เอกสารประกอบการเรียนบทที่1 17-8-58

Page 1

10/08/58

วิวฒั นาการของมนุ ษย์

วิวฒั นาการ (EVOLUTION)  หมายถึง เปลีย่ นแปลงจากสภาพหนึ่งไปสู่อกี สภาพ

หนึ่งอย่างค่อยเป็ นค่อยไปตามลําดับขัน้ โดยอาศัย ระยะเวลาอันยาวนาน

1


10/08/58

ลามาร์ค (JEAN BAPTISITE DE LAMARCK) นักธรรมชาติวทิ ยาชาวฝรัง่ เศส ‐ กฎแห่งการใช้และไม่ใช้ (LAW OF USE AND DISUSE) กล่าวว่าอวัยวะใดถูกใช้งานอยู่เสมอจะมีการพัฒนาขึ้นอวัยวะใดไม่ ถูกใช้งานก็จะเสือ่ มหายไป และลักษณะเหล่านี้จะถ่ายทอดไปยัง ลูกหลานได้

ชาร์ ลส์ ดาร์ วนิ (Charles Darwin) นักธรรมชาติวทิ ยาชาวอังกฤษ  ทฤษฎีววิ ฒั นาการของมนุษย์ (Human Evolution Theory)

สิง่ มีชวี ติ มีความหลากหลายตามธรรมชาติ และปัจจัยทางธรรมชาติ เช่น ปริมาณอาหารและนํา้ ทีจ่ าํ กัด ทําให้สง่ิ มีชวี ติ ตัวทีเ่ หมาะสมเท่านัน้ ทีจ่ ะมีชวี ติ อยู่รอด (survival of the fittest)

2


10/08/58

วิวฒั นาการ คือ การเปลีย่ นแปลงของ

สิง่ มีชวี ติ ทีท่ าํ ให้เกิดชีวติ ชนิดใหม่ทแ่ี ตกต่าง จากชีวติ ชนิดเดิมเกิดขึ้นจาก 2 กระบวนการ คือ natural selection และ mutation

“อาร์ คีออปเทอริ ก (Archaeopteryx”

ข้ อสมมุตฐิ านเกีย่ วกับวิวฒ ั นาการของมนุษยชาติ  มนุษย์เป็ นส่ วนหนึ่งของธรรมชาติ และต้องอยูภ่ ายใต้กฎเกณฑ์ของ

ธรรมชาติเหมือน ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติอื่นๆ  สิ่ งมีชีวิตทุกประเภทมาจากบรรพบุรุษเดียวกันที่เป็ นสิ่ งมีชีวิตที่เล็กมาก มีชีวิตเมื่อหลายพันล้านปี  มนุษย์เป็ นสัตว์ประเภทหนึ่ง ที่สามารถเชื่อมโยงกับสิ่ งมีชีวิตชนิดอื่นๆ ในโลก แต่จะคล้ายกับลิงไร้หาง (ลิงเอป) มากที่สุด

3


10/08/58

บรรพบุรุษของมนุ ษย์คอื ลิงจริงหรือ?

ข้อแตกต่าง ระหว่าง มนุ ษย์และลิง 1. การเดิน มนุ ษย์เดิน 2 ขา ลําตัวตัง้ ตรง ลิงเดิน 4 ขา 2. กระดูกเชิงกราน มนุ ษย์มีช้ ินถัดไปเรียงตัวในแนวตัง้ กระดูกเชิงกรานลิงมีลกั ษณะลาดเอียง ดึงโน้มให้กระดูกคอ และกระโหลกศรีษะเรียงตัวในแนวนอน เปรียบเทียบ ลักษณะการเดิน และ กระดูกเชิงกราน ระหว่างลิงไร้หาง กับ คน

4


10/08/58

3. ปริมาตรของสมอง มนุ ษย์มีมากขึ้น 4. ส่วนของหน้าและขากรรไกร มนุ ษย์ลดขนาดลง เปรียบเทียบขนาดของสมอง ระหว่าง ชิมแพนซี มนุ ษย์โบราณ มนุ ษย์ปจั จุบนั

ขากรรไกรมนุ ษย์ ลดขนาดลง

5. ลักษณะมือ มนุ ษย์และลิงคล้ายกัน แต่การใช้งานต่างกัน เนื่ องจาก ขนาดของนิ้ วหัวแม่มือยาวไม่เท่ากัน นิ้ วหัวแม่มือของลิงชิมแพนซี สัน้ กว่าฐานข้อที่ 1 ของนิ้ วชี้ ส่วนนิ้ วหัวแม่มือของมนุ ษย์ ยาวเกือบกึ่งกลางของข้อที่ 2

ชิมแพนซี

มนุ ษย์

5


10/08/58

The Australopithecines (มนุ ษย์วานร) บรรพบุรุษของมนุ ษย์ชนิดนี้ ปรากฏขึ้นครัง้ แรก สมัยไมโอซีน พบว่า มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ African ape และ เชื่อว่าวิวฒั นาการมาจากบรรพบุรุษเดียวกัน เมื่อประมาณ 4-8 ล้านปี มาแล้ว มีการค้นพบฟอสซิล Australopithecines 4 สปี ชีส ์ คือ Australopithecus afarensis, A. africanus , A. robustus , A. bosei

6


10/08/58

Australopithecine สปี ชีสแ์ รก คือ Australopithecus afarensis ลักษณะสําคัญ มีขนาดใหญ่กว่าชิมแพนซีเล็กน้อย สูง 1-1.5 เมตร (3-5 ฟุต) นํ้ าหนักตัว 25-50 กิโลกรัม สมองมีขนาดเล็ก ประมาณ 380-450 ลบ.ซม. ช่วงแขนยาวกว่าช่วงขา มีการค้นพบฟอสซิลของ A. afarensis ในอัฟริกา มีลกั ษณะเป็ นผูห้ ญิง ตัง้ ชื่อว่า “Lucy”

รอยเท้า “Lucy”

ฟอสซิล Australopithecus afarensis ชื่อลูซี “Lucy” ที่พบจํานวน 13 ฟอสซิล ทางตอนเหนื อของทะเลทรายในเอธิโอเปี ยน ปี 1974 โดย Donald Johanson ฟอสซิลมีอายุมากกว่า 3 ล้านปี โครงกระดูกเป็ นลักษณะผูห้ ญิง เดินตัวตรง

7


10/08/58

สปี ชีสท์ ่ี 2 คือ Australopithecus africanus นักมนุ ษย์วทิ ยาเชื่อว่า A. africanus วิวฒั นาการมาจาก A. afarensis ขนาดสมองอยู่ระหว่าง 494-600 ลบ.ซม. มีความสูงประมาณ 1.4 เมตร ส่วนหน้ามีลกั ษณะแบน ฟันหน้า (incisor) มีขนาดเล็ก พบฟอสซิลของ A. africanus ในประเทศแทนซาเนี ยและเอธิโอเปี ย มีอายุประมาณ 3 ล้านปี

สปี ชีสท์ ่ี 3 คือ Australopithecus robustus มีการดํารงชีวติ เมื่อประมาณ 2.3-1.3 ล้านปี มาแล้ว มีลกั ษณะแตกต่างไปจาก 2 สปี ชีสแ์ รก คือ สมองมีขนาดประมาณ 500-600 ลบ.ซม. มีความสูงประมาณ 1.5 เมตร นํ้ าหนักตัวประมาณ 45 กิโลกรัม มีหลักฐานพบว่า A. robustus มีการวิวฒั นาการแตกสายออกไป แล้วสูญพันธุ ์

8


10/08/58

สปี ชีส์สุดท้ าย คือ Australopithecus boisei นักมนุ ษย์วทิ ยามีหลักฐานพบว่า มนุ ษย์วานร สปี ชีสน์ ้ ี วิวฒั นาการแตกสายแยกออกมาจาก A. afarensis สมองมีลกั ษณะคล้าย A. robustus มี Jaw ขนาดใหญ่ และมีความกว้างของฟันมากกว่า มีการดํารงชีวติ อยูท่ างตะวันออกของทวีปอัฟริกา ในช่วงระหว่าง 2.5-1.2 ล้านปี มาแล้ว

Human species มนุ ษย์ มี 1 สกุล คือ สกุล Homo ประกอบด้วย 3 สปี ชีส ์ ได้แก่ Homo habilis, Homo erectus , Homo sapiens

H. habilis และ H. erectus จัดเป็ นมนุ ษย์โบราณ ที่สูญพันธุไ์ ปหมดแล้ว

9


10/08/58

(1) Homo habilis มนุ ษย์โบราณ ที่มีการดํารงชีพ เมื่อประมาณ 3-2 ล้านปี มาแล้ว มีความสูงประมาณ 1.5 เมตร สมองมีขนาดใหญ่ประมาณ 700 ลบ.ซม. ส่งผลทําให้สว่ นหน้ามีขนาดใหญ่ข้ ึนด้วย แต่ขนาดของฟันหน้าและเขี้ยวกลับเล็กลง สามารถสร้างเครื่องมือหาอาหารสําหรับใช้ลา่ สัตว์เล็กได้ มีการดํารงชีวติ แบบเร่รอ่ น

ในปี 1960 นักมนุษย์ วท ิ ยาชื่อ Leaky ค้นพบฟอสซิลของ H. habilis ที่เมือง Olduvai Gorge อยู่ทางตอนใต้ของทวีปอัฟริกา ฟอสซิลมีอายุประมาณ1.75 ล้านปี มีลกั ษณะเป็ นผูห้ ญิง ตัง้ ชื่อฟอสซิลว่า “Twiggy” ยังมีการค้นพบฟอสซิลของ H. habilis อีกเป็ นจํานวนมากในทะเลสาบ Turkana ที่อยู่ทางตอนเหนื อ ของทวีปอัฟริกา

10


10/08/58

บริเวณที่คน้ พบฟอสซิล H. habilis พบหลักฐานการประดิษฐ์เครื่องมือล่าสัตว์ ที่ทาํ มาจากหินแบบง่ายๆ แสดงให้เห็นว่า มีการพัฒนาทางสมอง มีความสามารถในการควบคุมสภาพแวดล้อม มีการพัฒนาด้านการใช้สายตาเป็ นอย่างดี มีความสามารถในการวางแผนในการจับสัตว์ และการทดลองรูปแบบที่เหมาะสมในการใช้อปุ กรณ์

(2) Homo erectus ดํารงชีพเมื่อประมาณ 1.5 ล้านปีมาแล้ว เป็ นมนุ ษย์กลุม่ แรก ที่อพยพย้ายถิ่นฐาน ออกจากทวีปอัฟริกา ไปยังทวีปเอเชียและทวีปยุโรป สูงประมาณ 1.6-1.8 เมตร (6 ฟุต) นํ้ าหนักตัวประมาณ 48 กิโลกรัม ขนาดสมองประมาณ 800-1250 ลบ.ซม. สามารถสร้างเครื่องมือล่าสัตว์ใหญ่ได้ สร้างที่อยู่อาศัย แต่ยงั คงดํารงชีวติ แบบเร่รอ่ น มีเครื่องนุ่ งห่ม เริ่มรูจ้ กั ใช้ไฟ

11


10/08/58

มน ุษย์ปัจจุบนั Homo sapiens

มีเพียง 1 สปี ชีส์ แบ่ งออกเป็ น มนุษย์ ปัจจุบนั สมัยแรก Homo sapiens Neanderthal

มนุษย์ ปัจจุบนั สมัยสุดท้ าย Homo sapiens sapiens

มนุษย์ ปัจจุบนั สมัยแรก Homo sapiens neanderthalensis

ดํารงชีพเมื่อประมาณ 4 แสนปี มาแล้ ว สมองมีขนาดใหญ่ กว่ ามนุษย์ ปัจจุบันเล็กน้ อย ขนาดสมองประมาณ 1,400 ลบ.ซม.

พบฟอสซิลที่บริเวณ Neanderthal valley

12


10/08/58

มนุ ษย์นีอลั เดอร์ทลั โครงร่างมีลกั ษณะเตี้ย มีกล้ามเนื้ อ มากกว่ามนุ ษย์ปจั จุบนั จมูกมีลกั ษณะแบน และ รูจมูกกว้าง เนื่ องจากมีการดํารงชีพอยู่ในเขตหนาว

ทําให้ นักมนุษย์ วทิ ยามีข้อสันนิษฐานว่ า การที่มีโครงร่ างและลักษณะในแบบนี ้ อาจมีผลเนื่องจากต้ องมีการปรั บตัวเพื่อ ให้ สามารถดํารงชีพในเขตหนาวได้ ดีขนึ ้

มนุษย์ ปัจจุบันสมัยสุดท้ าย Homo sapiens sapiens ดํารงชีพเมื่อประมาณ 3 หมื่น ถึง 1 แสนปี

มาแล้ ว

มีการค้ นพบฟอสซิล ของ มนุษย์ โครมันยอง

สมอง มีขนาดใหญ่ กว่ ามนุษย์ ปัจจุบนั เล็กน้ อย ประมาณ 1,350 ลบ.ซม.

13


10/08/58

มนุษย์ โครมันยอง มีความสามารถในการวาดรูป ภาพวาดที่พบในถํา้

สามารถ เย็บเสือ้ ผ้ าใส่ กินเนือ้ สัตว์ ปรุ งอาหาร

ความแตกต่ างของกระโหลกศีรษะ ระหว่ างมนุษย์ ปัจจุบันและมนุษย์ นีอัลเดอร์ ทลั ลักษณะทั่วไปจะคล้ ายคลึงกัน มีเพียงบางลักษณะ ที่แตกต่ างกันเห็นได้ ชัดคือ นีอัลเดอร์ ทลั หน้ าผากลาดแคบ มีสันคิว้ ใหญ่ หนา คางแคบหดไปทางด้ านหลัง

14


10/08/58

พบฟอสซิล กะโหลกศีรษะ

มนุ ษย์โบราณ Homo erectus ในทะเลสาบ Turkana มีอายุมากกว่า 1.5 ล้านปี ลักษณะค่อนมาทางมนุ ษย์ปจั จุบนั มีลกั ษณะคล้ายมนุ ษย์ชวา และ มนุ ษย์ปกั กิ่ง

กําเนิดของมนุษย์ ปัจจุบนั นัน้ มาจากไหน?

15


10/08/58

สมมติฐานเกี่ยวกับกําเนิดของมนุษย์ 2 แนวทาง คือ

16


10/08/58

ความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์ ความต้องการทางชีวภาพ เป็ นความต้องการในสิ่ งจําเป็ นต่อการดํารงชีวิต เช่น อาหาร อากาศ ยารักษาโรค  ความต้องการทางกายภาพ เป็ นความต้องการทางวัตถุ เช่น บ้าน เครื่ องมือ เครื่ องใช้และอุปกรณ์ต่างๆ  ความต้องการทางจิตวิทยา เป็ นความต้องการทางจิตใจ เช่น ความรัก ความเห็นใจ ความเอื้ออาทร  ความต้องการทางด้านสังคม เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ ทําให้มีการ ถ่ายทอดวัฒนธรรม เกิดการเรี ยนรู ้ สะสมและสร้างสรรค์ ทําให้แตกต่างไปจาก สัตว์โลกโดยทัว่ ไป

17


10/08/58

18


10/08/58

วิวฒั นาการด้านอารยธรรม (Cultural evolution) มนุ ษย์แตกต่างไปจากสิง่ มีชีวติ อืน่ โดยมีววิ ฒั นาการ ด้านอารยธรรมและวัฒนธรรม ที่อาศัยการเรียนรูส้ บื ทอดกันมา

19


10/08/58

สาเหตุท่ที าํ ให้มนุ ษย์มีววิ ฒั นาการด้านอารยธรรม เนื่ องมาจากการเปลี่ยนแปลงของมนุ ษย์ 2 ประการ คือ 1) การเดินตัวตรงของมนุ ษย์ ส่งผลให้กระโหลกศีรษะ มีการเปลี่ยนแปลง มีสมองใหญ่ข้ ึน มีความคิดมากขึ้น ทําให้มนุ ษย์มีววิ ฒั นาการด้านวัฒนธรรมและอารยธรรม 2) พ่อแม่ดูแลลูกเป็ นระยะเวลานาน ส่งผลทําให้ ลูกมีโอกาสได้เรียนรูส้ ง่ิ ต่างๆจากพ่อแม่มากขึ้น ได้แก่ Knowledge, Customs, belief, Arts, etc

วิวฒั นาการทางอารยธรรมของมนุ ษย์ แบ่งออกเป็ น 3 ช่วง 1. Scavenging-gathering-Hunting เป็ นช่วงแรกของ Homo habilis, H. erectus, Neanderthal (Modern man) 2. ทําเกษตรกรรม (Agriculture)

เป็ นช่วงที่ 2

3. ช่วงอุตสาหกรรม (The machine age) เป็ นช่วงที่ 3

20


10/08/58

ช่วงต่างๆ ของวิวฒั นาการด้านอารยธรรม Scavenging-gatheringHunting

Agriculture

The machine age

Cultural evolution เป็ นสิง่ สําคัญ ที่สง่ ผลทําให้มนุ ษย์ สามารถเปลี่ยนแปลงสิง่ ต่างๆ โดยเฉพาะสภาพแวดล้อมของโลก ให้มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว เกินกว่าปกติ

21


10/08/58

นอกจากนี้ มนุ ษย์ มี Cultural evolution อันเกิดขึ้นจากเปรียบเทียบ การเจริญด้านวัฒนธรรมและอารยธรรม และจากลักษณะที่แตกต่างทางพันธุกรรม ได้แก่ สีผิว สีผม สีตา และ รูปร่าง ที่แตกต่างกันไปตามถิ่นที่อยู่อาศัยดัง้ เดิม

ส่งผล ให้มีการแบ่งเผ่าพันธุ ์ (Races) อันเกิดจากผลของ Biological evolution ด้ วย

การแบ่ง เผ่าพันธุม์ นุ ษย์ (Races) แบ่งออกเป็ น

คอเคซอยด์ (Caucasoid) มองโกลอยด์ (Mongoloid) นี กรอยด์ (Negroid) ออสเตรลอยด์ (Australoid ) และปิ กมี่ (pygmies) คอเคซอยด์ (Caucasoid)

22


10/08/58

คอเคซอยด์ (Caucasoid) ผิวจะมีสีขาว จมูกแคบ ริ มฝี ปากบาง และผมดก สีผมดําจนถึงสีบรอน ลักษณะเหยียดตรง หรื อหยิกงอได้

Negroids หรื อ คนผิวดํา มีผิวสีนํ ้าตาลดํา จมูกบาน ริมฝี ปากหนา ผมสีดํา หยิก หยักศก หรื อขดเป็ นปม มีบ้างที่เหยียดตรง มีกําเนิดจากทวีปแอฟริกา และ หมูเ่ กาะ Ocenia และได้ อพยพไปอยูใ่ นอเมริ กา ยุโรป หมูเ่ กาะแคริ บเบียน และอเมริกาใต้

23


10/08/58

มองโกลอยด์ (Mongoloid) หรื อ พวกผิวเหลือง ผิวมีสีนํ ้าตาล หรื อนํ ้าตาลแดง ผมเหยียดตรง ดังไม่ ้ โด่ง มากมีจดุ กําเนิดจากเอเชีย และอเมริ กา ขนน้ อย

ไอคิวเฉลีย่ สูงกว่าเผ่าพันธุ์อื่น อาศัยอยู่ ตามเอเชียตะวันออก เอสกิโม (eskimo) คนไทย และอินเดียนในอเมริ กา (american indians)

ออสเตรลอยด์ (australoids) ศีรษะยาว จมูกแบน ผมเป็ นลอน ขนตามตัวมาก ผิวดํา ได้ แก่คน พื ้นเมืองของออสเตรเลีย และ ทาสมาเนีย

24


10/08/58

ปิ กมี่ (pygmies) เป็ นคนแคระ ความสูงไม่ถงึ 145 ซม. ศีรษะกว้ าง จมูกกว้ าง อาศัยอยูใ่ นป่ าเขตร้ อนในคองโก (congo) แอฟริ กา คาบสมุทรมาเลย์ นิวกินี หมูเ่ กาะอันดามัน ในอ่าวเบงกอล

pygmies dance@ Cameroon

สามารถ แสดงพฤติกรรมที่ซบั ซ้อน ได้แตกต่างไปจากสิง่ มีชีวติ อืน่ ใช้ภาษาพูดและภาษาเขียน ทําเกษตรกรรม และประดิษฐ์เครื่องมือใช้ในการผ่อนแรง

25


10/08/58

ด้วยความสามารถและความฉลาด ทําให้มนุ ษย์ตกั ตวง ผลประโยชน์จากธรรมชาติ ได้มากกว่าสิง่ มีชีวติ อืน่ ดังนั้น จึงอาจได้ช่ือว่า เป็ นทัง้ ผูส้ ร้างสรรค์ และผูท้ าํ ลายได้ในเวลาเดียวกัน

งานครั้งที1่ (งานเดีย่ ว)  ให้นิสิตสรุ ปวิวฒั นาการของมนุษย์ในยุค australopithecus

homohabilis homoerectus homosapiens ตาม ประเด็นดังนี้  พัฒนาการทางกายภาพ  พัฒนาการด้านการดํารงชีพเช่น การหาอาหาร ภาษา ฯลฯ

26


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.