Course outline 2015 shared

Page 1

มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา ภาควิชาสังคมวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ หมวดที่ 1 ข้อมูลทัว ่ ไป 1. รหัสและชื่อรายวิชา 262121 มนุษย์กบ ั วัฒนธรรม (Human and Culture) 2. จานวนหน่วยกิต 3 หน่วยกิต (3-0-6) 3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา รายวิชาศึกษาทัว ่ ไป 4. อาจารย์ผู้รบ ั ผิดชอบรายวิชา คณาจารย์ภาควิชาสังคมวิทยา 5. ภาคการศึกษา / ชัน ้ ปีทเี่ รียน ภาคต้นและภาคปลาย ชั้นปีที่ 1-4 6. รายวิชาทีต ่ อ ้ งเรียนมาก่อน (pre-requisite) (ถ้ามี) ไม่มี 7. รายวิชาทีต ่ อ ้ งเรียนพร้อมกัน (co-requisites) (ถ้ามี) ไม่มี 8. สถานทีเ่ รียน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 9. วันทีจ ่ ด ั ทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครัง้ ล่าสุด กุมภาพันธ์ 2556


เน


๓ หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 1. จุดมุง่ หมายของรายวิชา - เพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้ที่มาของมนุษย์และกาเนิดของวัฒนธรรม - เพือ ่ ให้ผู้เรียนสามารถเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของ วัฒนธรรมต่างๆ ในสังคมซึง่ จะทาให้ ผู้เรียนเข้าใจถึงความหลากหลายและงดงามของวัฒนธรรมต่างๆ และเป็นการ ลดอคติทางวัฒนธรรม - เพื่อให้ผู้เรียนมีมุมมองที่กว้างขวางและเข้าใจเพื่อนมนุษย์ที่อาศัยอยู่ใน สังคมอื่นๆ อันจะทาให้ผู้เรียน สามารถดารงชีวิตอยูใ ่ นสังคมได้อย่างมีความสุข 2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ 1. คาอธิบายรายวิชา กาเนิดและการวิวฒ ั น์ของวัฒนธรรมมนุษย์ ความคิดเกีย ่ วกับวัฒนธรรม ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับวัฒนธรรม การจัดระเบียบสังคมและการขัด เกลาทางสังคม การเมือง กฎหมาย เศรษฐกิจ ภูมิหลังสังคมไทย การ ขัดแย้งทางวัฒนธรรม และการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม 2. จานวนชัว ่ โมงทีใ ่ ช้ตอ ่ ภาคการศึกษา บรรยาย

สอนเสริม

การฝึกปฏิบัต/ิ งานภาคสนาม/ การฝึกงาน

การศึกษาด้วย ตนเอง

3 ชั่วโมงต่อ สัปดาห์

ไม่มี

ไม่มี

6 ชั่วโมงต่อ สัปดาห์


๔ 3. จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการ แก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล - ตามตารางที่กาหนดในแต่ละภาคการศึกษา 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ - ตามการนัดหมายที่ตกลงร่วมกันระหว่างอาจารย์และนิสิต - จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ตลอดเวลา หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรูข ้ องนักศึกษา 1. คุณธรรม จริยธรรม 1.1 คุณธรรม จริยธรรมทีต ่ อ ้ งพัฒนา เคารพในระเบียบและกฎเกณฑ์ ขององค์กรและสังคม ใน ระดับชาติและนานาชาติ 1.2 วิธีการสอนทีจ ่ ะใช้พฒ ั นาการเรียนรู้ - การกาหนดข้อปฏิบัติและหลักเกณฑ์ในการเรียนการสอนร่วมกัน ระหว่างผูเ้ รียนและผู้สอน - การเรียนการสอนมีการสอดแทรกประเด็นคุณธรรมจริยธรรม - มอบหมายให้ทารายงานกลุ่มหรือรายงานเดี่ยว 1.3 วิธีการประเมินผล - ประเมินจากเวลาเข้าเรียนและมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน - ประเมินจากรายงานและการสอบระหว่างภาค/ปลายภาค - นิสิตไม่ทุจริตในการสอบ 2. ความรู้ 2.1 ความรู้ทจ ี่ ะได้รบ ั - เรียนรู้ที่มาของมนุษย์และกาเนิดของวัฒนธรรม - ความหมาย แนวคิด องค์ประกอบ และวัฒนธรรมของชาติพันธุ์ - เข้าใจสามารถวิเคราะห์หลักการของศาสตร์ในสาขาต่างๆ และ นามาใช้เป็นพื้นฐานในการดารงชีวิตอย่างมีประสิทธิภาพ 2.2 วิธีการสอน - การบรรยาย และการแสดงตัวอย่างกรณีศึกษา - การทากิจกรรม การอภิปรายประเด็นต่างๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง - การมอบหมายให้นิสิตศึกษาค้นคว้าทารายงาน และศึกษาค้นคว้า


๕ เอกสารเพิ่มเติมจากห้องสมุด 2.3 วิธีการประเมินผล - ประเมินจากการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน - ประเมินจากการสอบระหว่างภาค/ปลายภาค - ประเมินจากรายงานที่มอบหมายให้นส ิ ิต 3. ทักษะทางปัญญา 3.1 ทักษะทางปัญญาทีต ่ อ ้ งพัฒนา - สามารถเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของวัฒนธรรม ต่างๆ ในสังคมได้ - สามารถวิเคราะห์ปญ ั หาและผลกระทบการเปลีย ่ นแปลงทาง วัฒนธรรมในสังคมได้ - สามารถแก้ปัญหาได้ โดยนาหลักการต่างๆมาอ้างอิงได้อย่าง เหมาะสม 3.2 วิธีการสอน - การบรรยายและยกตัวอย่างกรณีศึกษา ประกอบการคิดวิเคราะห์ - การทารายงานกลุม ่ และรายงานเดี่ยว ตลอดจนการนาเสนอรายงาน - ร่วมวิพากษ์รายงาน 3.3 วิธีการประเมินผลทักษะทางปัญญาของนักศึกษา - ประเมินจากการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน - ประเมินจากคุณภาพของรายงาน และการนาเสนอรายงาน - ประเมินจากการวิพากษ์รายงาน - ประเมินจากการสอบระหว่างภาค/ปลายภาค 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบทีต ่ อ ้ งการ พัฒนา - การทางานร่วมกัน การยอมรับความคิดเห็นต่าง การแบ่งหน้าที่ ความรับผิดชอบ และกระบวนการทางานแบบมีส่วนร่วม - มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รบ ั มอบหมาย 4.2 วิธีการสอน มอบหมายให้ทากิจกรรมกลุ่มหรือการทารายงานกลุม ่


4.3 วิธีการประเมิน ประเมินจากการนาเสนองาน การตอบคาถาม เนื้อหา และการ วิจารณ์รายงาน ประเมินจากการตรงต่อเวลาในการส่งงาน นัดหมาย และการเข้า เรียน 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสือ ่ สาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ 5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศทีต ่ อ ้ งพัฒนา - สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเก็บรวบรวมข้อมูลและ นาเสนอ 5.2 วิธีการสอน - กาหนดและแนะนาให้นิสต ิ ค้นคว้าข้อมูลจากสารสนเทศรูปแบบ ต่างๆ 5.3 วิธีการประเมิน - ประเมินจากการใช้ภาษาในการนาเสนอรายงานและเนื้อหารายงาน ที่ถูกต้องและชัดเจน - ประเมินจากการอ้างอิงแหล่งสารสนเทศในรูปเล่มรายงาน และ ประเมินจากวิธีการเขียนที่สามารถสังเคราะห์ขอ ้ มูลจากสารสนเทศ รูปแบบต่างๆ

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 1. แผนการสอน สัปดา ห์ที่

หัวข้อ/รายละเอียด

จานว กิจกรรมการเรียน น การสอนและสือ ่ ที่ (ชัว ่ โม ใช้ ง)

ผู้สอน


1

2

แนะนาแนวทาง การศึกษาเกี่ยวกับ มนุษย์และวัฒนธรรม บทที่ 1 แนวคิด วิวฒ ั นาการมนุษย์ - กาเนิดมนุษย์ทาง กายภาพ

๗ 3

บรรยาย อธิบาย และแลกเปลี่ยน

3

บรรยาย อธิบาย แสดงตัวอย่าง และชมวีดิทัศน์

- การดารงชีพของ มนุษย์ บทที่ 2 แนวคิด วิวฒ ั นาการวัฒนธรรม

3-4

6

-ประเภท วัฒนธรรม

บทที่ 3 ทฤษฎีที่ เกีย ่ วข้องกับการศึกษา วัฒนธรรม 5-6

- ทฤษฎีหน้าที่นิยม - ทฤษฎีนเิ วศวิทยา วัฒนธรรม - ทฤษฎีแลกเปลี่ยน

- สืบค้นข้อมูล จาก แหล่งข้อมูล สารสนเทศ

คณาจารย์ภาค สังคมวิทยา

- วิเคราะห์และ ร่วมอภิปราย

-วัฒนธรรมใน สังคมไทย

- ทฤษฎีการ แพร่กระจาย

คณาจารย์ภาค สังคมวิทยา

- บรรยาย อธิบาย แสดงตัวอย่าง และชมวีดิทัศน์

-กาเนิดวัฒนธรรม -ความสัมพันธ์ ระหว่างมนุษย์กับ วัฒนธรรม

คณาจารย์ภาค สังคมวิทยา

6

-บรรยาย อธิบาย -แสดงตัวอย่าง และร่วมพูดคุย แสดงความ คิดเห็น

คณาจารย์ภาค สังคมวิทยา


7

บทที่ 4 ความ หลากหลายทาง วัฒนธรรมมนุษย์ - มนุษย์กับอาหาร - มนุษย์กับ เศรษฐกิจ - มนุษย์กับศาสนา - มนุษย์กับ การเมือง - วัฒนธรรม ครอบครัว (เครือ ญาติและการ แต่งงาน)

8

3

-บรรยาย อธิบาย -นาเสนอ รายงานและร่วม อภิปรายแสดง ความคิดเห็น

คณาจารย์ภาค สังคมวิทยา

สอบระหว่างภาค บทที่ 5 ชาติพน ั ธุ์ วรรณา

9-10

- ความหมายและ แนวคิดชาติพันธุ์ วรรณา - ความสัมพันธ์ ระหว่างชาติพันธุ์ วรรณากับสังคม - วัฒนธรรมคนชาย ขอบ

6

- บรรยาย อธิบาย -แสดงตัวอย่าง และชมวีดิทัศน์

คณาจารย์ภาค สังคมวิทยา


๙ บทที่ 6 แนวคิด วัฒนธรรมชุมชน 11-12 -

-ความหมายและ แนวคิดวัฒนธรรม ชุมชน

คณาจารย์ภาค สังคมวิทยา

-ความสาคัญของ วัฒนธรรมชุมชน กับสังคมไทย

บทที่ 7 การ เปลีย ่ นแปลงทาง วัฒนธรรม - วัฒนธรรมกับการ เปลี่ยนแปลงสังคม 13-14 - วัฒนธรรมใหม่กับ การเปลี่ยนแปลง ทางสังคม - ความสาคัญของ วัฒนธรรมกับการ พัฒนาสังคม

15-16

6

- บรรยาย อธิบาย - สืบค้นข้อมูลจาก แหล่งข้อมูล สารสนเทศ

บทที่ 8 สถานการณ์ การเปลีย ่ นแปลงทาง วัฒนธรรม นาเสนอรายงาน สถานการณ์ การ เปลี่ยนแปลงทาง วัฒนธรรม

17 รวม

บรรยาย อธิบาย แสดงตัวอย่าง คณาจารย์ภาค สังคมวิทยา

6

6

นาเสนอรายงาน อภิปรายวิพากษ์ และเสนอแนะ

สอบปลายภาค 45

คณาจารย์ภาค สังคมวิทยา


2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ ผลการ

วิธีการประเมิน

เรียนรู*้ 1,4

๑๐

การมีส่วนร่วมในการเรียน

1,2,3,4, รายงานเดี่ยว 5 1,2,3,4, รายงานกลุ่ม 5

1,2,3,4, สอบระหว่างภาค 5 1,2,3,4, สอบปลายภาค

สัปดาห์ที่ ประเมิน

สัดส่วนของการ ประเมิน

1-16

10 5

3-4 4,6-7,12,1516 8

35

17

25

5

25

*หมายเหตุ 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิง ตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 1. ตาราและเอกสารหลัก ยศ สันตสมบัต.ิ 2544. มนุษย์กบ ั วัฒนธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2. เอกสารและข้อมูลสาคัญ ยศ สันตสมบัต.ิ 2544. มนุษย์กบ ั วัฒนธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 3. เอกสารและข้อมูลแนะนา คณะกรรมการบริหารวิชาบูรณาการ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป. 2545. มนุษย์กบ ั สังคม. พิมพ์ครั้งที่ 4,


๑๑ สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ. คณาจารย์ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. 2544. สังคมและวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. งามพิศ สัตย์สงวน. 2536. หลักมานุษยวิทยาวัฒนธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ธรรมสภา. _______________. 2535. การวิจัยทางมานุษยวิทยา. กรุงเทพฯ : เต้าพระยา การพิมพ์. ณรงค์ เส็งประชา. 2541. มนุษย์กับสังคม. กรุงเทพฯ :สานักพิมพ์โอเดียนส โตร์. พัทยา สายหู. 2538. กลไกทางสังคม. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. นิยพรรณ (ผลวัฒนะ) วรรณศิร.ิ 2536. มานุษยวิทยาเศรษฐกิจ. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สหมิตรออฟเซต. _______________. 2540. มานุษยวิทยาวัฒนธรรม. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ. บุญเดิม พันรอบ. 2542. มนุษย์ สังคมและวัฒนธรรม. เอกสารประกอบการ สอน. ภาควิชาสังคมวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา 1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา ให้นิสต ิ ประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน การจัด กิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบ


๑๒ ต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง ผ่านระบบประเมินผลการเรียนของมหาวิทยาลัย 2. กลยุทธ์การประเมินการสอน ติดตามการประเมินผลการเรียนและข้อเสนอแนะของนิสิตจากระบบการ ประเมินผลการเรียนของมหาวิทยาลัย 3. การปรับปรุงการสอน ทบทวนการจัดการเรียนการสอนจากข้อมูลการประเมินผลการเรียนและ ข้อเสนอแนะของนิสิตจากระบบการประเมินผลการเรียนของมหาวิทยาลัย 4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา ทบทวนพฤติกรรม รายงาน และคะแนนสอบของผู้เรียน 5. การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิ ทธิผลของรายวิชา พิจารณาจากข้อมูลการประเมินผลการเรียนและข้อเสนอแนะของนิสิต


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.