10/08/58
บทที่ 2 วัฒนธรรม
วัฒนธรรม คือ ?
1
10/08/58
ความหมายของวัฒนธรรม คํ า ว่ า “วั ฒ นธรรม”(culture)มี ผ้ ู ใ ห้ คํ า จํ า กั ด ความหรื อ ความหมายไว้ หลายความหมาย ดังต่ อไปนี้
ศาสตราจารย์ พระยาอนุมานราชธน หรือ เสถียร โกเศศ ได้ ให้ ความหมายของวัฒนธรรมว่ า “วัฒนธรรม คือ วิถีหรือทางดําเนินแห่ งชีวติ ของชุมชนหนึ่ง ซึ่งอยู่ร่วมกัน ในทีห่ นึ่งหรือประเทศหนึ่งโดยเฉพาะ”
คูณ (Coon) นิยามว่ า “วัฒนธรรมคือ ผลรวมทั้งหมดของวิธี ต่ างๆ ที่ทําให้ มนุษย์ มีชีวิตอยู่ได้ และมีการถ่ ายทอดจากชั่วชีวิตหนึ่ง ไปอีกชั่วชีวติ หนึ่งโดยการเรียนรู้ ” เฮอร์ สโกวิทส์ (Herskovits) นิยามวัฒนธรรมสั้ นๆ ว่ า “คือสิ่ งแวดล้ อมทีม่ นุษย์ สร้ างขึน้ มา”
2
10/08/58
จากคํ า นิ ย ามที่ มี ผู้ ใ ห้ ค วามหมายไว้ ดั ง ที่ ก ล่ า วมาแล้ ว นี้ สามารถสรุปได้ ว่า “วัฒนธรรมคือ แบบแผนพฤติกรรมที่เกิดจากการเรี ยนรู้ ที่ ค่ อ ยๆ เปลี่ย นแปลงไปเรื่ อ ยๆ และยัง รวมผลผลิต ที่ เ กิด จากการ เรียนรู้ เช่ น ทัศนคติค่านิยมสิ่ งของต่ างๆ ที่คนทําขึน้ และความรู้ ที่มี อยู่ ร่วมกันในกลุ่มชนหนึ่ งๆ และมีการถ่ ายทอดไปยังสมาชิ กคน อืน่ ๆในสั งคม”
ลักษณะของ วัฒนธรรม
1. เป็ นสิ่ งทีไ่ ด้ มาด้ วยการเรียนรู้ 2. เป็ นแบบแผนพฤติกรรม 3. เป็ นผลทีเ่ กิดจากการเรียนรู้
5. เป็ นการถ่ ายทอดทางสั งคม 6. มีพนื้ ฐานจากการใช้ สัญลักษณ์ 7. เป็ นสิ่ งทีเ่ ปลีย่ นแปลงได้
4. สิ่ งทีส่ มาชิกในสั งคมมีร่วมกัน
3
10/08/58
ระดับของวัฒนธรรม วัฒนธรรมมีความหมายต่ างกันเป็ น 4 ระดับดังนี้ 1. วัฒนธรรมในความหมายหรือระดับกว้ างทีส่ ุ ด (generic) หมายถึง วิถชี ีวติ ทีต่ ้ องเรียนรู้ ของมนุษย์ ทุกสั งคมไม่ ว่าในอดีตหรือปัจจุบัน 2. วัฒนธรรมเฉพาะ (specific) หมายถึงวิถชี ีวติ ของสั งคมหนึ่งสั งคม ใดโดยเฉพาะ เช่ น วัฒนธรรมของสั งคมไทย 3. วัฒนธรรมย่ อย (subspecific หรือ subculture) หมายถึง ความแตกต่ างในวิถชี ีวติ ของกลุ่มคนทีอ่ ยู่ในสั งคมเดียวกัน 4. วัฒนธรรมร่ วมทีเ่ ฉพาะ (interspecific) หมายถึงเป็ นวัฒนธรรม ย่ อยทีม่ ีร่วมกันอยู่ใน 2 วัฒนธรรมหรือหลายวัฒนธรรม
ประเภทของวัฒนธรรม 1. วัฒนธรรมวัตถุ (Material Culture) 2. วัฒนธรรมทีไ่ ม่ ใช่ วตั ถุ (Non-Material Culture)
4
10/08/58
วัฒนธรรมทีไ่ ม่ ใช่ วตั ถุ แบ่ งออกเป็ น 5 ประเภทย่ อย 1. สถาบันสั งคม 2. วัฒนธรรมประเภททีเ่ กีย่ วกับการควบคุมทางสั งคม มี 5 ประเภทย่ อยคือ 2.1 ศาสนา 2.2 ความเชื่อทางสั งคม 2.3 ค่ านิยม 2.4 ประเพณีต่างๆ 2.5 กฎหมาย คือ การควบคุมทางสั งคมโดยตรง
5
10/08/58
3. ศิลป เช่ น จิตรกรรม ประติมากรรม เป็ นต้ น 4. ภาษา 5. พิธีกรรม
องค์ ประกอบของวัฒนธรรม 1. องค์ วตั ถุ ; วัตถุทสี่ ามารถจับต้ องได้ เช่ น เครื่องมือ เครื่องใช้ โรงเรียน ภาพเขียน โบสถ์ เป็ นต้ น 2. องค์ การ : กลุ่มทีม่ ีโครงสร้ างเป็ นทางการ เช่ น ครอบครัว ลูกเสื อ สภากาชาด วัด เป็ นต้ น 3. องค์ พธิ ีการ (usage) : ขนบธรรมเนียมประเพณีทยี่ อมรับ กันทัว่ ไป เช่ น แต่ งงาน บวชนาค ตาย ขึน้ บ้ านใหม่ ฯลฯ 4. องค์ มติ (concepts) : ความเข้ าใจ ความเชื่อ อุดมการณ์ ต่ างๆ
6
10/08/58
ขบวนการและปรากฎการณ์ ทางวัฒนธรรม (Cultural Process and Cultural Phenomena) การติดต่ อระหว่ างวัฒนธรรม(acculturation) เป็ นปรากฎการณ์ ทางวัฒนธรรมอย่ างหนึ่ง เมื่อชน 2 กลุ่มทีม่ ีวฒ ั นธรรมแตกต่ างกัน มาติดต่ อกัน แต่ ละกลุ่มอาจให้ อทิ ธิพลซึ่งกันและกันได้ ซึ่งอาจเป็ น การให้ อทิ ธิพลแต่ ฝ่ายเดียวหรือส่ งผลกระทบต่ อกันทั้งสองฝ่ ายได้
• การผสมผสานทางวัฒนธรรม (assimilation) เป็ นรู ปแบบหนึ่งของการติดต่ อระหว่ าง วัฒนธรรม เป็ นผลจากการทีป่ ัจเจกชนหรือกลุ่ม คนกลุ่มต่ างๆแทนทีว่ ฒ ั นธรรมของตนเองโดย วัฒนธรรมอืน่ ๆ
7
10/08/58
ชาติพนั ธุ์นิยม (ethnocentrism) หมายถึง ความโน้ มเอียงทีจ่ ะ อธิบายว่ าวัฒนธรรมของตนเองดีกว่ าเหนือกว่ าวัฒนธรรมของคนอืน่ โดยใช้ ค่านิยมและมาตรฐานทีม่ ีอยู่ในวัฒนธรรมของตนเองเป็ น เครื่องวัด การทีเ่ ราเห็นว่ าวัฒนธรรมของเราดีกว่ าวัฒนธรรมอืน่ มีเหตุผลหลาย ประการคือ 1. เพราะความเคยชินของเราเอง เราอยู่อาศัยในสั งคมของเราทีเ่ รา พอใจ 2. เพราะไม่ เข้ าใจสถานการณ์ ท้งั หมดทีเ่ กีย่ วข้ อง
3. เพราะเราถูกสอนให้ รักชาติ และภักดีต่อชาติของเรา “ชาติของเราดีถูกต้ องทีส่ ุ ด” 4. เพราะความไม่ สามารถของแต่ ละบุคคล คือเราอาจ ใช้ ชาติพนั ธุ์นิยมเป็ นระบบปกป้ องตัวเรา จากการทีเ่ รา ไม่ มคี วามสามารถเพียงพอ
8
10/08/58
วัฒนธรรมอุดมการณ์ และวัฒนธรรมตามความเป็ นจริง พฤติกรรมทีค่ ดิ เอาไว้ ว่าควรจะดีทสี่ ุ ด เรียกว่ าวัฒนธรรม อุดมการณ์ แต่ ในภาคปฏิบัตมิ นุษย์ กลับทําไปอีกอย่ างหนึ่งซึ่งขัดกันกับที่ คิดไว้ และทําไปอย่ างไร้ มาตรฐาน อีกทั้งยังเป็ นปัญหาต่ อคนส่ วนใหญ่ ด้ วย เรียกว่ าวัฒนธรรมตามความเป็ นจริง ซึ่งมักขัดกับอุดมการณ์ อยู่ เสมอ
วัฒนธรรมสั มพัทธ์ (Cultural Relativism) หมายถึง การศึกษาวัฒนธรรมโดยวิธีการสั มพันธ์ กบั สิ่ งแวดล้ อมรอบด้ าน และโครงสร้ างหรือสถาบันอืน่ ๆ เพือ่ สร้ างความเข้ าใจทีถ่ ูกต้ องต่ อวัฒนธรรมหนึ่งๆในขอบเขตและ เนือ้ หาของวัฒนธรรมนั้นๆ เอง โดยไม่ นําไปเปรียบเทียบกับ วัฒนธรรมในท้ องถิ่นอืน่ แล้ วนํามาตัดสิ น
9
10/08/58
เขตวัฒนธรรม (Cultural Areas) หมายถึงอาณาบริเวณทีอ่ ยู่ต่อเนื่องกันโดยปราศจากอุปสรรค ทางภูมิศาสตร์ มาขวางกั้นทําให้ สังคมต่ างๆทีต่ ้งั อยู่ในเขตนั้นได้ รับ อิทธิพลของวัฒนธรรมเดียวกันและทําให้ สมาชิกของสั งคมดังกล่ าวมี บุคลิกภาพคล้ ายคลึงกันโดยส่ วนรวม
การแพร่ กระจายทางวัฒนธรรม (Cultural Diffusion) ปัจจัยทีเ่ กีย่ วข้ องกับการแพร่ กระจายทางวัฒนธรรม ได้ แก่ 1. ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ 1.1 ต้ องเป็ นพืน้ ทีต่ ่ อเนื่องกัน 1.2 ต้ องไม่ มีอุปสรรคทางภูมิศาสตร์ ขดั ขวาง
10
10/08/58
2. ปัจจัยทางระยะทาง 3. ปัจจัยทางเทคโนโลยีการสื่ อสารคมนาคม 4. ปัจจัยทางเศรษฐกิจ 5. ปัจจัยทางสั งคมและวัฒนธรรม การแพร่ กระจายอาจเกิดจาก 5.1 คนจากสั งคมหนึ่งเดินทางไปศึกษาต่ อ ณ อีกสั งคมหนึ่ง 5.2 เกิดภัยสงครามในสั งคมหนึ่งทําให้ มคี นอพยพโยกย้ ายไป อยู่อาศัยในอีกสั งคมหนึ่ง 5.3 เกิดจากการแต่ งงานระหว่ างคนต่ างวัฒนธรรมขึน้ 5.4 เกิดภัยธรรมชาติ
เราสามารถจัดกลุ่มของวัฒนธรรมตามระดับของความเจริญได้ เป็ น 3 ประเภท ดังต่ อไปนี้ 1. วัฒนธรรมดั้งเดิม (Primitive Culture) เป็ นวัฒนธรรมพืน้ ฐาน แรกเริ่มสุ ดของมนุษย์ ซึ่งแบ่ งออกเป็ น 3 ระดับ คือ 1.1 วัฒนธรรมคนป่ า คือวัฒนธรรมของกลุ่มคนทีเ่ กิดและ อาศัยในเขตอาฟริกาและเอเซีย ชนกลุ่มนีเ้ ป็ นพวกเร่ ร่อน 1.2 วัฒนธรรมเผ่ าดั้งเดิมเขตหนาวและเขตขั้วโลก เช่ น พวกเอสกิโม กลุ่มนีย้ งั คงเร่ ร่อนหาอาหารเช่ นกันแต่ ค่อนข้ างขยัน และอดทน
11
10/08/58
1.3 วัฒนธรรมของคนเผ่ าพืน้ เมืองออสเตรเลีย คนกลุ่มนีอ้ ยู่ใน ออสเตรเลียและตามหมู่เกาะต่ างๆ ในทะเลใต้ 2. วัฒนธรรมปฐมภูมิ (Primary Culture) ได้ แก่ วัฒนธรรมขั้นต้ นทีพ่ ฤติกรรมของมนุษย์ เริ่มมีระบบขึน้ มา เป็ นการเริ่มต้ นวัฒนธรรมสมัยใหม่ แต่ ยงั ไม่ ทงิ้ ลักษณะของ วัฒนธรรมคนป่ าบุพกาล แบ่ งได้ เป็ น 3 ระดับ คือ 2.1 กลุ่มชนเร่ ร่อนเก็บผักหักฟื นทีค่ ่ อนข้ างเจริญ กลุ่มชนระดับนีร้ ู้ จกั ใช้ กรรมวิธีในการหาอาหารดีขนึ้ กว่ าเดิม รู้ จกั ใช้ เครื่องมือช่ วยทุ่นแรง
2.2 ชนเผ่ าเร่ ร่อนเลีย้ งสั ตว์ - ชนกลุ่มนีอ้ ยู่ในเขตอากาศอบอุ่น พืน้ ทีส่ ู งๆ และทุ่งหญ้ า เช่ นพวกทีอ่ าศัยอยู่ในยุโรปภาคกลาง 2.3 วัฒนธรรมชาวสวน - เป็ นวัฒนธรรมของเกษตรกร เป็ น กลุ่มทีเ่ พาะปลูกสวนครัวขนาดใหญ่ ใช้ แรงงานสตรีทาํ การเพาะปลูก 3. วัฒนธรรมทุตยิ ภูมิ (Secondary Culture) หมายถึงวัฒนธรรม ระดับเจริญแล้ ว ระบบต่ างๆของพฤติกรรมมนุษย์ ได้ รับการพัฒนาไป มากมายหลายทาง แบ่ งเป็ นเขตวัฒนธรรมได้ 3 ระดับคือ 3.1 วัฒนธรรมเพาะปลูกขั้นสู ง มีการใช้ นํา้ ใช้ การชลประทาน ใช้ เครื่องมือกสิ กรรม มีการเลีย้ งสั ตว์ ใช้ งาน
12
10/08/58
3.2 วัฒนธรรมชาวสวนขั้นสู ง ได้ แก่ วฒ ั นธรรมในเขต หมู่เกาะทะเลใต้ ในมหาสมุทรแปซิฟิค เกิดระบบครอบครัวและเครือญาติ 3.3 วัฒนธรรมพ่ อบ้ านเป็ นใหญ่ อํานาจทางสั งคม เปลีย่ นมือจากหญิงมาเป็ นชาย สื บสกุลทางพ่อ
ช่ องว่ างทางวัฒนธรรม (Cultural Gap) คือความไม่ สอดคล้ องและประสานกันในพฤติกรรมของกลุ่มคนทีม่ ี พฤติกรรมส่ วนตน หรือส่ วนของกลุ่มคนแตกต่ างไปจากพฤติกรรม ของคนอืน่ หรือกลุ่มอืน่ ทําให้ เกิดการไม่ กลมเกลียวกันและหันหลังให้ กัน และถึงทีส่ ุ ดกลายเป็ นความไม่ เข้ าใจและขัดแย้ งกัน ทําให้ สังคม นั้นๆ มีปัญหาเกิดขึน้ ได้
13
10/08/58
ความล้ าทางวัฒนธรรม (Cultural Lag) • วัฒนธรรมแบ่ งออกได้ เป็ น 2 ประเภท คือ ประเภททีม่ องเห็น สั มผัสได้ เรียกว่ า วัฒนธรรมทางวัตถุ ส่ วนวัฒนธรรมทีป่ รากฎ อยู่ในสั งคมแต่ สัมผัสไม่ ได้ เรียกว่ า วัฒนธรรมทางจิตใจหรือ วัฒนธรรมนามธรรม วัฒนธรรมทั้งสองประเภทมีการ เปลีย่ นแปลงอยู่เสมอแต่ การเปลีย่ นแปลงของวัฒนธรรมทั้งสอง ประเภทมีอตั ราทีไ่ ม่ เท่ ากัน จึงก่ อให้ เกิดปัญหาสั งคม เพราะเหตุ ทีค่ วามเจริญทางจิตใจไล่ ตามไม่ ทนั กับความเจริญทางวัตถุ
พัฒนาการของวัฒนธรรม(Development of Cultural) วัฒนธรรมจะพัฒนาไปเองให้ เจริญรุ่งเรืองต่ อไปได้ เรื่อยๆ ต้ องมี ขบวนการดังต่ อไปนี้ • การประดิษฐ์ (Invention) • การค้ นพบ (Discovery) • การหยิบยืม (Borrowing) • การแลกเปลีย่ น (Exchange) • การแพร่ กระจาย (Diffusion)
14
10/08/58
วัฒนธรรมชุบแป้ งทอด: วัฒนธรรมไทย? - 17 ก.ค.56 (HD) http://www.youtube.com/watch?v=IPLqFtV-_Xw
15