KAI Portfolio
G
G
RAPHIC DESIGN
Leaflet
POP UP BOOK
LOGOS
ใช ได กับเครื่องคัดแยกจดหมาย
BOOK
Anthropometry of the Oriental eye
Less is More My Way
Araya Sangiemphong Mankind differ from one another by their ethnic appearance. There are two ways in which we can identify the differences in race and ethnicity by our human physical characteristics : 1. Anthropometry – by metrical characters that we can measure e.g. facial angles, intercanthal distances, etc. 2. Anthroposcopy – by non metrical or invisible characters that we can see e.g. skin tone, hair colour, etc.
Anthropometry of the Oriental eye
The Short Incision Technique for Oriental Upper Blepharoplasty
Metrical characters 1. Internal interorbital width 2. External interorbital (transorbital) width Internal interorbital width is measured from the inner corner of both eyes. The index value of the internal interorbital width found in Orientals is less than in Causcasians, and less in women than in men. External interorbital width is measured from the outer corner of both eyes with the subject looking straight and slightly up.
Edited by Dr. Choladhis Sinrachtanant & Dr. Gordon Soo
4
5
20
22
Complete Epicanthic Fold Normal Oriental Eye
(or Mongolian Fold) 2. Adson forceps, fine teeth
13. Small Metzenbaum scissors, straight, sharp 12. Small Metzenbaum scissors, curved, sharp
3. Adson forceps, delicate teeth
11. Curved clamp
4. Adson forceps, non tooth
Fold of skin hangs over free edge of entire upper lid and concealing it.
1.Toothpick
10. Westcott scissors
After surgery 1 day 9. Castroviejo needle holder, straight tip
5. Bard Parker knife, blade no.11
6. Ruler
7. Calipers 8. Castroviejo needle holder, curved tip
Before surgery
26
28
108
79
Anthropometric Analysis of Thai Nose
Nasal Physiology for Rhinoplasty Perapun Jareoncharsri
Kritsada Kowitwibool
Introduction Physiologic functions of the nose are respiration, filtration, humidification, heating, protection and self-cleaning, olfaction, phonation and secondary sexual organ. Rhinoplastic surgeons should concern not only the aesthetic aspect of the nose but also the functional aspect as well. Thus, the in-depth understanding of the various physiological functions of the nose is of paramount important. The most important physiologic function is the regulation of the inhaled airflow and nasal airway resistance. If this function is disturbed by the patients’ anatomical abnormalities or by surgical procedures, the nasal obstructive symptoms will certainly be complained by patients. Other basic physiologic functions of the nose are discussed in greater details in various textbooks.
Rhinoplasty is one of the most popular procedures in facial plastic surgical operations. Majority of Rhinoplasty in Asian is augmented rhinoplasty. Clearly understand in anatomical structures of Asian nose will create favorable outcomes from rhinoplasty procedure. Nose is the structure located in central of face. It has relation to all aesthetic facial unit. Minimal change in nasal profile create more changing in facial profile. Optimum proportion of nasal length is one-third of facial height and one-fifth of facial wide.
2
3
Type A: Bulbous nasal tip, Alar lobule rounding off, broad alar base and wide angle between tip and alar. Type B: Prominent tip, less prominent alar lobule and narrow angle between tip and alar. Type C: Less prominent alar, near linear line from tip to alar at basal view. Clearly understanding in Asian nasal proportion, differentiation in race appearance will create favorable plans and outcomes of rhinoplasty.
Nasal Airflow On inspiration, air is inhaled into the nose by negative pressure (pressure gradient between external nares and nasopharynx), at the point 1.5-2 cm from the nasal ala (external valve) the air flow converges to pass through the nasal valve (internal valve), it then curves in a parabolic fashion (30 to 60 degrees from initial direction). The flow passes mainly through the middle meatus area above the inferior turbinate, lesser flow passes along the floor of nasal cavity and inferior meatus and the narrow superior part. The flow then bends into the nasopharynx, pharynx, larynx into the trachea. On expiration, the air flow entering the choana passing upward through the nasal cavity in similar reverse fashion and exits through the nostrils. There are 2 types of nasal airflow, laminar and turbulent. The velocity and direction of laminar flow is rather constant and regular in contrast to the turbulent one which is an irregular current flow of varying in speed and direction. The increase turbulent flow may result in decreasing
1
1. Leptorrhine nose : Caucasian nose, long columella and narrow alar base. 2. Mesorrhine nose : Asian nose, between Caucasian nose and African nose. 3. Platyrrhine nose : African nose, wide alar base and decrease nasal tip Nasal Imagings from basal view classified oriental nose into three subgroups depend on nasal tip, alar shape and angle between tip and alar.
Type C
South East Asian
Far East Asian
Middle East Asian
Nasal Imagings from basal view
18
17
11
Alar plasty
Surgical equipments in Rhinoplasty
Saranchai Kiatsurayanon
The most frequently performed facial plastic surgery is rhinoplasty which can correct a wide variety of nose problems such as a bump on the nasal bridge, broard nostrils and much more. This article will explain how alar plasty, one of the rhinoplasty procedures,can correct the nostrils size
Pakpoom Supiyaphun Woraya kattipattanapong
Alar base is important for the elegance of the nose. Even if most parts of the nose are well augmented or reconstructed, the wide alar base could make the nose look imperfect. Also, one of the complaints that most of the rhinoplastic patients have after the procedures is their alar bases are too wide.
Freer Septum Elevator Right and Left Curved Guarded Chisels
The alar base is composed of complex three dimension components, which is the area that nostrils are connected to the face (figure 1): 1. Alar insertion 2. Nasal sill 3. Columella
Aufricht Nasal Retractor Nasal/Prosthesis Introducer
Metzenbaum Scissors
Clamp Bayonet Forceps
Chisel
Adson Forceps
Grasping Forceps
Mallet Scalpel Nasal Rasp
Fig.1The nasal base has three components that may cause a broad nasal base: • Alar base (A), • Nostril sill (S), • Columellar base (CB).
Nasal Speculum Needle Holder Rigid Telescope
Single hook
Cottle Septum Elevator Double Hook
Suction
There are two surgical procedures that can reduce the width of the base 1. Wedge excision (figure 2) which is the removal of the tissue of the alar base. this will reduce the width of the alar base without changing the size of the nostrils
Fig.2 : Wedge excision
108
16
Type B
Race has more influence in nasal profiles. Caucasian nose has long nasal length, prominent nasal tip projection and narrow alar base. Oriental and Thai nose profiles are low nasal bridge, low height, low tip projection bulbous nasal tip and broad alar bases. Short columella, narrow nasofacial angle and narrow nasolabial angle when compare with caucasian nose From Basal
Normal nasal airflow
10
Type A
22
131
South Asian
ANNUAL
REPORT
ห ลั ก ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ท รั พ ย า ก ร นำ้ อ ย า ง ย่ั ง ยื น ต า ม ก ร ะ แ ส พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ 7ประการ
3
2
8
สารบญ ั
10
ทำเนยีบผบูรหิาร
27
ภาพรวมองคกร
45
นโยบายการบรหิารจดัการนำ้ และอทุกภยั
63
สรปุผลการดำเนนิงาน ในรอบป 2556
92 106 6
การบรหิารจดัการนา้ํ
27 28 30 35
ความเปนมาของ สบอช. อำนาจหนาท่ี โครงสรางองคกร โครงสรางการปฏบิตังิานของ สอบช.
46 แผนแมบทการบรหิารจดัการนำ้ 54 แผนงานหลกั
สรปุภาพรวมแผนปฏบิตักิารและเบกิจาย งบประมาณประจำป พ.ศ. 2557 ของสำนกังานนโยบายและบรหิารจดัการนา้ํ และอทุกภยัแหงชาติ
ระเบยีบสำนกันายกรฐัมนตรี วาดวยการบรหิารจดัการนา้ํ และอทุกภยัแหงชาติ พ.ศ. 2555
7
ทำเนยีบผบูรหิาร
นายสุพจน โตวิจักษณชัยกุล
รองปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และรักษาการเลขาธิการสำานักงานนโยบายและบริหารจัดการนำาและอุทกภัยแหงชาติ (สบอช.)
10
11
2
3
ภารกิจดานการสงเสริม อุปถัมภ และคุมครองพระพุทธศานา
สารบัญ
à¾×è;Ѳ¹Ò¤ÇÒÁÃÙŒ¤Ù‹¤Ø³¸ÃÃÁ
3 5 6
1 2 ´ŒÒ¹¡ÒÃÈÒʹÈÖ¡ÉÒ
´ŒÒ¹¡Òû¡¤Ãͧ ¤³Ðʧ¦
3 4 ´ŒÒ¹¡ÒÃÊÒ¸Òóٻ¡ÒÃ
´ŒÒ¹¡ÒÃà¼ÂἋ ¾Ãоط¸ÈÒʹÒ
40
5 6 ´ŒÒ¹¡ÒÃÊÒ¸Òóʧà¤ÃÒÐË
´ŒÒ¹¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ Ê§à¤ÃÒÐË
ÊÒüٌÍӹǡÒÃÊӹѡ§Ò¹¾Ãоط¸ÈÒʹÒáË‹§ªÒµÔ º·ÊÃØ»¼ÙŒºÃÔËÒà ¼ÙŒºÃÔËÒà ʋǹ·Õè 1 ¢ŒÍÁÙÅÀÒ¾ÃÇÁ¢Í§Ë¹‹Ç§ҹ 1. º·ºÒ·Ë¹ŒÒ·Õè 2. ·Ôȷҧͧ¤ ¡Ã 3. â¤Ã§ÊÌҧͧ¤ ¡ÃáÅкؤÅÒ¡Ã 4. §º»ÃÐÁÒ³
1. กลุมตรวจสอบภายใน มีหนาที่หลักในการตรวจสอบ การดำเนิ น งานภายในสำนั ก งาน และสนับสนุนการปฏิบตั งิ านของสำนักงาน รับผิดชอบงาน ขึ้นตรงตอผูอำนวยการ โดยมีอำนาจหนาที่ ดังตอไปนี้ (1) ดำเนินการเกี่ยวกับ การตรวจสอบดานการบริหาร การเงิน และการบัญชีของสำนักงาน (2) ปฏิบัติงานรวมกับหรือ สนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงาน อื่นที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับ มอบหมาย
ʋǹ·Õè 2 ¼Å¡Òû¯ÔºÑµÔÃÒª¡Òà 1. ¼Å¡Òû¯ÔºÑµÔÃÒª¡Òà µÒÁ¤ÓÃѺÃͧ¡Òû¯ÔºÑµÔÃÒª¡Òà »ÃШӻ‚§º»ÃÐÁÒ³ ¾.È. 2558 2. ¼Å¡Òû¯ÔºÑµÔÃÒª¡Òà ·ÕèÊÍ´¤ÅŒÍ§¡Ñº¼Å¼ÅÔµ µÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞѵԧº»ÃÐÁÒ³ÃÒ¨‹Ò »ÃШӻ‚§º»ÃÐÁÒ³ ¾.È. 2558 3. ¼Å¡Òû¯ÔºÑµÔÃÒª¡Ò÷ÕèÊÓ¤ÑÞ
2. กลุมพัฒนาระบบบริหาร มีหนาที่หลัก ในการพัฒนาการบริหาร ของสำนั ก งานให เ กิ ด ผลสั ม ฤทธิ ์ มีประสิทธิภาพและคุมคารับผิดชอบงาน ขึ้นตรงตอผูอำนวยการ มีอัตรากำลัง โดยมีอำนาจหนาทีด่ ังตอไปนี้ (1) เสนอแนะและให คำปรึ ก ษาแก ผ ู อ ำนวยการเกี ่ ย วกั บ ยุ ท ธศาสตร ก ารพั ฒ นาระบบราชการ ภายในสำนักงาน (2) ติดตาม ประเมินผล และจั ด ทำรายงานเกี ่ ย วกั บ การพั ฒ นา ระบบราชการภายในสำนักงาน (3) ประสานและดำเนินการ เกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการรวมกับ หนวยงานกลางตาง ๆ และสวนราชการ ในสำนักงาน (4) ปฏิบัติงานรวมกับหรือ สนับสนุนการปฏิบตั งิ านของหนวยงานอืน่ ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับ มอบหมาย
ʋǹ·Õè 3 ÃÒ§ҹ·Ò§¡ÒÃà§Ô¹ 1. §ºáÊ´§°Ò¹Ð¡ÒÃà§Ô¹ 2 §ºÃÒÂä´ŒáÅФ‹Ò㪌¨‹Ò 3. ÇÔà¤ÃÒË §ºáÊ´§°Ò¹Ð¡ÒÃà§Ô¹ 4. §ºáÊ´§¼Å¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹·Ò§¡ÒÃà§Ô¹ ʋǹ·Õè 4 àÃ×èͧÍ×è¹ æ 1. »ÃÐÁÇÅÀÒ¾¡Ô¨¡ÃÃÁ 2. ʶԵԷÕèÊÓ¤ÑÞ
3. ศูนยปฏิบัติการตอตาน การทุจริต มีหนาทีห่ ลัก ในการบูรณาการ และขับเคลื่อนแผนการปองกันและปราบ ปรามการทุจริต และการสงเสริม คุม ครอง จริยธรรมในสำนักงาน รับผิดชอบงาน ขึน้ ตรงตอผูอ ำนวยการ โดยมีอำนาจหนาที่ ดังตอไปนี้ (1) เสนอแนะแกผอู ำนวยการ เกี ่ ย วกั บ การป อ งกั น และปราบปราม การทุจริตและประพฤติมิชอบ ของ สวนราชการในสำนักงาน รวมทั้งจัดทำ แผนปฏิบัติการปองกันและปราบปราม การทุจริตและ ประพฤติมิชอบของ สวนราชการใหสอดคลองกับยุทธศาสตร ชาติวาดวยการปองกันและปราบปราม การทุจริต มาตรการปองกันและปราบปราม การทุจริตภาครัฐ และนโยบายของรัฐบาล ที่เกี่ยวของ เสนอตอผูอำนวยการ (2) ประสานงาน เรงรัด และกำกับใหสวนราชการในสำนักงาน ดำเนินการตามแผนปฏิบัติ การปองกัน และปราบปรามการทุจริตและประพฤติมชิ อบ ของสวนราชการ (3) รับขอรองเรียน เรื่องการทุจริต การปฏิบัติหรือละเวน การปฏิบตั หิ นาทีโ่ ดยมิชอบของ เจาหนาที่ ในสำนักงาน และสงตอไปยังสวนราชการ และหนวยงานที่เกี่ยวของ (4) คุมครองจริยธรรม ตามประมวลจริยธรรมขาราชการพลเรือน
4. สำนักงานเลขานุการกรม มีอำนาจหนาที่ดังตอไปนี้ (1) ดำเนินการเกี่ยวกับงาน บริหารทัว่ ไปและปฏิบตั งิ านสารบรรณของ สำนักงาน (2) ดำเนินการเกี่ยวกับงาน ชวยอำนวยการและงานเลขานุการของ สำนักงาน (3) ประชาสัมพันธการปฏิบตั ิ ราชการของสำนักงาน และเผยแพร กิจกรรมความกาวหนา ในงานดานตาง ๆ ของสำนักงาน (4) ดำเนินการเกี่ยวกับ การเงิน การบัญชี การงบประมาณ การพัสดุ อาคารสถานที่และยานพาหนะ ของสำนักงาน (5) จัดระบบงานและบริหาร งานทรัพยากรบุคคลของสำนักงาน (6) ดำเนินการเกี่ยวกับงาน กฎหมายและระเบียบ งานนิติกรรม และสัญญางานเกี่ยวกับความรับผิดใน ทางแพง อาญา งานคดีปกครอง และงานคดี อื่นที่อยูในอำนาจหนาที่ของสำนักงาน (7) จัดทำและประสานแผน ปฏิบัติงานของสำนักงานใหสอดคลองกับ นโยบายและแผนแมบท การสงเสริม กิจการพระพุทธศาสนา ตั้งและจัดสรร งบประมาณศาสนสมบัตกิ ลาง ดำเนินการ เกี่ยวกับงานโครงการพิเศษ งานความ รวมมือกับตางประเทศ รวมทั้งเรงรัด
(5) ประสานงาน เรงรัด และติ ด ตามเกี ่ ย วกั บ การดำเนิ น การ ตาม (3) และ (4) และ รวมมือในการ ปองกันและปราบปรามการทุจริตและ ประพฤติ ม ิ ช อบกั บ ส ว นราชการและ หนวยงานที่เกี่ยวของ (6) ติดตาม ประเมินผล และจัดทำรายงานการปองกันและปราบ ปรามการทุจริตและ ประพฤติมิชอบของ สวนราชการในสำนักงานและการคุม ครอง จริยธรรม เสนอตอผูอำนวยการและ หนวยงานที่เกี่ยวของ (7) ปฏิบัติงานรวมกับหรือ สนับสนุนการปฏิบตั งิ านของหนวยงานอืน่ ที่เกี่ยวของ หรือที่ไดรับ มอบหมาย
ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงาน ตามแผนงานและโครงการของหนวยงาน ในสังกัด (8) จัดระบบการจัดเก็บ การประมวล และการใชประโยชนขอมูล ของหนวยงานในสังกัด และเปนศูนยขอ มูล ของสำนักงาน (9) ดำเนินการงานรับ เรือ่ งราวรองทุกขและงานประสานราชการ (10) ปฏิบัติงานรวมกับ หรือสนับสนุนการปฏิบตั งิ านของหนวยงาน อื่นที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
5
4
วิสัยทัศน สำนักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ เปนองคกรหลัก ในการขับเคลื่อนพระพุทธศาสนาใหมีความมั่นคงยั่งยืน และสังคมมีความสุขดวยหลักพุทธธรรม
วิสัยทัศน สำนักงาน พระพุทธศาสนา แหงชาต
สวนที่ 1
พันธกิจ
ภาพรวมของสำนักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ
พันธกิจ
1. เสริมสรางใหสถาบันและกิจการทางพระพุทธศาสนา มีความมั่นคงยั่งยืน 2. สนับสนุนสงเสริมและจัดการการศึกษาสงฆ และการเผยแผ พระพุทธศาสนาเพื่อพัฒนาใหมีความรูคูคุณธรรม 3. จัดการศึกษาสงฆเพื่อผลิต และพัฒนาศาสนทายาท ที่เปยมปญญาพุทธธรรมเผยแผทำนุบำรุง พระพุทธศาสนาใหเจริญงอกงาม และรวมสรางสังคม พุทธธรรมที่มีความเขมแข็ง 4. ดำเนินการใหประเทศไทยเปนศูนยกลางทางพระพุทธศาสนาโลก 5. พัฒนาการดูแลรักษาและจัดการศาสนสมบัติ ใหเปนประโยชนตอพระพุทธศาสนาและสังคม
º·ºÒ·Ë¹ŒÒ·Õè ·Ôȷҧͧ¤ ¡Ã â¤Ã§ÊÌҧͧ¤ ¡ÃáÅкؤÅÒ¡Ã §º»ÃÐÁÒ³
ยุทธศาสตร
ยุทธศาสตร์ :
เพื่อใหสามารถบรรลุเปาหมายตามพันธกิจ จึงไดกำหนดยุทธศาสตร 6 ยุทธศาสตร
ยุทธศาสตรที่ 1 การเสริมสรางเอกภาพใหกับสถาบันและกิจการทางพระพุทธศาสนาอยางเปนระบบ ยุทธศาสตรที่ 2 การสงเสริมการพัฒนาระบบการศึกษาสงฆ และการเผยแผพระพุทธศาสนา อยางเปนระบบและครบวงจร ยุทธศาสตรที่ 3 การเสริมสรางความเขมแข็งใหกับศาสนทายาท ยุทธศาสตรที่ 4 การเสริมสรางศักยภาพใหประเทศไทยเปนศูนยกลางทางพระพุทธศาสนาโลก ยุทธศาสตรที่ 5 การพัฒนานโยบายและเสริมสรางศักยภาพระบบบริหารจัดการศาสนสมบัติ ยุทธศาสตรที่ 6 การเสริมสรางความเขมแข็งใหกับขาราชการสำนักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ ใหเปนมืออาชีพ
6
7
กลยุทธ
ÀÒáԨ µÒÁ·Õè¡®ËÁÒ ¡Ó˹´ สำนักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ เปนสวนราชการไมสังกัดสำนัก นายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง โดยขึ้นตรงกับนายกรัฐมนตรี มีภารกิจเกี่ยวกับ การดำเนินงานสนองงานคณะสงฆและรัฐ โดยการทำนุบำรุงสงเสริมกิจการ พระพุทธศาสนา ใหการอุปถัมภ คุมครอง และสงเสริม พัฒนางานพระพุทธศาสนา ดูแล รักษา จัดการศาสนสมบัตพิ ฒ ั นาพุทธมณฑลใหเปนศูนยกลางทางพระพุทธศาสนา รวมทั้งใหการสนับสนุนสงเสริม พัฒนาบุคลากรทางพระพุทธศาสนา โดยมี อำนาจหนาที่ดังตอไปนี้ 1. ดำเนินการตามกฎหมายวาดวยการคณะสงฆ กฎหมายวาดวย การกำหนดวิ ท ยฐานะของผู ส ำเร็ จ วิ ช าการพระพุ ท ธศาสนา รวมทั้งกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของ 2. รับสนองงาน ประสานงาน และถวายการสนับสนุนกิจการ และการบริหาร การปกครอง คณะสงฆ 3. เสนอแนวทางการกำหนดนโยบายและมาตรการในการคุ ม ครอง พระพุทธศาสนา 4. สงเสริม ดูแล รักษา และทำนุบำรุงศาสนสถานและศาสนวัตถุ ทางพระพุทธศาสนา 5. ดูแล รักษา และจัดการวัดรางและศาสนสมบัติกลาง 6. พัฒนาพุทธมณฑลใหเปนศูนยกลางทางพระพุทธศาสนา 7. ทำนุบำรุงพุทธศาสนศึกษา เพื่อพัฒนาความรูคูคุณธรรม 8. สนั บ สนุ น และส ง เสริ ม การเผยแผ พ ระพุ ท ธศาสนาทั ้ ง ในประเทศ และตางประเทศ รวมทั้งการเปนศูนยกลางพระพุทธศาสนาโลก 9.ปฏิ บ ั ต ิ ก ารอื ่ น ใดตามที ่ ก ฎหมายกำหนดให เ ป น อำนาจหน า ที ่ ของสำนักงานหรือนายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย
GOAL
การแบงงานและการกำหนดหนาที่ความรับผิดชอบของราชการสวนกลาง และราชการสวนภูมิภาค เปน สำนัก/สำนักงาน/กอง/สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด และหนวยงานขึ้นตรงกับหัวหนาสวนราชการ ในสำนักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ มีดังตอไปนี้ ¡. ÃÒª¡ÒúÃÔËÒÃʋǹ¡ÅÒ§ »ÃСͺ´ŒÇÂ
วางระบบการจัดการศึกษา และเพิม ่ ทักษะใหพระสงฆ สามารถเผยแผพระพุทธศาสนา ไดอยางมีประสิทธิภาพ
2
9
Êӹѡ§Ò¹ ¾Ø·¸Á³±Å
8
3
Èٹ »¯ÔºÑµÔ¡Òà µ‹ÍµŒÒ¹¡Ò÷بÃÔµ
4
Êӹѡ§Ò¹ àŢҹءÒáÃÁ
6 7
¡Í§Ê‹§àÊÃÔÁ§Ò¹à¼ÂἋ ¾Ãоط¸ÈÒʹÒ
7
5 6 ¡Í§¾Ø·¸ÈÒʹʶҹ
¡Í§¾Ø·¸ÈÒʹÈÖ¡ÉÒ
สนับสนุนใหบค ุ ลากรของ สำนักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ นำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสือ ่ สาร มาใชในการปฏิบต ั ง ิ านเพิม ่ ขึน ้
5 พัฒนาบุคลากร สำนักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ อยางเปนระบบและตอเนือ ่ ง
จัดทำแผนแมบท เพือ ่ พัฒนาให ประเทศไทย เปนศูนยกลาง ทางพระพุทธศาสนา ระดับโลก
สงเสริมสนับสนุนใหคณะสงฆ พัฒนาและเพิม ่ มูลคา ศาสนสมบัติ เพือ ่ ใหเกิดประโยชนสง ู สุดตอกิจการ ดานพระพุทธศาสนา
7
3
ประชาชนทุกเพศทุกวัยไดเขาถึงหลักธรรม ทางพระพุทธศาสนาสามารถนำไปพัฒนา คุณภาพชีวต ิ ใหดข ี น ้ึ ทำใหสง ั คมมีความสุข ดวยหลักพุทธธรรม
4
เพิม ่ ศาสนทายาทเพือ ่ สืบสาน พุทธศาสนาใหเกิดความมัน ่ คง และยัง ่ ยืน
5
ใหประเทศไทยเปนศูนยกลาง ดานวิชาการและกิจกรรม ดานพระพุทธศาสนาในระดับโลก
6
เพิม ่ มูลคาศาสนสมบัติ ใหเกิดประโยชนตอ พระพุทธศาสนา อยางสูงสุด
สถาบันพระพุทธศาสนา มีความมัน ่ คงและยัง ่ ยืน
2
¡ÅØ‹Á¾Ñ²¹ÒÃкººÃÔËÒÃ
4 Êӹѡ§Ò¹ ÈÒʹÊÁºÑµÔ
1
พระสงฆมค ี วามรูใ นหลักธรรม อยางลึกซึง ้ และสามารถเผยแผ หลักธรรมไดอยางถูกตอง และมีความทันสมัยรวมทัง ้ มีความรูเ รือ ่ งสังคม ความเปลีย ่ นแปลง ของสังคมในทุกมิติ
3
1
1 10
พัฒนาระบบ การสรางศาสนทายาท ใหมค ี วามเหมาะสม กับสถานการณสง ั คม และสภาพแวดลอมทีเ่ ปลีย ่ นไป
จัดทำแผนแมบทดานพระพุทธศาสนา ทีเ่ ชือ ่ มโยงทัง ้ ในระดับชาติ ภูมภ ิ าค ทองถิน ่ และระดับโลก
¡ÅØ‹ÁµÃǨÊͺÀÒÂã¹
ÊӹѡàÅ¢Ò¸Ô¡ÒÃÁËÒà¶ÃÊÁÒ¤Á
2
เปาประสงค
STRATEGY
จัดระบบองคกร สำนักงาน พระพุทธศาสนาแหงชาติ ใหเปนกลไกในการขับเคลือ ่ น ใหพระพุทธศาสนามัน ่ คง ยัง ่ ยืนและสังคมมีความรู ดวยหลักพุทธธรรม
คานิยม
CORE VALUE
สงเสริมพุทธธรรมนำชีวิต มุงผลสัมฤทธิ์ของงาน มีจิตบริการ ประสานสามัคคี สงเสริมพุทธธรรมนำชีวิต หมายถึง การสนับสนุน สงเสริมการนำหลักธรรมทาง พระพุทธศาสนามาประยุกตใชในชีวิตประจำวันอยางมีความสุขชุมชนเขมแข็ง กอใหเกิดสังคมคุณธรรม มุงผลสัมฤทธิ์ของงาน หมายถึง ปฏิบัติหนาที่อยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ดำเนินงานใหแลวเสร็จตามวัตถุประสงคและใชทรัพยากรอยางคุมคา มีจิตบริการ หมายถึง เขาใจความตองการของผูรับบริการอยางถูกตอง และรวดเร็วใหบริการและชวยเหลือผูรับบริการดวยความยิ้มแยมแจมใส และกระตือรือรนตอการตอบสนองความตองการของผูรับบริการ ประสานสามัคคี หมายถึง เคารพผูรวมงาน ชวยเหลือเกื้อกูลกัน ไมแบงพรรคแบงพวกและเสียสละเพื่อประโยชนสวนรวม
- สารจากผอ ู านวยการสำ ำ านก ั งานพระพท ุ ธศาสนาแหง ชาติ 9 - บทสรป ุ สาำหรบ ั ผบ ู รห ิ าร 11 - คณะผบ ู รห ิ าร 12
2
- ภาพรวมของสำานก ั งานพระพท ุ ธศาสนาแหง ชาติ 29
การสง เสรม ิ การพฒ ั นาระบบการศก ึ ษาสงฆ และการเผยแผพ ระพท ุ ธศาสนา อยางเปน ระบบและครบวงจร
- อำานาจหนาที 30 - โครงสรางองคก รและบค ุ ลากร 31 - วส ิ ย ั ทศ ั น พน ั ธกจ ิ ยท ุ ธศาสตร 32
1
3
การเสรม ิ สรางเอกภาพใหก บ ั สถาบน ั และกจ ิ การทางพระพท ุ ธศาสนา อยางเปน ระบบ
การเสรม ิ สราง ความเขม แขง ็ ใหก บ ั ศาสนทายาท
การดาํเนน ิ งาน ตามแผนยท ุ ธศาสตร
6
การเสรม ิ สรางความเขม แขง ็ ใหก บ ั ขาราชการ ุ ธศาสนาแหง ชาตใิหเปน มอ ื อาชพ ี สาํนก ั งานพระพท
ดาน
- กรอบอต ั ราตามโครงสราง 34 - ผลการปฏบ ิ ต ั ริาชการ ประจาำปง ี บประมาณ 2559 41
1
สำนก ั ง นศ สนสมบต ั ิ 1. นายอน ิ ทพร จน ั เอย ี ม ผอ ู ำนวยก รสำนก ั ง นศ สนสมบต ั ิ
ยท ุ ธศาสตรท ี 1 - การเสรม ิ สรางเอกภาพใหก บ ั สถาบน ั และกจ ิ การทางพระพท ุ ธศาสนาอยางเปน ็ ระบบ 43 ยท ุ ธศาสตรท ี 2 ุ ธศาสนาอยางเปน ็ ระบบและครบวงจร 50 - การสง เสรม ิ การพฒ ั นาระบบการศก ึ ษาสงฆและการเผยแผพ ระพท
การเสรม ิ สรางศก ั ยภาพ ใหป ระเทศไทยเปน ศน ู ยก ลาง ทางพระพท ุ ธศาสนาโลก
ยท ุ ธศาสตรท ี 3 - การเสรม ิ สรางความเขม แขง ็ ใหก บ ั ศาสนทายาท 55 ยท ุ ธศาสตรท ี 4 - การเสรม ิ สรางศก ั ยภาพใหป ระเทศไทยเปน ็ ศน ู ยก ลางพระพท ุ ธศาสนาโลก 62 ยท ุ ธศาสตรท ี 5 - การพฒ ั นานโยบายและเสรม ิ สรางศก ั ยภาพระบบบรห ิ ารจด ั การศาสนสถานและศาสนสมบต ั ิ 64
6
การพฒ ั นานโยบาย และเสรม ิ สรางศก ั ยภาพ ระบบบรห ิ ารจด ั การศาสนสถานและศาสนสมบต ั ิ
ยท ุ ธศาสตรท ี 6 - การเสรม ิ สรางความเขม แขง ็ ใหก บ ั ขาราชการสาำนก ั งานพระพท ุ ธศาสนาแหง ชาติ ใหเปน ็ มอ ื อาชพ ี 72
4
ั ษาศล ี 5” 88 - โครงการสรางความปรองดองสมานฉน ั ท โดยใชห ลก ั ธรรมทางพระพท ุ ธศาสนา “หมบ ู านรก - โครงการโดดเดน ของสาำนก ั งานพระพท ุ ธศาสนาจง ั หวด ั 98 - โครงการทรีว มดำาเนน ิ การกบ ั ภาคเีครอ ื ขาย 11 โครงการ 109 - รายงานทางการเงน ิ 119
5
ANNUAL REPORT
งานพระพท ุ ธศาสนาแหง ชาติ 2016 OFFICE OF NATIONAL BUDDHISM
AW 1-39 (NUI).indd 6
กองพท ุ ธศ สนศก ึ ษ 1. นายบญ ุ เลศ ิ โสภา ผอ ู ำนวยก รกองพท ุ ธศ สนศก ึ ษ
1
ANNUAL REPORT
7/10/2560 BE 11:39 AM
งานพระพท ุ ธศาสนาแหง ชาติ 2016 OFFICE OF NATIONAL BUDDHISM
AW 1-39_1 (NUI).indd 7
ANNUAL REPORT
9/18/2560 BE 11:20 AM
งานพระพท ุ ธศาสนาแหง ชาติ 2016 OFFICE OF NATIONAL BUDDHISM
ANNUAL REPORT
AW 1-39 (NUI).indd 8
7/11/2560 BE 9:48 AM
งานพระพท ุ ธศาสนาแหง ชาติ 2016 OFFICE OF NATIONAL BUDDHISM
AW 1-39 (NUI).indd 15
7/11/2560 BE 9:48 AM
แผนภม ู แิสดงความเชอ ื มโยงของ สำานก ั งานพระพท ุ ธศาสนาแหง ชาติ
พน ั ธกจ ิ
วส ิ ย ั ทศ ั น
เปน องคก รหลก ั ในการขบ ั เคลอ ื นพระพท ุ ธศาสนา ใหม ค ี วามมน ั คงยง ั ยน ื และสง ั คมมค ี วามสข ุ ดว ยหลก ั พท ุ ธธรรม
1
• • • •
ทศ ิ ทางองคก ร
2. สนบ ั สนน ุ สง เสรม ิ และจด ั การการศก ึ ษาสงฆ และการเผยแผ พระพท ุ ธศาสนา เพอ ื พฒ ั นาใหม ค ี วามรู คค ู ณ ุ ธรรม
2. การสง เสรม ิ การพฒ ั นาระบบ การศก ึ ษาสงฆ และการเผยแผ พระพท ุ ธศาสนา อยางเปน ระบบ และครบวงจร
4. ดำเนน ิ การ ใหป ระเทศไทย เปน ศน ู ยก ลาง ทางพระพท ุ ธศาสนาโลก
โครงสรางองคก รและบค ุ ลากร
ั ษา 5. พฒ ั นาการดแูลรก และจด ั การศาสนสมบต ั ิ ใหเปน ประโยชนต อ พระพท ุ ธศาสนาและสง ั คม พระพท ุ ธศาสนาโลก
คานย ิ มองคก ร
3. การเสรม ิ สราง ความเขม แขง ็ ใหก บ ั ศาสนทายาท 4. การเสรม ิ สราง ศก ั ยภาพใหป ระเทศไทย เปน ศน ู ยก ลาง ทางพระพท ุ ธศาสนาโลก 5. การพฒ ั นานโยบาย และเสรม ิ สราง ศก ั ยภาพ ระบบบรห ิ ารจด ั การ ศาสนสมบต ั ิ 6. การเสรม ิ สราง ความเขม แขง ็ ใหก บ ั ขาราชการ สำนก ั งาน พระพท ุ ธศาสนา แหง ชาตใิหเปน มอ ื อาชพ ี
ANNUAL REPORT
งานพระพท ุ ธศาสนาแหง ชาติ 2016 OFFICE OF NATIONAL BUDDHISM
ANNUAL REPORT
7/11/2560 BE 9:49 AM
AW 1-39 (NUI).indd 29
งานพระพท ุ ธศาสนาแหง ชาติ 2016 OFFICE OF NATIONAL BUDDHISM
AW 1-39 (NUI).indd 32
22 . . พระสงฆม ค ี วามรู ในหลก ั ธรรมอยางลก ึ ซง ึ และสามารถเผยแผ และสามารถเผยแผ หลก ั ธรรมไดอ ยาง ถก ู ตอ งและมค ี วาม ทน ั สมย ั รวมทง ั มค ี วามรเูรอ ื งสง ั คม 33 . . ประชาชนทก ุ เพศทก ุ วย ั ไดเขาถง ึ หลก ั ธรรม ทางพระพท ุ ธศาสนา สามารถนำไปพฒ ั นา คณ ุ ภาพชว ี ต ิ ใหด ข ี น ึ 44 . . เพม ิ ศาสนทายาท เพอ ื สบ ื สานพท ุ ธศาสนา ใหเกด ิ ความมน ั คง และยง ั ยน ื 55 . . ใหป ระเทศไทย เปน ศน ู ยก ลาง ดานวช ิ าการ และกจ ิ กรรม ดานพระพท ุ ธศาสนา ในระดบ ั โลก
77 . . จด ั ระบบองคก ร สำนก ั งาน พระพท ุ ธศาสนา แหง ชาตใิหเปน กลไกในการขบ ั เคลอ ื น ใหพ ระพท ุ ธศาสนา มน ั คง ยง ั ยน ื และสง ั คมมค ี วามรู ดว ยหลก ั พท ุ ธธรรม
ANNUAL REPORT
7/11/2560 BE 9:49 AM
11 . . สถาบน ั พระพท ุ ธศาสนา มค ี วามมน ั คงและยง ั ยน ื
66 . . เพม ิ มล ู คา ศาสนสมบต ั ิ ใหเกด ิ ประโยชน ตอ พระพท ุ ธศาสนา อยางสง ู สด ุ
สง เสรม ิ พท ุ ธธรรมนำชว ี ต ิ มง ุ ผลสม ั ฤทธข ิ องงาน มจ ี ต ิ บรก ิ าร ประสานสามค ั คี
AW 1-39 (NUI).indd 28
ตว ั ชว ี ด ั / เปาหมาย
เปาประสงค
1. การเสรม ิ สรางเอกภาพ ใหก บ ั สถาบน ั และกจ ิ การ ทางพระพท ุ ธศาสนา อยางเปน ระบบ
3. จด ั การศก ึ ษาสงฆ เพอ ื ผลต ิ และพฒ ั นา ศาสนทายาท ทเีปย มปญ ญา พท ุ ธธรรม เผยแผท ำนบ ุ ำรง ุ พระพท ุ ธศาสนา ใหเจรญ ิ งอกงาม และรว มสรางสง ั คม พท ุ ธธรรม ทม ี ค ี วามเขม แขง ็
ภาพรวมของสำานก ั งานพระพท ุ ธศาสนาแหง ชาติ
ยท ุ ธศาสตร
1. เสรม ิ สรางใหส ถาบน ั และกจ ิ การ ทางพระพท ุ ธศาสนา มค ี วามมน ั คงยง ั ยน ื
2016 OFFICE OF NATIONAL BUDDHISM
กลยท ุ ธ
เชง ิ ปรม ิ าณ
-
จำนวนวด ั ทไีดรบ ั การบรูณ ปฏส ิ ง ั ขรณและพฒ ั นา จำนวนพระสง ั ฆาธก ิ ารทไีดรบ ั การอป ุ ถม ั ภ จำนวนพระสง ั ฆาธก ิ ารทไีดรบ ั การพฒ ั นา
เชง ิ คณ ุ ภาพ
-
วด ั ทไีดรบ ั การบรูณปฏส ิ ง ั ขรณ และพฒ ั นาไมน อ ยกวารอ ยละ พระสง ั ฆาธก ิ ารไดรบ ั การอป ุ ถม ั ภ และพฒ ั นาไมน อ ยกวารอ ยละ
เชง ิ ปรม ิ าณ
-
จำนวนประชาชนทไีดรบ ั การปฏบ ิ ต ั ธ ิ รรม จำนวนพระสงฆท ไีดรบ ั การอบรมดานการ เผยแผ
เชง ิ คณ ุ ภาพ
-
ประชาชนไดรบ ั ความรู ในหลก ั ธรรมไมน อ ยกวารอ ยละ พระสงฆท ไีดรบ ั การอบรม ดานการเผยแผม ค ี วามรู ไมน อ ยกวารอ ยละ
เชง ิ ปรม ิ าณ
-
-
จำนวนประชาชน ทเีขารบ ั การศก ึ ษาพระปรย ิ ต ั ธ ิ รรม จำนวนพระภก ิ ษุ สามเณร ทเีขารบ ั การศก ึ ษา พระปรย ิ ต ั ธ ิ รรม
เชง ิ คณ ุ ภาพ
-
บค ุ ลากรดานศาสนา ทม ี ค ี วามรด ู านพระศาสนา ไมน อ ยกวารอ ยละ ประชาชนทม ี ค ี วามรู ดานพระศาสนาไมน อ ยกวา รอ ยละ
เชง ิ ปรม ิ าณ
-
จำนวนพระภก ิ ษ-ุ สามเณร ทไีดรบ ั การสนบ ั สนน ุ การศก ึ ษา โดยไมเสย ี คาใชจ ายเปน รายรป ู
เชง ิ คณ ุ ภาพ
-
ผป ู กครองสามารถ ลดคาใชจ ายดานการศก ึ ษา ของพระภก ิ ษุ สามเณร รอ ยละ
AW 1-39 (NUI).indd 33
2. วางระบบการจด ั การศก ึ ษาและเพม ิ ทก ั ษะ ใหพ ระสงฆ สามารถ เผยแผพ ระพท ุ ธศาสนา ไดอ ยางมป ี ระสท ิ ธภ ิ าพ 3. พฒ ั นาระบบ การสรางศาสนทายาท ใหม ค ี วามเหมาะสม กบ ั สถานการณส ง ั คม และสภาพแวดลอ ม ทเีปลย ี นไป 4. จด ั ทำแผนแมบ ท เพอ ื พฒ ั นาให ประเทศไทย เปน ศน ู ยก ลาง ทางพระพท ุ ธศาสนา ระดบ ั โลก 5. สง เสรม ิ สนบ ั สนน ุ ใหค ณะสงฆพ ฒ ั นา และเพม ิ มล ู คา ศาสนสมบต ั ิ เพอ ื ใหเกด ิ ประโยชน สง ู สด ุ ตอ กจ ิ การ ดานพระพท ุ ธศาสนา 6. พฒ ั นาบค ุ ลากร สำนก ั งาน พระพท ุ ธศาสนา แหง ชาติ อยางเปน ระบบ และตอ เนอ ื ง
ผลผลต ิ / กจ ิ กรรม
ผลผลต ิ ที 1.
พระพท ุ ธศาสนาไดรบ ั การ ทำนบ ุ ำรง ุ สง เสรม ิ
กจ ิ กรรม :
-
การบรูณะพฒ ั นาวด ั และดแูล ทำนบ ุ ำรง ุ ศาสนสถาน และศาสนวต ั ถุ สง เสรม ิ อป ุ ถม ั ภและพฒ ั นา คณะสงฆ การจด ั การศาสนสมบต ั ิ
ผลผลต ิ ที 2.
พระพท ุ ธศาสนาไดรบ ั การสง เสรม ิ และเผยแผ
กจ ิ กรรม :
-
พฒ ั นาพท ุ ธมณฑลใหเปน ศน ู ยก ารเรย ี นรแูละดำเนน ิ กจ ิ กรรม ทางพระพท ุ ธศาสนา การเผยแผพ ระพท ุ ธศาสนา
ผลผลต ิ ที 3.
ผไูดรบ ั การศก ึ ษาพระปรย ิ ต ั ธ ิ รรม
กจ ิ กรรม :
-
การจด ั การศก ึ ษาพระปรย ิ ต ั ธ ิ รรม แผนกสามญ ั ศก ึ ษา การจด ั การศก ึ ษาพระปรย ิ ต ั ธ ิ รรม แผนกธรรม-บาลี
โครงการ 1
โครงการสนบ ั สนน ุ คาใชจ าย ในการจด ั การศก ึ ษาตง ั แต ระดบ ั อนบ ุ าลจนจบการศก ึ ษา ขน ั พน ื ฐาน
กจ ิ กรรม :
-
การจด ั การศก ึ ษาพระปรย ิ ต ั ธ ิ รรม แผนกสามญ ั ศก ึ ษา
โครงการ 2
โครงการจด ั การเรย ี นการสอน โดยใชค อมพว ิ เตอรพ กพา
โครงการ 3
โครงการสง เสรม ิ ความมน ั คง ของสถาบน ั พระพท ุ ธศาสนา ในจง ั หวด ั ชายแดนภาคใต
7. สนบ ั สนน ุ ใหบ ค ุ ลากร ของสำนก ั งาน พระพท ุ ธศาสนา แหง ชาติ นำระบบ เทคโนโลยส ี ารสนเทศ และการสอ ื สาร มาใช ในการปฏบ ิ ต ั ง ิ านเพม ิ ขน ึ
ANNUAL REPORT
7/11/2560 BE 9:49 AM
1. จด ั ทำแผนแมบ ท ดานพระพท ุ ธศาสนา ั ชาติ ทเีชอ ื มโยงทง ั ในระดบ ภม ู ภ ิ าค ทอ งถน ิ และระดบ ั โลก
2016 OFFICE OF NATIONAL BUDDHISM
7/11/2560 BE 9:49 AM
MENU
POSTER
&
¡ÒèѴÊÑÁÁ¹ÒÇÔªÒ¡ÒôŒÒ¹»ÃÐÁ§ áÅСÒÃà¾ÒÐàÅÕé§ÊÑµÇ ¹íéÒ¹Ò¹ÒªÒµÔ ¤ÃÑ駷Õè
ññ
ASEAN Seafood for the World Hosted ¨Ñ´â´Â¡ÃÁ»ÃÐÁ§ ¡ÃзÃǧà¡ÉµÃáÅÐÊˡó 4-6 ÊÔ§ËÒ¤Á 2559 ³ Èٹ ¹Ô·ÃÃÈ¡ÒÃáÅСÒûÃЪØÁäºà·¤ ºÒ§¹Ò ¡Ãا෾Ï
ASEAN Seafood for the World Hosted by Department of Fisheries, Thailand 4 - 6 August 2016 at Bangkok International Trade & Exhibition Centre (BITEC), Bangkok, Thailand
ASEAN ASEAN
SEAFOOD SEAFOOD for for
WORLD
the
WORLD
the
วิถีชีวิตและการจัดการทรัพยากรปาไม บานหวยจะกือและบานหวยปลาหลด อำเภอแมสอด จังหวัดตาก
Livelihood and Forest Resource Management in Ban Huaijakue and Ban Huaiplalod Village, Mae Sot District, Tak Province
ณภาภัช พาศิริ ธนารดี คำยา และ วิพักตร จินตนา สาขาวิชาการใชที่ดินและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน โครงการสหวิทยาการระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิสัยทัศน สำนักงาน พระพุทธศาสนา แหงชาติ พันธกิจ
คานิยม
สำนักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ National Office of Buddhism http:/www.onab.go.th
วิสัยทัศน l Vision สำนักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติเปนองคกรหลัก ในการขับเคลื่อนพระพุทธศาสนา ใหมีความมั่นคงยั่งยืน และสังคมมีความสุขดวยหลักพุทธธรรม
พันธกิจ l Mission 1. เสริมสรางใหสถาบันและกิจการทางพระพุทธศาสนา มีความมั่นคงยั่งยืน 2. สนับสนุนสงเสริมและจัดการการศึกษาสงฆ และการเผยแผ พระพุทธศาสนาเพื่อพัฒนาใหมีความรูคูคุณธรรม 3. จัดการศึกษาสงฆเพื่อผลิต และพัฒนาศาสนทายาท ที่เปยมปญญาพุทธธรรม เผยแผทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา ใหเจริญงอกงาม และรวมสรางสังคมพุทธธรรม ที่มีความเขมแข็ง 4. ดำเนินการใหประเทศไทยเปนศูนยกลาง ทางพระพุทธศาสนาโลก 5. พัฒนาการดูแลรักษาและจัดการศาสนสมบัติ ใหเปนประโยชนตอพระพุทธศาสนาและสังคม
คานิยม l Values l l l l
สงเสริมพุทธธรรมนําชีวิต มุงผลสัมฤทธิ์ของงาน มีจิตบริการ ประสานสามัคคี นายพนม ศรศิลป ผูอำนวยการสำนักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ
วิถีชีวิตและการจัดการทรัพยากรปาไม บานหวยจะกือ และบานหวยปลาหลด อำเภอแมสอด จังหวัดตาก
และสถาบันศาสนาและสถาบันการศึกษา โดยใชแนวคำถามขอมูลเชิงลึก (3) สำรวจพืน้ ทีภ่ าคสนาม สังเกตและสำรวจภาคสนาม วิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติเชิงพรรณนา และวิเคราะหขอมูลเชิง เนื้อหา
ณภาภัช พาศิร1ิ ธนารดี คำยา2 และ วิพักตร จินตนา3
5. สรุปและอภิปรายผลการวิจัย 1. การใชและการจัดการทรัพยากรปาไม รูปแบบการใชและการจัดการทรัพยากรปาไมในอดีต หรือชาวกะเหรี่ยงและมูเซอใชปา เปนปจจัย 4 ในการดำรงชีวติ ทำมาหากินโดยการปลูกขาวไร และพืชผักในแปลงขาว เชน พริก เผือก ถั่ว เปนตน เก็บหาของปา ลาสัตวเพื่อยังชีพ มีการทำไรหมุนเวียน และไรเลื่อนลอย ไมมีกรรมสิทธิ์ ถือครองที่ดิน ชาวมูเซอปลูกฝนเพื่อเสพและคาขาย ในปจจุบันชาวกะเหรี่ยงปลูกขาวโพดในไร หมุนเวียนและชาวมูเซอปลูกพืชผักตามฤดูกาลในพื้นที่ใกลรองน้ำ และเลิกปลูกฝน ทั้ง 2 กลุมมีการ แบงพื้นที่การใชประโยชนที่ดินเปน 6 ประเภท ไดแก (1) ปาอนุรักษ ปาที่ไมมีการใชประโยชน เนื่องจากเปนเทือกเขาสูงชัน (2) ปาชุมชน เปนปาที่ชาวบานอนุรักษไว แตสามารถใชประโยชนได (3) ปาใชประโยชนสำหรับเก็บหาผลผลิตได (4) ที่ทำกิน ไรหมุนเวียนและแปลงพืชผัก (5) ที่อยูอาศัย และ (6) ปาชา สถานทีส่ ำหรับประกอบพิธกี รรมซึง่ ทัง้ หมดนีเ้ ปนการแบงประเภทพืน้ ทีต่ ามวัตถุประสงค การใชประโยชนจากปา
Livelihood and Forest Resources Management in Ban Huaijakue and Ban Huaiplalod, Mae sot, Tak
1 สาขาวิชาการใชที่ดินและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน โครงการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน โทรศัพท 02-942-8932 E-mail: napapat@haii.or.th 2 สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน โทรศัพท 02-561-3480 E-mail: fsoctnk@ku.ac.th 3 สาขาวิชาการจัดการปาไม คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน โทรศัพท 02-579-0170 E-mail: fforvij@ku.ac.th บทคัดยอ การศึกษานี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการจัดการทรัพยากรปาไม และศึกษาความสัมพันธ ของวิถชี วี ติ ของชาวบานตอการจัดการทรัพยากรปาไมของบานหวยจะกือ (ชาวกะเหรีย่ ง) และบานหวย ปลาหลด (ชาวมูเซอ) อำเภอแมสอด จังหวัดตาก ที่มีปจจัยดานทุนทางสังคมและกลไกการตลาด เขามาเกี่ยวของ วิธีการศึกษาประกอบดวยการสำรวจครัวเรือน การสัมภาษณผูใหขอมูลหลัก และสำรวจพื้นที่ภาคสนาม ผลการศึกษาพบวา (1) บานหวยจะกือ และบานหวยปลาหลด มีวิถีชีวิต ทีแ่ ตกตางกัน กลาวคือ บานหวยจะกือปลูกขาวโพด และบานหวยปลาหลดปลูกพืชผักตามฤดูกาล (2) วิถชี วี ติ เปนตัวกำหนดการจัดการทรัพยากรปาไมโดยผานทุนทางสังคม เชน ความเขมแข็งของผูน ำชุมชน ประเพณีวัฒนธรรม ความเชื่อ กฎเกณฑ การรวมกลุมทางสังคม และการมีสวนรวมของชุมชน และกลไกการตลาด เชน การซื้อขายผลผลิต ผูรับซื้อสินคา ตนทุนการผลิต และความเปนเจาของ กระบวนการผลิต เมือ่ นำทุนทางสังคมและกลไกการตลาดมาเชือ่ มโยงเขาดวยกัน สามารถนำไปสูก ารจัดการ ทรัพยากรปาไมที่มีประสิทธิภาพ คำสำคัญ: วิถีชีวิต, ทุนทางสังคม, การจัดการทรัพยากรปาไม Abstract The purposes of this study were to examine the forest resources management and the relations between the livelihood and forest resources management of Ban Huaijakue, Karen ethnic minority and Ban Huaiplalod, Muser ethnic minority, Mae Sot District, Tak Province where the social capital and market dynamic were involved. The methodology of this study consisted of household survey, key informants interviews and field survey. The result showed that (1) Ban Huaijakue and Ban Huaiplalod had different in the livelihood. Ban Huaijakue grew corn, while Ban Huaiplalod grew the seasonal vegetables. (2) The livelihood of the villagers determines forest resources management through social capital such as the strength of community leaders, culture, belief, regulations, social groups, community participations and market dynamic. The market dynamic included the product trading, middlemen, cost of production and ownership of production process. The good combination of social capital and market dynamic could be lead to the efficient forest resources management. Keyword: Livelihood, Social capital, Forest resources management 1. ความเปนมาและความสำคัญของงานวิจัย หลังจากที่ประเทศไทยใหความสำคัญตอการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยมีการกำหนดแผนพัฒนา เศรษฐกิจแหงชาติฉบับที่ 1 ในปพ.ศ. 2501 รัฐบาลจึงไดเริ่มตระหนักถึงความสำคัญของการสงวน และคุมครองรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ในสมัยรัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต เห็นชอบใหมีประกาศ พระราชบัญญัตอิ ทุ ยานแหงชาติ พ.ศ.2504 กลุมชาติพันธุชาวเขาเปนกลุมคนที่มีวิถีชีวิตแบบพึ่งพาอาศัยทรัพยากรปาไมและใชปาเปน แหลงปจจัยในการดำรงชีวติ อยางไรก็ตามชาวเขาไดใชทรัพยากรปาไมอยางสิน้ เปลือง ทำการเกษตร แบบหักรางถางพง เคลือ่ นยายพืน้ ทีเ่ พาะปลูกพืชไร และมีวฒ ั นธรรมประเพณีใหลกู หลานมีทด่ี นิ ทำกิน จึงเกิดแผวถางขยายอาณาเขตปาไปเรื่อยๆ ปาจึงลดจำนวนลง ขาดความอุดมสมบูรณ และยังสงผล ใหเกิดปญหาน้ำแลงเนื่องจากปาเสื่อมโทรม ในป พ.ศ. 2524 กรมปาไมประกาศจัดตัง้ อุทยานแหงชาติตน กระบากใหญ ตามพระราชบัญญัติ อุทยานแหงชาติ ป พ.ศ.2504 ครอบคลุมทองที่ตำบลพะวอ ตำบลดานแมละเมา อำเภอแมสอด จังหวัดตาก ขนาดเนื้อที่ 93,125 ตารางกิโลเมตร หรือ 58.2 ลานไร ตอมาไดเปลี่ยนชื่อเปน อุทยานแหงชาติตากสินมหาราช ภายในอุทยาน ฯ มีกลุมชาติพันธุชาวเขาที่อาศัยอยูกอนมาเปนเวลานาน พื้นที่ดังกลาวไดถูกกำหนดเปนปา อนุรกั ษ อยางไรก็ตาม ในสมัยนายคึกฤทธิ์ ปราโมทย เปนนายกรัฐมนตรี ไดมคี วามพยายามแกไขปญหา เรื่องคนอยูในเขตปาอนุรักษ อนุโลมใหชาวบานอยูทำกินตอไปได ดังนั้นชาวเขาจึงตองปรับเปลี่ยน วิถีชีวิตและวิธีการใชทรัพยากรปาไมเพื่อรักษาความยั่งยืนของระบบนิเวศ จากการตรวจเอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วของพบวา วิถชี วี ติ ของผูค นโดยเฉพาะกลุม ชาติพนั ธุ มีความเกีย่ วของผูกพันกับการใชทรัพยากรธรรมชาติ รวมถึงทรัพยากรปาไมดว ย ผูศ กึ ษาตองการทีจ่ ะ ศึกษาวามีปจจัยอื่นๆที่เกี่ยวของกับวิถีชีวิตและการใชและการจัดการทรัพยากรปาไมหรือไม ซึ่งมีสมมติฐานที่เกี่ยวของคือ ทุนทางสังคมและกลไกการตลาด กลาวคือวิถีชีวิตที่แตกตางกัน มีผลตอการใชและการจัดการทรัพยากรปาไมที่ไดรับการเปลี่ยนแปลงจากทุนทางสังคมและกลไกกา รตลาดที่ตางกัน ทำใหเห็นศักยภาพของการใชและการจัดการทรัพยากรปาไมที่ชัดเจนยิ่งขึ้น การศึกษาครั้งนี้มุงใหความสนใจเกี่ยวกับวิถีชีวิต การใชและการจัดการทรัพยากรปาไมของชาวเขา 2 กลุมคือ เผากะเหรี่ยง บานหวยจะกือ และเผามูเซอ บานหวยปลาหลด ซึ่งเปนชาวเขาที่เปน กลุมหลักในอุทยานแหงชาติตากสินมหาราช ซึ่งผลการศึกษาจะนำไปสูการจัดการทรัพยากรปาไม ที่ยั่งยืนและมีประสิทธิภาพตอไป 2. วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาการใชและการจัดการทรัพยากรปาไมของกลุมชาติพันธุชาวกะเหรี่ยง บานหวยจะกือ และชาวมูเซอบานหวยปลาหลด อำเภอแมสอด จังหวัดตาก 2. เพื่อศึกษาความสัมพันธของวิถีชีวิตของชาวบานตอการใชและการจัดการทรัพยากร ปาไมของกลุมชาติพันธุชาวกะเหรี่ยงบานหวยจะกือ และชาวมูเซอบานหวยปลาหลด อำเภอแมสอด จังหวัดตาก 3. ขอบเขตของการวิจัย ศึกษาการใชและการจัดการทรัพยากรปาไม วิถชี วี ติ ความเปนอยู และแนวคิดที่มีผลตอ การดำรงชีวิตของชาวบาน ในพื้นที่หมูบานหวยจะกือ หมู 6และหมูบานหวยปลาหลด หมู 8 ตำบล ดานแมละเมา อำเภอแมสอด จังหวัดตาก 4. วิธีดำเนินการวิจัย ใชวิธีสำรวจขอมูล 3 แบบคือ (1) สำรวจครัวเรือนโดยกำหนดกลุมตัวอยางแบบเจาะจง จากชาวบานทีอ่ ยูอ าศัยในชุมชน 50 ป ขึน้ ไป จำนวนหมูบ า นละ 30 คน 2 หมูบ า น รวม 60 คน โดยใช แบบสัมภาษณกง่ึ โครงสราง (2) สัมภาษณผใู หขอ มูลหลัก ไดแก ผูน ำชุมชน, ชาวบาน, หนวยงานราชการ
มูเซอ สงขายที่อำเภอเมือง จังหวัดตาก และสงขายที่จังหวัดกำแพงเพชร สุโขทัย อุตรดิตถโดยที่ ชาวมูเซอเปนผูก ำหนดราคาผลผลิตโดยอิงราคาตามตลาดหรือตามฤดูกาล ชาวมูเซอจึงมีความเปนเจาของ กระบวนการผลิตมาก เมือ่ วิเคราะหการใชและการจัดการทรัพยากรปาไม และความสัมพันธของวิถชี วี ติ ตอการจัดการ ทรัพยากรปาไมของชาวกะเหรี่ยงบานหวยจะกือ และชาวมูเซอบานหวยปลาหลด พบวา วิถีชีวิต และการจัดการทรัพยากรปาไมของทั้ง 2 บานมีความแตกตางกัน จากการที่ชาวกะเหรี่ยงมีการปลูก ขาวโพด ผูนำชุมชนมุงใหความสำคัญกับการเติบโตทางเศรษฐกิจ กฎเกณฑของชุมชนไมเอื้อตอการ จัดการทรัพยากรปาไมที่มีประสิทธิภาพ และชาวบานไมมีการรวมกลุมทางสังคม ชาวกะเหรี่ยงจึงมี ทุนทางสังคมที่ไมเขมแข็ง ประกอบกับดานกลไกการตลาดที่มีความเปนเจาของในกระบวนการ ผลิตนอย อีกทัง้ มีตน ทุนในการผลิตสูง จึงขาดอำนาจในกลไกการตลาด นำไปสูก ารใชและการจัดการ ทรัพยากรปาไมที่มีความเปราะบางและไมยั่งยืน ในขณะที่ชาวมูเซอมีอาชีพหลักคือปลูกพืชผักตาม ฤดูกาล ผูนำชุมชนใหความสำคัญกับการอนุรักษปา มีกฎเกณฑการใชประโยชนปา และจัดตั้ง กลุม ทางสังคม จึงมีทนุ ทางสังคมทีเ่ ขมแข็ง ดานกลไกการตลาด มีความเปนเจาของกระบวนการผลิต ตนทุนในการผลิตต่ำ และยังมีวิสาหกิจชุมชนรองรับ จึงนำไปสูการใชและการจัดการทรัพยากร ปาไมที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน
สภาพปาบานหวยจะกือ
ดานการใชผลผลิตจากปาของชาวกะเหรี่ยงและมูเซอแบงประเภทพืชเปน 3 ประเภท คือ พืชเศรษฐกิจ พืชใชสอย และพืชอาหาร พบวาชาวกะเหรี่ยงและมูเซอมีสัดสวนการเก็บหา พืชเศรษฐกิจมากที่สุด ไดแก เมล็ดกาแฟที่เก็บจากในปา โดยชาวกะเหรี่ยงมีสัดสวนการเก็บหาพืช เศรษฐกิจ รอยละ 80 ชาวมูเซอมีสัดสวนการเก็บหาพืชเศรษฐกิจ รอยละ 75.74 ทั้ง 2 กลุมมี สัดสวนการใชพืชเศรษฐกิจในระดับมากเนื่องจากผลผลิตจากปาเปนแหลงรายไดที่สำคัญ สัดสวน การเก็บหาพืชใชสอย ไดแก ไมไผ หวาย ไมฟน เปนตน ชาวกะเหรี่ยงมีสัดสวนรอยละ 11 ชาวมูเซอ มีสัดสวนรอยละ 22.75 ชาวมูเซอมีสัดสวนการเก็บหาพืชใชสอยมากกวาเนื่องจากในชวงเทศกาล เชน วันปใหมมเู ซอ ชาวมูเซอมักจะตอเติมบานและซอมแซมขาวของเครือ่ งใช หรือการประกอบพิธกี รรม ตางๆ จะตองใชไมฟนจำนวนมาก สัดสวนการเก็บหาพืชอาหาร ไดแก ผักปาชนิดตางๆ เชน ผักกูด ผักหวานปา หัวตาว ยอดสะบา หนอหวาย เปนตน ชาวกะเหรีย่ งมีสดั สวนรอยละ 5 ชาวมูเซอมี สัดสวนรอยละ 1.5 ชาวมูเซอมีสดั สวนการเก็บหาพืชอาหารนอยกวาชาวกะเหรี่ยงเนื่องจากบริโภค ผลผลิตจากแปลงพืชผักตามฤดูกาลของตนเองเสียสวนใหญ ดานกิจกรรมฟนฟูปา 2544 กะเหรี่ยงและมูเซอมีกิจกรรมปลูกปา ทำฝายชะลอน้ำ และทำ แนวกันไฟตามลำดับโดยมีสัดสวนการทำกิจกรรมที่ใกลเคียงกัน โดยสัดสวนของกิจกรรมฟนฟูปา ของชาวกระเหรี่ยงมากที่สุดคือ ปลูกปา รอยละ 52 รองลงมาคือทำฝายชะลอน้ำ รอยละ 25 สวนชาวมูเซอมีการปลูกปารอยละ 58.33 รองลงมาคือทำฝายชะลอน้ำ รอยละ 25 ผูนำกิจกรรม ฟนฟูปา ชาวกะเหรี่ยงรวมกิจกรรมกับเจาหนาที่อุทยานมากที่สุด รอยละ 71.88 รองลงมาคือผูนำ ชุมชน โดยจัดกิจกรรมเฉลี่ยปละ 1 ครั้ง โดยเฉพาะชวงวันสำคัญ เชน วันเฉลิมพระชนมพรรษา ชาวมูเซอรวมกิจกรรมกับผูนำชุมชนมากที่สุด รอยละ 42.59 โดยจัดกิจกรรมเฉลี่ยปละ 2-3 ครั้ง 2. ความสัมพันธของวิถีชีวิตตอการใชและการจัดการทรัพยากรปาไม วิถชี วี ติ ของ 2 หมูบ า นมีความแตกตางกัน กลาวคือการประกอบอาชีพหลักของชาวกะเหรีย่ ง และมูเซอคือปลูกขาวไรโดยทุกครัวเรือนจะปลูกขาวไรเพือ่ เก็บไวบริโภคตลอดทัง้ ป สำหรับพืชชนิดอืน่ นั้นชาวกะเหรี่ยงมีการปลูกขาวโพด รอยละ 76.67 มีรายไดเฉลี่ยปละ 60,000 บาทตอครัวเรือน ในขณะทีร่ อ ยละ 60 ของชาวมูเซอปลูกพืชผักตามฤดูกาลมีรายไดเฉลีย่ ปละ 240,000 บาทตอครัวเรือน อาชีพรองของชาวกะเหรีย่ งมากทีส่ ดุ คือ เก็บเมล็ดกาแฟสัดสวนรอยละ 77 รองลงมาคือรับซือ้ ผลผลิต รอยละ 9.5 ในขณะทีช่ าวมูเซอเก็บเมล็ดกาแฟขาย สัดสวนรอยละ 46.7 รองลงมาคือ เก็บของปาขาย รอยละ 35 ทั้งนี้การเก็บเมล็ดกาแฟขายเปนแหลงรายไดสำคัญรองจากการปลูกขาวโพดและพืชผัก ตามฤดูกาล สำหรับประเพณีและความเชือ่ ทีม่ อี ทิ ธิพลตอวิถชี วี ติ ชาวกะเหรีย่ งและมูเซอนับถือศาสนาพุทธ และนับถือผี เขารวมพิธกี รรมประเพณีทเ่ี กีย่ วของกับปาไมทกุ ครัง้ เพือ่ เปนสัญลักษณและการแสดงออก ถึงการขอใชและขอบคุณธรรมชาติทใ่ี หใชทรัพยากรธรรมชาติ แสดงใหเห็นวาทัง้ 2 กลุม มีความผูกพัน ตอความเชื่อและประเพณีที่แนนแฟน เมื่อพิจารณาถึงทุนทางสังคม การศึกษาครั้งนี้พบวา ชาวมูเซอมีกฎเกณฑการใชประโยชน ที่ดิน โดยกำหนดกติกาการใชประโยชนปา 5 ประเภท ไดแก (1) ปาใชประโยชน คือปาที่สามารถ เก็บหาของปาได ชาวบานชวยกันรับผิดชอบดูแล ปลูกเสริมและชวยปองกันไฟปา (2) ปาอนุรักษ ชาวบานตองชวยกันฟนฟูปาเชนทำฝายชะลอน้ำ ปลูกปาใหเปนตนน้ำอันอุดมสมบูรณ (3) ปาชุมชน คือปาที่ตองอนุรักษไว แตสามารถใชประโยชนจากเนื้อไมได โดยจะตองไดรับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการหมูบาน (4) พื้นที่ทำกิน หามขยายอาณาเขตพื้นที่ หามทำไรในพื้นที่ตนน้ำ หามปลูก สรางสิง่ กอสรางใดๆ และ (5) ปาชา สถานทีป่ ระกอบพิธกี รรม หามตัดไมหรือทำไร อนุโลมใหเก็บหา ของปาได ดังทีก่ ลาวมานีเ้ ปนการกำหนดกฎเกณฑโดยผูน ำชุมชน ประกอบดวยผูใ หญบา นและพระสงฆ การมีกฎเกณฑการใชทรัพยากรปาไมทช่ี ดั เจนแสดงถึงความตองการทีจ่ ะอนุรกั ษและจัดการทรัพยากร ปาไมใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพของผูนำชุมชน ในขณะที่ชาวกะเหรี่ยงไมมีการกำหนดกฎเกณฑ การใชที่ดินที่ชัดเจน
แหลงรองรับผลผลิต
อิทธิพลของกลุมทางสังคมที่มีผลตอแนวคิดและแนวทางการดำเนินชีวิต ดานนโยบายของ ผูนำชุมชนของชาวกะเหรี่ยงที่เปนประโยชนตอชาวบาน ชาวกะเหรี่ยงใหความเห็นวา ผูนำชุมชน ใหกูยืมเงินและวัตถุดิบการเกษตรไดแก เมล็ดพันธุขาวโพด และปุยเคมี แสดงใหเห็นการมุงเนนเรื่อง การคาขาย และการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของผูนำชุมชน และชาวบานก็ไดรับอิทธิพล เรื่องกระแสการคาขาย สวนชาวมูเซอ ผูนำชุมชนมีนโยบายจัดตั้งกลุมสหกรณการเกษตรหมูบาน เพื่อสนับสนุนใหเกษตรกรที่มีทุนทรัพยนอยไดซื้อสินคาเกษตรราคายอมเยา สมาชิกสหกรณ สามารถออมเงินได และมีเงินปนผลทุกๆป และสงเสริมงานอนุรักษและฟนฟูปาไมอยางสม่ำเสมอ แสดงถึงการใหความสำคัญกับการเพาะปลูกที่ไมทำลายปา และสงเสริมใหชาวบานชวยกันอนุรักษ และฟนฟูทรัพยากรปาไม ดานกระบวนผลิตและขาย ชาวกะเหรี่ยงมีผลผลิตไดแก ขาวโพด เมล็ดกาแฟ และของปา โดยเปนผูผลิตอยางเดียว มีตนทุนในการผลิตสูง เนื่องจากมีคาใชจายของเมล็ดพันธุและปุยเคมี แหลงรองรับผลผลิตคือผูรับซื้อผลผลิตในหมูบาน หากเปนของปาชาวมูเซอจะมารับซื้อถึงที่ หรือชาวกะเหรี่ยงจะนำไปสงใหถึงหมูบานชาวมูเซอ สวนขาวโพด ผูรับซื้อผลผลิตจะสงไปยังโกดัง ในอำเภอเมือง จังหวัดตาก ชาวกะเหรี่ยงจึงมีความเปนเจาของการผลิตนอย สวนชาวมูเซอมีผลผลิต ไดแก พืชผักตามฤดูกาล เมล็ดกาแฟ และของปา โดยเปนทัง้ ผูผ ลิต ผูข าย โดยมีตน ทุนในการผลิตต่ำ เนื่องจากไมตองใชปุยเคมี ชาวมูเซอเปนผูกระจายสินคาไปยังแหลงตางๆ ไดแก ตลาดสินคาเกษตร
สภาพปาบานหวยปลาหลด
6. ขอเสนอแนะและการนำไปใชประโยชน 1. จากอดีตถึงปจจุบัน วิถีชีวิตของกลุมชาติพันธุชาวเขามีความเกี่ยวของผูกพันกับทรัพยากรปาไมอยางแนนแฟน ในการ จัดการพื้นที่ปาอนุรักษของหนวยงานรัฐ จำเปนตองไดรับความรวมมือจากชาวบานที่อยูรวมกับปา การสรางความรูสึกเปนเจาของและการมีสวนรวมในการอนุรักษ จะนำไปสูการจัดการทรัพยากร ปาไมที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน ทั้งนี้การมีความสัมพันธที่ดีระหวางเจาหนาที่รัฐกับชาวบาน จะสามารถทำใหการจัดการทรัพยากรปาไมเปนไปไดดวยดีมากยิ่งขึ้น 2. การสงเสริมการทำมาหาเลี้ยงชีพของกลุมชาติพันธุชาวเขาของหนวยงานตางๆ ในดานของการสงเสริมการเพาะปลูกนั้น การสงเสริมเรื่องแหลงรองรับผลผลิตและการสรางอาชีพ เปนเรื่องที่ไมควรมองขาม เมื่อมีผลผลิตจากชุมชน ถายเทและกระจายไปยังแหลงจำหนาย จะทำให เกิดความตอเนื่องของกระบวนการผลิตและขาย สรางรายไดหมุนเวียนภายในชุมชน โดยชาวบาน มีความเปนเจาของ ในทางตรงกันขาม หากมีผลผลิตแตไมมีแหลงจำหนาย การสงเสริมดังกลาว อาจไมประสบผลสำเร็จ และนำไปสูการผลิตเพื่อนายทุนหรือการเกษตรแบบมีพันธะสัญญา 3. การศึกษาครั้งนี้แสดงใหเห็นวา ผูน ำชุมชนเปนปจจัยหนึง่ ทำใหเกิดความสำเร็จในการจัดการทรัพยากรปาไม ดังนัน้ ในการพัฒนาชุมชน และสังคม หนวยงานตางๆควรใหความสำคัญกับการสงเสริมผูนำชุมชน ซึ่งจะเปนผูขับเคลื่อนชุมชน ใหเขมแข็งเพือ่ ชวยใหสงั คม ชุมชน ดำเนินไปสูก ารพัฒนาทีย่ ง่ั ยืนได ไมวา จะเปนการปกครองในระดับ หมูบาน ระดับทองถิ่นหรือระดับชาติก็ตาม 7. เอกสารอางอิง จันทบูรณ สุทธิ. (2524.) ไรเลื่อนลอยชาวเขา. เชียงใหม : ศูนยวิจัยชาวเขา. ปรีชา คุวินทรพันธุ. (2553.) สังคมและวัฒนธรรม. พิมพครั้งที่ 9. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. รัตนาพร เศรษฐกุล, พิริยะ สีหะกุลัง และ อุทิศ ชำนิบรรณาการ. (2546.) สิทธิชุมชนทองถิ่น ชาวเขาในภาคเหนือของประเทศไทย: อดีตและปจจุบัน กรณีศึกษาและปญหา. กรุงเทพมหานคร : นิติธรรม. วรวุฒิ โรมรัตนพันธ. (2551.) ทุนทางสังคม กระบวนทัศนใหมในการจัดการสิ่งแวดลอม. กรุงเทพมหานคร : ศูนยหนังสือมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. สัญชัย เจริญหลาย. (2542.) ระบบการผลิตของครัวเรือนในชุมชนกะเหรี่ยงที่สัมพันธกับการ อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษานอกระบบ, มหาวิทยาลัยเชียงใหม.
PACKAGING DESIGN
Product of Thailand
สบูสมุนไพรธรรมชาติ
Detox Facial Soap With Herbal Extacts Plus ผสมสารสกัดสมุนไพร
สัตวปาจากเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางไน แบงเปนประเภทๆ ไดดังนี้ สัตวเลี้ยงลูกดวยนม พบรวมทั้งหมด 64 ชนิด จาก 50 สกุล ใน 23 วงศ สัตวที่พบเห็นสวนใหญเปนสัตวขนาดเล็ก และขนาดกลาง ไดแก พญากระรอกดำ กระรอกหลากสี ชะนีมงกุฏ อีเกง เปนตน
ช้างฤาไน
เนื่องจากบริเวณขอบดานนอกรายลอม ดวยหมูบาน พื้นที่เกษตรกรรม ซึ่งมากดวย กิจกรรมมนุษยดานตางๆ
สวนประกอบสําคัญ : Sodium stearate, Glycerin, Water, Sodium laurate, Sodium oleate, Charcoal, Rice bran oil
Honey, Gracinia, mangostana peel extract, Vitamin E, สบูสมุนไพรธรรมชาติ
Fragrance วิธีใช : ใชทำความสะอาดผิหนาและผิวกายไดทุกวัน เชาและเย็น ผลิตโดย : บริษัท พรีมา อินโนเวชั่น จำกัด 48/2 หมู 2 ตำบลแสนภูดาษ อำเภอบานโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา Manufactured by : Prima Innovation Co., Ltd 48/2 Moo 2 Saen Phu Dat, Banpho, Chachoengsao 24140 เลขที่ใบรับแจง 24-1-5800032
Detox Facial Soap With Herbal Extacts Plus ผสมสารสกัดสมุนไพร
ิตาชมรรธรพไนม ุ สูบส
Detox Facial Soap With Herbal Extacts Plus ผสมสารสกัดสมุนไพร
สบูสมุนไพรธรรมชาติ
สบูสมุนไพรธรรมชาติ
ในพื้นที่ตอนในของเขตรักษาพันธุสัตวปา
sulP stcatxE labreH htiW paoS laicaF xoteD รพไนุมสดก ั สราสมสผ
Detox Facial Soap With Herbal Extacts Plus ผสมสารสกัดสมุนไพร
ในขณะที่สัตวขนาดใหญ เชน ชางและกระทิง สวนใหญจะพบเฉพาะรองรอยเทานั้นและมักพบ
Souvenir
038-577956
38.6 cm
26 cm
SELF
PROMOTION
Calendar cover.pdf
1
1/6/2560 BE
12:12 PM
อนุรักษ
พลังงาน สรางรากฐาน
พลังงานทดแทน Conserve
Energy Go
100%
Renewable Energy
2560 | 2017
Calendar date M1.pdf
1
1/6/2560 BE
12:16 PM
SOLAR ENERGY ธันวาคม | December 2559 | 2016 อา/S
จ/M
อ/T
4
5
6
11
พ/W พฤ/TH ศ/F
7 14
1
2
3
9
10
15
มกราคม | JANUARY
ส/S
8
12
13
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
พ/W พฤ/TH ศ/F
ส/S
กุมภาพันธ | February อา/S
จ/M
อ/T
5
6
7
1
2
3
4
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
Calendar date M2.pdf
1
1/6/2560 BE
อาทิตย | Sunday
อ/T
พ/W พฤ/TH ศ/F
ส/S
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
จ/M
อ/T
5
6
7 14
พุธ | Wednesday
พฤหัสบดี | Thursday
ศุกร | Friday
เสาร | Saturday
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 วันเด็กแหงชาติ
วันครู
วันตรุษจีน
12:17 PM
TV
กังหันลมผลิตไฟฟา Win Turbine Generator เครื่องใชไฟฟา Equipment
เครื่องควบคุมการชารทประจุ Charge Controller
พลังงานลมเกิดจากพลังงานจากดวงอาทิตยตกกระทบโลกทำใหอากาศรอน และลอยตัวสูงขึ้น อากาศจากบริเวณอื่นซึ่งเย็นและหนาแนนมากกวาจึงเขามาแทนที่ การเคลื่อนที่ของอากาศเหลานี้เปนสาเหตุใหเกิดลมและมีอิทธิพลตอสภาพดินฟาอากาศ ในบางพื้นที่ของประเทศไทยโดยเฉพาะอยางยิ่ง แนวฝงทะเลอันดามันและดานทะเลจีนใต (อาวไทย) มีพลังงานลมที่นำมาใชประโยชนในลักษณะพลังงานกล (กังหันสูบน้ำ กังหันผลิตไฟฟา)
เครื่องแปลงไฟฟา Inverter
แบตเตอรี่ Battery
อาทิตย | Sunday
จันทร | Monday
2560 | 2017 อังคาร | Tuesday
พุธ | Wednesday
พฤหัสบดี | Thursday
ศุกร | Friday
เสาร | Saturday
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 วันมาฆะบูชา
มีนาคม | March อา/S
อังคาร | Tuesday
กุมภาพันธ | FEBRUARY
มกราคม | January จ/M
2560 | 2017
จันทร | Monday ชดเชยวันสิ้นปและวันขึ้นปใหม
WIND ENERGY อา/S
ดวงอาทิตยใหพลังงานจำนวนมหาศาลแกโลกของเรา พลังงานจากดวงอาทิตย จัดเปนพลังงานหมุนเวียนที่สำคัญที่สุด เปนพลังงานสะอาดไมทำปฏิกิริยาใดๆ อันจะทำใหสิ่งแวดลอมเปนพิษ เซลลแสงอาทิตยจึงเปนสิ่งประดิษฐทางอิเล็คทรอนิคส ชนิดหนึ่ง ที่ถูกนำมาใชผลิตไฟฟา เนื่องจากสามารถเปลี่ยนเซลลแสงอาทิตย ใหเปนพลังงานไฟฟาไดโดยตรงสวนใหญเซลลแสงอาทิตยทำมาจากสารกึ่งตัวนำ พวกซิลิคอนมีประสิทธิภาพในการเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตยใหเปนพลังงานไฟฟา ไดสูงถึง 44 เปอรเซนต
พ/W พฤ/TH ศ/F
ส/S
1
2
3
4
8
9
10
11
12
13
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
15
30
31
ชดเชยวันมาฆะบูชา
วันตรุษไทย
ACACIA'S
ACACIA'S
ACACIA'S
ACACIA'S
BEAN COFFEE
BEAN COFFEE
BEAN COFFEE
BEAN COFFEE
Kenya Arabica Blend
100% Kenya AA Arabica
Peaberry
Lively
Enticing
Expresso
Acacia Coffee grows in the unspoilt kenyan natural highlands envinroinment. Coffee cherries are hand picked for full maturity, body and intense aroma. Acacia Coffee is naturally low in caffeeine and contains vital antioxidants for a healthy living.
Acacia Coffee grows in the unspoilt kenyan natural highlands envinroinment. Coffee cherries are hand picked for full maturity, body and intense aroma. Acacia Coffee is naturally low in caffeeine and contains vital antioxidants for a healthy living.
Acacia Coffee grows in the unspoilt kenyan natural highlands envinroinment. Coffee cherries are hand picked for full maturity, body and intense aroma. Acacia Coffee is naturally low in caffeeine and contains vital antioxidants for a healthy living.
Acacia Coffee grows in the unspoilt kenyan natural highlands envinroinment. Coffee cherries are hand picked for full maturity, body and intense aroma. Acacia Coffee is naturally low in caffeeine and contains vital antioxidants for a healthy living.
How to keep your Acacia Coffee fresh: Keep it in a cool and dry place. Once opened, store your Acacia Coffee in an airtight container.
How to keep your Acacia Coffee fresh: Keep it in a cool and dry place. Once opened, store your Acacia Coffee in an airtight container.
How to keep your Acacia Coffee fresh: Keep it in a cool and dry place. Once opened, store your Acacia Coffee in an airtight container.
How to keep your Acacia Coffee fresh: Keep it in a cool and dry place. Once opened, store your Acacia Coffee in an airtight container.
For a perfect cup: Always use fresh clean water. Do not re-boil water or re-heat brewed coffee. Grind your Acacia Coffee just before brewing.
For a perfect cup: Always use fresh clean water. Do not re-boil water or re-heat brewed coffee. Grind your Acacia Coffee just before brewing.
For a perfect cup: Always use fresh clean water. Do not re-boil water or re-heat brewed coffee. Grind your Acacia Coffee just before brewing.
For a perfect cup: Always use fresh clean water. Do not re-boil water or re-heat brewed coffee. Grind your Acacia Coffee just before brewing.
Mellow
PHOTOGRAPHY