทางปัญญาทีส่ ร้ างมูลค่ าทางเศรษฐกิจ และ การเป็ นการอนุรักษ์เผยแพร่ วัฒนธรรมได้ ประการหนึ่ง
3. การเลือ่ นไหลของวัฒนธรรมต่ างชาติทเี่ ป็ นปัญหาของสั งคมไทย สั งคมไทยกําลังประสบปัญหาวิกฤติค่านิยมทีเ่ ป็ นผลกระทบจาการ เลือ่ นไหลทางวัฒนธรรมต่ างชาติเข้ าสู่ ประเทศทั้งสื่ อเทคโนโลยีทขี่ าดการคัด กรองและเลือกรับวัฒนธรรมทีด่ ีงามทําให้ คุณธรรมและจริยธรรมของ คนไทยลดลง โดยเฉพาะเด็กและเยาวชน นําไปสู่ ค่านิยมและพฤติกรรมทีเ่ น้ น วัตถุนิยมและบริโภคนิยมเพิม่ มากขึน้
12
4. กระบวนการมีส่วนร่ วมของชุ มชนในการพัฒนา ชุ มชนมีส่วนร่ วมในการพัฒนาและการจัดการความรู้มีมากขึน้ จากการกระจายอํานาจโดยภาครัฐ ขณะทีด่ ้ านวัฒนธรรม ค่ านิยมทีด่ ีงาม และภูมิปัญญาท้ องถิ่นยังถูกละเลยและมีการถ่ ายทอดสู่ คนรุ่นใหม่ น้อย
5. ธรรมาภิบาลกับสั งคมไทย
สั งคมไทยเปิ ดโอกาสให้ ประชาชนตื่นตัวในการเสริมสร้ าง ธรรมาภิบาลในการตรวจสอบภาครัฐเพิม่ ขึน้ แต่ เนื่องจาการบริหารจัดการ ประเทศมีขนาดใหญ่ ซับซ้ อน การตรวจสอบยังไม่ มีประสิ ทธิภาพมากนัก อาจนําไปสู่ ความขัดแย้ งมีผลกระทบต่ อการอยู่ร่วมกันอย่ างสั นติสุข และ วิถีชีวติ ทีแ่ ตกต่ างกัน
ความแตกต่างของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และวัฒนธรรม ในแต่ละชุมชน
13
14
15
16
การเปลีย่ นแปลงของวัฒนธรรม วัฒนธรรมกับสังคมเป็ นของคู่กนั ต้องไปด้วยกันเสมอ ถ้าสังคมเปลี่ยน วัฒนธรรมก็เปลี่ยนสังคมก็เปลี่ยน มีผลเกี่ยวเนื่องกัน ปัจจัยที่ทาํ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลง เช่นการค้นพบ การประดิษฐ์ การขัดแย้ง การแข่งขัน
17
ผลกระทบของวัฒนธรรมต่ อการดําเนินชีวติ วัฒนธรรมย่อมมีการเปลี่ยนแปลงอยูเ่ สมอไม่วา่ จะเป็ นชนชาติใด เนื่องจากปั ญหาที่มนุษย์ประสบอยู่ ในสังคมเป็ นประจํา ประกอบกับมี ความต้องการจะปรับปรุ งวิถีชีวิตของตนเองและครอบครัวใหมีสภาพดี ขึ้นกว่าเดิม จะเห็นว่าวัฒนธรรมกับสังคมต้องไปด้วยกันเสมอ มีผลเกี่ยว เนื่องกัน
1. แต่เดิมความสัมพันธ์เป็ นแบบใกล้ชิด เช่น การลงแขกทางการ เกษตรแต่เมื่อมีเทคโนโลยีเข้ามาความสัมพันธ์ของคนในสังคมก็นอ้ ยลง 2. ในอดีตสร้างบ้านเหมาะกับธรรมชาติต่อมาเลียนแบบตะวันตก เมื่ออากาศร้อนก็ตอ้ งพึ่งแอร์คอนดิชนั่ สิ่ งแวดล้อมก็เปลี่ยนไป 3. การละเล่นในอดีต เช่น รําวง คนมีความสัมพันธ์กนั ซึ่งแตกต่าง จาการดูคอนเสิ ร์ตในปั จจุบนั ที่มีส่วนร่ วม แต่ขาดความสัมพันธ์
18
สาเหตุการเปลีย่ นแปลงวัฒนธรรม 1. ความต้ องการปรุ งแต่ งวัฒนธรรมสั งคมของตนให้ เจริญงอกงามขึน้
การแต่ งการยุคสมัยเก่ า
การกายยุคสมัยใหม่
ภาพแสดงถึงการแต่ งการเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย
2. การเปลีย่ นแปลงของธรรมชาติ เช่นสภาพดินฟ้ าอากาศ ความแห้งแล้ง นํ้าท่วม อากาศร้อนจัด หนาวจัด การเสื่ อมสภาพของดิน การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวทําให้มนุษย์คิดค้นสิ่ ง ประดิษฐใหม่ ๆ เพื่อควบคุมการเปลี่ยนแปลงไป
การเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ
19
3. การเปลีย่ นแปลงตามความต้ องการของมนุษย์ โดยมนุษย์ มีเชาว์ ปัญญาสู ง ทําให้ เกิดการนึกคิดนําไปสู่ การเปลีย่ นแปลง
การคิดค้นสิง่ ใหม่ ๆ และวิธกี ารใหม่ ๆ เป็ นผลทําให้วฒ ั นธรรมเปลีย่ นแปลงไป การเปลีย่ นแปลงทางเทคโนโลยีสอื ่ สาร ทําให้เด็กไทยปจั จุบนั เขียนหนังสือไม่ถูก ลายมือไม่สวย เพราะได้รบั อิทธิพลมาจากหนังสือการ์ตูน ตัวอักษรไทยผิดเพี้ยนไป รักความสบายมากขึน้ เด็กปจั จุปนั ใช้โทรศัพท์ นานมมาก มีปญั หาต่อการได้ยนิ มีปญั หา ต่อทางสมอง
4. การเปลีย่ นแปลงสิ่ งแวดล้ อมทางสั งคม เช่น ประชากรมีจาํ นวนมากขึ้น ทําให้มีการแข่งขันกันสูง เกิดความ ขัดแย้ง (Class Conflict) เพิ่มมากขึ้น อันเป็ นปัญหาที่มนุษย์ตอ้ ง หาวิธีการสร้างระเบียบ เพื่อแก้ไขความยุง่ ยากดังกล่าว ดังนั้น วัฒนธรรม ของมนุษย์ยอ่ มเปลี่ยนแปลงไปด้วย
20
5. การแลกเปลีย่ นวัฒนธรรมจากสั งคมอืน่ ซึ่งเกิดจากความเจริ ญในด้านการสื่ อสารการคมมนาคมติดต่อ ถึงกันเป็ นอย่างสะดวกรวดเร็ วการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมจากสังคมอื่นจึงเป็ นไป อย่างกว้างขวาง
ภาพแฟชัน่ การแต่งกาย
6. การพัฒนาการความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางทัศนคติความเชื่อแบบเดิมหันไปนิยมแบบ ใหม่ เพื่อต้องการให้เป็ นผูท้ ี่เรี ยกว่า ทันสมัยไม่ลา้ หลัง มีการปรับปรุ งแนวคิด ใหม่ๆอยูเ่ สมอ
21
7. วัฒนธรรมอาจเปลีย่ นแปลงได้ เนื่องจากความประสงค์ ของผู้มอี าํ นาจ
8. การมองเห็นประโยชน์ และความจําเป็ นของสิ่ งนั้น ๆ ทําให้ รับเอาวัฒนธรรมนั้น ๆ มาใช้ ในการดําเนินชีวติ
เมื่อประชาชนมากขึน้ มีความจําเป็ นต้ องอาศัยการผลิตแบบอุตสาหกรรม การใช้ เครื่ องจักร ช่ วยในการผลิตตามระบบโรงงาน(Factory System)
22
จากสาเหตุดงั กล่าวทั้ง 8 ข้อ จะเห็นว่าวัฒนธรรมจะมีการเปลี่ยนแปลงไปตาม กาลเวลาสภาพสังคม เศรษฐกิจ การเมือง การศึกษา เทคโนโลยีใหม่ ๆ การเพิ่มของ ประชากร ฯลฯ มีส่วนทําให้สภาพแวดล้อม สภาพจิตใจ ความเชื่อ ทัศนคติ เปลี่ยนแปลงไป วัฒนธรรมจึงต้องเปลี่ยนแปลงปรับปรุ งเพื่อสอดคล้องตามไปด้วย
วัฒนธรรมใหม่ เกิดจากโลกาภิวตั น์ ซึ่งได้แก่ ผลจากการพัฒนาการติดต่อสื่ อสาร การ คมนาคมขนส่ ง และเทคโนโลยีสารสนเทศ อันแสดงให้เห็นถึงการเจริ ญเติบโต ของความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การเมือง เทคโนโลยี และวัฒนธรรมที่เชื่อมโยง ระหว่างปัจเจกบุคคล ชุมชน หน่วยธุรกิจ และรัฐบาล ทัว่ ทั้งโลก เพราะความเป็ นโลกาภิวตั น์ หมายถึงกระบวนการที่ประชากรของโลกถูก หลอมรวมกลายเป็ นสังคมเดี่ยว กระบวนการนี้เกิดจากแรงของอิทธิพลร่ วมทาง เศรษฐกิจเทคโนโลยีและสังคม วัฒนธรรมและการเมือง
23
วัฒนธรรมป๊ อบ ปัจจุบนั การเดินทางของวัฒนธรรมไม่ได้ถูกจํากัดพื้นที่และเวลา (Space and Time) อีกต่อไป ในยุคสงครามเวียตนาม วัฒนธรรมของอเมริ กนั ชนหลัง่ ไหลสู่ประเทศไทยราวกับ สายนํ้า เดินทางมาพร้อมกับดนตรี ร็อคแอนด์โรค กางเกงยีนต์ เสื้ อยืด และบุปผาชน ช่วง ระหว่างก่อนและหลังสงครามเวียตนาม วัฒนธรรมไทยได้รับอิทธิพลจากโลกตะวันตก โดยเฉพาะ Pop Culture จากฝั่งอเมริ กนั มหาศาล เอลวิส เพรสลีย,์ แจกกาลีน เคน นาดี้, จอห์น เวนย์, อลิซเบต เทลเลอร์ เป็ นต้น วัฒนธรรมเหล่านั้นหลัง่ ไหลมาในรู ปแบบภาพยนตร์ ข้าวโพดคัว่ ดนตรี ร็อค ทรงผม แฟชัน่ เสื้ อผ้า รู ปแบบการใช้ชีวิต ความรุ นแรงของวัฒนธรรมอเมริ กนั ชนแผ่อิทธิ พลไปทัว่ โลก ไม่เฉพาะในเอเชีย ชันชนะของวัฒนธรรม Pop โหมกระพืออย่างรวดเร็ ว เพราะ เข้าถึงประชาชนอย่างง่ายดาย ประกอบกับวัยหนุ่มสาวมีอิสระเสรี ที่จะคิดและทําได้มากขึ้น การศึกษาที่สูงขึ้นทําให้มนุษย์มีอิสระที่จะเลือก มิสิทธิที่จะดําเนินชีวติ ตามครรลองของ ตนเอง โดยปราศจากการชี้นาํ จากรัฐบาล หรื อจากครอบครัว
วัฒนธรรมป๊ อบ วัฒนธรรมสมัยนิยม หรื อ วัฒนธรรมร่ วมสมัย (อังกฤษ: popular culture หรื อ pop culture) หมายถึง วัฒนธรรมที่เป็ นที่นิยมของผูค้ นใน สมัยนั้น เกิดจากการสื่ อสารของบุคคล ความต้องการของวัฒนธรรมในจังหวะช่วงเวลา นั้น ซึ่ งเกิดขึ้นทุกวันและแสดงเป็ นภาพลักษณ์ออกมา ซึ่ งสามารถรวมได้ถึงทุกอย่างไม่ ว่าจะเป็ นการทําอาหาร การแต่งกาย สื่ อมวลชน กีฬา หรื อวรรณกรรม โดยวัฒนธรรม สมัยนิยม มักจะมีลกั ษณะตรงข้ามกับวัฒนธรรมระดับสู ง วัฒนธรรมสมัยนิยม คือทุกสิ่ งทุกอย่างที่เป็ นความคิด มุมมอง ทัศนคติ ภาพลักษณ์ การเลียนแบบ และปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เชื่อกันอย่างไม่เป็ นทางการว่าเป็ น สิ่ งที่ชื่นชอบของสังคมในท่ามกลางวัฒนธรรมกระแสหลัก ส่ วนหนึ่งในวัฒนธรรมสมัย นิยมเช่น เพลงป็ อป หรื อ เพลงสมัยนิยมที่จะเน้นในลักษณะตามความชอบของคนใน สมัยนั้น เพลงป็ อปในญี่ปุ่นจะเรี ยกว่า เจ-ป็ อป เค-ป๊ อบ เป็ นต้น
24
วัฒนธรรมป๊ อบ "popular culture" เริ่ มใช้ในยุโรปในช่วงปลายศตวรรษ ที่ 18 โดยโจฮันน์ กอตต์ปรายด์ เฮอร์เดอร์ (Johann Gottfried Herder) ซึ่งได้จาํ แนกวัฒนธรรมออกเป็ น วัฒนธรรมชั้นสู ง (high culture) ซึ่งเป็ นวัฒนธรรมของผูท้ ี่มี การศึกษา เป็ นวัฒนธรรมแห่ งเหตุผล และวัฒนธรรมชั้นตํ่า (low culture) หรื อวัฒนธรรมป๊ อป คือวัฒนธรรมไร้เหตุผล ใช้ความรู ้สึก ดั้งเดิม
วัฒนธรรมป๊ อบ วัฒนธรรมป๊ อป คือความหมายของเสรี ภาพ เมื่อมันเดินทางไปสู่ประเทศที่ เคร่ งคัดต่อจารี ต และมีรูปแบบที่ชดั เจน ย่อมถูกต่อต้านจากชนชั้นนําอย่างไม่ ต้องสงสัย ประเทศไทยเป็ นประเทศหนึ่งที่ต่อต้าน Pop Culture อย่าง หนักจากชนชั้นนํา โดยเฉพาะยุคปั จจุบนั การข้ามวัฒนธรรมเกิดขึ้นอย่าง รวดเร็ ว การเดินทางไปยังประเทศหนึ่งใช้เวลาน้อยลง อินเตอร์เน็ตมีบทบาท สําคัญ รวมถึงรายการโทรทัศน์ได้แผ่ขยายสัญญาณไปจนถึงขอบโลก ไม่วา่ จะ อยูท่ ี่ใดเรายังติดตามสถานีโทรทัศน์ CNN MTV และ BBC ได้อย่างไม่ ขาดตกบกพร่ อง ทันต่อเหตุการณ์ตลอดเวลาจนยากที่จะตกสมัย
25
วัฒนธรรมป๊ อบในสังคมไทย สําหรับในสังคมไทย ร่ องรอยของวัฒนธรรมป๊ อปในช่วงแรกน่าจะเห็น ได้ชดั ที่สุดจากวัฒนธรรมการบันเทิง การแสดงละครเก็บเงินที่ปริ นซ์เทียเตอร์ ในปี พ.ศ. 2426 เป็ นสิ่ งที่บ่งบอกว่ามีการเปิ ดกว้างให้แก่ใครก็ได้ (ที่มี เงิน) ได้เข้าไปชม เกิดธุรกิจบันเทิงขึ้นเป็ นครั้งแรก มีการสร้างงานที่เน้นไปที่การทําให้ ผูช้ มประทับใจโดยมีผลประโยชน์ทางการเงินเป็ นตัวขับเคลื่อนที่สาํ คัญที่สุด
หลักเกณฑ์ การพิจาณาวัฒนธรรมป๊ อบ 1. เป็ นสิ่ งทีช่ ื่นชอบหรือยอมรับโดยผู้คนจํานวนมาก 2. เป็ นสิ่ งทีถ่ ูกมองว่ าตํ่าชั้นและไร้ คุณค่ าหรือรสนิยมทางศิลปะ 3. เป็ นสิ่ งทีอ่ อกแบบมาหรือสร้ างขึน้ เพือ่ ให้ คนจํานวนมากชื่นชอบ เพือ่ ประโยชน์ ทางการค้ าและบริโภคนิยม 4. เป็ นสิ่ งทีส่ ร้ างขึน้ โดยผู้คนเพือ่ พวกเขาเอง
26
ลักษณะสํ าคัญของวัฒนธรรมป๊ อบ 1. วัฒนธรรมสมัยนิยมเป็ นวัฒนธรรมแห่ งความเป็ นไปได้ (anything goes) มีการเกิดขึ้น,เปลี่ยนแปลง และเสื่ อมสู ญไปตามกระแสนิยมของคนในสังคมและกาลเวลา
2. วัฒนธรรมสมัยนิยมเป็ นวัฒนธรรมทีเ่ กีย่ วข้ องกับชีวติ ประจําวัน (ordinary/common culture in the realm of everyday life) เป็ นเรื่ องธรรมดาในการดํารงชีวิตของมนุษย์เป็ นที่ น่าสังเกตว่าชีวิตประจําวัน เป็ นคําที่เต็มไปด้วยความขัดแย้งในตัวเอง
27
3. วัฒนธรรมสมัยนิยมเป็ นวัฒนธรรมแห่ งวัยรุ่น (culture of the youth) วัฒนธรรมสมัยนิยมอาจมีผลกระทบหรื อเป็ นที่ชื่นชอบโดยผูค้ น ทุกเพศทุกวัยทุกชน ชั้นในสังคม แต่วฒั นธรรมสมัยนิยมส่ วนใหญ่จะเป็ นเรื่ อง ของคนหนุ่มสาว
4. วัฒนธรรมสมัยนิยมเป็ นวัฒนธรรมทีเ่ กีย่ วข้ องกับกิจกรรมทางโลก (culture of the mundane) กระแสนิยมเกือบทั้งหมดเป็ น กิจกรรมทางโลกียะแทบทั้งสิ้ น ผูค้ นในกระแสนิยมจึงเป็ นฐานที่ต้ งั เป้ าหมายและเป็ นเครื่ องมือในการผลิตและการบริ โภคสื่ อวัฒนธรรม สมัยนิยมทุกรู ปแบบ
28
5. วัฒนสมัยนิยมเป็ นวัฒนธรรมพันธุ์ผสม ( hybrid culture) วัฒนธรรมสมัยนิยมเกิดขึ้นจากหลายแหล่งที่มา และเกิดจากการ ดัดแปลงหรื อรวมเอาองค์ประกอบปลีกย่อย จากทั้งในและ นอกวัฒนธรมขึ้นมาแล้วนําเสนอเพื่อสร้างกระแสการยอมรับและ ตอบสนองรู ปแบบต่างๆจากสังคม
6. วัฒนธรรมสมัยนิยมเป็ นวัฒนธรรมทีเ่ กิดจากรวมกันเข้ าของการแยก ส่ วนและแตกตัว (fragmented culture) ไม่อาจมองโดยการ เน้นการทําความเข้าใจภาพรวม เนื้อหาที่เป็ นเอกลักษณ์ในขอบเขตที่ ชัดเจนได้
29
7. วัฒนธรรมสมัยนิยมเป็ นวัฒนธรรมแห่ งการบริโภค (consumers' culture) หรื อเป็ นวัฒนธรรมตลาดซึ่งถูกผลิต เชิงธุรกิจอุตสาหกรรมในปริ มาณมากและกระจาย ผลผลิตออกไปสู่ กลุ่ม ผูบ้ ริ โภคในวงกว้าง เพื่อที่จะสร้างกระแสในการบริ โภคให้เกิดขึ้นใน สังคม หรื ออาจเรี ยกได้วา่ "วัฒนธรรมตลาด"
8. วัฒนธรรมสมัยนิยมเป็ นผลผลิตของความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการ ติดต่อสื่ อสาร หรื อวัฒนธรรมที่ได้รับอิทธิพลจากสื่ อมวลชน (mass media-saturated culture)
30
9.วัฒนธรรมสมัยนิยมเป็ นเรื่องของแฟชั่นและกระแสความนิยม (culture of fashion and popular trend) ได้ รับ ความนิยมเร็ ว รวมทั้งหายไปเร็ ว เพราะถูกแทนที่ด้วยกระแสอื่นที่ใหม่ กว่ า และเร้ า ความสนใจของผู้คนได้ มากกว่ า กระแสนิยมจึ งเป็ นเสมือนคลื่นลูกเก่ าไล่ หลังคลื่น ลูกใหม่ แต่ กระแสคลื่นเหล่ านั้นก็ก่อตัวขึน้ เพิ่มพลังเรื่ อยมา
10. วัฒนธรรมนิยมเป็ นเรื่องของการสร้ าง ค้ นหา ต่ อรอง และผลิตซํ้า ตัวตนหรืออัตลักษณ์ (battles of cultural identities/selves) ผูค้ นในกระแสนิยมอยูเ่ พื่อค้นหา เลือก ต่อรอง และหรื อปฏิเสธสังกัดของตนเอง ไม่วา่ จะเป็ นสไตล์ชีวิต กลุ่ม เพื่อน ครอบครัว ที่ทาํ งาน ชุมชน สามารถในการอธิบายปรากฎการณ์ ทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง หรื ออาจทําความเข้าใจการต่อสูเ้ พื่อ ค้นหาตัวตนของคนที่แตกต่างชาติพนั ธุ์ ชนชั้น รุ่ นอายุ และภูมิหลังต่างๆ ในกระแสสมัยนิยม
31
ตัวตนคนพันธุ์ป๊อบในสั งคมไทย ใส่ รองเท้าตีนโต เหน็บโทรศัพท์มือถือ ชอบพูดสําเนียงฝรั่ง ชอบเดินศูนย์การค้า ชอบใช้สินค้าฝรั่ง ชอบทําตัวเสเพล ชอบแต่งตัวใฝ่ ตํ่า ชอบเปลี่ยนชูค้ ู่ขา
ใส่ ผา้ โชว์สะดือ ชอบพูด อื้อหื อ..อ้าหา ชอบบ้าคลัง่ นักร้อง ดารา ชอบนินทากาเล ชอบฟังเพลงเย้..เย้ ชอบฮาเฮ ผับ..บาร์ ชอบอวดลําแข้งลําขา ชอบอิจฉาคนดี..
งานชิ้นที่ 5 (งานกลุ่ม) • วัฒนธรรมในอาเซียน ทําสื่ อเป็ นวิดโี อ เพือ่ นําเสนอประเด็นทีเ่ กีย่ วข้อง กับวัฒนธรรมในภูมภิ าคอาเซียน เช่ น หนังสั้น, สารคดี, รายการวาไรตี,้ รายการท่ องเทีย่ ว เป็ นต้ น ส่ งงานนําเสนอโดยลิงค์ ผ่ านUtube และส่ งงานต้ นฉบับในรูปแบบ CD พร้ อมออกแบบ การห่ อหุ้มแผ่ น CD อย่ างสร้ างสรรค์ ** 15 คะแนน ** * ผู้แสดงต้ องเป็ นสมาชิกในกลุ่ม และ ใช้ เวลา 10-15 นาที
32