Payam islam 35 -2014

Page 1

                         

ป ท ี ่ ี 3 5ฉ บ บ ั ท ่ ี 3ม ก ร า ค ม เ ม ษ า ย น2 5 5 7V o l . 3 5No . 3J a n u a r y A p r i l 2 0 1 4

แ ส ง ส ว า  ง ร ศ ั ม แ ี ห ง  ท า ง น า ํ ร จ  ู ก ั ค ม ั ภ ร ี เ  ต า ร อ ต แ ล ะ อ น ิ ญี ล ร ฐ ั บ า ล ใ น แ น ว ค ด ิ แ ล ะ ก า ร ป ฏ บ ิ ต ั ิ ข อ ง อ ม ิ า ม อ ะ ล ี ( อ . ) ส น ั ต ภ ิ า พ ท า  ม ก ล า ง ค ว า ม ข ด ั แ ย ง 


CONTENTs สาส์ น อิ ส ลาม MESSAGE OF ISLAM

สาส์นเพื่อการสืบสานอารยธรรม

‫پيام اسالم‬

ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม-เมษายน 2557 Vol. 35 No.3 January-April 2014 ISSN : 0859-7162

ผู้อ�ำนวยการ : Director มุสฏอฟา นัจญอรียอนซอเดะฮ์ Mostafa Najarian Zadeh บรรณาธิการอ�ำนวยการ : Editor-in-Chief เชคมุฮัมมัด นาอีม ประดับญาติ บรรณาธิการ : Editor อรุณ เด่นยิ่งโยชน์ กองบรรณาธิการ : Section Editor กวีฮัยดัร พุ่มภักดี จะมีลฮัยดัร แสงศรี นูรรีฎอ แสงเงิน อับดุลมาลิก อาเมน อาซียะฮ์​์ พุ่มเพ็ชร ออกแบบรูปเล่ม : Design/Artwork 14 พับลิเคชั่น E-mail : thaqalayn12@gmail.com โทร. 02 7325563 โทรสาร 02 7325564 ผลิตโดย : Published by ศูนย์วัฒนธรรม สถานเอกอัครราชทูต สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ประจ�ำกรุงเทพฯ 106-106/1 ซอยเจริญมิตร สุขุมวิท 63 เอกมัย 10 แยก 6 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทร. 0-2392-2620-2 โทรสาร 0-2392-2623 CULTURAL CENTER THE EMBASSY OF ISLAMIC REPUBLIC OF IRAN BANGKOK 106-106/1 SOI CHAROENMITR SUKHUMVIT 63 EKAMAI 10 YEAK 6 KLONGTON NUA VADHANA BANGKOK 10110 THAILAND

สารบัญ

หน้ า

ค�ำผราศรัยในวโรกาสคล้ ายวันถือก�ำเนิด ของท่านศาสดามุฮมั มัด (ศ.) และ อิมามญะอ์ฟัร อัศศอดิก (อ.) 4 ค�ำปราศรัยเนื่องในวันครบรอบปี การให้ สตั ยาบันครัง้ ประวัตศิ าสตร์ ของ กองทัพอากาศต่อท่านอิมามโคมัยนี (ร.ฮ.) 7 กุรอานวิทยา 16 บทบัญญัติรัศมีแห่งทางน�ำ 25 ค�ำอรรถาธิบายอัลกุรอาน บทอัลบะกอเราะฮ์ 36 อัลกุรอานบริ สทุ ธิ์จากการดัดแปลง 51 จริ ยธรรมคัมภีร์ บทหุญรุ อต 62 พิธีอาชูรออ์กบั อัตลักษณ์มสุ ลิมนิกายชีอะฮ์ 70 ประวัตนิ กั ปรัชญามุสลิมส�ำนักมัชชาอียะฮ์ 78 มิตทิ างด้ านบุคลิกภาพ ของศาสดาแห่งอิสลาม (ศ.) 86 รู้จกั คัมภีร์เตารอตและอินญีล 92 สันติภาพในความขัดแย้ ง 99 รัฐบาลในแนวคิดและการปฏิบตั ิ ของอิมามอะลี (อ.) 104 สาส์น ฯพณฯ ผู้น�ำสูงสุดทางจิตวิญญาณ ปี แห่งเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ด้ วยความุง่ มัน่ แห่งชาติและการบริ หารจัดการแบบญิฮาด 121 กิจกรรมและความเคลื่อนไหว 125

ทรรศนะและความคิดเห็นในนิตยสารนี้ ไม่จ�ำเป็นต้องถือว่าเป็นจุดยืนอย่างเป็นทางการ ของศูนย์วัฒนธรรมฯ เรายินดีต้อนรับข้อเขียน จากนักเขียนและนักวิชาการทั่วไป ขอสงวนสิทธิ์ ในการคัดเลือกและตัดตอนข้อความที่ไม่สมควร โดยไม่ปิดบังความหมายของผู้เขียน และผู้เขียนบทความนั้นๆจะเป็นผู้รับผิดชอบ บทความของตน

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 1


EDITORIAL บทบรรณาธิการ

http// Bangkok.icro.ir

ด้ วยพระนามของอัลลอฮ์ พระผู้ทรงเมตตา พระผู้ทรงกรุ ณาปรานีเสมอ

ข้ าพเจ้ าขอกล่าวร� ำลึกถึงท่านผู้น�ำสูงสุดและเป็ นผู้สถาปนาสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ฯพณฯ อิมาม โคมัยนี (รฮ.) และยังบรรดาผู้พลีชีพในหนทางแห่งพระผู้เป็ นเจ้ า ท่านอิมามเป็ นผู้น�ำการปฏิวตั พิ ร้ อมกับบรรดาผู้ พลีชีพ โดยได้ มาซึง่ เสรี ภาพของอิสลามของอิหร่านจนกระทังสาธารณรั ้ ฐอิสลามแห่งอิหร่านสามารถทีจ่ ะปกครอง ตามหลักการของอิสลามได้ จนถึงปั จจุบนั ในวันนี ้เป็ นช่วงเวลาครบรอบปี ที่ 35 ของชัยชนะจากการปฏิวตั อิ สิ ลามของอิหร่าน และภายใต้ การชี ้แนะ ในการเป็ นผู้น�ำของอิหร่าน ฯพณฯ อิมาม คามาเนอี (ขออัลลอฮ์ทรงปกป้องท่าน) ท่านเป็ นผู้มีความรู้ ที่เต็มเปี่ ยม ไปด้ วยจริ ยธรรมในระหว่างประชาชนชาวอิหร่าน ท่านได้ ด�ำรงต�ำแหน่งผู้น�ำสูงสุดทางจิตวิญญาณ ท่านได้ น�ำพา การพัฒนาการศึกษา วัฒนธรรม เศรษฐกิจ ศิลปะ สังคม และการเมืองโดยให้ สงิ่ ต่างๆเหล่านี ้ตื่นตัวอยูเ่ สมอ และ เช่นกันท่านยังได้ เป็ นผู้น�ำประชาชาติ มีความเป็ นห่วงเป็ นใยบุคคลอื่นๆ ที่พวกเขามีศรัทธายึกมัน่ ในพระเจ้ าเพียง องค์เดียว ทุกคนต่างก็มีใจรักผูกพันยังท่านและยกย่องให้ ทา่ นผู้น�ำสูงสุดทางจิตวิญญาณ ที่จะเป็ นผู้ชี ้แนะในการ พัฒนาความรุ่งเรื องในเรื่ องการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม ไม่วา่ จะเป็ นการพัฒนาในเรื่ องวิชาการ การแพทย์ เกษตรกรรม และอื่นๆ ท่านยังเป็ นผู้ที่ท�ำให้ คนหนุ่มสาวมีความร่ วมมือกันพัฒนาประเทศชาติเพื่อที่ จะให้ อิหร่านนันเป็ ้ นประเทศของการพัฒนาและเผยแพร่ความรู้ในเรื่ องหัตถกรรมระหว่างประเทศในโลกนี ้ ประเทศอิหร่ านที่มีความเจริ ญก้ าวหน้ าในเรื่ องวัฒนธรรมอิสลาม ซึง่ เป็ นพวงจากการปฏิวตั ิอิสลามที่ ท�ำให้ อนาคตของประเทศอิหร่านเจริญก้ าวหน้ ามาจนถึงปั จจุบนั ส่วนอารยธรรม และวัฒนธรรมของอิหร่านทีม่ มี า ช้ านานกว่า 7,000 ปี นันก็ ้ ได้ เสริ มสร้ างคุณค่าของอารยธรรมและวัฒนธรรมที่มีสว่ นร่วมในภูมิภาค ซึง่ อารยธรรม และวัฒนธรรมที่ทกุ คนเรี ยกร้ องเหมือนกันนันคื ้ อ เสรี ภาพ สันติภาพความสงบสุข และเราเองก็หวังเช่นกันว่า การ ให้ ความร่วมมือกันของประชาคมโลกไม่วา่ จะเป็ นในเรื่ องศาสนา และเรี ยนรู้จกั อารยธรรมอันเก่าแก่ของอิหร่านก็ สามารถจะน�ำพาไปสูก่ ารมีสนั ติและเสรี ภาพ เพราะประชาคมโลกต่างก็มีความหวังในสิง่ เดียวกันคอืการรอคอย การมาของท่านอิมามมะฮ์ดี (อ.) ผู้ที่จะมาปรากฎและท�ำให้ หน้ าแผ่นนี ้เต็มไปด้ วยความยุตธิ รรม ขอความสันติจงมีแด่ทา่ น โอ้ ผ้ ทู ีคงเหลือของพระผู้เป็ นเจ้ า บนหน้ าแผ่นดิน ขอความสันติจงมีแด่ทา่ น โอ้ ผ้ ทู ี่รักษาบทบัญญัติของพระผู้เป็ นยเจ้ า ขอความสันติจงมีแด่ทา่ น โอ้ ผ้ ทู ี่พระผู้เป็ นเจ้ าทรงให้ ค�ำมัน่ สัญญา

2 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557


ขอความสันติจงมีแด่ทา่ น โอ้ ผ้ นู �ำในการถือธงแห่งชัยชนะ ขอความสันติจงมีแด่ทา่ น โอ้ ผ้ ทู ี่ให้ การช่วยเหลือ ผู้ที่ถกู สร้ างด้ วยความเมตตา ผู้ที่ให้ ค�ำมัน่ สัญญาต่อผู้รอ คอยการมาของท่าน

Mustafa Najjariyan Zadeh มุศฏอฟา นัจญาริ ยอน ซอเดะห์ ที่ปรึกษาฝ่ ายวัฒนธรรรม ศูนย์วฒ ั นธรรม สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลาม แห่งอิหร่าน ประจ�ำกรุงเทพฯ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 3


ถอดความโดย

เชคมุฮมั มัดนาอีม ประดับญาติ

ค�ำปราศรัย ฯพณฯ อายะตุลลอฮ์ ซัยยิดอะลี คอมาเนอี ในวโรกาสคล้ายวันถือก�ำเนิดของ

ท่านศาสดามุฮมั มัด (ศ.) และ อิมามญะอ์ฟัร อัศศอดิก (อ.)

เนื่องในวโรกาสคล้ ายวันประสูตขิ องศาสดาแห่งอิสลาม บุรุษผู้พลิกประวัตศิ าสตร์ และวันประสูตทิ ี่มีความ บะรอกัตของท่านอิมามญะอ์ฟัร ศอดิก (อ.) บรรดาคณะรัฐบาล อาคันตุกะ แขกผู้มีเกียติเข้ าร่วมประชุมสัมมนา เอกภาพอิสลาม และพี่น้องประชาชนจ�ำนวนหนึง่ ได้ เข้ าพบท่านอยาตุลลอฮ์ คาเมเนอี ผู้น�ำการปฏิวตั อิ สิ ลาม โดย ฯพณฯ ได้ เรียกร้ องโลกอิสลามให้ ขานรับแนวทางของท่านศาสดาเพือ่ ให้ บรรลุซงึ่ ความหวังของท่านศาสดามุฮมั มัด (ศ.) พร้ อมกับกล่าวย� ้ำว่า ในวันนี ้ เอกภาพ คือ ประเด็นส�ำคัญที่สดุ ของโลกอิสลาม แม้ นว่าจะมีกลอุบาย การใส่ ร้ ายป้ายสีตา่ งๆนานา ซึง่ อนาคตของประชาชาติอิสลาม ย่อมมีความสดใสและรุ่งโรจน์ หากอยูภ่ ายใต้ “เอกภาพ ความเข้ าใจรอบรู้และการตื่นตัวอิสลาม” ท่านผู้น�ำการปฏิวตั อิ ิสลาม ได้ กล่าวแสดงความยินดีเนื่องในวันคล้ ายวันประสูตขิ องท่านศาสดาผู้ยิ่งใหญ่ คือ ท่านนบีมฮุ มั มัด อัลมุศฏอฟา (ศ.) และวันประสูติที่มีความบารอกัตของท่านอิมามญะอ์ฟัร ศอดิก (อ.) โดย ฯพณฯ ได้ ชี ้ถึง “เสรี ภาพในการจินตนาการและภาพลวงตา” และ “ อิสรภาพจากการถูกกดขี่ ความอธรรมของ การปกครองแบบเผด็จการและการสถาปนารัฐที่ยตุ ธิ รรม” ซึง่ เป็ นสองแนวทางหลักของอิสลามในการปลดปล่อย มนุษยชาติ พร้ อมกับกล่าวย� ้ำว่า ประเทศมุสลิมควรสร้ างเสรี ภาพภายในและทางปั ญญา และมุง่ มัน่ ที่จะบรรลุ ซึง่ “ความเป็ นอิสระทางการเมือง จัดตังรั้ ฐประชาธิปไตย การจัดตังประชาธิ ้ ปไตยทางศาสนา และขับเคลื่อนบนพื ้น ฐานของหลักชะรี อตั ของศาสนาอิสลาม " เพื่อจะได้ รับอิสรภาพที่แท้ จริ งตามหลักการอิสลามอันสูงส่ง ท่านผู้น�ำสูงสุด ถือว่า กลอุบายและการขับเคลื่อนต่างๆของศัตรูอิสลามเพื่อสกัดกันอิ ้ สรภาพที่แท้ จริ งและ ความผาสุกของประชาชาติอสิ ลาม นัน้ มันมีความสลับซับซ้ อนและหลายมิติ พร้ อมกับกล่าวย� ้ำว่า การสร้ างความ ขัดแย้ งระหว่างพี่น้องชาวมุสลิม คือนโยบายหลักของกลอุบายของมหาอ�ำนาจ ท่านอะยาตุลลอฮ์ คาเมเนอี ถือว่า 65 ปี แห่งความพยายามเพื่อให้ ลืมเรื่ องราวปาเลสไตน์ การบีบบังคับ ให้ ประชาชาติมสุ ลิมยอมรับการมีอยูข่ องรัฐเถื่อนยิวไซออนิสต์ ผู้ก่ออาชญากรรมที่ป่าเถื่อน และปล้ นสะดม เป็ น กรณีตวั อย่างในความพยายามของมหาอ�ำนาจอเมริ กาและมหาอ�ำนาจโลก พร้ อมกับกล่าวย� ้ำว่า สงคราม 33 วัน 4 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557


ในเลบานอน สงคราม 22 วัน และสงครามแปดวันในกา ซ่า ได้ บง่ ชี ้ว่า นอกเหนือจากรัฐบาลบางประเทศที่ออก มาปกป้องผลประโยชน์ของต่างชาติ ก็ยงั มีประชาชาติ อิสลามทีม่ คี วามเฉลียวฉลาด รอบรู้ อัตลักษณ์ สามารถ ปกป้องและพิทกั ษ์ การมีอยูข่ องปาเลสไตน์ พร้ อมกับได้ ตบหน้ ายิวไซออนิสต์และบรรดาผู้สนับสนุนอย่างสาสม ท่านผู้น�ำการปฏิวตั อิ สิ ลาม ได้ แสดงวิสยั ทัศน์ใน ประเด็นโลกอิสลาม ว่า การท�ำให้ ประชาชาติอสิ ลามเพิก เฉยในประเด็นปาเลสไตน์ ถือเป็ นหนึง่ ในเป้าหมายและ วัตถุประสงค์ทสี่ ำ� คัญของศัตรูอสิ ลามในการสร้ างสงคราม ภายใน ปลุกปั่ นสร้ างความแตกแยกและส่งเสริ มความ คิดอุดมการณ์แห่งตักฟี รี และความคิดนิยมสุดโต่ง ท่านผู้น�ำสูงสุด ได้ แสดงความสลดใจอย่างสุดซึ ้ง ว่า พวกตักฟี รี จ�ำนวนหนึง่ แทนที่จะมุง่ ความสนใจไปที่ ระบอบอันชัว่ ร้ ายแห่งไซออนิสต์ แต่กลับอาศัยชื่อของ อิสลามและชะรี อตั ในการกล่าวหาชาวมุสลิมส่วนใหญ่ ว่าเป็ นผู้ปฏิเสธ กาฟิ ร และกลายเป็ นต้ นเหตุของสงคราม ความรุนแรงและความแตกแยก และด้ วยเหตุผลดังกล่าว นี ้เอง การมีอยูข่ องกลุม่ ตักฟี รี จึงเป็ นข่าวดีสำ� หรับเหล่า ศัตรูของอิสลาม ท่านผู้น�ำการปฏิวตั ิอิสลาม ได้ ชีถ้ ึงโองการอัล กุรอานที่วา่

‫علی ال ُک ّفا ِر ُر َحاء بَینـَُهم‬ َ ‫اَش ّداء‬

(ความว่า มุฮมั มัด ศาสนทูตของอัลลอฮ์ และ บรรดาผูท้ ีอ่ ยู่กบั เขา) คือผู้แข็งกร้ าวต่อบรรดาผู้ปฏิเสธและเป็ นผู้เมตตา ระหว่างพวกเขากันเอง พร้ อมกับกล่าวเสริ มว่า กลุม่ ตัก ฟี รี ได้ เพิกเฉยต่อค�ำสัง่ อันชัดเจนของพระผู้เป็ นเจ้ า โดย การแบ่งพวกเขาออกเป็ นมุสลิมและการฟิ ร ผู้ปฏิเสธ และ ท�ำให้ ชาวมุสลิมเข่นฆ่ากันเอง ท่านผู้น�ำสูงสุด ได้ ตงค� ั ้ ำถาม ว่า ด้ วยกับสภาพ การณ์เช่นนี ยั้ งจะมีผ้ ใู ดอีกหรือทีจ่ ะสามารถคลางแคลง สงสัยได้ วา่ การมีอยูข่ องกลุม่ นี ้และการสนับสนุนทางการ เงินและอาวุธ ไม่ใช่เป็ นงานของหน่วยงานด้ านความ

มัน่ คงที่ชวั่ ร้ ายของบรรดารัฐบาลมหาอ�ำนาจและหุ่น เชิดของพวกเขา ท่านอยาตุลลอฮ์ คาเมเนอี ด้ วยการพินจิ พิเคราะห์ ในข้อเท็จจริงดังกล่าว จึงถือว่า กลุม่ ตักฟี รี เป็ นภัยอันตราย ที่ร้ายแรงและน่ากลัวที่สดุ ส�ำหรับโลกอิสลาม พร้ อมกับ กล่าวก�ำชับประเทศอิสลามทังหลายให้ ้ ระมัดระวังเป็ น พิเศษ และมีความรอบคอบ เฉลียวฉลาดอย่างแท้ จริ ง ในเรื่ องนี ้ โดยกล่าวเสริ มว่า เป็ นที่นา่ เศร้ าใจอย่างยิ่งที่ รัฐบาลมุสลิมบางประเทศไม่ได้ ใส่ใจถึงผลร้ ายต่าง ๆ ที่ จะติดตามมาของการสนับสนุนคนกลุม่ นี ้ และพวกเขา ไม่เข้ าใจเลยว่า ไฟแห่งวิกฤตอันเลวร้ ายนี ้ จะปกคลุม พวกเขาทังหมด ้ ท่านผู้นำ� การปฏิวตั อิ สิ ลาม ถือว่า ความแตกแยก ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ ้นระหว่างพี่น้องซุนนีกบั ชีอะห์ การเพิ่มความขัดแย้ งภายในของประเทศมุสลิมในช่วง สามหรื อสี่ปีล่าสุดที่ผ่านมา เป็ นปฏิกิริยาตอบโต้ ของ มหาอ�ำนาจผู้กดขี่เพื่อเผชิญหน้ ากับกระแสการตื่นตัว อิสลามในบางประเทศ ท่ า นผู้ น� ำ กล่ า วเสริ ม ว่ า บรรดามหาอ� ำ นาจ พยายามที่จะให้ การตื่นตัวของอิสลามเข้ ามาอยู่ภาย ใต้ การครอบง�ำของตน จึงปลุกปั่ นผู้ปฏิบตั ิตามนิกาย มัซฮับต่าง ๆ ของอิสลามต่อสู้กนั เอง และต่อจากนัน้ พวกเขาถือว่ากระท�ำต่าง ๆ อันชัว่ ร้ ายของกลุม่ ตักฟี รี ย์ กลายเป็ นเรื่ องเด่น อย่างเช่น “การเคี ้ยวตับของคนที่ถกู ฆ่า” อันท�ำให้ รากฐานของอิสลามดูนา่ เกลียดในความ คิดของสาธารณชนชาวโลก ท่านผู้น�ำการปฏิวตั ิอิสลาม กล่าวย� ้ำว่า เป็ นที่ แน่ชดั ว่า ปั ญหาต่างๆเหล่านี ้มิได้ เกิดขึ ้นเพียงแค่ครัง้ เดียว โดยที่มหาอ�ำนาจโลกมีการวางแผนและก�ำหนด นโยบายมาเป็ นระยะเวลาที่ยาวนานมาแล้ วเพื่อด�ำเนิน แผนการเช่นนี ้ ท่านอยาตุลลอฮ์ คาเมนอี ถือว่า การเผชิญหน้ า ต่อสู้กบั ตัวการที่ตอ่ ต้ านเอกภาพ เป็ นภาระหน้ าที่อนั ยิง่ ใหญ่ของพีน่ ้ องซุนนีและชีอะห์ และกลุม่ องค์กรต่างๆทาง

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 5


โดดเด่น มรดกทางประวัตศิ าสตร์ ทลี่ � ้ำค่า และทรัพยากร ทางเศรษฐกิจที่หาเทียบได้ ที่มีอยู่ในประเทศอิสลาม นัน้ สามารถเป็ นปั จจัยพื ้นฐานส�ำคัญแห่งศักดิ์ศรี ของ ความเป็ นมุสลิม ภายใต้ ร่มธงของเอกภาพ ความเป็ น หนึง่ เดียว และเกียรติยศ ท่านผู้นำ� สูงสุด ถือว่า ชัยชนะของการปฏิวตั อิ สิ ลาม และความมัน่ คงแห่งแบบอย่างของสาธารณรัฐอิสลาม ถึงแม้ นจะมีกลอุบายและการใส่ร้ายป้ายสีตา่ งๆนานา ของมหาอ�ำนาจในช่วง 35 ปี ทีผ่ า่ นมา อันเป็ นสัญญาณ หนึ่งแห่งความหวังที่สดใสส�ำหรับประชาชาติอิสลาม ศาสนา พร้ อมกับกล่าวย� ้ำว่า บรรดาปั ญญาชนทางการ พร้ อมกับกล่าวย� ้ำว่า ด้ วยความโปรดปรานของพระผู้ เมือง นักวิชาการ และนักการศาสนา ก็มีภาระหน้ าที่ที่ อภิบาล ประชาชาติอิหร่าน และระบอบอิสลาม นับวัน หนักอึ ้งในการสร้ างเอกภาพให้ บงั เกิดขึ ้นในสังคมอิสลาม จะยิง่ แข็งแกร่งมากยิง่ ขึ ้น จะหยัง่ รากลึก และจะมีเกียรติ์ ศักดิ์ศรี และความภาคภูมิใจมากยิ่งขึ ้น อย่างแท้ จริ ง ท่านผู้นำ� การปฏิวตั อิ สิ ลาม ได้กล่าวเสริมในประเด็น นี โดยเรี ้ ยกร้ องเชิญชวน “อุลามาอ์โลกอิสลาม” ให้ ทำ� การ ตักเตือนประชาชาติทงหลายให้ ั้ มีความระมัดระวังจาก ความแตกแยกเชิงนิกายและมัศฮับ โดยที่ “นักวิชาการ ในมหาวิทยาลัย” ต้ องท�ำการอธิบายความส�ำคัญของ เป้าหมายอิสลามให้ กบั นักศึกษา และ “บรรดาปั ญญา ชนทางการเมืองของประชาชาติอสิ ลาม” ต้ องพึง่ พาอาศัย พีน่ ้ องประชาชนและออกห่างจากศัตรูอสิ ลาม พร้ อมกับ กล่าวย� ้ำว่า เอกภาพ คือประเด็นที่ส�ำคัญที่สดุ ของโลก อิสลามในวันนี ้ ท่านผู้น� ำ สูง สุด ได้ ชี ถ้ ึง การที่ ป ระเทศมุส ลิม ค่อยๆทยอย และหลุดพ้ นจากการถูกครอบง�ำโดยตรง โดยมหาอ� ำนาจล่าอานานิ คม พร้ อมกับย� ำ้ เตือนว่า มหาอ�ำนาจต้ องการแสวงหาผลประโยชน์ในช่วงการ ครอบง�ำโดยตรง โดยใช้ การครอบง�ำทางอ้ อม เชิงการเมือง วัฒนธรรมและเศรษฐกิจ ท่านอยาตุลลอฮ์ คาเมเนอี ถือว่า “การตืน่ ตัว และ การรับรู้เข้ าใจ” คือแนวทางเดียวแห่งความผาสุกความ รุ่งโรจน์ของประชาชาติอสิ ลาม พร้ อมกับกล่าวย� ้ำว่า สิง่ อ�ำนวยความสะดวกทีม่ ากมาย ต�ำแหน่งทางภูมศิ าสตร์ที่

6 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557


ถอดความโดย

เชคมุฮมั มดนาอีม ประดับญาติ

ค�ำปราศรัย

วันครบรอบปี การให้สตั ยาบัน ครัง้ ประวัติศาสตร์ ของกองทัพอากาศ ต่อท่านอิมามโคมัยนี (ร.ฮ.) ‫‌بسم‌ اهلل الرحمن‌ الرحيم‬ ด้ วยพระนามของอัลลอฮ์ ผู้ทรงเมตตายิ่ง ผู้ทรงเมตตาเสมอ พี่น้องที่รักทัง้ หลาย ข้ าพเจ้ าขอกล่าวต้ อนรั บ พวกท่านด้ วยความยินดี พร้ อมทังผู ้ ้ บญ ั ชาการและเจ้ า หน้ าที่ของกองทัพอากาศของสาธารณรัฐอิสลามแห่ง อิหร่าน และข้ าพเจ้ าแสดงความปี ติยินดีเนื่องในวันอัน มีเกียรติและเป็ นความทรงจ�ำทีย่ งิ่ ใหญ่ตอ่ ท่านทังหลาย ้ และเราเชิดชูเกียรติผ้ ทู ที่ ำ� ให้ เหตุการณ์ในวันที่ 19 เดือน บะฮ์มนั เกิดขึ ้น ซึง่ โดยตัวของมันแล้ วถือเป็ นช่วงเวลาที่ วิกฤตและส�ำคัญมาก ข้ าพเจ้ าขอขอบใจค�ำรายงานของ ผู้บงั คับบัญชาการที่น่านับถือ (1) และขอขอบใจอย่าง สุดซึ ้งต่อเพลงสรรเสริ ญที่ทรงคุณค่าและเปี่ ยมไปด้ วย ความหมายที่ได้ ขบั ร้ องออกไป

บางส่วนของเหตุการณ์ ที่ได้ รับรู้ และพบเห็น ที่ เกิดขึ ้นในช่วงเริ่ มต้ นของภารกิจอาจเป็ นสิ่งที่มีความ ยิ่งใหญ่กว่า บางครัง้ เหตุการณ์หนึง่ ที่ปรากฏอาจท�ำให้ มิตติ า่ งๆ ขยายวงกว้ างขวางขึ ้น ซึง่ แม้ แต่ผ้ ทู ี่ท�ำให้ เกิด เหตุการณ์นนขึ ั ้ ้นก็มิได้ คาดหวังถึงขันนั ้ น้ ในคัมภีร์อลั กุรอานได้ กล่าวว่า ‫“ يُع ِج ُب ال ُّز ّراع‬น�ำความปลาบปลื ้ม มาให้ แก่ผ้ เู พาะปลูก” (2) เป็ นการวาดภาพให้ เ ห็ น ถึ ง บรรดาสาวกของ ท่านศาสดาผู้มีเกียรติและบรรดามุอ์มิน (ผู้ศรัทธา) ใน ยุคแรกของอิสลาม บรรดานักต่อสู้ท่ียิ่งใหญ่นนั ้ (อัล กุรอาน) ได้ กล่าวถึงคุณลักษณะส่วนหนึง่ และได้ เปรียบ เปรยพวกเขาเหมื อ นกับ พื ช ที่ ง อกเงยขึน้ มาจากดิ น ค่อยๆ มีความเข้ มแข็งแรงและเจริ ญเติบโต จนถึงขันที ้ ่ ว่ามันได้ ท�ำให้ ผ้ เู พาะปลูกและผู้หว่านเมล็ดพันธุ์เหล่า นันด้ ้ วยตัวเองยังต้ องรู้สกึ พิศวง เหตุการณ์ในวันที่ 19 เดือนบะฮ์มนั ก็เช่นเดียวกัน

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 7


ในวันนันมิ ้ ติตา่ งๆ ของเหตุการณ์ดเู หมือนจะมีไม่มาก นัก แต่แล้ วมิตติ า่ งๆ ของมันก็คอ่ ยๆ ปรากฏให้ เห็น ใน ระดับที่กว้ างออกไป ในวันนันรากฐานของการปฏิ ้ วตั กิ ็ เป็ นเช่นเดียวกันนี ้ วันที่ท่านอิมามผู้มีเกียรติได้ เริ่ มต้ น ขบวนการเคลื่อนไหวในปี 41 (ปี อิหร่าน) นัน้ ไม่มีใคร คาดคิดถึงการขยายวงที่ยิ่งใหญ่และผลที่นา่ ประทับใจ นี ้ แต่มนั ก็ได้ เกิดขึ ้นแล้ ว แน่นอนมันมีสาเหตุต่างๆ ที่ ว่าท�ำไมเหตุการณ์หนึ่งจึงได้ รับความจ�ำเริ ญ ซึง่ คงไม่ อาจพูดคุยได้ ณ ที่นี ้ อย่างไรก็ดี เหตุการณ์ วันที่ 19 บะฮ์ มัน เป็ น เหตุก ารณ์ ห นึ่ ง ที่ มี ค วามจ� ำ เริ ญ ยิ่ ง สิ่ ง หนึ่ ง ที่ ไ ด้ ถูก หลงลืมไปในการวิเคราะห์เกี่ยวกับเหตุการณ์นี ้และผล ต่างๆ ของมัน นัน่ ก็คือ เหตุการณ์นี ้ได้ สง่ ผลต่อการได้ มาซึง่ อิสรภาพ ในที่ใดหรื อ? ในกองทัพ! หมายถึงภาค ส่วนหนึง่ ของระบบทางสังคมในยุคของทรราช ทีต่ ้ องทน แบกรับความทุกข์ทรมานมากทีส่ ดุ จากการครอบง�ำและ การแทรกแซงของชาวต่างชาติ เหตุการณ์ทเี่ กิดขึ ้นในวัน ที่ 19 บะฮ์มนั ในหน่วยงานเช่นนี ในองค์ ้ กรดังกล่าวนี ได้ ้ ปลุกจิตส�ำนึกความเป็ นเอกราชให้ ตนื่ ขึ ้น มันท�ำให้ ความ

8 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

ส�ำนึกนี ้ได้ ตื่นขึ ้นในทุกเหล่าทัพ อันดับแรกในกองทัพ อากาศและต่อมาในส่วนอื่นๆ ที่สามารถปลดปล่อยตัว เองออกจากอิทธิพลของต่างชาติผ้ คู รอบง�ำผู้แทรกแซง ด้ วยเหตุนีข้ ้ าพเจ้ าได้ กล่าวต่อบรรดาสหายไป เมื่อก่อนหน้ านี ้ (3) ว่า สถานที่แรกที่ “ญิฮาดเพื่อการ พึง่ พาตัวเอง” ได้ เกิดขึ ้น นันก็ ้ คือในกองทัพอากาศ แล้ ว ต่อมาก็คอ่ ยๆ ขยายตัวไปทัว่ ทุกเหล่าทัพ ความส�ำนึก ต่ออิสรภาพและความเชือ่ มัน่ ในตนเองนี ้เป็ นสิง่ ทีส่ ำ� คัญ ส�ำหรับกองทัพ ส�ำหรับกองก�ำลังติดอาวุธก็เป็ นสิ่งที่ ส�ำคัญ จนถึงวันนี ้ก็ยงั เป็ นสิ่งที่ส�ำคัญ ส�ำหรับอนาคต ก็ยงั คงเป็ นสิง่ ส�ำคัญ ข้ าพเจ้ าขอกล่าวแทรกนอกเหนือ จากประเด็นเนื ้อหาที่ข้าพเจ้ าจะกล่าวถึง ซึง่ เป็ นเรื่ อง อื่น นัน่ ก็คือ เพื่อที่พวกท่านจะสามารถแสดงให้ เห็นถึง ศักยภาพของตัวพวกท่านในการจัดการกับภัยคุกคาม ต่างๆ สถานภาพของพวกท่านซึง่ อยูใ่ นสถานะของการ รักษาความมัน่ คงทางน่านฟ้าของประเทศ พวกท่านจะ ต้ องมีสำ� นึกในความพอเพียงต่ออิสรภาพจากผู้อื่น การ ย้ อนกลับมาสู่ตนเองและการพึ่งพิงต่อศักยภาพต่างๆ ของตนเอง เมื่อนันแหละพรสวรรค์ ้ และความสามารถ ต่างๆ ก็จะเบ่งบาน ดังเช่นที่เป็ นอยูใ่ นขณะนี ้ และหลัง จากนี ้ก็จะเป็ นเช่นนี ้ ประเด็นของความเป็ นเอกราชนัน้ เป็ นประเด็นที่ส�ำคัญส�ำหรั บทุกประเทศและทุกการ ปฏิวัติ ความมี อิสรภาพนัน้ เป็ นหนึ่งในรากฐานของ การปฏิวตั ิอิสลามและของระบอบสาธารณรัฐอิสลาม ค� ำขวัญของ "อิสรภาพ" ที่ เคียงข้ างกับค�ำขวัญของ "เสรี ภาพ" เป็ นค�ำขวัญที่สำ� คัญที่สดุ ของการปฏิวตั ิ และ จะเป็ นเช่นนี ้ตลอดไป ท่านทังหลายจงดู ้ เถิดว่า หลังจากความล้ มเหลว ของวิธีการล่าอาณานิคมโดยตรง ซึง่ ก่อนหน้ านี ้เป็ นเรื่อง ปกติที่พวกเขาจะอาณานิคมประเทศทังหลายโดยตรง ้ แต่วิธีการดังกล่าวได้ ถกู ยกเลิกไป การล่าอาณานิคม รูปแบบใหม่ได้ เข้ ามาแทนที่ การล่าอาณานิคมรูปแบบ ใหม่นนั่ ก็คือ บรรดามหาอ�ำนาจต่างชาติผ้ แู ทรกแซงจะ ไม่เข้ ามาสูก่ ารบริ หารประเทศต่างๆ ที่อยูภ่ ายใต้ การล่า


อาณานิคมโดยตรง แต่บรรดาสมุนรับใช้ ที่เชื่อฟั งพวก เขาและพึง่ พิงอยูก่ บั พวกเขาจะเข้ ามา (กุมอ�ำนาจ) อยู่ ส่วนบนของประเทศทังหลาย ้ เนื่องจากการปกครองที่ ต้ องพึง่ พิงอยู่กบั ต่างชาติ ซึง่ หากปราศจากความเป็ น เผด็จการนันย่ ้ อมเป็ นไปไม่ได้ พวกเขาจึงต้ องท�ำการ ปกครองโดยใช้ ความเป็ นเผด็จการเพื่อสนองตอบผล ประโยชน์ต่างๆ ของมหาอ�ำนาจต่างชาติ นี่คือการล่า อาณานิคมยุคใหม่ การต่อสู้กบั เผด็จการโดยไม่ตอ่ สู้กบั อ�ำนาจต่าง ชาติที่อยู่เบื ้องหลังผู้ปกครองเผด็จการทรราชจึงไปไม่ ถึงไหน และจะไม่ประสบผลส�ำเร็ จ วันนี ้ก็เช่นเดียวกัน หากชนชาติหนึ่งที่อดั อันต่ ้ อความเป็ นเผด็จการของผู้ ปกครองของเขา พวกเขาจึงได้ ยืนหยัดขึ ้นปฏิวตั ิและ ต่อสู้กบั จอมเผด็จการ แต่พวกเขากลับประนีประนอม กับ อ� ำ นาจครอบง� ำ ของต่างชาติ ที่ อ ยู่เ บื อ้ งหลัง จอม เผด็จการ ดังนันชะตากรรมของการปฏิ ้ วตั ิ บรรดาเจ้ า หน้ าทีแ่ ละผู้บริหารของการปฏิวตั ิ ก็จะประสบกับความ ล้ มเหลวหรื อไม่ก็การทรยศ จะไม่สามารถออกไปจาก สองสภาพนี ้ได้ คือพวกเขาจะทรยศต่อการปฏิวตั ิของ พวกเขา ทรยศต่อประเทศของพวกเขา หรื อหากพวก เขาไม่ต้องการที่จะทรยศ พวกเขาก็จะประสบกับความ พ่ายแพ้ และจะถูกลบออกไปจากเวที ดังเช่นที่เราได้ เห็นจากการปฏิวตั ใิ นบางประเทศ ในช่วงไม่กี่ปีที่ผา่ นมานี ้ พวกเขาต่อสู้กบั เผด็จการ แต่ พวกเขากลับหลงลืมอ�ำนาจที่อยู่เบือ้ งหลังเผด็จการ หรื อบางครัง้ คิดที่จะประนีประนอมและโอนอ่อนผ่อน ปรนต่ อ มัน วัน นี พ้ วกท่ า นก็ ไ ด้ เ ห็ น ผลลัพ ธ์ แ ล้ ว ว่ า การต่อสู้กับจอมเผด็จการแต่กลับประนีประนอมกับ มหาอ�ำนาจอหังการจอมบงการนันไปไม่ ้ ถึงไหน การ ปฏิวัติที่จะประสบความส�ำเร็ จและได้ รับชัยชนะนัน้ จะต้ องมองเห็นอ�ำนาจแทรกแซงที่อยู่เบือ้ งหลังจอม เผด็จการ และจะต้ องต่อสู้กบั มันด้ วย ด้ วยเหตุนี ้ ในช่วงที่เยาวชนของเราได้ บกุ ยึดรัง โจรกรรมของอเมริ กา และสร้ างความเสียหายอย่าง

น่าอัปยศอดสูตอ่ อเมริ กานัน้ ท่านอิมาม (โคมัยนี) ได้ กล่า วว่า “นี่ เ ป็ นการปฏิ วัติ ที่ ยิ่ ง ใหญ่ ก ว่ า การปฏิ วัติ ครัง้ แรก” การปฏิวตั ิในครัง้ แรกก็คือการปฏิวตั ิเช่นกัน เป็ นการปฏิวตั ิที่ยิ่งใหญ่และไม่มีใครเหมือน แต่ในการ เคลือ่ นไหวครัง้ ทีส่ องนี ประชาชนอิ ้ หร่านได้ แสดงให้ เห็น ว่า พวกเขารู้ถงึ ชันถั ้ ดไปของการครอบง�ำและความทุกข์ ยาก พวกเขาจึงได้ จดั การและต่อสู้กบั มัน ปั ญหาของความมีอิสรภาพสามารถเข้ าใจได้ ในที่นี ้ ความมีอิสรภาพหมายถึง จะต้ องรู้ จกั ประเทศ ที่ท�ำการแทรกแซง จะต้ องจัดการและยืนหยัดเผชิญ หน้ ากับมัน ความมีอิสรภาพไม่ได้ หมายถึงการแสดง มารยาทที่ ไ ม่ ดี กับ ชาวโลกทัง้ หมด อิ ส รภาพหมาย ถึง การเผชิญหน้ ากับอ�ำนาจที่ต้องการจะแทรกแซง ต้ องการที่จะชี ้นิ ้วสัง่ ต้ องการที่จะท�ำลายศักดิ์ศรี และ เกียรติของประเทศหนึ่งเพื่อผลประโยชน์ของตัวเอง นี่ คือความหมายของค�ำว่า “อิสรภาพ” ศัตรูของความมี อิสรภาพของประเทศหนึง่ ๆ นันคื ้ อใคร? คืออ�ำนาจของ ต่างชาติ อ�ำนาจทีท่ ำ� การแทรกแซง พวกเขาเป็ นพวกทีม่ ี ความหวาดกลัวต่อความส�ำนึกในความมีอสิ รภาพของ ประเทศหนึง่ ๆ และพยายามที่จะท�ำลายส�ำนึกนี ้ไปจาก ประชาชน ไปจากผู้ปฏิบตั ติ ามและผู้น�ำของประชาชน ด้ วยเหตุ นี เ้ อง หน่ ว ยงานต่ า งๆ ด้ านการ โฆษณาชวนเชือ่ ของพวกเหล่านี ้จึงลงมือปฏิบตั กิ าร เพือ่ ท�ำให้ ชนชาติทงหลายหั ั้ นหลังให้ กบั อิสรภาพ พวกเขา จะโฆษณาชวนเชื่อเช่นนี ้ว่า ความมีอิสรภาพทางการ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 9


เมืองของประเทศทังหลาย ้ หรื อความมีอิสรภาพทาง วัฒนธรรมและเศรษฐกิจของประเทศทังหลายนั ้ น้ จะขัด แย้ งกับความเจริ ญก้ าวหน้ าของประเทศนันๆ ้ ท่า นทัง้ หลายคงเคยได้ ยินค� ำ พูดเหล่านี ้ โดย เฉพาะผู้ที่มีความคุ้นเคยกับการโฆษณาชวนเชื่อระดับ โลก ซึ่งจะมีการแพร่ กระจายประเด็นเหล่านีใ้ นนาม “คลังสมอง” (Think-Tank) หรื อค�ำพูดต่างๆ ที่เป็ น ปรัชญา ผู้ที่อยู่ในประเทศต่างๆ รวมทังประเทศของ ้ เรา ก็จะกระจายค�ำพูดเหล่านี ้จากพวกเขาว่า ประเทศ ใดก็ตามหากปรารถนาที่จะอยูใ่ นหมูป่ ระเทศที่จะเจริญ ก้ าวหน้ าของโลก ไม่มีทางเลือกอื่นนอกจากจะต้ อง ลดความต้ องในความมีอิสรภาพลง จะต้ องลดความ ต้ องการความเป็ นอิสระของตนลง ดังนันย่ ้ อมเป็ นไป ไม่ได้ ที่ประเทศหนึ่งจะเป็ นอิสระได้ ด้วยกับการพึ่งพิง อยูบ่ นผลประโยชน์ของตัวเองเพียงเท่านัน้ แต่ในขณะ เดียวกัน ก็ต้องการอยูใ่ นส่วนหนึง่ ของระบบการพัฒนา ระหว่างประเทศ ค�ำพูดเช่นนีเ้ ป็ นค�ำพูดที่ผิดพลาดอย่างแท้ จริ ง และเป็ นสิ่ ง ที่ ถูก อุป โลกน์ ขึน้ โดยผู้ที่ ต่อ ต้ า นความมี อิสรภาพของประเทศ ความหวังและเป้ าหมายของ มหาอ�ำนาจแทรกแซงก็คอื ในประเทศต่างๆ เหล่านัน้ ผล ประโยชน์ตา่ งๆ ของพวกเขาจะต้ องได้ รับการตอบสนอง โดยอาศัยการแทรกแซงกิจการภายในของประเทศเหล่า นัน้ แม้ วา่ ผลประโยชน์ตา่ งๆ ของชาติเหล่านี ้จะต้ องถูก ท�ำลายและถูกเหยียบย�ำ่ ก็ไม่มคี วามส�ำคัญใดๆ ส�ำหรับ พวกเขา พวกเขายืนกรานแต่เพียงว่าพวกเขาจะต้ อง แทรกแซง เช่ น เดี ย วกับ ระบอบการปกครองของทรราช (ชาฮ์) : พวกท่านควรจะมีความสัมพันธ์กบั ใคร ไม่ควร มีความสัมพันธ์ กบั ใคร น� ้ำมันควรจะขายให้ ใคร ขาย เท่าใด พวกท่านควรจะใช้ จ่ายอย่างไร ควรจะเอาใคร เข้ ามารับผิดชอบภาระหน้ าที่ที่ส�ำคัญ ใครไม่ควรเข้ า มา สิง่ เหล่านี ้พวกเขาได้ แทรกแซงอย่างชัดเจน ประเทศ นี ้จึงกลายเป็ นเครื่ องมือหนึง่ กลายเป็ นสื่อหนึง่ ส�ำหรับ

10 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

ผลประโยชน์ของพวกเขา และผลประโยชน์ของชาติก็ ถูกลืมไปจนสนิท เป้าหมายของผู้บริ หารและเจ้ าหน้ าที่ ของประเทศก็ จ ะมิ ใ ช่ เ พื่ อ ผลประโยชน์ ข องชาติ อี ก ต่อไป แต่กลับกลายเป็ นการสนองตอบผลประโยชน์ ของบรรดาผู้แทรกแซง แต่ความมีอิสรภาพจะท�ำลาย กระบวนการที่ผิดพลาดและการทรยศนี ้ เพราะมันจะ ขัดขวางสิง่ นี นี้ ค่ อื ความหมายของอิสรภาพของประเทศ หนึง่ ๆ ความเป็ นเอกราชไม่ได้ หมายถึงการแสดงความ ก้ าวร้ าวต่อประเทศทังหลาย ้ แต่มนั หมายถึงการสร้ าง ก�ำแพงกีดขวางอิทธิพลของประเทศอื่นๆ ไม่ให้ สามารถ เข้ ามาท�ำให้ ผลประโยชน์ของประเทศและของชนชาติ นันๆ ้ ต้ องถูกครอบง�ำด้ วยผลประโยชน์ของพวกเขา นี่ คือความหมายของความมีเอกราช และนี่คือเป้าหมาย ส�ำคัญที่สดุ ส�ำหรับประเทศหนึง่ ๆ สิ่ ง ที่ จ ะสามารถตอบสนองอิ ส รภาพส� ำ หรั บ การปฏิวตั ิอิสลามของเราได้ นัน่ ก็คือ การยึดมัน่ อย่าง ชัดเจนและโปร่ งใสต่อแนวคิดของการปฏิวตั ิ หลักการ ของการปฏิวตั ิ แนวคิดของการปฏิวตั ิ และคุณค่าต่างๆ ของการปฏิวตั ิจะต้ องได้ รับการยึดมัน่ อย่างชัดเจนและ โปร่ งใส ท่านอิมามผู้เป็ นที่เคารพก็เป็ นเช่นเดียวกันนี ้ ท่านอิมามได้ อธิบายค�ำพูดทังหมดของท่ ้ านอย่างชัดเจน โดยปราศจากความคลุมเครื อใดๆ นับตังแต่ ้ ชว่ งเริ่ มต้ น ของขบวนการเคลื่อนไหว นับตังแต่ ้ เริ่ มแรกท่านอิมาม ได้ ปฏิเสธและไม่ใส่ใจต่อระบอบทรราชที่สืบทอดสันติ วงศ์และระบอบสมบูรณาญาสิทธิ ราชย์ เป็ นที่ทราบ กันดีตงแต่ ั ้ เริ่ มแรกว่าท่านอิมามนันมุ ้ ่งแสวงหาระบอบ และองค์กรการจัดตังที ้ ่เป็ นของประชาชน ระบอบการ ปกครองแบบการสืบสันติวงศ์ จึงถูกปฏิเสธ ระบอบ การปกครองแบบเผด็จการจึงถูกปฏิเสธ ระบอบการ ปกครองแบบเอกบุคคลและการรวมอ�ำนาจการตัดสิน ใจไว้ ที่บคุ คลเพียงคนเดียวจึงถูกปฏิเสธ สิ่งเหล่านี ้ท่า นอิมามได้ อธิบายไว้ อย่างชัดเจนโดยไม่ได้ ปิดบังใดๆ ท่านอิมามได้ อธิบายไว้ อย่างชัดเจนว่า ระบอบ การปกครองที่วางพืน้ ฐานอยู่บนแนวคิดของอิสลาม


และคุณค่าต่างๆ แห่งอิสลามนันจะต้ ้ องขึ ้นมาท�ำหน้ าที่ ท่านไม่ได้ ปิดบังอ�ำพรางใดๆ ในกรณีของการเผชิญหน้ า กับเครื อข่ายลัทธิไซออนิสต์ที่เป็ นตัวอันตรายที่ต้องการ จะปกครองโลก แต่ท่านอิมามก็ไม่ได้ แยแสใดๆ เลย แม้ แต่น้อย ไม่เคยปกปิ ดค�ำพูดใดๆ ไว้ ท่านได้ แสดง จุดยืนอย่างชัดเจนต่อลัทธิ ไซออนิสต์ ซึ่งเป็ นระบอบ เถื่ อนและเป็ นผู้ฉกชิง ที่ท�ำการปกครองอยู่เหนือดิน แดนปาเลสไตน์ที่ถกู อธรรม ท่านไม่ได้ สนใจและปิ ดบัง อ�ำพรางใดๆ ทังสิ ้ ้น ท่านทังหลายจงดู ้ เถิด สิ่งเหล่านี ้ คือพื ้นฐานและเป็ นรากฐาน ท่านอิมามไม่เคยปิ ดบัง อ�ำพรางใดๆ ที่วา่ พวกเราต่อต้ านระบบจักรวรรดิ ระบบ จักรวรรดิก็คือระบบการปกครองระหว่างประเทศที่ยดึ หลักการแบ่งโลกออกเป็ น “ผู้ครอบง�ำ” และ “ผู้ยอมรับ การครอบง�ำ” ซึง่ ท่านอิมามได้ ปฏิเสธสิง่ นี ้อย่างสิ ้นเชิง ระบบจั ก รวรรดิ นิ ย มได้ ปรากฏและก่ อ รู ป ที่ สมบูรณ์ของมันให้ เห็นได้ จากระบอบการปกครองของ รัฐบาลสหรัฐอเมริกาในปั จจุบนั นัน่ เอง ด้ วยเหตุนี ้ท่านอิ มามจึงแสดงจุดยืนที่ตรงข้ ามกับอเมริ กาอย่างชัดเจน การแสดงจุดยืนของเราในการต่อต้ านอเมริ กานันไม่ ้ ใช่ เนื่องจากเหตุผลที่ว่าพวกเขาเป็ นชนชาติหนึง่ ที่เราต้ อง ต่อต้ าน หรื อมีลกั ษณะต่างๆ ทางด้ านชาติพนั ธุ์นิยม เข้ ามาเกี่ยวข้ อง เหล่านี ้ไม่ใช่ประเด็น แต่ประเด็นมัน อยูท่ ี่วา่ ธรรมชาติของตัวตนและพฤติกรรมของรัฐบาล สหรัฐอเมริ กานันเป็ ้ นผู้แทรกแซงและผู้ครอบง�ำ ท่านอิ มามจึงได้ แสดงจุดยืนในการต่อต้ านสิ่งนี ้อย่างชัดเจน และโปร่งใส นัน่ คือเหตุผลที่พวกท่านจะเห็นได้ วา่ การปฏิวตั ิ

แม้ จะผ่านไปถึง 35 ปี แล้ ว แต่ก็ยงั มัน่ คงและยืนหยัด อยู่บ นหลัก การพื น้ ฐานและแนวทางที่ แ ท้ จ ริ ง การ ปฏิวตั ิไม่ได้ เปลี่ยนแปลงไปจากสาส์นเดิมของมัน ไม่ ได้ เปลี่ยนแปลงแนวทางและเป้าหมายต่างๆ แต่อย่าง ใด (นี่คือ) สิง่ ที่ส�ำคัญมาก การปฏิวตั ิทงหลายนั ั้ นเมื ้ ่อ มีพายุตา่ งๆ มาประสบกับมัน ก็จะสูญเสียการยืนหยัด ต้ านทานไป จ�ำนวนมากมายที่พวกเขาได้ เปลี่ยนแปลง ค�ำพูดหรือไม่กเ็ ปลีย่ นแปลงแนวทางของตน หรือไม่กถ็ กู ท�ำลายและสูญสลายไปในที่สดุ แต่การปฏิวตั ิอิสลาม นับจากเริ่ มแรกที่เกิดขึ ้นจวบจนถึงวันนี ้ยังคงรักษาเป้า หมายต่างๆ ที่ชดั เจนของมันไว้ และยังคงขับเคลื่อน ไปสูเ่ ป้าหมายเหล่านัน้ ประสบความส�ำเร็ จและความ ก้ าวหน้ าในภาคส่วนต่างๆ อย่างน่าพิศวง จากที่เคยเป็ นประเทศและชนชาติหนึ่งที่ถกู ลืม ไม่มผี ลกระทบใดๆ ในโลก (แต่ขณะนี ้) ก�ำลังแสดงตนให้ โลกเห็นในฐานะที่เป็ นมหาอ�ำนาจหนึง่ ของภูมิภาคที่มี ขนาดใหญ่และเป็ นองค์ประกอบที่มีผลกระทบทางการ เมืองต่างๆ ระหว่างประเทศ ประเทศต่างๆ ทัว่ ทุกมุม โลกต่างรู้ จักประเทศอิ หร่ านในฐานะประเทศที่ กล้ า หาญ เป็ นประเทศที่มีความจริงใจ เป็ นประเทศที่เฉลียว ฉลาดและเป็ นประเทศทีย่ นื หยัด แม้ จะมีการด�ำเนินการ และความพยายามในการโฆษณาชวนเชื่อเพื่อต่อต้ าน ระบอบอิสลามอย่างเต็มทีก่ ต็ าม ในช่วงเวลาหนึง่ หน่วย งานด้ านการโฆษณาชวนเชื่อและการเมืองของบรรดา ประเทศศัตรู ของประเทศอิหร่ าน ได้ ใช้ วิธีการในการ สร้ างความเกลียดกลัวต่ออิหร่าน (Iranophobia) บ้ างก็ การสร้ างความเกลียดกลัวต่ออิสลาม (Islamophobia) แต่ความรักและความนิยมอิหร่านในหมูป่ ระชาชาติของ โลกกลับเพิ่มมากยิ่งขึ ้น วันนี ้ไม่เพียงแต่ประชาชนทัว่ ไปของประเทศทัง้ หลายเท่านัน้ ทว่าบรรดาชนชันน� ้ ำของโลกที่ไม่มีอคติก็ เป็ นเช่นเดียวกันนี ้พวกท่านลองพิจารณาดูทศั นะต่างๆ ของพวกเขา ความเห็นของพวกเขาเกี่ยวกับประชาชน อิหร่าน นันก็ ้ คือ : เป็ นประชาชนที่ยืนหยัด เป็ นชนชาติ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 11


ที่ชาญฉลาด เป็ นชนชาติที่มีความอดทนสูง พวกเขา มองประชาชนอิหร่ านด้ วยสายตาเช่นนี ้ นโยบายการ สร้ างความเกลียดกลัวต่ออิหร่าน (Iranophobia) ของ พวกเขาในวันวันนี ้ได้ สง่ ผลเช่นนี ้ชนชาติทงหลายไม่ ั้ ได้ กลัวระบอบสาธารณรัฐอิสลามและประชาชนอิหร่ าน แต่ชนชาติทัง้ หลายนัน้ กลัวการครอบง�ำของอเมริ กา อเมริกาต่างหากทีถ่ กู รู้จกั ในนามของ “ผู้ใช้ อำ� นาจบาตร ใหญ่” ถูกรู้จกั ในนามของ “ผู้แทรกแซง” กิจการภายใน ของประเทศต่าง ๆ ถูกรู้จกั ในนามของ “ผู้กอ่ ไฟสงคราม” ชาติทงหลายจะรู ั้ ้ จกั อเมริ กาในนามของ “รัฐบาลผู้ก่อ สงคราม” ผู้ก่อ ไฟและแทรกแซงกิ จ การภายในของ ประเทศทังหลาย ้ อเมริ กาต่างหากที่ชนชาติทงหลาย ั้ กลัว อเมริกาต่างหากทีพ่ วกเขาเกลียดชัง แต่หน้ าตาของ ระบอบสาธารณรัฐอิสลามโดยการประทานความส�ำเร็จ (เตาฟี ก) ของพระผู้เป็ นเจ้ านัน้ ก�ำลังเป็ นที่ชดั เจนยิ่งขึ ้น ในทุกๆ วัน ประเทศอิหร่ านกลายเป็ นผู้มีเกียรติในโลก เพิม่ มากยิง่ ขึ ้นทุกวัน และวิธีการนี ้จะยังคงด�ำเนินต่อไป เคล็ดลับของการด�ำรงอยูข่ องระบอบสาธารณรัฐ อิสลามบนขบวนการของปฏิวตั ิ และบนแนวทางหลัก ของท่านอิมามผู้เป็ นที่เคารพรั ก ก็คือความชัดเจนนี ้ นั่น เอง จะต้ อ งไม่ป ล่อ ยให้ ค วามโปร่ ง ใสและความ ชัดเจนนี ้ต้ องสูญเสียไปเป็ นอันขาด ในการเผชิญหน้ า กับบรรดาผู้ตอ่ ต้ าน บรรดามวลมิตรและกับศัตรูนนั ้ ท่าที ต่างๆ ของสาธารณรัฐอิสลามจะต้ องเป็ นท่าทีที่ชดั เจน กลยุทธ์ต่างๆ นันอาจจะเปลี ้ ่ยนแปลงได้ วิธีการต่างๆ ของการท�ำงานอาจจะเปลี่ยนแปลงได้ แต่หลักการจะ ต้ องคงสภาพอยู่อย่างมัน่ คง นี่คือเคล็ดลับของความ มัน่ คงแข็งแกร่ งของการปฏิวตั ิและเคล็ดลับของความ เจริ ญก้ าวหน้ าของประเทศ บรรดาศัต รู ข องการปฏิ วัติ ข องเราวัน นี ม้ ี ใ คร บ้ าง?! บรรดาศัตรูของการปฏิวตั ิ คืออ�ำนาจทีช่ วั่ ร้ ายของ โลกเพียงไม่กี่ประเทศ ซึง่ พวกเขาเป็ นพวกที่ไร้ เกียรติใน โลก พวกเหล่านี ้เป็ นศัตรู กบั ชนชาติอิหร่ าน และมิตร สหายของประชาชาติอิหร่ าน นัน่ คือทุกบุคคลที่ได้ ยิน

12 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

สาส์นของการปฏิวตั ิและสาส์นของสาธารณรัฐอิสลาม อาจเป็ นไปได้ ที่บางคนไม่ได้ รับรู้ ถึงข้ อมูล แต่ทกุ คนที่ ได้ ยินค�ำขวัญต่างๆ ของสาธารณรัฐอิสลาม ได้ ร้ ูถงึ การ ยืนหยัดต่อสู้ของสาธารณรัฐอิสลาม รับรู้และเข้ าใจถึง การยืนหยัดอย่างมัน่ คงที่ควบคู่ไปกับการถูกกดขี่ เขา ก็จะสนับสนุนระบอบสาธารณรัฐอิสลาม และระบอบ สาธารณรัฐอิสลามนันหมายถึ ้ งประชาชนอิหร่าน หมาย ถึงชนชาติอหิ ร่าน ประชาชนนันไม่ ้ ได้ แยกออกจากระบบ ประชาชนคือผู้ค� ้ำจุนอยูเ่ บื ้องหลังระบอบ นีค่ อื ความลับ ของความแข็งแกร่งและความมีพลังอ�ำนาจของระบอบ ส่วนหนึ่งจากค�ำพูดของบรรดาเจ้ าหน้ าที่ ของ อเมริ กัน ที่ มี ต่อ บรรดาเจ้ า หน้ า ที่ ข องเราในค� ำ แถลง ต่างๆ ทีว่ า่ “เราไม่มเี จตนาทีจ่ ะเปลีย่ นแปลงระบอบการ ปกครองของอิหร่าน” ประการแรกนัน้ พวกเขาก�ำลังพูด โกหก หากพวกเขาสามารถ พวกเขาจะไม่ลงั เลแม้ แต่ชวั่ ขณะเดียวทีจ่ ะท�ำลายรากฐานนี ประการที ้ ส่ อง พวกเขา ไม่มีความสามารถ เพราะระบอบการปกครองที่หน่วย งานต่างๆ ของมหาอ�ำนาจสามารถที่จะเปลี่ยนแปลง ได้ นนั ้ คือระบอบที่ไม่พงึ่ พาอยูก่ บั ประชาชน แต่ระบอบ สาธารณรัฐอิสลามนั่นพึ่งพาอยู่กับความศรัทธาของ ประชาชน พึง่ พาอยู่กบั ความรักของประชาชน พึง่ พา อยู่กบั เจตนารมณ์ต่างๆ ของประชาชน พวกท่านเคย เห็นการปฏิวตั ิใดบ้ างที่ภายหลังจากหลายสิบปี ผ่านไป แล้ ว ประชาชนชนยังคงเข้ าร่วมการเฉลิมฉลองการครบ รอบปี ของการปฏิวตั ใิ นถนนสายต่างๆ ด้ วยกับค�ำขวัญ ต่างๆ ที่หนักแน่น! อินชาอัลลอฮ์! (หากพระผู้เป็ นเจ้ าทรงประสงค์) วันที่ 22 บะฮ์มนั นี ้ พวกท่านก็จะได้ เห็นอีกเช่นกันว่า ประชาชนอิหร่านจะยังคงออกมาในเมืองต่างๆ ทังหมด ้ อย่างแข็งแกร่ง จะตระโกนถึงความมัน่ คงของพวกเขา ออกมา พวกเขาจะแสดงให้ เห็นถึงศักยภาพของคนใน ชาติ ที่ส�ำคัญประชาชนอิหร่านจะต้ องรับรู้ วา่ เคล็ดลับ ของความส�ำเร็จของพวกเขาคือการยืนหยัด และอัลฮัม ดุลลิ ลาฮ์ (มวลการสรรเสริญเป็ นของอัลลอฮ์) ประชาชน


อิหร่านต่างรู้ดีในสิง่ นี ้ ที่ส�ำคัญก็คือพวกเขาจะต้ องรู้วา่ แนวทางความมัน่ คงและสงบสุขของพวกเขา คือการ แสดงถึงศักยภาพของคนในชาติ พวกเขาจะต้ องแสดง พลังอ�ำนาจของชาติออกมา พลังอ�ำนาจของชาตินนมี ั้ สัญลักษณ์ปรากฏให้ เห็นหลายอย่าง โดยที่ประชาชน จะแสดงพลัง อ� ำ นาจนี อ้ อกมาให้ เ ห็ น ในการชุม นุม ต่างๆ ที่ยิ่งใหญ่นี ้ ตัวอย่างเช่น การเดินขบวนของวันที่ 22 บะฮ์มนั และการเลือกตังต่ ้ างๆ ที่พวกเขาจะแสดง ให้ เห็นถึงการปรากฏตัวนี ้ พวกเขาจะแสดงให้ เห็นถึง ความก้ าวหน้ าต่างๆ ทางด้ านวิทยาการ และความร่วม มือต่างๆ ที่พวกเขามีตอ่ ระบอบสาธารณรัฐอิสลาม นี่ คือเรื่ องที่ส�ำคัญ สิ่งที่จะรักษาความมัน่ คงสงบสุขของ ประเทศไว้ ได้ คือการแสดงพลังอ�ำนาจของชาติ เมื่อ ประชาชนได้ แสดงพลังอ�ำนาจของชาติให้ ศตั รู ได้ เห็น ศัตรูก็จะไม่สามารถท�ำอะไรได้ อีก วันนี ้เป็ นที่น่าเศร้ าใจที่ผ้ คู นจะได้ เห็นในบางช่วง บางเวลา ค�ำพูดต่างๆ จะถูกกล่าวออกมาจากบรรดา ศัตรู สิง่ นี ้เป็ นบทเรี ยนส�ำหรับประชาชนของเรา ในการ เจรจาต่างๆ ที่ก�ำลังเกิดขึ ้นในช่วงวันเวลานี ้ ประชาชน อิหร่ านจงเฝ้าดูการเจรจาเหล่านี ้ ประชาชนจงดูการ แสดงทัศนะต่างๆ ที่ไร้ มารยาทของเจ้ าหน้ าที่อเมริ กนั จงเฝ้าติดตามและจงรู้จกั ศัตรูเถิด บางคนต้ องการที่จะ เบี่ยงเบนสายตาของประชาชนจากความเป็ นปรปั กษ์ ของศัตรู ไม่ได้ ! พวกท่านจะต้ องมองดูศตั รู พวกท่าน จะต้ องดูความกลับกลอกของเจ้ าหน้ าที่อเมริกนั ในการ ประชุมส่วนตัวกับบรรดาเจ้ าหน้ าที่ของประเทศของเรา พวกเขาจะพูดอย่างหนึ่ง แต่ทนั ทีที่แยกออกจากพวก เขา ในวงนอกพวกเขาก็จะพูดอีกอย่างหนึง่ ประชาชน อิหร่ านจะต้ องมองให้ เห็นความหน้ าซื่อใจคดของศัตรู มองให้ เ ห็น เจตนาที่ ชั่ว ร้ ายและสกปรกของศัต รู ซึ่ง ประชาชนจะต้ องตระหนัก พวกเขาจะต้ องรู้วา่ ประเทศ หนึ่งควรจะต้ องรั กษาพลังอ�ำนาจภายในของตนเอง เอาไว้ ให้ ได้ นี่คือค�ำแนะน�ำของข้ าพเจ้ าที่มีอยูเ่ สมอต่อ บรรดาเจ้ าหน้ าที่

ปั ญหาต่างๆ ของประเทศมีเพียงสิง่ เดียวทีจ่ ะช่วย แก้ ไขได้ นัน่ ก็คือ การให้ ความส�ำคัญต่อศักยภาพต่างๆ ภายในประเทศ ซึง่ ก็อลั ฮัมดุลลิ ลาฮ์ (มวลการสรรเสริญ เป็ นของอัลลอฮ์) ศักยภาพเหล่านี ้มีอยู่มากมายนับไม่ ถ้ วน และการใช้ ประโยชน์จากศักยภาพเหล่านี ้อย่าง ชาญฉลาด นับเป็ นความโชคดีที่บรรดาเจ้ าหน้ าที่ด้าน เศรษฐกิจของรั ฐที่มีความตระหนักในด้ านนี ้ และไป ถึงบทสรุ ปแล้ ว แนวทางในการขจัดปั ญหาต่างๆ ทาง ด้ านเศรษฐกิจของประเทศ ตอนนี ้ปั ญหาส่วนนี ้ไม่ใช่ การมองไปยังภายนอก ไม่ใช่การมองไปยังมาตรการ ยกเลิกการคว�่ำบาตรของศัตรู และอื่นๆ ในลักษณะนี ้ เป็ นความโชคดีที่บรรดาเจ้ าหน้ าที่ทางด้ านเศรษฐกิจ ของรัฐได้ ตระหนักในด้ านนี ้ แนวทางของมันก็คือ พวก เขาจะต้ องมองจากภายใน จะต้ องเสริ มสร้ างโครงสร้ าง ทางด้ านเศรษฐกิจภายในให้ เข้ มแข็ง พวกเขาจะต้ องตัง้ เป้าหมายที่จะกระท�ำงานนี ้ อินชาอัลลอฮ์ (หากพระผู้ เป็ นเจ้ าทรงประสงค์) มันจะด�ำเนินไปเช่นนี ้ และพวก เขาจะได้ พบกับความส�ำเร็ จในสิง่ นี ้ เราไม่อาจจะมุ่งมองไปยังศัตรู ได้ ไม่อาจที่จะ คาดหวังใดๆ จากศัตรูได้ ในบางถ้ อยแถลงและส�ำนวน ค�ำพูดต่างๆ ของชาวอเมริ กันนัน้ พวกเขาจะบอกว่า “เราเป็ นมิตรกับประชาชนอิหร่ าน” สิ่งนี ้พวกเขาก�ำลัง พูดโกหก ซึง่ สามารถเข้ าใจได้ ในงานต่างๆ ของพวกเขา พวกเขาจะข่มขูอ่ ิหร่าน แต่ขณะเดียวกัน พวกเขากลับ คาดหวังที่จะให้ สาธารณรัฐอิสลามลดพลังอ�ำนาจใน การป้องกันของตนเองลง สิง่ นี ้ไม่ใช่ไม่เรื่ องตลกหรื อ?! สิ่งนี ้ไม่ใช่เรื่ องน่าขบขันหรื อ?! ในขณะที่พวกเขาข่มขู่ แต่ขณะเดียวกันพวกเขาก็บอกว่า พวกท่านจงลดพลัง อ�ำนาจของท่านในการป้องกันตนเองลง ไม่เลย! ด้ วย กับการประทานความส�ำเร็ จ (เตาฟี ก) จากพระผู้เป็ น เจ้ า บรรดาเจ้ าหน้ าที่ในภาคส่วนต่างๆ และกองทัพ พวกเขาจะเพิ่มพลังอ�ำนาจในการป้องกันตนของพวก เขายิ่งขึ ้นในทุกๆ วัน สิ่ง ที่ จ ะช่ว ยให้ ป ระเทศรอดพ้ น ได้ นัน้ คื อ การ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 13


พึ่งพิงพลังอ�ำนาจภายในประเทศ และการมองมายัง ปั ญ หาต่ า งๆ ภายในประเทศ ทัง้ ปั ญ หาทางด้ า น เศรษฐกิ จ ด้ า นสัง คมและการเมื อ ง รวมทัง้ ปั ญ หา ต่างๆ ทางด้ านวัฒนธรรม อินชาอัลลอฮ์ (หากพระผู้ เป็ นเจ้ าทรงประสงค์) นโยบายต่างๆ ของ “เศรษฐกิจ เพื่อการยืนหยัดต้ านทาน” จะถูกประกาศในอนาคต อันใกล้ นี ้ และอินชาอัลลอฮ์ (หากพระผู้เป็ นเจ้ าทรง ประสงค์) หลังจากการประกาศนโยบายเหล่านี ้แล้ ว การ ผลิตต่างๆ ที่จ�ำเป็ น การสร้ างงานที่จ�ำเป็ นและความ พยายามต่างๆ ที่จ�ำเป็ นส�ำหรับการสร้ างเศรษฐกิจเพื่อ การยืนหยัดต้ านทาน ที่ต้องอาศัยการยืนหยัดต้ านทาน ของประชาชนก็จะเกิดขึ ้น และประชาชนก็จะด�ำเนิน แนวทางของตนเองต่อไป สิ่งที่ส�ำคัญก็คือว่า ประชาชนของเราทุกคนจะ ต้ องรักษาเอกภาพของตนไว้ ประชาชนทุกคน บรรดา เจ้ าหน้ าที่ บรรดาชนชันน� ้ ำจะต้ องไม่ปล่อยให้ เรื่ องชาย ขอบต่างๆ นานา เข้ ามาเป็ นอุปสรรคกีดขวางงานหลัก วันนี ้งานหลักของการขับเคลื่อนของประชาชนคือการ สร้ างพลังอ�ำนาจภายในประเทศ คือการยืนหยัดต่อสู้ กับพายุต่างๆ ของการต่อต้ านและการขัดขวาง ใน ตลอดช่วง 35 ปี มานี ้ มีพายุตา่ งๆ ที่รุนแรง แต่อลั ฮัมดุ ลิลลาฮ์ (มวลการสรรเสริ ญเป็ นของอัลลอฮ์) ประชาชน

14 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

ได้ ยืนหยัด และในช่วงหลายปี ติดต่อกันมานี ้พวกเขาได้ ท�ำให้ การเคลื่อนไหวของบรรดาศัตรู ล้มเหลว และอิน ชาอัลลอฮ์ (หากพระผู้เป็ นเจ้ าทรงประสงค์) หลังจาก นี ้ก็เช่นกัน ประชาชนจะต้ องสร้ างความล้ มเหลวและ ท�ำลายการเคลื่อนไหวต่างๆ เหล่านี ้ให้ ได้ ประชาชนจะ ต้ องรักษาความเป็ นเอกภาพของพวกเขา ความสามัคคี ความเป็ นปึ กแผ่นและความร่ วมแรงร่ วมใจกันในหมู่ เจ้ าหน้ าที่และประชาชนจะต้ องเพิ่มมากขึ ้น เจ้ าหน้ าที่ และผู้บริ หารทุกคนของประเทศก็จะต้ องให้ ความไว้ วางใจต่อประชาชน และประชาชนก็จะต้ องให้ ความไว้ วางใจต่อบรรดาเจ้ าหน้ าที่ของประเทศ เป็ นไปได้ ที่บาง คนอาจจะเป็ นนักวิจารณ์ ก็จงวิพากษ์ วิจารณ์เถิด แต่ การวิพากษ์ วิจารณ์ตา่ งๆ จะต้ องมีความเป็ นธรรม เมื่อ พิจารณาถึงกรณีที่วา่ รัฐบาลเพิ่งเข้ ามาท�ำงานเพียงไม่ กี่เดือน ควรจะให้ โอกาสเพื่อให้ พวกเขาสามารถด�ำเนิน งานต่างไปข้ างหน้ าได้ อย่างเต็มก�ำลัง อินชาอัลลอฮ์ (หากพระผู้เป็ นเจ้ าทรงประสงค์) บรรดาผู้วิจารณ์ ทงั ้ หลายจะต้ องตระหนักในสิ่งนี ้ และจะต้ องแสดงออก ต่อรัฐบาลด้ วยหัวใจที่เปิ ดกว้ าง เจ้ าหน้ าที่รัฐบาลเองก็ จะต้ องแสดงออกต่อผู้วิพากษ์ วิจารณ์ด้วยหัวใจที่เปิ ด กว้ าง ทังหมดจะต้ ้ องให้ ความเคารพต่อกัน ทังหมดจะ ้ ต้ องเข้ าใจซึง่ กันและกัน


สนองตอบอนาคตที่ดีส�ำหรับประเทศ ส�ำหรับระบอบ และประชาชนที่รักของเรา อินชาอัลลอฮ์!

َّ ‫رحمةالل و بركاته‬ ‫‌والسالم عليكم و‬ ّ

ขอความสันติสขุ ความเมตตาและความจ�ำเริ ญ จากอัลลอฮ์จงประสบแด่ทา่ นทังหลาย ้ ---------------------------------------------

เรามี ศัต รู ห ลายคน ศัต รู เ หล่ า นัน้ ก็ มี ส มุน อยู่ ภายในประเทศเช่นกัน เราไม่ควรที่จะหลงลืมสิง่ นี ้ เรา และท่านจะต้ องไม่ปล่อยให้ ศตั รูในประเทศใช้ ประโยชน์ จากจุดอ่อนต่างๆ และสร้ างความวุน่ วายได้ ทังหมดจะ ้ ต้ องก้ าวเดินไปข้ างหน้ า ในแนวทางของท่านอิมามผู้ เป็ นที่เคารพรัก ในเส้ นทางแห่งพลังอ�ำนาจของประเทศ นี ้ร่วมกันและเคียงบ่าเคียงไหล่กนั อินชาอัลลอฮ์ (หาก พระผู้เป็ นเจ้ าทรงประสงค์) พระผู้เป็ นเจ้ าผู้ทรงสูงส่งจะ ทรงท�ำให้ ประเทศประสบความส�ำเร็จ และอินชาอัลลอฮ์ ภารกิจต่างๆ จะก้ าวไปข้ างหน้ าในรูปแบบที่ดที ี่สดุ และ ในช่วงเวลานี ้ก็เช่นกัน อินชาอัลลอฮ์ ไม่ว่าจะในกรณี ของนิวเคลียร์ และกรณี อื่นๆ อีกมากมาย ประชาชน อิหร่ านจะได้ รับชัยชนะเหนือบรรดาศัตรู ของเขา ด้ วย กับการประทานความส�ำเร็จจากพระผู้เป็ นเจ้ า และด้ วย พลังอ�ำนาจและเดชานุภาพของพระองค์ อินชาอัลลอฮ์ (หากพระผู้เป็ นเจ้ าทรงประสงค์) เราหวัง ว่าพระผู้เป็ นเจ้ าผู้ทรงสูงส่งจะทรงประทาน เตาฟี ก (ความส�ำเร็จ) แก่พวกท่านทุกคน และทรงท�ำให้ พวกท่านทุกคน ไม่วา่ จะอยูใ่ นที่ใดก็ตาม ไม่วา่ จะอยูใ่ น กองทัพอากาศ ในทุกเหล่าทัพของสาธารณะรัฐอิสลาม ในกองก� ำ ลัง ติ ด อาวุธ ทัง้ หมดและในหมู่ป ระชาชน สามารถที่จะปฏิบตั ิหน้ าที่ต่างๆ ของพวกท่าน อินชา อัลลอฮ์ (หากพระผู้เป็ นเจ้ าทรงประสงค์) ขอให้ พวกเรา ทุกคนสามารถที่จะปฏิบตั ิหน้ าที่ของเรา และสามารถ

(1) นายพลจัตวาฮะซัน ชาฮ์ซอ่ ฟี ย์ (2) ซูเราะฮ์อลั ฟั ตห์, ส่วนหนึง่ จากโองการที่ 29 (3) โปรแกรมพบปะผู้บญ ั ชากองทัพอากาศถูกจัดขึ ้น ก่อนการพบปะทัว่ ไป

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 15


ถอดความโดย

เชคอิมรอน พิชยั รัตน์

กุรอานวิทยา มุหก์ มั และมุตะชาบิฮ์ ในกุรอาน

กา

รท� ำ ความรู้ จัก มุห์ กัม และมุต ะบิ ฮ์ ในกุร อานนัน้ มี ค วามส� ำ คัญ และมี คุณค่าอย่างมาก ซึ่งนักอรรถาธิ บายกุรอานทุกท่าน ถือว่าเป็ นสิ่งจ�ำเป็ นส�ำหรับพวกเขาที่จะต้ องให้ ความ สนใจเกี่ยวกับเรื่ องนี ้ในทุกๆ โองการของกุรอาน การ เผลอไผลเกี่ยวกับเรื่ องนี ้เป็ นเหตุให้ เกิดการหลงทางใน การอรรถาธิบายกุรอานนัน่ ก็จากว่ากุรอานคือคัมภีร์ทมี่ ี ความสอดคล้ องและสัมพันธ์ซงึ่ กันและกัน และกุรอาน เองก็ได้ ประกาศอย่างชัดเจนว่าไม่มีโองการใดๆเลยที่มี ความขัดแย้ งและความไม่สอดคล้ องซึง่ กันและกัน โดย ได้ แบ่งโองการต่างๆ ออกเป็ นสองส่วนคือ มุห์กมั และ มุตะชาบิฮ์ บางโองการเป็ นโองการแห่งแม่บท เป็ น โองการหลักและเป็ นโองการที่โองการอื่น ๆ ต้ องย้ อน กลับมาหา และอีกส่วนหนึง่ ต้ องพึง่ ยังส่วนแรก ด้ วยเหตุ นี ้การมองโองการส่วนที่สองอย่างเป็ นเอกเทศในการ อรรถาธิบายกุรอานย่อมท�ำให้ หลงออกจากแนวทางที่ ถูกต้ องในการเข้ าใจกุรอาน และอาจจะมุ่งสู่หนทางที่ ขัดแย้ งกับคัมภีร์ของ อัลลอฮ์ (ซบ.) การเกิดขึ ้นของส�ำนักคิดที่ไม่ถกู ต้ อง อย่างเช่น มุญสั ซิมะฮ์ มุญบั บิเราะฮ์ หรื อมุเฟาวิเฎาะฮ์ ก็เนื่องจาก

16 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

การเข้ าหาโองการต่าง ๆ นี ้โดยไม่ค�ำนึงถึงโองการต่างๆ ที่เป็ นมุห์กัม เป็ นที่น่าเสียดายยิ่งนักที่เรื่ องนี ้ยังคงมี อยู่ตงแต่ ั ้ ช่วงต้ นของอิสลามจนถึงทุกวันนี ้ เนื่องจาก ปั จจัยของเวลาและสถานในทุกยุคทุกสมัยท�ำให้ มีกลุม่ หนึง่ ยึดเอาโองการเหล่านี ้เพื่อสร้ างอุตริ ตา่ ง ๆ ขึ ้น และ ยึดเอาโองการอันเจิดจรัสแห่งกุรอานเพียงเพื่อสนอง ความต้ องการทางอารมณ์ ของตนเอง (กระทัง่ ให้ อยู่ ในรู ปลักษณ์ของศาสนาและกุรอาน) อาจเป็ นไปได้ ที่ ด้ วยเหตุนี ้ เรื่ องมุห์กมั และมุตะชาบิฮ์จึงเป็ นเรื่ องที่นกั อรรถาธิบายกุรอานและนักวิชาการด้ านกุรอานให้ ความ สนใจมาอย่างช้ านาน ท�ำให้ นกั อรรถาธิบาย(ทังในยุ ้ ค ของซอฮาบะฮ์ ตาบิอีนและภายหลังจากนัน) ้ มีทศั นะ หลากหลายและแตกต่างกันเกี่ยวกับเรื่ องนี ้ นอกเหนือ จากการอรรถาธิบายของนักอรรถาธิบายชีอะฮ์และซุนนี ทีช่ ี ้แจงไว้ ใต้ โองการมุห์กมั และมุตะชาบิฮ์แล้ ว ก็ยงั มีนกั อรรถาธิบายกุรอานจากส�ำนักคิดต่างๆ นักวิชาการด้ าน วิทยาการแห่งกุรอาน ได้ นำ� เสนอเรื่องนี ้ไว้ ในศาสตร์ ด้าน วิทยาการแห่งกุรอาน ทว่ายังมีสารและต�ำราต่าง ๆ อีก มากมายที่เขียนเกี่ยวกับเรื่ องนี ้เป็ นการเฉพาะ เราขอหยุดการอธิ บายเรื่ องบรรทัดฐานในการ


‫الْعِْل ِم يـَُقولُو َن َآمنَّا بِ​ِه ُكلٌّ ِم ْن ِعْن ِد َربـِّنَا َوَما يَ َّذ َّكُر إِال‬ ِ ‫أُولُو األلْب‬ ‫اب‬ َ

“พระองค์ คื อ ผู้ ทรงประทานคั ม ภี ร์ ล งมาแก่ เจ้ า โดยที่ส่วนหนึ่งจากคัมภีร์นนมี ั ้ บรรดาโองการที่มี ข้ อความรัดกุมชัดเจน ซึง่ โองการเหล่านัน้ คือแม่บทแห่ง คัมภีร์ และมีโองการอื่น อีกที่มีข้อความเป็ นนัย ส่วน บรรดาผู้ที่ในหัวใจของพวกเขามีการเอนเอียงออกจาก ความจริ งนัน้ เขาจะติดตามโองการที่มีข้อความเป็ น นัยจากคัมภีร์ ทังนี ้ ้ เพื่อแสวงหาความวุน่ วาย และเพื่อ แสวงหาการตีความในโองการนัน้ และไม่มีใครรู้ในการ ตีความโองการนันได้ ้ นอกจากอัลลอฮ์ และบรรดาผู้ที่ มัน่ คงในความรู้เท่านัน้ โดยที่พวกเขาจะกล่าวว่า พวก ท�ำความรู้ จักกับมุห์กัมและมุตะชาบิฮ์ในกุรอานด้ วย เราศรัทธาต่อโองการนัน้ ทังหมดนั ้ นมาจากที ้ ่ที่พระผู้ สองฮะดีษดังต่อไปนี ้ เป็ นเจ้ าของเราทังสิ ้ ้น และไม่มีใครที่จะรับค�ำตักเตือน 1. มีรายงานไว้ ใน อัลอุยนู อะนิรริ ฎอ (อ.) นอกจากบรรดาผู้ที่มีสติปัญญาเท่านัน” ้ "ผู้ใดก็ตามได้ น�ำโองการมุตะชาบิฮ์ของกุรอาน โองการนี ้ได้ แบ่งโองการต่าง ๆ ของกุรอานออก ย้ อนกลับสู่โองการมุห์กมั ของกุรอาน เขาผู้นนย่ ั ้ อมได้ เป็ นสองกลุม่ คือ มุห์กมั และมุตะชาบิฮ์ ซึง่ ได้ แบ่งไปตาม รับการชี ้น�ำสูห่ นทางอันเที่ยงตรง....” คุณสมบัติตา่ ง ๆ ที่เฉพาะ 2. มีรายงานใน ตัฟซีร อันนุอ์มานี โดยสืบสาย นิยามของมุห์กัม รายงานจนถึงท่าน อิสมาอีล บิน ญาบิร เขากล่าวว่า “ รอฆิบ กล่าวไว้ ในต�ำรามุฟรอดาตว่า : รากศัพท์ ฉันได้ ยินท่านอะบาอับดิลลาฮ์ ญะอ์ฟัร บิน มุฮมั มัด อัศ ของค�ำว่า (ฮะกะมะ) นันให้ ้ ความหมายของ (มะนะอะซอดิก (อ.) กล่าวว่า การห้ าม-) ด้ วยเหตุนี ้ภาษาอาหรับจึงเรี ยกบังเหียนม้ า ....จงรู้ ไว้ เถิดว่า ขออัลลอฮ์ทรงประทานความ ว่า (ฮะกะมะฮ์) เพราะบังเหียนคือสิง่ ทีจ่ ะห้ ามไม่ให้ สตั ว์ เมตตาแก่พวกท่าน แท้ ที่จริ งผู้ใดก็ตามที่ไม่ร้ ู จกั คัมภีร์ เดินและพยศ ฉะนันรากศั ้ พท์ของค�ำ ๆ นี ้มีความหมาย ของอัลลอฮ์ผ้ ทู รงสูงส่ง โดยที่ไม่แยกนาสิคออกจากมัน ของการห้ ามและการไม่ยอมรับการสอดแทรกแฝงอยู่ สูค คอสออกจากอาม มุห์กมั ออกจากมุตะชาบิฮ์ มุคอศ เมื่อเรากล่าวว่า : ผู้พิพากษาได้ ตดั สินความแล้ ว นัน่ ออกจากอะซาอิม..... ก็เท่ากับว่าเขาผู้นนไม่ ั ้ ใช่ผ้ ทู ี่ร้ ูในกุ ก็หมายความว่า ก่อนหน้ าที่ท่านจะตัดสินความนันมี ้ รอาน และไม่ใช่เป็ นผู้ที่มาจากชาวแห่งกุรอาน” ความลังเลอยู่ แต่ภายหลังจากที่ทา่ นได้ ออกค�ำตัดสิน

มุห์กัมและมุตะชาบิฮ์

ِ ِ َ‫ك الْ ِكت‬ ‫ات‬ َ ‫ُه َو الَّذي أَنـَْزَل َعلَْي‬ ٌ َ‫اب مْنهُ آي‬ َ ِ َّ ِ ِ َ‫ات ُه َّن أ ُُّم الْ ِكت‬ ‫ين‬ ٌ َ‫ُخُر ُمتَ َشاب‬ ٌ ‫ُْم َك َم‬ َ ‫اب َوأ‬ َ ‫ات فَأ ََّما الذ‬ ‫ِف قـُلُوبِ​ِ ْم َزيْ ٌغ فـَيَتَّبِعُو َن َما تَ َشابَهَ ِمْنهُ ابْتِغَاءَ الْ ِفتـْنَ ِة‬ ‫الر ِاس ُخو َن ِف‬ َّ ‫َوابْتِغَاءَ تَأْ ِويلِ ِه َوَما يـَْعلَ ُم تَأْ ِويلَهُ إِال اللَّهُ َو‬

ท�ำให้ เรื่ องนันกลายเป็ ้ นเรื่ องที่คงที่และแข็งแกร่ง ความ (มุห์กัม-แข็งแกร่ ง-)ของสิ่งใดสิ่งหนึ่งนัน้ ก็คือ ปั จจัย ภายนอกไม่สามารถที่จะสอดแทรกเข้ าไปในสิ่งนันได้ ้ ดังค�ำกล่าวของท่านรอฆิบที่ว่า “ มุห์กมั คือสิ่งหนึ่งที่ ความคลุมเคลือทังค� ้ ำและความหมายไม่สามารถเข้ าไป ในสิง่ นันได้ ้ ” สิง่ นี ้คือคุณสมบัติพิเศษของประโยคหนึง่

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 17


ที่เมื่อกล่าวออกมาแล้ วต้ องไม่มีความหมายที่คลุมเค ว่า โองการมุห์กมั คือ โองการที่เป็ นแม่บท เป็ นโองการ ลือและต้ องบ่งบอกถึงเป้าหมายของมันไว้ อย่างชัดเจน ที่ถูกย้ อนกลับและเป็ นโองการหลัก ด้ วยคุณสมบัติที่ สมบูรณ์ ว่าไม่มีความคลุมเคลือใด ๆ ในโองการเหล่านี ้อีกทังยั ้ ง เป็ นโองการที่จะขจัดความคลุมเคลือออกจากโองการ นิยามของมุตะชาบิฮ์ รอฆิบ กล่าวว่า : ชุบฮะฮ์ คือ การมีความละม้ าย มุตะชาบิฮ์ สามารถที่จะเข้ าใจได้ จากโองการนี ้ว่า ถึง คล้ ายกันระหว่างสิ่งสองสิ่ง โดยไม่สามารถแยกแยะ แม้ ว่าส่วนหนึ่งของโองการกุรอานจะเป็ น มุตะชาบิฮ์ สิ่งหนึ่งออกจากอีกสิ่งหนึ่งได้ (ไม่ว่าจะมีความคล้ าย แต่ด้วยการน�ำโองการที่คลุมเคลือย้ อนกลับสูโ่ องการที่ กันในด้ านภายนอกหรื อจิตวิญญาณ) มุตะชาบิฮ์ ในกุ ชัดเจน กลุม่ โองการเหล่านี ้ก็จะถูกขจัดความคลุมเคลือ รอาน คือพจนารถที่ยากต่อการอรรถาธิบาย เนื่องจาก ออกไปเช่นกัน และความหมายของโองการเหล่านี ้ก็จะ ค�ำหรือความหมายของพจนารถนันมี ้ ความคล้ ายกับอีก ถูกเข้ าใจได้ ด้วยโองการมุห์กมั กล่าวอีกได้ วา่ ถึงแม้ วา่ สิง่ หนึง่ บรรดานักนิรุกติศาสตร์ อสิ ลามกล่าวว่า : สิง่ หนึง่ ส่วนหนึ่งของโองการกุรอานจะประกอบด้ วยโองการที่ ที่ภายนอกไม่ได้ บง่ บอกถึงสิง่ ที่อยูภ่ ายนอก ก็เสมือนดัง คลุมเคลือ (ซึง่ เป็ นส่วนที่มีอยูน่ ้ อย) แต่ความคลุมเคลือ ของโองการจะไม่เป็ นปริศนาตลอดไป เพราะกุรอานเอง ว่าไม่ใช่เป้าหมายของสิง่ นัน้ ค� ำ ว่ า อิ ช ติ บ าฮ์ ก็ เ ช่ น กัน คื อ สิ่ ง สองสิ่ ง หรื อ ได้ ก�ำหนดหนทางในการอธิบายความคลุมเคลือต่าง ๆ ไว้ ซึง่ อันที่จริ งแล้ วได้ บง่ บอกให้ ร้ ูถงึ หนทางในการแก้ ไข มากกว่านันมี ้ ความคล้ ายซึง่ กันและกัน ดังนัน้ มุตะชาบิฮ์ ตามความหมายเชิงวิชาการ ความคลุมเคลือเอาไว้ ด้วย ของกุรอาน คือ ค�ำ ๆ หนึง่ ทีค่ าดคะเนได้ วา่ มีหลายความ หลักฐานต่ างๆทีเ่ ป็ นมุห์กัม หมายรวมอยูใ่ นค�ำนัน้ จึงท�ำให้ เกิดความสงสัยขึ ้นในค�ำ และมุตะชาบิฮ์ ๆ นัน้ และเป็ นไปได้ ทอี่ าจจะตีความในค�ำนันได้ ้ อย่างถูก ทัศนะต่าง ๆ เกี่ยวกับเรื่ องมุห์กมั และมุตะชาบิฮ์ ต้ อง หรื อผิดพลาด จากความเป็ นไปได้ ทงสองประการ ั้ 1. มุตะชาบิฮ์ คื อ อักษรมุก็อตตออะฮ์ ที่ ถูก นี ้จึงเป็ นเหตุให้ ผ้ ทู ี่หลงทางตีความค�ำ ๆ นันให้ ้ ตรงตาม ประทานลงมาในการขึ ้นต้ นบางซูเราะฮ์ และส่วนทีเ่ หลือ เป้าหมายของตน นันเป็ ้ นโองการมุห์กมั หลังจากทีไ่ ด้ วเิ คราะห์ความหมายในเชิงวิชาการ 2.มุห์กมั คือ อักษรมุกอ็ ตตออะฮ์ ส่วนทีเ่ หลือเป็ น ของค�ำทัง้ สอง มุห์กัมและมุตะชาบิฮ์ ไปแล้ ว เราจะ โองการมุตะชาบิฮ์ กลับเข้ าสูโ่ องการที่กล่าวไว้ ข้างต้ น โองการนี ้ได้ แนะน�ำ 3. โองการที่ชดั เจน คือโองการที่เป็ นมุห์กมั ส่วน โองการต่าง ๆที่เป็ นมุห์กมั ว่า (เป็ นแม่บทแห่งคัมภีร์) โองการที่คลุมเคลือ คือโองการที่เป็ นมุตะชาบิฮ์ ค�ำว่า 4. โองการที่นาสิค (ที่มายกเลิก) คือโองการที่ อุมมุน มาจากรากศัพท์ ค�ำว่า อัมมะ ยะอุมมุ เป็ นมุห์กมั ส่วนโองการที่ถกู ยกเลิก คือโองการที่เป็ นมุ ให้ ความหมายของ กอศอดะ ยักศุดุ (-จุดมุ่งหมาย-) ตะชาบิฮ์ เนื่องจากว่าลูกจะให้ ความสนใจยังแม่และมีเป้าหมาย 5. มุห์กมั คือโองการต่าง ๆ ที่มีหลักฐานที่ชดั เจน ที่แม่ จึงเรี ยกแม่ในภาษาอาหรับว่า อุมมุน ค�ำว่า อุม ส่วนโองการที่เป็ นมุตะชาบิฮ์นนต้ ั ้ องคิดใคร่ ครวญและ มุน คือผู้ทถี่ กู ย้ อนกลับไปหาและคือผู้ทเี่ ป็ นจุดมุง่ หมาย วิเคราะห์ และค�ำว่า อุมมุลกิตาบ คือ โองการต่าง ๆ ที่เป็ นที่ย้อน 6. มุห์กมั คือทุก ๆ โองการที่สามารถเข้ าใจได้ กลับส�ำหรับโองการอื่น ๆ กุรอานได้ กล่าวอย่างชัดเจน ด้ วยเหตุผลทีซ่ อ่ นอยูห่ รือเหตุผลทีเ่ ปิ ดเผย แตกต่างจาก

18 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557


มุตะชาบิฮ์ ( เช่นความรู้เกี่ยวกับเวลาที่แน่นนอนของกิ ยามะฮ์ และอื่น ๆ) 7. โองการต่าง ๆ เกี่ยวกับบทบัญญัติ คือโองกา รมุห์กมั ของกุรอาน ส่วนที่เหลือเป็ นมุตะชาบิฮ์ 8. โองการมุห์กัม ตีความได้ ด้านเดียวเท่านัน้ ในขณะที่โองการมุตะชาบิฮ์สามารถคาดคะเนในการ ตีความได้ หลาย ๆ ด้ าน 9. การแบ่งโองการเป็ น มุห์กัมและมุตะชาบิฮ์ เฉพาะโองการเกี่ยวกับเรื่องเล่าเท่านัน้ กล่าวคือ โองการ ต่างๆ ที่แจ้ งข่าวและอธิ บายเอาไว้ อย่างชัดเจนเกี่ยว กับบรรดาศาสดาและชนชาติในยุคของพวกท่าน คือ โองการที่เป็ นมุห์กมั ส่วนโองการต่าง ๆ ที่กล่าวซ� ้ำในซู เราะฮ์อนื่ ๆ หลายครัง้ ค�ำหรือเนื ้อหาเกี่ยวกับประวัตขิ อง บรรดาศาสดานันคลุ ้ มเคลือ คือโองการทีเ่ ป็ นมุตะชาบิฮ์ 10. โองการมุต ะชาบิ ฮ์ คื อ โองการต่า งๆ ที่ ต้ อ งการการชี แ้ จงและอธิ บ าย แตกต่า งจากโองกา รมุห์กมั เมื่อพิจารณาถึงนิยามของมุห์กมั และมุตะชาบิฮ์ ทีไ่ ด้ กล่าวผ่านมาแล้ ว ก็สามารถทีจ่ ะได้ รับค�ำตอบอย่าง ชัดเจน โดยไม่จ�ำเป็ นต้ องชี ้แจงส�ำหรับบางทัศนะที่มีข้อ ท้ วงติง นันอี ้ ก

ปรั ชญาของการมีมุตะชาบิฮ์ ในอัลกุรอาน

การมี มุต ะชาบิฮ์ ใ นกุร อาน กลายเป็ นข้ อ อ้ า ง ส�ำหรับบางคนทีห่ าข้ อต�ำหนิคมั ภีร์ศกั ดิส์ ทิ ธิ์นี โดยกล่ ้ าว ว่า กุรอานอ้ างว่าเป็ นค�ำกล่าวทีแ่ ยกเป็ นสัดส่วน เป็ นค�ำ กล่าวแยกแยะสัจธรรมกับสิง่ โมฆะ ไม่มคี วามเป็ นโมฆะ ใดๆ อยูใ่ นนันเลย ้ ทัง้ ๆ ที่โองการต่าง ๆ ที่เป็ นมุตะชา บิฮ์ เป็ นโองการที่สร้ างความคลุมเคลือ คือโองการที่ สร้ างปั ญหา นิกายและส�ำนักคิดต่าง ๆ ของอิสลามต่าง ก็ยกเหตุผลและอ้ างอิงด้ วยกุรอานนี ้เพือ่ พิสจู น์ถงึ ความ สัจธรรมของตน สิง่ เหล่านี ้ไม่ใช่เหตุผลใดเลยนอกจาก บ่งบอกว่ามีความคลุมเคลือในกุรอาน ไม่ดกี ว่าหรือหาก กุรอานเป็ นมุห์กมั ทังหมด ้ และไม่ดีกว่าหรื อที่กรุ อานจะ

อธิบายไว้ เอง และโดยพื ้นฐานแล้ วปรัชญาของการมีมุ ตะชาบิฮ์ในกุรอานนันคื ้ ออะไรกันแน่ อัลลามะฮ์ ฏอบาฏอบาอีย์ ได้ อธิบายถึงเหตุผล ของการมีมตุ ะชาบิฮ์ในกุรอานไว้ ซึง่ สามารถสรุปได้ จาก การอธิบายอย่างละเอียดของท่านว่า โดยพื ้นฐานแล้ ว ถือว่าเป็ นความจ�ำเป็ นอย่างยิ่งรที่กรุ อานต้ องประกอบ ไปด้ วยโองการมุตะชาบิฮ์ และเป็ นอย่างอื่นไปไม่ได้ นอกจากต้ องเป็ นไปตามนี ้ ท่านได้ กล่าวว่า : “การถ่ายทอดความหมายต่าง ๆ สูม่ นุษย์นนเป็ ั้ น สิง่ ที่เป็ นไปไม่ได้ นอกจากด้ วยกับความรู้ตา่ ง ๆ ที่เขาได้ รับผ่านเข้ ามาในสมองตลอดช่วงระยะเวลาการใช้ ชีวิต ของเขา หากบุคคลนัน้ เป็ นผู้ที่ยึดติดอยู่กับเรื่ องของ การสัมผัส ก็จะถ่ายทอดความหมายด้ วยหนทางของ ประสาทสัมผัส และหากเขาได้ รับความหมายโดยรวม จากหนทางนี ้แล้ ว เขาผู้นนก็ ั ้ จะได้ รับความหมายตาม นัน้ อีกด้ านหนึง่ การชี ้น�ำเรื่ องศาสนาไม่ได้ จ�ำกัดเฉพาะ กลุ่มใดกลุ่มหนึ่งของมนุษยชาติ แต่ทว่าเป็ นการชี ้น�ำ มนุษยชาติทกุ หมู่เหล่า ในทุกๆระดับชัน้ ระดับความ เข้ าใจของประชาชนที่แตกต่างกัน อีกทัง้ การชีน้ �ำได้ ครอบคลุมมนุษยชาติทงหมด ั้ จึงเป็ นเหตุให้ การอธิบาย กุรอานอยูใ่ นกรอบของตัวอย่าง ฉะนันมนุ ้ ษย์ก็จะเลือก กลุม่ ความหมายทีเ่ คยคุ้นเคยและรู้จกั มาก่อน เพือ่ จะได้ น�ำความหมายเหล่านี ้มาอธิบายในสิง่ ที่เขาไม่ร้ ู” กล่าวอีกได้ วา่ : “ ค�ำต่าง ๆ ของกุรอาน คือตัวอย่างส�ำหรับความ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 19


รอบรู้ของพระผู้เป็ นเจ้ า และเนื่องจากความเข้ าใจของ มนุษย์ทวั่ ไปจะไม่ได้ รับมาจากหนทางใดนอกจากด้ วย ประสาทสัมผัสและเข้ าถึงเพียงแค่ความหมายโดยรวม ความรู้นี ้จึงถูกถ่ายทอดออกมาเป็ นตัวอย่างต่าง ๆ และ สิง่ ต่าง ๆที่เกี่ยวกับโลกแห่งวัตถุ ฉะนันหากความเข้ ้ าใจ ของมนุษย์ในการเข้ าถึงความรู้ แห่งพระผู้เป็ นเจ้ า อยู่ เพียงแค่ในระดับของประสาทสัมผัส เขาก็จะพบกับ ความไร้ ชวี ติ ชีวา ส�ำหรับบุคคลเหล่านี การถ่ ้ ายทอดแก่น แท้ การอธิบายกุรอานและตัวอย่างของกุรอานก็กลาย เป็ นเพียงสิง่ ทีถ่ กู ท�ำให้ เป็ นตัวอย่าง ดังนันเป ้ ้ าหมายของ โองการก็สญ ู หายไปสิ ้น” อย่างไรก็ตามการเคลือ่ นความหมายทีส่ งู ส่งและ เป็ นจิ ตวิญญาณของกุรอานสู่มวลมนุษย์ นัน้ เป็ นไป ไม่ได้ นอกจากต้ องถ่ายทอดออกมาด้ วยการใช้ ค�ำและ ประโยคต่าง ๆ ซึง่ แน่นอนค�ำต่าง ๆ ที่เป็ นวัตถุเหล่านี ้ ไร้ ศักยภาพที่จะรวมเนื อ้ หาและความหมายทัง้ หมด ของกุรอานไว้ ได้ ด้ วยเหตุนี ้จึงเกิดความคลุมเคลือขึ ้น และเหตุผลของมันก็คือความหมายแห่งพจนารถของ พระผู้เป็ นเจ้ าไม่อาจบรรจุไว้ ในกรอบของค�ำที่จ�ำกัดไว้ ได้ นนั่ เอง ความหมายมิอาจบรรจุไว้ ในถ้ อยค�ำอักษร ฉันใดประดุจดัง่ ที่มอิ าจบรรจะมหาสมุทธอันกว้ างใหญ่ ไว้ ในภาชนะเล็กๆ ฉันนัน้ อีกเหตุผลหนึง่ นักวิชาการบางท่านได้ ให้ คำ� ตอบเกี่ยวกับปั ญหา เรื่ องนี ้(ที่วา่ ท�ำไมกุรอานที่มีความสละสลวยทางภาษา เป็ นเลิศและมีความชัดเจนนี จึ้ งมีมตุ ะชาบิฮ์และโองการ ที่ท�ำให้ เกิดข้ อสงสัย ) พวกเขาได้ กล่าวว่า : กุรอานถูกประทานลงมาในกรอบจ�ำกัดและตรง ตามหลักของค�ำพูดที่เป็ นธรรมชาติของมนุษยชาติ จะ เห็นได้ ว่ามนุษย์ ใช้ ค�ำพูดตัง้ แต่ที่ง่ายต่อความเข้ าใจ ที่สดุ ตามที่ใช้ กนั เป็ นกิจวัตรประจ�ำวันจนถึงค�ำพูดที่สงู ด้ วยการใช้ รูปประโยคตามไวยากรณ์และมีวาทะศิลป์ โดยใช้ ประโยคในรูปต่างๆ เช่น การน�ำค�ำเปรี ยบเปรย มาใช้ แทนค�ำทีถ่ กู เปรียบเปรยซึง่ ถูกตัดไปในรูปประโยค

20 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

การยกตัวอย่าง ค�ำเปรี ยบเทียบ ค�ำอุปมาอุปไมย ค�ำ พังเพย ค�ำสุภาษิ ต เป็ นต้ น ซึง่ ย่อมมีความคลุมเคลือ และมุตะชาบิฮ์ จึงพอทีจ่ ะได้ บทสรุปว่า ด้ วยการค�ำนึงถึงประเด็น ที่วา่ การที่จะถ่ายทอดความหมายที่ละเอียดอ่อนที่สดุ ให้ อยู่ในกรอบจ�ำกัดของค�ำที่เป็ นวัตถุ อีกทังการใช้ ้ ค�ำ ที่แพร่หลายของกุรอาน เช่นมะญาซ อิสติอาเราะฮ์ ตัม ซีล และกินายะฮ์ ซึง่ มีประมาณ 200 โองการ จากกุรอา นทังหมด ้ จึงเป็ นเรื่ องที่หลีกเลีย่ งไม่ได้ ที่ต้องมีโองการมุ ตะชาบิฮ์ และถือว่าเป็ นเรื่ องจ�ำเป็ นที่จะต้ องมีเสียด้ วย ซ� ้ำไป และหากไม่เป็ นไปตามนี ้ ย่อมมีค�ำถาม ข้ อสงสัย และความคลุมเคลือเกิดขึ ้นอย่างแน่นอน

ตัวอย่ างต่ างๆ ของมุตะชาบิฮ์

แน่ น อน ตัว อย่ า งที่ ชัด เจนที่ สุด ของโองการ มุตะชาบิฮ์ในกุรอานนัน้ ต้ องหาในโองการต่าง ๆ ที่ เกี่ยวกับคุณลักษณะและการกระท�ำของพระผู้เป็ นเจ้ า โองการต่างๆ เหล่านี ้รวมทังโองการต่ ้ างๆ ทีก่ ล่าวถึงการ ชี ้น�ำและการหลงทางของมนุษย์ หรื อโองการที่เกี่ยวกับ เรื่ องของวะฮ์ยู หรื อการมีอยูข่ องสิง่ เร้ นลับ จนเป็ นเหตุ ให้ บางกลุม่ เกิดความคลุมเครื อ อาจจะกล่าวได้ เลยว่า มีความเข้ าใจที่แตกต่างกันในโองการต่าง ๆ เหล่านี ้นับ ตังแต่ ้ ศตวรรษแรกจนถึงปั จจุบนั นี บ้​้ างก็หลงทางจนเป็ น เหตุให้ เกิดนิกายต่างๆ ขึ ้นหลากหลาย เพือ่ ท�ำความรู้จกั


กับเหตุผลของการท�ำให้ เกิดนิกายเหล่านี ้ขึ ้น ซึง่ ทังหมด ้ ท�ำให้ หา่ งไกลจากการคาดคิดทีว่ า่ พระผู้เป็ นเจ้ ามีรูปร่าง ต่างก็อ้างอิงถึงบางโองการ และเราก็จะขอกล่าวถึง ซึง่ แน่นอนพระองค์ทรงย่อมบริ สทุ ธิ์จากสิง่ นี ้ โองการต่างๆ เหล่านี ้ด้ วยการวิเคราะห์อย่างพอสังเขป พระผู้เป็ นเจ้ าตรัสว่า ก. คุณลักษณะของพระผู้เป็ นเจ้ า ‫ص َار‬ ‫ص ُار َوُه َو يُ ْد ِرُك األب‬ ‫ال تُ ْد ِرُكهُ األب‬ ْ ْ َ َ ِ ِ ‫الس َماء َوه َي ُد َخا ٌن‬ ُ َّ ‫استـَ​َوى إِ َل‬ ِ ْ َّ‫ث‬.1 ِ ْ ‫يف‬ ُ ‫َوُه َو اللَّط‬ ُ‫الَبري‬ “แล้ วพระองค์ทรงมุ่งสู่ฟากฟ้าขณะที่มนั เป็ นไอ “สายตาทังหลายย่ ้ อมไม่ถงึ พระองค์ แต่พระองค์ หมอก” ทรงถึงสายตาเหล่านัน้ และพระองค์ก็คือผู้ทีรงปรานี ‫استـَ​َوى َعلَى الْ َع ْر ِش‬ ‫ث‬ .2 َّ ُ ผู้ทรงรอบรู้อย่างถี่ถ้วน” ْ “แล้ วพระองค์ทรงสถิตย์อยูบ่ นบังลังก์” และตรัสอีกว่า :

‫استـَ​َوى‬ َّ .3 ْ ‫الر ْحَ ُن َعلَى الْ َع ْر ِش‬

ِ ِ َّ ‫لَيس َك ِمثْلِ ِه َشيء وهو‬ ُ ‫السم‬ ُ‫يع الْبَصري‬ ََُ ٌ ْ َ ْ

“ผู้ทรงกรุณาปรานี ทรงสถิตย์อยูบ่ นบัลลังก์” โองการที่กล่าวถือ “พระหัตถ์ของอัลลอฮ์”

ِ ِ ‫ت أَيْ ِدي ِه ْم‬ ْ َّ‫ود يَ ُد اللَّه َم ْغلُولَةٌ غُل‬ ُ ‫ َوقَالَت الْيـَُه‬.4 ِ َ‫ولُعِنُوا ِبَا قَالُوا بل ي َداه مبسوطَت‬ ‫ان‬ َ ُ َْ ُ َ ْ َ

“และชาวยิวนันได้ ้ กล่าวว่า พระหัตถ์ของอัลลอฮ์ นัน้ ถูกล่ามตรวน มื อของพวกเขาต่างหากที่ ถูกล่าม ตรวน”

‫ يَ ُد اللَّ ِه فـَْو َق أَيْ ِدي ِه ْم‬.5

เขา”

“พระหัตถ์ของอัลลอฮ์ทรงอยู่เหนือมือของพวก โองการเกี่ยวกับการมองเห็นพระผู้เป็ นเจ้ า

ِ َ‫) إِ َل ربـِّها ن‬٢٢( ٌ‫اضرة‬ ِ ٍِ ٌ‫اظَرة‬ َ​َ َ َ‫ ُو ُجوهٌ يـَْوَمئذ ن‬.6

“ในวันนันหลายใบหน้ ้ าจะเบิกบาน จ้ องมองไป ยังพระผู้อภิบาลของมัน” โองการที่เกี่ยวกับการมาของพระผู้เป็ นเจ้ า

‫ص ًّفا‬ ُ َ‫ك َوالْ َمل‬ َ ُّ‫ َو َجاءَ َرب‬.7 َ ‫ص ًّفا‬ َ ‫ك‬

“และพระผู้อ ภิ บ าลของเจ้ า เสด็จ มาพร้ อมทัง้ มะลาอิกะฮ์เป็ นแถว ๆ” เมื่อพิจารณาจากภายนอกของโองการเหล่านี ้ ท�ำให้ บางกลุม่ คิดว่าพระผู้เป็ นเจ้ ามีรูปร่าง แต่เมือ่ ได้ คดิ ใคร่ครวญในโองการดังกล่าว พร้ อม ทังพิ ้ จารณาโองการอื่นๆ ที่เป็ นมุห์กมั ความคลุมเคลือ ก็จะถูกขจัดออกไปจากโองการต่างๆ เหล่านี ้ และจะ

“ไม่มีสิ่งใดเสมอเหมือนพระองค์ และพระองค์ ทรงได้ ยิน อีกทังทรงมองเห็ ้ นยิ่ง” (ซูเราะฮ์ชรู อ โองการ ที่ 11) สองโองการนี ้ได้ ท�ำให้ การเทียบเคียงพระผู้เป็ น เจ้ ากับมนุษย์และสรรพสิ่งทังมวลเป็ ้ นโมฆะอย่างสิ ้น เชิงไว้ อย่างชัดเจน เป้าหมายของบัลลังก์ที่ถกู กล่าวไว้ กรุ อาน หมาย ถึงการบริ หารสรรพสิ่งทังมวล ้ ซึง่ ในรายงานต่าง ๆ ก็ กล่าวไว้ ทงสองลั ั้ กษณะ คือ การมีความรู้ ต่อทุกสรรพ สิ่งทังมวล ้ หรื ออาจหมายถึง การบริ หารที่ครอบคลุม ทังหมดของพระผู ้ ้ เป็ นเจ้ า ซึง่ ย่อมเกิดจากการมีความรู้ และอ�ำนาจของพระองค์ ข. การกระท�ำต่ างๆ ของพระผู้เป็ นเจ้ า โองการต่างๆ ที่โดยผิวเผินแล้ วบ่งบอกถึงการ บังคับและการมีอิสระเสรี โองการต่าง ๆที่ได้ เกี่ยวโยง การได้ รับทางน�ำอีกทัง้ การหลงทางยังพระผู้เป็ นเจ้ า และโองการต่าง ๆ ที่ถือว่าพระประสงค์ของพระผู้เป็ น เจ้ าคือที่มาของการมีศรัทธา การปฏิเสธ ความผาสุก และความล�ำบาก َّ ‫اء‬ ُ ‫اء َويَ ْه ِدي َم ْن يَ َش‬ ُ ‫ فَ ِإ َّن اللَ يُ ِض ُّل َم ْن يَ َش‬.1 ‫يرا‬ ً ِ‫يرا َويَ ْه ِدي ب ِ ِه َكث‬ ً ِ‫ يُ ِض ُّل ب ِ ِه َكث‬.2 َّ ‫اء‬ ُ ‫اء َويَ ْه ِدي َم ْن يَ َش‬ ُ ‫ فَيُ ِض ُّل اللُ َم ْن يَ َش‬.3 َّ ‫ َما َكانُوا لِي ْؤ ِمنُوا إِال أَ ْن يَ َشاء‬.4 ُ‫الل‬ َ ُ َّ ‫ َولَو َشاء‬.5 ‫اللُ َما أَ ْش َر ُكوا‬ َ ْ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 21


เพื่ อ ให้ ค วามหมายของโองการเหล่ า นี เ้ ป็ นที่ กระจ่าง ซึ่งบ้ างก็ได้ อ้างอิงโองการเหล่านี จ้ นเชื่ อใน เรื่ องของการก�ำหนดและการถูกบังคับให้ กระท�ำ การให้ ความส�ำคัญต่อโองการดังต่อไปนี ้ถือว่าเป็ นสิง่ จ�ำเป็ นยิง่ ‫اء َذ َك َر ُه‬ َ ‫ َكال إِن َّ َها تَ ْذ ِك َر ٌة فَ َم ْن َش‬.1 ‫اء فَ ْليَ ْك ُف ْر‬ َ ‫اء فَ ْليُ ْؤ ِم ْن َو َم ْن َش‬ َ ‫ ال ْ َح ُّق ِم ْن َرب ِّ ُك ْم فَ َم ْن َش‬.2 ‫ فَ َمنِ ا ْهتَ َدى فَلِنَ ْف ِس ِه َو َم ْن َض َّل فَ ِإن َ​َّما يَ ِض ُّل َع َل ْي َها‬.3 ِ‫ ال إِ ْك َر َاه فِي ال ِّدين‬.4 َ ‫ك َم ْن َه َل‬ َ ِ‫ لِيَ ْهل‬.5 ‫ك َع ْن بَيِّنَ ٍة َويَ ْحيَا َم ْن َح َّي َع ْن بَيِّنَ ٍة‬ นอกเหนือจากโองการข้ างต้ น ยังมีโองการต่าง ๆ อีกมากมายที่บง่ บอกว่า การลงโทษและรางวัลของ พระผู้เป็ นเจ้ านันขึ ้ ้นอยู่กบั การกระท�ำที่มีเสรี ภาพของ มนุษย์เอง َ ِ ‫س لِإلنْ َس‬ ‫)وأَ َّن َس ْعيَ ُه‬٣٩( ‫ان إِال َما َس َعى‬ َ َ ‫ َوأ ْن ل َ ْي‬.6 ‫َس ْو َف يُ َرى‬ ٍ ‫ الْيَ ْو َم تُ ْج َزى ُك ُّل ن َ ْف‬.7 ‫س ب ِ َما َك َسبَ ْت ال ُظ ْل َم الْيَ ْو َم‬ ‫ ل َ َها َما َك َسبَ ْت َو َع َل ْي َها َما ا ْكتَ َسبَ ْت‬.8 ‫يع أَ ْج َر َم ْن أَ ْح َس َن َع َمال‬ ُ ‫ إِن َّا ال ن ُ ِض‬.9 ‫ ال َّ ِذي َخ َل َق ال ْ َم ْو َت َوال ْ َحيَا َة لِيَ ْب ُل َو ُك ْم أَيُّ ُك ْم أَ ْح َس ُن‬.10 ‫َع َمال‬ โองการต่าง ๆ เหล่านี ้คือตัวอย่างทีบ่ ง่ บอกว่าการ ได้ รับทางน�ำของมวลมนุษย์นนั ้ ขึ ้นอยู่กับตัวของพวก เขาเอง และยังได้ แนะน�ำอีกว่าการมีชีวิตอยูแ่ ละความ ตายนันคื ้ อสนามแห่งการทดสอบของพวกเขา เพื่อที่วา่ ใครก็ตามที่ต้องการ ก็จะได้ มีศรัทธา และเพื่อที่วา่ ใคร ก็ตามที่ไม่ต้องการ เขาก็เป็ นผู้ปฏิเสธด้ วยกับเสรี ภาพ ของตัวเขาเอง กลุม่ โองการแรก โดยผิวเผินแล้ วบ่งบอกว่ามนุษย์ ไม่มีบทบาทใดๆ เลยในการได้ รับทางน�ำและการหลง ทาง และสิ่งเหล่านี ้พระผู้เป็ นเจ้ าต่างหากที่ท�ำให้ พวก เขาได้ รับทางน�ำหรื อท�ำให้ พวกเขาหลงทาง ด้ วยพระ ประสงค์ของพระองค์เอง ซึง่ เป้าหมายที่แท้ จริ งคือ การ ให้ โอกาสและการช่วยเหลือของพระผู้เป็ นเจ้ าต่างหาก ที่ ท รงประทานให้ กับ ผู้ที่ มี ศัก ยภาพที่ จ ะได้ รั บ ความ 22 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

โปรดปรานและความเมตตาของพระองค์ และมันจะไม่ ถูกมอบให้ แก่บรรดาผู้ที่ไม่ร�ำลึกถึงอัลลอฮ์ (ซบ.)

การตะอ์ วีล

เรื่ องสุดท้ ายที่จะกล่าวในส่วนของมุห์กมั และมุ ตะชาบิฮ์คือการตะอ์วีล ซึง่ รากศัพท์มาจากบทตัฟอีล โดยมีรากศัพท์เดิมจากค�ำว่า “เอาลุน” หมายถึงการ ย้ อนกลับ ค�ำนีใ้ นความหมายเชิงวิชาการแล้ วถื อว่าเป็ น ศัพท์เชิงวิชาการด้ านการตัฟซีรและกุรอานที่ใช้ กนั มาก ที่สดุ ค�ำหนึง่ ซึง่ เป็ นที่สนใจของนักวิชาการด้ านกุรอาน และนักอรรถาธิบายกุรอานมาช้ านาน และมีค�ำกล่าว มากมายเกี่ยวกับเรื่ องนี ้ ค�ำว่า “ตะอ์วีล” ถูกกล่าวไว้ ในกุรอานถึง 17 ครัง้ โดยปรากฏหนึง่ ครัง้ ในกรณีที่ได้ แบ่งกุรอานออกเป็ นมุห์กมั และมุตะชาบิฮ์ ในโองการนี ้ พระผู้เป็ นเจ้ าได้ อธิบายว่าบรรดาผู้ท่ีหลงทางแสวงกา รตะอ์วีลและโองการมุตะชาบิฮ์ เพื่อสร้ างความวุน่ วาย และความแตกแยก มีอยู่สองประเด็นที่ส�ำคัญเกี่ยว กับเรื่ องนี ้ คือ เรื่ องนิยามของการตะอ์วีล และเรื่ องที่วา่ พระผู้เป็ นเจ้ าคือผู้ที่ร้ ูเกี่ยวกับการตะอ์วีลเพียงพระองค์ เดียวกระนันหรื ้ อ ก. การตะอ์ วีล คืออะไร อัลลามะฮ์ ฏอบาฏอบาอี กล่าวว่า : “เป็ นที่ร้ ู จกั กันในหมู่ผ้ รู ้ ู รุ่ นก่อนว่า ตะอ์วีล ก็คือ การตัฟซีร (การอรรถาธิบายกุรอาน)และถือว่าคือการ สื่อถึงเป้าหมายของค�ำพูด แต่ผ้ รู ้ ู รุ่ นหลังกล่าวกันว่า : เป้าหมายของการตะอ์วีล คือการบ่งบอกความหมาย ทีแ่ ตกต่างจากความหมายด้ านเปิ ดเผยของค�ำ และเป็ น ความเชื่อที่แพร่ หลายที่ว่า ตะอ์วีล ในด้ านของความ หมายตามพจนานุกรมให้ ความหมายของการย้ อนกลับ ความจริ งประการที่สองคือ ให้ ความหมายที่แตกต่าง จากความด้ านเปิ ดเผยของค�ำ หลังจากที่กล่าวถึงทัศนะต่าง ๆ และได้ โต้ แย้ ง ทัศนะเหล่านัน้ อัลลามะฮ์ได้ สรุปว่า : การอรรถาธิ บายที่ถูกต้ องเกี่ยวกับการตะอ์วีล


ความฝั นนี ้ไว้ ในท้ ายโองการว่า :

ِ ‫َو َرفَ َع أَب َ َو ْي ِه َع َلى ال ْ َع ْر‬ ‫ش َو َخ ُّروا ل َ ُه ُس َّج ًدا‬ َ َ‫َوق‬ ُ ‫ال يَا أَب َ ِت َه َذا تَ ْأ ِو‬ ‫اي ِم ْن قَ ْب ُل قَ ْد‬ َ َ‫يل ُر ْؤي‬ ‫َج َع َل َها َرب ِّي َحقًّا‬

คือ การตะอ์วีล เป็ นความจริ งหนึ่งที่ใช้ อ้างอิงในการ อธิบายของกุรอาน ไม่วา่ จะเป็ น บทบัญญัติ วิทยญาณ หรื อข้ อตักเตือน การตะอ์วีลมีไว้ ส�ำหรับโองการทังหมด ้ ของกุรอาน ไม่ว่าจะเป็ นโองการมุห์กมั หรื อมุตะชาบิฮ์ ซึง่ ไม่ใช่เป็ นเรื่ องความหมายของค�ำ แต่วา่ การตะอ์วีล เป็ นเรื่องแก่นแท้ ทสี่ งู ส่งกว่ารูปกรอบของค�ำ ซึง่ รูปกรอบ ของค�ำเป็ นเพียงเรื่ องที่ท�ำให้ ปัญญาเราได้ เข้ าใจ โดย ใช้ รูปกรอบของค�ำและประโยคต่าง ๆ ค�ำต่าง ๆ เหล่านี ้ เปรียบดังตัวอย่างทีไ่ ด้ หยิบยกมาเพือ่ ให้ มนุษย์ได้ เข้ าใจ เป้าหมายที่ต้องการ ทุกกรณีที่กรุ อานใช้ ค�ำว่าตะอ์วีล ทังหมดได้ ้ ค�ำนึงถึงแก่นแท้ ภายนอกไว้ ด้วย กรณีตา่ ง ๆ ของการใช้ การตะอ์วีล เช่นในกรณี เรื่ องเล่าเกี่ยวเรื่ องราวของท่านนบีมซู า (อ.) และท่าน คิฎิร (อ.) และเรื่ องเล่าเกี่ยวกับท่านศาสดายูซฟุ (อ.) และอื่นๆ ที่เป็ นหลักฐานเกี่ยวกับเรื่ องนี ้ ตัวอย่างเช่น ในช่วงต้ นของซูเราะฮ์ยซู ฟุ ได้ กล่าว ถึงเรื่ องการฝั นของท่านศาสดายูซฟุ (อ.) ว่า :

ِ ِ ‫َح َد َع َشَر‬ َ َ‫إِ ْذ ق‬ ُ ‫وس‬ ُ ْ‫ف ألبِيه يَا أَبَت إِ ِّن َرأَي‬ َ ‫تأ‬ ُ ُ‫ال ي‬ ِ ‫اج‬ ِ ‫َكوَكبا والشَّمس والْ َقمر رأَيـتـهم ِل س‬ ‫ين‬ ‫د‬ َ ْ ُ​ُ ْ َ َ َ َ َ ْ َ ً ْ َ “จงร� ำลึกขณะที่ ยูซุฟกล่าวแก่ บิดาของเขาว่า “โอ้ บดิ า! แท้ จริ งฉันได้ ฝันเห็นดวงดาวสิบเอ็ดดวง ดวง อาทิตย์ และดวงจันทร์ ฉันฝั นเห็นพวกมันสุญดู (กราบ กราน)ต่อฉัน” หลังจากที่เหตุการณ์ผ่านไปหลายปี มีเรื่ องราว ต่างๆ มากมายเกิดขึ ้น จนกระทัง่ ได้ กล่าวถึงการตีความ

“และเขาได้ ยกบิดามารดาของเขาขึ ้นบนบัลลังก์ แล้ วพวกเขาก็ก้มลงสุญดู (กราบกราน) เขา และกล่าวว่า “โอ้ พ่อของฉัน นี่คือการท�ำนายฝั นของฉันแต่ครัง้ ก่อน พระผู้อภิบาลของฉันทรงท�ำให้ เป็ นจริ ง” โองการนี ้ได้ ตคี วามสิง่ ทีท่ า่ นศาสดายูซฟุ (อ.) ฝั น เห็น เป็ นการสุญดู (กราบกราน) ของบิดา มารดาและ พี่น้องของเขา การตีความและการย้ อนกลับนี ้จัดอยูใ่ น ประเภทของการย้ อนอุปมัยกลับสู่อปุ มา และตีความ เป็ นความจริ งที่ปรากฏขึ ้นภายนอก ข. เฉพาะพระผู้เป็ นเจ้ าเท่ านั้ นที่ร้ ู การตะอ์ วีล กระนั้นหรื อ เมื่อพินิจถึงโองการที่ 7 ของซูเราะฮ์อาลิอิมรอน ค�ำถามนี ้ก็ถกู น�ำมาชี ้แจงอีกเช่นกัน แม้ กระทัง่ มีทศั นะ ที่แตกต่างกันอย่างจริ งจังเกี่ยวกับการอ่านโองการนี ้ซึง่ บ้ างก็กล่าวว่าเป็ นความแตกต่างที่มีความส�ำคัญมาก ที่สดุ และมีความหมายมากที่สดุ ของกุรอาน นัน่ ก็คือ ความแตกต่างในเรื่ องของการหยุดพักการอ่าน(วักฟ์) หรื อไม่หยุดพักในการอ่านหลังจากค�ำว่า “อัลลอฮ์” ใน َّ ‫(”و َما يَ ْع َلم تَ ْأ ِوي َل ُه إِال‬และไม่ ประโยคที่วา่ “ُ‫الل‬ มีใครรู้ใ َ ُ นการตีความโองการนันได้ ้ นอกจากอัลลอฮ์) ตามบรรทัดฐานของทัศนะที่วา่ การหยุดพักการ อ่าน (วักฟ์) ประโยคที่เกี่ยวกับความรู้ ในการตีความ นันเฉพาะพระผู ้ ้ เป็ นเจ้ าเท่านัน้ ไม่ตรงกับทัศนะที่เกี่ยว กับการอ่านต่อยังค�ำสันธานที่บ่งบอกถึงการรวมเข้ า กับประโยคก่อนหน้ า(อัฏฟ์) ที่วา่ ความรู้ในการตีความ นันไม่ ้ ได้ เฉพาะพระผู้เป็ นเจ้ าเท่านัน้ แต่ทว่า บรรดาผู้ที่ มัน่ คงในความรู้ก็มีความรู้ในการตีความเช่นกัน แม้ ว่าการถกเกี่ยวกับเรื่ องนี ้จะเป็ นเรื่ องที่ถกกัน มาตังแต่ ้ อดีตจนถึงปั จจุบนั ก็ตาม แต่ผลประโยชน์ในเชิง ปฏิบตั แิ ล้ วส่วนมากจะมุง่ เน้ นไปในด้ านของวิชาการเสีย

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 23


มากกว่า เพราะในด้ านของกฏนะฮ์วู และไวยากรณ์ของ ภาษาอาหรับ ถือว่าอนุญาตทังสองทั ้ ศนะ ทังการหยุ ้ ด พักในการอ่าน (วักฟ์) และค�ำสันธานที่บง่ บอกถึงการ ย้ อนกลับในประโยค์ (อัฏฟ์) จึงไม่สามารถที่จะโต้ แย้ ง ในด้ านไวยากรณ์ได้ เลย หลักฐานที่ดีที่สดุ เกี่ยวกับเรื่ อง นี ้คือทัศนะของแต่ละฝ่ าย ซึ่งหนึ่งในนันเป็ ้ นนักอักษร ศาสตร์ ที่ยิ่งใหญ่ของอาหรับ “ผู้ที่ยดึ ถือเอาการหยุดพักในการอ่าน(วัก ฟ์) ส่วนใหญ่แล้ วจะเป็ นพี่น้องซุนนี เช่น ท่านอุบยั บิน กะอบ์ ท่านอิบนุ มัสอูด ท่านฮะซันบัศรี ท่านมาลิก ฟั ร รออ์ ท่านอัคฟั ช ท่านญุบบาอี ท่านมุอ์ตะซิลี ท่านฏอบะ รี ท่านมัยมูดี อิมามฟั ครุรรอซี และ..... ส่วนผู้ที่ยดึ ถือ เอาการอ่านต่อยังค�ำสันธานที่บง่ บอกถึงการย้ อนกลับ ในประโยค ซึง่ ทัศนะนี ้มีทงในพี ั ้ ่น้องซุนนีและในพี่น้อง ชีอะฮ์เกือบทังหมด ้ จากพี่น้องซุนนี เช่น ท่าน มุญาฮิด ท่านนุฮ์หาส ท่านนะฮ์วี ท่านอักบะรี นะฮ์วี ท่านกอฎี อับดุลญับบาร ท่านซะมัคชะรี ท่านอิบนุ อะบิล ฮะดีษ ท่านบัยฎอวี ท่านซัรกะชี ท่านอาลูซี และท่านเชคมุฮมั มัด อับดุฮ์ อย่ า งไรก็ ต ามไม่ ค่ อ ยได้ รั บ ประโยชน์ ใ นเชิ ง ปฏิ บัติในการถกเกี่ ยวกับเรื่ องนี ม้ ากเท่าใดนัก และ บุคคลอย่างเช่นท่านอัลลามะฮ์ ฏอบาฏอบาอี ก็มที ศั นะ ว่าไม่สามารถที่จะเข้ าใจทัศนะเกี่ยวกับการอ่านต่อยัง ค�ำสันธานที่บง่ บอกถึงการรวมเข้ ากับประโยคก่อนหน้ า ได้ จากโองการนี ในขณะเดี ้ ยวกันท่านก็ยงั คงมีความเชือ่ ว่า ความรู้ ในการตะอ์วีล (ตีความ) นันไม่ ้ ได้ จ�ำกัดอยู่ เพียงแค่พระผู้เป็ นเจ้ าเท่านัน้ โดยสามารถที่จะเข้ าใจ ได้ จากโองการอื่นๆ และฮะดีษต่างๆ เหตุผลทางปั ญญาที่ชดั เจนเกี่ยวกับผู้ที่มีความ มั่น คงในวิ ช าการว่ า เป็ นผู้ที่ มี ค วามรู้ ในการตะอ์ วี ล

24 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

โองการมุตะชาบิฮ์ คือ กุรอานถูกประทานลงมาเป็ น ภาษาของมนุษยชาติ เพื่อจะได้ ชี ้น�ำพวกเขาสู่ทางน�ำ หากบรรดาผู้ร้ ู และบรรดาผู้ที่มีความมัน่ คงในวิชาการ ไม่สามารถที่จะเข้ าถึงการตะอ์วีลกุรอานได้ ก็จะยังคง มีโองการที่เป็ นปริ ศนาโดยไม่สามารถที่จะแก้ ปมได้ ใน เมื่ออ่านแล้ วไม่สามารถเข้ าใจได้ แล้ วกุรอานจะสัง่ ให้ พินจิ พิจารณาและใคร่ครวญในโองการต่างๆไว้ ทำ� ไมกัน ที่ส�ำคัญยิ่งไปกว่านัน้ หากเฉพาะพระผู้เป็ นเจ้ า เท่านันที ้ ม่ ีความรู้ในการตะอ์วลี ก็เท่ากับว่าท่านศาสดา (ศ็อลฯ) และบรรดาอิมามผู้น�ำภายหลังจากท่านก็ไม่ สามารถที่จะเข้ าถึงสิ่งนันได้ ้ นัน่ ก็หมายความว่าท่าน ศาสดาที่กรุ อานถูกประทานลงมายังท่าน ไม่เข้ าใจใน การตีความโองการต่าง ๆ ของกุรอานได้


แปลและเรียบเรียงโดย เชคกวี ฮัยดัร

บทบัญญัติ

รัศมี

แห่งทางน�ำ ค�ำวินจิ ฉัยของวะลียุลอัมริลมุสลิมีน หัซรัตอายะตุลลอฮ์อลั อุซมา ซัยยิดอะลี คอมาเนอีย์ รวบรวมค�ำวินจิ ฉัยโดย ฮุจญะตุลอิสลามเชค มุฮซ์ นิ ชะรีอตั

“เรื่องนมาซ”

“ครั น้ เมื่ อ พวกเจ้ า เสร็ จ จากการนมาซแล้ ว ก็ จงกล่าวร� ำลึกถึงอัลลอฮ์ ทัง้ ในยามยืนและนั่ง และ ในสภาพนอกเอกเขนกของพวกเจ้ า ครัน้ เมื่อพวกเจ้ า ปลอดภัยแล้ ว ก็จงด�ำรงไว้ ซงึ่ การนมาซแท้ จริงการนมาซ นันเป็ ้ นบัญญัตทิ ี่ถกู ก�ำหนดเวลาไว้ แก่ผ้ ศู รัทธาเท่านัน” ้ “ทุ ก สรรพสิ่ ง ย่ อ มมี วิ สั ย ทั ศ น์ แ ละวิ สั ย ทั ศ น์ แนวทางของพวกท่านคือการนมาซ”

ตอนทีห่ นึ่ง :

นมาซ

การวินิจฉัยเรื่ องกิบละห์ และบทบัญญัติเรื่ อง

1. กิบละห์ส�ำหรับบุคคลที่ไม่ร้ ูจกั ทิศทาง • การเรี ยนจักทิศกิบละห์ในต่างประเทศนันจะ ้ เรี ยนรู้จกั ได้ อย่างไร และส�ำหรับบุคคลที่ไมรู้จกั ทิศทาง ของกิบละห์เลย

เขาจะปฏิบตั นิ มาซได้ อย่างไร ถ้ าเขามีความมั่นใจโดยการเรี ยนรู้ ทิศของกิ บ ละห์จากที่ตงของมั ั้ สยิด หรื อสุสานที่ฝังศพของบรรดา มุสลิมนัน้ ก็เป็ นความเพียงพอแล้ วที่จะได้ ร้ ู จักทิศกิบ ละห์ แต่นอกเหนือจากนี ้เป็ นสิ่งจ�ำเป็ นที่เขาจะต้ องหา ทิศของกิบละห์ จากการสอบถาม เพื่อจะได้ มีความ มัน่ ใจในทิศของกิบละห์ และก็ปฏิบตั ิมมาซ แต่ถ้าเขา ไม่สามารถค้ นหาทิศของกิบละห์ได้ เขาจะต้ องปฏิบตั ิ นมาซไปทังสี ้ ่ทิศ และถ้ าเวลานันมี ้ ไม่เพียงพอ ก็ให้ เขา ปฏิบตั นิ มาซเท่ากับเวลาที่หลงเหลืออยู่ 2. การก�ำหนดทิศกิบละห์จากขัว่ โลกเหนือและ ขัว่ โกลใต้ ท�ำได้ อย่างไร และจะปฏิบตั ินมาซได้ อย่างไร เกณฑ์การก�ำหนดทิศกิบละห์จากขัว่ โลกเหลือขัว่ โลก ใต้ เป็ นการก�ำหนดเส้ นทีร่ ากไปยังทีต่ งของกะอ์ ั้ บะห์งา่ ย ที่สดุ ส�ำหรับผู้ที่จะปฏิบตั นิ มาซ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 25


ดังนันเมื ้ ่อเส้ นที่รากไปยังกะอ์บะห์ได้ ถกู ก�ำหนด แน่ชดั แล้ ว ก็ให้ อา่ นนมาซไปยังทิศนัน้ 3. อัตราในการก�ำหนดทิศกิบละห์ • มีคนบอกข้ าพเจ้ าว่าในอเมริ กาเหนือ ทิศกิบ ละห์อยูท่ างทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ในทัศนะของ ฯพณฯ เกี่ยวกับเรื่ องนี ้เป็ นเช่นไร อัตราการก�ำหนดทิศกิบละห์ เริ่ มต้ นรากเส้ นทิศของกิ บละห์ ส�ำหรั บผู้ที่อ่าน นมาซนันให้ ้ รากเส้ นจากผ่านยังประเทศเกาหลีผ่านไป ยังที่ตงของกะอ์ ั้ บะห์มอุ ซั มะห์ และสถานที่ใดที่เส้ นนี ้ รากผ่านไป และมีความม่นใจว่าทิศนันคื ้ อ ทิศกิบละห์ ชัรอีย์ก�ำหนดของอิสลามก็ก�ำหนดไว้ เช่นนันเหมื ้ อนกัน 4. การเบีย่ งเบนจากทิศของกิบละห์ในการนมาซ • การเบีย่ งเบียนจากทิศของกิบละห์ได้ ประมาณ เท่าไร การอ่านนมาซถือว่าถูกต้ อง การตัง้ ใจเบี่ ย งเบนจากทิ ศ กิ บ ละห์ ใ นขณะที่ นมาซ แต่ถ้าในขณะที่ อ่านนมาซอยู่นัน้ เกิ ดมี ความ มัน่ ใจว่าทิศที่หนั ไปไม่ใช่ทิศของกิบละห์ ถ้ าทิศที่หนั ไป นันเพี ้ ยงด้ านขวา หรือด้ านเหนือเพียงเล็กน้ อยทีเ่ ลนจาก

26 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

ทิศกิบละห์ การอ่านนมาซถือว่าถูกต้ อง ถ้ าในขณะที่อ่านนมาซและมีเหตุการณ์ เกิดขึ ้น เช่นนี ้เกิดขึ ้น ไม่วา่ จะอ่านนมาซจนเสร็จสิ ้นไปแล้ วก็ตาม ซึง่ ตรงนี ้ไม่มีความแตกต่างว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ ้นนันจะ ้ อยูใ่ นช่วงของการนมาซ หรื อเวลาของนมาซยังคงหลง หลืออยู่ก็ตาม ถ้ าการเยบี่ยงเบนจากทิศของกิบละห์ นันมากเกิ ้ นไป หรื อหลังจากนมาซเสร็ จแล้ วปรากฎว่า หันไปยังทิศของกิบละห์ผิด ถ้ าเวลาของนมาซยังมีอยู่ จ�ำเป็ นที่เขาจะต้ องอ่านนมาซใหม่อีกครัง้ และถ้ าเวลา ของนมาซหมดไปแล้ ว การอ่านนมาซครัง้ แรกของกเขา ก็ถือว่าเป็ นการเพียงพอ ถ้ าเบี่ยงเบนระยะทางโดยหัน หลังให้ ทิศกิบละห์ ข้ อควรระมัระวังที่เป็ นมุสตะฮับ เมื่อเวลานมาซ ผ่านไปแล้ ว ให้ เขาชดใช้ (กะฎอ) นมาซอีกครัง้ หนึง่ 5. การก�ำหนดทิศกิละห์บนเครื่ องบิน • จะปฏิบตั ินมาซในขณะโดยสารเครื่ องบินได้ อย่างไร ซึง่ เส้ นทางการบินนันเบี ้ ่ยงเบนออกจากทิศกิบ ละห์ จะต้ องมัน่ ใจว่าการอ่านนมาซนัน้ อยู่ในทิศของ กิบละห์ และถ้ าเกิดความไม่มนั่ ใจ ก็ให้ หาทิศที่คลาด


ว่าเป็ นทิศกิบละห์ ก็ให้ อ่านนมาซไปตามทิศนัน้ และ ถ้ าในกรณีที่ทิศของกิบละห์ถกู เบี่ยงเบน ก็ให้ หยุดการ ซิกร์ และหมุนตามไปยังทิศกิบละห์ และอ่านมาซนัน้ ต่อไปจนเสร็ จสิ ้น 6. การสังเกตทิศกิบละห์ในห้ องน� ้ำของรถไฟ และ เครื่ องบิน • การสังเกตทิศกิบละห์ในขณะที่อยู่ในห้ องน� ้ำ ของรถไฟหรื อเครื่ องบิน ที่เปลีย่ นส้ นทางจากทิศของกิบ ละห์ ของให้ ฯพณฯ ท่านได้ อธิ บายเกี่ ยวกับบทบัญญัติใน กรณี นี ว้ ่า ส� ำ หรั บ ผู้ป ฏิ บัติ นัน้ เป็ นวาญิ บ หรื อ ไม่ที่ จ ะ ต้ องหาทิศของกิบละห์ เพื่อว่าจะได้ หมดข้ อสงสัยใน เรื่ องนี ้ถ้ าไม่ร้ ูทิศกิบละห์ ถือว่าไม่เป็ นไร การตรวจสอบ ก็ไม่จ�ำเป็ น 7. การปฏิบตั นิ มาซในเครื่ องบิน • ถ้ าเครื่ องบินที่ก�ำลังบินอยู่ และเวลาของนมาซ มาถึงและเวลาของนมาซนันมี ้ ระยะเวลาเท่ากับทีก่ �ำ ดัง นันการปฏิ ้ บตั ินมาซบนเครื่ องบินที่ก�ำลังบินอยู่นนถู ั้ ก ต้ องหรื อไม่ หรื อว่าปล่อยเวลาผ่านเลยไปและมาชดใช้ นมาซนันที ้ ่หลัง ถ้ าบุคคลที่ได้ อ่านนมาซบนเครื่ องบิน เพื่อที่จะ ให้ การอ่านนมาซของเขาถูกต้ องนันขึ ้ ้นอยู่กบั เงื่อนไข ที่ว่า แต่ถ้าเขาไม่สามารถที่จะประวิงเวลาและกลัวว่า เวลาของนมาซจะผ่านเลยไป ก็ให้ เขาปฏิบตั ินมาซใน สถานที่นนได้ ั ้ เท่ากับความสามารถของเขา ซึง่ เขาระวัง ในเรื่ องทิศกิบละห์ การสุญดู และการรุกอู ์ของเขาด้ วย • การหมุนตามของผู้ปฏิบตั ินมาซในขณะที่เรื อ ได้ หมุนตามเข็มนาฬิกาเดินเรื อถึง 180 องศา จะเกิด ความเสียกายของนมาซหรื อไม่ ถ้ าการอ่านนมาซทังหมดอยู ้ ใ่ นทิศทางของบิละห์ ในขณะที่เรื อนันได้ ้ หมุนตามเข็มของการเดินเรื อ และ เขาหยุดการกล่าวซิกร์ ของนมาซ ถือว่าไม่เป็ นไร 9. การนมาซครัง้ แรกของบุคคลที่พงึ่ เป็ นมุสลิม โดยเขาไม่ร้ ูภาษาอาหรับ

• บุ ค คลที่ ไ ด้ เ ข้ าสู่ค วามเป็ นมุส ลิ ม ไม่ ว่ า ทัง้ หญิงหรื อชาย และพวกเขายังไม่เข้ าใจในการอ่านออก เสียงภาษาอาหรับ พวกเขาจะต้ องปฏิบตั ินมาซ และ บทบัญญัตขิ องศาสนาทีเ่ ป็ นข้ อบังคับได้ อย่างไร ซึง่ การ เรี ยนรู้ภาษาอาหรับนันต้ ้ องใช้ เวลา เป็ นวาญิ บ (ข้ อบังคับ) ในการเรี ยนรู้ การออก เสียงตักบีรตุลอิฮ์รอม ซูเราะห์ฟาติฮะห์ การอ่านตะ ชะฮุด การให้ สลามของนมาซ และค�ำอ่านที่เป็ นภาษา อาหรับถือว่าเป็ นเงื่อนไขของการนมาซ 10. นมาซบนอาภรณ์ เสื ้อผ้ าที่มีน�ำ้ หอม ด้ วย น� ้ำหอมที่ผสมแอลกอฮอล์ • นมาซด้ วยเสื ้อผ้ าอาภรณ์ ที่มีปะพรมน� ้ำหอม ซึง่ น� ้ำหอมในปั จจุบนั นี ้มีแอลกอฮอล์ผสมอยู่ นมาซนัน้ ถือต้ องหรื อไม่ ถ้ าสติปัญญาคิดว่าน� ำ้ หอมที่ใช้ ไม่เป็ นนะญิ ส การอ่านนมาซบนอาภรณ์ตามทีก่ ล่าวมา ถือว่าไม่เป็ นไร 11. นมาซด้ วยเข็มขัดหนังที่เป็ นหนังจากต่าง ประเทศ • การอ่านนมาซด้ วยการคาดเข็มขัดทีข่ ้ าพเจ้ าได้ ซื ้อมาจากประเทศเยอรมัน และข้ าพเจ้ าคิดว่าท�ำมาจาก หนังเทียม หรื อหนังแท้ ที่ท�ำมาจากหนังสัตว์ที่ถกู เชือด ตามบัญญัตอิ สิ ลามหรื อไม่นนั ้ ในหลักการชัรอีย์จะเป็ น เช่นไร และการปฏิบตั นมาซด้ วยกับการคาดเข็มขัดเส้ น นัน้ จะมีบทบัญญัตอิ ย่างไรบ้ าง ถ้ าเกิดสงสัยว่าหนังที่ท�ำเข็มขัดนันหนั ้ งเทียม หรื ทอหนังแท้ การอ่านนมาซด้ วยการคาดเข็มขัดเส้ นนัน้ ถือว่าไม่เป็ นไร แต่ถ้าหลังจากได้ พิสจู ย์แล้ วว่า เป็ นหนังแท้ และเกิดสงสัยว่าหนังของสัตว์ที่ถกู เชือด ตามหลักการชัรอีย์หรื อไม่ ถือว่าไม่ใช่นะญิส แต่การ อ่านนมาซนันถื ้ อว่าเป็ นบาฏิล (โมฆะ) และการอ่าน นมาซที่ผ่านมาในขณะที่ไม่ทราบถึงบทบัญญัติชรั อีย์ ไม่จ�ำเป็ นต้ องกะฎอ (ชดใช้ ) 12.การอ่านนมาซบนอาภรณ์ที่ตดั เย็บจากหนัง ที่มีข้อสงสัยว่าถูดเชือด

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 27


• บุคคลหนึง่ ที่เขาได้ ท�ำการตักลีดกับมัรญิอ์ทา่ น หนึง่ เขาได้ สวมใส่อาภรณ์ท่ีถกู ตัดเย็บด้ วยหนังสัตว์ที่ เขาสงสัยว่าถูกเชือดตามหลักการหรื อไม่ นมาซของเขา จึงไม่ถกู ต้ อง แต่ในทัศนะค�ำวินิจฉัยของมัรญิอ์ที่เขาตัก ลีดได้ กล่าวว่า ถ้ าน�ำเพียงส่วนใดส่วนหนึ่งของสันว์ที่เนือ้ เป็ น ฮะรามมาในส่ว นของการปฏิ บัติ น มาซ เป็ นข้ อ ควร ระมัดระวังที่เป็ นวาญิบ ที่เขาจะต้ องอ่านนมาซนันใหม่ ้ อีกครัง้ อยากจะเรี ยนถามว่าข้ อสงสัยส�ำหรับสัตว์ที่ได้ กล่าวนันใช้ ้ บทบัญญัติเช่นเดียวกับสัตว์ที่เนื ้อของมัน ฮะรามใช่หรื อไม่ สัตว์ที่ได้ มีมีข้อสงสัยว่าถูกเชือดตาม หลักการหรื อไม่ นันหมายถึ ้ งสัตว์ที่เนื ้อของมันเป็ นฮะ รามในการรับประทาน ไม่เป็ นการอนุญาตให้ ใช้ ในเวลาออ่านมาซเพราะ อยู่ในบทบัญญัติของมัยยิต แต่มนั ไม่เป็ นนะญิส และ ถ้ านมาซที่ผ่านมาเขาไม่มีความรู้ ในบทบัญญัตินี ้ การ ปฏิบตั ทิ ี่ผา่ นมา ถือว่าถูกต้ อง 13. นมาซบนอาภรณ์ที่ท�ำมาจากหนังสัตว์ต่าง ประเทศ • หนัง สัต ว์ ที่ ม าจากประเทศที่ ไ ม่ ใ ช่ ป ระเทศ อิสลาม ที่ถกู น�ำมาตัดเย็บเป็ นเสื ้อผ้ าอาภรณ์ ในกรณี มื อที่ เปี ยกชื น้ ไปสั ม ผั ส เข้ าจะมี

28 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

บทบัญญัติอย่างไร และสามารถ จะสวมใส่อาภรณ์ชนิดนี ้ในนมาซ ได้ หรื อไม่ บทบั ญ ญั ติ นี ไ้ ด้ ตอบไป แล้ วในค�ำถามที่ผ่านมา ในกรณี ที่เกิดข้ อสงสัยว่าการนมาซนันจะ ้ สมบูรณ์ หรื อไม่ ถือว่าการนมาซ ด้ วยการสวมใส่อาภรณ์ชนิดนี ้ไม่ ถูกต้ อง 14. นมาซบนสิงต่างๆ ทีท่ ำ� มาจากหนังงู • การน�ำพากระเป๋ า หรือสิง่ ต่างๆทีท่ ำ� มาจากหนังงูทบี่ ทบัญญัตกิ ล่าวว่าสะอาด ใน ขณะที่อา่ นนมาซเป็ นการอนุญาตหรื อไม่ บทบัญญัติได้ กล่าวว่าสะอาด แต่การน�ำพาใน ขณะอ่านนมาซ นมาซนันจะเป็ ้ นบาฎิล (โมฆะ) 15.นมาซในขณะที่ เ ท้ า ที่ มี ค วามเปี ยกชื น้ ได้ สัมผัสกับรองเท้ าที่ท�ำท�ำมาจากหนังสัตว์ที่ไม่ได้ เชือด ตามหลักการของศาสนะบัญญัติ • การสวมใส่รองเท้ าที่หนังของมันไม่ได้ ถกู เชือด ตามหลักการศาสนะบัญญัติ ซึง่ เป็ นข้ อบังคับกล่าวว่า ก่อนจะท�ำวุฎจะต้ ู องล้ างเท้ าให้ สะอาด บางคนกล่าวว่า การที่เท้ าเปี ยกเหงือในขณะใส่ รองเท้ า เป็ นวาญิบที่จะต้ องล้ างเท้ า และเมื่อได้ ท�ำการ ทดลองแล้ วปรากฎว่าในขณะสวมใส่รองเท้ านันจะมี ้ เงือกออกจากเท้ าไม่มากก็น้อย ในทัศนะของ ฯพณฯ ถ้ ามีความมัน่ ใจว่ารองเท้ าของเขาท�ำมาจากหนังสัตว์ ที่ไม่ฮะลาล และคลาดว่าจะมีเงือกไหลออกจากเท้ าใน ขณะสวมใรองเท้ านัน้ เป็ นวาญิบทีเ่ ขาต้ องล้ างเท้ าก่อน นมาซ แต่ในกรณีที่เขาเกิดมีความสงสัยว่าเงือกที่ไหล ออกจากเท้ า หรื อสงสัยว่ารองเท้ านันถู ้ กท�ำมาจากหนัง สัตว์ที่ฮะลาลหรื อไม่ 16. การจงใจที่จะสกัดกันส� ้ ำหรับการท�ำวุฎู และ การอาบน� ้ำฆุสลุ


• สามารถที่จะกระท�ำการใดๆ ที่จะเป็ นเหตุให้ การท�ำวุฎู และการอาบน� ้ำฆุสลุ ต้ องปฏิบตั ิแบบญะบี เราะห์เช่นการทาเล็บ หรื อการศัลยกรรมจมูก เพือ่ ความ สวยงาม และไม่มเี หตุจำ� เป็ นใดๆ ถ้ าไม่เป็ นการอนุญาต แล้ ว บุคคลที่ท�ำอาชีพเช่นนี ้ ที่เป็ นเหตุให้ เกิดอุปสรรค การที่เขาจะต้ องเลิกอาชีพนี ้ หรื อว่าเขาจะต้ องเปลี่ยน อาชีพใหม่หรื อไม่ (เช่นอาชีพเขียนลวดลายหรื อการสัก ยันต์บนเรือนร่างด้ วยสีสรร จ�ำเป็ นทีจ่ ะต้ องห้ ามบุคคลที่ ท�ำอุปสรรคนี ้ให้ เกิดขึ ้น หรือว่าใช้ หมึกทีส่ ามารถลบล้ าง ออกได้ งา่ ย) การจงใจทีท่ ำ� สิง่ หนึง่ สิง่ ใดทีจ่ ะสกัดกันน� ้ ้ำส�ำหรับ ภาระกิจที่จะต้ องท�ำวุฎู และฆุสลุ โดยต้ องมาวุฎู และฆุ สุลญะบีเราะห์ ถ้ าท�ำสิง่ นี ้นอกเหลือจากเวลาของนมาซ นัน้ ถือว่าไม่เป็ นไร แต่ในเวลาของนมาซ จ�ำเป็ นอย่าง ยิ่งที่เขาจะต้ องวุฎู หรื อฆุสลุ และอาชีพที่กล่าวมานัน้ ถือว่าไม่เป็ นไร บุคคลที่ท�ำอาชีพนี ้ถือว่าอนุญาต (เช่น นักจิตรกรรมวาดภาพ หรื อการฉาบปูน และสิง่ เหมือน กันนี ้...) เมื่อเวลานมาซมาถึง สิ่งที่ติดค้ างอยู่ในส่วน ร่างกายที่ต้องวุฎู หรื อฆุสลุ นันที ้ ่ช�ำระล้ างไม่ได้ การช�ำระล้ างบนสิ่งนัน้ ก็เป็ นการเพียงพอของ การท�ำวุฎอ์ูุ 17. การฆุสลุ หรื อการวุฎบนเล็ ู บเทียม • ถ้ าบุคคลที่เขาใส่เล็บเทียม ในเวลาวูฎู หรื อฆุ สุล ในกรณีของเล็บเทียมที่ไม่สามารถจูกน� ้ำได้ ในขณะ ที่จะท�ำการวุฎอ์ู หรื อฆุสลุ ถึงแม้ ว่าจะป้องกันอย่างไร ก็ตาม และทราบดีวา่ การที่จะทอดมีนออกเป็ นการยาก ล�ำบาก หรื ออาจจะเป็ นอันตราย ในเวลานมาซเขาจะ ต้ องท�ำวุฎอ์ู หรืออาบน� ้ำฆุสลุ โดยหลังจากทีเ่ ขาได้ ทำ� วุฎู หรือฆุสลุ แล้ วให้ เขาท�ำญะบีเราะห์ (โดยน�ำมือทีเ่ ปี ยกน� ้ำ ลูบไปที่ของเทียมที่ตดิ อยูก่ บั อวัยวะบนร่ างของเขา) แต่ ในกรณีทเี่ ขาสามารถจะทอดมันออกได้ ไม่วา่ จะเป็ นวัน ไหนก็ตาม การท�ำวุฎู หรื อการท�ำฆุสลุ แบบญะบีเราะห์ นัน้ ถือว่าเป็ นบาฎิล (โมฆะ)

18. สะญะดะห์บนกระดาษ • การสะญะดะห์บนกระดาษทิชชู่ท่ีมีวางขาย อยูต่ ามท้ องตลาด ที่บรรดามุสลิมทัว่ โลกก็ใช้ กนั อยู่ กา รสะญะดะห์บนกระดาษทิชชู่ การสะญะดะห์ บนกระดาษที่ท�ำมาจากต้ นไม้ นอกเหนือจากผ้ าและส�ำลี ถือว่าถูกต้ อง ซึง่ มีเงื่อนไข ว่ากระดาษนันจะต้ ้ องไม่ถกู ยอมสี 19. การปฏิบตั ินมาซในสถานที่ที่ถกู ช่วงชิงโดย รัฐบาลที่กดขี่และการอ่านนมาซหรื อเดินผ่านยังสถาน ที่ที่รัฐบาลผู้กดขี่ได้ ชว่ งชิงสิทธิจากเจ้ าของ เป็ นการอนู ยาตอฃหรื อไม่ ในกรณีนี ้ถ้ ามัน่ ใจว่าเป็ นสถานทีท่ ถ่ี กู ช่วงชิงสิทธิ มาจากผู้อื่น บทบัญญัติถือว่าเป็ นผู้มีส่วนร่ วมในการ ช่วงชิงสิทธินนด้ ั ้ วย 20. การอ่านนมาซในมัสยิดที่ถูกสร้ างโดยมือ ของกาฟิ ร • การอ่านนมาซในมัสยิดทีถ่ กู สร้ างโดยมือการฟิ รนันเป็ ้ นการอนุญาตการอ่านนมาซในสถานทีน่ นั ้ ถือว่า ไม่เป็ นไร 21. การิ บาดะห์ของเหล่าทหารในสถานที่ที่ถกู ละเมิดสิทธิผ้ อู ื่น(เช่นการปกป้องชายแดนของประเทศ ของทหารที่จะต้ องมีการซ้ อมรบอยูเ่ สมอ) บางครัง้ กอง ก�ำลังทหารก็จ�ำเป็ นที่จะต้ องเข้ าไปในพื ้นที่ของบุคคล อื่น และทางเจ้ าของพื ้นดินที่ฝ่ายทหารได้ ลกุ ล� ้ำเข้ าไป ก็ไม่ค่อยที่จะพอใจกับการกระท�ำนัน้ และฝ่ ายทหาร เองก็มิได้ มีเจตนาที่จะละเมิดสิทธิ ที่จะเข้ าไปในพื ้นที่ นัน้ ดังนันขอให้ ้ ฯพณฯ ได้ มีวินิฉยั ว่าการอิบาดะห์ของ เหล่าทหาร เช่นการอ่านนมาซ ในสถานที่ท่ีถกู ละเมิด สิทธินนจะเป็ ั้ นเช่นไร หรื อผู้บงั คับบัญชาของหทารจะต้ องเป็ นผู้รับผิด ชอบ ที่จะต้ องท�ำการขอนุญาตในการล่วงล� ้ำไปสถาน ที่ ที่มีเจ้ าของ และถ้ าเข้ าไปแล้ วท� ำให้ เกิ ดความเสีย หาย จ�ำเป็ นที่จะต้ องชดใช้ ความเสียหายแก่เจ้ าของ แต่บคุ คลากรที่อยูภ่ ายใต้ บงั คับบัญชาไม่สามารถที่จะ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 29


ออกมาจากสถานที่นนได้ ั ้ การอิบาดะห์ของพวกเขาใน แผ่นดินนัน้ 22. บทบัญญัติของการละทิง้ นมาซ และการ ถือศีลอดในขณะที่เป็ นกาฟิ ร ต่อมาก็รับอิสลาม 23.บทบัญญัตกิ ารละทิ ้งนมาซและการถือศีลอด ของบรรดามุสลิมชาวรั • หลายปี ที่ผ่านมามีบางคนที่หลงทางจากการ โฆษนาชวนเชื่อในระบบคอมมิวนิสต์ โดยพวกเขาได้ ละทิง้ นมาซ และสิ่งที่เป็ นข้ อบังคับต่างๆ และเมื่อมี สาส์นของท่านอิมาม ผู้ลว่ งลับ (รฮ.) ไปถึงผู้ปกครอง ของโซเวียตเดิม จนกระทังพวกเขาได้ ้ ส�ำนึกผิดหันกลับ มาสูแ่ นวทางแห่งพระผู้เป้นเจ้ า และในขณะนี ้พวกเขา ไม่มีก�ำลังพอที่จะชดใช้ นมาซ และการถือศีลอด หน้ าที่ ของพวกเขาที่จะต้ องปฏิบตั นิ นั ้ คืออะไร ส�ำหรับพวกเขาเหล่านัน้ เป็ นวาญิบที่พวกเขาจะ ต้ องชดใช้ นมาซ และการถือศีลอดที่ได้ ขาดไปเท่ากับ ความสามารถทีม่ อี ยูข่ องพวกเขา และในส่วนทีเ่ ขาหมด ความสามารถแล้ วให้ เขานันได้ ้ ท�ำการสัง่ เสียแก่ทายาท ให้ ปฏิบตั ชิ ดใช้ ตอ่ ไป 24. บุคคลที่มิใช่มสุ ลิมเข้ ามัสยิด • เป็ นการอนุญาตยกเว้ นหรือไม่ทกี่ าฟิ รจะเข้ าไป ยังมัสยิดต่างๆของบรรดามุสลิม เพือ่ การศึกษาเกี่ยวกับ เรื่ องของประวัตศิ าสตร์ ความเป็ นมา การเข้ าไปยั ง มั ส ยิ ดุ ล ฮะรามของกาฟิ รนั น้ เป็ นการห้ ามโดยเด็ดขาด และส�ำหรับมัสยิดอื่นๆ ถ้ า การเข้ าไปโดยปราศจากรความเคารพ ถือว่าไม่อนุญาต แต่เป็ นการดีส�ำหรับมัสยิดโดยทัว่ ๆไปแล้ ว ไม่ควรให้ กาฟิ รนันเข้ ้ าไป 25. การอ่านนมาซในบ้ านที่ถกู สร้ างด้ วยมือขอ งกาฟิ ร • ดังมีการกล่าวว่าบ้ านที่ถูกสร้ างโดยมือของ กาฟิ รนัน้ เป็ นนะญิส และการอ่านนมาซในบ้ านหลังนัน้ ถือว่าเป็ นมักรูฮ์ถกู ต้ องหรื อไม่ การอ่านนมาซในบ้ านหลังนันไม่ ้ เป็ นมักรูฮ์

30 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

26. การสร้ างมัสยิดโดยมือของกาฟิ ร • การสร้ างมัสยิดทุกรูปแบบโดยมือของกาฟิ รอ นุญาตหรื อไม่ ด้ วยตัวของมันเอง ถือว่าอนุญาตและการถือศีล อดในประเทศที่มีเวลากลางวันที่ยาวนาน • ดวงอาทิตย์ในประเทศเดนมาร์ ก และนอร์ เวย์ ขึน้ เร็ วและตอกช้ า จึงท�ำให้ ช่วงเวลากลางวันนัน้ ยืด ยาวนาน ดังนันหน้ ้ าที่ของข้ าพเจ้ าเกี่ยวกับเรื่ องการอ่า นมาซ และการถือศีลอดจะต้ องปฏิบตั ิเช่นไร ผู้ปฏิบตั ิ จะต้ องปฏิบตั ินมาซประจ�ำวัน และการถือศีลอดตาม เวลาของท้ องถิ่นที่ตนเองพักอาศัยอยู่ แต่ถ้าในช่วงของ การถือศีลอดเวลากลางวันยืดยาวนานจนเป็ นไม่ได้ หรือ ผิดปกติที่จะท�ำการถือศีลอด การถือศีลอดในช่วงเวลา ดังดล่าวก็ถกู ยกเลิก และเป็ นวาญิบที่เขาต้ องเกาะฎอ (ชดใช้ ) ในวันหลัง 28. เกาะฎอ (ชดใช้ ) ในระยะเส้ นขอบฟ้าทีเ่ ริ่มต้ น และปฏิบตั ติ รงเวลาในเส้ นขอบฟ้าปลายทาง • ถ้ าบุคคลที่นมาซศุบฮ์ของเขาในกรุงเตหะราน ต้ องเป็ นนมาซเกาะฎอ (ชดใช้ ) เพราะเขาไม่สามารถ จะปฏิบตั นิ มาซได้ จนกระทังดวงอาทิ ้ ตย์ขึ ้น และเขาได้ นัง่ เครื่ องบินเดินทางไปยังประเทศอื่น ซึง่ เมื่อเขามาถึง ประเทศนัน้ เวลานมาซศุบฮ์ของวันนันยั ้ งอยู่ ดังนันเขา ้ จะต้ องปฏิบตั ินมาซศุบฮ์ ตามเวลาที่มีอยู่ หรื อต้ องท�ำ การเกาะฎอ (ชดใช้ ) นมาซศุบฮ์ของต้ นทางที่ลว่ งเลย เวลาไปแล้ ว ดังค�ำถามนัน้ ให้ เขาปฏิบตั ินมาซศุบฮ์ในเวลา ที่มีอยู่ 29. นมาซดุห์ริ และอัสริ ของบุคคลที่เขาปฏิบตั ิ ไปแล้ ว เมื่อต้ นทางก่อนที่เขาจะเดินทางมา แต่เมื่อถึง ปลายทางปรากฎว่ายังเข้ าเวลาดุห์ริ • ถ้ า บุค คลที่ เ ขาได้ อ่า นนมาซดุห์ ริ และอัส ริ ในเวลาไปแล้ ว และเขาได้ นงั่ เครื่ องบินเดินทางไปยัง ประเทศอื่น เมื่อถึงจดหมายปลายทางปรากฎว่าวเวลา ยังไม่เข้ าเวลาดุห์ริ บทบัญญัตกิ ารปฏิบตั นิ มาซของเขา


จะเป็ นเช่นไร การอ่านนมาซที่ได้ ปฏิบตั ิไปแล้ วเพียง พอแล้ ว ไม่ใช่หน้ าที่ที่เขาจะต้ องไปปฏิบตั ใิ หม่อีกครัง้ 30. อีดฟิ ตริ ในกรุงอิสตันบูล และวันสุดท้ ายของ เดือนรอมฎอนในอิหร่าน • ถ้ ามีผ้ เู ป็ นดวงจันทร์ ของเดือนเชาววาลในเมือง อิสตันบูล และจากนันเขาได้ ้ เดินทางมายังกรุงเตหะราน ซึง่ คืนนันเป็ ้ นคืนสุดท้ ายของเดือนอรมฎอน เป็ นวาญิบ ส�ำหรับเขาหรื อไม่ที่จะต้ องถือศิลอดในวันรุ่งขึ ้น เพราะ ขณะทีเ่ ขาอยูท่ เี่ มืองอิสตันบูลการถือศีลอดของเขาครบ สาม จ�ำเป็ นที่เขาจะต้ องถือศีลอดในวันนัน้ 31.การเปลี่ยนแปลงเส้ นขอบฟ้าโดยรวดเร็ วใน ขณะเดินทางด้ วยเครื่ อ • ในขณะเดินทางไปประเทศต่างๆโดยเครื่ องบิน ปกติแล้ วจะเดิทางจากตะวันตกไปตะวันออก ซึง่ ในขณะ ทีเ่ ดินทางดวงอาทิตย์ยงั ไม่ตกและแสงของดวงอาทิตย์ก็ จะจับแตะต้ องตัวเคื่องบินที่โดยสารตลอดเวลา ซึง่ การ เดินทางได้ ผา่ นไประยะนึง่ ก็เข้ าเวลามัฆริ บ ดังนันต้ ้ องการที่จะให้ ฯพณฯ ได้ อธิบายเยวกับ การปฏิบตั นิ มาซมัฆริบ อิชาอ์ และศุบฮ์วา่ จะต้ องปฏิบตั ิ อย่างไร เมื่อเวลาได้ ผา่ นไปจ�ำเป้นต้ องเกาะฎอ (ชดใช้ ) ตามเวลาที่มนั ผ่านเลยไปหรื อไม่ ดังค�ำถาม บุคคลทีไ่ ด้ ปฏิบตั นิ มาซประจ�ำอยูแ่ ล้ ว ต้ องระมัดระวัง เมื่อได้ ผา่ นไปยังขอบฟ้าใดที่อยูใ่ นเวลา

นันจ� ้ ำเป็ นต้ องเร่งรี บปฏิบตั ิ 32. ปฏิทิน และเวลาของ ชั ร อี ย์ จ ากสถานเอกอัค รราช ทูตฯ ต่างๆ และสถานกงศุ ล ของ สาธาณรั ฐอิสลามแห่งอิหร่ าน ในต่างประเทศ ได้ จดั ท�ำปฏิทิน และค� ำ นวณเวลาชั ร อี ย์ ต าม เมืองหลวง หรื อเมืองใหญ่ของ ประเทศนันๆ ้ ดังนัน้ จะมีความเชื่อมั่น ตามหลักการค�ำนวณของปฏิทินนันได้ ้ หรื อเกณฑ์การ เช้ าสูเ่ วลานันเป็ ้ นความมัน่ ใจของผู้ปฏิบตั ิ และถ้ าเขา ไม่มีความมัน่ ใจกับหลักการค�ำนวณตามปฏิทินนั ้ ดังนันเขาจะต้ ้ องรอสักระยะหนึง่ จนเขามัน่ ใจว่า ได้ เข้ าสูเ่ วลาชัรอีย์ 33. ชะฮาดัตท่อนที่สามในตะชะฮุด • สามารถจะกล่าวในตะชะฮุดได้ หรื อไม่วา่ “อัช ฮะดุ อันนะ อะลียนั ในส่วนนีไ้ ม่ใช่เป็ นวาญิ บในส่วนตะชะฮุดของ นมาซ ถ้ าถ้ าตังใจว่ ้ าส่วนนี ้เป็ นชัรอีย์สว่ นหนึง่ ที่จะต้ อง กล่าวในตะชะฮุดของนมาซ ๆ ก็จะเป็ นบาฏิล (โมฆะ) ถึง แม้ วา่ ในส่วนนี ้จะเป็ นความสัจธรรมก็ตาม ตะชะฮุดของ นมาซในกฎเกณฑ์ของชีอะห็ได้ กล่าวไว้ แล้ วในบัญญัติ ของการปฏิบตั ิ ดังนันจงอย่ ้ าได้ เพิ่มเติม ถึงแม้ ว่าค�ำ กล่าวปฏิญาณในท่อนนี ้จะเป็ นสัจธรรมความจริงก็ตาม 34. การปฏิบตั นิ มาซญุมอะห์ของผู้เดินทางจาก ต่างประเทศ • พวกเรามีจ�ำนวนสิบคนที่ได้ มาปฏิบตั ภิ าระกิจ อยูใ่ นต่างประเทศ ๆ หนึง่ ซึง่ ในกลุม่ ของเรามีอลุ ามะห์ เดินร่ วมทางมาด้ วยหนึ่งท่าน เราสามารถจะปฏิบัติ นมาซญุมอะห์ โดยให้ อลุ ามะห์ทา่ นนันเป็ ้ นผู้น�ำญะมา อัตได้ หรื อไม่ การปฏิบตั ิด้วยตัวของมันเป็ นการอนุญาต แต่

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 31


ตามบทบัญญัติแล้ วการแต่งตัง้ อิมามญุมอะห์ นัน้ ไม่ ถูกยอมรับ 35. อิมามญะมอัตที่เป็ นสตรี เพศ • สตรี สามรถเป็ นอิมามญะมาอัตได้ เฉพาะกลุ่ สตรี หรื อบุรุษ หรื อว่าโดยเฉพาะสตรี เท่านัน้ เป็ นการ อนุญาตให้ สตรี สามารถเป็ นอิมามญะมาอัตได้ 36. วิธีการก�ำหนดเวลาอะซานศุบฮ์ • การก�ำหนดเวลาอะซานศุบฮ์ จะท�ำได้ อย่างไร เริ่มตังแต่ ้ แสงเงินแสงทองทีส่ องที่เรี ยกว่ารุ่งอรุณ ที่กระจ่าง ซึง่ เวลานันเป็ ้ นเวลาที่ขอบฟ้าด้ านทิศตะวันออก เริ่ มีเส้ นสีขาวปรากฎ และนันคื ้ อเวบลาที่ถกู ก�ำหนดขึ ้น ของศุบฮ์ 37. เวลาสุดท้ ายของนมาซศุบฮ์ • เวลาสุดท้ ายของนมาซศุบฮ์ คือเวลาอะไร 38. เกณฑ์ก�ำหนดเวลานมาซดุห์ริ • การก� ำหนดเวลามนมาซดุห์ริจะต้ องปฏิบัติ เช่นไร ถ้ าน�ำไม้ หรื อวัตถุใดๆปั กลงที่ดิน และเงาของไม้ หรื อวัตถุหดเข้ าหาตัวไม้ หรื อวัตถุทีปักเท่ากับตัวของ มัน นันคื ้ อเริ่ มเวลาดุห์ริชรั อีย์ และเริ่ มเวลานมาซดุห์ริ 39. เวลาของนมาซดุห์ริ และอัสริ • เวลาของนมาซดุห์ริ และอัสริ มีประมาณเท่าไร จากเวลาดุห์ ริ ชัรี อี ย์ ไ ปจนกระทัง้ ดวงอาทิ ต ย์ ต กนัน คือเวลาอ่านนมาซดุห์ริ และอัสริ ซึง่ เวลาช่วงแรกเป็ น เวลาเฉพาะของการอ่านมาซดุห์ริ และถ้ านมาซอัสริ ใน

32 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

เวลาดังกล่าว นมาซนันเป็ ้ นบาฏิล (โมฆะ) และในเวลา สุดท้ ายก่อนดวงอาทิตย์ตกก็เป็ นเวลาเฉพาะของนมาซ อัสริ และเช่นกันถ้ าอ่านนมาซดุห์ริในเวลานัน้ นมาซ ก็เป็ นบาฏิล (โมฆะ) แต่เวลาที่ระหว่างมันทังสอง ้ คือ เวลาร่วมของดุห์ริ และอัสริ ซึง่ สามารถจะอ่านนมาซใน เวลาทังสองได้ ้ แต่จะต้ องปฏิบตั ติ ามขันตอน ้ คือให้ อา่ น นมาซดุห์ริก่อนนมาซอัสริ 40. เกณฑ์การก�ำหนดเวลามัฆริ บ • การก�ำหนดเวลามัฆริ บปฏิบตั เิ ช่นไร ไม่มีปรากฎแสงสีแดงทางด้ านทิศตะวันออกใน ขณะที่ดวงอาทิตย์ตก นันคื ้ อเวลาเริ่ มต้ นของนมาซมัฆ ริ บ 41. เวลาสุดท้ ายของนมาซอิชาอ์ • เวลาสุดท้ ายของนมาซอิชาอ์ คือเวลาเท่านไร ด้ วยความระมัดระวังส�ำหรับนมาซมัฆริ บ อิชาฮ์และ ตอลดทังค� ้ ่ำคืนจนถึงเวลาอะซานศุบฮ์ได้ ค�ำนวณเวลา ทังหมด ้ ซึง่ เวลานันโดยประมาณสิ ้ บเอ็ดชัว่ โมงกับสิบห้ า นาที และแบ่งแวเลานันหครึ ้ ่งหนึง่ นันคื ้ อเวลาของนมาซ มัฆริ บและอิชาอ์ 42. การถื อ ศี ล อดในประเทศที่ มี มี ก ลางวัน ยาวนาน • เพื่อนของข้ าพเจ้ าคนหนึ่งได้ อาศัยอยู่มีเมือง ออมสค์ ประเทศรั สเซีย ซึ่งในเมืองนี ม้ ีเวลากลางคือ เพียง 4 ชัว่ โมง และเวลากลางวันนานถึง 20 ชัว่ โมง ดัง นันการถื ้ อศีลอดของเขา และบุคคลในเมืองจะกต้ อง ปฏิบตั เิ ช่นไร ในกรณีนี ้พวกเขาจะต้ องถือศีลอดในเดือนรอม ฎอน ซึง่ ในเวลาของกลางวันที่ยาวนานถึง 20 ชัว่ โมง นันไม่ ้ เป็ นเหตุที่จะต้ องยกเลิดศีลอดในเดือนรอมฎอน 43. เกณฑ์ก�ำหนดความยาวของยาวเงาของวัตถุ • บุคคลที่ด้พำ� นักอาศัยอยูใ่ นประเทศแคนนาดา ซึง่ อยูใ่ กล้ กบั ขัว่ โลกเหนือ ซึง่ ในฤดูหนาวเวลาของดุห์ริเงาของวัตถุสิ่งของ


นันจะสั ้ นกว่ ้ าตัววัตถุ และบางครัง้ ก็ยืดยาวกว่าวัตถุที่ ปั กอยู่ ในบางเวลาเวาของวัตถุอยูใ่ นปริมาตรสองในเจ็ด หรื อสี่ในเจ็ดส่วน หรื อบางครัง้ ไม่ปรากฎเลย ด้ วยเหตุนี ้ขณะทีต่ ้ องการจะปฏิบตั นิ มาซนวาฟิ ล อัสนิ หรื อปฏิบตั นิ มาซอัสริ จะต้ องก�ำหนดอย่างไร ความต้ องการไม่ได้ อยูท่ สี่ องในเจ็ดส่วน หรือสีใ่ น เจ็ดส่วน เราลองเอาเงาทีทอดยาวทังหมดมาค� ้ ำนวณ และทอดยาวออกไปอีกครัง้ นันแหละคื ้ อเวลา ดังค�ำถาม ที่ถามมานันการก� ้ ำหนดเวลาอัสริ และการปฏิบตั เิ ป็ นที่ กระจ่างอยูแ่ ล้ ว 44.การอิบาดัตในสถานที่ที่มีเวลากลางวันหก เดือนและเวลากลางคืนห • เพื่อนของข้ าพเจ้ า ได้ ท�ำงานอยูท่ ี่ในยุโรปเหนือ ซึง่ ที่นนมี ั ้ เวลากลางวันหกเดือน และเวลากลาง คือนหกเดือนบทบัญญัตกิ ารอิบาดัตของเขาต้ องปฏิบตั ิ เช่นไร การอ่านนมาซของเขาให้ ขึ ้นอยูก่ บั เวลาท้ องถิ่นที่ เขาพ�ำนักอยู่ ซึง่ ให้ นมาซศุบฮ์ ท�ำในเวลาศุบฮ์ นมาซดุห์ ริ และอัสริ ก็ท�ำในเวลาดุห์ริ และอัสริ และนมาซ มัฆ ริ บก็ท�ำหลังจากนมาซอิชาอ์ ส่วนในเรื่ องของการถือศีล อดนัน้ ซึว่ เลาของมันยาวนานไม่มขี ดี ก�ำหนด การถือศีล อดนันเป็ ้ นไปได้ ยากก็ให้ ยกเลิก

ตอนทีส่ อง : การปฏิบัตนิ มาซญุมอะห์ และนมาซญะมาอัต กับพี่น้องอะห์ ลิซุนนะห์

45. ปฏิบตั ินมาซตามอิมามญะมาอัตอะห์ ลิซ ซุนนะห์ • เป็ นการอนุญาตให้ ปฏิบตั ินมาซญะมาอัตตา มอ์ลซิ นุ นะห์หรื อไม่ การปฏิ บั ติ น มาซญะมาอั ต เพื่ อ รั ก ษาไว้ ซึ่ ง เอกภาพ เป็ นการอนุญาต 46.เงื่อนไขใดบ้ างที่ไม่อนุญาตให้ ปฏิบตั ินมาซ

ญะมาอัตกับอะห์ลซิ นุ นะฮ์ • ในสถานที่ที่มีบรรดาอะห์ลิซุนนะห์ไปมาหาสู่ กัน ในขณะที่ร่วมอ่านนมาซประจ�ำวัน และบางครัง้ ก็ได้ เข้ าร่ วมปฏิบตั ิกบั พวกเขา เช่นการอ่านนมาซซึ่งเวลา ของนมาซนันไม่ ้ ตรงกัน หรื อการสะญะดะห์บนพรม ใน กรณีนี ้จ�ำเป็ นต้ องกลับมาปฏิบตั อิ ีกครัง้ หรื อไม่ ถ้ าเป็ นการรักษาไว้ ซงึ่ ความเอกภาพแล้ ว นมาซ นัน้ ถือว่าถูกต้ อง และเป็ นการอนุญาต แม้ กระทังถ้ ้ า สะญะดะห์บนพรมก็ตาม แต่ในบทบัญญัติของนมาซ นันไม่ ้ อนุญาต เว้ นเสียแต่ในกรณีที่จ�ำเป็ นเท่านัน้ 47. การเข้ าร่ วมนมาซญะมาอัตในมัสยิดต่างๆ ของนครมักกะห์ • เราได้ ร่วมอ่านนมาซญะมาอัตกับพี่น้องอะห์ลิ ซุนนะห์ในมักกะห์และมะดีนะห์ตามทัศนะวินิจฉัยของ ท่านอิมาม โคมัยนี (รฮ.) และบางครัง้ การปฏิบตั ินมาซในมัสยิดเช่นการ อ่านนมาซอัสริ และอิชาอ์ หลังจากนมาซดุห์ริ และมัฆ ริบทีจ่ ะต้ องปฏิบตั ดิ ้ วยตัวเอง ในมัสยิดต่างๆของอะห์ลลิ ซุนนะห์ ซึง่ เราจะต้ องลงสะญะดะห์บนพรมที่ปราศจา กมุห์ริ (ดิน) ดังนันการอ่ ้ านนมาซเช่นนี ้จะมีบทบัญญัติ อย่างไรบ้ าง การอ่านนมาซดังที่กล่าวมานัน้ ถือว่าถูกต้ อง 48. การเข้ าร่วมในญะมาอัตกับอะห์ลซิ นุ นะห์ ข้ าพเจ้ าได้ ปฏิบตั ภาระกิจหน้ าทีก่ ารงานในเขตที่ มีมสั ยิดส่วนมากเป็ นของอะห์ลซิ นุ นะห์ ดังนันข้ ้ าพเจ้ า สามารถที่จะไปร่วมนมาซเป็ นรูปญะมาอัตกับพวกเขา ได้ หรื อไม่ หรื อว่าจะต้ องปฏิบตั ิด้วยตนเองการเข้ าร่วม ในนมาซญะมาอัตกับอะห์ ลิซุนนะห์ เพื่อรั กษาไว้ ซึ่ง เอกภาพ เป็ นการอนุญาต และนมาซนันถู ้ กต้ อง และ ไม่จ�ำเป็ นต้ องกลับมาท�ำใหม่อีกครัง้ 49. การเข้ าร่ วมในกิจกรรมต่างๆกับอะห์ลิซุน นะห์ • การเข้ าร่วมกิจกรรมต่างๆกับอะห์ลซิ นุ นะห์ เช่น การนมาซมัยยิต การร่ วมมัจญะลิสอุทิศส่วนกุศลแก่ผ้ ู

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 33


วายชนม์ และงานมงคลต่างๆ โดยฝ่ ายอะห์ลิซุนนะห์ เป็ นผู้จดั จะมีบทบัญญัตอิ ย่างไร การเข้ าร่วมในทุกกิจกรรมกับอะห์ลซิ นุ นะห์ เพื่อ รักษาไว้ ซงึ่ เอกภาพ ถือว่าเป็ นการอนุญาต ซึง่ จะมีผล ที่ดีตอ่ การสร้ างความเป็ นปรึกแผ่นให้ กบั บรรดามุสลิม การกระท�ำเช่นนี ้ถือว่าเป็ นสิง่ จ�ำเป็ น 50. การเข้ าร่ วมในนมาซญะมาอัตมัฆริ บกับ อะห์ลซิ นุ นะห์ • บรรดาพี่นอ้ งอะห์ ลิซุนนะห์ ในช่วงเวลาของ การท�ำฮัจญ์ พวกเขาจะอ่านนมาซมัฆริ บก่อนเวลาอะ ซานมัฆริ บ ดังนัน้ ส�ำหรับเราสามารถที่เข้ าร่วมญะมา อัตกับพวกเขาได้ หรื อไม่ และนมาซของเราจะถูกต้ อง หรื อไม่ เป็ นไปไม่ได้ ที่พวกเขาจะอ่านนมาซก่อนเวลา อะซาน แต่ถ้าผู้ปฏิบตั ินมาซที่ยงั ไม่เข้ าเวลาของมัน ก็ ไม่สามาถปฏิบตั ไิ ด้ เว้ น แต่ ว่ า เพื่ อ เป็ นการรั ก ษาไว้ ซึ่ ง ความเป็ น เอกภาพ แต่เขาจะต้ องกลับมาปฏิบตั นิ มาซนันใหม่ ้ อีก ครัง้ ดังนันการเข้ ้ าร่วมนมาซญะมาอัตกับอะห์ลซิ นุ นะห์ ถือว่าไม่เป็ นไร 51. การกล่าวซิกร์ “อัลฮัมดุลลิ ลาฮ์” ในระหว่าง ซูเราะห์ฮมั ด์ • ขอความกรุณาในการวินจฉัย ที่คิดว่าในหลัก การของชีอะห์คงไม่แตกต่างกัน ไม่ทราบจะเป็ นการ อนุญาตหรื อไม่ ในนมาซญะมาอัตระหว่างที่อิมามญะ มาอัตอ่านซูเราะห์ฮมั ด์ และซูเราะห์อื่นๆ เป็ นสุนตั ของ ท่านศาสดา (ศ.) ให้ กล่าว “อัลฮัมดุลลิ ลาฮ์” ด้ วยเสียง อันดัง เป็ นมักรู ฮ์ ถ้ ามะมูมได้ กล่าวซิกร์ ใดๆ โดยให้ อิ มามญะมาอัตนันได้ ้ ยิน และส�ำหรับการกล่าว “อัลฮัม ดุลลิ ลาฮ์” เป็ นการถูกต้ องว่าเป็ นสุนตั ของท่านศาสดา (ศ.) แต่ต้องกล่าวอ่านด้ วยเสียงอันเบา 52. นมาซญุ ม อะห์ ข องบรรดานั ก ศึ ก ษาใน ประเทศยุโรป • การเข้ า ร่ ว มในนมาซญุม อะห์ จ ากบรรดา นักศึกษาของประเทศอิสลามในประเทศยุโรป หรื อ

34 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

ประเทศอื่นๆ ซึง่ ส่วนใหญ่เป็ นพี่น้องอะห์ลิซุนนะห์ จะ มีบทบัญญัติอย่างไร และในกรณีนี ้การอ่านนมาซดุห์ ริ ภายหลังจากการอ่านนมาซญุมอะห์เสร็จสิ ้นแล้ ว เป็ น วาญิบหรื อไม่ การเข้ าร่ วมในนมาซญุมอะห์ เพื่อรั กษาไว้ ซึ่ง ความเป็ นเอกภาพ ถือว่าไม่เป็ นไร และการอ่านนมาซ ดุห์ริอีกครัง้ หนึง่ ไม่เป็ นวาญิบ 53. การอ่านนมาซญุมอะห์โดยไม่ค�ำนึงถึงระยะ ห่างชัรอีย์ระหว่างสถา • ในเมืองหนึ่งของประเทศปากีสถานเป็ นเวลา นานถึงสี่สบิ ปี ที่ได้ ปฏิบตั นิ มาซญุมอะห์ ซึง่ ในขณะนี ้ผู้คนต่างไม่ได้ ให้ ความสนใจในเรื่ อง ระยะทางชัรอีย์ระหว่างสถานทีป่ ฏิบตั นิ มาซญุมอะห์ จึง เกิดมีปัญหาขึ ้นระหว่างผู้ที่ปฏิบตั นิ มาซ ดังนันในการปฏิ ้ บตั เิ ช่นนี ้จะมีบทบัญญัตใิ ดบ้ าง การกระท�ำใดทีน่ �ำมาซึง่ ความแตกแยกระหว่างผู้ ศรัทธา ถือว่าไม่เป็ นการอนุญาต ไม่วา่ จะเป็ นในเรื่ องใด ก็ตาม เช่นนมาซญุมอะห์ เพราะการประกอบพิธีกรรม ต่างๆของอิสลาม คือการสร้ างความเป็ นเอกภาพ 54. ระยะห่างระหว่างนมาซญุมอะห์ • คอฏี บ ของมัส ยิ ด ญามิ อ์ ญ ะอ์ ฟ ะรี ใ นเมื อ ง ระโอบันดีได้ ประกาศว่าไม่สามารถที่จะปฏิบตั ินมาซ ญุมอะห์ ในสถานที่ ตัวอาคารมัสยิ ดได้ เพราะก� ำลัง ท�ำการปรับปรุ งอาคารอยู่ และด้ วยอุปสรรคที่เกิดขึ ้น กับข้ าพเจ้ านัน้ คือระยะทางระหว่างนมาซญุมอะห์ของ พวกเราอยูห่ า่ งจากมัสยิดอืน่ เพียงสีก่ โิ ลเมตร ดังนันด้ ้ วย ระยะทางที่หา่ งนี ้การปฏิบตั นิ มาซญุมอะห์ในมัสยิดญา มิอ์ญะอ์ฟะรี ถือว่าถูกต้ องหรื อไม่ ถ้ าระยะห่างระหว่างสองนมาซญุมอะห์ห่างกัน ไม่เกินหนึ่งฟั รซัคชัรอีย์ (ประมาณสามไมล์) นมาซญุ มอะห์ที่เริ่ มต้ นที่หลังถือว่าเป็ นบาฏิล (โมฆะ) และถ้ า ทังสองญุ ้ มอะห์เริ่ มพร้ อมกัน ทังสองญุ ้ มอะห์ 55. การกล่าวอามีนในนมาซญะมาอัตของอะห์ ลิซนุ นะห์


• ในขณะทีเ่ ข้ าร่วมนมาซญะมาอัตกับพีน่ ้ องอะห์ ลิซนุ นะห์ ภายหลังจากที่อมิ ามญะมาอัตได้ กล่าวอ่านซู เราะห์ฮมั ด์ ก็จะกล่าวค�ำว่า “อามีน” ด้ วยเสียอันดัง ใน การกระท�ำเช่นนี ้มีบทบัญญัตอิ ย่างไร ถ้ าการกล่าวอามีนเป็ นการตะกียะห์ ถือว่าไม่ เป็ นไร นอกเหนื อจากการตะกี ยะห์ แล้ ว ไม่เป็ นการ อนุญาต 56. การล่ะศีลอดตามเวลาของอะห์ลซิ นุ นะห์ • การล่ะศีลอดตามเวลาของอะห์ลิซุนนะห์ใน กิจกรรม หรื อการจัดประชุมร่วมกัน หรื อนอกเหนือจาก การจัดประชุมกิจกรรมร่วมกัน เป็ นการอนุญาตหรื อไม่ ถ้ าผู้ปฏิบัติได้ ปฏิบัติตามโดยไม่ได้ อยู่ในหลัก เกณฑ์ของการตะกียะห์ และไม่มีเหตุผลอื่นใด หน้ าที่ ของเขาจะต้ องปฏิบตั ิอย่างไร การปฏิบตั ิตามผู้อื่นใน การล่ะศี ลอดซึ่งปราศจากเวลาที่ ก�ำหนดไว้ แล้ ว ไม่ เป็ นการอนุญาต และถ้ าเป็ นการตะกียะห์ ที่จะต้ องล่ะ ศีลอดตาม ถือว่าอนุญาต แต่การถือศีลอดในวันนันจะ ้ ต้ องเกาะฎอ (ชดใช้ ) และไม่เป็ นการอนุญาตให้ ละ่ ศีลอด นอกเวลาชัรอีย์ได้ ก�ำหนด ซึง่ จะต้ องมีความมัน่ ใจว่าได้ เข้ าสูเ่ วลาของกลางคืนแล้ วเท่านัน้ 57. การปฏิบัตินมาซอีดฟิ ตริ ในวันที่ สองของ เดือนเชาววาล • ในกรณี ที่รักษาไว้ ซึ่งความเป็ นเอกภาพของ อิสลาม เราได้ ปฏิบตั ินมาซอีดฟิ ตริ ในวันที่สอง เพราะ จากหลักฐานรายงานกล่าวแจ้ งว่าเป็ นการอนุญาตให้ ปฏิบตั นิ มาซอีดในวันทีส่ อง และวันทีส่ ามของอีดได้ โดย

ทัว่ ไปไม่เป็ นอุปสรรคส�ำหรับที่จะปฏิบตั นิ มาซอีดในวัน ที่สอง เพื่อสร้ างความมัน่ ใจในสิง่ ที่ดี 58. การปฏิบตั นิ มาซในมัสยิดอะห์ลซิ นุ นะห์หรื อ โรงแรม • ในกรณี ที่ผ้ ูปฏิบตั ินมาซได้ อยู่ในมัสยิดมะดี นะห์มเุ นาวะเราะห์ หรื อที่มกั กะห์ มุอซั ซะมะห์ และ เห็นว่านมาซญะมาอัตได้ เสร็ จสิ ้นไปแล้ ว แต่ผ้ ทู ี่ปฏิบตั ิ นมาซยังอยูใ่ นมัสยิด เขาสามารถจะปฏิ บัติ น มาซด้ ว ยตัว เองตาม เงื่อนไขของหลักการนมาซ หรื อว่าจะต้ องเดินทางกลับ มายังที่พกั หรื อโรมแรมที่ตนเองพักอาศัย เพื่อเขาจะ ได้ นมาซ และลงสะญะดะห์บนสิ่งที่ชรั อีย์อนุญาตได้ ถูกต้ อง เขาสามารถจะปฏิบตั ินมาซในสถานที่นนตาม ั้ ที่บคุ คลอื่นๆ 59. การปฏิบตั นิ มาซตามอะห์ลซิ นุ นะห์ในนมาซ เกาะฎอ • เป็ นการอนุญาตที่จะปฏิบตั ินมาซในเวลาตา มอะห์ลซิ นุ นะห์ หรื อแม้ กระทังนมาซเกาะฎอ ้ (ชดใช้ ) สามารถจะปฏิบตั ติ ามได้ ด้วยหรื อไม่ แน่ใจว่าเป็ นการอนุญาตให้ ตามอะห์ลซุ นุ นะห์ได้ เฉพาะนมาซในเวลาเท่านัน้ แต่ในการปฏิบตั นิ มาซเกาะ ฎอ (ชดใช้ ) นันไม่ ้ เป็ นการอนุญาต 60. การพูดจาลับหลังอะห์ลซิ นุ นะห์ • ในสถานทีท่ ำ� งานของข้ าพเจ้ าเป็ นสถานทีอ่ ยูใ่ น แทบที่คนส่วนใหญ่เป็ นชาวเคิร์ด และบรรดาอิมามญะ มาอัตและญุมอะห์สว่ นใหญ่ก็เป็ นอะห์ลซิ นุ นะห์ การปฏิบตั ินมาซตามพวกเขามีบญ ั ญัตอย่างไร และการนินทาพูดจากลับหลังพวกเขาเป็ นการอนุญาต หรื อไม่ การเข้ าร่ วมในนมาซญะมาอัต และนมาซญุม อะห์ เพื่อรั กษาไว้ ซ่ึงความเป็ นเอกภาพนัน้ ถือว่าไม่ เป็ นไร แต่ส�ำหรับการนินทาพูดจาลับหลังจะต้ องหลีก เลี่ยง

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 35


แปลและเรียบเรียงโดย

เชคมุฮมั มัด ชะรีฟ เกตุสมบูรณ์

ค�ำอรรถาธิบาย อัลกุรอาน

บทอัลบะเกาะเราะฮ์ โองการที่ 120,121

ِ ِ ِ ‫ت‬ َ ‫ض ٰى َع‬ َ ‫َولَن تـَْر‬ ُ ‫نك الْيـَُه‬ َ ‫َّص َار ٰى َح َّ ٰت تـَتَّبِ َع ملَّتـَُه ْم قُ ْل إِ َّن ُه َدى اللَّـه ُه َو ا ْلَُد ٰى َولَئ ِن اتـَّبـَْع‬ َ ‫ود َوَل الن‬ ِ َّ‫﴾ ال‬١٢٠﴿ ‫ص ٍري‬ ِ ِ ِ َ َ‫أَهواءهم بـع َد الَّ ِذي جاء َك ِمن الْعِْل ِم ما ل‬ ِ َ‫ل وَل ن‬ ‫اه ُم‬ ‫ذ‬ ُ َ‫ين آتـَيـْن‬ َْ ُ َ َ ْ َ َ ٍّ ِ‫ك م َن اللَّـه من َو‬ َ َ َ​َ ِ ِ ‫ال‬ ﴾١٢١﴿ ‫اس ُرو َن‬ َ ِ‫ك يـُْؤِمنُو َن بِ​ِه َوَمن يَ ْك ُف ْر بِ​ِه فَأُولَـٰئ‬ َ ِ‫اب يـَتـْلُونَهُ َح َّق تَِل َوتِ​ِه أُولَـٰئ‬ َْ ‫ك ُه ُم‬ َ َ‫الْكت‬ ความหมาย 120.พวกยิ วและพวกคริ สต์ จะไม่พอใจเจ้าเป็ นอันขาด จนกว่าเจ้าจะปฏิ บตั ิ ตามศาสนา (ที ่ เปลีย่ นแปลงแล้ว) ของพวกเขา จงกล่าวเถิ ด แท้จริ งทางน�ำเฉพาะทางน�ำของอัลลอฮฺเท่านัน้ แน่นอน ถ้าเจ้าปฏิ บตั ิ ตามอารมณ์ ของพวกเขา หลังจากทีส่ ูเจ้ารู้แล้วว่า จะไม่มีผูค้ มุ้ ครองและผูช้ ่วยเหลือจา กอัลลอฮฺ ส�ำหรับเจ้า 121 . บรรดาผูท้ ีเ่ ราได้ประทานคัมภีร์แก่พวกเขา (ยิ ว และคริ สต์) พวกเขาตัง้ ใจอ่านคัมภีร์ และ ศรัทธาต่อศาสดา และผูใ้ ดปฏิ เสธศาสดา แน่นอนพวกเขาคือผูข้ าดทุน

36 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557


สาเหตุแห่ งการประทานลงมา อิบนิ อับบาซรายงานว่า พวกยิวที่ มะดี นะฮฺ แนะคริ สเคียนเผ่านัจรอน รอว่าท่านศาสดา กับพวกเขาคงจะตกลงเรื่ องกิบละฮฺกนั ได้ เมื่อ พระเจ้ าทรงมีบญ ั ชาให้ มสุ ลิมเปลี่ยนกิบละฮฺจา กบัยตุลมุก็อดดัซ มาเป็ นอัลกะอฺบะฮฺ พวกเขา หมดหวัง จากท่า นศาสดา และมี พ วกเขาบาง กลุ่มท้ วงติงบรรดามุสลิม ในเชิงขอร้ องว่าอย่า ได้ กระท�ำการใด ๆ อันเป็ นสาเหตุท�ำให้ พวกยิว และคริ สเตียนต้ องได้ รับความเดือดร้ อน เวลานัน้ โองการได้ ประทานลงมา และแจ้ งกับท่านศาสดา ว่า พวกยิวและคริ สเตียนกลุม่ นี ้ไม่ต้องการตกลง กับเจ้ าเรื่ องกิบละฮฺ และพวกเขาจะไม่พอใจเจ้ า เด็ดขาด จนกว่าเจ้ าจะยอมรับศาสนาของพวกเขา สาเหตุข องการประทานที่ ส อง กล่ า ว คือ นักอรรถาธิ บายอัล-กุรอานบางท่านเชื่อว่า โองการข้ างต้ นได้ ประทานให้ กบั ท่านญะอฺฟัร บุตร ของอบีฏอลิบ และมุสลิมกลุม่ หนึง่ ที่อพยพไปยัง เอธิโอเปี ย พร้ อมกัน และอีกบางกลุม่ ที่สมทบกับ ท่านที่นนั่ พวกเขามีทงสิ ั ้ ้น 40 คน 32 คน เป็ นคน เอธิโอเปี ย และอีก 8 คน เป็ นบาทหลวงจากซีเรี ย ซึง่ หนึง่ ในนันคื ้ อ บาทหลวงบุฮยั รอ รอฮิบ ที่มีชื่อ เสียงรู้จกั กันดี นักวิชาการบางท่านเชือ่ ว่า โองการข้ างต้ น ประทานให้ กบั ยิวบางคนทีเ่ ข้ ารับอิสลาม และเป็ น ผู้ศรัทธาที่แท้ จริ งในเวลาต่อมา เช่น อับดุลลอฮฺ บุตรของ สลาม ซะอีด บุตรของ อุมรั และตะมาม บุตรของ ยะโฮดา ค�ำอธิบาย ความดึงดูดและความพึงพอใจ ของชนกลุม่ นี ้เป็ นไปไม่ได้ โองการก่อนหน้ านี ้ปฏิเสธความรับผิดชอบ

ของท่านศาสดา (ซ็อล ฯ) ต่อบรรดาผู้ที่หลงทาง และปฏิเสธท่าน อัล-กุรอานโองการนี อธิ ้ บายเรื่อง ราวต่อจากโองการที่แล้ วว่า มียิวและคริ สเตียน กลุม่ หนึง่ ที่ใฝ่ หาสัจธรรม พวกเขาตอบรับค�ำเชิญ ชวนของท่านศาสดา (ซ็อล ฯ) และยอมรับอิสลาม อัล-กุรอานหลังจากประณามยิว และคริ สเตียน กลุม่ ก่อนหน้ านี ้ ได้ สรรเสริ ญ และชื่นชมยิวและ คริสเตียนทีย่ อมรับอิสลาม กล่าวว่า บรรดาผู้ทเี่ รา ได้ ประทานคัมภีร์แก่พวกเขา (ยิว และคริสต์) พวก เขาตังใจอ่ ้ านคัมภีร์ และศรัทธาต่อศาสดา และผู้ ใดปฏิเสธศาสดา แน่นอนพวกเขาคือผู้ขาดทุน ประเด็นส�ำคัญ 1. ค� ำ ถามเกี่ ย วกับ ประโยคที่ ว่า ถ้ า เจ้ า ปฏิบตั ติ ามอารมณ์ของพวกเขา

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 37


ถ้ าพิจารณาถึงประเด็นที่ว่า ท่านศาสดา (ซ็อล ฯ) อยู่ในต�ำแหน่งของผู้บริ สทุ ธิ์ (อิซมัต) ฉะนัน้ จะเป็ นไปได้ อย่างไร ที่ท่านปฏิบตั ิตาม อารมณ์ ข องพวกดื อ้ รั น้ และมี ความเชื่ อผิ ด ๆ การกล่าวท�ำนองนี ้มีมากมายในอัล-กุรอาน ซึ่ง มิได้ ขดั แย้ งกับความเป็ นผู้บริ สทุ ธิ์ของศาสดาแต่ อย่างใด เนือ่ งจากว่าด้ านหนึง่ เป็ นประโยคเงือ่ นไข (ชัรฏียะฮฺ) ซึง่ ปกติแล้ วประโยคที่เป็ นเงื่อนไขมิใช่ เหตุผลที่ท�ำให้ เป็ นเงื่อนไขแต่อย่างใด อี ก ด้ านหนึ่ ง ความเป็ นมะอฺ ซู ม มิ ไ ด้ หมายความว่าความผิดจะเป็ นไปไม่ได้ ส�ำหรั บ บรรดาศาสดา แต่ทา่ นศาสดาและบรรดาอิมาม มีความสามารถกระท�ำความผิดได้ ประกอบกับ เจตนารมณ์เสรี ก็มิได้ ถกู ปฏิเสธไปจากพวกท่าน เพียงแต่วา่ พวกท่านส�ำรวมตนจากความผิด และ ความโสโครกทังหลายจึ ้ งอยูใ่ นฐานะของผู้บริสทุ ธิ์ อี ก นั ย หนึ่ ง บรรดาศาสดาสามารถ ท� ำความผิดได้ แต่ความศรั ทธา ความรู้ และ

38 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

ความส�ำรวมตนของพวกท่านอยูใ่ นระดับขันที ้ ่วา่ ปกป้องท่านมิให้ กระท�ำความผิด อีกด้ านหนึง่ เมื่อพิจารณาจะเห็นว่าอัล-กุ รอาน กล่าวกับท่านศาสดา (ซ็อล ฯ) แต่ในความ เป็ นจริ งจุดประสงค์คือประชาชนโดยทัว่ ไป 2. ทางน� ำ เฉพาะทางน� ำ ของอัล ลอฮฺ เท่านัน้ โองการข้ างต้ นแสดงให้ เห็นว่า กฎเกณฑ์ ที่สามารถช่วยเหลือมนุษย์ได้ เฉพาะกฎเกณฑ์ และการชี ้น�ำของพระเจ้ าเท่านัน้ เนื่องด้ วยความ รู้ ของมนุษ ย์ แ ม้ ว่ า จะมี ค วามสมบูร ณ์ แต่ก็ ยัง ถือว่าถูกผสมด้ วยความโง่เขลา ความคลางแคลง และความไม่ถกู ต้ องของสาเหตุตา่ ง ๆ ดังนัน้ การ ชีน้ �ำที่เกิดจากบุคคลที่มีความรู้ บกพร่ อง จะไม่ ถือว่านัน่ เป็ นการชี ้น�ำสมบูรณ์ บุคคลที่สามารถ ชี ้น�ำมนุษย์ได้ อย่างสมบูรณ์ ต้ องเป็ นผู้มีความรู้ สมบูรณ์ ปราศจากความโง่เขลา และความไม่ถกู ต้ อง ซึง่ มีเฉพาะพระผู้เป็ นเจ้ าเท่านัน้


3. สิทธิในการอ่านหมายถึงอะไร ถ้ าหากพิจารณาประชาชนที่อยู่ต่อหน้ า โองการข้ างต้ น สามารถแบ่งประชาชนออกเป็ นก ลุม่ ได้ ดงั นี ้ กล่าวคือ บางกลุ่ ม เพี ย งแค่ เ น้ นการออกเสี ย ง พยัญชนะให้ ถูกต้ องบนฐานของการออกเสียง พวกเขาจึงครุ่ นคิดอยู่กบั การอ่านหยุด การอ่าน เชื่อม และกฎการอ่านผสม คนกลุม่ นี ้จะไม่ใส่ใจ ต่อเรื่ องความหมาย หรื อการอธิ บายตลอดจน การปฏิบตั ิตามอัล-กุรอาน ซึ่งมิได้ แตกต่างกับ สัตว์ที่แบกสัมภาระไว้ บนหลัง อัล-กุรอานกล่าว ว่า อุปมาบรรดาผู้ที่ได้ รับคัมภีร์เตารอต แล้ วพวก เขามิได้ ปฏิบตั ติ าม ที่พวกเขาได้ รับมอบประหนึง่ เช่นกับลาที่แบกหนังสือจ�ำนวนหนึง่ (บนหลังของ มัน) อุปมาหมูช่ นที่ปฏิเสธต่อสัญญาณต่าง ๆ ขอ งอัลลอฮฺมนั ช่างชัว่ ช้ าจริ ง ๆ และอัลลอฮฺจะไม่ ชี ้แนะทางแก่หมูช่ นผู้อธรรม (ญุมอุ ะฮฺ 5) บางกลุม่ ใส่ใจในความหมายของโองการ ใคร่ ครวญในประเด็นที่ละเอียดอ่อนของโองการ มีความรู้เกี่ยวกับศาสตร์ ตา่ ง ๆ แต่ไม่ปฏิบตั ิ

บางกลุม่ เป็ นผู้ศรัทธาที่แท้ จริ ง ถือว่าอัลกุรอานคือธรรมนูญสูงสุดส�ำหรับการด�ำเนินชีวิต เป็ นคัมภีร์แห่งการปฏิบตั ิ พวกเขาอ่านค�ำพูด และ พิจารณาความหมาย และยึดถือคัมภีร์เป็ นปฐม บทส�ำหรับการกระท�ำ ด้ วยเหตุนี ้ เมื่อพวกเขาอ่า นอัล-กุรอาน เขาจะพบกับจิตวิญญาณใหม่ การ ตัดสินใจของจะใหม่เสมอ มี การเตรี ยมพร้ อม ส�ำหรับการกระท�ำใหม่ ๆ และนี่คือความหมาย ของ สิทธิในการอ่าน อิมามซอดิก (อ.) อธิบายโองการดังกล่าว ว่า สิทธิ ในการอ่าน ไม่ได้ หมายถึงการท่องจ�ำ โองการ การเรี ยนรู้เรื่ องค�ำ หรื อการอ่านตามหลัก ตัจวีด (หลักการอ่านอัล-กุรอาน) รายงานกล่าว ว่า บุคคลทีร่ ักษาสิทธิ์ในการอ่านได้ อย่างสมบูรณ์ ที่สดุ ได้ แก่ บรรดาอิมามผู้บริ สทุ ธิ์แห่งครอบครัว ของท่านศาสดาเท่านัน้ จุด ประสงค์ คื อ ใคร่ ค รวญโองการต่ าง ๆ และปฏิ บัติ ต ามบทบัญ ญัติ ข องอัล -กุร อาน พระเจ้ าตรัสว่า เราได้ ประทานคัมภีร์ที่มากด้ วย ความจ�ำเริ ญแก่เจ้ า เพื่อให้ พวกเจ้ าคิดใคร่ครวญ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 39


โองการที่ 122, 123

ِ‫يا ب ِن إِسرائ‬ ِ ‫يل اذْ ُك ُروا نِ ْع َم‬ ‫ت‬ ُ ‫ت الَِّت أَنـَْع ْم‬ َ َْ َ َ َِ ﴾١٢٢﴿ ‫ني‬ َّ َ‫َن ف‬ ِّ ‫َعلَْي ُك ْم َوأ‬ َ ‫ض ْلتُ ُك ْم َعلَى الْ َعالَم‬ ٍ ‫َواتـَُّقوا يـَْوًما َّل َْت ِزي نـَْفس َعن نـَّْف‬ ‫س َشْيئًا َوَل‬ ٌ ِ ‫اعةٌ َوَل ُه ْم‬ ‫ف‬ ‫ش‬ ‫ا‬ ‫ه‬ ‫ع‬ َ َ َ َ ُ ‫يـُْقبَ ُل منـَْها َع ْد ٌل َوَل تَن َف‬ ﴾١٢٣﴿ ‫نص ُرو َن‬ َ ُ‫ي‬

ความหมาย 122. วงศ์วานของอิ สรออีลเอ๋ย ! จงร� ำลึก ถึงความโปรดปรานของฉัน ที ่ฉนั ได้โปรดปราน แก่ สู เ จ้ า และแท้จ ริ งฉัน ได้ย กย่ อ งสู เ จ้ า เหนื อ ประชาชนทัง้ หลาย 123 . และจงส�ำรวมตนต่อวันหนึ่ง ทีไ่ ม่มี ใครสามารถรับโทษแทนอีกชี วิตหนึ่งได้ และการ ชดเชยแทนสิ่ งนัน้ ก็จะไม่ถูกตอบรับ และการขอ ไถ่แทนจะไม่อ�ำนวยประโยชน์ แก่ ชีวิตนัน้ และ พวกเขาจะไม่ถูกช่วยเหลือ ค�ำอธิบาย พระเจ้าตรัสถึงพวกบนีอิสรออีลอีกครัง้ หนึ่ง ทรงค�ำนวณนับความโปรดปรานของพระองค์ ที ่ ประทานแก่พวกเขา โดยเฉพาะอย่างยิ่ งพระองค์ ทรงยกย่ องพวกเขาเหนื อประชาชาติ ร่วมสมัย ของพวกเขา ขณะที ่ทรงเตื อนส� ำทับพวกเขาว่า ไม่ มีความโปรดปรานใด ที ่ปราศจากความรับ ผิ ดชอบ ความโปรดปรานทุกประเภท ทีพ่ ระองค์ ทรงประทานแก่ปวงบ่าว พระองค์เอาสัญญาจาก พวกเขา ในวันนัน้ ทุกคนต้องรับผิ ดชอบความ โปรดปรานที ่ได้รับมา ไม่มีการช่วยเหลื อ หรื อ การอนุเคราะห์ ใด ๆ ยกเว้นต้องได้รับอนุญาต จากพระองค์ ถ้า หากพวกเจ้ า คิ ด ว่ า ในวัน นัน้ นอกจากพระองค์แล้ว ยังมีบคุ คลอืน่ อีกทีส่ ามารถ

40 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

ช่วยเหลื อได้ ถื อเป็ นความผิ ดพลาดอย่างรุนแรง เนือ่ งจากในวันนัน้ จะไม่มีใครสามารถช่วยเหลื อ กันได้ ไม่มีการไถ่บาป ไม่มีการรับโทษแทน ด้วย เหตุนี้ แนวทางแห่งการช่วยเหลือทีส่ ามารถติ ดต่อ ได้บนโลก จะถูกตัดขาดทัง้ หมด ซึ่งในวันนัน้ มีอยู่ ทางเดี ยวที ส่ ามารถช่วยเหลื อมนุษย์ ให้รอดพ้น จากภยันตรายต่าง ๆ ได้ คือความศรัทธา และ ประกอบการดี การลุแก่โทษเมื ่อท� ำบาป การ ขัดเกลาจิ ตวิ ญญาณ และการยกระดับจิ ตใจ ถึ งตรงนี ้อลั -กุรอานยุติการกล่ าวถึ งพวก ยิ ว คริ สเตี ยน และบรรดาผู้ตงั้ ภาคี เที ยบเที ยม ประเด็ นที ่จะกล่ าวต่ อไปเป็ นเรื ่ องราวเกี ่ยวกับ ศาสดาอิ บ รอฮี ม (อ.) วี ร บุรุ ษ แห่ ง การก่ อ ตั้ง แนวทางแห่งพระเจ้า ผูเ้ ป็ นแบบอย่างในการต่อสู้ กับบรรดามุชริ กีน และบรรดาเทวรู ป ต่าง ๆ โองการที่ 124

‫ال إِ ِّن‬ َ َ‫ق‬ ‫ال َل‬ َ َ‫ق‬

ٍ ‫وإِ ِذ ابـتـلَى إِبـر ِاهيم ربُّه بِ َكلِم‬ ‫ات فَأَ​َتَُّه َّن‬ َ ُ َ َ َْ ٰ َ ْ َ ِ ِ‫ج‬ ِ ‫ك لِلن‬ ‫ال َومن ذُِّريَِّت‬ َ َ‫َّاس إِ َم ًاما ق‬ َ ُ‫اعل‬ َ ِ ِ ِ َّ ﴾١٢٤﴿ ‫ني‬ ُ َ‫يـَن‬ َ ‫ال َع ْهدي الظالم‬

ความหมาย 124. และจงร� ำลึ กถึ ง เมื ่อพระผู้อภิ บาล


ทรงทดสอบอิ บรอฮี ม ด้วยถ้อยค� ำบางประการ แล้วเขาได้ปฏิ บตั ิ โดยครบถ้วน พระองค์ ตรัสว่า แท้จริ งฉันแต่งตัง้ เจ้าให้เป็ นผูน้ �ำมนุษย์ ชาติ เขา กล่าวว่า และลูกหลานของข้าพระองค์ ดว้ ยไหม พระองค์ ตรัสว่า สัญญาของฉันไม่ แผ่รวมถึ งผู้ อธรรม (เฉพาะลูกหลานของเจ้าทีส่ ะอาดบริ สทุ ธิ์ เท่านัน้ เหมาะสม) ค�ำอธิบาย อิ ม ามคื อ เกี ย รติ ย ศที่ สู ง ศั ก ดิ์ ส� ำ หรั บ อิบรออีม (อ.)จากโองการนี เ้ ป็ นต้ นไปโองการ กล่าวถึงศาสดาอิบรอฮีม วีระบุรุษแห่งพระผู้เป็ น เจ้ า ผู้สถาปนาอัล-กะอฺบะฮฺ อันเป็ นศูนย์กลางของ พระผู้เป็ นเจ้ า และการแสดงความเคารพภักดี ซึง่ เมื่อนับรวมแล้ วประมาณ 18 โองการที่กล่าวถึง ประเด็นนี ้ จุดประสงค์ของโองการต้ องการกล่าว ถึง 3 ประเด็นส�ำคัญดังนี ้ 1. เป็ นปฐมบทส�ำหรับการเปลี่ยนกิบละฮฺ 2. พวกยิวและคริ สต์กล่าวอ้ างว่า พวกเรา คือ ผู้สืบทอดของอิบรอฮีม และศาสนาของเขา แต่โองการข้ างต้ นระบุว่า พวกเขาห่างไกลจาก ศาสนาของอิบรอฮีมเพียงใด 3. บรรดาผู้ตงภาคี ั ้ เทียบเทียมพระเจ้ าอ้ าง เช่นกันว่า พวกเขาคือผู้สืบทอดของอิบรอฮีม ซึง่ ต้ องสร้ างความเข้ าใจกับพวกเขาว่า อันทีจ่ ริงพวก เขากับอิบรอฮีมมิได้ เกี่ยวข้ องกันแม้ แต่นิดเดียว โองการข้ างต้ นกล่าวถึงเหตุการณ์ ส�ำคัญ ที่สดุ ในชีวิตของอิบรอฮีม กล่าวถึงรางวัลอันยิ่ง ใหญ่ (ต�ำแหน่งอิมาม) ที่พระองค์ทรงประทาน ให้ โดยกล่าวว่า แท้ จริ งฉันแต่งตังเจ้ ้ าให้ เป็ นผู้น�ำ มนุษย์ชาติ อิบรอฮีมขอต่อพระองค์วา่ ต�ำแหน่งอิ

มามนี ้รวมถึงลูกหลานของข้ าพระองค์ด้วยไหม จุดประสงค์ของอิบรอฮีม ไม่ต้องการให้ รากฐาน ของนบูวตั ร และอิมามัตถูกตัดขาดหรือถูกเจาะจง เฉพาะท่านเท่านัน้ พระเจ้ าทรงตอบรับค�ำขอร้ อง ของอิบรอฮีม และตรัสกับอิบรอฮีมว่า สัญญาของ ฉัน (ต�ำแหน่งอิมาม) จะไม่รวมไปถึงพวกอธรรม และอัล-กุรอานกล่าวว่า เฉพาะลูกหลานทีบ่ ริสทุ ธิ์ ของเจ้ าเท่านันเหมาะสมกั ้ บต�ำแหน่งอิมาม สรุ ปว่าโองการข้ างต้ น กล่าวถึงการแต่ง ตังอิ ้ บรอฮีมให้ เป็ นอิมามภายหลังจาก ผ่านการ ทดสอบครั ง้ ส� ำ คัญ ที่ สุด ในชี วิ ต ของอิ บ รอฮี ม เป็ นต�ำแหน่งที่สงู ส่งกว่านบูวตั อิมามซอดิก (อ.) กล่าวถึงความจริ งเรื่ องนี ้ว่า พระเจ้ าทรงเลือกให้ อิบรอฮีมเป็ นบ่าวที่เฉพาะส�ำหรับพระองค์ ก่อน ที่ จ ะแต่งตัง้ ให้ เป็ นศาสดา และทรงแต่งตัง้ ให้ เป็ นศาสดาก่อนที่จะเลือกให้ เป็ นศาสนทูต ทรง แต่ง ตัง้ ให้ เ ป็ นศาสนทูต ก่ อ นที่ จ ะเลื อ กให้ เ ป็ น มิตรสนิท (เคาะลีล) และทรงแต่งตังให้ ้ เป็ นเคาะ ลีล ก่อนที่จะเลือกให้ เป็ นอิมาม เมื่ออิบรอฮีมได้ รับต�ำแหน่งทังหมดแล้ ้ วตรัสว่าแท้ จริ งฉันแต่งตัง้ เจ้ าให้ เป็ นผู้น�ำมนุษย์ชาติ ต�ำแหน่งอิมามยิง่ ใหญ่ มากส�ำหรั บอิบรอฮีม ท่านจึงกล่าวทันทีว่า โอ้ พระผู้อภิบาลของข้ าฯ โปรดแต่งตังลู ้ กหลานของ ข้ า ให้ ด�ำรงต�ำแหน่งอิมามนี ้ด้ วย พระเจ้ าตรัสว่า สัญญาของฉัน (ต�ำแหน่งอิมาม) จะไม่รวมไปถึง พวกอธรรมเด็ดขาด หมายถึงบุคคลที่วกิ ลจริ ตจะ ไม่ได้ เป็ นอิมามแน่นอน ประเด็นส�ำคัญ จุดประสงค์ของ กะลิมาต หมายถึงอะไร จุดประสงค์ของค�ำว่า กะลิมาต คือประโยค

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 41


ที่พระเจ้ าทรงใช้ ทดสอบอิบรอฮีม ด้ วยสื่อและวิธี ทดสอบที่แตกต่างกัน เป็ นหน้ าที่อนั ยิ่งใหญ่และ หนักหนาสาหัสอย่างยิ่ง ที่พระเจ้ าทรงมอบให้ เป็ นหน้ าที่ของอิบรอฮีม ซึง่ ท่านได้ ปฏิบตั ิหน้ าที่ อย่างครบถ้ วนสมบูรณ์ที่สดุ พระบัญชาที่ทรงมี แก่อิบรอฮีมเพื่อทดสอบได้ แก่ บัญชาให้ น�ำบุตร ชาย (ศาสดาอิสมาอีล) ไปยังสถานที่เชือดพลี และเตรี ยมตัวเชือดบุตรชายสุดที่รักของตนตาม บัญชาของพระองค์ บัญชาให้ อพยพครอบครัวไป ยังถิ่นกันดารทีส่ ดุ ไม่มตี ้ นไม้ ไม่มนี � ้ำ ไม่มพี ชื และ ไม่มีผ้ คู นอาศัยอยู่แม้ แต่คนเดียว บัญชาให้ ตอ่ สู้ กับพวกบูชารู ปปั น้ แห่งบาบิโลน และท�ำลายรู ป ปั น้ เหล่านัน้ ท่านแสดงความกล้ าหาญขณะที่ถกู พิพากษาและถูกพิพากษาโยนใส่กองไฟ ท่านมิได้ แสดงความหวาดกลัวแม้ แต่น้อย ท่านได้ แสดงให้ เห็นถึงพลังศรัทธาที่มีอยูใ่ นตัวจนเป็ นที่ประจักษ์ บัญชาให้ อพยพออกจากแผ่นดินบูชารู ปปั น้ หัน หลังให้ กบั ชีวิตที่สะดวกสบาย ไปสูด่ นิ แดนที่หา่ ง ไกลความเจริ ญ เพื่อปฏิบตั ิหน้ าที่เผยแผ่สาส์น และอื่น ๆ บัญชาที่พระเจ้ าทรงมีแก่อิบรอฮีมล้ วน เป็ นบัญชาที่หนักอย่างยิง่ และยากต่อการปฏิบตั ิ ตาม แต่อบิ รอฮีมได้ ปฏิบตั คิ รบถ้ วนสมบูรณ์ ด้ วย พลัง ศรั ท ธาที่ มั่น คง และพัน ธะสัญ ญาที่ มี ต่อ พระเจ้ า ทังหมดเหล่ ้ านี ้เป็ นการพิสจู น์ถึงความ เหมาะสมของอิบรอฮีม ที่มีตอ่ ต�ำแหน่งอิมามัต อิมามหมายถึงใคร จากโองการสามารถกล่าวได้ ต�ำแหน่งอิ มามที่พระเจ้ าทรงมอบแก่อบิ รอฮีม ภายหลังจาก ประสบความส�ำเร็ จจากการถูกทดสอบแล้ ว จะ เห็นว่าเป็ นต�ำแหน่งที่สงู ส่งกว่าการเป็ นศาสดา

42 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

ค�ำว่าอิมามัต มีความหมายแตกต่างกันดังนี ้ 1. อิ มามัต หมายถึง หัว หน้ า หรื อ ผู้น� ำ ภารกิจทางโลก 2. อิมามัต หมายถึง ผู้น�ำเกี่ยวกับภารกิจ ทางโลกและทางธรรม 3. อิ ม ามัต หมายถึ ง การท� ำ ให้ ภารกิ จ ของศาสนาส�ำเร็ จลุล่วง ทังด้ ้ านการปกครองใน ความหมายที่กว้ าง เช่น น�ำบทลงโทษตามหลัก การอิ ส ลามมาปฏิ บัติ ปฏิ บัติ ต ามบทบัญ ญัติ อิสลาม สร้ างความดุลยภาพในสังคม อบรมสัง่ สอนและขัดเกลาจิตวิญญาณทัง้ ภายนอกและ ภายใน ต�ำแหน่งอิมามัตไม่ว่าจะพิจารณาด้ าน ใดก็ตาม สูงส่งกว่าต�ำแหน่งศาสดา เนื่องจาก ศาสดามีหน้ าที่แจ้ งข่าวที่มาจากพระเจ้ า และ ตักเตือนประชาชาติ ส่วนอิมามัต นอกจากต้ อง ปฏิบตั ิหน้ าที่เดียวกันกับศาสดาแล้ ว ยังต้ องน�ำ กฎการลงโทษตามหลักการอิสลามมาปฏิบตั ิ และ อื่น ๆ ตามที่กล่าวมาแล้ วอีกต่างหาก และเป็ นที่ ชัดเจนว่าบรรดาศาสดาหลายท่าน นอกจากได้ รับ ต�ำแหน่งศาสดาแล้ ว ยังได้ รับต�ำแหน่งอิมามัตอีก ต่างหาก ในความเป็ นจริ ง ต� ำ แหน่ ง อิ ม ามั ต คื อ ต�ำแหน่งที่ท�ำให้ เป้าหมายของศาสนาเป็ นจริ ง และชี ้น�ำแนวทางในความหมายของการน�ำไปถึง เป้าหมาย มิใช่การน�ำเสนอแนวทางเพียงอย่าง เดียว ซึ่งครอบคลุมการชี ้น�ำในลักษณะตักวีนียฺ ด้ วย หมายถึง ส่งผลด้ านใน ซึง่ จิตวิญญาณขอ งอิมามมีอทิ ธิพลกับจิตใจมนุษย์ และชี ้น�ำด้ านจิต วิญญาณแก่พวกเขา ไม่มีความคลางแคลงใจว่าจุดประสงค์ขอ



การประกาศเผยแผ่วะฮฺยู และบทบัญญัติตา่ ง ๆ ของพระเจ้ า อบรมสัง่ สอนไปตามหลักการทีไ่ ด้ รับ มาแก่ประชาชาติ ด้ วยเหตุนี ้ เราะซูล จึงหมายถึง บุคคลที่ มีหน้ าที่ปฏิบตั ภิ ารกิจที่ได้ รับมอบหมาย มาจากพระเจ้ า เคียงคูก่ บั ความเพียรพยายามใน การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม แนวความคิด และ ความเชื่อ 3. ต�ำแหน่งอิมามัต หมายถึง ผู้น�ำมวล มนุษ ยชาติ ได้ แ ก่ บุค คลที่ พ ยายามจัด ตัง้ การ ปกครองในรู ป แบบอิ ส ลาม เพื่ อ น� ำ หลัก การ อิสลามทังในเรื ้ ่ องการลงโทษ และบทบัญญัตอิ ื่น ๆ ของพระองค์มาปฏิบตั ิ อี กนัยหนึ่ง หน้ าที่ ของอิ มามคื อ การน� ำ บัญชาของพระเจ้ ามาปฏิบตั ใิ ช้ ในสังคม ส่วนนบี คือ ผู้แจ้ งข่าวที่มาจากพระเจ้ า หรื อกล่าวได้ ว่า เราะซูลคือผู้น�ำเสนอแนวทางแก่ประชาชาติ ส่วน อิมามคือผู้ชี ้น�ำไปถึงยังเป้าหมาย อิมามคือผู้น�ำ ในทุกด้ านทังศาสนจั ้ กร อาณาจักร ด้ านร่างกาย และจิตวิญญาณ ทังภายนอกและภายใน ้ อิมาม คือผู้น�ำการปกครอง ผู้น�ำสังคม ผู้น�ำศาสนา ผู้น�ำ จิตวิญญาณ และผู้อบรมสัง่ สอนศีลธรรมจรรยา แก่มนุษย์ชาติ อิมามัต หรื อความสมบูรณ์ สุดท้ ายของ อิบรอฮีม ต�ำแหน่งอิมามัต เป็ นต�ำแหน่งที่สงู ส่งกว่า การเป็ นนบี และการเป็ นเราะซูล ต�ำแหน่งดัง กล่าวนี ้ต้ องการบุคคลทีม่ คี วามดีงามและมีความ เหมาะสมที่สดุ ในทุก ๆ ด้ าน ซึง่ อิบรอฮีม ได้ แสดง ให้ เห็นว่าตนมีความเหมาะสมดังกล่าว ภายหลัง จากการทดสอบอย่างรุนแรงจากพระเจ้ า ซึง่ ถือว่า

44 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

เป็ นความสมบูรณ์สงู สุดของอิบรอฮีม ซอลิม หมายถึงใคร จุดประสงค์ของ การกดขี่ ในประโยคทีก่ ล่าว ว่า และสัญญาของฉันจะไปแผ่ไปถึงผู้อธรรม มิได้ หมายถึง การอธรรมคนอื่นเพียงอย่างเดียว แต่ห มายถึง การอธรรม (เมื่ อ ยู่ต่อ หน้ า ความ ยุตธิ รรม) ในที่มีความหมายครอบคลุมกว้ าง อยู่ ในจุดที่ตรงกันข้ ามกับความยุติธรรม ในความ หมายของ การจัดวางทุกสิง่ ในที่ของมันที่มีความ เหมาะสม ด้ วยเหตุนี ้การกดขี่ จึงหมายถึง บุคคล หรื องาน หรื อการน�ำสิ่งใดสิ่งหนึ่งไปวางในที่ ๆ ไม่มีความเหมาะสม อิมามัต หรื อผู้น�ำทังภายนอกและภายใน ้ ของมวลมนุษย์ เป็ นต� ำแหน่งที่ สูงส่ง มี ความ รับผิดชอบสูง และมีความยิ่งใหญ่ ถ้ าหากพลัง้ เผลอท�ำความผิด หรื อฝ่ าฝื นเพียงเล็กน้ อยจะ ขาดคุณสมบัตกิ ารเป็ นอิมามทันที ดังนัน้ ถ้ าหาก พิจารณาอย่างละเอียดถี่ถ้วนจะเห็นว่าไม่มีการ กดขี่ใดจะเลวร้ ายยิ่งไปกว่า การกดขี่ตนเองโดย การเคารพบูชารูปปั น้ ศาสดาลูกมานแนะน�ำบุตร ชายของท่านว่า โอ้ ลกู เอ๋ย เจ้ าอย่าได้ ตงภาคี ั ้ ใด ๆ ต่ออัลลอฮฺ เพราะแท้ จริงการตังภาคี ้ นนเป็ ั ้ นความ ผิดอย่างมหันต์ โดยแน่นอน (ลูกมาน 13) ด้ วยเหตุนี ้บุคคลทีจ่ ติ วิญญาณของสกปรก กับเคารพบูชารูปปั น้ เขาไม่มีสทิ ธิ์เป็ นอิมามหรื อ ผู้น�ำมวลผู้ศรัทธาแม้ แต่นิดเดียว อิมามได้ รับการแต่ งตั้งโดยพระเจ้ า จากโองการที่กล่าวมาสารมารถสรุ ปได้ ว่า อิมาม ผู้น�ำมวลประชาชาติมีความบริ สทุ ธิ์ในทุก ด้ าน ต้ องได้ รับการแต่งตังจากพระเจ้ ้ า เนื่องจาก


แห่งราชวงศ์อบั บาซียฺ และกล่าวอีกว่า จะเห็นว่า บรรดาอิมามทังสี ้ ข่ องอะฮฺลซิ ซุนนะฮฺ ไม่เห็นด้ วย กับการปกครองของรัฐบาลในสมัยของตน และ ไม่ยอมรับว่าพวกนันมี ้ ความเหมาะสมในการเป็ น ผู้น�ำมวลมุสลิมแม้ แต่นิดเดียว เนื่องจากพวกเขา กดขี่ขม่ เหง อัล-กุรอานหลังจากแนะน�ำต�ำแหน่งอิมา มัตของอิบรอฮีม ซึง่ ถือเป็ นฐานันดรที่สงู ส่งแล้ ว ล�ำดับต่อไปกล่าวแนะน�ำถึงการสร้ างบุคคลากร ประการแรก อิ ม ามัต เป็ นพัน ธะสัญ ญา ว่า โองการที่ 125 ประการหนึ่งจากพระเจ้ า แน่นอนบุคคลเช่นนี ้ َِّ ‫َّاس وأَمنًا و‬ ‫ات ُذوا‬ ต้ องได้ รับการแต่งตังจากพระเจ้ ้ า ซึง่ พระองค์คือ َ ‫َوإِ ْذ َج َع ْلنَا الْبـَْي‬ َ ْ َ ِ ‫ت َمثَابَةً لِّلن‬ ِ ‫ِمن َّم َق ِام إِبـر ِاهيم مصلًّى وع ِه ْدنَا إِ َ ٰل إِبـر‬ ผู้สญ ั ญา ‫يم‬ ‫اه‬ َ َ َ ُ َ َْ َ َْ ِ ِ ِ ِ ‫اعيل أَن طَ ِّهرا بـي‬ ِ ِ ِ ‫وإِ ْس‬ ประการทีส่ อง บุคคลทีย่ ้ อมตนเองด้ วยกลิน่ ‫ني‬ َ ‫ني َوالْ َعاكف‬ َ ‫ت للطَّائف‬ ْ َ َ َ ِ َ َ َ อายของการกดขี่ แน่นอนชีวติ ของพวกเขาย่อมมี ﴾١٢٥﴿ ‫جود‬ ‫الس‬ ُّ ‫الرَّك ِع‬ ُّ ‫َو‬ ُ จุดด�ำแห่งการกดขี่ ไม่ว่าจะเป็ นการกดขี่ตนเอง ความหมาย หรื อกดขี่คนอื่น หรื อเคยเคารพรู ปปั น้ แม้ แต่ครัง้ 125. และจงร� ำลึกถึง เมือ่ เราได้ให้บา้ นหลัง เดียว เขาไม่สามารถเป็ นผู้น�ำได้ เด็ดขาด ดังนัน้ นัน้ เป็ นทีก่ ลับ และเป็ นทีป่ ลอดภัยส�ำหรับมนุษย์ บุค คลที่ เ ป็ นอิ ม าม ตลอดทัง้ ชี วิ ต ต้ อ งมี ค วาม และจงยึ ดที ่ยืนของอิ บรอฮี มเป็ นที ่นมาซ และ บริ สทุ ธิ์ และการรู้จกั บุคคลที่มีความบริ สทุ ธิ์เช่น เราได้สง่ั อิ บรอฮี ม และอิ สมาอี ลว่า จงท� ำความ นี ้ เฉพาะพระเจ้ าเท่านันที ้ ่เป็ นไปได้ สะอาดบ้านของฉัน ส�ำหรับผูม้ าเวียน ผูจ้ � ำสมาธิ นอกจากพระเจ้ า แล้ ว บุ ค คลอื่ น รู้ จั ก ผูท้ ีโ่ ค้ง และผูก้ ราบ คุณสมบัตเิ หล่ านี้ไหม ค�ำอธิบาย ผู้เขียนตัฟซีร อันมินาร เล่าจากค�ำพูดขอ ความยิง่ ใหญ่ของบัยตุลลอฮฺหลังจากกล่าว งอบีฮะนีฟะฮฺว่า เขาเชื่อว่าต�ำแหน่งเคาะลิฟะฮฺ ถึงต�ำแหน่งสูงส่งของอิบรอฮีมแล้ ว อัล-กุรอาน เฉพาะเจาะจงอยู่เ ฉพาะตระกูล ของอัล ละวี ยฺ กล่าวถึงความยิ่งใหญ่ของอัล-กะอฺบะฮฺ ซึ่งเป็ น เท่านัน้ ด้ วยเหตุนี ้ บรรดาพวกปฏิวตั ิที่ลกุ ขึ ้นต่อ บ้ านหลังแรกที่สร้ างโดยอิบรอฮีม ต้ านรั ฐบาล มันซูร และอับบาซ ถื อว่าเป็ นสิ่ง ค�ำว่า มะซาบะตัน ตามรากศัพท์มาจาก ที่ถูกต้ อง เขาจึงไม่ยอมรั บการแต่งตังให้ ้ เป็ นผู้ ค�ำว่า ซะวะบะ หมายถึง การกลับของสิ่งหนึ่ง พิพากษาในสมัยการปกครองของเคาะลิฟะฮฺ จากสภาพเดิม โองการกล่าวว่า กะอฺบะฮฺ คือ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 45


ศูน ย์ ก ลางของบุค คลที่ เ ชื่ อ ในพระเจ้ า เพราะ ตลอดอายุขยั ของเขาหันหน้ าไปยังกะอฺบะฮฺ และ มิใช่เป็ นการกลับของเรื อนร่ างเพียงอย่างเดียว ทว่าจิตวิญญาณของเขาก็กลับไปยังพระเจ้ าผู้ทรง เป็ นหนึง่ เดียวด้ วยเช่นกัน ซึง่ เป็ นธรรมชาติดงเดิ ั้ ม ของมนุษย์ ด้ วยเหตุนี ้เองจึงใช้ ค�ำว่า มะซาบะตัน ซึง่ ค�ำนี ้บ่งบอกถึงความสงบ และความปลอดภัย ประเภทหนึง่ จากความหมายนี ้จึงถูกเน้ นด้ วยค�ำ ว่า อัมนัน ซึง่ ถูกกล่าวตามมา ค�ำว่า ลินนาซ บ่งบอกให้ เห็นว่าศูนย์กลางนี ้ มีความปลอดภัย และมีความมัน่ คง เป็ นสถานที่ ให้ ความปลอดภัยแก่ประชาชาติทกุ หมูเ่ หล่า และ ประชาชนที่ระหกระเหิน อัล -กะอฺ บ ะฮฺ ไ ด้ รั บ การรั บ รองจากพระผู้ อภิบาลให้ เป็ นสถานที่พกั พิง เป็ นศูนย์กลางแห่ง ความปลอดภัย หลักการของอิสลามก�ำหนดไว้ อย่างหนักแน่นว่า ห้ ามมิให้ มีการทะเลาะวิวาท โต้ เถียง ท�ำสงคราม และนองเลือดบนแผ่นดิน ศักดิส์ ทิ ธิ์ดงั กล่าว มิใช่เฉพาะมนุษย์เท่านัน้ แม้ แต่ ชีวิตของสัตว์และแมลงทุกตัว ตลอดจนพืชก็ได้ รับความคุ้มครองให้ ปลอดภัยจากการถูกท�ำร้ าย ในความเป็ นจริ งแล้ วสิง่ นี ้คือ การตอบรับหนึง่ ใน ดุอาอฺของอิบรอฮีมที่วิงวอนต่อพระเจ้ า จุดประสงค์ของมะกอมอิบรอฮีมคืออะไร มะกอมอิบรอฮีมเป็ นที่ร้ ู จกั กันดีวา่ หมาย ถึง บริ เวณหนึง่ ที่อยู่ใกล้ ๆ กับกะอฺบะฮฺ เมื่อบร รดาฮุจญาตเดินเวียนครบ 7 รอบ (เฏาะวาฟ) ก็ จะเข้ ามาใกล้ ๆ กับมะกอมอิบรอฮีม เพื่อนมาซ เฏาะวาฟ แม้ วา่ บางคนอาจกล่าวว่าหมายถึง ฮะ รัมมักกะฮฺทงหมด ั้ (บริ เวณรอบ ๆ กะอฺบะฮฺ)

46 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

หลังจากนัน้ กล่าวถึงพันธะสัญญา การ ท�ำความสะอาดบัยตุลลอฮฺ ที่อบิ รอฮีมและอิสมา อีลบุตรชายได้ ให้ ไว้ กบั พระเจ้ า จุด ประสงค์ ข อง เฏาะฮาเราะฮฺ หมาย ถึง ความสะอาด ในที่นี ้หมายถึง การท�ำความ สะอาดบ้ านแห่งความเป็ นเอกภาพของพระเจ้ า ทังภายนอกและภายใน ้ ให้ สะอาดจากสิง่ โสโครก ทังหลาย ้ เพราะเหตุใดจึงเรี ยกกะอฺบะฮฺวา่ เป็ นบ้ าน ของพระเจ้ า โองการข้ างต้ นกะอฺบะฮฺ ถูกกล่าวถึงใน ฐานะของ บัยตี หมายถึง บ้ านของฉัน ขณะที่ ทราบกันดีว่าพระเจ้ าไม่ทรงมีเรื อนร่ าง ไม่ทรง ต้ องการบ้ านทีอ่ ยูอ่ าศัย ฉะนัน้ จุดประสงค์ของกา รอิฎอฟี (เป็ นกฎเกณฑ์ข้อหนึง่ ในภาษาอาหรับ) ในที่นี ้เป็ นการอิฎอฟี ตัซรี ฟี หมายถึง เพื่ออธิบาย ความประเสริฐ หรื อความยิง่ ใหญ่ของสิง่ หนึง่ เมื่อ สัมพันธ์ไปยังพระเจ้ า เช่น เดือนเราะมะฎอน เรียก ว่า ชะฮฺรุลลอฮฺ อัล-กะอฺบะฮฺ เรี ยกว่า บัยตุลลอฮฺ เป็ นต้ น


โองการที่ 126

ِ ‫ال إِبـر‬ ‫اج َع ْل َهـٰ َذا بـَلَ ًدا ِآمنًا َو ْارُز ْق‬ ‫اه‬ ِّ ‫يم َر‬ ْ ‫ب‬ ْ َ َ‫َوإِ ْذ ق‬ ُ َ ِ ‫أَهلَه ِمن الثَّمر‬ ‫ات َم ْن َآم َن ِمنـْ ُهم بِاللَّ ِـه َوالْيـَْوِم‬ َ​َ َ ُ ْ ِ ‫َضطَُّرهُ إِ َ ٰل‬ َ َ‫ْال ِخ ِر ق‬ ْ ‫ال َوَمن َك َفَر فَأ َُمتـِّعُهُ قَل ًيل ُثَّ أ‬ ِ ‫اب النَّا ِر وبِْئس الْم‬ ِ ‫َع َذ‬ ﴾١٢٦﴿ ُ‫صري‬ َ َ َ

ความหมาย 126. และจงร� ำลึกถึง เมื อ่ อิ บรอฮี มวิ งวอน ว่า พระผูอ้ ภิ บาลของฉัน ได้ทรงโปรดท� ำให้ที่นี่ เป็ นเมื องที ่ปลอดภัย และไดทรงโปรดประทาน ผลไม้นานาชนิ ด เป็ นเครื ่องยังชี พแก่ชาวเมื อง ผู้ ทีศ่ รัทธาต่ออัลลอฮฺ และวันวันสุดท้าย พระองค์ ตรัสว่า และผู้ใดปฏิ เสธ ฉันจะให้การระเริ งแก่ พวกเขาเพียงเล็กน้อย หลังจากนัน้ ฉันจะขับเขาสู่ การลงโทษของไฟ และเป็ นปลายทางอันชัว่ ช้ายิ่ ง ค�ำอธิบาย อิบรอฮีมวอนขอความปลอดภัย และการ เติบโตทางเศรษฐกิจต่อพระผู้อภิบาล โองการนี ้กล่าวถึง การวอนขอสิง่ ส�ำคัญยิ่ง ของอิบรอฮีมต่อพระผู้อภิบาล แด่ผ้ ทู ี่อาศัยอยูใ่ น เมืองศักดิส์ ทิ ธิ์ ซึง่ หนึง่ ในสิง่ ที่วอนขอโองการก่อน หน้ านี ้กล่าวถึงแล้ ว

สิ่งที่ควรพิจารณาคือ สิ่งแรกที่ อิบรอฮีม วอนขอคือ ความปลอดภัย หลังจากนัน้ จึงขอ ความรุ่ งเรื องทางเศรษฐศาสตร์ เป็ นการบ่งชี ้ให้ เห็น ความจริ งประการหนึ่งว่า ตราบที่ ภ ายใน เมือง หรื อในประเทศยังไม่มีความปลอดภัย แล้ ว จะท�ำให้ เศรษฐกิจเจริ ญรุ่งเรื องย่อมเป็ นไปไม่ได้ จุดประสงค์ ของซะมะรอต (ผลไม้ นานา ชนิด) หมายถึงอะไร ค� ำ ว่ า ซะมะรอต มี ค วามหมายกว้ าง ประหนึ่งกล่าวคือ หมายถึงความโปรดปรานที่ เป็ นวัตถุทกุ ประเภท ไม่วา่ จะเป็ นผลไม้ นานาชนิด และอาหารประเภทต่าง ๆ ตลอดจนครอบคลุม ไปถึงความโปรดปรานด้ านจิตใจด้ วย อิมามซอ ดิก (อ.) กล่าวว่า ฮิยะ ซะมะรอตุล กุลบู หมาย ถึง ผลไม้ แห่งจิตใจ บ่งชี ้ถึงว่า พระเจ้ าทรงมอบ ความรั กและความผูกพันแก่ประชาชนให้ มีต่อ เมืองนี ้ ดังจะเห็นว่าแม้ จะมีความเหน็ดเหนื่อย และยากล�ำบากสักเพียงใด เมื่อถึงเวลาทุกคนก็ ขวนขวายมายังมักกะฮฺ อิบรอฮีม ได้ วอนขอให้ เฉพาะผู้ศรัทธาต่อ ความเป็ นเอกะของพระเจ้ า และวันสุดท้ ายของ โลกเท่านัน้ เนื่องจากประโยคที่กล่าวว่า

ِ ُ ‫(الَ يـن‬ ِ​ِ )‫ني‬ َ​َ َ ‫ال َع ْهدي الظَّالم‬

สัญญาของฉันจะไม่แผ่รวมผูอ้ ธรรม ในโองการที่ผ่านมา บ่งชี ้ถึงความจริ งข้ อนี ้ ว่า ในวันข้ างหน้ าจะมีลกู หลานของฉันบางกลุม่ หันเหออกจากแนวทางที่ถูกต้ อง ไปสู่การกดขี่ และการตังภาคี ้ เทียบเทียมพระเจ้ า โองการที่ 127, 128, 129

ِ ‫ت وإِ ْس‬ ِ ‫وإِ ْذ يـرفَع إِبـر ِاهيم الْ َقو ِاع َد ِمن الْبـي‬ ‫يل َربـَّنَا‬ ‫اع‬ َ َْ َ َ َ ُ َْ ُ َْ َ ُ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 47


ِ‫الس ِميع الْعل‬ ِ‫تـ َقبَّل ِمنَّا إ‬ َّ ﴾١٢٧﴿ ‫يم‬ ‫َنت‬ ‫أ‬ ‫ك‬ ‫ن‬ َّ َ َ َ ُ ْ َ ُ ِ ِ ِ ِ ِ ْ ‫اج َع ْلنَا ُمسلم‬ ً‫ك َومن ذُِّريَّتنَا أ َُّمةً ُّم ْسل َمة‬ َ َ‫ي ل‬ ْ ‫َربـَّنَا َو‬ َ ْ ِ ‫اب‬ َ َّ‫ب َعلَيـْنَا إِن‬ َ َّ‫ل‬ َ ‫كأ‬ ُ ‫َنت التـََّّو‬ ْ ُ‫ك َوأَ ِرنَا َمنَاس َكنَا َوت‬ ِ‫الر‬ ‫ث فِي ِه ْم َر ُس ًول ِّمنـْ ُه ْم‬ ‫ح‬ ْ ‫﴾ َربـَّنَا َوابـَْع‬١٢٨﴿ ‫يم‬ ُ َّ ِ ِ ِ ْ ‫اب َو‬ َ‫ال ْك َمة‬ َ ‫يـَتـْلُو َعلَْي ِه ْم آيَات‬ َ َ‫ك َويـَُعلِّ ُم ُه ُم الْكت‬ ِ ‫ال‬ ِ َ ‫كأ‬ ﴾١٢٩﴿ ‫يم‬ ‫ك‬ َ َّ‫َويـَُزِّكي ِه ْم إِن‬ ُ َْ ‫َنت الْ َعز ُيز‬

ความหมาย 127. และจงร� ำลึกถึง เมื อ่ อิ บรอฮี มและอิ ส มาอี ล ได้ยกฐานของบ้าน (กะอฺบะฮฺ) ให้สูงขึ้น (ทัง้ สองได้กล่าวว่า) พระผูอ้ ภิ บาลของเราได้ทรง โปรดยอมรับจากเราด้วยเถิ ด แท้จริ งพระองค์คือ ผูท้ รงได้ยินและทรงรอบรู้ 128. พระผูอ้ ภิ บาลของเรา ทรงโปรดท�ำให้ เราทัง้ สองเป็ นผูน้ อบน้อมต่อพระองค์ และโปรด ท� ำให้ลูกหลานของเรา เป็ นชนชาติ ที่นอบน้อม ต่ อพระองค์ และได้ทรงโปรดแสดงแก่ เรา ซึ่ ง ศาสนพิธีของเรา และทรงโปรดนิ รโทษแก่พวกเรา แท้จริ งพระองค์คือ ผูท้ รงอภัยโทษ ผูท้ รงเมตตา 129 . พระผูอ้ ภิ บาลของเรา ได้ทรงโปรด อุบตั ิ เราะซูลจากพวกเขา ขึ้นในหมู่พวกเขา เพือ่ จะได้สาธยายโองการทัง้ หลายของพระองค์ แก่ พวกเขา สอนคัมภี ร์และวิ ทยปั ญญาแก่ พวก เขา ท� ำให้พวกเขาสะอาด แท้จริ งพระองค์ ทรง เดชานุภาพ และปรี ชาญาณ ค�ำอธิบาย อิบรอฮีมซ่ อมแซมอัล-กะอฺบะฮฺ อัล-กุรอานหลายโองการ รายงานของท่าน ศาสดา และประวัติศาสตร์ ยืนยันให้ เห็นว่าอัลกะอฺบะฮฺมีอยู่ก่อนหน้ านัน้ แล้ ว แม้ กระทั่งบาง รายงานกล่าวว่ามีมาตังแต่ ้ สมัยของท่านอาดัม 48 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

(อ.) โองการที่ 37 บทอิบรอฮีม กล่าวถึงค�ำพูด ของอิบรอฮีมว่า โอ้ พระผู้อภิบาลของเรา แท้ จริ ง ฉันได้ ให้ ลกู หลานของฉันพ�ำนักอยู่ ณ ที่แห้ งแล้ ง กันดารไม่มีพืช ใกล้ ๆ บ้ านอันเป็ นเขตหวงห้ าม ของพระองค์ โองการนีย้ ืนยันให้ เห็นว่า เมื่ออิบรอฮีม พร้ อมลูกน้ อยอิสมาอีลและภรรยา เดินทางมายัง แผ่นดินมักกะฮฺ มีร่องรอยของกะอฺบะฮฺอยู่ก่อน แล้ ว ซึง่ โองการกล่าวว่า ใกล้ ๆ บ้ านอันเป็ นเขต หวงห้ ามของพระองค์ ความหมายของโองการบ่ ง บอกว่ า ถึ ง ประเด็นที่ก�ำลังกล่าวถึงได้ อย่างลงตัว โองการ กล่าวว่า และจงร� ำลึกถึง เมื่ออิบรอฮีมและอิสมา อีล ได้ ยกฐานของบ้ าน (กะอฺบะฮฺ) ให้ สงู ขึ ้น ทัง้ สองกล่าวว่า พระผู้อภิบาลของเราได้ ทรงโปรด ยอมรับจากเราด้ วยเถิด แท้ จริ งพระองค์คือ ผู้ทรง ได้ ยินและทรงรอบรู้ ตามค�ำอธิบายดังกล่าว เป็ นที่ประจักษ์ ว่าร่ องรอยหรื อโครงสร้ างของอัล-กะอฺบะฮฺมีอยู่ ก่อนแล้ ว อิบรอฮี มและอิสมาอีลจึงยกฐานขอ งกะอฺบะฮฺให้ สงู ขึ ้น ค�ำเทศนาของท่านอิมามอะลี (อ.) ใน นะฮฺญลุ บะลาเฆาะฮฺ บทกอซิอะฮฺ กล่าว่า พวก เจ้ าไม่เห็นดอกหรือว่า พระเจ้ าทรงทดสอบประชา โลกตังแต่ ้ สมัยของท่านศาสดาอาดัม (อ.) จนถึง ปั จจุบนั ด้ วยชิ ้นส่วนของหิน และทรงท�ำให้ บ้าน หลังนันเป็ ้ นที่เคารพส�ำหรับมุสลิมทังหลาย ้ หลัง จากนัน้ ทรงมีบัญชาแก่อาดัมและบุตร ให้ เดิน เวียนรอบบ้ านนัน้ ส รุ ป ว่ า อั ล กุ ร อ า น ริ ว า ย ะ ฮฺ แ ล ะ


ประวัติศาสตร์ ยืนยันให้ เห็นว่าอัลกะอฺ บะฮฺ ถูก สร้ างครั ง้ แรกโดยน�ำ้ มือของท่านศาสดาอาดัม (อ.) หลังจากนันเมื ้ ่อเกิดเหตุการณ์พายุฝนถล่ม ในสมัยของท่านศาสดานูฮฺ อัล-กะอฺบะฮฺได้ ถูก ท�ำลายไปด้ วย พอมาถึงยุคสมัยของท่านศาสดา อิบรอฮีมจึงมีบญ ั ชาให้ ซ่อมแซมบัยตุลลอฮฺใหม่ อีกครัง้ 3. การเรี ยนรู้มาก่อนหรื อการอบรม สิง่ ที่ควรพิจารณาคือ อัล-กุรอานกล่าวถึง เรื่องการเรียนการสอน และการอบรมพร้ อมกันถึง 4 ครัง้ ในฐานะของเป้าหมายของบรรดาศาสดา อัล-กุรอานเอาการอบรมน�ำหน้ าการสอน 3 ครัง้ เช่น บทบะเกาะเราะฮฺ โองการที่ 151 , บทอาลิ อิมรอน โองการที่ 164, บทญุมอุ ะฮฺ โองการที่ 2 เพียงแค่ครัง้ เดียวที่อลั -กุรอานน�ำเอาการสอนไว้ ก่อนหน้ าการอบรม โองการที่ก�ำลังกล่าวถึง ทัง้ ที่เป็ นที่ทราบกันดีว่า ถ้ าไม่มีการสอนก่อนการ อบรมก็ไม่มีความหมาย เพราะฉะนัน้ โองการที่น�ำเอาการสอน ขึ ้นหน้ าการอบรมต้ องการบ่งชี ้ถึงธรรมชาติของ สิ่งนัน้ ส่วนโองการที่น�ำเอาการอบรมขึน้ ก่อน การสอน ต้ องการบ่งชี ้ถึงเป้าหมาย เนื่องจากเป้า หมายหลักคือ การอบรม ส่วนที่เหลือถือเป็ นปฐม บทของการอบรมทังสิ ้ ้น 4. ศาสดามาจากในหมูพ่ วกเขา ธรรมชาติของมนุษย์มกั จะไม่ยอมรับสิ่งที่ มิได้ เป็ นประเภทเดียวกับตน พระเจ้ าจึงประทาน ศาสดาและผู้น�ำที่เป็ นมนุษย์ ประเภทเดียวกับ พวกเขา และมาจากในหมู่พวกเขา มีอารมณ์ ความรู้ สึกเดียวกับเขา เพื่อจะได้ เรี ยนรู้ และรับ

การถ่ายทอดซึง่ กันและกันได้ ถ้ าหากศาสดามิใช่ มนุษย์ แน่นอนเขาจะไม่สามารถรับรู้ ความรู้ สกึ ของความเป็ นมนุษย์ หรือจะไม่มวี นั รับรู้ความรู้สกึ ที่แท้ จริ ง ปั ญหา และความต้ องการของมนุษย์ได้ เขาจะไม่สามารถเข้ าใจปั ญหาต่าง ๆ ของมนุษย์ และมนุษย์ก็ไม่สามารถปฏิบตั ติ ามเขาได้ โองการที่ 130,131,132

ِ ِ ِ ِ َّ ُ‫يم إَِّل َمن َسفهَ نـَْف َسه‬ ُ ‫َوَمن يـَْر َغ‬ َ ‫ب َعن ِّملة إبـَْراه‬ ِ ُّ ‫اصطَ​َفيـْنَاهُ ِف‬ ‫الدنـْيَا َوإِنَّهُ ِف ْال ِخَرِة لَ ِم َن‬ ْ ‫َولَ​َقد‬ ِ​ِ َّ ‫ال‬ َ َ‫َسلِ ْم ق‬ َ َ‫﴾ إِ ْذ ق‬١٣٠﴿ ‫ني‬ َ ‫الصال‬ ْ ‫ال لَهُ َربُّهُ أ‬ ِ ‫ص ٰى ِبَا‬ َّ ‫﴾ َوَو‬١٣١﴿ ‫ني‬ ِّ ‫ت لَِر‬ َ ‫ب الْ َعالَم‬ ُ ‫َسلَ ْم‬ ْ‫أ‬ ِ ِ ‫إِبـر ِاه‬ ‫اصطَ​َف ٰى لَ ُك ُم‬ َّ َِ‫وب يَا ب‬ ْ َ‫ن إِ َّن اللَّـه‬ ُ ‫يم بَنيه َويـَْع ُق‬ ُ َْ ِ ِ َّ ﴾١٣٢﴿ ‫ِّين فَ َل َتُوتُ َّن إل َوأَنتُم ُّم ْسل ُمو َن‬ َ ‫الد‬

ความหมาย 130. และผูใ้ ดเล่าจะหันไปจากแนวทางขอ งอิ บรอฮี ม นอกจากผูท้ ีโ่ ฉดเขลาเท่านัน้ แน่นอน เราได้คดั เลื อกเขาในโลกนี ้ และในปรโลกเขาจะ อยู่ในหมู่กลั ยาณชนแน่นอน 131. จงร� ำลึกถึง เมื อ่ พระผูอ้ ภิ บาลของเขา ตรัสแก่เขาว่า เจ้าจงสวามิ ภกั ดิ์ เถิ ด (ยอมจ� ำนน ต่ อ สัจ ธรรม และเขายอมรับบัญชาของพระผู้ อภิ บาลด้วยหัวใจ) เขากล่าวว่า ฉันขอสวามิ ภกั ดิ์ แด่พระผูอ้ ภิ บาลแห่งสากลโลก 132. อิ บรอฮี มและยะอฺกูบได้สงั่ เสียลูก ๆ ของเขา ให้ปฏิ บตั ิ ตามแนวทางนี ้ (และทัง้ สองได้ สัง่ บุตรของตนว่า) โอ้ลูก ๆ ของฉัน แท้จริ งอัลลอฮฺ ได้ทรงเลือกศาสนานีแ้ ก่พวกเจ้า ดังนัน้ จงอย่า ตาย เว้นเสียแต่ว่าพวกเจ้าจะเป็ นผูส้ วามิ ภกั ดิ์

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 49


ค�ำอธิบาย อิบรอฮีมคือมนุษย์ ตวั อย่ าง โองการก่อนหน้ านี ้กล่าวถึงการบริ การขอ งอิบรอฮีม ความต้ องการ และค�ำวิงวอนทังทาง ้ โลกและทางธรรมแล้ ว ท�ำให้ ประจักษ์ วา่ แนวทาง ของศาสดาผู้ยิ่งใหญ่ สามารถน� ำมาเป็ นแบบ อย่างในการสร้ างตนเองได้ อย่างดีเยี่ยม ซึ่งถ้ า หากใคร่ ครวญถึงอุดมคติที่โองการได้ ให้ แก่เรา อย่างละเอียดถี่ ถ้วน เราคงต้ องถามตนเองว่ า ไม่ใช่ความโฉดเขลาดอกหรื อ การที่ เราละทิ ง้ ศาสนาที่มีความสะอาด และบรรเจิดยิ่ง ไปสูก่ าร ตังภาคี ้ เทียบเทียม การปฏิเสธ และระหกระเห็น อยู่กบั การก่อกรรมชัว่ และก่อความเสียหายบน หน้ าแผ่นดิน มนุษย์ทอดทิ ้งแนวทางที่ครอบคลุม ทัง้ โลกและโลกหน้ า เพื่ อ สร้ างความเป็ นศัต รู แก่ตนเอง และธรรมชาติดงเดิ ั ้ มของตน ท�ำลาย ศาสนาและโลกของตนอย่างย่อยยับ โองการต่อมากล่าวถึง คุณลักษณะพิเศษ ของอิบรอฮีม ที่ได้ รับการเลือกสรรจากพระเจ้ า ซึง่ ถือว่าเป็ นรากฐานส�ำคัญของคุณสมบัติอื่น ๆ ของอิบรอฮีม แน่นอนอิบรอฮีมคือ ผู้เสียสละที่แท้ จริ ง ครัน้ เมื่อธรรมชาติแห่งตัวตนของอิบรอฮีม เดือดพล่านขึ ้นมาท่ามกลางจิตวิญญาณที่สงู ส่ง เมือ่ พระผู้อภิบาลทรงมีบญ ั ชาว่า เจ้ าจงนอบน้ อม โดยดุษ ณี อิ บ รอฮี ม ได้ แ สดงความนอบน้ อ ม อย่างสมบูรณ์ให้ เป็ นที่ประจักษ์ แก่สายตาทัว่ ไป อิ บ รอฮี ม คิ ด และเข้ า ใจได้ ด้ ว ยสติ ปั ญ ญาของ ตน เมื่อท่านเห็นดวงดาวต่างๆ พระจันทร์ และ พระอาทิตย์ มีการขึน้ และตกตามกาลเวลา ซึ่ง เป็ นไปตามระบบการสร้ างสรรค์ของพระเจ้ า ท่าน กล่าวว่า สิง่ เหล่านี ้ไม่ใช่พระเจ้ า แท้ จริงฉันขอผิน 50 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

หน้ าของฉันสู่พระผู้ทรงสร้ างบรรดาชันฟ ้ ้ า และ แผ่นดินในฐานะผู้ใฝ่ หาความจริ ง ผู้สวามิภกั ดิ์ และฉัน มิ ใ ช่ผ้ ูตัง้ ภาคี เ ที ย บเที ย ม (บทอัน อาม โองการ 79) ในความเป็ นจริ งสิ่งที่อิบรอฮีมกระท�ำ ถือ เป็ นก้ าวแรก ส�ำหรับการถวิลหาคุณค่าของการ เป็ นมนุษย์ ความบริ สทุ ธิ์ ใจ และความสะอาด ด้ วยเหตุนี ้ อิบรอฮีมจึงมอบตนเพื่อสวามิภกั ดิ์แด่ พระบัญชาของพระองค์เท่านัน้ ท่านจึงกลายเป็ น ที่รักส�ำหรับพระเจ้ า และถูกเลือกให้ เป็ นศาสดา หลังจากนันจึ ้ งเผยแผ่แนวทางสาของตน โองการถัดมา กล่าวถึงค�ำสัง่ เสียของอิ บรอฮีมในช่วงบันปลายสุ ้ ดท้ ายแห่งชีวิต แก่ลกู ๆ ของท่าน ซึง่ สิ่งนี ้ถือว่าเป็ นอีกหนึ่งในแบบอย่าง ของท่าน ประหนึง่ ต้ องการบอกแก่ประชาชาโลก ว่า พวกท่านทังหลายไม่ ้ ได้ มีหน้ าที่รับผิดชอบลูก ๆ ของท่านเฉพาะวันนี ้เท่านัน้ พวกท่านต้ องรับผิด ชอบอนาคตของพวกเขาด้ วย มิใช่วา่ ใกล้ จะอ�ำลา จากโลกแล้ วเพิ่งจะนึกเป็ นห่วงชีวิตทางโลกว่า หลังจากท่านแล้ วพวกเขาจะอยูก่ นั อย่างไร ท่าน ต้ องค�ำนึ่งถึงชีวิตด้ านศีลธรรมของพวกเขาด้ วย ว่าพวกเขาจะเป็ นคนอย่างไร มิใช่อิบรอฮี มคนเดียวที่สงั่ เสียลักษณะ เช่นนี ้แก่ลกู ๆ ของท่าน ศาสดายะอฺกบู ก็ได้ สงั่ เสีย แบบเดียวกันกับศาสดาอิบรอฮีม ท่านได้ ก�ำชับแก่ ลูก ๆ ว่ารหัสแห่งชัยชนะ ความส�ำเร็ จ และความ สุข ทัง้ โลกนี แ้ ละโลกหน้ า ไว้ ด้ ว ยประโยคสัน้ ๆ กล่าวคือ การจ�ำนนต่อสัจธรรมความจริ ง


แปลและเรียบเรียงโดย เชคอิมรอน พิชยั รัตน์

อัลกุรอาน

บริสทุ ธิ์ จากการดัดแปลง ทัศนะของนักวิชาการอิสลาม

เป็ นที่ร้ ูกนั ในหมูน่ กั วิชาการอิสลาม –ทังซุ ้ นนีและชีอะฮ์ – ว่า อัลกุรอานไม่มีการดัดแปลงแบบท�ำให้ ขาดตก บกพร่องแต่อย่างใด และคัมภีร์ที่อยูใ่ นมือเราปั จจุบนั นี ้ คือ อัลกุรอานที่ถกู ประทานลงมายังท่านศาสดา (ศ็อลฯ) ซึง่ บรรดานักวิชาการทังรุ้ ่นและรุ่นหลังจากยืนยันถึงสัจธรรมอันนี ้ ท่านอะบุลกอซิม อะลี บิน ฮุเซน มูซะวี ถูกรู้จกั ในนามของ ซัยยิด มุรตะฎอ และ อะละมุลฮุดา (เสียชีวิตใน ปี ฮ.ศ. 436 )ท่านเป็ นนักนิตศิ าสตร์ อิสลาม (ฟะกีย์) นักอรรถาธิบายอัลกุรอาน ผู้เชี่ยวชาญด้ านหลักศรัทธา นัก อักษรศาสตร์ นักกวี และถือว่าเป็ นผู้ทรงคุณวุฒิทา่ นหนึงหลังจากท่านเชคมุฟีด ได้ กล่าวว่า : “ความรู้เกี่ยวกับความถูกต้ องของการรายงานอัลกุรอาน ก็เหมือนกับความรู้ที่มีตอ่ เมืองต่าง ๆ , เหตุการณ์ และสถานการณ์ที่ส�ำคัญต่าง ๆ หรื อต�ำราที่ถกู รู้จกั ที่ถกู เรี ยบเรี ยงของอาหรับ เพราะการให้ ความส�ำคัญและเป้า หมายในการรายงานและจดจ�ำอัลกุรอานนันมี ้ มากจนไม่อาจเทียบได้ กบั สิง่ ต่าง ๆ ที่กล่าวมาข้ างต้ น นัน่ ก็เพราะ ว่าอัลกุรอานคือปาฏิหาริ ย์แห่งความเป็ นศาสดา เป็ นแหล่งอ้ างอิงของบทบัญญัตแิ ละหลักปฏิบตั ศิ าสนา และนัก วิชาการอิสลามต่างก็เพียรพยายามที่จะท่องจ�ำและพิทกั ษ์ ปกป้องไว้ อย่างที่สดุ แม้ กระทัง่ ศึกษารายละเอียดต่าง ๆ ไม่วา่ จะเป็ นสระ , การอ่าน ,อักษรและโองการต่าง ๆ แล้ วจะเป็ นไปได้ อย่างไรที่อลั กุรอานจะมีการเปลีย่ นแปลง หรื อมีข้อบกพร่องเกิดขึ ้น ?” ท่านอาจารย์มฮุ มั มัดฮาดีย์ มะอ์รีฟัต ได้ อธิบายทัศนะของนักวิชาการชีอะฮ์ที่มีชื่อเสียงเกี่ยวกับอัลกุรอาน ไม่ถกู ดัดแปลงไว้ กว่า 20 ท่านและยังได้ กล่าวถึงนักวิชาการร่วมสมัยผู้ทรงคุณวุฒิเช่นท่าน อัลลามะฮ์ฏอบาฏ อบาอีย์ , อายาตุลลอฮ์คอู ีย์และอิมามโคมัยนี อีกด้ วย นักวิชาการด้ านฮะดีษผู้ทรงคุณวุฒิของชีอะฮ์ นับตังแต่ ้ บคุ คแรก (หมายถึงเชคศอดูก) จนถึงนักวิชาการ รุ่นหลัง( หมายถึงเชค โฮร ออมุลี และมุลลามุฮ์ซนิ เฟฎ กอซอนี) ต่างก็ปฏิเสธแม้ การคาดคิดว่ามีการดัดแปลง

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 51


เกิดขึ ้นในอัลกุรอาน แต่อย่างไรก็ตาม การคิดเอาเดา ส่งเกี่ยวกับการดัดแปลงอัลกุรอานก็ยงั ถูกน�ำมากล่าว ถึงจากกลุ่มนักรายงานฮะดีษบางกลุ่มที่ยังไม่เข้ าใจ และเชื่ออะไรง่าย ๆ ซัยยิด เนี ้ยะอ์มะตุลลอฮ์ ญะซาอิรี เหตุผลการไม่ ถูกดัดแปลงของอัลกุรอาน มีเหตุผลมากมายที่ยืนยันถึงการไม่ถกู ดัดแปลง ของอัลกุรอาน ซึ่งเราจะขอน�ำมาวิเคราะห์เพียงบาง เหตุผลดังนี ้ : 1.เหตุผลจากอัลกุรอาน อัลกุรอานกล่าวไว้ ในโองการที่บ่งบอกถึงการ พิทกั ษ์ ปกป้องอัลกุรอานว่า “แท้ จริ งเราได้ ประทานอัล กุรอานลงมา และแท้ จริ งเราย่อมเป็ นผู้พิทกั ษ์ ปกป้อง มันไว้ อย่างแน่นอน” และกล่าวไว้ ในโองการที่บง่ บอก ถึงการไม่มีสงิ่ โมฆะเข้ ามาเคลือบแคลง ว่า “แท้ จริ งอัล กุรอานเป็ นคัมภีร์ที่มีอ�ำนาจยิ่ง สิง่ โมฆะจะไม่คืบคลาน เข้ าไปสูอ่ ลั กุรอานได้ ทงจากด้ ั้ านหน้ าและด้ านหลัง” อัล กุรอานกล่าวถึงความบริ สทุ ธิ์ของตนไว้ ด้วยรูปประโยค ที่สร้ างความเชื่อมัน่ อีกทังประกาศไว้ ้ อย่างเน้ นย� ้ำและ ชัดเจน โองการแรกกล่าวไว้ ในเชิงรู ปประโยคค�ำนาม ใช้ ค�ำว่า –อินนะ- (หมายถึงแท้ จริ ง) ที่กล่าวพร้ อมกับ ค�ำสรรพนามมุนฟะศิล -นะห์น-ุ (หมายถึงเรา) อีกทัง้ มีพยัญชนะตัว –ลาม- ที่ให้ ความหมายเน้ นย� ้ำอีกด้ วย ซึง่ เป็ นประโยคที่ประกอบไปด้ วยสิง่ ทีส่ อื่ ถึงความหมาย

52 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

เน้ นย� ้ำทังสิ ้ ้น เพื่อที่จะอธิบายถึงแก่นแท้ อนั ส�ำคัญและ เป็ นอัมตะนิรันดร์ ของเรื่ องนี ้ โองการที่สองก็กล่าวถึงความบริ สทุ ธิ์และการ ไม่ถกู ดัดแปลงของอัลกุรอานไว้ อย่างหนักแน่น ค�ำว่า “อะซีซ” มาจากรากศัพท์ของค�ำว่า “อิซซัต” ซึง่ หมาย ถึง ความยาก แต่อย่างไรก็ตามค�ำนี ้มีการให้ ความหมาย แตกต่างกันไปในหลายกรณี ในภาษาอาหรับ จะเรี ยก สิง่ ที่ไม่ตกอยูภ่ ายใต้ อทิ ธิพลจากปั จจัยภายนอกว่า “อะ ซีซ” และการที่เรี ยกอัลกุรอานว่า “อะซีซ” ก็เนื่องจาก ว่า เป็ นคัม ภี ร์ เ ป็ นคัม ภี ร์ ที่ ห นัก แน่ น ไม่ต กอยู่ภ ายใต้ อิทธิพลจากปั จจัยภายนอก ประโยคต่อมาของโองการ ก็เป็ นการอธิบายย� ้ำความหมายนี ้อีกครัง้ “สิ่งโมฆะจะ ไม่คืบคลานเข้ าไปสู่อลั กุรอานได้ ทงจากด้ ั้ านหน้ าและ ด้ านหลัง” การอธิบายเช่นนี ้ เป็ นการบอกเป็ นนัยว่า ไม่ ว่าในลักกษณะใดสิ่งโมฆะไม่อาจคืบคลานเข้ าสู่อลั กุ รอานได้ อันที่จริ งแล้ วเป็ นการยืนยันว่าอัลกุรอานอยูใ่ น สภาพปกป้องตนเองจากสิง่ ที่เป็ นโมฆะ ซึง่ โองการและ ประโยคต่างๆ ของอัลกุรอานหนักแน่นมัน่ คงจนท�ำให้ ทุกสิง่ ที่เป็ นโมฆะต้ องไร้ ผล การเปลี่ยนและดัดแปลง (ไม่วา่ จะเพิ่มเติมหรื อ ตัดโองการต่าง ๆ ออกไป) สิง่ ทีน่ อกเหนือจากอัลกุรอาน ถือว่าเป็ นโมฆะ ด้ วยเหตุนี ้การปฏิเสธสิง่ โมฆะ ก็เท่ากับ การปฏิเสธทุก ๆ การเปลี่ยนและการดัดแปลง ดังนัน้ โองการนี ้ได้ ปฏิเสธการดัดแปลงทังในรู ้ ปแบบของการ เพิ่มเติมและการดัดแปลงที่ท�ำให้ บกพร่อง อาจเป็ นไปได้ ที่จะโต้ แย้ งว่า การยกเหตุผลโดย อ้ างสองโองการข้ างต้ นเพือ่ พิสจู น์การไม่ถกู ดัดแปลงขอ งอัลกุรอาน จะถูกต้ องได้ ก็ตอ่ เมื่อ สองโองการนันต้ ้ อง เป็ นอัลกุรอานด้ วย และจะรู้ได้ อย่างไรว่าโองการทังสอง ้ ไม่ใช่เป็ นหนึง่ ในโองการที่ถกู ดัดแปลง ? ส�ำหรับค�ำตอบก็คือ : ประการแรก คูส่ นทนาของ เราเกี่ยวกับประเด็นการดัดแปลงอัลกุรอาน (คือกลุ่ม ผู้อ้างว่าอัลกุรอานถูกดัดแปลง) ไม่มีใครเลยที่เชื่อว่า อัลกุรอานถูกดัดแปลงด้ วยการเพิ่มเติม ฉะนันประเด็ ้ น


การไม่ถูกเพิ่มเติมในอัลกุรอานจึงเป็ นประเด็นที่เห็น พ้ องต้ องกันทังหมด ้ ประการที่สอง จากโองการท้ าพิสจู น์ที่มีปรากฏ ในอัลกุรอาน ท�ำให้ เข้ าใจเป็ นอย่างดีว่า อัลกุรอานที่ เรามีอยู่ในปั จจุบนั นี ้ คืออัลกุรอานที่ถกู ประทานลงมา จากอัลลอฮ์ (ซบ.) เพราะเป็ นคัมภีร์ที่ไม่อาจน�ำมาให้ เหมือนกับมันได้ อีก ถึงแม้ วา่ จะไม่สามารถน�ำโองการ ท้ าพิสจู น์มายืนยันถึงความไม่บกพร่ องของอัลกุรอาน ได้ ก็ตาม แต่ก็สามารถน�ำมายืนยันได้ วา่ ไม่มีสงิ่ ใดเพิ่ม เติมเข้ ามาในอัลกุรอาน ฉะนันสองโองการที ้ ่ยกมาข้ าง ต้ นก็หลุดพ้ นจากข้ อสงสัยว่าถูกดัดแปลง และเมื่อสอง โองการนี ้ถูกพิสจู น์แล้ ว การไม่ขาดตกบกพร่องในอัลกุ รอานก็ถกู พิสจู น์ไปด้ วยเช่นกัน 2. เหตุผลจากรายงาน (ริ วายัต) ก. ฮะดีษมุตะวาติร ษะเกาะลัยน์ที่รายงานกันทัง้ ฝ่ ายพี่น้องซุนนีและชีอะฮ์ ฮะดีษนี ม้ ีความแตกต่างเล็กน้ อยในการใช้ ค�ำ ต่างๆ ซึง่ ได้ อธิบายถึงสามประเด็นไว้ อย่างชัดเจนดังนี ้ ประเด็ น แรก ท่า นศาสดา (ศ็ อ ลฯ) ด� ำ รั ส ว่า “แท้ จริ งฉันได้ ทิ ้งสิ่งหนักสองสิ่งไว้ ในหมู่พวกท่าน คือ คัมภีร์ของอัลลอฮ์และลูกหลานของฉัน” ประเด็นที่สอง “หากพวกท่านยึดมัน่ สองสิ่งนี ้ไว้ พวกท่านจะไม่มีวนั หลงทาง” ประเด็นที่สาม “ และแท้ จริ งทังสองจะไม่ ้ มีวนั แยกออกจากกัน จนกระทัง่ จะได้ พบกับฉัน ณ บ่อน� ้ำนัน” ้ ฮะดีษนี ้ เป็ นหลักฐานพิสจู น์การไม่ถกู ดัดแปลง ของอัลกุรอานที่สมบูรณ์และหนักแน่น ซึง่ ได้ ประกาศ อย่างชัดเจนว่าอัลกุรอานถูกพิทกั ษ์ ปกป้องตลาดกาล ตราบจนวันกิยามัต เพราะถ้ าหากอัลกุรอานถูกดัดแปลง ก็ไม่อาจที่จะยึดมัน่ ไว้ ได้ และผลของการไม่ยึดมัน่ อัล กุรอานไม่อาจเป็ นอื่นไปได้ นอกจากการหลงผิด การ ประกาศอย่างชัดเจนถึงการไม่แยกออกจากกันระหว่า งอัลกุรอานกับลูกหลานจนกระทัง่ ถึงวันกิยามัต เป็ นการ รับรองทีด่ ที สี่ ดุ ถึงความบริสทุ ธิ์ของอัลกุรอานทีไ่ ด้ รับมา

จากท่านศาสดา (ศ็อลฯ) ข. มีรายงานมากมายจากบรรดาอิมาม (อ.) ทีม่ า ถึงยังพวกเราว่าให้ เราย้ อนกลับไปหาอัลกุรอานเมื่อเกิด ปั ญหาและความขัดแย้ งขึ ้น พวกท่านได้ แนะน�ำอัลกุ รอานในฐานะเป็ นแหล่งพักพิงที่นา่ เชื่อถือที่สดุ และถ้ า หากอัลกุรอานยังไม่อาจที่จะปลอดภัยจากปั ญหาและ ความขัดแย้ งเสียเอง แล้ วจะท�ำให้ ผ้ ูอื่นหลุดพ้ นจาก ปั ญหาต่าง ๆ ได้ อย่างไรกัน ? ค. อีกเหตุผลหนึง่ ที่พิสจู น์ถงึ การไม่ถกู ดัดแปลง ของอัลกุรอาน คือ รายงานทีใ่ ห้ เราน�ำสิง่ ทีไ่ ด้ รับมาเทียบ วัดกับอัลกุรอาน ดังรายงานจากบรรดาอิมาม (อ.) ที่วา่ “สิง่ ที่ได้ รับมาจากเรา ก็จงน�ำมาเทียบวัดกับอัลกุรอาน หากสอดคล้ องกับอัลกุรอานก็จงยึดเอาไว้ แต่หากไม่ สอดคล้ องกับคัมภีร์ของอัลลอฮ์ก็จงทิ ้งมันไป” และกล่าวไว้ อีกเช่นกันว่า “ ทุก ๆ ค�ำพูดและฮะดีษที่ไม่สอดคล้ องกับคัมภีร์ ของอัลลอฮ์ (ซบ.) ถือเป็ นโมฆะ” และยัง มี ร ายงานที่ ใ ช้ ค� ำ และรู ป ประโยคใน ท� ำ นองนี อ้ ี ก มากซึ่ง โดยรวมแล้ ว เป็ นฮะดี ษ ที่ มี ก าร รายงานกันมาก อีกตัวอย่างหนึง่ ของรายงานในลักษณะ นี ้มีวา่ “ท่านศาสนทูต (ศ็อลฯ) ด�ำรัสว่า แท้ จริ งในทุก ๆ สัจธรรมย่อมมีความจริง และในทุก ๆ ความถูกต้ องย่อม มีรัศมี ดังนันจงยึ ้ ดสิง่ ที่สอดคล้ องกับคัมภีร์ของอัลลอฮ์ และจงทิ ้งสิง่ ที่ขดั แย้ งกับคัมภีร์ของอัลลอฮ์” ตามรายงานข้ างต้ นนี ้ท่านศาสดา (ศ็อลฯ) ด�ำรัส ว่า ความจริ งของทุก ๆ สัจธรรมและรั ศมีของทุก ๆ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 53


ความถูกต้ องนันคื ้ อ อัลกุรอาน ดังนันจงยึ ้ ดมัน่ ในสิง่ ที่ สอดคล้ องกับคัมภีรของอัลลอฮ์ และจงทิ ้งสิ่งที่ขดั แย้ ง กับคัมภีร์ของพระองค์ จากฮะดี ษ ทัง้ หมดนี ท้ � ำ ให้ เข้ าใจได้ ว่า อัลกุ รอานคื อ สัจ ธรรมที่ ไ ม่ มี ใ ครสามารถน� ำ มาให้ เ หมื อ นกับอัลกุรอานได้ ในขณะที่สามารถน�ำค�ำพูดที่เหมือน กับบรรดามะอ์ซูม (อ.) ได้ ด้ วยเหตุนี ้บรรทัดฐานของ การวัดสัจธรรมกับความเท็จ คือ อัลกุรอาน ฉะนันฮะ ้ ดีษต่าง ๆที่พดู ถึงเรื่ องของการดัดแปลงอัลกุรอาน หาก ไม่สามารถทีจ่ ะตีความหรือชี ้แจงได้ ถือว่าการอ้ างอิงฮะ ดีษกลุม่ นี ้เป็ นโมฆะไม่มคี ณ ุ ค่าและความน่าเชือ่ ถือใด ๆ 3. เหตุผลทางปั ญญา อัล กุร อาน คื อ คัม ภี ร์ ที่ ถูก ประทานลงมาเพื่ อ ชี ้น�ำทางแก่มนุษยชาติ และโองการก็กล่าวไว้ อย่างชัด เจนว่าอัลลอฮ์ (ซบ.) บัญชาให้ มนุษย์ย้อนกลับหาอัล กุรอาน และตามหลักเหตุผลทางปั ญญาแล้ ว วิชาการ ศาสนาและรัฐธรรมนูญของอิสลาม ต้ องถูกเรี ยบเรี ยง ไว้ เป็ นหนังสือ ที่ถูกมอบให้ ไว้ ส�ำหรับมนุษย์ได้ ใช้ ทุก เวลา เหมือนดัง่ ที่เคยมีในศาสนาก่อนหน้ า ดังนันจึ ้ งไม่ กินกับสติปัญญาเลยที่อลั ลอฮ์ (ซบ.) ได้ ประทานคัมภีร์ ให้ กบั มนุษย์ แล้ วปล่อยปละละเลยให้ ใครก็ได้ มาเพิ่ม เติมหรื อตัดต่อได้ ตามใจชอบ กล่าวอีกอย่างได้ ว่า ท�ำ สิ่งที่ค้านกับเป้าหมายของพระผู้เป็ นเจ้ า เพราะหาก เกิดการดัดแปลงขึ ้นกับคัมภีร์ที่ “ชี ้น�ำมวลมนุษยชาติ” “เป็ นข้ อตักเตือนส�ำหรับสากลโลก” และถูกประทาน

54 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

ลงมาส�ำหรับทุกยุคทุกสมัยแล้ วก็เท่ากับว่ายังไปไม่ถึง ยังเป้าหมายของการประทานลงมา และความน่าเชื่อ ถือก็หมดไป 4.เหตุผลทางประวัตศิ าสตร์ อี ก เหตุผ ลหนึ่ง ที่ ยื น ยัน ถึง การไม่ถูก ดัด แปลง ของอัล กุร อาน คื อ การวิ เ คราะห์ ป ระวัติศ าสตร์ จ าก สถานภาพของอัลกุรอานในหมู่มสุ ลิม จากการยืนยัน ทางประวัติศาสตร์ การท่องจ�ำและการอ่านอัลกุรอาน ยัง คงมี ค วามโดดเด่ น อยู่ใ นหมู่มุส ลิ ม นับ ตัง้ แต่ ช่ ว ง แรกจนถึงยุคปั จจุบนั ในลักษณะที่ว่าเพียงช่วงเวลา น้ อยนิดหลังจากการประทานโองการอัลกุรอานซึง่ ถูก ประทานลงมาหลายวาระอย่างต่อเนื่อง มวลมุสลิมช่วง ต้ นอิสลามก็เริ่ มให้ ความส�ำคัญกับการท่องจ�ำ และการ เรี ยนการสอนอัลกุรอานกันนับตังแต่ ้ นนเป็ ั ้ นต้ นมาด้ วย ความรักความผูกพัน เริ่ มมีนกั บันทึกอัลกุรอาน นักอ่า นอัลกุรอานที่มีชื่อเสียงในสังคม หลังจากที่อิสลามได้ แผ่ขยายไปสูใ่ จกลางยุโรปในยุคของคอลีฟะฮ์ทา่ นแรก และคอลีฟะฮ์ทา่ นที่สอง ท�ำให้ ผ้ คู นจากเชื ้อชาติตา่ ง ๆ หันเข้ ารับอิสลามและมีความผูกพันกับอัลกุรอาน อีก ด้ านหนึง่ อิสลามก็ได้ แผ่ขยายเข้ าสูช่ มพูทวีป ปั จจุบนั มวลมุสลิมต่างก็อา่ นอัลกุรอานกันทุกเมือง ทุกครัวเรือน แล้ วจะเป็ นไปได้ อย่างนันหรื ้ อ ส�ำหรับคัมภีร์ ที่อยู่ในความจ�ำของผู้คน และถูกคัดลอกออกมาเป็ น หลายฉบับอย่างนับไม่ถ้วน ต้ องตกอยูใ่ นห้ วงอันตราย ของการเพิ่มเติมและตัดต่อ โดยผู้คนยืนดูการทรยศนี ้ เหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ ้น ? และหากสมมุติว่าไม่อาจ คาดหวังอะไรได้ จากผู้คนทัว่ ไป แล้ วมันถูกต้ องหรื อที่ ส�ำนักคอลีฟะฮ์ของอิสลาม โดยเฉพาะอย่างยิ่งยุคการ ปกครองของท่านอะลี บิน อะบีฏอลิบ จะยืนดูการดัดแป ลงอัลกุรอานโดยไม่ลกุ ขึ ้นท�ำอะไรเลย ? ทัง้ ๆ ที่แม้ แต่ เรื่ องหลักปฏิบตั ิศาสนกิจท่านก็ไม่มองข้ าม เช่น เรื่ อง เกี่ยวกับเงินกองคลัง (บัยตุลมาล) ของมุสลิม ซึง่ ท่าน ได้ กล่าวไว้ วา่ : ขอสาบานต่อ อัล ลอฮ์ (ซบ.) ว่ า หากฉัน พบ


ทรัพย์สิน (ที่ท่านอุษมาน)ได้ ใช้ ไปในการแต่งงานกับ สตรี ทัง้ หลาย หรื อที่ใช้ ไปในการซือ้ ถ่ายตัวทาส ฉัน จะคืนทรั พย์ สินเหล่านัน้ ทัง้ หมดให้ กับผู้เป็ นเจ้ าของ เพราะแท้ จริ งความยุติธรรมเป็ นสิ่งกว้ างขวางส�ำหรับ ประชาชน และผู้ใดที่มีความคับแคบในความยุติธรรม ความกดขี่และความอธรรมก็จะท�ำให้ เขายิ่งคับแคบ นี่ คื อ การเผชิ ญ หน้ าของท่ า นอะลี กั บ เรื่ อง ทรัพย์สนิ ของมุสลิม แล้ วท่านจะละเลยเรื่ องอัลกุรอาน และการจาบจ้ วงอัลกุรอานอย่างนันหรื ้ อ ? อิมามถือว่า ท่านคือผู้ดแู ลอัลกุรอาน ซึง่ ท่านเองก็ได้ กล่าวถึงคุณค่า ของอัลกุรอานไว้ อย่างมากมาย บรรดาอิมามท่านอื่นก็ มีแนวทางในการดูแลอัลกุรอานไว้ เช่นนี ้เหมือนกัน ท่าน ได้ พิสจู น์ด้วยการกระท�ำของท่านว่าไม่มีการดัดแปลง ใด ๆ ในอัลกุรอาน 5. อัลกุรอานมีอตั ลักษณ์เฉพาะ อัลกุรอานมีโครงสร้ างที่เป็ นอัตลักษ์ เฉพาะ ทัง้ ในด้ านความแตกต่างระหว่างซูเราะฮ์มกั กียะฮ์และซู เราะฮ์มะดะนียะฮ์ ด้ านการประทานโองการตามวาระ ด้ านเนื ้อหาการเชิญชวน สารและค�ำบัญชาต่าง ๆ การพินิจในโครงสร้ างที่เป็ นอัตลักษ์ เฉพาะนี ้ ด้ านหนึ่งก็จะเห็นความมีศิลป์และปาฏิหาริ ย์ของอัล กุรอานในด้ านอื่น ๆ อีกด้ านหนึ่งก็จะยิ่งท�ำให้ เชื่อว่า คัมภีร์เล่มนี ้ไม่มีการดัดแปลงใด ๆ เกิดขึ ้น และต่อไปนี ้

เราจะขอกล่าวถึงกรณีตา่ ง ๆ ทีก่ ล่าวไปข้ างต้ นอย่างพอ สังเขป ก. ซูเราะฮ์มกั กียะฮ์ ซึง่ ตามล�ำดับการประทาน แล้ ว เป็ นซูเราะฮ์ที่ถกู ประทานลงมาก่อนซูเราะฮ์มะดะ นียะฮ์ ซูเราะฮ์เหล่านี ้จะเป็ นซูเราะฮ์เล็ก ๆ และมีโองการ สัน้ ๆ ลักษณะเช่นนี ้ง่ายต่อท่องจ�ำเป็ นอย่างมาก โดย เฉพาะช่วงแรกมุสลิมในนครมักกะฮ์ยงั มีจ�ำนวนน้ อย และมีผ้ ทู รี่ ้ ูหนังสือเพียงไม่กี่คน การประทานซูเราะฮ์ตา่ ง ๆที่มีคณ ุ ลักษณะเช่นนี ้ เท่ากับเป็ นการทดแทนความ ด้ อยและช่องว่างของสังคม จึงท�ำให้ ซเู ราะฮ์ตา่ ง ๆ นี ้ไม่ ถูกลบออกไปจากความทรงจ�ำของมวลมุสลิม ข. การประทานอัลกุรอานตามวาวะต่างๆ เท่ากับ เป็ นการเปิ ดโอกาสให้ มสุ ลิมท่องจ�ำ และอ่านอัลกุรอาน ได้ ง่ายยิ่งขึ ้น ไม่ต้องสงสัยเลยว่า หากโองการต่าง ๆ ของอัลกุรอานถูกประทานลงมาครัง้ เดียวทังหมด ้ มัน เป็ นการยากหรื อ เป็ นไปไม่ ไ ด้ เ ลยส� ำ หรั บ มุส ลิ ม ใน สภาวะการณ์ เช่นนัน้ จะรั บ จะท� ำความเข้ าใจและ ท่องจ�ำโองการต่างๆ นันได้ ้ ค. เนื ้อหาของสารต่าง ๆ , ค�ำบัญชาและการ เชิญชวนต่าง ๆ ของคัมภีร์แห่งฟากฟ้า จะขัดแย้ งกับ ผลประโยชน์ของพวกอธรรมและพวกบ้ าอ�ำนาจเสมอ ด้ วยเหตุนี ้พวกเขาจึงท�ำการปกปิ ดความจริ งของคัมภีร์ แห่งฟากฟ้าและท�ำการดัดแปลง อัลกุรอานคือลูกโซ่

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 55


ห่วงสุดท้ ายของคัมภีร์แห่งฟากฟ้า ได้ เลือกแนวทาง การน�ำเสนอสารและค�ำบัญชาต่าง ๆ ที่ได้ ปิดหนทาง การปิ ดบังและการบิดเบือนทุกรูปแบบ และเป็ นคัมภีร์ อันอัมตะนิรันกาลทีถ่ กู พิทกั ษ์ จากการจาบจ้ วงของพวก ศัตรูและพวกหน้ ากลับกลอก อัลกุรอานได้ อธิบายเรื่ อง ต่าง ๆ ไว้ อย่างกว้ าง ๆ โดยปล่อยให้ การอธิบายและ การอรรถาธิบาย (ตัฟซีร) เป็ นหน้ าที่ของซุนนะฮ์ เช่น ทุกโองการที่พระองค์ทรงตรัสชมเชยหรื อยกย่องมนุษย์ ผู้ประเสริ ฐ พระองค์จะไม่ทรงเอ่ยชื่อของเขาไว้ อย่าง ชัดเจน หรื อในทางกลับกันทุกโองการที่พระองค์ทรง ต�ำหนิหรื อสาปแช่งคนใดคนหนึง่ ไว้ พระองค์จะไม่ทรง เอ่ยชื่อของเขาไว้ เช่นกัน นี่เป็ นแนวทางการน�ำเสนอขอ งอัลกุรอาน ยกเว้ นกรณีการต�ำหนิอะบูละฮับและภรรยา ของเขา ซึง่ แน่นอนย่อมมีปรัชญาอะไรบางอย่างแฝงอยู่ ในนัน้ เพราะความเป็ นศัตรู ต่ออิสลามของอะบูละฮับ และภรรยาของเขาเป็ นทีช่ ดั เจนส�ำหรับผู้คนทังหมด ้ เขา จะได้ ไม่ใช้ ความเป็ นกุเรชและเครือญาติกบั ท่านศาสดา (ศ็อลฯ) มาท�ำอันตรายอัลกุรอาน อีกกรณีหนึง่ ที่อลั กุรอานได้ เอ่ยชื่อไว้ คือ ชื่อ ของ

56 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

เซด ( เซด บิน ฮาริ ษะฮ์) ซึง่ เป็ นบุตรบุญธรรมของท่าน ศาสดา (ศ็อลฯ) ซึง่ เป็ นกรณีที่ไม่เกี่ยวกับการยกย่อง หรื อต�ำหนิผ้ ใู ด ต่อไปนีเ้ ราจะขอกล่าวถึงตัวอย่างต่าง ๆ จาก โองการอัลกุร อานที่ ก ล่า วถึง การยกย่อ งชมเชยหรื อ ต�ำหนิบคุ คลต่าง ๆ ไว้ แต่ไม่กล่าวชื่อพวกเขาไว้ 1. โองการตัฏฮีร ซึง่ ตัวบุคคลระบุไว้ อย่างชัดเจน ในซุนนะฮ์ 2.โองการมุบาฮะละฮ์ ซึ่งไม่ได้ กล่าวชื่อของอิ มามฮะซัน (อ.) อิมามฮุเซน (อ.) อิมามอะลี (อ.) และ ท่านหญิงฟาติมะฮ์ (อ.) ไว้ ในโองการนี ้ 3. โองการลัยละตุลมะบีต ซึง่ ตามการรายงาน มากมายทัง้ สายพี่ น้ อ งซุน นี แ ละชี อ ะฮ์ ระบุไ ว้ อ ย่า ง ชัดเจนว่าเป็ นโองการทีถ่ กู ประทานลงมาเกี่ยวกับท่านอิ มามอะลี บิน อะบีฏอลิบ (อ.) ในช่วงพลบค�่ำของการ อพยพของท่านศาสดา (ศ็อลฯ) 4.ซูเราะฮ์เกาซัร ซึง่ บางรายงานได้ กล่าวถึงเป้า หมายของซูเราะฮ์นี ้ หมายถึงท่านหญิงฟาติมะฮ์ (อ.) และเช่นกันในซูเราะฮ์นี ้ก็ไม่ได้ กล่าวชื่อของผู้ที่ลบหลู่ ท่านศาสดา (ศ็อลฯ) ไว้ นัน่ ก็คือ อาศ บิน บินวาอิล และ ท่านอะมัยยะฮ์ บิน คอลัฟ 5. โองการนะบะอ์ ซึง่ ถูกประทานลงมาเกี่ยวกับ วะลีด พี่น้องทางน� ้ำนมของท่านอุษมาน สิ่งที่กล่าวมาทังหมดนี ้ ้ เป็ นเพียงตัวอย่างบาง ส่วนจากอัลกุรอานเท่านัน้ ความเป็ นจริ งแล้ วหากอัลกุ รอานกล่าวชือ่ ของผู้ทพี่ ระองค์ทรงยกย่องและทรงต�ำหนิ ไว้ อย่างเปิ ดเผย ทังบุ ้ คคลกลุม่ แรกและบุคคลกลุม่ ทีส่ อง จะน�ำภัยพิบตั อิ ะไรมาสูอ่ ลั กุรอาน ? โดยเฉพาะความ เป็ นศัตรู ของตระกูลอุมยั ยะฮ์ที่อลั กุรอานกล่าวถึงพวก เขาไว้ ในฐานะ “ต้ นไม้ แห่งการสาปแช่ง” แต่ตอ่ มาพวก เขาได้ ขึ ้นสูอ่ �ำนาจการปกครอง สิ่งที่น่าทึ่งยิ่งนักในความละเอียดอ่อน ความ ระมัดระวังในการอธิบายสารต่าง ๆ แห่งพระผู้เป็ นเจ้ า การค�ำนึงถึงจิตวิทยาในช่วงเวลาการประทานคัมภีร์


เล่มนี ้ เป็ นการถอนรากถอนโคนทุกการจาบจ้ วงและ การดัดแปลงออกจากอัลกุรอานอันจ�ำเริ ญเล่มนี ้ และ เป็ นคัมภีร์อนั อัมตะนิรันกาลแห่งประวัติศาสตร์ อีกทัง้ เป็ นคัมภีร์แห่งการแจ้ งข่าวอันประเสริ ฐจากพระผู้เป็ น เจ้ า “แท้ จริ งเราได้ ประทานข้ อตักเตือน(อัลกุรอาน)ลง มา และแท้ จริ งเราคือผู้ที่พิทกั ษ์ รักษามันเอาไว้ ” อีกด้ านหนึ่ง พระองค์ ทรงแนะน�ำท่านศาสดา (ศ็อลฯ) ว่าเป็ นผู้สอนคัมภีร์ของพระผู้เป็ นเจ้ า “พระองค์ คือ ผู้ทรงแต่งตังศาสนทู ้ ตผู้หนึง่ ในหมูผ่ ้ ไู ม่ร้ ูหนังสือ เพื่อ จะได้ อ่านโองการต่าง ๆ ของพระองค์แก่พวกเขา จะ ได้ ขดั เกลาและสอนคัมภีร์ อีกทังวิ ้ ทยปั ญญาแก่พวก เขา.......” อี ก ที่ ห นึ่ ง พระองค์ ท รงแนะน� ำ ท่ า นศาสดา (ศ็อลฯ) ว่าเป็ นผู้อธิบายและอรรถาธิบายอัลกุรอาน “ และเราได้ ประทานข้ อตักเตือน(อัลกุรอาน) แก่เจ้ า เพื่อ เจ้ าจะได้ อธิบายแก่มนุษย์ในสิง่ ทีไ่ ด้ ถกู ประทานแก่พวก เขา” อี ก โองการหนึ่ ง ทรงบัญ ชาอย่ า งกว้ า ง ๆ ให้ ทังหมดปฏิ ้ บตั ติ ามค�ำสัง่ ใช้ และค�ำสัง่ ห้ ามของศาสนทูต ของพระองค์ “และจงยึดมัน่ ในสิง่ ทีศ่ าสนทูตได้ น�ำมาให้ แก่พวกเจ้ า และจงออกห่างจากสิง่ ทีเ่ ขาได้ ห้ามพวกเจ้ า” ด้ วยเหตุนี ้จึงไม่มีความกังวลใดคงหลงเหลืออยู่

อีก เกี่ยวกับเรื่ องการไม่กล่าวถึงสาเหตุการประทาน โองการต่าง ๆ ไว้ อย่างชัดเจน เพราะมีเหตุผลอันเหมาะ สมที่ท�ำให้ อลั กุรอานไม่กล่าวนามของบรรดาลูกหลาน ท่านศาสดา (ศ็อลฯ) ไว้ อย่างชัดเจน แต่ในขณะเดียวกัน พระองค์ก็ทรงแนะน�ำท่านศาสดา (ศ็อลฯ) ไว้ ในฐานะ ผู้ สอน ผู้อธิบาย และผู้อรรถาธิบายคัมภีร์ไว้ เพื่อเป็ นการ เปิ ดทางให้ มนุษย์ทกุ คนได้ เข้ าถึงแก่นแท้ แห่งคัมภีร์ ใน ขณะที่อลั กุรอานรอดพ้ นจากอันตรายการจาบจ้ วงและ การดัดแปลงก็ไม่ได้ ปกปิ ดแก่นแท้ ของมันไว้ ด้วยเช่นกัน ข้ อสงสัยของผู้ทเี่ ชื่อว่ า อัลกุรอานถูกดัดแปลง ในช่วงต้ นของส่วนนี ้เราได้ กล่าวไปแล้ วว่านัก วิชาการอิสลาม –ทังฝ่้ ายชีอะฮ์และพี่น้องซุนนี- ต่างย� ้ำ ถึงความบริ สทุ ธิ์ของอัลกุรอานจากการถูกดัดแปลง แต่ อย่างไรก็ตามเป็ นที่น่าเสียใจที่มีนกั รายงานฮะดีษบาง ท่านของฝ่ ายชีอะฮ์และฝ่ ายพี่น้องซุนนีอีกจ�ำนวนหนึ่ง รี บด่วนตัดสินเมื่อเจอฮะดีษบางกลุ่มเกี่ยวกับประเด็น นี ้ ก่อนท�ำการวิเคราะห์และพิจารณาทังสายรายงาน ้ และตัวบท มัรฮูม มีรซอ นูรี แม้ วา่ ท่านจะแสดงความ เสียใจต่อผลที่ตามมาหลังจากที่ได้ เขียนหนังสือ ฟั ศ ลุลคิตอบ ก็ตาม แต่หลังจากทีไ่ ด้ เขียนหนังสือเล่มนี ้ออก ไปกว่าหนึง่ ศตวรรษ ถึงตอนนี ้ก็ยงั มีกลุม่ ผู้ไม่หวังดีและ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 57


ต้ องการสร้ างความแตกแยกให้ เกิดขึ ้นในหมูม่ สุ ลิม ได้ เริ่ มแผนการใส่ร้ายชีอะฮ์บนพื ้นฐานของหนังสือเล่มนี ้ สิ่งที่น่าสนใจก็คือเหตุผลทัง้ 12 ข้ อที่มฮุ ดั ดิษนูรีได้ ยก มาอ้ างในหนังสือ ฟั ศลุลคิตอบ มีเพียง 2 ฮะดีษเท่านัน้ ที่มาจากแหล่งอ้ างอิงของชีอะฮ ส่วนเหตุผลอืน่ ๆ ได้ รับ มาจากแหล่งอ้ างอิงของพีน่ ้ องซุนนีทงสิ ั ้ ้น และทีน่ า่ สนใจ ไปกว่านัน้ ทัศนะเกี่ยวกับการยกเลิกการอ่าน (นัสคุตติ ลาวัต)ที่สว่ นมากแล้ วเป็ นทัศนะของพี่น้องซุนนี และ ดูเหมือนว่าผู้ที่แอบอ้ างว่าชีอะฮ์ดดั แปลงอัลกุรอานลืม ไปว่าการเชื่อถือในรายงานเกี่ยวกับการยกเลิกการอ่าน (นัสคุตติลาวัต)ที่ถกู รายงานไว้ จากสายรายงานของพี่ น้ องซุนนี นันน� ้ ำไปสูก่ ารดัดแปลงอัลกุรอาน อีกมุมหนึง่ รายงานต่าง ๆ เกี่ยวกับการดัดแป ลงอัลกุรอานก็มีปรากฏอยูใ่ นต�ำราต่าง ๆ ของพี่น้องซุน นีเอง เช่น ศอฮาฮุซซิตตะฮ์ และเมื่อเทียบกับรายงานที่ มีอยูใ่ นต�ำราของชีอะฮ์ ซึง่ กล่าวไว้ อย่างไม่ชดั เจน สาย รายงานอ่อน แล้ วมีจ�ำนวนน้ อยมาก ข้ อสงสัยทัง้ 12 หัวข้ อ มีรซอ นูรี ได้ กล่าวถึงกรณีตา่ ง ๆ ที่ยืนยันถึงการ ดัดแปลงอัลกุรอานไว้ บทที่หนึง่ ของหนังสือของท่าน ซึง่ พอจะสรุปได้ ดงั นี ้ : 1. มีรายงานว่า สิ่งที่เกิดขึ ้นกับประชาชาติยุค ก่อน ก็จะเกิดขึ ้นกับประชาชาติอสิ ลามเช่นกัน ซึง่ หมาย รวมถึงการดัดแปลงคัมภีร์ด้วย 2.วิธีการรวบรวมอัลกุรอานในช่วงต้ นของอิสลาม โดยปกติแล้ วเป็ นเหตุให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงและการ ดัดแปลงได้ 3. สิ่งที่พี่น้องซุนนีกล่าวถึงการยกเลิกการอ่าน (นัสคุตติลาวัต) เป็ นเหตุให้ เกิดความบกพร่ องในอัลกุ รอานและเกิดการดัดแปลงได้ 4. ท่านอาลี บิน อะบีฏอลิบ มีมศุ ฮัฟฉบับหนึง่ ที่ แตกต่างไปจากมุศฮัฟปั จจุบนั ทังในด้ ้ านการเรี ยบเรี ยง และมีมากกว่าอัลกุรอานปั จจุบนั 5. อับดุลลอฮ์ บิน มัสอูด มีมศุ ฮัฟที่น่าเชื่อถือ

58 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

ฉบับหนึง่ ซึง่ มีสงิ่ อื่นที่นอกเหนือไปจากมุศฮัฟปั จจุบนั 6. มุศฮัฟปั จจุบนั มีไม่ครบตามที่มีอยูใ่ นมุศฮัฟ ของอุบยั บิน กะอบ์ 7. ท่านอุษมานไม่เห็นความส�ำคัญของค�ำบาง ค�ำและบางโองการในขณะที่ท�ำการรวบรวมอัลกุรอาน 8. มีรายงานมากมายและชัดเจนที่บง่ ชี ้ถึงความ บกพร่ องของอัลกุรอาน ซึง่ พี่น้องซุนนีได้ รายงานเกี่ยว กับเรื่ องนี ้ไว้ 9. อัลลอฮ์ (ซบ.) ได้ กล่าวชื่อของบรรดาตัวแทน ของพระองค์ไว้ ในคัมภีร์ก่อนหน้ านี ้ ดังนันคั ้ มภีร์เล่มนี ้ ที่โดดเด่นเหนือกว่าคัมภีร์ทัง้ หมดก็ต้องกล่าวไว้ ด้วย เช่นกัน 10. ทัง้ ๆ ที่อลั กุรอานถูกประทานลงมาเพียงการ อ่านเดียว แต่กลับมีความแตกต่างกันในการอ่านต่าง ๆ ทังในตั ้ วพยัญชนะและค�ำต่าง ๆ 11. มีรายงานมากมายจากทัง้ สองฝ่ ายที่บ่งชี ้ ว่าถึงการดัดแปลงและความบกพร่องของอัลกุรอานไว้ อย่างชัดเจน 12. มีรายงานเฉพาะเกี่ยวกับการถูกดัดแปลง ของบางโองการ ต่อไปนี ้เราจะขอตอบข้ อสงสัยบางประเด็นอย่าง พอสังเขป ดังนี ้ : ตอบข้ อสงสัยที่ 1 เขากล่าวว่ามีรายงานมากมายจนถึงขัน้ ตะวา ตุร(มี สายรายงานหลายสายจนเป็ นที่ น่ าเชื่ อถื อ)ทัง้ ฝ่ ายชีอะฮ์และซุนนีที่บ่งชี ้ถึงความเหมือนกันระหว่าง


ประชาชาติอิสลามกับยะฮูดีและคริ สต์ ซึง่ มีใจความว่า ท่านศาสดา (ศ็อลฯ) ด�ำรัสว่า : ทุกสิ่งที่เคยเกิดขึ ้นใน ประชาชาติยคุ ก่อน ก็จะเกิดขึ ้นในประชาชาตินี ้เช่นกัน และเนื่องจากว่าการดัดแปลงคัมภีร์เคยเกิดขึ ้นมาแล้ ว ในประชาชาติยคุ ก่อน ดังนันอั ้ ลกุรอานก็ถกู ดัดแปลง เช่นกัน ไม่เช่นนันความหมายของฮะดี ้ ษบทนี ้ก็ไม่ถกู ต้ อง “ทุกสิ่งที่เคยเกิดขึ ้นในประชาชาติยคุ ก่อน ก็จะ เกิดขึ ้นในประชาชาตินี ้เหมือนกันทุกอย่างเช่นกัน” ถึ ง แม้ ว่ า โดยผิ ว เผิ น แล้ วฮะดี ษ กลุ่ ม นี จ้ ะมี ใจความกว้ าง ๆ ก็ตาม แต่ก็ไม่ได้ หมายความว่าจะ หมายรวมถึงรายละเอียดทุกเรื่ อง เพราะมีเรื่ องอื่น ๆ อีก มากมาย เช่น เรื่ องตัษลีษ (พระบิดา พระบุตร พระจิต) เรื่ องการบูชาวัว เรื่ องการจมน� ้ำของฟิ รอูน เรื่ องการขึ ้น สูช่ นฟ ั ้ ้ าของนบีอีซา (อ.) และเรื่ องอื่น ๆ อีกมากมายที่ มีการบิดเบือนและดัดแปลง แต่ในทางกลับประชาชาติ อิสลามไม่มีสว่ นร่วมและเหมือนกับพวกเขาแต่ประการ ใด ดังนันเป ้ ้ าหมายของฮะดีษบทนี ้คือการเหมือนกันใน บางกรณีเท่านันไม่ ้ ใช่เหมือนกันทุกเรื่ อง ค�ำด�ำรั สของท่านศาสดา (ศ็อลฯ) จัดอยู่ใน ประเภทให้ ความหมายกว้ าง (อาม) ที่สามารถจ�ำกัด ความ(ตัคศีศ)ได้ และสามารถน�ำประเด็นการดัดแปลง อัลกุรอานเป็ นกรณียกเว้ น ด้ วยการอ้ างอิงจากโองกา รอัลกุรอานที่วา่ “แท้ จริ งเราได้ ประทานข้ อตักเตือน (อัล กุรอาน) ลงมา และแท้ จริ งเราต้ องเป็ นผู้ที่พิทกั ษ์ มนั ไว้ อย่างแน่นอน” ตอบข้ อสงสัยอื่น ๆ กล่าวกันว่ามีรายงานบ่งบอกอย่างชัดเจนว่าท่า นอะลี บิน อะบีฏอลิบ มีมศุ ฮัฟอืน่ ทีน่ อกเหนือจากมุศฮัฟ ปั จจุบนั และท่านเป็ นผู้เรี ยบเรี ยงขึ ้นเองภายหลังจาก การเสียชีวติ ของท่านศาสดา (ศ็อลฯ) เมื่อท่านได้ น�ำอัล กุรอานที่ทา่ นได้ รวบรวมมาเสนอต่อฝูงชน พวกเขาก็ไม่ ยอมรับ บางรายงานบันทึกไว้ วา่ อัลกุรอานของท่านอะ ลี (อ.) มีเรื่ องต่าง ๆ ที่ไม่มีปรากฏในอัลกุรอานปั จจุบนั

และสิง่ นี ้ไม่ใช่อนื่ ใดเลยนอกจากบ่งชี ้ถึงการถูกดัดแปลง ของอัลกุรอาน ค�ำตอบส�ำหรับข้ อสงสัยนี ้ คือ เป็ นที่ชดั เจนแล้ ว จากประวัติของอัลกุรอานและจากการวิเคราะห์มศุ ฮัฟ ของท่านอะลี บิน อะบีฏอลิบ (อ.) ที่ได้ กล่าวผ่านมา เพราะว่ามุศฮัฟฉบับนี ้มีความโดดเด่นและคุณสมบัติ พิเศษเฉพาะมากมาย เช่น ได้ บนั ทึกสาเหตุการประทาน ของโองการต่าง ๆไว้ มีการอรรถาธิ บายโองการต่าง ๆ อธิบายถึงโองการนาสิคและโองการมันสูค เรี ยง ล�ำดับโองการตามล�ำดับการประทานโองการและซูเราะ ฮ์ เป็ นต้ น แต่การที่อลั กุรอานปั จจุบนั ไม่มีคณ ุ สมบัติ พิเศษดังกล่าวก็ไม่ได้ หมายความว่ามีข้อบกพร่ องหรื อ ถูกดัดแปลง เนื่องจากว่าท่านอะลี บินอะบีฏอลิบ (อ.) ไม่เคยพูดถึงเรื่ องการดัดแปลงอัลกุรอานเลยในช่วงการ ปกครองของท่าน อายาตุลลฮ์ คูอีย์ ให้ ค�ำตอบเกี่ ยวกับรายงาน ต่างๆ ที่อ้างถึงการดัดแปลงอัลกุรอานว่า รายงานเช่นนี ้ ไม่ได้ บง่ บอกถึงการดัดแปลงอัลกุ รอาน ส่วนมากแล้ วเป็ นสายรายงานที่ออ่ น เพราะส่วน หนึง่ ได้ รายงานมาจากหนังสือของอะห์หมัด บิน มุฮมั มัด ซัยยารี ซึง่ นักตรวจสอบสายรายงานฮะดีษต่างเห็น พ้ องว่าเป็ นผู้ทมี่ คี วามเสียหายในด้ านศาสนาและความ เชื่อ (ฟาสิดลุ มัษฮับ) หรื อรายงานมาจากอะลี บิน อะห์ หมัด กูฟีย์ ซึง่ นักตรวจสอบสายรายงานถือว่าเขาเป็ นผู้ ที่โกหกและเป็ นมีความเสียหายในด้ านศาสนา แต่ก็มีรายงานจ�ำนวนมากจนเป็ นที่น่าเชื่อว่ามี บางรายงานที่ได้ รับมาจากมะอ์ซมู ด้ วยเหตุนี ้จึงจ�ำเป็ น ต้ องท�ำการวิเคราะห์รายงานต่าง ๆ เหล่านันเพื ้ ่อจะได้ เข้ าใจเป้าหมายอย่างถูกต้ อง ในมุมมองของท่าน รายงานต่าง ๆ มีทงหมด ั้ 4 กลุม่ ซึง่ เราจะขอกล่าวถึงเพียง 2 กลุม่ ดังนี ้ : 1. รายงานกลุม่ หนึง่ เป็ นรายงานทีก่ ล่าวถึงหัวข้ อ “การดัดแปลง” เช่นรายงานจากอิมามซอดิก (อ.) ว่า “ชาวอาหรับจะดัดแปลงค�ำตรัสของอัลลอฮ์ให้ ออกจาก

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 59


ที่ของมัน” โดยผิวเผินแล้ วรายงานในกลุม่ นี ้ สามารถที่ จะจัดให้ อยูใ่ นหัวข้ อของ ความแตกต่างในการอ่าน ไม่ ได้ ให้ ความหมายว่าอัลกุรอานถูกท�ำให้ ขาดตกบกพร่อง หรื อที่ท่านอะบูซรั ได้ รายงานจากท่านศาสนทูต (ศ็อลฯ) ที่บางกลุม่ จะกล่าวในวันกิยามัตว่า : “เราได้ ดัดแปลงสิ่งหนักกว่า (อัลกุรอาน) และทิ ้งไว้ เบื ้องหลัง และเราก็เป็ นศัตรู กับสิ่งที่เบากว่า (ลูกหลานศาสดา (ศ็อลฯ) ) เราอาฆาตแค้ นและกดขี่พวกเขา” การใช้ ค�ำว่า “ดัดแปลง” ในรายงานลักษณะนี ้ ไม่ได้ หมายความว่าอัลกุรอานมีความบกพร่อง แต่เป้า หมายจริ ง ๆ คือ การดัดแปลงด้ านความหมาย (ตะห์ รีฟมะอ์นะวี)และการอรรถาธิบายอัลกุรอานตามอ�ำเภอ ใจ ซึง่ รายงานจากอิมามบาเกร (อ.) ก็ยืนยันถึงประเด็น ดังกล่าวนี ้ ที่ท่านได้ กล่าวไว้ วา่ : ความหมายของการ ทิ ้งอัลกุรอานไว้ เบื ้องหลัง หมายความว่าพวกเขาหมัน่ ท่องจ�ำค�ำต่าง ๆ ของคัมภีร์ แต่ได้ ดดั แปลงความหมาย ต่าง ๆ ของมัน 2. รายงานอีกกลุม่ หนึง่ เป็ นรายงานที่บง่ บอกว่า มีบางโองการที่กล่าวนามของบรรดาอิมาม (อ.) เอาไว้ แต่บรรดาศัตรูได้ ท�ำการดัดแปลงออกไป ทัง้ ๆ ที่รายงานต่าง ๆ เหล่านี ้เป็ นรายงานที่บง่ ชี ้ถึงสาเหตุการประทานของโองการนัน้ ๆ เช่นมีวงเล็บ ไว้ วา่ “ถูกประทานลงเกี่ยวกับท่านอะลี (อ.)” ก็ไม่ได้ หมายความว่า อะลี จะเป็ นส่วนหนึง่ ของค�ำในโองการ ที่ถกู ตัดออกไป เจ้ า ของหนัง สื อ ผู้ท รงคุณ วุฒิ กล่า วไว้ ว่ า : เหตุผลทีบ่ ง่ บอกได้ วา่ นามของท่านอะมีรุลมุอ์มนิ นี อะลี (อ.) ไม่ถกู กล่าวไว้ อย่างชัดเจนในอัลกุรอาน คือ ฮะดีษฆ อดีร ซึง่ เป็ นฮะดีษที่บง่ บอกอย่างชัดเจนว่าท่านศาสดา (ศ็อลฯ) ได้ รับค�ำบัญชาจากอัลลอฮ์ (ซบ.) ให้ แต่งตังท่ ้ า นอะลี (อ.) ด�ำรงต�ำแหน่งอิมามผู้น�ำประชาชาติ หลัง จากที่พระองค์ ทรงสัญญาว่าจะให้ การคุ้มครองท่าน ศาสดา (ศ็อลฯ) หากนามของท่านอะลี (อ.) มีปรากฏ ในอัลกุรอานก็ไม่จ�ำเป็ นที่จะต้ องเรี ยกมุสลิมมาชุมนุม

60 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

เพื่อท�ำการแต่งตังเช่ ้ นนี ้ และท่านศาสดา (ศ็อลฯ) ก็ไม่ ต้ องหวาดหวัน่ ใด ๆ ในการประกาศเรื่ องนี ้ โดยเฉพาะ ฮะดีษฆอดีรเกิดขึ ้นในช่วงฮัจญ์อ�ำลาและช่วงบันปลาย ้ ชีวิตของท่านศาสดา (ศ็อลฯ) ในขณะที่โองการอัลกุ รอานโดยทัว่ ไปแล้ วถูกประทานลงมาก่อนเหตุการณ์ นันและได้ ้ แพร่สะพัดในหมูม่ สุ ลิมแล้ ว อีกเหตุผลหนึ่งที่สามารถอธิ บายรายงานใน ลักษณะนี ้ คือ ฮะดีษที่ถูกต้ อง (ศอเฮีย้ ะห์ ) ของท่า นอะบูบะศีร ที่เราเคยกล่าวไปแล้ ว ซึง่ อิมามซอดิก (อ.) ได้ กล่าวไว้ ใต้ ฮะดีษนี ้ว่า : “โองการ –จงภักดีอลั ลอฮ์และจงภักดีทา่ นศาสน ทูตและผู้ปกครองในหมู่พวกเจ้ า- ถูกประทานลงมา เกี่ยวกับท่านอะลี ฮะซันและฮุเซน ท่านศาสดา (ศ็อลฯ) ด�ำรัสว่า ผู้ใดที่เห็นว่าฉันเป็ นผู้ปกครองของเขา อะลีผ้ นู ี ้ ก็คือผู้ปกครองของเขา” ความหมายของประโยคเหล่านี ้ คือ การอร รถาธิบายอัลกุรอาน เพราะต้ นรายงาน ท่านอะบูบะศีร ได้ ถามอิมาม (อ.) ว่า : ผู้คนกล่าวกันว่า ท�ำไมนามขอ งอะลีและอะฮ์ลลุ บัยต์ (อ.) จึงไม่มีในอัลกุรอาน ? ท่าน ก็ตอบว่า การนมาซถูกกล่าวไว้ ในอัลกุรอาน แต่ไม่ได้ อธิบายจ�ำนวนรอกะอัตเอาไว้ การจ่ายบริ จาคถูกกล่าว ไว้ ในอัลกุรอาน แต่ไม่ได้ แจกแจงจ�ำนวนของมันเอาไว้ การท�ำฮัจญ์ถกู กล่าวไว้ ในอัลกุรอาน แต่ไม่ได้ กล่าวถึง จ�ำนวนการเดินเวียน(ฏอวาฟ) เอาไว้ และท่านศาสดา (ศ็อลฯ) เป็ นผู้ที่แจกแจงและอธิบายรายละเอียดของ เรื่ องต่าง ๆ เหล่านี ้ไว้ ทงหมด ั้ แล้ วอิมามก็ได้ ยกโองการ ข้ างต้ น (จงภักดีอลั ลอฮ์ ......)มาอธิ บาย จึงไม่เป็ นที่ สงสัยใด ๆ เลยว่า เป้าหมายของอิมามในประโยค (ถูก ประทานลงมาเกี่ยวกับท่านอะลี.....) หมายถึงสาเหตุ การประทานโองการนี ้ ฮะดีษนีส้ ามารถให้ ค�ำตอบกับรายงานต่างๆ ทังหมดที ้ ่กล่าวว่า นามของบรรดาอิมามถูกตัดออกจา กอัลกุรอาน ค�ำตอบส�ำหรับข้ อคลางแคลงอื่น ๆ ไม่วา่ เรื่ อง


การดัดแปลงที่ เกิ ดขึน้ เนื่ องจากวิธีการรวบรวมอัลกุ รอานในยุคของท่านอุษมาน หรื อเรื่ องมุศฮัฟของท่าน อับดุลลอฮ์ บิน มัสอูด และมุศฮัฟของท่านอุบยั บิน กะ อบ์ หรื อเรื่ องความแตกต่างในการอ่านต่าง ๆ ก็เป็ นที่ ชัดเจนอยูแ่ ล้ ว ให้ ทา่ นย้ อนกลับไปดูรายละเอียดเกี่ยว กับเรื่ องการรวบรวมอัลกุรอาน และคุณสมบัติมศุ ฮัฟ ของเหล่าสาวก หรื อเรื่ องสาเหตุที่ก่อให้ เกิดความแตก ต่างในการอ่านที่กล่าวผ่านมาแล้ วอีกครัง้ ก็จะท�ำให้ เข้ าใจอย่างชัดเจนขึ ้นว่า ไม่มีความเกี่ยวข้ องใด ๆ กับ เรื่ องของการดัดแปลงอัลกุรอานเลย

สรุ ปบทเรี ยน

1. 12 เหตุผลทีม่ ฮุ ษั ดิษนูรีอ้างถึงการดัดแปลงอัล กุรอาน มีเพียง 2 เหตุผลเท่านันที ้ ่มาจากแหล่งอ้ างอิง ของชีอะฮ์ 2. ความเหมื อ นและความคล้ า ยกัน ระหว่า ง ประชาชาติอิสลามกับประชาชาติยุคก่อน เป็ นความ เหมือนกันในบางเรื่ องเท่านันไม่ ้ ใช่จะครอบคลุมถึงทุก เรื่ อง อย่างเช่นเรื่ องการดัดแปลงคัมภีร์ 3. สิ่งที่มีเพิ่มเข้ ามาในมุศฮัฟของท่านอะลี บิน อะบีฏอลิบ (อ.) เป็ นสิ่งที่เกี่ยวกับสาเหตุการประทาน การอรรถาธิบายโองการนัน้ ๆ อธิบายถึงโองการนาสิค และมันสูค และเรื่ องอื่น ๆ ในท�ำนองนี ้ 4. รายงานต่าง ๆ เกี่ยวกับการดัดแปลงอัลกุรอาน ส่วนมากแล้ วจะรายงานมาจาก มุฮมั มัด ซัยยารี หรื อ

จาก อะลี บิน อะห์หมัด กูฟี ซึง่ ทังสองเป็ ้ นผู้ที่โกหกและ มีความเสียหายทางด้ านศาสนา (ฟาสิดลุ มัษฮับ) 5. เมื่อค�ำนึงถึงหลักฐานที่ปรากฏอยูใ่ นรายงาน ต่าง ๆ ก็ท�ำให้ เข้ าใจได้ วา่ เป้าหมายของการดัดแปลง นันหมายถึ ้ ง การดัดแปลงด้ านความหมาย ซึง่ ประเด็น นี ้มีปรากฏอยูใ่ นรายงานต่าง ๆ อย่างชัดเจน 6. รายงานที่ มี ป รากฏว่า “นามของบรรดาอิ มาม (อ.) มีปรากฏในอัลกุรอาน” หรื อ “โองการนันถู ้ ก ประทานลงมาเกี่ยวกับท่านอะลี (อ.) ทังหมดบ่ ้ งชี ้ถึง สาเหตุการประทาน ไม่ใช่ว่านามของบรรดาอิมามจะ เป็ นส่วนหนึง่ ของตัวบทอัลกุรอาน 7. เมื่อค�ำนึงถึงเหตุผลที่หนักแน่นต่าง ๆ จากอัล กุรอาน ซุนนะฮ์ สติปัญญา หลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ และอื่น ๆ ก็เป็ นที่ชดั เจนถึงความเป็ นโมฆะของการอ้ าง ถึงวิธีการรวบรวมอัลกุรอานในสมัยท่านอุษมาน อ้ างถึง ความแตกต่างในการอ่าน หรื ออ้ างว่ามุศฮัฟแต่ละฉบับ มีมากน้ อยต่างกัน เช่น มุศฮัฟของท่านอับดุลลอฮ์ บิน มัสอูด และท่านอุบยั บินกะอบ์ ว่าเป็ นการดัดแปลงอัล กุรอาน ในทางกลับกันยิ่งท�ำให้ การศรัทธาต่อการแจ้ ง ข่าวของอัลลอฮ์ (ซบ.) ว่าจะพิทกั ษ์ ปกป้องอัลกุรอาน เพิ่มขึ ้นเป็ นทวีคณ ู

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 61


แปลและเรียบเรียงโดย เชคอิมรอน พิชยั รัตน์

จริยธรรมคัมภีร์

บทหุญรุ อต ซู

เราะฮ์ นี ถ้ ู ก ประทานลงมาที่ ม ะดี น ะฮ์ มี ทั ง้ หมด 18 โองการและถู ก เรี ยกว่ า ซูเราะฮ์หญ ุ รุ อต หรื อซูเราะฮ์จริ ยธรรม หุญรุ อต เป็ น พหูพจน์ของค�ำว่า หุจเราะฮ์ เนื่องจากซูเราะฮ์นี ้กล่าว ถึงห้ องต่าง ๆ ของท่านศาสดา (ศ็อลฯ) (ซึง่ มีความเรี ยบ ง่ายเป็ นอย่างมาก โดยถูกสร้ างขึ ้นจากดิน หลังคามุง ด้ วยไม้ และกิ่งอินทผลัม) จึงเรี ยกซูเราะฮ์นี ้ว่า ซูเราะ ฮ์หญ ุ รุ อต สามซูเราะฮ์ในอัลกุรอาน คือ (ซูเราะฮ์มาอิด ะฮ์ ซูเราะฮ์หญ ุ รุ อตและซูเราะฮ์มมุ ตะหินะฮ์) ที่กล่าว ถึงเรื่ องของการปกครองและสังคม จึงเริ่ มต้ นประโยค ด้ วย (โอ้ บรรดาผู้ศรัทธา) ไว้ หลายครัง้ ซึง่ ย่อมบ่งบอก ถึงคุณสมบัติของสังคมอิสลามไว้ ในซูเราะฮ์นนหลาย ั้ ประเด็นด้ วยกัน ซูเราะฮ์นี ้กล่าวถึงเรื่ องที่ไม่ปรากฏในซูเราะฮ์อื่น เช่น 1. การไม่ล� ้ำหน้ าท่านศาสดา (ศ็อลฯ) มารยาท ในการปฏิบตั ิตอ่ ท่านศาสดา (ศ็อลฯ) และเตือนส�ำทับ 62 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

ส�ำหรับผู้ไร้ มารยาท 2. การเย้ ยหยันผู้อื่น การตังฉายานามที ้ ่ไม่ดีให้ แก่ผ้ อู ื่น การคิดไม่ดี การสอดแนมและการนินทา ซึง่ เป็ นที่ต้องห้ ามส�ำหรับสังคมที่มีศรัทธา และถูกห้ ามไว้ ในซูเราะฮ์นี ้ 3. ความเป็ นพี่น้อง ความปรองดอง การร่วมมือ กันต่อต้ านความเลวร้ าย การเป็ นคนกลางที่คอยไกล่ เกลีย่ อย่างยุตธิ รรม การตรวจสอบข่าวสารต่าง ๆ จากผู้ ต้ องสงสัยและการก�ำหนดสิง่ ทีด่ ที สี่ ดุ ให้ เป็ นบรรทัดฐาน ในสังคมที่มีศรัทธา 4. ซูเราะฮ์ นีอ้ ธิ บายถึงสังคมที่มีศรั ทธา ซึ่งได้ แบ่งแยกระดับต่าง ๆ ของมุสลิมและบรรทัดฐานของค่า นิยมต่าง ๆ ไว้ ความย�ำเกรงและความรักต่อสิง่ ต่าง ๆ ความศรัทธา สิง่ ที่ท�ำให้ นา่ รังเกียจ การปฏิเสธ ความ ชัว่ และการท�ำบาป พร้ อมกับอธิบายให้ ร้ ูวา่ บรรทัดฐาน ของสังคมคือ ความยุตธิ รรม 5. ซูเราะฮ์นี ้ได้ ชี ้เห็นถึงสังคมที่มีศรัทธาว่าย่อม


เป็ นหนี ้บุญคุณต่ออัลลอฮ์ (ซบ.) และความรักต่อท่าน ศาสดา (ศ็อลฯ) เป็ นสื่อในการชี ้น�ำของเขา และไม่ถือ เอาการมีศรัทธาของตนเป็ นหนี ้บุญคุณต่ออัลลอฮ์ (ซบ.) และศาสนทูตของพระองค์ 6. สังคมที่มีศรัทธาตามซูเราะฮ์นี ้ คือ ประชาชน ต้ องปฏิบตั ิตามท่านศาสดา (ศ็อลฯ) และไม่มงุ่ หวังว่า ท่านศาสดา (ศ็อลฯ) จะปฏิบตั ติ ามประชาชน บัสมะละฮ์

‫الرِحيم‬ َّ ‫الر ْحَ ِن‬ َّ ‫بِ ْس ِم اللَّ ِه‬

“ด้ ว ยพระนามแห่ง อัล ลอฮ์ ผู้ท รงเมตาปรานี ผู้ทรงกรุณาเสมอ” สาระศึกษา ซูเราะฮ์นี ้เริ่ มต้ นด้ วยพระนามของอัลลอฮ์ (ซบ.) เฉกเช่นซูเราะฮ์อื่น ๆ มีรายงาน (ฮะดีษ) ว่า “ การงานใดก็ตามที่ไม่เริ่ มต้ นด้ วยพระนามของ พระผู้เป็ นเจ้ า การงานนันจะไม่ ้ ประสบผลส�ำเร็ จ” ใช่แล้ ว การเริ่ มการงานต่างๆ ของมนุษย์ต้อง อาศัยความเมตตาอันไพศาล ซึง่ การพึ่งพานี ้จะได้ มา ด้ วยการกล่าวประโยค ( ด้ วยพระนามแห่งอัลลอฮ์ ผู้ทรง เมตตาปรานี ผู้ทรงกรุณาเสมอ) การกล่าว (ด้ วยพระนามแห่งอัลลอฮ์ ) ในการ เริ่มต้ นทุก ๆ การงาน บ่งบอกถึงการมีศรัทธาต่ออัลลอฮ์ (ซบ.) การมีความรักต่ออัลลอฮ์ (ซบ.) การมอบหมาย ต่ออัลลอฮ์ (ซบ.) และการให้ กลิน่ อายของพระผู้เป็ นเจ้ า อยูใ่ นกิจการงานนัน้ ๆ โองการที่ 1

ِ َّ ‫ي يَ َد ِي اللَّ ِه‬ َ َْ‫ِّموا بـ‬ ُ ‫ين َآمنُوا ال تـَُقد‬ َ ‫يَا أَيـَُّها الذ‬ ِ ‫ورسولِ​ِه واتـَُّقوا اللَّه إِ َّن اللَّه َِس‬ ‫يم‬ َ ٌ َ ٌ ‫يع َعل‬ َ ُ َ​َ

“ โอ้ บ รรดาผู้ศ รั ท ธา พวกเจ้ า อย่า ได้ ล� ำ้ หน้ า อัลลอฮ์ และศาสนทูตของพระองค์ จงย�ำเกรงอัลลอฮ์ แท้ จริ งอัลลอฮ์ ทรงเป็ นผู้ได้ ยิน ทรงรอบรู้” สาระศึกษา เป้าหมายของโองการนี ้คือ เพื่อป้องกันความผิด พลาดที่อาจเกิดขึ ้นกับมนุษย์ เนื่องด้ วยบางครัง้ ความ

ต้ องการของคนส่วนใหญ่ ภาพลักษณ์ ภายนอกทาง วัตถุ การปฏิบตั ติ ามการคาดคะเน ความต้ องการน�ำ เสนอสิง่ ใหม่ๆ ความตืน่ เต้ นและการตัดสินอย่างเร่งรี บ จะน�ำพามนุษย์ไปสูค่ วามผิดพลาด โองการนี ้ต้ องการที่จะอบรมมนุษย์ให้ เหมือนดัง่ เทวทูต (มะลาอิกะฮ์) เพราะอัลกุรอานกล่าวเกี่ยวกับ เทวทูตไว้ ในซูเราะฮ์อมั บิยาอ์ โองการที่ 27 ว่า “พวกเขาจะไม่ชงิ กล่าวพูดก่อนพระองค์ และพวก เขาปฏิบตั ติ ามพระบัญชาของพระองค์” อัลกุรอานไม่ได้ เจาะจงรายละเอียดของการล� ้ำ หน้ าไว้ เพือ่ ให้ มคี วามหมายครอบคลุมถึงประเภทต่างๆ ของการล�ำ้ หน้ า ไม่ว่าทางด้ านการศรั ทธา วิชาการ การเมือง เศรษฐกิจและอื่น ๆ รวมถึงการพูดและการก ระท�ำด้ วย สาวกบางท่านได้ ขออนุญาตท่านศาสดา (ศ็อลฯ) ให้ ตอนพวกเขา เพื่อจะได้ ไม่มีลกู หลาน และเพื่อไม่ให้ มีความต้ องการภรรยา เพราะต้ องการจะรับใช้ อิสลาม อย่างเต็มที่ ท่านศาสดา (ศ็อลฯ) ได้ ปรามการกระท�ำที่ ไม่ดีเช่นนี ้ของพวกเขา บุค คลใดก็ ต ามที่ ล� ำ้ หน้ า อัล ลอฮ์ (ซบ.) และ ศาสดา (ศ็อลฯ) ย่อมท�ำให้ เกิดปั ญหาในระบบและท�ำให้ สังคมปั่ นป่ วน ซึ่งแท้ จริ งแล้ วพวกเขาท�ำให้ กฎหมาย กลายเป็ นเครื่ องเล่นตามความต้ องการของพวกเขา สารทีไ่ ด้ รับจากโองการนี้ 1. การมอบค�ำสัง่ ต่าง ๆ จ�ำเป็ นต้ องเตรี ยมพร้ อม

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 63


ทางจิตวิทยาให้ กบั คู่สนทนา ดังนันประโยคที ้ ่ว่า “โอ้ บรรดาผู้ศรัทธา” จึงเป็ นการให้ บคุ ลิกภาพแก่คสู่ นทนา และบ่งบอกถึงความผูกพันระหว่างเขากับอัลลอฮ์ (ซบ.) ซึง่ เป็ นการปูทางไปสูก่ ารปฏิบตั ติ อ่ ไป 2. เนื่องจากค�ำสัง่ “ การไม่ให้ ล� ้ำหน้ าอัลลอฮ์ (ซบ.) และศาสนทูต (ศ็อลฯ) เป็ นค�ำสัง่ เกี่ยวกับมารยาท โองการนี ้จึงกล่าวแก่ค่สู นทนาอย่างมีมารยาทว่า “โอ้ บรรดาผู้ศรัทธา” 3. รสนิยมส่วนบุคคล ความเคยชิน ประเพณี ทางสังคม กฏเกณฑ์และกฎหมายต่าง ๆ ของมนุษย์ที่ ไม่มีรากฐานมาจากอัลกุรอานและฮะดีษ หากมิได้ มา จากสติปัญญาและธรรมชาติดงเดิ ั ้ มทีบ่ ริสทุ ธิ์ของมนุษย์ ทังหมดนี ้ ้ถือเป็ นการล� ้ำหน้ าอัลลอฮ์ (ซบ.) และศาสนทูต (ศ็อลฯ) อย่างหนึง่ 4. การท�ำให้ ความโปรดปรานต่าง ๆที่พระผู้เป็ น เจ้ าอนุมตั ิ (ฮะลาล) ให้ เป็ นสิง่ ต้ องห้ าม (ฮะรอม) และ การท�ำให้ สงิ่ ต้ องห้ ามเป็ นที่อนุมตั ถิ ือว่าเป็ นการล� ้ำหน้ า อัลลอฮ์ (ซบ.) และศาสนทูตเช่นกัน 5. การอุตริ (บิดอะฮ์) การกล่าวเลยเถิด การ ยกย่องและการท้ วงติงที่ไม่สมควรถือเป็ นการล� ้ำหน้ า เช่นกัน 6. ที่มาของการกระท�ำต่าง ๆ จ�ำเป็ นต้ องมาจา กอัลกุรอานและแบบฉบับของท่านศาสดา (ศ็อลฯ ) 7. การล� ำ้ หน้ า อัล ลอฮ์ (ซบ.) และศาสนทูต (ศ็อลฯ) คือการไม่มีความย�ำเกรง เนื่องจากโองการนี ้

64 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

ได้ กล่าวว่า “อย่าล� ้ำหน้ า....และจงย�ำเกรง” 8. ความเสรี และความเจริ ญ ที่ล� ้ำหน้ าอัลลอฮ์ (ซบ.) และศาสนทูต (ศ็อลฯ) นันเป็ ้ นสิง่ ไร้ คา่ 9. ความศรัทธาและความย�ำเกรง คือสิง่ จ�ำเป็ น ต่อ การปฏิ บัติภารกิ จ เพราะในโองการใช้ ค�ำว่า “ผู้ ศรัทธาทังหลาย” ้ และค�ำว่า “จงย�ำเกรง” ควบคูก่ นั 10. สิง่ ที่ท�ำให้ ประโยคสวยงามคือ มีการสัง่ และ การห้ ามควบคู่กันไป ซึ่งในโองการนี ม้ ีทัง้ ค�ำสัง่ ห้ าม “ห้ ามล� ้ำหน้ า” และค�ำสัง่ ใช้ “ จงย�ำเกรง” 11. ค�ำสัง่ ของท่านศาสนทูต คือ พระบัญชาขอ งอัลลอฮ์ (ซบ.) การไม่ให้ เกียรติตอ่ ท่านคือ การไม่ให้ เกียรติตอ่ อัลลอฮ์ (ซบ.) และการล� ้ำหน้ าอัลลอฮ์ (ซบ.) และศาสนทูตนันถื ้ อเป็ นสิง่ ต้ องห้ าม “พวกเจ้ าอย่าได้ ล� ้ำ หน้ าอัลลอฮ์และศาสนทูตของพระองค์” 12. การปฏิบตั ิต้องควบคูก่ บั การมีความย�ำเกรง “อย่าได้ ล� ้ำหน้ า....จงย�ำเกรงอัลลอฮ์” 13. ใครก็ตามที่ล� ้ำหน้ าอัลลอฮ์ (ซบ.) และศาสน ทูตของพระองค์ เนื่องจากรสนิยมส่วนตัวหรื ออื่น ๆ แสดงให้ เห็นว่าเขาผู้นนไม่ ั ้ มที งศรั ั ้ ทธาและความย�ำเกรง “โอ้ บรรดาผู้ศรัทธาพวกเจ้ าอย่าได้ ล� ้ำหน้ า....จงย�ำเกรง อัลลอฮ์” 14. อย่าได้ หาข้ อแก้ ตวั ในการล� ้ำหน้ าและการ หย่ อ นยานในการปฏิ บัติ ต ามค� ำ สั่ง ไม่ ทัน ต่อ ค� ำ สั่ง เพราะโองการนี ้กล่าวว่า “ แท้ จริ งอัลลอฮ์ ทรงเป็ นผู้ ได้ ยิน ทรงรอบรู้”


ตัวอย่ างต่ าง ๆ ของการล�้ำหน้ า ตัวอย่างการล� ้ำหน้ าอัลลอฮ์ (ซบ.) และศาสนทูต ในประวัติศาสตร์ ซึ่งถูกอธิ บายไว้ ในต�ำราอรรถาธิ บา ยอัลกุรอาน (ตัฟซีร) และการรายงาน (ริวายะฮ์) ต่าง ๆ : 1. มีสาวกกลุม่ หนึง่ ได้ เชือดสัตว์พลีทานก่อนท่าน ศาสดา (ศ็อลฯ) ในวันอีดกุรบาน 2. สาวกกลุม่ หนึง่ ได้ ถือศีลอดก่อนจะพิสจู น์ได้ วา่ เห็นเสี ้ยวดวงจันทร์ ในการเข้ าสูเ่ ดือนรอมฎอน 3. ท่านศาสดา (ศ็อลฯ) ได้ สง่ สาวกกลุม่ หนึง่ ไป ยังบรรดาผู้ปฏิเสธเพื่อเผยแผ่ศาสนาอิสลาม บรรดา ผู้ปฏิเสธได้ ฆ่านักเผยแผ่กลุ่มนัน้ มีสามคนที่หนีรอด กลับมาได้ ในระหว่างที่เดินทางกลับ ทังสามได้ ้ เจอกับ ผู้ปฏิเสธจากเผ่า (บนี อุมยั ร์ ) สองคน เขาจึงสังหารผู้ ปฏิเสธทังสองเพื ้ ่อเป็ นการแก้ แค้ น (ทัง้ ๆ ที่คนทังสอง ้ เป็ นผู้บริ สทุ ธิ์) อัลกุรอานได้ ต�ำหนิการกระท�ำเช่นนี ้ว่า เหตุใดจึงกระท�ำโดยไม่มีคำ� สัง่ จากท่านศาสดา (ศ็อลฯ) ดังนันโองการนี ้ ้หมายรวมถึงพวกเขาด้ วย 4. ท่านอิมาม (อ.) กล่าวแก่ผ้ หู นึง่ ว่า : จงอ่านดุ อาอ์นี ้เถิด “ยามุก็อลลิบลั กุลบู ” เขาผู้นนก็ ั ้ กล่าวต่ออีก ว่า “ ยามุก็อลลิบลั กุลบู วัลอับศอร” อิมาม (อ.) กล่าว

ว่า : เราไม่ได้ กล่าวค�ำว่า “อับศอร” 5. ชนเผ่าบนี ตะมีม ต้ องการผู้ดแู ลคนหนึง่ จาก ท่านศาสดา (ศ็อลฯ) เหล่าสาวกต่างก็แนะน�ำบุคคลของ ตนแก่ทา่ นศาสดา (ศ็อลฯ) ซึง่ ต่างก็ยกย่องและชมเชย บุคคลที่ได้ แนะน�ำไปให้ จนโองการถูกประทานลงมา 6. อิมาม (อ.) สอนดุอาอ์แก่ผ้ หู นึง่ ว่า : ท่านจง อ่านดุอาอ์นี ้“ลาอิลาฮะ อิลลัลลอฮ์....” ท่านกล่าวจนถึง ประโยค “ยุห์ยี วะ ยุมตี ” ผู้ทฟี่ ั งอยูก่ ก็ ล่าวเสริมขึ ้นว่า “วะ ยุมีตุ วะ ยุห์ยี” ท่านอิมาม (อ.) กล่าวว่า : ประโยคของ ท่านนันถู ้ กต้ อง แต่จงกล่าวตามที่ฉนั ได้ สอนเจ้ าไป แล้ วอิมาม (อ.) จึงอ่านโองการนี ้ “พวกเจ้ าอย่าได้ ล� ้ำหน้ า อัลลอฮ์และศาสนทูตของพระองค์...” 7. สาวกบางท่านไม่กินไม่นอน และไม่ร่วมหลับ นอนกับภรรยาของตน ท�ำให้ ท่านศาสดา (ศ็อลฯ) ไม่ พอใจและท่านได้ ขึ ้นคุฏบะฮ์วา่ “ฉันกิน ดื่มและใช้ ชีวิต กับภรรยา นี่แหละคือวิถีชีวิตของฉัน ใครก็ตามที่ไม่ ปฏิบตั ติ ามแนวทางนี ้ เขาไม่ได้ มาจากฉัน” 8. ทั ง้ ๆ ที่ ศ าสดาแห่ ง อิ ส ลามได้ อนุ มั ติ ใ น บทบัญญัติบางเรื่ อง แต่มีสาวกบางท่านได้ ประกาศให้ บัญญัตินนเป็ ั ้ นเรื่ องต้ องห้ าม และนี่ก็เป็ นการล� ้ำหน้ า

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 65


ท่านศาสดา (ศ็อลฯ) 9. ท่านศาสดา (ศ็อลฯ) ได้ เคลือ่ นพลจากเมืองมะ ดีนะฮ์ เพื่อพิชิตมักกะฮ์ในปี ฮ.ศ. ที่ 8 ซึง่ มีมสุ ลิมบางคน ไม่ยอมละศีลอดในระหว่างการเดินทางครัง้ นี ้ ทัง้ ๆ ที่ร้ ู ว่าไม่มกี ารถือศีลอดส�ำหรับผู้ทเี่ ดินทางและก็ได้ เห็นแล้ ว ว่าท่านศาสดา (ศ็อลฯ) ละศีลอด 10. เรายัง ได้ เห็นตัว อย่างของการล� ำ้ หน้ า ใน ศาสนาอื่ น ๆ ก่ อ นการมาของอิ ส ลามอี ก ด้ ว ย เช่ น ประเด็นที่พวกเขายกย่องท่านศาสดาอีซา (อ.) เป็ น พระเจ้ า ทัง้ ๆ ที่ทา่ นศาสดาอีซา (อ.) เป็ นบุตรของท่าน หญิงมัรยัมและเป็ นเพียงบ่าวคนหนึง่ ของอัลลอฮ์ (ซบ.) ตัวอย่ างต่ าง ๆ ของการฝ่ าฝื น การล�ำ้ หน้ าอัลลอฮ์ (ซบ.) และศาสนทูตของ พระองค์เป็ นสิ่งต้ องห้ ามฉันใด การหย่อนยานไม่การ ปฏิบตั ิตามค�ำสัง่ ก็เป็ นสิง่ ต้ องห้ ามฉันนัน้ เมื่อไดก็ตาม ที่อลั ลอฮ์ (ซบ.) ศาสนทูตของพระองค์และตัวแทนของ พระองค์ได้ เรี ยกร้ องเชิญชวนมนุษยชาติสสู่ งิ่ ใดสิง่ หนึง่ จ�ำเป็ นต้ องเร่ งรี บกระท�ำสิ่งนันและต้ ้ องตอบรับค�ำเชิญ ชวนด้ วยความเข้ าใจ อัลกุรอานได้ ต�ำหนิผ้ ทู ี่ดื ้อรัน้ ต่อ การเรี ยกร้ องเชิญชวนนี ้อย่างรุนแรงว่า “ โอ้ บรรดาผู้ศรัทธา มีอะไรเกิดขึ ้นแก่พวกเจ้ า กระนันหรื ้ อ ? เมื่อได้ ถกู กล่าวแก่พวกเจ้ าว่า จงออกไป ต่อสู้ในหนทางของอัลลอฮ์เถิด พวกเจ้ าก็แนบหนักอยู่ กับพื ้นดิน...” (ซูเราะฮ์อตั เตาบะฮ์ โองการที่ 38 )

66 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

จงดู ตั ว อย่ า งของ การหย่ อ นยานในการ ปฏิบตั ิตามค�ำสัง่ และการ ฝ่ าฝื น ต่อไปนี ้ 1 . ข ณ ะ ที่ ท่ า น ศาสดา (ศ็อลฯ) ป่ วยหนัก ใกล้ อสัญ กรรม ท่ า นได้ ส่ ง กองทัพ ไปยัง สถานที่ แห่งหนึง่ โดยสัง่ ให้ แต่งตัง้ ชายหนุม่ นามว่า อุซามะฮ์ เป็ นแม่ทพั และด�ำรัสว่า : ขออัลลอฮ์ (ซบ.) ทรงสาป แช่งผู้ทฝี่ ่ าฝื นแม่ทพั อุซามะฮ์ ถึงกระนันก็ ้ ยงั มีสาวกกลุม่ หนึง่ ที่ตอ่ ต้ านเขา 2. อัลกุรอานได้ ต�ำหนิผ้ ทู ี่ฝ่าฝื นค�ำสัง่ ของท่าน ศาสดา (ศ็อลฯ) โดยไม่ออกไปสูส่ มรภูมิรบและมีความ พอใจในการฝ่ าฝื นนี ้อีกต่างหากว่า “ บรรดาผู้ที่ฝ่าฝื นนันดี ้ ใจในการที่พวกเขานัง่ อยู่ เบื ้องหลังของท่านศาสนทูตแห่งอัลลอฮ์...” (ซูเราะฮ์อตั เตาบะฮ์ โองการที่ 81) 3. ในสงครามอุฮุด เมื่อมุสลิมได้ รับชัยชนะใน การบุกโจมตีครัง้ แรก และเนื่องจากการฝ่ าฝื นค�ำสัง่ ของ ท่านศาสดา (ศ็อลฯ) ที่ให้ นกั แม่นธนู 50 คน ประจ�ำการ อยูบ่ นเนินเขาอุฮดุ แต่แล้ วพวกเขาก็ละทิ ้งหน้ าที่ มัวแต่ เก็บทรัพย์สนิ ทีห่ ลงเหลือจากสงครามด้ วยความละโมบ ในทีส่ ดุ มุสลิมก็ได้ ความพ่ายแพ้ และเป็ นเหตุให้ ทา่ นฮัม ซะฮ์ ลุงของท่านศาสดา (ศ็อลฯ) รวมถึงสาวกผู้ซื่อสัตย์ กลุม่ หนึง่ ต้ องเสียชีวิตในหนทางแห่งพระผู้เป็ นเจ้ า (ชะ ฮาดะฮ์) ในสงครามครัง้ นี ้ อัลกุรอานได้ วิเคราะห์ความ พ่ายแพ้ ในสงครามอุฮดุ ไว้ 3 ประโยคดังนี ้ “จนกระทัง่ พวกเจ้ าขลาดที่จะต่อสู้ และขัดแย้ ง กันในค�ำสัง่ และพวกเจ้ าได้ ฝ่าฝื น...” (ซูเราะฮ์อาลิอิ มรอน โองการที่ 152) 4. ท่านอิมามอะลี (อ.) ได้ ต�ำหนิผ้ ทู ี่จิตใจแข็ง


กระด้ าง อ่อนแอและขี ้ขลาดไว้ หลายครัง้ ในนะฮ์ญลุ บะ บาเฆาะฮ์ เช่น พวกท่านคือ เรื อนร่างที่ไร้ วิญญาณ มี เพียงร่างเป็ นชาย แต่หาได้ มีความเป็ นลูกผู้ชายอยูไ่ ม่ ด้ วยเหตุนี ้สิ่งที่พระผู้เป็ นเจ้ าต้ องการ คือ การ ไม่ล� ้ำหน้ าและการไม่ลา่ ช้ าไปกว่าค�ำสัง่ แต่ต้องปฏิบตั ิ ควบคูก่ นั ไปทังความคิ ้ ดและการให้ ความร่วมมือ เรื่ องความย�ำเกรง “จงย� ำ เกรงอัล ลอฮ์ . .” เป็ นประโยคที่ อ ยู่ใ น โองการนี ้ จึงขอกล่าวถึงประเด็นของความย�ำเกรงดังนี ้ 1. เป้าหมายของบัญชาต่าง ๆ แห่งพระผู้เป็ นจ้ า คือ เพื่อให้ มนุษย์ค้นพบจิตวิญญาณของความย�ำเกรง เช่น อัลกุรอานกล่าวว่า “โอ้ มนุษย์ จงนมัสการต่อพระผู้อภิบาลของพวก เจ้ าทีไ่ ด้ สร้ างพวกเจ้ า และบรรดาผู้ทมี่ าก่อนพวกเจ้ าเถิด เผื่อว่าพวกเจ้ าจะได้ ย�ำเกรง” (ซูเราะฮ์อลั บะเกาะเราะฮ์ โองการที่ 21) และตรัสอีกเช่นกันว่า “โอ้ ผ้ ูศ รั ท ธาทัง้ หลาย การถื อ ศี ล อดนัน้ ได้ ถูก ก� ำหนดแก่พวกเจ้ าแล้ ว เช่นเดียวกับที่ได้ ถูกก� ำหนด แก่บรรดาผู้มาก่อนหน้ าพวกเจ้ า เผื่อว่าพวกเจ้ าจะได้ ย�ำเกรง” (ซูเราะฮ์อลั บะเกาะเราะฮ์ โองการที่ 183) 2.ความย�ำเกรงน�ำไปสูก่ ารได้ รับทางน�ำ “เป็ นทาง น�ำส�ำหรับบรรดาผู้ย�ำเกรงเท่านัน” ้ (ซูเราะฮ์อลั บะเกาะ เราะฮ์ โองการที่ 2) 3. พระผู้เป็ นเจ้ าทรงมอบความรู้ แก่ผ้ ทู ี่มีความ ย�ำเกรง “และพวกเจ้ าจงย�ำเกรงอัลลอฮ์เถิด และอัลลอฮ์

นันทรงให้ ้ ความรู้แก่พวกเจ้ า...” (ซูเราะฮ์อลั บะเกาะเราะ ฮ์ โองการที่ 282) 4. ความย�ำเกรงน�ำไปสู่ความเมตตาของพระผู้ เป็ นเจ้ า “และจงย�ำเกรง เผื่อว่าพวกเจ้ าจะได้ รับความ กรุณาเมตตา” (ซูเราะฮ์อนั อาม โองการที่ 155) 5. ความย�ำเกรงท�ำให้ การกระท�ำถูกตอบรับ “แท้ จริงอัลลอฮ์จะทรงรับจากหมูผ่ ้ ทู ี่มีความย�ำเกรงเท่านัน” ้ (ซูเราะฮ์อลั มาอิดะฮ์ โองการที่ 27) 6. ความย�ำเกรงน�ำไปสู่การได้ รับปั จจัยยังชีพ จากหนทางต่าง ๆ โดยที่มนุษย์ไม่คาดคิด “และจะทรง ประทานปั จจัยยังชีพแก่เขาจากที่ที่เขามิได้ คาดคิด” (ซู เราะฮัฏเฏาะลาก โองการที่ 3) 7.พระผู้เป็ นเจ้ าทรงสัญญาว่าผู้ย�ำเกรงจะไม่พบ กับทางตันของชีวติ เป็ นอันขาด “และผู้ใดย�ำเกรงอัลลอฮ์ พระองค์กจ็ ะทรงหาทางออกให้ แก่เขา” (ซูเราะฮ์อฏั เฏาะ ลาก โองการที่ 2 ) 8. พระผู้เป็ นเจ้ าทรงให้ การสนับสนุนและช่วย เหลืออย่างเร้ นลับแก่บรรดาผู้ย�ำเกรง “และพึงรู้เถิดว่า แท้ จริ งอัลลอฮ์นนอยู ั ้ ร่ ่วมกับบรรดาผู้ที่ย�ำเกรง” (ซูเราะ ฮ์อตั เตาบะฮ์ โองการที่ 123) 9. ความย�ำเกรงคือหนทางของความปลอดภัย จากอันตรายในวันโลกหน้ า (ซูเราะฮ์มรั ยัม โองการที่ 72 ) และน�ำไปสูบ่ นปลายชี ั้ วิตที่ดีงาม “และบันปลาย ้ นัน้ ย่อมเป็ นของผู้ย�ำเกรงทังหลาย” ้ (ซูเราะฮ์อลั อะอ์ รอฟ โองการที่ 128) ปั จจัยทีม่ ีผลต่ อความย�ำเกรง 1. การมีศรัทธาต่ออัลลอฮ์ และวันแห่งการฟื น้ คืนชีพ จะช่วยปกป้องมนุษย์ จากการท�ำบาป การมี ศรัทธาต่อสิง่ นี ้ยิ่งแข็งแกร่งเท่าใด ความย�ำเกรงก็จะยิ่ง เพิ่มมากขึ ้นเท่านัน้ 2. การสนับสนุนการท�ำความดีและห้ ามปราม การท�ำความชัว่ จะท�ำให้ คนในสังคมมีความย�ำเกรง ยิ่งขึ ้น 3. การอบรมสัง่ สอนของครอบครัว

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 67


4. การใช้ ปัจจัยยังชีพที่ฮะลาล 5. ความประพฤติของผู้น�ำในกลุม่ 6. เพื่อน ภรรยา ผู้ร่วมงาน เพื่อนบ้ านและเพื่อน ร่วมห้ อง 7. หน้ าที่การงาน ทังหมดนี ้ ้ถือว่าเป็ นส่วนหนึ่งที่ส่งผลให้ มีความ ย�ำเกรง ความย�ำเกรงคือ การก�ำหนดขอบเขต กระนั้นหรื อ อาจมีผ้ ทู ี่คิดว่า การมีความย�ำเกรงนันคื ้ อ การ ก�ำหนดขอบเขตและคือคุกกักขัง ทัง้ ๆ ที่ความย�ำเกรง คือ ป้อมปราการ ความแตกต่างระหว่างคุกกับป้อม ปราการคือ คุกจะถูกใส่กลอนจากข้ างนอก ซึ่งถือว่า เป็ นการก� ำ หนดขอบเขตที่ เ ป็ นการยัด เยี ย ดและขัด

68 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

แย้ งกับเสรี ภาพของมนุษย์ แต่ป้อมปราการนัน้ มนุษย์ เลือกที่จะใส่กุญแจจากข้ างใน เพื่อให้ ปลอดภัยจาก ภยันตรายต่าง ๆ ที่อยูข่ ้ างนอก เหมือนดัง่ การสวมรองเท้ า มันเป็ นการรักษาเท้ า หรื อเป็ นการก�ำหนดขอบเขตกันแน่ ? ดังนันใช่ ้ วา่ ทุก ๆ การก�ำหนดขอบเขตจะเป็ นสิง่ ที่ ไม่ดี และใช่วา่ ทุก ๆ เสรี จะมีคณ ุ ค่า ใช่วา่ ทุก ๆ การแพร่ ขยายจะมีคณ ุ ดังเช่นการแพร่ ขยายของเชื ้อมะเร็ ง ใช่ ว่าการย้ อนกลับไปสูส่ ภาพเดิมจะเป็ นสิง่ ที่ไม่ดี ดังเช่นผู้ ป่ วยที่ต้องการหายจากโรคภัยไข้ เจ็บไปสูส่ ภาพเดิม ดัง นันความย� ้ ำเกรง คือ การสร้ างเกราะป้องกัน บรรดาสตรี ที่ แ สดงตั ว ต่ อ หน้ าผู้ อื่ น โดยอ้ าง เสรี ภาพ หากพวกเธอได้ ใคร่ ครวญสักนิด ถึงแม้ ไม่ใช่ มุสลิมก็ตาม สติปัญญาและความรู้ ก็จะเชิญชวนพวก


เธอสูก่ ารรักนวลสงวนตัวและการปกปิ ดเรือนร่าง เพราะ การแต่งกายที่ไม่มิดชิดหรื อเปิ ดเผยเรื อนร่ างนัน้ เป็ น เหตุให้ 1. ผู้อื่นคิดไม่ดีตอ่ พวกนาง 2. เกิดการลักพาตัว 3. เกิดปั ญหาในครอบครัว 4. เกิ ด การยั่ว ยุแ ละเสี ย ความสมดุล ทางจิ ต วิญญาณ 5. เกิ ดการมุ่งสู่การอวดตนและประชันความ สวยงามกัน 6. มีผลกระทบต่อการเรี ยนและท�ำลายสมาธิใน การศึกษา 7. เกิดปมด้ อยแก่ผ้ ทู ี่ไม่มีความสามารถที่จะซื ้อ เสื ้อผ้ าและเครื่ องประดับ 8.เกิดความเสียหายทางด้ านเศรษฐกิจ เพราะ แทนทีจ่ ะให้ ความสนใจในการงาน กลับต้ องมาหมกมุน่ อยูก่ บั อารมณ์ใฝ่ ต�่ำ 9. เกิดความน้ อยเนื ้อต�่ำใจแก่สตรี ที่มีโฉมหน้ า ไม่ดงึ ดูดใจ

10. บิดามารดาเป็ นห่วงเป็ นกังวล 11. เป็ นที่พอใจของผู้ที่อารมณ์ใฝ่ ต�่ำ 12. เกิดการแข่งขันกันในทางลบ 13. การหนีออกจากบ้ าน 14. เกิดทารกที่ไม่ถกู ต้ องตามหลักการศาสนา 15. เกิดโรคจากการส�ำส่อน 16. เกิดโรคทางจิต 17. เกิดปั ญหาตามมา เช่น การท�ำแท้ ง การ ฆ่าตัวตาย การฆาตกรรม อุบตั ิเหตุจากการขับขี่ยาน พาหนะ และ ฯลฯ ทังหมดนี ้ เ้ ป็ นเพียงส่วนหนึ่งของการไร้ ความ ย�ำเกรงในเรื่ องการปกปิ ดเรื อนร่ าง เป็ นไปได้ ว่าด้ วย เหตุนี อ้ ัลกุร อานจึง ก� ำชับเรื่ อ งของความย� ำ เกรงเอา ไว้ มากมาย และผู้น�ำนมาซวันศุกร์ (อิมามญุมอะฮ์ ) จ�ำเป็ นต้ องอธิบายถึงเรื่ องนี ้ในทุก ๆ การบรรยายธรรม (คุฏบะฮ์) และอัลกุรอานมิได้ หยุดเพียงแค่การมีความ ย�ำเกรงเพียงน้ อยนิดเท่านัน้ แต่พระองค์ตรัสอีกว่า “ ดังนันจงย� ้ ำเกรงอัลลอฮ์เถิด เท่าที่พวกเจ้ ามี ความสามารถ” (ซูเราะฮ์อตั ตะฆอบุน โองการที่ 16) และตรั สในอีกที่หนึ่งว่า “โอ้ ผ้ ูศรั ทธาทัง้ หลาย จงย�ำ เกรงอัลลลอฮ์ อย่างแท้ จริ งเถิด” (ซูเราะฮ์อาลิอิมรอน โองการที่ 102)

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 69


เรียบเรียงโดย

ดร. ประเสริฐ สุขศาสน์กวิน

การศึกษาเชิงวิเคราะห์ วิจกั ษ์และวิธาน

พิธีอาชูรออ์ กับอัตลักษณ์ มุสลิมนิกายชีอะฮ์ อัล-กุรอาน: “จงเล่าเรื่ องราวเหล่านันเถิ ้ ด เพื่อหวังว่าพวกเขา จะใช้ ปัญญาไตร่ตรอง”(บทอัลอะร็ อฟ โองการที่ 176) โดยทัว่ ไปผู้ทบี่ ชู าวีรบุรุษหรือหลงใหลต่อนักต่อสู้ นัน้ เกิดมาจากจิตใต้ ส�ำนึกของความเป็ นมนุษย์ โดย เฉพาะเมื่อไหร่ ก็แล้ วแต่ที่คนหนึ่งต้ องการจะถ่ายทอด ความเป็ นวีรบุรุษนัน้ เขาจะชื่นชมและนิยมต่อบุคคลที่ เป็ นวีรบุรุษนัน้ โดยแสดงออกถึงความภาคภูมิใจในตัว ของเขาผู้นนั ้ โดยเฉพาะนักสู้ผ้ กู ล้ า ทีเ่ ป็ นวีรบุรุษได้ ยอม เสียชีพเพื่อปกป้องในเกียรติยศและศักดิ์ศรี ประชาชน จะน�ำเขาเหล่านันเป็ ้ นบุคคลต้ นแบบและเป็ นสือ่ ในการ ต่อสู้ของพวกเขา ไม่วา่ ผู้ที่เป็ นวีรบุรุษของเขานันจะอยู ้ ่ ในฐานะใดและจะเป็ นแรงบันดาลใจต่อการสู้และการ ยืนหยัดเพื่อคุณธรรมอยูต่ ลอดเวลา อิมามฮุเซน อิบน์ อะลี อิบน์ อะบี ฏอลิบ(Hussein ibn Abi Talib) ถือก�ำเนิดปี ฮ.ศ.ที่ 4 เป็ นบุตรของอิ มามอะลี (อ) กับท่านหญิงฟาติมะฮ์ บุตรี ศาสดามุฮมั มัด เป็ นน้ องชายของอิมามฮะซัน ท่านศาสดามุฮมั มัด (ศ็อลฯ) มีความยินดีในการเกิดมาของท่านอิมามฮุเซน อย่างยิ่ง ท่านศาสดาเมื่อทราบข่าวการถือก�ำเนิดของ หลานคนนี ้ ท่านได้ รีบไปที่บ้านของฟาฏิมะฮ์บตุ รสาว 70 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

ของท่านทันที เพือ่ อวยพรให้ แก่นางในการคลอดบุตรคน ใหม่ ท่านศาสดามุฮมั มัด(ศ็อลฯ)ผู้เป็ นตาได้ อะซานทีห่ ู ขวาและอิกอมะฮ์ทหี่ ซู ้ าย และตังชื ้ อ่ เรียกท่านว่า “ฮูเซน” ท่านศาสดามุฮมั มัด (ศ็อลฯ) ได้ กล่าวว่า “ฮูเซนนันมาจากฉั ้ นและฉันก็มาจากฮูเซน เขา คืออิมามบุตรของอิมาม เชื ้อสายของเขาเก้ าคนจะเป็ น อิมามคนสุดท้ ายในหมูพ่ วกเขา ได้ แก่ อัล มะฮ์ดี ซึง่ เขา จะมาปรากฏในยุคสุดท้ าย เขาจะท�ำให้ แผ่นดินเต็มไป ด้ วยความเที่ยงธรรมและยุติธรรมหลังจากที่มนั เคยถูก ท�ำให้ เต็มไปด้ วยความอธรรมและความเลวร้ าย” อุดมการณ์ ของอิมามฮูเซน (อ.) อิมามฮูเซน ประกาศการคัดค้ านการให้ สตั ยาบัน ต่อยะซีดและได้ ต่อสู้ต่อต้ านผู้ปกครองในสมัยนันโดย ้ ยึดหลักการต่อสู้ตามค�ำสอนของอิสลาม ดังที่ท่านอิ มามฮูเซน (อ.) ได้ กล่าวไว้ ในค�ำสัง่ เสียต่อน้ องชาย (ต่าง มารดา) ของท่านคือ มุฮมั มัด บินฮะนีฟะฮ์ ว่า “แท้ จริ ง ฉันมิได้ ออก(เดินทาง)ไปในฐานะผู้ก่อ ความเสียหายและผู้อธรรม หากแต่ฉันออกไปเพียง เพื่อเรี ยกร้ องให้ มีการแก้ ไขปรับปรุ งในประชาชาติแห่ง ท่านตาของฉัน ฉันต้ องการจะสัง่ สอนในเรื่ องคุณธรรม และยับยังห้ ้ ามปรามจากสิง่ ชัว่ ร้ าย และฉันจะเดินตาม


แนวทางของท่านตาของฉันและของบิดาของฉัน อะลี อิบนิ อบีฏอลิบ (อ.)” อิมามฮูเซน(อ)ในวันอาชูรออ์ ในวันที่ 10 มุฮรั รอมท่ามกลางความร้ อนระอุใน ทะเลทรายแห่งแผ่นดินกัรบาลาห์ อิมามฮูเซน (อ.) ได้ ตักเตือนประชาชน และเรี ยกร้ องให้ พวกเขาเกรงกลัว ต่อบทลงโทษอันเกิดจากการกระท�ำของพวกเขา ดังนี ้ว่า “ประชาชนทังหลาย ้ พวกท่านจงสืบสาวดูซวิ า่ ฉัน คือใคร แล้ วจงย้ อนกลับไปต�ำหนิตวั พวกท่านเอง จง ตรึกตรองดูซวิ า่ การฆ่าฉันและการท�ำลายล้ างเกียรติยศ ของฉัน เป็ นที่ยนิ ยอมแก่พวกท่านกระนันหรื ้ อ? ฉันมิใช่ บุตรของลูกสาวศาสดาของพวกท่านดอกหรือ? มิใช่บตุ ร ของทายาทของท่านศาสดาและบุตรของลุงของท่าน ศาสดา ซึง่ เป็ นผู้ศรัทธาต่ออัลลอฮ์และเชื่อถือต่อศาสน ทูตของพระองค์เป็ นคนแรกดอกหรื อ? หรื อว่าฮัมซะฮ์ ประมุขของบรรดาผู้พลีชีวิตมิได้ เป็ นท่านอาของบิดา ของฉัน? หรื อว่าญะอ์ฟัร อัฏ ฏ็อยยาร มิได้ เป็ นลุงของ ฉัน? ค�ำสอนของท่านศาสดาในเรื่ องของฉันและพี่ชาย ของฉันยังไม่เป็ นที่ล่วงรู้ ส�ำหรับพวกท่านอีกหรื อ ที่ว่า เราสองคนนี ้คือประมุขของของชายหนุม่ ชาวสวรรค์?”

พวกเขากล่าวแก่อิมามฮูเซน (อ.) ว่า “จงให้ สตั ยาบันแก่ยะซีดเหมือนกับพี่พวกเขาให้ สัตยาบันไปแล้ วเถิด” อิมามฮูเซน (อ.) ตอบอย่างแข็งกร้ าวว่า “ไม่เด็ด ขาด ขอสาบานต่ออัลลฮ์ฉันจะไม่ยื่นมือของฉันให้ แก่ พวกเขาด้ วนการยื่นให้ อย่างต�ำ่ ต้ อย และฉันจะไม่วงิ่ หนี เหมือนอย่างการวิ่งหนีของบ่าวไพร่” อุมรั อิบนิ สะอัดแม่ทพั ของทหารฝ่ ายยะซีดได้ ออกค�ำสัง่ ให้ โจมตีคา่ ยของฮูเซน (อ.) และเกิดการปะทะ กันขึ ้น ท�ำให้ มผี ้ พู ลีชพี และล้ มตายไปจ�ำนวนมากและยัง เหลืออยู่กบั อิมามฮุเซน(อ)เพียงจ�ำนวนน้ อย ทังสหาย ้ ธรรมและสมาชิกในครอบครัว ในที่สดุ พวกเขาได้ ก้าว ออกไปสูค่ วามตายคนแล้ วคนเล่า ด้ วยความกล้ าหาญ และทรหดโดยไม่ร้ ูสกึ หวาดกลัวเลย เมื่อสหายและสมาชิกครอบครัวของฮูเซนพลีชีพ ไปหมดแล้ ว ยังคงเหลือแต่อมิ ามฮูเซนเพียงผู้เดียว ท่าน ได้ กล่าวอ�ำลาครอบครัว และก�ำชับให้ พวกเขาอดทน และหนักแน่นในหนทางของอัลลอฮ์ หลังจากนันท่ ้ าน ได้ ขี่ม้ามุ่งหน้ าออกไปต่อสู้กบั ทหารจ�ำนวนหลายหมื่น คน โดยล�ำพังเพียงผู้เดียว จนกระทัง่ ในที่สดุ ท่านได้

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 71


รับชะฮีดในสภาพที่นอนอยู่บนกองเลือดบนพื ้นทราย อย่างโดดเดี่ยว โดยศรี ษะถูกตัดออก เพื่อน�ำไปมอบให้ ยะซีด “อิบนุ สะอัด” ไม่หยุดยังเพี ้ ยงการสังหารอิมามฮู เซนเท่านัน้ หากแต่เขายังได้ สงั่ ให้ ทหารบางคน เหยียบ ย�่ำร่างกายของท่านอิมามฮุเซน(อ) โดยพวกเขาควบม้ า จ�ำนวนสิบตัวเข้ าบดขยีร้ ่ างของอิมามฮูเซนจนแหลก เหลวไม่มีชิ ้นดี หลังจากนัน้ “อิบนุ สะอัด” ได้ สงั่ ให้ จดุ ไฟเผาค่าย ที่พกั ของอิมามฮูเซนหลังจากได้ บกุ เข้ าไปจับตัวเด็กๆ และสตรี เป็ นเชลย แล้ วน�ำไปยังเมืองกูฟะฮ์ ในจ�ำนวน คนเหล่านันมี ้ ท่านหญิงซัยนับบุตรของอิมามอะลี (อ.) (น้ องสาวอิมามฮุเซน) และอิมามซัยนุลอาบิดีน บุตร ชายของอิมามฮูเซน (อ.) ท่านหญิงซัยนับได้ เดินไปค้ นหาศพของอิมามฮู เซนผู้เป็ นพี่ชายอย่างกล้ าหาญ ท่านได้ วางมือลงใต้ ร่าง อันบริ สทุ ธิ์แล้ วแหงนหน้ าขึ ้นสู้ท้องฟ้า แล้ วกล่าวด้ วย ความนบนอบว่า “โอ้ พระเจ้ า โปรดรับการอุทิศพลีเพื่อ แสวงหาความใกล้ ชิดอันนี ้จากเราด้ วยเถิด” ท�ำไมต้ องร�ำลึกถึงอิมามฮูเซน(อ.) ? อิมามฮูเซน มอบทุกสิง่ ที่ทา่ นมีอยูใ่ นครอบครอง เพือ่ เกียรติยศของอิสลามและมุสลิม ท่านได้ มอบบรรดา เด็กๆ สตรี และสหายของท่านเพื่อหนทางของพระเจ้ า หลังจากนันก็ ้ มอบตัวเองไปในหนทางของอัลลอฮ์ อิ มามฮูเซนได้ สอนคนทัง้ หลายให้ เรี ยนรู้ เรื่ องการต่อสู้ ต่อต้ านความอยุติธรรมและความเสียหายรวมถึงการ กดขี่ทกุ รู ปแบบ ท่านได้ ใช้ เวลาในช่วงสุดท้ ายในชีวิต ของท่านอ่านอัล กุรอาน และท�ำนมาซเพื่ออัลลอฮ์ แม้ กระทัง่ ในเวลาที่อยูก่ ลางสมรภูมิ ท่านได้ ขอเวลาพักรบ จากศัตรู เพื่อนมาซ อิมามฮูเซนได้ ท�ำนมาซกับสหาย ของท่าน ในขณะที่ดอกธนูพงุ่ เข้ าใส่พวกพ้ องของฮุเซน ประดุจห่าฝน การต่อสู้ของอิมามฮูเซน มีขึ ้นเพื่ออิสลามและ อยู่ในหนทางของอัลลอฮ์ ด้ วยเหตุนี ้มุสลิมจึงร� ำลึกถึง อิมามฮูเซนอยู่เสมอ พวกเขาร� ำลึกถึงด้ วยความเศร้ า

72 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

โศกกับวันอาชูรอของเหยื่อสังหารเหล่านัน้ เพราะบนีอุ มัยยะฮ์ได้ กอ่ การอาชญากรรมและเข่นฆ่าลูกหลานของ ท่านศาสดาและบุคคลผู้มีความเป็ นเลิศในหมู่มสุ ลิม อิมามฮูเซนมีชีวิตอยู่ 57 ปี ได้ ถกู สังหารในปี ฮ.ศ.ที่61 ท่านได้ ใช้ ช่วงเวลาเหล่านัน้ ไปในการกระท�ำความดี และรับใช้ มวลมนุษย์ การร� ำลึกถึงท่านอิมามฮุเซน คือ การร� ำลึกถึงบุคคลแห่งพระเจ้ า ดังที่อลั กุรอานได้ กล่าว ถึงการร� ำลึกถึงเหตุการณ์และเรื่ องราวที่เป็ นอุทาหรณ์ คติสอนใจ เพื่อจะได้ ข้อคิดและทางน�ำ ดังนี ้ อัล-กุรอาน: “จงเล่าเรื่ องราวเหล่านันเถิ ้ ด เพื่อหวังว่าพวกเขา จะใช้ ปัญญาไตร่ตรอง”(บทอัลอะร็ อฟ โองการที่ 176) “โดยแน่นอนยิ่ง ในเรื่ องราวของพวกเขานัน้ เป็ น บทเรียนส�ำหรับผู้มสี ติปัญญา มิได้ เป็ นเรื่องราวทีถ่ กู ปั น้ แต่งขึ ้น แต่วา่ เป็ นการยืนยันความจริงทีอ่ ยูห่ น้ าพวกเขา และเป็ นการแจกแจงทุกสิง่ ทุกอย่าง และเป็ นการชี ้ทาง ที่ถกู ต้ อง และเป็ นความเมตตาแก่หมูช่ นผู้ศรัทธา”(บท ยูซฟุ โองการที่ 111) วันอาชูรออ์ กับสังคมมุสลิม วันที่ 10 เดือนมุฮรั รอมถูกเรี ยกว่า”วันอาชูรออ์” โดยปกติแล้ ววันนี ้มิได้ มีพธิ ีการ ร� ำลึกถึงผู้ใดมาก่อน ต่อ มาเมื่ออิมามฮูเซน (อ.) ได้ พลีชีพและเสียชีวิตในวันอา ชูรออ์ ในฮิจเราะฮ์ ศักราชที่ 61 มุสลิมจึงถือเป็ นวันจัด พิธีที่ยงิ่ ใหญ่วนั หนึง่ ในทุกหนแห่งพวกเขาจะจัดประชุม เพื่อแสดงความเสียใจและร้ องไห้ แด่บรรดาผู้พลีชีพใน เหตุการณ์ ณ แผ่นกัรบะลาอ์ กัรบะลาอ์คือดินแดนทะเลทราย ที่ไม่เคยมีผ้ ใู ด พ�ำนักอาศัยอยู่นนั่ เลย แต่แล้ วเมื่อวันเวลาผ่านพ้ นไป มันก็ได้ กลายเป็ นเมืองขนาดใหญ่ ซึง่ เป็ นศูนย์กลางใน ด้ านต่างๆ ทังวิ ้ ชาความรู้และศาสนา ตังอยู ้ ใ่ นดินแดน ประเทศอิรัก ประเทศอี ยิ ป ต์ ในช่ ว งการปกครองของ“รา ชวงศ์ ฟาฏิมียะฮ์ ” ได้ ประกาศให้ วันอาชูรออ์ เป็ นวัน โศกเศร้ าวันหนึง่ ในรอบปี และเป็ นวันหยุดราชการ และ


บรรดาร้ านค้ าในตลาดต่างปิ ดเพื่อให้ ประชาชนได้ ไป ชุมนุมร่ วมกันที่สสุ านของท่านหญิ งซัยนับ เพื่อจะได้ มีการร้ องไห้ และร� ำลึกถึงโศกนาฏกรรมแห่งกัรบะลาอ์ และในประเทศอิหร่าน รัชสมัยการปกครองของอัด ดัย ละมีย์ ได้ มีค�ำสัง่ ประกาศให้ อาชูรอเป็ นวันหยุดราชการ ทัว่ ประเทศ จวบจนถึงปั จจุบนั ด้ วยเหตุนี ้บรรดามุสลิม ต่างได้ ร่วมกันท�ำพิธีในวันอาชูรออ์ ทังในประเทศอี ้ ยปิ ต์ อิหร่าน อิรัก อินเดีย และประเทศอื่นๆที่นบั ถือศาสนา อิสลาม การร� ำลึกถึงวันอาชูรออ์ยงั คงเป็ นเรื่ องที่ด�ำเนิน อยูต่ อ่ ไปปี แล้ วปี เล่า ในประเทศอิหร่ าน ประชาชนได้ ท�ำความเข้ าใจกับการพลีอทุ ิศของอิมามฮูเซน (อ.) จน มีการปฏิวตั ิครัง้ ใหญ่ล้มล้ างระบอบการปกครองของ กษัตริ ย์ชาห์ และได้ สถาปนาระบอบการปกครองแบบ อิสลามขึ ้นมา โดยท่านอายาตุลลอฮ์ โคมัยนี ผู้น�ำแห่ งการปฎิวตั ิ อาชูรออ์ พิธีไว้ อาลัยอิมามฮุเซน(อ) ชาวชี อ ะฮ์ ไ ว้ อ าลัย อิ ม ามฮุ เ ซน(อ)และร� ำ ลึ ก โศกนาฏกรรมดังกล่าว ทุก ๆ วันที่ 10 มุฮรั รอม ที่เรี ยก ว่า วันอาชูรออ์ และการไว้ อาลัยสิบวันแรกของเดือน มุฮรั รอมของแขกเจ้ าเซ็นในประเทศไทยเป็ นที่ร้ ู จกั กัน มาตังแต่ ้ สมัยกรุงศรี อยุธยา เหตุการณ์ ของการสังหารหมู่ที่เกิดกับอิมามฮุ เซน(อ)และลูกหลาน ณ แผ่นดินกัรบาลาห์ ซึง่ ถือว่าเป็ น

โศกนาฏกรรมครัง้ ใหญ่แห่งหน้ าประวัติศาสตร์ อิสลาม จึงเป็ นที่มาของพฤติกรรมดังที่เรี ยกว่า “พิธีมะห่าหร�่ ำ” ซึ่งเป็ นพิธีที่ชีอะฮ์ ชนจัดขึน้ ทุกๆปี ของเดือนมุฮัรรอม อันเป็ นเดือนแรกของปฏิทินอิสลาม โดยจัดพิธีกรรม ต่อเนื่องเป็ นเวลา 10 วัน นับตังแต่ ้ วนั แรกของเดือน ส่ว นหนึ่ง ของพิ ธี ม ะห่า หร�่ ำ ประกอบไปด้ ว ยการเล่า ประวัตศิ าสตร์ อสิ ลามของศาสดามุฮมั มัดและบรรดาลูก หลานของศาสดาในมิตขิ องการต่อสู้กบั ความอยุตธิ รรม ประกอบการขับร� ำพันและอ่านบทล�ำน�ำถึงการสูญเสีย ชีวิตของอิม่ามฮูเซนและบริ วาร เพื่อแสดงออกถึงการ ไว้ อาลัย สมัยกรุงศรี อยุธยามีชาวเปอร์ เซีย ( Persian ) หรือแขกเปอร์ เซียเป็ นส่วนใหญ่ได้ ทำ� พิธีอาชูรออ์ เพราะ แขกกลุม่ นี ้เป็ นผู้น�ำแบบแผนนิกายชีอะฮ์ (Shi’ite) รวม ทังพิ ้ ธีกรรมของตนเข้ าสูส่ งั คมไทยในช่วงเวลานัน้ สังคม ไทยในสมัยนัน้ รั บรู้ อัตลักษณ์ ของมุสลิมนิกายชีอะฮ์ เป็ นอย่างดี เพราะว่าในสมัยท่านเฉกอะหมัด กูมี ได้ รับ โปรดเกล้ าเป็ นพระยาจุฬาราชมนตรี คนแรกของมุสลิม ชาวไทย ท่านเฉกอะหมัด กูมีได้ น�ำพิธีมะห่าร่อม หรื อ การร� ำลึกถึงอิมามฮุเซนในวันอาชูรอมาถือปฎิบตั ิทกุ ปี และเป็ นอัตลักษณ์ของมุสลิมชีอะฮ์มาแต่ในอดีตสมัย โดยไม่มีความขัดแย้ งหรื อวิพาททางหลักคิดค�ำสอน ใดๆเพราะสังคมไทยตังแต่ ้ อดีตเป็ นสังคมพหุวฒ ั นธรรม ด�ำรงอยู่กบั ความหลากหลายทังด้ ้ าน ศาสนา ภาษา วัฒนธรรมความเชื่อ จึงท�ำให้ มสุ ลิมนิกายชีอะฮ์และ พิธีมะห่าหร�่ ำเป็ นที่ร้ ู จกั คุ้นเคยกันคนพื ้นที่และท้ องถิ่น ในประเทศไทยมาช้ านาน พิธีกรรมที่ผ้ ูคนในสังคมอยุธยาเรี ยกว่า พิธีมะ ห่าหร�่ ำถูกบันทึกโดยชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ ามาและ พบเห็นพิธีกรรมของคนกลุม่ นี ้ได้ บนั ทึกตามความเข้ าใจ ของตนเป็ นส�ำคัญส่วนใหญ่มกั กล่าวโดยรวมตามทัศน ของตน เช่นกล่าวว่าเป็ นพิธีของพวกมะหะหมัดเป็ นการ เล่าเรื่ องเหตุการณ์ ให้ เห็นถึงภาพลักษณ์ ของพิธีกรรม ในลักษณะของรู ปแบบการจัดงานไว้ อาลัยแก่อิมามฮุ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 73


ขึ ้นเป็ นออกญาบวรราชนายกจางวางกรมมหาดไทย(อ้ งอิงจาก พิธีเจ้ าเซน(อาชูรอ) : อัตลักษณ์และการธ�ำรง ชาติพนั ธุ์ของมุสลิมนิกายชีอะห์ในสังคมไทย โดย นาย ธีรนันท์ ช่วงพิชิต ปี 2551)

เซน(อ) เฉกอะหมัด กูมใี นฐานะผู้นำ� กลุม่ ชนมุสลิมนิกาย ชีอะฮ์ ได้ น�ำพิธีกรรมมะห่าหร�่ ำหรื อพิธีร�ำลึกไว้ อาลัย ในวันอาชูรออ์ ท่านได้ เดินทางเข้ ายังอยุธยาในสถานะ พ่อค้ าวานิช เฉกอะหมัดผู้นี ้ได้ ท�ำการค้ าอยู่ในสังคม อยุธยาจนรุ่งเรื องตลอดจนมีโอกาสช่วยปรึกษาราชการ งานบ้ านเมืองที่เกี่ ยวกับการค้ าขายและการเดินเรื อ กับราชส�ำนักสยามตลอดจนให้ ค�ำปรึ กษาด้ านการอยู่ ร่ วมกันอย่างสันติในสังคมแบบพหุวฒ ั นธรรม ส่งผล ให้ ประชาชนชาวสยามมีวฒ ั นธรรมที่ดีตอ่ กันและเรี ยน รู้ การอยู่ร่วมกันในท่ามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรมและประเพณีและยังส่งผลให้ การค้ าของราช ส�ำนักอยุธยาเจริ ญขึ ้นตามล�ำดับ ต่ อ มาเฉกอะหมัด ได้ โ อกาสเลื่ อ นฐานะภาพ ขึ ้นเป็ นขุนนางในแผ่นดินของพระเจ้ าทรงธรรม (พ.ศ. 2153-2177 ) พระองค์โปรดเกล้ าฯ แต่งตังแขกผู ้ ้ นี ้เป็ น ออกญาเฉกอะหมัดรัตนราชเศรษฐี เจ้ ากรมท่าขวาและ ต�ำแหน่งจุฬาราชมนตรี ในแผ่นดินของพระเจ้ าปราสาท ทอง (พ.ศ. 2172-2199 ) และทรงโปรดเกล้ า ฯให้ เลื่อน

74 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

อาชูรออ์คือสัญลักษณ์ แห่งการต่อสู้กบั ความอ ยุตธิ รรม เหตุการณ์แห่งวันอาชูรออ์และประวัติศาสตร์ แห่งการต่อสู้ ณ แผ่นดินกัรบาลาห์มีสองมุมที่ควรแก่ การศึกษาและท�ำความเข้ าใจ มุมหนึ่งเป็ นมุมสีขาว เป็ นมุมของความสวยงามเป็ นมิตแิ ห่งแสงสว่างส่องทาง น�ำ เป็ นการฉายภาพของการเสียสละและการปกป้อง เกียรติยศและศักดิ์ศรี และการแสดงออกถึงความจงรัก ภักดีตอ่ พระผู้เป็ นเจ้ า ส่วนอีกมุมหนึง่ เป็ นมุมสีด�ำ เป็ น ความมืดทางจิตวิญญาณของอีกฝ่ ายหนึ่ง นัน่ คือเป็ น มุมมืดและมุมสีด�ำ เป็ นการส�ำแดงออกถึงการเข่นฆ่า และการสังหารหมู่อย่างโหดเหีย้ มที่มิอาจจะเปรี ยบ กับเหตุการณ์ใดๆได้ ดังนันจงแสวงหาความขาว ้ ใน ท่ามกลางความด�ำนัน้ แล้ วจะประจักษ์ ถึงความงาม แห่งการพลี และความงดงามของเสียสละ ประวัติศาสตร์ ที่เป็ นมุมมืดและมุมสีด�ำ คือการ เข่นฆ่าและการสังหารหมูล่ กู หลานศาสดา(ศ)อย่างโหด เหี ้ยมที่มิอาจจะเปรี ยบกับเหตุการณ์ใดๆได้ และถ้ าจะ วิเคราะห์ผา่ นประวัตศิ าสตร์ ในช่วงเวลานัน้ จะพบว่าชัว่ ร้ ายของฝ่ ายตรงกันข้ ามได้ กระท�ำอย่างโหดเหี ้ยม เกือบ จะไม่เชื่อว่าจะเป็ นไปได้ กบั ความเลวร้ ายนันว่ ้ าจะเกิด ขึ ้นจริงในโลกใบนี ้ เพราะเป็ นมิตขิ องการสังหารหมูแ่ ละ การเข่นฆ่าอย่างโหดเหีย้ มผิดมนุษย์ในเหตุการณ์ กัร บาลาห์ สะท้ อนให้ เห็นถึงโศกนาฎกรรมครัง้ ใหญ่และ เป็ นความโศกเศร้ าและปวดร้ าวที่สดุ เมื่อเรามองจาก มิติดงั กล่าว จะพบว่าในเหตุการณ์กรั บาลาห์ เป็ นการ ฆ่าผู้บริ สทุ ธิ์ เป็ นการสังหารเด็กหนุ่ม เป็ นการฆ่าเด็ก เล็กๆ เป็ นการกักขัง และการปิ ดล้ อมธารน� ้ำเพื่อให้ เด็ก


และสตรี หิวกระหายอย่างรุ นแรง จะเห็นภาพของสตรี และเด็กไร้ เดียงสาถูกเฆี่ยนตี ได้ น�ำเชลยขึ ้นหลังอูฐที่ ปราศจากอาน และอื่นๆ แต่ทว่าเหตุการณ์แห่งวันอาชูรอมีแค่หน้ าเดียว กระนันหรื ้ อ? และมีเพียงความโศกเศร้ าอย่างเดียวหรือ? ไม่มีมิตอิ ื่นใดๆแล้ วใช่หรื อไม่? เปล่าเลย เพราะแท้ จริ ง ประวัติศาสตร์ มีสองด้ าน และนอกจากด้ านด�ำยังมีอีก ด้ านหนึ่งเป็ นด้ านสีขาว เป็ นความงดงาม ได้ แสดงให้ เห็นถึงความเป็ นวีรบุรุษของผู้ที่เสียสละและผู้สญ ู เสีย คือท่านอิมามฮุเซน(อ) และลูกหลานของท่านพร้ อมกับ เหล่าสาวกผู้กล้ า ประวัตศิ าสตร์ ในมิตนิ ี ้ไม่ใช่ฉายภาพของการสูญ เสียหรื อของการนองเลือด แต่เป็ นมิติของการเสียสละ และการสร้ างวีรกรรม เป็ นความภาคภูมิและเกียรติยศ เป็ นแสงส่องทางน�ำ เป็ นการแสดงออกของความเป็ น อารยะบุคคล และเป็ นวิถีของคนกล้ า เป็ นการส�ำแดง ยืนหยัดอยูบ่ นอุดมการณ์ของผู้นิยมในสัจจะธรรม และ ชี ้ทางน�ำให้ เห็นว่า ใครคือบุคคลต้ นแบบ ดังค�ำด�ำรัสของ ศาสดา(ศ)ที่วา่ “แท้ จริ งฮุเซน คือดวงประทีปแห่งทางน�ำ และ

นาวาแห่งความปลอดภัย” มหาตมะคานธีกับขบวนการ ต่ อสู้ของอิมามฮุเซน จากประวัติศาสตร์ สองด้ านของอาชูรอทังด้ ้ าน ที่เป็ นโศกนาฏกรรมและด้ านการสร้ างวีรกรรม ท�ำให้ แรงผลัก ดัน และพลัง ในการขับเคลื่ อ นทัง้ ส่ว นที่ เ ป็ น ปั จเจกและส่วนที่เป็ นสังคม เป็ นแรงบันดาลใจให้ นกั สู้ทงหลาย ั้ เป็ นคติสอนแก่เหล่านักสันติวิธี เป็ นแบบ อย่างของการต่อสู้กบั ความอยุตธิ รรมและการฉ้ อฉลทัง้ หลาย ขบวนการยืนหยัดต่อสู้แห่งอาชูรออ์ คือเหตุการณ์ ประวัติศาสตร์ ที่ส�ำคัญที่สดุ หลังจากการถือก�ำเนิดของ ศาสนาอิสลาม ขบวนการยืนหยัดต่อสู้ครัง้ นี ้มีผลกระทบ ต่างๆ ที่ส�ำคัญติดตามมา ซึง่ ผลของมันในฐานะที่เป็ น วีรกรรมอันยิ่งใหญ่และเป็ นนิรันดร์ นนจะยั ั้ งคงด�ำเนิน ไปจวบจนถึงวันอวสานของโลก ขบวนการต่อสู้แห่งอาชูรอได้ สอนบทเรี ยนแห่ง ความเชื่อมัน่ ต่อศาสนา การเสียสละ ความกล้ าหาญ ความมัน่ คงเด็ดเดี่ยว การญิฮาด (ต่อสู้) ในหนทางของ พระผู้เป็ นเจ้ า การก� ำชับความดีและการห้ ามปราม ความชัว่ จิตวิญญาณในการยืนหยัดเผชิญหน้ าและการ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 75


ไม่ยอมก้ มหัวให้ กบั บรรดาผู้ปกครองผู้กดขี่ ท่านอิมามฮุ เซน(อ.)ได้ ท�ำให้ การตื่นตัวแผ่ขยายออกไปอย่างกว้ าง ขวางในหมูม่ วลมุสลิม ในความเป็ นจริงแล้ วท่านอิมามฮุ เซน(อ.)คือผู้ปลุกประชาชนให้ ตื่นตัวขึ ้นจากการหลับ ใหลและนี่คือส�ำนักคิดแห่งอาชูรอและมุฮรั ร็ อมแนวคิด ที่ยงั คงมีชีวิตอยู่ที่เป็ นแรงบันดาลใจและมีอิทธิพลต่อ การปฏิวตั ิอิสลามและขบวนการเคลื่อนไหวอื่นๆ ใน โลก อย่างเช่น กระแสการตื่นตัวในโลกอิสลามที่ก�ำลัง เกิ ดขึน้ อยู่ในขณะนี ้ คลื่นลูกใหม่ของการตื่นตัวของ อิสลามที่ได้ เกิดขึ ้นในกลุม่ ประเทศอาหรับและได้ สร้ าง ความสัน่ คลอนให้ เกิดขึ ้นกับรากฐานของระบอบการ ปกครองที่เป็ นเผด็จการและกดขี่และได้ ท�ำให้ ระบอบ การปกครองเหล่านันต้ ้ องล่มสลายลงติดตามกันไปที ละประเทศ แม้ วา่ ในสภาวะเงื่อนไขต่างๆ ในปั จจุบนั นี ้ จะเริ่ มต้ นขึ ้นจากประเทศตูนิเซียและลุกลามไปสู่ประ เทศอื่นๆ อย่างเช่น อียิปต์ ลิเบีย เยเมน บาห์เรนและ ในอีกหลายๆ ประเทศเช่น ซาอุดีอาระเบีย จอร์ แดน สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ คูเวตและประเทศอื่นๆ ซึง่ ก�ำลัง อยู่ในระหว่างการก่อตัว แต่ทว่าในความเป็ นจริ งแล้ ว ขบวนการเคลื่อนไหวและการตื่นตัวของอิสลามเหล่า นี ้ได้ รับแรงบันดาลใจจากการปฏิวตั ิอิสลามในอิหร่ าน ซึง่ เป็ นการปฏิวตั ทิ ี่ยดึ ถือแบบอย่างมาจากการยืนหยัด ต่อสู้ของท่านอิมามฮุเซน (อ.) และบรรดาผู้ช่วยเหลือ ของท่านนัน่ เอง การปฏิวตั ิและโมเดลการปกครองแบบอิสลาม ที่ ท่านอิมามโคมัยนี (ร.ฮ.) ได้ วางรากฐานไว้ นัน้ มี รากฐานที่มาจากวัฒนธรรมและค�ำสอนดังเดิมต่างๆ ของอิสลามที่มีปรากฏอยู่ในคัมภีร์อลั กุรอาน ซึ่งเป็ น ธรรมนูญแห่งการด�ำเนินชีวิตของชาวมุสลิม และยิ่งไป กว่านัน้ คือเป็ นของมวลมนุษยชาติ โดยเฉพาะอย่าง ยิ่ง ในขบวนการยืนหยัดต่อสู้แห่งอาชูรอ จ�ำนวนที่เพิ่ม มากขึ ้นของขบวนการปฏิวตั ิและการยืนหยัดต่อสู้เพื่อ เรี ยกร้ องเสรี ภาพและการปลดปล่อยทัง้ หลายที่เกิ ด ขึ ้นหลังจากปี ฮ.ศ.ที่ 61 นัน้ ล้ วนแล้ วแต่ได้ รับอิทธิพล

76 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

มาจากการขบวนการต่อสู้ในแผ่นดินกัรบาลาทัง้ สิน้ ตัวอย่างเช่น การปฏิวตั ิต่อต้ านลัทธิล่าอาณานิคมใน ประเทศอินเดียภายใต้ การน�ำของมหาตะมะคานธี ซึง่ ตัวท่านมหาตะมะคานธีได้ ยอมรับในข้ อเท็จจริ งนี ้เองที่ ว่า ท่านได้ เรี ยนรู้จากบทเรี ยนแห่งการต่อสู้และหนทาง สูอ่ ิสรภาพจากท่านอิมามฮุเซน (อ.) และขบวนการยืน หยัดต่อสู้ของท่าน ด้ วยเหตุนี ้เอง ขบวนการเคลื่อนไหว และการตื่นตัวของอิสลามที่เกิดขึ ้นในประเทศอิหร่ าน ในช่วงสามทศวรรษที่ผ่านมาและน�ำไปสูก่ ารสถาปนา รัฐอิสลาม ซึง่ ในปั จจุบนั ก�ำลังก่อตัวขึ ้นทัว่ กลุม่ ประเทศ อาหรั บ และโลกอิ ส ลาม และมี ร ากฐานที่ ม าจาก วัฒนธรรมค�ำสอนของอิสลาม โดยเฉพาะอย่างยิ่งจาก ขบวนการต่อสู้แห่งอาชูรอ และบรรดาผู้น�ำขบวนการ เคลื่อนไหวเหล่านันได้ ้ ปฏิบตั ิตามแบบอย่างของท่านอิ มามฮุเซน (อ.) และเรี ยนรู้ การยืนหยัดต่อสู้กับความ อธรรมและการกดขีจ่ ากวันอาชูรออ์และอิมามฮุเซน (อ.) ผู้น�ำของบรรดาเสรี ชนแห่งโลก ท่านมหาตมะคานธี กล่าวถึงวีรกรรมของอิมามฮุ เซนว่า.. “ข้ าพเจ้ าได้ อา่ นชีวประวัติของนักบุญฮุเซน (ผู้ พลีชีพในหนทางของพระเจ้ า) ผู้ยิ่งใหญ่อย่างละเอียด และข้ า พเจ้ า ได้ พิ จ ารณาใคร่ ค รวญประวัติ ศ าสตร์ ของเหตุการณ์แห่งกัรบาลาห์อย่างถี่ถ้วน จนเป็ นสิ่งที่ กระจ่างชัดส�ำหรับข้ าพเจ้ าแล้ วว่า หากประเทศอินเดีย ต้ องการที่จะเป็ นผู้ชนะแล้ ว จ�ำเป็ นที่จะต้ องปฏิบตั ติ าม ท่านนักบุญ(อิมาม)ฮุเซนผู้นี ้เถิด” เกือบหนึ่งปี แล้ วที่ประชาชนมุสลิมชาวอาหรับ ได้ ตื่นตัวขึน้ มาด้ วยแรงบันดาลใจจากขบวนการยื น หยัดต่อสู้แห่งอาชูรอ และพวกเขาได้ ยืนหยัดต่อสู้และ ทัดทานความต้ องการต่างๆ ที่ขดั แย้ งกับบทบัญญัติ ศาสนาและการบริ หารปกครองที่ไร้ ความชอบธรรม ของบรรดาผู้ปกครองทีช่ วั่ ร้ ายด้ วยความกล้ าหาญอย่าง แท้ จริ ง ประชาชนมุสลิมผู้ปฏิวตั ชิ าวตูนิเซีย อียิปต์และ ลิเบียได้ รับชัยชนะเหนือระบอบการปกครองต่างๆ ที่


ไม่ได้ มาจากประชาชน ในการยืนหยัดต่อสู้ของบรรดา มุส ลิ ม ในภูมิ ภ าคตะวัน ออกกลางนัน้ เราจะเห็ น ได้ ว่าเมื่อบรรดาเยาวชนและประชาชนผู้เป็ นเสรี ชนชาว ตูนิเซีย อียิปต์และลิเบีย ไม่อาจอดทนต่อการกดขี่ของ รัฐบาลและทรราชแห่งยุคสมัยของตน พวกเขาได้ ยืน หยัดขึน้ ต่อสู้กับทรราชแห่งยุคสมัยเหล่านัน้ ด้ วยมื อ เปล่า แต่ด้วยจิตวิญญาณแห่งอิสลาม และสามารถ โค่นล้ มทรราชเหล่านัน้ ลงได้ ท�ำให้ การยืนหยัดต่อสู้ ของพวกเขากลายเป็ นแบบอย่างส�ำหรับการยืนหยัด ต่อสู้ของประชาชนในประเทศอื่นๆ แม้ แต่ในยุโรปและ สหรัฐอเมริ กา ซึง่ บรรดาผู้ประท้ วงคัดค้ านในวอลสตรี ท ก็เช่นกัน พวกเขาถือว่าการยืนหยัดต่อสู้ของพวกเขา นันได้ ้ รับแรงบันดาลใจมาจากจัตรุ ัส ”อัตตะห์รีร” (แห่ง อี ยิ ป ต์ ) และพวกเขาได้ กู่ก้ อ งร้ องตะโกนและกล่า ว ซ� ำ้ ค� ำ ขวัญ แบบเดี ย วกัน และการเน้ น ย� ำ้ ของบรรดา ผู้ป ระท้ ว งในวอลสตรี ท ถึ ง ประเด็ น ที่ ว่ า พวกเขาได้ ยึดถือแบบอย่างมาจากจัตรุ ัสอัตตะห์รีรและใช้ ค�ำขวัญ (สโลแกน) ต่างๆ แบบเดียวกับที่ประชาชนในจัตุรัส อัตตะห์รีรได้ เปล่งตะโกนนัน้ เป็ นเครื่ องบ่งชี ้ถึงการรับ อิทธิพลและแบบอย่างจากขบวนการเคลื่อนไหวต่างๆ แห่งอิสลาม ซึง่ แหล่งที่มาของมันนันสามารถค้ ้ นหาได้ ในขบวนการต่อสู้แห่งอาชูรออ์ของท่านอิมามฮุเซน (อ.) มันคือการยืนหยัดต่อสู้ทมี่ ไิ ด้ จำ� กัดอยูเ่ ฉพาะส�ำหรับชาว ชีอะฮ์หรือบรรดามุสลิมเพียงเท่านัน้ แต่มนั คือแบบอย่าง ส�ำหรับบรรดาเสรี ชนในโลกทังมวล. ้

บรรณานุกรม เชคชะรี ฟ ฮาดียฺ แบบเรี ยนศาสนาอิสลามตาม แนวทางชีอะฮ เล่ม ๕ พิมพ์ สถานศึกษา ดารุลอิลม์ มูลนิธิคอู ีย์ .ปี ที่พิมพ์ ๒๕๕๒ เชคชะรีฟ อัลฮาดีย์ 2548 การก�ำเนิดส�ำนักต่างๆ ในอิสลาม กรุ งเทพฯ :ศูนย์วฒ ั นธรรมสถานเอกอัคร ราชทูต สาธารรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ประจ�ำกรุงเทพฯ นายธีรนันท์ ช่วงพิชติ ,2551 พิธีเจ้ าเซน(อาชูรอ) : อัตลักษณ์และการธ�ำรงชาติพนั ธุ์ของมุสลิมนิกายชีอะห์ ในสังคมไทย พีชวออี แปลโดย ไซม่า ซาร์ ยิด ภาพลักษณ์ ทางการเมืองของอิมาม ๑๒ พิมพ์ สถาบันศึกษาอัลกุ รอานรอซูลอัลอะอ์ซอม.ปี ที่พิมพ์ ๒๕๕๑ อยาตุลลอฮ์ ญะอ์ฟัร ซุบฮานี แปลโดย อบูอาดิ ล ชะรี ฟ อัลฮาดีย์ 2548 ชีอะฮ์ในประวัตศิ าสตร์ อิสลาม กรุงเทพฯ : The Ahl al bayt a.s World Assembly อัลลามะฮ ฎอบะฎอบาอีย์ แปลโดย เชคชะรี ฟ เกตุสมบูรณ์ 2548 ชีอะฮ์ในอิสลาม กรุงเทพฯ :สถาบัน ส่งเสริ มการศึกษาและวิจยั เกี่ยวกับอิสลาม Ayatullah Misbah Yazdi. Jami ah wa Tareek. Qom Iran : Sazman Tabliqat 1372 Ayatullah Javadi Amoli Falsafah Hukok Bashar. Qom Iran : Isra Puplication Center

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 77


เรียบเรียงโดย

ดร.ประเสริฐ สุขศาสน์กวิน

ประวัตินกั ปรัชญา

มุสลิม

ส�ำนักมัชชาอียะฮ์ อิบนุซีนา (980-1037)

ในประวัติปรัชญาอิสลาม ท่านอิบนุซีน่า ถือว่า เป็ นผู้ที่มีชื่อเสียงโด่งดังที่สดุ และนักปรัชญามุสลิมที่ ได้ มีอิทธิ พลต่อความคิดของปราชน์มสุ ลิมในยุคหลัง และนักคิดชาวตะวันตก ท่านอิบนุซนี า่ ไม่ใช่มีความโด่ง ดังในยุคของเขาเท่านัน้ แต่อิทธิพลความคิดของเขายัง คงมีอยู่ถึงปั จจุบนั ท่านอิบนุซีนา หรื อชาวตะวันเรี ยก ว่า”อเวน ชีน่า” ได้ น�ำศาสตร์ ปรัชญาอิสลามสู่ความ สมบูรณ์ สูงสุด น�ำปรั ชญาสู่ความเป็ นวิทยาการ จน ท�ำให้ ต�ำราของเขาได้ รับการยกย่องและได้ น�ำมาวิจยั และอรรถาธิบายกันอย่างกว้ างขวางในยุคต่อมาความ โดดเด่นของอิบนุซีนา ก็คือเขาได้ น�ำทฤษฎีทางปรัชญา และแนวการน�ำเสนอจะเป็ นรู ปแบบทางปรัชญามาก และเป็ นผู้ริเริ่มทฤษฎีตา่ งๆทางปรัชญาอิสลามจนท�ำให้ นักปรัชญายุคหลังได้ น�ำทฤษฎีนนมาใช้ ั้ ความยิ่งใหญ่

78 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

ของอิบนุซนี า คือได้ พสิ จู น์สงิ่ ต่างๆด้ วยปรัชญาได้ อย่าง ชัดเจนและน่าทึง่ และเขาได้ คิดค้ นทฤษฎีบางอย่างใน ปรัชญาอิสลาม จนท�ำให้ นกั ปรัชญาตะวันตก เช่น เดก าร์ ดได้ ชนื่ ชมและยอมรับทัศนะของเขา เราจะน�ำมุมมอง ทางปรัชญาอิบนุซีนา่ มากล่าวดังต่อไปนี ้ 1 ทัศนะอิบนุซีนาในเรื่ องการมีอยู่ (วุญูด) ทัศนะของอิบนุซีนาในเรื่ องการมีอยู่ และสิ่งที่มี อยู่เหมือนกับทัศนะของนักปรัชญาคนอื่นๆ กล่าวคือ อิบนุซีนา เชื่อว่า แท้ จริ งสภาวะแห่งการมีอยูท่ ี่เที่ยงแท้ ไม่พง่ึ พาสิง่ ใด มีเพียงหนึง่ เดียวคือ”วายิบลุ วุยดู ” ซึง่ เป็ น ปฐมเหตุแรกของการอยูส่ งิ่ อื่นๆ ท่านอิบนุซีนา ได้ แบ่ง ประเภทของวุญดู ออกเป็ น ๒ ลักษณะคือ ก. วาญิบลุ วุญดู เป็ นสภาวะแห่งการมีอยูท่ ี่เป็ น ตัวของตัวเอง ไม่พงึ่ พา ไม่มีขีดจ�ำกัด มีความสมบูรณ์ ที่ประการ ข. มุมกินลุ วิญดู เป็ นสภาวะแห่งการมีอยู่ที่ไม่


เป็ นตัวของตัวเอง การเกิดขึ ้นของมัน ต้ องพึง่ พายังสิ่ง อื่น มีขีดจ�ำกัด และท่านอิบนุซีนา ได้ อธิบายในเรื่ องของ การมี อยู่นนได้ ั ้ อย่างละเอียด โดยน�ำทฤษฎีทางปรัชญามา ยืนยันและพิสจู น์ ความจริ งในเรื่ องนีไ้ ว้ อย่างละเอียด และท่านอิบนุซีนา ได้ อธิบายเกี่ยวกับการก�ำเนิดของ สรรพสิง่ ในเอกภพนี ้เหมือนกับที่ท่านฟารอบีได้ อธิบาย ไว้ คือ พระองค์อลั ลอฮทรงสร้ างอักลุลเอาวัล และอัก ลุลเอาวัลสร้ างอักลุซซานี (อักล์ที่สอง) จนกระทังครบ ้ สิบ แล้ วสรรพสิง่ ต่างในโลกนี ้ได้ อบุ ตั ขิ ึ ้นจากอักล์ที่สบิ 2. อิบนุซีนากับเรื่ องพระเจ้ า ปั ญหาในเรื่ อ งพระเจ้ า ถื อว่าเป็ นเรื่ องที่ ควร ศึกษาและน� ำมาวิจัยมาก โดยเฉพาะทัศนะของนัก ปรัชญา ท่านอิบนุซีนา ได้ อธิบายในเรื่ องพระเจ้ าในต�ำรา ปรัชญาของเขาได้ อย่างดีเยี่ยมและพิสจู น์ความเป็ นเอ กะของพระเจ้ าได้ อย่างน่าทึ่งทีเดียว อิบนุซีนา กล่าว ว่า แท้ จริงพระเจ้ ามีความบริสทุ ธิ์ ไม่มสี ว่ นประกอบใดๆ

และพระเจ้ ามีความสมบูรณ์แบบในทุกด้ าน ไม่พึ่งพา และทรงเอกะ อิบนุซนี า ได้ มที ศั นะว่าแท้ จริงพระเจ้ าทรง มี และการมีนนเป็ ั ้ นการมีที่มาคู่กบั ซาตพระองค์ และ จะด�ำรงอยูต่ ลอดไปไม่มีวนั จะแยกจากกันได้ เพราะว่า การมีส�ำหรับพระองค์นนเป็ ั ้ นวาญิบ จึงเรี ยกพระองค์ ว่า ”วายิบลุ วุญดู ” และสภาวะเช่นนี ้จะไม่มีการมีใดเลย เพราะว่าสิง่ อื่นมีสภาวะเป็ นมุมกิน คือการมีของสิง่ นัน้ ต้ องพึ่งพายังอีกสิ่ง จึงเรี ยกสรรพสิ่งทังหลายว่ ้ า”มุมกิ นุนวุญดู ” อิบนุซนี าได้ พิสจู น์การมีพระเจ้ า โดยเรี ยกบท พิสจู น์นนว่ ั ้ า”บุรฮาน ซิดดิกีน” และนักวิชาการยุคหลัง ถือว่าเป็ นบุรฮาน”อิมกาน วัลวุญบู ” ดังนี ้ หนึง่ สิง่ ต่างๆที่เกิดขึ ้นมากมายนี ้ ถือว่าเป็ น สิง่ ที่มีอยูจ่ ริ ง สอง สิง่ ทีม่ อี ยูน่ ี สามารถสมมุ ้ ตฐิ านได้ ดงั นี คื้ อ สิง่ ที่มีอยูเ่ ป็ นสิง่ ที่เกิดขึ ้นด้ วยตัวมันเอง โดยไม่พงึ่ พาสิง่ ใด หรื อสภาวะการมีของมันต้ องพึง่ พาสิง่ อื่น สาม ถ้ าเรากล่าวว่า สิง่ ที่มีอยูม่ ีสภาวะที่เกิดขึ ้น มาเอง ไม่พงึ่ พาสิง่ อื่น แสดงว่ามันนันเป็ ้ นวาญิบลุ วุญู ดกันทังหมด ้ แน่นอนย่อมเป็ นไปไม่ได้ เพราะว่าวายิบุ ลวุยด สภาวะของมันเป็ นบริสทุ ธิ์ ไม่มอี งค์ประกอบ และ ไม่เป็ นสิง่ ใหม่ สี่ เมื่อสรรพสิง่ เหล่านันไม่ ้ เป็ นวายิบลุ วุยดู มันก็ เป็ นมุมกินนุ วุยดู ก็ต้องผู้ให้ ก�ำเนิด เพราะสภาวะของ ความเป็ นมุมกินต้ อนพึง่ พา ต้ องการยังปฐมเหตุ ซึง่ ต้ อง มีคณ ุ ลักษณะเป็ นวาญิบลุ วุญดู เรี ยกว่าพระเจ้ า 3. อิบนุซีนา กับเรื่ องศาสดาและวิวรณ์ ท่า นอะบูอ ะลี อิ บ นุซี น า ถื อ ว่า เรื่ อ งต� ำ แหน่ง ศาสดาและวะฮยู เป็ นเรื่ องส�ำคัญหนึ่งทางด้ านศาสน ศาสตร์ ซึง่ ด้ วยกับปั ญญาสามารถเข้ าใจได้ ด้วยกับพื ้น ฐานนันเป็ ้ นมุมมองด้ านศาสนา และท่านอิบนุซีนา ได้ พยายามทีจ่ ะสือ่ ให้ ทกุ คนเข้ าใจว่า แท้ จริงเรื่องต�ำแหน่ง ศาสดาและวะฮยูไม่ได้ เป็ นสิง่ ที่คดั ค้ านกับหลักปรัชญา เลย เพราะว่าท่านอิบนุซนี าได้ รับอิทธิพลทางแนวคิด

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 79


จากอริ สโตเติลมาก จึงนิยมไปในทางการอ้ างเหตุผล เสียในทุกๆเรื่ อง อิบนุซีนา กับปรั ชญาการเมือง อิ บ นุซี น า (Avencinna) นัก ปรั ช ญาอี ก ท่ า น หนึ่งที่ได้ น�ำเรื่ องปรั ชญาการเมืองและปรั ชญาสังคม กล่าว และชี ้แนะต่อเหล่านักปกครองทังหลายให้ ้ รับรู้ ว่า แท้ จริ งมนุษย์มีความจ�ำเป็ นต่อการมีระบอบการ ปกครองที่ดีและการมีรัฐธรรมนูญที่ถกู ต้ อง เพราะจะ สร้ างสังคมให้ มีความยุติธรรมและความมั่นคง และ การจะสถาปนาระบอบที่ดีที่สดุ (‫)النظام االحسن‬ต้ อง ผ่านการปกครองโดยผู้น�ำทรงธรรม ดังที่ศาสดาได้ มา ประกาศและปฎิบตั เิ ป็ นแบบอย่างไว้ และอิบนุสีนาได้ กล่าวอีกว่า แท้ จริ งการน�ำสังคมไปสูร่ ะบอบที่ดที ี่สดุ นัน้ จะต้ องมีกฏหมายและกฏระเบียบทีถ่ กู ต้ องมีหลักนิตริ ัฐ นิตธิ รรม และผู้นำ� ทีม่ ภี าวะผู้นำ� เท่านันจะบริ ้ หารจัดการ และบัญญัติกฏหมายนัน้ ท่านอิบนุสีนา ได้ น�ำเสนอ ทฤษฎีเกี่ยวกับผู้น�ำและภาวะผู้น�ำไว้ วา่ แท้ จริ งผู้น�ำนัน้ ท�ำหน้ าที่ปกครอง โดยน�ำหลักธรรมาภิบาลมาบริ หาร จัดการบ้ านเมือง เพื่อไปน�ำไปสูค่ วามสันติสขุ ของมวล มนุษยชาติทงปวง. ั้ อิสลามของนักปรัชญายุคต้ นๆ เช่น ท่านคินดีย์ ท่านฟารอบีย์ เนื ้อหาเกี่ยวกับญาณวิทยาทีอ่ บิ นุซนี าได้ กล่าวไว้ สามารถแยกแยะและแบ่งออกเป็ นประเด็นทางปรัชญา ได้ ดงั ต่อไปนี ้ ก. ความรู้ และความหมายและประเภทของ ความรู้ ข. เครื่ องมือของการรู้และการรู้จกั ค. จินตภาพที่เป็ นสากล ง. ความหมายของสติปัญญาและประเภทของ มัน จ. องค์ความรู้ ประเภทสัญชาตญาณและองค์ ความรู้ประเภทผัสสะ ฉ. ความรู้ในระดับจิต

80 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

ช. ความรู้ตอ่ พระเจ้ า ซ. ความรู้ตอ่ โลกสสาร ญ. ภวันต์แท้ และภวันต์ทางจินตภาพ และในประเด็ น ข้ า งต้ น เป็ นเนื อ้ หาที่ เ กี่ ย วกับ ญาณวิทยา เราจะน�ำมากล่าวแต่ละข้ อดังต่อไปนี ้ ก. ความรู้ ความหมาย และประเภทของความรู้ อิ บ นุซี น า ได้ ใ ห้ ค วามหมายของความรู้ หรื อ ทฤษฎี ความรู้ คื อ “การปรากฏภาพหนึ่ง ณ ผู้ที่ได้ สัมผัสรู้ตอ่ มัน”หมายความว่า ความรู้ คือรูปภาพหนึง่ ที่ปรากฏอยู่ในปั ญญาและสมองของมนุษย์ เป็ นภาพ ที่เกิดขึ ้นด้ วยกระบวนการของการคิดและการจินตภาพ ทางความคิด และอิบนุซีนาถือว่า อุปกรณ์ของการน�ำ ไปสูอ่ งค์ความรู้ คือปั ญญาและผัสสะ เพราะว่าความ รู้ แบ่งออกสองประเภท คือความรู้ ที่เกี่ ยวกับปั ญญา และความรู้ ที่เกี่ยวกับผัสสะ และความรู้ ยงั แบ่งออก เป็ น ความรู้ ที่เปิ ดเผยและความรู้ ที่ซ่อนเน้ น มีนยั ยะ และอิบนุซีนาเชื่อว่าระหว่างผู้มีองค์ความรู้ กับความรู้ นันแตกต่ ้ างกัน และระหว่างการเข้ าถึงความรู้ประเภท ผัสสะกับความรู้ ประเภทเหตุผลก็มีความแตกต่างกัน นัน่ หมายความว่า จะเข้ าถึงในเนื ้อแท้ ของความรู้ และ จินตภาพของความรู้ และอิบนิ สีนา่ ได้ กล่าวถึงความ แตกต่างระหว่าง ความรู้ประเภทผัสสะ ความรู้ประเภท เหตุผล และความรู้ประเภทการเดาสูม่ ว่า แท้ จริ งความ รู้ ประเภทผัสสะจะได้ รับมาจากภาพของสิ่งนันด้ ้ วยสื่อ ของประสาทสัมผัส ส่วนความรู้ประเภทการเดาสูม่ ได้ มาจากการจินตภาพแค่บางส่วนของผัสสะ ส่วนความ รู้ ประเภทเหตุผล เป็ นการเข้ าถึงองค์ความรู้ ที่เป็ นทังจิ ้ นภาพและตัวตนนัน้ อิบนุซีนาเชื่ อว่า ความรู้ ประเภทเหตุผล เป็ น ความรู้ที่ดีที่สดุ และแข็งแรงที่สดุ และอิบนุซีนาได้ เชื่อ ว่าความรู้ แบ่งออกเป็ น ก. ความประเภทการผัสสะรู้ ผ่านการเรี ยนรู้ ข.ความรู้ ประเภทการประจักษ์ ร้ ู และ ความรู้ประเภทผัสสะแบ่งออกได้ เป็ น


1. ความรู้ด้วยประสาทสัมผัส 2. ความรู้ประเภทการเดาสูม่ 3. ความรู้ประเภทเหตุผล และความรู้ประเภทผัสสะ แบ่งออกเป็ น ผัสสะภายนอกและผัสสะภายใน ดังนันมนุ ้ ษย์ จะมีองค์ความรู้ แตกต่างกัน อีกทัง้ จะมีระดับความรู้ ของแต่ละคนไม่เท่ากัน และความรู้ที่ถือว่าดีเลิศที่สดุ คือความรู้ที่ได้ มาจากเหตุผลเท่านัน้ ข. เครื่ องมือของการรู้ และการรู้ จัก อิบนิซีนาได้ กล่าวถึงที่มาหรื อเครื่ องมือของการ รับรู้และการเข้ าถึงองค์ความรู้ไว้ ต�ำราทางด้ านปรัชญา ของเขาไว้ หลายบทหลายตอนแต่เขาเชื่อว่าผัสสะกับ เหตุผ ลเท่า นัน้ ที่ จ ะเป็ นสื่ อ ในการเข้ า ถึง องค์ ค วามรู้ ส่ว นผัส สะอาจจะให้ ค วามหมายถึ ง ผัส สะทางด้ า น ภายนอกนัน่ คือด้ วยประสาทสัมผัสทังห้ ้ า และผัสสะ ภายใน นัน่ คือ จิต ดังนันเครื ้ ่ องมือในการเข้ าถึงความ รู้ คือ ประสาทสัมผัส กับสติปัญญา และอิบนุสีนา่ เชื่อ ว่า ต้ นตอเริ่ มแรกของความรู้และการเข้ าถึงความรู้นนั ้ คือผัสสะและประสบการณ์ และยังถื อว่าเป็ นระดับ ของการเข้ าถึงและการรู้ จักที่อ่อนแอที่สดุ และระดับ ต�่ำที่สดุ และประสบการณ์ ก็ยงั มีองค์ประกอบอื่นที่น�ำ ไปสูค่ วามรู้และการเข้ าถึงจินตภาพสากลของสรรพสิ่ง นัน้ ต้ องอาศัยจิตที่ผ่านประสาทสัมผัส และผัสสะจะ

ดึงเอาจินตภาพที่เป็ นส่วนย่อยเข้ ามา ส่วนจินตภาพที่ เป็ นสากล เป็ นหลักสากล อาศัยเหตุผลเป็ นตัวก�ำหนด และน�ำมันออกมา และอิบนุสีน่าเชื่ออีกว่าการสร้ าง องค์ความรู้และการเข้ าถึงองค์ความรู้ด้วยความหมาย ของสิ่งสากลและการน�ำความรู้ เพื่อพาไปยังความไม่ร้ ู มีเพียงมนุษย์เท่านันที ้ ่สามารถเข้ าถึงญาณนันได้ ้ และ อิ บนุสี น่า เชื่ อ ว่า ความรู้ กับการรู้ จัก แยกจากกัน และ แตกต่างนัน่ คือการรู้จกั เป็ นการเข้ าถึงส่วนย่อยและรับ รู้ ในรายละเอียดของมันส่วนความรู้ คือการเข้ าถึงใน ภาพรวมที่เป็ นเรื่ องสากลของสิง่ ต่างๆ ดังนันอิ ้ บนุสีนา่ ถือว่าญาณทางผัสสะ เป็ นประเภทของการรู้จกั ไม่ใช่ เป็ นความรู้ เพราะว่าเป็ นเรื่ องย่อยไม่ใช่เรื่ องสากลที่ เป็ นองค์รวม สรุ ป ในประเด็ น นี ก้ ็ คื อ ว่ า แท้ จริ ง ทฤษฎี ท าง ญาณวิทยาของอิบนุสีน่าถือว่าสติปัญญาและเหตุผล คือเครื่ องมือที่มีคณ ุ ค่าที่สดุ ของการเข้ าถึงความรู้ แต่ ผัสสะก็มีบทบาทในการเข้ าใจสิ่งต่างๆได้ ถึงแม้ ว่าจะ เป็ นการเข้ าถึงประเภทย่อยก็ตามส่วนเหตุผลเป็ นการ เข้ าถึงประเภทความรู้ ที่เป็ นสากล และสติปัญญาคือ แก่นแท้ และแกนหลักของการเข้ าใจและการั บรู้ ของ มนุษย์ ค.จินตภาพทีเ่ ป็ นสากล อิบนุซีนาได้ กล่าวว่า จินตภาพทางปั ญญาของ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 81


มนุษย์แบ่งออก ๒ ลักษณะ คือ 1. เป็ นจิ น ตภาพแบบเชิ ง เดี่ ย วหมายถึ ง การ จินตภาพของปั จเจกที่ไม่มีสิ่งใดมาเป็ นองคาพยพของ มันอีกแล้ ว เช่น การจินตภาพ นายมะฮ์ดี 2. เป็ นจิ น ตภาพแบบสากล หมายถึ ง การ จินตภาพขององค์รวมของสิง่ หนึง่ ทีเ่ ป็ นสากล โดยความ เป็ นสากลนันสามารถจะมี ้ สว่ นย่อยของมัน เช่น ค�ำว่า มนุษย์เป็ นจินตภาพแบบสากล เพราะว่า นายอาลี นา ยมะฮ์ดี เป็ นส่วนย่อยของมัน อิบนิซีนากล่าวว่าการจินตภาพเช่นนี ้จะเกิดขึ ้น ในปั ญญาและแม้ กระทัง้ พจน์ หรื อจินตภาพทางด้ าน เหตุผลก็ปรากฏอยูเ่ ช่นนันเหมื ้ อนกันและทีก่ �ำหนดสร้ าง จินตภาพทางด้ านเหตุผลมีอยูใ่ นคลังแห่งปั ญญาเท่านัน้ และอิบนุสนี า่ เชือ่ ว่าการแจกแจงของจินตภาพเชิงสากล เป็ นเนือ้ หาที่ก�ำหนดขึ ้นด้ วยเหตุผลเป็ นนามธรรมจับ ต้ องไม่ได้ นนั่ คือปั ญญาและเหตุผลเป็ นตัวแจกแจงมัน ให้ เกิดขึน้ มา แต่จะไม่ปรากฏเป็ นภาพภายนอกหรื อ โลกภายนอก สรุปคืออิบนุสนี า่ ยอมรับในเรื่ องความเป็ นสากล ของสรรพสิ่งเหมือนกับอริ สโตเติ ้ล และอิบนุสีน่ายังได้ สนับสนุนทัศนะของอริ สโตเติลและได้ ตีความให้ ราย ละเอียดในเรื่ องดังกล่าวกระจ่างมากขึ ้น ง.ความหมายของเหตุผล และประเภทของเหตุผล อิบนุซีนาได้ กล่าวถึงระดับขัน้ ของเหตุผลและ ปั ญญาของมนุษย์ ไว้ ว่ามีความแตกต่างกัน และเขา ได้ กล่าวถึงคุณลักษณะเฉพาะของแต่ละขันไว้ ้ ในต�ำรา ของเขา ส่วนจิตของมนุษย์ ก็มีส่วนร่ วมในการสรรค์ สร้ างกระบวนการทางความคิดนัน้ เพื่อให้ เกิดพลังและ กรอบแห่งความคิดขึ ้น อิบนุซนี าได้ กล่าวถึงบทบาทของ เหตุผลไว้ วา่ 1. เป็ นตัวแยกแยะว่าสิ่งไหนงดงามและสิ่งไหน น่ารังเกียจ 2. เป็ นตัวแจกแจงถึงความเป็ นสากลของสรรพ

82 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

สิง่

3. .แบ่งแยกระหว่างจินตภาพและความเป็ นตัว ตน อาตมัน 4. เหตุผลแบ่งออกเป็ นเหตุผลเชิงทฤษฎีและเหตุ ผลเชิงปฎิบตั ิ 5.เหตุผลแห่งตัวคว้ าก 6. เหตุผลเชิงซ้ อน เหตุผลเชิงอนาคต และเหตุผล ปั จจุบนั แท้ จริ งเหตุผลอนาคตเป็ นเพียงการมีสมรรถนะ และความสามารถจะรับรู้ แต่เหตุผลปั จจุบนั คือการพบ สมรรถนะนันอย่ ้ างสมบูรณ์และจิตของมนุษย์ก็มีระดับ ขันที ้ ่แตกต่างกัน เริ่ มด้ วยการคิดและการมีสมรรถนะ ทางเหตุผลและไปจบสิ ้นอยูใ่ นระดับการค้ นเจอและพบ สมรรถนะการใช้ เหตุผลเต็มร้ อย ส่วนเหตุผลเชิงทฤษฎี ก็มีแบ่งประเภทออกไปเป็ น เหตุผลต�่ำสุดประเภทสิง่ มี ชีวิต ต่อมาเหตุผลเชิงสมรรถนะ เหตุผลเชิงซ้ อน และ เหตุผลการปฎิบตั กิ าร ความสมบูรณ์พร้ อม และอิบนุ สีนา่ กล่าวว่า มนุษย์มี พลังทางด้ านการใช้ ปัญญา และ มีเหตุผลอยู่ในตัว เป็ นสัญชาตญาณบริ สทุ ธิ์ ทังสอง ้ เป็ นต้ นเหตุและตัวแปรของการรู้ถงึ จินตภาพที่เป็ นองค์ รวมและเป็ นสากล สรุปคือ แท้ จริงมนุษย์มศี กั ยภาพและมีสมรรถนะ ทางปั ญญาสูงและเป็ นสัตว์แห่งเหตุผล ด้ วยกับพลัง แห่งความคิดและการจิ นตภาพของปั ญญาจะสร้ าง ความรู้ และความเข้ าใจให้ ถูกต้ องและแม่นย�ำอีกทัง้ การรู้ และการรู้ จักเป็ นพืน้ ฐานในการเข้ าถึงเหตุแห่ง ปั จจัยทังหลายและปั ้ ญญาของมนุษย์จะเดินทางไปสู่ จุดสูงสุดนัน่ คือการค้ นพบความจริ งแท้ และความจริ ง สูงสุดของทุกๆอย่าง ส่วนจิตก็มีบทบาท ในการพัฒนา ตนไปสู่ความบริ สทุ ธิ์แห่งความสูงส่งทางจิตวิญญาณ จนสามารถน�ำความงดงามแห่งความจริ งแท้ นนมาใช้ ั้ ประโยชน์ จ. องค์ ความรู้ ประเภทสัญชาตญาณ และองค์ ความรู้ ประเภทผัสสะ


อิบนิซีนาเชื่อว่าองค์ความรู้ ทกุ อย่างของมนุษย์ และการรู้ จกั แจ้ งต่างๆนันมี ้ พื ้นฐานจากสัญชาตญาณ และถื อว่าเป็ นคุณลักษณะที่ติดตัวของมนุษย์ อิบนุสี น่าเชื่อว่าองค์ความรู้ ประเภทสัญชาตญาณเป็ นองค์ ความรู้ที่กระจ่างเข้ าใจง่ายยอมรับและเป็ นหลักเหตุผล หรื อหลักตรรกะที่พงึ เข้ าใจในตัวของมัน และการเข้ าใจ หรื อ การยอมรั บ ในเนื อ้ หาขององค์ ค วามรู้ ประเภท สัญชาตญาณ เพียงการน�ำหลักตรรกะคิดพื ้นฐานจาก ประโยคพื ้นฐานแบบปรนัยก็จะประจักษ์ ร้ ูถึงความจริ ง นันและเขากล่ ้ าวอีกว่าเสมือนเป็ นของขวัญจากพระเจ้ า หรือเป็ นพรจากพระเจ้ าทีใ่ ห้ กบั มนุษย์จนสามารถเข้ าถึง และคิดตรงกับความเป็ นจริ งนันเขากล่ ้ าวอีกว่าแท้ จริ ง องค์ความรู้ประเภทสัญชาตญาณไม่จ�ำเป็ นต้ องใช้ การ พิสจู น์เพียงแต่จดั ระเบียบทางความคิดโดยกลัน่ กรอง ออกมาเป็ นรู ปประโยคที่สมบูรณ์ ก็จะเข้ าใจถึงเนื ้อหา ความจริ งของเรื่ องนันๆได้ ้ เช่นในเรื่ องความเป็ นไปไม่ ได้ ของสิง่ ที่ขนานกันจะมาบรรจบเจอกัน ซึง่ การคิดและ การใช้ ตรรกะนี ้เป็ นเรื่ องของความจริงทางเหตุผล ถึงแม้ ว่าจะปฎิเสธทางวาจาหรื อทางตัวอักษรได้ ก็ตาม และอิ บนุ สีนา่ กล่าวอีกว่า ถ้ าสมองของมนุษย์เกิดพิการหรื อ เป็ นโรค ก็จะเกิดความสงสัยในสิง่ ทีเ่ ป็ นองค์ความรู้ด้าน สัญชาตญาณก็เป็ นได้ และถ้ าปั ญญาหรื อเหตุผลของผู้ ใดที่ได้ สนับสนุนหลักคิดที่เป็ นโมฆะทางเหตุผล ถือว่า เขาผู้นัน้ เป็ นคนป่ วยไข้ ทางปั ญญานั่นเอง และการ รู้จกั ตัวเอง ด้ วยทางจิต นัน่ คือการรู้จกั ตนเองด้ วยองค์ ความรู้ ที่ปรากฏอยู่ภายใน ดังนันถ้ ้ าตนไม่ร้ ู จกั ตัวของ ตนเอง ถือว่าเขาผู้นนเป็ ั ้ นไรคไปแล้ ว อีกทังเขาจะรู ้ ้ คน อื่นได้ อย่างไรเมื่อตัวเองเขาก็ไม่ร้ ูจกั สรุ ป อิ บ นุซี น าเชื่ อ ว่า องค์ ค วามรู้ ประเภทสัญ ชาต ญาณและธรรมชาติของมนุษย์ เป็ นพื ้นฐานที่แข็งแกร่ง ที่สดุ ของความรู้ นนั ้ และเป็ นปฐมขององค์ความรู้ อื่นๆ ของมนุษย์ ถ้ าไม่มีองค์ความรู้ ประเภทสัญชาตญาณ มนุษย์ไม่สามารถจะจินตภาพใดๆได้ และเขาเชื่ออีก

ว่าสิ่งที่เกิดขึ ้นดังกล่าวส�ำหรับมนุษย์ถือว่าเป็ นพรหนึง่ จากพระเจ้ า และการรับรู้ และการเข้ าใจอย่างถูกต้ อง และแม่นย�ำ ดังนันเหตุ ้ ผลไม่มีวนั ผิดพลาดและไม่เกิด ความลังเลหรื อสงสัยต่อสิง่ ที่มนั ได้ ตดั สินไป ส่วนความ มัน่ ใจและการศรัทธาจะตรงกับความเป็ นจริ งของมัน เพราะว่ากระบวนการคิดและการให้ เหตุผลนันเป็ ้ นตัว กลัน่ กรองและสร้ างหลักคิดที่ให้ ตรงกับความจริ งของ การจินตภาพและการมโนภาพนัน้ ฉ. ความรู้ ในระดับของจิตภาพ อิ บ นุ ซี น่ า ถื อ ว่า การรู้ จัก ของจิ ต ต่อ สิ่ ง ต่า งๆ เป็ นการรู้ จัก ประเภทการประจัก ษ์ ร้ ู ที่ เ กิ ด ขึ น้ โดย อัตโนมัติ ไม่ต้องผ่านสื่อกลางใดๆ และการรู้จกั ต่อจิต ของตนเอง ก็ด้วยจิตแห่งตน จะเป็ นการรู้จกั ทีม่ อี ยูต่ ลอด ไป คงที่ โดยเหตุผลที่เป็ นการประจักษ์ ร้ ูที่แม่นย�ำ ไม่ เกิดความผิดพลาดใดๆ เป็ นความรู้ และการประจักษ์

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 83


ก่อนสิง่ ใดๆ มาก่อนปรากฏทางการรู้จกั ใดๆ หมายความ ว่า ถ้ าเรากล่าวว่า เรามีความสงสัย แท้ จริ ง ค�ำว่าเรามี ความสงสัยคือความรู้หนึง่ ที่ปรากฏเกิดขึ ้นแล้ ว ณ จิต นัน้ ซึ่งมันเกิดขึ ้นก่อน และจิตของเราก็ประจักษ์ ร้ ู ถึง “ฉัน” ไว้ ก่อนแล้ ว และนัน่ คือ ภาวะทางจิตที่เกิดความรู้ ต่อตนเอง ดังนันอิ ้ บนุซีนาต้ องการจะโต้ ตอบเหล่าพวก ลัทธิซฟู ิ สม์ ลัทธิปฎิเสธความจริ งต่างๆ ซึง่ แม้ แต่ตวั เอง เขาก็ปฎิเสธว่าไม่มี ดังนันการที ้ ย่ อมรับว่าตนเองไม่ร้ ู นัน่ คือตนเองรู้นนั่ เอง ช. การรู้ จักพระเจ้ า อิ บ นุซี น าได้ น� ำ ข้ อ พิ สูจ น์ ใ นการรู้ จัก พระเจ้ า และการเข้ าถึงพระเจ้ าด้ วยหลายวิธีและหลายเหตุผล และหนึง่ จากหนทางในการเข้ าถึงพระเจ้ าและการรู้จกั พระเจ้ าคือด้ วยวิธีของพิสจู น์และอ้ างเหตุผลและอิบนุ สีนา่ ได้ นำ� เหตุผลและทฤษฎีทางปรัชญามาอ้ างอิงการมี อยูพ่ ระเจ้ าและหลักคุณานุภาพแห่งพระเจ้ าได้ อย่างน่า ทึง่ ทีเดียว ข้ อพิสจู น์หรือทฤษฎีทางปรัชญาทีโ่ ด่งดังทีส่ ดุ ในการพิสจู น์พระเจ้ าชื่อข้ อพิสจู น์แห่งบรรดาสัจจะ”(บุร ฮาน ซิดดีกีน) หรื อ ที่ร้ ูจกั ”ข้ อพิสจู น์ภวันต์แท้ และนวภ วันต์”(บุรฮานอิมกาน ว่า วุญบู ) ดังนี ้ หนึ่ง ทุก ๆสิ่ ง หรื อ ทุก สิ่ ง ที่ มี ขึน้ มานัน้ อาจจะ สมมติฐานว่า เป็ นภวันต์แท้ หรื อนวภวันต์ สอง ถ้ าเรากล่าวว่า ทังหมดคื ้ อภวันต์แท้ ย่อม เป็ นไปไม่ได้ คือ เกิดขึ ้นมาเอง ไม่พงึ่ พายังปั จจัยเหตุอ่ืน เพราะว่าภวันต์ที่เกิดขึ ้นเป็ นสิ่งใหม่ และมีภาวะพึง่ พา

84 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

ดังนันจะต้ ้ องมีภวันต์หนึง่ ภวันต์ที่อยู่ในฐานะไม่พงึ่ พา เป็ นปฐมเหตุของทุกๆสิง่ สาม ถ้ าเรากล่าวว่า ทังหมดคื ้ อ นวภวันต์ คือ มีภาวะเป็ นสิ่งใหม่ พึง่ เกิดมามาใหม่ ดังนันจะต้ ้ องพึง่ พายังภวันต์หนึ่งที่มนั ไม่ต้องพึ่งพาต่อภวันต์ใดอีกแต่ ถ้ าไม่เช่นนันจะเป็ ้ นการเข้ าสูห่ ลักที่หาจุดก�ำเนิดไม่พบ เมื่อไม่มีจดุ ก�ำเนิด ก็ไม่มีจดุ จบ ย่อมเป็ นไปไม่ได้ ใน ทางตรรกะ สี่ ดังนันจะต้ ้ องไปหยุดอยูณ ่ ภวันต์หนึง่ ซึง่ เป็ นภ วันต์แท้ ซงึ่ นัน่ คือพระเจ้ าในทฤษฎีทางปรัชญานี ้ ท�ำให้ อิบนุซนี าสามารถแก้ ปัญหาทางปรัชญาอืน่ ๆและแม้ แต่ ปั ญหาทางเทววิทยาได้ อย่างน่าทึ่งทีเดียวและถื อว่า เป็ นการเข้ าถึงแก่นแท้ แห่งภวันต์และการพิสจู น์ถึงนว ภวันต์ของสรรพสิง่ ได้ อย่างแหลมคมมาก ซ. โลกแห่ งสสาร อิบนุซนี าเชือ่ ว่าการจะประจักษ์ ตอ่ โลกแห่งสสาร นันจะต้ ้ องผ่านการพิสจู น์ด้วยเหตุผลและการใช้ หนทาง เพี ย งผัส สะอย่ า งเดี ย วไม่ ส ามารถเข้ า ถึ ง ความจริ ง ของโลกสสารได้ ทงหมดและไม่ ั้ สามารถจะพิสจู น์ด้วย หนทางของประสบการณ์ตอ่ เรื่องโลกสสารได้ แต่ต้องให้ เหตุผลและหลักปรัชญาเข้ ามาเสริมและเติมเต็ม และอิ บนุซนี าเชือ่ ว่า แก่นและเนื ้อแท้ ของเนื ้อหาแห่งโลกสสาร นัน้ สติปัญญาของมนุษย์ก็ไปไม่ถึงเกินความสามารถ ของมนุษย์ที่จะไปยังมันได้ เพราะมันเป็ นมิติด้านในแต่ สิง่ ทีเ่ หตุผลและปั ญญาเข้ าถึงคือโลกภายนอกนัน่ คือทัง้ ด้ วยการพิสจู น์หรื อการจินตภาพหรื อมโนภาพ ญ. วันต์ ทางจินตภาพ ถื อว่าเป็ นความโดดเด่นของปรั ชญาอิสลามก็ ว่าได้ ที่ได้ น�ำเรื่ อง ภวันต์ทางจินตภาพมากล่าว และ เป็ นเนื ้อหาที่นกั ปรัชญาก่อนๆนันไม่ ้ สามารถจะพิสจู น์ ได้ นัน่ หมายความว่า อิบนุซีนา ได้ พิสจู น์ทฤษฎีหนึ่ง ทางญาณวิทยา คือ การค้ นพบภวันต์ทางจินตภาพ หมายความว่า ขณะที่เราเห็นหรื อประจักษ์ ยงั สิง่ ต่างๆ บนโลกใบนี ้ เช่น เห็นไฟ เห็นน� ้ำ และอื่นๆ แท้ จริ งแล้ ว


เป็ นปรากฏของสิ่งนันเป็ ้ นรู ปธรรม และอยู่ในโลกแห่ง ความเป็ นจริ ง สัมผัสได้ จับต้ องได้ เห็นมัน และอื่นๆ และถือว่า นัน่ คือความจริ งของสรรสิ่งนัน้ ไม่ใช่มายา ในขณะเดียวกันนัน้ ก็ยงั มีภาวะหนึง่ ซึง่ เป็ นภาวะจริ ง ด้ วยเช่นกัน ไม่ใช่มายา เป็ นปรากฏของสรรพสิ่งนัน้ แต่มันอยู่ในมโนภาพหรื ออยู่ในจินตภาพของมนุษย์ เป็ นการมีอยู่จริ งไม่ใช่มายาเพียงมีความแตกต่างกับ ความมีนนกั ั ้ บโลกภายนอกในเรื่องของคุณลักษณะของ มัน เช่น เมื่อเราจินตภาพของไฟภาพนันและภวั ้ นต์นนั ้ ปรากฏจริ งในปั ญญาของเรา เพียงแต่วา่ ความร้ อนของ ไฟไม่ปรากฏ ข้ อพิสูจน์ การมีภวันต์ ทางจินตภาพ อิบนุซีนาได้ กล่ าวไว้ ดังนี้ ก. ความรู้ ไม่ใช่การเพิ่มเติมจากภายนอกที่ให ลมายังโลกภายใน แต่เป็ นภาวะของการเข้ าถึงตัวตน อาตมันของสิง่ นัน้ ข. แท้ จริ งความรู้ คือ ภาวะที่เกิดขึ ้นจากปั ญญา ที่ปรากฏของภาพหรื ออาตมันของสิง่ นันในปั ้ ญญา ดัง นันการมี ้ อยู่ของภาวะดังกล่าว คือความรู้ หนึ่ง ดังนัน้ จึงเป็ นการมีหรื อเป็ นภวันต์แห่งจินตภาพ ค.ภวันต์นนั ้ ไม่ใช่ภวันต์แบบโลกภายนอก ที่มี เนื ้อหาและคุณลักษณะสมบูรณ์ (เช่นไฟ มีความร้ อนแต่ ภวันต์ของไฟในจินตภาพจะไม่ร้อนถึงแม้ วา่ จะมีเนื ้อหา อื่นๆเหมือนกับภวันต์ภายนอกก็ตาม) บรรดานักเทววิทยามุสลิมได้ โต้ แย้ งและไม่เห็น

ด้ วยกับนักปรั ชญาในเรื่ องดังกล่าวพวกเขากล่าวแท้ จริ งภวันต์ทางจินตภาพนันไม่ ้ มีอยู่จริ ง เป็ นเพียงการ จินตภาพของมนุษย์ ไม่มีความเป็ นจริ ง หรื อเป็ นภาวะ ที่คล้ ายกับความจริ งแต่ไม่ใช่โลกแห่งความจริ งมันเป็ น มายาทางจิตและปั ญญาต่างหากอิบนุสีน่าได้ โต้ ตอบ ในประเด็นดังกล่าวไว้ น่าสนใจทีเดียวเราคงไม่มีเวลา จะกล่าวในตรงนี ้ สรุ ป การน�ำทฤษฎีทางญาณวิทยาในปรัชญาอิสลาม ของอิบนุซีนาถือว่าเป็ นปรากฏการณ์หนึ่งทางปรัชญา อิสลามถึงแม้ ว่าอิบนุซีนาจะไม่ได้ น�ำเรื่ องญาณวิทยา มากล่าวเป็ นบทหรื อเป็ นเรื่ องเฉพาะไว้ ในต� ำราของ เขาก็ตามแต่ด้วยกับประมวลเนื ้อหาทังหมดจากต� ้ ำรา ปรั ช ญาของเขาสามารถวิ จัก ษ์ ไ ด้ ว่า ญาณวิ ท ยาใน ทัศนะของอิบนุสีน่าเป็ นญาณวิทยาที่ได้ น�ำมาพิสจู น์ และสร้ างความเข้ าใจที่ดีต่อศาสตร์ ปรั ชญาอีกทัง้ ยัง ได้ เกื ้อกูลต่อปรัชญาและเทววิทยาไม่น้อยส�ำหรับโลก ปรัชญาอิสลามในยุคต่อมา (อ่านต่อฉบับหน้ า)

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 85


เรียบเรียงโดย

เชคชะรีฟ ฮาดีย์

มิติทางด้านบุคลิกภาพของ

ศาสดาแห่งอิสลาม เนือ้ หาบทความของเราคือศึกษา ค้ นคว้ าและ วิเคราะห์มิตติ า่ งๆทางบุคลิกภาพของท่านศาสดา (ศ.) บุคลิกของบุคคลหนึง่ หมายถึงวิถีคดิ และคุณสมบัตทิ าง จิตวิญญาณและคุณลักษณะต่างๆภายนอก อีกทังวิ ้ ถี ปฏิบตั ิและปฏิสมั พันธ์ ของเขากับคนอื่นๆรอบข้ าง ซึง่ คุณสมบัติเหล่านี ้จะเสริ มสร้ างเขาให้ มีลกั ษณะอันเป็ น จ�ำเพาะแตกต่างจากบุคคลอืน่ ๆในสังคม. เพือ่ จะศึกษา เรื่ องบุค ลิกภาพของมนุษ ย์ จ� ำ เป็ นอย่างยิ่ งที่ จ ะต้ อ ง พิจารนาถึงมิตทิ งหมดของบุ ั้ คลิกของบุคคลนันๆ ้ ดังนัน้ การศึกษาค้ นคว้ ามิตทิ างบุคลิกภาพของบุคคลหนึง่ คือ การด�ำเนินการเพือ่ ค้ นคว้ าในทุกๆแง่มมุ ของบุคคลทีเ่ รา ต้ องการที่จะรู้ ถึงคุณลักษณะของเขา และเพื่อที่จะให้ บทความและงานค้ นคว้ าทางวิชาการชิ ้นนี ้ครอบคลุม และสมบูรณ์จ�ำเป็ นที่จะต้ องพิจารนาบุคลิกภาพในแง่ มุมต่างๆอันหลากหลายและแตกต่างกัน แง่มมุ ต่างๆ เหล่านันก็ ้ คือคุณสมบัติตา่ งๆที่จดั เป็ นกลุม่ เฉพาะเรื่ อง ซึง่ ในที่นี ้เราเรี ยกว่า “มิต”ิ ในด้ านต่างๆของบุคคลนัน้ มิตติ ่ างๆทางบุคลิกภาพ แง่มมุ ทางบุคลิกภาพของบุคคลที่เขียนถึงเขาใน งานชิ ้นนี ้มีสี่มิตทิ ี่ส�ำคัญ มิตทิ างกาย มิตทิ างจิตใจ มิติ ทางสังคมและมิตทิ างองค์ความรู้ ต่อไปนี ้เราจะสาธยาย และชี ้แจงมิตติ า่ งๆเหล่านี ้เพื่อความชัดเจนมากยิ่งขึ ้น มิตทิ างกายภายนอก มิตินีจ้ ะน�ำเสนอเรื่ องเกี่ยวกับบุคลิกโครงสร้ าง ทางสรี ระให้ ร้ ู จกั และเรื่ องนี ้แบ่งออกเป็ นสองประการ

86 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

ย่อยคืออวัยวะวิทยาและรูปลักษณ์หน้ าตาวิทยา. ลักษณะเช่น เพศ ความสูง ความเตี ้ย วัยชรา วัยรุ่น หรื อแม้ กระทัง่ ลักษณะของเสียงและท่าทางการ เดินหรื อรู ปลักษณ์ อื่นๆในท�ำนองเดียวกันนี ้ มีความ เกี่ยวข้ องกับบุคลิกภาพทางอวัยวะวิทยา ประการที่สอง รูปลักษณ์ที่เกี่ยวพันกับลักษณะ โครงสร้ างหน้ าตาและคุณสมบัติภายนอกเช่น เป็ นคน หน้ าตาสง่างาม หรื อเป็ นคนหน้ าตาไม่ดี ไม่หล่อ ผิวด�ำ หรื อขาว สีตาและสีผม รูปทรงจมูกหรื อคิ ้วและการแต่ง กายภายนอก พูดโดยสรุ ปคือ ทุกอย่างที่เกี่ยวข้ องกับ บุคลิกภาพหน้ าตาและรูปลักษณ์ภายนอก มิตทิ างจิตใจและจริยธรรม การศึ ก ษาแง่ มุ ม ทางจิ ต ใจเกี่ ยวข้ องกั บ บุคลิกภาพทางลักษณะจิตใจและความรู้ สึกอุปนิสยั ใจคอ เช่นความอ่อนน้ อมถ่อมตน ความบริสทุ ธิ์ใจ ความ เมตตาโอบอ้ อมอารี ขันติธรรม การให้ อภัย และคุณ ลักษณะอืน่ ๆในท�ำนองเดียวกันนี ้. สิง่ ทีเ่ ป็ นประเด็นต้ อง น�ำมาพิจารนาในแง่มมุ ทางบุคลิกภาพทางด้ านจิตใจ สามารถแบ่งได้ เป็ นสองประการย่อย ประการแรกคือ บุคลิกทางจริ ยธรรมส่วนปั จเจกบุคคลและประการที่ สองคือ บุคลิกทางจริ ยธรรมครอบครัว มิตทิ างพฤติกรรมด้ านสังคม หมายถึ ง บุ ค ลิ ก ที่ แ สดงให้ รู้ จั ก ถึ ง คุ ณ สมบัติ เฉพาะทางสัง คม แบ่ ง ออกเป็ นสองประการย่ อ ย ประการแรกคือ สถานภาพทางสังคม และอีกประการ


คือ ประเภทความสัมพันธ์ทางสังคมและปฏิสมั พันธ์ตอ่ คนรอบข้ างระหว่างบุคคลและสังคม. สถานภาพชนชันทางสั ้ งคม อย่างเช่น พื ้นฐาน ครอบครั ว อาชี พ และรายได้ ระดับ การศึก ษา โสด หรื อแต่งงานแล้ ว จ�ำนวนบุตร ที่พกั อาศัย และอื่นๆ ที่เกี่ ยวข้ องกับบุคลิกต่างๆของสถานภาพทางสังคม และพฤติกรรมทางสังคมคือ รู ปแบบบุคลิกภาพทาง พฤติกรรมที่มีต่อสังคมและทัศนะคติของบุคคลอื่นๆ เกี่ ยวกับตัวเขา กล่าวอี กนัยหนึ่งคื อ วิถีปฏิ สัมพันธ์ ระหว่างทังสอง(บุ ้ คคล-สังคม) เหล่านี ้เกี่ยวข้ องกับมิติ ด้ านบุคลิกภาพทางพฤติกรรม. มิตทิ างองค์ ความรู้ และมุมมองโลกทัศน์ สิ่งที่ถือเป็ นเหตุผลหลักในความแตกต่างของ บุคลิกภาพของมนุษย์แต่ละคนคือ ลักษณะการมองของ บุคคลนันต่ ้ อภาวะการด�ำรงอยู่ของโลก สิ่งยึดเหนี่ยว และประมวลความเชื่อต่างๆของเขา. เป็ นไปไม่ได้ ที่จะ ศึกษาถึงมิติทางองค์ความรู้ ของบุคคลใดๆ นอกจาก หนทางของการศึกษาค้ นคว้ าจากค�ำพูดและผลงานทาง วิชาการที่มีอยูข่ องผู้ที่เราต้ องการจะศึกษา. การศึกษาถึงค�ำพูดอันเป็ นบุคลิกของบุคคลหนึง่ นอกจากจะได้ รับการถ่ายทอดข้ อมูลต่างๆเกี่ยวกับรู ป แบบวิถีการคิด สิง่ ที่เขายึดถือรวมทังประมวลความเชื ้ ่อ ต่างๆของเขาแล้ ว ตามความหมายของค�ำพังเพยที่วา่

“บุคคลใดก็ตามตราบใดที่เขายังสงบนิ่งอยูส่ งิ่ บกพร่อง และศิลปะของเขาก็ยงั ไม่เปิ ดเผย” มันยังถือว่าเป็ น แหล่งอ้ างอิงที่มีความมัน่ ใจและมีความเชื่อถือได้ มาก ที่สดุ ส�ำหรับการศึกษาค้ นคว้ าคุณลักษณะทังหลายอั ้ น เป็ นพื ้นฐานของบุคลิกภาพ ประเด็นส�ำคัญ ในการศึกษาค้ นคว้ ามิติต่างๆ ของบุคลิกภาพ(สรี ระ จิตใจ พฤติกรรมและองค์ความรู้) จ�ำเป็ นต้ องกระหนักอยูเ่ สมอว่า ทุกกรณีที่เกี่ยวข้ องกับ แง่มมุ ต่างๆทางบุคลิกภาพมีความสัมพันธ์ ต่อกันและ กันอย่างที่แยกออกกันไม่ได้ มิใช่วา่ แต่ละมิตติ า่ งก็เป็ น เอกเทศโดยไม่มีผลต่อกันเลย ส่วนเหตุผลส�ำคัญในการ จัดแบ่งให้ อยูใ่ นลักษณะทีเ่ ป็ นมิตทิ แี่ ตกต่างกัน เพือ่ การ ค้ นคว้ าวิจยั มากกว่า เพราะเหตุนี ้อย่าได้ มองข้ ามมิตทิ งั ้ หลายและควรแยกศึกษาแต่ละมิตอิ ย่างละเอียดถี่ถ้วน ศึกษามิตติ ่ างๆทางบุคลิกภาพ ของศาสดาแห่ งอิสลาม (ศ.) เมื่ อ พิ จ ารณาบริ บ ทที่ ไ ด้ ชี แ้ จงไปแล้ ว เราจะ ศึก ษาค้ น คว้ า วิ เ คราะห์ ถึ ง มิ ติ ต่ า งๆของบุค ลิ ก ภาพ ของท่านศาสดา (ศ.)โดยจะก� ำหนดให้ มิติต่างๆทาง บุ ค ลิ ก ภาพของท่ า นแบ่ ง เป็ นสี่ ภ าคคื อ รู ป ลัก ษณ์ ภายนอก คุณลักษณะทางจริ ยธรรม แบบฉบับทาง พฤติกรรม และประการทีส่ ค่ี อื เราจะศึกษาเกี่ยวกับองค์ ความรู้อนั ชัดเจนของท่านศาสดา (ศ.) ภาคทีห่ นึ่ง ก. โครงสร้ างรูปลักษณ์ภายนอกของท่านศาสดา (ศ.) จุด ประสงค์ จ ากรู ป ลัก ษณ์ ภ ายนอกของท่า น ศาสดา (ศ.) คือลักษณะทางสรี ระ หรื อรูปร่างหน้ าตา และสัด ส่ ว นอวัย วะต่ า งๆของท่ า น ที่ มี บัน ทึ ก ไว้ ใ น หนังสืออ้ างอิงทางประวัติศาสตร์ ทัง้ ซุนนีและชีอะห์ . จากการที่เราไม่สามารถที่จะอธิบายและวิเคราะห์รูป ลักษณ์ ของท่านได้ เองโดยปราศจากการอ้ างอิงไปยัง หนังสือประวัติศาสตร์ และหนังสือรายงานฮะดีษที่น่า เชื่อถือทังหลายได้ ้ เพราะฉะนันจ� ้ ำเป็ นต้ องอธิบายรู ป

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 87


ลักษณ์ภายนอกของท่านศาสดา (ศ.)โดยใช้ ประโยชน์ จากหนังสืออ้ างอิงเหล่านันที ้ ่มีความมัน่ ใจมากที่สดุ ซึง่ ส�ำหรับบทความนี ้เราจะน�ำเสนอพอสังเขปเท่านัน้ ใบหน้ าของท่านศาสดา (ศ.) มีใบหน้ าที่งดงาม สง่าผ่าเผย มีราศี และน่าเคารพนับถื อ ใบหน้ าของ ท่านส่องสว่างดังเช่นดวงจันท์ในคืนสิบห้ า สีผิวใบหน้ า ของท่านมีสีขาวปนแดง และ......ปราศจากรอยด่างด�ำ หน้ าผากกว้ างและส่องประกายมีลกั ษณะโหนกเล็ก น้ อยซึง่ จะดึงดูดความสนใจของผู้อื่น มีรายงานหนึ่ง ระบุวา่ จมูกของท่านศาสดา(ศ็อลฯ) บางและโด่ง. ท่าน ศาสดา(ศ็อลฯ) ตาโตและด�ำ เบ้ าตาของท่านก็ด�ำเช่น เดียวกัน. ลักษณะขนตาที่ยาวและดกเป็ นสิ่งที่แสดง ถึงความสวยงามของมนุษย์ที่พระผู้เป็ นเจ้ ามอบให้ กบั บ่าวของพระองค์. ตามรายงานทีม่ บี นั ทึกไว้ ท่านศาสดา มีขนตายาวและดก. ฟั นของท่านศาสดาเรี ยงแยกกัน อย่างสวยงามอีกทังขาวจนในขณะที ้ ่ท่านยิ ้มจะดูขาว ประหนึง่ กับไขมุข และสีขาวนันจะรี ้ บซ่อนอย่างรวดเร็ ว เหมือนกับหิมะอยูใ่ นปากของท่าน. เคราของท่านเต็ม มัส สุข องท่า นไม่ยาว. คิ ว้ ของท่า นศาสดา(ศ็อ ลฯ)ก็ เหมือนกับอวัยวะอืน่ ๆของท่านทีแ่ สดงถึงความสวยงาม ที่โดดเด่น. ในรายงานได้ บนั ทึกว่า คิ ้วของท่านศาสดา (ศ็อลฯ) แน่น บางและยาว. ผมของท่านมิได้ มีสภาพชี ้ ตรงหรื อตกและยาวจนถึงติงหู สัดส่วนอวัยวะของท่านศาสดา (ศ.) ตามพื ้นฐาน บันทึกรายงาน ท่านมีอวัยวะที่สมส่วน ไม่สงู เกินไปและ ไม่เตี ้ยเกินไป ต้ นคอของท่านศาสดาสวยมาก ไม่ยาว และไม่สนเกิ ั ้ นไป ตามรายงานได้ บนั ทึกว่า ท่านศาสดา มีไหล่กว้ างสง่าผ่าเผยซึง่ แสดงถึงผู้มีความสามารและ ร่างกายที่แข็งแกร่งของท่าน และมีหน่วยก้ านที่แข็งแรง ผนวกกับมีผวิ เนื ้อร่างกายทีแ่ ข็งแรงมากจนบางรายงาน ได้ บนั ทึกว่า เหมือนกับว่าความชรามิได้ แสดงออกมาให้ เห็นเลย ส่วนหน้ าอกของท่านตามรายงานได้ บนั ทึกไว้ อย่างนี ้ว่า ท่านศาสดา(ศ็อลฯ) มีอกกว้ าง ท้ องของท่าน กับหน้ าอกเสมอกัน ฝามือของท่านขาวสะอาดเหมือน

88 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

กับปละน� ้ำหอมไว้ เมือ่ ท่านจะชี ้ไปยังสิง่ ไดท่านจะชี ้ด้ วย มือไม่เคยแสดงสัญลักษณ์ด้วยตาหรื อคิ ้ว เท้ าของท่าน ยาวและมีกระดูก(กะละมี) เนินเท้ าของท่านมีลกั ษณะ พอเหมาะแต่มีเนื ้อหุ้มอยูน่ ้ อย ข. การแต่ งตัวภายนอกของท่ านศาสดา (ศ.) การตัดแต่งศีรษะและดูและหน้ าตา การตัดแต่ง ผมและหน้ าตาถือเป็ นงานส�ำคัญด้ านการดูแลความ สวยงามของมนุษย์ ท่านศาสดา(ศ็อลฯ)นอกจากว่าจะ ตัดแต่งผมอยูเ่ สมอแล้ วยังสัง่ เสียให้ ผ้ อู ื่นเอาใจใส่เกี่ยว กับเรื่ องนี ้อีกด้ วย อิมามอาลี (อ.) อัครสาวกคนหนึง่ ของ ท่านได้ กล่าวว่า “ท่านศาสดา (ศ.) หลังจากทีท่ า่ นหวีผม แล้ วท่านจะตกแต่งให้ ดเู รี ยบด้ วยน� ้ำ” และท่านได้ กล่าว อีกว่า “ใครที่มีผม ไม่ก็ให้ ตดั ออก หรื อไม่ก็ดแู ลรักษา ให้ เป็ นระเบียบ การดูแลศีรษะหน้ าตาให้ ดีจะเพิ่มภาพ


ลักษณ์อนั สวยงามให้ แก่มนุษย์” ท่านศาสดาได้ มองไป ยังชายผู้หนึง่ ที่มีเครายาว แล้ วกล่าวว่า “จะเป็ นอะไรไม่ ถ้ าหากว่าเขาตกแต่งเคราของเขาซะบ้ าง?” ต่อมาค�ำพูด นี ้ไปถึงหูของชายผู้นนั ้ เขาไปตัดเคราและตกแต่งอย่าง พอเหมาะไม่ยาวและไม่สนเกิ ั ้ นไป แล้ วเข้ าเยี่ยมท่าน ทันทีที่ทา่ นศาสดา(ศ็อล)เห็นหน้ าเขาได้ กล่าวว่า “ต้ อง ตกแต่งอย่างนี ้ซิ” ท่านศาสดาได้ ประกาศให้ การตกแต่ง หนวดเป็ นสิง่ ที่ควรกระท�ำอย่างยิ่ง (มุสตะฮับ) รวมทัง้ การตัดขนจมูกก็เป็ นสิ่งที่ควรปฏิบตั ิด้วยมุสตะฮับท่า นกล่วว่า “จงตัดหนวดและขนจมูกและให้ ถือว่าเรื่ องนี ้ เป็ นเรื่องจ�ำเป็ นของท่าน การกระท�ำอย่างเช่นนี ้จะท�ำให้ เจ้ าดูดมี สี ง่าราศีและภูมฐิ านยิง่ ขึ ้น” การตัดหนวดบนริม ฝี ปากในลักษณะที่แสดงให้ เห็นริมฝี ปากเผยออกมาคือ แบบฉบับของท่านศาสดา (ศ.) การย้ อมสีผมและเคราเป็ นแบบฉบับหนึ่งของ ท่านศาสดา (ศ.) ซึง่ การปฏิบตั ิมนั ท�ำให้ มนุษย์ดมู ีสง่า ตามรายงานที่มีบนั ทึกไว้ ในหนังสือประวัตศิ าสตร์ ท่าน ศาสดาได้ ย้อมสีผมและเคราของท่าน. ท่านอุนส์ บินมา ลิกได้ กล่าวว่า ฉันเห็นผมของท่านศาสดา (ศ.) ในสภาพ ที่ย้อมผมมาแล้ ว ท่านศาสดาได้ ย้อมผมของท่านด้ วย สมุนไพรชนิดหนึง่ ที่เรี ยกว่า “ฮะนา” การย้ อมสีผมหรื อ

เคราอนุญาตให้ ย้อมสีอะไรก็ได้ ไม่จ�ำเป็ นว่าต้ องเป็ น สีใดสีหนึ่งเฉพาะ เหมือนอย่างเช่นชายคนหนึ่งย้ อมสี เคราด้ วยสีเหลืองแล้ วเข้ ามาหาท่านศาสดา ท่านศาสดา กล่าวว่า “นี ้สวยนะ” ต่อมาเขาได้ มาหาท่านศาสดา (ศ.) อีกในสภาพที่ย้อมเคราสีแดง ท่านศาสดายิ ้มพร้ อมกับ กล่าวว่า “นี ้สวยกว่า” และต่อมาเมื่อหนวดเคราเปลี่ยน เป็ นสีด�ำก็เข้ ามาหาท่านศาสดาอีก ท่านศาสดากล่าว ด้ วยใบหน้ าที่ยิ ้มแก่เขาว่า “นี ้ดีกว่าทังสองสี ้ ที่ผา่ นมา”. อิมามศอดิก (อ.) ได้ กล่าวว่า “ฉันไม่ชอบที่มสุ ลิมคน หนึ่งจากโลกนีไ้ ป นอกจากว่าเขาได้ ปฏิบตั ิตามแบบ ฉบับของท่านศาสดา(ศ็อลฯ)ทังหมดแม้ ้ เพียงแค่ครัง้ เดียวก็ตาม. ท่านอิมามศอดิก (อ.) ได้ ตอบค�ำถามหนึง่ ว่า การย้ อมสีผมทังหนวดเคราและผมศี ้ รษะเป็ นแบบ ฉบับของท่านศาสดา (ศ.) ใช่หรื อไม่? ท่านตอบว่า “ใช่” การหวีผมศีรษะและหนวดเครา การตกแต่ง ศีรษะและหน้ าตาและจัดหนวดเคราและผมศีรษะให้ ดูมีระเบียบเรี ยบร้ องเป็ นสัญลักษณ์ ท่ีชดั เจนอันหนึ่ง ของการให้ ความส�ำคัญต่อแบบฉบับของอิสลาม. ท่าน ศาสดาได้ มองกระจกหวีผมตัวเอง บางครัง้ ท่านมอง ไปยังภาชนะทีมีน� ้ำแทนกระจกและตกแต่งทรงผมตัว เองและนอกเหนือจากแต่งตัวส�ำหรับสมาชิกภายใน ครอบครั ว ท่านยังแต่งตัวส�ำหรั บออกนอกบ้ านเพื่อ สังคมพี่น้องผู้ร่วมศรัทธาภายนอกด้ วย วันหนึ่งท่าน ศาสดา (ศ.) อยูใ่ นบ้ านมีคนมาเคาะประตู ก่อนที่ทา่ น ศาสดาจะไปเปิ ดประตู ท่านมองไปยังภาชนะที่มีน�ำ้ หน้ าบ้ านและตกแต่งหน้ าตาของท่านก่อน หลังจากนัน้ จึงเดินไปหาเขา แล้ วท่านกล่าวว่า “พระผู้เป็ นเจ้ าทรง รักบ่าวของพระองค์ที่เมื่อเขาออกไปหาพี่น้องของเขา เตรี ยมตัวเองหรื อแต่งตัวให้ เรี ยบร้ อยส�ำหรับพวกเขา” การสวมเสื ้อผ้ า ท่านศาสดา(ศ็อลฯ)ใช้ ชวี ติ อย่าง สมถะและเรี ยบง่ายซึง่ ในช่วงชีวติ ของท่านมิได้ แสดงให้ เห็นถึงการยึดมัน่ และหลงตามกลไกมายาแห่งโลกดุน ยา ในเรื่ องเกี่ยวกับการสวมใส่เสื ้อผ้ าก็เช่นกันท่านสวม ใส่เสื ้อผ้ าอย่างเรี ยบง่ายมากๆ แต่สาระส�ำคัญส�ำหรับ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 89


ท่านศาสดา (ศ.) คือ ความสะอาด เสื ้อผ้ าธรรมดา และ เป็ นสิง่ อนุมตั ติ ามศาสนบัญญัติ มิใช่เรื่ องของราคา เนื ้อ ผ้ า ลักษณะการเย็บหรื อเพื่อเรี ยกร้ องความสนใจจาก คนรอบข้ าง ท่านจะสวมใส่สงิ่ ที่ได้ มาอย่างถูกต้ องตาม ศาสนบัญญัติ เสื ้อผ้ าของท่านจะดูสะอาดอยูเ่ สมอ ท่าน เคยกล่าวว่า “องค์ประกอบที่สงู ส่งของผู้ศรัทธา ณ พระ ผู้เป็ นเจ้ าคือ ความสะอาดของเสื ้อผ้ าของเขา” ท่านจะ สวมเสื ้อผ้ าตามความจ�ำเป็ น. ไม่เคยใส่เสื ้อผ้ าเพือ่ ความ มีชื่อเสียงและเอาใจผู้อื่น ท่านกล่าวว่า “ใครก็ตามใน โลกนี ้ทีเ่ ขาสวมใส่เสื ้อผ้ าเพือ่ ชือ่ เสียงและต้ องการโชว์แก่ ผู้อื่น ในวันกิยามัตพระผู้เป็ นเจ้ าจะสวมเสื ้อแห่งความ ต�่ำต้ อยให้ แก่เขา.” แต่วา่ เมื่อมีกลุม่ คนคณะหนึง่ ได้ เข้ า พบท่านศาสดา ทังตั ้ วท่านเองสวมเสื ้อผ้ าที่สวยที่สดุ และยังสัง่ ให้ อคั รสาวกที่รายล้ อมท่านปฏิบตั เิ ช่นนี ้ด้ วย. สีเสื ้อผ้ า ในการสวมใส่เสื ้อผ้ าของท่านศาสดา (ศ.) ท่านยังให้ ความส�ำคัญต่อสีของมันด้ วย ท่านเลือก สีสนั หลากหลายส�ำหรับเสื ้อผ้ าตัวเอง สีเขียวเป็ นสีที่ ท่านเห็นควรส�ำหรับเสื ้อผ้ ามากที่สดุ . ท่านมีเสื ้อคลุมสี เขียวอยู่ชดุ หนึ่ง บางครัง้ ท่านพาดไว้ ที่ไหล่ของตัวเอง. แต่วา่ สีขาวเป็ นอีกสีหนึง่ ทีท่ า่ นให้ ความสนใจมาก. ตาม รายงานบันทึกต่างๆ ชี ้ว่า เสื ้อผ้ าของท่านส่วนมากมีสี ขาว ท่านกล่าวว่า “ไม่มีเสื ้อผ้ าที่สวยเท่ากับสีขาว ดัง นันพวกเจ้ ้ าจงใส่สีขาว และใครที่เสียชีวิตก็ให้ ใช้ ผ้าห่อ ศพสีขาว (กะฟั น) สีที่สวยที่สดุ ซึ่งพวกเจ้ าจะเข้ าเฝ้า พระผู้เป็ นเจ้ าคือ สีขาว” อย่างไรก็ตามท่านก็ยงั ใช้ สี 90 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

อื่นด้ วย อย่างเช่นสีเหลือง แต่ส�ำหรับสีแดงท่านศาสดา เห็นว่าไม่ควรใช้ สนี ี ้ส�ำหรับเสื ้อผ้ า และสีดำ� ก็เช่นกันท่าน ไม่ชอบสวมใส่นอกจากสามอย่างคือผ้ าพันศีรษะ เสื ้อ คลุม และร้ องเท้ า มารยาทในการสวมใส่เสื ้อผ้ า ถึงแม้ วา่ การสวม ใส่เสื ้อผ้ าจะเป็ นเรื่ องของชีวิตประจ�ำวันและเป็ นเรื่ อง ธรรมดาทัว่ ไป แต่วา่ จริ ยวัตรของตัวแทนของพระผู้เป็ น เจ้ าเหมือนอย่างที่การแต่งตัวภายนอกส�ำหรับมนุษย์มี ผลอย่างไร ในเรื่ องการสวมใส่เสื ้อผ้ าก็มีความส�ำคัญ ส�ำหรับเราเช่นนันด้ ้ วย. เมื่อไรก็ตามที่ทา่ นศาสดา (ศ.) สวมใส่เสื ้อผ้ า อันดับแรกท่านจะสวมทางขวาก่อนเสมอ และทุกครัง้ ที่ท่านถอดเสื ้อผ้ าออกจะเริ่ มจากทางด้ าน ซ้ าย. ท่านศาสดา(ศ็อลฯ)รักทีจ่ ะเริ่มท�ำงานจากข้ างขวา ก่อนแม้ กระทัง่ การสวมเสื ้อผ้ าและการถอดรองเท้ า ข้ าง ขวาจะน�ำข้ างซ้ ายและเมื่อต้ องการจะถอดรองเท้ าท่าน จะปฏิบตั ติ รงกันข้ ามกับตอนสวมใส่ อิมามศอดิก (อ.) ได้ กล่าวว่า “ท่านศาสดา (ศ.) ห้ ามมิให้ ผ้ ชู ายสวมเสื ้อผู้ หญิงและมิให้ ผ้ หู ญิงสวมเสื ้อผู้ชาย” แบบฉบับอีกอันหนึ่งของท่านศาสดา (ศ.) คือ การผันศีรษะ ไม่วา่ ในเวลาขณะท�ำพิธีทางศาสนาและ นมาซหรื อเวลาอื่น. ท่านศาสดา(ศ็อลฯ) นอกเหนื อ จากเสื ้อผ้ าที่ใช้ ปกปิ ดส่วนของร่ างกายแล้ วท่านยังใช้ อย่างอื่นอีก เช่น หมวก ผ้ าโพกศีรษะ และอื่นๆ ส�ำหรับ ปกปิ ดช่วงศีรษะ. การสวมศีรษะของท่านศาสดา ส่วน มากจะเป็ นผ้ าโพกศีรษะ(อมามะฮ์) ท่านมีผ้าสีด�ำที่ใช้ พันศีรษะและใช้ ในเวลานมาซด้ วย ผ้ าโพกศีรษะ(อะมา มะฮ์) ของท่านศาสดามีขนาดความยาวที่สามารถพัน ศีรษะได้ สามรอบ บางครัง้ ท่านวางหมวกกลมไว้ ใต้ ผ้า โพกศีรษะ(อะมามะฮ์) ด้ วย ท่านสวมหมวกกลมสีขาว. ความสะอาดและสุขอนามัย ท่านศาสดา (ศ.) ให้ ความส�ำคัญกับเรื่องสุขอนามัยและความสะอาดเป็ น อย่างยิง่ ท่านอาบน� ้ำตามความเหมาะสมและไม่ทิ ้งห่าง ตัดแต่งขนที่เพิ่มมาตามร่ างกาย ตัดเล็บและน�ำไปฝั ง. ท่านศาสดา (ศ.) ให้ ความส�ำคัญเป็ นพิเศษต่อการแปรง


สุขอนามัยต่อสิง่ แวดล้ อม ทุกครัง้ ที่ทา่ นศาสดา (ศ.) เกิดอาการไอ ท่านจะใช้ มือปิ ดปากตัวเองแล้ วไอ ค่อยๆ เมื่อหาวท่านก็จะใช้ มือของท่านปิ ดปากทันที ท่านก�ำชับเสมอว่า อย่าเก็บขยะไว้ ภายในบ้ านจนข้ าง คืน ให้ น�ำไปทิ ้งข้ างนอก..ท่านประกาศให้ การกวาดและ ท�ำความสะอาดสวนหน้ าบ้ านถือเป็ นสิ่งดี (มุสตะฮับ) การปล่อยจานค้ างไว้ ไม่ท�ำความสะอาดเป็ นสิ่งไม่ควร การปั สสาวะในแอ่งน� ้ำนิง่ เป็ นเรื่องทีน่ า่ รังเกียจทีส่ ดุ และ ก�ำชับมิให้ ประชาชนท�ำลักษณะนี ้ ฟั นและสุขอนามัยในช่องปาก ฟั นของท่านเรี ยบร้ อย และขาว อีกทังได้ ้ ก�ำชับการแปลงฟั นแก่ประชาชาติของ ท่าน ท่านกล่าวว่า “พวกเจ้ าจงดูแลท�ำความสะอาด สุข อนามัย ช่ อ งปากเพื่ อ ดับ กลิ่ น ด้ ว ยการแปลงฟั น ” การแปลงฟั นเป็ นแบบฉบับที่ดีของท่านศาสดา (ศ.) ที่ ท่านก�ำชับไว้ อย่างมากและมีการอธิบายถึงกุศลอย่าง มากมายเกี่ยวกับมัน ท่านแปลงฟั นทุกวันก่อนนอน และทุกครัง้ หลังจากตื่นนอน ท่านกล่าวว่า “การแปลง ฟั นได้ ถกู บัญชาจากพระองค์อลั ลอฮ์ถงึ ขนาดว่าฉันกลัว มันคือสิง่ จ�ำเป็ นส�ำหรับฉัน(วาญิบ) ” ท่านกล่าวแก่มวล ประชาชาติของท่านด้ วยว่า “ถ้ าหากไม่เป็ นการสร้ าง ความยากล�ำบากแก่ประชาชาติของฉัน ฉันจะสัง่ ให้ พวก เขาแปลงฟั นทุกครัง้ ก่อนเข้ าปฏิบตั ิพิธีนมาซ” การใช้ เครื่ องหอม สัญลักษณ์หนึง่ ทีแ่ สดงถึงการ เอาใจใส่ตอ่ การแต่งตัวคือการใช้ เครื่องหอมหรือสารดับ กลิ่น ซึ่งเป็ นปั จจัยที่ท�ำให้ ตวั บุคคลนันมี ้ ความสดชื่น และสร้ างบรรยากาศที่ดีให้ คนรอบข้ างไม่ให้ เกิดอาการ ร� ำคาญ. อิมามศอดิกก (อ.) กล่าวว่า “ท่านศาสนทูตแห่ งอัลลอฮ์ก่อนที่จะซื ้ออาหารเครื่ องดื่มจะซื ้อเครื่ องหอม ก่อน. ถ้ าใครมอบของขวัญแก่ทา่ นจะรับน� ้ำหอมไว้ กอ่ น ท่านกล่าวว่า “กลิ่นของมันสะอาดและพกพาสะดวก” พร้ อมกับกล่าวว่า “บ่าวที่ดีที่สดุ ของพระผู้เป็ นเจ้ าคือ กลุม่ คนที่มีกลิน่ หอม”

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 91


เรียบเรียงโดย

เชคอิมรอน พิชยั รัตน์

รูจ้ กั

คัมภีรเ์ ตารอต และอินญีล คั

มภี ร์ อันศักดิ์สิทธิ์ นีไ้ ด้ รวบรวมการบัน ทึก ต่างๆไว้ ที่ชาวคริ สต์ และชาวยิวเชื่ อว่าคือ คัมภีร์แห่งฟากฟ้าและคือคัมภีร์แห่งพระผู้เป็ นเจ้ า คัมภีร์ไบเบิล (Bible) (มาจากภาษากรี กว่า บิบลิ ออน แปลว่า หนังสือ) และที่เรี ยกกันว่า “‫( ”عهدین‬พันธ สัญญาทังสอง) ้ นันเป็ ้ นไปได้ วา่ จะเป็ นการสื่อถึงความ เชื่อของชาวคริ สต์ที่วา่ พระผู้เป็ นเจ้ ามีสองพันธสัญญา เพื่อให้ มนุษย์ได้ รอดพ้ น คือ พันธสัญญาเดิม ( The Old Testament ) {‫عهد‬ ‫ }عتیق‬คือ พระผู้เป็ นเจ้ าทรงมีพนั ธสัญญากับมนุษย์เพื่อ ให้ มนุษย์เป็ นผู้ที่รอดพ้ น นัน่ ก็คอื การยึดมัน่ ปฏิบตั ติ าม หลักศาสนากิจ (ชะรี อตั )ของพระผู้เป็ นเจ้ า และมนุษย์ จะใกล้ ชิดกับพระเจ้ าอีกทังได้ ้ รับความพอพระทัยจาก พระองค์ด้วยการปฏิบตั ติ ามหลักศาสนกิจนัน่ เอง พระผู้เป็ นเจ้ าจึงประทานคัมภีร์เตารอต ซึง่ หมาย ถึง ธรรมบัญญัติและหลักศาสนกิจ ลงมาให้ แก่ท่าน ศาสดามูซา (อ.) และพระองค์ทรงเชิญชวนให้ ชาวอิส รออีลปฏิบตั ิตามนัน้ พันธสัญญานีเ้ ริ่ มขึน้ ในยุคของ ท่านศาสดาอิบรอฮีม (อ.) และบูรณาการขึ ้นอีกครัง้ ใน 92 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

ยุคของท่านศาสดามูซา (อ.) และจบสิ ้นในยุคของท่าน ศาสดาอีซา (อ.) พันธสัญญาใหม่( The New Testament ){‫عهد‬ ‫ }جدید‬เป็ นพันธสัญญาทีพ่ ระผู้เป็ นเจ้ ามีขึ ้นหลังจากการ เกิดขึ ้นของศาสดาอีซา (อ.) และการถูกตรึงไม้ กางเขน โดยมนุษย์ จะรอดพ้ นด้ วยการเชื่อและศรั ทธาในการ เป็ นพระบุตรของศาสดาอีซา (อ.) และการถูกตรึ งไม้ กางเขนนันเพื ้ ่อถ่ายโทษผิดบาปของมนุษย์ และมนุษย์ จะรอดพ้ นด้ วยการมอบความรัก อิ น ญี ล หมายถึง การแจ้ ง ข่า วดี ซึ่ง ก็ คื อ การ ศรัทธาในพระเยซูและการถูกตรึ งไม้ กางเขนของท่าน นันคื ้ อหนทางสูก่ ารรอดพ้ น ภาคพันธสัญญาเดิม ถึงแม้ ว่าชาวคริ สต์จะเชื่อว่าพันธสัญญาเดิมจะ สิ ้นสุดลงด้ วยการมาปรากฏของท่านศาสดาอีซา (อ.) ก็ตาม แต่พวกเขายังคงมีศรัทธาต่อพันธสัญญาเดิม และถือว่าเป็ นคัมภีร์ที่น่าเชื่อถือ ศักดิ์สิทธิ์อีกทังยั ้ งน�ำ มาสาระธรรมมาใช้ ประโยชน์อีกด้ วย ทว่าพวกเขาเพียง แต่เชื่ อว่าระยะเวลาของธรรมบัญญัติที่มีอยู่ในพันธ


สัญญาเดิมนันได้ ้ สิ ้นสุดลงแล้ ว โดยถือว่าธรรมบัญญัติ ในยุคของท่านศาสดามูซา (อ.) นันเป็ ้ นการปูทางสูก่ าร มาปรากฏของท่านศาสดาอีซา (อ.) ส่วนชาวยิวนันมี ้ ความเชื่อที่แตกต่างไปจากชาว คริ สต์ พวกเขาเชื่อว่าพระผู้เป็ นเจ้ ามีพนั ธสัญญากับ มนุษย์เพียงพันธสัญญาเดียวเท่านัน้ คือ ธรรมบัญญัติ ที่มนุษย์ จะรอดพ้ นด้ วยการปฏิบตั ิตามธรรมบัญญัติ เท่านัน้ พวกเขาจึงเชื่อในพันธสัญญาเดิมเท่านัน้ พันธสัญญาเดิมนันมี ้ 2 ต้ นฉบับที่มีความแตก ต่างกัน ซึง่ ต้ นฉบับเดิมของพันธสัญญาเดิมถูกบันทึก ไว้ เป็ นภาษาฮิบรู ส่วนอีกฉบับหนึง่ ถูกบันทึกเป็ นภาษา กรี กซึง่ แปลจากฉบับเดิมที่เป็ นภาษาฮิบรู เชื่ อกันว่าคัม ภี ร์ไ บเบิล ภาคพันธสัญ ญาเดิม ได้ รับการบันทึกขึน้ ครั ง้ แรกเมื่ อประมาณ 1,400 ปี ก่อนคริ สต์ ศักราช เป็ นหนังสือที่ว่าด้ วยกฎหมายซึ่ง ชาวยิวเรี ยกว่า “โตราห์ (Torah)” หรื อหนังสือห้ าเล่ม (Pentateuch) ประกอบด้ วย ปฐมกาล อพยพ เลวี นิติ กันดารวิถี และเฉลยธรรมบัญญัติ ซึง่ ชาวยิวและ ชาวคริ สต์ยคุ แรกเชื่อว่า โมเสส (Moses) เป็ นผู้บนั ทึก ขึ ้น ครัน้ ต่อมาในปลายศตวรรษที่ 18 ได้ มีการศึกษา วิเคราะห์จนเป็ นที่ยอมรับกันว่า หนังสือห้ าเล่มนี ้เกิด จากการน�ำเอาข้ อเขียนสีช่ ิ ้นมารวมกัน ได้ รับการบันทึก ไว้ ตา่ งเวลาและต่างสถานที่ โดยบันทึกขึ ้นเมือ่ ประมาณ ศตวรรษที่ 9 ก่อนคริ สตศักราช เนือ้ หาต่างๆ ได้ รับ การถ่ายทอดเป็ นมุขปาฐะมาจากยุคของโมเสส และ เป็ นการปฏิบตั ิสืบต่อกันมาเป็ นประเพณีที่อ้างอ�ำนาจ ของโมเสสเป็ นผู้ก�ำหนด

พระคัมภี ร์เดิมฉบับที่ แปลจากภาษาฮี บรู เป็ น ภาษากรี ก เพื่อให้ หมูช่ าวยิวที่อาศัยอยูใ่ นต่างประเทศ ที่ ไ ม่ร้ ู ภาษาฮี บ รู ส ามารถอ่า นได้ โดยเฉพาะเชลยที่ กลับมาจากบาบิโลน และที่ไปอาศัยอยู่ในเมืองอเล็ก ซานเดรี ยทางตอนเหนือของอียปิ ต์ซงึ่ พูดภาษากรี กเป็ น หลัก ไม่พบหลักฐานการแปลพระคัมภีร์ฉบับนี ้นอกจาก ต�ำนานที่พบเกี่ยวกับการแปลหมวดเบญจบรรณ (ปฐม กาล-เฉลยธรรมบัญญัติ) จากจดหมายฉบับหนึ่งอ้ าง ว่ า ให้ มี ก ารแปลเนื่ อ งจากกษั ต ริ ย์ ก รี ก ฟิ ลาเดลปั ส (Philadelphus) ที่ปกครองในช่วง 285-247 ก่อนคริ สต์ ศักราช ต้ องการมีพระคัมภีร์ของยิวไว้ ในหอสมุด จึงขอผู้ เชี่ยวชาญ 72 คนจากยูดาห์มาร่วมแปล เรี ยกว่า เซปทัว จินต์ (Septuagint) แปลว่า เจ็ดสิบ ใช้ ตวั เลขของโรมัน LXX เป็ นสัญลักษณ์ คัมภีร์พันธสัญญาเดิม พันธสัญญาเดิม ประกอบด้ วยหนังสือทังสิ ้ ้น 46 เล่ม ในนิกายโรมันคาทอลิก และออร์ ธอด็อกซ์ ยึดถือ ทุกเล่มเป็ นคัมภีร์ทางศาสนา แต่ในนิกายโปรเตสแตนต์ ยึดถือเพียง 39 เล่ม โดยตัดหนังสือในสารบบที่ 2 ออก เป็ นเอกสารประกอบโดย 17 เล่ม เกี่ยวกับเรื่ องของ ประวัตศิ าสตร์ และธรรมบัญญัติ ภาคพันธสัญญาเดิม (The Old Testament) ใน คริ สตจักรโรมันคาทอลิกประกอบด้ วยหนังสือทังหมด ้ จ�ำนวน 46 เล่ม แต่โปรเตสแตนต์มี 39 เล่ม แบ่งได้ เป็ น สี่สว่ นใหญ่คือ 1. เบญจบรรณ (The Pentateuch)ประกอบด้ วย หนังสือปฐมกาล จนถึง หนังสือเฉลยธรรมบัญญัติ 2. ประวัติ ศ าสตร์ ( The Historical Books) ประกอบด้ วยหนังสือโยชูวา จนถึง หนังสือเอสเธอร์ 3. หนังสือปรี ชาญาณ ( The Wisdom Books) 4. ประกาศก (The Prophetic Books) ประกอบ ด้ วยหนังสืออิสยาห์ จนถึง หนังสือมาลาคี 4.1 หนังสือปฐมกาล กล่าวถึงการทรงสร้ างโลก ของพระเจ้ า ประวัตขิ องมนุษย์รุ่นแรกๆ บนโลก

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 93


4.2 หนังสืออพยพ กล่าวถึงการอพยพของชาว อิสราเอลออกจากประเทศอียิปต์ มาตังถิ ้ ่นฐาน ซึ่งมี การน�ำโดยโมเสส 4.3 หนังสือเลวีนิติ กล่าวถึงบัญญัตขิ องพระเจ้ า ที่ให้ กบั ชาวอิสราเอล กฎเกณฑ์ตา่ งๆในการด�ำเนินชีวติ ของชาวอิสราเอล โดยผ่านทางโมเสส 4.4หนังสือกันดารวิถี กล่าวถึงการทีช่ าวอิสราเอล ต้ องผจญความทุกข์ในถิ่นทุรกันดาร ซึง่ น�ำโดยโมเสส 4.5 หนังสือเฉลยพระธรรมบัญญัติ เป็ นการสรุป พระธรรมบัญญัตแิ ละกล่าวตักเตือนประชากรอิสราเอล ให้ เชื่อฟั งพระเจ้ าโดยโมเสส ก่อนที่โมเสสจะเสียชีวิต 4.6 หนังสือโยชูวา กล่าวถึงประวัตอิ ิสราเอล ใน สมัยที่ โยชูวา ซึง่ เป็ นผู้เผยวจนะต่อจากโมเสส 4.7หนังสือผู้วินิจฉัย 4.8 หนังสือนางรูธ กล่าวถึงหญิงสาวนางหนึง่ ที่ มีความประพฤติดี 4.9 หนังสือซามูเอล ฉบับที่ 1 94 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

4.10หนังสือซามูเอล ฉบับที่ 2 4.11 หนั ง สื อ พงษ์ กษั ต ริ ย์ ฉบับ ที่ 1 ประวัติ ของประเทศอิ ส ราเอลและ กษั ต ริ ย์ อิ ส ราเอลรวมทั ง้ ราชวงศ์ ฉบับที่ 1 4.12 หนั ง สื อ พงษ์ กษั ต ริ ย์ ฉบับ ที่ 2 ประวัติ ของประเทศอิ ส ราเอลและ กษั ต ริ ย์ อิ ส ราเอลรวมทั ง้ ราชวงศ์ ฉบับที่ 2 4 . 1 3 ห นั ง สื อ พงศาวดาร ฉบับที่ 1 เนื ้อหา เดียวกับพงษ์ กษัตริ ย์ แต่ถกู เขี ย นจากบุ ค คลที่ ต่ า งกั น และมุม มองต่า งกัน (ฉบับ ที่ 1) 4.14 หนังสือพงศาวดาร ฉบับที่ 2 เนื ้อหาเดียว กับพงษ์กษัตริย์ แต่ถกู เขียนจากบุคคลทีต่ า่ งกัน และมุม มองต่างกัน (ฉบับที่ 2) 4.15 หนังสือเอสรา 4.16 หนังสือเนหะมีย์ 4.17 หนังสือเอสเธอร์ * 4.18 หนังสือโยบ 4.19 หนังสือสดุดี รวบรวมบทเพลง และค�ำ สรรเสริ ญ พระเจ้ า จากกษั ต ริ ย์ ห ลายพระองค์ ข อง อิสราเอล เช่นกษัตริ ย์ดาวิด 4.20 หนังสือสุภาษิต รวบรวมค�ำสอน ค�ำสุภาษิต ของชาวอิสราเอลจากบุคคลหลายคนที่ส�ำคัญ เช่น กษัตริ ย์โซโลมอน 4.21 หนังสือปั ญญาจารย์ 4.22 หนังสือเพลงซาโลมอน 4.23 หนังสือประกาศอิสยาห์ เป็ นพยากรณ์การ


มาบังเกิดของพระเยซู 4.24 หนังสือประกาศเยเรมีย์ 4.25 หนังสือเพลงคร�่ ำครวญ 4.26 หนังสือประกาศเอเสเคียล 4.27 หนังสือประกาศดาเนียล* 4.28 หนังสือประกาศโฮเซยา 4.29 หนังสือประกาศโยเอล 4.30 หนังสือประกาศอาโมส 4.31 หนังสือประกาศโอบาดีห์ 4.32 หนังสือประกาศโยนาห์ 4.33 หนังสือประกาศมีคาห์ 4.34 หนังสือประกาศนาฮูม 4.35 หนังสือประกาศฮาบากุก 4.36 หนังสือประกาศเศฟั นยาห์ 4.37 หนังสือประกาศฮักกัย 4.38 หนังสือประกาศเศคารี ยาห์ 4.39 หนังสือประกาศมาลาคี 4.40 หนังสือโทบิต ** 4.41 หนังสือยูดธิ ** 4.42 หนังสือมัคคาบี ฉบับที่ 1 ** 4.43 หนังสือมัคคาบี ฉบับที่ 2 ** 4.44 หนังสือปรี ชาญาณ ** 4.45 หนังสือบุตรสิรา ** 4.46 หนังสือประกาศบารุค ** ในเครื่ อ งหมาย * จ� ำ นวนบทและข้ อพระ คั ม ภี ร์ ข องนิ ก ายโปรเตสแตนต์ จ ะมี น้ อยกว่ า ของ นิ ก ายโรมัน คาทอลิ ก และนิ ก ายออร์ ท อดอกซ์ ใน เครื่ องหมาย**เป็ นคัมภีร์สารบบที่สอง มีใช้ ในนิกาย โรมันคาทอลิกกับนิกายออร์ ทอดอกซ์ แต่โปรเตสแตนต์ จะไม่ยอมรับหนังสือ 7 เล่มนี ้ และได้ ตดั ออกไปตังแต่ ้ การปฏิรูปศาสนา พระคัมภีร์สารบบทีส่ อง (Deutero-canonical) ในบรรดาพระคัมภีร์ทงั ้ 46 เล่ม นี ้ มีกลุม่ หนังสือ อยู่ก ลุ่ม หนึ่ง ที่ มี บ้ า งไม่มี บ้ า งในต้ น ฉบับ เดิ ม ภาษา

ฮีบรู แต่มีปรากฏอยู่ในพระคัมภีร์ฉบับภาษากรี กครบ ถ้ วน เรี ยกกลุ่มหนังสือนี ้ว่า "พระคัมภีร์สารบบที่สอง (Deuterocanonical)" พระศาสนจักรคาทอลิก ซึ่ง เดินตามสารบบ 70 หรื อ เซ็พทัวจินส์ จึงยอมรั บว่า พระคัมภีร์สารบบที่สอง เป็ นส่วนหนึ่งของพระคัมภีร์ ภาคพันธสัญญาเดิมด้ วย โดยถือว่าเป็ นสะพานเชื่อม ระหว่างพันธสัญญาเดิมกับพันธสัญญาใหม่ ภาคพันธสัญญาใหม่ ( The New Testament ) พระคัมภีร์ภาคพันธสัญญาใหม่ ต้ นฉบับดังเดิ ้ ม เขียนเป็ นภาษากรี ก กล่าวถึง พระสัญญาที่พระเจ้ าทรง ให้ ไว้ ในพันธสัญญาเดิม ว่าจะส�ำเร็จสมบูรณ์ในองค์พระ เยซูเจ้ าได้ อย่างไร พันธสัญญาใหม่ยงั ได้ น�ำข่าวดีของ พระเจ้ ามาถึงมนุษย์เราด้ วย เมื่อองค์พระบุตร เสด็จมาทรงท�ำพันธสัญญา เองเช่นนี ้ พันธสัญญาของพระองค์ย่อมจะมีคา่ คุ้มได้ ตลอดกาล โดยไม่ต้องการพันธสัญญาอื่นมาเสริ ม หรื อ มาแทนอีกแล้ ว คริสตชนไม่ต้องรอคอยพันธะสัญญาอืน่ ที่สมบูรณ์กว่า แต่รอคอยการเสด็จกลับมาครัง้ ที่ 2 ของ พระคริ สต์ ในวันพิพากษาประมวลพร้ อม ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 40-50 เริ่ มมีการรวบรวม จดหมายฝากของอัครทูตเปาโล 13 ฉบับ ที่เขียนถึง ประชาคมชาวคริสต์ในอาณาจักรโรมัน มาระโกได้ เขียน พระวรสารขึน้ ในช่วงบัน้ ปลายชี วิตของเซนต์ ปีเตอร์ หรื อหลังมรณภาพของเซนต์ปีเตอร์ ไม่นานราวปี ค.ศ. 64 มัทธิวฉบับภาษากรี กและลูกาเขียนในช่วงระหว่าง ปี ค.ศ. 70-80 ก่อนหรื อหลังการท�ำลายกรุงเยรูซาเล็ม โดยชาวโรมัน ทังหมดเป็ ้ นการบันทึกเหตุการณ์และค�ำ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 95


สัง่ สอนของพระเยซู ซึง่ กลายเป็ นพระกิตติคณ ุ 4 เล่ม ได้ แก่ มัทธิว มาระโก ลูกา และยอห์น ยังมีหนังสือกิจการ ของอัครสาวก ซึง่ เป็ นประวัตขิ องคริสตจักรในช่วง 30 ปี แรก ต่อมารวบรวมจดหมายฉบับอื่นๆ ของสาวกที่ชว่ ย สอนและตอบปั ญหาของคริ สตชนที่พบในชีวิตประจ�ำ วัน และหนังสือวิวรณ์ ที่เขียนขึน้ เพื่อหนุนใจบรรดา คริ สเตียนที่ถกู รัฐบาลโรมันข่มเหง หนังสือทังหมดมี ้ 27 เล่ม เรี ยกว่า คัมภีร์ไบเบิล ภาคพันธสัญญาใหม่ โดยใช้ เวลารวบรวมนานถึง 300 ปี สมัยจักรพรรดิคอนสแตนติน ได้ มีการรั บรอง คริ สต์ ศาสนาเป็ นศาสนาประจ� ำจักรวรรดิโรมันในปี ค.ศ. 313 ท�ำให้ คริ สต์ศาสนาเจริ ญรุ่งเรื อง จึงเริ่ มมีการ ปลอมปนความคิดความเชื่อมากขึ ้น พระคัมภีร์ไบเบิล ภาคพัน ธสัญ ญาใหม่เ ริ่ ม ได้ รั บ การรั บ รองให้ ใ ช้ เ ป็ น มาตรฐานส�ำหรั บการด�ำเนินชีวิตของคริ สตชน และ เริ่ มมีการแปลพระคัมภีร์เป็ นภาษาลาติน หรื อฉบับวัล เกต โดยเจอโรม (ค.ศ. 340-420) ซึง่ เป็ นพระคัมภีร์ที่ใช้ อย่างเป็ นทางการในคริ สตจักรโรมันคาทอลิกเป็ นเวลา

96 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

นานถึง 1,500 ปี พระคัมภีร์ภาคพันธสัญญาใหม่ แบ่งออกได้ เป็ น ส่วนต่างๆ 4 ส่วน ได้ แก่ 1. พระวรสาร (Gospels) พระวรสารคือ หนังสือที่บอกให้ เราทราบเกี่ยว กับชีวิต พระด�ำรัส และกิจการต่างๆ ของพระเยซูเจ้ า ตลอดพระชนมชีพ ข่าวดีแห่งความรอด การยอมรับการ ทรมานและการไถ่บาปของมนุษย์ การกลับคืนชีพอย่าง รุ่ งโรจน์ และการส่งพระจิตเจ้ ามายังอัครสาวก พระว รสาร 3 เล่มคือ มัทธิว ลูกา และมาระโก มีใจความคล้ าย กัน จึงเรี ยกว่า "พระวรสาร สหทรรศน์ (Synoptic)" ส่วน ของยอห์น จะโดดเด่นออกมา อย่างไรก็ตาม พระวรสาร ทัง้ 4 ไม่ได้ เรี ยบเรี ยงตามล�ำดับเวลา หรื อเหตุการณ์ใน ชีวิตของพระเยซูเจ้ า 2. กิจการอัครสาวก (The Acts of the Apostles) นิพนธ์โดยนักบุญลูกา จึงเป็ นเรื่ องราวที่ตอ่ เนื่อง กับพระวรสารของนักบุญลูกา ในหนังสือนี ้ได้ เน้ นเกี่ยว กับประวัติศาสตร์ ของพระศาสนจักรในยุคแรกเริ่ มภาย หลังการกลับคืนพระชนมชีพของพระเยซูเจ้ า อัครสาวก ได้ เผยแพร่ขา่ วดีของพระองค์ตอ่ มา โดยต้ องประสบทัง้ การต้ อนรับ การกีดกัน และการเบียดเบียนในรูปแบบ ต่างๆ ข้ อน่าสังเกตคือ ในหนังสือกิจการอัครสาวก ไม่ได้ กล่าวถึง "พิธีกรรม" ต่างๆ เช่นทีเ่ กิดขึ ้นในพระศาสนจักร ยุคปั จจุบนั เลย เพราะการชุมนุมของพระศาสนจักรใน ยุคเริ่ มแรก เป็ นเพียงการมาพบกันเพื่อระลึกถึง การ เลี ้ยง และการบิขนมปั ง (ศีลมหาสนิท) ของพระเยซู เจ้ าในคืนสุดท้ ายก่อนสิ ้นพระชนม์ ซึ่งเป็ นจุดเริ่ มของ พิธีบชู ามิสซาในปั จจุบนั รวมทังมี ้ การแบ่งปั นเกี่ยวกับ ค�ำสอนและพระเกียรติคณ ุ ของพระเยซูเจ้ า เพื่อส่งเสริม ความเชื่อให้ มนั่ คงขึ ้น และเพื่อให้ มีคนกลับใจเพิ่มขึ ้น เท่านัน้ ส่วนพิธีกรรมที่เห็นในปั จจุบนั ได้ มีการพัฒนา เป็ นระยะๆหลายต่อหลายสมัย ทัง้ นีเ้ พื่อให้ สามารถ เข้ าใจได้ ถงึ ความหมายในทางปฏิบตั ิ 3. บทจดหมายอัค รสาวก (The Apostolic


Letters) นิ พ นธ์ โ ดยนัก บุ ญ เปาโล 13 เล่ ม ศิ ษ ย์ ข อง น.เปาโล (ฮิบรู) น.ยากอบ น.เปโตร น.ยอห์น และ น. ยูดา อัครสาวก โดยภาพรวมแล้ ว บทจดหมายทัง้ 21 เล่ม นี ้ ในยุคแรกเป็ นเพียงการเขียนในลักษณะของ จดหมายเพื่อจุดประสงค์ในการ บรรเทาใจ เตือนใจ ปลอบใจ ให้ ก�ำลังใจกับคริ สตชนรุ่นแรกที่ความเชื่อยัง ไม่มนั่ คง เนื่องจากถูกเบียดเบียน และเพือ่ เพิม่ พูนความ เชื่อ บ�ำรุงศรัทธา ต่อมาภายหลังจึงถือว่าเป็ นพระวาจา ของพระเจ้ า เพื่อเป็ นบทสอนในด้ านจิตใจต่อไป 4. หนังสือวิวรณ์ (The Book of Revelation) นิพนธ์ โดยนักบุญยอห์ น อัครสาวก ตามพระ คัมภีร์กล่าวว่า น.ยอห์นได้ นิพนธ์ขึ ้นตามนิมิตของท่าน และเป็ นภาษาสัญลักษณ์ทงหมด ั้ จิตตารมณ์ของการ เขียนหนังสือวิวรณ์คอื ต้ องการให้ มนุษย์ตงตนในความ ั้ ไม่ประมาท และพร้ อมที่จะพบกับพระเป็ นเจ้ าเสมอ ความวางใจต่อพระเป็ นเจ้ า ให้ ผ้ ทู ี่ถกู เบียดเบียนได้ มี ความหวัง และได้ รับความรอด ไม่ใช่ การท�ำนายถึงวัน สิ ้นโลก หรื ออวสานของโลกอย่างที่หลายคนเข้ าใจ และ เกิดความกลัวจากการตีความภาษาสัญลักษณ์ อย่าง

ตรงไปตรงมาเกินไป พันธสัญญาใหม่ (The New Testament) เป็ น พระธรรมทีถ่ กู เขียนขึ ้นภายหลังจากการประสูตขิ องพระ เยซู มีจ�ำนวน 27 เล่ม ดังนี ้ 1. พระวรสารนักบุญมัทธิว 2. พระวรสารนักบุญมาระโก 3. พระวรสารนักบุญลูกา 4. พระวรสารนักบุญยอห์น 5. หนังสือกิจการของอัครทูต ในหนังสือนี ้ได้ เน้ น เกี่ยวกับประวัตศิ าสตร์ ของคริสตจักรในยุคแรกเริ่ม ภาย หลังการกลับคืนพระชนม์ชีพของพระเยซู อัครทูตได้ เผยแพร่ ศาสนาคริ สต์ต่อมา โดยได้ เล่าถึงการต้ อนรับ บ้ าง การกีดกันบ้ าง การเบียดเบียนพระศาสนจักรในรูป แบบต่างๆบ้ าง นอกจากนัน้ จะได้ พบเรื่องราวของบุคคล ส�ำคัญในศาสนาบางคนเช่น การเป็ นปฐมมรณสักขีของ นักบุญสเทเฟน และที่ส�ำคัญคือ การเบียดเบียนคริ สต จักร และการกลับใจของนักบุญเปาโล 6. จดหมายนักบุญเปาโล ถึงชาวโรม 7. จดหมายนักบุญเปาโล ถึงชาวโครินธ์ ฉบับที่ 1 8. จดหมายนักบุญเปาโล ถึงชาวโครินธ์ ฉบับที่ 2 9. จดหมายนักบุญเปาโล ถึงชาวกาลาเทีย 10. จดหมายนักบุญเปาโลถึงชาวเอเฟซัส 11. จดหมายนักบุญเปาโลถึงชาวฟี ลิปปี

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 97


12. จดหมายนักบุญเปาโล ถึงชาวโคลิสี 13. จดหมายนักบุญเปาโลถึงชาวเธสะโลนิกา ฉบับที่ 1 14. จดหมายนักบุญเปาโลถึงชาวเธสะโลนิกา ฉบับที่ 2 15. จดหมายนักบุญเปาโลถึงทิโมธี ฉบับที่ 1 16. จดหมายนักบุญเปาโลถึงทิโมธี ฉบับที่ 2 17. จดหมายนักบุญเปาโล ถึงทิตสั 18. จดหมายนักบุญเปาโล ถึงฟิ โลโมน 19. จดหมายถึงชาวฮิบรู 20. จดหมายของนักบุญยากอบ 21. จดหมายของนักบุญเปโตร ฉบับที่ 1 22. จดหมายของนักบุญเปโตร ฉบับที่ 2 23. จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1 24. จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2 25. จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 3 26. จดหมายของนักบุญยูดา 27. หนังสือวิวรณ์ โดยยอห์นแห่งปั ทมอส คริ สต ชนเชื่อว่าเป็ นคนเดียวกับยอห์นอัครทูต แต่ทางวิชาการ เห็นว่าเป็ นคนละคนกัน แหล่ งอ้ างอิง 1. กิทอบมุกอ็ ดดัส ฮุจญะตุลอิสลาม อับดุรรอฮีม สุไลมานี อุรดิสทอนี 2. พระคัมภีร์ ฝี พระหัตถ์พระเจ้ า ฝี มือมนุษย์, แปลโดย ประธาน ศรี ดารุณศีล และมนต์สงิ ห์ ไกรสมสุข

98 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557


เรียบเรียงโดย

เชคเชคชะรีฟ ฮาดีย์

สันติภาพ ในความขั ด แย้ ง กรณีศกึ ษาความแตกต่างในศาสนา

และความหลากหลายทางวัฒนธรรม

ก่

อนทีจ่ ะมีมนุษย์เกิดขึ ้นบนโลกนี ความหลาก ้ หลายในธรรมชาติได้ มีมาก่อนแล้ ว ซึง่ เป็ น พืน้ ฐานของการอยู่ร่วมกันของสรรพสิ่ง และแท้ จริ ง มนุษย์นนถื ั ้ อว่าเป็ นส่วนย่อยหนึ่งของเอกภพและการ เกิดขึ ้นของมนุษย์มีความแตกต่างกับสรรพสิง่ อื่นๆ แต่ สิ่งหนึ่งที่เป็ นคุณลักษณะของมนุษย์คือการอยู่ร่วมกัน เป็ นการอยู่กนั อย่างเป็ นหมู่คณะ อีกทังมนุ ้ ษย์นนยั ั ้ งมี การปฎิสมั พันธ์ตอ่ กัน ดังนันในแต่ ้ ละแห่งของมนุษย์ก็ ย่อมมีการเรี ยนรู้ที่จะอยูร่ ่วมกัน โดยการอยูร่ ่วมกันนัน้ อย่างสอดคล้ องกับธรรมชาติ ถึงแม้ ว่ามีวิถีชีวิตที่แตก ต่างกัน เราเรี ยกว่าเป็ นความหลากหลายทางชีวภาพ และมนุษย์ยงั มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม ซึง่ ทัง้ สองเป็ นเรื่ องที่เชื่อมโยงกัน และจากการที่มนุษย์มีปฎิ สัมพันธ์ทางด้ านวัฒนธรรม เป็ นบ่อเกิดของการรู้จกั กัน และเข้ าใจกันและกัน พร้ อมที่จะเกื ้อกูลและสนับสนุน กันและกันและสร้ างความสันติในการอยูร่ ่วมกัน. อัลกุรอานได้ กล่าวถึงเรื่องของความสัมพันธภาพ ของมนุษย์ ดังนี ้ “โอ้ มนุษย์เอ๋ย แท้ จริ งเราได้ สร้ างพวกเจ้ ามาจาก

ชายหนึง่ และหญิงหนึง่ และเราได้ ทำ� ให้ พวกเจ้ าเกิดเป็ น เผ่าพันธุ์ตา่ งๆ เพื่อที่จะได้ ร้ ูจกั กันและมีปฎิสมั พันธ์ตอ่ กัน แท้ จริ งผู้มีเกียรติที่สดุ ณ องค์อลั ลอฮ คือผู้มีความ ย�ำเกรงและส�ำรวมตนที่สดุ ” บทอัลฮุจรอต/13 เมื่อพิจารณาในระบบย่อยลงมาจากจักรวาล ก็ สามารถมองเห็นอย่างประจักษ์ ชดั ว่าสรรพสิง่ ทังหลาย ้ มีความสัมพันธ์ เกี่ยวโยงกันในระบบองค์รวม เป็ นอัน หนึ่งอันเดียวกันในท่ามกลางความหลากหลาย สรรพ สิง่ ต่าง ๆ ต้ องอิงอาศัยซึง่ กันและกัน โดยมีมนุษย์เป็ น ส่วนหนึง่ ของธรรมชาติ มิใช่ธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม เป็ นส่วนหนึ่งของมนุษย์ ตามที่ เคยคิดและเข้ าใจกัน มาแต่ก่อน มนุษย์ จึงต้ องท�ำตัวให้ เป็ นส่วนหนึ่งของ โลกธรรมชาติมนุษย์ แต่ทว่าในปั จจุบนั นอกจากมนุษย์ จะท�ำตัวแปลกแยกไปจากธรรมชาติแล้ ว ยังเป็ นตัวการ ท�ำลายสภาพแวดล้ อมและท�ำลายวัฒนธรรมกันและกัน อย่างมากมาย สิง่ แวดล้ อมที่ส�ำคัญของมนุษย์มีอยู่ 3 ประเภทใหญ่ ๆ ได้ แก่ 1) สิง่ แวดล้ อมทางกายภาพ ได้ แก่ สิง่ ไม่มีชีวิต เช่น แร่ธาตุ ดิน น� ้ำ อากาศ ทะเลทราย ภูเขา ป่ าไม้ แม่น� ้ำ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 99


ล�ำคลอง เป็ นต้ น 2) สิง่ แวดล้ อมทางชีวภาพ ได้ แก่ สิง่ ที่มีชีวิต เช่น ต้ นไม้ สัตว์ เชือ้ โรค สิ่งเหล่านีม้ ีความสัมพันธ์ กับสิ่ง แวดล้ อมทางกายภาพ 3) สิง่ แวดล้ อมทางสังคม เป็ นสิง่ แวดล้ อมที่เกิด ขึ ้นจากมนุษย์ เช่น ประชากร เศรษฐกิจ การเมือง การ ปกครอง การศึกษา วัฒนธรรม พิธีกรรมทางศาสนา และเทคโนโลยี เป็ นต้ น ในระบบองค์รวม สิ่งแวดล้ อมทังสามชนิ ้ ดของ มนุษ ย์ จ ะต้ อ งด� ำ รงอยู่ใ นลัก ษณะประสานสัม พัน ธ์ สอดคล้ องกลมกลืนกัน เพื่อให้ เกิดภาวะดุลยภาพ สิ่ง ที่เกิดขึ ้นในระยะเวลาที่ผา่ นมาจนถึงปั จจุบนั และจาก ยุควัตถุนิยมที่ ส่งเสริ มให้ มนุษย์ บริ โภคเกิ นขอบเขต ท� ำ ให้ ม นุษ ย์ สร้ างปรั ช ญาในการด� ำ เนิ นชี วิต ระบบ เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง ระบบการศึกษา รวม ทังเทคโนโลยี ้ ต่าง ๆ ในลักษณะที่เป็ นการท�ำลายสิ่ง แวดล้ อมทางกายภาพ สิง่ แวดล้ อมทางชีวภาพและสิง่ แวดล้ อมทางสังคมอย่างมากมายในลักษณะที่ไม่เคย ปรากฏมาก่อน และยังท�ำลายเกียรติศกั ดิ์ศรี ของความ เป็ นมนุษย์ ซึง่ นัน่ เป็ นการจุดไฟแห่งสงคราม เพือ่ ท�ำลาย ต่อกันและกัน สังคมอาจจะเป็ นสังคมที่ดีโดยการยึดระเบียบ แบบแผนทางสังคมนันมาปฎิ ้ บตั ิ และอาจจะเป็ นสังคม ที่เลวและสังคมที่ตายไร้ ชีวิตชีวา ดังนันพระผู ้ ้ เป็ นเจ้ า จึงจ�ำเป็ นจะต้ องส่งศาสดามาชี ้น�ำทางประชาชนและ ปรั บปรุ งเปลี่ยนแปลงหรื อขัดเคลาสังคม และ การ ขัดเกลาทางสังคม คือ การน�ำคนเข้ าสูร่ ะบบของสังคม โดยผ่านกระบวนการต่าง ๆ ทีท่ ำ� หน้ าทีข่ ดั เกลาอัตตชีวะ ให้ พ้นจากสภาพสัญชาตญาณเดิมจนกลายเป็ นมนุษย์ สังคม เพราะมนุษย์ไม่ได้ อยูค่ นเดียวในโลก จึงต้ องผ่าน กระบวนการขัดเกลาทางสังคมตลอดชีวิต ทังโดยตรง ้ และโดยอ้ อม ซึง่ ศาสดาเป็ นผู้ชี ้น�ำและท�ำหน้ าทีข่ ดั เกลา โดยการน�ำหลักคิดที่ผ่านกรอบแนวคิดจากวิวรณ์แห่ง พระผู้เป็ นเจ้ า

100 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

ปรัชญาสังคมได้ สอนให้ เรารู้วา่ แท้ จริ งสังคมนัน้ จะต้ องด�ำรงอยู่ด้วยความยุติธรรม และผู้ที่จะมาสร้ าง ความยุตธิ รรมแก่สงั คมได้ นนั ้ จะต้ องเป็ นผู้ที่มีคณ ุ ธรรม ขันสู ้ ง อีกทังได้ ้ ผ่านการขัดเกลาจิตใจตนเองจนบรรลุ ธรรม ซึ่งในหน้ าประวัติศาสตร์ คือบรรดาศาสดาเป็ น ตัวแทนของพระผู้เป็ นเจ้ าได้ ถกู แต่งตังให้ ้ ท�ำหน้ าที่ดงั กล่าว ดังที่ อัลกุรอานได้ ยืนยันไว้ วา่ .. “แน่นอนเราได้ ส่งศาสนทุตของเรามา ด้ วยกับ หลักฐานอันชัดแจ้ ง และเราได้ ประทานคัมภีร์และตาชัง่ มาพร้ อมกับพวกขา เพื่อว่าให้ มนุษย์นนยื ั ้ นขึ ้นต่อสู้ด้วย ความยุตธิ รรม” อัลฮะดีด/24 โลกกับความหลากหลายทางวัฒนธรรม โลกปั จจุ บั น ก� ำ ลั ง เผชิ ญ กั บ สิ่ ง ที่ เ รี ยกว่ า “สงครามวัฒนธรรม” (Culture Wars)หรื อ “ความ ขัดแย้ งระหว่างระหว่างอารยธรรม” (The Clash of Civilizations) ซึง่ สะท้ อนให้ เห็นถึงโลกทัศน์สองแบบที่ ก�ำลังต่อสู้กนั อยู่ ความขัดแย้ งระหว่างโลกทัศน์ที่แตก ต่างทังสองนี ้ ้ ก�ำลังส่งผลกระทบอย่างใหญ่หลวงต่อ สังคมโลกทัง้ มวล และยิ่งทวีคูณมากยิ่งขึน้ อันเนื่อง มาจากการมีโลกทัศน์ ที่แตกต่างและความเข้ าใจต่อ เรื่ องของโลกและวัฒนธรรมที่ต่างกัน ซึง่ แท้ ที่จริ งแล้ ว วัฒนธรรมนันเป็ ้ นสิ่งที่สวยงาม และบ่งบอกถึงความ เจริ ญงอกงามทางศิลธรรม และแก่นของวัฒนธรรม ไม่ใช่การขัดแย้ งหรื อจะต้ องท�ำลายกันและกัน แนวคิดของแซมมวล ฮันติงตัน ศาสตราจารย์ แซมมวล ฮั น ติ ง ตั น แห่ ง มหาวิทยาลัยฮาวาร์ ด เป็ นผู้ซงึ่ มีอทิ ธิพลต่อการก�ำหนด นโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริ กาภายใต้ รัฐบาล จอร์ ช บุช และรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการต่างประเทศ นางสาว คอร์ โดลิซา่ ไรซ์ ซึง่ แสดงท่าทีเป็ นปรปั กษ์ ตอ่ โลกมุสลิมค่อนข้ างมาก ก่อให้ เกิดความตึงเครี ยดใน โลกยุคปั จจุบนั ฮันติงตัน มีความเชื่อว่า ความแตกแยก ระดับมหาภาคระหว่างมนุษย์ ด้วยกัน และที่มาของ ความขัดแย้ งต่างๆ จะมาจากด้ านวัฒนธรรม การปะทะ


กันระหว่างอารยธรรม จะครอบง�ำการเมืองโลก การ ปะทะที่ส�ำคัญที่สดุ จะเป็ นการปะทะกันระหว่าง “อารยธรรมตะวันตก กับ อารยธรรมที่มิใช่ตะวัน ตก” แต่เขาใช้ พื ้นที่ส่วนใหญ่ในบทความและหนังสือ บรรยายความขัดแย้ ง ทังที ้ ่เกิดขึ ้นจริ งและมีแนวโน้ ม ว่าจะเกิด (อ้ างจาก www.midnightuniv.org) ฮันติง ตันชี ้ว่า หัวใจของทุกอารยธรรมนันอยู ้ ่ที่ศาสนา แล้ ว พูดเจาะจงลงไปถึงผู้นบั ถือศาสนาอิสลามกับศาสนา อื่นๆ ว่า "...ในพื ้นทีท่ งหลายเหล่ ั้ านี ความสั ้ มพันธ์ระหว่าง ชาวมุส ลิ ม กับ ประชาชนของอารยธรรมอื่ น ๆ ไม่ ว่า คาทอลิก โปรเตสแตนท์ ออร์ โธดอกซ์ ฮินดู จีน พุทธ หรือ ยิว นัน้ โดยทัว่ ไปแล้ วเป็ นปรปั กษ์ กนั เกิดความรุนแรง ในคูค่ วามสัมพันธ์เหล่านี ้ในบางช่วงของประวัตศิ าสตร์ ความรุนแรงหลายกรณีเกิดขึ ้นในช่วงทศวรรษ ๑๙๙๐ ไม่ว่ามองไปทางไหน ชาวมุสลิมมี ปัญหาในการอยู่ ร่ วมกับเพื่อนบ้ านอย่างสันติ ค�ำถามย่อมตามมาว่า แบบแผนของความขัด แย้ ง ในปลายศตวรรษที่ ๒๐ ระหว่างมุสลิมกับกลุ่มที่ไม่ใช่มสุ ลิมเช่นนี ้ จะเป็ นจริ ง ในกรณีของคูค่ วามสัมพันธ์ระหว่างอารยธรรมอืน่ ๆ ด้ วย หรือไม่ ค�ำตอบคือไม่ มุสลิมมีประชากร ๑ ใน ๕ ของโลก แต่ในช่วงทศวรรษ ๑๙๙๐ พวกเขามีสว่ นพัวพันในความ รุ นแรงระหว่างกลุม่ มากกว่าผู้คนของอารยธรรมอื่น ๆ หลักฐานมีมากมาย..." (อ้ างจาก www.thaipost.com) จากแนวคิดและทฤษฎีของชาติตะวันตกมองยัง

อารยธรรมอิสลามและมุสลิมว่าเป็ นวัฒธรรมทีอ่ นั ตราย และเป็ นภัยคุกคามต่อชาวโลก ส่งผลให้ บางประเทศ ได้ ติดกับดักหลุมพลางนันอย่ ้ างชนิดที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยที่พวกเขาลืมไปว่าแท้ จริ งแล้ วถ้ าพวกเขาได้ สืบค้ น และเข้ าถึงวัฒนธรรมอิสลาม โดยเฉพาะจากกรอบ แนวคิดในแนวทางของชีอะฮ พวกเขาจะพบว่า แท้ จริ ง อิสลามและแนวคิดของอิสลามไม่ได้ เลวร้ ายที่พวกเขา เข้ าใจ ดังนันผู ้ ้ เขียนเล็งเห็นถึงความจ�ำเป็ นที่จะต้ อง อรรถาธิ บ ายบางประการให้ กับ ท่ า นผู้อ่า นเกี่ ย วกับ วัฒนธรรมอิสลามและประโยชน์ทางวัฒนธรรมที่ผ่าน กระบวนการคิดโดยทายาทศาสดามุฮมั มัด(ศ) ผู้อยูใ่ น ฐานะของผู้ชี ้น�ำมนุษยชาติ ผู้ชี ้น�ำชาวโลก โดยจะสรุป ถึงแนวคิดทางศาสนาและทางวัฒนธรรม ได้ ดงั นี ้ ก. อิสลามสนับสนุนแนวทางการสมานฉันท์และ ต่อต้ านการปะทะทางอารยธรรม อิสลาม คือ ศาสนาแห่งสันติภาพและเรียกร้ องไป สูค่ วามเป็ นหนึง่ เดียว เรี ยกร้ องไปสูค่ วามเป็ นเอกภาพ และความสมานฉันท์ และต่อต้ านการก่อการร้ ายทุกรูป แบบและอิสลามเป็ นศาสนาทีส่ ร้ างความสมดุลภาพทัง้ ทางเอกบุคคลและทางสังคม อิสลามเรี ยกร้ องมนุษยชาติสกู่ ารยอมจ�ำนนต่อ ความเป็ นเอกะของพระผู้เป็ นเจ้ า เอกอองค์อลั ลอฮ ซ.บ. เพราะว่าพระองค์อลั ลอฮ คือ ปฐมเหตุแรก เป็ นผู้สร้ าง เป็ นผู้ปกครอง และเป็ นผู้ปกป้อง และเป้าหมายการ ยอมรับอิสลาม คือการน�ำมาซึง่ ความผาสุก ความสงบ สุขของชีวิต ทังโลกนี ้ ้ และชีวิตโลกหน้ า หลักปรัชญาและทฤษฎีทางเทววิทยาได้ กล่าวไว้ ว่า แท้ จริ งพระเจ้ าอยูใ่ นฐานะของผู้ทรงวิทยปั ญญาขัน้ สูง (ทรงฮะกีม) อันหมายความว่าทุกสิง่ ทุกอย่างที่พระ ผู้เป็ นเจ้ าทรงกระท�ำหรื อพระองค์ทรงบัญชา สิง่ นันย่ ้ อม เป็ นสิง่ ทีท่ รงคุณค่าและมีประโยชน์ และประโยชน์นนจะ ั้ ยังถึงผู้ปฏิบตั แิ ละผู้กระท�ำ ดังนันหลั ้ กการเรื่องหนึง่ และ ข้ อบัญญัตหิ นึง่ ของมุสลิม คือการสร้ างความสมานฉันท์ ระหว่างมุสลิมด้ วยกันและจะต้ องมีปฎิสมั พันธ์ ที่ดีกบั

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 101


เพื่อนบ้ าน รวมไปถึงคนต่างศาสนิก ดังที่อิมามอะลี(อ) ได้ กล่าวกับท่านมาลิก อัชตัร ว่า.. “โอ้ มะลิกเอ๋ย จงน� ำค�ำขวัญเป็ นคติต่อตัวเอง เสมอว่า ต้ องมีความเมตตจิตาและความรักต่อพวกเขา จงมีความโอบอ้ อมอารี และอย่าได้ เป็ นดัง่ สัตว์ดรุ ้ าย ที่ คอยจะกัดกินพวกเขา เพราะว่าประชาชนเหล่านัน้ มี สองกลุม่ หนึง่ พวกเขาอาจจะเป็ นพี่น้องร่วมศาสนากับ เจ้ า หรื อถ้ าไม่เป็ นเช่นนัน้ พวกเขาก็เป็ นมนุษย์เหมือน กับเจ้ า” และอัลกุรอานได้ กล่าวถึงเรื่ องหลักเอกภาพและ การสร้ างความสมานฉันท์ไว้ วา่ “และพวกเจ้ าจงยึดสายเชือกของอัลลอฮฺโดย พร้ อมเพรี ยงกันทังหมด ้ และจงอย่าแตกแยกกัน และ จงร�ำลึกถึงความเมตตาของอัลลอฮฺทมี่ แี ด่พวกเจ้ า ขณะ ที่พวกเจ้ าเป็ นศัตรู กนั แล้ วพระองค์ได้ ทรงท�ำให้ สนิท สนมกันระหว่าหัวใจของพวกเจ้ าแล้ วพวกเจ้ าก็กลาย เป็ นพี่น้องกันด้ วยความเมตตาของพระองค์” อาลิ อิ มรอน : 103 ข.อิสลามยอมรับในความต่างและความหลาก หลายทางวัฒนธรรม ศาสนาอิสลามเป็ นศาสนาที่สอนให้ รักสันติและ เรียกร้ องไปสูส่ นั ติภาพ ดังนันเมื ้ อ่ โลกใบนี ้มีวฒ ั นธรรมที่ หลากหลาย ดังนันจะต้ ้ องยอมรับสิง่ ส�ำคัญล�ำดับต่อมา 102 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

คือ การศึกษาเรื่องความหลากหลายของวัฒนธรรม ชีวติ ความเป็ นอยูค่ วามแตกต่างและหลากทางวัฒนธรรมที่ อยูใ่ นแต่ละประเทศต้ องเรี ยนรู้วฒ ั นธรรมของกลุม่ ชนที่ ต่างกัน นอกจากจะสร้ างความรัก ความผูกผัน ท�ำความ รู้ จกั ต่อกันแล้ ว ยังก่อให้ เกิดการเรี ยนรู้ ตระหนักและ พัฒนาความเป็ น ชาติ ศาสนา ท้ องถิ่นและชุมชน รวม ทังยั ้ งสามารถเกิดการพัฒนาในระดับบุคคล คือ การ พัฒนา ความรู้ สติปัญญา ทังร่้ างกายและจิตใจ รวมทัง้ การหล่อหลอมให้ เกิดการใช้ ความรู้ คุณธรรม จริยธรรม เพื่อ "เข้ าใจผู้อื่น" เข้ าใจความเป็ นอยู่ของคนในที่ต่าง กัน ทังที ้ ่อยูห่ า่ งไกลและอยูใ่ กล้ ชมุ ชนรอบตัว รวมทังรู้ ้ "วิธีการ" ที่เราจะอยูร่ ่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีความสุข การ เรียนรู้และเข้ าใจวัฒนธรรมของผู้อนื่ /กลุม่ ชน ศาสนิกอืน่ มีประโยชน์และก�ำไรส�ำหรับผู้ทรี่ ้ ู เป็ นผู้ร้ ูกาละเทศะ การ ปรับตัวเพือ่ การเข้ าใจกันสามารถลดความขัดแย้ ง สร้ าง สันติสขุ ในการอยูร่วมกัน นอกจากนันการรู ้ ้ วฒ ั นธรรม ยังท�ำให้ เรารู้อีกว่า อะไรที่ควรท�ำหรื ออะไรที่ไม่ควรท�ำ เรื่ องใดที่เขายึดถือ เคารพ ห้ ามละเมิดและยอมได้ หรื อ ยอมไม่ได้ ในบางเรื่ องผู้ที่เป็ นเจ้ าของวัฒนธรรมจะเป็ น คนบอกเองว่า อะไร ที่เป็ นข้ อผ่อนปรนได้ อะไรที่ผอ่ น ปรนไม่ได้ อะไรคือเรื่ องหลัก อะไรคือเรื่ องรอง และที่ ส�ำคัญไปกว่านันก็ ้ คอื การเข้ าถึงปรัชญาการสร้ างมนุษย์ บนความหลากหลาย ซึง่ เป้าหมายเพื่อให้ มนุษย์เรี ยนรู้


กันและกันและให้ เกียรติต่อกัน ไม่ละเมิดสิทธิกนั และ กัน(อ้ างจากบทความการจัดการทางวัฒนธรรม : ความ หลากหลายทางวัฒนธรรม ในเชียตะวันออกเฉียงใต้ การเสวนาทางวัฒนธรรม การสานเสวนาเป็ นกระบวนการที่เปิ ดโอกาสให้ บุคคลหรื อกลุม่ ต่างๆ ที่มีความคิด ความเชื่อ จุดยืนต่าง กัน มีโอกาสพบปะพูดคุยแสดงความรู้ สกึ ฟั งเงื่อนไข ปั จจัยของกันและกันอย่างลึกซึ ้งเพือ่ เข้ าใจกันอย่างเห็น อกเห็นใจ มากขึ ้น โดยที่สองหรื อหลายฝ่ ายยังมีจดุ ยืน ที่ ต่างกันได้ แต่การฟั งเพื่ อเห็นอกเห็นใจและเข้ าใจ กันนัน้ ต้ องมองข้ าม เพื่อเปิ ดโอกาสให้ เกิดการเรี ยนรู้ พัฒนาความเห็นอกเห็นใจและเข้ าใจสถานการณ์ ของ เพื่อนที่เชื่อต่างจากตน กระทัง่ อาจเปลี่ยนแปลงความ เข้ าใจผิด ความขัดแย้ งไปเป็ นความเข้ าใจและเห็นใจ กันมากขึน้ ด้ วยตระหนักถึงความส�ำคัญของการสาน เสวนาที่จะเป็ นทางเลือกหนึ่งของการเสริ มสร้ างความ เข้ าใจ ป้องกันและลดปั ญหาความขัดแย้ ง และจาก กรอบแนวคิดทีไ่ ด้ กล่าวมานัน้ แน่นอนอัลกุรอานและบท รายงานจากวจนะของศาสดามุฮมั มัด(ศ)และทายาท ของศาสดา(อ)รวมไปถึงบรรดาสาวกอันทรงธรรมทัง้ หลายต่างก็ได้ ใช้ หลักการและแนวทางในการอยูร่ ่วมกัน บนความหลากหลายทางวัฒนธรรมมาก่อนแล้ ว ซึง่ นัน่ คือแบบอย่างที่ถือว่าเป็ นวัฒนธรรมของมุสลิม

บรรณานุกรม กีรติ บุญเจือ. อรรถปริวรรต คูเ่ วรคูก่ รรม ปรัชญาหลังนว ยุค กรุงเทพฯ. พิมพ์ที่ โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี ที่พิมพ์ พศ. 2549 เชคชะรี ฟ ฮาดียฺ ค�ำสอนจากนะฮญุลบะลาเฆาะฮ กรุงเทพฯ, สถานศึกษา ดารุลอิลมฺ มูลนิธิ อิมามคูอีย์ ปี ที่พิมพ์ พ.ศ. 2550 พีชวออี แปลโดย ไซม่า ซาร์ ยิด ภาพลักษณ์ทางการ เมืองของอิมาม ๑๒ พิมพ์ สถาบันศึกษาอัลกุรอานรอซูลอัลอะอ์ ซอม.ปี ที่พิมพ์ 2551 อบูอาดิลชะรี ฟ อัลฮาดีย์ 2548 การก�ำเนิดส�ำนักต่างๆ ในอิสลาม กรุงเทพฯ :ศูนย์วฒ ั นธรรมสถานเอกอัคร ราชทูต สา ธารรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ประจ�ำกรุงเทพฯ อยาตุลลอฮ์ ญะอ์ฟัร ซุบฮานี แปลโดย อบูอาดิล ชะรี ฟ อัลฮาดีย์ 2548 ชีอะฮ์ในประวัตศิ าสตร์ อิสลาม กรุงเทพฯ : The Ahl al bayt a.s World Assembly อัลลามะฮ ฎอบะฎอบาอีย์ แปลโดย เชคชะรี ฟ เกตุ สมบูรณ์ 2548 ชีอะฮ์ในอิสลาม กรุงเทพฯ :สถาบันส่งเสริ มการ ศึกษาและวิจยั เกี่ยวกับอิสลาม Ayatullah Javadi Amoli. Imam Khomaini Qom Iran : Isra Publication Center 1384 Ayatullah Misbah Yazdi. Jami ah wa Tareek. Qom Iran : Sazman Tabliqat 1372 Ayatullah Javadi Amoli. Falsafah Hukok Bashar. Qom Iran : Isra Puplication Center 1382

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 103


แปลและเรียบเรียงโดย

เชคมุฮมั มัดนาอีม ประดับญาติ

รัฐบาลในแนวคิด และการปฏิบตั ิของ

อิมามอะลี (อ.) (ต่ อจากฉบับทีแ่ ล้ ว) 3. หน่วยงานเจ้ าหน้ าที่ (ตัวแทน) ในรั ฐ อิสลาม ในล�ำดับชันของการบริ ้ หารและการเมือง ของรัฐอิสลามนัน้ ภายหลังจาก “ค่อลีฟะฮ์” (ผู้ ปกครอง) และ “วาลีย์” (ผู้ครองนคร) แล้ ว อ�ำนาจ สูงสุดจะถูกมอบให้ แก่ “อามิล” (ผู้แทน) ของ รั ฐอิสลาม ต�ำแหน่งนีไ้ ด้ ถูกวางขึน้ ในสมัยของ ท่านศาสทูตแห่งอัลลอฮ์ (ซ็อลฯ) และจะถูกใช้ เรี ยกส�ำหรับบรรดาเจ้ าหน้ าที่และตัวแทนของรัฐ ทังหมด ้ อันได้ แก่ ผู้วา่ การรัฐ เจ้ าหน้ าที่เก็บภาษี อากร ผู้พิพากษา อาลักษณ์ เสมียน ผู้น�ำกองทัพ และอื่นๆ แต่ในที่จดุ ประสงค์ของค�ำว่า “อามิล” คือความหมายเฉพาะของมัน ซึง่ หมายถึง บรรดา 104 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

ผู้วา่ การรัฐและผู้ครองหัวเมืองต่างๆ อามิลจะถูก นับว่าเป็ นเจ้ าหน้ าที่ฝ่ายบริ หารและเป็ นผู้แทน ของรัฐ ซึ่งเคียงข้ างเขาจะมีผ้ แู ทน (อามิล) คน อื่นๆ ปฏิบตั หิ น้ าที่ร่วมด้ วยโดยค�ำสัง่ (ฮุกม์) ของ ค่อลีฟะฮ์ และบางครัง้ ก็จะมีบรรดาผู้แทน (อา มิล) คนอืน่ ๆ คอยสอดส่องดูแลเหนือเขาอีกทีหนึง่ เรื่ องราวการเผชิญหน้ ากันระหว่างอับดุลลอฮ์ อิ บนุมสั อูด อามิล (ผู้แทน) ด้ านกองคลัง (บัยตุ้ ลมาล) กับวะลีด บินอุกบะฮ์ อามิล (ผู้แทน) ที่ท�ำ หน้ าปกครองหัวเมืองกูฟะฮ์ ก็เป็ นเครื่ องแสดงให้ เห็นถึงข้ อเท็จจริ งนี ้ที่วา่ อามิล (ผู้แทน) ที่ท�ำหน้ า ปกครองหัวเมืองนัน้ ไม่มีอิทธิ พลใดๆ ในแผนก ดูแลกองคลัง (บัยตุ้ลมาล) และแผนกเก็บภาษี


อากร และในสมัยที่ค่อลีฟะฮ์ อุสมานได้ ให้ การ สนับสนุนและปกป้องวะลีด บินอุกบะฮ์ เกี่ยวกับ การแทรกแซงกิจการในกองคลัง (บัยตุ้ลมาล) อับ ดุลลอฮ์ อิบนุมสั อูด อัครสาวกของท่านศาสดา (ซ็อลฯ) จึงได้ ลาออกจากต�ำแหน่ง (1) นับ จากช่ ว งเริ่ ม แรกของการปรากฏขึ น้ ของต�ำแหน่งอามิล (ผู้แทน) โดยปกติแล้ วผู้แทน (อามิ ้ล) จะถูกคัดเลือกจากท่ามกลางบรรดาซอ ฮาบะฮ์ (สาวก) ชันน� ้ ำที่มีความสามารถทางด้ าน ความรู้ และการปฏิบตั ิงาน และภารกิจหลักของ เขาก็จะอยู่ในขอบข่ายความรั บผิดชอบที่เกี่ยว กับการเผยแพร่ ศาสนา การด�ำรงนมาซญุมอะฮ์ (วันศุกร์ ) และนมาซญะมาอะฮ์ การปฏิบตั ิแผน งานต่า งๆ ของของค่อ ลี ฟ ะฮ์ การตัด สิน กรณี พิพาทต่างๆ การบัญชาการกองทัพ การร่วมรวม ทรัพย์ที่ยึดได้ จากเชลยศึก ภาษี ที่ดินและทรัพย์ สินอื่นๆ ในกองคลัง (บัยตุ้ลมาล) ของชาวมุสลิม นับจากสมัยของค่อลีฟะฮ์ ที่สอง ซึ่งอาณาเขต การปกครองของรั ฐอิสลามได้ ขยายตัวออกไป อย่างกว้ างขวาง และหน่วยงานด้ านบริ หาร ด้ าน ปฏิบตั กิ ารและตุลาการได้ เกิดความเปลีย่ นแปลง และส�ำนักงานต่างๆ จ�ำนวนมากของรัฐได้ เกิดขึ ้น ความรั บผิดชอบบางอย่างของผู้ครองรั ฐได้ ถูก มอบให้ อยูใ่ นการดูแลของบรรดาผู้แทน (อามิ ้ล) ด้ านการตัดสินคดีความ ด้ านภาษี อากร กองคลัง (บัยตุ้ลมาล) กองทัพและอื่นๆ ในช่วงที่อบูบกั ร เป็ นค่อลีฟะฮ์นนั ้ มีเพียงสิบเอ็ดเมืองและแคว้ นที่

อยูภ่ ายใต้ อ�ำนาจของรัฐอิสลาม เขาได้ คงอ�ำนาจ ของบรรดาเจ้ าหน้ าทีท่ ไี่ ด้ รับการแต่งตังตั ้ งแต่ ้ สมัย ของท่านศาสดา (ซ็อลฯ) ไว้ ด้ วยกับการพิชติ ต่างๆ ที่เกิดขึ ้นในสมัยของค่อลีฟะฮ์ที่สองและการแผ่ ขยายของอาณาเขตของรัฐอิสลาม ท�ำให้ ระบบ การบริ หารงานของได้ รับการจัดระบบระเบียบ ใหม่ (2) ส�ำนักงานต่างๆ ได้ เกิดขึ ้น ขอบข่ายความ รั บ ผิ ด ชอบต่ า งๆ ได้ ถูก ก� ำ หนดเจาะจงอย่ า ง ชัดเจน การควบคุมและการสอดส่องดูแลระบบ การด� ำเนิ นงานได้ ก่อรู ปขึน้ บรรดาผู้แทนของ รัฐบาลได้ เพิ่มจ�ำนวนมากขึ ้น อ�ำนาจที่รวมศูนย์ อยู่ไ ด้ ถูก กระจายในระหว่า งพวกเขา แต่ท ว่า นโยบายชาตินิยมอาหรับของค่อลีฟะฮ์ที่สองได้ เป็ นสาเหตุน�ำไปสู่การให้ ความส�ำคัญต่อเครื อ ญาติของค่อลีฟะฮ์ที่สาม และตามส�ำนวนค�ำพูด

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 105


ของบะลาซุรีย์ อุสมานได้ มอบอ�ำนาจการปกครอง ให้ กับ บุค คลจ� ำ นวนมากของตระกูล อุมัย ยะฮ์ ที่เคยเป็ นศัตรู ตวั ฉกาจต่อท่านศาสดา (ซ็อลฯ) และสิ่งนี ้เองที่ได้ กลายเป็ นความวิตกกังวลของ ประชาชน (3) และอ�ำนาจได้ กลับมารวมศูนย์ อยู่ในหมู่ ตระกูลบนีอมุ ยั ยะฮ์อีกครัง้ หนึง่ และวิกฤตต่างๆ จ� ำนวนมากในช่วงหลังจากนัน้ ล้ วนเป็ นผลมา จากนโยบายดังกล่าวนี ้ บรรดานักประวัติศาสตร์ ชาวอะฮ์ ลิซซุนนะฮ์ อย่างเช่น ฏ็อบรี และซุยูฏี ได้ บนั ทึกไว้ ว่า ในปี ฮิจญ์ เราะฮ์ ศกั ราชที่ 25 อุ สมานได้ แต่งตังอั ้ บดุลลอฮ์ บินอบีซะเราะฮ์ ให้ ท�ำ

106 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

หน้ าที่ปกครองแผ่นดินอียิปต์ เขาเป็ นพี่น้องร่วม แม่นมเดียวกันกับอุสมาน ผู้ซงึ่ เป็ นหนึง่ ในบรรดา ศัตรู ของท่านศาสดา (ซ็อลฯ) และกระทัง่ ว่าใน เหตุการณ์พชิ ติ นครมักกะฮ์เขาก็ยงั ไม่หยุดนิง่ และ ภายหลังจากการยอมจ�ำนนของชาวมักกะฮ์แล้ ว ท่านศาสดาได้ ให้ การคุ้มครองความปลอดภัยแก่ พวกเขาทังหมด ้ แต่ทา่ นไม่ให้ การคุ้มครองแก่เขา จนกระทัง่ อุสมานได้ มาพบท่านศาสดา (ซ็อลฯ) และได้ ให้ การอนุเคราะห์แก่เขา (4) ในปี ฮ.ศ. 26 อุสมานได้ แต่งตังวะลี ้ ด บิน อุกบะฮ์จากตระกูลอุมมัยยะฮ์ให้ ปกครองกูฟะฮ์ ในปี ฮ.ศ. 29 ได้ แต่งตังอั ้ บดุลลอฮ์ บินอามิรี จาก ตระกูลอุมยั ยะฮ์ ให้ ปกครองเมืองบัศเราะฮ์ ใน ปี ฮ.ศ. 30 ได้ ปลดวะลีด บินอุกบะฮ์ ออกจาก การปกครองเมืองกูฟะฮ์และได้ แต่งตังซะอี ้ ด บิ นอาซ จากตระกูลอุมยั ยะฮ์ให้ ท�ำหน้ าที่ปกครอง เมืองนี ้แทน และในปี ฮ.ศ. 31 ได้ มอบแผ่นดิน ซีเรี ยทังหมด ้ รวมทังจอร์ ้ แดนและปาเลสไตน์ให้ อยู่ในอ�ำนาจการปกครองของมุอาวิยะฮ์ บินอบี ซุฟยาน (5) ช่วงเวลาที่ทา่ นอมีรุลมุอ์มินีนอะลี (อ.) ได้ ขึน้ สู่อ�ำนาจการปกครองอย่างเป็ นทางการนัน้ ท่านได้ รับการสืบทอดหน่วยงานการปกครองที่ ที่ ค่อนข้ างเต็มไปด้ วยความเสื่อมเสียและการ ทุจริ ต การปฏิรูประบบการบริ หารและการเมือง ของประเทศ นับได้ ว่าเป็ นส่วนหนึ่งจากปั ญหา ต่างๆ ที่ท่านอิมามอะลี (อ.) ได้ ให้ ความส�ำคัญ


เป็ นอันดับแรกในแผนปฏิบตั ิงานของตน ซึง่ เรา จะขอชี ้ให้ เห็นโดยสังเขปในที่นี ้ ท่านอิมามอะลี (อ.) กับการปฏิรูปต่าง ๆ ทางด้ านโครงสร้ าง ระบบการบริ หารที่ถกู มอบให้ กบั ท่านอิมา มอะลี (อ.) นัน้ ไม่สอดคล้ องกับการปกครองที่ ยุตธิ รรมของท่านอิมามอะลี (อ.) เลยแม้ แต่น้อย และการทุจ ริ ต ความอยุติ ธ รรมและความหื่ น กระหายในทรัพย์สินของกองคลัง (บัยตุ้ลมาล) การปฏิบัติที่ขัดแย้ งกับบทบัญญัติศาสนาและ จริ ยธรรมของบรรดาเจ้ าหน้ าที่และบรรดาผู้แทน (อามิ ้ล) ของรัฐบาล ได้ สร้ างความไม่พอใจให้ กบั

สาธารณชน การตัดสินใจของท่านอิมามอะลี (อ.) ได้ ถกู ประกาศในช่วงวันแรกของการให้ สตั ยาบัน (บัยอะฮ์) ว่าท่านไม่ใช่ผ้ ทู ี่จะยอมประนีประนอม และผู้ชอบการประจบประแจง และแม้ จะมีข่าว ลือ และการกล่า วหาต่า งๆ ต่อ ท่า นอิ ม ามอะลี (อ.) เกี่ยวกรณีการสังหารอุสมาน ในการแสดง การคัดค้ านอย่างชัดเจนต่อนโยบายของเขานัน้ ท่านได้ กล่าวว่า “ขอสาบานต่ออัลลอฮ์! หากฉัน ได้ พบว่า เขา (อุสมาน) ได้ น�ำทรัพย์สินใดไปใช้ ในการแต่งงานกับสตรี และกรรมสิทธิ์ (ที่ดิน) ใด ที่ถกู น�ำไปไถ่ตวั ทาสหญิงแล้ ว แน่นอนยิ่งฉันจะ ต้ องเอามันกลับคืนมา (สู่กองคลังบัยตุ้ลมาล)

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 107


เพราะแท้ จริ งความยุตธิ รรมและความถูกต้ องนัน้ คือสิง่ ทีจ่ ะก่อให้ เกิดความกว้ างขวางและความสุข สบาย (ซึง่ จะต้ องไม่ถกู ท�ำลาย) และผู้ใดที่ความ ยุตธิ รรมเป็ นเรื่ องคับแค้ นส�ำหรับเขา ดังนัน้ (จงรู้ เถิดว่า) ความอยุติธรรมย่อมควรจะเป็ นเรื่ องคับ แค้ นยิ่งกว่าส�ำหรับเขา” (6) ในพิ ธีการให้ สัตยาบันของประชาชนนัน้ ท่านอิมาม (อ.) ได้ แจ้ งข่าวเกี่ยวกับการปฏิรูป โครงสร้ างพื ้นฐานต่างๆ โดยกล่าวว่า “ท่านทัง้ หลายพึงรู้เถิดว่า แท้ จริ งการทดสอบได้ หวนกลับ มา (สู่พวกท่าน) อีกครัง้ หนึ่งแล้ ว เช่นเดียวกับ รู ปลักษณ์ ของมันในวันที่อัลลอฮ์ ได้ ทรงแต่งตัง้ ศาสดาของพระองค์ (ซ็อลฯ) ขอสาบานต่อพระผู้ ซึ่งได้ ทรงแต่งตังท่ ้ านมาด้ วยความชอบธรรมว่า พวกท่านจะตกอยูใ่ นความทุกข์ยาก พวกท่านจะ ต้ องถูกร่อนตระแกงและพวกท่านจะต้ องถูกคละ เคล้ าเหมือนดัง่ เมล็ดข้ าว อยู่ในหม้ อต้ มที่เดือน พล่าน (เป็ นการทดสอบที่รุนแรงยิ่ง) จนกระทัง่ ส่วนล่างสุดของพวกท่านจะกลับขึ ้นมาอยูส่ ว่ นบน สุดและส่วนบนสุดของพวกท่านจะกลับลงไปอยู่ ส่วนล่างสุด และบรรดาผู้ที่เคยอยูส่ ว่ นหน้ า (ด้ วย ความดีงามและความคูค่ วร) ที่ได้ ถอยไปอยูส่ ว่ น หลังจะกลับมาอยูส่ ว่ นหน้ า และบรรดาผู้ทแี่ ย่งชิง (ด้ วยเล่ห์เหลี่ยมและการคดโกง) ที่ขึ ้นมาอยูส่ ว่ น หน้ าจะกลับไปอยูส่ ว่ นหลัง” (7) ในอีกทีห่ นึง่ ท่านได้ กล่าวว่า “ขอสาบานต่อ อัลลอฮ์ว่า หากฉันยังมีชีวิตอยู่และยังมีสขุ ภาพ

108 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

สมบูรณ์แล้ ว ฉันจะพิทกั ษ์ ปกป้องทังหมดให้ ้ อยู่ บนแนวทางอันชัดเจน” (8) และ “ฉันจะท�ำลาย ความบิดเบี ้ยวและความเบีย่ งเบนทังมวลให้ ้ หมด ไป” (9) ด้ วยกับการประกาศนโยบายต่างๆ ของท่า นอิมาม (อ.) ท�ำให้ ประชาชนจ�ำนวนมากรู้ได้ ทนั ที ว่า หน่วยงานด้ านการบริ หารที่หลงเหลืออยูจ่ าก อุสมานนันจะต้ ้ องมีการเปลี่ยนแปลง ด้ วยเหตุนี ้ เอง การวิ่งเต้ นต่างๆ นานาเพื่อเพิ่มส่วนแบ่งใน การมอบหมายความรับผิดชอบต่างๆ จึงเกิดขึ ้น ณ ที่ทา่ นอิมาม (อ.) และบรรดาผู้ใกล้ ชิดท่าน แต่ บันทัศฐานของท่านอิมาม (อ.) ในการมอบหมาย ภาระหน้ าที่ให้ นนก็ ั ้ คือว่า َ ْ ‫ات َو‬ ِ َ ‫ال َمان‬ ِ َ ‫ات إِلّ أَ ْه ُل ال ِّدیَان‬ ِ َ‫الی‬ َ ‫ص بِال ْ ِو‬ َ ‫ات‬ ُّ ‫ال یُ َخ‬ “อ� ำ นาจการปกครอง (และความรั บ ผิ ด ชอบ) ต่างๆ จะไม่ถกู มอบให้ ใคร นอกจากบรรดา ผู้ที่เคร่งครัดศาสนาและไว้ วางใจได้ ” (10) ด้ วยเหตุนีเ้ องที่ กลุ่มตระกูลบนี อุมัยยะฮ์ ซึ่งได้ ยึดกุมอ�ำนาจปกครองแคว้ นส่วนใหญ่ ไว้ ในมือ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มุอาวิยะฮ์ จึงต้ องอยู่ ในการรอคอยการถูกปลดออกจากอ�ำนาจ มุฆี เราะฮ์ บินชุอ์บะฮ์ได้ มาพบท่านอิมามอะลี (อ.) เพื่อที่จะขอให้ ทา่ นอิมาม (อ.) คงอ�ำนาจของเขา เอาไว้ (11) และแม้ แต่อิบนุอบั บาส ผู้ช่วยเหลือ และเจ้ าหน้ าที่ที่ใกล้ ชิดที่สดุ ของท่านอิมาม (อ.) ก็มองเห็นว่าการคงอ�ำนาจของเขาไว้ นนจะเป็ ั้ น คุณประโยชน์มากกว่า (12) ในขณะที่ทา่ นอิมาม


(อ.) รู้จกั มุอาวิยะฮ์เป็ นอย่างดี และถือว่าการคง เขาไว้ ในอ�ำนาจนัน้ เป็ นการหลอกลวงและการ ไม่จริ งใจในศาสนา (13) และในขณะเดียวกัน ท่านก็มนั่ ใจว่า มุอาวิยะฮ์นนจะไม่ ั้ ยอมปล่อยให้ อ�ำนาจหลุดมือไปอย่างแน่นอน ด้ วยเหตุนี ้ การ รับรองและการสนับสนุนคนเยี่ยงมุอาวิยะฮ์ แม้ จะเป็ นระยะเวลาเพียงชัว่ คราวก็ตาม จึงเข้ ากัน ไม่ได้ กบั ความซื่อสัตย์สจุ ริ ตและนโยบายของท่า นอิมามอะลี (อ.) (14) ดูเหมือนว่าท่านอิมามได้ ด�ำเนินนโยบาย ที่ดีที่สดุ ในกรณี เกี่ยวกับเขา ก่อนที่จะปลดเขา ท่านได้ กล่าวในจดหมายที่ส่งเขียนส่งไปถึงเขา ว่า “ประชาชนได้ สงั หารอุสมานโดยไม่ได้ ปรึกษา หารื อต่อฉัน แต่พวกเขาได้ ให้ สตั ยาบันต่อฉันโดย การปรึ กษาหารื อกันเองและโดยการชุมนุมกัน ดังนันทั ้ นทีที่จดหมายของฉันได้ มาถึงเจ้ า เจ้ าก็ จงเอาสัตยาบันจากประชาชนให้ แก่ฉันและเจ้ า พร้ อมด้ วยบรรดาผู้ช่วยเหลือของเจ้ าจงเดินทาง กลับมายังฉัน” (15) พฤติกรรมการแสดงออกของมุอาวิยะฮ์และ จดหมายโต้ ตอบต่างๆ รวมถึงการปฏิบตั ขิ องมุอา วิยะฮ์ตอ่ ตัวแทนของท่านอิมามอะลี (อ.) ที่ถกู ส่ง ไปยังเมืองชามนัน้ ล้ วนแสดงให้ เห็นว่า นโยบาย ของท่านอิมามอะลี (อ.) เกีย่ วกับตัวเขาและบุคคล อื่นๆ นัน้ เป็ นทางเลือกที่ดีที่สดุ ที่นกั การเมืองผู้มี ความช�่ำชองสามารถจะเลือกได้ ในสถานการณ์ เช่นนัน้ ถึงแม้ วา่ ท่านอิมาม ได้ ตดั สินใจที่จะปลด

บรรดาบุคคลที่ไร้ ความคู่ควรออกจากต�ำแหน่ง นับตังแต่ ้ ชว่ งเริ่ มแรกของการยอมรับต�ำแหน่งค่อ ลีฟะฮ์ก็ตาม และได้ กล่าวกับอิบนิอบั บาสว่า “ขอ สาบานต่ออัลอฮ์ ผู้ซึ่งได้ ทรงมอบสิทธิ์ และทรง ท�ำให้ ฉนั รู้ จกั บรรดาผู้ปฏิบตั ิงานของอุสมาน ว่า ฉันจะไม่มอบหน้ าที่การปกครองให้ แก่คนใดจาก พวกเขาอย่างแน่นอน” (16) แต่ทา่ นอิมาม (อ.) ก็ไม่ได้ รีบเร่งในการกระ ท�ำดังกล่าวนี ้แต่อย่างใด และตามการรายงาน ของบรรดานักประวัติศาสตร์ ในเดือนซอฟั ร ปี ฮิจญ์ เราะฮ์ศกั ราชที่ 36 เจ้ าหน้ าที่ผ้ ปู ฏิบตั ิงาน กลุ่ม แรกได้ ถูก ส่ง ไปยัง เมื อ งบัศ เราะฮ์ กูฟ ะฮ์ เยเมน อียิปต์และเมืองชาม (17) ท่านอิมาม (อ.) ได้ ปลดเจ้ าหน้ าที่ก่อนหน้ านัน้ ทุกคน ยกเว้ นอ บูมซู า อัชอะรี ซึง่ โดยการเป็ นสื่อกลางของมาลิก อัชตัร และฮุซยั ฟะฮ์ บินยะมาน เจ้ าหน้ าที่ของ เมืองมะดาอิน และฮะบีบ บินมุนตะค็อบ เจ้ า หน้ าที่ในพืน้ ที่หนึ่งของแผ่นดินเยเมน ประเด็น ที่ น่ า สนใจก็ คื อ ว่ า แม้ จ ะมี บ รรดาผู้ที่ มี ค วาม เหมาะสมอยู่ในท่ามกลางคนใกล้ ชิดรอบตัวของ ท่านอิมาม (อ.) แต่ท่านก็ไม่ได้ มอบต�ำแหน่งให้ แก่บคุ คลใดจากพวกเขา มีเพียงกรณีเดียวที่ก่อ ให้ เกิดค�ำถามขึน้ ส�ำหรั บมาลิก อัชตัร นะค่ออี นั่นก็ คือ ท� ำไมท่านอิมามจึงออกค�ำสั่งแต่งตัง้ บุคคลสามคนจากลูกๆ ของอับบาส ลุงของท่าน ศาสดา (ซ็อลฯ) ให้ ท�ำหน้ าที่ดแู ลฮิญาซ เยเมน และอิรัก เมื่อข่าวได้ ล่วงรู้ ถึงท่านอิมาม ท่านอิ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 109


มามจึงได้ เรี ยกตัวมาลิก อัชตัรเข้ าพบ พร้ อมกับ พูดตักเตือนเขาด้ วยความอ่อนโยน และได้ อธิบาย ถึงเหตุผลของท่าน โดยกล่าวว่า “เจ้ าจงพิจารณา ดูซวิ า่ ฉันได้ ให้ อ�ำนาจการปกครองแก่ฮะซันและ ฮุเซน หรื อแก่คนใดจากลูกของญะอ์ฟัร หรื อลูก ของอะกีล พี่ชายของฉันหรื อไม่? แต่การที่ฉนั ได้ แต่งตังลู ้ กๆ ของอับบาสให้ ท�ำหน้ าที่ปกครองนัน้ ก็ด้วยเหตุผลที่วา่ ฉันได้ ยินอับบาสได้ ขอให้ ท่าน ศาสนทูตแห่งอัลลอฮ์ (ซ็อลฯ) แต่งตังเขาให้ ้ ท�ำ หน้ าที่ปกครองหลายครัง้ หลายครา และในช่วง การปกครองของอุมรั และอุสมานนัน้ ฉันเองได้ เห็นลูกๆ ของอับบาสมองดูการปกครองของลูก หลานของฏละกออ์ (บรรดาผู้ถกู ปลดปล่อยจาก ุ การเป็ นเชลยหลังจากการพิชิตนครมักกะฮ์) แต่ ไม่มคี นใดจากพวกเขาได้ รับต�ำแหน่งการปกครอง เลย (ในขณะที่พวกเขามีความคู่ควรเหมาะสม ต่อมัน) ดังนัน้ ฉันเพียงต้ องการที่จะรักษาความ สัมพันธ์ทางเครื อญาติไว้ เท่านัน้ เพื่อที่จะขจัดปม แห่งความขุน่ แหนงให้ หมดไปจากจิตใจของพวก เขา” ในขณะเดียวกันท่านอิมามอะลี (อ.) ก็กล่าว กับมาลิก อัชตัรว่า “แต่หากเจ้ าพบว่ามีบคุ คลใดที่ คูค่ วรเหมาะสมมากกว่าพวกเขาแล้ ว เจ้ าก็จงน�ำ ตัวเขามายังฉันเถิด” (18) เงื่อนไขต่างๆ ของบรรดาเจ้ าหน้ าที่รัฐของ ท่านอิมามอะลี (อ.) จากทัศนะของท่านอิมามอะ ลี (อ.) หน้ าที่รับผิดชอบในรัฐอิสลามนันคื ้ ออะมา นะฮ์ (ความไว้ วางใจ) จากพระผู้เป็ นเจ้ า ซึง่ เฉพาะ

110 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

บรรดาผู้มีความคู่ควรและเป็ นคนดีงมีคณ ุ ธรรม (ซอและห์ ) เพี ย งเท่า นัน้ ที่ จ ะสามารถแบกรั บ ความรับผิดชอบต่อมันได้ ในจดหมายต่างๆ ของ ท่านอิมาม (อ.) ที่เขียนถึงบรรดาผู้ปกครองรัฐ และบรรดาเจ้ าหน้ าที่รัฐ ได้ กล่าวถึงเงื่อนไขและ คุณสมบัติตา่ งๆ ต่อไปนี ้ไว้ ส�ำหรับพวกเขาคือ 1) จะต้ องเป็ นผู้ที่ซื่อสัตย์ไว้ วางใจได้ (อะ มีน) ในจดหมายที่สง่ ถึงอัชอัษ บินเกซ เจ้ าหน้ าที่ ของรัฐอาเซอร์ ไบยัน ท่านเขียนว่า “ภาระหน้ าที่ ที่อยูใ่ นความรับผิดชอบของเจ้ านัน้ ไม่ใช่อาหาร อันโอชะของเจ้ า แต่มนั คืออะมานะฮ์ (ความไว้ วางใจ) ที่อยูเ่ หนือต้ นคอของเจ้ า” (19) 2) จะต้ องเป็ นผู้มีประสบการณ์ (20) 3) จะต้ องมาจากครอบครัวต่างๆ ที่เป็ นคน ดีมีคณ ุ ธรรม (ซอและห์) (21) 4) จะต้ องเป็ นบุคคลทีม่ ปี ระวัตกิ ารณ์ทดี่ ใี น อิสลาม “บรรดาผู้ที่รุดหน้ ามากกว่าผู้อื่นในความ เป็ นมุสลิม” (22) 5) เป็ นผู้มีจริ ยธรรมและพฤติกรรมที่ น่า สรรเสริ ญ (23) 6) เป็ นบุ ค คลที่ มี บุ ค ลิ ก ภาพที่ ดี แ ละมี เกียรติศกั ดิ์ศรี (24) 7) เป็ นผู้ที่รอบคอบและมองการไกล (25) 8) จะต้ องไม่เป็ นผู้อธรรม (26) 4. หน่วยงานกระทรวงทบวงกรมต่างๆ ใน ช่วงสมัยของท่านศาสนทูตแห่งอัลลอฮ์ (ซ็อลฯ) และในยุคของอบูบกั รนัน้ ระบบการบริ หารยัง


เรี ยบง่ายและมีขอบเขตจ�ำกัดมาก และกิจการ ทังมวลทางด้ ้ านการปกครองและการบริ หารนัน้ ท่านศาสดา (ซ็อลฯ) และอบูบกั ร หรือผู้แทนพิเศษ จะเป็ นผู้ปฏิบตั ิ พวกเขาจะแบ่งสรรทรัพย์สินที่ ยึดได้ จากสงครามในระหว่างนักต่อสูท่ นั ทีทนั ใด ภายหลังจากเสร็ จสิ ้นสงคราม และเมื่อใดก็ตาม ที่ทรัพย์หรื อสินค้ าโภคภัณฑ์ได้ ถกู น�ำมามอบให้ ผู้ปกครองอิสลามในเมืองมะดีนะฮ์ ก็จะแบ่งสรร ในระหว่างประชาชนอย่างเท่าเทียมกันในมัสยิด การรู้ สกึ ถึงความจ�ำเป็ นต่อการมีหน่วยงานด้ าน บริ หารและการจัดการได้ เกิดขึ ้นก็ในช่วงเวลาที่ การพิชิตดินแดนต่างๆ ได้ ขยายตัวอย่างกว้ าง ขวางในสมัย ของค่ อ ลี ฟ ะฮ์ ที่ ส อง และในช่ ว ง เวลาที่เกิดสงครามทรัพย์เชลยสงครามจ�ำนวน มากมายและขุมคลังต่างๆ ของบรรดากษัตริ ย์ เปอร์ เซียได้ ตกมาอยูใ่ นการครอบครองของบรรดา ทหาร และบ่อยครัง้ ที่ทองค�ำ เงิน อัญมณีและ และอาภรณ์ตา่ งๆ ที่สวยงามได้ กลายเป็ นโชคผล ของพวกเขา ค่อลีฟะฮ์ได้ ตดั สินใจที่จะท�ำให้ เกิด ความกว้ างขวางและความสะดวกสบายต่อการ ด�ำเนินชีวติ ของประชาชนชาวมุสลิม จึงได้ จดั การ แบ่งสรรทรัพย์สนิ ในระหว่างพวกเขา แต่ไม่ร้ ูวา่ จะ กระท�ำอย่างไรและจะบันทึกมันอย่างไร ในช่วง เวลานันเองทหารผู ้ ้ ดแู ลพรมแดนอิหร่านผู้หนึ่งผู้ หนึ่งซึง่ ได้ ปรากฏตัวอยู่ในมะดีนะฮ์ได้ เห็นความ มึนงงสับสนของอุมรั เกี่ยวกับเรื่ องนี ้ เขาจึงกล่าว กับอุมรั ว่า “โอ้ อมีร้ ุลมุอ์มินีน บรรดากษัตริ ย์ของ

อิหร่านจะมีสงิ่ หนึง่ ซึง่ พวกเขาเรี ยกมันว่า “ดีวาน” (ส�ำนักงานบัญชี) ทรัพย์สนิ ทีเ่ ข้ าและออกทังหมด ้ ของพวกเขาจะไม่ขาดตกบกพร่ องเลยแม้ แต่เล็ก น้ อย และเช่นเดียวกันนี ร้ ายชื่ อของบรรดาผู้ที่ รับมอบสิ่งของจะถูกจดบันทึกในมันตามล�ำดับ อย่างชัดเจนโดยปราศจากความบกพร่ องใดๆ แม้ แต่น้อย” อุมัรเกิ ดความสนใจและได้ กล่าว กับทหารผู้ดแู ลพรมแดนผู้นนว่ ั ้ า “ท่านจงอธิบาย รายละเอียดให้ ฉันได้ รับรู้ เถิด” เขาจึงได้ อธิบาย รายละเอียดของดีวาน (ส�ำนักงานบัญชี) นันให้ ้ อุมรั ได้ รับรู้ และเมื่ออุมรั ได้ เข้ าใจสิ่งดังกล่าว จึง ได้ กอ่ ตังส� ้ ำนักงานบัญชีและได้ เริ่มต้ นการจัดสรร ทรัพย์สินและได้ ก�ำหนดส่วนแบ่งของชาวมุสลิม แต่ละคน (27) นักประวัตศิ าสตร์ บางคนได้ บนั ทึกไว้ วา่ การ ตัดสินใจในครัง้ แรกเกี่ยวกับการก่อตังส� ้ ำนักงาน บัญชี (ดีวาน) นันเกิ ้ ดขึ ้นเมื่ออบูฮรุ ็ อยเราะฮ์ได้ น�ำเอาทรัพย์สินจ�ำนวนมากจากบาห์เรนกลับมา พร้ อมกับตน โดยที่การจัดสรรแจกจ่ายมันเป็ น เรื่ องที่ยากล�ำบากอย่างมาก และการคิดค�ำนวณ และการเก็ บ รั ก ษามั น ยิ่ ง เรื่ อ งที่ มี ค วามยาก ล�ำบากมากยิ่งกว่า อุมรั ได้ กล่าวกับเขาว่า “ท่าน น�ำอะไรมา” เขากล่าวตอบว่า “เงินจ�ำนวนห้ า แสนดิรฮัม” อุมรั รู้สกึ ตกใจพร้ อมกับถามว่า “เป็ น ทรัพย์สินฮะล้ าล (อนุมตั ิตามหลักการศาสนา) หรื อไม่” เขากล่าวว่า “ไม่ทราบ” ดังนันอุ ้ มรั จึงไป ยังมัสยิดและขึ ้นบนมินบัร (ธรรมมาส) ภายหลัง

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 111


จากการสรรเสริ ญสดุดีตอ่ พระผู้เป็ นเจ้ าแล้ ว เขา ได้ ประกาศต่อประชาชนว่า “โอ้ ประชาชนเอ๋ย! มี ทรัพย์สินจ�ำนวนมากได้ มาถึงพวกเรา หากพวก ท่านต้ องการเราจะชัง่ มันหรื อนับจ�ำนวนและแบ่ง สรรแจกจ่ายมัน” ดังนันในช่ ้ วงเวลาดังกล่าวชายผู้ หนึ่งได้ ยืนขึ ้น และได้ เล่าเรื่ องราวเกี่ยวกับดีวาน (ส�ำนักงาน) ต่างๆ ของประชาชนชาวเปอร์ เซีย และค่อลีฟะฮ์เกิดความพึงพอใจในสิ่งนัน้ จึงได้ ออกค�ำสัง่ ให้ จดั ตังดี ้ วานต่างๆ ในช่วงเวลานัน้ อุมรั ได้ ปรึ กษาหาหรื อกับบรรดาอัครสาวก (ซอ ฮาบะฮ์) ของท่านศาสดา (ซ็อลฯ) และแต่ละคน ก็ได้ แสดงทัศนะของตัวเอง ท่านอิมามอะลี อิบนิ อบีฏอลิบ (อ.) ได้ กล่าวว่า “จงจัดสรรแจกจ่าย ทรัพย์สินที่รวบรวมมาได้ ทงหมด ั้ เป็ นรายปี และ จงอย่าเก็บสะสมมันไว้ ” (28) จากนันค่ ้ อลีฟะฮ์ได้ เชื ้อเชิญอะกีล บินอบี ฏอลิบ มัครอมะฮ์ บินนูฟิล และญุบยั ร์ บินมัฏ อัม ผู้มีความรู้ เชี่ยวชาญด้ านสายตระกูลมาพบ เพื่ อ ที่ จ ะให้ บุค คลเหล่า นี ไ้ ด้ ต รวจสอบและน� ำ รายชื่อของบุคคล ของบรรดาทหารและชนเผ่า ต่างๆ ทัง้ หมดออกมา และก� ำหนดข้ อก� ำหนด ต่างๆ ของการจัดสรรแจกจ่ายอย่างชัดเจนเพื่อที่ จะพิจารณาส่วนแบ่งของทุกบุคคลไปตามระดับ ชันของพวกเขา ้ ดูเหมือนว่า พัฒนาการทางด้ าน การบริ หารจัดการและการก่อตัวขึน้ ของดีวาน (ส�ำนักงาน) ต่างๆ นัน้ มีสองช่วง ช่วงแรกคือ ดี วาน (ส�ำนักงาน) ของอุมรั ซึง่ มีลกั ษณะของความ

112 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

เป็ นภายในและความเป็ นอาหรับอย่างสมบูรณ์ และไม่มีความเกี่ ยวข้ องกับปั ญหาต่างๆ เกี่ ยว กับการจัดระบบและการรวบรวมภาษี อากรจาก พลเมืองในรัฐต่างๆ และบรรดาเกษตรใดๆ ทัง้ สิ ้น อิบนุคอ็ ลดูน ได้ กล่าวไว้ อย่างชัดเจนว่า ดีวาน (ส�ำนักงาน) ของอุมรั นันได้ ้ เริ่มต้ นจาก “ส�ำนักงาน ทางด้ า นการทหาร” และโดยมี เป้ าหมายที่ ว่า บรรดาเผ่าชนต่างๆ ที่เข้ าร่ วมในกองทัพจะได้ รับสิทธิคา่ ตอบแทนของตนเอง ส่วน “ส�ำนักงาน ด้ า นภาษี แ ละทะเบี ย น” ได้ ก่อ ตัว ขึน้ ภายหลัง จากเหตุการณ์การพิชิตดินแดนต่างๆ และได้ รับ แรงบันดาลใจมาจากส�ำนักงานหรื อทบวงกรม ของอิหร่านในอิรักและส�ำนักงานของโรมในซีเรี ย โดยที่ต่อมาได้ รับการจัดระบบระเบียบมากยิ่ง ขึน้ อิบนิค็อลดูน จะกล่าวถึงส�ำนักงานแรกใน นาม ส�ำนักงาน “ฆ่อฎอฎ้ อตุนนะดาอะฮ์” และ “ซันดายะตุ้นอุมมียะฮ์ ” และให้ ชื่อส�ำนักงานที่ สองว่า “เรานะกุ้ลฮะฎอเราะฮ์” และ “ฮิซกุลกิ ตาบะฮ์” (29) ส� ำ นัก งานของอุ มัร โดยหลัก ใหญ่ แ ล้ ว เกี่ยวข้ องกับการบริ หารและการจัดการเรื่ องของ ทรัพย์เชลยสงครามและเครื่ องบรรณาการและ การแบ่งสรรแจกจ่ายมัน ส่วนกิจการที่เกี่ยวกับ การจดบันทึกภาษี อากร การรวบรวมมันและการ ระบบอย่างละเอียดนันอยู ้ ่ในความสามารถของ ส�ำนักงาน (ดีวาน) ที่สอง และส�ำนักงานของอุมรั จะท�ำหน้ าทีใ่ นการจดบันทึกและการแบ่งสรรแจก


จ่ายคุมส์ของเมืองมะดีนะฮ์ ซึ่งจะได้ รับมาจาก สงครามต่างๆ ที่ด�ำเนินอยูใ่ นอาณาจักรโรมและ เปอร์ เซียในช่วงสามปี แรกของการเป็ นค่อลีฟะฮ์ ของอุมรั ด้ วยเหตุนี ้เองจึงสามารถกล่าวได้ วา่ ช่วง แรกของส�ำนักงาน คือช่วงของทรัพย์สนิ ที่ได้ จาก การท�ำสงครามและบรรณาการต่างๆ ในช่วงนี ้เผ่า ชนต่างๆ ที่เป็ นนักรบจะคัดเลือกบรรดาตัวแทนที่ ตนเองไว้ วางใจเพือ่ การรวบรวมและแจกจ่ายส่วน แบ่งที่ถกู ก�ำหนดของตนเอง และตัวแทนเหล่านัน้ ก็จะรับทรัพย์สินโดยผ่านบรรดาตัวแทนในพื ้นที่ ของส�ำนักงานด้ านภาษี และทะเบียน แต่ในช่วง สมัยทีส่ อง ซึง่ สามารถเรียกได้ วา่ เป็ นช่วงสมัยของ “การเรื องอ�ำนาจ” ด้ วยกับการย่างก้ าวเข้ าสู่ยคุ ของการพิชิตดินแดนต่างๆ และการเพิ่มจ�ำนวน มากขึ ้นของเผาชนต่างๆ ในคาบสมุทรอาหรับ การ เข้ าพ�ำนักอาศัยของพวกเขาในเมืองต่างๆ ที่ถกู พิชติ การเพิม่ จ�ำนวนมากขึ ้นของบรรดาทหารชาว มุสลิมและการขยายพื ้นที่ตา่ งๆ ของการเก็บภาษี อากร ท�ำให้ วธิ ีการในการจัดสรรแจกจ่ายแบบเดิม ไม่เพียงพอและไม่สามารถที่จะเก็บรวบรวมและ จดบันทึกได้ และมีความจ�ำเป็ นต่อการยึดวิธีการ บริ หารและการจัดการใหม่ เพื่อที่ว่าเผ่าชนและ ทรัพย์สินสงครามทังหมดจะได้ ้ ถูกรวบรวมและ คิดค�ำนวณและแจกจ่ายให้ กบั บุคคลและเผ่าชน ทังหมดบนพื ้ ้นฐานของข้ อก�ำหนดต่าง ๆ ในส�ำนักงานของการแจกจ่าย ด้ วยกับการ ผ่านไปของเวลาสมุดบัญชีต่างๆ ที่เกี่ยวกับเผ่า

ชนได้ เพิ่มมากขึ ้น และรายชื่อของบรรดาเผ่าชน และจ�ำนวนบุคคลของมัน พร้ อมด้ วยส่วนแบ่ง ต่างๆ ของพวกเขาได้ ถูกก� ำหนดเป็ นที่ ชัดเจน และค่อลีฟะฮ์ก็จะคอยตรวจสอบและรับรู้ ความ เป็ นไปของเรื่ องราว บะลาซุรี ได้ บนั ทึกไว้ วา่ พวก เขาได้ เห็นค่อลีฟะฮ์ในขณะที่ก�ำลังตรวจสอบดู ส�ำนักงานของคุซาอะฮ์ (30) การขยายตัวทาง ด้ า นส� ำ นัก งานได้ ก่ อ ให้ เ กิ ด นโยบายใหม่ ท าง ด้ านการเงินส�ำหรับค่อลีฟะฮ์ที่สอง เขาไปถึงบท สรุปที่วา่ วิธีการแบ่งสรรนันไม่ ้ ยตุ ิธรรม และเขา ได้ กล่าวว่า “ฉันไม่สามารถที่จะมอบให้ แก่ผ้ ูไม่ ได้ ท�ำสงครามร่ วมกับท่านศาสนทูตแห่งอัลลอฮ์ (ซ็อลฯ) ให้ เท่าเทียมกับผู้ท่ีได้ ท�ำสงครามเคียงบ่า เคียงไหล่กบั ท่านได้ ” ด้ วยเหตุนี ้เองเข้ าได้ ให้ ความ แตกต่างระหว่างเครื อญาติใกล้ ชดิ ของท่านศาสน ทูต อะฮ์ลลุ บัยติ์และบรรดาผู้มาก่อนในด้ านการ เข้ ารับอิสลาม อันได้ แก่ชาวมุฮาญิรีน ชาวอันซ๊ อร ผู้เข้ าร่วมสงครามบะดัร สงครามอุฮดุ และผู้ที่เป็ น มุสลิมใหม่ และเรื่องนี ้เองทีก่ อ่ ให้ เกิดความจ�ำเป็ น ในการจัดตัง้ “ส�ำนักงานอาลักษณ์ ” ขึ ้นเคียงคู่ กับ “ส�ำนักงานการแจกจ่าย” แต่อย่างไรก็ตาม วิธีการใหม่ในการแจกจ่ายทรัพย์สินบรรณาการ คุมส์ ที่ได้ รับจากทรัพย์เชลยสงครามและรายได้ นี ้ เกี่ยวข้ องกับที่ดินหรื อภาษี ที่ดินของโรมและ เปอร์ เซีย แต่เกีย่ วกับกรณีของทรัพย์เชลยสงคราม นัน้ ไม่มีความแตกต่างใดๆ ในระหว่างบรรดา นักรบ (31)

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 113


กระบวนการการก่อรู ปขึน้ ของส�ำนักงาน และที่ ว่า การต่า งๆ เป็ นไปดัง นี ค้ ื อ เริ่ ม ต้ น นัน้ “ส�ำนักงานทางด้ านการทหาร” ได้ เกิดขึ ้น และ การขยายตัว ของมัน ได้ เ ป็ นสาเหตุท� ำ ให้ เ กิ ด “ส�ำนักงานอาลักษณ์ ” ขึ ้นมา และในขันตอนที ้ ่ สามได้ เกิ ด “ส�ำนักงานปฏิบัติหน้ าที่ และภาษี อากร” ขึ น้ โดยที่ ใ นขัน้ ตอนนี ก้ ฎเกณฑ์ แ ละ ระเบียบข้ อบังคับต่างๆ รวมทังรายละเอี ้ ยดเกี่ยว กับภาระหน้ าทีข่ องรัฐบาลในเรื่องของรายรับ ราย จ่าย การคิดค�ำนวณขันพื ้ ้นฐานต่างๆ ถูกเขียน ขึ ้น พวกเขาเรี ยกส�ำนักงานนี ้ว่า “ส�ำนักงานเก็บ รวบรวมภาษี อากรที่ดิน” และในสาส์นของท่า นอิมามอะลี (อ.) ที่เขียนถึงมาลิก อัชตัร ก็เช่น เดียวกัน ได้ กล่าวถึงหน้ าที่ส�ำคัญสี่ประการของ ผู้ปกครองรั ฐไว้ ซึ่งในจ� ำนวนนัน้ คือ “การเก็บ รวบรวมภาษี อากรที่ดนิ ” (32) ส�ำนักงานต่างๆ เหล่านี ้ได้ ด�ำเนินไปจนถึง สมัยของท่านอิมามอะลี (อ.) และหลังจากนันใน ้ ยุคสมัยของอาณาจักรอามาวียะฮ์ และอับบาซี ยะฮ์ ได้ ขยายขอบข่ายกว้ างขวางมากยิ่งขึ ้น แต่ ทว่าการจัดสรรส่วนแบ่งต่างๆ ที่ไม่ยตุ ิธรรมจาก กองคลัง (บัยตุ้ลมาล) โดยอุมรั ที่ได้ ด�ำเนินไป จนถึงกลางสมัยการปกครองของอุสมาน และ ภายหลังจากนัน้ ด้ วยกับการยึดนโยบายเครื อ ญาติ ถูกชักน� ำไปสู่การเลือกปฏิ บัติที่เป็ นคุณ ต่อวงศ์วานอุมยั ยะฮ์ และสิ่งนี ้เองที่ท�ำให้ สงั คม อิสลามต้ องเผชิญกับวิกฤติที่เลวร้ าย เมื่อท่านอิ

114 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

มามอะลี (อ.) ได้ ขึ ้นสูอ่ �ำนาจการปกครองท่านได้ ด�ำเนินการสิง่ ทีส่ ำ� คัญสองประการคือ การด�ำเนิน การประการแรกคือ การท�ำลายการเลือกปฏิบตั ิ ที่ไม่เหมาะสมของอุมรั ในการแบ่งสรรกองคลัง (บัยตุ้ลมาล) ลง ด้ วยเหตุนี ้เองในการคิดค�ำนวณ ทรั พย์ สินและการรั บของประชาชนในครั ง้ แรก นัน้ บรรดา “ชนชันน� ้ ำ” ซึง่ จนถึงช่วงเวลานันเคย ้ ได้ รับส่วนแบ่งของตนมากกว่าคนทังหมด ้ จึงได้ แสดงการคัดค้ านต่อท่านอิมาม (อ.) แต่ท่านอิ มาม (อ.) ได้ ตดั สินใจอย่างแน่วแน่ที่จะท�ำให้ วิธี การที่ยุติธรรมในสมัยของท่านศาสดา (ซ็อลฯ) กลับคืนมาอีกครัง้ การด�ำเนินประการที่สองคือ การท�ำลายการเลือกปฏิบตั ิที่เป็ นคุณประโยชน์ ต่อ วงศ์ ว านอุมัย ยะฮ์ ซึ่ง ด้ ว ยกับ การมี อ� ำ นาจ ทางการเมืองท�ำให้ เขาได้ รับสิทธิประโยชน์ต่างๆ มากกว่าผู้อื่น ท่านอิมามได้ ปลดพวกเขาทังหมด ้ ออกจากต� ำแหน่งเจ้ าหน้ าที่ ของรั ฐ การเป็ นผู้ แทนในกองทัพ การเก็บภาษี อากรที่ดินและการ เป็ นอาลักษณ์ และการด�ำเนินการเหล่านี ้เองที่ ก่อให้ เกิดอุปสรรคอย่างมากมายต่ออ�ำนาจการ ปกครองของท่านอิมามอะลี (อ.) ในสมัยการปกครองของอิมามอะลี (อ.) แม้ จ ะมี ส งครามต่ า งๆ ที่ ยื ด เยื อ้ ยาวนาน แต่ ส� ำ นัก งานต่า งๆ ก็ ปฏิ บัติ งานได้ อ ย่า งมี ร ะบบ ท่านอิมามได้ มอบหมายภาระหน้ าที่ในการดูแล ส�ำนักงานท้ องถิน่ บางส่วน ให้ แก่บรรดาเจ้ าหน้ าที่ ที่ไว้ วางใจได้ และในแคว้ นต่างๆ นัน้ ท่านได้ มอบ


หมายความรับผิดชอบให้ กบั บรรดาผู้ปกครองรัฐ นันๆ ้ ในจดหมายที่สง่ ถึงฮุซยั ฟะฮ์ บินยะมาน ผู้ ปกครองแคว้ นมะดาอิน ท่านอิมามอะลี (อ.) ได้ กล่าวเช่นนี ้ว่า “ฉันขอมอบหมายกิจการทังหมด ้ ที่เกี่ยวกับภาษีอากรที่ดนิ ชนบทและการรวบรวม ทรั พ ย์ สิ น ที่ เ กี่ ย วกับ อะฮ์ ลุซ ซิ ม มะฮ์ (ผู้ที่ ไ ม่ ใ ช่ มุสลิมที่อยู่ในการคุ้มครองของมุสลิม)... และ ฉันขอก� ำชับแก่เจ้ าว่า จงเก็บภาษี ที่ดินบนพืน้ ฐานของสัจธรรมและความเป็ นธรรม จงอย่าล่วง ละเมิด (ขอบเขต) สัจธรรม จงอย่าละเลยในสิ่ง ใด และจงอย่าอุตริ สงิ่ ใหม่ในเรื่ องนี ้ แล้ วจากนัน้ จงแบ่งสรรมันในระหว่างประชาชนที่อาศัยอยูใ่ น ที่นนอย่ ั ้ างเท่าเทียมและเที่ยงธรรม” (33) ท่านอิมามอะลี (อ.) จะก� ำชับสั่งเสียต่อ มาลิก อัชตัร ในกรณีที่เกี่ยวกับส�ำนักงานต่างๆ ทังหมด ้ อย่างเช่น ส�ำนักงานภาษีที่ดนิ ส�ำนักงาน เกี่ยวกับกองทัพ ส�ำนักงานอาลักษณ์ และอื่นๆ และท่านจะมอบหมายหน้ าที่ในการแต่ตงั ้ และ การถอดถอนเจ้ าหน้ าที่ของส�ำนักงานเหล่านี ้ให้ อยู่ในความรั บผิดชอบของตัวมาลิก อัชตัรเอง (34) มีจดหมายต่างๆ จากท่านอิมาม (อ.) ส่ง ไปถึงผู้ดแู ลส�ำนักงานทังหมดซึ ้ ่งจะประกาศกฎ ระเบียบต่างๆ ของรัฐบาลแก่พวกเขา (35) 5. หน่วยงานหลักทางด้ านตุลาการของรัฐ อิสลาม การตัดสินและการพิพากษาคดีความนับ ได้ ว่าเป็ นส่วนหนึ่งจากต�ำแหน่งหน้ าที่ที่ส�ำคัญ ของรัฐอิสลาม ในสมัยของท่านศาสดา (ซ็อลฯ)

และในสมัย ของอบูบัก ร เนื่ อ งจากวงที่ จ� ำ กัด ของการตัด สิ น พิ จ ารณาคดความ ผู้ป กครอง อิสลามจึงได้ รับผิดชอบหน้ าที่นี ้โดยตรง อย่างไร ก็ตาม ในกรณีตา่ งๆ ที่จ�ำเป็ นนัน้ ทังสองจะมอบ ้ หมายความรับผิดชอบนี ้ให้ แก่ซอฮาบะฮ์บางคน ตัวอย่างเช่น ให้ แก่ทา่ นอิมามอะลี (อ.) และท่าน ศาสดา (ซ็อลฯ) จะถือว่าท่านอิมามอะลี (อ.) นัน้ ُ ‫( ”أ ْق َضی ه ِذ ِه‬ผู้ตดั สินที่เที่ยงธรรมที่สดุ คือ “‫األ َّم ِة‬ ของประชาชาตินี ้) (36) ตรงข้ ามกับหน้ าทีร่ ับผิดชอบต่างๆ ทางด้ าน การบริหารจัดการ ด้ านกองทัพและด้ านอาลักษณ์ กิจการเกี่ยวกับการตัดสินคดีความนันเป็ ้ นเรื่ องที่ ละเอียดอ่อนและยากเย็นอย่างมาก ด้ วยเหตุนี ้เอง ท่านอิมามอะลี (อ.) จึงกล่าวกับชุร็อยห์ กอฎี ว่า َّ ِ‫یَا ُش َر ْی ُح َج َل ْس َت َم ْجلِ ًسا الیَ ْجلِ ُس ُه إ‬ ‫ال نَبِ ٌّی‬ ‫أَ ْو َو ِص ُّی نَبِ ٍّی أَ ْو َش ِق ٍّی‬ “โอ้ ชรุ ็ อยห์เอ๋ย! เจ้ าได้ นงั่ ในต�ำแหน่งซึง่ จะ ไม่มีผ้ ูใดนั่ง นอกจากศาสดา หรื อตัวแทนของ ศาสดา หรื อ (มิเช่นนันก็ ้ ) ผู้ที่โชคร้ าย” (37) ด้ วยกับการขยายตัวของอาณาเขตของรัฐ อิสลาม ท�ำให้ หน้ าที่ในการตัดสินคดีความได้ ถกู มอบหมายไปสูค่ วามรับผิดชอบของผู้อนื่ ด้ วยเช่น กัน และค่อลีฟะฮ์ของชาวมุสลิมไม่สามารถที่จะ ท�ำหน้ าที่ตดั สินข้ อพิพาทต่างๆ ทังหมดได้ ้ อีกต่อ ไป ด้ วยเหตุนี ้จึงจ�ำเป็ นทีจ่ ะต้ องแต่งตังผู ้ ้ พพิ ากษา ส�ำหรับรัฐและเมืองต่างๆ ค่อลีฟะฮ์ที่สองได้ แต่ง ตังให้ ้ อบุดดัรดาอ์ เป็ นผู้พิพากษาของเมืองมะดี

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 115


นะฮ์ ชุร็อยห์ กอฎี เป็ นผู้พิพากษาของเมืองบัศ เราะฮ์ และอบูมซู า อัชอะรี เป็ นผู้พิพากษาของ เมืองกูฟะฮ์ (38) การเป็ นผู้พิพากษาของชุร็อยห์ ได้ ด�ำเนิน สืบเนื่องไปจนถึงสมัยของท่านอิมามอะลี (อ.) นโยบายของท่านอิมามอะลี (อ.) ในกิจการต่างๆ ทางด้ านการพิจารณาตัดสินความนัน้ ก็เช่นเดียว กับนโยบายของท่านในกรณีเกี่ยวกับหน้ าที่ทาง ด้ านการบริ หาร โดยที่ทา่ นจะปลดบรรดาบุคคล ที่ขาดคุณสมบัติที่เหมาะสมที่เคยท�ำหน้ าที่เป็ น ผู้พิพากษาออกจากต�ำแหน่งของพวกเขา และได้ สร้ างบรรทัดฐานใหม่บนพื ้นฐานของความคูค่ วร เหมาะสมขึ ้นในระบบการพิจารณาตัดสินความ ในสาส์นที่สง่ ถึงมาลิก อัชตัร พร้ อมกับการมอบ หมายอ�ำนาจในการคัดเลือกบรรดาเจ้ าหน้ าที่ ของหน่วยงานของการพิจารณาตัดสินความให้ แก่มาลิก อัชตัร ท่านได้ กล่าวกับเขาว่า “ดังนัน้ จงคัดเลือกผู้ใต้ ปกครองของเจ้ าที่ประเสริ ฐที่สดุ ในทัศนะของเจ้ า ส�ำหรับท�ำหน้ าที่พิพากษาคดี ความในหมู่ประชาชน เป็ นบุคคลที่ภารกิจการ งานต่างๆ จะต้ องไม่ท�ำให้ เขาเกิดความคับแค้ น และคู่พิพาทจะต้ องไม่ท�ำให้ เขาเกิดทิฐิและยืน กรานอยูบ่ นความผิดพลาด และเมื่อเขารู้เช่นนัน้ แล้ ว เขาก็จะไม่ยบั ยังตนจากการที ้ ่จะหวนกลับ มาสูส่ จั ธรรม (และความถูกต้ อง) จิตใจของเขา จะต้ องไม่สอ่ แสดงถึงความละโมบ เขาจะต้ องไม่ หยุดแค่เพียงความเข้ าใจ (และการรับรู้ความจริง)

116 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

อย่างผิวเผินโดยไม่ถงึ ทีส่ ดุ เขาจะต้ องเป็ นผู้ทหี่ ยุด พิจารณาดูในสิ่งที่คลุมเครื อสงสัยมากที่สุดยิ่ง กว่าบุคคลทังหลาย ้ เป็ นผู้ยดึ มัน่ ต่อหลักฐานมาก ที่สดุ จะต้ องเป็ นผู้ร้ ูสกึ เหนื่อยหน่ายน้ อยที่สดุ ต่อ การรับฟั งและพิจารณาความของคูพ่ พิ าท จะต้ อง เป็ นผู้อดทนที่สดุ ต่อการค้ นหาความจริ งของเรื่ อง ราวเหล่านัน้ จะต้ องเป็ นผู้เด็ดขาดทีส่ ดุ ในหมูพ่ วก เขา เมื่อค�ำตัดสินเป็ นที่ชดั เจนแล้ ว” (39) ในสาส์นของท่านอิมามอะลี (อ.) ฉบับนี ้ ท่านได้ ชี ้ถึงหกเงื่อนไขส�ำคัญส�ำหรับหน้ าที่การ พิจารณาตัดสินคดีความและคุณสมบัตติ า่ งๆ ของ ผู้ท�ำหน้ าที่พิพากษาคือ 1) ความจ� ำเป็ นที่ จะต้ องมี ความรู้ ความ เข้ า ใจและความเชี่ ย วชาญในกิ จ การต่ า งๆ ที่ เกี่ยวข้ องกับการพิจารณาตัดสินคดีความ 2) ศัก ยภาพและความอดทนของผู้ ท� ำ หน้ าที่พิพากษา (กอฎี) จะต้ องเป็ นไปในลักษณะ ที่ การร้ องเรี ยนและการด�ำเนินคดีอย่างมากมาย ก็จะไม่ท�ำให้ เขาเบีย่ งเบนออกจากพฤติกรรมการ แสดงออกที่ถกู ต้ องเหมาะสม 3) จะต้ องไม่ยืนกรานอยู่บนทัศนะความ เห็นที่ผิดพลาดของตน และเมื่อใดที่พบว่าข้ อเท็จ จริงตรงข้ ามกับสิง่ ทีต่ นเองได้ ตดั สินไปแล้ วนัน้ จะ ต้ องยอมรับและแก้ ไขในสิง่ นัน้ 4) ในการพิจารณาและการออกค�ำตัดสิน จะต้ องไม่สนใจต่อทรัพย์สนิ เงินทองและต�ำแหน่ง ชื่อเสียงของบุคคลทังหลาย ้


5) ในการออกค� ำ ตัด สิ น จะต้ อ งมี ค วาม ละเอียดรอบคอบ และจะต้ องตัดสินโดยปราศจาก ความวิตกกังวลและความรี บด่วน 6) ทุกครัง้ ในขณะออกค�ำตัดสิน หากความ ถูกต้ องได้ เกิดความเคลือบแคลงสงสัยส�ำหรั บ เขา จะต้ องหยุดในทันที ความส�ำคัญของปั ญหา การตัดสินคดีความ ในทัศนะของท่านอิมามอะลี (อ.) นันมี ้ ถงึ ขันที ้ ่วา่ เคียงคูก่ บั หน่วยงานด้ านการ ตัดสินคดีความนี ้ท่านยังได้ ริเริ่มสร้ างสรรค์ความ คิดใหม่ๆ ส่วนหนึง่ จากนัน้ สามารถที่จะชี ้ให้ เห็น ได้ ดงั ต่อไปนี ้ (1) การพิจารณาตัดสินเกี่ ยวกับการร้ อง ทุกข์และการถูกอธรรม วัตถุประสงค์ของการก่อ ตัง้ สิ่งนี ้ ก็ เพื่ อตรวจสอบและค้ นหาข้ อเท็จจริ ง เกี่ยวกับการร้ องเรี ยนและการร้ องทุกข์ตา่ งๆ ของ ประชาชนในกรณีเกี่ยวกับบรรดาเจ้ าหน้ าที่รัฐ ไม่ ว่าจะเป็ นบรรดาผู้น�ำกองทัพ เจ้ าหน้ าที่เก็บภาษี ที่ดนิ เจ้ าหน้ าที่กองคลัง (บัยตุ้ลมาล) และกิจกา รอื่นๆ ด้ านบริ หารและการตัดสินคดีความ มาวัร ดี ได้ ชี ้ให้ เห็นอย่างชัดเจนว่า การตัดสินคดีความ ประเภทนี ้ได้ เริ่ มต้ นขึ ้นเป็ นครัง้ แรก โดยท่านอิมา มอะลี (อ.) เขาได้ กล่าวว่า “นอกจากท่านอิมามอะ ลีแล้ ว ในหมูค่ ลุ ะฟาอุรรอชิดนี ไม่มใี ครยืนหยัดขึ ้น ท�ำการตรวจสอบค�ำร้ องเรี ยนต่างๆ เลย... ดังนัน้ ท่านจึงเป็ นบุคคลแรกที่ได้ วางแนวทางนี ้” (40) ด้ วยกับการก่อตัง้ “บัยตุ้ลก้ อซ็อซ” ท่านอิ มาม (อ.) ได้ จดั เตรี ยมพื ้นฐานในการรับค�ำร้ อง

เรี ยนและการร้ องทุกข์ตา่ งๆ ของประชาชน และ บรรดาผู้ที่ ไ ม่ ว่ า จะด้ ว ยเหตุผ ลใดๆ ก็ ต ามไม่ ประสงค์ที่จะร้ องเรี ยนเกี่ยวกับบรรดาเจ้ าหน้ าที่ รัฐ ด้ วยการพูดโดยตรง ก็ให้ พวกเขาเขียนเรื่องราว ของเขาและน�ำมายืน่ ไว้ ในทีน่ นั ้ และท่านอิมามจะ รับทราบเกี่ยวกับเรื่ องราวดังกล่าว ในค�ำร้ องเรียน หนึ่งซึ่งชาวนาที่ ไม่ใช่มุสลิมของรั ฐหนึ่งได้ ร้อง เรี ยนเกี่ยวกับเจ้ าหน้ าที่รัฐผู้หนึง่ ท่านอิมาม (อ.) ได้ พิจารณาตรวจสอบ และในจดหมายฉบับหนึง่ ท่านได้ เขียนส่งไปถึงเจ้ าหน้ าที่รัฐของท่าน โดย กล่าวว่า “... บรรดาชาวนาในเมืองของเจ้ าได้ ร้อง เรียนว่า เจ้ าปฏิบตั หิ ยาบคายและพูดจาไม่เหมาะ สมกับพวกเขา อธรรมต่อพวกเขาและดูถกู เหยียด หยามพวกเขา ฉันได้ ตรวจสอบดูเรื่องราวของพวก เขาแล้ ว และพบว่าเนือ่ งจากพวกเขาเป็ นผู้ตงภาคี ั้ (มุชริ ก) เจ้ าเองก็จะต้ องไม่น�ำพวกเขามาอยูใ่ กล้ ชิดตน และเนื่องจากพวกเขาอยู่ในการคุ้มครอง ของอิสลาม ก็ไม่สามารถที่จะผลักไสพวกเขาได้ ดังนัน้ ในการปฏิบตั ติ อ่ พวกเขา จงผสมผสานกัน ระหว่างความแข็งและความอ่อนน้ อม บางครัง้ จงแสดงออกด้ วยความเมตตา และบางครัง้ ก็จง แหลมคม บางช่วงเวลาก็จงเข้ าใกล้ พวกเขาและ บางช่วงเวลาก็จงออกห่าง (ขึ ้นอยู่กบั พฤติกรรม ของพวกเขา” (41) (2) หน้ าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับฮิสบะฮ์ : “ฮิ สบะฮ์” คือหน้ าที่ทางศาสนาประการหนึง่ ซึง่ จะ ถูกปฏิบตั ใิ นนาม “การก�ำชับความดีและการห้ าม

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 117


ปรามความชัว่ ” เพื่อรักษาความสงบสุขแก่สงั คม ให้ ปลอดจากความชัว่ ร้ ายต่างๆ ท่านศาสดามุฮมั มัด (ซ็อลฯ) บางครัง้ ท่านจะไปยังตลาดของชาว มุสลิม เพือ่ ทีจ่ ะรับรู้เกีย่ วกับสภาพการซื ้อขายและ การปฏิสมั พันธ์ประจ�ำวันของประชาชน และท่าน กล่าวอยูเ่ สมอว่า ‫س ِمنَّا‬ َ ‫َم ْن غ ََّشنَا فَ َل ْي‬ “ผู้ใดที่โกงและหลอกลวงเรา ดังนัน้ เขา ไม่ใช่สว่ นหนึง่ จากเรา” (42) วิธีการดังกล่าวนี ถ้ ูกน� ำมาปฏิบัติในสมัย การปกครองของท่านอิมามอะลี (อ.) ด้ วยเช่น เดียวกัน และบางครัง้ เพื่อการตรวจตรา ท่านอิ มาม (อ.) จะไปยังตรอกซอยและตลาด และใน การพบปะกับประชาชน ท่านจะแนะน�ำตักเตือน พวกเขาให้ ประพฤติปฏิบตั ิอย่างถูกต้ องตามค�ำ สอนของอิสลาม ในเรื่ องที่เกี่ยวกับการซื ้อ การ ขาย การปฏิสมั พันธ์และการคบค้ าสมาคม และ ท่านจะสอบถามเกี่ ยวกับราคาสินค้ าต่างๆ ใน ตลาด และได้ ห้ามการหลอกลวง การช่อโกงใน การค้ าขาย การลดพร่ องในปริ มาณของสินค้ า และอื่นๆ และในกรณีที่พบเห็นความไม่ถกู ต้ อง เหมาะสม ท่านจะจัดการในเรื่ องเหล่านัน้ (43) ในตัวอย่างหนึง่ ทีท่ า่ นอิมาม (อ.) ได้ แนะน�ำ ตักเตือนประชาชนในตลาด ท่านกล่าวว่า “โอ้ บรรดาพ่ อ ค้ า ทัง้ หลาย จงแสวงหาสิ่ ง ที่ ดี ง าม และจงท�ำให้ ตนเองเป็ นผู้โชคดีด้วยการยึดถือวิธี การที่ง่ายดาย และจงเข้ าใกล้ ชิดลูกค้ า และจง

118 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

แสดงออกด้ วยความอดทนและสุขุมเยื อกเย็น ที่สดุ จงหลีกเลี่ยงจากการสาบาน และจงออก ห่างจากการโกหกหลอกลวง จงเกรงกลัวต่อการ อธรรมและการกดขี่ และจงให้ ความเป็ นธรรม มากที่สดุ ต่อบรรดาผู้ถกู อธรรม (และคนยากจน ขัดสน) จงหลีกเลี่ยงจากการโอ้ อวด จงซื่อสัตย์ อย่างแท้ จริ งในตราชูตา่ งๆ ของพวกท่าน จงอย่า ลดพร่องในสินค้ าและจงอย่าก่อความเสียหายใน แผ่นดิน” (44) นโยบายต่างๆ ของท่านอิมามอะลี (อ.) เกี่ ยวกับการพิจารณาและการตัดสินคดีความ ซึ่งสามารถประมวลได้ จากข้ อบัญญัติและกฎ ระเบียบต่างๆ ของการปกครองของท่าน สรุปได้ ดังต่อไปนี ้คือ 1. การเลือกบุคคลที่ดีที่สุดให้ รับผิดชอบ หน้ าที่ในการตัดสินคดีความ : ในสาส์นที่สง่ ไปยัง มาลิก อัชตัร ท่านได้ กล่าวว่า “จงคัดเลือกคนที่ดี ที่สดุ จากท่ามกลางผู้ใต้ ปกครอง” 2. การให้ ค่าครองชีพอย่างพอเพียงแก่ผ้ ู พิพากษา “จงให้ คา่ ใช้ จา่ ยในการด�ำรงชีพแก่พวก เขาอย่างพอเพียง” 3. การระวังรักษามารยาทต่างๆ ของการ พิจารณาและการตัดสินคดี : ในการต�ำหนิตเิ ตียน ผู้พิพากษาคนหนึง่ ของท่าน ท่านกล่าวว่า ‫إني رأيت كالمك يعلو كالم الْخصم‬ “แท้ จริ งฉันได้ ยินค�ำพูดของเจ้ า ดังกว่าค�ำ พูดของคูก่ รณี” (45)


4. การตรวจสอบดูแ ลอย่า งละเอี ย ดต่อ ระบบการตัดสินความ : ท่านกล่าวว่า ِّ َ ‫ون ِم ْن أَ ْهلِ ا‬ ‫لص ْد ِق َو اَل ْ َوفَا ِء َع َل ْي ِه ْم‬ َ ُ‫َو اِبْ َع ِث اَل ْ ُعي‬ “และเจ้ าจงส่งสายสืบจากคนที่มีวาจาสัจ และเป็ นผู้ซื่อสัตย์ไปตรวจสอบดูแลพวกเขา” 5. การรั ก ษาผลประโยชน์ ข องระบอบ อิสลาม : ในสภาวะเงื่อนไขต่างๆ ที่จ�ำเป็ น เพื่อ ที่จะรักษาผลประโยชน์ต่างๆ สามารถใช้ บคุ คล พิเศษหรื อกฎหมายฉุกเฉินได้ ชุร็อยห์ กอฎี คือ หนึง่ ในบุคคลทีไ่ ด้ ถกู แต่งตังให้ ้ ทำ� หน้ าทีพ่ พิ ากษา มาตังแต่ ้ สมัยของอุมรั และในสมัยของอุสมาน เขาก็ ยัง คงปฏิ บัติหน้ าที่ นี ้ ด้ วยเหตุผลของผล ประโยชน์บางประการ ท่านได้ คงต�ำแหน่งหน้ าที่ ของเขาไว้ และได้ กล่าวกับเขาว่า ‫إقض كما كنت تقضي حتي اجتمع أمر الناس‬ “เจ้ าจงตัดสิน เช่นเดียวกับที่เจ้ าเคยตัดสิน มาก่อนหน้ านี ้ เพื่อให้ เรื่ องราวของประชาชนเป็ น หนึง่ เดียวกัน (ด�ำเนินไปในทิศทางเดียวกัน)” (46) แหล่งที่มา : [1] ตารี ค อัฏฏ็อบรี , เล่มที่ 5 [2] ตารี ค ฟั ครี , อิบนุ ฏ็อกฏอกี, แปลโดย มุฮมั มัด วะฮีด กุลพอยกานี, หน้ าที่ 112 – 115 [3] อันซาบุลอัชร๊ อฟ, อะห์มดั บินยะห์ยา บะลาซุรีย์, เล่มที่ 5, หน้ าที่ 26 [4] อัลอิซอบะฮ์ ฟี ตัมยีซิซซอฮาบะฮ์, ชะ ฮาบุดดีน อะห์มดั บินอะลี (อิบนุฮะญัร), เล่มที่

2, หน้ าที่ 314 [5] ตารี ค ฏ็อบรี , มุฮมั มัด บินญะรี ร, เล่มที่ 5, หน้ าที่ 2811 – 2818 ; อันซาบุลอัชร๊ อฟ, อะห์ มัด บินยะห์ยา บะลาซุรีย์, เล่มที่ 5, หน้ าที่ 26 - 29 ; ตารี ค อัลคุละฟาอ์, อับดุรเราะห์มาน อัซซุยฏู ี, หน้ าที่ 157 ; ตารี คยะอ์กบู ี, มุฮมั มัด บินอบียะอ์ กูบ, แปลโดย มุฮมั มัด บิรอฮีม อายะตี, เล่มที่ 2, หน้ าที่ 69 - 73 [6] อัลมะนากิบ, เล่มที่ 2, หน้ าที่ 110 ; ดะ อาอิมลุ อิสลาม, เล่มที่ 1, หน้ าที่ 396 ; ตะมามุ นะฮ์ญิลบะลาเฆาะฮ์, คุฏบะฮ์ที่ 39, หน้ าที่ 402 ; นะฮ์ญลุ บะลาเฆาะฮ์, คุฏบะฮ์ที่ 15 ; ชัรห์ นะฮ์ญิ ลบะลาเฆาะฮ์, อิบนุอบิลฮะดีด, เล่มที่ 1, หน้ าที่ 275 และนะฮ์ญซุ ซะอาดะฮ์ ฟี มุสตัดร็ อก นะฮ์ญิ ลบะลาเฆาะฮ์, เล่มที่ 1, หน้ าที่ 215 [7] ตะมามุ นะฮ์ญิลบะลาเฆาะฮ์, คุฏบะฮ์ ที่ 39, หน้ าที่ 339 [8] ชัรห์ นะฮ์ญิลบะลาเฆาะฮ์, อิบนุอบิลฮะ ดีด, เล่มที่ 6, หน้ าที่ 37 [9] ฆุร่อรุ้ลฮิกมั , อับดุลวะฮีด ออมะดี, ฮะ ดีษที่ 7570 ; นะฮ์ญลุ บะลาเฆาะฮ์, ฮิกมะฮ์ที่ 264 [10] อัลอิสตีอ๊าบ, อบูอมุ รั บินอับดุลบิร, เล่มที่ 3, หน้ าที่ 210 - 211 ; เมาซูอะฮ์ อัลอิมามุ อะลี อิบนิอบีฏอลิบ, มุฮมั มัด มุฮมั มะดี เรย์ชะฮ์รี, เล่มที่ 2, หน้ าที่ 151; ชัรห์ นะฮ์ญิลบะลาเฆาะฮ์, อิบนุอบิลฮะดีด, เล่มที่ 1 และ 10, หน้ าที่ 231 [11] อัลอิมามะฮ์ วัซซิยาซะฮ์, มุฮมั มัด บิน

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 119


อับดุลลอฮ์ อัดดัยนะวะรี , เล่มที่ 1, หน้ าที่ 116 ; อัลคิซ้อล, หน้ าที่ 379, ฮะดีษที่ 58 ; อัลอิคติ ซ้ อซ , มุฮมั มัด มุฮมั มัด บินนุอ์มาน (เชคมุฟีด), หน้ าที่ 177 [12] ตารี ค ฏ็อบรี (แปล), มุฮมั มัด บินญะ รี ร, เล่มที่ 6, หน้ าที่ 2342 [13] ชัรห์ นะฮ์ญิลบะลาเฆาะฮ์, อิบนุอบิล ฮะดีด, เล่มที่ 10, หน้ าที่ 231 [14] แหล่งอ้ างอิงเดิม [15] นะฮ์ ญุซ ซะอาดะฮ์ ฟี มุส ตัด ร็ อ ก นะฮ์ญิลบะลาเฆาะฮ์, มุฮมั มัด บากิร มะห์มดู ี, เล่มที่ 4, หน้ าที่ 28 ; อันซาบุลอัชร๊ อฟ, อะห์มดั บินยะห์ยา บะลาซุรีย์, เล่มที่ 1, หน้ าที่ 344 [16] มุรูญซุ ซะฮับ, อะลี มัสอูดี, เล่มที่ 2, หน้ าที่ 362 ; อัลกามิล ฟิ ตตารี ค, อิบนุอะซีร , เล่มที่ 2, หน้ าที่ 306 ; เมาซูอะฮ์ อัลอิมามุ อะลี, มุฮมั มัด มุฮมั มะดี เรย์ชะฮ์รี, เล่มที่ 4, หน้ าที่ 119 [17] อัลกามิล ฟิ ตตารี ค, อิบนุอะซีร, เล่มที่ 2, หน้ าที่ 201 ; ตารี ค ฏ็อบรี , มุฮมั มัด บินญะรี ร, เล่มที่ 6, หน้ าที่ 2345 [18] ชัรห์ นะฮ์ญิลบะลาเฆาะฮ์, อิบนุอบิล ฮะดีด, เล่มที่ 15, หน้ าที่ 98 ; บิฮารุ้ลอันวาร, มุฮมั มัดบากิร มัจญ์ลซิ ี, เล่มที่ 42, หน้ าที่ 176 อ้ างอิง จาก ซีมอเย่ ค๊ อรกุซอรอเน่ อะลี บินอบีฏอลิบ, อะ ลีอกั บัร ซากิรี, เล่มที่ 1, หน้ าที่ 87 [19] นะฮ์ญลุ บะลาเฆาะฮ์, จดหมายฉบับ ที่ 5

120 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

ที่ 52

[20] นะฮ์ญลุ บะลาเฆาะฮ์, จดหมายฉบับ

[21] แหล่งอ้ างอิงเดิม [22] แหล่งอ้ างอิงเดิม [23] แหล่งอ้ างอิงเดิม [24] แหล่งอ้ างอิงเดิม [25] แหล่งอ้ างอิงเดิม [26] แหล่งอ้ างอิงเดิม [27] ตารี คฟั ครี , อิบนุฏ็อกฏอกี , หน้ าที่ 112 - 113 [28] ตารี คอัฏฏ็อบรี , มุฮมั มัด อิบนิญะรี ร, หน้ าที่ 2705 [29] มุก็อดดิมะฮ์, อิบนุคอ็ ลดูน, เล่มที่ 1, หน้ าที่ 244 [30] ฟุตฮู ลุ บุลดาน, มุฮมั มัด บินยะห์ยา บะ ลาซุรี, หน้ าที่ 452 ; ฏอบะกอตุลกุบรอ , ฮิบนุซะ อัด, เล่มที่ 3, หน้ าที่ 214 [31] อัลอิสลาม วัซซุลฏอน วัลมุลก์, อัยมัน อิบรอฮีม, หน้ าที่ 211 [32] นะฮ์ญลุ บะลาเฆาะฮ์, สาส์นฉบับที่ 53 [33] นะฮ์ ญุซ ซะอาดะฮ์ ฟี มุส ตัด ร็ อ ก นะฮ์ญิลบะลาเฆาะฮ์, มุฮมั มัดบากิร มะห์มดู ,ี เล่ม ที่ 4, หน้ าที่ 30 - 31 [34] นะฮ์ญลุ บะลาเฆาะฮ์, สาส์นฉบับที่ 87 [35] ตะมามุ้ลบะลาเฆาะฮ์, หน้ าที่ 774 ; นะฮ์ญซุ ซะอาดะฮ์ ฟี มุสตัดร็ อก นะฮ์ญิลบะ ลาเฆาะฮ์, มุฮมั มัดบากิร มะห์มดู ,ี เล่มที่ 4, หน้ าที่


228

[36] อิมามอะลี วะมันฮะญุฮู ฟิ ลกอฎอฮ์, ฟาฎิลอับบาส อัลมุลลา, หน้ าที่ 5 [37] วะซาอิลชุ ชีอะฮ์, เชค ฮุรรุ้ลอามิล,ี เล่ม ที่ 18, หน้ าที่ 7 [38] อัลมุก็อดดิมะฮ์, อิบนุคอ็ ลดูน, เล่มที่ 1, หน้ าที่ 220 [39] นะฮ์ญลุ บะลาเฆาะฮ์, สาส์นฉบับที่ 53 [40] อะห์กามุซซุลฏอนียะฮ์, อบุลฮะซัน มาวัรดี, หน้ าที่ 87 [41] ฟี ชัรห์ นะห์ญิลบะลาเฆาะฮ์, มุฮมั มัด อับดุ, เล่มที่ 2, หน้ าที่ 59 ; นะฮ์ญลุ บะลาเฆาะฮ์, สาส์นฉบับที่ 19 [42] อะห์กามุซซุลฏอนียะฮ์, อบุลฮะซัน มาวัรดี, หน้ าที่ 253 [43] อิมามอะลี วะมันฮะญุฮู ฟิ ลกอฎอฮ์, ฟาฎิลอับบาส อัลมุลลา, หน้ าที่ 123 [44] ตุหะฟุลอุกลู , อิบนุ ชุอ์บะฮ์ ฮัรรอนี, หน้ าที่ 154 [45] อะวาลิลละอาลี, เล่มที่ 2, หน้ าที่ 343 [46] อัลฆอร๊ อต, อบีอิสฮาก อิบรอฮีม อัล กูฤ, เล่มที่ 1, หน้ าที่ 123

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 121


แปลและเรียบเรียงโดย

เชคมุฮมั มัดนาอีม ประดับญาติ

สาส์น

ฯพณฯ ผูน้ ำ� สูงสุด ทางจิตวิญญาณ

ท่า

ปี แห่งเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ด้วยความุ่งมัน่ แห่งชาติ และการบริหารจัดการ แบบญิฮาด

นอยาตุลลอฮ์ คาเมเนอี ผู้น�ำสูงสุดการปฏิวตั อิ ิสลามแห่งอิหร่าน ได้ สง่ สาส์นอวยพร เนื่องในวันขึ ้นปี ใหม่ของอิหร่าน ปี 1393 พร้ อมแสดงความยินดีเนื่องในวาระขึ ้น ปี ใหม่แด่พี่น้องประชาชนชาวอิหร่ านที่เคารพรักยิ่งทุกท่านที่อยู่ทวั่ ทุกสารทิศของโลก โดยเฉพาะ ครอบครัวอันทรงเกียรติ์ของเหล่าชะฮีด บรรดาผู้เสียสละ และนักรบในแนวทางอิสลามและอิหร่ าน ทุกท่าน ซึง่ ปี ใหม่ปีนี ้ ข้ าพเจ้ าขอก�ำหนดค�ำขวัญปี นี ้ให้ เป็ น “ปี แห่งเศรษฐกิจวัฒนธรรม ด้ วยความ มุง่ มัน่ แห่งชาติและการบริ หารจัดการแบบญิฮาดี” ท่านอยาตุลลอฮ์ คาเมเนอี ได้ ชี ้ว่า การเฉลิมฉลองปี ใหม่ปีนี ้อยูใ่ นช่วงอัยยามแห่งชะฮาดัตของ สตรี ผ้ ยู ิ่งใหญ่แห่งโลกอิสลามคือท่านหญิงฟาตีมะห์(ซ) ซึง่ ข้ าพเจ้ าวิงวอนขอยังพระผู้อภิบาล ซึง่ ช่วงเวลาดังกล่าวนี ้ เป็ นโอกาสที่ดีที่สดุ ส�ำหรับประชาติอิหร่านที่จะสามารถใช้ ประโยชน์อย่างสูงสุด จากนูรแห่งการชี ้น�ำของพระผู้อภิบาลและความบารอกัตของท่านหญิงให้ มากเป็ นทวีคณ ู ท่านผู้น�ำสูงสุด ได้ ก�ำหนดวางกรอบแผนปี ใหม่นี ้ โดยถือว่า ประเด็นเศรษฐกิจและวัฒนธรรม คือประเด็นที่มีความส�ำคัญที่สดุ มากกว่าสิง่ อื่นใด พร้ อมกับกล่าวย� ้ำว่า เพื่อให้ บรรลุซงึ่ ค�ำขวัญแห่ง ปี 93 คือ “ปี แห่งเศรษฐกิจวัฒนธรรม ด้ วยความมุง่ มัน่ แห่งชาติและการบริ หารจัดการแบบญิฮาดี”

122 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557


นั่ น คื อ ความพยายามร่ ว มกั น ระหว่ า ง บรรดาเจ้ าหน้ าที่ของประเทศและประชาชนทุก ภาคส่วน ท่านอยาตุลลอฮ์ คาเมเนอี ได้ ชี ้ถึงบทบาท หลักและบทบาทที่โดดเด่นในการเข้ าร่ วมและ การปรากฏตัวของพี่น้องประชาชน ใน “วิถีชีวิต และการสร้ างสรรค์พฒ ั นาประเทศชาติ” พร้ อม กับกล่าวเสริ มว่า ทังในเวที ้ ทางเศรษฐกิจ และใน เวทีทางวัฒนธรรม หากปราศจากการเข้ าร่วมของ ประชาชนนัน้ งานก็จะไม่ก้าวเดินไปข้ างหน้ า และ กลุ่มต่างๆของประชาชนก็จ�ำต้ องมีความตังใจ ้ และมีความมุง่ มัน่ ที่มนั่ คงแห่งชาติ ในการส�ำแดง และสร้ างบทบาทในเวทีนี ้ให้ บรรลุผลอย่างเป็ นรูป ธรรมอย่างแท้ จริ ง ท่ า นผู้น� ำ การปฏิ วัติ อิ ส ลาม กล่า วเสริ ม ว่ า บรรดาเจ้ า หน้ า ที่ ก็ เ ช่ น เดี ย วกัน ด้ ว ยการ มอบหมายต่อพระผู้เป็ นเจ้ าและอาศัยการการ สนับสนุนของประชาชน ในทังสองเวที ้ ทังเวที ้ ทาง เศรษฐกิจและวัฒนธรรม จะต้ องเข้ าสูภ่ าคสนาม แห่งการปฏิบตั อิ ย่างจริ งจังเยี่ยงนักสู้ ท่านผู้น�ำสูงสุด กล่าวย�ำ้ ว่า สิ่งที่เราคาด หวังในปี ใหม่ปีนี ้ คือ ด้ วยความช่วยเหลือของ บรรดาเจ้ าหน้ าทีแ่ ละประชาชนจะท�ำให้ เศรษฐกิจ นัน้ เปล่งบานและมั่นคัง่ และในภาคส่วนของ วัฒนธรรม ด้ วยความมุง่ มัน่ ของบรรดาเจ้ าหน้ าที่ และประชาชน จะสามารถก�ำหนดทิศทางแห่ง การขับเคลื่อนที่ยิ่งใหญ่ของประเทศชาติได้ เป็ น

อย่างดี ท่ า นอยาตุ ล ลอฮ์ คาเมเนอี ได้ กล่ า ว ย� ำ้ ถึ ง ความจ� ำ เป็ นในการใช้ ประโยชน์ จ าก ประสบการณ์ และอุทาหรณ์ ที่ผ่านมา ในการ ตัดสินอนาคต ด้ วยการประเมินผลด้ านคุณภาพ ในการบรรลุค� ำ ขวัญ “ วี ร กรรมแห่งการเมื อง และเศรษฐกิ จ ” พร้ อมกับ กล่า วเสริ ม ว่า ในปี 92 วีรกรรมแห่งการเมืองได้ บงั เกิดขึ ้นแล้ วด้ วย การเข้ าร่ วมและปรากฏตัวของประชาชน และ ความพยายามของบรรดาเจ้ า หน้ าที่ ใ นภาค ส่วนต่างๆ อาทิเช่น การเลือกตัง้ การเดินขบวน ประท้ วงครัง้ ยิ่งใหญ่และในด้ านภาคส่วนต่างๆ อีกมากมาย ซึง่ เป็ นการบังเกิดผลในรูปลักษณะ ที่สวยงามและดีที่สดุ และด้ วยความร่วมมือของ อ�ำนาจฝ่ ายบริ หาร ท�ำให้ เกิดความสงบสุข และ ความปลอดภัย อันเป็ นห่วงโซ่อนั ใหม่แห่งความ ยาวนานในการบริ หารจัดการประเทศชาติ ท่านผู้น�ำการปฏิวตั อิ ิสลาม ถือว่า ประเด็น เศรษฐกิจคือประเด็นส�ำคัญส�ำหรับประชาชนและ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 123


ประเทศชาติ พร้ อมกับกล่าวชี ้ถึงความพยายาม ของบางกลุม่ ที่ไม่อาจจะท�ำการชื่นชม และกล่าว ขอบคุณ ในด้ านวีรกรรมแห่งเศรษฐกิจ พร้ อม กับกล่าวเสริ มว่า ทัง้ นีใ้ นปี ที่ผ่านมา วีรกรรม แห่งเศรษฐกิจยังไม่บงั เกิดผลตามที่ได้ คาดหวัง เท่าที่ควร ซึง่ จ�ำเป็ นอย่างยิง่ ที่วรี กรรมนี ้จะต้ องให้ บังเกิดผลอย่างเป็ นรูปธรรมในปี นี ้ให้ ได้ ท่านผู้น�ำสูงสุด ถือว่า “นโยบายเศรษฐกิจ แบบยัง่ ยืน” นัน้ เป็ นโครงสร้ างขันพื ้ ้นฐานในเชิง ความคิดและทฤษฎี เพื่อให้ บังเกิ ดซึ่งวีรกรรม แห่งเศรษฐกิจอย่างแท้ จริ ง พร้ อมกับกล่าวย� ้ำว่า ภายใต้ กรอบแผนของนโยบายนี บั้ ดนี ้พื ้นฐานเพือ่ ความพยายามอันไร้ ขดี จ�ำกัดถูกเตรียมพร้ อมแล้ ว ในการอวยพรสาส์ นปี ใหม่ปีนี ้ ท่านอยา

124 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

ตุลลอฮ์ คาเมเนอี ได้ วิงวอนจากพระผู้อภิบาลให้ พี่น้องชาวอิหร่านที่รักยิ่งทุกท่าน บรรดาเยาวชน หนุ่มสาว ครอบครัว เด็กๆ ชายหนุ่มและสตรี ใน พื ้นแผ่นดินอันทรงเกียรติ์และความภาคภูมิใจนี ้ มีสขุ ภาพพลานามัยที่ดีแข็งแรง มีความสุข มี ความสงบมัน่ ด้ านจิตวิญญาณ มีความรัก ความ ก้ าวหน้ า ความเจริ ญรุ่ งเรื องและความผาสุกกัน ถ้ วนหน้ าด้ วยเถิด


กิจกรรมและความเคลื่อนไหว กองบรรณาธิการ

Activities & Movement งานวัฒนธรรม อิหร่าน

"หนึง่ วันกับ อารยธรรมอิสลาม แห่งอิหร่าน" ในวันเสาร์ ที่ 1 กุมภาพันธ์ 2557 ศูนย์ วัฒ นธรรม สถานเอกอัค รราชทูต สาธารณรั ฐ อิสลามแห่งอิหร่าน ประจ�ำกรุงเทพมหานครฯ ร่วม กับวิทยาลัยเทคโนโลยสยาม ได้ จดั งานวัฒนธรรม อิหร่าน ขึ ้น ณ ห้ องประชุมของวิทยาลัยเทคโนโลยี สยาม โดยในงานดังกล่าวมีแขกผู้มีเกียรติได้ เดิน ทางเข้ ารว่มงาน เช่น ฯพณฯ ฮุเซน กะมาลิยอน เอกอัครราชทูตสาธารณรั ฐอิสลามแห่งอิหร่ าน

ประจ�ำประเทศไทย พร้ อมภริ ยา , นายมุศฏอฟา นัจญาริ ยอน ซอเดะห์ ที่ปรึ กษาฝ่ ายวัฒนธรรม ศูนย์วฒ ั นธรรม สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐ อิสลามแห่งอิหร่าน ประจ�ำกรุงเทพฯ พร้ อมภริ ยา , ศาสตราจารย์ ดร. ศรี ศกั ดิ์ จามรมาน อธิการบ ดีกิตคิ ณ ุ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม , อาจารย์พร พิสทุ ธิ์ มงคลวนิช อธิการบดีวิทยาลัยเทคโนโลยี สยาม , อาจารย์อบุ ลวรรณ สุวรรณ ผู้ช่วยรอง

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 125


อธิการบดีฝ่ายบริ การ , ดร. ฐกฤต ปานขลิบ ผู้ อ�ำนวยการหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณ ทิต ผู้เชี่ยวชาญด้ านพลังงาน , ดร. ประเสริ ฐ สุขศาสน์กวิน คณบดี คณะอิสลามศึกษา และ อิหร่ านศึกษา , ดร. เอก มงคล คณบดีคณะ รัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีแห่งอโยธ ยา , นายกิติศกั ดิ์ บูรณสมภพ อดีตประธานมูล นิธิดิหว่านเจริ ญพาศน์ , นายชยันต์ ชิตานุวตั ร์ กรรมการมูลนิธิดิหว่านเจริ ญพาศน์ คณาจารย์ และนิสติ นักศึกษา ก�ำนหดการเริ่มต้ นโดย ฯพณฯ เอกอัครราชทูตสาธารณรั ฐอิสลามแห่งอิหร่ าน และที่ ป รึ ก ษาฝ่ ายวัฒ นธรรมฯ ได้ น� ำ แขกผู้มี เกียรติชมนิทรรศการทีจ่ ดั อยูด่ ้ านหน้ าห้ องประชุม จากนัน้ เป็ นการกล่าวต้ อนรั บจากท่าน ศาสตราจารย์ ดร. ศรศักดิ์ จามรมาน อธิการบดีกิ ติคณ ุ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม โดยท่านได้ กล่าว

126 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

ว่า :

คณาจารย์ และนักศึกษาที่ เคารพของ ข้ าพเจ้ า วิ ท ยาลัย เทคโนโลยี ส ยามของเรา ขอกล่ า วต้ อ นรั บ ฯพณฯ ฮุเ ซน กะมาลิ ย อน เอกอัครราชทูตสาธารณรั ฐอิสลามแห่งอิหร่ าน ประจ�ำประเทศไทย พร้ อมภริ ยาของ ฯพณฯ และ ขอกล่าวต้ อนรับที่ปรึกษาฝ่ ายวัฒนธรรม พร้ อม ภริ ยา และแขกผู้มีเกี ยรติทุกท่าน การจัดงาน วัฒ นธรรมอิ ห ร่ า นในวัน นี น้ ับ ว่า เป็ นการเชื่ อ ม สายสัมพันธ์ อนั ดีงามระหว่างองค์กรของเราทัง้ สอง และเป็ นการสืบสานสายสัมพันธ์ ระหว่าง ประเทศที่มีมาช้ านาน และข้ าพเจ้ าขอเรี ยนเชิญ ท่านอาจารย์พรพิสทุ ธิ์ มงคลวนิช อธิการบดีวทิ ยา ลัยเทคโนด,ยีสนาม ได้ มากล่าวต้ อนรับแขกผู้มี เกียรติทกุ ท่านด้ วย ขอขอบคุณ จากนันท่ ้ านอาจารย์พรพิสทุ ธิ์ มงคลวนิช


อธิ ก ารบดี วิ ท ยาลัย เทคโนโลยี ส ยามได้ ก ล่า ว ต้ อนรับ โฌดยท่านได้ กล่าวว่า : ข้ าพเจ้ าในฐานะตัวแทนของคณาจารย์ นิสิตนักศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ขอ กล่าวต้ อนรับแขกผู้มเกียรติจากอิหร่ าน และนัก วิชาการทีเ่ คารพทีไ่ ด้ เดินทางมทาร่วมมงานฉลอง ครบรอบปี ที่ 35 ของการสถาปนาสาธารณรั ฐ อิสลามแห่งอิหร่าน ในงานวัฒนธรรมอิหร่าน ซึง่ อารยธรรม และวัฒนธรรมอิหร่านที่มีมาช้ านาน กว่า 7,000 ปี และหวังว่าการจัดงานในวันนี ้จะ เป็ นประโยชน์แก่ทา่ นทังหลาย ้ และหวังเป็ นอย่าง ยิ่งว่าในอนาคตอันใกล้ นี ้ทางวิทยาลัยเทคโนโลยี สยามจะได้ มีโอกาสที่จะสร้ างสรรค์สายสัมพันธ์ ที่ดีระหว่างมหาวิทยาลัยของอิหร่านกับวิทยาลัย เทคโนโลยีสยาม และการจัดงานเช่นนี ้ซึง่ เป็ นการ จัดงานขึ ้นครัง้ แรก ณ วิทยาลัยของเรา จะได้ มี โอกาสจัดงานเชนนี ้ต่อๆไปในทุกๆปี ขอขอบคุณ เป็ นอย่างยิ่ง จากนั น้ นายมุ ศ ฏอฟา นั จ ญาริ ย อน ซอเดะห์ ทีป่ รึกษาฝ่ ายวัฒนธรรม ศูนย์วฒ ั นธรรม สถานเอกอัค รราชทูต สาธารณรั ฐ อิ ส ลามแห่ง

อิ ห ร่ า น ประจ� ำ กรุ ง เทพมหานครฯ ได้ ก ล่ า ว วัตถุประสงค์ของการจัดงานวัฒนธรรมอิหร่ าน โดยได้ กล่าวว่า : ด้ วยพระนามของอัลลอฮ์ พระผู้ทรงกรุณา พระผู้ทรงเมตตาเสมอ เรี ยน ท่านศตราจารย์. ดร. ศรี ศกั ดิ์ จามร มาน อธิการบดีกิตคิ ณ ุ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม , ท่านอาจารย์พรพิสทุ ธิ์ มงคลวนิช อธิการบดี วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม , ฯพณฯ ฮุเซน กะมา ลิย อน เอกอัค รราชทูต สาธาณรั ฐ อิ ส ลามแห่ง อิหร่ าน ประจ�ำประเทศไทย , คณาจารย์ เจ้ า หน้ าที่ , นิสติ นักศึกษา ที่เคารพ ท่านสุภาพบุรุษและสุภาพสตรี ที่เคารพ ถื อเป็ นเกี ยรติอย่างยิ่งในวโรกาสวันชาติ และวันสถาปนาสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่ าน ที่ เ รามี โ อกาสจัด งานแสดงศิ ล ปะ วัฒ นธรรม ขึน้ ในสถานที่ ที่เป็ นศูนย์กลางขององค์ความรู้ เป็ นสถานที่ในการผลิตนักวิชาการ ตังแต่ ้ อดีต มาจนถึ ง ปั จ จุบัน และด้ ว ยความร่ ว มมื อ จาก คณาจารย์ที่เคารพ งานนี ้จึงได้ ถกู จัดให้ มีขึ ้น การจัดงานครั ง้ นี ้ ได้ แสดงให้ เห็นถึงสาย สัมพันธ์อนั เก่าแก่ของสองประเทศทีม่ มี ายาวนาน จากความร่ วมมือของทังสองฝ่ ้ ายได้ พยายามที่ จะน�ำพาประชาชนของทัง้ สองประเทศได้ เรี ยน รู้ จักถึงความสัมพันธ์ ระหว่างสองประเทศที่อยู่ ร่วมกันนัน้ เป็ นสิงจ�ำเป็ นไม่วา่ จะเป็ นในเรื่ องการ ศึกษา วัฒนธรรม ศิลปะ การเมืองการปกครอง

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 127


และเศรษฐกิจ แขกผู้มีเกี ยรติที่เคารพทุกท่าน ข้ าพเจ้ า ต้ องการที่จะกล่าวกับพวกท่านว่า ความสัมพันธ์ ในประวัตศิ าสตร์ ของสองประเทศคืออิหร่าน และ ไทยได้ เริ่ มต้ นอย่างเป็ นทางการเมื่อ ปี ค.ศ. 1605 ในยุดสมัยของท่านเจ้ าพระยาบวราชนายก เฉ กอะห์มดั กุมมี นักวิชาการชาวอิหร่าน ทีได้ เดิน ทางมายังกรุ งศรี อยุธยา เมืองหลวงของสยาม ประเทศ ท่านได้ ภาวนาตนเองในการปั กหลักตัง้ ถิ่นฐานในวยามประเทศ เพือ่ รับใช้ ประชาชน และ พระมหากษัตรย์ของสยามประเทศ ด้ วยตัวท่าน เองเป็ นผู้ที่มีความสามารถในด้ านต่างๆ จึงได้ รับ ความไว้ วางประราชหฤทัยของกษัตรย์สยาม จึง ทรงโปรดเกล้ าแต่งตังให้ ้ ทา่ นด�ำรงต�ำแหน่งส�ำคัญ ของประเทศ และท่านเจ้ าพระยาบวรราชนายก เฉกอะห์มดั กุมมี ได้ รับพระราชทานสตรี ไทยที่มี นามว่า ชี จากราชนิกลุ ให้ ทำ� การสมรสจนสืบบุตร หลานสายสกุลเช่นสกุลบุนนาคและการาชนิกลุ อื่นๆ และได้ รับพระราชทานแต่งตังให้ ้ เป็ นปฐม จุฬาราชมนตรี จากคุณงามความดีทที่ า่ นเฉกอะห์ มัด กุมมี ได้ กระท�ำไว้ ในแผ่นดินสยามนี ้ เป็ นเหตุ ให้ สายสัมพันธ์ ของประชากรของสองประเทศมี 128 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

ความสัมพันธ์อนั ดีตอ่กนั เรื่อยมาตราบจนทุกวันนี ้ แขกผู้ มี เ กี ยรติ ทุ ก ท่ า น อารยธรรม วัฒนธรรมของสาธารณรั บอิสลามแห่งอิหร่ าน ในยุคทองไม่ใช่แคร่ เพียงว่าอิหร่ านเป็ นประเทศ อิสลามประเทศหนึง่ แต่ยงั มีต�ำราอีกมากมายที่ เขียนเกี่ยวกับ การค้ นคว้ า เกี่ยวกับประเทศต่างๆ โดยเฉพาะในเรื่ องความเป็ นมาแห่งอารยธรรม ของอิสลามแห่งอิหร่ าน นักค้ นคว้ าต่างให้ ความ สนใจที่จะเขียนจารึกค้ นคว้ าเกี่ยวกับอารยธรรม อิสลามของอิหร่าน ข้ า พเจ้ า ต้ อ งการที่ จ ะกล่า วบอกกับ พวก ท่านว่า อารยธรรมอิสลามนัน้ ได้ ก่อก� ำเนิดขึน้ จากรากฐานแห่งความสันติและแพร่ ขยายออก ไป บรรดานักวิชาการต่างๆ ก็เขียนผลงานวิจยั ในภาษาต่ า งๆ แม้ ก ระทัง้ ภาษาอาหรั บ และ นักวิชาการที่ มีชื่อเสียงชาวอิหร่ านเช่น ท่านฟ อระบี อบนุซินา และท่านรอซี ต่างก็เป็ นมุสลิม ชาวอิหร่านที่คิดค้ นทฤษฎีตา่ งๆ ในวงการแพทย์ ปรัชญา คณิตศาสตร์ การค�ำนวณ แม้ กระทังใน ้ เรื่องของเคมีทางการแพทย์ทที่ า่ นอิบนุฮ๊ซมั บะศะ รี ชาวอะห์ ว าซเป็ นคนอิ ห ร่ า นก็ เ ป็ นคนคิ ด ค้ น ทฤษฎีเคมีการแพทย์ขึ ้นมา บรรดาแขกผู้มีเกียรติที่เคารพ สาธารณรัฐ อิสลามแห่งอิหร่ าน ได้ รับความเมตตาจากพระ ผู้เป็ นเจ้ า และได้ รับการสถาปนารัฐอิสลามโดย ท่านอิมาม โคมัยนี (รฮ.) นักวิชาการด้ านศาสนา การเมือง ในศตวรรษที่ 20 ได้ ก่อตังและสถาปนา ้


สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่ านขึ ้น ปี นี ้เป็ นที่ 35 ซึง่ ตรงกันวันที่ 22 เดือนบะห์มนั (เดือนอิหร่าน) ปี ค.ศ. 1979 วันที่ 11 กุมภาพันธ์ ของทุกๆปี สาธารณรั ฐอิสลามแห่งอิหร่ านได้ รับแสงสว่าง ทางน�ำ ท�ำให้ ประชาชนชาวอิหร่ านที่เต็มเปี่ ยม ด้ วยศรัทธาได้ น้อมรับที่จะปฏิวบั ตั ิตามท่านผู้น�ำ สูงสุดทางจิตวิญญาณ คือท่านอิมามคามาเนอี ซึง่ ท่านเป็ นผู้น�ำพาประเทศชาติในเรื่ องการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ด้ านวิชาการความรู้ การศึกษา ด้ านการแพทย์ และอีกมากมายที่ทา่ น เป็ นผู้ชีแ้ นะ ด้ วยเหตุนีส้ าธารณรัฐอิสลามแห่ง อิหร่านยังได้ พฒ ั นาประเทศในทุกด้ าน การศึกษา การแพทย์ เทคโนโลยี อุตสาหกรรม เกษตรกรรม อุตสาหกรรมรถยนต์ เครื่ องมืออาวุธยุทโธปกรณ์ ไว้ ปกป้องเขตแดน และอาณาจักรอิสลาม ดุต สหากรรมเอเดินทะเล เรื อด�ำน� ้ำ ดาวเทียม และ

อื่นอีกมากมาย เรามีความเชื่อมัน่ ว่าประชาชนจะรู้ จกักนั มีความใกล้ ชิดกันยอ่มมากจากการแลกเปลี่ยน วัฒนธรรม และการเรี ยนรู้ จักอารยธรรมต่อกัน เพราะอารยธรรม และวัฒนธรรมจะน�ำมาซึง่ การ สร้ างสันติภาพความสงบบโลกนี ้ได้ สุด ท้ า ยข้ า พเจ้ า ขอขอบคุณ ต่อ แขกผู้มี เกียรติทกุ ท่าน โดยเฉพาะท่านอธิการบดี วิทยาลัย เทคโนโลยีสยาม และคณาจารย์ที่ร่วมมือในการ จดังานวัฒนธรรมและศิลปะขึ ้นในโอกาสนี ้ จากนั น้ เป็ นการกล่ า วเปิ ดงานและ บรรยายพิเศษ โดย ฯพณฯ ฮุเซน กะมาลิยอน เอกอัครราชทูตสาธารณรั ฐอิสลามแห่งอิหร่ าน ประจ�ำประเทศไทย โดยท่านได้ กล่าวว่า : ด้ ว ยพรพะนามของอัล ลอฮ์ พระผู้ ทรง เมตตา พระผู้ทรงกรุณาปรานีเสมอ เรี ยน ท่านศตราจารย์. ดร. ศรี ศกั ดิ์ จามร มาน อธิการบดีกิตคิ ณ ุ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม , ท่านอาจารย์พรพิสทุ ธิ์ มงคลวนิช อธิการบดี วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม , คณาจารย์ เจ้ าหน้ าที่ , นิสติ นักศึกษา และแขกผู้มีเกียรติทกุ ท่าน ประการแรกข้ าพเจ้ าต้ องขอขอบคุณท่าน อธิการบดี คณาจารย์ และเจ้ าหน้ าทีข่ องวิทยาลัย เทคโนโลยีสยาม ทีไ่ ด้ ร่วมมมือในวโรกาสครบรอบ 35 ปี ของการสถาปนาสาธารณรัฐอิสลามแห่ง อิหร่าน ที่ได้ จดั งานวัฒนธรรมอิหร่านขึ ้น ในเรื่ อง ของอารยธรรม และวัฒนธรรมของอิหร่านทีม่ อี ายุ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 129


นานากว่า 7,000 ปี ถ้ าจะน�ำมากล่าวพูดในช่วง เวลาอันจ�ำกัดนี คงจะพู ้ ดไม่ครบอย่างแน่นอน แต่ ก็ขออนุญาตทีจ่ ะน�ำส่วนส�ำคัญบางส่วนบางตอน มาน�ำเสนอกกล่าวให้ ทา่ นผู้เกียรติได้ รับทราบ ดังที่ทราบกันอยู่แล้ วว่าอารยธรรมอิหร่ าน ของเรามีความเก่าแก่มานานกว่า 7,000 ปี มีนกั วิชาการ และนักประวัติศาสตร์ หลายต่อหลาย ท่านที่ได้ กล่าวเกี่ยวกับอารยธรรมอันเก่าแก่ของ มนุษยชาตินนคื ั ้ อ อารยธรรมของอิหร่าน ข้ าพเจ้ า เองก็ไม่ต้องการที่จะน�ำเสนอว่าประเทศอิหร่ าน ของเรามีความยิง่ ใหญ่ และมีความเก่าแก่ในเรื่ อง ของอารยธรรม แต่ต้องารที่น�ำค�ำกล่าวของนัก วิชาการ และนักประวัตศิ าสตร์ หลายๆ ท่านที่ได้ กล่าวเกี่ยวกับเรื่ องนีม้ ากล่าวของต่อท่านได้ รับ ฟั ง ดังทีว่ ทิ ยาลัยเทคโนโลยีสยามีโครงการในการ ที่จะเปิ ดชันเรี ้ ยนเกี่ยวกับอิหร่านศึกษา ในจุดตรง นี ้ที่สามารถจะเป็ นกระบอกเสียงหนึง่ ในการที่จะ ท�ำให้ ผ้ อู ื่นได้ หเข้ าใจในเรื่ องราวของอิหร่านได้ ดี ประการแรกถ้ าต้ องการที่จะน�ำอารยธรรม ของิหร่ านไปเปรี ยบเทียบกับอารยธรรมของประ เทศอื่นๆ จะพบได้ วา่ อารยธรรมของมนุษยชาติที่ เก่าแก่ที่สดุ คือารยธรรมอของอิหร่าน นักวิชาการ และนัก ประวัติ ศ าสตร์ ข องโลกต่ า งก็ ล งความ เห็ น พร้ องต้ อ งกัน ว่า อารยธรรมอัน เก่ า แก่ ข อง มนุษยชาติได้ ค้นพที่เมืองชูซของอิหร่าน ประการที่ สองอารยธรรมอันเก่ าแก่ ขอบ มนุษยชาติที่ถกู ค้ นพบในหน้ าประวัติศาสตร์ อยู่

130 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

ที่ราบสูงของอิหร่ าน โดยเฉพาะในเมืองชูซนันมี ้ อารยธรรมเก่าแก่นานกว่า 2,500 ปี ท่านอธิการบดีวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามที่ เคารพ นักวิชาการทางด้ านประวัติศาสตร์ ที่มีชื่อ เสียงชาวฝรั่งเศสต่างก้ ยอมรับว่าอารยธรรมอัน เก่าแก่ของมนุษยชาตินัน้ อยู่ในเมืองต่างๆของ อิหร่าน ดังนันอารยธรรมต่ ้ างๆของอิหร่านนันยั ้ ง คงเหลือร่องรอยอยูใ่ นปั จจุบนั ประการที่สามหลักฐานที่นกั วิชาการ นัก ธรณีวิทยา และนักประวัติศาตร์ ได้ ค้นค้ วาวิจยั ในเรื่ องอารยธรรมอันเก่าแก่ของมนุษยชาตินนั ้ มีแหล่งที่มาจากอิหร่ าน และแม้ กระทัง้ ค�ำที่ใช้ จ�ำกัดในเรื่ องของการปกครอง การเมือง ที่เรี ยก ว่ากฎหมาย ค�ำในภาษาเอร์ เซีย ถุกเรี ยกว่า “กอ นูน” นันก็ ้ เป็ นหลักฐานหนึง่ ทีช่ าวอิหร่านเป็ นผู้คดิ ค้ นกฏหมายการปกครองขึ ้นมาในอดีต และทุก ประเทศก็น�ำมาใช้ ในปั จจุบนั ประการที่ สี่ นับ ว่า เป็ นที่ ป ระจัก ษ์ แ จ้ ง แล้ วว่า อิหร่านเป็ นประเทศแรกในการผลิตภัณฑ์ เครื่ องปั น้ ดินเผา และศิลปะหัตถกรรม ได้ น�ำไป ค้ าขายในต่างแดน จนเป็ นที่ร้ ู จกั ไปทัว่ ว่าสินค้ า หัตถกรรมต่างๆเหล่านี ถ้ ูกจัดและผลิตมาจาก อิหร่าน ประการที่ห้า นับว่าอิหร่ านนัน้ ได้ เป็ นผู้ หนึ่งในการคิดค้ นการจารึ ก การบันทึก ด้ วยคัด ลายมือ ดังจะเห็นได้ จากหลักฐานกฏหมายสิทธิ มนุษยชนที่ ถูกเขี ยนด้ วยลายมื อ และยังคงใช้


อยู่ในยุคปั จจุบนั ซึง่ 4กฏหมายฉบับที่เขียนด้ วย ลายมือนีม้ ีอายุมากกว่า 2,700 ปี ก่อนหน้ าคริ ศวรรษเสียอีก ซึง่ ค้ นพบทีเ่ มืองชูซของอิหร่าน และ ปั จจุบนั ถูกเก็บรักษาอยูท่ มีพิพิธภัณฑ์ในอังกฤษ ดัง นัน้ สิ่ ง ต่ า งๆเหล่ า นี ้ ประวัติ ศ าสตร์ จะเป็ นผู้พิสจู น์ได้ ว่าจริ งเท็จประการใด อิหร่ าน เป็ นกลุม่ ชนแรกทีไ่ ด้ จดั ตังการปกครอง ้ ทีม่ อี ายุไข ก่อนหน้ าคริ สศักรราช ประชาชนส่วนใหญ่ได้ เห็น พร้ องต้ องกันว่าการปกครองที่ถกู จัดวางระเบียบ อย่างเหมาะสมนันเกิ ้ ดจากอิหร่ านในอดีต การ ปกครองของิหร่ านตังแต่ ้ ทะเลสาปของอิหร่ านสู่ ทะเลแดงนัน้ ผู้คนต่างก็ยอมรับในการปกครอง ของอิหร่าน และในการปกครองนันมี ้ ผสมผสาน ด้ วยอารยธรรม และวัฒนธรรมอันหลากหลาย ที่ ง ดงาม ผู้ป กครองที่ มี ชื่ อ เสี ย งที่ สุด ในโลกที่ ประชาคมโลกต่างยอมรับ ก็คอื กษัตรย์ฃรุ ูดที่เป็ น กษัตริ ย์ที่ปกครองอย่างเป็ นธรรมที่สดุ นับ ว่ า เป็ นสิ่ ง ดี ที่ นิ สิ ต นัก ศึก ษาควรจะ เรี ยนไว้ วา่ กฏหมายสิทธิมนุษยชนฉบับแรกเขียน

ขึ ้นโดยชาวอิหร่านในยุคสมัยของคุรูช ซึง่ ปั จจุบนั องค์กรสหประชาชาติก็ยอมรับว่ากฏหมายสิทธิ มนุษยชนฉบับแรกเขี ยนขึน้ โดยนักวิชการชาว อิหร่าน ดังนันชาวอิ ้ หร่ านต่างก็ตระหนักในเรื่ อง สิทธิมนุษยชน สิทธิของเพื่อนบ้ านนันย่ ้ อมได้ รับ การคุ้มครอง อิหร่ านเป็ นกลุม่ ชนแรกที่พยายาม ในการสร้ างสายสัมพันธ์ทดี่ ี ผู้ปกครองของอิหร่าน พยายามทีจ่ ะสร้ างองค์กรต่างๆให้ มคี วามสัมพันธ์ ที่ดีกบั องค์กรอื่นๆ ในเรื่ องนี ้ข้ าพจไม่ต้องการที่ กล่าวลึกลงไป แต่ทว่าประวัติศาสตร์ ได้ จารึ ก บันทึกไว้ แล้ ว ข้ าพเจ้ าขออนุ ญ าตที่ จ ะน� ำ พวกท่ า น ไปสู่อีกมุมหนึ่ง อิหร่ านเป็ นประเทศอันยิ่งใหญ่ ประเทศหนึ่งที่ชาวโลกให้ การยอมรั บ แม้ กระ ทังในเรื ้ ่ องของศิลปะต่างๆ จากการก่อสร้ างวาง รากฐานอาคาร โดม ซุ้ม โค้ ง ตามที่ ไ ด้ ป รากฎ นัน้ ก็ เป็ นฝี มื อการออกแบบของชาวอิหร่ านทัง้ สิ ้น อิหร่ านพยายามที่จะส่งนักวิชาการออกไปสู่

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 131


ต่างประเทศ อิหร่ านได้ ขยายและเผยแพร่ ศิลปะ วัฒนธรรมของตนเองไปหมู่ชนต่างๆ ข้ าพเจ้ าจ ไม่กล่าวเน้ นให้ มากไปกว่านี ้ แต่ต้องการทีจบ อกว่าอารยธรรมของแต่ละประเทศนันมี ้ คณ ุ ค่า เช่น เดี ย วกัน อารยธรรมของอิ ห ร่ านที่ ไ ด้ ผ นวก เข้ า กับ อิ ส ลามได้ ผ ลิ ต นัก วิ ช าการที่ มี ชื่ อ เสี ย ง เรี ยงนามของโลก นักศึกษาทที่ เคารพ นักพิสิ กการแพทย์ ที่มีชื่อเสียงของโลกคื อท่านอะบูซิ นา หรื ออะบิซซิน่า ซึ่งต�ำราของท่านนันแม้ ้ กระ ทังมหาวิ ้ ทยาลัยออฟฟอดของอังกฤษได้ ใช้ เป็ น ต�ำราเรี ยน และนักดาราศาสตร์ ของโลกคนแรก นัน้ เป็ นชาวอิหร่ าน สิ่งที่ได้ กล่าวมานัน้ ต้ องกที่ จะกล่าวให้ นกั ศึกษาได้ เข้ าใจ และไม่มีข้อสงสัย ใดเลยที่ร่องรอยของอารยธรรมโลกที่เก่าแก่ คือ อารยธรรมอิหร่ าน ไม่ใช่ว่าเราจะยกย่องตัวของ เราเอง แต่ทว่านักวิชาการ และนักประวัติศาตร์ ต่างได้ กล่าวไว้ เช่นนัน้ เพราะอารยธรรมถือว่ามี คุณค่ายิง่ ส�ำหรับมนุษยชาติ ในขณะที่ประเทศใน กลุม่ ยุโรปพยายามทีจ่ ะพัฒนาวิชาการของตนเอง ให้ เจริ ญก้ าวหน้ า อิหร่านก็เช่นกันได้ พยายามใน การพัฒนาวิชาการให้ เจริญก้ าวหน้ าทันสมัย และ จุดหฟมายอันส�ำคัญยิ่งที่นกั วิชาการของเราได้ พยายามที่จะเผยแพร่ วิชาการในสาขาวิชาต่างๆ ไปทัว่ โลก และในเรื่ องวิชาการความรู้นนอิ ั ้ หร่ าน ก็เป็ นประเทศหนึง่ ที่ติดอันดับอยู่อนั ดับต้ นๆของ โลก ด้ วยเหตุ นี ก้ ารสถาปนาสาธารณรั ฐ

132 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

อิ ส ลามแห่ ง อิ ห ร่ า น โดยท่ า นอิ ม าม โคมัย นี (รฮ.) พร้ อมกับประชาชนของท่านในการที่จะ เผยแพร่ ความรู้ ต่างๆ ที่มีอยู่ในประเทศไปสูช่ าว โลก ดังนัน้ สาส์ นที่ อิหร่ านได้ ส่งมายังชาวโลก ในฐานะที่ข้าพเจ้ าด�ำรงต�ำแหน่งเอกอัครราชทูต สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน สาส์นนันคื ้ อความ สันติ และความสงสุขของชาวโลก ดังนัน้ สิ่งที่ สามารถจะด�ำเนินการได้ ของสองประเทศคือการ มีอยู่ร่วมกันของวัฒนธรรมของทัง้ สองประเทศ สุดท้ ายนี ้ข้ าพเจ้ าต้ องขอขอบคุณท่านอธิการบดี คณาจารย์ นิสตินักศึกษา และแขกผู้มีเกี ยรติ ทุกท่านที่ได้ ตงใจฟั ั ้ งสิ่งที่ข้าพเจ้ าได้ กล่าวไปข้ าง ต้ น และข้ าพเจ้ าขอให้ คณาจารย์ และนักศึกษา ประสบความส�ำเร็ จในการศึกษา และหวังว่าเรา จะได้ มีโอกาสพบกันในการจัดงานครัง้ ต่อไป ขอ ขอบคุณ จากนั น้ เป็ นการบรรยายพิ เ ศษ เรื่ อ ง “บทบาทสิ ท ธิ ส ตรี ช าวอิ ห ร่ า นก่ อ นการปฏิ วัติ อิสลาม” โดยมาดามซะห์รอ นัจญาริยอน ซอเดะห์ ภริยาทีป่ รึกษาฝ่ ายวัฒนธรรม โดยท่านมาดามได้ กล่าวดังนี ้ : ด้ วยพระนามของอัลอฮ์ พระผู้ทรงเมตตา พระผู้ทรงกรุณาปรานีเสมอ พระองค์ อัลลอฮ์ (ซบ.) ทรงบัญญัติตรั ส ในคัมภีร์อลั กุรอานว่า “แท้ จริ งอัลลอฮ์ จะไม่ทรง เปลี่ยนแปลงประชาชาติใด จนกว่าพกวเขาจะ เปลี่ยนแปลงสตัวของเขาเองก่อน”


ก่ อ นอื่ น ข้ าพเจ้ าต้ องขอขอบคุ ณ ท่ า น อธิ ก ารบดี วิ ท ยาลัย เทคโนโลยี ส ยามที่ ไ ด้ ใ ห้ ความร่ วมมืออนุเคราะห์ สถานที่ในการจัดงาน วัฒนธรรมอิหร่านขึ ้น และขอขอบคุณคณาจารย์ เจ้ าหน้ าที และนักศึกษาที่ให้ ความร่วมมือในงาน ครัง้ นี ้ ดังนันนั ้ บว่าเป็ นสิง่ ทีเ่ ข้ าใจได้ วา่ ระบบต่างๆ ในการปกครอง โดยเฉพาะระบบการปกครอง ของอิหร่ านนัน้ ได้ มีการเปลี่ยนแปลง ก็เหมือน การเปลี่ยนของมนุษยชาติ ที่ประชาชนได้ ท�ำการ เปี่ ยนแปลง ได้ ท�ำการปฏิวตั ิก็สืบเนื่องจากการ ถูกกดขี่ขม่ เหงจากผู้ปกครอง ในการปกครองนัน้ ได้ รับการชี ้น�ำจากท่านอิมาม โคมัยนี (รฮ.) ต่อ บรรดาผู้ศรัทธาทังหลาย ้ การเปลีย่ นแปลงนันเพื ้ อ่ ที่จะท�ำให้ การด�ำเนินชีวิตของประชาชนนันดี ้ ขึ ้น กว่าเดิมที่เป็ นอยู่ ข้ าพเจ้ าต้ องการที่จะชี ้แนะให้ เห็นถึงสถานภาพหรื อบทบาทของสตรี ดังที่มอง

ไปยังประเทศต่างๆ ที่ใช้ กฏหมายอิสลามมาปก ครองก็ จะไม่พบว่าสิทธิ สตรี มีอย่างไรบ้ าง ท่า นอิมามโคมัยนี (รฮ.) ได้ กล่าวถึงสถานภาพและ บทบาทของสตรี ว่าสตรี คนใดที่ไม่แสดงบทบาท ของตนเองก็ ถื อ ว่า เป็ นสตรี ที่ ไ ร้ ค่า ดัง นัน้ หลัง จากการปฏิวตั ิอิสลามของอิหร่านบรรดาสตรี ก็มี บทบาทและสิทธิหน้ าที่ในการปฏิบตั ิตนเอง ดัง จะเห็นได้ ว่าก่อนการมาของิสลามนันสตรี ้ จะถูก ค้ าขายเหมือนทาสคนหนึ่งเพื่อบ�ำเรอความสุข ให้ บรุ ุ ษเพศเท่านัน้ สตรี ถกู น�ำมาเป็ นสินค้ า แม้ กระทังเด็ ้ กสตรี แรกเกิดก็ถกู น�ำไปฝั งดินจนตาย บรรดาสตรี ที่อยู่ในบ้ านของบิดาต้ องเชื่อฟั งบิดา เมื่อท�ำการสมรสก็ต้องมาเชื่ อฟั งสามีและไม่มี สิทธิ ที่จ ะเข้ าไปยุ่งเกี่ ยวในเรื่ อ งการเมื อง การ ปกครอง และสังคม ดังนันจะเห็ ้ นได้ วา่ ประเทศที่ได้ พฒ ั นาและ เจริ ญก้ าวหน้ าในยุคปั จจุบนั นี ้ ในศตวรรษที่ 20

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 133


ประทศอัง กฤษได้ พ ยายามเรี ย กร้ องสิ ท ธิ ส ตรี ให้ มีความเด่นชัดขึ ้น ศตวรรษที่ 18 ในอเมริ กา และ ศตวรรษที่ 20 ในฝรั่งเศส ดังนันการมาของ ้ อิสลามเมื่อ 1,400 กว่าปี มาแล้ วอิสลามได้ ให้ เกียรติแก่บรรดาสตรี แม้ กระทังในพระมหาคั ้ มภีร์ อัลกุรอานก็ได้ กล่าวในเรื่ องนี ้ว่า จงอย่าได้ สร้ าง ความแตกแยก แบ่งแยกชนผิว เว้ นเสียแต่จะต้ อง มีความย�ำเกรง ความย�ำเกรงในภาษาอาหรับคือ การหลีกห่างจากความชัว่ ร้ าย ด้ วยเหตุนี ้สังคม อิสลามจึงเริ่ มมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ ้น จากการ ปฏิวตั อิ ิสลามของอิหร่ าน บรรดาสตรี จงึ ได้ มีสทิ ธิ และบทบาท ดังนันจะเห็ ้ นได้ วา่ บทบาทของสตรี ก่อนหน้ าการปฏิวตั อิ ิสลามแตกต่างกันมาก สตรี ในยุคนันถู ้ กค้ าขายบ�ำเรอความสุขทางเพศ ถูก ขายในเรื่ องภาพยนตร์ ทีเป้นภาพยนตร์ อนาจาร สิง่ ต่างๆเหล่านี ้เกิดขึ ้นก่อนหน้ าการปฏิวตั อิ สิ ลาม ด้ วยเหตุนี ้จึงเป็ นสาเหตูหนึง่ ในการเปลี่ยนแปลง สตรี ได้ รับการยกย่อง ท่านอิมาม โคมัยนี (รฮ.) ได้ กล่าวให้ เกียรติต่อสตรี ว่า บรรดาบุรุษเพศทัง้ หลายได้ เติบโตมาจากหน้ าตักของเพศสตรี สตรี ที่ร้ ู จกั คุณค่าของความนตรี นนั ้ นางก็ มีสิทธิที่จะยืนเคียงข้ างกับบุรุษเพศ เพราะสตรี อย่างน้ อยถือว่าเป็ นเพศของมารดา ดังนันสตรี ้ หลังจากการปฏิวตั ิอิสลามแห่งอิหร่ าน พวกนาง มีบทบาทมากในด้ านการเมือง เศรษฐกิจ และ สังคม ด้ วยเหตุนีส้ ิทธิ ของสตรี นัน้ เท่าเทียมกับ บุรุ ษ ซึ่ง นางสามารถจะช่ ว ยกิ จ การงานหลาย

134 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

อย่างของบุรุษเพศได้ เราเองที่ได้ อยู่ภายใต้ การ ปกครองของสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน เรา ได่พิสูจน์ ให้ เห็นแล้ วว่าสตรี ได้ ช่วยหลือในเรื่ อง การปกครอง เศรษฐกิจ และการให้ ความรู้ต่างๆ ข้ าพเจ้ าขอสรุ ปว่าบทบาทของสตรี ก่อหน้ าการ ปฏิวตั อิ ิสลามมีบทบาทที่แตกต่างกันอย่างไร เรามี ศิลปะวัฒนธรรมในเรื่ องดนตรี เรา สสามารถแบ่งสตรี ของเราได้ สามกลุ่มด้ วยกัน ในเรื่ อ งของการกี ฬ าตรี ข องเราก่ อ นหน้ า การ ปฏิวตั ิอิสลามเรามีนกั กีฬาสตรี อยู่ประมาน 7-8 คนเท่านัน้ ปั จจุบนั เรามีการพัฒนาก๊ ใของสตรี มากกว่า 5,000 คน ก่อนหน้ าการปฏิวตั อิ ิสลาม สตรี ข องเรามี ค วามรู้ ต�่ ำ มากแต่ ห ลัง จากการ ปฏิวัติอิสลามสตรี ของเรามี ความรู้ สุงมาก ซึ่ง การศึกษาของเราปั จจุบนั อยูใ่ นอันดับที่ 13 ของ โลก ในเรื่ องกีฬาก่อนหน้ าการปฏิวิติอิสลามเรา อยูใ่ นล�ำดับที่ล้าหลังมาก แต่หลังจากการปฏิวตั ิ อิสลามการก๊ ฬาของเราอยู่ในล�ำดับต้ นๆ ในการ ปกป้องดินแดนรั ฐอิสลามของเรานัน้ สตรี นัน้ มี บทบาทมาก ซึ่ง พวกเขามี ก ารสูญ เสี ย ชี วิ ต ไป มากว่า 13,600 คน และยังมีสตรี ที่พิการจาก สงครามอีกจ�ำนวนมาก ส่วนในเรื่ องการแพทย์ ของเราอิหร่ านมีการพัฒนาอยู่ในอันดับร้ อยละ 90 นักวิชาการทางการแพทย์ของเรามีจ�ำนวน มากพอสมควร ก่อนหน้ าการปฏิวตั เิ รามีนกั ศึกษา อยูป่ ระมาณ 9,000 กว่าคน แต่หลังจากการปฏิวตั ิ เรามีนกั ศึกษาที่เป็ นสตรี ถงึ 200,000 กว่าคนแต่


ตัวเลขนันอาจจะมี ้ มากกว่านี ้แต่ข้าพเจ้ าขอเพียง การยกตัวอย่างให้ แขกผู้มีเกียรติทงหลายได้ ั้ รับ ทราบว่าบทบาทของสตรี นนมี ั ้ อย่างไรบ้ าง ถ้ าเราได้ เรียนรู้สทิ ธิและบทบาทของสตรีนนั ้ จะเห็นได้ ว่าผู้ที่เสียสละมากในขันของอาจารย์ ้ ผู้มีความรู้ ก็ คือหน้ าตักของผู้เป็ นมารดาที่ เป็ น โรงเรี ยนและมหาวิทยาลัยอันยิ่งใหญ่ ดังนันจะ ้ เห็นได้ วา่ บทบาทสตรี ของอิหร่านในวันนี ้นัน้ พวก นางนันมี ้ ความรู้อย่างมากมาย พวกนางสามารถ ในการเผยแพร่วิชาการความรู้ไปสูบ่ คุ คลอื่น ข้ าพเจ้ าให้ ความเคารพต่อบรรดาสตรี ทงั ้ หลาย และให้ ความเคารพต่อกฏหมายต่างๆ ของ โลก แต่ถ้าเราได้ มาดูในเรื่องกฏหมายของอิสลาม เรายังมรวีรสตรี ผ้ ทู ี่ปรเสริ ฐ สร้ างเกียรตยศของ สตรี และสร้ างชื่อเสียงให้ ชาวโลกได้ ร้ ูไม่วา่ จะเป็ น ท่านหญิงคอดิญะห์ (อ.) ภริยาของท่านศาสดามทุ ฮัมมัด (ศ.) ท่านหญิงฟาฏิมะห์ (อ.) และท่านหญิง ซํยนับ (อ.) สตรี เหล่านี ้ได้ สร้ างประวัตศิ าสตร์ อนั

ยิง่ หใญ่ของอิสลามต่อประชาคมโลก ดังนันสั ้ งคม ที่จะเปี่ ยนแปผลงได้ นนจะต้ ั ้ องมีความเข้ าใจที่จะ เปลี่ยนแปลงตัวเองก่อน สุด ท้ า ยข้ า พเจ้ า ต้ อ งขออภัย ต่ อ แขกผู้มี เกี ย รติ ใ นการรบกวนเวลาของท่ า น แต่ เ พี ย ง ต้ องการที่จะชี ้แนะเกี่ยวกับบทบาทสิทธิของสตรี ชาวอิหร่านให้ ทา่ นได้ รับทราบ เพื่อว่าพวท่านจะ ได้ มีโอกาสเดินทางเยือนอิหร่ าน และได้ ไปเรี ยน รู้จกั พวกเขาด้ วยตัวของท่านเอง ขอขอบคุณค่ะ จากนั น้ ก็ เ ป็ นการบรรยายพิ เ ศษ เรื่ อ ง “อิหร่ านศึกษา” โดย ดร. ประเสริ ฐ สุขศาสน์ กวิน คณบดี คณะอิสลามศึกษา อิหร่ านศึกษา สถาบันเทคโนโลยีแห่งอโธยา โดยท่านได้ กล่าว บรรยายว่า : ด้ วยพระนามของอัลลอฮ์ พระผู้ทรงเมตตา พระผู้ทรงกรุณาปรานีเสมอ เรียน ท่านคณาจารย์ และนักศึกษาทีเ่ คารพ ทุก ท่า น ตามที่ ท่า นได้ รั บ ฟั ง การบรรยายจาก

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 135


ฯพณฯ เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามแห่ง อิหร่ าน ประจ�ำประเทศไทย และมาดามอุปทูต ฝ่ ายวัฒนธรรม เกี่ยวกับเรื่ องอิหร่าน ส่วนกระผม ได้ เตรี ยมบทความไว้ มากมาย แต่ก็คงจะใช้ เวลา ไม่ม ากที่ จ ะน� ำ เสนอต่อ ท่ า นแขกผู้มี เ กี ย รติ์ ทัง้ หลาย อันที่จริ งแล้ ว ถ้ าเราได้ พดู ถึงสาธารณรัฐ อิสลามแห่งอิหร่ าน ในอดีตประเทศอิหร่ านจะ ใช้ การเรี ยกว่าอาณาจักรเปอร์ เซีย เมื่อเราได้ พดู ถึงอาณาจักรเปอร์ เซียนัน่ หมายถึงการกล่าวถึง อายรธรรมของซีกโลกตะวันออกไว้ อย่างน่าทึง้ ในอาณาเปอร์ เซีย ก่อนการปฏิวตั ิอิสลามแห่ง อิหร่ านที่ได้ เกิดขึ ้น ความยิ่งใหญ่ของฮาราจักร เปอร์ เซียได้ ถกู บันทึกไว้ วา่ ได้ แพร่อ�ำนาจจากซีก ตะวันออก จวบไปจนถึงประเทศอียิปต์ ประเทศ อียิปต์ต่างก็เป็ นอาณาจักรที่ยิ่งใหญ่อยู้แล้ ว ซึง่ มีกษัตรย์ ฟาโรเป็ นผู้ปกครองในยุคสมัยอียิปต์ โบราณ แต่ว่าในอารณาจักรเปอร์ เซี ยโบราณ นันมี ้ ศนู ย์กลางอยู่ที่เมืองชีราซ ซึง่ ปั จจุบนั เรี ยก ว่า เปอร์ ซี โ ปริ ศ ได้ แ พร่ อ� ำ นาจควบคลุม ไปถึง คาบสมุทรอาหรับจากทะเลแดงไปจนถึงดินแดน โปโซโปร์ เตเมียร์ และแม้ กระทังเมื ้ องบาบิโลน ใน ประเทศอิรักที่เรารู้ จกั กัน ก็อยู่ในอาณาจักรของ เปอร์ เซียด้ วยเช่นเดียวกัน หรื อแม้ ว่าในดินแดน ของตุรกี บางส่วนซึ่งที่เราเรี ยกว่าอาณาจกัรไบ เซนทาย ก็ เ ป็ นส่ว นที่ อ ยู่ภ ายใต้ ก ารดูแ ลของ อาณาจักรเปอร์ เซีย ดังนันเราจะเห็ ้ นได้ วา่ นครอิส

136 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

ตัลบูลของประเทศตุรกี ก็เป็ นส่วนหนึง่ ที่อยู่ภาย ใต้ อาณาจักรเปอร์ เซีย ดังนันความยิ ้ ่งใหญ่ของ อาณาจกรเปอร์ เซียในอดีตได้ เป็ นประจักษ์ พยาน ต่อหน้ านักประวัตศิ าสตร์ นักค้ นคว้ าวิจยั อย่างน่า ทึ ้งเลยทีเ่ ดียว ถ้ าคณาจารย์ หรือนิสติ นักศึกษาได้ มีโอกาสได้ เดินทางไปเยี่ยมชมในประเทศอิหร่าน หรื อ อาณาจัก รเปอร์ เ ซี ย ในยุค อดี ต เราจะเห็ น ถึงร่ องรอย ความยิ่งใหญ่ในด้ านสถาปั ตย์ การ ปกครองได้ อย่างน่าทึ ้งมาก แต่นนั่ ก็เป็ นสิง่ ในอดีต ทีผ่ า่ นมา ผมต้ องการจะน�ำเสนอเข้ าสูป่ ระเด็นตรง นี ้ว่า อิหร่ านที่มีอ่อู ารยธรรมอันยิ่งใหญ่ของโลก สิ่งที่มีความส�ำคัญลึกซึ ้งกับสยามประเทศก็คือ ว่า เมื่อประมาณ 400 กว่าปี ที่ผา่ นมา ในปลาย ยุคสมัยของพระเนรศวรมหาราช ได้ มีชาวอิหร่ าน ท่านหนึ่งที่มีนามว่า เฉกอะห์มดั กุมมี ปั จจุบนั ศพของท่ า นถู ก ฝั ง อยู่ ที่ ม หาวิ ท ยาลัย ราชภัฏ พระนครศรีอยุธยา ได้ เดินทางมาจากอิหร่าน และ ได้ มาช่วยเหลือเกื ้อกูล และสนับสนุนการปกครอง ในยุสมัยพระเจ้ าทรงธรรม และพระเจ้ าปราสาท ทอง จนกระทัง้ ได้ รั บ พระราชทานเกี ย รติ์ อัน สูงส่งเป็ นออกญาเจ้ าพระยาบวรราชนายก และ ยังได้ รับพระราชทานให้ เป็ นปฐมจุฬาราชมนตรี ประมุ ข ของมุ ส ลิ ม คนแรก ดัง นั น้ นี่ คื อ ความ สัม พัน ธ์ ร ะหว่า งสยามประเทศและอิ ห ร่ า น ที่ แสดงให้ เห็นถึงการเกื ้อกูลกันในด้ านวัฒนธรรม การเมือง และเศรษฐกิจ เพราะท่านเฉกอะห์มดั กุมมีนนนอกจากจะมี ั้ ความรู้ในเรื่องการเมืองการ


ปกครอง ด้ สนเศรษฐกิจแล้ ว ท่านก็ยงั มีความรู้ ในด้ านศาสนา ในประวัติศาสตร์ ได้ บนั ทึกเรื่ อง ราวของท่านไว้ อย่างที่น่าสนใจมาก แต่คงไม่มี เวลาพอทมี่จะก้ าวลึกไปสู้รายละเอียด เอาเป็ น ว่าอารยธรรม หรื อวัฒนธรรมของอิหร่ านได้ เข้ า มาสูส่ ยามประเทศ และยังด�ำรงอยูใ่ นประเทศไทย ของเรานัน้ อย่างมากมาย ถ้ าแขกผู้มีเกียรติได้ อ่ า นหรื อ เรี ย นชี ว ประวัติ ข องบุค คลส� ำ คัญ ใน บ้ านเมืองเรา มีสายตระกูลมากมายที่สืบสานมา จากอิหร่าน เช่นบุนนาค , อหะหมัดจุฬา , จุฬา รัตน์ , ศรี เพ็ญ , บุญรัตกริ น , ชูโต , แสงชูโต ฯลฯ และในสายสกุลเหล่านี ้ได้ มีบคุ คลที่ได้ สร้ างคุณา ประการให้ ประเทศไทยอย่างมากมายตังแต่ ้ 400 กว่าปี ที่แล้ วมาจนถึงปั จจุบนั และความสัมพันธ์ ทางด้ านการทูตระหว่างสองประเทศนี ้ก็ยงั ด�ำรง อยู่และแนบแน่น ในตรงนีผ้ มต้ องการที่จะชีใ้ ห้ แขกผู้มีเกียรติได้ เห็นว่า อารยธรรมที่เกิดขึ ้นบน โลกใบนี ้นัน้ ควรค่าแก่การศึกษา ควรค่าแก่การ เรี ยนรู้ เพื่อจะได้ เห็นว่า สิง่ ต่างๆเหล่านัน้ จะยึด ปฏิบตั ิได้ อย่างไรที่จะเกิดประโยชน์แก่ชนรุ่นหลัง สิง่ หนึง่ ซึง่ เราได้ พดู ถึงการเมือง การปกครองของ อิหร่าน สิง่ ทีเ่ ป็ นสิง่ ทีท่ ้ าทาย และเป็ นประเด็นทีจ่ ะ ให้ นกั วเคราะห์ คือหลังจากการปฏิวตั อิ สิ ลามแห่ง อิหร่าน โดยภายใต้ การน�ำของท่านอิมาม โคมัย นี (รฮ.) ในปี ค.ศ. 1979 ที่ผา่ นมา เป็ นการสร้ าง การปฏิวตั ิที่โด่งดัง และท�ำให้ นกั รัฐศาสตร์ หรื อ นักรัฐประศาสนสตร์ หันมาศึกษาเกี่ยวกับการ

ปฏิวตั ิอิสลามของประเทศอิหร่ านได้ อย่างกว้ าง ขวางทีเ่ ดียว ในอีกมุมหนึง่ ก็จะมีการวิพากวิจารณ์ ว่า เป็ นการปฏิวตั ทิ ี่ไม่มีระบบ ไม่สามารถที่จะอยู่ ยังยื ้ นได้ ในที่สดุ ก็จะเกิดเป็ นสงครามกลางเมือง เป็ นการต่อสู้ไม่มีวนั ที่จะจบสิ ้น เป็ นค�ำพยากรณ์ จากนักรัฐศาสตร์ บางคนที่ไม่ยอมเหตุการณืใน วันนันคื ้ อ ปี ค.ศ. 1979 แต่ว่าจากวันนันจนถึ ้ ง วันนี ้เป็ นระยะเวลา 35 ปี จากการปฏิวตั ิอิสลาม แห่งอิหร่ าน ได้ ชี ้ให้ เห็นและเป็ นประจักษ์ พยาน ต่อชาวโลกแล้ วว่า ประเทศสาธารณรัฐอิสลาม แห่งอิหร่ านนัน้ ได้ มีระบอบการปกครองอิสลาม แบบอิสลามแท้ และเป็ นรัฐอิสลามที่ไม่ขดั แย้ ง กับระบอบประชาธิ ปไตย เพราะอยู่ในรู ปแบบ ของสาธารณรัฐ แต่ผนวกอิสลามสเข้ าไปด้ วยที่ เรี ยกว่าสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่ าน ดังนันก็ ้ มีการเลือกตัง้ มีระบบสภา มีระบบนิติบญ ั ญัติ ระบบบริ หาร แต่สิ่งที่น่าสนใจคือว่า การปฏิวตั ิ อิสลามโดยท่านอิมาม โคมัยนี (รฮ.) มรประเด็น ที่ ส ร้ างความสนใจให้ นัก รั ฐ ศาสตร์ เพราะว่า แท้ จริ งแล้ วตามปรัชญาการเมืองบอกว่า ศาสนา

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 137


กับการเมืองต้ องเป็ นสิง่ เดียวกัน ดังนันในระบอบ ้ การปกครองรู ปแบบอิสลามศาสนากับการเมือง เป็ นสิง่ เดียวกัน ไม่แยกศาสนาออกจากการเมือง ไม่เหมือนลัทธิที่กล่าว่าศาสนากับการเมืองต้ อง แยกออกจากกัน หรื ออาณาจักรกับศาสนจักรนัน้ จะอยูร่ วมกันไม่ได้ นแี่ นวความคิดแบบสังคมนิยม หรื อเป็ นแนวความคิดของชาติตะวันตกก็ แล้ ว แต่ เมื่อการปฏิวตั ิอิสลามแห่งอิหร่ านได้ เกิดขึ ้น ระบอบการปกครองของประเทศอิหร่านต้ องการ ที่ จ ะให้ ป ระชาคมโลกได้ เ ห็ น ว่า อัน ที่ จ ริ ง แล้ ว ศาสนากับ การเมื อ งนัน้ มัน ไปด้ ว ยกัน ได้ หรื อ เรี ย กว่ า ระบอบเทวาธิ ป ไตย เป็ นระบอบการ ปกครองที่ ใช้ รัฐธรรมนูญนัน้ มาจากพระผู้เป็ น เจ้ า เป็ นระบบตัวแทนที่ท�ำหน้ าที่ในการที่จะร่ าง รัฐธรรมนูญ หรื อว่าหลักนิติรัฐของรัฐบาลนันที ้ ่ ได้ รับมาจากพระมหาคัมภีร์อลั กุรอาน โดยน�ำมา บูรณาการให้ เข้ ากับบริ บทของประเทศ จนกระ ทังนั ้ กรัฐศาสตร์ ได้ กล่าวว่าประมาณ 5-6 ปี ของ การปกครองของอิหร่านหลังจากการปฏิวตั คิ งจะ ไม่สามารถที่จะด�ำรงอยู่ได้ เพราะมันขัดแย้ งกับ ระบบประชาธิปไตย หรื อระบอบมารค์ซีส หรื อที่ แบบทัว่ ไปเขามีอยูแ่ ล้ ว นักรัฐศาสตร์ เหล่านี ้ต่าง ก็ได้ วิพากวิจารณ์ ต่างๆนาๆ จนกระทังวั ้ นนี ้เขา ได้ ตกผนึกการปกครอง ระบอบการปกครองใน ระบอบอิสลามที่มีอยู่ในปั จจุบนั นี ้ ไม่ได้ มีความ ขัดแย้ งกับระบอบประชาธิ ปไตยที่มีอยู่เลย แต่ สามารถที่จเกื ้อกูลซึ่งกันและกัน และนี่ปรัชญา

138 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

การเมืองในระบบการเมืองในอิสลาม สิ่งหนึ่งที่ เป็ นปรัชญาการเมืองทีเ่ ป็ นสุดยอด เป็ นวาทกรรม ที่ดีเลิศว่า ท�ำไมรัฐอิสลามแห่งอิหร่านจึงวยืนยัด อยูไ่ ด้ จนถึงวันนี ้ก็คือ 1. ผู้น� ำ ของประเทศจะต้ อ งอยู่ใ นฐานะ ผู้ทรงธรรม หรื อเรี ยกอีกอย่างหนึ่งว่า ราชาแห่ง ปราชญ์ สามารถที่ จ ะมองเห็ น ว่า การบริ ห าร บ้ านเมือง หรื อประเทศชาติไม่ใช่เพียวแครเป็ นนี กรัฐสาสตร์ อย่างเดียว แต่จะต้ องเป็ นปราชญ์ ที่ สามารถให้ ความรู้ใมการปกครองโดยไม่แสวงหา ผลประโยชน์ ข องตนเอง อยู่ใ นฐานะที่ ต้ อ งเน ปราชญ์ เป็ นผู้ร้ ู ในรั ฐ อิ ส ลามแห่ง อิ ห ร่ า นนัน้ จะต้ องเป็ นนักการศาสนา มีอ�ำนาจในการที่จะ ปกครอง เพราะในระบบอิสลามนันถื ้ อว่าระบอบ การปกครองศาสนากับการเมืองนันไม่ ้ แยกจาก กัน 2. หลักนิติรัฐ หลักนิติธรรมจะต้ องได้ มา จากรัฐธรรมนูญทีได้ มาจกาพระผูเ่ ป็ นเจ้ า โดยการ ตีความโดยผู้ร้ ู หรื อนักการศาสนาที่ได้ เรี ยนรู้และ แม่นย�ำในการตีความตามกลักรัฐศาสตร์ 3. หลักธรรมาภิบาลในการจัดการบริ หาร บ้ านเมืองทีด่ ี จะต้ องเป็ ยนหลักธรรมาธิไตย หมาย ถึงว่าการปกครองของประเทศอิหร่านนันอาจจะดู ้ คล้ ายคลึงกับประชาธิปไตย ทังนี ้ ้จะต้ องเป็ นธรรม มะที่สามารถตรวจสอบได้ และสามารถน�ำคนไป สูค่ วามยุตธิ รรม เรื่ องต่อไปก็ คือ ภายหลังจากการปฏิวัติ


อิสลามแห่งอิหร่ าน นโยบายต่างประเทศของ ประเทศอิหร่าน มองทุกประเทศเป็ นการเกื ้อหนุน ต่อ รั ฐ ต่า งๆที่ เ กิ ด ขึน้ บนโลกนี ้ ไม่เ ป็ นปรปั ก ษ์ ต่อกัน จะต้ องช่วยเหลือซึ่งกันและกัน โดยยึด หลัก มนุษ ยธรรม ไม่ มี ค วามคิ ด ที่ จ ะต้ อ งเป็ น ประเทศมหาอ�ำนาจที่จะเป็ นประเทศพี่ใหญ่ที่จะ ดูแลประเทศที่เล็กกว่า จะเกือ้ กูลกันทังในด้ ้ าน เศรษฐกิจ ทางด้ านวัฒนธรรม ซึง่ หลักการที่เป็ น นโยบายต่างประเทศผ่านการตกผลึกจากปรัชญา การเมืองว่าด้ วยเอกภาพ คือความเป็ นหนึ่งใน ความแตกต่างหลากหลายที่สามารถจะอยู่ร่วม กันโดยสันติ และนี่นโยบายหลักในนโยบายต่าง ประเทศของอิหร่ าน หลังจากที่ ฯพณฯ ดร. ฮะ ซัน รูฮานี ประธานาธิบดีคนล่าสุดของสาธารณรัฐ อิ ส ลามแห่ง อิ ห ร่ า น ท่า นได้ ก ล่า วประกาศต่อ ประชาคมโลกว่า วันนี อ้ ิหร่ านได้ เรี ยกร้ องไปสู่ สันติภาพ และต้ องการให้ ประเทศมหาอ�ำนาจ หรื อประเทศในยุโรปที่เคยตัดความสัมพันธ์ นนั ้ ว่า อิหร่ านไม่เคยที่จะคิดร้ ายกับประเทศเหล่า

นัน้ แต่มเี หตุปัจจัยอืน่ ทีท่ ำ� ให้ เกิดความขัดแย้ งกัน ด้ วยเหตุนี ้ ฯพณฯ ท่านประธานาธิบดี ดร. ฮะซัน รูฮานี จึงได้ กล่าวว่า “เมื่อข้ าพเจ้ าได้ รับต�ำแหน่ง ประธานาธิบดี ข้ าพเจ้ าจะต้ องน�ำหลักการเจรจา กับประเทศต่างๆ เพื่อที่จะแสวงหาจุดร่ วมและ สงวนจุดต่าง สิ่งที่สร้ างความสนใจให้ ประเทศ ต่างๆ หันมาสนใจกับอิหร่ านกันมาก ในเดือน ธันวาคม 2013 กลุม่ ประเทศอียขู องยุโรป ได้ เดิน ทางไปประเทศอิหร่าน ได้ มกี ารเจรจากับรัฐมนตรี ต่ า งประเทศของอิ ห ร่ า น เราพร้ อมที่ จ ะเปิ ด สัมพันธ์ทางการทูตกับประเทศอิหร่านอีกครัง้ หนึง่ ดังนันในวั ้ นนี ้จึงจะเห็นได้ ว่าประเทศอิหร่ านนัน้ ให้ การตรวจสอบเป็ นเวลาสามสิบกว่าปี ไม่วา่ จะ เป็ นปั ญหาใมเรื่ องของนิวเคลียร์ เพื่อสันติ ที่เป็ น ปั ญหาอยู่ช้านาน จนกระทังสามเดื ้ อนที่ผ่านมา นี ้ได้ มกี ารประชุมทีก่ รุงเจนีวา จนได้ ข้อสรุปว่าการ ค�่ำบาตรทางเสรษฐกิจของประเทศมหาอ�ำนาจ นันได้ ้ ยกเลิกไปจากประเทศอิหร่าน และไม่มีการ ค�ำ่ บาตรทางด้ านเศรษฐกิจ กาสรเมือง วัฒนธรรม

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 139


เพราะอิหร่านพร้ อมที่จะให้ องค์กรที่จะตรวจสอบ เกี่ยวกับเรื่ องพลักงานนิวเคลียร์ ไปตรวจสอบว่า สิ่งที่พวกเขาได้ กระท�ำอยู่ในเวลานี ้เป็ นพลังงาน เพื่อสันติ ไม่ใช่เป็ นการคลุกคามต่อชาวโลก จน กระทังวั ้ นนี ้กลุม่ ประเทศอียไู ด้ ประจักษ์พยานแล้ ว ว่า อิหร่ านนัน้ เป็ นประเทศที่แสวงหาสันติภาพ โดยแท้ เจริ ง แม้ กระทัง้ ประเทศไทยอขเงราก็มี ความสัมพันธ์ ติดต่อการค้ ากับประเทศอิหร่ าน อย่างกว้ างขวาง ไม่ว่าจะเป็ นในเรื่ องเศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรม ดังตรงนี ้ผมต้ องการที่ จะยกค�ำปราศรัยของ ฯพณฯ ประธานาธิบดี ดร. ฮะซัน รูฮานี คนล่าสุดของอิหร่านที่ทา่ นได้ กล่าว ในขณะทีไ่ ด้ ประชุมสมัชชาใหญ่ในสหประชาชาติ มีประโยคหนึง่ ที่ทา่ นได้ กล่าวว่า “ข้ าพเจ้ ามีความ เชื่ อมั่นอย่างมาก โลกใบนี จ้ ะต้ องไม่ตออยู่ใน สภาพที่มนุษยชาตินนถู ั ้ กกดขี่ และการใช้ ความ รุ นแรง แต่วา่ โลกใบนี ้นันต้ ้ องการความยุติธรรม ต้ องการสันติภาพ จะมีความเป็ นธรรมเกิดขึ ้นบน โลกใบนี ้ตามสัญญาของพระผู้เป็ นเจ้ าที่พระองค์ ได้ ทรงตรั สไว้ ในคัมภี ร์อัลกุรอานว่า แผ่นดินนี ้ 140 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

จะมี ปวงบ่าวที่ มีความเป็ นธรรมเป็ นผู้สืบทอด การปกครอง โลก ณ ปั จจุบนั นี ้มนุษยชาติหวาด ผวาต่อความกลัว ความรุ นแรง ความขัดแย้ ง ต่างๆต่อเชื ้อชาติ ศาสนา ความกลัวจากความ ยากจน หวาดกลัวต่อภัยคุกคาม การริ ดรอนสิทธิ ของมนุษยชน วัฒนธรรมที่เสื่อมทราม ในขณะ เดียวกันมนุษยชาติที่ก�ำลังหวาดผวาต่อสิง่ ต่างๆ เหล่านี ้ ก็ยงั มีความหวังว่าสักวันหนึง่ ว่าโลกใบนี ้ จะเกิดสันติภาพขึ ้น ซึง่ ข้ าพเจ้ าขอกล่าวกับพวก ท่านว่า ข้ าพจเมทีนโยบายที่ต้องการจะเจรจา และใช้ หลักสันติวธิ ีในการทีจ่ ะให้ เกียรติซงึ่ กันและ กัน ไม่กดขี่ขม่ เหงซึง่ กันและกัน เพราะว่าโลกใบ นี ้ต้ องการสันติภาพ โลกไม่ต้องการสงครามอีก ต่อไปแล้ ว” นี่คือบางตอนจากค�ำปราศรั ยของ ท่าน ดร. ฮะซัน รูฮานี ประธานาธิบดีคนปั จจุบนั ของอิหร่ านที่กล่าวต่อหน้ าประเทศสมาชิกของ สหประชาชาติ ซึง่ เป็ นขบวนทัศน์ใหม่ ไม่ใช่แบบ อดีตที่กล่าวข้ าฯ นัน้ จะต้ องเป็ นผู้ยิ่งใหญ่ ฝ่ าย เดียว ประเทศต่างๆจะต้ องอยูภ่ ายใต้ อาณัติของ ข้ าฯ ดังนัน้ ขบวนทัศน์ ที่ท่านประธานาธิ บดีได้ กล่าว เพื่อต้ องการจะบอกว่าโลกบี ้อยูด่ ้ วยความ หลากหลาย ซึ่งสามารถที่จะสร้ างสันติภาพให้ เกิดขึ ้นได้ และสามารถที่จะเกื ้อกูลซึง่ กันและกัน ทุกลัทธิ ทุกนิกาย ทุกศาสนา อยูร่ ่วมอย่างสันติได้ ดังนันความหลากหลายทางด้ ้ านเชื ้อชาติ ความ แตกต่างทางด้ านชาติพนั ธ์ ความไม่เหมือนกัน ในเรื่ องของการปกครอง ก็สามารถที่จะอยู่ร่วม


กันได้ ด้วยเช่นเดียวกัน นี่คือสุดยอดของประเทศ อิหร่านในวันนี ้และยังมีอีกหลายประเด็นส�ำหรับ อิหร่ านที่จะต้ องใช้ เวลาในการพูดคุยกันมากว่า นี ้ แต่สามารถที่จะสรุ ปได้ ว่าวันนี ้อิหร่ านได้ เปิ ด ประเทศในเรื่ องงานด้ านวัฒนธรรม และต้ องการ จะแลกเปลี่ยนในเรื่ องวัฒนธรรมการเมือง แสดง ให้ เห็นว่าอันที่จริ งแล้ ว สาธารณรั ฐอิสลามแห่ งอิ ห ร่ า นัน้ เป็ นประเทศที่ ส ามารถที่ จ ะอยู่ กั บ ประเทศต่างๆ ในโลกใบนี ้ได้ และยังสามารถที่ จะมีสมั พันธ์ กบั ประเทศต่างๆได้ โดยไม่เสียหาย แต่ประการใด เพราะอิหร่านได้ เรี ยกรอ้ งประเทศ ต่างๆ ให้ สร้ างสันติภาพ ส่วนในเรื่ องการศึกษา ทางสาธารณรั ฐ อิ ส ลามแห่ ง อิ ห ร่ า น ได้ จัด ตัง้ องค์กรที่ให้ การสนับสนุนด้ านการศึกษาและด้ าน วิชาการ ซึ่งผ่านทางกระทรวงวัฒนธรรม หรื อ เรี ยกว่ากระทรวงชี ้น�ำวัฒนธรรม ในประเทศไทย ก็คือ ท่านที่ปรึ กษาฝ่ ายวัฒนธรรม สาธารณรัฐ อิสลามแห่งอิหร่ าน ประจ�ำประเทศไทย จะก่อ ให้ เกิประโยชน์ตอ่ มหาวิทยาลัยของประเทศไทย

เพราะทางอิ ห ร่ า นได้ ใ ห้ ก ารส่ ง เสริ ม งานด้ า น วัฒนธรรม และการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมแก่กนั อิหร่ านได้ มีนโยบายในการสร้ างความสัมพันธ์ ด้ านการศึกษากับต่างชาติ โดยการสร้ างความ สัมพันธ์กบั องค์กรความรู้หรื อมหาวิทยาลัยต่างๆ อิ ห ร่ า นได้ ข ยายกิ จ กรรมทางวิ ท ยาศาตร์ ด้ า น พลังงานโดยความร่วมมือในระดับนานาชาติ ซึง่ ตรงนี ้เป็ นนโยบายของประเทศอิหร่านทีส่ ง่ ผ่านยัง กระทรวงวัฒนธรรมอิหร่าน อิหร่านได้ มโี ครงสร้ าง ในการแลกเปลีย่ นนักวิชาการคณาจารย์ระหว่าง มหาวิ ท ยาลัย ต่ า งๆ สิ่ ง ต่ า งๆแสดงให้ เ ห็ น ว่ า อิหร่ านวันนี ้ก�ำลังก้ าวไปสู่การเป็ นอิหร่ านสากล และต้ องการให้ ประชาคมโลกได้ เห็นว่าอิหร่านนัน้ ต้ องการสันติภาพ ต้ องการจะเกื ้อกูลกันในเรื่ อง ของอารยธรรม และวัฒนธรรมอันดีงาม ไม่ว่า สิง่ นันจะมี ้ ความแตกต่างในเรื่ องหลักการศรัทธา หลักการศาสนา หรื อในเรื่ องวัฒนธรรมก็ตาม แต่ เรื่ องความสัมพันธ์นนย่ ั ้ อมที่จะเกิดขึ ้นได้

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 141


งานวัฒนธรรมอิหร่าน

ณ อุทยานการเรียนรู ้ TK PARK ในวาระครบรอบ ปี ที่ 35 ของชัยชนะจาก การปฏิวตั อิ สิ ลามของอิหร่าน หรือเรียกว่าวันชาติ ของอิหร่าน ศูนย์วฒ ั นธรรม สถานเอกอัครราชทูต สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่ าน ประจ�ำกรุ งเทพ มหานครฯ ได้ ร่วมกับ TK Park อุทยานการเรี ยนรู้ ส�ำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การ มหาชน) จัดงานวัฒนธรรมอิหร่านขึ ้น โดยในงาน ดังกล่าวมีแขกผู้มเี กียรติเ์ ข้ าร่วมงาน ฯพณฯ ฮุเซน กะมาลยอน เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอแสลาม แห่งอิหร่ าน ประจ�ำประเทศไทย พร้ อมมาดาม กะมาลิยอน ภริ ยาท่านเอกอัคคราชทูตฯ , นา ยมุศฏอฟา นัจญาริ ยอน ซอเดะห์ ที่ปรึกษาฝ่ าย วัฒนธรรม ศูนย์วฒ ั นธรรม สาธารณรัฐอิสลาม แห่งอิหร่ าน ประจ� ำกรุ งเทพมหานครฯ พร้ อม ภริ ยามาดามซะห์รอ นัจญาริ ยอนซอเดะห์ , ดร. 142 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

ทัศนัย วงศ์พิเศษกุล ผู้อ�ำนวยการอุทยานการ เรี ยนรู้ ส�ำนักงานบริ หารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) , ผศ. ดร. พลับพลึง คงชนะ , อาจารย์พรพรรณ โปร่งจิตร์ , นายณรงค์ วงศ์สุ มิตร และนักวิชาการผู้ทรงคุณวุฒิ ก�ำหนดการเริ่ มต้ นด้ วยกล่าวต้ อนรับโดย ดร. ทัศนัย วงศ์พเิ ศษกุล ผ็อำ� นวยการอุทยานการ เรี ยนรู้ ส�ำนักงานบริ หารและพัฒนาองค์ความารู้ (องค์การมหาชน) ท่านได้ กล่าวว่า : เรี ยน ฯพณฯ ฮุ เ ซน กะมาลิ ย อน เอกอัครราชทูตสาธารณรั ฐอิสลามแห่งอิหร่ าน ประจ�ำประเทศไทย คุณ มุศ ฏอฟา นัจ ญาริ ย อนซอเดะห์ ที่ ปรึ ก ษาฝ่ ายวัฒ นธรรม สถานเอกอัค รราชทูต สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน


สวั ส ดี แ ขกผ็ มี เ กี ย รติ แ ละสื่ อ มวลชน ทุก ท่ า นค่ ะ ดิ ฉัน รู้ สึก ยิ น ดี อ ย่ า งยิ่ ง ที่ วัน นี เ้ กิ ด ความร่ วมมือระหว่างทางศูนย์วฒ ั นธรรมสถาน เอกอัครราชทูตสาธารณรั ฐอิสลามแห่งอิหร่ าน ประจ�ำประเทศไทย กับส�ำนักอุทยานการเรี ยน รู้ จดังานวัฒนธรรมอิหร่ านขึ ้น เพื่อให้ เกิดพื ้นที่ เพื่อแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ ด้ านวิชาการระวห่างกัน และแสดงถึ ง ความสัม พัน ธ์ ร ะหว่ า งสองแผ่ น ดินที่ผูกพันแนบแน่นกันมาตลอด จะเห็นได้ ว่า สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน กับราชอาณาจักร ไทยนัน้ เริ่ ม มี ค วามสัม พัน ธ์ อัน ดี ร ะหว่ า งกัน ตังแต่ ้ ยคุ สุโขทัยเป็ นราชธารนีของไทยซึง่ มีความ ยาวนานถึงกว่า 400 กว่าปี ซึ่งทังสองประเทศ ้ นัน้ มี วัฒ นธรรมที่ ไ กล้ เ คี ย งกัน ตัง้ แต่ อ ดี ต มา จนถึงปั จจุบนั ไม่ว่าจะเป็ น ศาสนา ภาษาที่ใช้ จารี ตประเพณีอาทิ ประเพณีสงกานต์ หรื อลอย กระทง นัน้ ได้ สืบสานจากประเพณีโบราณของ อาณาจักรเปอร์ เซียในอดีตที่ถูกเผยแพร่ เข้ ามา สูก่ ลุม่ ประเทศเอเซียอาคเนย์ ซึง่ แสดงให้ เห็นว่า สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่ านและประเทศไทย ก็เปรี ยบเสมือนบ้ านพี่เมืองน้ องกัน และโอกาสยนี ้ดิฉนั ในนาม ส�ำนักอุทยาน การเรี ยนรู้ และคนไทยทุกคนขอขอบคุณศูนย์ วัฒ นธรรม สถานเอกอัค รราชทูต สาธารณรั ฐ อิสลามแห่งอิหร่าน ประจ�ำประเทศไทย และทุก ท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้ อง ดิฉันหวังเป็ นอย่างยิ่งว่า การจัดงานในครั ง้ นี ้ จะมี ส่วนช่วยในการท� ำนุ

บ�ำรุง ศิลปซัฒนธรรมและส่งเสริ มความสัมพันธ์ อันดีระหว่างประเทศสืบต่อไป จากนั น้ นายมุ ศ ฏอฟา นั จ ญาริ ย อน ซอเดะห์ ทีป่ รึกษาฝ่ ายวัฒนธรรม ศูนย์วฒ ั นธรรม สถานเอกอัค รราชทูต สาธาณรั ฐ อิ ส ลามแห่ ง อิ ห ร่ า น ประจ� ำ กรุ ง เทพมหานครฯ ได้ ก ล่ า ว วัตถุประสงค์ของการจัดงาน โดยท่านได้ กล่าวว่า : ด้ ว ยพระนามของอัล ลอฮ์ ผู้ท รงเมตตา ผู้ทรงกรุณาปรานีเสมอ เรี ยน ท่าน ดร. ทัศนัย วงศ์วิเศษกุล ผู้ อ�ำนวยการอุทยานการเรี ยนรู้ ส�ำนักงานบริ หาร และพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) ฯพณฯ ฮุเซน กะมาลิยอน เอกอัครราชทูต สาธารณรั ฐอิ ส ลามแห่ ง อิ ห ร่ าน ประจ� ำ ประเทศไทย นักประวัติศาสตร์ นักศิลปะนักวิชาการที่ เคารพ ท่านสุภาพบุรุษ และสุภาพสตรี ที่เคารพ สวัดีครับ ข้ าพเจ้ าขอกล่าวร� ำลึกถึงท่านผู้น�ำสูงสุด

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 143


ผู้สถาปนาสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่ าน ท่าน อิมาม โคมัยนี (รฮ.)และบรรดาผู้พลีชีพในหนทาง แห่งพระผู้เป็ นเจ้ า ท่านอิมามเป็ นผู้น�ำการปฏิวตั ิ พร้ อมกับบรรดาผู้พลีชพี และได้ มาซึง่ เสรีภาพของ อิสลาม จนกระทังสาธารณรั ้ ฐอิสลามแห่งอิหร่ าน สามารถที่จะปกครองตามหลักการของอิสลาม ในวันนี ้เป็ นช่วงเวลาของการฉลองวันครบ รอบการสถาปนาสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่ าน หรื อ เรี ย กว่า วัน ชาติ อิ ห ร่ า น ซึ่ง เราได้ มี โ อกาส ร่ ว มกัน จัด งานวัฒ นธรรมสาธารณรั ฐ อิ ส ลาม แห่งอิหร่ าน ในงานนี ้จะเป็ นงานด้ านภาพยนตร์ ศิลปะ และวัฒนธรรมอิหร่าน ซึง่ ได้ รับความร่วม มืออย่างดีมาโดยตลอดจากกระทรวงวัฒนธรม ของประเทศไทย ส�ำนักงานภาพยนตร์ แห่งชาติ และความร่วมมือจากอุทยานการเรี ยนรู้ TK Park

144 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

และต้ องขอขอบคุณท่าน ดร. ทัศนัย วงศ์วเิ ศษกุล ผู้อำ� นวยการอุทยานการเรียนรู้ ทีท่ า่ นได้ กรุณาให้ ความร่วมมือในการจัดงานครัง้ นี ้ วัฒนธรรมและอายรธรรม ศิลปะอิสลาม ของอิหร่ านมุคณ ุ ค่ายิ่งในท่ามกลางมนุษยชาติ ในช่ ว งเวลาดัง กล่ า วนี ก้ ็ ค รบ 35 ปี แห่ ง การ สถาปนาสาธารณรั ฐอิสลามแห่งอิหร่ านซึ่งจะ ตรงกับวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ปี ค.ศ. 1979 และ ภายใต้ การชี ้น�ำของท่านอิมาม โคมัยนี (รฮ.) ที่ ท่านได้ ด�ำรงต�ำแหน่งผู้น�ำสูงสุดทางจิตวิญญาณ ท่านได้ น�ำพาการพัฒนาองค์ความรู้ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ สังคม การเมือง และยังพัฒนาเรื่ องอุ สาหกรรม หัตถกรรม การเผยแพร่ ภาพยนตร์ ซึง่ เกี่ยวกับภาพยนตร์ นนั ้ ได้ ทำ� การเผยแพร่มากกว่า 150 เรื่ อง และยังได้ สง่ ภาพนยตร์ เข้ าร่วมในงาน


ประกวดภาพยนตร์ นานาชาติ จนได้ รับรางวัลชนะ เลิศตามล�ำดับ แขกผู้มีเกียรติทกุ ท่าน ข้ าพเจ้ าต้ องการ ที่ จ ะกล่า วกับ พวกท่ า นเกี่ ย วกับ งานในวัน นี ท้ ี่ จัดขึ ้น ทางศูนย์วฒ ั นธรรม สาธารณรัฐอิสลาม แห่งอิหร่ าน ประจ� ำประเทศไทย ได้ จัดเตรี ยม ภาพยนตร์ จ�ำนวน 8 เรื่องเป็ นซับไตเติ ้ลภาษาไทย มาร่วมฉายให้ กบั พวกท่านผู้มีเกียรติได้ รับชม ข้ าพเจ้ า หวังเป็ นอย่างยิ่งว่า การจัดงาน ครั ง้ นี จ้ ะสร้ างมิ ต รไมตรี ค วามเป็ นพี่ น อ้ ง และ ทหให้ ประชาชนทังสองประเทศนั ้ นได้ ้ เรี ยนรู้ จกั ประวัตศิ าสตร์ ของสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน และราชอาณาจักรไทย สืบสานสายสัมพันธ์อนั ดี งามให้ สืบต่อไป จากนั น้ ฯพณฯ ฮุ เ ซน กะมาลิ ย อน เอกอัครราชทูตสาธารณรั ฐอิสลามแห่งอิหร่ าน ประจ�ำประเทศไทย ได้ กล่าวบรรยายพิเศษเปิ ด งาน โดยท่านได้ กล่าวว่า : ด้ วยพระนามของพระผู้เป็ นเจ้ า เรี ยน ดร. ทัศนัย วงศ์วเิ ศษกุล ผู้อ�ำนวยการ อุทยานการเรี ยนรู้ Tk park และแขกผู้มีเกียรติ ทุกท่าน ท่านสุภาพบุรุษ และสุภาพสตรี ข้ าพเจ้ ารู้ สึกยินดีเป็ นอย่างยิ่งที่ได้ มายืน ท่ามกลางแขกผู้มีเกี ยรติทุกท่าน ประการแรก ข้ าพเจ้ าต้ องขอขอบคุณในความร่วมมือของท่าน

ดร. ทัศนัย วงศ์วิเศษกุล ผู้อ�ำนวยการอุทยาน การเรี ยนรู้ และเจ้ าหน้ าที่ทกุ ท่านที่ได้ ร่วมมือกับ ศูนย์วฒ ั นธรรม สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐ อิสลามแห่งอิหร่าน จัดงานวัฒนธรรมในครัง้ นี ้ขึ ้น ข้ า พเจ้ า หวัง เป็ นอย่ า งยิ่ ง ว่ า ในความ ร่ วมมือกันจะน�ำพาไปสูค่ วามเป็ นมิตร และการ เรี ยนรู้จกั กันของประชาชนทังสองฝ่ ้ ายคืออิหร่าน และไทยซึ่งมีความสัมพันธ์ กนั มาช้ านานกว่า 5 ศตวรรษ ท่านสุภาพบรุษ และสุภาพสตรี ที่เคารพ ข้ าพเจ้ ามีความเชื่อมั่นว่าไม่มีค�ำพูดใด ที่จะดีไปกว่าค�ำพูดในด้ านศิลปะและวัฒนธรรม เพราะภาษาแห่ ง ศิ ล ปะของเรานั น้ คื อ สิ่ ง ที่ มนุษยชาติปรารถนานันคื ้ อความสงบสันติ และ เรี ยกร้ องไปสู่ความยุติธรรมของประชาชาติให้ มี ความเข้ มแข็ง ในขบวนการศิลปะในยุคปั จจุบนั ของเรา นันคื ้ อการให้ เกียรติให้ ความเคารพซึง่ กันและกัน ภาพยนตร์ ก็เป็ นหนึ่งของศิลปะวัฒนธรรมที่เป็ น สื่อการเรี ยนรู้ จกั วัฒนธรรมต่อกัน ที่มนุษยชาติ มีความต้ องการที่จะฉายวัฒนธรรมของตนเอง ผ่ า นสื่ อ ภาพยนตร์ ไ ปยัง บุ ค คลอื่ น ๆ แต้ ด้ ว ย เทคโนโลยีในปั จจุบนั นันมี ้ ความเจริ ญก้ าวหน้ า ทันสมัยมากกว่าเทคโนโลยีในอดีตที่ผ่านมา ก็ สามารถที่ จ ะมี บ ทบาทอย่ า งยิ่ ง ในเรื่ อ งสร้ าง คุณภาพให้ ภาพยนตร์ นนมี ั ้ คณ ุ ค่าขึ ้นมา อีกทัง้ ยังเป็ นการเสริ มสร้ างกลไกของสังคม เศรษฐกิจ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 145


และวัฒนธรรมให้ มีความเจริ ญก้ าหน้ า ดังนันสิ ้ ง่ หนึง่ ที่มีคณ ุ ค่ายิ่งในปั จจุบนั ก็คือเรื่ องของศิลปะ ในเรื่ อ งการผลิ ต การสร้ างภาพยนตร์ ของเราในทุกวันนี ้ จะเป็ นภาพยนตร์ เกี่ ยวกับ ครอบครัว เรื่ องคติสอนใจ และเรายังมีภาพยนตร์ มากกว่า 40 เรื่องทีไ่ ด้ จดั ส่งเข้ าประกวดภาพยนตร์ นานชาติที่มเองคาน และได้ รับรางวัลชนะเลิศถึง 6 เรื่ องด้ วยกัน ซึ่งภาพยนตร์ ที่ได้ รับรางวัลเป็ น ภาพยนตร์ เกี่ยวกับครอบครัวในเชิงวัฒนธรรม ข้ า พเจ้ า มี ค วามเชื่ อ มั่น ว่า บทบาทและ คุณค่าที่งามของภาพยนตร์ นนเป็ ั ้ นภาพยนตร์ ใน เชิงวัฒนธรรม และการแสดงออกซึง่ อารยธรรม ของผู้ส ร้ างที่ ถูก น� ำ มาเสนอลงในแผ่น ฟิ ลม์ ใ ห้ ได้ เ ห็ น ถึ ง ประวัติ ศ าสตร์ ข องอารยธรรมและ

146 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

วัฒนธรรมของเจ้ าของภาพยนตร์ นนั ้ ท่านสุภาพบุรุษ และสุภาพสตรี ที่เคารพ ภาพยนตร์ ของอิหร่านอันประกอบไปด้ วย การแสดงออกด้ านวัฒนธรรม และอารยธรรม คุณ ค่ า อัน ดี ง ามของประเทศชาติ แ ละศาสนา และการปฏิวตั ิ เพื่อที่จะเผยแพร่ให้ ชาวโลกไดรับ ทราบว่าการทีจ่ ะท�ำให้ ชาวโลกสามารถอยูร่ ่วมกัน อย่างมีความสุขได้ นนั ้ คือการที่ต้องช่วยกันสร้ าง สันติสขุ ถึงแม้ วา่ ถาพยนตร์ อิหร่านจะมีอายุไขไม่ ถึงศตวรรษก็ตาม แต่ก็ถูกจัดว่าเป็ นภาพยนตร์ ในแนวหน้ าถ้ าย้ อนไปสู่เมื่อประมาณหนึ่งร้ อยปี ที่ผ่านมา และเพียงในรอบ 8 ปี ที่ผ่านมา จึงถึง ปั จจุบนั ภาพยนตร์ อหิ ร่านก็สามารถก้ าวมาสูแ่ นว


หน้ า และสามารถที่จะส่งภาพยนตร์ เข้ าประกวด ภาพยนตร์ นานาชาติ จนได้ รับรางวัลชนะเลิศได้ ในด้ านศิลปะของอิหร่ านที่ ได้ ถูกน� ำมา เผยแพร่เป็ นในรูปของภาพยนตร์ เพื่อที่จะแสดง ให้ เห็นถึงคุณค่าของความเป็ นมนุษย์ โดยเฉพาะ ในเรื่ องจริยธรรมของประเทศผู้ผลิตภาพยนตร์ วา่ สิลปะที่บ่งบอกถึงจริ ยธรรมของประเทศนันเป็ ้ น เช่นไร เช่นกันอิหร่านก็เป็ นประเทศหนึง่ ทีต่ ้ องการ จะสื่อถึงยริ ยธรรมของคนในชาติให้ ผ้ ูอื่นได้ รับรู้ ด้ วยเหตุนีใ้ นการประกวดภาพยนตร์ นานาชาติ ได้ พิจารณาเกี่ยวกับเนื ้อหาของภาพยนตร์ และ สุด ท้ า ยในปี ค.ศ. 2012 ภาพยนตร์ อิ ห ร่ า นก็ ประสพความส�ำเร็ จในการคว้ ารางวัลชนะเลิศ ของการประวกดภาพยนตร์ นานาชาติได้ โดย เฉพาะภายหลังจากการปฏิวตั อิ สิ ลามอิอหร่านได้ พยายามที่ผลิตและสร้ างาภพยนตร์ อย่างคุณค่า ยิ่งสู่ตาดชาวโลก ภาพยนตร์ อิหร่ านในช่วง 60 ปี ที่ผ่านมาได้ รับรางวัลมากว่า 50 เรื่ องในการ ประกวดภาพยนตร์ นานาชาติ แม้ กระทังภายหลั ้ ง จากการปฏิวตั ิอิสลามก็ตาม โดยภาพยนตร์ อิหร่ านภายหลังจากการ ปฏิ วัติ อิ ส ลามสู่ก ารครบรอบ 35 ปี ของการ สถาปนาสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ก็เป็ นการ จัดให้ มีการฉายภาพยนตร์ และให้ ความสนใจต่อ อุสหากรรมของาภาพนยตร์ เพราะภาพยนตร์ คือ ศิลปะวัฒนธรรม ทีส่ ามารถแสดงออกมาโดยผ่าน ผู้น�ำฉากประกอบของการแสดง ไม่วา่ จะเป็ นใน

เรื่ องคุณค่าของศาสนา ความเชื่อ ความศรัทธา ก็ตาม เราสามารถที่จะน�ำสื่อทางภาพยนตร์ มา เป็ นสือ่ ทางด้ านศิลปะ เพื่อสร้ างสันติ เรี ยกร้ องไป สูค่ วามยุตธิ รรม ให้ มนุษยชาติได้ เกิดความเข้ าใจ ในจริ ยธรรมอันดีงาม เป็ นมิตรซึง่ กันและกัน เรา เชื่อว่าศิลปะที่ยงิ่ ใหญ่นนจะต้ ั ้ องรับใช้ มนุษยชาติ ได้ และเป็ นสื่อที่จะท�ำให้ มนุษยชาติได้ อยูร่ ่วมกัน อย่างมีความสุข และความสงบสันติ จากนั น้ ก็ เ ป็ นการบรรยายพิ เ ศษของ มาดามซะห์รอ นัจญาริ ยอน ซอเดะห์ ในเรื่ อง บทบาทของสตรี ที่เกี่ยวกับภาพยนตร์ โดยท่าน มาดามซะห์รอ ได้ กล่าวว่า ด้ วยพระนามของอัลลอฮ์ พระผู้ทรงเมตตา พระผู้ทรงกรุณาปรานีเสมอ ก่ อ นอื่ น ข้ า พเจ้ า ต้ อ งกล่า วขอขอบคุณ ต่อผู้อ�ำนวยการอุทยานการเรี ยนรู้ Tk park ที่ ได้ มีส่วนร่ วมในการจัดงานวัฒนธรรมเกี่ ยวกับ ภาพยนตร์ อิหร่าน เมื่อได้ กล่าวถึงวัฒนธรรมของ ภาพยนตร์ อิหร่ านจ�ำเป็ นที่จะต้ องกล่าวน�ำเสนอ ออกเป็ นสองหัวข้ อ คือ หนึ่งบทบาทและคุณค่า ของภาพยนตร์ ทมี่ ตี อ่ สังคม ประการทีส่ องบทบาท ของสังคมทีไ่ ด้ รับผลจากวัฒนธรรมของการแสดง ของภาพยนตร์ ในช่ ว งเวลาอัน น้ อ ยนิ ด นี ้ ข้ า พเจ้ า ถื อ โอกาสที่จะกล่าวเกี่ยวกับภาพยนตร์ อิหร่านก่อน

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 147


และหลังจากการปฏิวตั ิอิสลามของอิหร่ าน ดังที่ กล่าวมาการเผยแพร่ งานด้ านวัฒนธรรมในยุค ปั จจุบันถื อว่าเป็ นข้ อบังคับและเป็ นประโยชน์ ต่อสังคม ก็คือเรื่ องของภาพยนตร์ ในภาพยนตร์ จอแก้ ว โทรทัศน์ หรื อภาพยนตร์ จอเงิน เพราะ เป็ นการชีใ้ ห้ เห็นถึงประวัติศาสตร์ ของประเทศ และภาพยนตร์ ก็ยงั บ่งบอกถึงการด�ำเนินชีวิตที่ แตกต่างในสังคม ส่ว นผู้ที่ บ ริ โ ภคภาพยนตร์ นัน้ จะได้ เ รี ย รู้ จักสังคม และการด�ำเนินชีวิตของสังคมที่ถูก ถ่ายทอดผ่านยังภาพยนตร์ แม้ กระทังในเรื ้ ่ องของ การเมือง เศรษฐกิจ ภาพยนตร์ ถือว่ามีบทบาทมาก ถึงแม้ ว่า จะมีลกั ษณะที่เรี ยบง่ายที่บ่งบอกถึงสังคม และ วัฒนธรรมของสังคมนันๆ ้ ถ้ าผู้จดั สร้ างภาพยนตร์ มีความปรารถนาที่จะน�ำเสนอมุมมองที่ดี ก็จะ เป็ นประโชน์ตอ่ สังคมนัน้ เพราะแน่นอนยิง่ คุณค่า 148 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

ของวัฒนธรรมที่จะให้ ผ้ อู ื่นได้ เรี ยนรู้ จกั ได้ อย่าง ดี ก็คือโดยการผ่านยังภาพยนตร์ เช่นภาพยนตร์ ที่เกี่ ยวกับเด็ก ผู้สร้ างภาพยนตร์ จะต้ องมีแผน นโยบายในการส่งเสริ มในเรื่ องวิชาการควบคูก่ นั ไปกับความบังเทิง และนี่คือสิ่งที่จะบ่งบอกถึง วัฒนธรรมอันดีงามของสังคมนันได้ ้ ในปั จจุบนั มีประเทศต่างๆมากมายในโลก ที่ได้ น�ำวัฒนธรรมของตนเองสอดใส่ไปยังประ เทศอื่นๆ และพยายามที่จะเผยแพร่ วฒ ั นธรรม ความเชือ่ นันไปยั ้ งบุคคลอืน่ ๆ จนท�ำให้ วฒ ั นธรรม ของบุคคลในประเทศนันต้ ้ องรับอิทธิพลมา และ สุดท้ ายก็ลืมวัฒนธรรมอันดีงามของตนเอง บทบาทหนึง่ ที่จะท�ำให้ บคุ คลในสังคมได้ รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมชาติอื่นเข้ ามา แนวทาง ก็คือเรื่ องของภาพยนตร์ ที่เป็ นอันตรายอย่างยิ่ง ส�ำหรับสังคมที่ไม่ร้ ู จกั คุณค่าของวัฒนธรรมอัน สวยงามที่ตนเองมีอยู่ วันนี ้เราสามารถที่จะยก


ตัวอย่างได้ ว่าส่วนใหญ่ ของบุคคลในสังคมอยู่ กับอุปสรรคนานาประการที่เป็ นอันตรายยิ่ง และ อันตรายนันก็ ้ คือการน�ำพาผู้คนให้ ออกห่างจาก ครอบครัว ครอบครัวประกอบไปด้ วยผู้ปกครอง บุตร และธิดา ที่จะต้ องอยู่ร่วมกัน และสื่อโทรทัศน์ก็ เป็ นสิ่งส�ำคัญต่อบุตรหลานว่าควรจะให้ พวกเขา ได้ เสพสุขกับรายการใดในสื่อโทรทัศน์ เพราะ บางรายการของสื่อโทรทัศน์นนก็ ั ้ เป็ นสิ่งที่ขดั ต่อ จริ ยธรรมอันดีงาม การที่เราสามารถจะควบคลุม สื่ อ ต่า งเหล่า นี ก้ ็ ขึน้ อยู่กับ ฝ่ ายผลิต รายการว่า สมควรทีจ่ ะเผยแพร่หรือไม่ เพราะบางประเทศนัน้ สื่อมีอิสระเสรี ภาพในการเผยแพร่ แผลิตรายการ ของเขา ตรงงนี ้ก็ยากส�ำหรับบรรดาผู้ปกครองที่ จะต้ องสอดส่องดูแลบุตรหลานของตนเอง แต่สงิ่ ทีใ่ ห้ กบั พวกเขาได้ นนคื ั ้ อการตักเตือนและสัง่ สอน

ชี ้แนะว่าสังคมแต่ละสังคมนันแตกต่ ้ างกันอย่างไร และสังคมประเภทใดที่เป็ นอันตรายต่อเขา ที่จะ น�ำพาให้ ครอบครั วนัน้ สู่ความหายนะและสื่อม เสียได้ แต่ เ มื่ อ พูด เกี่ ย วกับ ภาพยนตร์ อิ ห ร่ า น เช่นกันก่อนหน้ าการปฏิวตั ิอิสลาม ฏ้ นบั ว่าเป็ น สิ่งที่น่าเสียใจ เพราะรู ปแบบของภาพยนตร์ นนั ้ เป็ นการท�ำลายจริ ยธรรม วัฒนธรรม แม้ กระทัง้ ภาพยนตร์ อาหรับ ภาพยนตร์ อินเดีย ภาพยนตร์ ในประเทศต่างๆ ก็ต้องพิจารณาว่าภาพยนตร์ ใดเหมาะสมต่อครอบครัวและเยาวชน แต่ภาย หลัง จากการปฏิ วั ติ อิ ส ลามแห่ ง อิ ห ร่ า น เรา ได้ ท� ำ การปกป้ องวัฒ นธรรมอัน ดี ง ามของเรา และไม่ยินยอมให้ ภาพยนตร์ ตะวันตกที่ท�ำลาย วัฒนธรรมเข้ ามาฉายในบ้ านเมืองเรา เพราะ จะท� ำ ลายวัฒ นธรรมอัน งดงามของเราที่ มี อ ยู่ ด้ วยเหตุนี ้เราจึงต้ องช่วยกันรักษาวัฒนธรรมอัน

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 149


งดงามของเราไม่ให้ วฒ ั นธรรมที่ไม่เหมาะสมเข้ า มาสูส่ งั คมและครอบครัวของเรา เมื่อครัง้ ที่ทา่ นอิมาม โคมัยนี (รฮ.) ได้ เดิน ทางกลับมายังอิหร่ าน ท่านได้ กล่าวปราศรัยว่า “เราไม่ได้ เป็ นศัตรูกบั ภาพยนตร์ เราไม่ต้องการที่ จะให้ ภาพยนตร์ ที่ท�ำลายจริ ยธรรมนันได้ ้ ถถุกน�ำ มาเผยแพร่ในปะเทศของเรา” หลัง จากนั น้ เราชาวอิ ห ร่ า นก็ ไ ด้ สร้ าง ภาพยนตร์ ข องอิ ห ร่ า นขึ น้ เป็ นรภาพยนตร์ ที่ แสดงออกซึง่ เรื่ องราวของศาสนา เช่นภาพยนตร์ เรื่ อ ง ศาสดายู ซุ ฟ (อ.) ภาพยนตร์ เ กี่ ย วกั บ การเมื อ ง สัง คม และภาพยนตร์ ที่ เ กี่ ย วกั บ ครอบครั วจริ ยธรรม ภาพยนตร์ ที่เกี่ ยวกับการ แสดงออกทางด้ านศิลปะวัฒนธรรม และจาก ภาพยนตร์ เหล่านีเ้ ราก็ได้ จัดส่งเข้ าประกวดใน เทศกาลภาพยนตร์ นานาชาติจนได้ รับรางวัลชนะ เลิศหลายต่อหลายรางวัล 150 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

ประชาชนชาวอิ ห ร่ า นต่ า งปิ ติ ยิ น ดี กับ รางวัล ต่ า งๆของภาพยนตร์ ท่ี ส่ ง เข้ าประกวด สตรี ชาวอิหร่านที่มีบทบาทในด้ านการแสดงก็ได้ รั บ รางวัล น� ำ ฝ่ ายหญิ ง ในภาพยนตร์ เ กี่ ย วกับ ครอบครัว เพราะการแสดงออกให้ เห็นถึงชีวิตใน แต่ละครอบครัวตามบทบาทของสตรี ที่ได้ รับบท สุดท้ ายคือมารดา เพราะทุกครอบครัวสตรี อยูใ่ น ฐานะธิดา ภริ ยา และมารดา ซึง่ สังคมต่างก็ต้อง ยอมรับถึงบทบาทของสตรี เมื่อเราได้ ออกมานอกประเทศ เราก็ต้อง วางตัวเองให้ เหมาะสมต่อสังคม มีความเชื่อมัน่ ว่าบทบาทของเราที่ อยู่ในอิหร่ าน เกี่ ยวกับสื่อ ภาพยนตร์ โทรทัศน์ นันก็ ้ ต้องสอดส่องดูแลบุตร และธิดาของเรา และคอยแนะน�ำชี ้แนะพวกเขา ว่ารายการใดที่เหมาะสมส�ำหรับพวกเขา และมี ประโยชน์ในด้ านวัฒนธรรม จริ ธรรม แก่พวกเขา เป็ นอย่างยิ่ง


จากนั น้ ฯพณฯ ฮุ เ ซน กะมาลิ ย อน วันอาทิตย์ที่ 9 กุมภาพันธ์ 2557 เอกอัครราชทูตสาธารณรั ฐอิสลามแห่งอิหร่ าน เวลา 12.00 น. ฉายภาพยนตร์ เรื่ อง “รักเมื่อวัย ได้ มอบภาพยนต์อิหร่ าน ซับไตเติ ้ลภาษาไทย 8 40” เรื่ องให้ เป็ นสมบัตขิ องอุทยานการเรี ยนรู้ Tk park เวลา 14.30 น. ฉายภาพยนตร์ เรื่ อง “หนึง่ และนายมุศฏฟา นัจญารอยน ซอเดะห์ ที่ปรึกษา รักร้ าง...วันรักร้ าว” ฝ่ ายวัฒนธรรมฯ ได้ มอบหนังสือเข้ าห้ องสมุดของ อุทยานการเรี ยนรู้ และร่ วมถ่ายภาพเป็ นที่ระลึก จากนัน้ ก็ เข้ าร่ วมชมภาพยนตร์ ป ฐมฤกษ์ เรื่ อ ง “สายใยแห่งรัก” ส่ ว นในวั น เสาร์ และอาทิ ต ย์ ที่ 8–9 กุมภาพันธ์ 2557 ก็เป็ นการจัดฉายภาพยนตร์ อิหร่านวันละเรื่ อง สองรอบ คือ วันเสาร์ ที่ 8 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 12.00 น. ฉายภาพยนตร์ เรื่ อง “คุณยูซฟุ ” เวลา 14.30 น. ฉายภาพยนตร์ เรื่อง “ท้ องฟ้า ที่รัก”

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 151


งานวัฒนธรรมอิหร่าน

ณ มหาวิทยาลัยราชภัฎ สวนดุสติ วัน อัง คารที่ 4 กุม ภาพัน ธ์ 2557 ศูน ย์ วัฒ นธรรม สถานเอกอัค รราชทูต สาธารณรั ฐ อิสลามแห่งอิหร่ าน ประจ�ำกรุ งเทพมหานครฯ ได้ จดั งานวัฒนธรรมอิหร่ านขึ ้น ในงานดังกล่าว มีแขกผู้มีเกียรติเข้ าร่ วมงาน นายมุศฏอฟา นัจ ญาริ ยอน ซอเดะห์ ที่ปรึ กษาฝ่ ายวัฒนธรรม , ผศ. ดร. นิรมิต คุณานุวฒ ั น์ รองอธิการบดีฝ่าย วิเทศสัมพันธ์ มหาวิยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ,ดร. นคเรศ ณ พัทลุง คณะกรรรมการบริ การวิชาการ คณะวิทยาการจัดการ , ดร. ประเสริ ฐ สุขศาสน์ กวิน คณบดี คณะอิสลามศึกษา อิหร่ านศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีแห่งอโยธยา คณาจารย์ และ นิสติ นักศึกษา ก�ำหนดเริ่ มต้ นด้ วยนายมุศฏอฟา นัจญา

152 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

ริ ยอน ซอเดะห์ ที่ปรึ กษาฝ่ ายวัฒนธรรม ได้ พา ผศ. ดร. นิรมิต คุณาวัฒน์ รองอธิ การบดีฝ่าย วิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต และคณะ คณาจารย์ ช มนิ ท รรศการอิ ห ร่ า น ที่ ท างศูน ย์ วัฒ นธรรม สถานเอกอัค รราชทูต สาธารณรั ฐ อิสลามแห่งอิหร่าน ประจ�ำกรุงเทพฯ ได้ จดั ไว้ ชนั ้ ล่างของห้ องสมุดคณะวิทยบริ การ มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสติ จากนันท่ ้ านรองอธิการบดีฝ่าย วิ เ ทศสัม พัน ธ์ ไ ด้ เ ชิ ญ ที่ ป รึ ก ษาฝ่ ายวัฒ นธรรม และคณะเข้ าสู่ห้องประชุมเพื่อเริ่ มพิธีเปิ ดงาน วัฒนธรรมอิหร่าน โดยท่าน ผศ. ดร. นิรมิต คุณา นุวฒ ั น์ รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ ในฐานะ ตัวแทนของท่านอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสติ กล่าวต้ อนรับ โดยได้ กล่าวว่า :


เรียน ท่านมุศฏอฟา นัจญารอยอน ซอเดะห์ ที่ปรึกษาฝ่ ายวัฒนธรรม ศูนย์วฒ ั นธรรม สถาน เอกอัค รราชทูต สาธารณรั ฐ อิ ส ลามแห่ ง อิ ร่ า น ประจ� ำ กรุ ง เทพมหานครฯ คณจารย์ นิ สิ ต นัก ศึก ษา และแขกผู้มี เ กี ย รติ สุภ าพบุรุ ษ และ สภาพสตรี มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ สวนดุ สิ ต ท่ า น อธิการบดี และตัวของข้ าพเจ้ า ขอกล่าวต้ อนรับ ท่านมุศฏอฟา นัจญาริ ยอน ซฮเดะห์ ที่ปรึ กษา ฝ่ ายวั ฒ นธรรม และคณะเจ้ าหน้ าของศู น ย์ วัฒ นธรรม สถานเอกอัค รราชทูต สาธารณรั ฐ อิสลามแห่งอิหร่าน ประจ�ำกรุงเทพฯ คณาจารย์ ผู้ทรงคุณวุฒิ นิสติ นักศึกษา ที่ได้ เดินทางเข้ าร่วม งานวัฒนธรรมอิหร่ านที่จดั ขึ ้น ณ มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสติ ในครัง้ นี ้ ประเทศอิหร่ าน เป็ นประเทศที่ตงอยู ั ้ ่ทาง ด้ านตะวันตกของเอเซีย อยู่ระหว่างเอเซียกับ

ตะวัน ออกกลาง ดัง ที่ ถู ก เรี ย กว่ า อาณาจั ก ร เปอร์ เซีย ประเทศอิหร่ านได้ สถาปนาเป็ นสาธาร รณับ อิ ส ลามแห่ง อิ ห ร่ า นอย่า งเป็ นทางการใน ปี ค.ศ. 1980 ประเทศอิหร่าน เป็ นประเทศหนึง่ ที่มีอารยธรรมเก่าแก่ และมีสมั พันธ์ ด้านการค้ า และวัฒนธรรมกับราชอาณาจักรไทยมานานกว่า 400 ปี โดยเฉพาะอิหร่ าน เป็ นประเทศหนึ่งที่ได้ สัง่ ซื ้อข้ าวจากประเทศไทย ซึ่งในปี ค.ศ. 2013 ประเทศไทยได้ จดั ส่งข้ าวให้ แก่ประเทศอิหร่ านปี ละ 250,000ตัน และเช่นเดียวกันในปี ค.ศ. 2014 ประเทศอิหร่านก็ยงั สัง่ ซื ้อข้ าจากไทยอย่างต่อนือ่ ง และได้ เพิ่มอัตราการซื ้อขึ ้นไปเรื่ อยๆ ประเทศอิหร่านมีสนิ ค้ าส่งออกคือน� ้ำมัน ซึง่ อิหร่านเป็ นประเทศสมาชิกอันดับสามของโอเป็ ก และได้ จดั ส่งน� ้ำมันมายังประเทศไทย อีกทังยั ้ งให้ สัมปทานแก่การปิ โตเลีย่ มแห่งประเทศไทยในการ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 153


ส�ำรวจน� ้ำมัน และแก๊ ซธรรมชาติ ในสาธารณรัฐ อิสลามแห่งอิหร่าน การจั ด งานในครั ง้ นี ้ เป็ นโอกาสที่ จ ะ ท�ำให้ เราได้ เรี ยนรู้ จกั อิหร่ านเพิ่มมากขึ ้น เพราะ อิหร่ านถือว่าเป็ นประเทศหนึ่งที่มีความสวยงาม และในโอกาสหน้ าทางมหาวิ ท ยาลัย ราชภัฏ สวนดุสิตจะได้ มีโอกาสแลกเปลี่ยนด้ านวิชาการ กับมหาวิทยาลัยของประเทศอิหร่ าน และจะได้ มีความร่ วมมือกับสถานเอกอัครราชทูตอิหร่ าน ประจ�ำประเทศไทย เพื่อสร้ างสายสัมพันธ์ อนั ดี ต่อกัน ข้ าพเจ้ า ในนามของมหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสิต และตัวแทนคณาจารย์ นักศึกษาต้ อง ขอขอบคุณท่านมุศฏอฟา นัจญาริ ยอน ซอเดะห์ ที่ ป รึ ก ษาฝ่ ายวัฒ นธรรม ที่ ไ ด้ กรุ ณ าจั ด งาน วัฒนธรรมอิหร่ าน ร่ วมกับทางมหาวิทยาลัยฯ และหวังเป็ นอย่างยิ่งว่าในโอกาสต่อๆไป จะได้ มีการจัดงานวัฒนธรรม และโครงการอื่นๆ ร่ วม กับมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต สืบต่อไป ขอ ขอบคุณ จากนัน้ นายมุศฏอฟา นัจญาริยอน ซอเดะห์ ที่ปรึกษาฝ่ ายวัฒนธรรม ศูนย์วฒ ั นธรรม สถาน เอกอัครราชทูตสาธารณรั ฐอิสลามแห่งอิหร่ าน ประจ�ำกรุ งเทพมหานครฯ ได้ กล่าววัตถุประสงค์ การจัดงาน และกล่าวเปิ ดงานวัฒนธรรมอิหร่าน โดยท่านได้ กล่าวว่า : เรี ยน ท่าน ผศ. ดร. นิรมิต คุณานุวฒ ั น์ รอง

154 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

อธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสติ คณาจารย์ เจ้ าหน้ าที่ นิสติ นักศึกษา ที่ เคารพ ถื อเป็ นเกี ยรติอย่างยิ่งในวโรกาสวันชาติ และวันสถาปนาสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่ าน ที่ เ รามี โ อกาสจัด งานแสดงศิ ล ปะ วัฒ นธรรม ขึน้ ในสถานที่ ที่เป็ นศูนย์กลางขององค์ความรู้ เป็ นสถานที่ในการผลิตนักวิชาการ ตังแต่ ้ อดีต มาจนถึ ง ปั จ จุบัน และด้ ว ยความร่ ว มมื อ จาก คณาจารย์ที่เคารพ งานนี ้จึงได้ ถกู จัดให้ มีขึ ้น การจัดงานครั ง้ นี ้ ได้ แสดงให้ เห็นถึงสาย สัมพันธ์อนั เก่าแก่ของสองประเทศทีม่ มี ายาวนาน จากความร่ วมมือของทังสองฝ่ ้ ายได้ พยายามที่ จะน�ำพาประชาชนของทัง้ สองประเทศได้ เรี ยน รู้ จักถึงความสัมพันธ์ ระหว่างสองประเทศที่อยู่ ร่วมกันนัน้ เป็ นสิงจ�ำเป็ นไม่วา่ จะเป็ นในเรื่ องการ ศึกษา วัฒนธรรม ศิลปะ การเมืองการปกครอง และเศรษฐกิจ แขกผู้มีเกี ยรติที่เคารพทุกท่าน ข้ าพเจ้ า ต้ องการที่จะกล่าวกับพวกท่านว่า ความสัมพันธ์ ในประวัตศิ าสตร์ ของสองประเทศคืออิหร่าน และ ไทยได้ เริ่ มต้ นอย่างเป็ นทางการเมื่อ ปี ค.ศ. 1605 ในยุดสมัยของท่านเจ้ าพระยาบวราชนายก เฉ กอะห์มดั กุมมี นักวิชาการชาวอิหร่าน ทีได้ เดิน ทางมายังกรุ งศรี อยุธยา เมืองหลวงของสยาม ประเทศ ท่านได้ ภาวนาตนเองในการปั กหลักตัง้ ถิ่นฐานในวยามประเทศ เพือ่ รับใช้ ประชาชน และ


พระมหากษัตรย์ของสยามประเทศ ด้ วยตัวท่าน เองเป็ นผู้ที่มีความสามารถในด้ านต่างๆ จึงได้ รับ ความไว้ วางประราชหฤทัยของกษัตรย์สยาม จึง ทรงโปรดเกล้ าแต่งตังให้ ้ ทา่ นด�ำรงต�ำแหน่งส�ำคัญ ของประเทศ และท่านเจ้ าพระยาบวรราชนายก เฉกอะห์มดั กุมมี ได้ รับพระราชทานสตรี ไทยที่มี นามว่า ชี จากราชนิกลุ ให้ ทำ� การสมรสจนสืบบุตร หลานสายสกุลเช่นสกุลบุนนาคและการาชนิกลุ อื่นๆ และได้ รับพระราชทานแต่งตังให้ ้ เป็ นปฐม จุฬาราชมนตรี จากคุณงามความดีทที่ า่ นเฉกอะห์ มัด กุมมี ได้ กระท�ำไว้ ในแผ่นดินสยามนี ้ เป็ นเหตุ ให้ สายสัมพันธ์ ของประชากรของสองประเทศมี ความสัมพันธ์อนั ดีตอ่กนั เรื่อยมาตราบจนทุกวันนี ้ แขกผู้ มี เ กี ยรติ ทุ ก ท่ า น อารยธรรม วัฒนธรรมของสาธารณรั บอิสลามแห่งอิหร่ าน ในยุคทองไม่ใช่แคร่ เพียงว่าอิหร่ านเป็ นประเทศ อิสลามประเทศหนึง่ แต่ยงั มีต�ำราอีกมากมายที่ เขียนเกี่ยวกับ การค้ นคว้ า เกี่ยวกับประเทศต่างๆ

โดยเฉพาะในเรื่ องความเป็ นมาแห่งอารยธรรม ของอิสลามแห่งอิหร่ าน นักค้ นคว้ าต่างให้ ความ สนใจที่จะเขียนจารึกค้ นคว้ าเกี่ยวกับอารยธรรม อิสลามของอิหร่าน ข้ า พเจ้ า ต้ อ งการที่ จ ะกล่า วบอกกับ พวก ท่านว่า อารยธรรมอิสลามนัน้ ได้ ก่อก� ำเนิดขึน้ จากรากฐานแห่งความสันติและแพร่ ขยายออก ไป บรรดานักวิชาการต่างๆ ก็เขียนผลงานวิจยั ในภาษาต่ า งๆ แม้ ก ระทัง้ ภาษาอาหรั บ และ นักวิชาการที่ มีชื่อเสียงชาวอิหร่ านเช่น ท่านฟ อระบี อบนุซินา และท่านรอซี ต่างก็เป็ นมุสลิม ชาวอิหร่านที่คิดค้ นทฤษฎีตา่ งๆ ในวงการแพทย์ ปรัชญา คณิตศาสตร์ การค�ำนวณ แม้ กระทังใน ้ เรื่องของเคมีทางการแพทย์ทที่ า่ นอิบนุฮ๊ซมั บะศะ รี ชาวอะห์ ว าซเป็ นคนอิ ห ร่ า นก็ เ ป็ นคนคิ ด ค้ น ทฤษฎีเคมีการแพทย์ขึ ้นมา บรรดาแขกผู้มีเกียรติที่เคารพ สาธารณรัฐ อิสลามแห่งอิหร่ าน ได้ รับความเมตตาจากพระ ผู้เป็ นเจ้ า และได้ รับการสถาปนารัฐอิสลามโดย ท่านอิมาม โคมัยนี (รฮ.) นักวิชาการด้ านศาสนา การเมือง ในศตวรรษที่ 20 ได้ ก่อตังและสถาปนา ้ สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่ านขึ ้น ปี นี ้เป็ นที่ 35 ซึง่ ตรงกันวันที่ 22 เดือนบะห์มนั (เดือนอิหร่าน) ปี ค.ศ. 1979 วันที่ 11 กุมภาพันธ์ ของทุกๆปี สาธารณรั ฐอิสลามแห่งอิหร่ านได้ รับแสงสว่าง ทางน�ำ ท�ำให้ ประชาชนชาวอิหร่ านที่เต็มเปี่ ยม ด้ วยศรัทธาได้ น้อมรับที่จะปฏิวบั ตั ิตามท่านผู้น�ำ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 155


สูงสุดทางจิตวิญญาณ คือท่านอิมามคามาเนอี ซึง่ ท่านเป็ นผู้น�ำพาประเทศชาติในเรื่ องการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ด้ านวิชาการความรู้ การศึกษา ด้ านการแพทย์ และอีกมากมายที่ทา่ น เป็ นผู้ชีแ้ นะ ด้ วยเหตุนีส้ าธารณรัฐอิสลามแห่ง อิหร่านยังได้ พฒ ั นาประเทศในทุกด้ าน การศึกษา การแพทย์ เทคโนโลยี อุตสาหกรรม เกษตรกรรม อุตสาหกรรมรถยนต์ เครื่ องมืออาวุธยุทโธปกรณ์ ไว้ ปกป้องเขตแดน และอาณาจักรอิสลาม ดุต สหากรรมเอเดินทะเล เรื อด�ำน� ้ำ ดาวเทียม และ อื่นอีกมากมาย เรามีความเชื่อมัน่ ว่าประชาชนจะรู้ จกักนั มีความใกล้ ชิดกันยอ่มมากจากการแลกเปลี่ยน วัฒนธรรม และการเรี ยนรู้ จักอารยธรรมต่อกัน เพราะอารยธรรม และวัฒนธรรมจะน�ำมาซึง่ การ สร้ างสันติภาพความสงบบโลกนี ้ได้ สุ ด ท้ ายข้ าพเจ้ า ขอขอบคุ ณ ต่ อ แขกผู้ มี เ กี ย รติ ทุ ก ท่ า น โดยเฉพาะท่ า นอธิ ก ารบดี 156 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต และคณาจารย์ที่ ร่วมมือในการจดังานวัฒนธรรมและศิลปะขึ ้นใน โอกาสนี ้ ต่อจากนันก็ ้ เป็ นการบรรยายพิเศษเรื่ อง “อู่ แห่งอารยธรรมอิหร่าน” โดยท่าน ดร. ประเสริ ฐ ศาสน์กวิน คณบดี คณะอิสลามศึกษา อิหร่ าน ศึกษา ท่านได้ กล่าวว่า : ด้ วยพระนามของอัลลอฮ์ พระผู้ทรงกรุณา พระผู้ทรงเมตตาเสมอ เรี ย นท่า นรองอธิ การบดี คณบดี นิ สิต นักศึกษาทุกท่าน หลังจากที่ เราได้ ชมวิดีทัศน์ เกี่ยวกับอารยธรรมอิหร่านจากอดีตจนถึงปั จจุบนั อูอ่ ารยธรรมเปอร์ เซียมีอยายุยืนนานกว่า 7,000 ปี แต่ถ้าผมต้ องการจะน�ำรายละเอียดทัง้ หมด เกี่ ยวกับความยิ่งใหญ่ แห่งอาณาจกัรเปอร์ เซีย อิหร่ านมากล่าวในระยะเวลาเพียงครึ่ งชัว่ โมงก็ คงจะเก็บรายละเอียดไม่หมด เพียงแต่เราจะน�ำ เสนอเพียงบางประเด็นที่ส�ำคัญเป็ นภาพรวมว่า


สาธารณรั ฐอิสลามแห่งอิหร่ านนัน้ มี ความยิ่ง ใหญ่ในด้ านวัฒนธรรม ศิลปะต่างๆ และการเมือง ที่เราสามารถจะตรวจสอบได้ และเป็ นสิง่ ที่ยืนยัน ได้ เกี่ ยวกับสิ่งที่มีปรากฎอยู่ในประเทศอิหร่ าน เมื่ อเราพูดถึงประเทศอิหร่ านเราก็ จะนึกถึงค�ำ ว่ า เปอร์ เ ซี ย เวลาเราดูภ าพยนตร์ ที่ เ กี่ ย วกับ อาณาจักรกรี กโรมัน เราจะพบนครอันยิ่งใหญ่ ในกรุ งโรมสมัยก่อน เปอร์ เซียก็เป็ นลักษณะเช่น นัน้ แต่ว่า ในการผลิต เป็ นภาพยนตณ์ นัน้ ก็ ไ ม่ สามารถจะมองเห็นให้ เป็ นตัวอย่างสักเท่าใด แต่ ถ้ านักศึกษาได้ ชมภาพยนตร์ เรื่ อง เดอะฟริ นส์ ออฟเปอร์ เซีย จะเห็นบางอย่างเป็ นวัฒนธรรม เปอร์ เซียโบราณที่ถกู น�ำเสนออยู่ในภาพยนตณ์ เรื่ องนัน้ ดังนันเมื ้ ่อเราพูดถึงเปอร์ เซีย ซึง่ ปั จจุบนั เรี ยกว่าประเทศอิหร่ าน เป็ นประทศมหาอ�ำนาจ ในซีกฝั งตะวันออก ซึง่ ในยุคสมัยนันซี ้ กฝั งตะวัน ตกก็คืออาณาจักรโรมัน อาณาจักรเปอร์ เซียมี ดินแดนแพร่ไปจนประเทศอียิปต์ลมุ่ แม่น� ้ำไนล์ มี ศูนย์อยูท่ เี่ มืองชีราซ ปั จจุบนั ทีถ่ กู เรียกว่าเปอร์ เซีย โปริ ซที่ถูกกองทัพของอาเล็กซานเดอร์ มหาราช บุกโจมตี ซึ่งสถานที่เมืองหลวงเก่าในชีราซของ อิหร่ านได้ ถกู ขึ ้นเป็ นมรดกโลก นักท่องเที่ยวต่าง ก็ ไ ด้ เ ดิ น ทางไปชมความยิ่ ง ใหญ่ อ ลัง การของ เมืองนี ้ และนี ้คืออาณาจักรเปอร์ เซียที่ควบคลุม ไปจนถึงคาบสมุทรอาหรับจนถึงทะเลแดง รวม ไปจนถึงดินแดนเมโซโปร์ เตเมียร์ แม้ กระทังกรุ ้ ง

บาบิโลนด์ประเทศอาหรับในปั จจุบนั ก็เคยอยู่ใน ดินแดนของเปอร์ เซียในยุคสมัยกษัตริ ย์ไซปรั ส ถ้ าดูไปถึงประเทศตุรกีในอาณาจักรบาเซนไทน์ ก็อยูใ่ นส่วนหนึง่ ของอาณาจกัรเปอร์ เซีย แม้ กระ ทังสถาปั ้ ตยกรรมในกรุงอิสตันบูล ของตุรกีก็เป็ น สถาปั ตยกรรมของเปอร์ เซียและนี่แหละคือความ ยิ่งใหญ่ของอาณาจักรเปอร์ เซียในอดีต แม้ กระทังในปั ้ จจุบนั อาณาจักรเปอร์ เซีย ยังได้ ควบคลุมไปถึงประเทศรัสเซีย ซึ่งสหภาพ โซเวียตก่อนที่จะถูกล้ มสลายไม่ว่าจะเป็ นประเท ศอาร์ เซอไบญาน อุเบกิสถาน ฯลฯ ล้ วนแล้ วแต่ที่ จะใช้ ภาษาเปอร์ เซียเป็ นภาษาสนทนา อารยธรรม เปอร์ เซียยังได้ แพร่ และให้ คุณค่า ถ้ านักศึกษา ได้ พิจารณาว่าอเล็กซานเดอร์ กษัตริ ย์แห่งโรมัน หมายปองที่โจมตีอาณาจักรเปอร์ เซียให้ ราบ มี ผู้ถามกษัตริ ย์อเล็กซานเดอร์ ว่า ท่านยังไม่เพียง พอกับอาณาจักรโรมันที่ยิ่งใหญ่ในซีกตะวันตก อีกหรือ กษัตริย์อเล็กซานเดอร์ มหาราชกล่าวตอบ ว่า ฉันต้ องการที่จะโจมตีอาณาจักรเปอร์ เซีย ก็ เพราะไม่ตอ้ งให้ ชาวเปอร์ เซียได้ ระลึกถึงความยิ่ง ใหญ่ของอาณาจักรของพวกเขา กษัตริ ย์อเ,ล็ก ซานเดอร์ มหาราชต้ องใช้ กองทัพม้ าถึงห้ าหมืน่ ตัว และกองก�ำลังทหารมาก แต่กว่าจะพิชิตเปอร์ เซีย ได้ ต้องใช้ เวลารบนานถึงหกเดือน ในความเป็ น สุภาพบุรุษอย่างหนึ่งของกษัตริ ย์อเล็กซานเดอร์ มาหราช คือการได้ เรี ยนรู้ ปรัชญาจากเปโตร์ ซึง่ เปโตร์ ได้ สอนไว้ วา่ เมื่ใดที่เรามีอ�ำนาจเหนือศัตรู

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 157


เราสามารถที่จะพิชิตศัตรูได้ ทกุ อย่าง แต่จะต้ อง ไม่ทำ� ลายสิง่ ทีเ่ ป็ นอารยธรรม หรือวัฒนธรรม ด้ วย เหตุนี ้กษัตริ ย์อเล็กซานเดอร์ มาหราชไม่ท�ำลาย อารยธรรม และศาสตร์ ต่างๆของเปอร์ เซียเลย จะเห็นได้ ว่าปรัชญาในซีกตะวันตกแม้ กระทังใน ้ หนังสืออุตรมรัชของเปโตร์ ซงึ่ นักศึกษารัฐศาสตร์ จะต้ องเรี ยนหนังสือเล่มนี ้ เขาได้ บอกว่าหนังสือ ของเปโตร์ เล่มนีต้ ัวของท่านเปโตร์ ยังได้ บันทึก บางส่วนของอะเลซตาร์ ของโซอเลตเตอร์ เสียด้ วย ซ� ้ำคือเปอร์ เซียโบราณ คือปรัชญาทางการเมือง นี่คือความยิ่งใหญ่ของอาณาจักรเปอร์ เซีย เมือ่ เราพูดถึงอารยธรรมตามที่ท่านอุปทูตวัฒนธรรม ได้ กล่าวมาแล้ วว่า เมื่อระยะเวลาประมาณ 400 กว่าปี ที่ ผ่านมาได้ มีบุรูษท่านหนนึ่งที่ มีนามว่า ท่านเฉกอะห์มดั กุมมี ที่ได้ เดินร่ วมเดินทางมา กับน้ องชายของท่านที มีนามว่ามุฮัมมัดสะอี ด ในช่ ว งยุค สมัย ของสะฟะวิ ด การปกครองของ ประเทศอิหร่านที่มีความรุ่งเรื อง ท่านทังสองเดิ ้ น ทางมายังกรุ งศรี อยุธยาในยุคสมัยของพระเจ้ า ทรงธรรม ต่อมาในยุคสมัยของพระเจ้ าปราสาท ทองก็ได้ สถาปนาให้ ท่านฉกอะห์ มัด เป็ นปฐม จุฬราชมนตรี ประมุขคนแรกของสยามประเทศ ดัง นัน้ เราจะพบเห็น ได้ ว่าในกรุ ง ศรี อ ยุธ ยานัน้ จะมีอารยธรรม และวัฒนธรรมหลายประการ ที่ตกล่นและยังเป็ นที่อู่แห่งอารยธรรมของชาว สยามอย่างมากมายเลยที่เดียว ซึ่งงานวิจยั ชิ ้น นี ้ได้ ถกู ค้ นคว้ าวิจยั จากสถาบันเทคโนโลยีแห่งอ

158 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

โยธยาไว้ หลายเล่ม ดังนันสตรงนี ้ ้จะเห็นได้ วา่ สิง่ ที่ได้ รับผลประโยชน์ จากอารยธรรมวัฒนธรรม ของอิหร่ านมี อย่างมากมายในวัฒนธรรมและ อารยธรรมของไทย แต่ผมต้ องารที่เสนอว่าเมือ่ เราก� ำลังพูดกล่าวถึงสิ่งที่เป็ นอารยธรรม ส่วน ใหญ่เราจะมองไปยังสิ่งที่เป็ นสถาปั ตกรรม สิ่งนี ้ ก็ถือว่าใช่ว่าเป็ นส่างที่บ่งบอกถึงวัฒนธรรมอัน ยิ่งใหญ่ของชนชาตินนที ั ้ ่ได้ ละทิ ้งไว้ แต่ก็ยงั มีอีก ประการหนึง่ ที่ถกุ เรี ยกว่าอารยธรรมทางปั ญญา อารยธรรมทางด้ านกายภาพ ทางด้ านวัตถุ ถ้ า เรามองไปยังอารยธรรมของกรี ก เราก็จะพบว่า โคลัสเซีย่ มในด้ านการบรรเทิงว่าย่างใหญ่อย่างไร แม้ กระทังเสารู ้ ปทรงโรมันที่มีปรากฎอยุ่ในบ้ าน เมืองเรา มันเป็ นสิง่ ที่นา่ ทึ ้ง หรื อว่าพรมลวดลาย เปอร์ เซีย หรื อสถาปั ตยกรรมของอิหร่านที่มีอยูใ่ น บ้ านเรา เป็ นส่างทีน่ า่ สนใจ แต่ผมตอ้ งการทีจ่ ะน�ำ เสนอตรงนี ้ที่วา่ สิ่งที่เป็ นอารยธรรมทางปั ญญา เป็ นอารยธรรมที่สามารถจะต่อยอดได้ และจะ ตกผลึกน�ำไปสูก่ ารเปลี่ยนแปลง ไม่ใช่แคร่ เพียง เก็บไว้ เป็ นความทรงจ�ำแต่เพียงอย่างเดียวเท่านัน้ ถ้ า เป็ นอารยธรรมทางด้ า นวัต ถุมัน เป็ นเพี ย ง แคร่ ความทรงจ�ำทีว่ากาลครั ง้ หนึ่งนานมาแล้ ว อาณาจักรเปอร์ เซีย เป็ นอาณาจักรที่ยิ่งใหญ๋มี ม้ าเป็ นสัยลักษณ์ของประเทศ แต่อารยธรรมทาง ปั ญญานันสามารถที ้ ่จะน�ำไปสูก่ ารพัฒนา และ วิวฒ ั นาการเปลีย่ นแปลงทางด้ านสังคม การเมือง การปกครอง สิง่ ที่เป็ นอารยธรรมทางปั ญญาของ


เปอร์ เซีย หรื ออิหร่าน สิง่ หนึง่ ยังคงหลงเหลือคือ อภิปรัชญาที่มีอยู่ ซึง่ ไม่มีใครที่จะปฏิเสธได้ เลย แม้ กระทังปรั ้ ชญาเปอร์ เซียโบราณของอิหร่านทีม่ ี ความเชือใ่ นเรนือ่ งเทวานิยม คือความเชือ่ พะรเจ้ า แห่งความดี และพระเจ้ าแห่งความชัว่ คือการมอง พระเจ้ าในสองรูปแบบ หลัวจากนันได้ ้ กลายเป็ น ศาสนาโซโลแอสเตอร์ (ศาสนาบูชาไฟ) สิง่ ต่างที่ ผมต้ องการจะกล่าวว่าโซโลแอสเตอร์ ได้ อสนเกี่ยว กับกรรปกครองการบ้ านการเมือง สิง่ หนึง่ ทีเ่ ป็ นสิง่ ที่ยิ่งใหญ่มากที่ได้ เขียนบันทึกอยูใ่ นหนังสือ ออน เดอะลีดเดอร์ ในหลักธรรมชาติสากลกล่าวว่าสิง่ ที่เป็ นหลักปรัชญาในด้ านการปกครองนันจ้ ้ ะองมี คุณธรรม จริ ยธรรม ทังด้ ้ านปั จเฉกและคุณธรรม ยริ ยธรรมทางด้ านสังคม ตรงนี ้ผู้ปกครองจะต้ อง มี จริ ยธรรมและเวลาเดียวกันสังคมก็ จะต้ องมี จริ ยธรรมด้ วย นันหมายถึ ้ งหน่วยย่อยต่างๆที่จะ ขับเคลือ่ นจะต้ องมีจริ ยธรรม ลัทธิโซโ,ลแอสเตอร์ ได้ กล่าวว่าถ้ าสังคมใดก็ตามที่ต้องการความเป็ น

ธรรม ความยุติธรรมขันสู ้ งจะต้ องมีผลต่อสังคม และก็จะท�ำให้ สงั คมนัน้ เป็ นสังคมอารยะ เป็ น สังคมที่มีความสมบูรณ์ ไม่มีการขัดแย้ งในการ เป็ นอยู่ และแบ่งชนชันวรรณะ ้ นี่คือปรั๙ญาที่ได้ ถูกสอนไว้ เมื่อประมาณสามพันกว่าปี ที่แล้ ว หลัง จากนันปรั ้ ชญาท่างสังคมได้ มาสูย่ คุ กลาง คือยุค ที่อสิ ลามได้ อบุ ตั ขิ ึ ้นในคาบสมุทธอาหรับ จากนัน้ อิสลามเข้ าสูด่ นิ แดนของเปอร์ เซีย หรื ออิหร่านใน ปั จจุบนั นักปรัชญาทางการเมืองที่ส�ำคัญและยิ่ง ใหญ่ที่ไม่สามารถจะหลงลืมไปได้ คือท่านอะบิช ชินา หรื ออะบูซินา ได้ น�ำเสนอปรัชญาการเมือง โดยการต่อยอดจากปรัญชาแนวความคิดของเป โตร์ จากนันผ่ ้ านแนวความคิดของโซโลแอสเตอร์ จากนันตกผลึ ้ กจากอิสลาม จนน�ำไปสุแ่ นวความ คิดแบบอิสลามทีว่ า่ จะต้ องมีนซิ อมุลอะซัม หมาย ถึงว่า ระบอบการเมืองที่มีคณ ุ ธรรม ในตรงนี ้ท่า นอิบนิซินาได้ เขียนหนังสือปรัชญาที่มชื่อว่าอัช ชีฟาห์ แปลว่ายาบ�ำบัด แต่หนังสืออีกเล่มหนึ่ง ของอิบนิซินาเป็ นหนังสือหลัการแพทย์ แม้ กระ ทังมหาวิ ้ ทยาลัยในออฟฟอด หรื อมหาวิทยาลัย ใมกรุ งปารี สก็น�ำมาเป็ นหนังสือเรี ยน แต่ท่านอิ บนิซินาได้ ใช้ ชือห่ นังสือว่า อัลกอนูน แปลว่ากฎ ระเบียบ แต่ในเรื่ องการแพทย์เรี ยกว่าการบ�ำบัด แสดงให้ เห็นว่าเป็ นอารยธรรมทางด้ านปั ญญา การที่ สัง คมหนึ่ง ได้ ผ่ า นไปสู่ก ารเปลี่ ย นแปลง โดยมี อ ารญะรรมที่ ถูก ต้ อ งแล้ ว จะได้ รั บ การ บ�ำบัด ท่านได้ น�ำเสนอเป็ นปรัชญาทางการเมือง

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 159


ว่า ประการแรกผู้น�ำที่จะมาปกครองนันต้ ้ องเป็ น ผู้น�ำทีท่ รงธรรมและอยูใ่ นฐานะของผู้เป็ นปราชญ์ ประการที่สองหลักนิติรัฐ หลักนิติธรรม จะต้ อง วางอยูบ่ นพื ้นฐานอยูบ่ นหลักปรัชญา ซึง่ สามารถ ที่จะตรวจสอบด้ วยหลักอภิปรัชญาได้ ว่าสิ่งต่าง ที่ปรากฎจะต้ องไม่ขดั แย้ งกับความดีสากล ดังนั ้ สิง่ ที่เป็ นความดีสากลจะถูกกัน่ กรองมาเป็ นหลัก นิติรัฐของประเทศนันๆ ้ ประการที่สามท่านบอก ว่าระบอบก็เป็ นสิง่ ส�ำคัญ ระบอบนันจะต้ ้ องเป็ น ระบอบที่ถกู ต้ อง เป็ นระบอบที่จะน�ำสังคมนันไป ้ สูค่ วามยุตธิ รรมให้ จงได้ สามหลักใหญ่ในหนังสือ อัชชีฟาห์ที่พดู กล่าวถึงอารยธรรมทางการเมือง และนี่คอื ปรัชญาทางปั ญญาที่อบิ นิซนิ าได้ บอกก ว่าวไว้ ท่านอิบนิซนิ าเป็ นชาวอิหร่าน ต่อมาปรัชญาทางด้ านการเมืองในส�ำนัก ทางด้ านรู้ แจ้ งเห็นจริ ง ทางด้ านจิต บางครัง้ เรา ณุ้ได้ เห็นจริ งด้ วยสติปัญญา สิ่งต่างๆจะต้ องมี เหตุผล และนันคื ้ อทฤษฎีทางด้ านปรัชญา แต่ก็ มีอกี สิง่ ทีม่ นุษย์สามาระประจักษ์ ร้ ู จะรู้ได้ ด้วยกับ จิต ซ.งจิตสามารถที่จะรู้แจ้ งเห็นได้ หมดเลย ซึง่ 160 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

เกิดขึ ้นยในดินแดนแห่งเปอร์ เซีย ส�ำนกัเป็ นส�ำนัก ขอบงเปโตร์ ใหม่ที่นกั วิชาการได้ ลา่ ว่าส�ำนักนี ้ได้ พัฒนามาจากเปโตร์ ว่ามีความเป็ ตัวของตัวเอง อยูส่ งู มาก หลักการนี ้ได้ น�ำเสนอว่า ผู้ปกครองจะ ต้ องได้ ผา่ นการขัดเกลาจิตวิญญาณเสียก่อน ไม่ ว่าจะอยูใ่ นฐานะของนักพรต นักบวช ซึง่ จะต้ อง ผ่านการขัดเกลาจิตใจขันสู ้ งเสียก่อนนี่คอื เงื่อนไข แรก ส่วนเงื่อนไขที่สอง คือประชาชนจะต้ องมี จริ ยธรรมด้ วยเช่นเดียวกัน ดังนันถ้ ้ าผู้ปกครอง ดีฝ่ายเดียว แต่ประชาชนไม่ยอระดับมันก็ ไปด้ วยกันไม่ได้ ดังนันแนวความคิ ้ ดนี ้สอนทังสอง ้ ด้ าน สอนทังผู ้ ้ ปกครองและสอนทังประชาชน ้ ส่วน เงื่อนไขประการที่สามรัฐจะต้ องเป็ นรัฐที่สะอาด และได้ รับสิ่งที่มาจากพระผู้เป็ นเจ้ า นี่ก็เป็ นสิ่ง ที่น่าคิดส�ำหรับวันนี ้ เพราะหลังจากนัน้ เราจะ เห็ น ว่า ปรั ช ญาอิ น เดี ย ว่า มี ค วามยิ่ ง ใหญ่ เป็ น อภิปรัชญาสูงมาก ท่านมหาคัตมะคันธี เป็ นนัก ต่อสู้ทอี่ หิงสา เป็ นแบบของนักต่อสู้ทวั่ ไป ท่านเป็ น วีรบุรุษที่ยิ่งใหญ่ของอิหนเดียที่ไม่วนั ลืมเลือน ใน บางตอนก็ได้ รับอิทธิฟลจากลัทธิปรัชญาของอัส รอฟี ยะห์ทมี่ าจากเปอร์ เซีย สุดท้ ายในส�ำนักปรีชา ญาณสูสส่ง ของมุลาศัดร์ ได้ นำ� เสนอแนวความคิด การปกครองนี ้ว่า มนุษย์ทกุ คนจะต้ องมีชีวติ ท่าน บอกว่าไม่แปลกแน่นอนมนุษย์จะต้ องมีชีวิต แต่ ท่านบอกว่าจะต้ องมีชีวาด้ วย ชีวิตกับชีวา ชีวิต หมายถึงว่าทุกสรรพสิ่งที่เกิดมาย่อมมีชีวิต แต่ บางอย่างมีชีวิตไม่มีชีวา ท่านมุลลาศัดร์ ได้ บอก


ว่ามนุษย์ทกุ คนจะต้ องมีชีวิตและมีชีวา สามารถ จะน�ำพาสังคมนันให้ ้ มีชีวิตชีวาด้ วย ถ้ าสังคมมี ชีวิตมีชีวาจะท�ำให้ สงั คมนันไม่ ้ ตาย เมื่อสังคมไม่ ตายก็จะเป็ นสังที่งอกเงื่อย เป็ นสังคมที่สามารถ จะน�ำความไพบูลย์พลูสขุ มาสูป่ วงประชา ตรงนี ้ ถามมุลลาศัดร์ วา่ อะไรเป็ นเหตุที่ให้ มนุษย์มีชีวา ท่านบอกว่าปั จจัยที่เป็ นเหตูให้ มนุษย์มีชีวาก็คือ การเข้ าหาสิ่งที่เป็ นปรัชญาและเข้ าหาศีลธรรม เมื่อมองผ่านทางด้ านปรัชญาหลักธรรมแล้ วจะ เห็นได้ ว่า เราอยากที่จะบอกแก่ฝ่ายรํ ฐบาลของ ปรเทศไทยว่าวิธีการแก้ ไขจะมีอย่างไร แต่เสียง เรามันเบาและเล็กมาก อันที่จริ งต้ องการจะน�ำ เสนอว่าเรามาเอากันใหม่ไหมว่า สังคมควรจะ ต้ องมีชีวิต มีชาก่อนที่เราจะมาพูดกันในเรื่ องอื่น พลวัตรมันจะเกิดขึ ้นในสังคมนัน้ ๆ เรามาสร้ าง วาทกรรมใหม่ดีไหมว่า สิง่ ต่างๆ ในสังคมควรจะ เริ่ มีการเปลี่ยนแปลง ดังเช่นสาธารณรัฐอิสลาม แห่งอิหร่าน หลังจากการปฏิวตั อิ สิ ลาม ในปี ค.ศ. 1979 เกิดการปฏิวตั อิสลามของอิหร่าน โดยภาย ใหต้ การน�ำของท่านอายะตุลลอฮ์ โคมัยนี (รฮ.) ได้ น�ำทฤษฎีทางด้ านการเมือง โดยเอาอารยธรรม ทางด้ านปั ญญาของนักปราชญ์มาเสริม มาขยาย มาย่อยให้ ตกผลึกมากยิ่งขึ ้น โดยน�ำระบอบการ ปกครองที่ มีสิ่งที่ ความเป็ นละเอี ยดอ่อน ก็ คือ ศาสนานันจะต้ ้ องไม่แยกออกจากการเมือง โดย ไม่ยอมรั บ ในลัทธิ โคราลิซม์ คื อลัทธิ ที่ ศ าสนา แยกออกจากการเมือง ดังนันนั ้ กบวช นักพรตก็

สามารถที่จะเป็ นนักการเมืองได้ ดังนันจะเห็ ้ นว่า ผู้น�ำสูงสุดของอิหร่ านเป็ นนักพรต หรื อนักบวช ประธานาธิ บ ดี ค นล่า สุด ก็ แ ต่ ง ชุด เป็ นนัก บวช สามารถพูดการเมืองได้ ผา่ นการขัดเกลาจิตใจ ได้ เรี ยนรู้ บริ บทเกี่ยวกัยการเมืองมา นี่คือความคิด ของท่านอิมาม โคมัยนี (รฮ.) ได้ บอกเอาไว้ เรื่ อง ที่สองเรื่ องรัฐต่างๆที่เกิดขึ ้น ไม่ได้ เป็ นปรปั กษ์ ตอ่ กัน ท่านอิมาม โคมัยนี (รฮ.) ได้ กล่าวว่าจะต้ องมี ความเกื ้อหนุนรัฐต่อรัฐ โดยใช้ หลักมนุษยธรรม ไม่ แบ่งแยกเชื ้อชาติ และชาติพนั ธ์ ศาสนา ใช้ ปรัชญา ในหลัก ของความเป็ นเอกภาพในเตาฮะ เป็ น ปรัชญาที่ลกึ ของแนวความคิดปรัชญาการเมือง ของอิ ส ลามที่ ต กผลึก โดย ท่า นอิ ม ามโคมัย นี (รฮ.) และท่านก็น�ำมาบริ หารประเทศ ต้ องการ ทีจะน�ำเสนอว่า ใครจะปกครองในระบอบใดก็ แล้ วแต่ สามารถที่จะแสวงหาจุดร่วม และสงวน จุดต่างได้ ส�ำคัญที่สดุ จะต้ องไม่กดขี่ และจะต้ อง ไม่อธรรมต่อกัน ส�ำคัญที่สดุ จะต้ องเกื ้อกูล เกื ้อ หนุนซึง่ กันและกัน นี่คือปรัชญาของท่าทนอิมาม

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 161


โคมัยนี (รฮ.) เรื่ องสุดท้ าย ในเรื่ องสิทธิ และเสรี ภาพ จะต้ องเคารพต่อกันปม่ว่าจะเป็ นบุรุษเพศหรื อ สตรี เพศ โดยเฉพาะสตรี เพศจะต้ องได้ รนับการ ยกย่ อ งเป็ นอย่ า งสูง ดัง นัน้ ปรั ช ญาทางด้ า น การเมื องของอิหร่ านนัน้ สูงมาก สิทธิ ของสตรี นันได้ ้ รับการยกย่องโฆษกของกระทรวงการต่าง ประเทศอิหร่ านเป็ นสตรี รัฐมนตรี บางท่านเป็ น สตรี นักวิทยาศาสตร์ ส่วนใหญ่เป็ นสตรี ดังนัน้ แนวคิดของสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่ านเป็ น ทางเลือกนหึ่งให้ แก่สงั คมโลก โดยเฉพาะถ้ าวัน นี ้โลกได้ ใช้ ระบบการปกครองอิสลามแบบอิหร่าน ถ้ าเป็ นเรื่ องอุดมคดติตามที่มลุ ลาศัดร์ ได้ กล่าว เรื่ องอิบนิซินากว่าว แม้ กระทังเปโตร์ ้ ที่ได้ กล่าใน เรื่ องปรั ชญาของหลักอุตรมรั ฐที่กล่าไว้ นัน้ มัน เป็ นเรื่ องมายาคติ อุดมคติ วันนี ้อิหร่านได้ ท�ำให้ สิ่ ง ที่ เ ป้ นมายาคติ และอุด มคติ เ ป็ นณูป ธรรม แล้ ว 35 ปี จากการปฏิววั ิอิสลาม ซึง่ ในช่วงการ ปฏิวิติอิสลามปี ที่หนึง่ ปี ที่สองกระแสร์ ข่าวแจ้ งว่า อิหร่ านหลังจากการปฏิวตั ิจะอยู่ได้ ไม่เกินสาม 162 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

ปี จะเกิดสงครามกลางเมืองเหมือนในประเทศ เลบานอน แต่สามสิบห้ าผ่านมาการพัฒนาของ อิหร่ านได้ เจริ ญก้ าวหน้ าไปมากไม่ว่าจะเป้นใน เรื่ องพลังงานนิวเคลียร์ เพื่อสันติ การโคนนิงลูก แกะ และยังมีการพัฒนาในการสร้ างดาวเทียม เอง ผลิตยานอาวกาศเอง จนกระทังสุ ้ ดท้ ายท่าน ประธานาธืบดี ดร. ฮะซัน รูฮานี ได้ ลกุ ขึ ้นกล่าว ในการประขุมสหาประชาชาติปี ค.ศ. 2013 ที่ ผ่านมา ท่านบอกว่าอิหร่ านวันนี ้ ขอให้ อาณา ประเทศต่างๆมาตรวจสอบอิหา่ นได้ ในทึกเรื่อง ไม่ ว่าจะเป็ นระบอบการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ วัฒนธรรม อิหร่านพร้ อมให้ นานประเทศมาตรวจ สอบเรา เพราะเรามัน่ ใจว่า สิง่ ที่น�ำเสนอนันเป็ ้ น สิ่งที่อย่คกู่ บั ความเป็ นมนุษยชาติ และอยู่ค่ากับ ความเป็ นมนุษยธรรม เป็ นหลักสากลที่สามารถ จะใช้ ได้ กบั ทุกๆคน ไม่วา่ บุคคลนันจะเป็ ้ นมุสลิม หรื อ ไม่ ใ ช่ มุส ลิ ม และท่ า นยัง ประกาศอี ก ว่ า อิหร่ านเราไม่ต้องการสงคราม อิหร่ านต้ องการ สันติภาพ นี่คือจุดยืนของอิหร่าน ดังนันเมื ้ ่อสอง สัปดาห์ที่ผ่านมา ทางสหประชาชาติที่ต้องการ จะแก้ ปัญหาในประเทศซีเรี ย ก็ได้ เชิญประเทศ อิหร่านเข้ าร่วมในการแก้ ปัญหาของประเทศซีเรี ย ด้ วย และนี่ก็เป็ นบางส่วนที่ได้ น�ำเสนอ ไว้ โอกาส หน้ าจะได้ น�ำเสนอเรื่องราวอย่างสมบูรณืแบบ ขอ ขอบคุณมาก จากนันเป็ ้ นการมอบขอที่ระลึกและจัดฉาย ภาพยนตร์ อิหร่านเรื่ อง “ที่นี่ปราศจากฉัน” ซับไต เติ ้ลภาษาไทย เป็ นรายการสุดท้ าย


การจัดงานวิชาการ-วัฒนธรรม

“บทบาทของเฉกอะห์มดั กุมมี ในการด�ำรงไว้ซง่ึ พิธีกรรมมุฮรั รอม และวัฒนธรรมของท่านอิมามฮูเซน (อ.) ในประเทศไทย” ด้ วยความมุมานะอย่างมากในวาระของ การจัดงานวัฒนธรรม , ศิลป และวิชาการระหว่าง สองประเทศสาธารณรั ฐ อิ ส ลามแห่ ง อิ ห ร่ า น กับราชอาณาจักรไทย และความสัมพันธ์ อนั ดี ในความร่ วมมือระหว่างศูนย์วฒ ั นธรรม สถาน เอกอัค รราชทูต สาธารณรั ฐ อิ ส ลามแห่ ง อิ ห ห ร่ าน ประจ�ำกรุ งเทพมหานครฯ กับองค์กรการ ศึกษามหาวิทยาลัยต่างๆ และนักงิชาการของ ประเทศไทย และต้ องขอขอบคุณต่อมรดกร่ วม ทางประวัติศาสตร์ ของสองประเทศ คือท่านเฉ กอะห์มดั กุมมี ที่ท่านได้ เดินทางมาสูก่ รุ งสยาม ในปี ค.ศ. 1605 และในช่วงระยะเวลาของการ จัดพิธีกรรมร� ำลึกถึงบรรดาผู้พลีชีพในแผ่นดิน กัรบะลา ท่านอะบาอับดิลลาฮิลฮุซยั น์ (ของความ

สันติจงมีแด่ท่าน) และช่วงเวลาที่จะเข้ าสู่วาระ วันอัรบะอีนฮุซยั นี (40วันหลังจากการเป็ นชะฮีด (พลีชีพ) ของท่านอิมาม ฮุเซน ขอความสันติจง มีแด่ทา่ น) ทางศูนย์วฒ ั นธรรม สถานเอกอัคครา ชทมูตสาธารณรั ฐอิสลามแห่งอิหร่ าน ประจ� ำ กรุ งเทพมหานครฯ ได้ ร่วมมือกับมหาวิทยาลัย ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา (สถานทีฝ่ ั งศพของท่าน เฉกอะห์มดั กุมมี) ได้ จดั งานวิชาการหนึง่ วันอัน ประกิบด้ วยงานด้ านวัฒนธรรมภายใต้ หวั ข้ อเรื่อง “บทบาทของท่านเฉกอะห์มดั กุมมีในการด�ำรงไว้ ซึง่ พิธีกรรมมุฮรั รอมและวัฒนธรรมของท่านอิมาม ฮุเซน (ขอความสันติจงมีแด่ทา่ น) ในประเทศไทย” การจัดงานวิชาการ-วัฒนธรรมได้ ตดั ขึ ้น เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 12 ธันวาคม 2557 ณ ห้ อง

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 163


ประชุมมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรี อยุธยา โดยมี นายมุศฏอฟา นัจญาริ ยอน ซอเดะห์ ที่ ปรึ กษาฝ่ ายวัฒนธรรม ศูนย์ วฒ ั นธรรม สถาน เอกอัครราชทูตสาธารณรั ฐอิสลามแห่งอิหร่ าน ประจ�ำกรุ งเทพมหานครฯ , มาดามซะห์รอ นัจ ญารอยอน ซอเดะห์ , ดร. จิรศักดิ์ ชุมวรานนท์ รั กษาการแทนอธิ การบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรี อ ยุ ธ ยา , ดร. เกษม บ� ำ รุ ง เวช อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา (คนใหม่) , ดร. บูรพาทิศ พลอยสุวรรณ อดีต อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา , ดร. ประเสริ ฐ (ชะรี ฟ ฮาดีย์) สุขศาสนกวิน คณบดี อิสลามศึกษา และอิหร่านศึกษา สถาบัน เทคโนโลยีแห่งอโยธยา , ดร. เอก มงคล คณบดี คณะ รัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีแห่ งอโธยา , คณะกรรมการอิสลามประจ�ำจังหวัด พระนครศรี อยุธยา , คณาจารย์ และนักศึกษา จากมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศณีอยุธยา และ สถาบันเทคโนโลยีแห่งอโยธยา จ�ำนวน 400 คน ได้ เข้ าร่วมในงานวิชาการ-วัฒนธรรมดังกล่าว กิจกรรมในการจัดงานวิชาการ-วัฒนธรรม อิ ห ร่ า น ระหว่า งศูน ย์ วัฒ นธรรม สาธารณรั ฐ อิสลามแห่งอิหร่าน ประจ�ำกรุงเทพมหานครฯ กับ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรี อยุธยา มีดงั นี ้ • การกล่าวต้ อนรับ โดยท่าน ดร. จิรศักดิ์ ชุม วรานนท์ รักษาการแทนอธิการบดี มหาวิทยาลัย ราชภัฏพระนครศรี อยุธยา

164 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

• การเปิ ดงาน โดยท่านมุศฏอฟา นัจญา รอยอน ซอเดะห์ ที่ปรึกษาฝ่ ายวัฒนธรรม ศูนย์ วัฒ นธรรม สาธารณรั ฐ อิ ส ลามแห่ ง อิ ห ร่ า น ประจ�ำกรุงเทพมหานครฯ • การบรรยยาพิเศษ ในหัวขอ้ เรื่อง “บทบาท ของท่านเฉกอะห์มดั กุมมีในการด�ำรงไว้ ซงึ่ พิธีกร รมมุฮรั รอมและวัฒนธรรมของท่านอิมาม ฮุเซน (อ.) ในประเทศไทย” โดยท่าน ดร. ประเสริ ฐ (ชะ รี ฟ ฮาดีย์) สุขศาสนกวิน คณบดีอิสลามศึกษา และอิหร่านศึกษา สถาบันเทโนโลยีแห่งอโยธยา • การจัดฉายภาพยนตร์ เรื่ อง “รูเซะห์วอเกะ อ์ (วันแห่งความเป็ นจริ ง)” • ก ารสัม ภาษณ์ พิ เ ศษของหนัง สื อ พิ ม พ์ Public post เกี่ยวกับมุฮรั รอมและเรื่ องราวในวัน อาชูรอ • พิ ธี ม อ บ อุ ป ก ร ณ์ โ ส ต ทั ศ น์ ส� ำ ห รั บ ห้ องอิ ห ร่ านศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ พระนครศรี อยุธยา โดยนายมุศฏอฟา นัจญา ริ ยอน ซอเดะห์ ทีปรึ กษาฝ่ ายวัฒนธรรม ศูนย์ วัฒนธรรม สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ประจ�ำ กรุงเทพฯ กิจกรรมเริ่ มต้ นด้ วยการกล่าวต้ อนรับแขก ผู้มี เ กี ย รติ์ ที่ เ ดิ น ทางเข้ า ร่ ว มงานโดยท่ า น ดร. จิรศักดิ์ ชมวรานนท์ รั กษาการเทนอธิ การบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรี อยุธยา โดยท่าน ได้ กล่าวว่า : เรี ยน ท่านมุศฏอฟา นัจญาริ ยอน ซอเดะห์


ที่ปรึกษาฝ่ ายวัฒนธรรม สาธารณรัฐอิสลามแห่ง อิหร่ าน ประจ�ำประเทศไทย และคณะ ผู้บริ การ คณาจารย์ และแขกผู้มรเกียรติทกุ ท่าน ก่ อ นอื่ น ต้ อ งขอขอบคุณ ท่ า น มุศ ฏอฟา นัจญาริ ยอน ซอเดะห์ ที่ปรึ กษาฝ่ ายวัฒนธรรม สาธารณรั ฐอิ ส ลามแห่ ง อิ ห ร่ าน ประจ� ำ ประเทศไทย และคณะผู้บริ หาร คณาจารย์ และ แขกผู้มีเกียรติทกุ ท่าน ที่ได้ มาร่ วมฟั งการบรรา ยายพิเศษในวันนี ้ผมรู้สกึ และเป็ นเกียรติอย่างยิง่ ที่ได้ ต้อนรับทุกท่านสูง่ าน ในวันนี ้ ต า ม ที่ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ พระนครศรี อ ยุธ ยาได้ มี ค วามร่ ว มมื อ กับ ศูน ย์ วัฒ นธรรม สถานเอกอัค รราชทูต สาธารณรั ฐ อิ สลามแห่ง อิ หร่ าน ประจ� ำประเทศไทย ทาง ด้ านวัฒนธรรม ภาษา ศาสนาอิสลาม นอกจาก นีม้ หาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรี อยุธยา เป็ น พื ้นทีฝ่ ั งศพเจ้ าพระยาบวรราชนายก (เฉกอะหมัด) ซึ่งเป็ นชาวมุสลิมจากเมืองกุม ประเทศอิหร่ าน ท่า นได้ รั บ ราชการตัง้ แต่ป ลายแผ่น ดิ น สมเด็จ พระเจ้ าทรงธรรมจนถึงแผ่นดินสมเด็จพระเจ้ า ปราสาททอง ท่านเป็ นบุคคลที่มีความส�ำคัญต่อ ประเทศไทยอย่างยิ่ง ซึ่งได้ รับผิดชอบงานด้ าน การค้ าและการต่างประทศด้ วยความสามารถ และซื่อสัตย์จงรักภักดี มีคณ ุ ธรรม จนกระทัง่ ได้ เลื่อนบรรดาศักดิ์และต�ำแหน่งเรื่ อยมาจนเป็ น ออกญาเจ้ าพระยาบวรราชนายก จางวางกรม มหาดไทย และท่านยังเป็ นต้ นสกุลของไทยมุสลิม

หลานนามสกุลและสกุลบุนนาค ถือได้ วา่ ทายาท สืบทอดการรับราชการต่อมา ดั ง นั น้ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ พระนคร ศรี อยุธยา จึงเล็งเห็นว่า ควรมีการจัดบรรยาย พิเศษ ในห้ อข้ อเรื่ อง “มะหะหร�่ ำกับยุคของท่าน เฉกอะห์ มัด กุมมี” เพื่อแสดงถึงความสัมพันธ์ อัน ดี แ ละเป็ นเกี ย รติ แ ก่ ท่ า นเฉกอะห์ มัด กุ ม มี ตัง้ แต่ อ ดี ต จนถึ ง ปั จ จุ บัน ระหว่ า งจัง หวัด พระนครศรี อยุธยาและเปอร์ เซีย (อิหร่าน) โอกาสนี ้ กระผมใคร่ ข อเรี ย นเชิ ญ ท่ า นมุศฏอฟา นัจญาริ ยยอน ซอเดะห์ ที่ปรึกษาฝ่ าย วัฒนธรรม สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ประจ�ำ ประเทศไทย กล่าวรายงานวัตถุประสงค์ของการ จัดงาน และกล่าวเปิ ดเงานสัมมนาวิชาการเฉ กอะห์มดั กุมมี ในวันนี ้...ขอเรี ยนเชิญครับ จากนันนายมุ ้ ศฏอฟา นัจญาริยอน ซอเดะห์ ที่ปรึกษาฝ่ ายวัฒนธรรม ศูนย์วฒ ั นธรรม สถาน เอกอัครราชทูตสาธารณรั ฐอิสลามแห่งอิหร่ าน ประจ�ำประเทศไทยได้ กล่าวเปิ ดงาน โดยท่านได้ กล่าวว่า : ประการแรกขอขอบคูรต่อท่านอธิ การบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรี อยุธยา ที่ได้ ให้ ความ่ร่วมมือเป็ นอย่างดีในการจัดงานวิชาการวัฒนธรรม และเช่นกันต้ องขอขอบคุณต่อบรรดา คณาจารย์ นิสิตนักศึกษา และแขผู้มีเกียรติทกุ ท่านที่อยูใ่ ห้ ห้องประชุมแห่งนี ้ ความสัมพันธ์ ของสองประเทศที่ มีมาช้ า

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 165


นาน นับตังแต่ ้ ประวัตศิ าสตรื ที่ได้ กอ่ ก�ำเนิดความ เป็ นมาของส�ำนักชีอะห์ขึ ้นในประเทศไทยมาเป็ น ระยะเวลามากกว่า 400 ปี ภายใต้ การการน�ำ ของท่านเจ้ าพระยาบรราชนายกเฉกอะห์มดั กุม มี ที่ทา่ นได้ น�ำพาส�ำนักชีอะห์เข้ าสูก่ รุงศรี อยุธยา เมื อ งหลวงของสยามประเทศ ในก่ อ นหน้ า นี ้ ประชาชนของประเทศนี ้ได้ ร้ ูจกั กับวัฒนธรรม และ การด�ำเนินของบรรดาอะห์ลลุ บัยต์ (ขอความสันติ จงมีแด่ท่านทังหลาย) ้ โดยเรื่ องราววีรกรรมการ ตอ่ส้ ขู องท่านอิมาม ฮุเซน ( ขอความสันติจงมี แด่ทา่ น) ในวันอาชูรอ ณ แผ่นดินกัรบะลาอ์ และ ประชาชนส่วนใหญ่ของแผ่นนนีไ้ ด้ เคยร่ วมการ ร� ำลึกถึงวีรกรรมนันมา ้ และเลื่อมใสยังแนวทาง ของอะห์ลลุ บัยต์ (ขอความสันติจงม่แด่ท่านทัง้ หลาย) และจัดให้ มีการร� ำลึกอย่างกว้ างขวางทัว่ ประเทศ ในการประชุมร� ำลึกถึงท่านอิมาม ฮุเซน (ขอความสันติจงมีแด่ท่าน) และด�ำรงไว้ ส�ำหรับ เดือนมุฮรั รอม และซอฟั ร โดยเฉพาะในช่วงเวลา แห่งอาชูรอ ช่วงเวลาวันที่ 10 ของเดือนมุฮรั รอม ในช่วงยุคสมัยที่ท่านเฉกอะห์ มัด กุมมีมี ชีวิตอยู่ ท่านได้ น�ำเรื่ องเราวที่เกิดขึ ้นจริ งในแผ่น ดินกัรบะลาอ์ และประวัตศิ าสตร์ แห่งอาชูรอ มา ลูพ่ ี่น้องชาวไทยพุทธ และด้ วยบทบาทหน้ าที่ทาง ด้ านวัฒนธรรมอันมีคณ ุ ค่ายิง่ ที่ได้ รับอิทธิพลจาก ท่านอะบาอับดิลลาฮิลฮุซยั น์ (ขอความสันติจง มีแด่ท่าน) และส�ำนักคิดของอะห์ลลุ บัยต์ (ขอ ความสันติจงมีแด่ทา่ นทังหลาย) ้ แม้ กระทังการน� ้ ำ

166 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557

แนวความคิดของพุทธศาสนากับแนวความคิด ของอิสลามในส�ำนักชีอะห์มาผนวกกัน จนกลาย เป็ นการอยู่ร่วมกันในการร� ำลึกถึงส�ำนักคิดและ วัฒนธรรมในวันอาชูรอของท่านอิมาม ฮุเซน (ขอ ความสันติจงมี่แด่ทา่ น) เช่นการบนบานในขอพร ยังพระผู้เป็ นเจ้ าโดยผ่านยังท่านอิมาม ฮุเซน (ขอ ความสันติจงมีแด่ทา่ น) ท่านอิมาม ฮุเซน (ขอความสันติจงมีแด่ ท่าน) ท่านเป็ นหลายของท่านศาสดา ผู้ยิ่งใหญ่ (ขอความสันติจงมีแด่ทา่ น) ท่านได้ ปฏิบตั ติ วั เป็ น บ่าวที่ดีที่สดุ ของพระผู้เป็ นเจ้ า ท่านอิมาม ฮุเซน (ขอความสันติจงมีแด่ท่าน) ได้ ใช้ หนทางในการ ก�ำชับความดี และการห้ ามปรามความชั่วเป็ น หนทางในการยืนหยัดต่อสู้ ในวันอาชูรอ ณ แผ่น ดินกัรบะลาอ์ท่านได้ พลีชีพพร้ อมกับบุตรหลาน และสหายของท่านไปเป็ นจ�ำนวน 72 ท่านและ บุคคลใดที่ ต้องกานจะแสวงหาสัจธรรมความ งดงาม ต่างก็หาอยู่ในแนวทางของท่าน ท่านอิ มาม ฮุเซน (ขอความสันติจงมีแด่ท่าน) ได้ สอน บทเรี ยนอย่างมากมายไว้ ส�ำหรับเรา เพื่อให้ เรา ได้ จดจ�ำและรักาษแนวทางแห่งสัจธรรม ความ เชื่อมัน อีกทังการยื ้ นหยัดเคียงข้ างพี่น้องที่เป็ น ผู้ศรัทธาหรื อไม่ก็ตาม ถึงแม้ วา่ กาลเวลาได้ ผ่าน ลุลว่ งเลยมา 14 ศตษวรรตแล้ วก็ตาม แต่แนวทาง ของท่านก็คงด�ำรงอยู่ จากนี ้นเป็ นการบรยายพิเศษภายใต้ หวั ขอ้ เรื่ อง “บทบาทของท่านเฉกในการด�ำรงไว้ ซึ่งว


พิธีกรรมมูอรั รอมในประเทศไทย” โดยท่าน ดร. ประเสริ ฐ (ชะรี ฟ ฮาดีย์) สุขศาสนกวิน คณบดี คณะอิสลามศึกษา และอิหร่ านศึกษา สถาบัน เทคโนโลยีแห่งอโยธยา ท่านได้ กล่าวว่า : วันนีน้ บั ว่าเป็ นวันที่มีคุณค่ายิ่งวันหนึ่ง ที่ เราสามารถน�ำเรื่ องาวการด�ำเนินชีวิตของท่านเฉ กอะห์มดั กุมมี นักวิชาการ ผู้มชี อื่ เสียงชาวอิหร่าน ท่านนีม้ ากล่าวพูดคุยกัน ท่านเฉกอะห์ มดั กุม มี ผู้เป็ นมรดอันมีคณ ุ ค่าร่ วมของสองประเทศ ที่ ท่านได้ มาพ�ำนักอยู่ในประเทศไทย ท่านเป็ นน�ำ วัฒนธรรมอันงดงาม และแบบอย่างประเพณีอนั ดีงามมามอบแก่ประชาชนทังสองเผ่ ้ าพันธ์ หัวข้ อ ที่ ข้ า พเจ้ า ได้ รั บ เกี ย รติ ม ากล่า วบรรยายในวัน นี ้ ก็คือ “มะหะหร�่ ำในยุคสมัยของท่านเฉกอะห์ มัด กุมมี” ก่อนอื่นขอกล่าถึงค�ำว่ามุฮรั อม หรื อ มะหะหร�่ ำ ที่มีความหมายว่าการเคารพ และยัง เป็ นชื่อเดือนแรกของฮิจญ์ เราะห์ศกั ราช ท่านเฉ กอะห์มดั กุมมี เป็ นบุคคลที่มีคณ ุ ลักษณะเป็ นผู้ จงรภักดี มีความสื่อสัตย์ จนผู้คนในยุคของท่าน ต่างพากันยกย่องเกียรติคณ ุ ของท่าน และเป็ นที่ เคารพยอย่องของบุคคลทัว่ ไป ท่านเป็ นบุคคลที่ น�ำพาวัฒนธรรมแบบอย่างอันดีงามของอิหร่ าน และอิสลามอันมีคณ ุ ค่ายิ่งมาเผยแพร่ในแผ่นดิน สยาม หนึง่ ในวัฒนธรรมที่ทา่ นเฉกอะห์มดั กุมมี น�ำมาก็คือพิธีการร� ำลึกถึงวีกรรมของท่านอิมาม ฮุเซน (ขอความสันติจงมี แด่ท่าน) บุตรหลาน ของท่านศาสดามุฮมั มัด (ขอความสันติจงมีแด่

ท่าน) ที่ท่านได้ ยืนหยัดต่อสู้ในวันอาฃูรอในแผ่น ดินที่ มีนามว่ากัรบะลาอ์ เพื่ อปกป้องแนวทาง สัจธรรมของอิสลาม ดังค�ำว่าอาชูรอ ในภาษา อาหรับแปลว่า สิบ 10 แต่ค�ำเฉพาะว่าอาชูรอใน เดือนมุฮรั รอม หรื อ อาชูรอในเดือนมะหะหร�่ ำนัน้ ให้ ความมหายว่า ความเศร้ าโศก ความเสียใจ ในหน้ าประวัติศาสตร์ แห่งอิสลามได้ กล่าวถึงวัน อาชูรอเกี่ ยวกับเรื่ องราวของท่านอิมาม ฮุเซน (ขอความสัติจงมีแด่ท่าน) ว่า ท่านอิมาม ฮุเซน (ขอความสัตจิ งมีแด่ทา่ น ) พร้ อมด้ วยสมาชิกใน ครอบครั วของท่าน และสหายรั กของท่านรวม 72 คนที่เสียสละเลือดเนื ้อปกป้องแนวทางแห่ง อิสลาม จนถึงแก่การเป็ นชะฮีด ดังนันเรื ้ ่ องราว ในหน้ าประวัติศาสตร์ นี ้เป็ นสิ่งที่เกิดขึ ้นจริ ง เรา จ�ำเป็ นทีจ่ ะต้ องศึกษาเกี่ยวกับประวัตศิ าสตร์ เพือ่ เราจะได้ น�ำมาเป็ นแบบอย่างในการด�ำเนินชีวิต ของเรา ท่านอิมาม ฮุเซน (ขอความสันติจงมีแด่ ท่าน) ได้ เป็ นแบบอบ่างที่ดีงาม ดังอัลกุอรานใน ซูเราะห์ยซู ฟุ ที่พระผู้เป็ นเจ้ าทรงตรัสว่า พวกเจ้ า จงศึกษาเรื่ องราวในประวัติศาสตร์ ด้ วยค�ำสัง่ นี ้ เราจะต้ องปฏิบตั ิตาม และแสวงหาบทเรี ยนของ ท่านอิมาม ฮุเซน (ขอความสันติจงมีแด่ท่าน) ในวันอาชูรอ เดือนมุฮรั รรอม มาอรรถาธิกบาย ให้ ผ้ อู ื่นได้ รับฟั ง ดังนันในเดื ้ อนมุฮรั รอมในทุกๆ ปี จากอดีตมาถึงปั จจุบนั ผู้ที่ได้ แสวงหาสัจธรรม ของท่านอิมาม ฮุเซน (ขอความสันติจงมีแด่ทา่ น) ต่างก็ได้ กระท�ำพิธีร�ำลึกไม่วา่ จะเป็ นมุสลิมชีอะห์

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 3 January-April 2014 167


หรือสุนนีก่ ต็ าม ด้ วยเหตุนี ้การจัดการร�ำลึกส�ำหรับ ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรี อยุธยา ท่านอิมาม ฮุเซน (ขอความสันติจงมีแด่ทา่ น) ใน ช่วงเดือนมุฮรั รอมและเดือนซอฟั ร ถือว่ามีคณ ุ ค่า ยิ่ง เพราะว่าในแง้ มมุ ของการจัดการร� ำลึกครัง้ นี ้ เป็ นการบ่งชี ้และแยกสัจธรรมออกจากความเป็ น อธรรม อีกทังยั ้ งปลดปล่อยมนุษยชาติให้ ได้ รับ อิสระเสรี ภาพ ซึง่ ในปั จจุบนั นี ้เราได้ เรี ยนรู้ถงึ การ ตื่นตัวของโลกอิสลามในบางประเทศที่กลังเกิด ขึ ้น ก็เพราะผลลัพธ์จากการยืนหยัดต่อสู้ของท่า นอิมาม ฮุเซน (หขอความสันติจงมีแด่ทา่ น) เป็ น แบบอย่างที่ถกู จารึกอยู่หน้ าประวัติศาสตร์ และ เช่นกันการปฏิวตั ิอิสลามของอิหร่ านก็ได้ ยึดมัน่ แนวทางของท่านอิมาม ฮุเซน (ขอความสันติจง มีแด่ท่าน) มาเป็ บบรรทัดฐานจนสามารถพิชิต ชัยชนะและประสบความส�ำเร็จในอิสระเสรี ภาพ จกานัน้ เป็ นการจัด ฉายภาพยนตร์ เ รื่ อ ง “รู เซะวอเกะห์ ” (วันแห่งความเป็ นจริ ง) มีค�ำ บรรยายเป็ นภาษาไทย ผู้ที่เข้ าร่ วมงานมีความ สนใจเป็ นอย่างมากเกี่ยวกับภาพยนตร์ เรื่ องนี ้ ในช่ ว งสุ ด ท้ ายของกิ จ กรรม ท่ า นที่ ปรึ กษาฝ่ ายวัฒนธรรม สาธารณรั ฐอิสลามแห่ งออิ ห ร่ า น ประจ� ำ กรุ ง เทพมหานครฯ พร้ อม ด้ วยท่ า นอธิ ก ารบดี มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ พระนครศรี อ ยุ ธ ยา และสถาบั น เทคโนโลยี แห่งอโยธยา ได้ ให้ สัมภาษณ์ กับ หนัง สือพิ ม พ์ PUBLIC POST เกี่ ยวกับเดือนมุฮัรรอม และ ประวัตศิ าสตร์ เกี่ยวกับวันอาชูรอ ณ ห้ องอิหร่าน

168 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 มกราคม -เมษายน 2557


h t t p : / / B a n g k o k . i c r o . i r

“ ¤ Ç Ò Á È Ò ¹ µ ! Ô ” ¾ à Р´ Ó Ã Ê Ñ Ë ¹ § è Ö ¨ Ò ¡ ¾ Ã Ð à ¨ Ò Œ ¼ · Œ Ù Ã § à Á µ µ Ò à Ê Á Í


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.