เอกสารประกอบการเรียนบทที่6 19.26-10-58

Page 1

10/08/58

บทที่ 6 แนวคิดวัฒนธรรมชุมชน ความหมายและแนวคิดวัฒนธรรมชุมชน

“วัฒนธรรมชุมชน” ในช่ วงทีผ่ ่ านมา มีพนื้ ทีแ่ น่ นอนคือ ขอบเขตชุมชนทีม่ ีวิถชี ีวิตมีวัฒนธรรมดํารงอยู่ ในศัพท์ทางการเมืองมีคาํ ว่าวัฒนธรรมในอีกรู ปแบบหนึ่ง คือ “วัฒนธรรมของผูถ้ ูกกดขี่” กับ “วัฒนธรรมของผูก้ ดขี่” ซึ่งมองได้ 2 แบบคือ

- มองในแง่การครอบงําหรื อรวมศูนย์ เป็ นการประดิษฐ์เพิ่มขึ้นในเชิงยกระดับ วัฒนธรรม - มองแบบถูกเกณฑ์แรงงานมาใช้จนกระทัง่ คนล้มตายเพื่อสร้างความหรู หรา ใหญ่โตของวัตถุสิ่งของก็อาจมองเป็ นเรื่ องการกดขี่ทางชนชั้น เช่น การ สร้างนครวัด-นครธม เป็ นต้น

1


10/08/58

ความหมายและแนวคิดวัฒนธรรมชุมชน วัฒนธรรมชุมชน คือ “วัฒนธรรมสามัญสํานึก” หรื อ “วัฒนธรรมแนวราบ” “วัฒนธรรมประชาชน”

ความหมายของ เสรี พงศ์พิศ (2548;111-112) วัฒนธรรมชุมชน เป็ นวิถีชีวิตซึ่งครอบคุลมกิจกรรมด้าน ต่างๆในทุกมิติของมนุษย์เข้าด้วยกัน เป็ นการขยายความหมายของ “วัฒนธรรม” ว่า ไม่ได้เป็ นเพียง รู ปแบบทางศิลปะหรื อบทบาททาง สังคมที่ดีงามเท่านั้น หากครอบคลุม ถึงการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ/ กิจกรรมทางการเมืองด้วย

แนวคิดวัฒนธรรมชุมชน เริ่ มต้นจากการมีสมมุติฐานว่า ชาวบ้านมี แนวคิดชุมชนซึ่งเป็ นเอกลักษณ์ด้ งั เดิมของ ตนเอง และผลจากการปะทะกับแนวคิดภายนอก ก็มีการปรับตัวที่เรี ยกว่า “การสร้ างใหม่ ” ซึ่ง ก่อให้เกิดการค้นหาว่า เอกลักษณ์ของชุมชนคือ อะไร และการปะทะกับภายนอกนั้น เกิดการ ปรับตัวอย่างไร ซึ่งในการศึกษาต้องค้นหา อุดมการณ์ทางสังคม เป้ าหมายแห่งชีวิต และ หลักวิธีคิด รวมถึงวัฒนธรรมประเพณี ของชุมชน ที่ดาํ รงอยูใ่ นประวัติศาสตร์ของชุมชน

2


10/08/58

“แนวคิดวัฒนธรรมชุมชน” เป็ นเอกลักษณ์ด้ งั เดิมที่สืบทอดกัน มาทางประวัติศาสตร์ ถูกสร้างขึ้นบนพื้นฐานข้อเท็จจริ งที่ดาํ รงอยูใ่ น ท้องถิ่น ซึ่งไม่ตอ้ งการระบบความคิดแบบวิทยาศาสตร์มาพิสูจน์แต่ อย่างใด และประวัติศาสตร์ ดงั กล่าวนี้ ได้มีอิทธิ พลต่อประชาชนใน ระดับล่างของสังคมไทยทุกส่ วน ไม่วา่ จะเป็ นชาวนาหรื อกรรมกร (กรรมกรไทยมีเชื้อสายมาจากชาวนา) เพราะประชาชนระดับล่างมี ประวัติศาสตร์ ที่เป็ นเนื้อเดียวกันทั้งสังคม

ความสํ าคัญแนวความคิดวัฒนธรรมชุมชน 1. คุณค่าของความเป็ นมนุษย์มากกว่า คุณค่าของวัตถุ 2. กระบวนการมีส่วนร่ วมของชุมชน 3. พื้นฐานของภูมิปัญญาพื้นบ้าน 4. พื้นฐานของการพึ่งตนเอง 5. วิถีชีวติ ของชุมชนเป็ นหลัก 6. องค์รวมทั้งระบบ

3


10/08/58

แนวความคิดวัฒนธรรมชุมชน เป้ าหมายทางสังคม 1. สร้างความเชื่อมัน่ ในศักยภาพของชุมชน ท้องถิ่นที่อาศัย วิถีชีวติ ความรู ้และภูมิปัญญาที่สงั่ สมกันมาเป็ นพื้นฐาน สําหรับการดํารงชีวติ และการพัฒนา

2. ปฏิเสธอํานาจรัฐและเศรษฐกิจแบบ ทุนนิยมที่จะเข้าครอบงําทาง ความคิด ภูมิปัญญา และวิถีชีวติ ของ ชุมชน

4


10/08/58

วัฒนธรรมชุมชนกับสั งคมไทย แนวคิดวัฒนธรรมชุมชนก่อกําเนิดขึ้นในสังคมไทย ราวปี พ.ศ. 2520 เป็ นแนวคิดที่เสนอโดยนักพัฒนา ของ องค์กรพัฒนาเอกชนและนักวิชาการที่มีประสบการณ์ใน การพัฒนาชนบทมายาวนาน และสรุ ปประสบการณ์ ยกระดับขึ้นเป็ นแนวคิด ซึ่ งเป็ นกระแสแนวคิดหลักของ องค์กรพัฒนาเอกชนไทยมาจนถึงปั จจุบนั

ทีม่ าแห่ งแนวคิดวัฒนธรรมชุมชนในสั งคมไทยสํ าคัญ 2 ทาง คือ 1. จากคณะผู้ทาํ งานในมูลนิธิบูรณะและพัฒนาชนบท ผู้นาํ ทางความคิด สําคัญคือ คุณบํารุ ง บุญปั ญญา (2488) เสนอว่ าเมืองไทยมีวฒ ั นธรรม 2 กระแส ขณะนั้นยังไม่ เรี ยกว่ าวัฒนธรรมชุมชน เรี ยกว่ าวัฒนธรรม 2 กระแส ซึ่ งด้ านหนึ่ง คือ วัฒนธรรมทุนนิยม อีกด้ าน คือ วัฒนธรรม ชาวบ้ าน

และพบว่ ามี 2 กระแสต่ างกันมาก จึงเรี ยกว่า “วัฒนธรรมสอง กระแส” พร้อมเสนอว่าถ้าจะพัฒนาประเทศต้องยึดแนววัฒนธรรม ชาวบ้าน

5


10/08/58

2. จากสภาคาทอลิกแห่งประเทศไทยเพื่อการพัฒนา ผูน้ าํ ทาง ความคิดสําคัญ คือ บาทหลวงนิพจน์ เทียนวิหาร (2490-) ท่านเสนอความคิดมาจากการประชุมสังคยานาวาติกนั ที่ 2 (ค.ศ.1962-1965) ซึ่งเสนอว่าศาสนจักรคาทอลิกต้องเข้าใจ วัฒนธรรมพื้นเมือง และทําให้ศาสนาคริ สต์กลายเป็ น ศาสนาพื้นเมือง มิใช่ปรับเปลี่ยนให้เป็ นตะวันตก ท่าน บาทหลวงนําแนวคิดจากการประชุมชนดังกล่าว ศึกษาและ ทํางานกับชาวปะกาเกอญอที่เชียงใหม่ พยายามเข้าใจ แนวคิดและหาพระเจ้าในประวัติศาสตร์วฒั นธรรมของชาว ปะกาเกอญอเนื่องจากท่านเห็นว่าแนวทางนี้สงั คมได้ ประโยชน์เป็ นการพัฒนาที่แท้ เพราะทําให้คนรูจ้ ัก

ตัวเอง มีศักดิ์ศรีและอยากจะพัฒนา มิใช่เอาของ ไปให้

พัฒนาการของแนวคิดวัฒนธรรมชุมชน แนวคิดวัฒนธรรมชุมชนในประเทศ ไทยมีพฒั นาการแบ่งได้เป็ น 3 ระยะ ซึ่ งใน แต่ละขั้นตอนของพัฒนาการ แนวคิด วัฒนธรรมชุมชนได้ปะทะและประสานกับ แนวคิดอื่น ทําให้สาระสําคัญของแนวคิดนี้ ได้รับการเสริ มเติมจนมีความเข้มแข็งมาก ขึ้น และได้รับการยอมรับกว้างขวางขึ้น

6


10/08/58

ระยะที่ 1 : แนวคิดวัฒนธรรมชุมชนในฐานะ “เป็ นทางเลือกของ การพัฒนา” (พ.ศ.2520 – 2529) สาระสําคัญ 3 ประการ ได้แก่ 1) มีความเข้ าใจแล้ วว่ าสั งคมไทยประกอบขึน้ จากชุมชนของชาวบ้ าน วัฒนธรรม แต่โบราณของไทยเป็ นวัฒนธรรมที่เป็ นความสําคัญของความเป็ นชุมชน ซึ่ง แตกต่างจากวัฒนธรรมทุนนิยมที่เน้นความเป็ นปัจเจกชนตัวใครตัว มัน แข่งขันและเอารัดเอาเปรี ยบ 2) จะพัฒนาชุ มชนต้ องเริ่มจากฐานวัฒนธรรมของชุมชน ถ้ามีวฒั นธรรมชุมชน เข้มแข็ง การรวมกลุ่มของชาวบ้านเพื่อทํากิจกรรมส่ วนรวมจะสําเร็ จได้ไม่ ยาก และสามารถต่อต้านการเอารัดเอาเปรี ยบจากภายนอกได้ 3) วิธีการพัฒนาชุ มชนต้ องทําให้ ชาวบ้ านมีจิตสํ านึกทีแ่ จ่ มชัดในคุณค่าวัฒนธรรม ของเขาซึ่งปัญญาชนของชาวบ้านและชาวบ้านควรร่ วมกันศึกษาและวิเคราะห์ ประวัติศาสตร์วฒั นธรรมชุมชนของเขาเอง

ระยะที่ 2 : แนวคิดวัฒนธรรมชุมชนพัฒนาขึน้ เป็ น “แนวคิด เศรษฐกิจและสังคม” (พ.ศ.2530 – 2539) 1) สถาบันชุ มชนและวัฒนธรรมชุ มชนในประวัติศาสตร์ คือ ฐานะ และบทบาท ของชาวบ้านในกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ชุมชนเป็ นระบบซึ่งเป็ นแกนกลางของสังคมไทย วัฒนธรรมชุมชนเป็ น แกนกลางของวัฒนธรรมไทย โดยพื้นฐานสังคมไทยเป็ นสังคมแบบชุมชน ไม่ใช่แบบทุนนิยม 2) เส้ นทางการพัฒนาโดยแนวคิดวัฒนธรรมชุ มชนเป็ นเส้ นทางทีช่ อบธรรม ให้ประโยชน์ เต็มที่แก่ชาวบ้านพื้นเมือง และเป็ นเส้นทางของผูค้ นส่ วนข้าง มากที่สุดในประเทศ อีกทั้งเป็ นเส้นทางที่สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ สถานะ ทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมของสังคมไทยที่มีหน่วยพื้นฐานคือครอบครัว และชุมชน

7


10/08/58

ระยะที่ 3 : แนวคิดวัฒนธรรมชุมชนในฐานะ “อุดมการณ์ ของ สังคม” (พ.ศ.2540 – ปัจจุบัน) 1) แนวคิดเชิงพุทธ ซึ่งเสนอให้ปรับปรุ งวัฒนธรรมพื้นบ้าน โดยเพิม่ หลักธรรมของพุทธ ศาสนาเข้าไปเป็ นฐานชุมชนธรรมนิยม 2) แนวคิดธุรกิจชุ มชน ที่เสนอว่าธุรกิจชุมชนเป็ นส่ วนหนึ่งของระบบเศรษฐกิจชุมชน และเป็ นส่ วนที่ไปติดต่อสัมผัสกับระบบเศรษฐกิจทุน แต่ไม่ใช่เป็ นส่ วนของระบบ เศรษฐกิจ 3) แนวคิดความขัดแย้ ง ซึ่งเป็ นกลุ่มแนวคิดสํานักมาร์กซิสม์ที่มีเป้ าหมายโต้แย้งแนวคิด ทุนนิยมโดยตรง แต่ไม่สอดคล้องกับสังคมไทยจึงอ่อนกําลังลงในภายหลัง 4) ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว ซึ่งทรงเสนอแนวทาง ดําเนินงานเป็ น 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนพออยูพ่ อกินพึ่งตนเองได้ ขั้นตอนรวมพลัง เป็ นชุมชนในรู ปแบบสหกรณ์ และขั้นตอนการร่ วมมือกับองค์กรหรื อภาคเอกชน ภายนอก

แนวคิดวัฒนธรรมชุมชนเกิดมาจากการสรุปปรากฏการณ์ ขนึ้ เป็ นทฤษฎีของนักพัฒนาเอกชนซึ่งเกิดจาก o การสัมผัสและเข้ าใจความเป็ นตัวของตัวเอง ศักยภาพและเส้ นทาง ของชาวบ้ านไทย o จากการเห็นปัญหาหนักของการพัฒนาประเทศในแนวทางทุนนิยม ซึ่งผลประโยชน์ ของการพัฒนาตกเป็ นของคนเพียงกลุ่มเดียว คือ ภาคธุรกิจ ซึ่งมาจากการเอารั ดเอาเปรี ยบภาคเกษตรกรรมภาค เศรษฐกิจชุมชน หรื อการใช้ แรงงานชาวบ้ านราคาถูก

8


10/08/58

มีการสร้างคําขวัญที่วา่ “คําตอบอยู่ทหี่ มู่บ้าน” โดย องค์กรพัฒนาเอกชนมีกระบวนการทํางานสําคัญคือ การส่ งผู้ปฎิบัติงานลงไปทํางานเกาะติดใกล้ ชิดชุมชน กระตุ้นให้ ชุมชนเกิดกระบวนการเรี ยนรู้ และแสวงหา ทางเลือกในการแก้ ปัญหาของชุมชนของตน

อุดมการณ์ และหลักการของแนวคิดวัฒนธรรมชุมชน 1. ชุมชนมีวฒ ั นธรรมของตนอยู่แล้ ว มีระบบคุณ ค่าที่รวบรวมมาได้จากประวัติความเป็ นมาอัน ยาวนานของชุมชน คือให้คุณค่าแก่ความเป็ น “คน” และแก่ “ชุมชน”

9


10/08/58

2. ชุมชนมีสถานะเป็ นสถาบันหนึ่ง ที่ดาํ รงอยูอ่ ย่างต่อเนื่องใน ประวัติศาสตร์อนั ยาวนาน มีโครงสร้าง กลไกภายในเป็ น ระบบๆ หนึ่งของตัวเอง เป็ นรู ปแบบสังคมที่มีอายุยนื นาน ไม่ ว่าธรรมชาติขา้ งนอกจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร ความเป็ น หมู่บา้ นหรื อเป็ นชุมชนก็คงทนมาเป็ นเวลาหลายๆ ร้อยปี ลักษณะเช่นนี้ คือ มีความเป็ นสังคมในตัวของมันเอง แสดงถึงความเป็ น สังคมที่มีระบบเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมที่เป็ นอิสระ มีแบบแผนระบบการ ผลิต ระบบการจัดการทรั พยากร ระบบสุขภาพ ระบบความรู้ ระบบการเรี ยนรู้ ศึกษา ระบบการปกครอง ระบบยุติธรรมของตนเอง

3. ชุมชนมีระบบเศรษฐกิจระบบหนึ่งของตัวเอง มีครอบครัว และชุมชนเป็ นหน่วยการผลิต มีเป้ าหมายของตัวเอง คือ มุ่ง ให้ครอบครัวพอเพียงที่จะดํารงชีพได้และชุมชนอยูร่ อด และ ผลิตซํ้าตัวเองได้ ผลิตเพื่อเลี้ยงตัวเอง แม้อาจผลิตเพื่อขายก็ เพื่อให้ได้เงินมาเลี้ยงครอบครัวไม่ใช่ให้มีกาํ ไรสูงสุ ดให้ รํ่ารวย ใช้แรงงานสมาชิกในครอบครัวตัวเองเป็ นหลัก มี นํ้าใจและความเอื้ออาทร ความเป็ นญาติมิตรเป็ นเครื่ องร้อย รัดส่ วนต่าง ๆ ของระบบ จัดสรรและแบ่งปั นผลผลิต กรรมสิ ทธิ์ เอกชนไม่มีความเด็ดขาด

10


10/08/58

4. ทางด้ านสั งคมการเมือง ชาวบ้านมีความสัมพันธ์กนั ผ่านระบบเครื อญาติ มีการปกครองและการจัดการความสงบเรียบร้ อยภายในโดยระบบอาวุโส มีผู้นําทีม่ ีบารมีได้รับการเคารพยกย่องในชุมชน สมาชิกชุมชนมีความ ผูกพันกลมเกลียวเพราะมีความเคารพนับถือในผีบรรพบุรุษเดียวกันและ เชื่อสิ่ งเหนือธรรมชาติที่คอยเป็ นสิ่ งควบคุมพฤติกรรมของคน ก่อให้เกิด กฎเกณฑ์ขอ้ ห้ามให้ความชอบธรรมแก่การดําเนินชีวิตร่ วมกันอย่างมี ระเบียบแบบแผน

5. ชุมชนกับสั งคมภายนอก ชุมชนมิได้ต้ งั อยูอ่ ย่างโดดเดี่ยว มีการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนกับชุมชนอื่นในท้องถิ่นเดียวกันใน ลักษณะ “เครื อข่าย” และมีปฏิสมั พันธ์กบั รัฐและทุนมาทุกยุคทุก สมัย การรุ กคืบเข้ ามาของระบบทุนนิยมและอํานาจรั ฐราชการนั้นได้ เข้ า มาในลักษณะครอบงํา บั่นทอนการดํารงอยู่ของชุมชนทําลายระบบเศรษฐกิจแบบ พึ่งตนเอง ดึงเข้ าสู่ระบบเศรษฐกิจแบบพึ่งพิงตลาด มีการทําลายล้ างผลาญ ทรั พยากรธรรมชาติอันเป็ นฐานดํารงชี วิตของชาวชุมชนให้ เสื่ อมโทรมลง ทําลาย โครงสร้ างการปกครองดูแลตนเองของชุมชนให้ ขึน้ ต่ อการปกครองของรั ฐและ ระบบราชการ ทางด้ านสังคมวัฒนธรรมเกิดวัฒนธรรมบริ โภคนิยม คุณค่ าทาง วัฒนธรรมที่ดีงามในแบบแผนการดําเนินชี วิตถูกทําลายลง ถูกแทนที่ด้วยค่ านิยม ตัวใครตัวมัน แก่ งแย่ งชิ งดี เอารั ดเอาเปรี ยบ กอบโกยกําไร ความยกย่ องนับถือคน ดีถกู แทนที่ด้วยการนับถือเชื่ อฟั งคนรวย ฯลฯ

11


10/08/58

6. ทางเลือกการพัฒนาตามแนวความคิดวัฒนธรรมชุ มชน เชื่อว่า แม้ฐานเศรษฐกิจของชุมชนและทรัพยากรจะถูกทําลายเสี ยหายลงไปบ้าง แต่ “จิตสํ านึก” หรื อ “พลังทางวัฒนธรรม” ยังคงอยูซ่ ่ ึงสามารถสร้างความ เข้มแข็งของชุมชนขึ้นมาใหม่ได้ เพียงแต่รูปแบบภายนอกอาจแตกต่างไป จากเดิม หลักสําคัญ คือ เป็ นการพัฒนาที่ไม่ ทาํ ลายล้ างสถาบันชุมชน แต่ มุ่งให้ ชุมชนสามารถพึ่งตนเองและอยู่ร่วมกับภาคส่ วนอื่นๆ ในสังคมได้ อย่ าง มีศักดิ์ศรี

โดยมีการเสนอทางเลือก ดังนี้ 6.1 การพัฒนาต้ องเริ่มจากฐานวัฒนธรรมชุมชน ต้องรื้ อฟื้ นคุณค่า ดั้งเดิมที่ชุมชนมีมาประยุกต์สร้างสรรค์ทางเลือกขึ้นมาใหม่ให้ สอดคล้องกับสภาพสังคมปั จจุบนั ไม่ใช่การถอยหลังไปสู่ สงั คมเก่า ในอดีตซึ่ งเป็ นไปไม่ได้ ต้องสร้างแบบแผนการผลิตและแบบ แผนการดํารงชีวติ ขึ้นมาใหม่ภายใต้คุณค่าที่ดีงามแบบดั้งเดิม เช่น การตั้งกองทุนหมู่บา้ น ธนาคารข้าว กลุ่มออมทรัพย์ (เหล่ านีค้ อื คุณค่ าแห่ งการสร้ างหลักประกันความมัน่ คงร่ วมกันหรือ สวัสดิการของชุมชน )

12


10/08/58

6.2 การพัฒนาต้ องเน้ นกระบวนการกลุ่ม การ ร่ วมมือช่วยเหลือซึ่ งกันและกันเพื่อคงความ เป็ นชุมชนไว้ การรวมกลุ่มรวมตัวกันในรู ป ของการจัดการองค์กร เช่น สหกรณ์ สหพันธ์ เพื่อสร้างความเข้มแข็งในการช่วยเหลือกัน และสร้างอํานาจในการต่อรองกับภายนอก สร้างเครื อข่ายระหว่างชุมชนและสร้างความ ร่ วมมือกับคนกลุ่มอื่นในสังคมเพื่อ แลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้และร่ วมกันแก้ปัญหา

6.3 ด้ านการผลิต ควรอยูบ่ นหลักการ “ผลิตเพือ่ ให้ ทุกคนมี กินมีใช้ แล้ วค่ อยเอาส่ วนทีเ่ หลือส่ งออก (ขาย)” หลักการ นี้ถูกพัฒนามาอธิ บายการสร้างทางเลือกการพัฒนาด้าน เกษตรกรรมยัง่ ยืน ธุรกิจชุมชน และอาชีพทางเลือกอื่น ๆ หลายด้านในเวลาต่อมา

13


10/08/58

6.4 ชุมชนต้ องมีความสั มพันธ์ และใกล้ชิดกับ ธรรมชาติ ดูแลและรักษา ไม่ใช่ทาํ ลายล้าง ธรรมชาติอย่างการพัฒนากระแสหลัก เพราะ ธรรมชาติจะช่วยคงความสามารถในการ พึ่งตนเองของชุมชนไว้ได้

6.5 ข้ อเสนอทางเลือกสํ าหรับสั งคมไทย สํานักวัฒนธรรมชุมชน โดยคณะ ดร.ฉัตรทิพย์ นาถสุ ภา ได้พฒั นา ยกระดับข้อเสนอ เชิงนโยบายระดับชาติ ที่สาํ คัญ คือ 1) การพัฒนาด้ านวัฒนธรรมและยกระดับสถาปนา วัฒนธรรมชุมชนเป็ นวัฒนธรรมแห่งชาติ เพราะ “ระบบชุมชน” ยังดํารงอยูเ่ ป็ นระบบใหญ่ที่สุดของประเทศ

14


10/08/58

2) การประสานระบบเศรษฐกิจชุ มชนควบคู่กบั เศรษฐกิจทุน นิยม ประกอบขึ้นเป็ นระบบเศรษฐกิจแห่งชาติเป็ น “เศรษฐกิจสองระบบ” 3) การกระจายอํานาจในการจัดการทรัพยากรท้ องถิ่นมาสู่ “องค์ การบริหารของเครือข่ ายชุ มชนท้ องถิ่น” หรื อคืน อํานาจการตัดสิ นใจและการดําเนินชีวติ ให้แก่ชาวบ้าน

สรุปสาระสํ าคัญแนวคิดวัฒนธรรมชุมชน 1. มีการปฏิวตั คิ วามคิดความเข้ าใจการมอง ชุมชนว่า “สถาบัน” ของชาวบ้านคือ ไม่ใช่แค่ ชุมชน แต่มีผนื ป่ า ที่ทาํ กิน ระบบนิเวศน์และ คุณค่าทางวัฒธรรมทั้งหมด คือ ชุมชน ปะทะกับ ความหมายของทําเลที่ต้ งั และหมู่บา้ นของรัฐ ชุมชน คือ เขตแดนของการอยู่รอดของ มนุษย์ ซึ่งอิงอยูก่ บั สภาพแวดล้อม ทรัพยากร ต่างๆ ที่มีอยูแ่ ล้วกระตุน้ ให้เกิดการส่ งเสริ มสิ ทธิ ในด้านต่างๆ ระบบวัฒนธรรมทําให้รู้วา่ ขอบเขต สิ ทธิเราอยูแ่ ค่ไหน ความเป็ นญาติมิตร และความ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน วิถแี ห่ งชุมชนไทย

15


10/08/58

2. พัฒนาชุมชนจะต้ องเริ่มจากฐานวัฒนธรรมชุมชน ซึ่ งเป็ นปราการ ที่แข็งแกร่ งที่สุดของชาวบ้าน หากมีวฒั นธรรมชุมชนเข้มแข็ง การ “รวมกลุ่ม” ของชาวบ้านเพื่อทํากิจกรรมจะสําเร็ จได้ไม่ยาก การต่อต้านการเอารัดเอาเปรี ยบจากภายนอกจะทําได้

3. ในแง่ วธิ ีการพัฒนา จะต้ องทําให้ ชาวบ้ านมี จิตสํ านึกทีแ่ จ่ มชัดใน วัฒนธรรมของเขา ปัญญาชนของชาวบ้ าน (organic intellectual) เช่น ผูเ้ ฒ่า หมอผี แถน ของชุมชนอีสาน ชาวบ้านควรร่ วมกันศึกษา และวิเคราะห์ประวัติศาสตร์วฒั นธรรมของชุมชน เพราะเป็ นสิ่ งที่ชาวบ้าน ปฏิบตั ิมาช้านานนั้น การวิเคราะห์ประวัติศาสตร์จะช่วยให้ร้ื อฟื้ นค้นหาได้ ว่า การปฏิบตั ิและพิธีกรรมมีที่มาอย่างไร ทําให้ชาวบ้านตื่นและรับรู ้ รู ้ เอกลักษณ์และคุณค่าของตัวเอง ค้นพบจิตสํานึกอิสระของชุมชน เห็น คุณค่าของการรวมตัวเป็ นชุมชน และซาบซึ้งในประวัติการต่อสู ร้ ่ วมกัน ตลอดมา เห็นภัยของการครอบงําของวัฒนธรรมแปลกปลอมจากภายนอก ในแง่เศรษฐกิจ

16


10/08/58

ชิ้นที่ 4 (งานกลุ่ม) นิสิตเลือกวัฒนธรรมในชุมชนตามความสนใจ และทํา รายงานตามประเด็นดังนี้ 1. ประเภทของวัฒนธรรมชุมชน 2. ลักษณะของวัฒนธรรมชุมชน 3. ความสําคัญของวัฒนธรรมที่มีต่อชุมชน /สังคม เน้ นความชัดเจนและสามารถมองเห็นเป็ นรู ปธรรม ** 10 คะแนน **

17


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.