เอกสารประกอบการเรียนบทที่5 5.12-10-58

Page 1

10/08/58

บทที่ 5 ชาติพนั ธุ์วรรณา ความหมายและแนวคิดชาติพนั ธุว์ รรณา ความสัมพันธ์ระหว่างชาติพนั ธุว์ รรณากับสังคม วัฒนธรรมคนชายขอบ

ความหมายของชาติพนั ธุ์ คําว่า "ชาติพนั ธุ์" และ "ชาติพนั ธุ์วทิ ยา" เป็ นคําใหม่ในภาษาไทยการทําความเข้าใจเรื่ อง ชาติพนั ธุ์จาํ เป็ นจะต้องพิจารณาเปรี ยบเทียบกับเรื่ อง เชื้อชาติและสัญชาติ อาจเปรี ยบเทียบเชื้อชาติ สัญชาติ และชาติพนั ธุ์ได้ดงั ต่อไปนี้

1


10/08/58

1. เชื้อชาติ (race) คือ ลักษณะ ทางชีวภาพของคน ซึ่งเห็นได้อย่างชัดเจน จากลักษณะรู ปพรรณ สี ผวิ เส้นผม และ ตา การแบ่งกลุ่ม เชื้อชาติ (racial group) คือ นิกรอยด์ มองโกลอยด์ และ คอเคซอยด์ ออสตราลอยด์ เป็ นต้น

การแบ่ งแยกกลุ่มคนตามลักษณะทางชีวภาพ มี ความสํ าคัญในสั งคมทีส่ มาชิกในสั งคมมาจากบรรพบุรุษทีต่ ่ างกัน และมีสีผวิ และรู ปพรรณสั ณฐานทีต่ ่ างกันอย่ างเห็นได้ ชัดเจน เช่ น ความแตกต่ างระหว่ างคนผิวขาวกับคนผิวดํา มีประวัตคิ วาม เป็ นมาตลอดจนบทบาทในสั งคมต่ างกัน ความแตกต่ างทางชีวภาพอาจเป็ นปัจจัยทีท่ าํ ให้ เกิดความ ไม่ เท่ าเทียมกันได้ แต่ ในบางสั งคม เช่ น สั งคมไทย ความแตกต่ าง ทางชีวภาพไม่ มีความหมายเท่ าใดนัก

2


10/08/58

2. สัญชาติ (nationality) คือ การเป็ นสมาชิกของประเทศ ใดประเทศหนึ่งตามกฎหมาย โดยทีล่ กั ษณะทางชีวภาพและ วัฒนธรรมอาจแตกต่างกันได้ การเป็ นสมาชิกของประเทศย่อม หมายถึงการเป็ นประชาชนของประเทศนัน้ ผูท้ อ่ี พยพมาจากทีอ่ น่ื เพื่อมาตัง้ ถิ่นฐานสามารถโอนสัญชาติมาได้ ผูท้ เ่ี ปลี่ยนสัญชาติ คือ ผูท้ เ่ี ปลี่ยนฐานะจากการเป็ นประชาชนของประเทศหนึ่งมา เป็ นประชาชนของอีกประเทศหนึ่ง

3


10/08/58

3. ชาติพนั ธุ์ (ethnicity หรือ ethnos) คือการมีวฒ ั นธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ภาษาพูดเดียวกัน และเชือ่ ว่าสืบเชื้อ สายมาจากบรรพบุรุษกลุม่ เดียวกัน เช่น ไทย พม่า กะเหรีย่ ง จีน ลาว เป็ นต้น กลุม่ ชาติพนั ธุห์ รือกลุม่ วัฒนธรรม มีลกั ษณะเด่น คือ เป็ นกลุม่ คนทีส่ บื ทอดมาจากบรรพบุรุษเดียวกัน ถ้าผูท้ อี่ ยูใ่ น กลุม่ ชาติพนั ธุน์ บั ถือศาสนาเดียวกัน ความรูส้ กึ ผูกพันนี้อาจ เรียกว่า "สํานึก" ทางชาติพนั ธุ ์ หรือชาติลกั ษณ์

พจนานุกรมศัพท์สงั คมวิทยาให้ความหมายชาติพนั ธุ์ (ethnos) ว่า หมายถึง กลุ่มทีม่ ีพนั ธะเกีย่ วข้ องกัน และทีแ่ สดงเอกลักษณ์ ออกมา โดยการผูกพัน ของเชื้อชาติและสั ญชาติเข้ าด้ วยกัน มีความหมายเฉพาะใช้ กบั กลุ่มทีม่ ีพนั ธะทางเชื้อชาติและทาง วัฒนธรรม ประสานกันเข้ าจนสมาชิกของกลุ่มเองไม่ ร้ ู สึกถึงพันธะ ของทั้งสองนี้ และคนภายนอกทีไ่ ม่ มีความเชี่ยวชาญจะไม่ แลเห็นถึง ความแตกต่ างกัน และพจนานุกรมศัพท์สงั คมวิทยาให้ความหมาย ชาติพนั ธุ์ วิทยา (ethnology) ว่ าหมายถึง "การพินิจศึกษาเชิงวิทยาศาสตร์ ที่ เกีย่ วกับวัฒนธรรมปัจจุบัน หรือวัฒนธรรมเดิมทีส่ ู ญหายไปของกลุ่ม มนุษยชาติท้งั หลายในโลกชาติพนั ธุ์วทิ ยาอาจหมายถึงมานุษยวิทยา วัฒนธรรมก็ได้ "

4


10/08/58

ชาย โพธิสิตา (2548:34) ให้ความหมายของชาติพนั ธุ์วรรณนาไว้ ว่า ชาติพนั ธุ์วรรณา หมายถึง กระบวนการสั งเกตพฤติกรรม และวิถีชีวติ ของกลุ่มทางสั งคมและวัฒนธรรมกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง แล้วรายงานโดย ละเอียดถึงพฤติกรรม ความเชื่อ ความรู ้ ความเข้าใจ ทัศนคติ ตลอดจน ค่านิยมอันเป็ นผลมาจากพฤติกรรมของคนในกลุ่มนั้นๆ กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ ชาติพนั ธุ์วรรณนาเป็ นการพรรณนาถึงวิถีชีวิต หรื อวัฒนธรรมของคนในสังคมใดสังคมหนึ่ง โดยปกตินกั ชาติพนั ธุ์ วรรณนากับนักมานุษยวิทยาเป็ นคนๆ เดียวกัน ทั้งนี้กเ็ พราะชาติพนั ธุ์ วรรณนาเป็ นวิธีการอย่างหนึ่งที่นกั มานุษยวิทยาใช้ศึกษา “วัฒนธรรม” ของคนในสังคม

อมรา พงศาพิชญ์ (2541:155) กล่าวว่า กลุ่มชาติ พันธุ์ บางครั้งก็ใช้คาํ ว่า “เชื้อชาติ” คือกลุ่มคนที่มี จุดกําเนิดของบรรพบุรุษร่ วม มีขนบประเพณี เดียวกันและภาษาเดียวกัน ตลอดจนมีความรู้สึกใน เผ่าพันธุ์เดียวกัน เช่น กลุ่มชาติพนั ธุ์คนจีน กลุ่ม ชาติพนั ธุ์คนไทย กลุ่มชาติพนั ธุ์พม่า กลุ่มชาติพนั ธุ์ ลาว กลุ่มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยง เป็ นต้น

5


10/08/58

เฟรดริ ค บาร์ธ (อ้างถึงในสุ เทพ สุ นทรเภสัช.2548:31)กล่าวถึงการที่นกั มานุษยวิทยาได้นิยามหรื อให้ความมาย”กลุ่มชาติพนั ธุ์”แบ่งได้เป็ น 4 แนว ดังนี้ 1. กลุ่มที่ส่วนใหญ่สร้างความเป็ นปึ กแผ่นให้แก่ตวั อง 2. กลุ่มที่มีคุณค่าทางวัฒนธรรมพื้นฐานร่ วมกัน 3. กลุ่มที่สร้างเครื อข่ายการสื่ อสารติดต่อและปฏิสมั พันธ์ร่วมกัน 4. กลุ่มที่สมาชิกภาพได้มาโดยการกําหนดตัวเองและโดยคนอื่นเป็ นผู ้ กําหนด ซึ่งบาร์ธเห็นว่ากลุ่มชาติพนั ธุ์คือ “การจัดระเบียบองค์กรทางสังคม” (Social Organization)

ความแตกต่ างทางชาติพนั ธุ์

6


10/08/58

ความแตกต่างระหว่างกลุ่มชาติพนั ธุ์ เกิดขึ้นได้อย่างไร สาเหตุของการแบ่งแยกระหว่างกลุ่ม ชาติพนั ธุ์ พอสรุ ปได้ 5 ลักษณะ คือ

1.เกิดจากการแบ่งแยกโดยวัฒนธรรมชนชั้น ในสังคมบางสังคมมีการแบ่งชนชั้นและคนที่อยู่ในชนชั้นตํ่าที่สดุ จะ ถือเป็ นกลุ่มชนที่อยู่นอกระบบสังคมนั้น เช่น จัณฑาลในอินเดีย เป็ น ต้ น คนที่อยู่ในกลุ่มชาติพันธุเ์ ดียวกัน แต่ถูกสังคมระบุว่าเป็ นคนชน ชั้นตํ่า ถือว่าเป็ นผู้ท่นี ่ารังเกียจและไม่ควรอยู่ร่วมสังคมกับสมาชิก ส่วนใหญ่ ได้ กลายเป็ นชนกลุ่มน้ อยของสังคมนั้น เป็ นผู้ท่ปี ราศจาก ศักดิ์ศรี ไม่มีอาํ นาจ และไม่มีสทิ ธิทางสังคมเท่าเทียมคนอื่น

7


10/08/58

2. เกิดจากการแบ่ งแยกจากลักษณะทางภูมิศาสตร์ กลุ่มชนที่มีชาติพนั ธุ์ต่างจากคนส่ วนใหญ่ และตั้งถิ่นฐานอยูใ่ นบริ เวณที่ห่างไกล เช่นชาวเขา มักจะถูกตัดขาดจากสังคมพื้นราบ โดยไม่ได้รับ ข่าวสารอย่างสมํ่าเสมอจากคนพื้นราบใน ส่ วนกลาง การขาดการติดต่อสื่ อสารที่ดีน้ ี ทําให้ เกิดความเข้าใจผิดและอาจทําให้มีปฏิกิริยาต่อต้าน อํานาจรัฐได้ ในกรณี ของประเทศไทย รัฐบาลได้ พยายามติดต่อสื่ อสารกับชาวเขาอยูเ่ สมอ เพื่อ สร้างความเข้าใจที่ดีต่อกัน ความสัมพันธ์ระหว่าง ชาวเขากับรัฐบาลไทยจึงไม่ค่อยมีปัญหา

3. เกิดจากการผนวกดินแดน

การขยายอาณาเขตของประเทศใดประเทศ หนึ่งโดยการผนวกดินแดนเพิ่ม อาจเกิดจากการ ตกลงกันตามสนธิสญ ั ญา หรื อเกิดจากการขยาย ดินแดงหลังจากชนะสงคราม ส่ วนตัวอย่างของการสู้รบระหว่างเพื่อนบ้าน และฝ่ ายที่ชนะสามารถผนวกดินแดนข้างเคียง เพิ่มขึ้น คือ กรณี การขยายอาณาจักรต่างๆ ใน บริ เวณแหลมทองของทวีปเอเชียได้แก่ อาณาจักรสุ โขทัย ทวาราวดีศรี วชิ ยั ล้านนา ล้านช้าง อโยธยา ฯลฯ ซึ่ งสามารถขยายดินแดน ให้กว้างใหญ่ข้ ึนได้ โดยการยกทัพสู้รบกัน และ ฝ่ ายที่ชนะเป็ นฝ่ ายที่สามารถขยายอาณาจักรได้

8


10/08/58

4. เกิดจากการย้ ายถิน่ ความแตกต่างทางชาติพันธุอ์ าจมี สาเหตุมาจากการที่คนจํานวนหนึ่ง อพยพย้ ายถิ่นเข้ าไปอยู่ในสังคม อื่น โดยที่คนกลุ่มนี้มีลักษณะทาง วัฒนธรรมแตกต่างจากคนใน สังคมที่ตนย้ ายเข้ าไปอยู่ รูปแบบ ของการย้ ายถิ่นมีได้ หลายรูปแบบ

5. เกิดจากการตกเป็ นประเทศอาณานิคม

ความแตกต่างทางชาติพนั ธุ์ในประเทศอาณานิคม มีลกั ษณะแตกต่างจากกรณี ต่างๆ เพราะอาณานิคม เกิดจากการที่มหาอํานาจเข้ามามีอาํ นาจในการเมือง การปกครองของประเทศอื่น ผูอ้ พยพเข้ามาเป็ นผูท้ ี่มี อํานาจมากกว่าและสามารถออกกฎหมายบังคับ ต่างๆนานา ทําให้เจ้าของประเทศ ซึ่งมีจาํ นวน ประชากรมากกว่า มีลกั ษณะของผูอ้ ยูใ่ ต้ปกครอง และต้องยอมจํานนต่อข้อเรี ยกร้องของประเทศ มหาอํานาจ และมักจะจับจองที่ดินขนาดใหญ่ ว่าจ้าง คนพื้นเมืองไปเป็ นกรรมกรในไร่ นา มีผลทําให้คน พื้นเมืองมีลกั ษณะเป็ นผูอ้ ยูใ่ ต้การปกครอง หรื อ ลูกจ้างในอาณัติของมหาอํานาจ ทั้งๆ ที่มหาอํานาจ เป็ นผูบ้ ุกรุ กเข้ามาในดินแดนของตน

9


10/08/58

ชาติพนั ธุ์วรรณนา (Ethnographic) คืออะไร ชาติพนั ธุ์วรรณนา เป็ นเรื่ องที่เกี่ยวกับ สังคม วัฒนธรรม ขนบประเพณี วิถีชีวิตของกลุม่ คนในสังคม ชาติพนั ธุ์วรรณนา พจนานุกรมศัพท์ปรัชญา อังกฤษ-ไทย ให้ ความหมายไว้ วา่ “ สาขาหนึง่ ของมานุษยวิทยาวัฒนธรรม ที่มงุ่ พินิจศึกษา วัฒนธรรมต่างๆ เชิงพรรณนา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง วัฒนธรรม ของชนในระดับดังเดิ ้ ม”

กลุ่มชาติพนั ธุ์ดงั้ เดิมในเอเชียอาคเนย์ 1. กลุม่ ชาติพนั ธุ์เร่ร่อน ใช้ ชีวิตแบบเร่ร่อน ล่าสัตว์ เก็บของป่ า ไม่มี การเพาะปลูกเลี ้ยงสัตว์ เช่นผีตองเหลือง และซามังซาไก

10


10/08/58

2. กลุ่มชาติพนั ธุ์ตงั้ ถิน่ ฐานกึง่ ถาวร กลุ่มที่ต้ งั ถิ่นฐานอยูบ่ นเทือกเขาในบริ เวณตอนเหนือของประเทศ พม่า ไทย ลาว เวียดนาม ในส่ วนที่เชื่อมโยงกับตอนใต้ของประเทศจีน เนื่องจากชาวเขาเหล่านี้มีการอพยพโยกย้ายบ่อย จากเทือกเขาหนึ่งไป ยังอีกเทือกเขาหนึ่ง การพูดถึงชาวเขาในเอเชียอาคเนย์ จึงจําเป็ นต้อง รวมภาคใต้ของประเทศจีนเช่นเดียวกับทางด้านตะวันตกด้วย การศึกษาถึงชาวเขาและคนพื้นราบของเอเชียอาคเนย์ตอ้ งอินเดียด้วย เพราะมีกลุ่มที่พดู ภาษาไท/ไตอยู่ นอกจากนี้กลุ่มชาติพนั ธุ์ที่ต้ งั ถิ่นฐาน กึ่งถาวรในเอเชียอาคเนย์ยงั รวมถึงกลุ่มคนในมาเลเซี ย อินโดนีเซีย และ ฟิ ลิปปิ นส์ดว้ ย

กลุ่มแรกคือ กลุ่มชาวเขาบนแผ่ นดินใหญ่

ลาวโซ่ งหรือไทดํา ชาวเขาเผ่าเย้า (เมีย่ น) เป็ นกลุ่มที่พูดภาษาในกลุ่มภาษาจี น

มูเซอแดง

11


10/08/58

กลุ่มทีส่ องคือ กลุ่มชาวเขาบนเกาะ โดยทัว่ ไปมีลกั ษณะคล้ายคลึงกับกลุ่มชาวเขาบนแผ่นดินใหญ่ พวกอีบาน (Iban) และดยัค (Dayak) ในมาเลเซียอยูใ่ นเขตซาราวัค (Sarawak) ของมาเลเซีย เดิมอาศัยอยูบ่ ริ เวณกะลิมนั ตัน (Kalimantan) และบอร์เนียวของอินโดนีเซีย เนื่องจากอยูใ่ กล้ทะเลจึงมีอาชีพจับปลา นอกจากนี้ยงั ทําไร่ เลื่อนลอย และปลูก ข้าวไร่ ดว้ ย ระยะหลังจึงมีการปลูกข้าวบนพื้นราบบ้าง และยังมีการค้าขายทาง ทะเลกับเพื่อนบ้านใกล้เคียง

ภาษาIban

Iban

Dayak

ชาวเกาะนี้มีอยูห่ ลายกลุ่มมาก ส่ วนใหญ่เป็ นกลุ่มไม่ใหญ่นกั อาศัยอยูต่ าม เกาะต่างๆ ในเขตประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟิ ลิปปิ นส์ เมื่อวัฒนธรรมกระแสหลักของมุสลิมแพร่ กระจายมา ในบริ เวณนี้ ชาวเขา บนเกาะก็ไม่ได้หนั ไปนับถือศาสนาอิสลาม แต่ยงั คงนับถือภูตผีปีศาจอยู่ ลักษณะทางกายภาพของชาวเขาบนเกาะนี้จะคล้ายคลึงกับลักษณะของคน มาเลย์ และบางกลุ่มก็มีลกั ษณะเป็ นนิกรอยด์ ไม่อาจปฏิเสธได้วา่ การปรับตัวของชาวเขาบนเกาะนี้กค็ ือการปรับวิถีการ ผลิต และการรับวัฒนธรรมของคนบนพื้นราบบางอย่าง การปรับวิถีการผลิต คือ การหันมาปลูกข้าวบนพื้นราบของคนบางกลุ่ม และการรับวัฒนธรรมมาเลย์บางอย่าง ความสัมพันธ์ระหว่างชาวเขากับคนบน พื้นราบ ไม่วา่ จะเป็ นผืนแผ่นดินเอเชีย หรื อบริ เวณเกาะทางใต้เป็ นความสัมพันธ์ ที่พ่ งึ พากัน

12


10/08/58

3. การเกิดอาณาจักร รัฐประเทศ อิทธิพล ของกลุ่มชาติพนั ธุบ์ างกลุ่ม การศึกษาชี้ให้เห็นว่า ผูท้ ี่อยูบ่ นผืนแผ่นดินแถบสุ วรรณภูมิน้ ี บาง กลุ่มตั้งรกรากถาวร บางกลุ่มเร่ ร่อน กลุ่มที่ต้ งั ถิ่นฐานถาวรกลุ่มแรกๆ มักตั้งรกรากอยูบ่ ริ เวณลุ่มนํ้า สามารถเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ มีผลิตผลสําหรับบริ โภคได้เพียงพอ มี การแบ่งงานและแบ่งอาชีพกันทํา นําโลหะมาใช้ประโยชน์ มีการพัฒนา จนกลายเป็ นเมืองและอาณาจักร มีชนชั้นปกครองและชนชั้นสามัญ เมืองชายฝั่งทะเลเป็ นเมืองท่าที่มีการเดินเรื อค้าขายทางนํ้าเมืองที่อยู่ ลึกเข้าไปบนแผ่นดินจะติดต่อกับเมืองอื่นทางบก กลุ่มที่มีพลังเข้มแข็ง ขยายอิทธิ พลจนเกิดการแพร่ กระจายวัฒนธรรมสู่ สงั คมข้างเคียงกลุ่มที่มี พลังอ่อนแอกว่าก็ยอมรับวัฒนธรรมที่แพร่ กระจายเข้ามา โดยมีการ สังสรรค์ทางวัฒนธรรม และปรับรับวัฒนธรรมซึ่ งกันและกันบางครั้ง เกิดการผสมกลมกลืน

การศึกษาเชิงชาติพนั ธุ์วรรณา (Ethnograph) การศึกษาลักษณะนี้อาจมีคาํ ที่เขียนต่างกัน เช่น “ชาติพนั ธุ์วรรณนา” หรื อ “งานเขียนทางชาติพนั ธุ์” ซึ่ ง สนใจศึกษาวัฒนธรรมของกลุ่มชนและวิถีชีวติ กลุ่มสั งคม และวัฒนธรรมของชุมชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง โดย ทําการศึกษาใกล้ชิดกับชุมชนนั้นและทําการศึกษา อย่าง ละเอียด เป้ าหมายของการศึกษาเพื่อตอบคําถามว่า “วัฒนธรรมของชนกลุ่มนีเ้ ป็ นอย่ างไร” โดยมีฐาน ความคิดว่า เมื่อมนุษย์มาอยูร่ วมเป็ นกลุ่มนานสักระยะเวลา หนึ่ง จะเกิดวัฒนธรรมในการปฏิบตั ิและความเชื่อร่ วมกัน ทําให้เกิดมาตรฐานการปฏิบตั ิของบุคคลในสังคมนั้น

13


10/08/58

(กิติพฒั น์ นนทปัทมะดุลย์, 2546, หน้า 66) การแบ่งวิธีการศึกษาชาติพนั ธุ์วรรณาออกได้หลาย ประเภทได้แก่ 1. ชาติพนั ธุ์วรรณาแนวคลาสสิ ก เป็ นการศึกษากลุ่มคน พื้นเมืองอย่างกว้าง ๆ โดยมองคนพื้นเมืองอย่างเป็ น กลุ่มก้อนที่มีขอบเขตแน่นอน มีชีวติ วัฒนธรรมที่ไม่ เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมากนัก

2. ชาติพนั ธุ์วรรณาแนวสะท้ อนย้ อนดูตน (reflexive ethnography) เป็ นแนวการศึกษาที่ยอ้ นดูตวั ของผูศ้ ึกษา เอง เพื่อทําให้ผอู ้ ่านเห็นความสั มพันธ์ ระหว่ างผู้ศึกษา กับเรื่องทีศ่ ึกษา ทําให้มองเห็นเบื้องหลัง ภูมิหลัง และ ความเป็ นมาของผูศ้ ึกษาและเรื่ องที่ศึกษาชัดเจนมากขึ้น 3. ชาติพนั ธุ์วรรณาแนวเล่ าเรื่อง (narrative ethnography) การศึกษาในแนวนี้คล้ายการเล่ านิยายที่มีบทเริ่ มต้น ดําเนินเรื่ อง และการจบเรื่ อง

14


10/08/58

4. ชาติพนั ธุ์วรรณาแนวสตรีนิยม (feminism ethnography) เป็ น การศึกษาในแนวอุดมการของสิ ทธิ สตรี ความแตกต่างของสถานภาพ ทางเพศ และความเป็ นธรรมของสตรี ในทางสังคม 5. ชาติพนั ธุ์วรรณาแนวบทสนทนา (dialogical ethnography) เป็ น การศึกษาที่เน้นการนําเสนอในรู ปของบทสนทนาหรื อการแลกเปลี่ยน โต้ตอบ ระหว่างผูเ้ ขียนกับบุคคลอื่น นํามาวิเคราะห์โดยตรง 6. ชาติพนั ธุ์วรรณาแนวความร่ วมมือกับเจ้ าของวัฒนธรรม (collaborative ethnography) โดยเปิ ดโอกาสให้เจ้าของวัฒนธรรมหรื อ เจ้าของเรื่ องราวมีส่วนในการศึกษา และเรี ยบเรี ยงตรวจสอบผล การศึกษา เช่น การศึกษาประวัติชีวติ ของบุคคล การศึกษาวัฒนธรรม ของชุมชนขนาดเล็ก เป็ นต้น

การกระจายตัวของชาติพนั ธุ์ ในแถบเอเชียอาคเนย์ ตามลักษณะการ ใช้ภาษาแล้ ว มีอยู่ 3 กลุ่มใหญ่ คือ กลุ่มที่ใช้ภาษามอญ กลุ่มที่ใช้ภาษา ขอม และกลุ่มที่ใช้ภาษาไท (ไต) ส่ วนคติความเชื่อหลักที่ปรากฏ คือ คติ ฮินดูและพราหมณ์ของขอม และคติพทุ ธของพวกมอญและไท (ไต) (โดยธิดา สาระยา) การเกิดอาณาจักรสุ โขทัย ทวาราวดี และอยุธยา ซึ่ งตั้งอยูบ่ น อาณาบริ เวณของประเทศไทย ในปัจจุบนั และพูดภาษาไท (ไต) นั้น เป็ นที่รู้จกั กันดีอยูแ่ ล้ว อาณาจักรอื่นๆ ก็มี เช่น ล้านนาล้านช้าง จาม เจนละ พุกาม เป็ นต้น

15


10/08/58

ในกรณีอาณาจักรล้ านนาในภาคเหนือความเกรี ยงไกร และอิทธิพลของอาณาจักรล้ านนาได้ เป็ นที่ยอมรับกันอย่าง กว้ างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสังคมไทยปั จจุบนั มองเห็น ได้ ชดั เจนในรูปของศิลปวัฒนธรรมและวิถีชีวิต นอกจาก อาณาจักรล้ านนาแล้ ว ยังกล่าวถึงอาณาจักรละว้ าซึง่ เชื่อว่า เป็ นบรรพบุรุษของ "คนเมือง" หรื อคนบนพื ้นราบในภาคเหนือ

ชาวผูไ้ ท

อิทธิพลของอาณาจักรล้านนา

คนลาวที่พดู ภาษาไท (ไต) นั้น อาศัยอยูใ่ นบริ เวณอาณาจักรล้าน ช้าง ซึ่งครอบคลุมทั้งฝั่งซ้ายและฝั่งขวาของแม่น้ าํ โขงมาตั้งแต่ก่อน สมัยสุ โขทัย และสมัยอยุธยา อาณาจักรล้านช้างและอาณาจักร สุ โขทัยมีฐานะเท่าเทียมกัน จนกระทัง่ เมื่ออาณาจักรล้านช้างอ่อนกําลังลง และแตกแยก ออกเป็ นอาณาจักรหลวงพระบาง เวียงจันทน์ และจัมปาศักดิ์ เมื่อพ.ศ. 2238 อาณาจักรเวียงจันทน์ ครอบคลุมทางฝั่งขวาของ แม่น้ าํ โขง (ภาคอีสานของไทยในปั จจุบนั ) บริ เวณจังหวัดเลย หนองคาย และนครพนม อาณาจักรจัมปาศักดิ์ครอบคลุมบริ เวณ จังหวัดอุบลราชธานี และร้อยเอ็ด ส่ วนอาณาจักรหลวงพระบางซึ่งอยู่ ทางด้านเหนือไม่ได้ ครอบคลุมภาคอีสานของไทย

16


10/08/58

สําหรับเขมร ในสมัยโบราณ อยูบ่ ริ เวณที่ราบลุ่มแม่น้ าํ โขงมี อาณาจักรอยู่ 3 อาณาจักร คือ อาณาจักรฟูนนั อาณาจักรเจนละ และ อาณาจักรจัมปา ต่อมาอาณาจักรเจนละครอบครองเขตฟูนนั ได้ท้ งั หมด ในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 2 ได้เปลี่ยนชื่ออาณาจักรเจนละเป็ น อาณาจักรกัมพุช หรื ออาณาจักรขอม ส่ วนอาณาจักรจัมปาก็คือ อาณาจักรเวียดนามใต้ จากนั้นอาณาจักรขอมก็เรื องอํานาจเรื่ อยมา อาณาจักรขอมหมด อํานาจลงหลังจากที่ได้สู้รบกับไทยอยูน่ านถึง 7 เดือน เมื่อกูเ้ อกราชได้ พวกขอมได้ยา้ ยเมืองหลวงไปอยูใ่ นเขตบริ เวณลุ่มแม่น้ าํ โขง เพื่อให้อยู่ ห่างไกลจากคนไทย เขมรต้องสู้รบกับไทยและญวนอยูต่ ลอด โดยไทย และญวนทําสงครามเพื่อแย่งชิงเขมรต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระ นัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั ไทยยกกองทัพไปรบกับญวน เขมรจึงก่อกบฎ ไทยจึง ได้ยกกําลังไปปราบปราม และได้กวาดต้อนผูค้ นชาวเขมรเข้ามา ดัง ปรากฏในพระราชพงศาวดารกรุ งรัตนโกสิ นทร์ รัชกาลที่ 3

นอกจากนี้การศึกษากลุ่มชาติพนั ธุ์จากมุมมองของประวัติศาสตร์ อาณาจักรนี้ จะหลีกเลี่ยงการพิจารณาบทบาทของวัฒนธรรมอินเดียและ วัฒนธรรมจีนไม่ได้ การแพร่ กระจายของวัฒนธรรมกระแสหลักจากอินเดียนี้ แพร่ กระจาย ทั้งทางบกและทางนํ้า เมื่อประมาณ พ.ศ. 1200 อาณาจักรดุนซุน ซึ่งต่อมา กลายเป็ นทวาราวดีได้รับอิทธิพลศาสนาพุทธ มาก อาณาจักรจัมปาได้รับอิทธิพลศาสนาฮินดูมาก ส่ วนอาณาจักรเจนละ เปลี่ยนกลับไป กลับมาระหว่างพิธีกรรมของศาสนาฮินดูและพุทธ อิทธิพล ของการค้าระหว่างประเทศมีนอ้ ยกว่าเอเชียอาคเนย์ใต้ ที่เป็ นเกาะ ชนชั้น ปกครองซึ่งไม่ได้เพาะปลูก

17


10/08/58

พิธีกรรมของทารกแรกเกิดของคนมุสลิมที่ เกาะปันหยี

คนอินเดียในประเทศไทยที่ประกอบอาชีพ ค้าขาย

ศาสนาพุทธมีองค์ประกอบที่แสดงให้เห็นถึงความเหลื่อมลํ้าทางชน ชั้นน้อยกว่าศาสนาฮินดู การแพร่ กระจายของศาสนาพุทธในเอเชีย อาคเนย์จึงได้รับการยอมรับมากกว่า ศาสนาฮินดูมีอิทธิพลอยูใ่ นราช สํานักแต่ศาสนาพุทธได้รับความนิยมจากสามัญชนทัว่ ไปมีการปรับ ผนวกความเชื่อเดิมเข้ารวมเป็ นส่ วนหนึ่งของศาสนาพุทธ แต่ใน ขณะเดียวกันอิทธิพลของศาสนาฮินดูกพ็ อจะมีอยูบ่ า้ ง พุทธศาสนาใน เอเชียอาคเนย์จึงมีลกั ษณะผสมระหว่างพุทธพราหมณ์ และผี (animism) ซึ่งมีอยูเ่ ดิม

ในประเทศไทย อิทธิพลของวัฒนธรรมอิสลามเห็นได้อย่าง ชัดเจนในภูมิภาคตอนใต้ แต่แท้ที่จริ งแล้ว มีคนมุสลิมกระจัด กระจายอยูใ่ นประเทศไทยหลายกลุ่ม คือ (1) กลุ่มที่มบี รรพบุรุษเป็ นมลายูหรือมาเลย์ ซึ่งเป็ นกลุ่ม ใหญ่ที่สุด เป็ นชนพื้นเมืองเดิมแต่นบั ถือศาสนาอิสลาม กลุ่มนี้ นอกจากอาศัยอยูใ่ นภาคใต้ของประเทศไทยแล้วยังมีอยูใ่ นภาค อื่นๆ อีกด้วย (2) กลุ่มที่สืบเชื้อสายบรรพบุรุษอาหรับจากเปอร์ เซีย เดินทางมาตั้งหลักแหล่งอยูท่ างใต้ของไทยตั้งแต่สมัยกรุ งสุ โขทัย กรุ งศรี อยุธยาและกรุ งรัตนโกสิ นทร์

18


10/08/58

(3) กลุ่มทีม่ ีเชื้อสายชวา ซึ่งอาจมาถึงไทยก่อนสมัยสุ โขทัยหรื อใน สมัยสุ โขทัย (4) กลุ่มเชื้อสายจาม-เขมร ที่เข้ามาสมัยสมเด็จพระเอกาทศรถ เมื่อขาดแคลนกําลังทหาร และเมื่ออาณาจักรจัมปาพ่ายแพ้แก่เวียดนาม จึงมีชาวจามจํานวนหนึ่งที่นบั ถือศาสนาอิสลามอพยพมาจากกัมพูชา เรี ยกว่า "แขกครัว" (5) กลุ่มเอเชียใต้ ชาวอินเดียและเปอร์ เซียที่เข้ามาสมัยอยุธยาและ มุสลิมอินเดียปากีสถาน อัฟกานิสถาน ที่เป็ นอาณานิคมของอังกฤษ และเข้ามาเมื่อไทยทําสนธิ สญ ั ญากับอังกฤษ (6) กลุ่มเชื้อสายจีนและจีนฮ่ อมุสลิม ซึ่งอพยพมาจากจีนตอนใต้

คนจีนในประเทศไทยทีป่ ระกอบ อาชีพค้ าขาย

19


10/08/58

ความสั มพันธ์ ระหว่ างชาติพนั ธุ์กบั สั งคมไทย

แนวคิดเรือ่ งชาติพนั ธุก์ ระแสหลักสนใจเรือ่ งของ การปรับตัวของมนุษย์ต่อสภาพแวดล้อมที่ต่างกัน รวมถึงความสัมพันธ์กบั กลุม่ วัฒนธรรมอืน่ ในการปรับตัวอาจนําไปสูค่ วามสัมพันธ์ระหว่าง กลุม่ ชาติพนั ธ์ในแบบพึ่งพากัน จะมีผลทําให้กลุม่ ชาติ พันธุบ์ างกลุม่ มีอาํ นาจต่อรองมากขึ้น บางกลุม่ มีอาํ นาจ ลดลง ทําให้เกิดกลุม่ ชาติพนั ธุท์ มี่ ฐี านะและศักดิศ์ รีไม่ เท่ากัน

20


10/08/58

โดยกลุม่ ทีม่ ีอาํ นาจสามารถก่อตัง้ ตัวเองเป็ นรัฐประเทศได้ ในขณะกลุม่ ทีไ่ ม่มีอาํ นาจก็อาจเป็ นประเทศราช นํามาสูร่ ะบบการมองและสร้างวาทกรรมความเป็ น"ชนกลุม่ น้อย" และ "ชนกลุม่ ใหญ่"

ชนกลุม่ น้อยก็คอื กลุม่ ชาติพนั ธุท์ อี่ าศัยอยูใ่ นประเทศ

การวิเคราะห์ เชิงทฤษฎีการแพร่ กระจายทางวัฒนธรรม พบว่าคนจีนและอินเดีย เป็ นผูอ้ พยพเข้ามาหลังการแพร่ กระจายตัวของวัฒนธรรมหลัก (ในที่น้ ีหมายถึงไทย กับพม่า) โดยเข้ามาประกอบอาชีพบางประการในสังคม อาทิ คนจีนมาค้าขาย ต่อมาพัฒนามาเป็ นนายอากรบ่อนเบี้ย คนอินเดียมาค้าขาย และมาเป็ นพราหมณ์ประกอบพิธีทางศาสนาที่เชื่อมโยงกับ การปกครอง

21


10/08/58

การให้ความสําคัญกับเสถียรภาพทางสังคมนําไปสู่ แนวคิดเรือ่ งการบูรณาการและการผสมผสานทาง วัฒนธรรม-ชาติพนั ธุ์ อาทิการผสมผสานกลุม่ ชาติพนั ธุใ์ นสังคมอเมริกนั ให้ กลายเป็ นคนอเมริกนั หรือพูดถึงเรือ่ งของการสร้างความ เป็ นชาติ หรือชาตินิยม หรือการเปิดโอกาสให้มกี ารเลือ่ น ชัน้ ทางเศรษฐกิจ ก็จะทําให้เกิดความผสมกลมกลืน ได้มากขึน้ แต่นกั มานุษยวิทยากระแสหลักให้ทศั นะว่า ตัวแปรทางศาสนามักเป็ นตัวแปรทีส่ าํ คัญทีก่ ่อให้เกิด ความขัดแย้งทางชาติพนั ธุ์

แนวคิดในเรือ่ งการเข้ากันได้ระหว่างชนกลุ่มน้อย กับชนกลุ่มใหญ่น้นั อาจรวมเรียกว่า

การผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรม (assimilation) การปรับรับวัฒนธรรม (acculturation) บูรณาการทางวัฒนธรรม (integration) หรื อ การรวมกันเป็ นพหุ สงั คม (pluralism)

22


10/08/58

หากเกิดการเข้ากันไม่ได้ระหว่างชนกลุ่มน้อยกับชนกลุ่ม ใหญ่ ชนกลุ่มน้อยก็อาจแยกออกไปเป็ น กลุ่มแบ่งแยกดินแดน (separatist group) หรื อ กลุ่มผูก้ ่อการร้าย (militant group) เพื่อแยกดินแดนเพื่อตั้งประเทศใหม่

หลังสงครามโลกครั้งที่สอง มีชาติพนั ธุ์ต่างๆที่เคยอพยพเข้ามาพึ่งพระ บรมโพธิ์สมภาร ปัญหาชนกลุ่มน้ อยเพิ่งจะมาเป็ นปัญหาจริ งจัง ปัจจัยสําคัญ ที่ทาํ ให้ปัญหาชนกลุ่มน้อยทวีความรุ นแรงมากขึ้นก็คือความไม่สงบที่เกิดขึ้น ในประเทศเพื่อนบ้าน ทําให้เกิดชนกลุ่มน้อยที่เป็ นผูอ้ พยพลี้ภยั ต่างๆขึ้น หลายกลุ่ม อาทิ การเริ่ มต้นด้วยการอพยพเข้ามาของชาวเวียดนาม หรื อ ญวนอพยพ

23


10/08/58

กลุ่มชาติพนั ธุ์กบั สิ ทธิมนุษยชนในสั งคมไทย แนวคิดพืน้ ฐานเกีย่ วกับชนกลุ่มต่ างๆในประเทศไทย รัฐบาลไทยไม่ยอมรับว่าประเทศไทยมีชน เผ่ าพืน้ เมือง จึงเรี ยกกลุ่มชาติพนั ธุ์ต่างๆ (นอกเหนือจากคนไทย) ว่า“ชนกลุ่มน้ อย” หมายถึง ชนเผ่า หรื อคนต่างเชื้อชาติที่อาศัยรวมกันกับชนเผ่า อื่นที่มีจาํ นวนมากกว่า หรื อมีจาํ นวนน้อยเมื่อเทียบ กับชนกลุ่มใหญ่ของประเทศไทย เป็ นชนกลุ่มที่มี ความแตกต่างจากชนส่ วนใหญ่ในด้านต่างๆ คือ มี ความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ ศาสนา ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี อุดมการณ์ทางการเมือง

กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ให้คาํ จํากัดความชน กลุ่มน้อยว่า “กลุ่มชนทีไ่ ม่ ใช่ คนไทย” มีจาํ นวนน้อยกว่ากลุ่มชน ซึ่งเป็ นเจ้าของประเทศและมีวฒั นธรรมแตกต่างกันไป อาศัยอยู่ ในประเทศไทย อาจเป็ นชนกลุ่มน้อยดั้งเดิม เช่น ชาวเขา หรื อเป็ น ผูอ้ พยพเข้ามา หลบหนีเข้าเมือง หรื อเข้ามาพักชัว่ คราว รวม 11 กลุ่ม คือ 1. ญวนอพยพ คือ คนเวียดนามที่หนีการปราบปรามของ ฝรั่งเศสในปี พ.ศ. 2488 – 2489 มาอาศัยอยูใ่ นพื้นที่ 13 จังหวัด ของประเทศไทย (นครพนม มุกดาหาร หนองคาย อุบลราชธานี อุดรธานี ยโสธร สกลนคร ปราจีนบุรี สุ ราษฎร์ ธานี พัทลุง หนองบัวลําภู สระแก้ว และอํานาจเจริ ญ)

24


10/08/58

2. จีน แบ่งเป็ นกลุ่มย่อย ได้แก่  อดีตทหารจีนคณะชาติ คือ อดีตทหารกองพล และครอบครัวของ จีนไต้หวัน ที่หลบหนีจีนคอมมิวนิสต์เข้ามาในเขตจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย และแม่ฮ่องสอน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2497  จีนฮ่ ออพยพ คือ คนจีนอพยพพร้อมครอบครัวตั้งแต่ปี พ.ศ. 2493 – 2504 ในจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย และแม่ฮ่องสอน

 จีนฮ่ ออิสระ คือ คนจีนที่อา้ งว่าเป็ นญาติของ 2 กลุ่มแรก หรื อ

หลบหนีเข้าเมืองเองบ้าง ตั้งแต่ พ.ศ. 2505 – 2532 ปั จจุบนั ถูก ควบคุมให้อยูภ่ ายในพื้นที่จงั หวัดเชียงใหม่ เชียงราย ั ชาติ แม่ฮ่องสอน และพะเยา รัฐยังไม่มีนโยบายจะให้สญ เหมือนกับจีนฮ่อ 2 กลุ่มแรก เพราะถือว่ากลุ่มนี้เป็ นผูห้ ลบหนี จากประเทศจีน

25


10/08/58

3. อดีตโจรจีนคอมมิวนิสต์ มลายา คือ กลุ่มผูร้ ่ วมพัฒนาชาติไทย ที่ เคยร่ วมกับพรรคคอมมิวนิสต์มลายาเก่า ในจังหวัดยะลา นราธิวาส และสงขลา และได้เข้ามอบตัวต่อทางการไทยเมื่อปี พ.ศ. 2530

4. ไทยลือ้ คือ คนเชื้อสายไทยในแคว้นสิ บสองปันนา มณฑลยูนนาน ประเทศจีน ที่อพยพมาอยูใ่ นเขตจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย และ พะเยา เมื่อประมาณ 300 ปี มาแล้ว

26


10/08/58

5. ลาวอพยพ คือ คนลาวจากประเทศลาวที่อพยพมา โดยเฉพาะหลังปี พ.ศ. 2517 ที่ลาวมีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง โดยกระจายอยูใ่ นจังหวัด หนองคาย อุบลราชธานี เลย อุตรดิตถ์ นครพนม มุกดาหาร พะเยา เชียงราย และน่าน

6. เนปาลอพยพ คือ คนเนปาลที่อยูใ่ นพม่าสมัยเป็ นอาณานิคมของ อังกฤษ และถูกขับไล่ออกมาหลังจากพม่าได้รับอิสรภาพ ปัจจุบนั รัฐ จํากัดพื้นที่ให้อยูใ่ นอําเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรีเพียงแห่ง เดียว

27


10/08/58

7. ชนกลุ่มน้ อยชาวพม่ า แบ่งออกเป็ น 5 กลุ่ม ดังนี้ ผูพ้ ลัดถิ่นสัญชาติพม่า คือบุคคลจากประเทศพม่าหลายเชื้อชาติที่อพยพเข้า มาก่อนวันที่ 9 มีนาคม 2519 หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็ น ระบอบสังคมนิยมอาศัยอยูใ่ นจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย ตาก แม่ฮ่องสอน กาญจนบุรี ราชบุรี ประจวบคีรีขนั ธ์ ชุมพร และระนอง ผูห้ ลบหนีเข้าเมืองสัญชาติพม่า คือผูห้ ลบหนีเข้าเมืองหลัง 9 มีนาคม 2519

ผู้ใช้ แรงงานจากพม่ า คือบุคคลสัญชาติพม่า ที่เข้ามาใช้แรงงานตาม แนวชายแดน และอาศัยอยูก่ บั นายจ้าง โดยรัฐบาลมีนโยบายผ่อนผัน ให้อาศัยอยูใ่ นประเทศไทยได้ชวั่ คราว ผู้หลบหนีจากการสู้ รบในพม่ า คือ บุคคลเชื้อชาติต่าง ๆ ซึ่ งหลบหนี การปราบปรามชนกลุ่มน้อยของรัฐบาลทหารพม่ามาอยูใ่ นพื้นที่ศูนย์ พักพิงต่าง ๆ ในจังหวัดแนวชายแดนติดกับประเทศพม่า นักศึกษาพม่ าทีห่ ลบหนีการปราบปรามของรัฐบาลพม่ า เริ่ มเข้ามา เรี ยกร้องประชาธิ ปไตยเมื่อปี พ.ศ. 2531

28


10/08/58

8. ผู้อพยพเชื้อสายไทยจากเกาะกง ประเทศกัมพูชา คือคน ไทยจากเกาะกง ซึ่งแต่เดิมเคยเป็ นดินแดนของไทย เมื่อปี พ.ศ. 2517 กัมพูชามีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง จึงได้อพยพเข้ามาอยูใ่ น จังหวัดตราด ตามมติคณะรัฐมนตรี วนั ที่ 19 กุมภาพันธ์ 2534 ให้ บุคคลเหล่านี้แปลงสัญชาติเป็ นไทยได้ แต่ยงั คงเหลือที่พิสูจน์ไม่ได้ แน่ชดั ว่าเป็ นคนไทยหรื อไม่อีกจํานวนหนึ่ง

9. ผู้หลบหนีเข้ าเมืองจากกัมพูชา คือ คนเชื้อสายกัมพูชาที่อพยพเข้า มาประเทศไทย

29


10/08/58

10. ผู้พลัดถิน่ พม่ าเชื้อสายไทย คือ คนไทยที่อาศัยอยูใ่ นดินแดนที่ถูก อังกฤษปั กปันเขตกลายเป็ นของพม่า เมื่อประเทศพม่ามีความไม่สงบจะ อพยพกลับมาประเทศไทย โดยอยูใ่ นเขตจังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ ระนอง ตาก และชุมพร รัฐบาลไทยมีนโยบายให้แปลงสัญชาติได้เช่นเดียวกับคน ไทยจากเกาะกง

11. บุคคลบนพืน้ ทีส่ ู งและชาวเขา คือ ชนกลุ่มน้อยที่ต้งั ถิ่นฐานบริ เวณป่ าเขาใน พื้นที่ภาคเหนือและภาคตะวันตกรวม 20 จังหวัด คือ เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน ลําพูน ลําปาง พะเยา ตาก สุ โขทัย น่าน กําแพงเพชร แพร่ พิษณุโลก เพชรบูรณ์ เลย อุทยั ธานี กาญจนบุรี สุ พรรณบุรี ราชบุรี เพชรบุรี และ ประจวบคีรีขนั ธ์ แบ่งเป็ นเผ่าสําคัญ 9 เผ่า คือ ม้ง อีกอ้ (อาข่า) เย้า(เมี่ยน) กะเหรี่ ยง ลีซอ(ลีซู) มูเซอ(ลาหู่) ลัวะ ถิ่น ขมุ และนอกจากนี้ยงั แบ่งชาวเขาออกเป็ น 2 กลุ่ม

30


10/08/58

ชาวไทยภูเขา คือ ชาวเขาที่มีถิ่นฐานดั้งเดิมในประเทศไทย เป็ นคนไทยบางกลุ่ม ได้รับการพิจารณาให้สญ ั ชาติไทยแล้ว แต่บางกลุ่มยังไม่มีหลักฐานทางทะเบียน ราษฎร์ เนื่องจากตกสํารวจ หรื อมีถิ่นที่อยูห่ ่างไกล ไม่สามารถติดต่อกับทาง ราชการได้

ชาวเขาอพยพออกจากนอกประเทศ แม้ลูกหลานที่จะเกิดมาในประเทศไทยก็ ไม่ได้รับสัญชาติไทย เพราะผลพวงของพระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ.2508 แก้ไข (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2535 แต่ปัจจุบนั ทางราชการกําหนดคุณสมบัติให้บางกลุ่ม สามารถไปขอสถานะบุคคลต่างด้าวเข้าเมืองถูกกฎหมายแล้ว

สรุป ชนกลุ่มน้ อยในความหมายของรัฐไทย คือ ‐ ชนกลุม่ ที่อพยพมาจากประเทศอื่นมิใช่คนไทยดังเดิ ้ ม มิได้ มี สัญชาติไทยเข้ ามาอาศัยอยูใ่ นประเทศไทยชัว่ คราว ‐ มีจํานวนน้ อยเมื่อเทียบกับคนไทย ‐ มีความแตกต่างด้ านเชื ้อชาติ เผ่าพันธุ์ ศาสนา ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี อุดมการณ์ทางการเมือง

31


10/08/58

โดยรัฐมีความเชื่อว่า หากมีจาํ นวนมากและมีอาํ นาจใน การเมืองหรื อเศรษฐกิจ อาจมีผลกระทบต่อโครงสร้างอํานาจ รู ปแบบ การปกครอง รวมทั้งเสถียรภาพของรัฐบาลและการพัฒนาประเทศ จากฐานคิดการนิยามคําว่า “ชนกลุ่มน้ อย” นี้เป็ นที่มาของการ กําหนดแนวนโยบาย นโยบายการผสมกลมกลืน นโยบายการ ปราบปรามและควบคุม นโยบายแบ่งแยกและปกครอง โดยมีเป้ าหมาย หลัก “เพือ่ ความมั่นคงของชาติและเสถียรภาพทางการเมืองของ รัฐบาล” ซึ่ งเป็ นนโยบายที่เลือกปฏิบตั ิและมีคติทางชาติพนั ธุ์

คนชายขอบ ความหมาย "marginal people" หรือ "marginalization" ใน ภาษาอังกฤษนั้นนิยมใช้ ในทางสาธารณสุ ขเพือ่ ใช้ ในการ แบ่ งแยกระหว่ างสั งคมทีถ่ ูกแบ่ งแยกออกจากศูนย์ กลาง ซึ่ง ส่ วนใหญ่ จะเป็ นดินแดนชายแดน ทีข่ าดแคลนทางด้ าน การแพทย์ และการศึกษา

32


10/08/58

คนชายขอบ หมายถึง บุคคลหรือ

กลุ่มคนที่สงั คมไม่สนใจเหลียวแล ถูกทิ้งขว้างแปลก แยกจากสังคมกระแสหลัก เช่น ชาวเขา ชนกลุ่ม น้อย ผูห้ ญิงขายบริ การ กลุ่มรักเพศเดียวกัน หรื อคน พิการ นอกจากนี้ คนชายขอบยังรวมถึงผูท้ ี่ถูกปฏิเสธ โดยสังคมส่ วนใหญ่ เช่น ในห้องเรี ยน ถ้าบังเอิญเรา เรี ยนไม่เก่ง แต่เพื่อนร่ วมชั้นเรี ยนเป็ นคนเรี ยนเก่ง แทบทั้งหมด เราก็อาจจะกลายเป็ นคนชายขอบได้ เช่นกัน เพราะฉะนั้น กาลเทศะ (space/time) จึงไม่ใช่ แค่คนที่อยูช่ ายขอบแบบที่อยูต่ ามชายแดนระหว่าง ประเทศ เท่านั้น แต่หมายถึงคนที่ถูกคนส่ วนใหญ่ มองว่าเป็ นคนส่ วนน้อยในสังคม อันเป็ นที่วา่ งทาง วัฒนธรรมด้วยเช่นกัน

สภาวะของความเป็ นชายขอบ การนิยามคนชายขอบ อาจมาจากคนส่ วนใหญ่ พูดถึงคน ส่ วนน้ อยในเชิง ความเป็ นอืน่ (otherness) ทีด่ ้ อยกว่ า หรือคน ส่ วนน้ อยมองตัวเองว่ าด้ อยกว่ าก็ได้ แต่ บางครั้งคนส่ วนน้ อยก็อาจมองว่ าคนส่ วนใหญ่ เป็ นคน ชายขอบได้ หากทีว่ ่ างทางวัฒนธรรม ของคนส่ วนน้ อยคิดว่ า ตนเองเข้ มแข็งกว่ า เช่ น คนจีนในเยาวราช ทีอ่ าจมองว่ าคน อืน่ นอกเยาวราชด้ อยกว่ าก็ได้ ซึ่งนั่นหมายถึงการเกิดท้ องถิน่ นิยม ตามมา

33


10/08/58

"คนชายขอบ" จึงมักมีชีวติ ที่อยูก่ บั การถูกทอดทิ้ง ถูกเอาเปรี ยบ และถูกเอาประโยชน์ ถูกกีดกัน ไม่ให้เข้าถึงทรัพยากร ฯลฯ คนเหล่านี้อยูน่ อก สายตา และไม่เคยถูกเล็งที่จะให้ได้รับการ ช่วยเหลือ

กลุ่มชายขอบ เป็ นกลุ่มที่ยงั ไม่ถูกกลืนเป็ น ส่ วนหนึ่งของกลุ่มใหญ่อย่างสมบูรณ์ กลุ่มที่ละทิ้ง วัฒนธรรมเดิมของตนไปบางส่ วน และยังไม่ได้เป็ นที่ ยอมรับอย่างสมบูรณ์ในวัฒนธรรมใหม่ที่กลายมาเป็ นวิถี ชีวติ ของตนมักใช้กบั กลุ่มคนที่อพยพย้ายเข้ามาอยูใ่ หม่ จึงมีลกั ษณะเป็ นวัฒนธรรมผสม ดังนั้นทัศนคติ คุณค่าและแบบอย่าง พฤติกรรมที่แสดงออกมาจึงไม่ได้มีลกั ษณะเป็ นแบบ วัฒธรรมใดวัฒนธรรมหนึ่ง ซึ่งเป็ นสาเหตุให้เกิดความ หลากหลายแต่ไม่กลมกลืน

34


10/08/58

การเกิดคนชายขอบ ความเป็ นชายขอบเป็ นผลมาจากการจัดวางตําแหน่ งใน สั งคม ความเป็ นชายขอบ คือความเป็ นอืน่ ทีถ่ ูกให้ ความหมายโดย สั งคมกระแสหลัก ความเป็ นอืน่ อันเป็ นผลมาจากเพศสถานะ เพศวิถี ชนชั้น ชาติพนั ธุ์ อายุ เป็ นต้ น ความเป็ นอืน่ ทีม่ ักถูกมองว่ าเป็ นปัญหาทีเ่ กิดจากจุดอ่ อน หรือ เป็ นธรรมชาติทมี่ ีอยู่ก่อนแล้ ว

ตัวอย่ างกลุ่มคนชายขอบ o o o o o

กลุ่มคนยากจน ผูต้ ิดเชื้อเอชไอวี คนพิการ และ คนอ้วน คนรักเพศเดียวกัน อื่นๆที่คนส่ วนใหญ่รู้สึกว่าไม่เข้าพวก

35


10/08/58

สถานภาพการเป็ นชายขอบ เกิดจากการทีบ่ ุคคลนั้นเข้ าไปเป็ นส่ วนหนึ่งของสั งคมแล้ วถูก (สั งคม) กําหนดว่ าเป็ นส่ วนเกิน ฯลฯ เพราะฉะนั้นทุกคนมีสิทธิ์ทจี่ ะ เป็ นคนชายขอบได้ เนื่องจากคนชายขอบ คือ คนทีอ่ ยู่นอกปริมณฑล การรับรู้ ของคนกระแสหลัก (ถูกคนส่ วนใหญ่ ในสั งคมมองข้ ามไป)

กระบวนการเปลี่ยนเป็ นชายชอบ เมื่อเกิดความเปลี่ยนแปลงต่างๆเกิดขึ้น เช่น การเปลี่ยนแปลง ทางสังคม เศรษฐกิจ การศึกษา ค่ านิยม และ จารีต เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ทาํ ให้มโนทัศน์ของบุคคล ต่อการมองโลก มองสังคมเปลี่ยนไป

36


10/08/58

ประเภทของคนชายขอบ  ชายขอบของภูมิศาสตร์ ใครก็ ตามที่อยูข่ อบริ มของแผนที่ คนเหล่านันก็ ้ คือคนชายขอบ

ชายขอบของประวัตศิ าสตร์ เกิดจากความเป็ นพล วัตรเปลีย่ นแปลงไปมา และสั มพันธ์ กบั สภาพ ภูมศิ าสตร์ ทเี่ ปลีย่ นแปลงไป อย่างเช่น สมัยอาณาจักร สุโขทัย อยุธยาก็เป็ นเพียงเมืองชายขอบ แต่สมัยอยุธยาเป็ นราช ธานี สุโขทัยก็เปลี่ยนแปลงความสําคัญของตัวเองไป และ ศูนย์กลางอย่างกรุงเทพฯก็จดั ว่าเป็ นดินแดน ชายขอบของ อาณาจักรอยุธยา เป็ นต้ น

37


10/08/58

ชายขอบของความรู้ ความรู ้ใดที่ไม่สอดคล้องกับความรู ้อื่นๆ ความรู ้ใดที่ ไม่ใช่กระแสหลัก ความรู ้น้ นั ก็เป็ นชายขอบ แม้แต่คนที่อยูท่ ี่ศูนย์กลาง ขอบเขตทางภูมิศาสตร์ หากมีความรู ้ต่างไปจากสังคม ต่างไปจากความเชื่อ ความคิด ความเห็นของคนส่ วนใหญ่ ความรู ้น้ นั ก็เป็ นชายขอบใน ท่ามกลางศูนย์กลางนัน่ เอง

เช่นคนที่มีความรู้เรื่ องการรักษาแบบแผนไทย กลายเป็ นคนชายขอบในอดีต ของสังคมไทยเพราะเชื่อว่าการรักษาที่ดีที่สุดคือ การรักษาแบบฝรั่ง การทําคลอด แบบหมอตําแยเป็ นความรู้แบบชายขอบ เพราะความนิยมการทําคลอดสมัยใหม่เป็ น ความรู้ที่คนนิยมมากที่สุด แต่ปัจจุบนั ความรู้ทางการแพทย์แผนไทยกําลังกลายเป็ น ความรู้หลัก ซึ่ งการแพทย์แบบตะวันตกจะกลายเป็ นชายขอบในอนาคตหรื อไม่?

ดังนั้นวัฒนธรรมคนชายขอบ คือ กลุ่มคนทีม่ ี ระบบ ความรู้ ความคิด ความเชื่อ การปฏิบัตทิ เี่ ป็ นส่ วน น้ อยของคนในสั งคม หรือคนส่ วนใหญ่ มองว่ า เป็ นคน อืน่ ไม่ ใช่ พวกเขา วัฒนธรรมของคนชายขอบ จะมีความ อ่ อนแอ ขาดการยอมรับจากสั งคมส่ วนใหญ่ ดังเช่น วัฒนธรรมอาหารอีสาน ซึ่ งเคยเป็ น วัฒนธรรมอาหาร ชายขอบในสังคม ที่อยูอ่ าศัยที่มุง หลังคาด้วยจาก ปูพ้นื ด้วยไม้กระดาน ก็เป็ นวัฒนธรมที่อ ยูอ่ าศัยชายขอบ หรื อคนที่แต่งกายแตกต่างจากสมัย นิยม จะถูกเรี ยกว่า ”เชย” เป็ นความรู ้ชายขอบของสังคม เป็ นต้น

38


10/08/58

ชิ้นที่ 4 (งานกลุ่ม) นิสิตเลือกวัฒนธรรมในชุมชนตามความสนใจ และ ทํารายงานตามประเด็นดังนี้ 1. ประเภทของวัฒนธรรมชุมชน 2. ลักษณะของวัฒนธรรมชุมชน 3. ความสําคัญของวัฒนธรรมที่มีต่อชุมชน /สังคม (Present หลังจบบทที่ 6) เน้นความชัดเจนและสามารถมองเห็นเป็ นรู ปธรรม ** 10 คะแนน **

39


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.