Message of Islam - vol 19- No .1

Page 1


ท่านอายะตุล้ ลอฮ์คอมะเนอีย ์ ผูน้ ำ� การปฏิวตั อิ สิ ลามแห่งอิหร่าน : “การปฏิวตั อิ สิ ลามก�ำลังด�ำเนินไปอย่างก้าวหน้าและสร้างสรรค์ และสู่การสร้างอารยธรรมอิสลามยุคใหม่” : ‫حرضت آیت الله خامنه ای رهرب معظم انقالب اسالمی‬ ‫”انقالب اسالمی در حال پیرشفت و سازندگی‬ “‫و در حال بنای متدن نوین اسالمی است‬



บรรณาธิการอ�ำนวยการ มะฮ์ดยี ์ ฮะซันคอนีย์

บรรณาธิการ

มุฮมั มัด ชรีฟ เกตุสมบูรณ์

ศิลปกรรมและรูปเล่ ม

DIRECTOR

อะลี กัลเอะบอล ศราวุฒิ พิชยั รัตน์

Mehdi Hassankhani

ผลิตโดย

EDITOR

ศูนย์วฒ ั นธรรม สถานเอกอัครราชทูต สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ประจ�ำกรุงเทพฯ 106 - 106/1 ซอยเจริญมิตร สุขมุ วิท 63 เอกมัย 10 แยก 6 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110

โทร : 02-392 2620 โทรสาร : 02-392 2623 อี เมล์ : cultural_iran@yahoo.com เว็บไซต์ : www.bangkok.icro.ir ทรรศนะและความคิดเห็นในนิตยสาร (บทความวิชาการ) นี้ ไม่จ�ำเป็ นต้อง ถือว่าเป็ นจุดยืนอย่างเป็ นทางการของ ศูนย์วฒ ั นธรรมฯ เรายินดีต้อนรับ ข้อเขียนจากนักเขียนและนักวิชาการ ทัวไป ่ ขอสงวนสิทธิ ์ในการคัดเลือกและ ตัดตอนข้อความที่ไม่สมควร โดยไม่ปิดบังความหมายของผู้เขียน และผู้เขียนบทความนัน้ ๆ จะเป็ น ผู้รบั ผิดชอบบทความของตน

Muhammad Sharif Ketsomboon

ARTWORK

Ali Ghalehban Sarawut Pichairat

PUBLISHED BY

Cultural Center of The Embassy of the Islamic Republic of Iran Bangkok 106 - 106/1 Soi Charoen Mitt, Ekamai Soi 10 Sukhumvit 63, Kwang Klongton Nua, Khet Vadhana, Bangkok 10110

Tel : 02-392 2620 Fax : 02-392 2623 E-mail : cultural_iran@yahoo.com Web : www.bangkok.icro.ir



สาส์นอิสลาม ปี ที่ 19 ฉบับ ที่ 1 มกราคม - เมษายน 2564

สารบัญ

• ค�ำน�ำ...................................................................................................................7 • บรรณาธิการ........................................................................................................8 • การปฏิวตั อิ สิ ลามและบทบาทในการสร้างอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ โดยเน้นหลักค�ำสอนของอิมามัต..........................................................................11 • สถานภาพและบทบาทของการปฏิวตั อิ สิ ลาม บนวิถที างของการสร้างอารยธรรมอิสลามยุคใหม่.................................................39 • การก�ำเนิดอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ในสังคมอิสลาม ในมุมองของท่านผูน้ ำ� สูงสุด.................................................................................87 • ปัจจัยการสร้างอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ (จากมุมมองของผูน้ ำ� สูงสุดแห่งการปฏิวตั อิ สิ ลาม)...............................................111 • อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ในกระบวนทัศน์ของท่านอยาตุลลอฮ์ ซัยยิดอะลี คอมาเนอี ผูน้ ำ� สูงสุดสาธารณะรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน..........................147 • วิถชี วี ติ แบบอิสลามในโองการอัลกุรอาน และริวายะฮ์ (รายงานฮะดีษ)..............................................................................185



ค�ำน� ำ ชัย ชนะการปฏิว ตั ิ อิส ลามแห่ ง อิห ร่ า นได้ก่ อ ให้เ กิ ด การเปลี่ย นแปลงมากมาย ในสมการต่าง ๆ ทางวัฒนธรรม สังคม และการเมือง และถือเป็ นจุดเปลีย่ นในการก่อตัว อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ การปฏิวตั อิ สิ ลามแห่งอิหร่านมีความเจริญเติบโตและมีการพัฒนา ทีก่ า้ วหน้ามากว่า 4 ทศวรรษ ถึงแม้จะมีอปุ สรรคและความท้าทายมากมายก็ตาม การเสริม สร้างรากฐานความก้าวหน้าและพัฒนาการในด้านต่าง ๆ เพือ่ ก่อให้เกิดการฟื้ นฟูอารยธรรม อิสลามยุคใหม่และเพือ่ ความส�ำเร็จในภารกิจต่าง ๆ ซึง่ ความส�ำเร็จเหล่านี้สว่ นใหญ่มาจากทุน มนุษย์และทรัพยากรท้องถิน่ ในประเทศทีไ่ ด้จดั ให้มสี ภาพแวดล ้อมทีเ่ อื้ออ�ำนวยต่อการศึกษา แก่ผูเ้ ชี่ยวชาญและนักวิทยาศาสตร์เพือ่ เป็ นต้นแบบในการพัฒนาอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ในโอกาสครบรอบ 42 ปี ชัยชนะการปฏิวตั อิ สิ ลาม (กุมภาพันธ์ 2021) ซึง่ ได้รบั ความ ร่วมมือจากนักวิชาการและผู ้รู ้ จึงขอน�ำเสนอและอธิบายถึงอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ในบริบท ต่าง ๆ อาทิเช่น บทบาทและองค์ประกอบ ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อการก่อตัว และการบรรลุสู่ความ ส�ำเร็จของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ในอุดมคติการปฏิวตั อิ สิ ลามบนพื้นฐานแนวคิดผูน้ ำ� สูงสุดการปฏิวตั อิ สิ ลามท่านอายาตุล้ ลอฮ์ คามาเนอีย ์ ดังทีม่ กี ารน�ำเสนอในรูปแบบสัมมนา ออนไลน์ก่อนหน้านี้ ด้ว ยเหตุ น้ ี หัว ข้อ และบทความสาส์น อิ ส ลามฉบับ นี้ จึ ง เกี่ ย วกับ อารยธรรม อิสลามยุคใหม่ เพื่ออธิบายถึงองค์ประกอบและมุมมองต่าง ๆ ของอารยธรรมอิสลาม ยุคใหม่บนการน�ำเสนอและอธิบายของผูน้ ำ� สู งสุดการปฏิวตั ิอิสลาม หวังเป็ นอย่างยิ่งว่า จะเป็ นก้าวทีส่ ำ� คัญในการรูจ้ กั อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ และเป็ นการเสริมสร้างความสัมพันธ์ ทางวัฒนธรรมระหว่างสองประเทศได้เป็ นอย่างดี และได้รบั ความสนใจและยังประโยชน์ แก่นกั วิชาการและผูท้ ส่ี นใจศึกษาอิสลามและอิหร่าน สุดท้ายนี้ขอขอบคุณผูเ้ ขียนบทความ ผูแ้ ปล บรรณาธิการ และผูม้ สี ่วนร่วมในสาส์นอิสลามฉบับนี้ทกุ ท่านมา ณ โอกาสนี้

สาส์น อิส ลาม

มะฮ์ดยี ์ ฮะซันคอนีย ์ อุปทูตวัฒนธรรม และผูอ้ ำ� นายการศูนย์วฒั นธรรม สถานเอกอัครราชทูต สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ประจ�ำกรุงเทพฯ

7


บรรณาธิการ

สาส์น อิส ลาม

“เจ้ามิเห็นดอกหรือว่า อัลลอฮฺทรงยกอุทาหรณ์วา่ อุปมาค�ำพูดทีด่ อี ปุ ไมยดัง่ ต้นไม้ทด่ี ี รากของมันฝังแน่นลึกมันคง ่ กิ่งก้านของมันเชิดชูข้นึ ไปในท้องฟ้ า ผลของมันจะออกมาตลอดเวลาโดยอนุมตั ขิ องพระผูอ้ ภิบาล” (อิบรอฮีม 24-25)

8

ขอกล่าวแสดงความยินดีกบั การปฏิวตั ิอิสลามแห่งอิหร่ าน วันนี้มอี ายุผ่านไป 4 ทศวรรษ หากจะเปรียบเป็ นมนุษย์กถ็ อื ได้วา่ เติบโตเจริญวัยเป็ นผูใ้ หญ่เต็มตัว มีทงั้ คุณวุฒิ และวัยวุฒทิ เ่ี พรียบพร้อม หากจะเปรียบเป็ นต้นไม้กเ็ ป็ นต้นไม้ทด่ี มี รี ากฝังแน่นลงลึกมันคง ่ ต้นไม้ท่ดี ดี งั อุปมาของอัลกุรอาน บทอิบรอฮีม โองการ 24 อาจหมายรวมถึงแบบฉบับ ทุกประเภทของศาสดา ค�ำสัง่ วิธกี าร มนุษย์ หรือรวมสิง่ ดีสะอาดบริสุทธิ์อนั เปี่ ยมไปด้วย ความสิรมิ งคล เป็ นดัง่ ศูนย์รวมของความจริงและความเท็จ ความศรัทธาและการปฏิเสธ ความดีและความชัว่ ต้นไม้ทีด่ ยี อ่ มให้ผลตลอดเวลา มีภมู ทิ ศั น์สวยเลิศ ช่อดอกเชิดชูสง่ กลิน่ หอมและบริสทุ ธิ์จงึ เป็ นต้นไม้ทีด่ ี ประกอบกับมีระบบค�ำนวณและมีการจัดสรรหน้าทีค่ วามรับ ผิดชอบได้อย่างลงตัว รากของมันฝัง่ แน่นลงดินเพือ่ ยึดเหนี่ยวล�ำต้นให้มนคง ั ่ กิง่ ก้านของมัน ไม่ได้อยูใ่ นสภาพแวดล ้อมทีต่ อ้ ยต�ำ่ และจ�ำกัด ทว่าได้เชิดชูข้นึ สูท่ อ้ งฟ้ าอันกว้างไพศาล ให้ผล และมีประสิทธิผลเพือ่ ให้ทกุ คนใคว่คว้าเอามาอย่างง่ายดาย ซึง่ ทุกคนต่างได้รบั ประโยชน์จาก ผลของมันตลอดเวลา และการออกดอกออกผลของมันก็มไิ ด้ออกมาอย่างไร้เหตุผล ทว่าทุก สิง่ อยู่ภายใต้กฎแห่งการสร้างและแบบฉบับของพระเจ้า ซึง่ การปฏิวตั อิ สิ ลามอุปไมยได้ดงั ่ ต้นไม้ทด่ี ี มีรากฝัง่ แน่นลึกมันคงวั ่ นนี้การปฏิวตั มิ ไิ ด้เป็ นต้นอ่อนทีอ่ ่อนแอ หรือเป็ นต้นอ่อน ใหม่ทเ่ี พิง่ แตกหน่ออกใบ ซึง่ ง่ายต่อการถอนออกจากแปลงเพราะปลูก ในทางตรงกันข้าม ปัจจุบนั การปฏิวตั กิ ลายเป็ นต้นไม้ใหญ่ แตกกิ่งก้านสาขาออกไป ซึง่ กิ่งก้านของมันเชิดชูข้นึ ไปในท้องฟ้ า วันนี้การปฏิวตั อิ สิ ลามแห่งอิหร่านมีความแข็งแกร่งและสมบูรณ์เต็มที่ และยัง เสริมสร้างความสมบูรณ์ให้มปี ระสิทธิภาพยิง่ ขึ้นไปตลอดเวลา มีศกั ยภาพพอเพียงในการ ปกป้ องตัวเอง และผูอ้ ่อนแอทีไ่ ด้รบั การกดขีข่ ม่ เหง การทีก่ ารปฏิวตั อิ สิ ลามยืนหยัดอย่าง เข้มแข็งตราบจนถึงปัจจุบนั และจะก้าวผ่านไปสู่อนาคตอีกยาวไกล นัน่ เป็ นเพราะการปฏิวตั ิ ได้รบั ความร่วมมือจากชนทุกภาคส่วนภายในประเทศ และมีอดุ มการณ์ มีผูน้ ำ� และมีผูร้ ่วม


สาส์น อิส ลาม

ขบวนการณ์ทย่ี อดเยีย่ ม ต่างไปจากการปฏิวตั อิ น่ื ทัง้ หลายทีเ่ กิดขึ้นบนโลกใบนี้ ซึง่ ส่วนใหญ่ มีเป้ าหมายเน้นย�ำ้ ไปทีว่ ตั ถุปจั จัย หรือเพือ่ ขจัดความยากจน ความหิวโหย การกดขีข่ ม่ เหง และเปลีย่ นแปลงการปกครอง พวกเขาปฏิวตั เิ พือ่ เปลีย่ นแปลงเฉพาะด้านวัตถุแต่ปราศจาก จิตวิญญาณ ส่วนการปฏิวตั อิ สิ ลามมีเป้ าหมายทัง้ 2 ด้านรวมอยู่ในตัว มิได้ปฏิวตั ขิ ้นึ มาเพือ่ การครอบง�ำประชาชาติ หรือประเทศอิสลามแต่อย่างใด หากแต่ประสงค์ทจ่ี ะสร้างดุลยภาพ และภารดรภาพให้เกิดขึ้นบนโลกใบนี้ ด้วยเหตุน้ ี การปฏิวตั อิ สิ ลามอุปมาเหมือนต้นไม้ท่ี ดี (ชะเราะตุลฏ็อยยิบ) มีผลดกทีม่ ดี อกให้กลิน่ ของฤดูใบไม้ผลิและความสดชื่นของความ มันใจและความรั ่ ก การปฏิวตั อิ ปุ ไมยดัง่ โรงเรียนแห่งความรัก โรงเรียนแห่งการพลีชพี และ ผูป้ ฏิบตั ติ ามต่างเรียกร้องให้มกี ารเสียสละ การพลีชพี และความกล ้าหาญบนความสูงส่งนัน้ การปฏิวตั กิ ำ� ลังก้าวไปสู่ขนั้ ทีส่ องของอุดมการณ์นนั้ คือ การผ่องถ่ายอารยธรรมอิสลามยุค ใหม่ไปสู่โลกภายนอก อันถือว่าเป็ นช่วงเวลาทีเ่ หมาะสมทีส่ ุด เนื่องจากอารยธรรมอืน่ ก�ำลัง เผชิญหน้ากับความล ้มเหลว และเมือ่ อารยธรรมเหล่านัน้ ต้องมีอนั ล่มสลายลง โลกจะเผชิญ หน้าหรือรับมือกับการไร้อารยธรรมได้อย่างไร หรือว่าโลกต้องเปลีย่ นวิถแี ละเปิ ดใจกว้าง โดยหันมายอมรับอารยธรรมอิสลามยุคใหม่แทนทีอ่ ารยธรรมเดิมทีล่ ม่ สลายไป ดังปรากฏ อยู่ในค�ำปาฐกถาของท่านอายะตุลลอฮฺ อะลี คอเมเนอีย ์ ผูน้ ำ� สูงสุดหลายต่อหลายครัง้ เกี่ยว กับอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ซึง่ หมายถึงความก้าวหน้าและการพัฒนาในทุกด้านไปพร้อม กัน ทัง้ ด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม การศึกษา และวัฒนธรรม โดยเฉพาะอย่างยิง่ ด้าน วัฒนธรรม เนื่องจากอารยธรรมอิสลามยุคใหม่นนั้ มุ่งเน้นการพัฒนาตัวตนทีแ่ ท้จริงของ มนุษย์ การขัดเกลา และการยกระดับจิตวิญญาณของเขาให้มคี วามสูงส่ง พัฒนาจิตส�ำนึก ในเชิงของจริยธรรม เพือ่ จะได้สามารถด�ำรงชีพบนวิถชี วี ติ แบบไลสไตน์ในรูปแบบอิสลาม ได้ เพราะการมีวถิ ชี วี ติ แบบอิสลาม ถือเป็ นส่วนหนึ่งของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ซึง่ เน้น ย�ำ้ เรื่องเสรีภาพ จริยธรรม จิตวิญญาณ ความยุตธิ รรม ศักดิ์ศรี เหตุผลนิยม และภารดร ภาพ ยิง่ มนุษย์กา้ วหน้ามากเท่าไหร่ก็ยง่ิ มีอารยธรรมและความสมบูรณ์มากขึ้นเท่านัน้ นัน่ หมายความว่ามนุษย์ได้ห่างไกลจากความรุนแรง ความงมงาย และความโง่เขลา และน�ำไปสู่ ความใกล ้ชิดกับโลกแห่งความรู ้ มีมนุษยธรรม มีสติ มีความรอบรู ้ และต่อต้านความรุนแรง ในทุกระดับ ซึง่ ในความเป็ นจริงแล ้วหาเป็ นเช่นนัน้ ไม่ เพราะเราจะพบว่าทุกวันนี้เทคโนโลยีมี ความก้าวหน้าและล�ำ้ สมัย แต่จติ วิญญาณของนุษย์กลับไม่เติบโต มนุษย์มคี วามก้าวหน้าใน ประสบการณ์ทางอุตสาหกรรม แต่ประสบการณ์ความเป็ นมนุษย์กลับไม่กา้ วหน้า มิหน�ำซ�ำ้

9


ยิง่ เสือ่ มถอยขึ้นทุกวัน โลกในปัจจุบนั นี้มคี วามงมงาย และมีความเป็ นเดรัจฉานกว่าอดีต ทีผ่ ่านมา ความรุนแรง ความหวาดกลัว การลอบสังหาร การสังหารหมู่ การยึดครอง การ ฆาตกรรม และการปล ้นสะดมก็ไม่ได้หยุดหย่อน หรือน้อยไปกว่ายุคสมัยก่อนเลย หากแต่ ทว่าวันนี้มนั ถูกอ�ำพรางและซ่อนเร้นด้วยวรรณกรรมทีส่ วยหรู หรือวลีทม่ี คี วามสวยงามเมือ่ ได้ยนิ ได้ฟงั แล ้วมีความเพริดแพร้ว เพราะผูท้ ก่ี ำ� หนดอารยธรรมได้รวมเอาผลประโยชน์ และ อุดมการณ์เข้าไว้ในนิยามของค�ำว่าอารยธรรม สาส์นอิสลามฉบับนี้ได้นำ� เสนอขบวนทัศน์ของท่านอะยาตุลลอฮฺ อะลี คอเมเนอี ผู ้น�ำ สูงสุด ซึง่ ท่านได้แสดงวิสยั ทัศน์เกี่ยวกับการก�ำเนิดอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ อย่างเป็ นรูป ธรรมแก่ประชาโลกอันเป็ นทางรอดเดียวทีจ่ ะน�ำพาชีวติ ไปพบกับความสมบูรณ์แบบในความ เป็ นมนุษย์

สาส์น อิส ลาม

มุฮมั มัด ชรีฟ เกตุสมบูรณ์ เมษายน 2021

10


การปฏิวตั อิ สิ ลามและบทบาทในการสร้างอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ โดยเน้นหลักค�ำสอนของอิมามัต มูซา นะญะฟี ย1์ เรซา ฆุลา่ มมี2 อิบรอฮีม อาแว3 บทคัดย่อ อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ เป็ นหนึ่งในปรากฏการณ์ทเ่ี กิดขึ้นอันเป็ นภูมปิ ญั ญาของ การปฏิวตั อิ สิ ลาม, การศึกษารากฐานของอารยธรรม ตลอดจนกระบวนการและองค์ประกอบ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการก่อตัวขึ้นของอารยธรรม ถือเป็ นหัวข้อทีง่ านวิจยั นี้มองว่าเป็ นประเด็นส�ำคัญ เนื่องจากทุกอารยธรรมมีเหตุผลทีช่ ดั เจน ส่วนประเด็นรองของการวิจยั คือ การศึกษาเหตุผล จากมุมมองทางการเมือง ซึง่ จะเน้นย�ำ้ ใน 2 ประเด็น กล่าวคือ การอิจญติฮาด(การค้นคว้า วิจยั ) และทฤษฎีทถ่ี กู ยอมรับ นอกจากนัน้ ในการวิจยั นี้ จะน�ำเสนออารยธรรมอิสลามยุค ใหม่ ซึ่งถือเป็ นกระบวนการที่พยายามรวบรวมค�ำสอนของอิสลาม โดยใช้ตน้ ทุนแห่ง อารยธรรมอย่างมีจดุ มุง่ หมาย และอาศัยศักยภาพของการปฏิวตั อิ สิ ลาม ดังนัน้ ภูมศิ าสตร์ ทางการเมืองของอิหร่านจึงมีบทบาทเสมือนเป็ นศูนย์กลางหรือแกนหลักทีส่ ำ� คัญ โลกอิสลาม เองก็มบี ทบาทส�ำคัญในอารยธรรมนี้เช่นกัน ในทางกลับกันความเป็ นเหตุเป็ นผลทางการ เมืองทีอ่ ยูบ่ นพื้นฐานของหลักค�ำสอนของอิมามัต ซึง่ นอกเหนือจากความชอบธรรมแล ้ว ด้วย การจัดให้มรี ะเบียบทางการเมืองทีเ่ ป็ นเลิศ จึงถือเป็ นแหล่งอ้างอิงหลักของอารยธรรมอิสลาม สาส์น อิส ลาม

1  . ศาสตราจารย์สถาบันมนุษยศาสตร์และวัฒนธรรมศึกษา. 2  . ส�ำเร็จการศึกษาสถาบันศาสนาเมืองกุม ประทศอิหร่าน และดุษฎีบณั ฑิตสาขารัฐศาสตร์. 3  . ปริญญาโท คณะกุรอานวิทยา มหาวิทยาลัยนานาชาติอมิ ามโคมัยนี เมืองกุม ประเทศอิหร่าน.

11


ยุคใหม่ดว้ ย ค�ำศัพท์สำ� คัญ : การปฏิวตั อิ สิ ลาม อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ปัญญาทางการ เมือง และหลักค�ำสอนของอิมามัต แนวทางและกรอบของเนื้ อหา ค�ำถามหลัก 1. อารยธรรมอิส ลามยุ ค ใหม่ คื อ อะไร มีค วามสัม พัน ธ์ก บั อารยธรรมทาง ประวัตศิ าสตร์ และอารยธรรมตะวันตกสมัยใหม่อย่างไร? 2. การปฏิวตั อิ สิ ลามมีบทบาทในการก่อตัวขึ้นของอารยธรรมนี้อย่างไร?

สาส์น อิส ลาม

3. จากมุมมองด้านการเมือง มีระบบใดบ้างที่มอี ำ� นาจควบคุมเหนืออารยธรรม อิสลามยุคใหม่?

12

ก่อนอืน่ เราต้องตรวจสอบ วิวฒั นาการทางประวัตศิ าสตร์ของอารยธรรมอิสลาม ทัง้ จุดเปลีย่ นแปลง และความก้าวหน้าหรือลา้ หลัง สาเหตุของการฟื้ นฟูความคิดแบบประชา นิยมและผลทีต่ ามมา และโอกาสในการก่อตัวใหม่อกี ครัง้ ในยุคของการปฏิวตั อิ สิ ลาม ในขัน้ ตอนต่อไปของการวิจยั ตัง้ ใจทีจ่ ะอธิบายถึงบทบาทส�ำคัญในการสร้างรากฐานของอารยธรรม อิสลามยุคใหม่ โดยน�ำหลักค�ำสอนของอิมามัตอันเป็ นระเบียบทางการเมือง ทีเ่ ป็ นหัวใจหลัก ของเหตุผลทางการเมืองของอิสลาม และในขัน้ ตอนสุดท้ายเป็ นการอธิบายคุณลักษณะ ขัน้ ตอน บริบท และมุมมองของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ เพือ่ น�ำเสนอภาพรวมทีช่ ดั เจนและ ยิง่ ใหญ่ของอารยธรรมนี้ งานวิจยั นี้ได้ทำ� ควบคู่กบั การค้นคว้าวิจยั (อิจติฮาด) และทฤษฎีท่ี มีรากฐานมันคงแข็ ่ งแรง เนื่องจากไม่มกี ารก�ำหนดสมมติฐานในวิธนี ้ ี ดังนัน้ งานวิจยั นี้จงึ เล็ง เห็นว่าการก�ำหนดสมมติฐานเป็ นสิง่ จ�ำเป็ น เมือ่ พิจารณาว่าการอภิปรายเกี่ยวกับอารยธรรม อิสลามยุคใหม่ เพิง่ เข้าสู่วงการวิทยาศาสตร์ ดังนัน้ หัวข้อทีเ่ กี่ยวข้องกับค�ำถามแรกและ ค�ำถามทีส่ องในบทความนี้ จึงไม่มพี ้นื ฐานการวิจยั ทีส่ ำ� คัญและถือว่าเป็ นนวัตกรรมส่วนใหญ่ และจนถึงขณะนี้ ยกเว้นชุดบทความในสัปดาห์วทิ ยาศาสตร์ของอารยธรรมใหม่ของอิสลาม ใหม่ สัปดาห์แรกและสัปดาห์ทส่ี อง ซึง่ ได้รบั การตีพมิ พ์จำ� นวน 10 เล่ม พิมพ์โดยองค์กร


สาธารณสมบัติ และองค์กรการกุศล นอกจากนี้หนังสือ “วิสยั ทัศน์อารยธรรมอิสลามยุคใหม่” ทีร่ วบรวมและตีพมิ พ์โดยส�ำนักพิมพ์อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ หรือหนังสือ “ปรัชญาของ อารยธรรมอิสลามยุคใหม่” ซึง่ ผูเ้ ขียนบทความได้พมิ พ์บทความนี้ โดยส�ำนักพิมพ์ซูราห์ ขณะ เดียวกันยังไม่มผี ลงานอืน่ ใดทีไ่ ด้รบั การเผยแพร่โดยตรงเกี่ยวกับอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ และสิ่งนี้ทำ� ให้งานวิจยั ของบทความนี้ตอ้ งแบกรับภาระหนักขึ้น อย่างไรก็ตามในหัวข้อที่ เกี่ยวข้องกับหลักเหตุผลและหลักค�ำสอนของอิมามัต เราสามารถค้นพบพื้นฐานการวิจยั ที่ ส�ำคัญในโลกของซุนนะฮฺและชีอะฮ์ ทีไ่ ด้กล่าวถึงประเด็นนี้จากมุมทีต่ ่างกัน. ความพิเศษของ งานวิจยั ฉบับนี้ทม่ี คี วามเหนือกว่างานวิจยั อืน่ ๆ ในสาขานี้คอื การอธิบายแนวคิดของอิมา มัตด้านการเมืองทีม่ คี วามสัมพันธ์กบั ขัน้ ตอนของอารยธรรม ก) วิวฒั นาการของอารยธรรมอิสลามพร้อมกับความก้าวหน้าล้าหลัง ปฐมบทน�ำเข้าสูก่ ารอภิปรายเกีย่ วกับอารยธรรมอิสลามยุคใหม่คอื การสนทนาเกีย่ ว กับวิวฒั นาการความก้าวหน้าและถดถอยของอารยธรรมอิสลาม และจากนัน้ จะพิจารณาถึง ความสัมพันธ์ระหว่างอารยธรรมทางประวัตศิ าสตร์ กับอารยธรรมอิสลามยุคใหม่.

ในมุมมองแรกอารยธรรมอิสลามได้ผ่านช่วงเวลาดังต่อไปนี้ 1. ช่วงเวลาแห่งการก่อตัง้ และสร้างรากฐานของอารยธรรมอิสลาม

ถ้าจะพิจารณาช่ วงเวลาที่สำ� คัญที่สุดของอารยธรรมอิสลาม ควรย้อนกลับไป พิจารณาตัง้ แต่ช่วงเริ่มต้นของศาสนาอิสลาม โดยเฉพาะช่วงชีวติ ทีย่ ง่ิ ใหญ่และเปี่ ยมไปด้วย ความสิรมิ งคลของท่านศาสดาผูย้ ง่ิ ใหญ่ ซึง่ สามารถอธิบายได้วา่ เป็ นช่วงของการก่อตัวและ การสร้างรากฐานของอารยธรรมอิสลาม ในช่วงนี้อลั กุรอานและซุนนะฮ์ (ค�ำพูด การกระท�ำ การนิ่งเงียบและยอมรับของบรรดาอิมามผูบ้ ริสุทธิ์ (อ.)) ถือว่ามีบทบาทส�ำคัญในการสร้าง รากฐานของอารยธรรมอิสลาม สาส์น อิส ลาม

2. การเคลือ่ นไหวทางวิชาการและวิทยาศาสตร์อนั รุ่งโรจน์ของอิมามศอดิก (อ.) อันเป็ นจุดเปลีย่ นในยุคแห่งการแสวงหาอารยธรรมอิสลาม แม้ว่าหลังจากท่านศาสดา (ซ็อลฯ) บรรดาอิมามผูบ้ ริสุทธิ์ (อ.) แต่ละท่านจะมีบทบาทพิเศษในการท�ำให้อารยธรรมอิสลาม สมบูรณ์ และมีความต่อเนื่อง แต่ในขณะเดียวกันการเคลือ่ นไหวทางวิชาการและวิทยาศาสตร์

13


อันรุ่งโรจน์ ถือเป็ นความพิเศษอันเฉพาะได้เกิดขึ้นในยุคสมัยของอิมามบาเกร (อ.) และ อิมามญะอฺฟรั อัศศอดิก (อ.) ขณะทีร่ าชวงศ์อมุ ยั ยะฮ์กำ� ลังล่มสลายและราชวงศ์อบั บาซียะห์ ก�ำลังก่อตัวขึ้นมา ซึง่ ในช่วงเวลานี้คำ� สอนของอิสลามได้แผ่ขยายไปในทัง้ สองด้านกล่าวคือ การน�ำเสนอแนวทางการชี้นำ� และการน�ำไปสู่เป้ าหมาย สังคมอิสลามต้องเผชิญกับการก้าว กระโดดทางญาณวิทยา ทัง้ ชีวติ ด้านปัจเจกและชีวติ ทางสังคม ในความเป็ นจริงแลว้ อิมาม ศอดิก (อ.) ด้วยการพิชิตของท่านอิมามบาเกร (อ.) บิดาผูส้ ู งศักดิ์ของท่าน และโดยใช้ ประโยชน์จากเงือ่ นไขทางการเมือง และสติปญั ญาในยุคของท่านนัน่ คือ การเปลีย่ นแปลง ทางการเมืองในแง่หนึ่ง การกดขีท่ ห่ี ายไปและการเกิดขึ้นของเสรีภาพทางปัญญาทีไ่ ม่เคยมี มาก่อนหน้านี้ อีกด้านหนึ่งด้วยการเกิดขึ้นของผูน้ บั ถือศาสนาอิสลามทัวโลก ่ และอย่างน้อย ที่สุดในแผ่นดินอิสลามได้ประสบความส�ำเร็จ ในการก่ อตัง้ ขบวนการทางวิชาการและ วิทยาศาสตร์ทย่ี ง่ิ ใหญ่ ทีไ่ ม่เหมือนใครในประวัตศิ าสตร์อสิ ลามมาก่อน

สาส์น อิส ลาม

3. อารยธรร มอันเจิดจรัส ในศตวรรษที่ 4 และ 5 ของฮิจญเราะฮ์ศกั ราช

14

ไม่ถงึ 150 ปี หลังจากจุดเริ่มต้นของยุคแห่งการเร้นกายครัง้ ใหญ่ (ของอิมาม มะฮฺด)ี เราได้เห็นการก่อตัวของการเคลือ่ นไหวทีส่ ดใสและมีความหวังในสังคมอิสลาม อดัม เมตซ์ ตีความสิง่ นี้วา่ “ศิลปวิทยาอิสลาม” แต่สง่ิ ส�ำคัญคือความรุ่งเรืองของอารยธรรมใน ศตวรรษที่ 4 และ 5 นัน้ มีมากกว่าสิง่ ใด ๆ มันเกิดจากการเคลือ่ นไหวทางวิทยาศาสตร์ทย่ี ง่ิ ใหญ่ของอิมามบาเกร (อ.) และอิมามศอดิก (อ.) ดังนัน้ ก่อนทีอ่ าอารยธรรมอันรุ่งโรจน์ของ ศตวรรษที่ 4 และ 5 ของฮิจญเราะฮ์ศกั ราช จะถูกอ้างว่าเป็ นผลผลิตของราชวงศ์อบั บาซียะฮ์ มันเป็ นผลผลิตของอุลามาอ์ นักวิชาการ นักส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วัฒนธรรมและศิลปะใน เวลานัน้ มาก่อนแล ้ว ซึง่ ราชวงศ์อบั บาซียะฮ์เป็ นผูป้ กครองทีม่ คี วามฉลาดแต่แอบแฝงด้วย เล่หเ์ พทุบาย เพราะสามารถใช้ประโยชน์สูงสุดจากขีดความสามารถของบรรดานักปราชญ์ อุลามาอฺ ตลอดจนวัฒนธรรมของสังคม เพือ่ พัฒนาอารยธรรมอิสลามในสมัยนัน้ นับจาก คาวาริซมีย ์ นักภูมศิ าสตร์และนักประวัตศิ าสตร์, ซะการียา รอซีย ์ นักเคมีและแพทย์, ฟาโร บียน์ กั ปรัชญา ไปจนถึงอบูไรฮาน นักปราชญ์ นักคณิ ตศาสตร์ นักดาราศาสตร์และนัก ภูมศิ าสตร์, อิบนุฮยั ษามีย ์ นักคณิตศาสตร์และนักฟิ สกิ ส์, และอิบนุ ซินา นักปรัชญาและ แพทย์ อิบนุ รุชด์ นักปรัชญา นักคณิตศาสตร์และนักดาราศาสตร์, ซึง่ บรรดานักปรัชญาและ นักดาราศาสตร์และนักวิชาการทีย่ ง่ิ ใหญ่อน่ื ๆ อีกหลายสิบคนแทบจะปรากฏตัวอย่างยาก


ล�ำบากในช่วงเวลาต่อมาในประวัตศิ าสตร์ 4 การเสือ่ มถอยของอารยธรรมอิสลามสีศ่ ตวรรษติดต่อกัน หลังจากการเติบโตของอารยธรรมอิสลามในศตวรรษที่ 4 และ 5 ของฮิจญเราะฮ์ ศักราช เราก็ได้เห็นการเสือ่ มถอยของอารยธรรมอิสลามเรื่อยมาอย่างยาวนาน ซึง่ มีปจั จัย หลายอย่างเข้ามาเกี่ยวข้องอาทิเช่น ตัง้ แต่การปรากฏตัวของผูป้ กครองทีไ่ ร้ความสามารถ ควบคู่ไปกับผูป้ กครองทีฉ่ ลาดแกมโกง ไปจนถึงการก่อตัวของการเหยียดสีผวิ และชาติพนั ธุ ์ กการแข่งขันทางการเมืองทีท่ วีความรุนแรงขึ้นเพือ่ ช่วงชิงความเป็ นใหญ่ ไปทีละน้อยและ กลายเป็ นความเชือ่ ทีล่ ้าหลังเหมือนในยุคหิน จากการทีผ่ ูส้ ูงศักดิ์และปัญญาชนกลายเป็ นคน ไร้ค่า การครอบง�ำของผูแ้ สวงหาอ�ำนาจทีโ่ ง่เขลา การรุกรานของชาวมองโกลทีท่ ำ� ลายล ้างส่วน ส�ำคัญของโลกอิสลาม การพัฒนาของโลกและการเปลีย่ นแปลงอ�ำนาจบางประการในโลก สิง่ เหล่านี้เป็ นสาเหตุทำ� ให้อารยธรรมอิสลามอันรุ่งโรจน์ตอ้ งชงักงันและตกอยู่ในอันตรายนาน ถึง 4 ศตวรรษติดต่อกัน 5. ยุคซาฟาวิดและการก้าวกระโดดของอารยธรรมอิสลาม หลังจากความเสือ่ มโทรมและความเสือ่ มถอยของอารยธรรมเป็ นเวลานาน เราได้ เห็นการเกิดขึ้นของอารยธรรมอีกครัง้ ในยุคซาฟาวิด ในช่วงศตวรรษที่ 9 และ 10 แน่นอน ว่าคุณลักษณะของยุคซาฟาวิดแตกต่างไปจากยุคอับบาซียะฮ์ และอารยธรรมในศตวรรษที่ 4 และ 5 โดยเฉพาะในแง่ภมู ศิ าสตร์ ซึง่ นักอารยธรรมศึกษาจ�ำนวนหนึ่งแห่งยุคซาฟาวิดต่าง ยอมรับและสารภาพว่า ยุคแห่งการฟื้ นฟูอารยธรรมอิสลามทีเ่ กิดขึ้นอีกครัง้ อันเนื่องจากแก่น ของวัฒนธรรม และความคิดของชีอะฮ์แห่งอิหร่าน ในยุคซาฟาวิดการปรากฏตัวและบทบาท ของนักวิชาการทีย่ ง่ิ ใหญ่เช่น เชค บะฮาอีย,์ มีรดอมอด, อัลลามะฮ์มจั ญลิซยี ์ และมุลลา ศ็อดรอ ล ้วนมีส่วนส�ำคัญอย่างยิง่ ต่อความรุ่งเรืองทางอารยธรรมในยุคซาฟาวิด

สาส์น อิส ลาม

ในยุคนี้การระบุพ้นื ทีท่ างภูมศิ าสตร์ การเมืองของอิหร่าน และการยอมรับนิกาย ชีอะฮ์อย่างเป็ นทางการในอิหร่าน ด้วยความสามารถทีเ่ ป็ นเอกลักษณ์ในการเผยแพร่วชิ าการ วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม ความยุตธิ รรมและการสร้างเอกภาพภายในและความสามัคคี เหล่านี้ถอื เป็ นปัจจัยส�ำคัญในการก่อก�ำเนิดความรุ่งเรืองของอารยธรรม

15


6. ราชวงศ์กอญัร และการล่มสลายทางความคิดในการสร้างอารยธรรม นอกเหนือจากจุดอ่อนทางความคิด และการบริหารจัดการของผูป้ กครองราชวงศ์ กอญัรแล ้ว จะเห็นว่ายุคกอญัรในอิหร่านเกิดขึ้นพร้อมกับ การปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมในศตวรรษ ที่ 18 ทีม่ กี ารเติบโตแบบก้าวกระโดดอย่างรวดเร็วของตะวันตกในด้านวัตถุ สิง่ นี้ทำ� ให้ระยะ ห่างระหว่างตะวันตกและอิหร่านเพิม่ มากขึ้น ดังนัน้ ค�ำถามทีเ่ กี่ยวกับของความลา้ หลังคือ เหตุใดความล ้าหลังจึงกลายเป็ นค�ำถามทีส่ ำ� คัญทีส่ ุดของยุคกอญัร อันทีจ่ ริงแล ้วเมือ่ สิ้นสุด ยุคซาฟาวิด ช่วงเวลาแห่งความเสือ่ มโทรมและตกต�ำ่ ของอารยธรรมอิสลาม ก็ได้เริ่มต้นขึ้น อีกครัง้ ในเวลานี้เองความคิดเรือ่ งการลุกขึ้นต่อสูแ้ ละการสร้างอารยธรรม ได้เลือนหายไปจาก ความคิดและด�ำเนินต่อไปจนกระทัง่ ไปถึงการก่อตัวของขบวนการของ ท่านอิมามโคมัยนี (รฎ.) และชัยชนะของการปฏิวตั อิ สิ ลาม ข) อารยธรรมตะวันตกและทางตันเบื้องหน้า

สาส์น อิส ลาม

จนถึงขณะนี้นกั คิดชาวตะวันตกหลายคนเช่น ฟรีดริช นีทเชอ, ออสวอลด์ สเปง เลอร์, และมาร์กซ์ ฯลฯ ได้ทำ� นายความล่มสลายของอารยธรรมตะวันตกอันรุ่งโรจน์ไว้ และนี่ไม่ใช่สง่ิ ใหม่หรือเป็ นเพียงการกล่าวอ้างของคู่แข่งของตะวันตกเท่านัน้ คาร์ลแจสเปอร์ นักปรัชญาในศตวรรษที่ 19 เขียนด้วยความสงสัยเกี่ยวกับความส�ำเร็จของอารยธรรมตะวัน ตกว่า : ในตอนท้ายของศตวรรษที่ 19 ดูเหมือนว่ายุโรปจะปกครองไปทัวโลก ่ และคิดว่าการ ปกครองนี้จะมีความมัน่ คงและไม่สนั ่ คลอน อีกทัง้ เป็ นการยืนยันค�ำพูดของเฮเกลที่ กล่าวว่า: ชาวยุโรปเดินเรือไปทัวโลกและโลกก็ ่ กลมส�ำหรับพวกเขา สิง่ ทีไ่ ม่ได้อยูภ่ ายใต้อำ� นาจ การปกครองของพวกเขา ก็ไม่ได้มคี ่าถึงขนาดทีพ่ วกเขาจะต้องทนล�ำบาก แต่ทพ่ี วกเขาลงทุน ลงแรงเพราะว่าท้ายทีส่ ุดแล ้วมันจะอยู่ภายใต้อำ� นาจของพวกเขาอย่างแน่นอน

16

มีความคิดเห็นมากมายว่า เหตุใดอารยธรรมตะวันตกจึงเข้าสู่ช่วงตกต�ำ่ และเสือ่ ม ถอย ซึง่ เมือ่ พิจารณาแลว้ จะเห็นว่ามีสาเหตุสอดคลอ้ งกับความคิดของอิสลามมากกว่าคือ ประเด็นวัฒนธรรมและความเสื่อมโทรมของวัฒนธรรมของมนุ ษย์ในตะวันตก ท�ำให้ นักปรัชญาการเมืองแห่งศตวรรษที่ 19 ออสวอลด์ สเปงเลอร์ เชื่อว่าอ�ำนาจสูงสุดขององค์ ประกอบทางวัตถุของอารยธรรม เหนือองค์ประกอบอันเป็ นพื้นฐานหลักของ “วัฒนธรรม” ซึง่ จะน�ำไปสู่การสูญสิ้นของวัฒนธรรมและน�ำไปสู่การล่มสลายของอารยธรรมในเวลาต่อมา


ทัง้ นี้ความหมายของวัฒนธรรมในทีน่ ้ คี อื “จิตวิญญาณแห่งวัฒนธรรม” ซึง่ เกิดจากธรรมชาติ ของมนุษย์อนั ไม่สามารถน�ำมาประกอบเทียบกับตะวันตกหรือตะวันออกและทีอ่ น่ื ได้ ออส วอลด์ สเปงเลอร์ กล่าวว่า “จิตวิญญาณแห่งวัฒนธรรม” ในตะวันตกก�ำลังจะพบกับจุดจบ และล่มสลาย การสูญสิ้นของวัฒนธรรมในตะวันตกส่งผลกระทบและมีอนั ตรายในด้านต่าง ๆ มากมาย สหรัฐอเมริกาเป็ นประเทศทีม่ คี วามทันสมัยสูงสุดในช่วงครึ่งศตวรรษทีผ่ ่านมา แต่ตอ้ งรอดูต่อไปว่าสถานการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมในสหรัฐอเมริกาจะเป็ นอย่างไร ซึ่งภายใต้สถานการณ์ปจั จุบนั สามารถกล่าวได้ว่า นัน่ เป็ นความส�ำเร็จของลัทธิสมัยใหม่ และอารยธรรมตะวันตกทีย่ ง่ิ ใหญ่ได้หรือไม่ หรือเป็ นเพียงความเพ้อฝันเท่านัน้ ? มีรายงาน เกี่ยวกับสถานการณ์ดา้ นสิทธิมนุ ษยชนในสหรัฐอเมริกา ซึ่งกล่าวว่า ปัจจุบนั มีนกั โทษ ประมาณหกล ้านคนในสหรัฐอเมริกา ซึง่ หมายความว่า พลเมืองชาวอเมริกนั ทุกๆ 100,000 คน จะมีผูก้ ระท�ำความผิดจ�ำนวน 760 คนถูกคุมขัง การเหยียดผิวอย่ างรุ นแรงใน สหรัฐอเมริกา และการปฏิบตั ติ ่อคนผิวสีอย่างรุนแรงโดยเฉพาะคนผิวด�ำ ดังจะเห็นว่ามีการ ประท้วงอย่างกว้างขวางในทุกปี เนื่องจากการไม่ดูแลเอาใจใส่ดา้ นสุขภาพส�ำหรับชนผิวด�ำ ท�ำให้อตั ราการเสียชีวติ ทีเ่ พิม่ ขึ้นในช่วงหลายปี ทผ่ี ่านมา อัตราส่วนการทรมาน ความรุนแรง และการฆาตกรรมทีส่ ูงในสหรัฐอเมริกา ซึง่ มีอตั ราสูงกว่าเกณฑ์ปกติของโลก การข่มขืนเกิด ขึ้นอย่างกว้างขวางในสังคม แม้กระทัง่ ในกองทัพสหรัฐฯ ก็มไิ ด้ละเว้น

สาส์น อิส ลาม

ถ้าเราจะพิจารณาว่าอะไรคือ สิ่งที่สำ� คัญที่สุดของอารยธรรมใหม่ของตะวันตก ในมุมทางวัตถุและเศรษฐกิจ เป็ นการดีกว่าให้พจิ ารณาไปทีข่ บวนการวอลล์สตรีทอันมีช่อื เสียง แม้ว่าบางคนจะไม่เต็มใจและไม่เห็นด้วย แต่กต็ อ้ งยอมรับการเคลือ่ นไหวของขบวนการ วอลล์ส ตรีท เพราะถือ ว่า เป็ น การพัฒ นาและเปลี่ย นแปลงครัง้ ใหญ่ การครอบครอง วอลล์สตรีทถือเป็ นขบวนการทางการเคลือ่ นไหว ทีไ่ ด้รบั ความนิยมจากประชาชนอย่างมาก ซึง่ ได้เริ่มต้นขึ้นเมือ่ วันที่ 17 กันยายน 2011 ในจัตรุ สั อิสรภาพ ซึง่ ตัง้ อยู่ในย่านลิเบอร์ต้ ี สแควร์ ย่านธุรกิจของแมนฮัตตัน หลังจากนัน้ ได้แพร่กระจายและขยายไปกว่า 100 เมืองใน สหรัฐอเมริกา อีกทัง้ กระจายไปยัง 1,500 เมืองทัวโลก ่ การยึดครองวอลล์สตรีทเป็ นการต่อสู ้ กับอิทธิพลที่มาท�ำลายลา้ งระบบธนาคารขนาดใหญ่ และบริษทั ข้ามชาติในกระบวนการ ประชาธิปไตย ซึง่ บทบาทของวอลล์สตรีทครัง้ นี้ทำ� ให้เศรษฐกิจตกต�ำ่ และน�ำไปสูภ่ าวะถดถอย ครัง้ ใหญ่ทส่ี ุดเท่าทีค่ นรุ่นต่าง ๆ ได้พบเห็น

17


เจอรัลด์ เซนต์ หนึ่งในนักเศรษฐศาสตร์ชาวอเมริกาคนส�ำคัญ และหัวหน้า สถาบันวิจยั เทรนด์กล่าวถึง “ความสลับซับซ้อนและความเสื่อมโทรมของสถานการณ์ใน สหรัฐอเมริกาว่า “นโยบายของรัฐบาลสหรัฐฯในการแก้ไขปัญหาพื้นฐานของเศรษฐกิจล ้มเหลว และจักรวรรดิอเมริกาก�ำลังเข้าสูก่ ารล่มสลาย” เขากล่าวเสริมว่า ในสหรัฐอเมริการาคาสินค้า พื้นฐาน เช่น อาหารและเครื่องดืม่ แม้แต่นำ�้ บริสุทธิ์กแ็ พงเกินกว่าทีค่ นส่วนใหญ่จะซื้อมาบริ โภคได้ จะเกิดการก่อจลาจลเพือ่ แย่งชิงอาหารในส่วนต่างๆ ของประเทศอย่างแน่นอน, เมือง ใหญ่ ๆ ของอเมริกาจะเกิดการวิกฤต จะมีคนเร่ร่อนจ�ำนวนมากปรากฏให้เห็นทัว่ ประเทศ และอาชญากรรมไม่สามารถควบคุมได้ ซึง่ ส่วนใหญ่จะพุง่ เป้ าไปทีค่ นรวย ดังนัน้ ตามทีก่ ล่าวไว้ อารยธรรมตะวันตกในฐานะคู่แข่งคนส�ำคัญของอารยธรรม อิสลามยุ คใหม่ จึงไม่มีอำ� นาจเฉกเช่ นในอดีตที่ผ่านมา และอยู่ บนเส้นทางแห่งความ เสือ่ มโทรมมานานแล ้ว แน่นอนว่าอารยธรรมไม่ได้เลือนหายไปอย่างรวดเร็ว และไม่สามารถ ละเลยต่อผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึ้นได้ ซึง่ สิง่ ส�ำคัญต้องรูว้ ่าอารยธรรมนี้แม้จะความยิ่งใหญ่ ด้านวัตถุ แต่ก็ได้ท้ งิ รอยร้าวไว้มากมายอันไม่สามารถต้านทานอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ทีใ่ ห้ความส�ำคัญกับวัฒนธรรมได้ ค) ความหมายและพื้นฐานของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ 1. ความหมายของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่

สาส์น อิส ลาม

ค�ำจ�ำกัดความที่ชดั เจนของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่คือ การเกิดขึ้นของความ ก้าวหน้าทางวัตถุและจิตวิญญาณของประเทศอิสลาม โดยมีจุดมุ่งหมายเป็ นระบอบการ ปกครองอิสลาม ซึง่ เกิดขึ้นใหม่และมีการมุ่งเป้ าไปทีส่ าธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่านอันเป็ น แกนหลัก ซึง่ ได้มกี ารปฏิบตั ติ ามค�ำสอนของอิสลามในทุกพื้นของสังคม มีวนิ ยั และน�ำพา สังคมอิสลามให้เข้าใกล ้เป้ าหมายมากขึ้น ค�ำจ�ำกัดความนี้ได้เน้นองค์ประกอบหลายประการ ด้วยกัน อาทิเช่น

18

ด้านวัตถุและจิตวิญญาณของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ซึง่ ถือเป็ นสองด้านของ เหรียญเดียวกัน การพัฒนาทีเ่ กิดขึ้นใหม่ได้กำ� หนดพรมแดนของเรากับอารยธรรมในประวัตศิ าสตร์


อิหร่านซึง่ ถือเป็ นแกนหลักและศูนย์กลางของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ค�ำสอนของอิสลามทีเ่ ป็ นแก่นจะก�ำหนดทิศทางของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ปฏิเสธขอบเขตทางสังคมทัง้ หมดทีข่ บั เคลือ่ นการวางแนวทางของอารยธรรมอิสลาม ยุคใหม่ เพือ่ ไปสู่อารยธรรมเดียวกันแบบวัตถุนิยม 2. ความเป็ นไปได้ของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ อุดมคติของการบรรลุสู่อารยธรรมอิสลามยุ คใหม่คือ อุดมคติแบบดัง่ เดิมที่ ครัง้ หนึ่งเคยเกิดขึ้นแล ้วในหน้าประวัตศิ าสตร์ ปัจจุบนั มุสลิมก็ถอื ว่าอุดมคติน้ สี ามารถบรรลุ ผลได้ เหตุผลหลักในการบรรลุอารยธรรมอิสลามยุคใหม่คอื ชัยชนะของการปฏิวตั อิ สิ ลาม ที่ได้ยนื หยัดมาเป็ นเวลา 40 ปี พร้อมกับต่อต้านแรงกดดันอันหนักหน่ วงของตะวันตก และความก้าวหน้าทีเ่ กิดขึ้นในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในสาขาวิทยาศาสตร์ ตรงนี้ จะพิสูจน์ให้เห็นถึงเหตุผลชัดเจน 15 ประการ ทีบ่ ง่ ชี้ถงึ ความเป็ นไปได้ของการก่อตัวของ อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ 1. ประวัติศาสตร์อนั ดีงามของอารยธรรมในฐานะที่เป็ นทรัพย์สินส�ำคัญทาง จิตวิญญาณ 2. ความเชื่อมันตั ่ วเองอันเป็ นผลมาจากการปฏิวตั อิ สิ ลาม 3. ความมุง่ มันปรารถนาในหมู ่ เ่ ยาวชน 4. ความสามัคคีและความเป็ นหนึ่งเดียวทีเ่ หมาะสมในอิหร่าน และบางส่วนของโลก อิสลามตามวาทกรรมของการปฏิวตั อิ สิ ลาม 5. การจัดตัง้ รัฐอิสลามในอิหร่ านที่มนั ่ คงและมีอ ำ� นาจในฐานะแกนหลักของ อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ 7. การมีอยู่ของความคิดทีต่ กผลึกเกี่ยวกับอิสลามและอารยธรรมอิสลามยุคใหม่

สาส์น อิส ลาม

6. รากฐานและการเติบโตทีเ่ ป็ นรูปธรรมของระบอบประชาธิปไตยทางศาสนา

19


8. เติมเต็มช่องว่างระหว่างความคิดการกระท�ำและการน�ำความคิดไปปฏิบตั ิ 9. พลังแห่งการผลิตและน�ำเสนอวิถชี ีวติ แบบอิสลาม และเผยแพร่ ไปทัว่ โลก ในฐานะตัวอย่างของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ 10 .จุดอ่ อนที่ปรากฏชัดเจนของฝ่ ายตรงข้าม อันได้แก่ อารยธรรมสมัยใหม่ ของตะวันตก 11. อิทธิพลทีม่ ปี ระสิทธิภาพของวาทกรรมแห่งการปฏิวตั อิ สิ ลามในส่วนต่าง ๆ ของโลกอิสลาม 12. การมีพลังในการเอาชนะภัยคุกคามทัง้ ทางทฤษฎีและทางปฏิบตั ิ 13. พลังของการเปลีย่ นแปลงสถานการณ์โลก ซึง่ เป็ นสัญญาณทีเ่ กิดขึ้นในช่วง สีส่ บิ ปี ทผ่ี ่านมา 14. การสนับสนุ นด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และก�ำหนดพรมแดนทาง วิทยาศาสตร์เพือ่ การก้าวข้ามผ่าน 15. ความมัง่ คัง่ และสิง่ อ�ำนวยความสะดวก ฮาร์ดแวร์ทม่ี อี ยู่ ทัง้ ในอิหร่านและ ในโลกอิสลาม

สาส์น อิส ลาม

3. อารยธรรมอิสลามยุคใหม่กบั พื้นที่

20

ประเด็นส�ำคัญประการหนึ่งที่ไม่อาจมองข้ามได้คือ การก�ำหนดบทบาทของการ ปฏิวตั ิอิสลามแห่งอิหร่ านให้ชดั เจนยิ่งขึ้น ต่ อการก่ อตัวของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ซึง่ แนวทางนี้ถกู จ�ำกัดความว่าด้วยค�ำว่า “แกนหลัก” และ “เขตพื้นที” ของอารยธรรมอิสลาม ยุคใหม่ ในแนวทางนี้อารยธรรมจะเจริญรุ่งเรืองไปถึงจุดหนึ่ง และจะแพร่กระจายไปยังทีอ่ น่ื ซึง่ ขึ้นอยู่กบั เงือ่ นไข ส่วนอารยธรรมอิสลามยุคใหม่สามารถเข้าใจได้ในภาพรวมและทัวไปว่ ่ า วันนี้ศูนย์กลางแห่งการเกิดและการเจริญรุ่งเรืองของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่คอื สาธารณรัฐ อิสลามแห่งอิหร่าน เนื่องจากความดีงามหลังจากชัยชนะของการปฏิวตั อิ สิ ลาม และหลังการ ปฏิวตั ใิ นสาธารณรัฐอิสลามประมาณ 40 ปี ก็ได้ปรากฏตัวในพื้นทีเ่ พือ่ น�ำเสนอและสร้าง


อารยธรรมอย่างแท้จริง แน่นอนว่าอารยธรรมนี้กเ็ หมือนกับอารยธรรมอืน่ ๆ สามารถแพร่ กระจายไปยังส่วนต่าง ๆ ของโลก โดยเฉพาะอย่างยิง่ โลกอิสลาม และเมือ่ พิจารณาความ คล ้ายคลึงกันระหว่างสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน และประเทศอิสลามอืน่ ๆ ทีม่ ศี กั ยภาพ และมีความคล ้ายคลึงกันหลายประการ เท่ากับเป็ นการสนับสนุนและรวมเป็ นหนึ่งเดียวกัน ซีง่ ดีกว่าอารยธรรมทัง้ หมดทีไ่ ด้ปรากฏตัวขึ้น 4. ความแตกต่างระหว่างอารยธรรมอิสลามกันอารยธรรมทีไ่ ม่นิยมศาสนา การอธิบายความหมายและพื้นฐานของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ไม่สามารถอธิบาย ถึงแก่นของความแตกต่างระหว่างอารยธรรมอิสลามกับอารยธรรมของผูไ้ ม่นิยมศาสนาได้ เนื่องจากอารยธรรมอิสลามมีความแตกต่างกับอารยธรรมแบบไม่นยิ มศาสนาหลายประการ 4.1 ในแง่ของการคิดทีม่ อี ทิ ธิพลต่ออารยธรรมอิสลาม ซึง่ วางอยูบ่ นพื้นฐานของโลก ทัศน์อสิ ลาม มีการอธิบายทีช่ ดั เจนเกี่ยวกับแหล่งก�ำเนิด การฟื้ นคืนชีพ ความสุขและความ อัปยศของมนุษย์ และทีส่ ำ� คัญไปกว่านัน้ คือน�ำเสนอเส้นทางสู่ความผาสุก กล่าวอีกนัยหนึ่ง ได้น�ำเสนอมนุ ษยวิทยาอิสลาม ที่เน้นความแตกต่ างด้านชีววิทยาของมุสลิมบนโลกนี้ และอารยธรรมอิสลามบนเงือ่ นไขทีจ่ ำ� เป็ นทีเ่ ตรียมพร้อมส�ำหรับชีวติ 4.2. ในแง่ของกฎหมายและระเบียบของผูป้ กครองทีค่ วบคุมสังคม ซึง่ ทีม่ าของ พื้นฐานของกฎหมาย และระเบียบในอารยธรรมอิสลามคือ กฎหมายอิสลาม ซึ่งมีความ แตกต่างจากอารยธรรมแบบไม่นยิ มศาสนา และมนุษย์นยิ ม ทัง้ นี้ความจ�ำเป็ นของการก่อตัว ของอารยธรรมอิสลามคือ การสร้างระเบียบและระบบที่ซบั ซ้อนซึ่งวางอยู่บนหลักการ และข้อชี้ขาดอันชัดแจ้งของอิสลาม และในภาคแห่งความว่างเปล่าของอิสลามก็จะกระท�ำ ในรู ปของการยอมรับ เนื่องจากการยอมรับนับถือศาสนาเป็ นความสามารถอย่างหนึ่ง ของมนุษย์ ส�ำหรับการสร้างอารยธรรม และอารยธรรมอิสลามนัน้ ขึ้นอยู่กบั พื้นฐานของการ ยอมรับบนหลักการ และข้อชี้ขาดอันชัดแจ้งของอิสลาม สาส์น อิส ลาม

4.3 ในแง่ของประเภทแห่งการรับรู ้ อารยธรรมอิสลามเกี่ยวข้องกับเรื่องความ ก้าวหน้าและการพัฒนา ซึง่ ในความเป็ นจริงอารยธรรมอิสลาม มิได้ตระหนักถึงความก้าวหน้า และสร้างความยุตธิ รรม ในโครงสร้างของสถาบันเพียงอย่างเดียว แต่กย็ งั ถือว่าจิตวิญญาณ

21


แห่งความก้าวหน้านัน้ เป็ นวัฒนธรรมของศาสนาด้วย ซึง่ จิตวิญญาณนี้ (วัฒนธรรมทางศาสนา) สามารถป้ องกันการเผชิญหน้ากับความก้าวหน้าทางสังคม การเมือง และเศรษฐกิจได้ และ ยังสามารถป้ องกันลัทธิวตั ถุนิยม การมอมเมาและการไม่ระบุตวั ตนหรืออัตลักษณ์ใน อารยธรรม ตลอดจนการมาถึงของสันติภาพในโลกอีกด้วย 4.4 เพือ่ ให้เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ตามหลักคิดของอิสลาม ผูป้ กครองอารยธรรม อิสลามควรได้รบั การพิจารณาจากสังคมอิสลาม ในความเป็ นจริงแลว้ จุดประสงค์ของ อารยธรรมอิสลาม มิใช่เป็ นเพียงการปฏิเสธความคิดแบบโลกนิยม ทว่ายังให้ความส�ำคัญต่อ การพรรณนาชีวติ นิรนั ดรของมนุ ษย์หลังความตาย ซึ่งจะท�ำให้สงั คมอิสลามที่เจริญแลว้ กลายเป็ นเส้นทางสู่การบรรลุสู่ชวี ติ ทีน่ ิรนั ดรของมนุษย์

สาส์น อิส ลาม

5. แนวคิด “ใหม่” ในอารยธรรมอิสลามยุคใหม่

22

สิง่ ทีค่ วรพิจารณาต่อไปนี้คอื การตอบค�ำถามส�ำหรับค�ำถามทีว่ า่ อารยธรรมอิสลาม ยุคใหม่ ค�ำอธิบายใหม่หมายถึงการฟื้ นตัวของอารยธรรมทางประวัตศิ าสตร์ของศาสนาอิสลาม (ในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อในประวัตศิ าสตร์อารยธรรม) หรือไม่? โดยพื้นฐานแล ้วความเป็ นไปได้ ในการฟื้ นฟูอารยธรรมทีเ่ สือ่ มโทรม เป็ นสิง่ ทีไ่ ม่อาจเป็ นไปได้ หรือโดยพื้นฐานแล ้วการฟื้ นฟู นัน้ ไม่อาจเกิดขึ้นได้เลย แต่สง่ิ ทีอ่ ารยธรรมอิสลามยุคใหม่แสวงหาคือศักยภาพในการสร้าง อารยธรรมอิสลามขึ้นมาใหม่ ด้วยเงือ่ นไขและความเป็ นไปได้ของสังคมอิสลามหรือไม่? ตรงนี้มหี ลักการทีส่ ำ� คัญอยู่คอื การใช้ประโยชน์จากอารยธรรมทางประวัตศิ าสตร์ทเ่ี ป็ นต้น ทุนทางวัตถุและจิตวิญญาณ แม้เราจะเชื่อว่าเมือ่ เวลาผ่านไปไม่มตี น้ ทุนทางวัตถุทจ่ี ะใช้ได้ อีกต่อไปแลว้ แต่การได้รบั ประโยชน์จากประสบการณ์ของอารยธรรมประวัติศาสตร์ของ ศาสนาอิสลาม มันเป็ นต้นทุนทางจิตวิญญาณทีย่ ง่ิ ใหญ่เสมอ ซึง่ ค�ำถามทีถ่ กู ถามบ่อยครัง้ และมีความส�ำคัญอย่างยิ่งคือ อารยธรรมที่กำ� ลังเสื่อมถอยและตกต�ำ่ จะสู ญสิ้นไปจาก อารยธรรมด้วยหรือไม่ และตามหลักการแล ้วถือว่าการเสือ่ มโทรม และความตกต�ำ่ เป็ นการ สูญสิ้นของอารยธรรมทุกแห่งหนหรือไม่? ในค�ำตอบนี้ เราสามารถพูดได้ว่าอารยธรรม มัก มีท งั้ ด้า นจิต วิญ ญาณและร่ า งกาย ด้ว ยเหตุน้ ี จึง ควรสัง เกตว่า ร่ า งกายเมื่อ ดับ สู ญ จิตวิญญาณก็จะอ่อนแอ แต่จะไม่มวี นั ตายหรือดับสูญตามร่างกาย ซึง่ ประเด็นนี้มขี อ้ ยกเว้น ส�ำหรับอารยธรรมทีไ่ ม่ใช่อสิ ลามทีต่ ่อต้านจิตใต้สำ� นึกแห่งพระผูเ้ ป็ นเจ้า ซึง่ ตัวอย่างทีช่ ดั เจน


เหล่านี้มรี ะบุในโองการที่ 6-13 ซูเราะฮฺ อัลฟัจรญ์ ง ) ปัญญา ความมีเหตุผลทางการเมืองในอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ 1. ความหมายและพื้นฐานของความเป็ นเหตุเป็ นผล ในมุมมองแรกความเป็ นเหตุเป็ นผล ถือเป็ นการใช้เหตุผลอย่างเป็ นระบบทัง้ ทาง ทฤษฎีและทางปฏิบตั ิ ทัง้ ในด้านความรูค้ วามเข้าใจและการปฏิบตั ิ แต่ในแนวทางทีล่ กึ ซึ้งไป กว่านัน้ ความเป็ นเหตุ เป็ นผลพวงทีจ่ ะต้องพิจารณาถึงลักษณะ หรือความเป็ นเหตุเป็ นผล ของหมวดหมูห่ รือปรากฏการณ์ ในความเป็ นจริงเมือ่ พูดถึงความเป็ นเหตุอนั เป็ นผลพวงของ มุมมองหรือการกระท�ำ ก็จะพิจารณาลักษณะหรือแง่มมุ ทีม่ เี หตุผลไปด้วย ซึง่ ในกรณีน้ คี วาม เป็ นเหตุผลก๋คอื ชุดของเกณฑ์หรือลักษณะทีก่ ำ� หนดความเป็ นเหตุเป็ นผลของความคิดเห็น และการกระท�ำนัน้ ๆ ดังนัน้ จึงมีบางคนกล่าวว่า การมีชวี ติ อยู่อย่างมีเหตุมผี ลหมายถึง วิธี การด�ำเนินชีวติ ให้เป็ นไปอย่างไร บางครัง้ ความหมายของชีวติ ยังสามารถตีความได้วา่ “เป็ น เหตุเป็ นผล” สิง่ ส�ำคัญทีต่ อ้ งตระหนักคือ ปัญญาทีป่ ราศจากการไตร่ตรองมันไม่ใช่ปญั ญา และปัญญาเนื่องจากการไตร่ตรองและการขบคิดจึงถือเป็ นกิจกรรมประเภทหนึ่ง แน่นอนว่า ด้วยกิจกรรมของปัญญาท�ำให้ชวี ติ ของมนุษย์มคี วามหมาย แต่บางครัง้ ความเป็ นเหตุเป็ นผล เป็ นค�ำอธิบายของความเชือ่ ส่วนการกระท�ำและพฤติกรรมอธิบายความเป็ นเหตุเป็ นผล และ บางครัง้ ค่านิยมก็มลี กั ษณะของความมีเหตุมผี ลเช่นกัน แม้ว่าจะมีความคล ้ายคลึงกันระหว่าง ความเป็ นเหตุเป็ นผลในปรัชญาสังคมวิทยา รัฐศาสตร์หรือเศรษฐศาสตร์ แต่ความหมายและ พื้นฐานของความเป็ นเหตุเป็ นผลจะไม่เหมือนกันในทุกประเภทหรือทุกปรากฏการณ์

สาส์น อิส ลาม

ในความเป็ นจริง การด�ำรงอยู่ของความเป็ นเหตุเป็ นผลหมายถึงตรรกะที่แสดง เหตุผลของค�ำ หรือการกระท�ำโดยใช้หลักเกณฑ์เฉพาะ ดังนัน้ ความเป็ นเหตุเป็ นผลสามารถ แบ่งออกเป็ น 2 ส่วนคือ ทางทฤษฎีและทางการปฏิบตั ิ ส่วนประกอบบางอย่างทีเ่ ป็ นเหตุผล ทางทฤษฎีและอืน่ ๆ ซึง่ ความเป็ นเหตุผลในทางปฏิบตั แิ ละเหตุผลทางทฤษฎีจะเกิดขึ้นต่อเมือ่ เราต้องการจะเชื่อหรือไม่เชื่อ จะศรัทธาหรือไม่ศรัทธา อะไรก็ตามทีเ่ กี่ยวข้องกับความเชื่อ ถ้าเราด�ำเนินชีวติ อย่างมีเหตุผลในพื้นที่เหล่านี้ พวกเขาจะบอกว่าคุณมีเหตุผลทางทฤษฎี แต่บางครัง้ เราต้องการที่จะด�ำเนินการอย่างมีเหตุผล ในสถานะของการตัดสินใจของเรา เราต้องการให้มีการตัดสินใจทีม่ เี หตุผล มีการกระท�ำทีม่ เี หตุผล ซึง่ ประเภททีส่ องนี้ถกู ตีความ

23


ว่าเป็ นเหตุเป็ นผลในทางปฏิบตั ิ ค�ำถามคือ ความมีเหตุมผี ลของอิสลาม มีคำ� จ�ำกัดความที่เหมือนกันส�ำหรับ ความเป็ นเหตุเป็ นผลแบบสัมบูรณ์หรือความเป็ นเหตุเป็ นผลสมัยใหม่ หรือควรแสวงหา ค�ำจ�ำกัดความของความเป็ นเหตุเป็ นผลแบบอื่นหรือไม่? ในการตอบค�ำถามนี้ควรกล่าวว่า ค�ำจ�ำกัดความทัว่ ไปของความเป็ นเหตุเป็ นผล หรือความเป็ นเหตุเป็ นผลสมัยใหม่นนั้ ไม่ได้ น�ำเสนอแง่มมุ เชิงบรรทัดฐานแต่อย่างใด แต่เป็ นความหมายทีส่ ามารถใช้ได้กบั ปัญญาและ ความเป็ นเหตุเป็ นผลทัง้ หลาย ดังนัน้ จึงไม่มปี ญั หาใด ๆ ต่อความเป็ นเหตุเป็ นผลของอิสลาม ทีม่ คี ำ� จ�ำกัดความทัว่ ไปเหมือนกัน แต่ถา้ เรามองลึกลงไปในความคิดของอิสลามในสาขานี้ ความเป็ นเหตุเป็ นผลของอิสลามทัง้ ทางทฤษฎีและทางการปฏิบตั ิ จะรวมถึงเหตุผลทัง้ ทาง ทฤษฎีและการปฏิบตั ดิ ว้ ย ซึง่ ในความเป็ นจริงแล ้ว ความมีเหตุมผี ลของอิสลามจึงมีสามมิติ ทีส่ ำ� คัญดังนี้ 1. มิตขิ องระบบเหตุผลหรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ องค์ประกอบเชิงระบบของการคิด เชิงเหตุผลทีค่ รอบคลุม 2. มิตทิ ป่ี ระยุกต์ใช้และสร้างสิง่ ทีค่ วรท�ำและไม่ควรท�ำทัว่ ไป และบางส่วนโดยใช้ วิธกี ารและตรรกะของเหตุผลและอิงตามล�ำดับเหตุผลและปัญญา 3 มิตทิ ย่ี นื ยันความเป็ นเหตุเป็ นผลของสิง่ ต่าง ๆ ตามเกณฑ์และลักษณะทีเ่ ห็นชอบ ด้วยเหตุผลและศาสนา

สาส์น อิส ลาม

สิ่งที่อธิบายไปข้างต้น ความเป็ นเหตุเป็ นผลของอิสลามคือ สถานะของความ เทีย่ งธรรมหรือศูนย์รวมของเหตุผลและการคิดไตร่ตรอง โดยมุง่ เน้นไปทีผ่ ลลัพธ์ของปัญญา และเหตุผลมากกว่า การเฟื่ องฟูของเหตุผลและปัญญา แม้แต่ความเป็ นเหตุเป็ นผลในมิติ ที่สองและสามก็สามารถมีบทบาทที่จะเป็ นระบบได้ แต่เป็ นระบบที่ผูใ้ ช้ไม่จำ� เป็ นต้องเป็ น นักปรัชญา นักนิตศิ าสตร์และอืน่ ๆ ซึง่ จะอธิบายในล�ำดับต่อไป

24

ในทางกลับกัน ความมีเหตุมผี ลในศาสนาอิสลามเปรียบเทียบได้กบั สิ่งมีชีวติ และระบบอวัยวะ เช่น ร่างกายมนุษย์ การด�ำรงอยูข่ องชีวติ ทีเ่ ป็ นปัจเจกและส่วนรวม สามารถ ช่วยให้บรรลุเป้ าหมายและปกป้ องสถานการณ์ได้ เพื่อให้ประเด็นนี้มคี วามชัดเจนยิ่งขึ้น


สามารถกล่าวได้ว่าความเป็ นเหตุเป็ นผล ประกอบด้วยส่วนประกอบและวงแหวนต่าง ๆ มากมาย ซึ่งการรวมกันของส่วนประกอบและวงแหวนเหล่านัน้ มิใช่เป็ นการผสมผสาน ระหว่างวัสดุสงั เคราะห์กบั เชิงกล แต่สว่ นประกอบเหล่านี้มคี วามสัมพันธ์กนั อย่างมีนยั ส�ำคัญ และเป็ นธรรมชาติ และนอกจากนี้ยงั สนับสนุ นซึ่งกันและกันในการสร้างความเป็ นเหตุ เป็ นผล และเพิม่ ประสิทธิภาพในการท�ำงานอีกด้วย 2. ความแตกต่างระหว่างความเป็ นเหตุเป็ นเหตุผลของอิสลาม กับความเป็ นเหตุ เป็ นเหตุผลของฝ่ ายไม่นิยมศาสนา ค�ำถามส�ำคัญตรงนี้คือ อะไรคือความแตกต่ างที่สำ� คัญระหว่างความเป็ นเหตุ เป็ นผลของอิสลาม กับความมีเหตุมผี ลของฝ่ ายไม่นิยมศาสนาและความทันสมัย และ ขอบเขตทีจ่ ะต้องระบุระหว่างสองเหตุผลนี้คอื อะไร? ในมุมมองของประเด็นหลักและจุดโฟกัส ของความแตกต่าง ระหว่างความมีเหตุมผี ลของอิสลามกับความมีเหตุมผี ลสมัยใหม่ สามารถ น�ำเสนอรายละเอียดได้ดงั นี้ 2.1 ความเป็ นเหตุเป็ นผลของอิสลาม แตกต่างจากความเป็ นเหตุเป็ นผลแบบ สมัยใหม่ โดยทีค่ วามเป็ นเหตุเป็ นผลของอิสลาม ได้แบ่งขอบเขตวิทยาศาสตร์และก�ำหนด ต�ำแหน่งและหน้าทีข่ องแหล่งทีม่ า และวิธกี ารแต่ละอย่าง เพือ่ น�ำมาใช้ทงั้ หมดในพื้นทีข่ อง ตัวเอง 2.2 ความเป็ นเหตุเป็ นผลของอิสลามมีแนวทางพื้นฐานในด้านการปฏิบตั ิ พื้นฐาน

2.3 ความเป็ นเหตุเป็ นผลของอิสลามไม่ยอมรับ “ทฤษฎีสมั พัทธภาพ” ในหลักการ

สาส์น อิส ลาม

2.4 แม้วา่ การแสวงหาผลประโยชน์ หรือความต้องการอ�ำนาจไม่ได้ถกู ปฏิเสธใน ความเป็ นเหตุเป็ นผลของอิสลามเสมอไป แต่แรงผลักดันของความเป็ นเหตุเป็ นผลของอิสลาม ในด้านการกระท�ำนัน้ ไม่ใช่แค่ผลประโยชน์หรืออ�ำนาจทางวัตถุอย่างเดียว ในขณะเดียวกัน ก็ได้กำ� หนดผลก�ำไร ผลประโยชน์ และอ�ำนาจใหม่ดว้ ยความยุตธิ รรม ทีจ่ ะเปลีย่ นทัง้ ผลก�ำไร ทางวัตถุ ผลประโยชน์ทางจิตวิญญาณ และพลังให้กลายเป็ นพลังแห่งการขับเคลือ่ นอย่างมี ประสิทธิภาพ

25


2.5 แนวทางของความเป็ นเหตุเป็ นผลของอิสลามต่อชีวติ ไม่ได้จำ� กัดอยู่ทแ่ี นวทาง “ทางโลก” เท่านัน้ แต่ความเป็ นเหตุเป็ นผลของอิสลามวางอยู่บนพื้นฐานของข้อมูลเชิงลึก ทางเทววิทยา และมนุษยวิทยา โดยถือว่าชีวติ มนุษย์มี 2 มิตทิ งั้ ทางโลกนี้และทางปรโลก (อาคีเราะฮ์) โดยให้ความส�ำคัญเรื่องปรโลกเป็ นหลัก ความเป็ นเหตุเป็ นผลของอิสลามยังสามารถแบ่งออกได้ ทัง้ ในแง่ของวิทยาศาสตร์ ทางศาสนา และในแง่ของชีวติ ทางสังคม 3. ความเป็ นเหตุเป็ นผลทางการเมือง ส�ำหรับการแบ่งตามบริบททางสังคม รูปแบบหนึ่งทีส่ ำ� คัญทีส่ ุดของความมีเหตุมผี ล คือ ความเป็ นเหตุเป็ นผลทางการเมือง ซึง่ ความเป็ นเหตุผลทางการเมืองนี้มคี วามเกี่ยวข้อง กับการใช้สติปญั ญา เหตุผลและศาสนาอย่างเป็ นระบบ เพือ่ สร้างกฎเกณฑ์ทางการเมือง อีกทัง้ เป็ นเรือ่ งของการพิสูจน์ความชอบธรรมและความถูกต้องของความคิด ระบบและการก ระท�ำทางการเมืองตามเกณฑ์และตัวชี้วดั ทางปัญญาและอิสลาม ซึง่ ในแง่หนึ่งถูกตีความว่า เป็ นอุดมคติหรือความเป็ นจริง ในความเป็ นจริงแลว้ สามารถเข้าใจถึงมาตรวัดความมีเหตุ มีผลทางการเมือง ด้วยการมีคุณลักษณะหรือสภาวะแห่งความเป็ นเหตุเป็ นผลของชีวติ ทางการเมือง 4. หลักค�ำสอนของบรรดาอิมามผูบ้ ริสทุ ธิ์ (อ.) ในความเป็ นเหตุเป็ นผลทางการเมือง และอารยธรรมอิสลามยุคใหม่

สาส์น อิส ลาม

มีการอภิปรายโดยละเอียดเกี่ยวกับเรื่องของความเป็ นเหตุเป็ นผลทางการเมือง และอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ แต่ รายละเอียดทัง้ หมดนี้ไม่อาจน�ำเสนอในบทความนี้ ได้ทงั้ หมด ด้วยเหตุน้ ีในส่วนของการอภิปรายเรื่องความเป็ นเหตุเป็ นผลทางการเมืองนัน้ จุดส�ำคัญของการอภิปรายจึงอยูท่ แ่ี ก่นของความเหตุเป็ นผลทางการเมืองนัน่ คือ “หลักค�ำสอน ของบรรดาอิมาม”

26

ในเรือ่ งของการสืบทอดต�ำแหน่งหลังจากท่านศาสดา (ซ็อลฯ) ได้วะฝาดไป สามารถ พิจารณาไดใน 2 ประเด็นส�ำคัญ ประการแรก อิมามของชาวมุสลิม ประการทีส่ อง ผูป้ กครอง มุสลิม ทัง้ นี้ควรได้รบั การแนะน�ำว่าสิง่ นี้เป็ นความสัมพันธ์ทค่ี รอบคลุมเฉพาะและสมบูรณ์


เนื่องจากความเป็ นผู น้ ำ� ทางการเมืองของชาวมุสลิมถือเป็ นเกียรติอย่างหนึ่งของอิมาม และในสถานการณ์ทอ่ี มิ ามหรือผูส้ บื ทอดต�ำแหน่งผูน้ ำ� ทางการเมืองของมุสลิมยังปรากฏตัว อยู่ ก็ไม่สามารถมอบต�ำแหน่ งการเป็ นผูน้ ำ� นี้ให้กบั ผูอ้ ่ืนได้ ส่วนผูใ้ ดก็ตามที่รบั หน้าที่น้ ี ทีน่ อกเหนือไปจากอิมามผูส้ บื ทอดโดยชอบธรรมแล ้ว ตามหลักเหตุผลและชัรอีย ์ ถือว่าเขา เป็ นผูแ้ ย่งชิงสิทธิอนั ชอบธรรมนัน้ ไป อย่างไรก็ตามอิมามัตในความหมายหนึ่ง หมายถึงการแนะน�ำและการชี้นำ� ทางอย่าง ต่อเนื่อง และทีส่ ำ� คัญไปกว่านัน้ คือ การส่งมอบและน�ำพามนุษย์ไปสูเ่ ป้ าหมายปลายทางอย่าง สมบูรณ์ ต�ำแหน่งนี้ไม่ใช่สถานะทีส่ ามารถมอบให้ใครก็ได้ แม้วา่ จะผ่านมติของสภาหรือการ เลือกตัง้ ทัวไปก็ ่ ตาม สิง่ ทีไ่ ม่ควรมองข้ามคือแม้วา่ การประทานวิวรณ์ (วะห์ยู) และคัมภีรข์ อง พระผู เ้ ป็ นเจ้า จะยุติลงด้วยการเสียชีวติ ของท่านศาสดา (ซ็อลฯ) แต่ ประตูอ่ืนในการ เชื่อมสัมพันธ์กบั พระเจ้ายังคงเปิ ดอยู่เสมอ บรรดาอิมามมีสถานะเหมือนกับท่านศาสดา (ซ็อลฯ) ทุกประการ (ยกเว้นการเป็ นศาสดา) และหากพวกเขาล ้มเหลวในการปฏิบตั ภิ ารกิจ เนื่องจากความผิดพลาดหรือการท�ำบาป แน่นอนว่าศาสนาของพระผูเ้ ป็ นเจ้า ก็จะต้องถูก บิดเบือนไปจากแนวทางอันเทีย่ งตรงของมัน และสิง่ นี้มนั ห่างไกลจากพระประสงค์ของพระเจ้า ทีจ่ ะปล่อยให้ชะตากรรมของศาสนาทีท่ า่ นศาสดาสุดท้ายของพระองค์ประกาศ น�ำมาไปสูก่ าร เบีย่ งเบนและบิดเบือน หรือถูกท�ำลายลา้ งด้วยน�ำ้ มือของผูส้ บื ทอดของพระองค์ท่มี คี วาม ผิดพลาด ดังนัน้ จากการอธิบายข้างต้น ตามความเชื่อในหลักศรัทธาเกี่ยวกับระบอบอิมามัต และหลักเหตุผลได้ตอกย�ำ้ ว่า อิมามนอกเหนือจากการได้รบั ประโยชน์จากคุณสมบัติทาง วิชาการ และการปฏิบตั แิ ล ้วยังต้องอยูใ่ นสถานะทีส่ ูงส่งทีส่ ดุ ทางสังคม เช่นเดียวกันนอกเหนือ จากการประกาศแต่งตัง้ ในรูปแบบพิเศษ ซึง่ ไม่ใช่รูปแบบทัว่ ไปจากพระเจ้าผูท้ รงสูงส่งแลว้ ยังต้องมีคุณสมบัตขิ องความเป็ นผูบ้ ริสุทธิ์ (มะอฺศูม) อีกด้วย

สาส์น อิส ลาม

ค�ำถามคือ อะไรคือภารกิจของระบอบอิมามัตในยุคสมัยทีอ่ มิ ามผูบ้ ริสุทธิ์เร้นกาย? ค�ำตอบอาจกล่าวได้วา่ ผูส้ บื ทอด หรือผูท้ ำ� หน้าทีแ่ ทนอิมามผูบ้ ริสุทธิ์ในยุคแห่งการเร้นกาย คือ บรรดาฟุกอฮา (ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านนักนิตศิ าสตร์) ทีม่ เี งือ่ นไขครบสมบูรณ์ แม้ว่าการมี สถานะของความบริสุทธิ์ทดั เทียมบรรดาอิมามผูบ้ ริสุทธิ์ จะไม่ได้เป็ นเงือ่ นไขส�ำหรับพวกเขา ก็ตาม แต่การมีคุณลักษณะแห่ง “ความยุตธิ รรม” หมายถึงไม่กระท�ำผิดบาปในตัวพวกเขาก็ เป็ นสิง่ ทีจ่ ำ� เป็ น อีกทัง้ บุคคลเหล่านี้ถกู จัดให้อยู่ในล�ำดับรองลงมาจากอิมามผูบ้ ริสุทธิ์ ทีจ่ ะ

27


คอยท�ำหน้าทีใ่ ห้สอดคลอ้ งกับอิมาม และปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นฐานะตัวแทนของระบอบอิมามัต ในยุ คเร้นกาย ซึ่งในบริบทนี้ถูกตีความในความหมายของ “ระบอบวิลายะตุลฟะกิฮ”์ หรือสามารถกล่าวได้วา่ เป็ น “การชี้นำ� แนวทางทีถ่ กู ต้องและการน�ำพาไปสูเ่ ป้ าหมายปลายทาง อย่างสมบูรณ์แบบ” ไม่ได้ถูกแยกออกจากผู น้ �ำทางการเมืองของชาวมุสลิมแต่ อย่างใด หากแต่ทงั้ สองนี้ถอื เป็ นสองด้านของเหรียญเดียวกัน อย่างไรก็ตามหากรัฐบาลของอิมาม หรือวะลียุลฟะกีฮ ์ ถูกยึดอ�ำนาจโดยมิชอบหรือโดยไม่มเี หตุผล อิมามและผู ส้ ืบทอดที่ ชอบธรรมก็ตอ้ งปฏิบตั หิ น้าทีข่ องตนต่อไป เพือ่ ให้บรรลุเป้ าหมายแม้ว่าจะไม่สมบูรณ์แบบ ก็ตาม ซึง่ เหมือนกับทีบ่ รรดาอิมามผูบ้ ริสุทธิ์ได้ปฏิบตั หิ น้าของตนในช่วงเวลาทีพ่ วกท่านมิได้ มีอำ� นาจทางการเมือง จากค�ำอธิบายนี้จะเห็นว่า ความมีเหตุมผี ลทางการเมืองจะเผชิญกับหลักค�ำสอน 2 ประการด้วยกันกล่าวคือหลักค�ำสอนของอิมามัตและหลักค�ำสอนของระบอบคิลาฟัต ซึง่ ความหมายของทัง้ สองก็ได้อธิบายสรุปแบบสัน้ ๆ ไปแลว้ ทัง้ นี้ควรตระหนักว่าหลักค�ำ สอนใดทีส่ ามารถรักษาความบริสทุ ธิ์ และความสูงส่งของอิสลามมาตลอดประวัตศิ าสตร์ รักษา จุดประสงค์และหน้าทีอ่ นั แท้จริงของศาสนา หลักค�ำสอนของอิมามัตทีก่ ำ� หนดว่า ต้องเป็ น บุคคลทีม่ บี คุ ลิกอันมีเอกลักษณ์โดดเด่น สูงส่ง และไม่อาจพรรณนาถึงคุณลักษณะแห่งความ ประเสริฐอันสมบูรณ์ได้ทงั้ หมดเฉกเช่น ท่านอิมามอะลี (อ.) และลูกหลานผูบ้ ริสุทธิ์ของท่าน หรือหลักค�ำสอนของระบอบคิลาฟัต ที่นอกเหนือจากบรรดาคอลีฟะฮ์อรั รอชิดูนเช่ น มุอาวียะฮ์ บุตรของอบูซุฟยาน ยะซีดบุตรของมุอาวียะฮ์ หรือกล่าวโดยรวมคือราชวงศ์ อุมยั ยะฮ์และอับบาซียะฮ์ทก่ี ดขีแ่ ละอธรรม จะถือว่ารวมอยู่ในหลักค�ำสอนนี้ดว้ ยหรือใม่?

สาส์น อิส ลาม

จากค�ำอธิบายทีก่ ล่าวไปแล ้ว จะพบว่าการน�ำหลักค�ำสอนของอิมามัตในเรื่องความ เป็ นเหตุเป็ นผลทางการเมือง ไปสู่แก่นของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ จะมีผลกระทบและ ประโยชน์ดงั ต่อไปนี้

28

1. ด้วยการเสริมสร้างสติปญ ั ญาทางทฤษฎี ตลอดจนการน�ำเสนอค�ำสอนที่ เปิ ดเผยอย่างครอบคลุม และเป็ นระบบชุมชนอิสลาม จะสามารถยกระดับความเข้าใจใน ค�ำสอนของอิสลาม และป้ องกันความเข้าใจผิดและการบิดเบือนได้มากขึ้น 2. ในขณะทีม่ กี ารแผ่ขยายและเพิม่ ความลึกซึ้งในปัญญาเชิงปฏิบตั ิ ด้วยการแนะน�ำ


และการใช้กลไกลอิสลามโดยเฉพาะกลไกลด้านความยุติธรรม ซึ่งรับรองและรับประกัน ในการปฏิบตั ติ ามกฎ และค่านิยมต่างๆ ของพระเจ้าในสังคม 3. เพื่อ ก�ำ หนดขอบเขตและพรมแดนที่ช ดั เจนระหว่ า งอารยธรรมอิส ลาม และอารยธรรมทีไ่ ม่ใช่อสิ ลาม 4. เพือ่ ก�ำหนดวิสยั ทัศน์ทโ่ี ดดเด่น แปลกใหม่และเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะส�ำหรับ อารยธรรมอิสลาม 5. เพื่อขับเคลือ่ นพลังทางวัตถุและจิตวิญญาณที่สำ� คัญของสังคมอิสลามไปสู่ จุดหมายปลายทาง จ) คุณลักษณะ ขัน้ ตอนและมุมมองของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ 1. คุณลักษณะและองค์ประกอบ อารยธรรมอิสลามยุคใหม่มคี ุณลักษณะบางประการ ที่บางส่วนจะมีบทบาทต่อ อารยธรรมนี้, เนื้อหาต่อไปนี้จะมีการระบุคุณลักษณะ 14 ประการ ของอารยธรรมอิสลาม ยุคใหม่ ซึง่ แต่ละส่วนจะอธิบายแบบสรุปย่อ ดังนี้ 1.1 อารยธรรมอิสลามยุคใหม่คือ หลักการแห่งศาสนาและสัจจนิยม ในความ เป็ นจริงถ้าความจริงหรือแก่นแท้ของศาสนาอิสลามถูกแยกออกไปจากอารยธรรมนี้ มันก็จะ กลายเป็ นอารยธรรมทีว่ า่ งเปล่า 1.2 อารยธรรมอิสลามยุคใหม่คอื เสาหลักแห่งความยุตธิ รรม เพือ่ สร้างเข้าใจให้ ชัดเจนยิง่ ขึ้นในความหมายคือ ความยุตธิ รรมและการต่อต้านการกดขีถ่ อื เป็ นเสาหลักของ อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ และสิ่งที่เป็ นไปไม่ได้คือองค์ประกอบจะเป็ นปรปักษ์ต่อความ ยุตธิ รรมทีจ่ ะปรากฏตามทฤษฎีของอารยธรรมนี้ สาส์น อิส ลาม

1.3 อารยธรรมอิสลามยุคใหม่คือ อิมามคือศูนย์กลาง ในกรณีทอ่ี มิ ามเร้นกาย วะลียุลฟะกิฮ ์ (ผูน้ ำ� จิตวิญญาณ) ต้องท�ำหน้าทีแ่ ทนอิมามในการน�ำเสนอแนวทาง การชี้นำ� และน�ำพาประชาชาติสู่การบรรลุเป้ าหมายที่ตอ้ งการซึ่งเป็ นคุณลักษณะหลักสองประการ

29


ของอิมาม 1.4 อารยธรรมอิสลามยุคใหม่คอื เสรีภาพพื้นฐานและการปลดปล่อย กล่าวอีก นัยหนึ่งคือ อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ไม่เพียงแต่จะเฟื่ องฟูในบริบทแห่งเสรีภาพเท่านัน้ แต่ จะช่วยพัฒนาและเพิ่มพูนเสรีภาพที่แท้จริงให้มากขึ้น หลังจากเกิดความขัดแย้งกับการ ปกครองแบบเผด็จการและเสรีนิยม 1.5 อารยธรรมอิสลามยุคใหม่คอื ประชาชน ไม่ใช่รฐั บาลหรือชนชัน้ สูง แน่นอนว่า รัฐบาลและชนชัน้ สูงมีส่วนส�ำคัญในการก่อตัง้ และสร้างความต่อเนื่องให้อารยธรรมอิสลาม ยุคใหม่ แต่ในอารยธรรมนี้สง่ิ ทีอ่ ยูเ่ หนือจากรัฐบาลและชนชัน้ สูงคือ ประชาชน ไม่วา่ จะยากจน หรือร�ำ่ รวยหรือไม่รูห้ นังสืออ่านไม่ออกเขียนไม่เป็ น ต่างก็มบี ทบาทอันมีประสิทธิภาพและ ชาญฉลาดทัง้ สิ้น ซึง่ ตัวละครหลักในอารยธรรมงอิสลามยุคใหม่ ไม่ควรเป็ นรัฐบาลหรือชนชัน้ สูงเพียงอย่างเดียว ทว่าประชาชนทุกภาคส่วนต้องมีส่วนร่วมด้วย อย่าปล่อยให้พวกเขาเป็ น เพียงผูช้ มเพียงฝ่ ายเดียว 1.6 อารยธรรมอิสลามยุคใหม่คอื กระบวนการทีค่ ่อยเป็ นค่อยไป ไม่ใช่โครงการที่ เกิดขึ้นทันทีทนั ใดหรือเกิดเพียงครัง้ เดียว เหมือนกับเมล็ดพันธุท์ ไ่ี ม่ออกผลทันที แต่ตอ้ ง งอกเป็ นต้นกล ้าเสียก่อนหลังจากนัน้ ก็ค่อย ๆ เจริญเติบโตเป็ นล�ำต้น และเติบโตเป็ นต้นไม้ ใหญ่ทใ่ี ห้ดอกออกผล

สาส์น อิส ลาม

1.7 อารยธรรมอิสลามยุคใหม่คอื ศาสตร์นิยม ไม่วา่ ศาสตร์นนั้ จะหมายถึงความรู ้ (มะอฺรฟี ตั ) หรือความรูท้ ห่ี มายถึงความรูเ้ ชิงประจักษ์หรือวิทยาศาสตร์ หรือความรูท้ างโลก ก็ตาม

30

1.8 อารยธรรมอิสลามยุคใหม่คือ ความเจริญรุ่งเรืองและต่อต้านความยากจน หมายความว่าอารยธรรมนี้จะพยายามสร้างความเจริญรุ่งเรืองให้กบั โลก เพือ่ ใช้ประโยชน์ สูงสุดจากความโปรดปรานจากพระเจ้า และยังพยายามป้ องกันและขจัดความยากจนให้หมด ไปจากสังคม ในความเป็ นจริงแลว้ การเผชิญหน้ากับความยากจนของอารยธรรมอิสลาม ยุคใหม่ ไม่ใช่การเผชิญหน้าเพือ่ การเยียวยาเพียงอย่างเดียว หากแต่เป็ นการเผชิญหน้า เชิงป้ องกัน


1.9 อารยธรรมอิสลามยุคใหม่คือ ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม หมายถึง นวัตกรรมทางวรรณกรรม วิธกี าร เครื่องมือ เทคโนโลยีและอืน่ ๆ 1.10 อารยธรรมอิสลามยุคใหม่คอื เป็ นมิตรกับธรรมชาติ กล่าวคือไม่มกี ารท�ำลาย ธรรมชาติ และไม่นำ� เอาธรรมชาติไปใช้ประโยชน์ในทางทีผ่ ดิ เพือ่ บรรเทาความยากจนและ สวัสดิการของสังคม หรือเพือ่ ผลประโยชน์ของตนเอง 1.11 อารยธรรมอิสลามยุคใหม่คือ การแสวงหาสิง่ ทีด่ กี ว่า” นัน่ คือการแสวงหา ความสมบูรณ์ และความสมบูรณ์แบบของมนุ ษย์ในด้านความสูงส่งของแก่นแท้ความเป็ น มนุษย์ ความจริง และจิตวิญญาณของมนุษย์ เนื่องจากความเป็ นเลิศและความสมบูรณ์แบบ นี้ ต้องอาศัยบริบททางวัตถุและจิตวิญญาณควบคู่กนั ไป 1.12 อารยธรรมอิสลามยุคใหม่เป็ น การสร้างมนุษย์” หมายความว่าอารยธรรม อิสลาม พยายามทีจ่ ะฟื้ นฟูและสร้างความเปล่งบานของแก่นแท้ของความเป็ นมนุษย์ และ การด�ำรงอยู่อย่างเสรี ซึง่ ตรงกันข้ามกับกระแสการเปลีย่ นแปลงมนุษย์ในอารยธรรมแบบไม่ นิยมศาสนา และหากมีการกล่าวว่าเป้ าหมายหลักของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่คอื ความ เป็ นมนุษย์กถ็ อื ว่าเป็ นค�ำพูดทีถ่ กู ต้อง 1.13 อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ก�ำลังขยายตัวไปทัว่ โลกและกลายเป็ นสากล ซึง่ สาเหตุหลักของการขยายตัวนี้มใิ ช่เกิดจากการบังคับข่มขู่ หรืออ�ำนาจทางเศรษฐกิจ แต่ดว้ ย การฟื้ นฟูสติปญั ญาอันเป็ นธรรมชาติดงั้ เดิมของมนุษย์ให้ฟ้ ื นกลับคืนมา และด้วยการเปิ ด เผยผลงานของมัน ซึง่ สิง่ เหล่านี้ล ้วนเป็ นเสน่หอ์ นั เป็ นเอกลักษณ์ของศาสนาอิสลาม 1.14 อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ นิยมความสันติและสงบสุข นัน่ คือช่วยลดความ ทุกข์ทรมานและความแปลกแยกในหมู่มนุ ษย์ และยังช่วยพัฒนาและเสริมสร้างสันติสุขที่ ยัง่ ยืน สาส์น อิส ลาม

จากสิง่ ทีก่ ล่าวมาข้างต้น จะเห็นว่าองค์ประกอบหลักของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ทีส่ ามารถจ�ำนแนกออกมาจากลักษณะ 14 ประการได้แก่ ศาสนา ความยุตธิ รรม เสรีภาพ การมีส่วนร่วมของประชาชน วิทยาศาสตร์ นวัตกรรม ความเจริญรุ่งเรือง การต่อต้านความ ยากจน ความรักธรรมชาติ สันติภาพ และความสงบสุข แน่นอนว่าในบรรดาองค์ประกอบ

31


เหล่านี้ ศาสนาและความยุตธิ รรมมีอำ� นาจ และมีอทิ ธิพลเหนือองค์ประกอบอืน่ ทัง้ หมด ซึง่ คุณลักษณะของอิมามทีถ่ กู กล่าวถึงนัน้ ก็เป็ นอีกเงือ่ นไขหนึ่ง ส�ำหรับการบรรลุซง่ึ ศาสนาและ ความยุตธิ รรม ซึง่ จะน�ำเสนอและอธิบายในโอกาสต่อไป 2. ปัจจัยและสิง่ จ�ำเป็ นพื้นฐาน ค�ำถามหลักคือ องค์ประกอบใดบ้างทีจ่ ำ� เป็ นส�ำหรับการก่อตัวของอารยธรรมอิสลาม ยุคใหม่ และอารยธรรมจะถือก�ำเนิดโดยปราศจากองค์ประกอบเหล่านี้ได้หรือไม่? ในทีน่ ้ ี จะกล่าวถึงองค์ประกอบส�ำคัญบางประการ เช่น 2.1 .ความคิดทางศาสนาทีเ่ ป็ นระบบทันสมัยและมีคำ� ตอบให้เสมอ 2.2. วิทยาศาสตร์ในความหมายทัว่ ไปคือ (ความรูแ้ ละความรูเ้ ชิงทดลอง) 2.3. ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม 2.4. มนุษย์เติบโตขึ้นและอยู่ในรูปแบบของอารยธรรม 2.5. แนวคิดนิยมทีเ่ ป็ นหนึ่งเดียวกัน (ภายในโลกอิสลาม) 2.6. ผูน้ ำ� ศาสนาทีม่ คี ุณธรรมและมีความสามารถ 2.7. เสรีภาพ (ระหว่างความยุตธิ รรมและศีลธรรม) 2.8. ความมังคั ่ ง่

สาส์น อิส ลาม

3. วิสยั ทัศน์ของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่

32

ขบวนทัศน์นนั้ มีลำ� ดับชัน้ และมีระดับมุมมองทีแ่ ตกต่างกัน ซึง่ อิสลามให้ความสนใจ เฉพาะวิสยั ทัศน์ในระดับสู ง เนื่องจากการอภิปรายเกี่ยวกับอารยธรรมอิสลามยุคให่ จะ เกี่ยวข้องกับช่วงเวลาทีอ่ มิ ามมะฮฺดยี ์ (อ.) เร้นกาย ดังนัน้ ขบวนทัศน์ทพ่ี เิ ศษจะอยู่ภายใต้ ร่มเงาของอารยธรรมอิสลาม ในยุคสมัยแห่งการปรากฏกายของอิมามมะฮฺดยี ์ (อ.) เท่านัน้ ตามทีไ่ ด้กล่าวไว้ วิสยั ทัศน์ของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่สามารถสรุปได้ดงั นี้


3.1 การบรรลุระดับความสัมพันธ์ และปฏิสมั พันธ์ระหว่างมนุ ษย์ท่ีเหมาะสม ต้องวางอยู่บนพื้นฐานของ ศักดิ์ศรี จริยธรรม ความยุตธิ รรม และสิทธิของพลเมือง ควบคู่ ไปกับการลดความขัดแย้งในสังคม 3.2 พัฒนาและยกระดับจิตวิญญาณส�ำหรับการเติบโต ความสมบูรณ์ และความ เป็ นเลิศทางจิตวิญญาณของบุคคลในสังคมและขจัดอุปสรรคทีส่ ำ� คัญออกไป 3.3 สร้างความเจริญรุ่งเรืองในสังคมโดยใช้ทรัพยากร และสิง่ อ�ำนวยความสะดวก ทีพ่ ระเจ้าทรงประทานให้อย่างเหมาะสม โดยไม่สูญเปล่าและไม่ทำ� ลายสิง่ แวดล ้อม 3.4 ใช้ประโยชน์จากบุคลากรส่วนใหญ่ในสังคม ด้วยสวัสดิการและสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกในระดับบุคคลและสังคม ตามความเหมาะสมและสมเหตุสมผล พร้อมกับลด การกีดกันและขาดการเข้าถึงอย่างจริงจัง 3.5 การเกิดขึ้นขององค์ประกอบที่เหมาะสมในการพัฒนาด้านจิตวิญญาณ ของมนุ ษย์ บนวิถที างของการเติบโตทางจิตวิญญาณและความสมบูรณ์แบบในรู ปแบบ ของวัฒนธรรม ศิลปะ วรรณกรรม และความคิด โดยไม่มคี วามขัดแย้งกับวัตถุแห่ง ความก้าวหน้าและอารยธรรม 3.6 การเกิดขึ้นของสันติภาพในระดับทีเ่ หมาะสม การอยู่ร่วมกันอย่างสันติและ มีมติ รภาพ ความมัน่ คงในด้านความสัมพันธ์ระดับสากล การปฏิสมั พันธ์ของอารยธรรม อิสลามยุคใหม่ การลดระดับการครอบง�ำของสังคมโดยน�ำ้ มือของแนวคิดทีป่ ฏิเสธพระเจ้า และพวกวัตถุนิยม ไปสู่สงั คมอิสลามทีศ่ ิวไิ ลซ์ ณ จุดนี้ในการอภิปราย จ�ำเป็ นต้องพูดถึงประเด็นส�ำคัญอืน่ 3 ประการดังนี้

สาส์น อิส ลาม

1. อารยธรรมอิสลามยุ คใหม่ จะยึดสายกลางไม่โน้มเอียงไปสู่การครอบง�ำ ที่แข็งกร้าวและอ่อนนุ่ ม ความแตกต่ างที่สำ� คัญประการหนึ่งระหว่างอารยธรรมอิสลาม ยุคใหม่ กับอารยธรรมแบบไม่นิยมศาสนาคือ อารยธรรมอิสลามยุคใหม่จะไม่ใช้วธิ คี รอบง�ำ มวลมนุษย์ ดังนัน้ ความหมายของการเติบโตในโลกาภิวตั น์สำ� หรับอารยธรรมนี้จงึ แตกต่าง จากอารยธรรมแบบไม่นิยมศาสนาโดยสิ้นเชิง

33


2. ความเป็ นไปได้ในการตระหนักถึงระเบียบทางการเมืองของรัฐ ชาติพนั ธ์ ในอารยธรรมอิสลามยุคใหม่คือค�ำตอบของค�ำถามพื้นฐานทีว่ ่า อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ จ�ำกัดตัวเองอยู่ในกรอบของรัฐ ประชาชาติ หรือวางแผนทีจ่ ะเปลีย่ นแปลงกรอบของรัฐและ ประชาชาติ? ส�ำหรับค�ำถามนี้สามารถกล่าวได้ว่า ในวันนี้ในช่วงยุคการเร้นกายของอิมาม มะฮฺดยี ฺ (อ.) อาจไม่สามารถบรรลุลำ� ดับขัน้ ทางการเมืองสูงสุดของรัฐ หรือประชาชาติในโลก อิสลามได้อย่างสมบูรณ์แบบ แต่ดูเหมือนว่าด้วยการวางแผนและการอออกแบบทีล่ ำ�้ สมัย ด้วยการแต่งตัง้ ผูน้ ำ� แทนรัฐบาล ก็จะสามารถก�ำหนดระเบียบทางการเมืองใหม่ ในฐานะผูน้ ำ� ประชาชาติในโลกอิสลามได้ และขบวนการทีส่ ามารถสร้างความเข้าใจภาพลักษณ์เช่นนี้ได้ ก็คอื ชัยชนะของการปฏิวตั อิ สิ ลาม 3. ความแตกต่างระหว่างอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ กับอารยธรรมของมะฮ์ดะวี (อิมามมะฮ์ดยี )์ ประเด็นหลักคืออารยธรรมมะฮฺดะวี อันเป็ นเป้ าหมายสูงสุดของอิสลามซึง่ เกี่ยวกับ การสร้างอารยธรรมนัน้ จะสัมฤทธิ์ผลได้ดว้ ยการปรากฏตัวของอิมามมะฮฺดยี ฺ (อ.) และความ ช่วยเหลือพิเศษจากพระเจ้าเท่านัน้ ค�ำอธิบายทีช่ ดั เจนคือ หากสังคมอิสลามพยายามทีจ่ ะ พิชติ ยอดเขาสูงอันมากมาย ซึง่ การพิชติ ยอดสูงสุดเหล่านี้จะเกิดขึ้นในยุคของการปรากฏกาย ของอิมามแห่งยุคสมัยเท่านัน้ ทัง้ นี้อารยธรรมอิสลามก่อนการปรากฏกายของอิมามมะฮ์ดี (อ.) จะมีความสัมพันธ์เชิงแนวนอนกับอารยธรรมอิสลามหลังจากการปรากฏกาย และ แน่ นอนว่าอารยธรรมอิสลามในช่ วงการเร้นกาย ไม่ว่าจะมีความเชื่อมโยงทางโลกกับ อารยธรรมมะฮฺดะวีหรือไม่ก็ตาม ถือว่ามีบทบาทส�ำคัญในการปูทางไปสู่การปรากฏกาย ของอิมามผูถ้ กู รอคอย ผูท้ จ่ี ะมาปลดปล่อยโลกให้รอดพ้นจากการถูกอธรรม 4. ขัน้ ตอนของการก่อตัวของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่

สาส์น อิส ลาม

ส�ำหรับการก่อตัวของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่มี 8 ขัน้ ตอนส�ำคัญ ซึง่ ขอกล่าวโดย สรุปตามความจ�ำเป็ นดังนี้

34

4.1. การตืน่ ตัวและการค้นหาตัวตนทีแ่ ท้จริง ซึง่ สิง่ นี้คน้ พบได้จากการปฏิวตั อิ สิ ลาม เนื่องจากคุณลักษณะทีส่ ำ� คัญทีส่ ุดของการปฏิวตั คิ อื การตื่นตัวและสร้างตัวตน


4.2. การก่อตัวของกฎหมายในระดับทีด่ ี ระเบียบทีย่ อดเยีย่ มและแม่นย�ำ ไม่วา่ จะ อยู่ในตัวบทของชะรีอตั หรือในพื้นทีแ่ ห่งความว่างเปล่า ความสอดคล ้อง หรือแม้แต่การไม่ ขัดแย้งกับหลักชะรีอตั ซึง่ มีรายละเอียดมากมายส�ำหรับการอภิปราย 4.3. การเข้าถึงความคิดและซอฟต์แวร์แห่งอารยธรรม นัน่ คือความคิดทีส่ อดคล ้อง กันและเป็ นประโยชน์ สามารถสร้างแผนงานทีย่ ง่ิ ใหญ่สำ� หรับอารยธรรมใหม่ ถึงแม้ว่าจะเป็ น เพียงความหวังในการสร้างอารยธรรมในอนาคต และต้องตอบสนองความต้องการของสังคม อิสลาม ในภาวะแห่งความซับซ้อนก็ตาม 4.4. การก่อตัง้ รัฐบาลที่สร้างอารยธรรม โดยมีมมุ มองว่าใช่ว่ารัฐอิสลามทุกรัฐ จะสามารถสร้างอารยธรรมขึ้นได้ 4.5. การมีส่วนร่วมทางสังคมทีก่ ระตือรือร้นและสูงสุด ซึง่ มีรูปแบบ องค์ประกอบ และข้อก�ำหนดทีช่ ดั เจน 4.6. ความก้าวหน้าในทุกด้านของระบบแบบก้าวกระโดด ซึง่ ในทีน่ ่ีเน้นย�ำ้ อย่างยิง่ ในความก้าวหน้าแบบก้าวกระโดด เพราะความก้าวหน้าตามปกติของสังคมอิสลาม ไม่ได้ทำ� อยู่บนวิถแี ห่งสร้างอารยธรรม 4.7. การขยายตัวภายนอก และการมีอำ� นาจในการแข่งขันกับอารยธรรมของคู่แข่ง ซึง่ ในขัน้ ตอนนี้สงั คมอิสลามได้บรรลุขดี ความสามารถทีจ่ ำ� เป็ น ในการแข่งขันกับอารยธรรม ทีย่ ง่ิ ใหญ่ และกลายเป็ นคู่แข่งกันอย่างเต็มที่ 4.8. การก�ำเนิดอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ซึง่ ตัวของอารยธรรมเองมีสถานะทีไ่ ม่ หยุดนิ่งต่อการเติบโต และสามารถก้าวผ่านจากระดับหนึ่งไปสู่อกี ระดับหนึ่งได้ สรุป-ผลลัพธ์ สาส์น อิส ลาม

จากสิง่ ทีอ่ ธิบายในข้างต้น สามารถสรุปได้วา่ การปฏิวตั อิ สิ ลามมีศกั ยภาพพอใน การจัดหาเงือ่ นไขทีจ่ ำ� เป็ นส�ำหรับการเริ่มต้นอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ และอารยธรรมนี้ถอื ได้ว่าเป็ นคู่แข่ง และเป็ นทางเลือกให้กบั อารยธรรมตะวันตกสมัยใหม่ ประเด็นส�ำคัญคือ ความเข้าใจที่เป็ นจริงเกี่ยวกับอารยธรรม และความซับซ้อนตลอดจนความแตกต่ าง

35


สาส์น อิส ลาม

ทางพื้นฐานระหว่างอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ กับอารยธรรมแบบไม่นิยมศาสนา ตลอดจน กระบวนการและแนวทางการก่อตัวอย่างค่อยเป็ นค่อยไป ทัง้ นี้อารยธรรมอิสลามจะเกีย่ วข้อง กับยุคแห่งการเร้นกาย ร่มเงาแห่งความจ�ำเป็ นและเงือ่ นไขของยุคแห่งการเร้นกายจะปกคลุม สิง่ นี้ดว้ ย อย่างไรก็ตามความเป็ นเหตุเป็ นผลทางการเมือง และแก่นแท้ของสิง่ นี้คอื หลักค�ำ สอนของอิมามัต ซึ่งในยุคของการเร้นกายนี้ ถูกเรียกว่า “วิลายะตุลฟะกีฮแ์ ละระบอบ ประชาธิปไตยแบบศาสนา” ซึง่ สามารถสร้างเงือ่ นไขพิเศษส�ำหรับการสร้างอารยธรรมอิสลาม ยุคใหม่ เมือ่ เทียบกับอารยธรรมทางประวัตศิ าสตร์อสิ ลามในหลายศตวรรษทีผ่ า่ นมา และยัง สามารถน�ำเสนอศักยภาพอันเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะตัวจากแนวคิดอิสลาม ซึง่ ก่อนหน้านี้สงั คม อิสลามถูกกีดกัน

36

อ้างอิง 1- อัลกุรอาน 2- นะห์ญุลบะลาเฆาะห์ 3- ฟะรอซ วะฟุรูด ฟิ กร ฟัลซาฟี ,ฆุลามฮุเซ็น อิบรอฮีมยี ์ ดีนานี ส�ำนักพิมพ์ฮกิ มัต วะ ฟัลซาเฟห์ อิหร่าน เตะหะราน 1395 4- อิลาล อินฮิฏอฏ มุสลีมนี , อาลี อิลาฮีย ์ ตะบาร์ ส�ำนักพิมพ์ นัชเรมาอารีฟ เตหะราน 1391 5- ฟะรอซ วะฟุรูด ฟิ กร มัชรูฏอ็ ห์ , ซัยยิด มุฮมั มัด ตะกะวีย ์ ส�ำนักพิมพ์มฏุ อลิอาต ตารีค มะอาศีร อิหร่าน เตหะราน 1384 6- กอวิช ฮอเย ตอเซะห์ ดัร บาบ โรซสิกอร์ ศอฟาวีย ์ ส�ำนักพิมพ์อาดียาน เมืองกุม 1381 7- มัจญมุเอห์ มะกอลาต นุโคสตีน ฮัฟเตห์ อิลมีย ์ ตะมัดดุน เนวีนอิสลามีย ์ ส�ำนักพิมพ์ สาธารณสมบัติ เตหะราน 1396 8- มนุษย์ 250 ปี , ซัยยิด อาลี คาเมเนอี ส�ำนักพิมพ์ญฮิ าดี ศอบา เตหะราน 1391 9- กอร์กรั ด์ นะศารีเยะห์ อักลอนียตั ซียอซีย ์ ดัร อิงกิลอบ อิสลามีย ์ ,ซัยยิด มะห์ดี มูซา วีย ์ เนยอ 1396 10- ตารีคตะมัดดุน วะ ฟัรแฮ็งค์ ญะฮอน เล่ม 2 , อับรอฮะมุซ โดรอตีย ์ ส�ำนักพิมพ์


ตัรเฮห์นู เตหะราน 1382 11- ฟอยอน ตารีค สุกูเตฆัรบ์ วะ ออคอเซ อัศเร เซวุม, มัสอูด ราฏาวี ส�ำนักพิมพ์ชะฟี อยี ์ เตหะราน 1381 12- เซนเดฆอนีย ์ อิมามศอดิก (อ) ,ซัยยิดญะอฺฟรั ชะฮีดยี ส�ำนักพิมพ์ฟรั แฮ็งค์อสิ ลามีย ์ เตหะราน 1393 13- ญันเบช ตะศ็อฟรุฟ วอลสตรีท , มุฮมั มัดอาลี และบีชนั ไฟรุส วารสารมุฏอลิอาต ญะฮอน 1391 14- ฟัลซาเฟห์ ตะมัดดุน นะวีน อิสลามีย ์ , ริฏอ ฆุลามีย ์ ส�ำนักพิมพ์ซูรอฮ์เมหร์ เตหะราน 1396 15- ชิสตีย ์ อักลอนียตั , อาลีรฏิ อ กออิมยี ์ เนยอ วารสารวิชาการ-การวิจยั เซหน์ ฉบับที1่ 7 ปี 1383 16- วัซอียตั ฮุกูก บะชัร ดัร อเมริกา , เตหะราน 1395 17- ตะมัดดุนอิสลามี ดัร กัรน์ ชอฮอรุม ฮิจรีย ์ , อดัมส์ ส�ำนักพิมพ์ อะมีรกะบีร เตหะราน 1388 18- ซัยร์ ดัร ซีเรห์ อะอิมมะห์ อัตฮาร์ , มุรตะฏอ มุฏอ็ ฮารีย ์ ส�ำนักพิมพ์ ศ็อดรา เตหะราน 1372 19- ตะมัดดุน อิสลามีย ์ ดัร อัศร์ อับบาซียอน, มุฮมั มัด กอซิม มักกีย ์ , ส�ำนักพิมพ์เซมัต เตหะราน 1381 20- อักลอนิยาต วะ เซนเดฆีย ์ อักลอนีย ์ , มุศตอฟา มะลากียอน 1390 21- ตารีค ตะฮะวุลาต ซียอซีย ์ อิหร่าน, มุซา นะญาฟี , ส�ำนักพิมพ์มตุ อลิอาตตารีคมุอาศีร ์ อิหร่าน 1391 22- นะซารีเยะห์ อันดีเชหื มุดวั เวน ,มะห์ดี ฮาดาวีย,์ วารสารอิลมีย ์ ฟะชูฮชิ ยี ์ กิบซาต ฉบับ ที่ 7 1377

สาส์น อิส ลาม

37



สถานภาพและบทบาทของการปฏิวตั อิ สิ ลาม บนวิถที างของการสร้างอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ฮุเซน เฮชบะรีย ์ 1 มุฮมั มัด บาเก็ร โครรัมชอด 2 มุฮมั หมัดอาลี ประดับญาติ3 บทคัดย่อ การเกิดขึ้นของการปฏิวตั อิ สิ ลามแห่งอิหร่าน ท�ำให้เกิดความเปลีย่ นแปลงทางการ เมือง สังคม และวัฒนธรรม โดยการเสริมสร้างรากฐานของอารยธรรมอิสลามได้นำ� ไปสู่การ เติบโตและการฟื้ นฟูอารยธรรมนี้ บทความนี้ใช้การวิเคราะห์เนื้อหาเชิงคุณภาพ เพือ่ ตอบค�ำถามว่าการปฏิวตั อิ สิ ลาม โดยพื้นฐานแล ้วมีบทบาทอะไรในการสร้างอารยธรรมใหม่ ? องค์ประกอบทีม่ อี ทิ ธิพลนี้คอื อะไร? ผูว้ จิ ยั สันนิษฐานว่าการปฏิวตั ิอสิ ลามได้วางอนาคตทีส่ ดใสไปสู่ความรุ่งเรืองของ อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ เนื่องจากในช่วงชีวติ อันล�ำ้ ค่าของการปฏิวตั นิ ้ ี ได้ผา่ นอุปสรรคและ ความท้าทายมากมายทีศ่ ตั รูได้สร้างขึ้น เพือ่ ต่อต้านมันโดยสามารถพึง่ พาทรัพยากรมนุษย์ และเครื่องมือ รวมทัง้ การใช้ปจั จัยและองค์ประกอบในการสร้างอารยธรรม เพือ่ เป็ นพื้นฐาน ส�ำหรับการฟื้ นฟูและสร้างอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ในสองส่วนทัง้ ในส่วนฮาร์ดแวร์และ สาส์น อิส ลาม

1  .นักศึกษาปริญาเอกสาขาการจัดการวัฒนธรรมเชิงกลยุทธ์ 2  . รองศาสตราจารย์ มหาวิทยาลัยอัลลามะฮ์ เฏาะบาเฏาะบาอีย ์ 3  . ปริญญาโท รัฐประศาสนศาตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม.

39


ซอฟต์แวร์ ดังนัน้ จึงสามารถคาดหวังได้วา่ ผลทางการศึกษานี้ แสดงให้เห็นถึงบทบาทของ การปฏิวตั อิ สิ ลามในนิยามของความยุตธิ รรม สวัสดิการ ความก้าวหน้า และความมันคง ่ ที่ เหมาะสมกับสถานการณ์ในปัจจุบนั และด�ำเนินการและติดตามการสร้างอารยธรรมอิสลาม บนพื้นฐานของการเมือง และการเรียกร้องสิทธิ ด้วยการน�ำเสนอและแสดงสัญลักษณ์ของ อารยธรรม การปฏิวตั อิ สิ ลามได้จดั เตรียมและน�ำเสนอบริบททางวัฒนธรรม เพือ่ ท�ำให้เกิด อารยธรรมและการแสวงหาอารยธรรมแห่งมนุษย์และพระเจ้า พร้องทัง้ ยังน�ำเสนอว่าจุดเชือ่ ม ต่อของทุกศาสนา วัฒนธรรมคือเอกลักษณ์อนั ศักดิ์สทิ ธิ์และการปฏิวตั ภิ ายในนัน้ ค�ำส�ำคัญ : การปฏิวตั อิ สิ ลาม , อารยธรรมอิสลาม , การฟื้ นฟูศาสนา , องค์ประกอบ ของอารยธรรม

บทน� ำ

สาส์น อิส ลาม

อิสลามซึง่ มีพนั ธกิจสากลในระดับโลกตัง้ แต่เริ่มแรก จนปัจจุบนั ก็ยงั คงอยู่ในพันธ กิจดังกล่าวถึงแม้ว่าเวลาจะผ่านมา 14 ศตวรรษแลว้ ก็ตาม เนื่องจากปรัชญาแห่งศาสนา อิสลามคือ การชี้นำ� ชาวโลกทัง้ มวล ท่านศาสดาประสบความส�ำเร็จในการปฏิบตั พิ นั ธกิจดัง กล่าว โดยได้ใช้เวลาไม่ถงึ ศตวรรษในการก่อตัง้ อาณาจักรอิสลามทีย่ ่งิ ใหญ่ และด้วยแรง บันดาลใจจากหลักการและคุณลักษณะของศาสนาอิสลาม และวิถชี วี ติ ของท่านศาสดา มุสลิม ก็ประสบความส�ำเร็จเช่นกัน ในเวลาไม่ถงึ ศตวรรษด้วยการก่อตัง้ อาณาจักรอิสลามอันยิง่ ใหญ่ และได้ปกครองพื้นทีส่ ่วนใหญ่ของโลกเป็ นเวลาหลายศตวรรษ (ตอจบัคช์ 99 1381)

40

อารยธรรมอิสลามซึง่ มีตน้ ก�ำเนิดจากคัมภีรอ์ ลั กุรอานก่อตัง้ ขึ้นในยัซริบด้วยปณิธาน อันยิง่ ใหญ่ของศาสดาแห่งศาสนาอิสลาม ด้วยความขยันหมันเพี ่ ยรของชาวมุสลิมได้เข้าครอบ ครองพรมแดนและมีอทิ ธิพลอย่างมาก ต่ออารยธรรมร่วมสมัยทัง้ หลาย แม้มพี ฒั นาการที่ ยิง่ ใหญ่และรุ่งโรจน์มาหลายศตวรรษก็ตาม และจากการได้รบั ผลกระทบจากปัจจัยภายใน และภายนอกเกิดความเสือ่ มถอยลงไปบ้าง แต่วฒั นธรรมทีเ่ กิดจากแนวคิดอิสลาม แม้จะมี การหยุดนิ่งหรือพ�ำทางวิทยาการและการเมืองไปบ้างแต่ก็ยงั ไม่ถกู ลืม ซึง่ ความรูส้ กึ กลับสู่ อิสลามและการฟื้ นฟูอารยธรรมอิสลามเป็ นประเด็นหลักของนักคิดในโลกอิสลามมาโดย ตลอด การเคลือ่ นไหวของอิสลามในช่วงร้อยปี ทผ่ี ่านมา เป็ นการแสดงให้เห็นถึงความรูส้ กึ ที่ มีคุณค่านี้ ซึง่ จุดสูงสุดของมันเห็นได้จากการเคลือ่ นไหวของอิมา่ มโคไมนี (รฎ.) ผลทีไ่ ด้รบั


จากความรูส้ กึ นี้คอื การเสริมสร้างความมันใจในตนเอง ่ การตืน่ ตัวและการมีความหวังในการ ฟื้ นฟูอารยธรรมอิสลาม การสร้างและการเผยแพร่วฒั นธรรมและอารยธรรมอิสลามไม่ได้อยู่ ไกลเกินความเป็ นจริง ซึง่ ความสามารถทางวัตถุและจิตวิทญญานของโลกอิสลามพร้อมถึง ขนาดทีว่ า่ มุสลิมสามารถย้อนกลับมาสู่ความยิง่ ใหญ่อกี ครัง้ ด้วยการกลับมาสร้างองค์ความ รู แ้ ละส่งเสริมให้เข้มแข็ง การสร้างอัตลักษณ์แห่งอิสลาม การใช้ประสบการณ์ในการ เคลือ่ นไหวอิสลามในสมัยท่านศาสดา การลอกแบบการเกิดอารยธรรมอันยิง่ ใหญ่ในเมืองมะ ดีนะฮ์ การสร้างอุดมคติและกฏเกณฑ์ทางอารยธรรมอิสลาม การสร้างความรูส้ กึ อันมีคณ ุ ค่า ในการกลับคืนสู่อิสลามและคุณค่าทางศาสนา และชัยชนะของการปฏิวตั ิอิสลามที่นำ� โด ยอิมา่ มโคไมนี (รฎ.) ทัง้ หมดนี้เป็ นสัญญานแห่งความหวังทีว่ า่ จะได้รบั ชัยชนะของศาสนา อิสลาม และการฟื้ นฟูอารยธรรมอิสลาม นอกเหนือจากปัจจัยพื้นฐานเหล่านี้แลว้ ความ พยายามของนักวิชาการและความเห็นพ้องในทางทฤษฎี และการปฏิบตั ขิ องชนชัน้ น�ำทาง ปัญญา การก�ำหนดนโยบายทีม่ เี หตุผลของสังคมอิสลามในแง่ของความเป็ นเอกภาพของโลก อิสลาม และด้วยความมันใจในตนเอง ่ และความมุง่ มันของชาวมุ ่ สลิมเป็ นปัจจัยทีส่ ามารถ ท�ำให้เกิดแนวความคิดในการพัฒนาอารยธรรมอิสลาม และท�ำให้เกิดการก่ อตัวของ อารยธรรมอิสลามใหม่ให้เกิดขึ้นได้ มุสลิมในประเทศอิสลามจะต้องตระหนักรูถ้ งึ พลังทาง วัตถุและจิตวิญญาณทัง้ หมดของโลกอิสลาม และใช้กลยุทธ์ทช่ี ดั เจนและมีจดุ มุง่ หมาย เพือ่ พัฒนาอารยธรรมอิสลามใหม่ให้เกิดขึ้น การเกิดขึ้นของการปฏิวตั อิ สิ ลามแห่งอิหร่านเกิดขึ้น มา พร้อมกับการหยุดชะงักทางสังคม การเมือง และวัฒนธรรมจ�ำนวนมากได้กลายเป็ นการ เคลือ่ นไหวทีน่ ำ� ไปสูก่ ารพัฒนาในอนาคต การปฏิวตั นิ ้ มี อี นาคตอันสดใสและได้วางแผนความ รุ่งโรจน์ของอารยธรรมอิสลามไว้ เนื่องจากในช่วง 30 ปี ของการปฏิวตั กิ ารใช้ประโยชน์จาก ทรัพยากรมนุษย์ และภูมศิ าสตร์ทอ่ี ดุ มสมบูรณ์ของตนสามารถตระเตรียมฐานส�ำหรับการ สร้าง และการฟื้ นฟูอารยธรรมบนหลักการ เพือ่ รองรับของการปรากฏตัวของอิมามมะฮฺดี (อ.) ในฐานะผูป้ ลดปล่อยและปกครองโลก

สาส์น อิส ลาม

การวิเคราะห์น้ มี วี ตั ถุประสงค์ เพือ่ ระบุสถานภาพและบทบาทของการปฏิวตั อิ สิ ลาม ในการพัฒนาอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ และโจทย์ของผูท้ ำ� การวิจยั คือ สาธารณรัฐอิสลาม แห่งอิหร่านในขบวนทัศน์ของผูก้ ่อตัง้ และผูช้ ้ นี ำ� สูงสุดของการปฏิวตั ทิ ก่ี ล่าวไว้วา่ “เราจะต้อง ก้าวต่อไปในช่วงชีวติ กว่าสามทศวรรษบนเส้นทางแห่งการฟื้ นฟูอารยธรรมอิสลามยุคใหม่”

41


ดัง นัน้ ค�ำ ถามหลัก ก็คือ อะไรคือ บทบาทและจุด ยืน ของการปฏิว ตั ิอิส ลาม ในแนวทาง วิวฒั นาการของอารยธรรมอิสลาม? และนักวิชาการประเมินการท�ำงานของรัฐอิสลามในเรื่อง นี้ไว้อย่างไร ? ระเบียบและวิธวี จิ ยั งานวิจยั นี้ใช้วธิ กี ารวิเคราะห์เนื้อหาเชิงคุณภาพเพือ่ ให้บรรลุเป้ าหมายทีต่ งั้ ไว้ การ วิเคราะห์เนื้อหาในงานวิจยั นี้จดั ท�ำขึ้นเพือ่ ทบทวนและประเมินผลความส�ำเร็จ ทีไ่ ด้รบั ในเรือ่ ง ของการสร้างอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ จากตรงนี้ผูว้ จิ ยั ใช้วธิ รี วบรวมและศึกษาข้อมูลจาก เอกสารทางวิชาการ และการลงพื้นทีว่ เิ คราะห์ขอ้ มูล โดยการศึกษาความส�ำเร็จและความ ก้าวหน้า ของเครื่องมือฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ของสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน รวมทัง้ การจัดท�ำแบบสอบถามและการสัมภาษณ์กลุม่ ผูเ้ ชีย่ วชาญและนักวิชาการ และได้ดำ� เนินการ ตามประเด็นและเนื้อหาทีต่ อ้ งการ เพือ่ ประเมินบทบาทและสภานภาพของการปฏิวตั อิ สิ ลาม ให้แม่นย�ำยิง่ ขึ้น บรรดานักนักคิดและนักวิชาการเชื่อว่าเงือ่ นไขการเกิดอารยธรรมมีพ้นื ฐาน 4 ประการด้วยกันคือ เรื่องเศษฐกิจ รัฐบาล ศิลธรรมและวิทยาการ พื้นฐานทัง้ สีน่ ้ รี วมกับอีก สองประเด็นคือ สวัสดิการทางสังคมและการสร้างเงือ่ นไขในการเกิดขึ้นของอารยธรรมอิสลาม ซึง่ ทัง้ สองถูกก�ำหนดให้เป็ นแกนหลักในการพิจารณาและมีการก�ำหนดตัวบ่งชี้ทส่ี ำ� คัญหลาย ประการส�ำหรับแต่ละแกนในรูปแบบทีจ่ ะสามารถจัดอันดับการด�ำเนินงานของรัฐอิสลามใน แต่ละแกนตามความเห็นของผูต้ อบแบบสอบถาม

สาส์น อิส ลาม

ในการศึกษานี้ขนาดของกลุม่ ตัวอย่างสอดคล ้องกับจ�ำนวนประชากรทางสถิติ และ จ�ำนวนทัง้ หมดทีเ่ ป็ นผูเ้ ชีย่ วชาญและนักวิชการมีจำ� นวนรวม 25 คนเพือ่ ตอบค�ำถามทีว่ า่ “คุณ ประเมินผลการด�ำเนินงานของการปฏิวตั อิ สิ ลามในการพัฒนาอารยธรรมอิสลามเป็ นอย่างไร บ้าง โดยค�ำนึงถึงโครงสร้างพื้นฐานในตัวชี้วดั ต่อไปนี้” มีการกรอกแบบสอบถามการวิจยั อย่าง รอบคอบ และก�ำหนดการประเมินผลการด�ำเนิน การสร้างอารยธรรมของสาธารณรัฐอิสลาม แห่งอิหร่าน

42

ความส�ำคัญและความจ�ำเป็ นของงานวิจยั นี้อธิบายได้ดงั นี้ 1.การวิจยั แสดงให้เห็นถึงสถานะปัจจุบนั ของการด�ำเนินงานของสาธารณรัฐอิสลาม


แห่งอิหร่าน ในด้านอารยธรรมและจุดแข็งของนโยบายและการด�ำเนินงาน ซึง่ เรือ่ งนี้เป็ นเรือ่ ง ส�ำคัญส�ำหรับการร่างแผนงานทีจ่ ำ� เป็ นในอนาคต 2.การท�ำวิจยั นี้ช่วยฟื้ นฟูอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ 3.การวิจยั นนี้ช่วยอธิบายการก่อตัวของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ และท�ำความ เข้าใจเกี่ยวกับปัจจัยทีท่ ำ� ให้เกิดอารยธรรม เพือ่ น�ำไปสู่การด�ำเนินการให้เกิดอารยธรรม 4.การท�ำวิจยั นี้จะอ�ำนวยความสะดวกในการจัดการโครงการขนาดใหญ่น้ ี ให้เป็ น ไปตามทีท่ ่านผูน้ ำ� สูงสุดได้เคยกล่าวไว้วา่ “ชัยชนะของศาสนาอิสลามและการด�ำเนินการตาม อารยธรรมอิสลาม เป็ นค�ำมันสั ่ ญญาจากพระเจ้า ช่วงเวลาเป็ นช่วงเวลาทีเ่ ป็ นประโยชน์และ เหมาะสมส�ำหรับอิสลามแลว้ และการตื่นตัวของอิสลามก�ำลังด�ำเนินอยู่ หากมีการบริหาร จัดการทีด่ ”ี 5.การขาดความรู เ้ กี่ย วกับ การท�ำ งานอย่ า งเป็ น ระบบของรัฐ อิส ลาม ในด้า น อารยธรรมอาจท�ำให้เส้นทางในการสร้างอารยธรรมอิสลามยุคใหม่เบีย่ งเบนหรือล่าช้า พื้นฐานทางทฤษฎีและพื้นฐานการวิจยั การศึกษาของนักวิจยั ระบุวา่ จนถึงขณะนี้ยงั ไม่มงี านวิจยั ทีส่ อดคลอ้ งกันในเรื่อง ของอารยธรรมอิสลามขุคใหม่ มีเพียงการรวบรวมหัวข้อทางทฤษฎีทก่ี ระจัดกระจายไม่เป็ น ระบบ และเห็นได้ชดั ว่ายังไม่มกี ารวิจยั ภาคสนามเลย ดังนัน้ ในการวิจยั ครัง้ นี้หลังจาก รวบรวมเนื้อหา และหัวข้อทางทฤษฎีทงั้ หมดทีเ่ กี่ยวข้องกับอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ และ การท�ำการจ�ำแนกประเภทเพือ่ ให้ทราบสถานะทีแ่ น่นอนของระบบการท�ำงานของอิสลามแล ้ว ได้มกี ารออกแบบแบบสอบถามและสัมภาษณ์ และได้ดำ� เนินการตามวัตถุประสงค์และ ประเด็นการวิจยั อย่างสมบูรณ์ ความหมายของอารยธรรม สาส์น อิส ลาม

เมือ่ มนุษย์คุน้ เคยกับการประดิษฐ์ตวั พยัญชนะ เขาก็จบั ปากกาเขียนความคิดของ เขา และส่งต่อความคิดไปยังชนรุ่นต่อไปจากตรงนี้เองอารยธรรมก็เกิดขึ้น หลังจากนัน้ ค�ำว่า อารยธรรมได้ถูกน�ำไปใช้เรียกการพัฒนาการในแง่มมุ ต่ าง ๆ ของชีวติ มนุ ษย์ (Mojir

43


Sheibani 5 :1337)

สาส์น อิส ลาม

ค�ำว่า “อารยธรรม” ในแง่ภาษาหมายถึงความเป็ นเมือง การยอมรับจริยธรรมของ คนเมือง การถ่ายโอนจากสภาพความรุนแรง และความไม่รูไ้ ปสูส่ ภาวะแห่งความรูแ้ ละความ เป็ นเมือง กล่าวโดยย่อคือการเลือกเอาวิธกี ารและเครื่องมือของเมืองมาใช้ (โญร . เบต้า .653) ในวัฒนธรรมอาหรับค�ำว่า อารยธรรม ซึง่ หมายถึงการปรากฏตัว (อารยธรรมของเมือง ทีเ่ ป็ นพิธกี รรม) ถูกใช้เป็ นค�ำตรงกันข้ามกับค�ำว่า บิดาวัต (ชีวติ ชนบท) (ซะมัคชะรีย ์ . 1399) ในวรรณคดีเปอร์เซียอารยธรรมหมายถึงความร่วมมือของสมาชิกในสังคมในด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองและการท�ำความคุน้ เคยกับประเพณี และจริยธรรมของเมือง (มุอีน .1375.1139) ค�ำว่าอารยธรรมหมายถึงขัน้ ตอนบางประการของการเปลีย่ นแปลงทางสังคม (นะบะวีย ์ 9.1373) Ibn Khaldun เรียกสถานะการรวมตัวเป็ นสังคมของมนุษย์วา่ อารยธรรม (อิบนิคอลดูน 73.1362) นักวิชาการบางท่านกล่าวว่าอารยธรรมเป็ นชุดของปัจจัยทางจิต วิญญาณและวัตถุ ทีส่ ร้างโอกาสให้กบั สังคมและโดยการบูรณาการพื้นทีข่ องชีวติ ให้เกิดความ ร่วมมือทีจ่ ำ� เป็ นส�ำหรับการเติบโตกับการพัฒนาสังคม (วิลายะตีย ์ 29.1380) ตามทัศนะ ของ Will Durant อารยธรรมคือการแสดงให้เห็นถึงระเบียบสังคมและการยอมรับความเป็ น ไปได้ของความคิดสร้างสรรค์ทางวัฒนธรรม (ดูแรนท์ )3.1365จากข้อมูลของลูคสั เฮนรี อารยธรรมเป็ นปรากฏการณ์ท่ีเกี่ยวพันกันซึ่งครอบคลุมเหตุการณ์ทางสังคมเศรษฐกิจ การเมืองและแม้แต่งานศิลปะและวรรณกรรม (ลูคสั )7.1366ซามูเอลฮันติงตัน : ​​อารยธรรม คือกลุม่ วัฒนธรรมทีส่ ูงทีส่ ุดและเป็ นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมทีก่ ว้างขวางทีส่ ุ ด (ฮันติงตัน )47.1374หากมองในมุมมองที่ครอบคลุมแลว้ ค�ำว่าอารยธรรมมาจากรากศัพท์ของค�ำว่า (Medina) (Mudun) และ (Madanit) หมายถึงการออกจากสภาพความเป็ นชนบทและก้าว ไปสูก่ ารสร้างสถาบันทางสังคมและน�ำไปสูก่ ารพัฒนา อ�ำนาจอธิปไตย / สถาบันการปกครอง / ความเป็ นระเบียบเรียบร้อย / ความเป็ นเมือง / การก้าวไปสูค่ ณ ุ ธรรมชัน้ สูงของมนุษย์ เช่น มีการมีความรู แ้ ละศิลปะเป็ นสัญญาณของอารยธรรมทางสังคมและความเป็ นเลิศทาง วัฒนธรรม

44

ส่วนประกอบของอารยธรรม

การสร้างและการส่งเสริมอารยธรรมได้รบั อิทธิพลจากองค์ประกอบและปัจจัยบาง


ประการซึง่ ปัจจัยส�ำคัญทีส่ ุด ได้แก่ : 1.ระบบคุณค่า อารยธรรมเป็ นผลมาจากการเคลื่อนไหวทางวิวฒั นาการของมนุ ษย์ และเป็ น ประสบการณ์ทางวัตถุและจิตวิญญาณของมนุษย์ มนุษย์อาจตอบสนองความต้องการทาง วัตถุของอารยธรรมผ่านประสบการณ์ และทางปัญญา แต่มนุษย์ไม่สามารถเติมเต็มความ ต้องการทางจิตวิญญาณทีเ่ ป็ นรากฐานของชีวติ และเป็ นมิตพิ ้นื ฐานทีส่ ดุ ของอารยธรรมมนุษย์ ได้ดว้ ยประสบการณ์และปัญญาทีม่ ขี อบเขตจ�ำกัด แต่สง่ิ นี้ได้นำ� มนุษย์ไปสูค่ ำ� สอนของศาสนา ดังนัน้ อารยธรรมมีตน้ ก�ำเนิดมาจากพระเจ้า-มนุษย์ เช่นเดียวกับทีค่ วามคิดสร้างสรรค์ของ มนุษย์เป็ นสาเหตุของการเฟื่ องฟูของอารยธรรม แต่บทบาทของค�ำสอนทางศาสนาได้ทำ� ให้ อารยธรรมเกิดขึ้น และท�ำให้อารยธรรมสูงส่งขึ้นจึงมีความส�ำคัญมากกว่า หากอารยธรรม หมายรวมถึงความเชื่อ กฎหมาย องค์กรทางสังคม จริยธรรม ปรัชญา ศิลปะ วรรณกรรม วัฒนธรรม และวิธปี ฏิสมั พันธ์ของมนุษย์กบั สิง่ แวดล ้อมรอบตัวแล ้ว ศาสนาก็มบี ทบาทพื้น ฐานในทุกเรื่องเหล่านี้ทงั้ หมด การวิจยั ทางมนุ ษย์วทิ ยาและประวัตศิ าสตร์แสดงให้เห็นว่า ศู นย์กลางของศาสนาและศาสนสถานเป็ นศู นย์กลางของเมืองในยุคแรกๆ ซึ่งบ่งบอกถึง บทบาทโดยตรงของศาสนาในการเสริมสร้างอัตลักษณ์ (อัลยาเดะฮ์ 1375/371) สามารถกล่าว ได้วา่ ศาสนาและความศรัทธาเป็ นศูนย์กลางของอารยธรรมทุกอารยธรรม ราวกับว่ามันคือ วิญญาณอยู่ในร่างของสังคม หมายถึงอารยธรรมเข้ากันได้และด�ำรงอยู่ในทุกดินแดนและ อยู่กบั ทุกเผ่าพันธุ ์ ส่วนในดินแดนทีม่ อี งค์ประกอบทางวัตถุ และจิตวิญญาณของอารยธรรม สอดคล ้องกัน การพัฒนาสังคมทีม่ อี ารยธรรมจะง่ายดายขึ้น สังคมทีต่ อ้ งการความเป็ นอารยะและความศิวไิ ลซ์ ในเบื้องแรกจะต้องบรรลุสู่การ จัดตัง้ ระบบคุณค่าทีเ่ ป็ นเกณฑ์วดั สิง่ ทีด่ แี ละไม่ดกี ่อน (Qutb 1369/123) เพราะอารยธรรม ไม่ใช่ผลผลิตจากความคิดของเราทีม่ ตี ่อบุคคลหรือประเทศใดประเทศหนึ่ง แต่เกิดขึ้นจาก พื้นฐานของการมีความเชื่อร่วมกันของผูค้ น (ศุบฮานีย ์ 1379/367) เมือ่ พิจารณาถึงบทบาทของสองปัจจัยคือ ความสามัคคีและความมันคงในการสร้ ่ าง

สาส์น อิส ลาม

2.การเป็ นสังคมเมือง

45


อารยธรรม และความยัง่ ยืนของอารยธรรม การเป็ นเมืองก็ถอื เป็ นองค์ประกอบส�ำคัญของ อารยธรรม ตราบใดทีส่ งั คมไม่มวี ญิ ญานความเป็ นเมือง ความสามัคคีและอารยธรรมจะไม่ เกิดขึ้นแน่นอน (ดูแรนท์ 66/3.1365) หมายความว่า ความมันคง ่ ความสามัคคีและอารยธรรม จะเกิดขึ้นในชีวติ ในเมืองเท่านัน้ (วิลายะตีย ์ 20.1383) หรือกล่าวได้อกี นัยหนึ่งว่า อารยธรรม เป็ นผลมาจากกิจกรรมของผูค้ นในเมือง (นะวาอีย ์ . 1391.195) 3.กฏหมายและระบบกฏหมาย บทบาทของกฎหมายและกฏหมายในการท�ำให้เกิดอารยธรรมมีความโดดเด่นมาก กฎหมายเปรียบเสมือนเลือดทีใ่ หลเวียนอยู่ในเส้นเลือดของสังคม ส่วนความเข้มแข็งของ สังคมและความยัง่ ยืนของอารยธรรมขึ้นอยู่กบั กฎหมายทีด่ ี และการเคารพกฏหมายของ บุคคลในสังคม มิฉะนัน้ สังคมจะไม่เกิดขึ้นและไม่สามารถน�ำไปสู่การสร้างอารยธรรมได้ 4.รัฐบาล รัฐบาลหมายถึงสถาบันและองค์กรทีเ่ กิดขึ้นภายใต้กฎหมาย เพือ่ บริหารประเทศ บทบาทของผูน้ ำ� ทีเ่ ป็ นหัวหน้ารัฐบาลมีความโดดเด่น การด�ำรงอยูข่ องกฎหมายกับรัฐบาลเป็ น เงือ่ นไขทีจ่ ำ� เป็ นส�ำหรับสังคมและอารยธรรม แต่กย็ งั ไม่เพียงพอ สังคมจะมีระเบียบและบรรลุ สู่อารยธรรมทีต่ อ้ งการได้ เมือ่ มีผูน้ ำ� ทีม่ สี ติ มีความรูแ้ ละยึดมันในหลั ่ กการของสังคม เพือ่ ให้ผูค้ นสามารถเริ่มต้นการเคลือ่ นไหว และมีววิ ฒั นาการด้วยความร่วมมือและความช่วย เหลือตามการน�ำของเขา อ�ำนาจอธิปไตยเป็ นเงือ่ นไขจ�ำเป็ นส�ำหรับรัฐในการเกิดขึ้น และการ ท�ำให้อารยธรรมสูงส่งขึ้น เนื่องจากรัฐบาลทีม่ อี ำ� นาจเท่านัน้ จะสามารถแก้ปญั หาความท้าทาย ทัง้ ภายนอกและภายใน ทีค่ กุ คามอารยธรรมและวัฒนธรรม โดยการสร้างโอกาสในการสร้าง อารยธรรมให้เกิดขึ้น

สาส์น อิส ลาม

อารยธรรมอิสลาม:

46

ความหมายของอารยธรรมอิสลาม ไม่ได้หมายถึงอารยธรรมของชาติหรือชนชาติ ใดชนชาติหนึ่ง แต่เป็ นอารยธรรมของประเทศอิสลาม ซึง่ หมายรวมถึงชาวอาหรับ ชาวอิหร่าน ชาวเติรก์ และอืน่ ๆ (ศูนย์ศึกษาและวิจยั วัฒนธรรม /1373) สิง่ ทีเ่ หมือนกันของชนเผ่าเหล่า นี้คอื “ศาสนา” และศาสนาทีเ่ ป็ นทางการก็คอื ศาสนาอิสลาม ภาษาทีใ่ ช้ถา่ ยทอดความรูแ้ ละ


วรรณกรรมคือภาษาอาหรับ (บอร์ตเวิรล์ 7/1337) อารยธรรมอิสลามสามารถแบ่งออกเป็ น 2 ยุค คือยุคช่วงเริม่ ต้นการเผยแพร่อสิ ลาม และการเกิดขึ้นของอิสลามในคริสต์ศตวรรษที่ 7 และด�ำเนินต่อไปจนถึงการล่มสลายของ แบกแดดไปยังฮูลากู ช่วงทีส่ องเริ่มจากยุคกลางศตวรรษทีส่ บิ แปดด้วยการยอมรับอิสลาม ของชาวมองโกล และการจัดตัง้ รัฐบาลซาฟาวิดและออตโตมัน (กุรบานีย ์ เบต้า )6แต่จดุ ประสงค์ของอารยธรรมอิสลามในบทความนี้คอื ช่วงแรกอันเป็ นช่วงระยะเวลาทีส่ ุกงอมของ ยุคอุมยั ยะฮ์ในซีเรีย และในยุครุ่งโรจน์ของยุคอับบาซียท์ ม่ี ศี ูนย์กลางอยู่ทแ่ี บกแดด ในช่วง เวลาประมาณคริสตศักราช 1258-750 และในช่วงสมัยการปกครองของบนีอมุ ยั ยะฮ์ ในอัน ดาลูเซีย (สเปน) ในปี คริสตศักราช 755 – 1492 (ฮิญาซีย ์ เบต้า 140) การศึกษาแผนที่ทางประวัติศาสตร์อิสลาม และขัน้ ตอนที่ศาสนาอิสลามแพร่ กระจายไปทัวโลกแสดงให้ ่ เห็นว่า ศาสนาอิสลามครองอ�ำนาจมายาวนานในดินแดนส่วนใหญ่ ในวันนัน้ และได้ปกครองพื้นทีส่ ่วนใหญ่ของทวีปเอเชีย แอฟริกาและบางส่วนของยุโรป (กุ รบานีย ์ 18.1374) อังเดรมิเกลเขียนเกี่ยวกับพื้นทีท่ างภูมศิ าสตร์ของอารยธรรมอิสลามว่า : วันหนึ่งมี นักภูมศิ าสตร์ชาวอาหรับในยุคกลางได้ตดั สินใจทีจ่ ะให้คำ� จ�ำกัดความทีเ่ หมาะสมของดินแดน อิสลามและทะเลทรายโดยรอบ ดังนัน้ เขาจึงแบ่งดินแดนรัฐอาหรับออกเป็ น 2 ส่วนได้แก่ ซาอุดอี าระเบียและซีเรียและรัฐทีไ่ ม่ใช่อาหรับทีร่ วมถึงอิหร่านด้วย ค�ำจ�ำกัดความนี้แม้จะมี ข้อบกพร่อง แต่ก็เป็ นหนึ่งในข้อมูลหลักในการแบ่งพื้นทีใ่ นดินแดนอิสลาม (ไมเคิล -20 21.1381) พื้นทีเ่ หล่านี้เชื่อมต่อกันด้วยวัฒนธรรมและศาสนา ผูอ้ ยู่อาศัยถือว่าตัวเองเป็ น สมาชิกของอารยธรรมเดียวกัน ซึง่ มีความกว้างใหญ่มศี ูนย์กลางทางศาสนาคือเมืองมักกะฮ์ ส่วนศูนย์กลางทางวัฒนธรรมและการเมืองคือกรุงแบกแดด (กุรบานีย ์ 16.1374) อารยธรรม นี้ได้ใส่ใจและให้ความส�ำคัญกับวิทยาการและความรู ้ และยิง่ ไปกว่านัน้ ได้สร้างมหาวิทยาลัย ทีเ่ ก่าแก่ทส่ี ุดในโลก และด้วยการรวบรวมศาสตร์ต่าง ๆ เข้าไว้ดว้ ยกัน อันเป็ นมรดกทีย่ ง่ิ ใหญ่ทไ่ี ด้รบั การพัฒนาแล ้วให้เป็ นมรดกส�ำหรับมวลมนุษยชาติ สาส์น อิส ลาม

ดังนัน้ จึงกล่าวได้วา่ อารยธรรมอิสลามหมายถึง แหล่งรวบรวมความคิด วิทยาการ ศิลปะ และทักษะฝี มอื ทีไ่ ด้รบั แรงบันดาลใจจากค�ำสอนของศาสนาโดยชาวมุสลิม

47


วิวฒั นาการของอารยธรรมอิสลาม ไม่ตอ้ งสงสัยเลยว่าอารยธรรมอิสลาม เป็ นหนึ่งในอารยธรรมทีม่ คี ่าและรุ่งโรจน์ ทีส่ ุดในประวัตศิ าสตร์ของมนุษยชาติ การส่งเสริมและสนับสนุนในการท�ำความเข้าใจเกี่ยว กับอารยธรรมนี้ ถือเป็ นปัจจัยพื้นฐานในการอยู่รอดของอารยธรรมอิสลาม อารยธรรมนี้ใน ช่วงหลายศตวรรษทีผ่ ่านมา เป็ นอารยธรรมในระดับต้นในทุกด้าน อารยธรรมนี้เกิดชึ้นช่วง ทีโ่ ลกตกอยู่ในความมืดมน แม้วา่ ก่อนหน้านัน้ อารยธรรมต่าง ๆ ถือเป็ นเรื่องมหัศจรรย์ ไม่ ว่าจะเป็ นอารยธรรมอิหร่าน โรม และกรีก ต่างได้ปรากฏโฉมหน้าไปแล ้วทัวโลก ่ และถึงแม้ว่า อารยธรรมอิสลามจะเป็ นสิง่ ใหม่ แต่กม็ เี อกลักษณ์เฉพาะตัวทีม่ าเผยแพร่ให้ชาวโลกได้รบั รู ้ อารยธรรมอิสลามถือได้วา่ เป็ นผลผลิตของ 2 มิติ ซึง่ มิตหิ นึ่งเกิดจากค�ำสอนอิสลาม ทีไ่ ด้แพร่กระจายตามผูเ้ ป็ นมุสลิมออกไป ต้นก�ำเนิดของอารยธรรมอิสลามมิตนิ ้ ีคือ อัลกุ รอานและซุนนะฮฺ อีกมิตหิ นึ่งของอารยธรรมอิสลามคือ มรดกทางอารยธรรมก่อนหน้าซึง่ อยู่ ในอาณาจักรของอิสลาม ต่อมาได้รบั การพัฒนาโดยชาวมุสลิม อันเป็ นอนิจสงค์มาจากศาสนา อิสลาม เมือ่ อารยธรรมอิสลามเข้ามามีบทบาทมากขึ้นเมือ่ เทียบกับอารยธรรมก่อนหน้านี้ แต่ไม่ได้หมายความว่าอารยธรรมอิสลามขัดแย้งกับอารยธรรมก่อนหน้า หรือได้รบั อิทธิพล มาจากอารยธรรมก่อนหน้านัน้ เสียทัง้ หมด แต่อาจกล่าวได้วา่ อารยธรรมอิสลามได้ผนวกเอา สิง่ ดีอนั เป็ นความส�ำเร็จ และละทิ้งสิง่ ไม่ดไี ป

สาส์น อิส ลาม

Zarrinkoob กล่าวว่าอารยธรรมอิสลามไม่ได้เป็ นเพียงผูล้ อกเลียนแบบวัฒนธรรม โบราณ หรือเป็ นเพียงการสืบสานจากอารยธรรมก่อนหน้าเพียงอย่างเดียว ทว่าเป็ นผูผ้ สม ผสานและพัฒนาต่อไป (ซัรรีนคูบ 1360/31)

48

อารยธรรมอิสลามก็เหมือนกับอารยธรรมอืน่ ๆ อีกมากมายทีผ่ ่านช่วงเวลาทีเ่ จริญก้าวหน้า และถดถอย สิง่ เหล่านี้เกิดขึ้นในเวลาและสถานทีต่ ่างกันใน Medina / Kufa / Sham / Baghdad และ Cairo / Near Herat, Isfahan, Delhi และ Istanbul บางครัง้ อารยธรรม ก็เจริญถึงจุดสูงสุดและบางครัง้ ก็ตอ้ งเผชิญกับความอ่อนแอและความเสือ่ มโทรม อันเนื่อง มาจากปัจจัยทางสังคม การเมือง วัฒนธรรม เศรษฐกิจหรือแม้กระทัง่ ปัจจัยทางธรรมชาติ


แต่มนั ไม่เคยสูญหายไป ดังนัน้ จึงไม่สามารถกล่าวได้ว่ามันหยุดนิ่ง หรือสิ้นสลายลงโดย สมบูรณ์แล ้ว เพราะแม้วา่ มันจะอยู่ช่วงเวลาทีอ่ ่อนแอ แต่มนั ก็ยงั คงขับเคลือ่ นอยู่ อารยธรรมอิสลามให้ความส�ำคัญกับอัลกุรอานตัง้ แต่แรกเริ่ม และมีมศั นะทีย่ าว ไกลมองข้ามชาติพนั ธ์ และไม่จำ� กัดอารยธรรมให้เป็ นของชนชาติหรือประเทศใดประเทศหนึ่ง ดังนัน้ ในความกว้างใหญ่ไพศาลของอิสลามจึงผสมผสานกลุม่ ชาติพนั ธุต์ ่างเข้าไว้ดว้ ยกันมี ทัง้ อาหรับ อิหร่าน เติรก์ อินเดีย แอฟริกา ฯลฯ และแม้แต่กลุม่ ชาติพนั ธุ ์ Dhimmi จากจุด นี้เองทีท่ ำ� ให้มสุ ลิมไม่วา่ จะเป็ นชนชาติใดต่างคิดว่าตนเป็ นผูป้ ระกาศเผยแพร่ศาสนาอิสลาม ทัง้ สิ้น ประเด็นหลักของอารยธรรมและวัฒนธรรมอิสลามคือ ศาสนาอิสลาม เนื่องจาก สถานการณ์ในช่วงแต่งตัง้ ท่านศาสดามุฮมั มัด (ซ็อลฯ) คาบสมุทรอาหรับเป็ นสถานทีท่ ค่ี วาม เหมาะสมทีส่ ุด ส�ำหรับการประกาศศาสนาอิสลาม เนื่องจากความพิเศษหลายอย่างด้วยกัน (Mohammadi 1390141) ไม่วา่ จะเป็ นการอพยพของศาสดาจากมักกะฮ์ไปยังมะดินะฮ์ การ จัดตัง้ รัฐบาลอิสลามอันเป็ นพื้นฐานหลักส�ำหรับการสร้างอารยธรรมอิสลาม และแหล่งก�ำเนิด ทางประวัตศิ าสตร์ของอารยธรรมอิสลาม รวมทัง้ การอพยพของท่านศาสดาก็เป็ นจุดเปลีย่ น ผันทีส่ ร้างความก้าวหน้าให้แก่อสิ ลาม เพราะการอพยพนัน่ เองช่วยให้ชาวมุสลิมออกจากสภาพ แวดล ้อมทีม่ คี วามกดดัน การกดขีอ่ ธรรมไปสูแ่ ผ่นดินแห่งอิสรภาพ หลังจากการอพยพท่าน ศาสดา (ซ็อลฯ) ได้ก่อตัง้ องค์กรทางการเมืองและการทหาร พร้อมกับประกาศศาสนาอิสลาม ในคาบสมุทรอาหรับออกไปอย่ างกว้างขวาง นับเป็ นการวางรากฐานส�ำหรับการสร้าง อารยธรรมอิสลามในเวลาต่อมา พัฒนาการทางประวัตศิ าสตร์ของอารยธรรมอิสลาม อารยธรรมอิสลามสามารถพิจารณาได้หลายมุมมองของจุดเปลีย่ นแปลง นับจาก ช่วงประวัติศาสตร์อนั เป็ นจุดเริ่มต้น จนกระทัง่ ช่วงเวลาที่อารยธรรมด�ำรงอยู่อย่างมัน่ คง สามารถจ�ำแนกได้ดงั นี้ 1.ช่วงเวลาของการเชิญชวนและการอพยพ สาส์น อิส ลาม

การเขิญชวนสู่ศาสนาอิสลามและการอพยพของท่านศาสดามุฮมั มัด (ซ็อลฯ) และ การก่อตัวของรัฐบาลอิสลามในเมืองยัษริบ (มะดีนะฮฺ) ซึง่ ต่อมาได้รบั การขนานนามว่าเป็ น

49


เมืองของศาสดา และหลังจากนี้ชวี ติ ของชาวมุสลิมจึงกลายเป็ นชาวเมืองทีม่ คี วามสัมพันธ์ ทางสังคม บนพื้นฐานของศาสนาอารยธรรมได้ก่อตัวขึ้น และเกิดการเปลีย่ นแปลงค่านิยม อันถือได้วา่ เป็ นการเกิดขึ้นจากแรงบันดาลใจทางศาสนาและอารยธรรมเมือง 2. ขัน้ ตอนของการเผยแพร่ศาสนาอิสลาม ในยุคนัน้ ศาสนาอิสลามได้รบั การเผยแพร่ออกไปในคาบสมุทรอาหรับ และดินแดน อืน่ ทัง้ ใกล ้และไกลอย่างกว้างขวางอาทิเ่ ช่น เมโสโปเตเมีย อิหร่าน โรม อียปิ ต์ อบิสสิเนีย อินเดีย จีน มัคชิน แอฟริกาเหนือ จนกระทัง่ ดินแดนแถบยุโรป 3. ยุครุ่งเรืองของอารยธรรมอิสลาม การปฏิสมั พันธ์เชิงบวกของชาวมุสลิมกับอารยธรรมเก่าแก่ของโลกในช่วงศตวรรษ ทีส่ องถึงสี่ โดยผ่านการจัดตัง้ โรงเรียน ห้องสมุด การดึงดูดนักคิดและการแปลอันเป็ นแหล่ง ทีม่ าของอารยธรรมใกล ้เคียง ทีน่ ำ� ไปสูก่ ารพัฒนาและความเฟื่ องฟูของอารยธรรมอิสลาม ซึง่ สามารถเห็นได้ในศตวรรษที่หา้ เป็ นต้นไป สิ่งเหล่านี้ถอื เป็ นเรื่องมหัศจรรย์อย่างหนึ่งของ อารยธรรมอิสลามกล่าวคือ การเชือ่ มโยงอย่างแนบแน่นระหว่างวัฒนธรรมและอิรฟาน (รหัส ยนิยม) ในศตวรรษที่ 7 และจุดสูงสุดของศิลปะอิสลามในศตวรรษที่ 12- 9 ในดินแดน จักรวรรดิอหิ ร่าน ออตโตมันและอินเดีย (วิลายะตีย ์ 1383/92)

สาส์น อิส ลาม

4.ยุคแห่งการเสือ่ มถอย

50

การรุกรานของพวกครูเสดอย่างกว้างขวางในรอบ 200 ปี และชาวมองโกลในภาค ตะวันออกของโลกอิสลามประมาณ 300 ปี ท�ำให้เกิดผลกระทบร้ายแรงต่ออารยธรรมอิสลาม แหล่งส�ำแดงอารยธรรมอิสลามในอียปิ ต์และวงเดือนเสี้ยวถูกปล ้นไปโดยพวกครูเสดและใน ทรานโซเซียนาอิรกั และโคราซานโดยพวกมองโกล โดยเนื้อแท้แลว้ ศาสนาอิสลามเป็ นแก่น แท้ของชาวมุสลิม และมีส่วนร่วมในการสร้างอารยธรรม ซึง่ ภัยพิบตั ทิ งั้ ตะวันออกและตะวัน ตก ไม่เพียงแต่จะขัดขวางพลวัตและการเติบโตของอารยธรรมอิสลามเท่านัน้ แต่ยงั สันคลอน ่ ฐานรากของอารยธรรม และท�ำให้อารยธรรมอิสลามต้องหยุดชะงักงันและเติบโตช้าลง 5.การจัดระเบียบของมุสลิม


จากความพ่ายแพ้ครัง้ สุดท้ายของพวกครูเสดในซีเรียและปาเลสไตน์ ด้วยน�ำ้ มือ ของซาลาฮุดดินอัลอัยยูบ(ี 1187.ค / 583.ฮ) และความพ่ายแพ้ของมองโกลด้วยน�ำ้ มือของชน จากอาณาจักรอียปิ ต์ (1260.ฮ) มรดกทางวิชาการและวัฒนธรรมทีห่ ลงเหลืออยู่ในดินแดนก อิสลาม หลังจากถูกท�ำลายลงก็ได้รบั การสถาปนาขึ้นใหม่อกี ครัง้ 6.การรุกรานของนักล่าอาณานิคม การรุกรานของลัทธิลา่ อาณานิคมในช่วงศตวรรษที่ 15 ถึง 19 โดยยุโรป เป้ าหมาย ของพวกเขาคือการตักตวงวัตถุดบิ ราคาถูก เพือ่ ส่งออกไปขายยังตลาดทีม่ ผี ูบ้ ริโภคทัว่ โลก รวมถึงกลุม่ ประเทศอิสลามด้วย การกระท�ำของพวกเขาเป็ นเหตุทำ� ให้อารยธรรมอิสลามได้ รับผลกระทบอย่างรุนแรง และเป็ นอุปสรรขัดขวางการเติบโตของอารยธรรมอิสลาม 7.ชัยชนะของการปฏิวตั อิ สิ ลาม ชัยชนะของการปฏิวตั อิ สิ ลามแห่งอิหร่านภายใต้การน�ำของอิมามโคไมนี (รฎ.) ถือ เป็ นจุดอ่อนไหวทีส่ ุดของขบวนการเคลือ่ นไหวอิสลามในช่วง 100 ปี ทผ่ี ่านมา เนื่องจากเป้ า หมายของผูน้ ำ� แห่งการปฏิวตั คิ อื อิสลามและมุสลิม และท่านไม่เคยละเลยเป้ าหมายของท่าน เลย ท่านอิมามโคมัยนี (รฎ.) จึงเป็ นบุคคลทีท่ รงอิทธิพลชื่อของท่าน ความทรงจ�ำเกี่ยวกับ ท่าน การได้ยนิ ค�ำสอนของท่าน และดวงวิญญาณอันบริสุทธิ์จะท�ำให้เกิดความอบอุ่นใจทุก ครัง้ เมือ่ ร�ำลึกถึงท่าน เจตจ�ำนงอันมันคง ่ ความมุง่ มัน่ ความเพียร ความกล ้าหาญ การรูแ้ จ้ง พลังศรัทธาอันแรงกล ้าของท่านเป็ นทีร่ บั รูโ้ ดยทัว่ ไป (มุเฎาะฮารีย ์ 64และ1375 / 85) ในช่วง การปฏิวตั อิ สิ ลามอิมามโคไมนี (รฎ.) ได้แนะน�ำหลักการและอุดมการณ์ เพือ่ กระตุน้ และเสริม สร้างความเชื่อมันตั ่ วเองให้กบั มวลมุสลิม เพือ่ น�ำไปสู่การตื่นตัวของโลกอิสลาม ซึง่ สิง่ นี้ได้ เป็ นทีป่ ระจักษ์ชดั แก่สายตาประชาโลก ในรูปแบบของรัฐธรรมนู ญหลังชัยชนะของการปฏิวตั ิ อิสลามในอิหร่าน

สาส์น อิส ลาม

การปฏิเสธการแสวงหาอ�ำนาจ การครอบง�ำในทุกด้าน การฟื้ นฟูอดุ มการณ์ของ ประชาชาติมสุ ลิม การสนับสนุนการต่อสูข้ องฝ่ ายสัจธรรม การสร้างความสัมพันธ์กบั รัฐบาล ทีไ่ ม่ฝกั ใฝ่ ฝ่ายใด การให้ความส�ำคัญและสิทธิแก่ชนกลุม่ น้อยทางศาสนาคือ ตัวอย่างของ หลัก การที่ ท่ า นอิ ม ามให้ค วามส�ำ คัญ อย่ า งมาก (รัฐ ธรรมนู ญ อิ ห ร่ า น มาตตราที่

51


154/153/152/14/11/3) ปัจจัยพื้นฐานของการเติบโตและพัฒนาของอารยธรรมอิสลาม ปัจจัยพื้นฐานของการเติบโตและพัฒนาของอารยธรรมอิสลาม หมายรวมถึงส่วน ประกอบที่สำ� คัญอันท�ำให้อารยธรรมนี้กา้ วสู่จุดสู งสุดจนเป็ นเอกลักษณ์ของโลกมาหลาย ศตวรรษ แต่ไม่ตอ้ งสงสัยเลยว่าสาเหตุหลักทีท่ ำ� ให้อารยธรรมอิสลามซบเซาและพบกับความ เสือ่ มโทรม ซึง่ ไม่ควรมองข้ามส�ำหรับการสร้างอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ สาเหตุเหล่านัน้ ได้แก่

สาส์น อิส ลาม

1.อิสลามส่งเสริมเรื่องวิทยาการ

52

อิสลามส่งเสริมและให้ความส�ำคัญเกีย่ วกับความรู ้ และผูร้ ูก้ เ็ ป็ นหนึ่งในเหตุผลหลัก ทีท่ ำ� ให้มสุ ลิมคุน้ เคยกับวัฒนธรรม และความรู ้ ซึง่ ส่งผลให้เกิดการเติบโตด้านอารยธรรม ดังจะเห็นว่ามีคำ� สอนมากมายจากศาสดา (ซ็อลฯ) กล่าวเกี่ยวกับสถานะของความรูแ้ ละการ ให้ความส�ำคัญและใส่ในในความรู ้ ท่านกล่าวว่า “การศีกษาหาความรูเ้ ป็ นสิง่ จ�ำเป็ นส�ำหรับ มุสลิมทัง้ ชายและหญิง” (มัจลิซยี ์ 177/1403/1) ศาสนาอิสลามเกิดขึ้นท่ามกลางสังคมทีเ่ ป็ น อนารยชน ทีผ่ ูค้ นส่วนใหญ่ไม่มคี วามรูอ้ ่านไม่ออกเขียนไม่เป็ น ในฮิญาซยุคนัน้ มีผูร้ ูห้ นังสือ เพียง 17 คนเท่านัน้ (บิลาซะรีย ์ 1398/654) การเปลีย่ นแปลงทางวัฒนธรรมในช่วงเริ่มต้น ของอิสลาม นับว่าเป็ นหนึ่งในความมหัศจรรย์ของประวัตศิ าสตร์ ช่วง 13 ปี ในมักกะฮฺท่าน ศาสดา (ซ็อลฯ) ได้เผยแพร่วฒั นธรรมและความเชือ่ ของอิสลามแก่เหล่าสหายและประชาชน ถึงในระดับทีว่ า่ หลังจากพวกเขาอพยพไปยังมะดีนะฮ์ พวกเขากลายเป็ นก�ำลังหลักในการจัด ตัง้ รัฐบาลอิสลาม นัน่ คือการเปลีย่ นแปลงทางการเมืองและสังคม ระบอบอิสลามก่อตัง้ ขึ้น บนพื้นฐานของการเปลีย่ นแปลงทางวัฒนธรรม ตามทัศนะของ Wayne Durant ทีเ่ ชื่อว่า เป็ นเวลาเกือบ 5 ศตวรรษ (ตัง้ แต่ปีคริสตศักราชที่ 81 - 597) ตรงกับ (ฮิจเราะฮ์ศกั ราชที่ 800 ถึง 1200) ทีร่ ฐั บาลอิสลามยุคนัน้ มีกองก�ำลังเข้มแข็ง มีการขยายอาณาเขตการปกครอง มีการขัดเกลาด้านศีลธรรมและความประพฤติ มีมาตรฐานการครองชีพสูง มีการก�ำหนด กฎหมายทีม่ คี วามยุตธิ รรม มีความสะดวกและมีอสิ ระในการนับถือศาสนา วิทยาการความ รู ้ ศาสตร์แขนงต่างๆ ทัง้ การแพทย์ และปรัชญาอยู่ในระดับต้นๆ ของโลก ในยุคนัน้ ชาวยุโรป ทีย่ งั คงนับถือศาสนาคริสต์ ได้นำ� เอาศาสตร์ของมุสลิมทัง้ ในเรื่องอาหาร ยารักษาโรค อาวุธ


การใช้สญั ลักษณ์พเิ ศษเรื่องครอบครัว ศิลปะ เครื่องมืออุตสาหกรรม การค้า กฎหมาย และ เส้นทางเดินเรือจากมุสลิมไปประยุกต์ใช้ (ดูแรนต์ 1371/433/432) Brifolt กล่าวในหนังสือ The Creation of Humanity ว่า “นี่คอื การมีส่วนร่วมทีย่ ง่ิ ใหญ่ ทีส่ ุดทีอ่ ารยธรรมอาหรับอิสลามได้กำ� เนิดขึ้นบนโลกนี้” (อิกบาล ลาโฮรีย ์ เบต้า 149) 2.อิสระทางความคิด ท่านศาสดา (ซ็อลฯ) ทราบดีวา่ ในสภาพทีถ่ กู กดดันและถูกกดขีข่ ม่ เหง ความคิด ริเริ่มหรือความคิดสร้างสรรค์ ทีจ่ ะก่อร่างสร้างตัวของอารยธรรมไม่อาจเป็ นไปได้ ดังนัน้ ท่าน จึงพยายามทีจ่ ะก�ำจัดบ่วงโซ่ของการเคารพรูปปัน้ บูชา ความเชื่อเรื่องโชคลาง ประเพณีผดิ ๆ ความโง่เขลา การแบ่งชนชัน้ กฎหมายทีอ่ ยุตธิ รรม และการครอบง�ำของทรราช ให้ออกจาก บ่าของมนุษย์ และแทนทีด่ ว้ ยการประกาศอิสลามสาส์นแห่งอิสรภาพให้โลกได้รบั รู ้ เหตุผลประการหนึ่งที่ทำ� ให้มุสลิมก้าวหน้าอย่ างรวดเร็ว ในเรื่องศาสตร์และ วิทยาการก็คอื พวกเขาไม่ได้มอี คติต่อการยอมรับวิชาความรู ้ ทักษะ เทคโนโลยีและศิลปะ กรรม ไม่วา่ จะอยู่ ณ ทีใ่ ด และอยูก่ บั ใครก็ตามพวกเขาจะไขว่คว้าหาความรู ้ ดังนัน้ ขบวนการ แปลวิชาการและต�ำรับต�ำราจึงเริ่มต้นขึ้นด้วยประการฉะนี้ ประกอบกับการใช้ประโยชน์จา กบัยตุลฮิกมะฮ์ (House of Wisdom) มรดกทางวิชาการ วัฒนธรรม และอารยธรรมจึงได้ ถูกเผยแพร่ออกไป ท่านอิมามอะลี (อ.) กล่าวว่า “ความรูท้ แ่ี ท้จริงคือสิง่ ทีส่ ูญหายไปจากผูศ้ รัทธา ดังนัน้ จงเรียน รูว้ ทิ ยาการแม้กระทัง่ จากคนทีห่ น้าซือ่ ใจคด” (นะฮ์ญุลบะลาเฆาะฮ์ ฮิกมัตที่ 80) 3.การปฏิบตั ติ ามจริยธรรมและมีพฤติกรรมแบบอิสลาม

สาส์น อิส ลาม

ท่านศาสดา (ซ็อลฯ) กล่าวถึงการถูกแต่งตัง้ ของท่านว่า “ท่านถูกแต่งตัง้ มาเพือ่ ท�ำให้ คุ ณ ธรรมสมบู ร ณ์” คุ ณ ธรรมคือ มาตรบ่ง ชี้ใ ห้เ ห็น ถึง ความสมบู ร ณ์ข องศี ล ธรรมและ พฤติกรรมอันดีงาม ดังจะเห็นว่าสิง่ ทีแ่ รกทีท่ ่านศาสดา (ซ็อลฯ) ได้กระท�ำหลังจากเดินทาง เข้าสู่มะดีนะฮ์คอื การท�ำสนธิสญั ญาเป็ นพีน่ อ้ งระหว่างมุสลิมชาวมักกะฮ์กบั มะดีนะฮฺ ซึง่ สิง่ นี้ได้สร้างความเป็ นปึ กแผ่นให้เกิดขึ้นในหมูม่ สุ ลิม

53


4.ความร่วมมือและการช่วยเหลือซึง่ กันและกัน ปัจจัยหนึ่งในการเติบโตของอารยธรรมอิสลามคือ ความร่วมมือในการท�ำความดี ซึง่ เป็ นหนึ่งในค�ำสัง่ ของพระมหาคัมภีรอ์ ลั กุรอานทีว่ า่ “และพวกเจ้าจงช่วยเหลือซึง่ กันและกันในเรือ่ งความดี และความซือ่ สัตย์ ไม่ใช่บาป และความอยุตธิ รรม” (ซูเราะฮ์ มาอิดะฮ์ /2) ท่านศาสดา (ซ็อลฯ) ได้ปลุกจิตวิญญาณความร่วมมือในหมูม่ สุ ลิมให้ต่นื ขึ้น และ บรรดามุสลิมต่างช่วยกันสร้างมัสยิดหลังแรก และชาวอันศอรบางคนก็เปิ ดบ้านของพวกเขา เพือ่ ต้อนรับพวกมุฮาญิรนี 5.ความสามัคคีและการมีแนวคิดเดียวกัน อัลกุรอานหลายโองการ ได้เชิญชวนให้มสุ ลิมสมัครสมานสามัคคีดว้ ยการยึดมัน่ ในหลักเตาฮีด (ความเป็ นเอกะของพระเจ้า) และเชิญชวนให้ทกุ คนสร้างความสัมพันธ์อนั ดี กับพระเจ้า ยึดมันสายเชื ่ อกอันศักดิ์สทิ ธิ์ทม่ี นคงของพระองค์ ั่ กุรอานกล่าวว่า “และพวกเจ้า ทุกคนจงยึดมันสายเชื ่ อก (ศาสนา) ของพระเจ้า เพือ่ พวกเจ้าทัง้ หลายจะได้ไม่แตกแยกกัน” ท่านศาสดา (ซ็อลฯ) ท�ำให้เอกภาพและการมีความคิดเห็นทีส่ อดคล ้องกัน บรรลุความส�ำเร็จ ในรูปแบบทีส่ วยงามทีส่ ุด ซึง่ ท่านได้ขนานนามสังคมแห่งศาสนาว่า “อุมมะฮฺ” อันหมายถึง สังคมทีป่ ราศจากสีของชาติพนั ธุ ์ ชนเผ่า และประเทศ พื้นฐานของอารยธรรมอิสลาม ทุกอารยธรรมทีก่ ำ� เนิดขึ้นในสังคมทีแ่ ตกต่างกัน จะประกอบขึ้นด้วยสถาบันทีเ่ ป็ น รูปแบบทัวไป ่ และรูปแบบของการก่อตัง้ อารยธรรมนัน้ อารยธรรมอิสลามก็มพี ้นื ฐานอันเป็ น เสาหลักของอารยธรรมเช่นกัน ซึง่ พื้นฐานทีส่ ำ� คัญเหล่านัน้ คือ สาส์น อิส ลาม

1.รัฐบาล

54

รัฐบาล ถือเป็ นองค์กรทีส่ ำ� คัญทีส่ ุดของอารยธรรมอิสลาม ดังนัน้ การจัดตัง้ รัฐบาล อิสลามในมะดินะฮ์ จึงนับว่าเป็ นองค์กรแรกของอารยธรรมอิสลามทีถ่ กู จัดตัง้ ขึ้น แม้ว่าองค์กร


นี้ยงั ไม่ได้ประกอบด้วยสถาบันการปกครอง แต่รากฐานขององค์กรทัง้ หมดในยุคต่อมา ต่าง มีรากฐานมาจากขัน้ ตอนนี้ทงั้ สิ้น การเผยแพร่คำ� สอนอิสลามทีข่ า้ มผ่านเขตแดนคาบสมุทร อาหรับไปสูภ่ ายนอก ท�ำให้ความจ�ำเป็ นในการปกครองดินแดนเหล่านัน้ ของผูอ้ ยู่อาศัย ได้นำ� ไปสู่การจัดตัง้ หน่วยงานขึ้นมาเพือ่ ท�ำหน้าทีป่ กครองซึง่ เรียกว่า Diwan Divans ใช้ช่อื ทีแ่ ตกต่างกันขึ้นอยู่กบั ประเภทของกิจกรรมดังนัน้ Adeel Divan Kharat หรือ Istifa Divane Barid Divan Essana หรือ Resalan Divangi Yad Chend กับ Divan Mazalm 2. ศูนย์การเรียนรู ้ นอกเหนือจากสถาบันทางสังคมและการเมืองแล ้ว ยังมีสถาบันอืน่ อีกทีส่ ำ� คัญอย่าง ยิง่ และมีบทบาทส�ำคัญในการพัฒนาและเสริมสร้างอารยธรรมอิสลาม นัน่ คือสถาบันวิชาการ และศู นย์กลางการเรียนรู ้ ซึ่งสถาบันการเรียนรู เ้ หล่านี้เกิดจากสถาบันที่แตกต่างกัน ดัง ตัวอย่างต่อไปนี้

ก. มัสยิด

มัสยิดมีบทบาทมากเป็ นพิเศษในฐานะที่เป็ นศาสนสถาน ที่รวมผู ค้ นและจัด พิธกี รรมต่างๆ ในยุคของท่านศาสดา (ซ็อลฯ) มัสยิดยังเป็ นศูนย์กลางทางการเมืองและการ ปกครอง ศูนย์การเรียนรูว้ ชิ าการ ศูนย์การตักเตือนและชี้นำ� ศูนย์กลางแก้ปญั หาความขัด แย้งและข้อพิพาทของบรรดามุสลิม และเป็ นศูนย์กลางทางการศึกษา ในช่วงต้นศตวรรษที่ สองได้เกิดการเปลีย่ นแปลงใหม่ ท�ำให้มสั ยิดมีบทบาทส�ำคัญในด้านการศึกษาเรียนรู ้ ความ เฟื่ องฟูของมัสยิดยังคงด�ำเนินต่อไปจนถึงปลายศตวรรษที่ 3 (มะญอนญี 1419/187) แม้วา่ จะไม่ใช่ทกุ มัสยิดทีส่ ามารถปฏิบตั กิ จิ กรรมในเรื่องการศึกษาได้ มีเฉพาะบางมัสยิดเท่านัน้ ที่ มีความพร้อม อันเนื่องจากสภาพสังคม วัฒนธรรมและศาสนาประจ�ำท้องถิน่ และยังมีปจั จัย อืน่ อีก นอกจากนัน้ มัสยิดยังมีบทบาทเหมือนมหาวิทยาลัยทีถ่ า่ ยถอดความรู ้ ศูนย์การพัฒนาวิทยาการและเทคโนโลยีแห่งแรกมีช่อื ว่า บัยตุลฮิกมะฮ์ (House

สาส์น อิส ลาม

ข. บัยตุลฮิกมะฮฺ

55


of Wisdom) ซึง่ ก่อตัง้ ขึ้นในแบกแดด ช่วงยุคสมัยของอับบาซีย ์ ตอนแรกได้ก่อตัง้ ขึ้นในรูป แบบของห้องสมุดขนาดเล็ก และพัฒนาขึ้นในสมัยของมะอ์มนู ดังกล่าวไปแล ้วว่าองค์กรเหล่า นี้จดั ตัง้ ขึ้นมา ส�ำหรับถ่ายทอดวิทยาการด้านงานแปล ซึง่ งานแปลนี่เองทีท่ ำ� ให้วทิ ยาการของ อิสลามถูกเผยแพร่ออกไป ค.โรงเรียนเตรียมทหาร สถาบันทางความรูแ้ ละวัฒนธรรมอีกแห่งหนึ่งทีม่ อี ทิ ธิพลอย่างมาก ต่อการพื้นฟู วัฒนธรรมอิสลามนัน่ คือโรงเรียนเตรียมทหาร ในช่วงกลางของศตวรรษทีห่ า้ คอเฌะ เนซอม มุลก์ ได้ก่อตัง้ โรงเรียนชื่อ เนซอมมีเยะฮฺ ในแบกแดด และเนชาบูร และเมืองอืน่ ๆ เขาก่อตัง้ สถาบันทีค่ ล ้ายกับมหาวิทยาลัยในปัจจุบนั และเขาได้นำ� สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ไปสู่จดุ สูงสุดของอารยธรรมอิสลาม

สาส์น อิส ลาม

อารยธรรมอิสลามยุคใหม่

56

การปฏิวตั ิอสิ ลามแห่งอิหร่านภายใต้การน�ำของอิมามโคไมนี (รฎ.) นับเป็ นการ ปฏิวตั ทิ างคุณค่าและปัญญาทีย่ ง่ิ ใหญ่ทส่ี ุดทีไ่ ด้รบั ชัยชนะในยุคปัจจุบนั และท่านยังเป็ นผู ้ สร้างประวัตศิ าสตร์หน้าใหม่ การปฏิวตั อิ สิ ลามถือเป็ นสิง่ ใหม่ในประวัตศิ าสตร์ ทีไ่ ด้สร้าง อุดมการณ์ ขบวนทัศน์ อ�ำนาจอธิปไตย และยังได้สนคลอนรากฐานของมหาอ� ั่ ำนาจทัง้ ตะวัน ออกและตะวันตก การปฏิวตั อิ สิ ลามแห่งอิหร่านได้ให้ความมันใจในตั ่ วเองทางวัฒนธรรมแก่ ประเทศมุสลิมอืน่ โดยใช้เทคโนโลยีทางการสือ่ สารสมัยใหม่ สามารถน�ำพาอารยธรรมของ ตนไปสู่ระดับแนวหน้าได้อย่างองอาจ โดยอาศัยการเผยแพร่วฒั นธรรมและความคิดแบบ อิสลาม จึงท�ำให้เกิดความมันใจในตั ่ วเองทางด้านวัฒนธรรมและความเป็ นอิสระทางปัญญา และสร้างความมันใจนี ่ ้ แก่มสุ ลิมคนอืน่ และด้วยการก�ำจัดความไม่เชื่อมันในตั ่ วเองทัง้ ด้าน ความคิดและการสร้างอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ออกไป และท�ำให้การปฏิวตั อิ สิ ลามกลาย เป็ นขบวนการซอฟต์แวร์ ทีส่ ามารถท�ำงานได้ทงั้ ในด้านการฟื้ นฟู และการสร้างความคิดทาง ศาสนาขึ้นมาใหม่ การน�ำเสนอวิธกี ารปกครองแบบใหม่ทถ่ี กู เรียกว่าเป็ นประชาธิปไตยทาง ศาสนา ด้วยวิธนี ้ ีเองจึงสามารถน�ำเสนออุดมการณ์ของตัวเองต่อชาวโลก และกลายเป็ นผูน้ ำ� ขบวนการซอฟแวร์ และเป็ นศูนย์กลางทางวัฒนธรรมและวิทยาการของโลกอิสลาม อีกทัง้ ยัง เป็ นศูนย์กลางของโลกอิสลามด้านความส�ำเร็จทางทฤษฎี ในการจัดเสวนาวิชาการและน�ำ


เสนอแนวคิดสมัยใหม่ อีกทัง้ แสดงแนวคิดเชิงปฏิบตั กิ ารด้วยขัน้ ตอนทางวิทยาศาสตร์ ทีน่ ่า ประทับใจอย่างมีประสิทธิภาพและเหตุผล ทฤษฎีของการปฏิวตั อิ สิ ลามในการผสมผสานระหว่างความดัง้ เดิมและความทัน สมัย ระหว่างสาธารณรัฐและศาสนาอิสลาม ศาสนาและการเมือง ความเชื่อมโยงระหว่างจิต วิญญาณและการปกครอง เหล่านี้บง่ ชี้วา่ การปฏิวตั สิ ามารถสร้างการเปลีย่ นแปลงทางปัญญา ได้ และด้วยการใช้เทคโนโลยีทางการสือ่ สารแบบใหม่กบั แหล่งข้อมูลและสือ่ ใหม่ ๆ สามารถ เสริมสร้างความสัมพันธ์ทค่ี รอบคลุมชุมชนมุสลิมซึง่ กันและกัน เพือ่ เป็ นแรงจูงใจหลักในการ ฟื้ นฟูอารยธรรมอิสลาม ซามูเอลฮันติงตันเชื่อว่า มุสลิมก�ำลังก้าวไปสู่อตั ลักษณ์ของอิสลามอย่างเห็นได้ ชัดเจน และย�ำ้ ว่าอิสลามเป็ นทางออกเดียวในการแก้ปญั หา การฟื้ นฟูอารยธรรมอิสลามเป็ น ความพยายามทีจ่ ะหาทางออกทีไ่ ม่ใช่ในอุดมการณ์ตะวันตก แต่เป็ นอิสลามสมัยใหม่ทป่ี ฏิเสธ วัฒนธรรมตะวันตก และถือว่าความมุง่ มันต่ ่ ออิสลามเป็ นแนวทางในการด�ำเนินชีวติ ในโลก สมัยใหม่ (ฮันติงตัน / 1380 /98) ท่านผูน้ ำ� สูงสุดถือว่าชัยชนะของการปฏิวตั อิ สิ ลาม เป็ นเวทีแรกและส�ำคัญทีส่ ุดของ การก่อเกิดอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ “ฉันขอกล่าวอย่างมันใจว่ ่ า ขณะนี้ยงั ถือเป็ นก้าวแรก ของค�ำสัญญาทีไ่ ม่มวี นั บิดพริ้วของพระผูเ้ ป็ นเจ้าคือ ชัยชนะของสัจธรรมเหนือความอธรรม และการฟื้ นฟูประชาชาติแห่งกุรอาน และอารยธรรมอิสลามยุคใหม่กำ� ลังจะเกิดขึ้น สัญญา ของค�ำมันสั ่ ญญาไม่มวี นั บิดพริ้ว ก้าวแรกของมันคือชัยชนะของการปฏิวตั อิ สิ ลามในอิหร่าน และการสร้างระบอบอิสลามทีม่ ชี ่อื เสียง ซึง่ ท�ำให้อหิ ร่านกลายเป็ นฐานรากทีม่ นั ่ คงส�ำหรับ แนวคิดในการรักษาความมันคง ่ และอารยธรรมอิสลามยุคใหม่กำ� ลังจะเกิดขึ้น การเกิดขึ้น ของปรากฏการณ์อนั ู มหัศจรรย์น้ ี เกิดขึ้นในช่วงทีค่ วามคลังไคล ่ ้ในวัตถุถงึ จุดสูงสุด พร้อม กับการต่อต้านอิสลาม สิทธิทางปัญญาและทางการเมือง จากนัน้ การต่อต้านและความ แข็งแกร่งของการปฏิวตั ิก็ต่อต้านการโจมตีทางการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ และการ โฆษณาชวนเชื่อทีโ่ หมกระหน�ำ่ จากทุกด้าน สาส์น อิส ลาม

อารยธรรมอิสลามหมายถึง พื้นทีท่ ม่ี นุษย์สามารถเติบโตได้ทงั้ ทางร่างกายและจิต วิญญาณ และทางวัตถุ และเพือ่ ไปให้ถงึ จุดสมบูรณ์ตามต้องการซึง่ พระเจ้าผูท้ รงฤทธานุภาพ

57


ได้สร้างเขาขึ้นมา อารยธรรมอิสลาม หมายถึงการมีชวี ติ ทีด่ ี มีชวี ติ ทีส่ ง่างาม ชายทีร่ กั ชายที่ มีอำ� นาจ การบริหาร ความคิดริเริ่ม การสร้างโลกตามธรรมชาติ ซึง่ อารยธรรมอิสลามคือ เป้ าหมายของสาธารณรัฐอิสลามทีม่ อี ดุ มคติของอิสลาม สิง่ จ�ำเป็ นส�ำหรับการฟื้ นฟูอารยธรรมอิสลาม หากมุสลิมพยายามอย่างต่อเนื่องโดยมีความรูอ้ ย่างลึกซึ้งเกี่ยวกับองค์ประกอบ เงือ่ นไขของการเกิดขึ้น และการส่งเสริมอารยธรรมอิสลามแล ้วละก็ อารยธรรมอิสลามจะได้ รับการฟื้ นฟูอย่างแน่นอน เงือ่ นไขและข้อก�ำหนดพื้นฐานส�ำหรับการฟื้ นฟูอารยธรรมอิสลาม ได้แก่ 11. การกลับคืนสู่อลั กุรอานอย่างแท้จริง การทีม่ สุ ลิมห่างไกลจากแก่นแท้ของอัลกุรอาน ออกห่างจากความเป็ นจริงของชีวติ ในประเทศอิสลาม ซึง่ ความคิดและพฤติกรรมของมุสลิมถือเป็ นหนึ่งในปัจจัยทีส่ ำ� คัญทีส่ ุด ทีจ่ ะลดและเป็ นอุปสรรคต่อการกลับคืนสู่อสิ ลามทีแ่ ท้จริง (Qutb 1374)

สาส์น อิส ลาม

Wagleri ศาสตราจารย์วรรณคดีอาหรับและประวัตศิ าสตร์อารยธรรมอิสลามแห่ง มหาวิทยาลัยเนเปิ ลส์ประเทศอิตาลี แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับอัลกุรอานว่า : ในคัมภีรอ์ ลั กุรอานเล่มนี้เราเห็นขุมคลังอันเป็ นแหล่งข้อมูล เป็ นแหล่งความรูท้ อ่ี ยู่เหนือขีดความสามารถ ของมนุษย์ทฉ่ี ลาดทีส่ ุด เหนือนักปรัชญาทีย่ ง่ิ ใหญ่ทส่ี ุด เหนือหลักกฎหมายและการเมืองที่ ยิง่ ใหญ่ เรารูส้ กึ ทึง่ กับศาสนาทีไ่ ม่เพียงแต่แสวงหาทฤษฎีทเ่ี ข้ากันได้กบั ความต้องการของ มนุษย์ ทว่ายังสร้างกฎระเบียบทีป่ ระกอบด้วยกฎหมายสูงสุดทีม่ นุษย์สามารถอยู่ภายใต้การ คุม้ ครองของศาสนาได้ แต่สง่ิ ทีม่ นั ยิง่ ใหญ่ไปกว่านัน้ คือ อิสลามเสนอปรัชญาแห่งชีวติ และ ชะรีอะฮ์ ซึง่ ถือว่าเป็ นกฎหมายอิสลามทีไ่ ม่ได้ถกู สร้างขึ้นจากประเพณีและพิธกี รรม แต่การ แสดงออกทางสังคมและชีวติ ส่วนตัวทัง้ หมดเป็ นไปตามหลักการของมัน (Waggler เบต้า 53)

58

เนห์รูนกั วิทยาศาสตร์และนักการเมืองชาวอินเดียเขียนไว้ว่า “เรื่องราวของชาว อาหรับและเรื่องราวของการพัฒนาอย่างรวดเร็วของพวกเขาในเอเชีย ยุโรป และแอฟริกา ท�ำ ให้เกิด วัฒ นธรรมและอารยธรรมที่ย่ิง ใหญ่ ซึ่ง นับ เป็ น สิ่ง มหัศ จรรย์อ ย่ างหนึ่ ง ของ


ประวัตศิ าสตร์มนุษยชาติ พลังแห่งความคิดใหม่ทป่ี ลุกชาวอาหรับและเติมเต็มพวกเขาด้วย ความเชื่อมันและความสามารถ ่ คืออิสลาม 2. ปฏิบตั ติ ามแนวทางของเราะซูล ตามพระคัมภีรอ์ ลั กุรอาน ท่านศาสดา (ซ็อลฯ) เป็ นแบบอย่างและแรงบันดาลใจใน ทุกเรื่องรวมทัง้ เป็ นแบบอย่างทางอารยธรรม อัลกุรอานกล่าวว่า ‫َّ ُ ْ َ ٌ َ َ َ ٌ َ ْ َ َ ْ ُ َّ َ ْ ْ آ‬ ‫َ​َ ْ َ َ ُ ْ ف‬ ‫لقد اکن ل‬ ‫الل َو ال َي ْو َم ال ِخ َر‬ ‫�جوا‬ ‫اکن ي‬ ‫لن‬ ِ ‫الل أسوة حسنة‬ ِ ‫ر ُس ِول‬ ‫ک ي� َ‏‬ َّ َ َ َ َ ‫کث�ا‬ ‫و ذ کر الل ی‬ “แน่นอน ในเราะซูลของอัลลอฮฺ มีแบบอย่างอันดีงามส�ำหรับพวกเจ้า ส�ำหรับผูท้ ห่ี วัง ในอัลลอฮฺและวันกิยามะฮฺและร�ำลึกถึงอัลลอฮฺอย่างมาก” ซูเราะฮฺ อะฮฺซาบ /21 อัลลามะฮฺ เฏาะบาเฏาะบาอีย ์ ได้อธิบายความหมายโองการนี้ไว้อย่างสวยงามว่า “ค�ำว่าอุสวะฮ์ หมายถึงการเชือ่ ฟังปฏิบตั ติ าม ส่วนอุสวะฮ์ในกรณีของท่านเราะซูลคือ การเชือ่ ฟังท่านศาสดา และนี่เป็ นกิจวัตรประจ�ำแน่นอนตายตัว และทุกคนควรปฏิบตั ติ ามท่านศาสดา เสมอ” (เฏาะบาเฏาะบาอีย ์ 1374/146) ตามค�ำสัง่ ของอัลกุรอาน การปฏิบตั ติ ามแนวทางของท่านเราะซูล เป็ นวิธที ด่ี ที ส่ี ุด ในการเผยแพร่สจั ธรรมและกลับคืนสู่อสิ ลาม ส่วนการเรียนรูแ้ ละสาธยายชีวติ ของท่านเราะ ซูล เป็ นหนึ่งในความต้องการเร่งด่วนในช่วงเวลาแห่งการตื่นตัวของอิสลาม เนื่องจากการ เสริมสร้างความเข้มแข็งและการด�ำเนินการอย่างต่อเนื่องของขบวนการอิสลาม จนถึงการ ปกครองของอิสลามและการฟื้ นฟูอารยธรรมอิสลาม จะเกิดขึ้นได้กต็ ่อเมือ่ ได้รบั แรงบันดาล ใจจากการกระท�ำทีม่ คี ุณค่าของศาสนทูตแห่งพระเจ้า 3. ให้ความส�ำคัญต่อเอกภาพ

สาส์น อิส ลาม

ภราดรภาพอิสลามเป็ นหนึ่งในค�ำขวัญทีฝ่ งั รากลึก และมีประสิทธิภาพของอัลกุรอาน บนพื้นฐานดังกล่าวมุสลิมทุกเชื้อชาติ ทุกสีผวิ และทุกภาษาควรรูส้ กึ ทราบซึ้งในความเป็ นพี่ น้องกัน แม้จะมีความแตกต่างหลากหลายในช่วงเริม่ ต้นของอิสลาม แต่ศาสดาก็สามารถสร้าง เอกภาพทีแ่ ข็งแกร่งในมะดีนะฮฺได้ ด้วยความชาญฉลาดและภูมปิ ญั ญาพิเศษ “มุฮมั มัดเป็ น

59


ชาวอาหรับทีเ่ รียบง่าย” แต่สามารถเปลีย่ นแปลงชนเผ่าเล็กๆ ทีอ่ ยู่กนั แบบกระจัดกระจาย เปลือยเปล่าและหิวโหยในประเทศของเขาให้กลายเป็ นสังคมทีเ่ คร่งครัดและมีระเบียบวินยั ในบรรดาประเทศต่าง ๆ บนโลก ท่านศาสดาได้แนะน�ำพวกเขาด้วยคุณสมบัตแิ ละศีลธรรม ใหม่ๆ ในเวลาไม่ถงึ 30 ปี พวกเขาเอาชนะจักรพรรดิแห่งคอนสแตนติโนเปิ ล โค่นสุลต่าน เปอร์เซียและขยายการพิชติ ของพวกเขา จากคราบสมุทรอาหรับไปยังชายฝัง่ แคสเปี ยนไป จนถึงแม่นำ�้ เซฮุน ในเรื่องนี้ท่านผูน้ ำ� สูงสุดแห่งการปฏิวตั แิ นะน�ำไว้ว่า “ให้รบั รูแ้ ละจัดการ ความแตกต่างให้ดเี ถิด และผูท้ จ่ี ดุ ไฟแห่งการแบ่งแยกศาสนาด้วยการมอบความเป็ นผูป้ ฏิเสธ ศรัทธาให้กบั คนโน้นคนนี้ หากไม่รูว้ า่ ตัวเองก�ำลังท�ำอะไร ให้รูไ้ ว้วา่ เขาก�ำลังตกเป็ นสมุนของ ซาตานเสียแล ้ว”

4. การจัดระบบ

ไม่ตอ้ งสงสัยเลยว่าในกระบวนการฟื้ นฟูอสิ ลามขัน้ ตอนแรกทีจ่ ำ� เป็ นคือ การสร้างระบบ ดังเป็ นทีป่ ระจักษ์วา่ ท่านศาสดา (ซ็อลฯ) ได้ดำ� เนินการครัง้ แรกเพือ่ สร้างอนาคต และจัด ระเบียบกิจการของสังคมอิสลาม ท่านได้จดั ตัง้ ระบบการเมืองและรัฐบาลขึ้น (Agha Bakhshi 1374: 671)

สาส์น อิส ลาม

เมือ่ พิจารณาถึงอุดมคติและค�ำขวัญของนักปฏิวตั ศิ าสตร์ในประเทศอิสลาม ทาง เลือกทีด่ ที ส่ี ุดในการอธิบายถึงการจัดระบบคือแบบอย่างของ «ประชาธิปไตยทางศาสนา» กล่าวคือการจัดตัง้ รัฐบาลอิสลามตามเจตจ�ำนงของประชาชน ระบบทีผ่ ูป้ กครองได้รบั การ เลือกตัง้ โดยประชาชนทีต่ งั้ อยูบ่ นพื้นฐานค่านิยม และตามหลักการทีใ่ ช้ควบคุมสังคมคือ หลัก การทีต่ งั้ บนพื้นฐานของความรูแ้ บบอิสลามและกฎหมายอิสลาม แต่สง่ิ ส�ำคัญทีต่ อ้ งสังเกต และให้ความสนใจคือ ประชาธิปไตยแบบศาสนาอิสลาม ไม่เกี่ยวข้องกับประชาธิปไตยแบบ ตะวันตก ผูต้ ่นื ตัวในโลกอิสลามในการจัดระบบกฎหมาย และการควบคุมสถานการณ์ให้ สอดคล ้องกับเป้ าหมาย และความเหมาะสมของโลกอิสลาม ล ้วนได้รบั แรงบันดาลใจจากอัล กุรอานและค�ำสอนของท่านศาสดา (ซ็อลฯ)

60

5. ระบุปญั หาและภัยคุกคาม การระบุปญั หาและอันตรายเป็ นหัวข้อทีต่ อ้ งให้ความส�ำคัญ และสร้างความเข้าใจ


อย่างจริงจัง การลืมหลักการและเป้ าหมาย แรงจูงใจทีล่ ดลง ความมุง่ มันที ่ อ่ ่อนแอลง ความ หลงโลก ความโลภ ความภาคภูมใิ จในเรื่องทีไ่ ม่ควร การละเลยกับแผนร้าย ความไว้วางใจ ศัตรู ความแตกแยกและความบาดหมางกันล ้วนเป็ นอันตราย และเป็ นศัตรูทส่ี ำ� คัญทีส่ ุดของ การฟื้ นฟูอารยธรรมอิสลาม หากไม่ถกู ตรวจสอบและมีผูน้ ำ� ทีไ่ ม่ชาญฉลาด หรือมีผูใ้ ห้คำ� แนะน�ำทีไ่ ม่คิดต่อสู ้ สิง่ เหล่านี้ก็จะยับยัง้ การเผชิญหน้าและเปลีย่ นโอกาสให้กลายเป็ นภัย คุกคามได้ในทีส่ ุด อารยธรรมอิสลาม อุดมคติของชีอะฮ์ หลังจากยุคกลางศาสนาไม่ได้มบี ทบาทในชีวติ และความทันสมัยแบบตะวันตกอีก ต่อไป อีกด้านหนึ่งพวกเขาคิดว่าประเพณีทางศาสนาได้ส้ นิ สุดลงพร้อมกับการมาของโลก สมัยใหม่ อันเป็ นโลกทีไ่ ม่ได้ตงั้ อยู่บนศาสนา แต่มนั ขึ้นอยู่กบั การทีม่ นุษย์จะตัดขาดจากโลก แห่งความศักดิ์สทิ ธิ์ และค�ำสอนของศาสนา ชาวตะวันตกเชื่อว่าในโลกนี้มเี พียงอารยธรรม เดียวนัน่ คืออารยธรรมตะวันตก ส่วนอารยธรรมและวัฒนธรรมอืน่ เป็ นเพียงส่วนย่อยของ อารยธรรมตะวันตก ในสถานการณ์เช่นนี้ เมื่อเกิดการปฏิวตั ิอิสลามขึ้น จึงมีคำ� กล่าวของ Michel Foucault ทีว่ า่ “นี่เป็ นการปฏิวตั หิ ลังนวยุคครัง้ แรกของโลก” ซึง่ ขณะทีเ่ ขากล่าวสิง่ นี้เขาก�ำลัง จัดพิมพ์หนังสือชื่อ «ชาวอิหร่านก�ำลังสร้างฝันในเรื่องอะไร» เขากล่าวไว้ในหนังสือเล่มนี้วา่ ชาวอิหร่านย้อนเตือนให้เราคิดในเรื่องจิตวิญญาณทีไ่ ม่ได้เกี่ยวข้องกับชีวติ ทางสังคมของเรา มาหลายศตวรรษแล ้ว ชาวอิหร่านสอนเราว่าเราต้องใส่ใจเรื่องจิตวิญญาณในชีวติ ทางสังคม ดังนัน้ อารยธรรมใหม่ของมนุษยชาติคอื อนาคตทีเ่ ราได้สร้างขึ้นในการปฏิวตั คิ รัง้ นี้ และสิง่ ทีอ่ ยู่ในอุดมคติของชีอะฮ์ซง่ึ ก็คอื การรอคอยอิมามมะฮ์ดี (อ.) เราเชื่อว่าอารยธรรมทางวัตถุ แบบตะวันตกไม่ได้ครอบคลุมถึงมิตขิ องมนุษย์ทงั้ หมด ดังนัน้ การปฏิวตั อิ สิ ลามจึงเป็ นการ ปฏิวตั หิ ลังนวยุค”

สาส์น อิส ลาม

ท่านอิมามโคมัยนี (รฎ.) ได้กล่าวเกี่ยวกับการปฏิวตั ไิ ว้เช่นกัน ท่านกล่าวว่า “การ ปฏิวตั ขิ องเราเป็ นการระเบิดของรัศมี” ด้วยการย�ำ้ ถึงความจ�ำเป็ นในการส่งเสริม และการ พัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพขององค์ประกอบภายใน การพัฒนาชนพื้นเมืองของสังคมอิสลาม และความจ�ำเป็ นในการปรับตัวให้เข้ากับการพัฒนาของโลกที่เหมาะสม และให้เข้ากับ

61


สถานการณ์ การปฏิวตั อิ สิ ลามจึงสามารถเสนอมุมมองทีเ่ ป็ นเหตุผล และมีสติตาม ข้อเท็จ จริงทางศาสนาและการพัฒนาทางสังคม เพือ่ พัฒนาความผูกพันทีเ่ หนือกว่าระหว่างคนรุ่น ใหม่กบั ประเพณีของอิสลามในอดีต โดยเน้นการพัฒนาหลักคิดทางปัญญาตามทัศนคติทม่ี ี เหตุผล การปฏิวตั อิ สิ ลามและอารยธรรมอิสลาม

สาส์น อิส ลาม

การปฏิวตั ิอิสลามเป็ นความเข้ากันได้ระหว่างศาสนาอิสลามและประชาธิปไตย เป็ นการเผยให้เห็นปฏิสมั พันธ์ระหว่างศาสนากับการเมือง และเป็ นการตอบโต้แนวคิด Platonists ทีว่ า่ (ใครควรปกครอง?) และแนวคิดของ Machiavelli ทีก่ ล่าวว่า “จะต้อง ปกครองอย่างไร?” พวกเขาได้สร้างระบบการเมืองแบบหนึ่งทีค่ วบคุมทัง้ คุณลักษณะทางจิต วิญญาณและทางการเมือง และควบคุมความผูกพันคุณค่าของอิสลามทีต่ งั้ อยู่บนโครงสร้าง หรือวิธกี ารทีเ่ ป็ นประชาธิปไตย การปฏิวตั อิ สิ ลามได้แสดงทฤษฎี «ไม่มตี ะวันออกและไม่มี ตะวันตก» สามารถสร้างระบบทีย่ ง่ิ ใหญ่ร่วมกันบนพื้นฐานของความเท่าเทียมกันของรัฐและ อ�ำนาจอธิปไตย และการส�ำนึกในสิทธิของพระเจ้า และสิทธิมนุษยชนของประเทศทัง้ หลาย การฟื้ นฟูขดี ความสามารถและความเป็ นไปได้ทถ่ี กู ลืมของประเทศทีไ่ ม่ไม่ฝกั ใฝ่ ฝ่ายใด การ ปฏิเสธการยอมรับความน่าเกรงขามของเหล่ามหาอ�ำนาจ ความพยายามทีจ่ ะตัดรากเหง ้าใน การพึ่งพาของประเทศทัง้ หลายที่มตี ่อมหาอ�ำนาจ การปฏิวตั ิอิสลามยังได้แนะน�ำศาสนา อิสลามเป็ นศาสนาที่ครอบคลุมและเหมาะสมกับเงื่อนไขของกาลเวลา เป็ นศาสนาที่มี อุดมการณ์ทางการเมือง ด้วยการน�ำเสนอแบบจ�ำลองเชิงปฏิบตั แิ ละเชิงทฤษฎีของสาธารณรัฐ อิสลาม และยังสนับสนุนให้มสุ ลิมรวมตัวกันเป็ นเอกภาพตามค�ำสอนของอิสลาม ท�ำให้มสุ ลิม มีอตั ลักษณ์ใหม่ทางการเมืองและศาสนาตามค่านิยมทางศาสนา

62

การปฏิวตั ิอิสลามด้วยความมุ่งมัน่ ในความเป็ นอิสระทางการเมือง เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและการทหาร พร้อมกับการปลุกโลกอิสลามให้ตน่ื ท�ำให้สาส์นและภารกิจของตัว เองทีต่ งั้ อยู่บนการท�ำให้โลกนี้สงบ พร้อมด้วยความสุขและความใกล ้ชิดกันของมนุษย์สำ� เร็จ และตระเตรียมให้มนุ ษย์ได้รบั ประโยชน์จากจิตวิญญาณแห่งความเป็ นอิสระและเสรีภาพ โดยการใส่ใจในพระเจ้าโดยอาศัยค�ำสอนตามธรรมชาติของมนุษย์ทบ่ี ริสุทธิ์ เพือ่ สร้างโลกให้ เต็มไปด้วยสันติภาพ ความยุตธิ รรมและจิตวิญญาณ การปฏิวตั อิ สิ ลามได้เน้นย�ำ้ ในมิตทิ าง


วัฒนธรรมและอารยธรรมอิสลามท�ำให้เกิดบรรยากาศใหม่ทา่ มกลางการปฏิวตั ิ การด�ำรงอยู่ ของอัตลักษณ์ทเ่ี ป็ นอารยะดังกล่าวท�ำให้เกิดการเคลือ่ นไหว และการกลับตัวในหมูป่ ระเทศ มุสลิม (Dehshiri / 2003) แนวทางการสูอ่ ารยะของการปฏิวตั อิ สิ ลาม การเกิดขึ้นของการปฏิวตั บิ นพื้นฐานของศาสนาอิสลาม และการก่อตัง้ รัฐบาลศาสนา ทีเ่ ชื่อมโยงกับประชาชน ได้นำ� ไปสู่การสนทนาทางอารยธรรมของอิหร่านและอิสลามในรูป แบบอารยธรรมใหม่ ทีเ่ กิดจากการผสมผสานของสองอารยธรรม ศาสนาอิสลามเป็ นพื้นฐาน หลักของการเสวนาของอิหร่านหลังการปฏิวตั ิ เนื่องจากศาสนาอิสลามหมายรวมถึงความเป็ น อิสระ และการปฏิเสธการมีอยู่ของอ�ำนาจอืน่ บนโลก ตลอดจนความสามัคคีระหว่างกลุม่ ชน ทางศาสนาและสังคมแห่งภูมภิ าค การปฏิวตั ทิ งั้ หมดรวมถึงการปฏิวตั อิ สิ ลามต้องผ่านขัน้ ตอนส�ำคัญอันได้แก่ : หนึ่ง ขัน้ ตอนแห่งการเคลือ่ นไหวและการเปลีย่ นแปลงทีม่ เี ป้ าหมาย เพือ่ ล ้มล ้างระบบการเมืองทีอ่ ยุตธิ รรม สอง การก่อตัวของระบบการเมืองและการก่อตัง้ รัฐ สาม การสร้างอารยธรรมใหม่ กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คอื เราสามารถพูดได้วา่ ขัน้ ตอนทัง้ หมดคือการปฏิวตั อิ สิ ลาม รัฐ อิสลามและอารยธรรมอิสลาม ซึง่ ประเทศอิสลามส่วนใหญ่ไม่สามารถเข้าถึงขัน้ ตอนของการ จัดตัง้ รัฐได้ และยังคงวนอยู่กบั ขัน้ ตอนของการปฏิวตั เิ พียงขัน้ ตอนเดียว บางประเทศไม่เคย ท�ำการปฏิวตั เิ ลยด้วยซ�ำ้ ตะวันตกสามารถอดทนการปฏิวตั ขิ องเราได้จนถึงขัน้ ตอนการก่อ ตัง้ รัฐเท่านัน้ แต่พวกนัน้ จะยกมือยอมแพ้เราในเรื่องการสร้างอารยธรรมใหม่ ดังนัน้ หากเรา ประสบความส�ำเร็จในการปฏิวตั แิ ละจัดตัง้ รัฐได้แล ้ว แต่ไม่สามารถสร้างอารยธรรมใหม่ได้ อารยธรรมตะวันตกก็จะครอบง�ำเราด้วยความหยิง่ ผยอง ด้วยเหตุน้ ีการปฏิวตั อิ สิ ลามแห่ง อิหร่านจึงได้กำ� หนดยุทธศาสตร์ของตัวเองคือ การไปให้ถงึ ยังขัน้ ตอนสุดท้าย ซึง่ ยุทธศาสตร์ ทัง้ หมดทีว่ างไว้เป็ นเพียงแนวทางเพือ่ ก้าวไปสู่ความเป็ นอารยะ สาส์น อิส ลาม

ท่านผู ้น�ำสูงสุดของการปฏิวตั อิ สิ ลาม ได้วางมาตรฐานของการเคลือ่ นไหวของอิหร่าน ด้วยวิธที ว่ี า่ “เป้ าหมายของประชาชาติอหิ ร่าน และเป้ าหมายของการปฏิวตั อิ สิ ลามคือ การ สร้างอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ซึง่ อารยธรรมยุคใหม่น้ ีมี 2 ส่วนด้วยกัน ส่วนเครื่องมือหรือ

63


ฮาร์ดแวร์ และอีกส่วนคือเนื้อหาอันเป็ นส่วนหลักและเป็ นพื้นฐานหรือซอฟต์แวร์ ส่วนทีเ่ ป็ น เครื่องมือคือค่านิยม อันเป็ นสิง่ เดียวกันกับสิง่ ทีเ่ ราน�ำเสนอในวันนี้ ในฐานะความก้าวหน้า ของประเทศเช่น วิทยาการ สิง่ ประดิษฐ์ อุตสาหกรรม การเมือง เศรษฐกิจ อ�ำนาจทางการ เมืองและการทหาร และเกียรติยศระหว่างประเทศ แน่นอนว่าเรามีความก้าวหน้าทีด่ ใี นส่วน นี้และมีผลงานดี ๆ มากมาย แต่ส่วนทีแ่ ท้จริงอันเป็ นพื้นฐานของชีวติ เราคือรูปแบบและวิถี การด�ำเนินชีวติ ส่วนนี้เป็ นส่วนทีแ่ ท้จริงและเป็ นส่วนหลักของอารยธรรม ปัญหาครอบครัว รูปแบบการแต่งงาน ประเภททีอ่ ยู่อาศัย ประเภทของเสื้อผ้า รูปแบบการบริโภค ประเภท อาหาร ประเภทการท�ำอาหาร ความบันเทิงและสันทนาการ ปัญหาเรื่องพยัญชนะ ปัญหาด้าน ภาษา ปัญหาทางธุรกิจ และปัญหาด้านพฤติกรรมของเราเอง” การน� ำเสนอวาทกรรมทางการเมืองแบบอิสลาม การเมืองแบบอิสลามคือ สิง่ ทีใ่ ช้อธิบายกลุม่ การเมืองอิสลามทีพ่ ยายามจัดตัง้ รัฐบาล ตามหลักการอิสลาม ด้วยเหตุน้ ี การเมืองแบบอิสลามถือว่าเป็ นวาทกรรมทีม่ คี วามเป็ นกลาง ของ รัฐบาลอิสลามจึงอยู่ในระบอบอิสลาม ซึ่งจะเน้นย�ำ้ เรื่องการไม่แยกศาสนาออกจาก การเมือง และเชื่อว่าอิสลามครอบคลุมทัง้ การปกครองและการเมือง ดังนัน้ เป้ าหมายสูงสุด ของการเมืองอิสลามคือ การสร้างและฟื้ นฟูสงั คมใหม่ตามหลักการของอิสลาม ด้วยเหตุน้ ี การการเมืองอิสลามจึงยืนอยู่ตรงข้ามกับวาทกรรมการเมืองสมัยใหม่ และแบบดัง้ เดิมทีไ่ ม่ เชื่อในการผสมผสานระหว่างศาสนาและการเมือง

สาส์น อิส ลาม

ชัยชนะของการปฏิวตั อิ สิ ลามเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ของอิสลามอันมีค่ายิง่ และนับ เป็ นครัง้ แรกใน ประวัตศิ าสตร์ยุคใหม่ ทีไ่ ด้นำ� เอาวาทกรรมทางการเมืองอิสลามมาใช้ในวิชา รัฐศาสตร์ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ วาทธรรมแนวคิดทางการเมืองแบบอิสลาม ได้ เปิ ดหน้าต่างใหม่ให้กบั นักวิชาการ นักคิด และผูเ้ ชี่ยวชาญทางการเมือง ศาสนาอิสลามมิใช่ ว่าจะเป็ นเรื่องการเมืองเท่านัน้ แต่ยงั มีถอ้ ยค�ำใหม่ๆ ทีจ่ ะน�ำเสนอต่อโลกสมัยใหม่ ซึง่ ทัง้ ขัด แย้งและเห็นด้วยกับวาทกรรมทีม่ อี ยู่ แต่กถ็ อื ว่าเป็ นวาทกรรมทีเ่ หนือกว่าในยุคหลังสมัยใหม่.

64

อย่างไรก็ตามประมาณหนึ่งศตวรรษทีผ่ ่านมานักคิด เช่น ซัยยิด ญะมาลุดดีน อะ ซัด อะบอดี ได้ปรากฏตัวขึ้นในโลกอิสลาม เพือ่ เรียกร้องให้กลับคืนสู่อสิ ลามและเผชิญหน้า กับวัฒนธรรมตะวันตก และด้วยวิธนี ้ ีจงึ เกิดการเคลือ่ นไหวและเกิดกลุม่ ต่าง ๆ ขึ้นมากมาย


แต่ชยั ชนะของการปฏิวตั อิ สิ ลามพิสูจน์ให้มสุ ลิมทุกคนเห็นว่า ประเด็นการกลับคืนสู่อสิ ลาม มิใช่แค่เรือ่ งเพ้อฝันแต่เป็ นความจริง การปฏิวตั อิ สิ ลามบนพื้นฐานของศาสนาช่วยฟื้ นฟูศาสนา อิสลามในอิหร่านและทัว่ โลกให้กลับมามีชวี ติ อีกครัง้ John Esposito วิเคราะห์ถงึ อิทธิพลของการปฏิวตั อิ สิ ลามแห่งอิหร่าน ทีม่ อี ทิ ธิพล ต่อการเคลือ่ นไหวของอิสลามทัว่ โลกว่า การปฏิวตั นิ ้ ีมอี ทิ ธิพลต่อการเคลือ่ นไหวของอิสลาม ทัว่ โลกใน 3 ระดับ ได้แก่ สังคมทีไ่ ม่มแี นวคิดการเคลือ่ นไหวของอิสลาม การปฏิวตั นิ ้ ีทำ� ให้ เกิดการเคลือ่ นไหว (ประเทศในอ่าวเปอร์เซีย) ในสังคมทีม่ แี นวคิดการเคลือ่ นไหวอิสลามอยู่ แต่ไม่ได้เกิดขึ้นจริงในเชิงปฏิบตั ิ ซึง่ การปฏิวตั อิ สิ ลามแห่งอิหร่านได้ทำ� ให้เกิดขึ้นจริง มีความ เข้มข้นมีพลวัตขึ้น (ชมพูทวีปและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้) และสุดท้ายในสังคมที่มกี าร เคลือ่ นไหวลักษณธนี้อยู่ ซึง่ การปฏิวตั อิ สิ ลามในอิหร่านได้ทำ� ให้มคี วามเข้มข้นขึ้น (วิลาอีย ์ 1394) ด้วยเหตุน้ ี จะเห็นว่าการปฏิวตั อิ สิ ลามแห่งอิหร่าน ได้แผ่อทิ ธิพลต่อหลายประเทศ และหลายชนชาติ และได้กลายเป็ นตัวอย่างที่นำ� เสนอโอกาสส�ำหรับการเคลือ่ นไหว และ กระแสของการต่อสูเ้ พือ่ ความยุติธรรมของนักต่อสูเ้ พือ่ อิสรภาพ นอกจากนี้ยงั เสริมสร้าง ความรูส้ กึ ในการเป็ นเจ้าของ ความผูกพันกับประชาชาติอสิ ลาม และการแสดงความรูส้ กึ ทีด่ ี ต่อพัฒนาการในโลกอิสลาม ความส�ำคัญในการส่งออกแนวคิดการปฏิวตั ิ บ่งบอกให้เห็นว่าอัตลักษณ์ของการ ปฏิวตั อิ สิ ลาม กลายเป็ นเป็ นอัตลักษณ์ของโลกแห่งความยุตธิ รรม และอยู่ตรงกันข้ามกับ ลัทธิชาตินิยม อัตลักษณ์อสิ ลามมีความเหนือกว่าเอกลักษณ์ประจ�ำชาติ ด้วยเหตุน้ ี การส่ง แนวคิดการปฏิวตั ิอสิ ลามไปสู่โลกภายนอกแสดงให้เห็นว่า การปฏิวตั ิอสิ ลามมีแก่นแท้ท่ี ครอบคลุมอยู่ในระดับโลก และในยุคโลกาภิวตั น์กพ็ ยายามทีจ่ ะสร้างระเบียบทางวัฒนธรรม อิสลามยุคใหม่ (วัฒนธรรมอิสลาม) ด้วยการอธิบายว่าความเสียสละและความซือ่ สัตย์ของ ชนชาติและแผ่นดิน เพือ่ การเสียสละและความร่วมมือของประชาโลก ไม่ตอ้ งสงสัยเลยว่าเหตุผลประการหนึ่งของความล ้าหลังในโลกอิสลามคือ การทิ้ง

สาส์น อิส ลาม

การปฏิวตั อิ สิ ลามและการฟื้ นฟูอตั ลักษณ์อสิ ลาม

65


ห่างจากอิสลามดัง้ เดิมและอิสลามทีถ่ กู บิดเบือน ท่านอิมามโคไมนี (รฎ.) ย�ำ้ เตือนเกี่ยวกับ การตีความอิสลามอย่างผิดๆ และการยืนกรานของท่านในการใช้คำ� ต่างๆ เช่น อิสลามแบบ อเมริกนั อิสลามแบบระบอบกษัตริย ์ อิสลามจอมปลอม อิสลามแบบทุนนิยม หรืออิสลาม แบบเศษฐีผูม้ งคั ั ่ ง่ ซึง่ ตรงกันข้ามกับอิสลามแบบดัง้ เดิมของผูท้ ถ่ี กู กดขี่ และถูกลิดรอนสิทธิ และตรงกันข้ามกับอิสลามมุฮมั มัดอันบริสุทธิ์ ข้อเท็จจริงนี้ปรากฏชัดว่าอารยธรรมอิสลาม ในยุคปัจจุบนั และยุคก่อนหน้านี้ได้ถกู บิดเบือน และเข้าใจผิดมาโดยตลอด อันเป็ นสาเหตุ ท�ำให้มสุ ลิมห่างไกลจากอิสลามดัง้ เดิมมากขึ้นและไม่สามารถแก้ไขได้ (ติบยาน 1374/38) ท่านอิมามกล่าวว่า เหตุผลทีท่ ำ� ให้สงั คมอิสลามล ้าหลังคือ การสูญเสียจิตวิญญาณทางศาสนา ทีแ่ ท้จริง นัน่ คือ การพลีชพี และการต่อต้านการกดขี่ (ซาฮีฟา 1375: 94)

สาส์น อิส ลาม

การปฏิวตั อิ สิ ลามได้วางเป้ าหมายทีส่ ำ� คัญของตัวเองไว้นนั ่ คือ การต่อต้านการกดขี่ การถอยห่างออกจากการถูกครอบง�ำของนักล่าอาณานิคมผูก้ ดขี่ และหุน่ เชิดของพวกเขา โดย การสนับสนุนอันแข็งแกร่งทีม่ าจากศาสนาและจิตวิญญาณแห่งการพลีชพี จนประสบความ ส�ำเร็จและมีบทบาทอย่างยิง่ ต่อการตื่นตัวของมุสลิม ทีถ่ กู ครอบง�ำจากมหาอ�ำนาจโลก และ เน้นถึงความส�ำคัญของศาสนาในหมูป่ จั เจกและสังคม

66

หากมองผลงานของ Max Weber และ Durkheim และนักวิชาการคนอืน่ ๆ ด้าน สังคมวิทยา ซึง่ ศาสนาพิสูจน์ให้เห็นว่าแม้พวกนักวิชชาการเหล่านี้ จะมีความแตกต่างกันทาง ความคิดและมุมมอง แต่พวกเขาก็เห็นด้วยในประเด็นเดียวกันนัน่ คือ ศาสนาก�ำลังค่อย ๆ เสือ่ มถอยลง แนวคิดพื้นฐานของพวกเขาตัง้ อยูบ่ นสมมติฐานทีว่ า่ การพัฒนาความเป็ นเหตุผล และความก้าวหน้าในความหมายดัง้ เดิมของตะวันตก จะน�ำไปสูค่ วามลังเลใจและแปลกแยก ออกจากคุณค่าทางศาสนา และเป็ นเรื่องหน้าประหลาดใจทีห่ ลักฐานทัง้ หมดก่อนการปฏิวตั ิ อิสลามในอิหร่าน ได้ยนื ยันแนวคิดเกีย่ วกับเรือ่ งการเลิกนับถือศาสนา และการปฏิเสธศาสนา อย่างค่อยเป็ นค่อยไป ซึง่ แนวคิดนี้ได้ถกู สอดแทรกเข้ามาในประเทศอิสลาม ซึง่ รัฐบาลอิสลาม หลายแห่งได้ปฏิบตั ติ าม และด�ำเนินนโยบายตามแนวคิดนี้ การเคลือ่ นไหวของ Ataturk ใน ตุรกี เรซาข่านและโมฮัมหมัดเรซาในอิหร่านเป็ นตัวอย่างของข้อเท็จจริงนี้ ในขณะทีน่ กั ทฤษฎี หลายคนของโลกยังเชื่อ และย�ำ้ ถึงการด�ำรงอยู่ของมิตทิ างสังคมและการเมืองทีแ่ ข็งแกร่งใน อิสลาม(Giddens, 2002: 516)


การปฏิวตั อิ สิ ลามในอิหร่าน ไม่เพียงแต่สร้างอุปสรรคต่อกระบวนการแยกตัวออก จากศาสนาของผูน้ ำ� และหุ่นเชิดของสังคมอิสลามเท่านัน้ แต่ยงั ส่งผลกระทบต่อค�ำสอน ศาสนาอืน่ ในโลกทีไ่ ด้รบั การบิดเบือน ในสถานการณ์เช่นนี้การปฏิวตั อิ สิ ลามเหมือนท้าทาย ทฤษฎีทใ่ี ห้เลิกนับถือศาสนา โดยเน้นย�ำ้ และให้ความส�ำคัญต่อบทบาทของศีลธรรมและจิต วิญญาณในชีวติ ทางสังคมของมนุษย์ ศิลปะอันยิง่ ใหญ่ประการหนึ่งของผูก้ ่อตัง้ สาธารณรัฐ อิสลามคือ การตระหนักถึงพลังอันยิง่ ใหญ่ของวัฒนธรรมศาสนา และการใช้ประโยชน์จาก มันให้เกิดประโยชน์สูงสุด การถือก�ำเนิดขึ้นของการปฏิวตั อิ สิ ลามในอิหร่าน ได้ทำ� ลายความ สมดุลทางการเมือง วัฒนธรรม และสังคมของนักทฤษฎีสงั คม และกลายเป็ นขบวนการหลัก ทีจ่ ะน�ำไปสู่การพัฒนาในอนาคตอันไกลโพ้น การเปลีย่ นแปลงได้แผ่ขยายกว้างออกไป ถึง ขัน้ ทีว่ า่ การปฏิวตั อิ สิ ลามมีอทิ ธิพลกันนักทฤษฎีเหล่านัน้ อันเป็ นเหตุทำ� ให้พวกเขาทบทวน ทฤษฎีความสมดุลของพวกเขาใหม่ และเรียกศตวรรษหน้าว่าเป็ นศตวรรษแห่งการพัฒนา ศาสนาและจิตวิญญาณ ตามที่ Ander Malraux กล่าวว่า “ศตวรรษหน้าจะไม่มหี รือไม่กท็ กุ คนจะนับถือศาสนา” (Bavand 1378: 85) สาส์นทีน่ ่าสนใจของการปฏิวตั อิ สิ ลามคือ สามารถเปิ ดทางให้ประชาชาติมสุ ลิมฟื้ น อัตลักษณ์อสิ ลามของตน และฟื้ นฟูอารยธรรมอิสลามขึ้นใหม่โดยอาศัยความเชื่อมันตั ่ วเอง ทางวัฒนธรรม และสัญลักษณ์ของการปฏิวตั ทิ างวัฒนธรรมโลก ถึงแม้ว่าอารยธรรมอิสลามก�ำลังเสือ่ มถอยอย่างไม่เคยมีมาก่อนหลังจากทีเ่ คยรุ่ง เรื่อง แต่ความรูส้ กึ ลึกๆ ในการกลับไปสู่อสิ ลาม และอารยธรรมอิสลามยังคงมีอยู่ในโลก อิสลามเสมอมา การเคลือ่ นไหวของอิสลามในช่วงร้อยกว่าปี ทผ่ี ่านมาคือการถ่ายถอดตัวตน และอธิบายความความรูส้ กึ อันมีค่านี้ เนื่องจากลักษณะวิวฒั นาการของศาสนาอิสลาม ความ ชอบธรรมของอารยธรรมอิสลาม และกระบวนการตืน่ ตัวของอิสลามอย่างรวดเร็วในด้านหนึ่ง และความเสือ่ มถอยของอารยธรรมตะวันออกและตะวันตกในอีกด้านหนึ่ง ความคิดในการ ฟื้ นฟูอารยธรรมอิสลามจึงได้ผดุ ขึ้นอีกครัง้ และและก�ำลังก้าวไปสู่ช่วงสูงสุดของมัน การตื่นตัวของอิสลามเป็ นการปูทางไปสูก่ ารฟื้ นฟูอารยธรรมอิสลาม สาส์น อิส ลาม

การตืน่ ตัวของอิสลามเป็ นหนึ่งในพัฒนาการทางสังคม และการเมืองทีย่ ง่ิ ใหญ่ทส่ี ุด ในโลกอิสลาม ซึง่ เริ่มต้นในครึ่งหลังศตวรรษที่ 20 และขยายตัวอย่างมีความหวังและอย่าง

67


รวดเร็ว กระแสแห่งการตืน่ ตัวของอิสลามได้มาถึงประเทศอียปิ ต์ เยเมน ลิเบีย ซาอุดอี าระเบีย และฯลฯ พลังประชาชาติแห่งการปฏิวตั ใิ นภูมภิ าคนี้ ได้ทำ� ลายก�ำแพงของเผด็จการและผู ้ อหังการลง เพือ่ กลับสู่อสิ ลามและการปกครองของศาสนาอันมีค่ายิง่ ในประเทศของตน การอธิบายตัวชี้วดั และหลักของการตืน่ ตัวของอิสลาม วันนี้ถอื ว่าประเด็นทีอ่ อ่ นไหว และเป็ นชะตาชีวติ ของโลกอิสลาม อันเป็ นความรับผิดชอบของนักคิดมุสลิมทีจ่ ะต้องทบทวน และตระหนักคิด แต่หลักของการยืนหยัดมีความละเอียดอ่อนมากกว่า เนื่องจากการรักษา การปฏิวตั แิ ละการตื่นตัวของอิสลามให้คงอยู่ต่อไป มีความส�ำคัญและยากกว่ามากการสร้าง มันขึ้นมา ในทัศนะของท่านผูน้ ำ� สูงสุดของการปฏิวตั อิ สิ ลามชี้ให้เห็นว่า “การตืน่ ตัวของอิสลาม หมายถึง สภาวะตื่นตัวและการรับรู ข้ องประชาชาติอิส ลาม ซึ่ง ปัจ จุบนั ได้นำ� ไปสู่ การ เปลีย่ นแปลงครัง้ ใหญ่ในภูมภิ าค และได้สร้างขบวนการต่อสูแ้ ละการปฏิวตั ขิ ้นึ มา ซึง่ ซาตาน และศัตรูทก่ี ำ� ลังครอบง�ำภูมภิ าคอยู่ไม่อาจพยากรณ์ได้ การลุกขึ้นต่อสูค้ รัง้ ใหญ่ได้ทำ� ลาย ก�ำแพงแห่งการกดขีข่ ม่ เหง และท�ำลายกองก�ำลังพิทกั ษ์พวกเขาลงได้ ไม่ตอ้ งสงสัยเลยว่าการ พัฒนาสังคมที่ย่ิงใหญ่ มักเกิดจากการสนับสนุ นความยิ่งใหญ่ทางประวัติศาสตร์ และ อารยธรรมรวมทัง้ ผลของการสัง่ สมความรูแ้ ละประสบการณ์ ในช่วง 150 ปี ทผ่ี ่านมาการ ปรากฏตัวของปัญญาชนและนักต่อสูผ้ ูย้ ง่ิ ใหญ่ พวกเขาคือผูส้ ร้างขบวนการอิสลามในอียปิ ต์ อิรกั อิหร่าน อินเดีย และประเทศอืน่ ๆ ในเอเชียและแอฟริกาและพวกเขาคือ ผูอ้ ยู่เบื้อง หลังสถานการณ์ปจั จุบนั ในโลกอิสลาม (ผูน้ ำ� สูงสุด 6/26: 1390)

สาส์น อิส ลาม

ความส�ำคัญและบทบาทของการตื่นตัวของอิสลาม สามารถเห็นได้ชดั เจนจากค�ำ พูดของท่านอิมามโคไมนี (รฎ.) ทีก่ ล่าวว่า “ตอนนี้ประเทศทีถ่ กู กีดกันทัว่ โลกได้ต่นื ขึ้นแล ้ว และอีกไม่นานความตืน่ ตัวเหล่านี้จะน�ำไปสูก่ ารลุกขึ้นต่อสู ้ และการเคลือ่ นไหวและการปฏิวตั ิ ในทีส่ ุด และพวกเขาจะช่วยเหลือตัวเองจากผูก้ ดขีท่ ห่ี ยิง่ ผยอง และผูท้ เ่ี ป็ นมุสลิมทีย่ ดึ มัน่ ในคุณค่าของอิสลาม จะเห็นการแยกตัวออกจากตะวันออก และตะวันตก) (อิมามโคมัยนี 40: 1387)

68

คลืน่ แห่งการตื่นตัวของอิสลามก�ำลังแพร่ขยาย เมือ่ พวกตะวันออกละกลุม่ ตะวัน ตกก�ำลังพังทลายลง เงือ่ นไขของเวลาก�ำลังเป็ นประโยชน์ต่ออิสลามและการตืน่ ตัวของอิสลาม ถ้าหากมีการจัดการทีด่ ี ชัยชนะของผูน้ บั ถือศาสนาอิสลามในประเทศอิสลามจะเกิดขึ้นอย่าง


แน่นอน ซึง่ เป้ าหมายสูงสุดอยูท่ ป่ี ระชาชาติทเ่ี ป็ นหนึ่งเดียวกันของอิสลาม การสร้างอารยธรรม อิสลามยุคใหม่ วางอยู่บนพื้นฐานของศาสนา สติปญั ญา ความรู ้ และจริยธรรม (ผูน้ ำ� สูงสุด 6.26.2011) ซึง่ คุณลักษณะเด่นของการตื่นตัวของอิสลามสามารถระบุได้ดงั นี้ - ย้อนกลับไปอัลกุรอานและแบบฉบับของศาสดาและวิถขี องอุละมาอฺนกั ปราชญ์ ทางศาสนา

- รูส้ กึ เสียใจกับความเสือ่ มโทรมของโลกอิสลามและพยายามชดเชยอดีต

- การมีบทบาทอย่างจริงจังของนักคิดมุสลิมการปลุกเร้าให้เกิดการตื่นตัว

- อิทธิพลของคลืน่ แห่งการตื่นตัวทีม่ ตี ่อนักวิชาการและมวลประชาชน

- ขอบเขตของคลืน่ แห่งการตืน่ ตัวครอบคลุมขอบเขตทางภูมศิ าสตร์ของมวลมุสลิม

- ความรูส้ กึ ต่อต้านกับระบบการเมืองทีไ่ ด้รบั อิทธิพลจากตะวันออกและตะวันตก

- ความรูส้ กึ ถูกกดขีเ่ นื่องจากการครอบง�ำของลัทธิลา่ อาณานิคมเหนือโลกอิสลาม ปรารถนาทีจ่ ะมีบทบาททีแ่ ท้จริงมากขึ้นในโลกและการบรรลุสู่สถานภาพทีแ่ ท้จริง (Qutb 7: 1374)

ขณะนี้สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่านก�ำลังอยู่ในกระบวนเกิด การพัฒนา การสร้าง

สาส์น อิส ลาม

ไม่ตอ้ งสงสัยเลยว่าการปฏิวตั อิ สิ ลามคือตัวการส�ำคัญในการตืน่ ตัวของอิสลาม และ มีบทบาทอย่างมากต่อกระบวนการปลุกประชาชาติมสุ ลิม ปรากฏการณ์ของการปฏิวตั อิ สิ ลาม หลังจากผ่านไปหลายศตวรรษท�ำให้ศาสนาและสังคมอิสลามหลุดพ้นจากความโดดเดีย่ ว และ การหยุดนิ่งทัง้ ในทางปฏิบตั แิ ละวัตถุประสงค์ และพลังทีถ่ ูกขับออกมากลายเป็ นกลไกขับ เคลือ่ นส�ำหรับการเคลือ่ นไหวทัง้ หลาย รวมทัง้ การเกิดกระแสการเคลือ่ นไหวของอิสลาม ด้าน หนึ่งท�ำให้มสุ ลิมในภูมภิ าคได้ทราบและรูถ้ งึ สิทธิและความสามารถของตัวเอง ส่วนในอีกด้าน หนึ่งได้ทำ� ลายก�ำแพงอันแข็งแกร่งของเผด็จการ และความน่าเกรงขามของลัทธิลา่ อาณานิคม และจักรวรรดินยิ มลงได้อย่างราบคาบ และสิง่ นี้ได้สร้างความกล ้าหาญและความมันใจให้ ่ กบั ประชาชาติมสุ ลิมอีกครัง้

69


ความก้าวหน้า และการรักษาเสถียรภาพของตัวเองให้มนคง ั ่ โดยใช้ปจั จัยเฉพาะในการฟื้ นฟู เสถียรภาพและการพัฒนาของการตืน่ ตัวของอิสลาม และยังเป็ นศูนย์กลางของการจัดระเบียบ อารยธรรมอิสลามใหม่ เนื่องจากระบบทีย่ ดึ ตามค่านิยมของอิสลามทีก่ ่อตัง้ ขึ้นเมือ่ 1400 ปี หลังจากการถือก�ำเนิดของศาสนาอิสลาม และไม่มแี บบอย่างใด ๆ ในอดีตมาใช้เป็ นตัวอย่าง การปฏิวตั ยิ งั สามารถอดทนและต่อสูก้ บั แผนการร้าย และแรงกดดันจากภายนอกและภายใน มานานกว่า 3 ทศวรรษ ซึง่ ได้พสิ ูจน์ประสิทธิภาพของตัวเองกับโลกสมัยใหม่ทย่ี ดึ ติดกับการ แยกศาสนา ในอีกด้านหนึ่งการปฏิวตั ทิ ำ� ให้ความตกต�ำ่ และการเสือ่ มถอยของอารยธรรมอิสลาม ทีเ่ กิดขึ้นมามาหลายศตวรรษสิ้นสุดลง และเป็ นปัจจัยน�ำไปสูก่ ารฟื้ นฟูอสิ ลามบนพื้นฐานของ การกลับสู่อุดมการณ์และศาสนา และยังได้ทำ� ลายตลาดลัทธินำ� เข้าทัง้ หมดรวมถึงลัทธิ เสรีนิยมและสังคมนิยมด้วย อีกทัง้ ยังโน้มน้าวให้ผูค้ นย้อนกลับไปสู่อดุ มการณ์ และความ คิดแบบอิสลาม โดยเฉพาะในกลุม่ เยาวคนรุ่นใหม่ ค�ำขวัญการปฏิวตั ขิ องอิหร่าน เช่น การ ญิฮาด การพลีชพี การเสียสละ และค�ำขวัญทีว่ า่ ไม่มตี ะวันออกไม่มตี ะวันตก อัลลอฮฺทรงยิง่ ใหญ่ ความตกต�ำ่ ไม่มอี ยู่ในพวกเรา อเมริกาจงพินาศ และอิสราเอลจงพินาศ เป็ นหนึ่งใน ค�ำขวัญของการปฏิวตั อิ สิ ลามทีก่ ลุม่ เคลือ่ นไหว ทัง้ หลายได้นำ� เอาไปใช้ สิง่ เหล่านี้เป็ นรูปแบบ ทางการเมือง โดยมีเนื้อหาในการต่อต้าน และใช้ในการจัดการกับเหตุการณ์และปัจจัยต่างๆ ทีอ่ ธรรมต่อประชาชาติ และปัจจัยส�ำคัญอีกประการหนึ่งทีท่ ำ� ให้มสุ ลิมในประเทศอืน่ ๆ โดย เฉพาะขบวนการอิสลาม ได้ตอบรับการปฏิวตั อิ สิ ลามแห่งอิหร่านคือ การไม่น่ิงเฉยของการ ปฏิวตั ิอสิ ลามต่อการแสดงจุดยืน ที่มตี ่อประเทศตะวันตก โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกาและ ระบอบไซออนิสต์ (Shafi’i 2557).

สาส์น อิส ลาม

อิทธิพลของการปฏิวตั อิ สิ ลามต่อการเกิดอารยธรรม

70

ความโดดเด่นของการปฏิวตั อิ สิ ลามคือ การจุดประกายความหวังให้เกิดขึ้นในโลก อิสลาม และสร้างความหวังสูก่ ารปกครองในอุดมคติแบบอิสลาม การปกครองตามหลักการ ของศาสนา และการตัง้ อยู่บนความเชือ่ ตามธรรมชาติอนั บริสุทธิ์ของมนุษย์ เช่น การแสวงหา สัจธรรม ต้องการความเป็ นเอกเทศ ความยุตธิ รรม การแสวงหาเสรีภาพ การต่อต้านการ กดขี่ การต่อต้านการครอบง�ำของผูม้ อี ำ� นาจ และการสนับสนุนผูถ้ กู กดขีเ่ พิม่ ขึ้นเป็ นทวีคูณ


การปฏิวตั อิ สิ ลามสามารถยกระดับความรู ้ และการตืน่ ตัวให้เกิดขึ้นในหมูป่ ระชาชน สร้างจิต วิญญาณแห่งความกลา้ หาญในการต่อสูก้ บั พวกกดขี่ ปลุกระดมความเข้มแข็งทีม่ อี ยู่ในตัว เองให้ต่นื ขึ้นมา และสร้างความกลา้ หาญในหมู่มวลชนในการต่อสูต้ ามแนวคิดของศาสนา อิสลาม โดยสรุปแล ้วผลลัทธ์ทส่ี ำ� คัญทีส่ ุดของการปฏิวตั อิ สิ ลามในการวางรากฐาน และการ สร้างอารยธรรมอิสลามยุคใหม่สามารถกล่าวได้ดงั ต่อไปนี้ 1. การฟื้ นฟูอิสลามในเวทีโลกและแนวโน้มของผูค้ นที่เปลีย่ นมานับถือศาสนา อิสลามมากขึ้นทุกวัน 2. อิทธิพลทางสังคมอิสลามจากค�ำขวัญของการปฏิวตั แิ ห่งอิหร่าน เช่น การญิฮาด การพลีชพี และการเสียสละตนเองเป็ นหลักการพื้นฐานของการต่อสูข้ องพวกเขา ของโลก บนโลก

3. การเลือกอิสลามเป็ นอุดมการณ์แห่งการต่อสูแ้ ละการต่อต้านโดยผูท้ ่ถี ูกกดขี่ 4. ฟื้ นฟูความรูส้ กึ แห่งอิสรภาพ ความเป็ นอิสระ ของผูท้ ถ่ี กู กดขีแ่ ละถูกลิดรอน

5. การมีแนวโน้มของผูค้ นไปสูก่ ารนับถือศาสนา การล่มสลายของแนวคิดของกลุม่ ตะวันออก และเป็ นอุปสรรคกีดขวางแนวคิดเสรีนิยมและมนุษยนิยมและกลุม่ ตะวันตก 6. มีแรงบันดาลใจทีเ่ ข้มข้นของสตรีในการสวมฮิญาบ และการปรากฏตัวในกลุม่ การเคลือ่ นไหว และท้าทายประเทศตะวันตกทีเ่ ป็ นเสรีนิยมและไร้ศาสนา 7. การท�ำลายความสมดุลทางการเมือง และความมันคงแบบเก่ ่ า และพิสูจน์ให้เห็น ถึงความไม่มปี ระสิทธิผลของกลยุทธ์และแผนประชาธิปไตยและทุนนิยมทัง้ อ่อนและแข็ง ซึง่ มีศูนย์กลางอ�ำนาจอยู่ทวั ่ ภูมภิ าคของโลก

9. การถ่ายโอนมุสลิมนิกายชีอะฮ์ จากรอบนอกไปยังศูนย์กลางและโลกอิสลาม

สาส์น อิส ลาม

8. การสร้างจิตวิญญาณแห่งการปฏิวตั ิ ให้เป็ นแบบอย่างของการปฏิวตั อิ สิ ลาม เมือ่ เผชิญกับมหาอ�ำนาจของโลก

71


ทัง้ หมด 10. ความสนใจของนักวิชาการ ผูเ้ ชี่ยวชาญ และนักค้นคว้าวิจยั เกี่ยวกับศาสนา อิสลาม เพือ่ การรูจ้ กั ชีอะฮ์มากขึ้น

11. ความสนใจของผูท้ ไ่ี ม่ใช่มสุ ลิมและมุสลิมฝ่ ายซุนนะฮฺในการเรียนรูช้ อี ะฮ์ ความก้าวหน้าของอารยธรรมแห่งสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน

ต้องยอมรับว่าการปฏิวตั อิ สิ ลามเป็ นจุดเริ่มต้นของการเปลีย่ นแปลงทีย่ ง่ิ ใหญ่ และ เป็ นพื้นฐานหลักในอิหร่าน ภูมภิ าค และในโลก ท่านอิมามโคไมนี (รฎ.) ผูน้ ำ� สูงสุดของการ ปฏิวตั อิ สิ ลามกล่าวถึงการปฏิวตั อิ สิ ลามด้วยชื่อต่าง ๆ เช่น «ปาฏิหาริยแ์ ห่งศตวรรษ» หรือ «การระเบิดของแสง» และนิยามเหล่านี้เพียงพอทีจ่ ะอธิบายถึงความยิง่ ใหญ่ของการปฏิวตั ิ อิสลาม ท่านยังกล่าวต่ออีกว่า ในช่วงเริ่มต้นของสงครามเราต้องซื้อลวดหนามจากต่าง ประเทศ เพือ่ น�ำเข้าประเทศสินค้านี้ตอ้ งผ่านสหภาพโซเวียตในวันนัน้ แต่พวกเขาไม่อนุญาต ให้ผ่าน เราต้องการซื้อกระสุนส�ำหรับรถถัง แต่พวกเขาไม่ขาย เราต้องการซื้อรถถังพวกเขา ก็ไม่ขายให้เรา ผลของการคว�ำ่ บาตรเหล่านี้ทำ� ให้วนั นี้เราเป็ นหนึ่งใน 10 ประเทศชัน้ น�ำของ โลกในด้านเทคโนโลยี ด้านการต่อต้านและป้ องกัน 1383/2/15

สาส์น อิส ลาม

ท่านผูน้ ำ� สูงสุดยังกล่าวต่ออีกว่า ฉันจะไม่ลมื ว่าครัง้ หนึ่งพวกเขาต้องการสร้างโรง ไฟฟ้ าพลังานกาซในทีห่ นึ่ง ทีส่ ร้างค้างไว้ตงั้ แต่ก่อนการปฏิวตั ิ เราบอกเจ้าหน้าผูร้ บั ผิดชอบ โครงการในตอนนัน้ ให้ท�ำให้เสร็จ ซึง่ ตอนนัน้ ข้าพเจ้าเป็ นประธานาธิบดี พวกเขากล่าวว่า «ท่าน ครับเป็ นไปไม่ได้» แต่วนั นี้วศิ วกรรุ่นใหม่ของเราก�ำลังสร้างโรงไฟฟ้ าทีท่ นั สมัยทีส่ ุดในรูป แบบต่าง ๆ ในประเภทต่าง ๆ และวันนี้เราก็ยงั สามารถสร้างโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ได้อกี ด้วย 1/26/2011

72

ในช่วงทีฉ่ นั ด�ำรงต�ำแหน่งประธานาธิบดี เรามีโรงไฟฟ้ าทีเ่ ริม่ ต้นสร้างตัง้ แต่สมัยการ ปกครองก่อนหน้า มันถูกสร้างเสร็จเพียงครึ่งเดียว พวกเขาวนเวียนไปมาอยู่หลายรอบและ ไปหานายหน้าจากทัง้ ต่างประเทศและในประเทศ เพือ่ สร้างให้เสร็จมีผูเ้ ชี่ยวชาญคนอิหร่าน


เองไปท�ำงานนี้และท�ำจนเสร็จ เขาท�ำอย่างดีและมันสามารถให้บริการไฟฟ้ ามาหลายปี แล ้ว เขือ่ นแห่งหนึ่งใกล ้กรุงเตหะรานเก็บกักน�ำ้ ไว้ พวกเขากล่าวว่า : เราสามารถสร้าง เขือ่ นได้หรือ? คนหนุ่มสาวของเราพยายามสร้างเขือ่ นจนปัจจุบนั ประเทศสาธารณรัฐอิสลาม เป็ นผูส้ ร้างเขื่อนที่ดีท่สี ุดในภูมภิ าคนี้ ประเทศในภูมภิ าคของเราไม่มปี ระเทศใดเฉกเช่น สาธารณรัฐอิสลาม ทีส่ ามารถสร้างเขือ่ นขนาดใหญ่ได้ทงั้ เขือ่ นคอนกรีตหรือเขือ่ นดิน เราสามารถสร้างโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ได้เช่นกัน แต่เราต้องเริ่มตัง้ แต่วนั นี้ อีกไม่ก่ปี ี จะได้ผลลัพทธ์อนั หน้าประทับใจ วันนี้ถา้ เราไม่ได้เริ่มการเพิม่ คุณค่าแร่ยูเรเนียม ในทีส่ ุดเรา ก็จะเริ่มในอีกสิบปี ต่อมาจนได้ วันนี้เราอยูใ่ นช่วงของการเสริมสมรรถนะยูเรเนียม ซึง่ เราอยูใ่ น 10-11 ของประเทศ ทัวโลกที ่ ม่ เี ทคโนโลยีน้ ี ซึง่ เทคโนโลยีน้ เี ป็ นภูมปิ ญั ญาพื้นเมืองของเยาวชนของเรา อีกตัวอย่าง หนึ่งคือการผลิตและการแพร่กระจายของเซลล์ตน้ ก�ำเนิด ผูเ้ ชี่ยวชาญและนักวิทยาศาสตร์ ของโลกต่างยอมรับว่า เยาวชนของเราด้วยการสนับสนุนจากความศรัทธา ความขยันหมัน่ เพียร และความกระตือรือร้นท�ำให้เราสามารถก้าวไปสู่หนทางทีย่ อดเยีย่ มได้ (2546/6/26) และตามรายงานของศูนย์ข ้อมูลทีม่ ชี อ่ื เสียงระดับโลก อิหร่านมีอนั ดับทางวิทยาการ เป็ นอันดับแรกในภูมภิ าค และเป็ นอันดับทีส่ บิ เจ็ดของโลก

ความก้าวหน้าทางวิทยาการและเทคโนโลยีของรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน

1. สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่านก�ำลังกลายเป็ นศูนย์กลางทางการแพทย์ในเอเชีย ตะวันตก ความรูท้ างการแพทย์ในอิหร่าน โดยเฉพาะในด้านต่าง ๆ เช่นการผลิตเซลล์ตน้ ก�ำเนิด การซ่อมแซมไขสันหลัง การผลิตยาเชิงกลยุทธ์ การโคลนนิ่งสัตว์เป็ นต้น และความ ก้าวหน้าทีส่ ำ� คัญนี้ของอิหร่านอยู่ในระดับต้น ๆ ของโลก

สาส์น อิส ลาม

2. ปัจจุบนั สาธารณรัฐอิสลามกลายเป็ นประเทศนิวเคลียร์ และเป็ นสมาชิกของกลุม่ ประเทศนิวเคลียร์ของโลก แม้จะมีการคว�ำ่ บาตรและการคุกคาม แต่อหิ ร่านก็ประสบความ ส�ำเร็จครบวงจรด้านเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ และ (การเพิม่ สมรรถภาพ) ด้วยความุง่ มันและความ ่ พยายามของเยาวชน และผูเ้ ชีย่ วชาญและเทคโนโลยีในสาขานี้อหิ ร่านเป็ นหนึ่งในแปดประเทศ

73


ทีพ่ ฒั นาดีทส่ี ุดในโลก 3. การเข้าสู่ World Space Club เป็ นอีกหนึ่งในหลาย ๆ ผลงานความส�ำเร็จทาง วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของประเทศในช่วงหลังการปฏิวตั ิ ปัจจุบนั สาธารณรัฐอิสลาม เป็ นประเทศเดียวในภูมภิ าคทีม่ คี วามรู ้ และเทคโนโลยีทเ่ี ป็ นภูมปิ ญั ญาพื้นเมือง ปัจจุบนั อิหร่านเป็ นหนึ่งใน 6 ประเทศทีอ่ อกแบบสร้างและส่งดาวเทียมบนโลก 4. ความส�ำเร็จอันทรงคุณค่าในด้านนาโนเทคโนโลยี เลเซอร์และอืน่ ๆ การพัฒนา ด้านอุตสาหกรรมเหล็กและอลูมเิ นียม เป็ นผลของความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีของอิสลามอิหร่าน ซึง่ ปัจจุบนั อิหร่านอยูใ่ นอันดับที่ 12 ของโลกในด้านนาโนเลเซอร์ 5. การเติบโตและการพัฒนาของอุตสาหกรรมยานยนต์ การเติบโตและการพัฒนา ของอุตสาหกรรมเหล็กและอลูมเิ นียม การเติบโตและการพัฒนาของอุตสาหกรรมการต่อเรือ การเติบโตและการพัฒนาอุตสาหกรรมอากาศยาน ด้วยความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ใน การก่อสร้างท่าเทียบเรือการขุดเจาะบ่อน�ำ้ มันและก๊าซ การก่อสร้างโรงกลัน่ การสร้างเขือ่ น การสร้างทางหลวง และการก่อสร้างโครงสร้างเหล็กและคอนกรีตต่าง ๆ เป็ นผลงานการ พัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอน่ื ๆ ของประเทศนี้ การพัฒนาทางทหารบางประการของอิหร่าน

• สร้างอาวุธเบาและกึ่งหนักได้หลากหลายตามความจ�ำเป็ นในกองทัพ • สร้างขีปนาวุธระยะกลางและระยะไกลทุกชนิดทัง้ ยิงจากพื้นสู่พ้นื และยิงจากพื้นสู่ อากาศ • การสร้างขีปนาวุธพิสยั สัน้ และพิสยั ไกลและขีปนาวุธในประเภทต่าง ๆ

สาส์น อิส ลาม

• ผลิตขีปนาวุธต่อต้านอากาศยานทุกชนิด สร้างรถเกราะชนิดต่าง ๆ รถถังและอาวุธ ต่อต้านรถถังชนิดต่าง ๆ

74

• สร้างเรือรบ เรือฟริเกตและเครื่องบินบินสูง • สร้างเครื่องบินทหารและเครื่องบินไร้คนขับและเฮลิคอปเตอร์


• มีความก้าวหน้าอย่างมากในสงครามอิเล็กทรอนิกส์และสงครามไซเบอร์

ปัญหาและอุปสรรคในการฟื้ นฟูอารยธรรมอิสลาม

การสร้างและการยกระดับอารยธรรมก็เหมือนกับปรากฏการณ์อน่ื ๆ ทางสังคมที่ จะต้องมีปจั จัยและมีเงือ่ นไขอันเฉพาะ ถ้าหากมีเงือ่ นไขหรือปัจจัยไม่ครบก็อาจจะท�ำให้เกิด ภาวะถดถอย หรือสิ้นสุดของอารยธรรมได้ ปัจจัยและอุปสรรคที่กีดขวางการพัฒนาทาง อารยธรรมอิสลาม สามารถแบ่งออกเป็ น 2 ส่วน ดังนี้ 1. ปัยจัยภายใน การกดขีข่ องผูป้ กครอง ความเขลาของมวลชนมุสลิม ความล ้า หลังทางด้านการศึกษาและอารยธรรม อิทธิพลของความเชื่อในสิง่ งมงายทีม่ อี ยู่ในแนวคิด ของมุสลิม การทิ้งระยะห่างจากอิสลามอันบริสุทธิ์ ความขัดแย้งในเรื่องนิกายและความเชื่อ รวม ทัง้ การตีความแนวคิดอิสลามบางส่วนทีผ่ ดิ พลาด เหล่านี้คอื สาเหตุภายในทีท่ ำ� ให้เกิด ภาวะถดถอยของอารยธรรมอิสลาม 2. ปัจจัยภายนอก เกิดจากอิทธิพลของนักล่าอาณานิคมตะวันตกและการแทรกซึม ของพวกเขา และการบ่อนท�ำลายของศัตรูอสิ ลามทัง้ หมดถือเป็ นปัจจัยภายนอกทีส่ ำ� คัญทีส่ ุด พวกเขาคอยจ้องท�ำลายวัฒนธรรมและอารยธรรมอิสลาม ซึง่ ส่วนมากแล ้วจะมาในรูปแบบ ของการรุกรานทางการเมืองและวัฒนธรรม ขณะทีก่ ารรุกรานทางวัฒนธรรมมีมากและเป็ น เรื่องทีป่ ้ องกันก็ยากกว่า การรุกรานทางวัฒนธรรมศัตรูอาจใช้อาวุธยุทโธปกรณ์ และอาจมี เป้ าหมายและยุทธวิธที แ่ี ปลกใหม่ ซึง่ มุสลิมบางคนเห็นศัตรูเป็ นมิตร จึงคิดว่าแผนการร้าย ของศัตรูเป็ นการกระท�ำทีเ่ ป็ นมิตร (เซาวาฟ / เบต้า / 470/432)

ปัญหาและอุปสรรคอืน่ ในการฟื้ นฟูอารยธรรมอิสลาม

สาส์น อิส ลาม

1. ขาดผูน้ ำ� ทีเ่ ป็ นหนึ่งเดียว การเคลือ่ นไหวทางสังคมและวัฒนธรรมทีเ่ กิดขึ้น และ ก�ำลังพัฒนาต้องการการชี้นำ� ทีเ่ ป็ นหนึ่งเดียว เพือ่ ขจัดปัญหาไม่ให้เกิดความสับสนวุ่นวาย และเป็ นทีน่ ่าเสียใจว่าศาสนาอิสลามแบ่งออกเป็ นกลุม่ ต่างๆ มากมาย แนวคิดของแต่ละกลุม่ ต่างกัน บางครัง้ เกิดจากแนวคิดทีเ่ ข้าใจผิดทางศาสนา จึงกลายเป็ นความเชือ่ ทีข่ ดั แย้งกัน ดัง จะเห็นว่าปัจจุบนั บางกลุม่ ชนมีความเชื่อสุดโต่งเกิดขึ้น ปัญหาดังกล่าวนี้กย็ งั คงมีอยู่ เพราะ พวกเขาเชื่อว่าแนวคิดแบบชีอะฮ์ เป็ นแนวคิดของผูป้ ฏิเสธศรัทธา พวกเขาจึงไม่พร้อมทีจ่ ะ

75


ใช้ชวี ติ อยู่ร่วมกันภายใต้อารยธรรมเดียวกัน 2. การรุกรานทางวัฒนธรรม การรุกรานทางวัฒนธรรมเป็ นอุปสรรคส�ำคัญ ทีท่ ำ� ลาย อารยธรรมอิสลาม ซึง่ ตะวันตกพยายามจะใช้วฒั นธรรมของตนเองครอบง�ำสังคมโลก พวก เขาต้องการเปลีย่ นแปลงสังคมให้กลายเป็ นสังคมแห่งวัตถุ ซึง่ ถือเป็ นอุปสรรคส�ำคัญในการ เติบโตของอารยธรรมอิสลาม ถ้าหากพิจารณาถึงความพยายามอย่างหนักของพวกเขาในช่วง ศตวรรษทีผ่ ่านมา จะเห็นนว่าพวกเขาพยายามเผยแพร่วฒั นธรรมของเขาในรูปแบบต่างๆ เพือ่ มุง่ หวังความส�ำเร็จ ไม่วา่ จะเป็ นเรื่องการบริโภคนิยม ดังจะเห็นว่าในช่วงทศวรรษทีผ่ ่า นร้านฟาสฟูส ได้เติบโตและขยายกิจการไปทัว่ โลก หรือความฟุ่มเฟื อยทีเ่ กิดขึ้นในปัจจุบนั ซึง่ มาในรูปแบบทีแ่ ตกต่างกันไม่วา่ จะเป็ นโมเดิลเสื้อผ้า รองเท้น โทรศัพท์มอื ถือ หรือแม้แต่ ทรงผม สิง่ เหล่านี้มนั เกิดจากความพยายามของพวกเขา ทีต่ ระเตรียมแผนการณ์มาเพือ่ กีดกัน มิให้อารยธรรมอิสลามเติบโต และมองดู ว่าเป็ นความลา้ สมัย (มะดะนีย ์ บะญัสตานีย ์ 84/1374) 3. ความขัดแย้งทางชาติพนั ธุใ์ นหมูม่ สุ ลิม ความแตกแยกทางทางมัซฮับ (นิกาย) ในหมูม่ สุ ลิมทีเ่ กิดขึ้นในประเทศต่างๆ เกิดจากการมีชาติพนั ธุท์ แ่ี ตกต่างกัน ซึง่ บางครัง้ ก็มี การยอมรับในชาติพนั ธุข์ องตัวเองแบบมีอคติ จึงไม่พร้อมทีจ่ ะประนีประนอม หรือเข้ามาอยู่ ร่วมกับอารยธรรมผูอ้ น่ื เรื่องนี้จงึ เป็ นเรื่องของความอคติทเ่ี กิดขึ้นมากในประเทศทีม่ คี วาม หลากหลายทางชาติพนั ธ์ เช่น ในประเทศ เลบานอน ซีเรีย อิรกั เป็ นต้น

สาส์น อิส ลาม

4. ปัญหาเศรษฐกิจของสังคมมุสลิม สภาพทางเศรษฐกิจของสังคมมุสลิม เป็ นความ กังวลของผูป้ กครองและประชาชนมาตลอด ซึง่ ในความเป็ นจริงแลว้ ปัญหาดังกล่าวส่งผล มากมายกับสังคมทัง้ ในแง่วตั ถุ และทางจิตวิญญาณดังเป็ นทีท่ ราบกันดีวา่ ประเทศมุสลิมส่วน ใหญ่ ประสบปัญหาด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ และถูกจัดว่าเป็ นประเทศด้อยพัฒนา แม้วา่ ประเทศอาหรับบางประเทศหรือตุรกีและอิหร่าน จะสามารถเดินหน้าสูก่ ารพัฒนาไปมากแล ้ว ก็ตาม แต่ในทางเศรษฐกิจประเทศต่าง ๆ เหล่านี้ ก็ยงั ประสบปัญหามากมาย และยังไม่มี เสถียรภาพคู่ควรทางด้านเศรษฐกิจ

76

โดยทัว่ ไปแล ้วอาจกล่าวได้วา่ การสูร้ บในทางประวัตศิ าสตร์ การเผยแพร่อสิ ลาม และการก่อตัง้ สังคมอิสลามในประเทศทีต่ ่างๆ ของโลก เป็ นการท�ำลายล ้างการปกครองของ


คริสเตียนในประเทศเหล่านัน้ การเพิม่ ขึ้นของจ�ำนวนมุสลิมในสังคม ความแตกต่างในมุม มองเกีย่ วกับศาสนา การกระทบกระทังกั ่ นในศาสนา การตอบโต้แนวคิดของบรรดาคริสเตียน โดยมุสลิม สิง่ เหล่านี้เป็ นปัจจัยทีท่ ำ� ให้เกิดความไม่สงบเกิดขึ้น และศาสนาอิสลามก็จดั อยู่ใน ฐานะผูท้ ำ� ลายล ้างอัตลักษณ์ของตะวันตก ด้วยเหตุน้ งี ไม่ตอ้ งสงสัยเลยว่าตะวันตกโดยการน�ำ ของอเมริกา จะต้องขัดขวางการเกิดขึ้นมาของมหาอ�ำนาจใหม่จากประเทศมุสลิม และนี่กเ็ ป็ น อีกตัวการหนึ่งทีเ่ ป็ นอุปสรรคในการพัฒนาอารยธรรม ซึง่ ยังมีปจั จัยอืน่ ๆ ทีเ่ ป็ นอุปสรรค เช่นกัน อาทิเช่น • การบิดเบียนเรื่องการท�ำความเข้าใจศาสนาของกลุม่ ชนบางกลุม่ • การมีแนวคิดทางการเมืองแบบตะวันตกของผูป้ กครองประเทศมุสลิม • ความล ้าหลังทางความคิด • ปัญญาชนทีม่ แี นวคิดผิดเพี้ยน • ปัญหาความแตกแยก • การใช้ความรุนแรงและวิธกี ารทีไ่ ม่ถกู ต้อง โดยอ้างว่าเป็ นการต่อสูเ้ พือ่ ศาสนา สิง่ เหล่านี้เป็ นเหตุสำ� คัญท�ำทีถ่ กู จัดตัง้ มาเพือ่ ท�ำลายโฉมหน้าทีแ่ ท้จริงของนักสู ้ และ ท�ำให้รฐั อิสลามต้องสูญเสียค่าใช้จ่ายเป็ นจ�ำนวนมาก • ไม่มเี ป้ าหมายและยุทธศาสตร์ทช่ี ดั เจนในการต่อสู ้

การวิเคราะห์ขอ้ มูล

จากค�ำถามทีต่ งั้ ขึ้นในแบบสอบถามสุม่ ตัวอย่างทีไ่ ด้สอบถามจากประชาชน ซึง่ สถิติ การนับผลของแบบสอบถามได้ขอ้ มูลสรุปดังนี้ : ตารางที่ 1 แบบสอบถามตามตัวชี้วดั ด้านเศรษฐกิจ ปานกลาง สูง 32.0 24.0

สูงมาก ค่าเฉลี่ยจาก 4 8.0 2.04

สาส์น อิส ลาม

ต�่ำ กระจายความยุติธรรม 36.0

77


สวัสดิการสาธารณะ การจ้างงานและการค้า การพึ่งตนเอง การพัฒ นาและความ เจริ ญ

20.0 40.0 8.0 0.0

52.0 36.0 32.0 44.0

24.0 16.0 48.0 52.0

4.0 8.0 12.0 4.0

2.12 1.92 2.64 2.6

ดังทีเ่ ราจะเห็นในตารางที่ 1 จากบรรดาตัวชี้วดั ทีใ่ ช้พจิ ารณาด้านเศรษฐกิจ การ พึง่ พาตนเองและความพอเพียงของผูต้ อบแบบสอบถาม เป็ นไปในทางทีส่ ูงและสูงมาก (ค่า เฉลีย่ = 2.64) อันดับต่อมาคือการพัฒนาและความเจิรญ (ค่าเฉลีย่ = 2.6) สวัสดิการ สาธารณะ ( ค่าเฉลีย่ = 2.12) และการกระจายความยุตธิ รรม (ค่าเฉลีย่ = 4.04) และสุดท้าย การจ้างงานและการค้า (ค่าเฉลีย่ = 1.92)

สาส์น อิส ลาม

ตารางที่ 2: แบบสอบถามตามตัวชี้วดั ทางการเมือง

78

โครงสร้าง ระบบ ค่านิยมและ ความเชื่อในพระเจ้า การสร้างความ มัน่ คงและการอยู่ ร่ วมกับประเทศ ในภูมิภาคและโลก การสร้างสิ ทธิและ พื้นฐานส�ำหรับ การมีส่วนร่ วม ทางการเมือง

ต�่ำ

ปานกลาง

สูง

สูงมาก

ค่าเฉลี่ยจาก 4

12.0

16.0

40.0

32.0

2.92

4.0

20.0

52.0

24.0

2.96

4.0

40.0

40.0

16.0

2.68


มีส่วนสนับสนุน ในการก่อตั้งรัฐบาล โลกอิสลาม

8.0

24.0

24.0

40.0

2.96

ในบรรดาตัว ชี้ว ดั เหล่า นี้ อ งค์ก รทางการเมือ งที่ร ะบุไ ว้ใ นตารางที่ 2 ผู ต้ อบ แบบสอบถามได้ประเมินการมีส่วนสนับสนุนในการก่อตัง้ รัฐบาลโลกอิสลาม และการสร้าง ความมันคง ่ และการอยู่ร่วมกันกับประเทศในภูมภิ าคและโลก อยู่ในระดับทีส่ ูงกว่าตัวชี้วดั อืน่ (ค่าเฉลีย่ = 2.96) และอันดับต่อมาโครงสร้าง ระบบค่านิยมและความเชือ่ ในพระเจ้า (ค่า เฉลีย่ = 2.92) และอันดับสุดท้ายได้ประเมินการสร้างสิทธิ และการสร้างพื้นฐานส�ำหรับการ มีส่วนร่วมทางการเมืองโดยมีค่าเฉลีย่ 2.67 ในระดับปานกลางทีค่ ่อนไปทางสูง ตารางที่ 3: แบบสอบถามตามตัวบ่งชี้ประเพณี ทางศีลธรรม ต�่ำ

สูง

สูง มาก

ค่าเฉลี่ย จาก 4

36.0

48.0

8.0

2.56

36.0

44.0

0.0

2.24

32.0

48.0

12.0

2.64

28.0

28.0

12.0

2.2

ข้อมูลในตารางที่ 3 แสดงให้เห็นว่าในบรรดาตัวบ่งชี้ดา้ นประเพณีทางศีลธรรม

สาส์น อิส ลาม

ให้ความสนใจวัฒนธรรม และวิถีชีวติ แบบอิสลาม 8.0 พื้นเมือง การสร้างจริ ยธรรมในการ 20.0 ปฏิสมั พันธ์ทางสังคม การสร้างความสามัคคี และเอกภาพในกลุ่ม 8.0 ชาติพนั ธุ์และสังคม การสร้างอิสรภาพและ อดทนต่อความคิดที่ 32.0 แตกต่าง

ปาน กลาง

79


ผูต้ อบแบบสอบถประเมินว่าการสร้างความสามัคคี และการมีความสามัคคีในกลุม่ ชาติพนั ธุ ์ และกลุม่ ชนต่างๆ ทางสังคมออยู่ในอันดับสูง และสูงมาก (ค่าเฉลีย่ = 2.6 และ 4) อันดับ ต่อมาได้ประเมินให้ความส�ำคัญกับวัฒนธรรม และวิถชี วี ติ แบบอิสลาม และชนพื้นเมืองอยู่ ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลีย่ = 2.5) = 2.2) และประเมินให้การสร้างอิสรภาพและการอดทน ต่อความคิดทีแ่ ตกต่างอยู่อนั ดับสุดท้าย (ค่าเฉลีย่ 2.2) ตารางที่ 4: แบบสอบถามตามตัวชี้วดั เป็ นการขยายการรับรูแ้ ละความสมจริง ต�่ำ ความรู ้ของชาติและ การผลิตความรู ้ ความก้าวหน้า ในเทคโนโลยี สมัยใหม่ การยกระดับความรู ้ และการเผยแพร่ ศิลปะ

ปานกลาง สูง

สูงมาก

ค่าเฉลี่ยจาก 4

0.0

16.0

52.0

32.0

3.16

0.0

20.0

44.0

36.0

3.16

16.0

20.0

44.0

20.0

2.67

ในบรรดาตัวชี้วดั ทัง้ หลายการสร้างความตระหนักรูใ้ ห้สมจริง ซึง่ แสดงไว้ในตาราง ที่ 4 ผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่ให้คะแนนสองตัวชี้วดั ในระดับสูงและสูงมาก ส�ำหรับตัว บ่งชี้ความรูแ้ ละการผลิตแห่งชาติในด้านเทคโนโลยีใหม่ โดยมีค่าเฉลีย่ 3.16 และให้การยก ระดับความรูแ้ ละการเผยแพร่ศิลปะอยู่ในระดับต่อมา (ค่าเฉลีย่ 2.68)

สาส์น อิส ลาม

ตารางที่ 5: แบบสอบถามตามตัวชี้วดั การบริการสาธารณะ

80

ต�่ำ

ปาน กลาง

สูง

สูงมาก

ค่าเฉลี่ยจาก 4


การตอบสนองความ ต้องการของชุมชน และแรงดึงดูดความพึง พอใจของประชาชน การปรับปรุ งระดับ สุ ขภาพและความ แข็งแรง ตอบสนองความ ต้องการทางกฎหมาย และตระหนักถึงสิ ทธิ ของสังคม พัฒนาความรู ้สึก ปลอดภัยและความ สงบเรี ยบร้อยในสังคม

12.0

44.0

36.0

8.0

2.4

4.0

32.0

24.0

40.0

3.0

16.0

36.0

40.0

8.0

3.0

4.0

36.0

32.0

28.0

2.84

ตัวชี้วดั การสวัสดิการสาธารณะทีแ่ สดงไว้ในตารางที่ 5 จากค่าเฉลีย่ ทีไ่ ด้รบั ในตาราง นี้ ผูต้ อบแบบสอบถามได้ประเมินการส่งเสริมสุขภาพ และความเป็ นอยู่ทด่ี ตี ลอดจนการให้ ความต้องการทางกฎหมาย และการตระหนักถึงสิทธิชมุ ชนในระดับทีส่ ูง (ค่าเฉลีย่ = 3) และ หลังจากนัน้ พวกเขาได้ประเมินการพัฒนาความปลอดภัย และความสงบเรียบร้อยในสังอยู่ ในอันดับต่อมา (ค่าเฉลีย่ 2.48) และให้การตอบสนองความต้องการของชุมชน และดึงดูด ความพึงพอใจของประชาชนอยู่ในระดับปานกลาง และระดับสูง (ค่าเฉลีย่ 2.4)

สาส์น อิส ลาม

ในจ�ำนวนตัวชี้วดั การจัดเตรียมเงือ่ นไข ส�ำหรับการส�ำนึกในอารยธรรมอิสลามทีเ่ รา เห็นจากผลการวิจยั ในตารางที่ 6 จะเห็นว่าการยกระดับและการส่งเสริมให้ประเทศอยู่ใน ฐานะแม่แบบของโลกอิสลาม ได้รบั คะแนนจากผูต้ อบแบบสอบถามมากทีส่ ุด (2.96) การยก ระดับความครอบคลุม และความดึงดูดใจของเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมในภูมภิ าคและโลก อยู่ในอันดับต่อมา (ค่าเฉลีย่ = 2.68) การพัฒนาความน่าสนใจของระบบโมเดล เพือ่ แสดง ถึงธรรมาภิบาลอยูใ่ นอันดับต่อมา (ค่าเฉลีย่ = 256) การเป็ นแบบจ�ำลองพฤติกรรมและข้อมูล

81


อ้างอิงส�ำหรับทุกประเทศทัว่ โลก (ค่าเฉลีย่ = 2.44) การสร้างและติดตามความก้าวหน้าที่ ครอบคลุมและตัวชี้วดั (ค่าเฉลีย่ 2.44) การปกป้ องคุณค่าที่มปี ระสิทธิผล และส่งเสริม การเมืองอยู่ในระดับต�ำ่ กว่าตัวชี้วดั อืน่ ได้กล่าวมาก่อนหน้านี้ และตัวบ่งชี้สุดท้ายทีป่ ระเมิน โดยผูต้ อบแบบสอบถามคือ มีตวั ชี้วดั สูงสุดเกี่ยวกับผลผลิตและพัฒนาการของมนุษย์ (ค่า เฉลีย่ = 2.27) ตารางที่ 6 แบบสอบถามตามตัวชี้วดั การจัดเตรียมเงือ่ นไขส�ำหรับการส�ำนึ กในอารยธรรม อิสลาม ต�่ำ

สาส์น อิส ลาม

การสร้างและติดตาม ความก้าวหน้า ที่ครอบคลุมและ ตัวชี้วดั การเป็ นแบบจ�ำลอง พฤติกรรมและ แหล่งอ้างอิงส�ำหรับ ทุกประเทศทัว่ โลก การส่ งเสริ มให้ ประเทศเป็ นแม่แบบ ของโลกอิสลาม การมีตวั ชี้วดั สูงสุ ด ในการผลิตและ การพัฒนาของมนุษย์

82

ปานกลาง สูง

สูงมาก

ค่าเฉลี่ยจาก 4

20.0

32.0

32.0

16.0

2.44

12.0

40.0

28.0

20.0

2.56

4.0

28.0

26.0

32.0

3.96

24.0

32.0

26.0

8.0

2.28


การปกป้ องคุณค่าที่มี ประสิ ทธิผลและ ส่ งเสริ มการเมือง การพัฒนาความ น่าสนใจของระบบ โมเดลเพื่อแสดงถึง ธรรมาภิบาล เพิม่ ระดับความ ครอบคลุมและความ ดึงดูดใจของ เอกลักษณ์ทาง วัฒนธรรมในภูมิภาค และโลก

16.0

36.0

40.0

8.0

2.4

8.0

28.0

52.0

12.0

2.68

4.0

36.0

32.0

28.0

2.84

ตารางที่ 7 แบบสอบถามตามตัวชี้วดั พื้นฐานหลักในการสร้างอารยธรรมอิสลาม

กิจการเศรษฐกิจ องค์กรทางการเมือง ประเพณี ทางศีลธรรม ส่ งเสริ มการรับรู ้และ ความสมจริ ง บริ การสาธารณะ สร้างเงื่อนไขของการ เกิดอารยธรรมอิสลาม

40.0 20.0 28.0

24.0 52.0 48.0

8.0 20.0 4.0

4.0

28.0

32.0

36.0

3.00

8.0

40.0

36.0

16.0

2.60

12.0

36.0

40.0

12.0

2.52

ปานกลาง สูง สูงมาก

สาส์น อิส ลาม

28.0 8.0 20.0

ค่าเฉลี่ยจาก 4 2.12 2.84 2.36

ต�่ำ

83


ในตารางที่ 7 เราตรวจสอบตัวชี้วดั หลักการวิจยั หรือเสาหลักในการสร้างอารยธรรม อิสลามยุคใหม่ ผลการวิจยั ของตารางนี้สามารถกล่าวได้วา่ ผูต้ อบแบบสอบถามทีอ่ ยู่ในการ ศึกษา ประเมินการรับรูแ้ ละความสมจริงในระดับทีด่ กี ว่าตัวชี้วดั อืน่ ๆ (ค่าเฉลีย่ = 3) ตาม ด้วยตัวชี้วดั องค์กรทางการเมืองทีม่ คี ่าเฉลีย่ (2.77) หลังจากสองตัวชี้วดั ทีก่ ล่าวมาข้างต้น สวัสดิการสาธารณะมีค่าเฉลีย่ ดีกว่าตัวชี้วดั อื่น (ค่าเฉลีย่ = 2.3) และในล�ำดับต่อมาการ ประเมินให้เงือ่ นไขส�ำหรับการตระหนักถึงอารยธรรมอิสลาม (ค่าเฉลีย่ = 2.52) และสุดท้าย ประเมินให้กจิ การทางเศรษฐกิจมีคะแนนต�ำ่ สุด และในบรรดาเสาหลักของอารยธรรมน�ำมา จากผูต้ อบแบบสอบถามทีม่ คี ่าเฉลีย่ = 2.12

บทสรุปและข้อเสนอแนะ

จากการตรวจสอบและวิเคราะห์ขอ้ มูลของการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า

- สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ได้ผา่ นเส้นทางของอารยธรรมอิสลามสมัยใหม่ใน ช่วงชีวติ อันมีค่า มีบทบาทและสถานะอันเป็ นทีย่ อมรับได้ในเรื่องนี้ - โดยทัว่ ไปผูต้ อบแบบสอบถาม 25 คนจากทัง้ หมด 19 คนกล่าวว่า ระบบอิสลาม ได้กา้ วไปสู่การพัฒนาสมบูรณ์ของการวิวฒั นาการของอารยธรรมอิสลาม

สาส์น อิส ลาม

- จากคะแนนทีไ่ ด้รบั สรุปได้วา่ สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน มีคะแนนดีในด้าน การพัฒนาและการรับรู ้ และองค์กรทางการเมือง และได้คะแนนปานกลางในด้านการบริการ สาธารณะ แต่ตอ้ งการความเอาใจใส่และความพยายามทีม่ ากกว่า ในแง่ประเพณีทางศีลธรรม และเศรษฐกิจ

84

- ตามผลจากการศึกษาเอกสารทางวิชาการ เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายสู งสุดของ อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ สาธารณรัฐอิสลาม จะต้องเป็ นองค์ประกอบหลักของอ�ำนาจรวม ถึงองค์ประกอบทางวัตถุ เช่น ทีต่ งั้ ทางภูมศิ าสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ ประชากรและความ ก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และองค์ประกอบทีไ่ ร้สาระและการบ�ำรุงรักษา การ เสริมสร้างจิตวิญญาณ เช่น ลักษณะทางวัฒนธรรมของจิตวิญญาณแห่งชาติ และอ�ำนาจ ความเป็ นผูน้ ำ�


- ระบบอิสลามได้วางแผนงานส�ำหรับการฟื้ นฟูอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ซึง่ ไม่ตอ้ ง สงสัยเลยว่าจะเกิดขึ้นได้จากการปฏิบตั ติ ามอารยธรรมอิสลามอย่างถูกต้องและเป็ นขัน้ เป็ น ตอน แผนนี้ครอบคลุมเอกสารวิสยั ทัศน์ 1404 แผนพัฒนาวิทยาการของประเทศ แผน พัฒนาวิศวกรรมและวัฒนธรรมของประเทศ และแบบจ�ำลองอิสลามเกี่ยวกับความก้าวหน้า ของอิหร่าน ซึง่ ก�ำหนดไว้อย่างชัดเจนว่าอะไรคือจุดประสงค์ของระบบอิสลามทีจ่ ะบรรลุดว้ ย การน�ำไปใช้อย่างถูกต้อง และการสร้างอารยธรรมอิสลามทีละขัน้ ตอนจะบรรลุผลในทีส่ ุด กล่าวอีกนัยหนึ่งว่าทุกส่วนทีร่ ฐั ได้ออกแบบมาส�ำหรับช่วงเวลาทีแ่ ตกต่างกัน ตามเป้ าหมายที่ เฉพาะเจาะจงหากน�ำไปใช้อย่างเหมาะสม และทันท่วงทีในทีส่ ุดอารยธรรมอิสลามจะต้องเกิด ขึ้นอย่างแน่นอน อ้างอิง

A) เปอร์เซีย

- อัลกุรอานแปลโดย Mahdi Elahi Ghomshei

- Imam Khomeini 1370 Sahifa Noor, Tehran: Ministry of Islamic Guidance Publications - Imam Khomeini, Roozallah 2008 มุมมองเฉพาะเรือ่ งเกีย่ วกับเจตจ�ำนงทางการ เมืองอันศักดิ์สทิ ธิ์ของอิมามโคไมนี ฉบับที่ 11 เตหะราน: ส�ำนักพิมพ์อมิ ามโคไมนี - อิมามโคไมนี รูฮอลลอฺฮ ์ 1374 อิสลามบริสุทธิ์ในค�ำพูดและข้อความของอิมาม โคไมนี เตหะราน: สถาบันจัดระเบียบและเผยแพร่ผลงานของอิมาม

- อิมามคาเมเนอี ซัยยิด อะลี 1369 อนาคตในอาณาจักรอิสลาม: เตหะราน

สาส์น อิส ลาม

- อิมามคาเมเนอี ซัยยิด อะลี 6/26/2554: เตหะราน กล่าวสุนทรพจน์ในการ ประชุมสุดยอดการปลุกอิสลามระหว่างประเทศ

85


ส�ำนักงานสร้างวัฒนธรรมอิสลาม - Aram Ahmad et al. 1986 History of Civilization Volume One Will Durant: Tehran Islamic Revolution - Aram Ahmad การฟื้ นฟูความคิดทางศาสนา Iqbal Lahori Mohammad: Tehran ภารกิจของปากกา

- Azarang Abdolhossein ประวัตศิ าสตร์อารยธรรม: เตหะราน เคียน

1390 Al-Arabiya 1419 จ�ำนวนส่วนของหลักการของ Tehran Daru Hadith Al-Shafafit

สาส์น อิส ลาม

Amiri Mojtaba 1995 ทฤษฎีการปะทะกันของอารยธรรม เตหะราน ส�ำนักงาน การเมืองและการศึกษาระหว่างประเทศ

86


การก�ำเนิ ดอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ในสังคมอิสลาม ในมุมองของท่านผูน้ � ำสูงสุด อิสมาอีล อาริฟี กูรระวาน 1 อะหมัด บูจ2ิ

บทคัดย่อ

อิสลามมีความพยายามทีจ่ ะจัดตัง้ การปกครองในระบอบอิสลามมาโดยตลอด เพือ่ เป็ นฐานรองรับการน�ำบทบัญญัตขิ องพระเจ้ามาปฏิบตั ใิ ช้ได้อย่างสมบูรณ์ ถือว่าการเริ่มต้น ของอารยธรรมอิสลามมาพร้อมกับการปรากฏขึ้นของอิสลาม นับตัง้ แต่ช่วงเริ่มต้นอิสลาม อารยธรรมนี้ก่อค่อยๆ เติบโตและรุ่งเรื่องเรื่อยมา แต่อาจมีบางปัจจัยทัง้ ภายนอกและภายใน ทีท่ ำ� ให้การพัฒนาอารยธรรมนี้ลา่ ช้าลง ในช่วงทศวรรษหลังนี้เอง โดยเฉพาะเมือ่ การปฏิวตั ิ อิสลามแห่งอิหร่านได้ปรากฏขึ้น ถือเป็ นการฟื้ นตัวครัง้ ใหม่ของอารยธรรมอิสลาม บรรดา ผูน้ ำ� แห่งการปฏิวตั ติ ่างพยายามอธิบายเป้ าหมายของประชาชาติอหิ ร่าน และการปฏิวตั อิ สิ ลาม เพือ่ สร้างอารยธรรมยุคใหม่ของอิสลาม การจะท�ำให้บรรลุถงึ กระบวนการเหล่านัน้ จ�ำเป็ น ต้องมีการจัดระบบทางความคิดให้ถกู ต้องและละเอีดยอ่อน บนพื้นฐานดังกล่าวมางานวิจยั นี้จะน�ำเสนอในเชิงวิเคราะห์ ถึงพื้นฐานของการก�ำเนิดขึ้นของอารยธรรมยุคใหม่ของอิสลาม ในกระบวนคิดของท่านผูน้ ำ� สูงสุด หลังจากนัน้ จะอธิบายถึงขัน้ ตอนของการเกิดอารยธรรม ยุคใหม่ในทัศนะของท่าน ค�ำถามทีง่ านวิจยั นี้จะต้องเผชิญคือ พื้นฐานการบรรลุสูอ่ ารยธรรม ยุคใหม่ของอิสลามในทัศนะของท่านผูน้ ำ� สูงสุดคืออะไร? ในประเด็นนี้หลังจากทีไ่ ด้พจิ ารณา ความคิดของท่านผูน้ ำ� สูงสุดแล ้วโดยเฉพาะความเข้าใจเกีย่ วกับอารยธรรมยุคใหม่ของอิสลาม สาส์น อิส ลาม

1 . นักศึกษาปริญญาโท สังคมศาสตร์การปฏิวตั .ิ 2  . ปริญญาโท คณะหะดิษวิทยาและวิชาการอิสลาม มหาวิทยาลัยนานาชาติญามิอะตุล้ มุสตาฟา เมืองกุม ประเทศอิหร่าน.

87


ซึง่ ครอบคลุมขัน้ ตอนทีห่ นึ่งคือ การปฏิวตั อิ สิ ลาม ขัน้ ตอนทีส่ องคือ การจัดตัง้ ระบอบอิสลาม ขัน้ ตอนทีส่ ามคือ การจัดตัง้ รัฐบาลอิสลาม ขัน้ ตอนทีส่ ค่ี อื การจัดตัง้ ประเทศอิสลาม และขัน้ ตอนทีห่ า้ คือ การจัดตัง้ โลกอิสลาม ส่วนการท�ำให้ขนั้ ตอนเหล่านัน้ ประสบความเร็จ เป็ นหน้าที่ ความรับผิดชอบของประชาชน และบรรดาข้าราชการของรัฐอิสลาม ค�ำศัพท์ท่สี ำ� คัญ : อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ผูน้ ำ� สูงสุด รัฐบาลอิสลาม ระบอบอิสลาม การ ปฏิวตั อิ สิ ลาม พื้นฐานการก�ำเนิดขึ้นของสังคมอิสลาม

สาส์น อิส ลาม

88

บทน� ำ

การมีอยู่ของศาสดาแห่งอิสลาม (ศ็อลฯ) คือพลังทีใ่ ห้คำ� ตอบถึงความต้องการอัน จ�ำเป็ นของสังคมอิสลาม ในการสถาปนาความยุตธิ รรม และการก่อก�ำเนิดของอารยธรรม ยุคใหม่ของอิสลาม อารยธรรมทีว่ างอยู่บนความมีเกียรติของมนุษย์ การพัฒนาและความ สูงส่งของปัจจัยทีเ่ อื้ออ�ำนวยทัง้ จิตวิญญาณและโลกวัตถุ เพือ่ ยกระดับและพัฒนาจิตวิญญาณ ของมนุษย์ให้สูงส่ง ด้วยการปรากฏขึ้นของอิสลาม มนุษย์ได้ประจักษ์ต่อค�ำสอนทีท่ ำ� ให้เขา ค้นพบสถานะ และความเกีย่ วพันธ์ทม่ี กี บั พระเจ้าโลกทีม่ อี ยู่ รวมทัง้ มนุษย์คนอืน่ ได้เป็ นอย่าง ดี จนถึงขนาดว่ามนุษย์ได้สโิ รราบต่อสิง่ นัน้ และน้อมรับวัฒนธรรมทีม่ าจากโครงสร้างหลัก ของอิสลาม (นัน่ คืออัลกุรอานและซุนะฮฺ) อีกทัง้ สอดคล ้องกับสติปญั ญาและสัญชาติญาณ บริสุทธิ์ของมนุษย์ ความเชื่อได้แพร่ขยายออกไป และมีการยอมรับ วัฒนธรรมทีว่ า่ นัน้ คือ วัฒนธรรมอิสลามทีเ่ กิดมาจากค�ำสอนบริสุทธิ์ของอิสลาม และโน้มน้าวผูป้ ฏิบตั ติ ามไปสูก่ าร สถาปนาอารยธรรมทีย่ ง่ิ ใหญ่ ทีส่ ามารถสะท้อนถึงวัฒนธรรมทีท่ รงคุณค่านัน้ อารยธรรม อิสลามด�ำเนินไปอย่างไม่หยุดนิ่ง และวันนี้อารยธรรมนี้กไ็ ด้เกิดขึ้นจริง อันมีพ้นื ฐานมาจาก อุดมคติแห่งมะฮฺดยี ข์ องชีอะห์ ก็ยง่ิ ท�ำให้อารยธรรมนี้ปรากฏชัดเจนขึ้น แต่มนั ไม่ได้เกิดขึ้น มาอย่างง่ายดาย แต่อย่างไรก็ตามเราไม่อาจรอให้ตะวันตก และอารยธรรมทางวัตถุค่อยสลาย ตัวเอง เพราะการจะฟื้ นฟูอารยธรรมอิสลาม ไม่ได้ข้นึ อยู่กบั การสลายของอารธรรมตะวันตก เพียงอย่างเดียว ซึง่ การฟื้ นฟูสงั คมและอารยธรรมต้องมีการปฏิวตั ิ ตรงนี้ทเ่ี ราถือว่าแนวคิด ของอิมามโคมัยนีและผู น้ �ำสู งสุ ดคือ จุดรอยต่ อที่เชื่อมระหว่างอารยธรรมในอดีตกับ อารยธรรมยุคใหม่ ด้วยการปฏิวตั อิ สิ ลามพร้อมกับขบวนการอันทรงพลังทีเ่ กี่ยวพันธ์กบั การ ปฏิวตั ิ ซึง่ ถือเป็ นการวางรากฐานส�ำหรับอารยธรรมอิสลามยุคใหม่


ความหมายของแนวคิดและรากฐานทางทฤษฎี

1. อารยธรรม

เป็ นความจริงทีว่ า่ อารยธรรมจะก่อก�ำเนิดขึ้น เมือ่ มนุษย์ได้ละวางการใช้ชวี ติ แบบดัง้ เดิมและ เริ่มการใช้ชวี ติ แบบชาวเมืองสมัยใหม่ แต่ถา้ ให้นิยามว่าอารยธรรมคือ การใช้ชวี ติ แบบชาว เมืองก็ถอื ว่าไม่ถกู ต้อง1 จากรากเดิมอารยธรรม “ตะมัดดุน” มาจากค�ำว่า “มะดัน” หมายถึง การด�ำรงอยู่ในสถานที่ ซึง่ ต่างไปจากนิยามของนักวิชาการบางท่านทีว่ า่ มนุษย์โดยธรรมชาติ แล ้วถูกสร้างมาให้เป็ นคนดี ซึง่ สาเหตุของการเกิดอารยธรรมต้องพิจารณาจากความต้องการ ทัง้ ด้านวัตถุและจิตวิญญาณของมนุษย์ เพราะอารยธรรมของมนุษย์วางอยู่บนพื้นฐานของ จิตวิญญาณ มนุษย์สามารถขจัดความต้องการของตนได้ ด้วยปัญญาและศีลธรรม และสิง่ ใดทีเ่ กี่ยวข้องกับปัญญาและศีลธรรมล ้วนมีทม่ี าจากอารยธรรมทัง้ สิ้น2

2. อารยธรรมและวัฒนธรรม

ค�ำอีกค�ำทีอ่ ยู่ควบคู่กบั อารยธรรมคือ วัฒนธรรม บางคนพูดว่าอารยธรรมให้ความ หมายครอบคลุม ส่วนวัฒนธรรมให้ความหมายเฉพาะ วัฒนธรรมใช้สำ� หรับความก้าวหน้า ทางจิตวิญญาณ ส่วนอารยธรรมใช้กบั ความก้าวหน้าด้านวัตถุ แต่สง่ิ ทีถ่ กู ต้องคือ อารยธรรม เป็ นสิ่งที่ถูกผสมผสานระหว่างวัตถุและจิตวิญญาณ และทัง้ สองคือการแสดงออกของ วัฒนธรรมกล่าวคือ ด้วยการเปลีย่ นแปลงเชิงลึกขององค์ประกอบด้านวัฒนธรรม (การรูจ้ กั ความเชื่อ-อุดมคติ-คุณค่า-พฤติกรรม และวิถปี ฏิบตั )ิ จะส่งผลให้วตั ถุและจิตวิญญาณของ (อารยธรรม) เกิดการปลีย่ นแปลง ดังเช่นในคาบสมุทรอาหรับ ด้วยการมาของวัฒนธรรม และอารยธรรมอิสลาม อันเป็ นภาพทีแ่ สดงให้เห็นทัง้ ด้านวัตถุปจั จัยและจิตวิญญาณของ วัฒนธรรม และแพ่ขยายออกไปอย่างกว้างขวาง3 ดังนัน้ อารยธรรมเปรียบเหมือนวัตถุปจั จัย ส่วนวัฒนธรรมเป็ นเรื่องของสติปญั ญาและจิตวิญญาณ อารยธรรมเป็ นการกระท�ำ ส่วน วัฒนธรรมคือความคิดอันน�ำมาซึง่ อารยธรรม4 อารยธรรมคือการยืนหยัด ส่วนวัฒนธรมคือ สาส์น อิส ลาม

1  มูฮมั มัดริฎอ กาชิฟีย,์ ตารีคฟัรฮัง วะตะมัดดุน อิสลาม, กุม, ส�ำนักพิมพ์มรั กัซยะฮอนี อิสลามี, ปี 1384,หน้า 40-33. 2  มุฮมั มัดบาเก็ร ฮิญาซีย,์ อออีนรอซตีย,์ บียอ, ส�ำนักพืมพ์ชอบคอเนะห์ วะกิตอบคอเนะห์ มัรกะซีย,์ ปี 1318, หน้า 48-46. 3  มุฮมั มัดริฎอ กาชิฟีย,์ อ้างอิงเดิม, หน้า 35. 4  อะลีอกั บัร กัสมาอีย,์ กรันดิวาเนะ บุหรอน ตะมัตดุน วะฟัรฮัง วะดอนออี เดารอน ดอเนช, เตหราน, ส�ำนักพิมพ์

89


การอบรมฝึ กฝนตน และท�ำให้คนมีอารยธรรม เพือ่ ทีจ่ ะสามารถใช้ชวี ติ ในสังคมได้ มีการ ช่วยเหลือเกื้อกูล จัดตัง้ การปกครอง เป็ นผูว้ างกฏระเบียบทางสังคม และรักษากฏระเบียบ เหล่านัน้ 1

3. อารยธรรมอิสลาม

อารยธรรมและการมีศาสนามิใช่สง่ิ ทีข่ ดั แย้กนั การมีอารยธรรมหมายถึงการใช้ชวี ิ ติทค่ี วบคู่กบั องค์ความรู ้ ใช้ประสบการณ์ในการด�ำเนินชีวติ รูจ้ กั ประยุกต์ใช้ความเจริญก้าว ในด�ำเนินชีวติ การมีศาสนาหมายถึง การมีกรอบทีถ่ กู ต้องในการด�ำเนินชีวติ มีความยุตธิ รรม มีดุลยภาพ มีความซือ่ สัตย์ และมีพระเจ้าเป็ นเป้ าหมาย2 ด้วยเหตุน้ ี สิง่ ส�ำคัญเบื้องต้นคือ การรูจ้ กั กับอารยธรรมอิสลาม อารยธรรมทีป่ ราศจากกรอบของอิสลาม ก็จะเป็ นดังเช่นความ หมายเดิมของมันเช่น การใช้ชวี ติ แบบชาวเมือง มีความเจริญ ในทางตรงกันข้ามคือ ความ ป่ าเถือ่ น หรืออยู่ห่างไกลจากองค์ความรูแ้ ละวิชาการ แม้แต่นกั วิชาการทีเ่ ป็ นฝ่ ายวัตถุนิยม พวกเขาไม่ได้จำ� กัดความอารยธรรมไว้เพียงแค่การพัฒนาด้านเทคโนโลยี และวิถชี วี ติ แบบ เมืองเพียงเท่านัน้ ในทัศนะของพวกเขาผูม้ อี ารยธรรมคือ บุคคลทีไ่ ม่ตอ้ งการให้คนอืน่ มา คอยระวังเขาอย่าให้ละเมิดผูอ้ ่นื ส่วนคนป่ าเถื่อนคือผูท้ ่คี นอื่นจะต้องคอยระวังเขาไม่ให้ ละเมิด และริดรอนสิทธิของผูอ้ น่ื ในมุมมองของพวกเขาถือว่าประเทศทีร่ ุกรานผูอ้ น่ื ถือว่า ไม่มอี ารยธรรม3 ดังนัน้ ตามทัศนะนี้ผูม้ อี ารยธรรมคือ บุคคลทีเ่ ขาสามารถควบคุมตัวเองได้ โดยไม่มต้องมีใครมาคอยระวัง จากนิยามนี้คำ� ว่า อารยธรรม จึงอธิบายได้ 2 ความหมาย นัน่ คือ ตกยุค (หรือหัวโบราณ) และทันยุค (คนทันสมัย) ซึง่ ทัง้ สองส�ำนวนนี้อลั กุรอานกล่า วว่า ُّ َ ّ ُ ُ ۡ‫َّ ُ َ ُّ َّ نَ َ َ ُ ْ ُ خ‬ ُّ ‫ٱلظ ُ َٰلت إ َل‬ ‫ٱلن ِۖور‬ ‫ ٱلل و ِ يل ٱل ِذ ي� ءامنوا ي� ِر ج�م ِمن‬.........4 ِ ِ

สาส์น อิส ลาม

90

และนี่คือความหมายของค�ำว่าทันสมัยและมีอารยธรรม ในทัศนะของอิสลาม

บิอษฺ ตั , ปี 1354หน้า 12. 1  อะลีอกั บัร วิลายะตี, ฟัรฮัง วะตะมัดดุน อิสลามี, ส�ำนักพิมพ์ดฟั ตัรนัชรฺ มะอาริฟ, ปี 1384, หน้า 32. 2  ออรมอน ตะมัดดุนโบโซรก อัซดีดเฆาะ มะกอม มุอซั ซัม เราะบะรี, เตหราน, ส�ำนักพิมพ์ดฟิ ออฺ, ปี 1384, หน้า 158. 3  ตะมัดดุน อิสลาม ดัรอันดีเชะ อิมามโคมัยนี, เตหราน, ส�ำนักพิมพ์มอุ ซั ซะษะห์ ตันซีมวะนัชรฺออซอรอิมามโคมัยนี, ปี 1377, หน้า 95. 4  อัลกุรอาน บทบะกอเราะห์ โองการที่ 258.


หมายความว่าถ้าใครต้องการจะรูจ้ กั อารยธรรมในมุมมองของอิสลาม เขาต้องรูจ้ กั ความ ก้าวหน้าและทันสมัยว่าหมายถึงอะไร ในอิสลามความก้าวหน้าและทันสมัยหมายถึง การออก ห่างจากความมืดมนต์ยนตรกาลไปสูแ่ สงสว่าง ค�ำว่ามืดมนต์และแสงสว่างนัน้ สามารถเข้าใจ ได้จากการปฏิบตั ขิ องบรรดาอะฮฺลลุ บัยตฺ (อ) ซึง่ ผูท้ จ่ี ะเข้าใจความก้าวและความลา้ หลังได้ คือ ผูท้ ร่ี ูจ้ กั มนุษย์ได้อย่างถ่องแท้ ปัญหาส�ำคัญในปัจจุบนั คือ การการรูจ้ กั มนุษย์ได้อย่าง ท่องแท้ ดังเช่นทีท่ ่านอิมามโคมัยนี (รฎ.) กล่าวว่า “ช่างเป็ นความอัปยศของเหล่าศัตรูของเรา ทีเ่ ขาไม่รูจ้ กั อิสลาม และไม่รูจ้ กั ความเป็ นมนุษย์”1 อารยธรรมอิสลามในช่วงศตวรรษหลังโดยเฉพาะอย่างยิง่ จากศตวรรษที่ 5 เป็ นต้น มา เป็ นอารยธรรมทีป่ ราศจากระบบการเมืองและไร้วสิ ยั ทัศน์ทช่ี ดั เจน ด้วยขบวนการของท่า นอิมามโคมัยนี (รฎ.) และสาธารณรัฐอิสลาม กอปรกับสภาพการณ์ทเ่ี หมาะสม เสถียรภาพ ทีส่ ูงส่งของค�ำสอนศาสนา และแรงจูงใจโดยรวมของมุสลิม การบรรลุสู่อารยธรรมอิสลาม ยุคใหม่จงึ มีความเป็ นไปได้อย่างยิง่ และสามารถสร้างสายสัมพันธ์ ให้เป็ นหนึ่งเดียวกันกับ ศตวรรษทีร่ ่งุ เรืองทีส่ ุดในประเทศต่างๆ แม้ว่าจ�ำเป็ นต้องรูจ้ กั อุปสรรคและผลกระทบของมัน ก็ตาม แน่นอนว่าก่อนทีจ่ ะรูจ้ กั อุปสรรคเหล่านัน้ ก่อนอืน่ ให้ยอ้ นดูภาพรวมคร่าวๆ ของปัจจัย ทีน่ ำ� ไปสูค่ วามรุ่งเรืองสูงสุด ของอารยธรรม เพราะเป็ นไปได้วา่ สาเหตุของความเบีย่ งเบน และ ความเสือ่ มโทรมของอารยธรรม อาจมีสาเหตุมาจากปัจจัยเหล่านัน้ ก็ได้2

4. อะไรคืออารยธรรมอิสลามและท�ำไม

แหล่งทีม่ าส่วนมากของอารยธรรมคือ ค�ำสอนของบรรดาศาสดาแห่งพระเจ้า ทีเ่ ชิญ ชวนมนุษย์สูค่ วามเป็ นหนึ่งเดียวกัน และการมีหลักคิด คริสต์และอิสลามเป็ นสองศาสนา อัน เป็ นบ่อเกิดของอารยธรรมทีเ่ จิดจรัส และท�ำให้ภาพลักษณ์ของอารยยธรรมมนุษย์เปลีย่ นไป ทุกวัฒนธรรมทีเ่ กิดขึ้นใหม่ต่างต้องอาศัยเวลา จึงจะสามารถแพร่ขยายไปในโลก อีกทัง้ ท�ำให้ อารยธรรมอืน่ ตกอยูภ่ ายใต้อทิ ธิพลได้ ท่านเราะซูล (ซ็อลฯ) เป็ นผูว้ างรากฐานวัฒนธรรมและ อารยธรรมอิสลาม และได้มอบค�ำภีรอ์ ลั กุรอาน พร้อมจริยวัตของท่านให้เป็ นแหล่งทีม่ าหลัก สาส์น อิส ลาม

1  อ้างอิงเดิม, หน้า 96. 2  กุลษูม รูซตัมมี มะวานิอ ์ วะ ออฟอต เดรูนนี ดัร ตะฮักกุก ตะมัดดุน นะวีน อิสลามี (บทความ สัมนาตะมัดดุน นะวี นอิสลาม) เตหะราน มหาวิทยาลัย ชอเฮร 1394 หน้า 637.

91


ของวัฒนธรรมนี้ ศาสนาอิสลามหลังจากได้ถอื ก�ำเนิดขี้น และได้แพร่กระจายออกไป ไม่เพียง แค่สร้างความเปลีย่ นแปลงครัง้ ใหญ่ทางวัฒนธรรมเท่านัน้ ทว่าในแง่ของอารยธรรมยังเป็ น แหล่งทีม่ าของแรงบันดาลใจ ในเชิงสร้างสรรค์อกี มาย ซึง่ มีคำ� จ�ำกัดความหลัก 2 ประการ ส�ำหรับอารยธรรมอิสลาม หนึ่ง การให้นิยามและค�ำจ�ำกัดความทีอ่ ยู่ภายใต้อทิ ธิพลแนวคิดแบบมนุษยนิยม ทีว่ ่าศักยภาพของมนุ ษย์จะถูกใช้ไปเพือ่ ความสมบูรณ์ของเครื่องมือ การผลิต และความ สมบูรณ์ของสติปญั ญาก็จะถูกใช้เพือ่ สิง่ นี้ การให้นิยามแบบนี้สำ� หรับสังคมทีอ่ ยู่ในมิตขิ อง วัตถุ และสร้างเครือ่ งมือมนุษย์เพือ่ เติมเต็มให้กบั เครือ่ งมือ คือสังคมทีม่ อี ารยธรรมแล ้ว ส่วน อีกนิยามหนึ่งทีม่ ค่ ่อยได้รบั ความนิยมมากนักกล่าวคือ อารยธรรมของมนุษย์เป็ นผลพวง ทีม่ าจากความสัมพันธ์ของมนุษย์จริยธรรม และคุณธรรมทางสังคม จากมุมมองลักษณะนี้ สามรถประเมินถึงความรุ่งเรือง ความเสือ่ มโทรม หรือการไม่มอี ารยธรรมของสังคมหนึ่งได้ แต่ทว่าการมีความสัมพันธ์กนั ของมนุ ษย์ ศาสนาและจิตวิญญาณ ก็มไิ ด้เป็ นปัจจัยหลัก ประการเดียวทีเ่ พียงพอ ทว่าการพัฒนาความส�ำเร็จทางวัตถุ เกิดขึ้นจากความส�ำเร็จด้านจิต วิญญาณ 1

5. ปัจจัยแห่งความรุง่ เรืองและก้าวหน้าของอารยธรรมต่างๆ

สาส์น อิส ลาม

อัลกุรอาน ซูรฮฺโรมได้แนะน�ำองค์ประกอบและปัจจัยส�ำหรับการฟื้ นฟูอารยธรรม ไว้ อาทิเช่น กฎเกณฑ์ของพระเจ้า การใช้ความคิด ก�ำลังทหาร การอุตสาหกรรม เกษตกร รม ความสามัคคีความเป็ นเอกะ ความเป็ นเอกภาพ ความศรัทธาต่อหลักศาสนบัญญัต และ การประพฤติดี การไม่ยกย่องสรรเสริญผูใ้ ดหรือสิ่งใดเว้นแต่อลั ลอฮฺเพียงพระองค์เดียว ประกอบสัมมาชีพและแสวงหาปัจจัยยังชีพ ให้สทิ ธิแก่ผูถ้ กู กดขี่ เก็บภาษีจากผูศ้ กั ยภาพ การ อพยพ เก็บเกี่ยวความรูท้ งั้ ด้วยการประจักษ์ ประสบการณ์ และการทดลอง การนมัสการ และการสื่อสารกับฟากฟ้ า การมีผูน้ ำ� ที่ดที ่สี ุดอันได้แก่บรรดาศาสดา มีความย�ำเกรงต่อ พระเจ้า ความรูท้ ค่ี วบคู่กบั ความศรัทธาและความอดทนในการบรรลุถงึ พันธะสัญญาของ พระเจ้า2 ท่านผูน้ ำ� สูงสุดถือว่าสิง่ เหล่านัน้ คือ เงือ่ นไขการเข้าถึงอุดมคติแห่งอารยธรรมทีย่ ง่ิ

92

1  ชุกรุลลอฮฺ คอกรัน, ซีรตะมัดดุนอิสลามี,กุม, ส�ำนักพิมพ์บูสตานกิตาบ, ปี 1390, หน้า 87. 2  อิซซะตุลลอฮฺ รอดมะเนช, กุรอาน ญามิอชฺ ะนอซีย ์ อะตุปิยา-กุรอานวะอะกออิดอิจติมาอีย,์ เตหราน, ส�ำนักพิมพ์อะมีร กะบีร, ปี 1361, หน้า 132.


ใหญ่ของอิสลาม อันได้แก่ เจตจ�ำนงทีแ่ น่วแน่ ความศรัทธา และความเสียสละเพือ่ ไปถึงยัง เป้ าหมายของอิสลาม ใช้ประโยชน์จากโลกทัศน์และหลักความคิดทีถ่ กู ต้อง ขัดเกลาตัวเอง ใส่ใจต่อความย�ำเกรงต่อพระเจ้า ปฏิบตั ติ ามหลักค�ำสอนของอัลกุรอาน มานะพยายาม มอบ หมายต่อพระเจ้า ความเป็ นเอกถาพและภราดรภาพ ถือผลประโยชน์ของอิสลามเป็ นทีต่ งั้ 1 ด้วยเหตุน้ ี หากต้องการให้อารยธรรมอิสลามไปสูค่ วามรุ่งโรจน์ และรอดพ้นจากภาวะถดถอย จะต้องอาศัยปัจจัยหลักทีส่ ำ� คัญต่อไปนี้เพือ่ การด�ำรงไว้ซง่ึ อารยธรรม • ปัจจัยความเป็ นมนุษย์อารยธรรม หมายถึงบุคลากรส�ำคัญเป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญเชิงความ คิด วิชาการ การเมือง ซึง่ ไม่มอี ารยธรรมใดจะรุ่งเรืองและก้าวหน้าไปได้โดยปราศจาก พวกเขา ดังนัน้ จะต้องเตรียมพื้นฐานความก้าวหน้าให้กบั บุคลากรเหล่านี้ • การปกครองและอ�ำนาจ ตลอดประวัตศิ าสตร์ทผ่ี ่านมา ไม่มอี ารยธรรมใดเกิดขึ้นได้ โดยปราศจากอ�ำนาจและการปกครอง • ปัจจัยทางเศรฐกิจ มีบทบาทต่อความรุ่งโรจน์ของอารยธรรมอิสลาม ซึง่ อารยธรรม อิสลามจ�ำเป็ นต้องท�ำงาน ขวนขวายพยายามอย่างต่อเนื่อง และต้องมีการวางแผน งาน • ปัจจัยทางจิตวิทยา อารยธรรมอิสลามต้องอาศัยความเชือ่ มันในตั ่ วเอง ดังภารกิจทีอ่ ิ มามโคมัยนี (รฎ.) ได้ทำ� ไว้เพือ่ ประชาชาติอหิ ร่าน โดยทีพ่ วกเขาสามารถบริหารจัดการ ประเทศ สามารถผลิตและสร้างได้ดว้ ยตัวเอง • ปัจจัยทางวัฒนธรรม น�ำเสนอความเข้าใจศาสนาทีถ่ กู ต้องจากผูร้ ู ้ และผูเ้ ชี่ยวชาญที่ เฉพาะด้าน มิใช่วา่ จากทุกคน • ปัจจัยทางการเมือง สร้างความพร้อมทางสังคมเพือ่ รองรับการเปลีย่ นแปลงและความ สมบูรณ์ เพราะหากว่าสังคมยังพึงพอใจอยู่กบั สภาพดัง้ เดิม ไม่พร้อมทีจ่ ะรับสิง่ ใหม่ ในสภาพสังคมเช่นนัน้ อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ไม่อาจเกิดขึ้นได้อย่างแน่นอน2 ดัง นัน้ ความสงบสุขและความผาสุก ความสามัคคีของคนในชาติ ความร่ วมมือ สาส์น อิส ลาม

1  ออรมอน ตะมัดดุนโบโซรก อัซดีดเฆาะ มะกอม มุอซั ซัม เราะบะรี, เตหราน, ส�ำนักพิมพ์ดฟิ ออฺ, ปี 1384, หน้า 166. 2  ตะมัดดุน อิสลามี ดัรอันดีเชะฮฺ อิมามโคมัยนี หน้า 98.

93


จริยธรรม ความอดทน การรักษาความสามัคคีและความซือ่ สัตย์ ศาสนาและความ เชื่อ ไม่มคี วามแบ่งแยกกัน มีสวัสดิการทีเ่ พียงพอ เพือ่ ลดความเลือ่ มล�ำ้ ทางสังและ เศรฐกิจ สิง่ เหล่านี้ลว้ นเป็ นปัจจัยทีค่ อยสนับสนุนให้อารยธรรมของมนุษย์ดำ� รงอยู่ ในสังคมต่อไปได้ อารยธรรมอิสลามทีท่ ่านเราะซูล (ซ็อลฯ) เป็ นผูว้ างรากฐานไว้ก็ ประกอบขึ้นด้วยสิง่ เหล่านี้1

6. สาเหตุของความถดถอยของอารยธรรมต่างๆ

อารยธรรมอิสลามมีศกั ยภาพทีเ่ ข้มแข็งในการก้าวไปสูเ่ ป้ าหมายทีส่ ูง่ ส่ง และยิง่ ใหญ่ ของอิสลาม แต่มกั จะตกอยู่ในอันตรายและเล่หเ์ หลีย่ มของศัตรูและฝ่ ายตรงข้ามมาตลอด ความจริงทีข่ มขืน่ นับตัง้ แต่ช่วง 6 ศตวรรษทีผ่ ่านมาจวบจนถึงปัจจุบนั อารยธรรมอิสลาม ต้องเผชิญกับเหตุการณ์อนั ไม่คาดคิด นัน้ คือบรรดามุสลิมผูม่ คี วามเป็ นเลิศ แต่พวกเขาค่อย ๆ อ่อนแอลงทีล่ ะน้อย และด้วยเหตุน้ แี ผ่นดินอิสลามทีเ่ คยกว้างใหญ่ไพศาล ต้องถูกต่างชาติ รุกรานและถูกแบ่งเป็ นประเทศย่อย เกียรติยศและศักดิ์ศรีของความเป็ นมุสลิมก็หายไป สังคมอิสลามต้องพบกับความถดถอยตกต�ำ่ หากจะกล่าวถึงสาเหตุของความถดถอย และ ความตกต�ำ่ ของอารยธรรมอิสลาม มีหลายประการด้วยกัน โดยสามารถแบ่งออกเป็ น 2 สาเหตุสำ� คัญ กล่าวคือสาเหตุจากภายใน และภายนอก สาเหตุภายนอกได้แก่ การุกรานของ ศัตรูจากภายนอก สงครามครูเสต การโจมตีของมองโกล ส่งผลท�ำให้เกิดการล่มสลายของ อันดะลุส (สเปน) ซึง่ ถือเป็ นความจริงทีเ่ จ็บปวดยิง่ ประการหนึ่งในประวัตศิ าสตร์ ทัง้ ในแง่ ของวัฒนธรรมและอารยธรรมอิสลาม

สาส์น อิส ลาม

การล่าอณานิคมก็เป็ นอีกปัจจัยหนึ่งทีส่ ง่ ผลท�ำให้เกิดความถดถอยด้านวัฒนธรรม และอารยธรรมอิสลาม ซึง่ ไม่เป็ นทีส่ ่งสัยทีเ่ หล่านักล่าอณานิคมต่างพยายามมาโดยตลอดที่ จะเข้ามาแทรกแซงในแผ่นดินอิสลาม โดยมีเป้ ามายเพือ่ ท�ำให้ความยิง่ ใหญ่ของอิสลามนัน้ เกิดความสัน่ คลอน และอ่อนแอลง พวกเขาจึงพยายามท�ำทุกวิถที างไม่วา่ จะเป็ นการสร้าง ความอ่อนแอทางความเชือ่ ส่งเสริมการกระท�ำทีผ่ ดิ ศีลธรรมและค�ำสอนของศาสนา ท�ำลาย บุคคลอันเป็ นเสาหลักของอิสลาม และการสร้างเสรีภาพทางเศรษฐกิจ เพือ่ หวังท�ำลายความ

94

1  อะลี อักบัรวิลายะตี, พูยออีฟรั ฮังวะตะมัดดุนอิสลาม วะอีรอน, เตหราน, ส�ำนักพิใพ์มรั กัซชอบวะนัชรฺ วิซอรัต อุมรู คอ ริญเี ยะห์, ปี 1386, เล่ม 1และ2, หน้า 32.


เป็ นเอกราชของประเทศอิสลาม1 ส่วนปัจจัยภายในทีส่ ่งผลต่อความถดถอยทางอารยธรรม อิสลาม มีหลายประการด้วยกัน เช่นการสร้างความเบีย่ งเบนทางความคิด และพฤติกรรม ของมุสลิมให้ออกจากค�ำสอนของอิสลาม การมีฐติ แิ ละถือความเป็ นเอกเทศด้านการปกครอง มีความเป็ นวัตถุนิยม ส่งเสริมความเสือ่ มทรามทางจริยธรรม สร้างนิกายและแนวคิดต่างๆ หลังจากการจากไปของเราะซูล (ซ็อลฯ) ไม่วา่ จะเป็ นด้านการเมือง หรือแนวคิดด้านหลักความ เชือ่ ในท�ำนองเดียวกันโน้มน้าวและสร้างค่านิยมการใช้ชวี ติ แบบบยุคหิน หมายถึงประชาชน ไม่พร้อมทีจ่ ะรับการเปลีย่ นแปลงทางความคิด เป็ นหนึ่งในสาเหตุสำ� คัญของการยับยัง้ ความ เจริญรุ่งเรืองทางความคิดทางศาสนา เป็ นการสร้างความถดถอยและความลา้ หลังให้กบั อารยธรรมอิสลาม2

พื้นฐานการเกิดขึ้นของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ในทัศนะของท่านผูน้ � ำสูงสุด

1. ความศรัทธาและอุดมการณ์

จากการวิเคราะห์ทศั นะของท่านผูน้ ำ� สูงสุดเป็ นทีป่ ระจักษ์วา่ การมีอดุ มการณ์และ ความศรัทธามันจะน� ่ ำมาซึง่ อารยธรรมทีย่ ง่ิ ใหญ่ของอิสลาม ท่านได้อธิบายว่า ไม่มปี ระชาชาติ ใดทีอ่ า้ งสิทธิ์การสร้างอารยธรรมแล ้วด�ำเนินการโดยปราศจากอุดมการณ์ ไม่มปี ระชาติใดที่ จะสามารถสร้างอารยธรรมขึ้นมาได้โดยทีไ่ ม่มอี ดุ มการณ์ แและหลักความเชื่อทีช่ ดั เจน

1  ซะหรอ อิสลามี, ตารีคฟัรฮัง วะตะมัดดุนอิาลาม, กุม, ส�ำนักพืมพ์นชั รฺมะอาริฟ, ปี 1389, หน้า 73. 2  อ้างอิงเดิม, หน้า 87.

สาส์น อิส ลาม

อารยธรรมวัตถุนิยมทัง้ หมด ไม่วา่ จะเป็ นคอมมิวนิสต์หรือทุนนิยมทีเ่ กิดขึ้นมาได้ ต่างก็ตอ้ งมีแนวคิด ความเชื่อ และอุดมการณ์ ถ้าปราศจากแนวคิดและความศรัทธารวมทัง้ ความมุ่งมันและการลงทุ ่ นย่อมไม่สามารถสร้างอารธรรมขึ้นมาได้ ดังนัน้ ในล�ำดับแรกของ การสร้างอารยธรรมยุคใหม่ของอิสลามคือ ต้องมีศรัทธา ต้องเป็ นศรัทธาตามที่อิสลาม ต้องการ อันเป็ นศรัทธาทีจ่ ะท�ำให้มนุษย์นนั้ ยึดมันต่ ่ ออิสลาม ท�ำให้มนุษย์มจี ริยธรรมแบบ อิสลาม มีมารยาทและวิถชี วี ติ แบบอิสลาม รวมถึงเรื่องอืน่ ๆ อันเป็ นความต้องการของเรา ซึง่ เราสามารถค้นพบได้ อีกทัง้ ต้องให้สง่ิ เหล่านี้เป็ นแก่นของการวิพากษ์ และการค้นคว้าของเรา เนื่องจากด้านบทบัญญัตอิ สิ ลามและกฏหมายอิสลาม ได้มงี านค้นคว้าวิจยั ไว้มากมาย ฉะนัน้ เรื่องจริยธรรมอิสลามและโลกทัศน์ของอิสลาม จ�ำเป็ นต้องได้รบั การค้นคว้าและวิจยั อย่าง

95


กว้างขวาง อย่างมีคุณภาพ ประเด็นนี้ถอื เป็ นประเด็นแรก และมีความส�ำคัญในการสร้าง อารยธรรมยุคใหม่ของอิสลามทีต่ อ้ งได้รบั การปฏิบตั ใิ ห้เกิดขึ้นสมจริง1

2. การไม่ลอกเรียนแบบวัฒนธรรมและอารยธรรมต่างชาติ

ประเด็นทีส่ องคือ เพือ่ ให้เราสามารถสร้างอารยธรรมยุคใหม่ของอิสลาม เราจะต้อง หลีกเลีย่ งการเลียนแบบจากบุคคลทีม่ ตี งั้ ใจ และพยายามทีจ่ ะน�ำเอาแบบแผนและแนวทาง การด�ำเนินชีวติ มาบังคับใช้กบั ชนชาติต่างๆ ณ วันนี้ได้ปรากฏชัดยิง่ ว่าพวกเขาก�ำลังบีบบังคับ ในเรื่องอารยธรรมตะวันตก ฉะนัน้ การออกห่างจากการเลียนแบบตะวันตกถือเป็ นเงือ่ นไข แรกของการจะได้มาซึง่ อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ แต่เป็ นทีน่ ่าเศร้าว่านับตัง้ แต่อดีตในทุกยุค เราจะเคยชินกับการลอกเลียนผูอ้ น่ื ในความเป็ นจริงเราต้องพยามยามด�ำเนินชีวติ ให้ถกู ต้อง ทัง้ ด้านสังคม จริยธรรม และวัฒนธรรมที่เป็ นของเราเอง เพราะไม่เช่ นนัน้ ความเป็ น อารยธรรมอิสลามยุคใหม่จะไม่บงั เกิดขึ้น ทุกคนจะต้องรูส้ กึ รับผิดชอบต่อภารกิจนี้ และถือ เป็ นหน้าทีข่ องทุกคน แต่สง่ิ หนึ่งทีท่ า้ ท้ายเกี่ยวกับรื่องนี้ก็คอื การเพชิญหน้ากับอารยธรรม ตะวันตกอย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ ซึง่ จะต้องระมัดระวังและต้องไม่ลอกเลียนเขา2

3. เอกภาพระหว่างประชาชนและเจ้าหน้าที่รฐั

สาส์น อิส ลาม

ขอขอบคุณพระเจ้าทีป่ ระชาชาติอหิ ร่านรักษาคุณค่าของเอกภาพ ตราบจนถึงวันนี้ และจะเป็ นเช่นนี้ตลอดไป ด้วยการช่วยเหลือของพระเจ้า เอกภาพเป็ นสิง่ มีค่า พวกเขามีความ ชาญฉลาด ดังนัน้ พวกเขาจะรักษาเอกภาพให้มคี วามมันคงแข็ ่ งแรงระหว่างพวกเขากับเจ้า หน้าของรัฐตลอดไป เจ้าหน้าทีร่ ฐั ระดับสูงล ้วนเป็ นบุคคลากรทีม่ คี วามเหมาะสมในการรับใช้ และสาธารณะรัฐอิสลามมีวธิ ีการทีจ่ ะสร้างอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ในประเทศให้มคี วาม มันคงแข็ ่ งแรง รวมถึงประเทศอิสลามและสังคมอิสลามอืน่ 3

96

4. ยึดมัน่ ต่อบทบัญญัตขิ องพระเจ้า

อะไรคือปัจจัยทีส่ ามารถน�ำความก้าวหน้ามาสู่อสิ ลามได้ถงึ เพียงนี้ หลังจากนัน้ ได้

1  ปาฐกถาท่านผูน้ ำ� สูงสุดเมือ่ ครัง้ พบปะกับเยาวชนจากจังหวัดโครอสอนชุมอลี, 1391/12/23, เว็ปไซต์สำ� นักงานท่านผูน้ ำ� สูงสุด,www.ieader.ir 2  อ้างอิงเดิม. 3  ปาฐกถาท่านผูน้ ำ� สูงสุดเมือ่ ครัง้ พบปะกับเจ้าหน้าทีร่ ฐั , 1376/2/6,อ้างอิงเดิม.


วางรากฐานอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ และอารยธธรรมนี้สามารถด�ำรงอยู่อย่างมังคง ่ ในช่วง เวลาทีต่ อ้ งพบกับภาวะถดถอยทางอ�ำนาจและการเมือง อีกทัง้ ท�ำให้อารยธรรรมโลกตกอยู่ ภายใต้อำ� นาจของตน ได้แพร่ขยายวิชาการและวัฒนธรรมอิสลามให้ขจนขจายไปทัวโลก ่ อะไร คือปัจจัยส�ำคัญนัน้ ฦ แน่อนหนึ่งในปัจจัยหลักทีก่ ่อให้เกิดความก้าวหน้าคือ ความเชื่อมันที ่ ่ มีต่อพระเจ้าและบทบัญญติของพระองค์ ُ ٌّ ُ َۚ ُ ۡ ‫ٱلر ُس ُول ب َ� ٓا أ نز� َل إ َل ۡي ِه ِمن َّر ِّب ِهۦ َو‬ َّ ‫َء َام َن‬ ‫ٱل ۡؤ ِم ُنون ك َء َام َن‬ ِ ِ ِ ٰٓ َ َ َّ ‫ٱ‬ ُ 1 ‫لل َو َمل ِئك ِت ِهۦ َوك ُت ِب ِهۦ َو ُر ُس ِ ِلۦ‬ ِ �‫ِب‬

ท่านเราะซูล (ซ็อลฯ) และเหล่าบรรดาผูศ้ รัทธาในยุคต้นอิสลาม ต่างมีความเชื่อมัน่ อย่าง บริสุทธิ์ใจต่ออิสลาม และพร้อมน้อมรับถึงสารัตถะทีแ่ ท้จริงของอิสลาม และสิทธิของอิสลาม พวกเขายอมรับว่าการมีอสิ ลามเพียงพอแลว้ ส�ำหรับการช่วยเหลือมวลประชาชาติ ดังนัน้ พลังศรัทธาจึงถือเป็ นปัจจัยทีส่ ำ� คัญยิง่ 2

5. ไม่มีความปรารถนาต่อโลกและวัตถุ

อีกหนึ่งปัจจัยส�ำคัญคือ ต้องไม่มคี วามละโมภโลบมาก หรือให้ความส�ำคัญต่อผล ประโยชน์สว่ นตัวและทรัพย์สนิ สฤงคาร- สิง่ นี้นบั เป็ นปัจจัยทีม่ คี วามส�ำคัญยิง่ รายงานฮะดีษ ในนะญุลบะลาเฆาะฮฺและค�ำแนะน�ำของท่านเราะซูล (ซ็อลฯ) บรรดามะอฺศูม (อ.) รวมทัง้ บร รดารปราชญ์ผูอ้ าวุโสได้เน้นย�ำ้ ในเรื่องการไม่ใส่ใจ และต้องไม่ยึดติดกับเรื่องทางโลก ทรัพย์สนิ และวัตถุปจั จัย เนื่องจากสิง่ เหล่านี้มอี ทิ ธิพลอย่างสูงกับมนุษย์ แต่ศตั รูอสิ ลามและ บรรดามุสลิมทีไ่ ม่เข้าใจอาจคิดว่า การเป็ นผูส้ มถะคือ “ซุฮด์” หมายถึงการด�ำเนินชีวติ แบบ ไม่สนใจต่อเรื่องทางโลกและวัตถุ ซึง่ ในความเป็ นจริงมิใช่เช่นนัน้ ทว่าหมายถึงด้านลบและ ด้านทีไ่ ม่ดขี องโลกทีจ่ ะต้องปล่อยวางและออกห่างโดยสิ้นเชิง อันหมายถึงตัวเราและพวก ท่านทุกคน จะต้องไม่มงุ่ เป้ าไปทีผ่ ลประโยชน์ส่วนตัวทางวัตถุ และได้ท่มุ เทความพยายาม เพือ่ สิง่ นัน้ เพราะในความเป็ นจริงสิง่ นัน้ คือความอัปยศ ทีจ่ ะน�ำไปสู่ความหายนะ3

6. เอาใจใส่ต่อความก้าวหน้าทางเศรฐกิจ สาส์น อิส ลาม

1  อัลกุรอาน บทอัลบะกอเราะห์ โองการที่ 285. 2  ปาฐกถาท่านผูน้ ำ� สูงสุดเมือ่ ครัง้ พบปะกับเจ้าหน้าทีร่ ฐั , 1378/8/15, อ้างอิงเดิม. 3  อ้างอิงเดิม.

97


แม้ว่าอิสลามจะให้ความส�ำคัญต่อเรือ่ งจิตวิญญาณและจริยธรรม ทว่าเป้ าหมายอัน สูงส่งของอิสลามคืการสร้างสังคมทีม่ คี วามสมบูรณ์สอดคล ้องกับวิถแี บบอิสลาม ดังนัน้ ความ ก้าวหน้าและการพัฒนาในด้านต่างๆ ทัง้ วิชาการ ความรู ้ และเศรฐกิจทัง้ หมดถือว่าเป็ นส่วน หนึ่งของเป็ าหมายนี้ ดังนัน้ หากพิจารณาถึงอารยธรรมอิสลามก็จะเห็นว่า อิสลามได้ถอื ก�ำเนิด ขึ้นในบริเวณทีแ่ ห้งแล ้งและล ้าหลังทีส่ ุดของโลกในเวลานัน้ แต่ยงั ไม่ทนั ข้ามผ่านห้าสิบปี ของ อายุขยั อิสลาม จะเห็นว่ามากกว่าห้าสิบเปอร์เซ็นของอารยธรรมในยุคนัน้ ได้ตกอยู่ภายใต้ธง อิสลาม และภายในสองศตวรรษโลกอิสลามก็ประสบความส�ำเร็จ และพบกับความก้าวหน้า ทางเศรษฐกิจ และวิชาการ ซึง่ ความส�ำเร็จนี้มใิ ช่สง่ิ ใดอืน่ นอกจากบะรอกัตของค�ำสอนอิสลาม แน่นอน อิสลามไม่ได้สอนว่าจะต้องให้ความส�ำคัญและใส่ใจเฉพาะเรื่องจิตวิญญาณเพียง เท่านัน้ โดยไม่ใส่ใจต่อวิถชี วี ติ ทางสังคม เราะจะต้องมีมาตรการในการด�ำเนินการ เพือ่ เสรีภาพ และศักดิ์ศรีของอิสลาม ซึง่ หนึ่งในมาตรการส�ำคัญนัน้ คือ เศรฐกิจ ดังนัน้ ความพยายามเพือ่ สร้างความก้าวหน้า สร้างความเติบโต และการยกระดับเศรฐกิจของโลกอิสลาม จึงถือว่า ปัญหาเศรษฐกิจ เป็ นหนึ่งในภารกิจอันเป็ นเป้ าหมายของอิสลามอย่างไม่ตอ้ งส่งสัย1

7. การยืนหยัด

แก่นแท้ของการยืนยัดของประชาชาติหนึ่ง ถือเป็ นแก่นแท้ทท่ี รงพลังและมีค่ายิง่ ซึ่งแก่นแท้อนั นี้เป็ นความกรุณาของพระเจ้า ประกอบกับการช่วยเหลือ และการชี้นำ� ของ พระองค์รวมถึงการช่วยเหลือพิเศษทีอ่ ยู่พน้ ญาณวิสยั การอ�ำนวยพร และการชี้นำ� ด้านจิต วิญญาณของท่านอิมามแห่งยุคสมัยท่านอิมามมะฮฺดยี ฺ (อ.) จนประชาชาติอหิ ร่านสามารถ ท�ำให้ความรุ่งโรจน์ของอารยธรรมอิสลามเป็ นทีป่ ระจักษ์แก่ชาวโลก และท�ำให้อาณาจักรแห่ง อารยธรรมอิสลามสูงส่งและยิง่ ใหญ่2

สาส์น อิส ลาม

98

8. วิถชี ีวติ แบบอิสลาม

ท่านอะยาตุลลอฮฺอะลี คาเมเนอี ผูน้ ำ� สูงสุด ได้ช้ ใี ห้เห็นประเด็นทีล่ มุ่ ลึกของอิสลาม บนความเข้าใจแห่งวัฒนธรรมของการด�ำเนินชีวติ ไว้วา่ โดยหลักการอิสลามความหมายทีว่ า่ ชีวติ แห่งปัญญาในความหมายทีค่ รอบคลุม มีความหมายเดียวกันกับวัฒนธรรมวิถแี ห่งการ 1  ปาฐกถาท่านผูน้ ำ� สูงสุดเมือ่ ครัง้ พบปะนักเศรฐศาตร์, 1383/6/25, อ้างอิงเดิม. 2  ปาฐกถาท่านผูน้ ำ� สูงสุดเมือ่ ครัง้ พบปะนักจิตอาสา, 1376/5/29, อ้างอิงเดิม.


ด�ำเนินชีวติ ซึง่ ในอัลกุรอานมีหลายโองการทีก่ ล่าวถึงเรื่องนี้ ท่านผูน้ ำ� สูงสุดแห่งการปฏิวตั อิสลาม ได้อธิบาย วัฒนธรรมวิถแี ห่งการด�ำเนินชีวติ ว่า เป็ นปัญหาคล ้ายกับครอบครัว การ แต่งงาน ประเภททีอ่ ยู่อาศัย ชนิดของเครื่องหุ่งห่ม การพักผ่อน การควบคุมค่าใช้จ่าย ซึง่ รวมถึงทุกสิง่ อย่างทีเ่ กีย่ วข้องโดยตรงต่อการด�ำรงชีวติ ท่านผูน้ ำ� สูงสุดถือว่า อิสลามหลักแห่ง ปัญญา จริยธรรม และสิทธิเป็ นองค์ประกอบหลักของวัฒนธรรมทีถ่ กู ต้อง เราจะต้องพิจารณา ความส�ำคัญของสิง่ นี้ เพราะถ้าไม่เช่นนัน้ ความก้าวหน้า และอารยธรรมอิสลามก็มสิ ามารถ บังเกิดขึ้นได้ ท่านได้กำ� ชับว่า แบบอย่างการด�ำเนินชีวติ ของคนๆ หนึ่ง จะต้องสะท้อนออก มาจากความเข้าใจของเขามีต่อวัฒนธรรม การด�ำเนินชีวติ และเป็ าหมายทีเ่ ขาตัง้ ไว้ และการ จะบรรลุยงั เป้ าหมายดังกล่าว เขาต้องเชื่อมันในทุ ่ กกรอบความคิด ทัง้ การเมือง สังคม และ เศรษฐกิจ ซึง่ หากปราศจากความเชื่อมันและความพยายาม ่ แน่นอนเราจะไม่สามารถไปถึง 1 ยังเป้ าหมายได้ ท่านผูน้ ำ� สูงสุดถือว่า ถ้ามีการแลกเปลีย่ นความคิดในประเด็นดังกล่าวนี้ โดย เฉพาะการหาทางออกและร่วมกันแก้ปญั หา เรือ่ งวิถแี ละวัฒนธรรมการด�ำเนินชีวติ โดยอาศัย ศักยภาพ และความกระตือรือร้นของบรรดาเยาวชนอิหร่าน ก็จะเป็ นทีส่ นใจของสายตาชาว โลก ซึง่ ผูค้ นทัว่ ไปก็พร้อมเปลีย่ นแปลงวิถชี วี ติ มาสู่วถิ แี บบอิสลาม ซึง่ สิง่ นี้ถอื เป็ นพื้นฐาน ส�ำคัญของกระบวนการบรรลุสู่อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ในโลก 2 ขัน้ ตอนการเกิดขึ้นของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่จากมุมมองท่านผูน้ � ำสูงสุด จากการพิจารณาและใคร่ครวญมุมมองของท่านผูน้ ำ� สูงสุด เป็ นทีป่ ระจักษ์วา่ ว่า การ จะไปถึงเป้ าหมายของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ยังเป็ นอุดมการณ์ท่ยี งั ยาวไกลและยาก ล�ำบาก ในหลายๆ ครัง้ ท่านผู​ูนำ� สูงสุดได้เน้นย�ำ้ ว่า เป้ าหมายของประชาชาาติอหิ ร่านและการ ปฏิวตั อิ สิ ลามคือ การสร้างอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ บนความเชือ่ ทีว่ า่ การจะท�ำให้อารยธรรม นี้ปรากฏขึ้นสมจริง จะต้องผ่านบ่วงโซ่ปฏิสมั พันธ์ตามล�ำดับ ขัน้ ทีห่ นึ่งคือ การปฏิวตั อิ สิ ลาม ต่อมาคือการจัดตัง้ ระบอบอิสลาม หลังจากนัน้ การสถาปนาสังคมอิสลาม ซึง่ ขัน้ ตอนเหล่านี้

สาส์น อิส ลาม

1  ปาฐกถาท่านผูน้ ำ� สูงสุดเมือ่ ครัง้ พบปะกับเยาวชนจากจังหวัดโครอสอนชุมอลี, อ้างอิงเดิม. 2  ฟาฏิมะห์ฮูซยั นาอี และซะหรอ อะลีพรู มกอดดัม, ซะมีเนะหอชิกล ฆีรี วะฟะรอยัน ตะฮักกุกตะมัดดุนนะวีนอิสลามี อัซ มันซัรมะกอมเม มุอซั ซัม เราะบะรีย, มัจมูเอะมะกอลอด ฮะมอเยชมิลลี ตะมัดดุนอิสลาม, เตหราน, ส�ำนัพมิ พ์ดเิ นชเฆาะ ชอฮิด, ปี 1394, หน้า 635.

99


มีความต่อเนื่องและสัมพันธ์กนั 1 ท่านผูน้ ำ� สูงสุดยังกล่าวต่ออีกว่า ก้าวแรกทีน่ ่าตื่นเต้นและ มีเสียงสะท้อนมากกว่าทัง้ หมดคือ การปฏิวตั ิอสิ ลาม ก้าวต่อมาคือการจัดเตรี​ียมรัฐบาล อิสลามทีส่ อดคล ้องกับการปฏิวตั ิ หมายถึงการจัดตัง้ รัฐอิสลาม และระบอบอิสลาม ซึง่ ระบอบ อิสลามทีก่ ล่าวถึงคือ การจัดวางโครงสร้างหลักของสังคมในรูปแบบอิสลาม ถ้าระบบนี้ประสบ ความส�ำเร็จ ล�ำดับต่อไปอันเป็ นผลทีม่ าจากขัน้ ตอนแรก นัน่ คือการสร้างสังคมอิสลามตาม ระบอบอิสลาม และถ้าขัน้ ตอนนี้สมั ฤทธิ์ผล เวลานัน้ เราจะกลายเป็ นตัวอย่างส�ำหรับมุสลิม ทัง้ โลก2 จากการเน้นย�ำ้ ของท่านผูน้ ำ� สูงสุดในการปาฐกถาหลายครัง้ สามารถสรุปได้วา่ การ ปรากฏขึ้นจริงของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ในทัศนะของท่าน เป็ นแนวทางทีช่ ดั เจนก้าวต่อ ก้าว ทุกขัน้ ตอนของการเกิดขึ้นคือ บทน�ำส�ำหรับขัน้ ตอนต่อไป และตอนท้ายของบทความนี้ จะวิเคราะห์และน�ำเสนอขัน้ ตอนการปรากฏขึ้นของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ จากทัศนะของ ท่านผูน้ ำ� สูงสุด ขัน้ ตอนที่หนึ่ ง การปฏิวตั อิ สิ ลาม จากทัศนะของท่านผูน้ ำ� สู งสุดที่ว่า ขัน้ ตอนแรกที่จะน�ำไปสู่การเกิดอารยธรรม อิสลามยุคใหม่คอื การสร้างการปฏิวตั ทิ ถ่ี กู ต้องตรงตามเจตนารมณ์ของอิสลาม อันเป็ นผล มาจากประชาชนในสังคมรูจ้ กั เงือ่ นไขในยุคสมัยของตน และไม่สามารถอดทนต่อเงือ่ นไขนัน้ ได้ ในทัศนะอิสลาม การขับเคลือ่ นและการเปลีย่ นแปลงทางสังคม จะถูกเติมเต็มด้วยการับ รูแ้ ละความศรัทธาทีม่ นคง ั ่ สิง่ ทีโ่ น้มน�ำมนุษย์ให้เข้าสูส่ นามและลุกขึ้นยืนหยัดต่อสู ้ และสร้าง ความเปลีย่ นแปลงในหน้าประวัตศิ าสตร์ หรือเปลีย่ นแปลงระบบหนึ่งไปสู่อกี ระบบหนึ่ง ไม่ ิ ได้เกิดจากแรงอาฆาตพยาบาทหรือความเลือมล� ่ิ ำ้ ทางชนชัน้ ทว่าเป็ นการต่อสูท้ เ่ี กิดจากความ รอบรูแ้ ละการมีวสิ ยั ทัศน์ทช่ี ดั เจน ซึง่ สิง่ นี้เกิดมาจกความเข้าใจถูกต้องผนวกกับการมีความ ศรัทธาสมบูรณ์3

สาส์น อิส ลาม

100

จุดประสงค์ของการปฏิวตั อิ สิ ลาม ซึง่ ถือเป็ นโซ่ขอ้ แรก คือการขับเคลือ่ นการปฏิวตั ิ

1  ปาฐกถาท่านผูน้ ำ� สูงสุดเมือ่ ครัง้ พบนักศึกษาจากเมืองเครมอนชา, 1390/7/24, อ้างอิงเดิม. ิ 2  ปาฐกถาท่านผูน้ ำ� สูงสุดเมือ่ ครัง้ พบเจ้าหน้าทีร่ ฐั , 1380/9/21, อ้างอิงเดิม. 3  ปาฐกถาท่านผูน้ ำ� สูงสุดในการเทศนานมาซวันศุกร์,1389/11/18, อ้างอิงเดิม.


โดยมีเป้ าหมายทีค่ รอบคลุมขัน้ ตอนทัง้ หมด ดังนัน้ จุดประสงค์ของเราจากการปฏิวตั อิ สิ ลาม ก็คือ ขบวนการทีข่ บั เคลือ่ นการปฏิวตั ิ และขบวนการปฏิวตั ทิ ล่ี ม้ ลา้ งระบบศักดินา ระบบ ปกครองเก่า ระบบทีต่ อ้ งพึง่ พาคนอืน่ และการทุจริต และเตรียมพื้นทีส่ ำ� หรับการสร้างระบบ ใหม่1 การปฏิวตั อิ สิ ลามมีลกั ษณะและคุณลักษณะทีว่ า่ ไม่ได้เกิดขึ้นจากความเชื่อลึก ๆ อันมีรากฐานของอิสลามเพียงอย่างเดียว ทว่ามันมีศกั ยภาพในตัวของมัน อันเป็ นรากเหง ้า และผลพวงของอารยธรรม จากทัศนะของท่านผูน้ ำ� ลักษณะเหล่านี้คอื อิสลามเป็ นศูนย์กลางความเป็ นอิสระทางการเมืองและประชาธิปไตย ความเชื่อ ตนเองด้านวิชาการ และความมันประชาชาติ ่ ของตน การน�ำอิหร่านไปสู่ความยิง่ ใหญ่ในโลก ต่อสูก้ บั การรุกรานทางวัฒนธรรม เมือ่ รากฐานเหล่านี้ถกู วางในประเทศชาติใด เวลานัน้ เรา สามารถหวังได้วา่ บนรากฐานเหล่านี้ เราสามารถสร้างอารยธรรมทีย่ ง่ิ ใหญ่ใหม่ได้ สิง่ ทีส่ ำ� คัญทีส่ ุดของลักษณะเหล่านี้คอื ความมันคง ่ ความอดทนและการยืนหยัด หากกรณีน้ สี ำ� เร็จการปฏิวตั จิ ะเป็ นแบบอย่างส�ำหรับชนชาติอน่ื มิเช่นนัน้ แล ้วมันจะกลายเป็ น เพียงความฝันอันมืดมิด ไม่อาจเป็ นแบบอย่างได้ แต่การปฏิวตั ขิ องเรามิได้เป็ นเช่นนัน้ การ ปฏิวตั ขิ องเรามีศกั ยภาพ การปฏิวตั ขิ องเราสร้างแรงบันดาลใจ และเป็ นแบบอย่าง เหล่านี้ ล ้วนเป็ นเพราะความมันคงและความอดทนและการยื ่ นหยัดบนหลักการและรากฐานทีส่ ำ� คัญ ซึง่ การปฏิวตั คิ รัง้ นี้ได้ประกาศโดยท่านอิมามโคมัยนี2 คุณลักษพิเศษอีกประการหนึ่งของการปฏิวตั อิ สิ ลามแห่งอิหร่าน ซึง่ ท่านผูน้ ำ� สูงสุด มักจะเน้นย�ำ้ อยู่เสมอคือ ความเป็ นอิสลาม อิหร่านก่อนการปฏิวตั ถิ กู ปกครองด้วยระบบการ ปกครอง ทีต่ ่อต้านอิสลามอย่างลับๆ โดยผิวเผินแล ้วดูเหมือนว่าพวกเขาไม่เป็ นพิษเป็ นภัย กับอิสลาม แต่ในเบื้องลึกพวกเขามุง่ เป้ าไปทีก่ ารท�ำลายรากฐานความศรัทธาของประชาชาติ เมือ่ การปฏิวตั เิ กิดขึ้นสิง่ ทีพ่ วกเขาไม่คาคฝันก็เกิดขึ้น นัน่ คือการก�ำหนดให้อสิ ลาม เป็ นแก่นในการปกครองและบริหารประเทศ น�ำเอาบทบัญญัตขิ องอิสลามมาเป็ นกฎหมาย สาส์น อิส ลาม

1  ปาฐกถาท่านผูน้ ำ� สูงสุดในการพบกับเจ้าหน้าฝ่ ายปกครอง ปี 1390. 2  ปาฐกถาท่านผูน้ ำ� สูงสุดในการเทศนานมาซวันศุกร์,1389/11/15.

101


1 และมาตราฐานในการร่างกฏหมายของประเทศ และเป็ นมาตราฐานทีต่ อ้ งปฏิบตั ทิ วประเทศ ั่

ท่านผูน้ ำ� สูงสุดยังได้กล่าวอีกว่า เรามีมมุ มองอันเฉพาะในการอธิบายการปฏิวตั ขิ อง เรา ซึง่ ค�ำธิบายนี้ไม่ได้จำ� กัดแค่การปฏิวตั ขิ องเรา แต่ครอบคลุมทุกการปฏิวตั ขิ องประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิง่ การปฏิวตั อิ สิ ลาม เราถือว่ามุมมองของนักสังคมนิยมเชิงวัตถุ ทีม่ ตี ่อการ ปฏิวตั เิ ป็ นสิง่ ทีล่ า้ สมัยไปแลว้ ค�ำอธิบายเกี่ยวกับการปฏิวตั คิ ือ อิสลามและการดลใจของ พระเจ้า เราถือว่าการปฏิวตั เิ ป็ นการปฏิรูปด้านจริยธรรม วัฒนธรรมและความเชื่อ ซึง่ ผลที่ ตามมาคือ การเปลีย่ นแปลงทางสังคม เศรฐกิจ การเมืองและทุกด้านทีส่ ่งผลต่อการพัฒนา มนุษย์ 2 ขัน้ ตอนที่สองระบบอิสลาม ล�ำดับต่อมาการเกิดขึ้นของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่คือ การสร้างระบบอิสลาม ท่านผูน้ ำ� สูงสุดถือว่าการเกิดขึ้นของการปฏิวตั ิ จะน�ำมาซึง่ อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ซึง่ ความ แตกต่างทีเ่ ห็นได้อย่างชัดเจนระหว่างการปฏิวตั อิ สิ ลาม กับการปฏิวตั อิ น่ื บนโลกทีไ่ ม่ประสบ ความส�ำเร็จก็คอื แก่นแท้ของระบอบอิสลาม ในทัศนะของท่านถือว่าการปฏิวตั หิ นึ่งจะไปถึง เป้ าหมายทีแ่ ท้จริงของตนได้ ต้องวางอยู่บนหลักการอันสูงส่ง ท่านอธิบายว่า โซ่ขอ้ ต่อมาคือ ระบอบอิสลาม ซึง่ จุดประสงค์ของข้าพเจ้าเกี่ยวกับระบบอิสลาม หมายถึงเอกลักษณ์ทงั้ หมดทีม่ นี ิยามอันเฉพาะ โดยทีป่ ระเทศชาติ พลเมือง และเจ้าของการ ปฏิวตั -ิ คือประชาชน-ได้เลือกสิง่ นี้ ฉะนัน้ สิง่ ทีเ่ กี่ยวกับเรา ประชาชนของเราเป็ นผูเ้ ลือกสรร นัน่ คือ สาธารณรัฐอิสลาม อันหมายถึง ระบอบประชาธิปไตยทีม่ าจากอิสลามและด�ำรงไว้ ซึง่ คุณค่าของอิสลาม ซึง่ เราได้กา้ วผ่านโซ่ขอ้ นี้ไปแล ้ว3

สาส์น อิส ลาม

ระบอบอิสลามได้เกิดขึ้นหลังจากการปฏิวตั อิ สิ ลาม ฉะนัน้ อาจมีการปฏิวตั แิ ละ ขบวนการเคลือ่ นไหวการปฏิวตั เิ กิดขึ้น แต่เป็ นระบอบทีไ่ ม่ใช่อสิ ลาม ซึง่ ในหลายประเทศเป็ น แบบนี้ ในประเทศอัลจีเรียก็เป็ นเช่นนี้ แต่หลังจากทีข่ บวนการต่อสู่ประสบความผลส�ำเร็จ

102

1  อ้างอิงเดิม. 2  ปาฐกถาท่านผูน้ ำ� สูงสุดวโรกาสครบรอบปี ชยั ชนะของหารปฏิวตั อิ สิ ลาม, อ้างอิงเดิม. 3  ปาฐกถาท่านผูน้ ำ� สูงสุดเมือ่ ครัง้ พบนักศึกษาจากเมืองเครมอนชา, อ้างอิงเดิม.


กลุม่ ชนทีไ่ ม่ได้มคี วามเชื่อต่อพื้นฐานความมคิดแบบอิสลาม กลับเข้ามาควบคุมอ�ำนาจ ใน ประเทศเราก็มกี ารด�ำเนินการในลักษณะเดียวกัน พวกเขาคิดว่าจะท�ำให้การการต่อสูแ้ ละ เคลือ่ นไหวของสาธารณะชน เป็ นการเคลือ่ นไหวและเรียกร้องของกลุ่มแรงงาน อันเป็ น แนวคิดเดียวกกับทีล่ ทั ธิสงั คมนิยมเคยใช้ในโลก –การปฏิวตั ชิ นั้ แรงงาน- หวังให้บงั เกิดผล มาแล ้ว จึงพยายามสอดแทรกผูค้ นเข้ามา แต่พวกเขาคิดไม่ถงึ ว่าท่านอิมามโคมัยนี (รฎ.) จะ รูท้ นั แผนการณ์ชวั ่ ร้ายพวกเขาจึงพ่ายแพ้อย่างย่อยยับ และระบอบอิสลามก็ได้จดั ตัง้ ขึ้น1 ท่านผูน้ ำ� สูงสุดถือว่าการมีระบอบอิสลามคือความจ�ำเป็ น และถือเป็ นเกณฑ์ในการ ด�ำเนินการและเป็ นเสาหลักในการตัดสินใจของประเทศ พวกเขาเชื่อในระบอบอิสลาม ซึง่ นอกจากจะเป็ นแบบอย่างอันเป็ นเสาหลักของรัฐบาลและรัฐธรรมนู ญแล ้ว ยังมีเนื้อหาทีเ่ ป็ น อิสลามอันเป็ นแบบอย่างในการด�ำเนินชีวติ ระบอบอิสลามกล่าวคือ หมายถึงเกณฑ์และครรลองการด�ำเนินการทัง้ หมด ตลอด จนองค์ประกอบการตัดสินใจภายในประเทศ เป็ นทีช่ ดั เจนว่าคืออะไร; องค์ประกอบของ รัฐบาล – ฝ่ ายบริหาร ฝ่ ายนิตบิ ญั ญัติ ศาลยุตธิ รรม และเสาหลักอืน่ ๆ – ถูกจัดตัง้ ขึ้น รัฐธรรมนู ญก็พร้อมทัง้ หมดนี้เสถียร; ดังนัน้ การวางรากฐานอันเป็ นหลักการได้ถกู จัดตัง้ เป็ น ทีเ่ รียบร้อย และนี่คอื ระบอบอิสลามไม่ใช่แค่รูปธรรมเพียงเท่านัน้ มีสารัตถะและบริบททีแ่ ท้ จริงนัน่ ก็คอื ภารกิจต่างๆ ทีต่ อ้ งท�ำในการด�ำเนินชีวติ จริงของประชาชน2 ท่านอะยาตุลลอฮฺ อะลีคาเมเนอี ได้ถงึ โองการอัลกุรอานทีว่ า่ 4 เอกลักษณ์สำ� คัญ อันได้แก่ นมาซ ซะกาต การก�ำชับความดี และห้ามปรามความชัว่ เป็ นเอกลักษณ์อนั เฉพาะ ของการก�ำหนด โครงสร้างในระบบอิสลาม ท่านได้กล่าวเพิม่ เติมว่า พระเจ้าผูท้ รงฤทธานุภาพ ทรงสัญญาว่า ทุกประชาชาติทม่ี เี อกลักษณ์เหล่านี้ จะได้รบั การช่วยเหลือ และปลดปล่อเขา ออกจากการครอบง�ำของมหาอ�ำนาจผูช้ วั ่ ช้า ท่านผูน้ ำ� สูงสุดเน้นย�ำ้ ว่า ทุกเอกลักษณ์ทก่ี ล่าว มามีทงั้ ทีเ่ ป็ นปัจเจกบุคคลและสังคม ซึง่ มีผลต่อการจัดตัง้ ระบอบอิสลามทัง้ สิ้น3

สาส์น อิส ลาม

1  ปาฐกถาท่านผูน้ ำ� สูงสุดเมือ่ ครัง้ พบประธานาธิดแี ละคณะรัฐบาล, อ้างอิงเดิม. 2  อ้างอิงเดิม. 3  ปาฐกถาท่านผูน้ ำ� สูงสุดในการวมตัวของผูแ้ สวงบุลและชาวเมืองมะฮชัดณ ฮะรอมของท่านอิมามริฎฮ (อ),1394/1/1, อ้างอิงเดิม.

103


ขัน้ ตอนที่สาม รัฐบาลอิสลาม ขัน้ ตอนทีส่ ามของการเกิดขึ้นของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่คอื การจัดตัง้ รัฐบาล อิสลาม ตามสโลแกนของรัฐบาลอิสลาม หมายถึงเราต้องการให้การกระท�ำของแต่ละบุคคล การปฏิบตั กิ บั ปัจเจกชน การปฏิบตั กิ ต่อตัวเรา การปฏิบตั ติ ่อระบบระหว่างประเทศ และระบบ การปกครองโลกปัจจุบนั ให้มคี วามใกล ้เคียงกับมาตรฐานและเกณฑ์ของอิสลาม1 ท่านผูน้ ำ� สูงสุดกล่าวว่า รัฐบาลอิสลามเป็ นกลุม่ ชนทีม่ าจากทุกภาคส่วน ไม่ได้จำ� กัด เฉพาะคณะรัฐบาลทีบ่ ริหารประเทศเท่านัน้ ซึง่ จุดประสงค์ของรัฐบาลอิสลาม นัน้ ขึ้นอยู่กบั พื้นฐานทีไ่ ด้สร้างระบอบอิสลามขึ้นมา และเมือ่ รัฐธรรมนู ญถูกร่างขึ้น หน่วยงานต่างๆ ก็ได้ ถูกก�ำหนดขึ้นมาเพือ่ บริหารประเทศ และหน่วยงานเหล่านี้คอื ผูบ้ ริหารจัดการรัฐบาลอิสลาม ตรงจุดนี้คำ� ว่ารัฐบาลจึงไม่ได้จำ� กัดอยู่แค่คณะบริหาร แต่ครอบคลุมทุกภาคส่วนทีม่ หี น้าที่ รับผิดชอบต่อการบริหารประเทศ2 หลังจากการปฏิวตั อิ สิ ลามได้รบั ชัยชนะก็ได้จดั ตัง้ ระบอบอิสลามขึ้นมา บนความ วิรยิ ะและตระหนักยิง่ ของท่านอิมามโคมัยนี (รฎ.) ผูล้ ว่ งลับและประชาชน การจัดตัง้ ระบอบ อิสลามเป็ นปฐมบทส�ำคัญของการสร้างประเทศอิสลาม ซึง่ เป็ นสิง่ ทีเ่ จ้าหน้าทีร่ ฐั ต่างให้ความ ส�ำคัญ และขัน้ ตอนนี้กไ็ ด้ถกู ก้าวผ่านไป ท่านผูน้ ำ� สูงสุดถือว่าการเกิดรัฐบาลอิสลาม เป็ นภา ระทีมี่ี สารัตถะขึ้นอยู่กบั การปฏิบตั แิ ละเป้ าหมาย และพฤติกรรมของเจ้าหน้าทีภ่ าครัฐบนพื้น ฐานของอิสลาม และเป้ าหมายของการปฏิวตั ิ ท่านผูน้ ำ� สูงสุดได้เน้นย�ำ้ เรื่องพฤติกรรมของ เจ้าหน้ารัฐ ทีม่ ตี ่อวิถที างด�ำเนินชีวติ ของประชาชน

สาส์น อิส ลาม

ถ้าหากเจ้าหน้าผูบ้ ริหารของประเทศไม่สามารถท�ำให้คำ� พูดของเขา และพฤติกรรม ของเขาอยู่ในระดับที่เหมาะสมกับสถานะของสาธารณะรัฐอิสลาม พวกเขาอย่าได้ตำ� หนิ ประชาชน เพราะถ้าเจ้าหน้าทีร่ ฐั บาลทัง้ หมดมีความเป็ นอิสลามอย่างแท้จริง และพฤติกรรม ของประชาชนก็สอดคล ้องกับอิสลาม เวลานัน้ ประเทศก็จะเป็ นอิสลามด้วย3

104

1  ปาฐกถาท่านผูน้ ำ� สูงสุดเมือ่ ครัง้ พบประธานาธิดแี ละคณะรัฐบาล, อ้างอิงเดิม. 2  ปาฐกถาท่านผูน้ ำ� สูงสุดเมือ่ ครัง้ พบนักศึกษาจากเมืองเครมอนชา, อ้างอิงเดิม. 3  ปาฐกถาท่านผูน้ ำ� สูงสุดเมือ่ ครัง้ พบประธานาธิดแี ละคณะรัฐบาล,อ้างอิงเดิม.


ท่านผูน้ ำ� สูงสุดได้อธิบายว่ารัฐบาลหมายถึง ฝ่ ายบริหาร ฝ่ ายนิตบิ ญั ญัติ และฝ่ าย ตุลาการ ซึง่ ภาคส่วนเหล่านี้ทงั้ หมดหมายถึง รัฐบาลอิสลาม อันประกอบด้วยข้อเท็จจริงและ คุณค่าของอิสลาม ทว่าต้องเชื่อมันว่ ่ าเจ้าหน้าทีฝ่ ่ ายปกครองมีความเป็ นอิลามมากว่า มีวถิ ี ชีวติ ในแบบของผูศ้ รัทธา และมีจติ วิญญาณแบบท่านอิมามอะลี (อ.) นัน้ คือมีความยุตธิ รรม ความย�ำเกรง อดทน เคร่งครัดสะอาดบริสุทธิ์ และต่อสูบ้ นหนทางของพระเจ้า พร้อมกับปลุก ให้พลังเหล่านี้มชี วี ติ อยู่ตลอดเวลา1 จากมุมมองของท่านผูน้ ำ� สูงสุด ความมุ่งมัน่ และการด�ำเนินการเพือ่ จัดตัง้ รัฐบาล อิสลาม ได้เริ่มต้นตัง้ แต่วนั แรก เพียงแต่วา่ มีบางช่วงได้พบกับอุปสรรค บางช่วงมีการชะลอ ตัว บางช่วงประสบความส�ำเร็จ และบางช่วงก็ไม่ประสบความส�ำเร็จ ท่านผูน็ ำ� สูงสุดเชื่อมัน่ ว่า.. การทีช่ ่อื ของเราคือ สาธารณรัฐอิสลาม นัน้ ยังไม่เพียงพอ เนื่องจากก่อนหน้าเราก็ มีหลายรัฐบาลในพื้นทีข่ องเราและแอฟริกาเป็ นประเทศอิสลาม ซึง่ ปัจจุบนั ก็ยงั คงมีอยู่ ดัง นัน้ การทีช่ อ่ื ของเราคือสาธารณรัฐอิสลามถือยังไม่เพียงพอ ซึง่ จะต้องท�ำให้ทงั้ การกระท�ำ ค�ำ พูด และพฤติกรรมของเราต้องเป็ นอิสลาม เพราะถ้ามีขอ้ บกพร่อง การด�ำเนินการทีต่ ่อเนื่อง และมันคงเพื ่ อ่ การจัดตัง้ รัฐอิสลามก็ตอ้ งมีอนั ชะงักลง และท�ำให้ภารกิจอืน่ ต้องล่าช้า ทว่ารัฐ อิสลามทีส่ มบูรณ์ตามความหมายทีแ่ ท้จริง จะถูกจัดตัง้ ขึ้นในยุคสมัยของมนุษย์ผูส้ มบูรณ์2 หน้าที่ของรัฐบาลอิสลาม รัฐบาลอิสลามมีหน้าทีส่ ร้างอารยธรรมอิสลาม ในทัศนะของท่านผูน้ ำ� สูงสุดประเทศ อิสลาม ทีม่ รี ฐั บาลและคณะรัฐบาลเป็ นอิสลาม โดยหลักการแล ้วท่านผูน้ ำ� สูงสุดได้กำ� หนด หน้าทีค่ วามรับผิดชอบให้กบั รัฐบาลอิสลาม ซึง่ บทความนี้จะกล่าวถึงหน้าทีบ่ างประการเหล่า นัน้ ท่านผูน้ ำ� สูงสุดถือว่า การเผยแพร่วชิ าการความรู ้ และการมีอสิ ระทางความคิดเป็ นหน้าที่ ของรัฐบาลอิสลาม ซึง่ ท่านได้อธิบายการมีอสิ ระทางความคิดว่า

จะต้องจัดเตรียมบรรยากาศทางสังคม เพือ่ ให้มนุษย์ใช้ความคิดได้อย่างอิสระ และ สาส์น อิส ลาม

1  ปาฐกถาท่านผูน้ ำ� สูงสุดเมือ่ ครัง้ พบประธานาธิดแี ละคณะรัฐบาล, 1383/6/4,อ้างอิงเดิม. 2  ปาฐกถาท่านผูน้ ำ� สูงสุดเมือ่ ครัง้ พบประธานาธิดแี ละคณะรัฐบาล,อ้างอิงเดิม.

105


สามารถพูดได้อย่างเสรี เนื่องจากเสรีภาพทางการพูดเกิดจากการมีอสิ ระทางความคิด และ ถ้าไม่มอี สิ ระทางความคิด ก็จะไม่มเี สรีภาพในการพูด ท่านผูน้ ำ� สูงสุดเน้นย�ำ้ ว่า การต่อสูก้ บั ความเสือ่ มทรามทางสังคมคือ การเติมเต็ม เกียรติยศให้ประเทศ หรืออีกนัยหนึ่งความกล ้าหาญและการต่อสู ้อย่างมีสติ กับอภิมหาอ�ำนาจ ของโลกก็เป็ นหน้าทีอ่ กี ประการหนึ่งของรัฐบาลอิสลาม1 ท่านผูน้ ำ� สูงสุดถือว่า การมีจติ อาสาท�ำเพือ่ ประชาชน การเปลีย่ นแปลงวิธกี ารต่างๆ เพือ่ ให้การบริการและตอบสนองความต้องการของประชาชน ก็เป็ นอีกหนึ่งหน้าทีข่ องรัฐบาล อิสลาม ท่านผูน้ ำ� เชื่อว่า คณะรัฐบาล เจ้าหน้าทีร่ ะดับสูง รัฐมนตรีทบวงและกระทรวงต่างๆ จะต้องรับผิดชอบทุกประการกับข้อผิดพลาดทีเ่ กิดขึ้น หรือสิง่ ทีข่ าดตกบกพร่อง ท่านผูน้ ำ� สูงสุดถือว่า การปฏิบตั หิ น้าทีอ่ ย่างเท่าเทียมตรงไปตรงมา ความร่วมมือ และใช้ชวี ติ อย่าง เรียบง่ายมีความส�ำคัญอย่างยิง่ และท่านได้แนะน�ำเสมอว่า รัฐบาลจะต้องยืนยัดบนหนทาง ทีส่ ร้างความสัมพันธ์กบั พระเจ้าอย่างเข้มแข็งและต่อเนื่อง2 ขัน้ ตอนที่ส่ี สังคมอิสลาม หลังจากการปฏิวตั สลามได้ ิ​ิ รบั ชัยชนะ และระบอบอิสลามได้ถกู จัดตัง้ ขึ้น สังคม แบบอิสลามก็จะปรากฏขึ้นมาเป็ นเงาตามตัว

สาส์น อิส ลาม

สังคมอิสลามหมายถึง สังคมทีม่ อี ดุ มคติแบบอิสลาม มีเป้ าหมายแบบอิสลาม มี ความหวังอันยิง่ ใหญ่ทอ่ี สิ ลามได้วาดภาพไว้สำ� หรับมนุษยชาติ สิง่ เหล่านี้จะต้องบังเกิดขึ้นมา สังคมทีม่ คี วามยุตธิ รรม สังคมทีม่ คี วามเสมอภาคและมีเสรีภาพ สังคมทีป่ ระชาชนมีสทิ ธิ์และ มีบทบาทต่อการบริหารประเทศ มีบทบาทต่ออนาคตและความก้าวหน้าของชาติ สังคมทีม่ ี ศักดิ์ศรีแห่งมาตุภมู แิ ละพึง่ ตนเอง สังคมทีม่ สี วัสดิการด้านต่างๆ สังคมทีป่ ราศจากความจน และความหิวโหย สังคมทีม่ คี วามก้าวหน้าและพัฒนาไปในทุก ๆ ด้าน มีความก้าวหน้าด้าน วิชาการ เศรษฐกิจ และการเมือง สังคมทีม่ กี ารขับเคลือ่ นไปสู่ความส�ำเร็จ ไม่หยุดนิ่ง และ พัฒนาก้าวหน้าตลอดเวลา และนี่คอื สังคมทีเ่ ราปราถนาให้เกิดขึ้น ถึงแม้นว่าจะยังไม่บงั เกิด

106

1  อ้างอิงเดิม. 2  อ้างอิงเดิม.


ขึ้นก็ตาม แต่เราต่างพยายามทีจ่ ะสร้างให้เกิดขึ้น และนี่คอื เป็ าหมายหลักและเป้ าหมายระดับ กลางทีม่ คี วามส�ำคัญยิง่ ส�ำหรับพวกเรา ท่านผูน้ ำ� สูงสุดอธิบายเป้ าหมายระดับกลางว่า.. หน้าทีค่ วามรับผิดชอบทีส่ ำ� คัญทีส่ ุดของสังคมคือ ภายใต้ร่มเงาของสภาพสังคม เศรษฐกิจ และรัฐบาลเช่นนี้ มนุษย์สามารถพัฒนาตนไปถึงความสมบูรณ์แห่งจิตวิญญาณ และพระเจ้าได้ ดังทีอ่ ลั กุรอานกล่าวว่า “เราไม่สร้างมนุษย์และญินขึ้นมาเพือ่ การใด นอกจาก เพือ่ นมัสการ” ด้วยเหตุน้ ีเป้ าหมายสุดท้ายของมนุ ษย์คือ การเป็ นบ่าวผูจ้ งรักภักดี ซึง่ เป้ า หมายก่อนหน้านัน้ คือ การสถาปนาสังคมอิสลาม อันเป็ นเป้ าหมายทีย่ ง่ิ ใหญ่และสูงส่ง เมือ่ มีสงั คมลักษณะนี้เกิดขึ้นมา ก็เท่ากับสังคมมีความพร้อมทีจ่ ะสร้างประชาชาติอสิ ลาม หมาย ถึงมีความพร้อมในการขยายสังคมให้กว้างออกไป1 ขัน้ ตอนที่หา้ อารยธรรมอิสลาม อายะตุลลอฮฺ อะลี คาเมเนอี วิเคราะห์พ้นื ฐานของอารยธรรมอิสลาม ในทิศทาง เดียวกันกับการปฏิวตั อิ สิ ลาม ส�ำหรับประชาติน้ ี เรื่องการสร้างระบอบและอารยธรรมแบบอิสลาม ถือเป็ น ปรากฏการณ์ใหม่ทางหน้าประวัตศิ าสตร์และเป็ นเรื่องจริงจัง ซึง่ เราต้องท�ำอย่างจริงจังด้วย บางครัง้ ในประเทศหนึ่งอาจเกิดรัฐประหาร และกองทัพได้เข้ายึดอ�ำนาจการปกครอง ซึง่ การ ยึดอ�ำนาจอยู่ได้ไม่นานก็จะล่มสลายไป หรือมีผูม้ ารับช่วงอ�ำนาจต่อ และทัง้ หมดก็กลับคืนสู่ สภาพเดิม แต่ทว่าสิง่ ทีเ่ กิดขึ้นในอิหร่านเป็ นการเคลือ่ นไหวทีย่ ง่ิ ใหญ่ในสายตาของประชาคม โลก2 แน่นอน นี่คอื การเคลือ่ นไหวทีแ่ พร่ขยายในระดับโลก แต่ไม่ได้รดิ รอนและรุกราน ประเทศใด ซึง่ ประสบการณ์หลายปี ของสาธารณรัฐอิสลาม ได้แสดงให้เห็นอย่างชัดเจน และ สิง่ นี้คอื สาส์นแก่ชาวโลกทีฝ่ งั ลึกอยู่ภายในการปฏิวตั 3ิ ท่านผูน้ ำ� สูงสุดได้อธิบายประโยคทีว่ า่ สาส์น อิส ลาม

1  ปาฐกถาท่านผูน้ ำ� สูงสุดเมือ่ ครัง้ พบนักศึกษาจากเมืองเครมอนชา, อ้างอิงเดิม. 2  ปาฐกถาท่านผูน้ ำ� สูงสุดในวันชาติเพือ่ การต่อสูก้ บั ผูก้ ดขี,่ 1373/8/11, อ้างอิงเดิม. 3  บะตูลยูซูฟี, เพโยเฮชชี พีรอมูน มะบอนีนะซะร บีดอรีอสิ ลามี, เตหราน, ส�ำนักพิมพ์เนะซัตะนัมอับซอร วอบัสเตะห์ เบะ

107


“การมีชวี ติ ทีด่ ”ี เป็ นอนิสงค์ทเ่ี กิดจากการให้ชวี ติ แก่อารยธรรมอิสลาม ท่านกล่าวว่า.. การมีชวี ติ ทีด่ ี มิได้หมายความแค่การนมาซ หรือการแสดงความเคารพภักดีเพียง เท่านัน้ หรือไม่ได้คำ� นึงถึงเรื่องการด�ำเนินชีวติ และวัตถุปจั จัย มิใช่เช่นนัน้ การมีชวี ติ ทีด่ คี อื การทีป่ ระชาชาติหนึ่งได้พยายามท�ำให้เกิดการสร้างสรรค์ การผลิตด้านอุตสาหกรรม การค้า พาณิชย์ เศรฐกิจและเกษตรกรรมมีความสมบูรณ์ ท�ำให้เกิดประสิทธิภาพด้านวิชาการ และ เทคโนโลยี และมีความก้าวหน้าในทุกๆ ด้าน ในขณะเดียวกัน เขายังรักษาจิตใจให้ไกล ้ชิด กับพระเจ้าอยู่เสมอ และสร้างสัมพันธ์กบั พระองค์ให้ใกล ้ชิดยิง่ ขึ้นไป และนี่คอื เป้ าหมายของ ระบอบอิสลาม 1 บทสรุป

สาส์น อิส ลาม

เมือ่ พิจารณาถึงมุมมองของท่านผูน้ ำ� สูงสุด โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในความหมายของ อารยธรรมอิสลามแสดงให้เห็นว่า ท่านผูน้ ำ� มีระบบความคิดอันเฉพาะตามค�ำสอนของบรรดา ศาสดา และกัลยานิมติ รของพระเจ้า เป้ าหมายของการปฏิวตั แิ ละระบอบอิสลามคือ การสร้าง อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ในโลก และท่านมีการวางแนวทางทีเ่ ฉพาะเจาะจงเพือ่ ให้บรรลุยงั เป้ าหมาย หลังจากได้วเิ คราะห์คำ� ปาฐกถาของท่านหลายต่อหลายครัง้ บทความนี้ได้บทสรุป ว่า ท่านผูน้ ำ� สูงสุดมีคำ� จ�ำกัดความชัดเจนอันเฉพาะส�ำหรับความเข้าใจเรือ่ ง อารยธรรมอิสลาม พร้อมกับระบุแนวทางทีจ่ ะไปถึงยังอารยธรรมนัน้ และในช่วงการก่อตัวของอารยธรรมอิสลาม ประเด็นทีท่ ่านให้ความส�ำคัญเป็ นพิเศษคือ วิถกี ารด�ำเนินชีวติ ทางสังคม ส่วนประเด็นอื่น (เศรฐกิจ วิทยาศาสตร์ และความก้าวหน้า อุตสาหกรรม...) ถือว่าเป็ นสือ่ กลางทีจ่ ะน�ำไปสู่ วัฒนธรรมและวิถชี วี ติ ทีถ่ กู ต้อง พบกับความสงบสุข ปลอดภัย เติบโต ก้าวหน้า และพัฒนา อย่างยัง่ ยืน ทัง้ หมดเหล่านี้เป็ นพื้นฐานของการเกิดอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ซึง่ มีขบวนการ และล�ำดับขัน้ ของการบรรลุไปสู่เป้ าหมายอันสูงส่ง อันได้แก่การปฏิวตั ิอิ​ิ สลาม การจัดตัง้ ระบอบอิสลาม การจัดตัง้ สังคมอิสลา และสุดท้ายการก่อตัวขึ้นของอารยธรรมอิสลามยุค ใหม่ ท่านผูน้ ำ� สูงสุดเชือ่ ว่า ในสถานการณ์ปจั จุบนั สาธารณรัฐอิสลาม ได้กา้ วผ่านขัน้ ของการ

108

อินติชรอตอินกิลอบ อิสลอมี, ปี 1391, หน้า 92. 1  ปาฐกถาท่านผูน้ ำ� สูงสุดในการรวมตัวประชนชนเมืองมะฮชัดและเหล่าผ็แสวงบุญ ณ ฮารัมของอิมามริฎอ, 1370/1/29, อ้างอิงเดิม.


ปฏิวตั อิ สิ ลาม และจัดตัง้ ระบอบอิสลามไปแล ้ว และก�ำลังอยู่ในล�ำดับขัน้ ตอนการสร้างสังคม อิสลาม และอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ในมุมมองของท่านผูน็ ำ� สูงสุดถือว่า การจะบรรลุงยัง เป้ าหมายและท�ำให้อารยธรรมอิสลามยุคใหม่เกิดขึ้นจริง ต้องสร้างความพร้อมทัง้ ในหมู่ ประชาชนและเจ้าหน้าทีภ่ าครัฐทุกหน่วยงาน เพือ่ เบื้องต้นจะได้มคี วามเข้าใจถึงความจ�ำเป็ น ของการบรรลุเป้ าหมาย หลังจากนัน้ ทุกคนจะได้ปฏิบตั หิ น้าทีเ่ พือ่ ให้สมั ฤทธิ์ผลต่อการเกิด อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ได้อย่างถูกต้อง ท่านผูน้ ำ� สูงสดเน้นย�ำ้ ว่า … อารยธรรมอิสลามคือ อารยธรรมทีม่ วี ชิ าการควบคู่กบั จริยรรม วัตถุปจั จัยควบคู่ กับจิตวิญญาณด้านในและศาสนา อ�ำนาจทางการเมืองควบคู่กบั ความยุตธิ รรม แน่นอนมัน จะเต็มไปด้วยความตืน่ เต้นน่าระทึก ทุกคนต่างต้องรูต้ วั เองว่าก�ำลังท�ำอะไร ทุกย่างก้าวทีก่ า้ ว ออกไปล ้วนเป็ นความตื่นเต้น ทว่าการกระท�ำนี้เป็ นการกระท�ำทีย่ ง่ิ ใหญ่ ประวัตศิ าสตร์ตอ้ ง จารึก การกระท�ำทีส่ ง่ ผลต่อต่อยุวชนหลายรุ่นและหลายศตวรรษ อย่าได้เข้าใจผิดว่าเป็ นการ กระท�ำเพียงครัง้ คราว เป็ นเรื่องเล็กน้อย และเป็ นเพียงสโลแกน งานนี้เป็ นงานทีต่ อ้ งก้าวไป ที่ละก้าว ทุกย่างก้าวจะต้องมัน่ คงแข็งแรงกว่าก้าวที่ผ่านมา อีกทัง้ ต้องมีกระบวนทัศน์ท่ี แยบยลในทุกๆ ขัน้ ตอนทีก่ ำ� ลังปฏิบตั ิ ค�ำบรรยายเหล่านี้ เมือ่ เทียบเคียงกันระหว่างประเด็นเน้นย�ำ้ ของท่านอิมามโคมัยนี (รฏ.) และท่านผูน้ ำ� สูงสุด แสดงให้เห็นถึงความส�ำคัญในการสร้างอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ การให้ความกระตือรือร้นในการพัฒนาในทุกด้าน และสิง่ นี้ถอื เป็ นหน้าทีค่ วามรับผิดชอบของ ฝ่ ายบริหารประเทศทุกสมัย ทีจ่ ะต้องจัดวางการบริหารและการเมือง ด้วยวิสยั ทัศน์ทจ่ี ก้าว ไปสู่การบรรลุอารยธรรมอิสลามยุคใหม่

สาส์น อิส ลาม

109



ปัจจัยการสร้างอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ (จากมุมมองของผูน้ � ำสูงสุดแห่งการปฏิวตั อิ สิ ลาม) มุฮมั มัดบเกร ฟัรซอเนห์1 อาลี คัยยาฏ์2 ฮาดีย ์ ซอฟัรฟูร3 อิบรอฮีม อาแว4 บทคัดย่อ ด้วยชัยชนะของการปฏิวตั อิ สิ ลาม ได้จดุ ประกายการสร้างอารยธรรมอิสลามยุค ใหม่ และด้วยการเปลีย่ นแปลงสมการทีค่ วบคุมชีวติ ส่วนรวมจึงสร้างสภาพแวดล ้อมทีเ่ หมาะ สมส�ำหรับอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ประเด็นของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่นนั้ เนื่องจากมี ความหมายทีเ่ กิดขึ้นใหม่สำ� หรับแนวคิดนี้ โดยเฉพาะในช่วงสองสามปี ทผ่ี า่ นมาซึง่ ถูกน�ำเสนอ โดยท่านผูน้ ำ� แห่งการปฏิวตั อิ สิ ลาม อีกทัง้ ยังไม่มนี กั วิชาการและนักเขียนงานอิสระได้เขียน และน�ำเสนอบทความเกีย่ วกับเรือ่ งนี้ อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ เป็ นประเด็นทีท่ า่ นผูน้ ำ� สูงสุด ของการปฏิวตั อิ สิ ลาม ได้นำ� เสนอและแนะน�ำในฐานะเป้ าหมายสูงสุดของการปฏิวตั อิ สิ ลาม แห่งอิหร่าน การบรรลุถงึ อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ถือได้วา่ เป็ นอุดมคติทย่ี ง่ิ ใหญ่ทส่ี ุดของ การปฏิวตั อิ สิ ลาม ซึง่ แนวทางในการบรรลุสูเ่ ป้ าหมายต้องเผชิญกับอุปสรรคปัญหาพอสมควร เนื่องจากขาดการตรวจสอบและพิจารณาในมิตติ ่าง ๆ ดังนัน้ การจะกล่าวถึงปัจจัยในการสร้าง อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ในมุมมองของท่านผูน้ ำ� สูงสุดนัน้ จะท�ำให้บรรลุเป้ าหมายง่ายขึ้น สาส์น อิส ลาม

1  . เลขาธิการสภาชูรอสถาบันศาสนาโคราซาน. 2  . อาจารย์มหาวิทยาลัย อุลูมลุ อิสลามีย ์ ระฏาวีย.์ 3  . นักศึกษาปริญญาโท ภาควิชาประวัตศิ าสตร์อารยธรรมอิสลาม แห่งมหาวิทยาลัย อุลูมลุ อิสลามีย ์ ระฏาวีย.์ 4  . ปริญญาโท คณะกุรอานวิทยา มหาวิทยาลัยนานาชาติอมิ ามโคมัยนี เมืองกุม ประเทศอิหร่าน.

111


ซึง่ บทความนี้จะอธิบายความคิดของท่านผูน้ ำ� สูงสุด เกี่ยวกับอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ รูป แบบของบทความนี้เป็ นเชิงวิเคราะห์ในบริบทของการวิจยั – วิเคราะห์ และวิธกี ารรวบรวม ข้อมูลแบบห้องสมุดและเอกสารอ้างอิง ศัพท์สำ� คัญ : อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ผูน้ ำ� สูงสุดแห่งการปฏิวตั อิ สิ ลาม ความ ศรัทธา สังคม สังคมอิสลามและระบอบอิสลาม บทน� ำ ท่านอยาตุลลอฮฺ อะลี คาเมเนอี ผูน้ ำ� สูงสุดของการปฏิวตั อิ สิ ลาม ในระหว่างการ เยือนแคว้นโคราซานเหนือในปี 1391 (2012) ได้นำ� เสนอโร้ดแม็ป โดยให้ความหมายเป้ า หมายของระบบอิสลามคือมุง่ สูก่ ารพัฒนาและความก้าวหน้า และท่านอธิบายความหมายของ “การพัฒนาและความก้าวหน้า” คือ “อารยธรรมอิสลามยุคใหม่” อีกทัง้ ได้แนะน�ำเป้ าหมาย ของสังคมแห่งประชาชาติอหิ ร่าน รวมถึงเป้ าหมายของการปฏิวตั อิ สิ ลามแห่งอิหร่านคือ การ สร้างอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ท่านผูน้ ำ� สูงสุดแห่งการปฏิวตั อิ สิ ลาม ได้สรุปความส�ำเร็จของอารยธรรมอิสลามยุค ใหม่ไว้ในห้าขัน้ ตอนด้วยกัน ขัน้ ตอนแรกคือ การปฏิวตั อิ สิ ลามแห่งอิหร่าน ซึง่ ได้รบั ชัยชนะ ในวันที่ 22 เดือนบะห์มนั ปี 1357 (ค.ศ.1978) ขัน้ ตอนทีส่ องคือ การจัดตัง้ ระบอบอิสลามซึง่ ประชาชาติอิหร่ านได้ลงคะแนนเสียงเห็นชอบต่ อระบอบสาธารณรัฐอิสลามเมื่อวันที่ 4 เมษายนปี 1358 (1980) ขัน้ ตอนทีส่ ามคือ รัฐบาลอิสลามทีป่ ระชาชนให้ความเชื่อมัน่ และ ขัน้ ตอนทีส่ แ่ี ละห้าคือ สังคมอิสลามและอารยธรรมอิสลามยุคใหม่

สาส์น อิส ลาม

เกี่ยวกับหน้าทีร่ บั ผิดชอบในการสร้างอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ อยาตุลลอฮฺ คาเม เนอี ผูน้ ำ� สูงสุดแห่งการปฏิวตั อิ สิ ลาม ได้เรียกร้องบรรดานักวิชาการ นิสติ นักศึกษา นักการ ศาสนา และนักวิจยั ทุกคน ให้มสี ่วนร่วมและรับผิดชอบในเรื่องนี้อย่างแท้จริง

112

ในบทความนี้ เราต้องการประจักษ์วา่ อะไรคือปัจจัยสร้างอารยธรรมอิสลามยุคใหม่? มีก่ปี ระเภท อะไรบ้าง ? ปัจจัยภายนอกและภายในคืออะไร? สถานะของส�ำนักคิด สิง่ อ�ำนวย ความสะดวก และความเป็ นผูน้ ำ� ในความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล สังคมและการบริหารจัดการ ตามการก่อตัวของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่คอื อะไร?


ก: แนวคิดศึกษา 1. อารยธรรม ค�ำว่า อารยธรรม มีความหมายตามศัพท์ว่า พลเมือง เมืองหรือนคร เจริญ งอกงาม.... ในรูปแบบของการทีม่ นุษย์ออกจากสภาวะแห่งความป่ าเถือ่ น และสังคมหนึ่งที่ ออกจากขัน้ ตอนแรก ส่วนความหมายของอารยธรรมทัว่ ไปนัน้ มีการให้ความหมายต่าง ๆ นานา เช่น อารยธรรม คือ “ขัน้ ตอนหรือประเภทของวัฒนธรรมเฉพาะทีม่ อี ยู่ในยุคหนึ่ง อัน เป็ นผลมาจากความอัจฉริยะของชนกลุม่ น้อยทีส่ ร้างสรรค์” (ลูคสั ) คือ “ระเบียบสังคมอัน เป็ นผลมาจากการด�ำรงอยู่ของมัน ทีก่ ่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ทางวัฒนธรรมทีเ่ ป็ นไป ได้” (ดูเรนด์) อีกความหมายหนึ่งคือ “อารยธรรมคือ การรวมกลุม่ ทางวัฒนธรรมทีส่ ูงทีส่ ุด และเป็ นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมในระดับทีก่ ว้างทีส่ ุด” (ฮันติงตัน) ในบรรดานักวิชาการอิสลาม คอเญร์ นาศิรุดดีน อัลตูซยี ์ และอิบนุค็อลดูน ถือว่า อารยธรรมเป็ นสถานะของการขัดเกลาทางสังคมของมนุษย์ ส่วน อัลลามะห์ ญะอฺฟะรีย ์ ให้ ความหมายอารยธรรมคือ “การสร้างความสามัคคีของมนุษย์ในชีวติ ทีม่ เี หตุผล ด้วยความ สัมพันธ์ทเ่ี ป็ นธรรม และการมีส่วนร่วมของบุคคลทุกคน และกลุม่ สังคมในการพัฒนาเป้ า หมายทางวัตถุ และจิตวิญญาณของมนุษย์ในมิตเิ ชิงบวกทัง้ หมด” ซึง่ นิยามนี้ถอื เป็ นความ หมายทีด่ ที ส่ี ุด 2 อารยธรรมอิสลาม

สาส์น อิส ลาม

เมือ่ พิจารณาตามโลกทัศน์ อิสลามเป็ นศาสนาทีว่ างอยู่บนพื้นฐานแห่งหลักค�ำสอน ของอัลกุรอาน และวิถขี องท่านศาสดาและเอาลิยาอฺของพระเจ้า และได้มอบทุกสิง่ ทุกอย่าง ให้กบั มนุษย์ตามทีเ่ ขาต้องการเพือ่ บรรลุเป้ าหมายในการด�ำเนินชีวติ อารยธรรมอิสลามเป็ น อารยธรรมทีม่ สี ่วนประกอบมาจากแก่นและรากฐานของศาสนาอิสลามทัง้ สิ้น เมือ่ พิจารณา ถึงค�ำจ�ำกัดความทีม่ คี ่านี้จงึ มีจดุ เริม่ ต้นและจุดสิ้นสุด ด้วยการเกิดขึ้นของศาสนาอิสลามและ การแพร่กระจายอย่างรวดเร็ว และกว้างขวางในหมู่ประชาชาติและผูค้ น จึงมีการดึงดูด วัฒนธรรมของมนุษย์ทห่ี ลากหลาย และก่อให้เกิดการสร้างวัฒนธรรม และอารยธรรมของ มนุษย์ทแ่ี ข็งแกร่งและยิง่ ใหญ่ข้นึ มาโดยทีม่ ชี าติและเผ่าพันธุต์ ่างๆ เข้ามามีส่วนร่วมด้วย

113


สาส์น อิส ลาม

ความหมายของอารยธรรมอิสลามคือ ชุดความคิด ความศรัทธา วิทยาศาสตร์ ศิลปะและอุตสาหกรรมทีไ่ ด้รบั แรงบันดาลใจจากค�ำสอนของศาสนาทีถ่ กู สร้างขึ้นโดยมุสลิม ด้วยทัศนคติเช่นนี้อารยธรรมอิสลามโดยทัว่ ไปสามารถให้คำ� นิยามหรือค�ำจ�ำกัดความดังนี้: อารยธรรมอิสลามที่มที ศั นคติแบบการศรัทธาในผูเ้ ป็ นเจ้าหนึ่งเดียว เป็ นอารยธรรมที่มี อุดมการณ์กบั ชุดของโครงสร้างทางจิตวิญญาณและวัตถุ และการสงวนของสังคมอิสลาม ซึง่ จะน�ำมนุษย์ไปสู่ความสมบูรณ์แบบทางจิตวิญญาณและทางวัตถุ ดังนัน้ อารยธรรมอิสลาม คือ อารยธรรมทีไ่ ม่ได้เป็ นของชนชาติ หรือเชื้อชาติใดเป็ นการเฉพาะ แต่เป็ นอารยธรรมของ ประเทศอิสลาม ซึง่ รวมถึงชาวอาหรับ อิหร่าน เติรก์ และอืน่ ๆ ด้วย (รวมบทความการประชุม สัมมนาระหว่างประเทศว่าด้วยวัฒนธรรมและอารยธรรมอิสลาม) ซึง่ ด้วยศาสนาทีเ่ ป็ นทางการ นี้ หมายถึงศาสนาอิสลาม และภาษาวิชาการและวรรณกรรม หมายถึงภาษาอาหรับจึงสามารถ รวมกันเป็ นหนึ่งเดียว อารยธรรมนี้ได้ไปถึงในระดับทีย่ ง่ิ ใหญ่ มีความสมบูรณ์แบบและแผ่ ขยายกว้าง ซึง่ บางครัง้ ก็ยากเกินทีจ่ ะท�ำความเข้าใจในทุกมิตแิ ละแง่มมุ

114

อารยธรรมอิสลามในช่วงยุคสมัยของราชวงศ์อมุ ยั ยะฮ์ในเมืองชาม (ดามัสกัส) เข้า สูข่ นั้ ตอนของการสุกงอม และไปถึงจุดสูงสุดของมันในยุคสมัยของราชวงศ์อบั บาซียะฮ์ ซึง่ เมืองแบกแดดเป็ นศูนย์กลางของอารยธรรมทีย่ อดเยีย่ มนี้ในปี ค.ศ. 750 – และถึงยุคสมัย แห่งการปกครองของราชวงศ์อุมยั ฮ์ในอันดาลุสในปี ค.ศ. 755 การศึกษาด้านภูมศิ าสตร์ ประวัตศิ าสตร์อสิ ลาม และยุทธ์วธิ ศี าสนาอิสลามทีแ่ พร่กระจายไปทัว่ โลก แสดงให้เห็นว่า ตลอดหลายศตวรรษที่ผ่านมา ศาสนาอิสลามได้ครอบครองดินแดนส่วนใหญ่ในสมัยนัน้ สามารถพิชติ ดินแดนในเอเชีย แอฟริกา และยุโรปส่วนหนึ่ง จากอิรกั อิหร่าน อัฟกานิสถาน และทางตะวันออกไปยังจีน และอินเดีย จากทางตะวันออกเฉียงเหนือของซามัรกัน (Samarkand) บูคอรอ ( Bukhara) และคาวาเรซมี ไปยังภูเขาแห่งหนึ่งในฟัรคอนา (Fergana) ซึง่ พื้นทีเ่ หล่านี้เชื่อมโยงกันด้วยวัฒนธรรมและศาสนาร่วมกัน และผูอ้ ยู่อาศัยในพื้นทีด่ งั กล่าว ถือว่าตนเป็ นสมาชิกหนึ่งของอารยธรรมเดีย่ วและกว้างใหญ่น้ ี ศูนย์กลางทางจิตวิญญาณและ ศาสนาคือ นครเมกกะ ส่ ว นศู น ย์ก ลางทางวัฒ นธรรมและการเมือ งคือ นครแบกแดด อารยธรรมนี้อยู่เหนือทุกอารยธรรม และให้ความส�ำคัญในด้านวิทยาศาสตร์ และความรูเ้ ป็ น สิง่ ส�ำคัญ และได้สร้างมหาวิทยาลัยทีด่ ที ส่ี ุดในโลกและรวบรวมศาสตร์ต่างๆ และนอกเหนือ จากนัน้ ยังได้สง่ มอบมรดกทีย่ ง่ิ ใหญ่ และวิวฒั นาการให้กบั มนุษยชาติอกี ด้วย จากการอธิบาย


เหล่านี้เราสามารถพูดได้ว่าความหมายของอารยธรรมอิสลามคือ ชุดความคิด ความเชื่อ (ความศรัทธา) วิทยาศาสตร์ ศิลปะและอุตสาหกรรมทีไ่ ด้รบั แรงบันดาลใจจากค�ำสอนทาง ศาสนาทีส่ ร้างสรรค์ข้นึ โดยชาวมุสลิมนัน่ เอง ด้วยทัศนคติดงั กล่าว อารยธรรมอิสลามโดย ทัว่ ไปจึงสามารถให้ความหมายได้ดงั นี้ : อารยธรรมอิสลามที่มที ศั นคติแบบการศรัทธาในพระผู เ้ ป็ นเจ้าหนึ่งเดียว คือ อารยธรรมเชิงอุดมคติทม่ี ชี ดุ องค์ประกอบของการสร้าง และสร้างสมจิตวิญญาณและวัตถุ ของสังคมอิสลาม ซึง่ จะน�ำมนุษย์ไปสู่ความสมบูรณ์ทางวิญญาณและทางวัตถุ ความหมายของค�ำว่า “องค์ประกอบของการสร้าง” เป็ นส่วนหนึ่งแห่งชีวติ ของ อารยธรรมทีไ่ ม่เกิดขึ้นภายใต้สถานการณ์ปกติในสังคม ส่วนค�ำว่า “สร้างสม” มีความหมาย ว่า การสะสมประสบการณ์และข้อมูล ความรู ้ พันธะสัญญา และสิง่ ประดิษฐ์ในอดีตของ สังคมมนุษย์ภายใต้อทิ ธิพลของมรดกแห่งรัฐอิสลามต่อสังคมอิสลาม ดังนัน้ วัฒนธรรมและอารยธรรมอิสลามจึงเป็ นชุดของขนบธรรมเนียม ความเชื่อ ประเพณีปฏิบตั ิ หลักค�ำสอน วิทยาศาสตร์อสิ ลาม และทรัพยากรทางวัตถุและจิตวิญญาณ ทีม่ อี ยู่ในหมูป่ ระชาชาติมสุ ลิม 3. อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ท่านผูน้ ำ� สูงสุดแห่งการปฏิวตั อิ สิ ลาม มีการตีความใหม่นอกเหนือจากอารยธรรม อิสลามนี้ ในรูปแบบของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ท่านได้กล่าวเกี่ยวกับความหมายและ อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ว่า : อารยธรรมอิสลามยุคใหม่หมายถึงความก้าวหน้ารอบด้าน หากเราก�ำลังมองหาตัวอย่างทีเ่ ด่นชัดอย่างแท้จริง และตัวอย่างภายนอกเพือ่ เข้าใจความหมาย ของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่แล ้ว เราสามารถพูดได้วา่ เป้ าหมายของประชาชาติอหิ ร่านและ เป้ าหมายของการปฏิวตั อิ สิ ลามคือ การสร้างอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ (สุนทรพจน์ของผูน้ ำ� สูงสุด ในการพบปะกับบรรดาเยาวชนหนุ่มสาวแคว้นโคราซานเหนือ 23 /7/ 1391) สาส์น อิส ลาม

ในมุมมองหนึ่ง อารยธรรมอิสลามคืออารยธรรมอิสลามยุคใหม่ แต่อกี มุมมองอืน่ เราหมายถึงอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ทีม่ คี วามก้าวหน้ารอบด้านและมีสองส่วนหลักส�ำคัญ ท่านผูน้ ำ� สูงสุดกล่าวว่า [ส่วนทีห่ นึ่ง] คือส่วนของเครื่องมือ อีกส่วนหนึ่งเป็ นรากฐานและองค์

115


ประกอบหลัก ส่วนทีเ่ ป็ นเครื่องมือนัน้ คืออะไร? ส่วนทีเ่ ป็ นเครื่องมือคือ คุณค่าเดียวกันกับ ทีเ่ ราน�ำเสนอในวันนี้ภายใต้ความก้าวหน้าของประเทศ นัน่ คือ : วิทยาศาสตร์ การประดิษฐ์ อุตสาหกรรม การเมือง เศรษฐกิจ อ�ำนาจทางการเมือง การทหาร ชื่อเสียงระหว่างประเทศ การเชิญชวนเผยแผ่ และเครือ่ งมือของการโฆษณาชวนเชือ่ สิง่ เหล่านี้ล ้วนเป็ นส่วนส�ำคัญของ อารยธรรมทีเ่ ป็ นเครื่องมือ [ส่วนทีส่ อง] คือส่วนทีเ่ ป็ นแก่นแท้ สิง่ เหล่านี้คอื สิง่ ทีป่ ระกอบขึ้น เป็ นข้อความและตัวบทในชีวติ ของเรา นัน่ ก็คอื วิถชี วี ติ ทีไ่ ด้กล่าวไปแล ้วข้างต้น นี่คอื ส่วนทีแ่ ท้ จริงและแก่นแท้หลักของอารยธรรม เช่น ปัญหาของครอบครัว วิถกี ารแต่งงาน ประเภทของ ทีอ่ ยู่อาศัย ประเภทของเสื้อผ้า ฯลฯ สิง่ เหล่านี้คอื ส่วนหลักของอารยธรรมทีส่ ะท้อนถึงวิถี ชีวติ ของมนุษย์ (สุนทรพจน์ของผูน้ ำ� สูงสุด ในการพบปะกับบรรดาเยาวชนหนุ่มสาวแคว้นโค ราซานเหนือ 23 /7/ 1391) เมื่อ พิจ ารณาถึง ความหมายของอารยธรรมอิ ส ลาม (ซึ่ง สรุ ป ไว้ใ นชุ ด ของ ขนบธรรมเนียม ความเชื่อ ประเพณี ความรู ้ วิทยาศาสตร์อสิ ลาม และทรัพยากรทางวัตถุ และจิตวิญญาณทัว่ ไปทีม่ อี ยู่ในประชาชาติมสุ ลิม) กับอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ หมายถึง ความก้าวหน้ารอบด้าน) จะพบว่าทุกสิ่งทุกอย่างที่มีอยู่ในอารยธรรมอิสลามก็มีอยู่ใน อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ดว้ ย

สาส์น อิส ลาม

ควรสังเกตว่าค�ำจ�ำกัดความของ อารยธรรมอิสลาม และอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ควรเริ่มท�ำการวิพากษ์วจิ ารณ์และละลายรากฐานความหมายทีเ่ ป็ นทางการ และความคิด โบราณและความคลาสสิกของอารยธรรมนี้เสียก่อน เพือ่ ให้เห็นความแตกต่างทีช่ ดั เจนขึ้น เนื่องจากค�ำจ�ำกัดความของอารยธรรมทีน่ ำ� เสนอในหัวข้อข้างต้น และในหนังสือทีเ่ กี่ยวข้อง กับปรัชญาวัฒนธรรม สังคมวิทยา วัฒนธรรม ฯลฯ ได้รบั การกล่าวถึง หรือการแสดงความ คิดเห็นโดยนักปรัชญาแห่งอารยธรรมนัน้ ส่วนใหญ่จะผสมกับสมมติฐานเชิงอุดมการณ์และ ความล�ำเอียง

116

ตัวอย่างเช่น ในค�ำจ�ำกัดความของอารยธรรมในต�ำราคลาสสิก ค�ำว่า อารยธรรม หมายถึงการสร้างศีลธรรมของชาวเมืองและการเปลีย่ นจากความดัง้ เดิม ความรุนแรงและ ความไม่รูม้ าสู่ความรู ้ ดังนัน้ จึงเกิดค�ำถามขึ้นมาว่า อารยธรรมและวาทกรรมทีไ่ ด้ปกครอง ตะวันตกในระยะเวลาหนึ่งร้อยยีส่ บิ ปี ทผ่ี า่ นมา ทีไ่ ปถึงการวิวฒั นาการของสังคมอุตสาหกรรม


ชาวเมืองและสังคมหลังอุตสาหกรรม มันเกิดช่องว่างและระยะห่างจากความรุนแรง ความ ป่ าเถือ่ นและงมงายได้อย่างไร เราต้องเผชิญกับหนึ่งในอารยธรรมทีน่ ่ากลัวทีส่ ุดในแง่ของ ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในประวัตศิ าสตร์มนุษย์หรือ? ตามค�ำจ�ำกัดความคลาสสิกนี้ อารยธรรมจะมีความก้าวหน้าเชิงเส้นวิวฒั นาการทาง ประวัตศิ าสตร์ทม่ี แี ก่นแท้ว่า ยิง่ มนุษย์กา้ วหน้ามากเท่าไหร่กย็ ง่ิ มีอารยธรรมและความสมบูรณ์ มากขึ้นเท่านัน้ นัน่ หมายความว่าจากความรุนแรง ความงมงาย และความไม่รู ้ (โง่เขลา) ที่ ไกลห่าง น�ำไปสูค่ วามใกล ้ชิดกับโลกแห่งความรู ้ ด้วยข้อสมมุตฐิ านนี้มนุษย์ ควรมีมนุษยธรรม มีสติ มีความรอบรู ้ และต่อต้านความรุนแรงทีส่ ุดในประวัตศิ าสตร์ของมนุษย์ แต่ในความ เป็ นจริงแล ้วหาเป็ นเช่นนัน้ ไม่ เพราะเทคโนโลยีได้มาถึงแต่การเติบโตของมนุษย์กลับไม่เกิด ขึ้น มนุษย์มคี วามก้าวหน้าในประสบการณ์ทางอุตสาหกรรม แต่ประสบการณ์ของมนุษย์กลับ ไม่กา้ วหน้า มิหน�ำซ�ำ้ ยิง่ เสือ่ มถอยขึ้นทุกวัน โลกในปัจจุบนั นี้มคี วามงมงาย และเดระฉานกว่าเมือ่ สี่รอ้ ยปี ก่อนหรือ? ความ รุนแรง ความหวาดกลัว การลอบสังหาร การสังหารหมู่ การยึดครอง การฆาตกรรม และ การปล ้นสะดมก็ไม่ได้หยุดหย่อนและน้อยไปกว่ายุคสมัยก่อนเลย หากแต่ทว่าวันนี้มนั ถูก อ�ำพรางและซ่อนเร้นด้วยวรรณกรรมทีส่ วยหรู

สาส์น อิส ลาม

ผูท้ ก่ี ำ� หนดอารยธรรมได้รวมเอาสมมติฐานแห่งผลประโยชน์และอุดมการณ์เข้าไว้ ในนิยามของอารยธรรม ในเบื้องต้นพวกเขาเสนอค�ำจ�ำกัดความทางวิทยาศาสตร์ทเ่ี ป็ นกลาง การเป็ นคนเถือ่ นหมายความว่าอย่างไร? ใครเป็ นคนเถือ่ น? ใครเหนือกว่าและวางอยู่บนพื้น ฐานอะไร? มนุ ษยนิยมใดทีเ่ หนือกว่าหรือมนุ ษย์บางประเภท(สตรีนิยม) หรือไม่นิยมใดๆ เลย? การท�ำให้เป็ นชายขอบหรือวิถชี วี ติ ในเมืองปัจจุบนั ใช่แล ้ว...มุมมองของค�ำจ�ำกัดความ ของอารยธรรมนัน้ มาจากความหมายเชิ ง คลาสสิก เหล่ า นี้ ท่ีส ามารถเห็น ได้จ ากนัก ประวัตศิ าสตร์โบราณทีป่ กปิ ดอาชญากรรมของผูป้ กครองอิสลาม และนักประวัตศิ าสตร์สมัย นี้ทต่ี อ้ งเผชิญกับอาชญากรรมของผูป้ กครองปัจจุบนั ของประเทศอิสลามทีถ่ ูกบีบบังคับให้ พวกเขานิ่งเงียบ ใช่..ค�ำจ�ำกัดความของอารยธรรมเช่นนี้กจ็ ะเห็นถึงผลลัพธ์ดงั กล่าว หาก เราน�ำมาเทียบวางสิง่ นี้กบั โองการของอัลกุรอานทีก่ ล่าวว่า ُ ٰ َ‫ِّمن َذ َك ٍر َوأ ث‬ �‫ن‬

117


ความว่า “แท้จริงเราได้สร้างพวกเจ้าจากเพศชาย และเพศหญิง” (ซูเราะห์ อัลหุจญ รอต โองการที1่ 2) ก็จะพบว่า ไม่วา่ จะเป็ นผูช้ ายหรือผูห้ ญิง เพศของคุณไม่มสี ่วนเกี่ยวข้อง ใด ๆ กับเกียรติยศและศักดิ์ศรีของคุณ มาตวัดหรือเกณฑ์ในเรื่องนี้คือความศรัทธาและ การกระท�ำความดี คุณธรรมและชีวติ ทีด่ เี ป็ นของชายและหญิงทีเ่ ป็ นผูศ้ รัทธาและมีคณ ุ ธรรม หรืออีกโองการหนึ่งได้กล่าวว่า َ َ ً ُ ُ ْ ُ َْ َ َ َ ‫و� َوق َبا ِئل‬ ‫وجعلناك شع ب‬ ความว่า “และเราได้ให้พวกเจ้าแยกเป็ นเผ่า และตระกูลเพือ่ จะได้รูจ้ กั กัน” เราได้ สร้างพวกเจ้ามาจากประชาชาติ เชื้อชาติและชนเผ่าทีห่ ลากหลายมิใช้เพือ่ ความโอ้อวดและ ภาคภูมใิ จ แต่ทว่าเพือ่ พวกคุณจะได้มคี วามสัมพันธ์และรูจ้ กั ซึง่ กันและกัน ได้ตระหนักถึง ความต้องการซึง่ กันและกัน และสร้างปฏิสมั พันธ์ระหว่างมนุษย์ดว้ ยกัน มุมมองเหล่านี้วาง อยู่บนพื้นฐานของสองประเภททีแ่ ตกต่างกันโดยต่างของหลักเตาฮีด (หลักศรัทธา) การตัง้ ภาคีหรือความเป็ นผูศ้ รัทธา และการปฏิเสธความเป็ นมนุษย์ และแนวคิดอืน่ ๆ ในลักษณะนี้ ทีม่ กี ารน�ำมาใช้ในค�ำนิยามต่าง ๆ อย่างมากมาย เมื่อพิจารณาจากตัวอย่ างข้างต้น ในความเห็นของผู เ้ ขียนเชื่อว่า บรรดานัก ประวัตศิ าสตร์อสิ ลามยุคสมัยนี้ไม่ได้มคี วามละเอียดอ่อนมากสักเท่าไหร่ และหลักการของ พวกเขาก็ถูกน�ำมาจากตะวันตกด้วย พวกเขาใช้พ้ ืนฐานและความหมายนี้ในการมอง ประวัตศิ าสตร์อารยธรรมอิสลาม เมือ่ มีโอกาสเราต้องท�ำงานเกีย่ วกับประวัตศิ าสตร์อารยธรรม ในบางประเด็นอย่างจริงจัง เพื่อให้คำ� โกหกมดเท็จที่ถูกบอกเล่าในสาขาประวัติศาสตร์ วิทยาศาสตร์และประวัตศิ าสตร์แห่งอารยธรรมจะได้รบั การแก้ไขในจิตใจของพวกเราทุกคน เพือ่ ทีเ่ ราจะได้รูจ้ กั อารยธรรมใหม่ของอิสลามได้อย่างถูกต้อง

สาส์น อิส ลาม

ข: ปัจจัยในการสร้างอารยธรรมอิสลามยุคใหม่

118

เราได้แบ่งปัจจัยทีก่ ่อให้เกิดอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ออกเป็ น 2 ประเภทด้วยกัน ได้แก่ : ปัจจัยภายใน (เฉพาะ) และปัจจัยภายนอก (ทัว่ ไป) ส่วนความหมายของปัจจัยการ สร้างภายนอก (ทัวไป) ่ คือปัจจัยทีม่ คี วามจ�ำเป็ นในการสร้างอารยธรรม แต่ในปัจจัยการสร้าง ภายใน (เฉพาะ) นอกเหนือจากการด�ำรงอยู่ของทุก ๆ อารยธรรมแล ้ว สิง่ นี้ยงั มีความจ�ำเป็ น


และส�ำคัญยิง่ ส�ำหรับอารยธรรมใหม่ของอิสลามอีกด้วย โดยล�ำดับต่อไปนี้เราจะท�ำการตรวจ สอบปัจจัยของการสร้างภายในก่อนแล ้วจึงจะอธิบายปัจจัยของการสร้างภายนอก 1. ปัจจัยภายในของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ปัจจัยภายในเหล่านี้คอื ความศรัทธา ส�ำนักคิด ความเป็ นผูน้ ำ� และสิง่ อ�ำนวยความ สะดวก ปัจจุบนั เพื่อสร้างอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ให้เกิดขึ้น มันต้องการปัจจัยเหล่านี้ ทัง้ หมด และต่อไปนี้จะขอน�ำเสนอมุมมองของท่านผูน้ ำ� สูงสุดเพือ่ อธิบายปัจจัยทัง้ สามนี้ หนึ่ง ความศรัทธาและส�ำนักคิด พฤติกรรมและการเคลือ่ นไหวของเราในสังคม และวิถชี วี ติ ของเราจะคลอ้ ยตาม และขึ้นอยู่กบั การตีความชีวติ ของเรา ว่าจุดมุ่งหมายของชีวติ คืออะไร? ไม่ว่าเราจะตัง้ เป้ า หมายชีวติ อะไรไว้ก็ตาม เราจะได้รบั การเสนอแนวทางชีวติ ทีเ่ หมาะสมกับเราโดยธรรมชาติ จะมีจดุ ศูนย์กลางหนึ่งในวิถชี วี ติ นี้และนัน่ คือความเชือ่ (ความศรัทธา) ความเชือ่ ต่อหลักการ จะก่อให้เกิดความศรัทธาดังกล่าว และด้วยความศรัทธานี้จะเป็ นการก�ำหนดในการเลือกวิถี แห่งการด�ำเนินชีวติ ดังนัน้ หากไม่มสี ำ� นักคิดและอุดมการณ์ อารยธรรมอิสลามก็จะไม่สามารถก่อตัว ขึ้นได้ มันต้องอาศัยความศรัทธา อารยธรรมที่มีสำ� นักคิดและความศรัทธานัน้ ก็จะมี อุตสาหกรรมและความก้าวหน้าด้วย และส�ำนักคิดนี้จะเป็ นผูช้ ้ ีนำ� และผูบ้ ริหารสิ่งเหล่านี้ ทัง้ หมด สังคมทีใ่ ฝ่ หาและขับเคลือ่ นบนพื้นฐานแห่งเตาฮีด (หลักการศรัทธา) จะได้รบั ความ ดีทงั้ หมดด้วยการสร้างอารยธรรมขึ้นมา อารยธรรมทีย่ ง่ิ ใหญ่จะมีความลึกซึ้งและหยัง่ ราก ลึก และจะเผยแพร่ความคิดและวัฒนธรรมไปทัว่ โลก ควรสังเกตว่าการน�ำสังคมไปสู่ความ ไร้ศรัทธาคือแผนการเดียวกันกับทีศ่ ตั รูของอารยธรรมอิสลามใฝ่ หา และวันนี้กย็ งั คงด�ำเนิน การอย่างเข้มแข็ง ซึง่ ในเรื่องนี้ท่านผูน้ ำ� สูงสุดกล่าวว่า : สาส์น อิส ลาม

“สังคมทีไ่ ม่มอี ดุ มคติ [ส�ำนักคิดและศรัทธา] อาจได้รบั ความมังคั ่ ง่ และอ�ำนาจ แต่ เมือ่ ได้รบั ความมังคั ่ ง่ และอ�ำนาจแลว้ มันจะเข้าสู่ขนั้ ตอนของการเป็ นสัตว์และจะกลายเป็ น สัตว์ทเ่ี ต็มไปด้วยพลังและอ�ำนาจ [มนุษย์ทห่ี วิ กระหายไม่มคี ่าอะไรมากไปกว่าสัตว์ทอ่ี ม่ิ ท้อง เท่านัน้ ] อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ไม่ได้ตอ้ งการสิง่ นี้ ทัง้ นี้อสิ ลามสนับสนุนมนุษย์ให้มพี ลัง

119


การขอบคุณและเป็ นผูร้ บั ใช้ของพระเจ้า (บ่าวของพระองค์) แนวรบแห่งการเป็ นบ่าวของ พระองค์ตอ้ งมีความนอบน้อมถ่อมตน และการเป็ นมนุษย์ การมีอำ� นาจและการเป็ นผูร้ บั ใช้ พระเจ้าและบ่าวของพระเจ้าคือสิง่ ทีอ่ สิ ลามต้องการ การสร้างมนุษย์เป็ นต้นแบบคือ เป้ าหมาย ของการสร้างอารยธรรมอิสลามยุคใหม่” (สุนทรพจน์ของผูน้ ำ� สูงสุด ในการพบปะกับบรรดา เยาวชนหนุ่มสาวแคว้นโคราซานเหนือ 23 /7/ 1391) ดังนัน้ ความต้องการของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่คอื ความศรัทธา และพวกเราที่ ศรัทธาในอิสลามจะต้องพบกับศรัทธานี้ สอง ความเป็ นผูน้ ำ� ปัจจัยทีส่ ำ� คัญในการท�ำให้อารยธรรมอิสลามยุคใหม่เป็ นจริงคือ ผูน้ ำ� ความเป็ น ผูน้ ำ� ทีก่ ล ้าหาญ เป็ นนักนิตศิ าสตร์ (เชี่ยวชาญ) เป็ นผูศ้ รัทธา และมีความยุตธิ รรม การเป็ น ผูบ้ ริหารระดับสูงหรือการเมืองควรเป็ นหน้าทีข่ องใคร? การสร้างความเปลีย่ นแปลงต้องมี วีรบุรุษ ผูน้ ำ� และขีดความสามารถสูงในการบริหารจัดการ สังคมต้องการผูน้ ำ� ทีไ่ ม่เห็นแก่ตวั อีกทัง้ มีพลังทางปัญญาและพลังทางจิตวิญญาณที่มคี วามสามารถในการปกครองสังคมที่ ต้องการเปลีย่ นแปลงในทางจิตวิญญาณนัน้ เป็ นเรื่องทีช่ ดั เจนมาก และตลอดประวัตศิ าสตร์ ทีผ่ ่านมา สังคมก็ไม่มขี อ้ ยกเว้นจากความต้องการในสิง่ นี้ ในเรื่องนี้ท่านผูน้ ำ� สูงสุดกล่าวว่า สิง่ จ�ำเป็ นของสังคมอิสลามคือ การมีผูน้ ำ� ผูบ้ ญั ชา ผูท้ เ่ี ป็ นศูนย์รวมของอ�ำนาจ และ ต้องรูว้ า่ อ�ำนาจนี้ตอ้ งการสิง่ ใดจากพวกคุณ และต้องการสิง่ ใดจากเราและผูอ้ น่ื เพือ่ สามารถ ออกค�ำสังให้ ่ ทกุ คนท�ำในสิง่ ทีม่ คี วามจ�ำเป็ นส�ำหรับเขา ตัวอย่างเช่น ในรูปแบบของการอุปมา อุปไม... คุณเคยเห็นการฝึ กอบรมการทอพรมเหล่านี้หรือไม่?...ในสังคมหากต้องการดึงกอง ก�ำลังทัง้ หมดมาใช้ประโยชน์และเป็ นไปในทิศทางเดียว คือความจ�ำเป็ นของการมีผูน้ ำ�

สาส์น อิส ลาม

สาม ข้อก�ำหนดและเงือ่ นไข

120

ปัจจัยอื่น ๆ ในการท�ำให้อารยธรรมอิสลามยุคใหม่เป็ นจริง ได้แก่ ข้อก�ำหนด เงือ่ นไข สิง่ อ�ำนวยความสะดวกและความสามารถ ส่วนข้อก�ำหนดและเงือ่ นไขทีเ่ กี่ยวข้องกับ บรรยากาศทางการเมือง และสังคมทีป่ กครองเหนือชุมชน ตัวอย่างเช่น ตราบใดทีป่ ระชาชน ไม่มีความตัง้ ใจและมุ่งมัน่ ที่จะก้าวไปข้างหน้า และเปลี่ยนแปลงตนเอง การก้าวไปสู่


อารยธรรมก็ไม่มวี นั เกิดขึ้น นัน่ หมายความว่าตราบใดทีผ่ ูค้ นไม่เข้าใจสถานการณ์ปจั จุบนั ได้ดพี อ และไม่พร้อมทีจ่ ะก�ำจัดสถานการณ์ดงั กล่าว การสร้างอารยธรรมก็จะไม่สามารถ ท�ำได้ อัลลอฮฺ (ซบ) ตรัสว่า ُ َ‫َّ َّ َ َ ُ َ ّ ُ َ َ ْ َ تَّ ٰ ُ َ ّ ُ َ أ‬ ْ‫سم‬ ِ ِ ‫ِإن الل ل يغ ِي� ما ِبقو ٍم ح� يغ ِي�وا ما ِب�نف‬ ความว่า “แท้จริงอัลลอฮฺ จะมิทรงเปลีย่ นแปลงสภาพของชนกลุม่ ใด จนกว่าพวก เขาจะเปลีย่ นแปลงสภาพของพวกเขาเอง” (ซูเราะห์ อัรด์ โองการที ่ 11) สิง่ อ�ำนวยความสะดวก และความสามารถต่าง ๆ นัน้ จะเกี่ยวข้องกับเจตจ�ำนงของประชาชน โดยทัว่ ไปแล ้วสามารถ กล่าวได้วา่ ความส�ำเร็จของกิจกรรมทางสังคมใดๆ ขึ้นอยูก่ บั ชุดของวัตถุประสงค์และเงือ่ นไข และสถานการณ์ภายนอก ดังนัน้ การบรรลุซง่ึ อารยธรรมจึงไม่อาจน�ำมาประกอบกับปัจจัย ต่างๆเช่นความพึงประสงค์ของพระเจ้าหรืออุบตั เิ หตุ โชค และ....ฯลฯ ได้ เนื่องจากสิง่ เหล่า นี้ขดั ต่อซุนนะห์ของพระเจ้า และขัดแย้งกับเจตจ�ำนงของมนุษย์ ทัง้ นี้หากมันเป็ นพระประสงค์ ของพระเจ้าแลว้ ก็สามารถรังสรรค์สง่ิ แวดลอ้ มทีเ่ หมาะสม และสร้างความพร้อมทางสังคม ในรูปแบบปาฏิหาริยไ์ ด้ แต่สง่ิ นี้ตรงกันข้ามกับซุนนะฮ์แห่งการสร้างของพระเจ้า เนื่องจาก การสร้างมนุ ษย์นนั้ ควบคู่กบั การทดสอบ และความเจ็บปวดเพราะวิวฒั นาการหรือความ สมบูรณ์ของมนุษย์ข้นึ อยู่กบั การทดสอบนี้ เมือ่ ค�ำนึงถึงการตระหนักถึงอารยธรรมอิสลาม ยุคใหม่ และรัฐบาลอิสลามทีม่ คี วามเกี่ยวข้องและสัมพันธ์โดยตรงกับประชาชนและการเป็ น ประชาชน ในบททีห่ า้ ของหนังสือวิลายะตุลฟะกิหแ์ ละรัฐบาล จึงมีการหยิบยกประเด็นองค์ ประกอบสามประการของการปกครองอิสลาม และอภิปรายเกี่ยวกับบบทบาทหน้าที่ของ ประชาชน สิง่ อ�ำนวยความสะดวกและขีดความสามารถ ซึง่ ผูน้ ำ� สูงสุดได้กล่าวว่า “รัฐบาลอิสลามและอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ เป็ นช่องทางทีด่ ที สี ่ ดุ ส�ำหรับประชาชน ในการแทรกแซงการบริหารกิจการ และส�ำหรับรัฐบาลอิสลามนัน้ การเคลือ่ นไหวหลักเป็ น ภาระหน้าทีข่ องประชาชน และอยู่ภายใต้อำ� นาจของพวกเขา” 2. ปัจจัยภายนอก สาส์น อิส ลาม

หลังจากทีไ่ ด้อธิบายปัจจัยภายในของการสร้างอารยธรรมอิสลามยุคใหม่แล ้ว ก็ถงึ จุดในการอธิบายปัจจัยภายนอกต่อ ซึง่ ปัจจัยทีช่ ดั เจนในการสร้างอารยธรรมอิสลามยุคใหม่

121


ได้แก่ สังคม ปัจเจกบุคคล และการจัดการ ล�ำดับต่อไปนี้เราจะอธิบายปัจจัยภายนอกจาก มุมมองของผูน้ ำ� สูงสุด หนึ่ง บริบททางสังคม ปัจจัยทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ประการหนึ่งทีห่ มายถึงการสร้าง และการอยูร่ อดของอารยธรรม คือ ประเด็นของสังคม การทีผ่ ูค้ นมารวมตัวกันแบบไหนและตอบสนองความต้องการของ พวกเขาอย่างไร ถือเป็ นเรื่องทีส่ ำ� คัญมาก ในเรื่องนี้อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ทเ่ี ราพยายาม สร้างขึ้นโดยการพึง่ พาพระเจ้า (ตะวักกัล) นัน้ มีพ้นื ฐานมาจากสามแกนหลักด้วยกัน แกน แรกคือ บททัว่ ไประหว่างเจ้าหน้าทีแ่ ละประชาชน ซึง่ เราได้เลือกในรูปแบบของความอดทน ความสามัคคีและการประนีประนอม นัน่ หมายความว่าเจ้าหน้าทีค่ วรมีจติ วิญญาณทีอ่ ดทน อดกลัน้ ต่อประชาชน และประชาชนก็เช่นกันทีต่ อ้ งมีจติ วิญญาณทีอ่ ดทนอดกลัน้ ต่อเจ้าหน้าที่ ของระบอบอิสลาม แกนที่สองคือ หน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของระบอบอิสลามซึ่งก็คือ ความ ยุตธิ รรมและพวกเขาต้องเคารพประชาชน และแกนทีส่ ามคือ หน้าทีข่ องประชาชนในการต่อสู ้ อย่างจริงจังกับประเพณีทผ่ี ดิ ๆ และความเชื่อโชคลาง ซึง่ เราจะอธิบายในแต่ละข้อดังนี้

สาส์น อิส ลาม

ประการแรก ความอดทน ความเป็ นมิตรและการประนีประนอม

122

หนึ่งในตัวบ่งชี้ทส่ี ำ� คัญทีส่ ุดของอารยธรรมอิสลาม และปัจจัยของการเติบโตตัง้ แต่ เริ่มก่อตัง้ จนถึงปัจจุบนั คือความอดทนความเป็ นมิตรและการประนีประนอม ภูมหิ ลังของ ความอดทนนี้คอื การมองการณ์ไกลและไม่มคี วามอคติ ซึง่ โองการในอัลกุรอานและวจนะ ของบรรดาอิมามผูบ้ ริสุทธิ์ได้เน้นย�ำ้ ต่อประเด็นมิตรภาพ ความอดทนอดกลัน้ และการไม่ รังแกกดขีช่ าวคัมภีร ์ มวลมุสลิมและผูน้ บั ถือศาสนาอืน่ ๆ ดังนัน้ เมือ่ เทียบกับอารยธรรมก่อน หน้านี้ควรมีการพิจารณาและทบทวนจุดยืนเป็ นการเฉพาะอีกครัง้ ในลักษณะทีว่ า่ ไม่ตงั้ แถว เผชิญหน้าโดยตรงกับพวกเขา และไม่ได้เพิกเฉยและเฉยเมยต่ออารยธรรมเหล่านัน้ แต่เพือ่ ก�ำจัดประเด็นเชิงลบออกไปและดึงดูดประเด็นเชิงบวกของอารยธรรมอืน่ เข้ามา ด้วยเหตุน้ ี ดร. ซาร์รนิ โกอบ กล่าวในเรื่องนี้วา่ : ”อารยธรรมอิสลามไม่ได้เป็ นเพียงผูล้ อกเลียนแบบ วัฒนธรรมโบราณ หรือเป็ นเพียงการสานต่อความต่อเนือ่ งอย่างเดียว หากแต่ยงั เป็ นส่วน ประกอบและส่วนเสริมทีส่ ร้างสรรค์อกี ด้วย”


ผลของการประนีประนอมและความอดทนอดกลัน้ ในอารยธรรมอิสลามคือ หน้าที่ ของแต่ละบุคคลโดยไม่คำ� นึงถึงความเชือ่ ส่วนบุคคลและศาสนา และได้เชิญชวนผู ้ทีถ่ กู ข่มเหง ทัง้ หมดทัง้ ในวังไบแซนไทน์ หรือนักวิทยศาสตร์ชาวอิหร่านไปยังบ้านแห่งภูมปิ ญั ญาอิสลาม และเชิญชวนชาวอาหรับ อาญัม (ไม่ใช่อาหรับ) คริสเตียน ชาวโซโรแอสเตอร์ และชาวยิวให้ อยูอ่ ย่างสงบสันติ และร่วมกันสร้างผลงานทางวิทยาศาสตร์อกี ด้วย ดังนัน้ การประนีประนอม และการอดทนอดกลัน้ ทีเ่ กิดขึ้นในอาณาจักรอิสลามท่ามกลางกลุม่ ชาติพนั ธุ ์ และประเทศต่าง ๆ จะก่อให้เห็นความจ�ำเป็ นในการเติบโตของอารยธรรมทีแ่ ท้จริง และได้รบั การขนานนามว่า เป็ นมารดาแห่งอารยธรรมมุสลิม ในเรือ่ งนี้อลั กุรอานได้กล่าวอย่างเปิ ดเผย และชัดเจนส�ำหรับ การเชิญชวนอย่างสันติและการมีชวี ติ ร่วมกันอย่างสันติวธิ :ี َ َّ ُ ُ ُ َّ َ َ َ ً َّ َ ْ ّ ‫َ َ ُّ َ َّ نَ َ ُ ْ ُ ُ ف‬ َ ‫ات الش ْيط ِان‬ ‫و‬ ‫ط‬ ِ ‫الس ِل كفة ول تت ِبعوا خ‬ ِ َ �‫ي� أ ي�ا ال ِذ ي� آمنوا ادخلوا ِ ي‬ ُ ْ ُ ‫ِإ َّن ُه ل‬ �ٌ‫ك َعد ٌّو ُّم ِب ي ن‬ ความว่า บรรดาผูศ้ รัทธาทัง้ หลาย! จงเข้าอยู่ในความสันติ โดยทัวทั ่ ง้ หมด และจง อย่าท�ำตามบรรดาก้าวเดินของชัยฏอน แท้จริงมันคือศัตรู ทชี ่ ดั แจ้งของพวกเจ้า (ซูเราะฮ์ อัล บากอเราะฮ์ 208) ท่านผูน้ ำ� สูงสุดได้ประกาศสิทธิซง่ึ กันและกันส�ำหรับประชาชนและรัฐบาลอิสลามว่า สิทธิของประชาชนเหนือรัฐบาลได้แก่ การหวังดีต่อประชาชน มอบสิทธิประโยชน์ แห่งการด�ำรงชีวติ ทางวัตถุให้กบั ประชาชน สอนประชาชนให้มคี วามรูแ้ ละการศึกษา และ อบรมสัง่ สอนประชาชนจนกว่าจะตระหนัก ส่วนสิทธิของรัฐบาลเหนือประชาชนคือ ความ ซือ่ สัตย์ต่อค�ำมันสั ่ ญญา แนะน�ำตักเตือน หวังดีต่อรัฐ และตอบรับเมือ่ ได้เชิญให้ทำ� และการ เชื่อฟัง (อิตออัต)” ประการทีส่ อง ยึดหลักความยุตธิ รรม สาส์น อิส ลาม

ความศรัทธาอย่างลึกซึ้งในหลักธรรมแห่งความยุตธิ รรม และการก้าวไปบนเส้นทาง แห่งความยุตธิ รรมในด้านต่างๆ ของชีวติ เป็ นหลักพื้นฐานทีส่ ำ� คัญทีส่ ุดของการเติบโตและ การพัฒนาของสังคม รวมถึงการเกิดขึ้นและความเฟื่ องฟูของอารยธรรม ด้วยเหตุน้ อี ลั กุรอาน จึงหยิบยกประเด็นส�ำคัญของความยุตธิ รรมและการผดุงซึง่ ความยุตธิ รรมและมุง่ มัน่ เพือ่

123


ให้เกิดความเข้าใจทีค่ รอบคลุมและเป็ นจริงในชีวติ ของสังคม อารยธรรมและระบบ อีกทัง้ ได้ ท�ำการเตือนห้ามอย่างเข้มงวดในประเด็นของการกดขี่ การเบีย่ งเบน การผูกขาด การข่มเหง การปลุกระดม การท�ำลายล ้างและการละทิ้งความเชื่อ ในศาสนาอิสลาม หลักการแห่งความยุตธิ รรมถูกอธิบายไว้ในระบบการสร้างและ โลกทัศน์ ระบบกฎหมาย การสร้างกฎแห่งชีวติ การด�ำเนินการทางการเมือง การจัดการความ เป็ นสากล ระบบศีลธรรมและลักษณะนิสยั ของมนุ ษย์ และเปรียบเสมือนจิตวิญญาณใน ร่างกายของสังคมและอารยธรรม หรืออาจกล่าวได้ว่าความยุตธิ รรมท�ำให้เกิดความมันคง ่ คงทน อ�ำนาจและชัยชนะของสังคมและอารยธรรม

สาส์น อิส ลาม

ในบรรดาชนชาติผูโ้ ง่เขลาทีห่ ่างไกลจากอารยธรรม จะภาคภูมใิ จในเชื้อสายวงศ์ ตระกูลและเผ่าพันธุ ์ ซึง่ สิง่ นี้ถอื เป็ นความภาคภูมใิ จในเชิงจินตนาการทีพ่ บเห็นบ่อยมากใน หมูพ่ วกเขา แม้กระทัง้ ในแต่ละเผ่าพันธุย์ งั ถือตนว่าเป็ น ”เผ่าพันธุท์ เ่ี หนือกว่า” เผ่าอืน่ ถือว่า มีเชื้อชาติทเ่ี หนือกว่าชาติอน่ื อัลกุรอานทีถ่ กู ประทานลงมาในสภาพแวดล ้อมทีค่ ณ ุ ค่าของเผ่า พันธุ ์ “สูงส่งและส�ำคัญกว่า” สิง่ ใด ๆ สามารถท�ำลายเจว็ดอันจอมปลอมเหล่านี้และปลด ปล่อยมนุษย์ให้หลุดพ้นจากพันธนาการแห่ง “การนองเลือด” “เผ่าพันธุ”์ “ผิวสี” “ชนเผ่า” “ความมังคั ่ ง่ ” “ต�ำแหน่ง” และ”ทรัพย์สนิ ” และชี้นำ� ไปสู่การค้นหาตัวตนสู่จติ วิญญาณและ คุณลักษณะอันสูงส่งของมัน! ดังนัน้ ด้วยการถือก�ำเนิดของศาสนาอิสลามและอารยธรรม อิสลามจึงก�ำหนดขอบเขตทีแ่ ท้จริงแห่งคุณค่าของมนุ ษย์ทม่ี ตี ่อคุณค่าอันผิด ๆ และจอม ปลอม (อยาตุลลอฮ์ มะการีม ชีรอซีย)์ เกี่ยวกับกระบวนการยุตธิ รรมในระบอบอิสลาม ท่าน ผูน้ ำ� สูงสุดกล่าวว่า

124

“เป้ าหมายทีเ่ ร่งด่วนทีส่ ดุ ของการจัดตัง้ ระบอบอิสลามคือ การสร้างความยุตธิ รรม ทางสังคม และผดุงความยุตธิ รรมแบบอิสลาม” การลุกขึ้นต่อสูข้ องบรรดาศาสดาของพระเจ้า การประทานคัมภีร ์ และมาตรการอันศักดิส์ ทิ ธิ ์ (แห่งพระผูเ้ ป็ นเจ้า) ก็เพือ่ ให้ผูค้ นได้รบั ความ รอดพ้นจากแรงกดดันของการกดขี ่ การเลือกปฏิบตั แิ ละการบีบบังคับ และใช้ชวี ติ อยู่ในร่ม เงาแห่งความยุตธิ รรมและภายใต้กรอบของสิง่ นี้ ระบบทีย่ ตุ ธิ รรมจะน�ำพวกเขาบรรลุซง่ึ มนุษย์ ผูส้ มบูรณ์ การเรียกร้องไปสูร่ ะบอบอิสลามโดยปราศจากความเชือ่ ศรัทธาทีม่ นคงอย่ ั่ างแท้จริง และการกระท�ำอย่างสม�ำเสมอในเส้ ่ นทางแห่งความยุตธิ รรมทางสังคมนัน้ ถือเป็ นการเชิญชวน


ทีไ่ ม่สมบูรณ์ มิหน�ำ้ ซ�ำ้ ยังเป็ นความผิดและโกหกหลอกลวงอีกด้วย ระบอบใด ๆ แม้วา่ จะมี การปัน่ แต่งแบบอิสลามก็ตาม หากไม่มรี ะเบียบวาระในแผนงานส�ำหรับการสร้างความ ยุตธิ รรม และช่วยเหลือผูอ้ ่อนแอ ผูด้ อ้ ยโอกาส และผูท้ ถี่ กู ลิดรอนสิทธิแล ้ว จะถือว่าระบอบ ดังกล่าวมิใช่อสิ ลามและเป็ นระบอบทีห่ ลอกลวงและกลับกลอก” ด้วยเหตุน้ ใี นบริบทอันกว้างขวางของอารยธรรมอิสลาม กลุม่ ชาติพนั ธุแ์ ละประเทศ ต่างๆ เช่นอาหรับ อิหร่าน เติรก์ อินเดีย จีน มองโกล แอฟริกา และแม้แต่กฟุ ฟาร์ทย่ี อมจ่าย ภาษีให้กบั รัฐอิสลามก็สามารถอาศัย และใช้ชวี ติ อยู่อย่างสงบสันติ ในความเป็ นจริงแล ้วค�ำ สัญญาแห่งความยุตธิ รรม ความเสมอภาคและภราดรภาพทีเ่ กิดขึ้นในข้อความแรกของชาว มุสลิมในระหว่างการพิชติ นัน้ เป็ นเรือ่ งทีน่ ่าสนใจอย่างมากส�ำหรับผูค้ นจ�ำนวนมากในภูมภิ าค ต่างๆ ไม่เพียงแต่สามารถดึงดูดเข้าสูศ่ าสนาอิสลามเท่านัน้ แต่พวกเขายังมีสว่ นร่วมอย่างมาก ในการรณรงค์แพร่ขยายทางภูมปิ ญั ญา วัฒนธรรม การพัฒนาและการเติบโตด้านอารยธรรม สังคม

ประการทีส่ าม การต่อสูก้ บั ประเพณี และวัฒนธรรมทางสังคมทีผ่ ดิ ๆ ทีค่ รอบง�ำ

ศาสนาอิสลามและอารยธรรมที่ได้รบั จากโลกทัศน์น้ ี หลังจากที่ได้ปรากฏตัวใน คาบสมุทรอาหรับแล ้ว ไม่เพียงแต่ในภูมภิ าคนี้เท่านัน้ แต่ยงั มีบทบาท และอิทธิพลในการต่อสู ้ กับประเพณีทางสังคมทีผ่ ดิ ๆ อย่างมากมายและวัฒนธรรมทีแ่ พร่หลายในพื้นทีท่ างภูมศิ าสตร์ ทีก่ ว้างขวางด้วย จนกระทัง่ ไปสู่ในระดับทีป่ ระเพณีจำ� นวนมากมายเหล่านี้ถกู ลืมเลือนไปใน สังคม หนึ่งในประเพณีเหล่านี้ทอ่ี ลั กุรอานกล่าวถึงในการต่อสูก้ บั สิง่ เหล่านี้ คือ เผด็จการซึง่ จะก่อให้เกิดคุณต่อส่วนรวมและความเสียหายต่อคนอีกกลุม่ หนึ่ง ซึง่ ประเพณีน้ ีจะเป็ นเรื่อง ปกติธรรมดาในช่วงยุคสมัยแห่งอวิชชา (ญะฮิลยี ะห์) ที่เปิ ดโอกาสและได้ให้สทิ ธิพเิ ศษ มากมายแก่ชนชัน้ ทีร่ ำ� ่ รวยของสังคมในเวลานัน้ ส่วนคนอืน่ ๆ ถูกลิดรอนสิทธิทางเศรษฐกิจ การเงิน ฯลฯ และนัน่ คือเหตุผลทีก่ ล่าวว่าประเพณีทางสังคมทีผ่ ดิ ๆ นี้เป็ นอุปสรรคต่อการ สร้างสวัสดิการอันพึงประสงค์ สาส์น อิส ลาม

การครอบครองและเผด็จการในการปกป้ องทรัพย์สนิ และทรัพยากรธรรมชาติเป็ น ปัจจัยส�ำคัญประการหนึ่งในการกระจายความมังคั ่ ง่ อย่างไม่เท่าเทียมและไม่เป็ นธรรม และ เกิดการแบ่งชนชัน้ ระหว่างคนรวยและคนจน สิง่ นี้ตรงกันข้ามกับซุนนะฮ์แห่งการสร้างของ

125


พระเจ้า และวัตถุประสงค์ของการประทานความโปรดปรานจากธรรมชาติ เพราะหลักการ เบื้องต้นในระบบแห่งการสร้างนัน้ วางอยู่บนพื้นฐานที่ทุกคนมีสทิ ธิใช้ประโยชน์ และการ แสวงหาประโยชน์ได้อย่าเสมอภาค ทุกครัง้ ที่อลั กุรอานมีการกล่าวถึงความโปรดปรานที่ ประทานจากธรรมชาตินนั้ มนุษย์ทกุ คนและสังคมมนุษย์จะได้รบั การกล่าวถึงเสมอ และทุก คนมีสทิ ธิและสามารถแสวงหาประโยชน์ได้ แต่บรรดาเผด็จการต้องการยึดครองคนเดียว และจะกระท�ำในสิง่ ตรงกันข้าม ในยุคแห่งความตกต�ำ่ ในคาบสมุทรอาหรับ ผูค้ นบางส่วนในดินแดนทีบ่ ริสุทธิ์และ เขียวชอุม่ นี้ พวกเขาเคยสร้างกระท่อมในนัน้ และเป็ นเรือ่ งปกติทพ่ี วกเขาจะเป็ นเจ้าของทีแ่ ห่ง นัน้ ด้วยการวัดตามระยะทางเสียงของสุนขั ของพวกเขา คนแรกทีท่ ำ� สิง่ นี้คอื คาลิบ บิน วา อิล และเมือ่ ท่านศาสดาได้นำ� ศาสนาอิสลามเข้ามาก็ได้สงห้ ั ่ ามการเผด็จการในรูปแบบดังกล่าว และถือว่ามันเป็ นหนึ่งในการกระท�ำและการงานของยุคญาฮิลยี ะห์

สาส์น อิส ลาม

โดยทัว่ ไปอิสลามไม่เห็นด้วยกับรายได้ใดๆ ทีม่ าจากการแสวงหาประโยชน์อย่าง อธรรม และการครอบครองสิทธิ์ของผูอ้ ่นื หรือโดยไม่ตอ้ งเหน็ดเหนื่อยท�ำงานและความ พยายามใด ๆ อัลกุรอานโองการที่ 29 ซูเราะห์อลั นิซาอฺ ได้กล่าวว่า โอ้ผูศ้ รัทธาทัง้ หลาย! จง อย่ากินทรัพย์ของพวกเจ้า ในระหว่างพวกเจ้าโดยมิชอบ นอกจากมันจะเป็ นการค้าขายทีเ่ กิด จากความพอใจในหมู่พวกเจ้า และจงอย่าฆ่าตัวของพวกเจ้าเอง แท้จริงอัลลอฮฺ เป็ นผูท้ รง เมตตาต่อพวกเจ้าเสมอ นัน่ หมายความว่า อิสลามห้ามการยึดทรัพย์สนิ ของผูอ้ น่ื โดยไม่ชอบ ธรรม และไม่ได้รบั อนุญาตตามหลักเหตุผลและทัง้ หมดจัดอยู่ในหมวดหมู“่ โมฆะ”ทีม่ คี วาม หมายครอบคลุมทุกด้าน

126

ดังนัน้ เผด็จการจึงเป็ นสิง่ อันตรายหนึ่ง ทีต่ ่อต้านค่านิยม และประเพณีทผ่ี ดิ ๆ ที่ ครอบง�ำสังคม ไม่เพียง แต่นำ� ไปสู่ความเสือ่ มโทรมทางศีลธรรมแต่ยงั รวมถึงการทุจริตทาง สังคม การเมืองและน�ำความหายนะมาสูร่ ฐั บาลอีกด้วย ในสุนทรวาททีอ่ า้ งถึงอิมาม อะลี (อ.) กล่าวว่า การผูกขาดในการครอบครองคนเดียว (เผด็จการ) น�ำมาซึง่ ความอิจฉาริษยา ความ เป็ นศัตรู ความเป็ นปรปักษ์ ความขัดแย้ง ความแตกต่าง และการกระจัดกระจาย ความ อ่อนแอ ความคมคาย การล่มสลายของรัฐ และการสูญเสียความโปรดปรานทัง้ สิ้น และเมือ่ ท�ำการศึกษาอย่างรอบคอบเกีย่ วกับประวัตศิ าสตร์อสิ ลาม และการศึกษาสาเหตุของการเสือ่ ม


ถอยของประชาชาติอสิ ลามแสดงให้เห็นว่า การครอบครองแบบผูกขาด และเผด็จการของ เหล่าผูน้ ำ� ประชาชาติจำ� นวนหนึ่งก็ได้ทำ� ลาย และสร้างความเสียหายต่ออิทธิพลและการแพร่ กระจายของศาสนาแห่งฟากฟ้ านี้ ในวจนะของท่านศาสดามุฮมั มัด (ซ็อลฯ) กล่าวว่า บุคคล ห้าประเภททีจ่ ะถูกสาปแช่งโดยฉัน และทุกๆ การวิงวอนขอของท่านศาสดาจะถูกตอบรับ ซึง่ หนึ่งในนัน้ คือการครอบครองแบบผูกขาดและเผด็จการ (หนังสือบิฮารุลอันวาร์ อัลลามะฮ์ มัจญลิซยี )์ หรืออีกรายงานจากท่านอิมามญะอฺฟรั อัศศอดิก (อ.) ทีถ่ กู ถามว่า อะไรคือสิทธิ ทีน่ อ้ ยทีส่ ดุ ของผูศ้ รัทธาทีม่ เี หนือพีน่ อ้ งผูศ้ รัทธาของเขา? ท่านอิมามกล่าวว่า: สิทธิทน่ี อ้ ยทีส่ ดุ ของพีน่ อ้ งผูศ้ รัทธาทีพ่ งึ มี คือสิง่ ใดทีเ่ ขาต้องการและมีความจ�ำเป็ น เขาจะต้องไม่ยดึ ครองคน เดียว (ต้องยอมเสียสละให้ผูอ้ น่ื ด้วย) (หนังสือบิฮารุลอันวาร์ อัลลามะฮ์ มัจญลิซยี )์ สรุปความในส่วนนี้คอื ประเพณีทางสังคมและวัฒนธรรมทีผ่ ดิ ๆ เป็ นอุปสรรคต่อ อารยธรรมของสังคมโดยเฉพาะสังคมอิสลาม เพราะเหตุดงั กล่าวนี้เองมันจึงเปรียบเสมือน เขือ่ นกัน้ ทีเ่ ป็ นอุปสรรคต่อความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ และวัฒนธรรม ... และการปรับปรุง สภาพความเป็ นอยู่ของผูค้ น อันเป็ นเพราะการกระท�ำทีช่ วั ่ ร้ายเช่นนี้เองทีอ่ ลั กุรอานและริวา ยะฮ์ ได้เรียกร้องให้ทำ� การต่อสูก้ บั ประเพณีดงั กล่าว ท่านผูน้ ำ� สูงสุดกล่าวในเรื่องนี้วา่

สาส์น อิส ลาม

เผด็จการในวัฒนธรรมปัจจุบนั ของสังคมแห่งการปฏิวตั ขิ องเรา ทีเ่ ราสามารถใช้คำ� จ�ำกัดความได้คือ “การผูกขาดและยึดครองคนเดียว” ถ้าเราต้องการความหมายทีล่ ะเอียด มากไปกว่านี้คือมันตรงกันข้ามกับการเสียสละ ซึง่ การเสียสละหมายถึงผูอ้ นื่ มาก่อนตนเอง เสมอ อิสติอษาร์คือ ตนเหนือกว่าผูอ้ นื ่ ต้องการครอบครองคนเดียว ... ซึง่ การถือตนเหนือ กว่าผูอ้ นื ่ การผูกขาดความปรารถนานี้มอี ยู่ทวไปในมนุ ั่ ษย์สว่ นใหญ่หรือทัง้ หมดเกิดจากการ ทีไ่ ม่ได้รบั การอบรมฝึ กฝน (ตัรบียะห์) และปกติของมนุษย์ทไี่ ม่ได้รบั การฝึ กฝนนัน้ มักจะเอา ทุกสิง่ ดีๆไว้ส�ำหรับตัวเอง ทว่าศาสนาอิสลามและศาสนาของพระเจ้าได้สอนในสิง่ ตรงกันข้าม ด้วยการสอนสังพวกเขา ่ ด้วยการฝึ กสอนมนุษย์ให้ยบั ยัง้ และละทิ้งคุณลักษณะนี้ในตัวเอง และไม่จำ� นนต่อความปรารถนาตามธรรมชาติของตนทีจ่ ะจ�ำกัดความดีทงั้ หมด และผูกขาด ความสุขให้กบั ตนเองเพียงคนเดียว แต่ในบางกรณีการสังสอนและอบรมเพี ่ ยงอย่างเดียวก็ ยังไม่เพียงพอ นอกจากนี้ยงั จ�ำเป็ นต้องก�ำหนดขอบเขตทางกฎหมายทีม่ ขี ้อ จ�ำกัด ของอิสลาม และกฎหมายหลายประการทัง้ ในด้านการเงินหรือกิจการทางสังคมเพือ่ ป้ องกันไม่ให้มนุษย์ ละเมิดสิทธิและความเชือ่ ของตน

127


สอง ตัวบุคคล ปัจจัยส�ำคัญประการหนึ่งในการสร้างอารยธรรมอิสลามยุคใหม่คือ ประเด็นของความเป็ น ปัจเจกบุคคล ทัศนคติอย่างไรที่จะสามารถเชื่อมโยงผูค้ นในชุมชน และตอบสนองความ ต้องการของกันและกันนัน้ ถัดจากนัน้ เราจะพิจารณาในประเด็น ศักดิ์ศรีแห่งความเป็ นมนุษย์ ศีลธรรม โลกทัศน์และอุดมคติ วิทยาศาสตร์และการได้มาซึง่ ความรู ้ สติปญั ญาแห่งเหตุผล และความเชื่อในตนเองจากมุมมองของผูน้ ำ� สูงสุด ประการแรก ศักดิศ์ รีความเป็ นมนุษย์ ศักดิ์ศรีความเป็ นมนุ ษย์เป็ นลักษณะส�ำคัญที่สุดประการหนึ่งของธรรมชาติของ มนุษย์ อัลกุรอานกล่าวว่า: َ َ​َ ‫َولق ْد ك َّر ْم َنا َب ِ ن ي� َآد َم‬

สาส์น อิส ลาม

และโดยแน่นอน เราได้ให้เกียรติแก่ลูกหลานของอาดัม (ซูเราะฮ์ อิสรออ์ โองการ 70) อัญมณีอนั ล�ำ้ ค่าทีส่ ดุ ทีม่ อี ยูใ่ นตัวมนุษย์ หลังจากทีพ่ ระเจ้าทรงสร้างเขาขึ้นมาคือ “ศักดิ์ศรี และเกียรติยศ” สิง่ นี้เป็ นคุณลักษณะทีส่ ำ� คัญท�ำให้มนุษย์แตกต่างจากสิง่ มีชวี ติ อืน่ ๆ และ เป็ นปัจจัยหนึ่งในการสร้างอารยธรรม ดังนัน้ ระหว่างศักดิ์ศรีความเป็ นมนุษย์ และอารยธรรม จึงมีความเชือ่ มโยงแบบพื้นฐาน และการขึ้นลงของแต่ละฝ่ ายก็จะส่งผลกระทบต่อกันและกัน ด้วย

128

โดยทัว่ ไปแล ้วเมือ่ มนุษย์หรือสังคมมนุษย์ตกอยู่ในห้วงแห่งความอัปยศอดสู เขา จะละทิ้งความคิดสร้างสรรค์และความว่างเปล่าใด ๆ แต่เมือ่ มนุษย์คนเดียวกันนี้หรือสังคม มนุ ษย์ได้รบั เกียรติ ศักยภาพในการบรรลุเป้ าหมายอันสูงส่งก็เริ่มมีบทบาทในตัวเขาทันที และมุ่งมัน่ ไปสู่ความคิดริเริ่มและนวัตกรรมและการเปลีย่ นแปลงตัวเอง ซึ่งผลของการ เปลีย่ นแปลงนี้คอื การสร้างอารยธรรม ส�ำหรับประเด็นนี้สามารถระบุตวั อย่างในอดีตได้อย่าง ชัดเจน หนึ่งในลักษณะเฉพาะของอาหรับก่อนอิสลาม (ยุคญาฮิลยิ ะฮ์) คือชาวอาหรับใน คาบสมุทรซาอุดอิ าระเบียก่อนการบิอษฺ ตั ของท่านศาสดา (ซ็อลฯ) จะมีความรูส้ กึ ต�ำ่ ต้อยและ ความอัปยศอดสู และไม่รูจ้ กั ตัวเอง พวกเขาไม่ได้กำ� หนดบุคลิกภาพของมนุษย์ให้กบั ตัวเอง และไม่ได้มเี ป้ าหมายหรืออุดมคติทส่ี ูงส่งใด ๆ เมือ่ ศาสดาอิสลามถูกประกาศแต่งตัง้ เป็ น


ศาสดา ซึง่ ค�ำสอนทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ประการหนึ่งของท่านส�ำหรับชาวอาหรับยุคก่อนอิสลามคือการ เน้นย�ำ้ ถึงศักดิ์ศรีของมนุษย์ ในอัลกุรอานกล่าวว่า

ُ ْ َ َ َّ ْ ُ ُ َ َ َ ‫ف ال ِع َّزة جَ ِ� ًيعا‬ َّ ِ ِ ‫من كن ي ِ� يد ال ِعزة‬

ผูใ้ ดต้องการอ�ำนาจและเกียติยศศักดิศ์ รี ดังนัน้ อ�ำนาจทัง้ มวลเป็ นของอัลลอฮฺ (ซู เราะฮ์ ฟาฏิร โองการที่ 10) และอีกโองการหนึ่งได้กล่าวว่า ْ ُ ْ َّ َ �َ‫ول َو ِل ُل ْؤ ِم ِن ي ن‬ ِ ِ ‫ل ال ِع َّزة َوِل َر ُس‬ ِ ِ‫و‬ ความว่า ส่วนอ�ำนาจและเกียติยศศักดิศ์ รีนนั้ เป็ นของอัลลอฮฺ และรอซู ลของ พระองค์และบรรดาผูศ้ รัทธา (ซูเราะฮฺ มุนาฟี กูน โองการที่ 8) ท่านศาสดา (ซ็อลฯ) ได้สอนชาวมุสลิมว่าบุคคลทีม่ เี กียรติสามารถเป็ นบ่อเกิดของ การเปลีย่ นแปลงเชิงบวกได้อย่างมากมาย บนพื้นฐานนี้ศกั ดิ์ศรีเป็ นหนึ่งในดอกกุญแจส�ำคัญ ของการสร้างอารยธรรมอิสลาม และด้วยการพึง่ พาอาศัยศักดิ์ศรีของพวกเขา มวลมุสลิมจะ สามารถพิชิตจุดสู งสุ ดของความรู แ้ ละวัฒนธรรมของโลกได้ในเวลาอันสัน้ และสร้าง อารยธรรมอิสลามทีย่ ง่ิ ใหญ่ให้เกิดขึ้นอย่างเป็ นรูปธรรม ท่านผูน้ ำ� สูงสุดกล่าวในเรื่องนี้วา่ : ตัวบ่งชี้ทส่ี องคือความเชือ่ มัน่ (ความศรัทธา) และซือ่ สัตย์ต่อบทบาทของประชาชน ทัง้ ศักดิ์ศรีความเป็ นมนุษย์และการก�ำหนดเจตจ�ำนงของมนุษย์ ในส�ำนักคิดทางการเมืองขอ งอิมามโคมัยนี (รฎ.) อัตลักษณ์ของมนุ ษย์มีทงั้ คุณค่ าและศักดิ์ศรีรวมทัง้ มีพลังและ ประสิทธิผล ผลของการมีคณ ุ ค่าและศักดิ์ศรีน้ คี อื คะแนนเสียงของประชาชนทีค่ วรมีบทบาท พื้นฐานในการก�ำหนดชะตาชีวติ ของมนุษย์และสังคม (สุนทรพจน์ของผูน้ ำ� สูงสุดในวันครบ รอบอสัญกรรมท่านอิมามโคมัยนี (รฎ.) 14/3/1383) อิสลามให้ความส�ำคัญกับศีลธรรมของมนุ ษย์ และถือว่าเป็ นอีกหนึ่งตัวบ่งชี้และ

สาส์น อิส ลาม

ประการทีส่ อง จริยธรรมนิยม

129


ปัจจัยแห่งการอยู่รอดของการเติบโตและความเป็ นเลิศของอารยธรรมมนุษย์ จากโองการทัง้ หมดในอัลกุรอานในเรื่องนี้พบว่าการล่มสลายทางศีลธรรมและวิกฤตของจิตวิญญาณเป็ น ปฐมบทน�ำไปสู่การล่มสลายทางสังคม วัฒนธรรม การเมือง และการทหาร และเป็ นสาเหตุ ของการท�ำลายระบบและอารยธรรมต่างๆ สิง่ นี้มนั เป็ นประเพณีอย่างหนึ่งทีค่ รอบง�ำต่อการ ปกครองสังคมและประวัตศิ าสตร์ เนื่องจากสังคมและอารยธรรมสามารถด�ำรงชีวติ ทีร่ ุ่งเรือง ต่อไป และการมีความหวังถึงพลวัตแห่งความมีชวี ติ ชีวา ความน่าเชื่อถือ การเติบโตและการ พัฒนาทีจ่ ะบรรลุผลได้ ก็ต่อเมือ่ ได้ปฏิบตั ติ ามหลักการ ค่านิยมและจริยธรรมในสังคม ด้วย เหตุน้ ีในริวายะฮ์จากท่านศาสดา (ซ็อลฯ) ได้รายงานว่า ท่านได้กล่าวถึงเป้ าหมายอของกา รบิอษฺ ตั (การประกาศแต่งตัง้ ศาสดา)ไว้ คือ ‫أ‬ ‫أ‬ ‫بعثت ل ت�م ماكرم الخالق‬ ความว่า ฉันถูกประกาศแต่งตัง้ เป็ นศาสดาเพือ่ สร้างความสมบูรณ์ในด้านจริยธรรม อีกริวายะฮ์หนึ่ง จากท่านอิมามศอดิก (อ.) ได้ให้ความหมายที่ชดั เจนกว่านี้ โดยกล่าวว่า ‫ف أ‬ ‫ال�وحسن خ‬ ّ ‫ّإن ب‬ ‫الد�ر و�یزیدان � ا لمعار‬ ‫اللق یعمران ی‬ ความว่า การท�ำความดีและศีลธรรมอันดีงาม ท�ำให้บา้ นเมือง เจริญรุ่งเรืองและ มีอายุยนื ยาว

สาส์น อิส ลาม

ท่านผูน้ ำ� สูงสุดกล่าวในเรื่องนี้

130

“หากเราก้าวขึ้นสูต่ ำ� แหน่งสูงสุดในด้านเศรษฐกิจและการเมือง มีอำ� นาจและศักดิศ์ รี เดียวกับทีเ่ รามีในปัจจุบนั อย่างทวีคณ ู แต่หากประชาชนของเราไร้ศีลธรรมของอิสลาม ใน หมูพ่ วกเราไร้ความอดทนและการมองโลกในแง่ดีแล ้ว พื้นฐานของงานก็จะล่มสลายและเสีย หาย ซึง่ พื้นฐานของงานในทีน่ ้ ีคือการมีศีลธรรม ทัง้ หมดนี้เป็ นจุดเริม่ ต้นของศีลธรรมอันดี งาม ดัง่ ทีศ่ าสดา (ซ็อลฯ) กล่าวว่า ‫أ‬ ‫أ‬ ‫بعثت ل ت�م ماكرم الخالق‬


ทัง้ นี้รฐั บาลอิสลามก็ตอ้ งการให้มนุษย์ได้รบั การฝึ กฝนในแวดล ้อมเช่นนี้ และให้ศีล ธรรมของพวกเขาสูงส่ง ...” (พบปะกับอุลามาอ์และนักการศาสนา 2/2/1377) ประการทีส่ าม โลกทัศน์และอุดมคติ ตัวบ่งชี้ขนั้ พื้นฐานและรากฐานหลักทีส่ ุดของอารยธรรมอิสลามคือ การมีโลกทัศน์ อันสูงส่งและครอบคลุมในทุกมิติ เนื่องจากศาสนาอิสลามให้ความส�ำคัญกับปัจจัยทัง้ หมด ของการพัฒนามนุษย์ รวมถึงการเติบโตทางจิตวิญญาณและทางวัตถุ อิสลามจึงเป็ นส�ำนัก คิดทีค่ รอบคลุม ซึง่ มีแผนการส�ำหรับมิตทิ างปัญญา หลักค�ำสอน อีกทัง้ มิตทิ างจิตวิญญาณ และศีลธรรมตลอดจน มิตทิ างกายภาพ พฤติกรรมภายนอกของมนุษย์ ดังนัน้ หากอารยธรรม มีไว้เฉพาะมิตทิ างวัตถุของมนุษย์ และการเติบโตทางวัตถุเพียงอย่างเดียว โดยละเลยมิตทิ าง จิตวิญญาณแล ้วก็จะก่อให้เกิดความเสือ่ มเสียและเสียหายอย่างแน่นอน กล่าวอีกนัยหนึ่ง คือการพึง่ พาศาสนาและสิง่ จ�ำเป็ นทางศาสนาโดยเฉพาะอย่างยิง่ เรื่องศีลธรรม นอกเหนือจะ เสริมสร้างสติปญั ญา เหตุผลและวิทยาศาสตร์แล ้ว จะสามารถสร้างอารยธรรม ความศิวไิ ลซ์ ความเป็ นเอกภาพและความยุติธรรมได้อกี ด้วย การที่จะออกห่างจากมิติหนึ่งหรือการให้ ความส�ำคัญกับมิตอิ น่ื ๆ ของการด�ำรงอยู่ของมนุษย์ ถือเป็ นการสร้างความเสือ่ มเสียให้กบั อารยธรรมเช่นกัน ด้วยเหตุน้ ีหากประชาชาติตอ้ งการมีอำ� นาจ และเป็ นปึ กแผ่นก็จะต้อง ตระหนักให้อยู่ใต้ร่มธงแห่งความภาคภูมใิ จของศาสนาอิสลามเท่านัน้

สาส์น อิส ลาม

เมือ่ พิจารณาถึงหลักการทางศาสนาของอารยธรรม เราจะพบว่าในอารยธรรมทีย่ ง่ิ ใหญ่ ร วมถึง อารยธรรมอิส ลาม กิ จ กรรมทางสัง คมรวมถึง ประสบการณ์ ท างทฤษฎี วิทยาศาสตร์ การเมือง เศรษฐกิจ ศีลธรรม ปัญญาและปรัชญาเกิดขึ้นจากมุมมองทางศาสนา และแนวทางศาสนา อารยธรรมอิสลามเกิดจากชุดของกฎหมายทางศาสนาทีม่ าจากอัลกุรอาน และซุนนะฮ์ ซึง่ ครอบคลุมทุกแง่มมุ ของชีวติ ทัง้ ชีวติ ส่วนบุคคล สังคม การเมือง วัฒนธรรม และเศรษฐกิจของสังคมอิสลาม และด้วยเหตุน้ ีจึงสามารถน�ำสังคมไปสู่แนวทางในการ วิวฒั นาการที่ยาวนานมาได้หลายศตวรรษ ในทางกลับกันกฎเกณฑ์ทางศาสนาเหล่านี้ สอดคล ้อง และเป็ นไปตามหลักการธรรมชาติของชีวติ มนุษย์ ดังนัน้ จึงสามารถขยายขอบเขต เชิงพื้นทีแ่ ละภูมศิ าสตร์ของอารยธรรมอิสลามได้ในระยะเวลาอันสัน้ อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะ ในช่วงท้ายของศตวรรษแรกของฮิจเราะฮ์ศกั ราช ธงของศาสนาอิสลามถูกโบกสะบัดอย่างสง่า

131


งาม และได้แผ่ขยายจากอินเดียไปยังมหาสมุทรแอตแลนติก และจากเทือกเขาคอเคซัสจรด ถึงอ่าวเปอร์เซีย เมือ่ ความคิดทางการเมืองของศาสนาอิสลามเป็ นทีป่ ระจักษ์ภายใต้กรอบ “ไม่มพี ระเจ้าอืน่ ใดนอกจากอัลลอฮ์” และค�ำขวัญของศาสดาแห่งศาสนาอิสลาม “พวกเจ้าจง กล่าวเถิดว่าไม่มพี ระเจ้าอืน่ ใดนอกจากอัลลอฮ์ แล ้วพวกเจ้าจะประสบความส�ำเร็จ” ด้วยวิธี นี้อสิ ลามได้รวบรวมชนเผ่าทัง้ หมดภายใต้ร่มธงแห่งความเป็ นหนึ่งเดียวกัน และสร้างความ ผูกพันอันลึกซึ้งระหว่างพวกเขา ดังนัน้ อิสลามด้วยลักษณะเช่นนี้จงึ เชิญชวนทุกศาสนาให้มี เอกภาพในการเคารพภักดีพระเจ้า พระเจ้าตรัสไว้ในอัลกุรอาน : จงกล่าวเถิด (มุฮมั มัด) ว่า โอ้บรรดาผูไ้ ด้รบั คัมภีร!์ จงมายังถ้อยค�ำหนึ่งซึง่ เท่าเทียมกัน ระหว่างเราและพวกท่าน คือว่า เราจะไม่เคารพสักการะนอกจากพระองค์เท่านัน้ และเราจะไม่ให้สง่ิ หนึ่งสิง่ ใดเป็ นภาคีกบั พระองค์ และพวกเราบางคนก็จะไม่ยดึ ถืออีกบางคนเป็ นพระเจ้าอืน่ จากอัลลอฮ์ แลว้ หาก พวกเขาผินหลังให้ ก็จงกล่าวเถิดว่า พวกท่านจงเป็ นพยานด้วยว่า แท้จริงพวกเราเป็ นผูน้ อ้ ม ตาม (ซูเราะฮ์ อาลิอมิ รอน โองการที่ 64) ดังนัน้ หลักการแห่งเอกภาพและความสมบูรณ์ทอ่ี สิ ลามรับรอง จึงเป็ นผลมาจาก การมีโลกทัศน์เป็ นแบบไดนามิกและเป็ นปัจจัยส�ำคัญในการสร้างความก้าวหน้าของศาสนา อิสลาม และการสร้างความมันคง ่ ด้วยเหตุน้ ีจงึ กลายเป็ นอารยธรรมและความเจริญรุ่งเรือง แม้แต่นกั วิชการชาวฝรัง่ เศสชื่อ กุสตาโว เลอร์บูน ถือว่าเตาฮีด(หลักการศรัทธา) และชุมชน มุสลิมภายใต้ร่มธงดังกล่าวเป็ นสาเหตุหลักของความก้าวหน้า และความส�ำเร็จของชาวมุสลิม ในเรื่องนี้ท่านผูน้ ำ� สูงสุดกล่าวว่า : อันทีจ่ ริงแล ้วอุดมคติของระบอบอิสลามคืออุดมคติของ ศาสนาอิสลามนัน้ เอง เป็ นระบอบ เป็ นชุดทีม่ รี ะดับขัน้ ทีแ่ ตกต่างกันซึง่ บางส่วนเป็ นเป้ าหมาย สุดท้าย เป้ าหมายสูงสุด และบางส่วนเป็ นแค่ระยะสัน้ ๆ แต่เหล่านี้กเ็ ป็ นส่วนหนึ่งของอุดมคติ ทัง้ หมดนี้ตอ้ งปฏิบตั ติ ามและแสวงหา ตัวอย่างเช่นสังคมทางจิตวิญญาณทีเ่ ทีย่ งธรรมและ เจริญรุ่งเรืองก็เป็ นหนึ่งในอุดมคติของอุดมคติลำ� ดับต้นๆ และสูงสุด (พบปะกับนิสติ นักศึกษา 23/5/1394)

สาส์น อิส ลาม

ประการทีส่ ี ่ วิทยาศาสตร์และการได้มาซึง่ ความรู ้

132

หนึ่งในตัวบ่งชี้ทช่ี ดั เจนทีส่ ุดของอารยธรรมอิสลามคือ นักศึกษาและนักวิชาการ ดัง นัน้ จึงเรียกร้องมวลมุสลิมจากทัว่ โลกให้ศึกษาและใฝ่ เรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และวิทยปัญญา


เนื่องจากพวกเขาไม่ได้เป็ นเพียงผู ้ปฏิบตั หิ รือตักลีดตามอย่างเดียว แต่หากพวกเขามุง่ แสวงหา ความรูไ้ ปถึงขัน้ สูงสุด ก็สามารถมีอทิ ธิพลต่อวัฒนธรรมและประเพณีของชุมชนทัง้ ไกลและ ใกล ้ได้ ดังทีไ่ ด้กล่าวไปแล ้วว่าอารยธรรมทางวิทยาศาสตร์ ศิลปะและวัฒนธรรมของประเทศ ในยุโรป ล ้วนได้รบั อิทธิพลมาจากวิทยาศาสตร์ และความรูข้ องชาวมุสลิมทัง้ สิ้น ชาวมุสลิม มีความเชี่ยวชาญในด้านการเมือง วรรณกรรม ภูมศิ าสตร์ คณิตศาสตร์ ดาราศาสตร์ เคมี ปรัชญา การแพทย์ สถาปัตยกรรมและการทหาร และในความเป็ นจริงแลว้ ถือเป็ นครูของ อารยธรรมตะวันตก ในคัมภีรอ์ ลั กุรอาน ถือว่านักศึกษา นักวิชาการและนักวิทยาศาสตร์เป็ นหนึ่งใน ลักษณะของอารยธรรมอิสลามและมีการกล่าวถึงต�ำแหน่งทีส่ ูงส่งและมีคุณค่ามากอีกด้วย โดยกล่าวว่า โอ้บรรดาผูศ้ รัทธาเอ๋ย เมือ่ ได้มเี สียงกล่าวแก่พวกเจ้าว่า จงหลีกทีใ่ ห้ในทีช่ มุ นุม พวกเจ้าก็จงหลีกทีใ่ ห้เขาเพราะอัลลอฮฺ จะทรงให้ทกี ่ ว้างขวางแก่พวกเจ้า (ในวันกิยามะฮฺ ) และ เมือ่ มีเสียงกล่าวว่าจงลุกขึ้นยืนจากทีช่ มุ นุมนัน้ พวกเจ้าก็จงลุกขึ้นยืน เพราะอัลลอฮฺ จะทรง ยกย่องเทิดเกียรติแก่บรรดาผูศ้ รัทธาในหมูพ่ วกเจ้า และบรรดาผูไ้ ด้รบั ความรู ห้ ลายชัน้ และ อัลลอฮฺ ทรงรอบรู ย้ งิ ่ ในสิง่ ทีพ่ วกเจ้ากระท�ำ (ซูเราะฮ์ มุญาดิละฮ์ โองการที่ 11) ในอารยธรรมอิสลาม คนฉลาดและคนโง่จะไม่เท่าเทียมกัน ตัวอย่างเช่นคนฉลาด จะวางแผนในลักษณะทีค่ ุณธรรมมีชยั เหนือความสัมพันธ์ในครอบครัว ในเรื่องนี้อลั กุรอา นกล่าวว่า “ผูท้ เ่ี ขาเป็ นผูภ้ กั ดีในยามค�ำ่ คืน ในสภาพของผูส้ ุญูด และผูย้ นื นมาซโดยทีเ่ ขา หวันเกรงต่ ่ อโลกอาคิเราะฮฺ และหวังความเมตตาของพระเจ้าของเขา (จะเหมือนกับผูท้ ต่ี งั้ ภา คีต่ออัลลอฮฺกระนัน้ หรือ) จงกล่าวเถิดมุฮมั มัด บรรดาผูร้ ูแ้ ละบรรดาผูไ้ ม่รูจ้ ะเท่าเทียมกัน หรือ? แท้จริงบรรดาผูม้ สี ติปญั ญาเท่านัน้ ทีจ่ ะใคร่ครวญ” (ซูเราะฮ์ อัล-ซุมรั โองการที่ 9)

การแสวงหาความรูถ้ อื เป็ นเรื่องส�ำคัญมากทีม่ นุษย์ควรแสวงหา ตัง้ แต่เริ่มต้นชีวติ

สาส์น อิส ลาม

ท่านศาสดาอิสลาม จะกล่าวส่งเสริมชาวมุสลิมให้ใฝ่ หาความรูใ้ นรูปแบบต่าง ๆ เช่น กล่าว เทศนาธรรม ตักเตือนแนะน�ำ ชี้นำ� และชี้แนะมวลมุสลิมหรือโดยการอ่านอัลกุรอาน สัง่ ให้ เขียน บันทึกซุนนะฮฺ (แบบฉบับ) ติดต่อสือ่ สารและส่งผูส้ อนศาสนาอิสลามไปยังดินแดนอืน่ ๆ ด้วยวิธนี ้ อี าจกล่าวได้วา่ การเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์เป็ นหนึ่งในตัวบ่งชี้พ้นื ฐาน และคุณลักษณะ ของอารยธรรมอิสลาม

133


จนถึงช่วงเวลาสุดท้ายของชีวติ ซึ่งท่านศาสดา (ซ็อลฯ) ได้ตอกย�ำ้ ในเรื่องนี้ในยุคของการ เผยแผ่ของท่านว่า ‫أطلبـوا العلـم مـن املهـد إلـی اللحـد‬ “จงศึกษาตัง้ แต่ในเปล จนถึงหลุมฝัง่ ศพ” ความรูเ้ ป็ นวิธกี ารหรือสือ่ หนึ่งทีจ่ ะท�ำให้ มนุษย์เชื่อมสัมพันธ์กบั พระเจ้า นอกจากนี้ท่านศาสดายังใช้ประโยชน์จากเชลยศึกสงคราม บะดัรโดยให้พวกเขาสอนการอ่าน การเขียนแก่บรรดาสาวกและสหายของท่านอีกด้วย ค�ำสังเสี ่ ยของท่านศาสดา (ซ็อลฯ) และการปฏิบตั ติ ามค�ำพูดของท่านศาสดา เป็ นการ ปูทางทีส่ ำ� คัญส�ำหรับการเติบโตของวิทยาศาสตร์ และความรูใ้ นหมูม่ สุ ลิมในยุคต่อมา ท่าน ผูน้ ำ� สูงสุดได้กล่าวในเรื่องนี้วา่ “ความรู แ้ ละวิทยาศาสตร์น้ ีเป็ นพื้นฐานของความก้าวหน้าทีค่ รอบคลุมของประเทศ ฉันเคยอ่านฮะดิษบทนี้ทวี ่ า่ “ความรู ค้ ืออ�ำนาจ” ผูใ้ ดทีม่ อี ำ� นาจนี้เขาสามารถบรรลุเป้ าหมาย ทัง้ หมดของเขา เหล่าผูอ้ หังการโลกทีส่ ามารถบังคับและกดขีผ่ ูค้ นทัง้ โลกได้ก็ดว้ ยความสิริ มงคลของความรู แ้ ละวิทยศาสตร์เหล่านี้ และแน่นอนเราจะไม่มวี นั ใช้กำ� ลังและกดขีเ่ ช่นนี้” (ส่วนหนึ่งจากค�ำเทศนาธรรมในนมาซวันศุกร์ในกรุงเตหะราน 14/11/1390)

สาส์น อิส ลาม

ประการทีห่ า้ ความมีเหตุมผี ลและภูมปิ ญั ญา

134

สติปญั ญา ภูมปิ ญั ญา ความมีเหตุมผี ลและความเป็ นเหตุเป็ นผล เป็ นองค์ประกอบ ที่สำ� คัญที่สุดอย่างหนึ่งของอารยธรรม โดยที่ท่านผูน้ ำ� สู งสุดได้ให้ความหมายของค�ำนี้ว่า “ความมีเหตุมผี ล คือ การดึงพลังแห่งสติปญั ญาของมนุษย์ออกมาและใช้เพือ่ ควบคุมความ คิดและการกระท�ำของมนุษย์ เพือ่ สามารถแยกแยะจ�ำแนกหนทางด้วยคบเพลิงนี้และสามารถ เดินไปตามเส้นทางได้อย่างราบรื่น สติปญั ญาจะน�ำทางมนุษย์ไปสู่ศาสนา และดึงมนุษย์เข้า สู่ศาสนา สติปญั ญาได้บงั คับให้มนุษย์กม้ กราบกรานและเคารพภักดีพระเจ้า สติปญั ญาจะ ป้ องกันไม่ให้มนุ ษย์แสดงความโง่เขลางมงายและลุ่มหลงโลกดุนยา (สุนทรพจน์ของผูน้ ำ� สูงสุดในวันอีดมับอัษ 29/4/1388) อารยธรรมจะไม่เจริญรุ่งเรืองหากปราศจากระบบความ คิดทีอ่ ยู่เบื้องหลังอารยธรรม ดังนัน้ ความมีเหตุผลและความเป็ นเหตุเป็ นผล จึงเป็ นพื้นฐาน ของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ท่านผูน้ ำ� สูงสุดถือว่าความมีเหตุมผี ลและภูมปิ ญั ญาเป็ นหนึ่ง


ในตัวชี้วดั ทีโ่ ดดเด่นของอารยธรรมอิสลาม โดยกล่าวว่า “ส�ำหรับการสถาปนารัฐในอุดมคติ (มะดีนะตุลฟาฏีละฮ์) และความเป็ นปึ กแผ่นของอิสลามและอารยธรรมอิสลามทีย่ ง่ิ ใหญ่ เรา ต้องใช้สติปญั ญาและเหตุผลเป็ นเกณฑ์ ซึง่ ขัน้ ตอนแรกในทิศทางนี้คอื การเสริมสร้างพลัง แห่งเหตุผลและปัญญาในสังคม (สุนทรพจน์ของผูน้ ำ� สู งสุดในวันอีดมับอัษ 29/4/1388) ดังนัน้ บนพื้นฐานนี้ในริวายะฮ์ของอิสลามถือว่าการคิดไตร่ตรองหนึ่งชัว่ โมงประเสริฐกว่าและ ดีกว่าการท�ำอิบาด์หลายสิบปี ” ในอัลกุรอานพระเจ้าทรงเรียกร้องมนุษย์ให้มเี หตุผล (ใช้สติปญั ญา) มากถึงสาม ร้อยครัง้ (อัลลามะฮ์ เฏาะบาเฏาะบาอีย ์ ตัฟซีรอ์ ลั มิซาน เล่มที ่ 5 หน้า 255) เพือ่ ท�ำความ เข้าใจเกี่ยวกับสถานะหรือต�ำแหน่ งแห่งเหตุผลในอารยธรรมอิสลาม สิ่งแรกที่จำ� เป็ นต้อง อธิบายคือ ระดับของสติปญั ญาและเหตุผลทีม่ คี วามหลากหลาย : ระดับแรกคือ ปัญญาแบบมีมะอ์รฟี ตั (รูแ้ จ้งเห็นจริง) ซึง่ ปัญญาในระดับนี้พยายาม ทีจ่ ะเรียนรูป้ รัชญาชีวติ และจุดยืนของมนุษย์ในนัน้ และสถานะของปัญญาในการควบคุมความ สัมพันธ์ของมนุษย์กบั โลก และผูส้ ร้างจักรวาล และการบรรลุแก่นแท้ของหลักการศรัทธา ทัง้ นี้ ทีใ่ ด เหตุใด มนุษย์มาจากไหนและจะไปไหน ? (อิมามโคมัยนี (รฎ.) หนังสือสีส่ บิ ฮะ ดิษ)

สาส์น อิส ลาม

ระดับทีส่ องของการมีปญั ญา คุณธรรมและคุณค่า ปัญญาในทีน่ ้ คี อื สิง่ ทีค่ วรท�ำและ ไม่ควรท�ำ และคุณค่าทางศีลธรรม สถานะของปัญญาและเหตุผลในกรณีน้ ีมนั ย้อนกลับไป ยังความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบั ศีลธรรมของเขา ในส่วนของปัญญานัน้ มนุษย์พยายามที่ จะด�ำเนินไปในเส้นทางของการบรรลุเป้ าหมายตามศีลธรรมและคุณธรรมทีด่ ี การมีปญั ญา เช่นนี้ถอื เป็ นพื้นฐานของการต่อสูก้ บั นัฟส์ (อ�ำนาจฝ่ ายต�ำ่ ) และการเสริมสร้างจิตวิญญาณ แห่งคุณธรรมและศีลธรรม (อิมามโคมัยนี (รฎ.) หนังสือสีส่ บิ ฮะดิษ) บนพื้นฐานนี้เองใน อารยธรรมอิสลามได้กล่าวถึงคุณค่าของสิง่ นี้ แต่ในอารยธรรมตะวันตกไม่มกี ารค�ำนึงถึง บริบทดังกล่าวแต่อย่างใด ในมุมมองของตะวันตก ความรูถ้ กู แยกออกจากคุณค่า ดังนัน้ อารยธรรมตะวันตกจึงผลักศีลธรรมลงสูห่ บุ เหวแห่งการความหายนะ ระดับทีส่ ามของการมี ปัญญา คือเครื่องมือ (ปัญญาในการด�ำรงชีวติ ) หน้าทีข่ องปัญญาในทีน่ ้ ีคอื การออกแบบการ ด�ำรงชีวติ ส่วนบุคคลและสังคมของมนุษย์

135


อารยธรรมตะวันตกยอมรับเพียงมิตแิ ห่งการมีปญั ญาอย่างเดียว และด้วยเหตุน้ จี งึ พอใจกับปัญญาทีเ่ ป็ นเครื่องมืออันเป็ นผลมาจากเทคโนโลยี ในขณะทีป่ ญั ญาของอิสลามจะ ให้ความส�ำคัญกับทัง้ ชีววิทยาวัตถุของมนุษย์และชีววิทยาทางจิตวิญญาณ ด้วยเหตุน้ แี ละบน พื้นฐานนี้เองทีท่ ำ� ให้ปญั ญาของอิสลามได้ทา้ ทายอารยธรรมตะวันตก ส่วนการมีปญั ญาเชิง เครื่องมือนัน้ จะให้ความส�ำคัญเฉพาะมิตขิ องวัสดุหรือวัตถุเท่านัน้ การอาศัยปัญญาโดยใช้ เครื่องมือนี้ เช่น มาร์กซ์เวเบอร์ ได้กล่าวว่า เหตุผลหรือปัญญาคือการกระท�ำเชิงตรรกะใน การก�ำหนดวิธกี ารทีม่ เี ป้ าหมาย ในขณะทีป่ ญั ญาในศาสนาอิสลาม ถือว่าปัญญาไม่เพียงแต่ ท�ำหน้าที่กำ� หนดวิธีการไปสู่เป้ าหมายเท่านัน้ แต่ในนิยามความหมายยังรวมถึงปัญญาข้อ พิสูจน์และผูด้ ูแลควบคุมด้วย และปัญญานี้ในอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ถอื ว่ามีสถานะที่ สูงส่ง ซึง่ แน่นอนว่านอกเหนือไปจากปัญญาทีเ่ ป็ นเครือ่ งมือหรือปัญญาในการด�ำรงชีวติ นี้แล ้ว ยังมีการพิจารณาปัญญาทางปรโลกด้วย ในเรื่องนี้ท่านผูน้ ำ� สูงสุดกล่าวว่า ในอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ - สิง่ ทีเ่ ราต้องการน�ำเสนอ - ในส่วน “หลัก” ซึง่ สิง่ เหล่านี้ประกอบด้วย “วิถแี ห่งชีวติ ” และนี่คอื ความหมายตามศัพท์วชิ าการของศาสนาอิสลาม กล่าวว่า ปัญญาในการด�ำรงชีวติ ทัง้ นี้ปญั ญาในการด�ำรงชีวติ ไม่ได้หมายถึงการหาเงิน และ การใช้เงินเพียงเท่านัน้ แต่รวมถึงวิธกี ารสร้างรายได้ และวิธกี ารใช้เงินอีกด้วย สิง่ ทีก่ ล่าวมา นี้เป็ นส่วนหนึ่งของปัญญาในการด�ำรงชีพ มีบทในต�ำราหลักและต�ำราทีส่ ำ� คัญของเรา เช่นบท ว่าด้วย “บททีส่ บิ ”ได้กล่าวเกี่ยวกับประเด็นนี้ และมีอกี หลายโองการในอัลกุรอานทีไ่ ด้กล่าว เกี่ยวกับสิ่งเหล่านี้ไว้เช่ นกัน (พบปะกับบรรดาเยาวชนหนุ่ มสาวแคว้นโคราซานเหนือ 23/7/1391)

สาส์น อิส ลาม

ประการทีห่ ก ความเชือ่ มันในตนเอง ่

136

ประเด็นส�ำคัญอีกประการหนึ่งทีเ่ ป็ นหนึ่งในอุดมคติสูงสุดของผูน้ ำ� สูงสุด และควร ให้ความส�ำคัญอย่างยิง่ ยวดเพือ่ สร้างอารยธรรมอิสลามยุคใหม่คอื ความมันใจในตนเองที ่ ่ ควบคู่กบั การไว้วางใจในพระเจ้า แน่นอนว่าความมันใจในตนเองและความเชื ่ อ่ ในตนเองหมาย ถึงว่า บุคคลนัน้ เชื่อว่าเขามีความสามารถ พรสวรรค์ และคุณสมบัติ และเชื่อว่าพระเจ้า ประทานสิง่ เหล่านี้ให้แก่เขาและเขาไม่ได้มอี สิ ระเสรีในการมีสง่ิ เหล่านี้ พระเจ้าตรัสไว้ในอัลกุ รอานว่า :


َ‫َ َ ُ َ تَ ْ َ ُ َ ُ ْ أ‬ َ�‫ال ْع َل ْو َن إن ُك ُتن� ُّم ْؤ ِم ِن ن‬ ُ ‫َول ت ِ�نوا َول �زنوا َوأ ت‬ �‫ن‬ ‫ي‬ ِ และพวกเจ้าจงอย่าท้อแท้ และจงอย่าเสียใจ แบพวกเจ้านัน้ คือผูท้ สี ่ ูงส่งยิง่ หาก พวกเจ้าเป็ นผูศ้ รัทธา (อัลกุรอาน ซูเราะฮ์ อาลิอมิ รอน โองการที่ 139) ส่วนในด้านความมันใจ ่ ในตนเอง ท่านผูน้ ำ� สูงสุดจะเตือนเจ้าหน้าทีก่ ่อนเป็ นล�ำดับแรก แล ้วจากนัน้ ได้เตือนสมาชิก ของสังคมอิสลามว่า : ก่อนการปฏิวตั ิ ประเทศของเราถูกครอบง�ำด้วยการสร้างความอ่อนแอ และท�ำลาย ความมัน่ ใจในตนเองเป็ นเวลาหลายปี นับตัง้ แต่เจ้าหน้าทีข่ องรัฐได้เริ่มลืมตา และจากนัน้ ประชาชนค่อย ๆ ลืมตาดู ต่างได้ตกตะลึงกับความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ทน่ี ่าอัศจรรย์ ของตะวันตก ท�ำให้พวกเขาทยอยมีความอ่อนไหวต่อการขาดแคลน รูส้ กึ ด้อยพัฒนา รูส้ กึ ขาดความเชือ่ มันในตนเองอย่ ่ างแพร่หลายในประเทศนี้ และในหมูป่ ระชาชนของเรา แต่โชค ดีทก่ี ารปฏิวตั สิ ามารถเปลีย่ นแปลงทุกสิง่ ทุกอย่าง เช่นสามารถเปลีย่ นอารมณ์ความรูส้ กึ นี้ได้ ทัง้ หมด ดังนัน้ การวางฐานรากทางเศรษฐกิจ ต้องวางอยู่บนฐานแห่งความรู ้ เพราะจะช่วย เสริมสร้างทัง้ จิตวิญญาณและลักษณะนิสยั ของชาติตลอดจนอ�ำนาจทางการเมือง ความเป็ น อิสระและการพึง่ พาตนเองในประเทศก็ทำ� ให้มอี ำ� นาจทางการเมืองมากยิง่ ขึ้น ซึง่ นอกเหนือ จากอ�ำนาจทางเศรษฐกิจทีเ่ ป็ นธรรมชาติ และมีอยูแ่ ล ้ว (พบปะกับนักวิจยั และเจ้าหน้าทีห่ น่วย งานฐานความรู ้ 8/5/1391) สาม การบริหารจัดการ หลังจากทีไ่ ด้นำ� เสนอเกี่ยวกับปัจเจกบุคคลและบริบททางสังคมในปัจจัยภายนอก แลว้ ก็จะน�ำเสนอปัจจัยด้านการบริหารจัดการล�ำดับต่อไป การบริหารจัดการแบบมหภาค และจิตส�ำนึกก่อให้เกิดอารยธรรมใหม่ของอิสลาม ในภาคส่วนนี้เรามุ่งมัน่ ที่จะอธิบายใน ประเด็น การก�ำจัดแนวคิดแบบตะวันตก การสร้างอารยธรรมบนพื้นฐานของจิตวิญญาณ ความส�ำคัญของวิทยาศาสตร์อสิ ลาม ความพยายาม และการญิฮาด จากมุมมองของท่าน ผูน้ ำ� สูงสุด หนึ่งในองค์ประกอบของการสร้างอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ในการถกเถียงเรื่อง

สาส์น อิส ลาม

ประการแรก การก�ำจัดความคิดเรือ่ งอารยธรรมตะวันตก

137


การจัดการคือ การก�ำจัดความคิดของอารยธรรมตะวันตก ซึง่ ในความคิดของอารยธรรม ตะวันตกนัน้ มีมะเร็งร้ายสองชนิดด้วยกัน สิง่ ทีต่ ะวันตกก�ำลังเผชิญอยู่น้ กี ค็ อื มะเร็งร้ายสอง ชนิดนี้ หนึ่งคือการปฏิเสธเรือ่ งการฟื้ นคืนชีพ (โลกหลังความตาย)และอีกอย่างคือ การปฏิเสธ สิง่ ทีเ่ ป็ นนามธรรมของจิตวิญญาณ นัน่ คือพวกเขาคิดว่ามนุษย์ดบั สูญหลังจากตายไปจาก โลกนี้แล ้ว และไม่มกี ารคิดบัญชีหรือสมุดบันทึกใด! ความคิดประเภทนี้ถอื ว่ามนุษย์เป็ นเพียง สัตว์ทพ่ี ูดได้เท่านัน้ เอง และมันส่งผลให้เกิดสงครามโลกครัง้ ทีห่ นึ่งสงครามโลกครัง้ ทีส่ อง และสงครามพร็อกซีในปัจจุบนั ศาสนาเป็ นก้าวแรกในการก�ำหนดบริบทของการสร้างอารยธรรม มีการนิยามความ หมายของมนุ ษย์และโลกต่างๆนานา กล่าวว่ามนุ ษย์และโลกจะสิ้นสุดลงอย่างถาวร และ มนุ ษย์มีศกั ยภาพมากจนสามารถพัฒนาไปสู่การเป็ นภาพลักษณ์หนึ่งของพระนามอัน ศักดิ์สทิ ธิ์ของพระเจ้า ศาสนานัน้ สอนมนุ ษย์เมือ่ เผชิญหน้ากับความตายว่า ความตายนัน้ ท�ำให้ตาย แต่มไิ ด้ทำ� ให้ดบั สูญ นี่คอื ความคิดทีส่ ามารถสร้างอารยธรรมได้

สาส์น อิส ลาม

ตัวอย่างของอารยธรรมทีแ่ ท้จริงของอิสลาม ทีจ่ ะท�ำให้การน�ำเสนอชัดเจนขึ้น เช่น การช่วยเหลือคนยากจนซึง่ ไม่ใช่ความหมายของอารยธรรม ในความเป็ นจริงความยากจน คือการท�ำลายอารยธรรมไม่ใช่แค่การช่วยเหลือคนยากจนเนื่องจากในทุกประเทศทัว่ โลกมี สถาบันและองค์กรเพือ่ ช่วยเหลือคนยากจน และการช่วยเหลือคนยากจนก็เป็ นเรือ่ งปกติทาง อารมณ์ ในขณะทีล่ กั ษณะของอารยธรรมทีส่ มบูรณ์นนั้ ถูกก�ำหนดโดย ท่านอิมามอะลี (อ.) ทีก่ ล่าวว่า เราต้องต่อสูก้ บั ความยากจนให้หมดสิ้น สิง่ นี้มนั จะเป็ นจริงได้ดว้ ยการผลิตและ การจ้างงาน รวมทัง้ ด้วยความยุตธิ รรม และนี่คอื มาอารีฟอิสลาม (ความรูข้ องอิสลาม) ที่ สามารถสร้างอารยธรรมได้อย่างแท้จริง จ�ำเป็ นต้องกล่าวว่าอิสลามทีบ่ ริสทุ ธิ์และแท้จริงเท่านัน้ ทีส่ ามารถสร้างอารยธรรมทีแ่ ท้จริงได้ เมือ่ พระเจ้าสอนมนุษย์ให้เป็ นอารยะ และเมือ่ เขาเข้าใจ ว่าประการแรกมนุษย์เป็ นสิง่ มีชวี ติ ทีน่ ิรนั ดร์ และประการทีส่ องเขาต้องรับผิดชอบต่อค�ำพูด การกระท�ำ และต้องมีความรับผิดชอบทัง้ หมด ดังนัน้ ความมุง่ มันของมนุ ่ ษย์ทม่ี ตี ่อพระเจ้า จึงเป็ นรากฐานทีแ่ ท้จริงของการสร้างอารยธรรม

138

มนุษย์มคี วามสามารถทีจ่ ะได้รบั การฝึ กฝน และปฏิบตั ติ นเหมือนทูตสวรรค์ในแง่ ของค�ำสอนของศาสนาอิสลาม ตัวอย่างทีเ่ ห็นได้จากยุคสงครามแห่งการปกป้ องอันศักดิ์สทิ ธิ์


และการยึดมันและไม่ ่ ละเมิดมติหลังจากนัน้ นอกจากนี้พฤติกรรมของทหารผ่านศึก ทีย่ งั มี ชีวติ อยู่ในช่วงเวลานัน้ ทีย่ งั คงขอบคุณพระเจ้า แม้วา่ จะต้องเผชิญกับความยากล�ำบากก็ตาม สิ่งนี้ถอื เป็ นตัวอย่างของพฤติกรรมแห่งทูตสวรรค์และนัน่ คือ เหตุผลที่ทูตสวรรค์มคี วาม อ่อนน้อมต่อมนุษย์บางคน และหลังจากทีเ่ สียชีวติ ไป ทูตสวรรค์จะมาต้อนรับและอยู่เคียง ข้างพวกเขา ส่วนค�ำว่า “ยา” ในโองการทีพ่ ระเจ้ากล่าวกับมนุษย์ ُ ْ َ​َ​َ ُّ ‫وح‬ ‫ونفخت ِف ِيه ِمن ر ِ ي‬ ความว่า “และเป่ าวิญญาณจากข้าเข้าไปในตัวเขา” (ซูเราะฮฺ ฮิญร์ โองการที่ 29) สือ่ ให้เห็นว่ามนุษย์มคี วามสามารถและศักยภาพทีจ่ ะบรรลุตำ� แหน่งทีส่ ูงส่งนี้ และภายใต้ร่มเงา ของวิทยาศาสตร์และปัญญาจึงสามารถสร้างอารยธรรมใหม่ และเพิม่ ขีดความสามารถของ ตนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประการทีส่ อง การสร้างอารยธรรมบนพื้นฐานของจิตวิญญาณ ประเด็นเรื่องจิตวิญญาณมีความส�ำคัญมากส�ำหรับการสร้าง และการด�ำรงอยู่ของ อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ผูน้ ำ� สูงสุดกล่าวว่า: “ข้อเรียกร้องของเราคือ การสร้างอารยธรรมทีอ่ าศัยจิตวิญญาณ พึง่ พาพระเจ้า พึง่ พาค�ำวิวรณ์ พึง่ พาค�ำสอนจากสวรรค์และพึง่ พาอาศัยการน�ำทางจากสวรรค์ (พระเจ้า) ทุก วันนี้มนุษย์จะมีความสุขหากประชาชาติอสิ ลามสามารถสร้างอารยธรรมดังกล่าวได้ (ซึง่ ต้อง ขอบคุณพระเจ้าทีป่ ระชาชนในประเทศอิสลามหลายประเทศได้ตนื่ ตัวขึ้นมา) ข้อเรียกร้อง ของสาธารณรัฐอิสลามและการปฏิวตั อิ สิ ลามคือ เราก�ำลังมองหาอารยธรรมดังกล่าว โอ้บรรดา เยาวชนหนุ่มสาวโปรดจ�ำไว้วา่ จงท�ำให้สงิ ่ นี้เป็ นเกณฑ์และตัวชี้วดั ” (สุนทรพจน์ในมัจญ์ลสิ ความผูกพันกับอัลกุรอาน 31/4/1391) ประการทีส่ าม ให้ความส�ำคัญกับศาสตร์อสิ ลาม สาส์น อิส ลาม

มนุษย์เป็ นสิง่ มีชวี ติ ทีม่ วี วิ ฒั นาการและมีอารยธรรม ดังนัน้ เขาจึงมีความสามารถ และมีความเป็ นไปได้ท่จี ะเปลีย่ นแปลงสังคมและชีวติ สาธารณะ ซึ่งวิวฒั นาการและการ

139


เปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึ้นในสังคมนัน้ มีสองมิตพิ ้นื ฐานด้วยกัน 1- ก้าวไปสูค่ วามเป็ นอยูท่ ด่ี ขี ้นึ การเพิม่ ประสิทธิภาพ การพัฒนาและความปรารถนา ทีพ่ งึ ประสงค์ 2- มุง่ สู่การขัดเกลา ความบริสุทธิ์ของจิตวิญญาณ และยกระดับความคิดความ เข้าใจและทัศนคติ และทัง้ สองมิตใิ นริวายะฮ์อสิ ลามถูกกล่าวไว้ภายใต้หวั ข้อการญิฮาดเล็กและญิฮาด ใหญ่ ปัจจัยหนึ่งทีม่ บี ทบาทอย่างมากในการสร้างอารยธรรมอิสลามยุคใหม่คอื วิทยาศาสตร์ และความรู ้ การให้ความส�ำคัญกับวิทยาศาสตร์และความรูใ้ นศาสนาของอิสลามถือเป็ นเรื่อง ทีเ่ ข้าใจได้อย่างง่ายดาย แม้แต่สำ� หรับบุคคลทีม่ คี วามคุน้ เคยเล็กน้อยเกีย่ วกับประวัตศิ าสตร์ อิสลาม ในเรื่องนี้มโี องการและริวายะฮ์จำ� นวนมากทีไ่ ด้กล่าวไว้ในหนังสือ “อุศูลกาฟี ย”์ บท ว่าด้วยความรูแ้ ละความส�ำคัญของความรู ้ ในเรื่องนี้ท่านผูน้ ำ� สูงสุดกล่าวว่า อัลกุรอานได้ตระหนักและให้ความส�ำคัญอย่าง มากต่อความรู ้ การไตร่ตรองและการเรียนรูบ้ ทเรียนจากอดีต พวกเราทีเ่ ป็ นมุสลิมและนัก ปฏิวตั ิ พวกเราทีอ่ ยูใ่ นระดับแนวหน้าของการเคลือ่ นไหวใหม่ของโลก ควรมีความรูเ้ รือ่ งเหล่า นี้ดกี ว่าคนอื่น (พบปะกับเจ้าหน้าทีต่ วั แทนของส�ำนักงานผูน้ ำ� สูงสุดในหน่วยงานกองก�ำลัง พิทกั ษ์การปฏิวตั อิ สิ ลาม 27/6/1370) นอกจากนัน้ ท่านผูน้ ำ� สูงสุดกล่าวว่า “ประเทศอิสลาม หมายถึงชาติทใ่ี ห้ชวี ติ ทีด่ ขี ้นึ ... อิสลามทีป่ ราศจากการบิดเบือนทางความคิด... และอิสลาม ซึง่ ชี้นำ� มนุ ษย์ไปสู่วทิ ยาศาสตร์และความรูก้ ฎทีม่ อี ทิ ธิพลเหนือสิง่ อื่นใด... ความเชี่ยวชาญ ทางวิทยาศาสตร์จะน�ำมาซึ่งศักดิ์ศรีทางการเมือง ความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจและ คุ ณธรรมทางศี ลธรรม” (สุ นทรพจน์ในการเทศนาธรรม นมาซวัน ศุ กร์กรุ งเตหะราน 28/5/11384)

สาส์น อิส ลาม

ประการทีส่ ี ่ ความพยายาม (การบริหารจัดการแบบมุง่ มัน่ )

140

ไม่ตอ้ งสงสัยเลยว่าการก่อตัง้ การพัฒนาและการขยายตัวของอารยธรรม ย่อมมี ความเป็ นไปได้หากมนุษย์มคี วามเพียรพยายามอย่างต่อเนื่อง และหนึ่งในลักษณะเด่นของ การสร้างและการด�ำรงอยู่ของอารยธรรมต่างๆคือความพยายามอย่างต่อเนื่องของผูค้ น ใน


แหล่งทีม่ าของศาสนาอิสลาม ความพยายามอย่างต่อเนื่องนี้ได้รบั ความสนใจเป็ นพิเศษและ ถูกเรียกว่า “มุญาฮิดตั ”คือการต่อสู ้ การเพียรพยายาม ซึง่ มีผลกระทบอย่างมากต่อการเติบโต และความยัง่ ยืนของอารยธรรมอิสลาม การต่อสูน้ ้ ีมลี กั ษณะเฉพาะของตัวเองทีไ่ ม่เคยมีมา ก่อนในอารยธรรมใดๆ นอกจากนัน้ ค�ำนี้ยงั ได้รบั การพิจารณาในวัฒนธรรมอัลกุรอาน และ ในช่วงเวลาต่าง ๆ โดยมีคำ� สัง่ ให้มงุ่ มันและเพี ่ ยรพยายามในทุกเรื่องและทุกด้าน ทัง้ นี้การ ท�ำงานในวัฒนธรรมญาฮิลยี ะฮ์ถอื เป็ นเรื่องน่าอับอาย ในขณะทีใ่ นวัฒนธรรมอิสลามถือว่า ความพยายามและการต่อสูค้ อื อิบาดะฮ์ และในแหล่งข้อมูลทางศาสนาเช่น อัลกุรอานและ หนังสือนะฮ์ญุลบะลาเฆาะฮ์ (ของอิมามอะลี) เต็มไปด้วยวลีทย่ี กย่องคนทีข่ ยันขันแข็ง ใน การนี้การให้ความส�ำคัญกับเวลาก็เป็ นสิง่ ส�ำคัญเช่นกัน นัน่ หมายถึงความเพียรพยายามอย่าง ทันท่วงทีและสม�ำ่ เสมอ ข้อสรุปคือ แม้วา่ อิสลามจะมีความสามารถในการสร้างอารยธรรมโดยเนื้อแท้ แต่ ก็ไม่ได้หมายความว่าสร้างอารยธรรมขึ้นมาเอง หากแต่มนุษย์ต่างหากทีส่ ร้างอารยธรรมขึ้น มาด้วยการกระท�ำ ความเพียรพยายามและด้วยความช่วยเหลือและค�ำแนะน�ำของอิสลาม ดังนัน้ หากเราต้องการบรรลุอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ เราต้องรูว้ า่ องค์ประกอบหนึ่งคือ การ ท�ำงานและความเพียรพยายาม ด้วยเหตุน้ ีท่านผูน้ ำ� สูงสุดได้กล่าวว่า “การท�ำงานในความ หมายที่กว้างที่สุดรวมถึงการใช้แรงงาน คนงานทางกายภาพ งานทางปัญญา งานทาง วิทยาศาสตร์และงานด้านการบริหาร ซึง่ เป็ นแกนของความก้าวหน้าและการเคลือ่ นไหวอย่าง ต่อเนื่องและชีวติ ของสังคม” พบปะกับแรงงานของโรงงานผลิตเวชภัณฑ์ สรุป ผลการวิจยั ชิ้นนี้ ชี้ให้เห็นว่าอารยธรรมใหม่ของอิสลามมีส่วนประกอบ และตัวบ่ง ชี้สำ� หรับการสร้างและการด�ำรงอยู่ของอารยธรรม ซึง่ บางส่วนพบในอารยธรรมอืน่ ๆ เช่น ความสนใจในวิทยาศาสตร์ ความอดทนอดกลัน้ ความพยายามและความอุตสาหะ และบาง ส่วนเช่นพื้นฐานของศาสนา ศีลธรรม ความสนใจ ความเป็ นเหตุเป็ นผล ปัญญา และคุณค่า ทางญาณวิทยาเป็ นเรื่องเฉพาะส�ำหรับอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ สาส์น อิส ลาม

- ปัจจัยแรกในการสร้างอารยธรรมอิสลามยุคใหม่คอื ปัจจัยภายในทีเ่ กี่ยวข้องกับ ความศรัทธา ส�ำนักคิด การบรรลุเงือ่ นไขและข้อก�ำหนดและความเป็ นผูน้ ำ�

141


- อีกปัจจัยหนึ่งคือปัจจัยภายนอก ในรูปแบบทีว่ า่ อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ มิได้ เป็ นของเผ่าพันธุใ์ ดเผ่าพันธุห์ นึ่ง และไม่ได้เป็ นของชนชาติใดชนชาติหนึ่ง หรือเป็ นของคน กลุม่ ใดกลุม่ หนึ่งเป็ นการเฉพาะ แต่เป็ นอารยธรรมทีก่ ว้างขวางซึง่ ครอบคลุมถึงกลุม่ เชื้อชาติ และชาติพนั ธุท์ งั้ หมดทีเ่ กิดขึ้นจากความเจริญรุ่งเรือง ความสดใหม่และมีบทบาทอิทธิพลต่อ ยุครุ่งเรืองและมังคั ่ ง่ - การยอมรับความต่างทางศาสนา การประนีประนอม และความพร้อมทีจ่ ะยอมรับ ความคิดใหม่ๆและองค์ประกอบทางวัฒนธรรมของผูอ้ น่ื และปรับใช้ให้เข้ากับจิตวิญญาณ แห่งเตาฮีดของศาสนาอิสลาม ถือเป็ นคุณสมบัตพิ ้นื ฐานอีกประการหนึ่งของวัฒนธรรมและ อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ หากมุสลิมไม่ใส่ใจในแง่มมุ ของศาสนานี้อย่างใกล ้ชิด ต้นไม้แห่ง อารยธรรมของพวกเขาก็จะไม่เติบโตและไม่เกิดดอกผล - ปัจจัยส�ำคัญอีกประการหนึ่งของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่คอื ระบอบศีลธรรม ความจริงในเรื่องนี้ก็คอื ในอารยธรรมอืน่ ๆ ไม่มกี ารฝึ กฝนอบรมด้านศีลธรรม ยกเว้นใน วัฒนธรรมและอารยธรรมอิสลามเท่านัน้ วัฒนธรรมและอารยธรรมทีต่ งั้ อยู่บนพื้นฐานของ ศีลธรรม และค่านิยมและพันธกิจของศาสดาโดยเฉพาะ นัน่ คือการท�ำให้อคั ลาคและศีลธรรม มีความสมบูรณ์ และนี่เป็ นช่วงเวลาทีศ่ ีลธรรมและค่านิยมไม่มที ย่ี นื ในสังคมของวันนัน้ - รากฐานที่สำ� คัญที่สุดประการหนึ่งของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่คือ ความ ยุตธิ รรม และความยุตธิ รรมทีไ่ ด้รบั การกล่าวถึงในอัลกุรอานนัน้ ถูกกล่าวไว้ในสองรูปแบบ คือ ความเทีย่ งธรรม (กิสฏ์) และความยุตธิ รรม(อัดล์) และเราจ�ำเป็ นต้องมีสองสิง่ นี้เพือ่ สร้าง อารยธรรมอิสลามยุคใหม่

สาส์น อิส ลาม

- ท่านผูน้ ำ� สูงสุดมองว่าอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ซึง่ แตกต่างจากลัทธิมนุษยนิยม ตะวันตก อันเป็ นเหตุของความมีศกั ดิ์ศรีของความเป็ นมนุษย์ และมุสลิมทีพ่ ง่ึ พาศักดิ์ศรีของ ตนก็สามารถพิชติ จุดสูงสุดของความรู ้ และวัฒนธรรมของโลกได้ในเวลาอันสัน้ และสร้าง ความยิง่ ใหญ่ของอารยธรรมอิสลามให้เกิดขึ้นอีกด้วย

142

- นอกเหนือจากการให้ความสนใจกับวิทยาศาสตร์และการท�ำลายขอบเขตของความ รูแ้ ล ้ว ความมีเหตุมผี ลและปัญญาก็เป็ นองค์ประกอบและรากฐานทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ของอารยธรรม


อิสลามยุคใหม่ ซึง่ ได้รบั การพิจารณาในระดับญาณวิทยาศีลธรรมและเหตุผลทัง้ สามระดับ - ความพยายาม การต่อสู ้และการคิดอย่างอิสระเป็ นปัจจัยอืน่ ของอารยธรรมอิสลาม ยุคใหม่ ซึง่ ได้รบั ความสนใจในอารยธรรมอืน่ ด้วย อ้างอิง

1. อัลกุรอาน

2. มุกอ็ ดดิมะห์อบิ นุ ค็อลดุน

3. ฏ็อบากอฏอัลกุบรอ อิบนุสะอัด มุฮมั มัด ส�ำนักพิมพ์ดารุลศอบิร เบรุต

4. บัรรอซียฮุกกุ ยี ว์ ะฟิ กฮีย ์ โดมัสอะลาห์รชิ เวะห์วะอิหต์ กิ าร์ ส�ำนักพิมพ์อติ ติลาอาต พิมพ์ครัง้ ที่ 1 ปี 1377 เตหะราน 1376

5. ฟุตูฮลุ บะลาดาน บะลาซารียอ์ ะห์มดั บิน ยะห์ยา ฉบับแปลโดย มุฮมั มัดตะวักลุ เตหะราน

6. วิเชคียฮ์ อเย เพยัมบัร อับดุลการิม พอกเนีย นะสีมเกาษัร 1385

7. บัรรอซีย ์ ตารีคตะมัดดุน โทอินบี อาร์โนดล์ แปลโดยมุฮมั มัดฮุเซ็น ออร์ยอ ส�ำนักพิมพ์ อะมีรกะบีร ์ เตหะราน 1376 8. ตารีคฟัรแฮงค์ วะ ตะมัดดุนอิสมาลีย ์ ฟาตีเมห์ ญอนอะห์มะดีย ์ ส�ำนักพิมพ์ มะอารีฟ กุม 1386 9. ตัรญุเมห์วะตัฟซีรน์ ะห์ญุลบะลาเฆาะห์ มุฮมั มัดตะกีย ์ ญะอ์ฟะรีย ์ ส�ำนักพิมพ์นชั ร์ เรฟัรแฮ็งค์อสิ ลามีย ์ เตหะราน 1359 10. ตารีคมุฟศั ศัลอาหรับ กับละอิสลาม ญะวาด อาลี แปลโดย มุฮมั มัดฮุเซ็นโรฮานี ส�ำนักพิมพ์มชั ฮัด ครัง้ ที1่ 1367 11. ตารีคอาหรับ ฟิ ลลิปคอลิล แปลโดยอบู กอซิม ฟอยันเดะห์ ส�ำนักพิมพ์ ออคอห์ เตหะราน 1366 สาส์น อิส ลาม

12. ฮะดิษวิลายัต อาลีคาเมเนอี ส�ำนักพิมพ์มอุ ซั ซาซะห์ ตะห์กีกอต วะนัชเรมะอารีฟ อะห์ลลุ บัยต์ เตหะราน 1382

143


13. สีส่ บิ ฮะดิษ รูฮลุ ลอฮ์ โคมัยนี ส�ำนักพิมพ์มอุ ซั ซาซะห์ ตันซีม วะ นัชร์ ออศ็อเรอิมาม โคมัยนี เตหะราน 1372 14. อธิบายฮะดิษญูนุด อักล์วะ ญะหล์ รูฮลุ ลอฮ์ โคมัยนี ส�ำนักพิมพ์มอุ ซั ซาซะห์ ตันซีม วะ นัชร์ ออศ็อเรอิมามโคมัยนี เตหะราน 1378 15. ตารีคตะมัดดุน โดเรนต์ เวล์ แปลโดย อะห์มดั ออรอม ส�ำนักพิมพ์ ซอสะมอน อินติชอรอต วะ ออมูซสิ อินกิลอบอิสลามีย ์ เตหะราน 1365

16. ลูฆดั นอเมห์ อะลีอกั บัร เดห์คูดา ส�ำนักพิมพ์มหาลัยเตหะราน 1373

17. กอร์นอเมห์อสิ ลาม อับดุลฮุเซฯ ซะรีนโกบ ส�ำนักพิมพ์อะมีรกะบีร เตหะราน 1381

18. ตารีคกิตาบคอเนะห์ มะซาญิด มุฮมั มัดมักกีย ์ สุบาอีย ์ ส�ำนักพิมพ์บนุ ยอด ฟะชูเฮชฮอเย อิสลามีย ์ มัชฮัด 1373 19. อัลมิซาน ฟิ ตัฟซีรก์ ุรอาน มุฮมั มัด ฮุเซ็น ฏอบาฏอบาอีย ์ ส�ำนักพิมพ์ อัลอะลามีย ์ ลิลมัตบูอาต เบรุต ฮ.ศ.1394

20. มุจญมะอุลบาห์เรน ฟัครุดดีน ฏุรัยฮีย ์ พิมพ์ครัง้ ทีห่ นึ่ง เตหะราน 1375

21. อัคลาคนาศีรย์ นะศีรดุ ดีนฏูซีย ์ ส�ำนักพิมพ์เชรกัต สะฮามียอ์ นิ ติชารอต คอวาริซมีย ์ 1364

22. ฟัรแฮ็งค์ฟาร์ซี อุมดี ฮุเซน อุมดี ส�ำนักพิมพ์อะมีรกะบีร ์ เตหะราน 1371

23. ตัฟซีรอะยาชีย ์ ส�ำนักพิมพ์อลั มักตะบะห์อลั อาลามียะห์ อิสลามียะห์ เตหะราน

24. ซูฮรุ วะสุกูต ตะมัดดุนฮอ อัซ ดิเดฆอฮ์ กุรอาน อะลีการอมีย ์ ฟี รโี ดนีย ์ นะสีมอินติซอร กุม 1385 25. ซูฮรุ วะสุกูต ตะมัดดุนฮอ อัซ ดิเดฆอฮ์ กุรอาน อะลีการอมีย ์ ฟี รโี ดนีย ์ นะสีมอินติซอร กุม 1385 26. ตารีคฟัรแฮ็งก์ วะ ตะมัดดุนอิสลามีย ์ มุฮมั มัดริฏอ กาชิฟีย ์ ส�ำนักพิมพ์มรั กะเซ ญะฮอนีย ์ อุลูมลุ อิสลามีย ์ กุม 1384

สาส์น อิส ลาม

27. ซัร สะมีน ฮอเย คิ ล าฟัต ชัร กี ย ์ แปลโดย มะห์มูด อิร ฟาน ส�ำ นัก พิม พ์ อิล มีย ์ วะฟัรแฮ็งกคีย ์ เตหะราน

144

28. ตารีค ตะมัดดุน แปลโดยอับดุลฮุเซน ออเซรันค์ ส�ำนักพิมพ์มอุ ซั ซาซะห์ เคยฮาน เตหะราน 1366

29. บิฮารุลอันวาร์ มุฮมั มัดบาเกร มัจญลิซยี ์ ส�ำนักพิมพ์มอุ ซั ซาซะห์อลั วะฟาอ์ เบรุต 1404


30. ดอเนช์นอเมะห์ กุรอาน วะฮะดิษ มุฮมั มะดียเ์ รชาห์รีย ์ ส�ำนักพิมพ์ดารุลฮะดิษ กุม พิมพ์ครัง้ ที1่ 1390 31. ตัฟซีรนะมูเนห์ นาศีรมะการีม ชีรอซีย ์ ส�ำนักพิมพ์ ดารุลกุตูบอิสลามียะห์ เตหะราน พิมพ์ครัง้ ที1่ 1374

32. ฮะดิษ รุห ์ วะ กอลัม ส�ำนักพิมพ์อนิ ติชารอตอิสลามีย ์ เตหะราน 1390

33. วารสาร ตารีควะตะมัดดุนอิสลามีย ์ ปี ท9่ี ฉบับที1่ 8 ปี 1394

34. ตะมัดดุนฮอ วะ บอซอซีย ์ นิศอม ญะฮอนีย ์ ฮันติงตัน แปลโดย มีโนอะห์มดั ซัรตีบ ส�ำนักพิมพ์กติ าบสะรอ เตหะราน

สาส์น อิส ลาม

145



อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ในกระบวนทัศน์ของท่านอยาตุลลอฮ์ ซัยยิดอะลี คอมาเนอี ผูน้ � ำสูงสุดสาธารณะรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน มุฮมั หมัดริฎอ บะฮ์มนั นีย1์ อันศอร เหล็มปาน2 ปฐมบท นักคิดและนักวิชาการของโลกมากมายเชือ่ ว่า ท่านอยาตุลลอฮ์ซยั ยิดอะลีคาเมเนอี ผู ้น�ำสูงสุดการปฏิวตั อิ สิ ลามแห่งอิหร่าน คือ นักคิด นักปราชญ์ เป็ นผู ้ทรงความรูท้ ท่ี รงอิทธิพล ต่อโลกอิสลาม และในเวทีโลกมากทีส่ ุดคนหนึ่ง และความเป็ นปราชญ์ของท่านก็มมี าก่อนที่ ท่านจะขึ้นด�ำรงต�ำแหน่งผูน้ ำ� ทางการเมืองของประเทศ เสียอีก ฉะนัน้ จึงเห็นได้วา่ ทัศนะและ มุมมองของท่านในเรื่อง “อารยธรรมอิสลามยุคใหม่” ทีม่ ตี ่อสังคมอิหร่าน และโลกอิสลาม จึงเป็ นประเด็นทีพ่ เิ ศษสุดและถูกกล่าวถึงมากทีส่ ุดในขณะนี้ ในบทความนี้ ข้าพเจ้าได้พยายามแยกและอธิบาย โดยยึดเอาปาฐกถาของท่านใน ช่วงปี 1989 ถึง 2015 เป็ นแหล่งอ้างอิง และใช้วธิ กี ารก�ำหนดแนวความคิดพื้นฐาน แม้วา่ จะ ไม่วเิ คราะห์เจะลึกลงในรายละเอียดมากนักเป็ นเพราะแต่ละประเด็นนัน้ ต้องอาศัยการ วิเคราะห์เป็ นการเฉพาะในประเด็นนัน้ ๆต่างหาก แต่ในบทความนี้ ข้าพเจ้ามุ่งเน้นไปที่ โครงสร้างทัว่ ไป และองค์ประกอบหลักของแนวคิดและมุมมองของท่านใน “อารยธรรม อิสลามยุคใหม่” ในกระบวนทัศน์ของท่านอยาตุลลอฮ์ ซัยยิดอะลี คอมาเนอี ซึง่ ข้าพเจ้าจะ แบ่งออกเป็ น 3 ส่วนหลัก คือ สาส์น อิส ลาม

1. สมาชิกสภาวิชาการสถาบันวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมอิสลาม. 2. ปริญญาโท สาขาศาสนาเปรียบเทียบ มหาวิทยาลัยนานาชาติอมิ ามโคมัยนี่ เมืองกุม ประเทศอิหร่าน.

147


(1) วิเคราะห์ความเป็ นไปได้ หรือ ความเป็ นไปไม่ได้ของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ (2) แนวคิด (นิยาม) ของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ (3) การสร้างและพัฒนา “อารยธรรมอิสลามยุคใหม่” ในส่วนที่ 3 ซึง่ เกี่ยวข้องกับวิธกี ารบรรลุถงึ “อารยธรรมอิสลามยุคใหม่” มีการแยก ให้ศึกษาหมวดหมูต่ ่อไปนี้ 3.1 - ข้อก�ำหนดเบื้องต้นส�ำหรับการก่อตัวของอารยธรรมอิสลาม 3.2- ขัน้ ตอนการพัฒนาอารยธรรมอิสลาม 3.3- ข้อก�ำหนดเพือ่ ให้บรรลุอารยธรรมอิสลาม เป็ นทีน่ ่ากล่าวถึงว่า เนื่องจากตัวตนของอิสลามยุคใหม่ในมุมมองของท่านอยาตุ ลลอฮ์ซยั ยิดอะลี คอมาเนอี ได้ถูกเชื่อมโยงควบคู่ ไปกับการเติบโตของอารยธรรมของ สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่านไปด้วย ตัง้ แต่ช่วงปี 1989 ถึง 2015 และใช้วธิ กี ารก�ำหนดแนว ความคิดพื้นฐาน แม้วา่ จะไม่

สาส์น อิส ลาม

บทน� ำ

148

ในการวิเคราะห์กระแสแนวคิดของผูค้ นในอิหร่านร่วมสมัย นอกจากจะพบชื่ออยู่ สองชือ่ คือ แนวคิดแบบอนุรกั ษ์นยิ มบนแนวคิดสมัยใหม่ ยังคงได้เห็นอีกแนวคิดหนึ่งทีเ่ รียก ว่า “ความสมดุลระหว่างศาสนาและอารยธรรมยุคใหม่” ซึง่ เป็ นกลุม่ คนหัวก้าวหน้า โดยพวก เขาเชือ่ ว่า ศาสนา ต้องตอบสนองความต้องการของชีวติ ได้ในทุกยุคทุกสมัย และค�ำตอบของ ศาสนาสามารถน�ำมาเชือ่ มโยงกับอารยธรรมยุคใหม่ของโลกได้อย่างกลมกลืนและลงตัว กล่าว อีกนัยหนึ่งก็คอื จากมุมมองของกระแสความคิดนี้ การเจริญก้าวหน้าทางสังคมไม่วา่ จะมิติ ทาง วัตถุ และ จิตวิญญาณ ของชีวติ มนุษย์จะต้องควบคู่กนั ไปและไม่สามารถแยกออกจาก กันได้ แต่กค็ วรจะพยายามดึงค�ำตอบของศาสนาให้ตรงกับความต้องการของคน ทุกยุคทุก สมัยด้วย “มุมมองทีเ่ ป็ นระบบของศาสนา” นอกจากนี้การทีจ่ ะน�ำหลักการและค�ำสอนของ อิสลามมาใช้ในสังคมให้เป็ นจริงได้นนั้ ก็ตอ้ งสร้าง “แบบอย่างทีย่ ดึ โยงกับศาสนา” ขึ้น เพือ่


ให้ผูค้ นได้ยดึ เอาเป็ นแบบอย่าง ในแง่หนึ่งมันก็แตกต่างจากมุมมองของปัจเจกนิยมอนุรกั ษ์ นิยมและชาริอตั นิยม และในด้านหนึ่งมันตรงกันข้ามกับการยึดติดกับความทันสมัยของตะวัน ตกและความทันสมัยในยุคปัจจุบนั แต่เป็ นเป็ นความกลมกลืนลงตัวทีเ่ ราให้นยิ ามว่า “กรอบ ความคิดของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่” จุดเริ่มต้นของแนวความคิดนี้สามารถย้อนกลับไปสีส่ บิ ปี ห้าสิบปี ทผ่ี ่านมา โดยผู ้ ก่อตัง้ การปฏิวตั ิอิสลามแห่งอิหร่าน ท่านอิมามโคมัยนี (รฎ.) ผูน้ ำ� การปฏิวตั ิท่านอยาตุ ลลอฮ์ซยั ยิดอะลี คอมาเนอี ,ท่านชะฮีดมุเฏาะฮารี ถือว่าอยู่ในกลุม่ บุคคลทีม่ แี นวคิดเช่นนี้ ด้วยค�ำอธิบายนี้ ผูเ้ ขียนเชื่อว่าการสร้าง “ต้นแบบ” เพือ่ ความเจริญก้าวหน้าของสาธารณรัฐ อิสลามแห่งอิหร่ านขึ้นอยู่กบั การท�ำความเข้าใจ และการให้ทศั นะเปรียบเทียบเกี่ยวกับ อารยธรรม และในกระบวนการรับรู ้ และอ่านมิตทิ างความคิดของบุคคลทรงอิทธิพลทาง ความคิดทัง้ ในอดีต และปัจจุบนั ถือว่ามีความจ�ำเป็ นต่อแนวคิดและการเคลือ่ นไหวของการ ปฏิวตั นิ ้ ีเป็ นอย่างยิง่ ด้วยเหตุน้ ี แนวคิดเรื่อง “อารยธรรมในกระบวนทัศน์ของท่านอยาตุ ลลอฮ์ซยั ยิดอะลีคอมาเนอี” จึงมีความส�ำคัญเป็ นอย่างยิง่ โดยทัวไปการก่ ่ อตัวและวิวฒั นาการของความคิดและทฤษฎีได้รบั อิทธิพลจากบริบท ของปัจเจกบุคคล และสังคม และบทความนี้จะอ้างอิงจากสุนทรพจน์และถ้อยแถลงของท่า นอยาตุลลอฮ์ซยั ยิดคอมาเนอีในช่ วงการเป็ นผู น้ �ำหลายปี ท่ีผ่านมานี้เป็ นหลัก ถึงแม้ว่า อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ในกระบวนทัศน์ของท่านก่อเกิดความโดดเด่นในด้านองค์ความรู ้ และภาคสังคม และเกิดความสมบูรณ์ และเช่นกัน เงือ่ นไขทางสังคม การเมือง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม ก็เป็ นปัจจัยหนึ่งทีก่ ่อเกิดกระบวนทัศน์เช่นกัน ในบทน�ำสัน้ ๆ นี้โอกาสทีจ่ ะ ใส่รายละเอียดลงในบริบทและปัจจัยต่าง ๆ ของการก่อต่อของอารยธรรมในกระบวนทัศน์ ของท่านผูน้ ำ� สูงสุดย่อมเป็ นไปไม่ได้ เพียงแต่กล่าวถึงลักษณะบุคลิกภาพของท่านทีแ่ สดงให้ เห็นถึงความเป็ นอัจฉริยะของท่าน เช่น

สาส์น อิส ลาม

1. การเป็ นนักนิตศิ าสตร์ผูช้ ำ� ่ ชอง และการฮิจติฮาต (วินิจฉัย) ของท่าน กล่าวคือ ท่านอยาตุลลอฮ์ซยั ยิดอะลี คอมาเนอี ท่านมีสถานะภาพเป็ น ฟะกิฮ ์ (มุจตะฮิด) อย่างชัดเจน มีความยุตธิ รรม และมีเงือ่ นไขทีส่ มบูรณ์ของการเป็ นมุจตะฮิด เป็ นฟะกิฮท์ ม่ี คี วามเป็ นปราชญ์ สูง เข้าใจถึงบริบททางสังคมในยุคปัจจุบนั ได้เป็ นอย่างดี

149


2. ท่านเปิ ดกว้างด้านปรัชญาและเทววิทยา ความว่า ท่านอยาตุลลอฮ์ซยั ยิด อะลี คอมาเนอี มองว่า แนวคิดด้านปรัชญา กับการฮิจติฮาต และฟิ กฮ์ ไม่ได้เป็ นคู่ขนาดหรือขัด แย้งกันแต่อย่างใด ท่านมีความเชือ่ ว่าแนวคิดด้านปรัชญา ก็คอื สือ่ หนึ่งทีจ่ ะน�ำพาเราให้ได้เข้า ใกล ้อัลลอฮ์ (ซบ.) และท�ำให้รูจ้ กั แก่นแท้ของสิง่ มีชวี ติ ทัง้ หลาย ความว่า ในมุมหนึ่งเราต้อง รูว้ า่ ฮิกมะฮ์นนั้ ถูกรวมอยู่ใน ปรัชญา ,รหัสยะ ,ตรรกวิทยะ และต้องให้ความสนใจต่อสิง่ เหล่านี้ 3. ต�ำแหน่งทางการปกครอง และสังคม : มิตติ ่าง ๆ ทางความรู ้ และบุคลิกภาพ ของท่านอยาตุลลอฮ์ซยั ยิด อะลีคอมาเนอี ไม่ใช่อปุ สรรค์ท่จี ะไม่ให้ท่านปรากฎตัวในเวที การเมืองการปกครอง เช่น สภาผูแ้ ทน ประธานาธิปดี และปัจจุบนั ต�ำแหน่งสูงสุดของการ ปกครอง 4. ความสามารถในการรูส้ ภาพแวดล ้อมและเวที ทีต่ อ้ งเผชิญหน้า : เป็ นเวลา มากกว่าสองทศวรรษแล ้วทีพ่ สิ ูจน์ให้เห็นถึงความสามารถ และความเป็ นอัจริยะของท่านอยา ตุลลอฮ์ซยั ยิดอะลี คอมาเนอี ต่อความสามารถในการจ�ำแนกศรัตรู และรูท้ นั เหล่เหลีย่ มของ พวกเขา ทัง้ ปัญหาในประเทศ และปัญหาระหว่างประเทศ ท่านตัดสินใจได้อย่างเม่นย�ำยิง่ นัก และช่วยน�ำพาประชาชนและประเทศชาติให้หลุดพ้นจากแผนร้ายของชาติมหาอ�ำนาจ โดยลักษณะบุคลิกภาพเหล่านี้จะได้รบั การน�ำเสนอและอธิบายในบทความนี้ จนกลันกรองออกมาเป็ ่ นกระบวนทัศน์ของท่าน

สาส์น อิส ลาม

1. ความเป็ นไปได้ หรือความเป็ นไปไม่ได้ของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ดว้ ยการ เปิ ดเผยประสบการณ์ต่าง ๆ ของอารยธรรม

150

การศึกษาความเป็ นมาในประเด็นทางสังคมเป็ นเรือ่ งทีท่ กุ คนต่างให้การยอมรับ และ ให้ความส�ำคัญเป็ นอย่างยิง่ และในประเด็น “อารยธรรมอิสลามยุคใหม่” ทีบ่ างคนไม่ลงั เล ทีจ่ ะเข้ามามีส่วนร่วม เป็ นหนึ่งในหัวข้อทีม่ คี วามจ�ำเป็ นต้องดูภมู หิ ลังทางประวัตศิ าสตร์ ทีด่ ู เหมือนจะมีความจ�ำเป็ นอย่างยิ่งยวด และดู เหมือนว่าความจ�ำเป็ นนี้จึงท�ำให้ท่านอยาตุ ลลอฮ์อะลี คอมาเนอี ต้องเริ่มการน�ำเสนอ “อารยธรรมอิสลามยุคใหม่” ด้วยการย้อนไปดู ภูมหิ ลังทางประวัติศาสตร์เรื่องอารยธรรม ซึ่งท่านได้แบ่งอารยธรรมออกเป็ น สาม ช่วง


ด้ว ยกัน ดัง นี้ คือ ประสบการณ์อ ารยธรรมในยุ ค ของท่ า นศาสนาดามุฮ มั มัด (ซ็อ ลฯ) ประสบการณ์อารยธรรมของโลกตะวันตก (การวิพากษ์วจิ ารณ์และการสร้างความแตกต่าง) ประสบการณ์ทางอารยธรรมของสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่ าน โดยการวิเคราะห์ทาง ประวัตศิ าสตร์เกี่ยวกับความคิดทางอารยธรรมของพวกเขาทีม่ คี ุณลักษณะต่อไปนี้ 1. เป็ นอารยธรรมทีม่ คี วามจ�ำเริ่มต้นในยุคสมัยของท่านศาสดามุฮมั มัด (ซ็อลฯ) และเชือ่ มโยงมาถึงอารยธรรมของสาธาณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน การเริม่ ต้นของศาสนาอิสลาม กับบทบาทของท่านศาสดาอิสลามในการก่ อตัง้ อารยธรรมอิสลาม และความรุ่งโรจของ อารยธรรมอิสลามในศตวรรษทีส่ ามและสี่ และบทบาทของผูส้ บื ทอดต�ำแหน่งของท่านศาสดา โดยเฉพาะค�ำพูดและการกระท�ำของบรรดาอิมาม 2. นอกเหนือจากอารยธรรมอิสลามในยุคแรก ๆ แลว้ นักวิเคราะห์ยงั มองไปที่ อารยธรรมตะวันตก ซึง่ ไม่ได้เป็ นการวิจารณ์ในมุมมุมการเมือง แต่เน้นไปทางด้านวิชาการที่ ชี้ให้เห็นถึงปัญหาต่างๆ ในอารยธรรมตะวัน และสิง่ ทีไ่ ด้รบั ประโยชน์จากอารยธรรมของพวก เขา เช่น ประสบการณ์ดา้ นมนุษย์ศาสตร์ 3. ท่านอยาตุลลอฮ์อะลีคอมาเนอีมองว่า อารยธรรมของสาธาณรัฐอิสลามแห่ง อิหร่าน คืออารยธรรมของอิสลามในช่วงแรกทีเ่ ชื่อมต่อกันมา ท่านจึงหยิบยกประเด็นเรื่อง อารยธรรมนี้มาเป็ นหัวข้อทีม่ คี วามจ�ำเป็ นต่อการน�ำเสนอ ยุคนบีเป็ นต้นก�ำเนิดของอารยธรรมอิสลาม

สาส์น อิส ลาม

ศาสดาแห่งอิสลาม (ซ็อลฯ) ถือว่าเป็ นผูก้ ่อตัง้ อารยธรรมอิสลามทีย่ ง่ิ ใหญ่น้ ี ในช่วง เริ่มต้นของอิสลาม ท่านศาสดา (ซ็อลฯ) ศ่อฮาบะฮ์ และตัวแทนของท่านด้วยการพึง่ พาไปยัง อัลลอฮ์ได้ก่อตัง้ อารยธรรมอิสลามทีย่ ง่ิ ใหญ่น้ ีข้นึ มา (คอมาเนอี, 03/12/1368) ท่านศาสดา คือองค์ประกอบทีย่ ง่ิ ใหญ่ซง่ึ พระองค์ได้เตรียมพร้อมไว้ส�ำหรับการเคลือ่ นไหวทีย่ ง่ิ ใหญ่น้ เี พือ่ มนุษย์ชาติทงั้ หมด และท่านสามารถใช้เวลาในช่วง 23 ปี ก่อตัง้ อารยธรรมอิสลามทีส่ ูงส่งนี้ ขึ้นท่ามกลางปัญหาและอุปสรรค์มากมาย แต่ท่านก็ทำ� ส�ำเร็จและได้เปลีย่ นประวัตศิ าสตร์ท่ี ยังคงด�ำเนินต่อตราบจนวันนี้ และจะเจริญก้าวหน้าต่อไป ช่วง 23 ปี ถือว่าเป็ นระยะเวลาที่ สัน้ ผนวกกับ 13 ปี ตอ้ งต่อสูแ้ ละท�ำสงครามกับกลุม่ ผูต้ ่อต้าน ในช่วงเวลานี้ศาสดา (ซ็อลฯ)

151


สามารถปลูกต้นกล ้าเหล่านี้ รดน�ำ้ พรวนดินจนเติบโต โดยการสร้างอารยธรรมใหม่ข้นึ มาใน คราบสมุทรอาหรับ อันเป็ นอารยธรรมทีถ่ งึ จุดสูงสุดของอารยธรรมมนุษย์ในเวลาทีเ่ หมาะสม (คอมาเนอี , 04/09/1390) และจะเห็นได้วา่ ท่านอยาตุลลอฮ์อะลีคอมาเนอี มองการสร้าง อารยธรรมอิสลามของท่านศาสดามุฮมั มัดไว้บนสององค์ประกอบหลัก คือ การก�ำหนดจา กอัลลอฮ์ และการอบรมมนุษย์ ความรุ่งเรืองของอารยธรรมในศตวรรษที ่ 3 และ 4 ของฮิจญฺ เราะฮ์ศกั ราช ศตวรรษทีส่ ามและสีข่ องฮิจญฺเราะฮ์ถอื เป็ นยุคทองของอารยธรรมอิสลามในด้าน ของวิชาการและการเมืองทีถ่ กู ให้ความส�ำคัญอย่างมาก โดยเฉพาะศตวรรษทีส่ เ่ี ป็ นยุครุ่งโรจน์ ทางวิชาการ ต�ำราถูกเขียนขึ้นมากมาย บทวิจยั ต่างๆ ดังจะเห็นอ�ำนาจทางการเมือง อ�ำนาจ ทางวิชาการ อ�ำนาจความเจริญรุ่งเรือง อ�ำนาจแห่งการขับเคลือ่ นสังคม และอืน่ ๆ ค�ำถาม ทัง้ หมดเหล่านี้เป็ นผลมาจากอะไร? แน่นอนเป็ นผลมาจากอารยธรรมทีท่ ่านนบี (ซ็อลฯ) ได้ วางรากฐานไว้ และไม่มอี ารยธรรมใดในยุคสมัยนัน้ ทีจ่ ะมาต่อกรกับอารยธรรมทีย่ ง่ิ ใหญ่ของ อิสลามนี้ได้ ในศตวรรษที่สามและสี่ ในโลกทัง้ โลกของวันนัน้ ด้วยประวัติศาสตร์ของ อารยธรรมที่มรี ฐั บาลที่มอี ำ� นาจพร้อมด้วยมรดกทางประวัติศาสตร์ท่ีหลากหลาย ไม่มี อารยธรรมใดทีส่ งั เกตเห็นความยิง่ ใหญ่ และความเจริญรุ่งเรืองได้เท่ากับอารยธรรมอิสลาม อีกแล ้ว นี่คอื ความอัฉริยะของอิสลาม

สาส์น อิส ลาม

ค�ำพูดและการกระท�ำของบรรดาอิมามในการสร้างอารยธรรมอิสลาม

152

การวิเคราะห์และการได้มาซึง่ แบบอย่างจากค�ำพูด และการกระท�ำของบรรดาอิมาม ในการก่อก�ำเนิดอารยธรรมถือเป็ นสิ่งที่ตอ้ งให้ความส�ำคัญเป็ นอย่างยิ่ง และสิ่งที่มคี วาม จ�ำเป็ นต่ออารยธรรมอิสลามในการสร้างบุคลิกของปัจเจก หรือภาคสังคมทีผ่ ู ้คนทัวไปต้ ่ องการ สามารถค้นพบได้ในแบบฉบับของบรรดาอิมาม (อ.) และประชาชาติอสิ ลามทีเ่ ล็งเห็นถึงความ จ�ำเป็ นทีอ่ ารยธรรมต้องการ ก็สามารถค้นหาในริวายะฮ์ต่างๆ และแบบฉบับของบรรดาอิมา มได้ ดังทีท่ ่านอยาตุลลอฮ์อะลี คอมาเนอี ได้ยกริวายะฮ์ของท่านอิมามศอดิก (อ.) ทีบ่ นั ทึก ไว้ในหนังสือ ตะฟุล อุกูล ทีท่ ่านได้สงั ่ สอนแก่ อับดุลลอฮ์ บิน ญุนดับทีเ่ ต็มไปด้วยฮิกมะฮ์ ในสิง่ จ�ำเป็ นทีม่ นุษย์คนหนึ่งต้องมีในการใช้ชวี ติ อยู่ในสังคม ทีเ่ กี่ยวกับการสร้างบุคลิกให้แก่ ตัวเอง การใช้ชวี ติ ร่วมกับผูอ้ น่ื นี้คอื หนึ่งตัวอย่างจากหลายๆ ริวายะฮ์ทส่ี ะท้อนให้เห็นว่า แบบ


ฉบับของบรรดาอิมาม และการยึดวิถขี องพวกท่านเป็ นแม่แบบ คือการสืบทอดอารยธรรมที่ ท่านศาสดาได้วางรากฐานไว้นนั้ เอง การเติบโตทีไ่ ม่สมดุลของอารยธรรมตะวันตก อารยธรรมตะวันตกเป็ นอีกหนึ่งในอารยธรรมของมนุษย์ทม่ี บี ทบาทอยู่ในปัจจุบนั ทีอ่ ยู่ภายใต้เสียงวิพากษ์วจิ ารณ์ของนักวิจารณ์ทเ่ี ป็ นนักวิชาการตะวันตกเอง และไม่ใช่ตะวัน ตก และประเด็นทีถ่ กู วิจารณ์กค็ อื ด้านองค์ความรู ้ ,ด้านส่งเสริมด้านวัตถุ และอ�ำนาจเป็ น องค์ประกอบหลักของอารยธรรมตะวันตก แต่ในมุมมองของท่านอยาตุลลอฮ์ อะลีคอมา เนอี ท่านเชื่อว่า อารยธรรมตะวันตกไม่สามารถทีจ่ ะอยู่คงทนและตลอดไปได้ เพราะขาดซึง่ คุณธรรม ,จิตวิญญาณ และความยุตธิ รรม ไม่สามารถทีจ่ ะอยู่คงทนและตลอดไปได้ หรือ อธิบายอีกนัยหนึ่งว่า สิ่งที่เป็ นอันตรายต่อเสถียรภาพและความคงทนของอารยธรรมคือ ความไม่สมดุลในคุณลักษณะต่างๆ ของมัน เพราะอารยธรรมตะวัน คืออารยธรรมที่ ขาด องค์ความรู ้ ขาดจริยธรรมทีด่ งี าม ,เน้นวัตถุ ขาดซึง่ จิตวิญญาณ และศาสนา ,อ�ำนาจทีข่ าด ความยุตธิ รรม ตะวันตกไม่มแี ม้แต่ความกลมเกลียวและความสอดคลอ้ งทีล่ งตัวทีจ่ ำ� เป็ น ความซือ่ สัตย์ในส่วนประกอบต่างๆ จุดทีเ่ ติบโตทางวัตถุมากขึ้นโดยธรรมชาติของอารยธรรม ทางวัตถุคอื การเติมแต่งเผด็จการ และเพิกเฉยต่อส่วนทีเ่ หลือ ด้วยปัญหาเหล่านี้อารยธรรม ทางวัตถุของตะวันตกอ้างว่าเป็ นนิรนั ดร์! “แต่คำ� กล่าวอ้างนี้เป็ นค�ำกล่าวอ้างทีไ่ ร้เหตุผลไม่ สามารถจับต้องได้และล ้มเหลว” จิตวิญญาณของการท�ำงานและความมุง่ มัน่ เพียรพยายามในอารยธรรมตะวันตก

สาธารณรัฐอิสลามกับการแผ่ขยายอารยธรรมอิสลาม

สาส์น อิส ลาม

ในการวิเคราะห์ถงึ อารยธรรมตะวันตกอย่างเป็ นธรรม ก็ไม่สามารถมองข้ามในส่วน ทีเ่ ป็ นด้านบวกของพวกเขาได้ หนึ่งในค�ำกล่าวของท่านอยาตุลลอฮ์อะลี คอมาเนอี ถึงด้าน บวกของอารยธรรมตะวันตกในด้านของความมุง่ มันในการงานไว้ว่ ่ า “ทัง้ หมดของนักวิชาการ ตะวันตกในช่วง 400 ปี ทผ่ี า่ นมาทีไ่ ด้ทำ� ในสิง่ ทีย่ ง่ิ ใหญ่สำ� เร็จเพราะด้วยความมุง่ มันอย่ ่ างแน่ว แน่ต่อภาระกิจนัน้ จนท�ำให้ความก้าวหน้าทางวิชาการสมัยใหม่ของพวกเขาข้ามกระโดด ความ ว่า เพราะพวกเขามุง่ มัน่ และท�ำโดยจิตวิญญาณ เพราะเขาจึงส�ำเร็จ (คอมาเนอี 29/06/1373)

153


สาธารณรัฐอิสลามมีโอกาสและอิทธิพลอย่างยิ่งทีจ่ ะชุบชีวติ และฟื้ นฟูอารยธรรม อิสลาม และถือเป็ นหน้าทีข่ องรัฐบาล ทีก่ ล่าวไปแล ้ว ซึง่ ยอมรับว่ามันเป็ นสิง่ ส�ำคัญต่อรัฐบาล ทีต่ อ้ งปฏิบตั ติ ่อประชาชาติอสิ ลาม ด้วยเหตุน้ ี ท่านอายะตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอี ได้กล่าวว่า (14/06/1392) เป้ าหมายสาธารณรัฐอิสลามคือ “การก่อก�ำเนิดอารญธรรมอิสลาม” จากการพิจารณาถึงประสบการณ์ของสาธารณรัฐอิสลามในอดีต จะเป็ นบทสรุปได้ ดังทีท่ ่านอายะตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอี พยายามทีจ่ ะอธิบายถึงความเข้าใจหรือโลกทัศน์ของ อารยธรรม 1. จากอดีต สาธารณรัฐอิสลามได้ผา่ นเหตุการณ์ทส่ี ำ� คัญมากมาย เช่น มัชรูเฏาะ หรือ เลยไปจนถึงยุคซะฟาวี เกือบประมาณ 300 ปี ลว้ นแล ้วแต่เป็ นประสบการณ์ท่ี ส�ำคัญ 2. สาธารณรัฐอิสลามเป็ นส�ำนักคิดทีท่ รงคุณค่า ประจักษ์พยานคือการปฏิวตั อิ สิ ลาม แห่งอิหร่าน และสาธารณรัฐอิสลามก�ำลังพัฒนาการไปสู่ความสมบูรณ์ บ่งบอกถึง ความเข้าใจถึงแก่นอิสลามทีม่ รี ากฐานและผลผลิตมาจากสถาบันศาสนา 3. สาธารณรัฐอิสลามวางอยู่บนพื้นฐานของระบบการปกครองแบบ วิลายะตุลฟะกี ตลอดระยะเวลา 35 ปี ทีใ่ ช้ขบั เคลือ่ นอารยธรรม 4. สาธารณรัฐอิสลามมีข ้อมูลประสบการณ์กบั การเผชิญหน้า ร่วมสมัยกับอารยธรรม ตะวันตก

สาส์น อิส ลาม

5. ความเจริญก้าวหน้าทางวิชาการและอุตสาหกรรมของอิหร่าน ทีอ่ ยูใ่ นช่วงระบบการ ปกครองสาธารณรัฐอิสลามเพิม่ ขึ้นอย่างรวดเร็วกว่าเมือ่ เทียบกับในอดีต

154

จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น เป้ าหมายทีท่ า่ นอายะตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอี ได้อธิบาย ไว้ในหมวดเรือ่ งอารยธรรมนัน้ คือการวิเคราะห์ถงึ ผลิตผลอารยธรรม ตัง้ แต่ยคุ ต้น อิสลาม และการวิเคราะห์ถงึ อารยธรรมตะวันตกทีก่ ำ� ลังเสือ่ มสลาย ถือเป็ นเหตุผล ทีส่ ำ� คัญทีป่ ระชาชาติอสิ ลามหรือมวลมนุษยชาติทจ่ี ะช่วยกันสร้างอารยธรรมอิสลาม ยุคใหม่ เมือ่ เข้าใจโลกทัศน์ของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ แล ้วก็จะขอน�ำเข้าสู่ยุค


ขับเคลือ่ นอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ตามทัศนของท่านอายะตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอี 2. ความเข้าใจโลกทรรศน์อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ “อารยธรรม อิสลามยุคใหม่” จากคํานิยามทีท่านอายะตุลลอฮ์ คอเมเนอี ซึง่ เข้าใจ ได้จากการปาฐกถา ของท่านโดยเฉพาะทีเกีย่ วกับ องค์ประกอบ และเป้ าหมายของวัฒนธรรม อิสลามคือ หัวข้อหลักในปาฐกาของท่าน ก่อนอื่นอยากจะอธิบายเพิม่ เติมก่อนเข้าเนื้อหา ความเข้าใจใน 2 หัวข้อนี้ถอื ว่าสําคัญ คือ”ความสัมพันธ์ระหว่างอารยธรรมอิสลามกับการดาํ เนินชีวติ ของมนุษย์ “กับ” อิทธิพลของอายธรรมอิสลามและประชาติอสิ ลาม” ถือว่าเป็ นหัวข้อ หลักในปาฐกถาต่างๆ ของท่านอายะตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอี ความสําคัญระหว่าง “อารยธรรมอิสลาม” กับ “การดําเนินชีวติ ของมนุษย์” จากกระบวนทัศน์ของอายะตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอี อารยธรรมอิสลามกับการดํา เนินชีวติ ของมนุษย์มคี วามสัมพันธ์ทเี คียงคู่มาตลอด เช่นภายใต้คาํ นิยามทีวา่ “การดาํ รงค์ ชีวติ ทีด่ แี ละเกียรติยง่ิ ” ซึงจะประกอบไปด้วยคุณลักษณะ 4 ประการ เพือ่ การดําเนินชีวติ ในอารยธรรมอิสลาม (1) ความสูงส่งของจิตวิญญานและวัตถุนิยม (2) เป้ าหมาย (3) ระบบ ระเบียบ (4) ความสอดคล ้องระหว่างธรรมชาติและสภาพแวดล ้อมของการดําเนินชีวติ ซึง มนุษย์ไปถึงจุดสูงสุดได้ ท่านได้ช้ ใี ห้เห็นในบทปาฐกถา การด�ำเนินทีด่ แี ละมีเกียรติ ต้องอยู่ภายใต้ร่มเงาแห่งอารยธรรมอิสลาม ทีท่ ำ� ให้ เจริญ ทัง้ ทางวัต ถุแ ละจิต วิญ ญาณถึง ขัน้ สู ง สุ ด และพระผู เ้ ป็ น เจ้า ทรงพึง พอพระทัย “อารยธรรมอิสลาม” หมายถึง บรรยากาศทีท่ ำ� ให้มนุษย์เจริญสูงสุดทัง้ ทางจิตวิญญาณ และ วัตถุ” (อายะตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอี, 26/06/1373) “พระเจ้าได้สร้างมนุษย์มาเพือ่ พัฒนาไป ถึงซึง่ เป้ าหมายทีพ่ ระองค์สรรสร้างมา เป็ นการด�ำเนินชีวติ ทีด่ ี เป็ นการด�ำรงชีวติ อย่างมีเกียรติ มนุษย์มเี กียรติ มนุษย์มพี ลัง มีอำ� นาจในการบังคับบัญชา มีความคิดริเริม่ และมีการพัฒนา” (14/06/1392) สาส์น อิส ลาม

คุณสมบัตทิ ส่ี ำ� คัญอีกประการทีท่ า่ นให้ความส�ำคัญในการด�ำเนินชีวติ ในบรรยากาศ อารยธรรมอิสลาม คือ ระบบระเบียบ คือผลลัพธ์ของความรู ้ เป็ นบทเรียนทีด่ ี และท�ำให้ การด�ำเนินชีวิตเจริญก้าวหน้า อีกประการหนึ่งคือ การก�ำหนดทิศทางที่ถูกต้องก็เป็ น

155


คุณลักษณะทีด่ ใี นการด�ำเนินชีวติ ในกรอบของอารยธรรมอิสลาม ตามทัศนะของอายะตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอีเช่นกัน หรือในการขยายความหมายทีว่ า่ ระบบระเบียบในการด�ำเนินชีวติ คือ อารยธรรมอิสลามทีม่ ที ศิ ทาง ซึง่ จะท�ำให้มนุษย์ได้รบั ความพึงพอพระทัยจากพระผูเ้ ป็ นเจ้า หรือค�ำนิยามทีว่ า่ “การเคร่งครัดศาสนา กับอารยธรรม ท�ำไมถึงจะต้องขัดแย้งกัน? อารยธรรม หมายถึง การมีทศิ ทางทีถ่ กู ต้องในการด�ำเนินชีวติ และความยุตธิ รรม ความจริงใจ เอื้อเฟื้ อ เผือ่ แผ่ สิง่ เหล่านี้ มันจะขัดแย้งกันได้อย่างไร? ถ้าเราจะท�ำตามความประสงค์ของพระผูเ้ ป็ น เจ้า มนุษย์สามารถก�ำหนดทิศทางเหล่านี้ ในการด�ำเนินชีวติ ดังทีน่ กั คิด นักวิชาการมากมาย ของเรา เป็ นผูท้ เ่ี คร่งครัดศาสนาซึง่ ก็เช่นกัน ผูป้ ฏิบตั ติ ามแนวทางอารยธรรมของยุโรปก็เป็ น ผูท้ เ่ี คร่งครัดอยู่ไม่นอ้ ย (อายะตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอี, 14/11/1376) จากสิง่ ทีท่ ่านพยายาม ทีจ่ ะกล่าวถึงคือ การด�ำรงชีวติ คืออารยธรรมส�ำหรับมนุษย์ เงือ่ นไขทางภูมศิ าสตร์และสภาพ แวดล ้อมก็มสี ว่ นด้วยเหตุผลดังกล่าว อารยธรรมทีแ่ ท้จริง ของชาวอิหร่านนัน้ ก็คอื อารยธรรม อิหร่าน อารยธรรมทีร่ วบรวมเข้ากับเงือ่ นไขของการด�ำรงชีวติ ในประเทศนี้ และผสมผสาน เข้ากับศักยภาพและคุณลักษณะของชาวอิหร่าน “อารยธรรมทีแ่ ท้จริงของประชาชาติของเรา คือ อารยธรรมอิหร่าน อารยธรรมทีเ่ กี่ยวโยงกับเรา ซึง่ มันผสมผสานเข้ากับศักยภาพและ คุณลักษณะของการด�ำเนินชีวติ แบบพวกเรา” (อายะตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอี, 12/02/1380)

สาส์น อิส ลาม

ความสัมพันธ์ระหว่างค�ำว่า “อารยธรรมอิสลาม” และ “ประชาชาติอสิ ลาม”

156

ความหมายของอารยธรรมทีท่ ่านอายะตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอี พยายามจะสือ่ คือ อารยธรรมกับประชาชาติ เป็ นพื้นฐานประกอบ หลายครัง้ ในปาฐกถาของท่านเมือ่ กล่าวถึง อารยธรรมอิสลาม ก็จะกล่าวถึงประชาชาติอสิ ลามด้วย ประเด็นที่สำ� คัญท่านได้กล่าวถึง ประชาชาติต่างๆ ถือว่าเป็ นส่วนหนึ่งของประชาชาติอสิ ลาม ตามเป้ าประสงค์แห่งอัลกุรอาน “ประชาชาติอสิ ลามภายใต้สญั ชาติและประเทศต่างๆ ในบริบทของตนทีจ่ ำ� เป็ นต้องอยู่ภายใต้ กรอบอารยธรรมแห่งอัลกุรอาน” (อายะตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอี, 09/02/1392) ดังเช่น สถานการณ์ลา่ สุดเมือ่ หลายปี ทผ่ี ่านมานี้ คือการตื่นตัวของประชาชาติอสิ ลาม ท่านได้กล่าว ในปาฐกถา หรือ สาส์น ทีก่ ล่าวถึงเรื่องดังกล่าว “เป้ าหมายสูงสุดคือ เอกภาพของประชาชาติ อิสลาม หนึ่งเดียวจะก่อก�ำเนิดอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ บนพื้นฐานของศาสนา สติปญั ญา ความรู ้ และจริยธรรม” (อายะตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอี, 26/06/1390) ท่านได้กล่าวอีกว่า “การ ตืน่ ตัวของประชาชาติอสิ ลามวันนี้คอื สารบัญของปัญหาต่างๆของโลกอิสลามและประชาชาติ


อิสลาม สถานการณ์ต่างๆ ทีเ่ กิดขึ้น หากรอดปลอดภัยด้วยพระประสงค์ของอัลลอฮ์ (ซบ.) และยังด�ำเนินอยู่ต่อไป ก็จะเป็ นพลังขับเคลือ่ นให้กำ� เนิดอารยธรรมอิสลาม เพือ่ ประชาชาติ อิสลามและมวลมนุษยชาติในไม่ชา้ นี้ (อายะตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอี, 09/02/1392) ทัศนะของท่านเกี่ยวกับ ประชาชาติอสิ ลาม และอารยธรรมอิสลามนัน้ ไม่ใช่เฉพาะ ช่วงเวลาแห่งการตื่นตัวของโลกอิสลามเท่านัน้ ก่ อนหน้านี้ท่านก็กล่าวถึง “การพลิกฟื้ น ประชาชาติแห่งอัลกุรอานและอารยธรรมอิสลามยุคใหม่” เช่นในปี 1387 ท่านได้กล่าวถึง สาส์นทีส่ ่งให้ฮจุ ญาตว่า “ข้าพเจ้าขอกล่าวด้วยความันใจว่ ่ า ขณะนี้พนั ธะสัญญาทีพ่ ระผูเ้ ป้ น เจ้าได้สญั ญาไว้นนั้ ใกล ้จะเป็ นจริงแล ้ว หมายถึงการมีชยั ของธรรมเหนืออธรรมทัง้ มวล และ การพลิกฟื้ นประชาชาติแห่งอัลกุรอานและอารยธรรมอิสลาม (อายะตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอี, 17/09/1387) ด้วยเหตุผลทีท่ ศั นะของท่าน “ในโลกอิสลามมองสาธารณรัฐอิสลามว่า คือผู ้ พลิกฟื้ นประชาชาติ และประชาชาติอสิ ลามนัน้ อยู่ในความสนใจ” (อายะตุลลอฮ์ อะลี คอเม เนอี, 14/03/1394) ทัง้ หมดทีก่ ล่าวมาตามกระบวนทัศน์ของท่านอายะตุลลอฮ์ อะลี คอเม เนอี สามารถสรุปอารยธรรมอิสลามได้ดงั นี้ ประการแรก ท่านให้ความหมายว่า อารยธรรมอิสลาม คือ ระบบระเบียบในการ ด�ำเนินชีวติ อย่างมีเกียรติ ท�ำให้มนุษย์มคี วามกระตือรือร้น เพือ่ ไปถึงซึง่ เป้ าหมายสูงสุดทีพ่ ระ ผูเ้ ป็ นเจ้าทรงพอพระทัย ประการทีส่ อง ท่านให้ความหมายว่า อารยธรรมอิสลาม คือการจับจ้องทีเ่ ป้ าหมาย สูงสุดและขับเคลือ่ นประชาชาติอสิ ลามท่ามกลางมวลมนุ ษยชาติ และอารยธรรมอิสลามที่ ยอมรับความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรมต่างๆ จากเหตุผลดังกล่าวอธิบายถึงองค์ประกอบและเป้ าหมายของอารยธรรมอิสลาม ตามทัศนะของอายะตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอีดงั ต่อไปนี้ รากฐานของอารยธรรมอิสลาม สาส์น อิส ลาม

เมือ่ กล่าวถึงค�ำว่ารากฐาน มันก็คือส่วนหนึ่งขององค์ประกอบซึง่ มีความเกี่ยวพัน กัน เมือ่ พูดถึงอารยธรรมอิสลามที่เกี่ยวพันกันกับพื้นฐานที่ท่านศาสดา (ซ็อลฯ) “ได้วาง รากฐานเอาไว้เพือ่ มนุษยชาติ และความสมบูรณ์ของมนุษย์ เราเก็บรักษาไว้อย่างไม่รูค้ ุณค่า

157


ทัง้ ทีม่ นั สามารถส่งเสริมให้มนุษยชาติได้รบั ความไพบูลย์ ความสมบูรณ์ ทัง้ ด้านวัตถุและจิต วิญญาณ รากฐานทีท่ ่านศาสดา (ซ็อลฯ) ได้วางเอาไว้ เช่น ความศรัทธา สอดคล ้องกับสติ ปัญญา ความมานะพยายาม และเกียรติยศ ลว้ นเป็ นรากฐานของสังคมอิสลาม” (อายะ ตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอี, 09/04/1390) รากฐานต่างๆ ตามทัศนะของท่านอายะตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอี ก) ความศรัทธา การศึกษาเอกภาพของพระผูเ้ ป็ นเจ้าในอิสลาม คือรากฐานทีส่ ำ� คัญ การด�ำเนินชีวติ จะต้องมีหลักศรัทธาหากปราศจากศรัทธาแล ้ว คงยากทีจ่ ะเจริญก้าวหน้าใน ด้านต่างๆ งานต่างๆ ก็จะไม่ถกู ต้อง การศรัทธาทีก่ ล่าวถึงไม่วา่ จะอยู่ในระบอบใดก็ตาม จะ ทุนนิยม สังคมนิยม หรือคอมมิวนิสต์ (อายะตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอี, 23/07/1391) “สังคม ขับเคลือ่ นตามเอกภาพ (เตาฮีด) คือความดีงามทีส่ ามารถจะพลิกฟื้ นอารยธรรมได้ จะสร้าง อารยธรรมทีย่ ง่ิ ใหญ่ฝงั รากลึกและแผ่ขยายแนวความคิดและวัฒนธรรมของตนแด่มนุษยชาติ ได้ ดังนัน้ ประการแรกทีก่ ารสร้างอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ตอ้ งการคือ ความศรัทธา ความ ศรัทธาทีเ่ กี่ยวพันกับอิสลาม ความศรัทธาของเรา คือการศรัทธาในอิสลาม” ปัจจัยดังกล่าวคือ องค์ประกอบในการสร้างอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ทีต่ อ้ งเชื่อ ในเอกภาพ (เตาฮีด) ทัง้ ในทางทฤษฎีและการปฏิบตั ิ ถ้าต้องการจะรูถ้ งึ คุณค่าต่างๆ ของ อิสลามทีใ่ ช้สร้างอารยธรรมอิสลาม ก็จำ� เป็ นทีจ่ ะต้องรูถ้ งึ คุณค่าต่างๆ ของเอกภาพ (เตาฮีด) ทีท่ ่านอายะตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอีได้อธิบายไว้ดงั นี้ - เตาฮีด หมายถึง ละทิ้งการบูชา ภักดี สิง่ อืน่ จาก อัลลอฮ์ (ซบ) - เตาฮีด หมายถึง การปฏิเสธ อํานาจปกครองทีกดขี่ - เตาฮีด หมายถึง การไม่เกรงกลัวต่อผูล้ ะเมิดสร้างความเสียหายบนหน้าแผ่นดิน

สาส์น อิส ลาม

- เตาฮีด หมายถึง ความเชื่อมัน่ ศรัทธา ต่อพลังอํานาจทีอลั ลอฮ์ (ซบ) ได้บรรจุไว้ ให้แก่มนุษย์

158

- เตาฮีด หมายถึงความเชือ่ มันต่ ่ อพันธะสัญญา ทีพ่ ระผูเ้ ป็ นเจ้าได้สญั ญาไว้เกี่ยวกับ ผูท้ ถี กู กดขี่ (เชค ชะฟี ก ญุรอดี, 1392)


ข) องค์ความรูท้ เ่ี ป็ นการถ่ายทอดตามตัวบท และการใช้สติปญั ญานัน้ ต้องไปด้วย กัน ตามทัศนะของอายะตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอี การทีจ่ ะขับเคลือ่ นอารยธรรมได้นนั้ ต้องมี ความซือ่ สัตย์ คัมภีรอ์ ลั กุรอาน และซุนนะฮ์ อีกทัง้ ต้องสอดคล ้องกับสติปญั ญา “ในอิสลาม แหล่งทีม่ าของข้อพิสูจน์เพือ่ ให้ได้มาซึง่ หลักศรัทธา และศาสนบัญญัตทิ างศาสนานัน้ คือ สติ ปัญญา ถือเป็ นข้อพิสูจน์ประการหนึ่ง (อายะตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอี, 05/07/1383) ตามทัศนะดังกล่าวของท่านอายะตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอี ทัง้ ตัวบทหลักฐานและสติ ปัญญา มันคือความสอดคล ้องขององค์ประกอบทัง้ สองเช่น “ในส�ำนักคิดของอิมามโคมัยนี ก็เช่นกัน ประกอบไปด้วยหลายมิติ แต่ทเ่ี ป็ นมิตหิ ลักมี 2 มิติ มิตทิ างด้านจิตวิญญาณ และ มิตดิ า้ นสติปญั ญา (อายะตุลลอฮ์ อะลั คอเมเนอี, 14/03/1390) การแต่งตัง้ ศาสนทูต (ซ็อลฯ) เป็ นทีม่ าของวะฮ์ยูและศาสนาอิสลาม แต่ทศั นะของ ท่านอายะตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอีกย็ งั เชื่อว่า “สิง่ แรกทีท่ ่านศาสดา (ซ็อลฯ) ปฏิบตั คิ อื การก ระตุน้ สติปญั ญา ให้เกิดพลังความคิด ส่งเสริมให้พลังความคิดมีความเข้มแข็ง สติปญั ญา ท�ำให้มนุษย์กา้ วหน้า และดึงมนุษย์เข้าใกลศ้ าสนา สติปญั ญาบังคับให้มนุษย์ตอ้ งภักดีต่อ พระผูเ้ ป็ นเจ้า สติปญั ญาท�ำให้มนุษย์ออกจากพฤติกรรมทีโ่ ง่เขลา ชัว่ ร้าย ดังนัน้ หน้าทีข่ อง เราประการแรก คือ การส่งเสริมให้สติปญั ญามีความเข้มแข็ง (อายะตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอี, 29/04/1388)

สาส์น อิส ลาม

ค) เกียรติยศและการไม่ตดิ ยึด บางครัง้ เราแสวงหาเกียรติยศจากอารยธรรม “ถ้า อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ปรากฎขึ้น เมือ่ นัน้ ประชาชาติอหิ ร่านจะอยู่จดุ สูงสุดของเกียรติยศ ความมังคั ่ ง่ ความสะดวกสบาย ความมันคง ่ และมีเกียรติในระดับสากล” (อายะตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอี, 23/07/1391) แต่เกียรติยศคือองค์ประกอบพื้นฐานทีส่ ำ� คัญของอารยธรรมอิสลาม จึงไม่สามารถยอมรับ การเกี่ยวพันหรือยึดโยงกับอารยธรรมอืน่ ได้ ถือเป็ นสิง่ ไร้เกียรติ ดัง นัน้ การขับเคลือ่ นอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ประการแรก คือต้องไม่ลอกเลียนแบบอารยธรรม ตะวันตก แต่หน้าเสียดายหลายปี ทผ่ี ่านมาเราคุน้ เคยกับการลอกเลียนแบบ ด้วยเหตุน้ ีการ ขับเคลือ่ นอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ จะต้องไม่ลอกเลียนแบบ เหตุการณ์แบบนี้เช่น “นัก วิชาการกล่าวถึง บางประเทศที่มคี วามเจริญทางเศรษฐกิจเป็ นแบบอย่าง แม้ว่าเขาจะมี เทคโนโลยี อุตสาหกรรมทีท่ นั สมัยก็ตาม แต่พวกเขาคือผูล้ อกเลียนแบบ การลอกเลียนแบบ

159


ถูกตีตราประทับบนหน้าผาก เหตุผลดังกล่าวทีเ่ กิดขึ้นกับอารยธรรมตะวันตก ทีก่ ำ� ลังได้รบั ความเสียหาย แม้วา่ จะเจริญทางวัตถุกต็ ามถือว่าไม่มาก” ง) ความมุมานะพยายาม คือ คุณสมบัตพิ ้นื ฐานทีส่ ำ� คัญในการขับเคลือ่ นอารยธรรม “การพลิกฟื้ นอารยธรรมต่างถูกวางอยู่บนความมานะพยายาม ความดิ้นรนต่อสู ้ ไม่ใช่หมาย ถึงความล�ำบาก แต่มนั คือการสร้างสรรค์ ความแช่มชื่น ปัจจุบนั ยังจ�ำเป็ นต้องต่อสูด้ ้นิ รน ใครก็ตามทีเ่ ฉื่อยชา ขี้เกียจ ว่างงาน เหล่านี้คือผูไ้ ม่รูค้ ุณค่าเนีย๊ ะมัต (ความโปรดปราน) แห่งพระผูเ้ ป็ นเจ้า” (อายะตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอี, 11/02/1392) จากค�ำอธบายข้างต้น องค์ประกอบพื้นฐานของอารยธรรมอิสลามตามทัศนะของอะ ยาตุลลฮฮ์ อะลี คอเมเนอี หมายถึง •

การศรัทธาในอิสลาม และคุณค่าแห่งเอกภาพ (เตาฮีด)

การปฏิบตั ติ ามหลักฐานตัวบทและสติปญั ญา

ความมานะพยายามและเกียรติยศการไม่ลอกเลียนแบบ

เป้ าหมายของ “ความมีอารยะแบบอิสลาม” บทความทีท่ รงความหมายในล�ำดับที่ 2 ในการให้ความหมายของ “อารยธรรม” ตามทัศนของท่านอายะตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอี เป็ นบทความทีม่ ปี ระเด็นน่าสนใจ, ท่านได้ อธิบายว่า อะไรคือ “ความมีอารยะแบบอิสลาม” ท่านได้ช้ ชี วนให้เห็นถึงเป้ าหมายของ “ความ มีอารยะแบบอิสลาม” ในห้วงเวลาทีแ่ ตกต่างกัน, เป้ าหมายของ “ความมีอารยะแบบอิสลาม” ในทัศนะของท่านนัน้ ต้องพิจารณาเรือ่ งกรอบแนวคิดทางเศรษฐกิจ สังคม วิชาการ เทคโนโลยี วัฒนธรรม โดยเฉพาะอย่างยิง่ กรอบทางจริยธรรมและจิตวิญญาณ.

สาส์น อิส ลาม

ก) ความก้าวหน้าด้านวัตถุ การพัฒนา การกระจายความมัง่ คัง่ และความโดดเด่น ทางเศรษฐกิจของโลกอิสลาม

160

ท่านอายะตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอี ได้เน้นย�ำ้ หลายต่อหลายครัง้ ถึงความโดดเด่น ของเศรษฐกิจและความก้าวหน้าด้านกายภาพในฐานะทีเ่ ป็ นเป้ าหมายอันชัดเจนของ “ความ


มีอารยะแบบอิสลาม”, แต่ทว่าความก้าวหน้าทีว่ า่ นัน้ ต้องมีเงือ่ นไขอันเป็ นทีย่ อมรับได้ อาทิ เช่น เงือ่ นไขส�ำคัญทีส่ ดุ ก็คอื ความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจต้องเป็ นไปพร้อมกับความยุตธิ รรม ทางสังคม ซึง่ ถูกกล่าวถึงในรูปลักษณ์ทเ่ี ป็ นเป้ าหมายเฉพาะ, เช่นเดียวกับทีท่ ่านก็ยงั มีคำ� อธิบายอืน่ ทีไ่ ด้ให้คำ� จ�ำกัดความ ถึงความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจในฐานะทีเ่ ป็ นบทน�ำส�ำหรับ ความมัน่ คง และความสงบของประชาชนทีว่ ่า “อารยธรรมกับแนวคิดอิสลามนัน้ ต้องการ ความก้าวหน้าทางวัตถุ, ความมันคงปลอดภั ่ ยของประชาชน ความสงบร่มเย็นของประชาชน ความอยู่ดกี นิ ดีของประชาชน และสภาพแวดล ้อมทีเ่ ป็ นมิตรต่อกันของผูค้ นนัน้ คือ ลักษณะ พิเศษของระบอบอิสลาม” (อายะตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอี, 20/8/1385) “ถึงแม้นว่าอิสลามคือ ขบวนการเคลือ่ นไหวทางจิตวิญญาณและจริยธรรม อีกทัง้ เป้ าหมายอันสู งส่งของอิสลาม ประกอบไปด้วยการสร้างให้มนุษย์มคี วามสมบูรณ์แบบ และสอดคล ้องกับมาตรฐานอิสลาม แต่ไม่ตอ้ งสงสัยเลยว่า ความก้าวหน้าด้านวิชาการ และเศรษฐกิจถือเป็ นส่วนหนึ่งของเป้ า หมายอิสลามด้วย, ความพยายามเพือ่ การพัฒนา การกระจายความมังคั ่ ง่ และความโดดเด่น ด้านเศรษฐกิจของโลกอิสลาม เป็ นงานทีอ่ ยูใ่ นส่วนหนึ่งของเป้ าหมายแห่งอิสลามอย่างไม่ตอ้ ง สงสัย”. (อายะตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอี, 25/6/1383) ข) ความก้าวไกลทางวิชาการและเทคโนโลยี “(อิสลาม) อ้างถึงความรูว้ ่า เป็ นขบวนการเคลือ่ นไหวทีส่ ำ� คัญทีส่ ุด เป็ นการขับ เคลือ่ นและกระตุน้ เตือนทีส่ ำ� คัญทีส่ ุด, อารยธรรมอิสลามเริ่มต้นและก่อก�ำเนิดด้วยความ จ�ำเริญของการเคลือ่ นไหวทางวิชาการ นับเนื่องตัง้ แต่วนั แรกแห่งรุ่งอรุณอิสลาม, ยังไม่ทนั ถึง 2 ศตวรรษทีอ่ สิ ลามถือก�ำเนิดมา การเคลือ่ นไหวด้านวิชาการก็เข้ามามีอทิ ธิพลในอิสลาม แล ้ว”. (อายะตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอี, 5/7/1383)

ค) การสถาปนาความยุตธิ รรมทางสังคม

สาส์น อิส ลาม

ท่านอายะตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอีมที ศั นะว่า ในอนาคต ประเทศชาติทจ่ี ะมีสถานะ ทางวิชาการทีส่ ูงสุดได้นนั้ ต้องพิจารณาถึงความก้าวหน้าของอารยธรรมอิสลามในอดีต โดย ท่านได้วางเป้ าหมายไว้วา่ : “ในด้านความรู ้ การเรียนรู ้ และตามมาด้วยศาสตร์ต่าง ๆ ซึง่ ต้อง ใช้องค์ความรูน้ นั้ ประเทศเราต้องเป็ นอันดับ 1 ให้ได้...เราต้องไปและต้องถึงเป้ าหมายนัน้ ”. (อายะตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอี, 19/8/1385)

161


สาส์น อิส ลาม

ในทัศนะของท่านอายะตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอี การให้ความสนใจในเรื่องความ ยุตธิ รรมตามความหมายทีพ่ จิ ารณากันในด้าน “ความมีอารยะแบบอิสลาม” นัน้ ต้องจริงจัง อย่างมาก เสมือนว่า “ความมีอารยะแบบอิสลาม” ทีป่ ราศจากซึง่ ความยุตธิ รรม ก็ไม่อาจให้ ความหมายใดได้เลย, สังคมใน “ความมีอารยะแบบอิสลาม” จะมีตวั ตนได้ตอ้ งเป็ นไปพร้อม กับความยุตธิ รรม : “ในสังคมต้องมีความยุตธิ รรมทางสังคม, ความยุตธิ รรมมิใช่หมายถึง ต้องปฏิบตั กิ บั ทุกคนให้เหมือนกันหมด แต่มนั คือการสร้างโอกาสให้เท่าเทียมกัน, การได้รบั สิทธิอย่างเท่าเทียมกันต่างหาก, ทุกคนต้องสามารถใช้ประโยชน์จากโอกาส ในการเคลือ่ น ขบวนการ และความก้าวหน้าไปพร้อมกัน, ด้วยอุง้ มือแห่งความยุตธิ รรมนัน่ เองทีจ่ ะกระชาก ปลอกคอของพวกกดขี่ และพวกรุกรานได้, ประชาชนต้องเกิดความมันใจ”. ่ (อายะตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอี, 20/8/1385) อีกมุมหนึ่ง ดังทีเ่ ราชี้ให้เห็นก่อนหน้านี้แล ้วว่า ความหมายของ ความยุตธิ รรมในทัศนะของท่านนัน้ ยังเป็ นมาตรวัดการวิพากษ์วจิ ารณ์อารยธรรมตะวันตก อีกด้วย, ท่านได้ช้ ใี ห้เห็นอย่างชัดเจนว่า “จากประสบการณ์ของโลกตะวันตก ความยุตธิ รรม ทางสังคมหรือแม้กระทัง่ ประชาธิปไตย ยังไม่มอี ยู่จริง”. (อายะตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอี, 19/2/1384) ความคิดของอายะตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอีในกรอบของความยุตธิ รรมมีความ โดดเด่นเป็ นพิเศษตรงทีท่ ่านไม่ได้พงึ พอใจแค่เพียงแสดงทัศนะเท่านัน้ แต่ท่านยังให้ความ สนใจในเรื่องรายละเอียดตามกรอบนัน้ และการยืนหยัดทีจ่ ะกระท�ำให้เห็นถึงความยุตธิ รรม ในสังคมอย่างเป็ นรูปธรรม, ตามความเชื่อของท่าน การเชิดชูความยุตธิ รรม ความใฝ่ ฝนั ให้ เกิดความยุตธิ รรม และการพูดในเรื่องความยุตธิ รรมนัน้ ยังไม่เพียงพอ, แต่ตอ้ งให้ความ ส�ำคัญในฐานราก ต้องมีการตรวจสอบสังคมอย่างเหมาะสม ในการน�ำเสนอให้เกิดความหลาก หลายต่อชีวติ ความเป็ นอยูข่ องทุกคนอันเป็ นการสนองตอบตามมาตรฐานแห่งความยุตธิ รรม. (อายะตุลลอฮ์ วาอิซ,ี 312 : 1392)

162

ประเด็นส�ำคัญในการวางเป้ าหมายของ “ความมีอารยะแบบอิสลาม” ทีว่ างอยู่บน พื้นฐานของความยุตธิ รรม ซึง่ เป้ าหมายอื่นก็ตอ้ งอยู่ในระนาบเดียวกัน, ท่านได้ตอกย�ำ้ ใน ประเด็นนี้ว่า “เราจะไม่ยอมรับความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจทีป่ ราศจากซึง่ หลักประกันแห่ง ความยุตธิ รรมทางสังคมเป็ นอันขาด เราไม่เชื่อเรื่องนัน้ ”. (อายะตุลลอฮ์ อะลี คอเมเนอี, 20/12/1392) ท่านยังได้เน้นในช่วงหลายปี ทผ่ี ่านมา และในกรอบของการพูดคุยทีส่ มั พันธ์ กับเรื่องอิสลามแห่งอิหร่านทีเ่ ป็ นต้นแบบทีม่ คี วามก้าวหน้าตามมาตรฐานความยุตธิ รรมว่า :


“หากประเทศชาติมคี วามก้าวหน้าในด้านความรู ้ เทคโนโลยี และมิตทิ แ่ี สดงให้เห็นถึงความ ก้าวหน้าทางวัตถุ แต่ไม่มคี วามยุตธิ รรมทางสังคม ในทัศนะของเราและตรรกะแบบอิสลาม แล ้ว นัน่ หาใช่ความก้าวหน้าไม่”, ในประเด็นนี้ยงั มีเรื่องความยุตธิ รรมทีเ่ กี่ยวข้องกับการถก เถียงทางด้านความเชือ่ , หรืออีกนัยหนึ่ง ท่านเชือ่ ว่า ความยุตธิ รรมอันมันคงนั ่ น้ ต้องเกีย่ วข้อง และมีความสัมพันธ์กบั กรอบทางด้านจิตวิญญาณ และความเชือ่ ในเรือ่ งทีม่ าและการคืนกลับ ด้วย : “ในประเด็นเรื่องความยุตธิ รรมนัน้ ความเชื่อเรื่องทีม่ าและการคืนกลับ (มะอาด) มี บทบาทขัน้ พื้นฐานเลยทีเดียว เราต้องไม่หลงลืมในประเด็นนี้เป็ นอันขาด ไม่อาจตัง้ ตารอคอย ให้สงั คมเกิดความยุตธิ รรมอย่างแท้จริง ในขณะทีไ่ ร้ฐานความเชื่อเรื่องทีม่ าและการคืนกลับ ทีใ่ ดก็ตามทีไ่ ม่มคี วามเชือ่ เรือ่ งทีม่ าและการคืนกลับ ความยุตธิ รรมก็เป็ นเพียงการขูเ่ ข็ญ การ บังคับ และการควบคุม”. ฉะนัน้ จ�ำเป็ นต้องกล่าวว่า เป้ าหมายในการก่อให้เกิดความยุตธิ รรมกับเป้ าหมาย อืน่ หมายถึง ความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจย่อมต้องมีสว่ นสัมพันธ์กบั ความก้าวหน้าทาง องค์ความรู ้ วิชาการ และความสูงส่งทางจิตวิญญาณด้วย หากขาดอันใดอันหนึ่งไปก็ไม่อาจ ท�ำให้ความยุตธิ รรมในสังคมนัน้ เกิดความมันคงสถาพรได้ ่ . จ. การส่งเสริมและค้นหาชีวติ ในอุดมคติของศาสนาอิสลาม

สาส์น อิส ลาม

“ระบบการปกครองของสาธารณรัฐอิสลามก่อตัวขึ้นท่ามกลางลมพายุของเหตุการณ์ ต่าง ๆ มากมาย ค�ำพูดนี้ถกู กล่าวไว้ในหลาย ๆ โอกาสด้วยกัน แต่ทว่าเราก็ไม่ควรทีจ่ ะลืม ว่าสโลแกนของระบบนี้คอื การเสริมสร้างศาสนาของพระผูเ้ ป็ นเจ้าในชีวติ ของผูค้ นในสังคม และในประเทศของพวกเขา หมายถึงการก�ำหนดขอบเขตการใช้ชวี ติ ในสังคมของพวกเรา ด้วยบัญญัตขิ องพระผูเ้ ป็ นเจ้า ศาสนาและสิง่ ต่าง ๆ ทีท่ รงคุณค่าทีพ่ ระผูเ้ ป็ นเจ้าได้มอบให้ ได้ก่อตัง้ ระบอบการปกครองหนึ่งขึ้นมาในโลกดุนยานี้ท่ี สองถึงสามศตวรรษทีผ่ ่านนัน้ ก�ำลัง มุง่ ไปสูค่ วามเป็ นวัตถุนยิ มด้วยความรวดเร็ว สิง่ ต่าง ๆ เหล่านี้เหมือนปาฏิหาริย ์ และปาฏิหาริย ์ นี้กไ็ ด้เกิดขึ้นจริง ๆ (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1392/06/14 หรือวันที่ 05/09/2013) พิจารณา จากความคิดเห็นของท่านอยาตุลลอฮ์ ซัยยิดอะลี คอมาเนอี (ซึง่ ได้รบั ความสนใจเป็ นอย่าง มาก) มีเรื่องราวจากสิง่ นัน้ ซึง่ เป้ าหมายทีส่ ำ� คัญ คือ “ให้การใช้ชวี ติ ของผูค้ น สังคมและ ประเทศชาติเปลีย่ นเป็ นศาสนา” วัตถุประสงค์หลัก คือ การก่อตัง้ ระบอบการปกครองของ

163


สาส์น อิส ลาม

สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ส�ำหรับการขับเคลือ่ นอารยธรรมอิสลาม เราต้องปรับเปลีย่ น ในด้านต่าง ๆ ไม่วา่ จะเป็ นคุณลักษณะ และวัฒนธรรมของการใช้ชวี ติ กล่าวคือ “เราจ�ำเป็ น ทีจ่ ะต้องแสวงหาซึง่ การปรับเปลีย่ นและแก้ไขวัฒนธรรมการใช้ชวี ติ ของเรา และค้นหาชีวติ ในรูปแบบของอุดมคติของศาสนาอิสลาม พื้นฐานของวัฒนธรรมนี้คอื ภูมปิ ญั ญา จริยธรรม และสิทธิต่าง ๆ สิง่ ต่าง ๆ เหล่านี้ทอ่ี สิ ลามได้มอบให้แก่พวกเราทุกคน หากพวกเราไม่ได้ให้ ความส�ำคัญต่อสิง่ เหล่านี้อย่างจริงจัง ก็ไม่สามารถทีจ่ ะให้ได้มาซึง่ ความก้าวหน้าของศาสนา อิสลาม และการก่อตัวของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่กไ็ ม่สามารถทีจ่ ะเกิดขึ้นได้ (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1391/07/23 หรือวันที่ 14/12/2012) ค�ำจ�ำกัดความนี้ยงั ยืนยันถึงความส�ำคัญของ เป้ าหมายใน “การท�ำให้ชวี ติ เปลีย่ นเป็ นอิสลาม” และ “การส่งเสริมและค้นหาชีวติ ในอุดมคติ ของศาสนาอิสลาม” ด้วยเช่นเดียวกัน

164

เมือ่ พิจารณาจากค�ำอธิบายของท่านอยาตุล้ ลอฮ เกี่ยวกับเป้ าหมายของอารยธรรม อิสลาม สามารถทีจ่ ะเข้าได้วา่ เป้ าหมายต่าง ๆ เหล่านี้จำ� เป็ นทีจ่ ะต้องพิจารณาให้อยู่ในกรอบ โครงสร้างหนึ่งทีเ่ ป็ นระบบ หรือจะอธิบายให้เข้าใจอีกนัยหนึ่งว่า ด้วยการแทนทีเ่ ป้ าหมายของ อารยธรรมอิสลามเรายังมี “ระบบเป้ าหมายของอารยธรรมอิสลาม” หรืออาจจะสามารถให้ข ้อ สรุปได้ดงั นี้ อารยธรรมอิสลามนัน้ มีการเคลือ่ นทีท่ ม่ี คี วามสมดุลในบัน้ ปลายของปลายทาง ของมัน ด้วยค�ำอธิบายนี้ ส�ำหรับทุก ๆ การติดตามจากเป้ าหมายของสังคม ไม่ควรทีจ่ ะละเลย กับเป้ าหมายอืน่ ๆ ทีม่ อี ยูแ่ ละมีความจ�ำเป็ นอยู่ ในอารยธรรมอิสลาม จากตรงนี้เองการพัฒนา เศรษฐกิจและการให้ได้มาซึง่ ความชอบธรรมในสังคม ทัง้ สองนี้จะต้องควบคู่ไปกับการส่ง เสริมทางด้านวัฒนธรรม จริยธรรมและจิตวิญญาณ และเช่นเดียวกันจะต้องได้รบั การส่ง เสริมในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึง่ ทัง้ หมดนี้จำ� เป็ นทีจ่ ะต้องอยู่ในวงโคจรทีส่ มดุล และพร้อมเพรียงกันเพือ่ ให้ได้การใช้ชวี ติ ในอุดมคติในศาสนาอิสลาม จากค�ำอธิบายนี้สามารถ เข้าใจได้วา่ เป้ าหมายของกฎหมายในอารยธรรมร่วมสมัยของอิสลาม คือ การให้ได้มาซึง่ การ ใช้ชวี ติ ทีเ่ หมาะสมของศาสนาอิสลาม และเป้ าหมายอืน่ ซึง่ เป็ นเป้ าหมายทีร่ องลงมาคือต้อง มองมายังเป้ าหมายหลัก แต่ทว่าทัง้ หมดจาก 5 เป้ าหมายนี้อยู่ในความสัมพันธ์และมีอทิ ธิพล ต่อกัน ดังแสดงในแผนผังข้างล่างนี้ ทว่าวิธที จ่ี ะบรรลุถงึ ความสมดุล และการเชื่อมสัมพันธ์ ระหว่างเป้ าหมายต่าง ๆ นี้ ในการให้ได้มาซึง่ อารยธรรมอิสลาม ในโลกของความเป็ นจริง ยัง คงเป็ นเครื่องหมายค�ำถามทีส่ ำ� คัญอยู่


ส่งเสริมด้านจริยธรรม และจิตวิญญาณ ส่งเสริมทางด้าน วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี

ชีวติ ในอุดมคติ ของศาสนาอิสลาม

สร้างความชอบธรรม ในสังคม

พัฒนาเศรษฐกิจ

ตัวชี้วดั ต่าง ๆ ต่อความสมดุลของอารยธรรมอิสลาม ยังมีองค์ประกอบอื่นทีจ่ ะต้องกล่าวถึง ส�ำหรับการเรียนรูแ้ นวคิดของอารยธรรม อิสลามจากมุมมองของท่านอยาตุลลอฮ์ อะลี คอมาเนอี นัน่ ก็คอื ประเด็นของตัวชี้วดั ต่าง ๆ ต่อความสมดุลของอารยธรรมอิสลาม ฯพณฯ ได้ช้ ใี ห้เห็นถึงข้อบัญญัตติ ่าง ๆ เช่น แนวทาง ความเป็ นไปได้ในการทดสอบและประเมินที่จะมอบให้แก่ยุทธการของอารยธรรมอิสลาม ส�ำหรับตัวชี้วดั นี้ไม่ใช่เพียงแค่อธิบายและท�ำความรูจ้ กั กับอารยธรรมอิสลามเพียงอย่างเดียว เท่านัน้ แต่ยงั แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างอารยธรรมอิสลามกับอารยธรรมอืน่ ๆ ด้วยเช่นกัน จากค�ำกล่าวของท่านอยาตุลลอฮ์ ซัยยิดอะลี คอมาเนอี ผูเ้ ขียนได้แบ่งตัวชี้วดั ต่าง ๆ เป็ นหมวดหมูด่ งั นี้ ก). ตัวชี้วดั หลัก ข). ตัวชี้วดั เชิงสัญลักษณ์ ค). ตัวชี้วดั ความแตก ต่าง ต่อไปจะกล่าวถึงรายละเอียดสัน้ ๆ ของแต่ละตัวชี้วดั ต่าง ๆ ดังนี้ ก). ตัวชี้วดั หลัก : ความเป็ นเลิศและความผาสุกของมนุ ษย์ทง้ั หลาย

สาส์น อิส ลาม

“ตัวชี้วดั หลักและเป็ นตัวบ่งชี้ขนั้ พื้นฐานของอารยธรรมนี้ คือ การทีม่ นุษย์นนั้ ได้รบั ประโยน์จากทุกสิง่ ทุกอย่างทัง้ ทางด้านวัตถุและจิตวิญญาณ ซึง่ พระองค์อลั ลอฮ์ (ซบ.) ได้ ทรงมอบให้แก่พวกเขา เพือ่ เติมเต็มความผาสุกและความเป็ นเลิศของพวกเขา ซึง่ ได้ประดับ เอาไว้ทงั้ ในโลกดุนยานี้และในตัวของพวกเขาเอง” (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1392/02/09 หรือ วันที่ 29/04/2013)

165


ข). ตัวชี้วดั เชิงสัญลักษณ์ : รูปลักษณ์ภายนอก จากทัศนะของท่านอยาตุลลอฮ์ ซัยยิดอะลี คอมาเนอี รูปลักษณ์ภายนอกของ อารยธรรมอิสลาม ก็มลี กั ษณะเฉพาะของมันอยู่ “รูปลักษณ์ภายนอกของอารยธรรมนี้สามารถ มองได้ ในระบอบการปกครองประชาชน ในกฎหมายทีน่ ำ� มาจากอัลกุรอาน ในการให้ความ รูแ้ ละให้คำ� ตอบต่อค�ำถามใหม่ ๆ ของมนุษย์ ในการออกห่างจากสิง่ ทีเ่ ป็ นบิดอะฮฺ (อุตริกรรม) ทัง้ หลาย ในการสร้างสวัสดิการและความมัง่ คัง่ ของประชาชน ในการจัดตัง้ กระบวนการ ยุติธรรม การแผ่ขยายของจริยธรรมของมนุ ษย์ การปกป้ องผูท้ ่ถี ูกกดขี่ ในความเพียร พยายาม และคิดค้นนวัตกรรม” เพราะฉะนัน้ สามารถทีจ่ ะกล่าวได้วา่ มาตฐานในการชี้วดั นัน้ คือ มองไปยัง คุณลักษณะทางด้านดุนยา (โลก) และการใช้ชวี ติ ของผูค้ นในอารยธรรมอิสลาม “ดุนยาของอารยธรรมอิสลาม คือ ดุนยาทีไ่ ด้เกิดขึ้นด้วยค�ำสอนทีท่ รงคุณค่าของท่านศาสดา มุฮมั มัด (ซ็อลฯ) และโองการอัลกุรอานของพระผูเ้ ป็ นเจ้าเพือ่ มนุษยชาติ คือ ดุนยาทีค่ ุม้ ค่า ส�ำหรับมนุษย์ ดุนยาทีเ่ ต็มไปด้วยความอุดมสมบูรณ์ สวัสดิการและพร้อมกับความก้าวหน้า ทางด้านวิชาการ ด้านอุตสาหกรรม และมีทงั้ สิง่ ทีจ่ ะช่วยยกระดับจิตวิญญาณ ดุนยาทีผ่ ูค้ น อยู่กนั อย่างสงบสุข รูส้ กึ ปลอดภัยและเชือ่ มันต่ ่ อกัน และความเป็ นมนุษย์กเ็ บ่งบานในดุนยา นี้” (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1376/02/03 หรือวันที่ 23/04/1997) จากตรงนี้เอง ดังทีไ่ ด้พจิ ารณา ดูแล ้วตัวชี้วดั เชิงสัญลักษณ์นนั้ มีทงั้ ด้านบวกและลบ

สาส์น อิส ลาม

ค). ตัวบ่งชี้ความแตกต่าง

166

ท่านอยาตุลลอฮ์ อะลี คาเมเนอี ยังได้กล่าวเสริมเกี่ยวกับเงือ่ นไขพิเศษตามทีไ่ ด้ กล่าวมาข้างต้นโดยได้อธิบายถึงตัวบ่งชี้เพือ่ การจ�ำแนกเพิม่ เติมไว้อกี ด้วย นัน่ ก็เพือ่ แสดงให้ เห็นถึงข้อแตกต่างระหว่างอารยธรรมอิสลามกับอารยธรรมตะวันตก โดยท่านมีความเชื่อว่า ยุคสมัยอารยธรรมอิสลาม มีความสามารถทีจ่ ะไปถึงล�ำดับขัน้ นัน้ ได้ ซึง่ อารยธรรมตะวันตก ก็ได้ประกาศเอาไว้หลายปี วา่ จะไปถึงจุดนัน้ และข้อบ่งชี้เหล่านัน้ คือ การมีอสิ ระเสรีภาพและ สิทธิของมนุษยชน ความเท่าเทียมกัน ความเป็ นระเบียบและการยึดในข้อบัญญัตติ ่างๆ โดย ท่านเชือ่ ว่ากิจการเหล่านี้คอื การต่อสูท้ ย่ี ง่ิ ใหญ่ และท่านได้เน้นย�ำ้ ว่า การต่อสูท้ ย่ี ง่ิ ใหญ่น้ คี อื ภารกิจหลักของพวกท่าน นัน่ ก็คอื ท�ำอย่างไรให้เสรีภาพและสิทธิมนุษยชนเหนือกว่าความ เป็ นเสรีนิยม และ ความเสมอภาคมีความเหนือกว่าลัทธิมากซ์ และความเป็ นระบบระเบียบ


ทีเ่ หนือกว่าฟาสซิสต์ตะวันตก และท�ำอย่างไรให้รกั ษาไว้ซง่ึ อิสลามอันสมบูรณ์โดยไม่แข็ง กระด้าง ท�ำอย่างไรให้มคี วามเป็ นเอกเทศแต่ไม่แตกแยก ท�ำอย่างไรให้มคี วามเจริญก้าวหน้า แต่ไม่พง่ึ พามหาอ�ำนาจ และควรบริหารความรูอ้ ย่างไรทีไ่ ม่ไปสู่การเป็ นเซคคิวลาร์ 3. การสร้างและพัฒนาอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ในส่วนของสองหัวข้อก่อนหน้านี้เราได้กล่าวถึง “ความเป็ นไปได้” และ “ค�ำนิยาม” ของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ในส่วนท้ายของบทความนี้เราจะกล่าวถึง “วิธีการบรรลุถงึ อารยธรรมอิสลามยุคใหม่” ตามทัศนของฯพณฯท่าน ในส่วนของหัวข้อทีส่ ามจากทัศนะของ ฯพณฯท่าน แบ่งออกเป็ น 3 ประเภทแนวคิดด้วยกัน ซึง่ ประกอบไปด้วย “ข้อก�ำหนดเบื้อง ต้น” “ขัน้ ตอนต่าง ๆ ” “ความจ�ำเป็ น” เพือ่ ทีจ่ ะบรรลุถงึ อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ บางทีเรื่อง ทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ คือเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับความจ�ำเป็ นทีส่ ำ� คัญส�ำหรับการบรรลุถงึ อารยธรรมอิสลาม อันที่จริงแลว้ ในหัวข้อนี้ได้ถูกน�ำเสนอเอาไว้อย่างเฉพาะ ซึ่งในเส้นทางแห่งอารยธรรมนี้ สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน จ�ำเป็ นทีจ่ ะต้องมีความเพียรพยายามในการด�ำเนินการเกี่ยว กับเรือ่ งนี้ ความจ�ำเป็ นนี้ยงั มี 2 หัวข้อให้คน้ หา ประกอบไปด้วย “ความจ�ำเป็ นทางด้านเตรียม การ” และ “ความจ�ำเป็ นทางด้านปฏิบตั กิ าร” ข้อก�ำหนดเบื้องต้นส�ำหรับการสร้างอารยธรรมอิสลาม เมือ่ พิจารณจากท่านอยาตุลลอฮ์ ซัยยิดอะลี คอมาเนอี สามารถทีจ่ ะน�ำเสนอองค์ ประกอบบางส่วนในฐานะของ ข้อก�ำหนดเบื้องต้นในการขับเคลือ่ นไปสู่อารยธรรมอิสลาม การรูจ้ กั สภาพแวดล ้อมและข้อก�ำหนดเบื้องต้นนี้สามารถช่วยประชาชาติอสิ ลาม ในการสร้าง อารยธรรมทีย่ ง่ิ ใหญ่น้ ีได้ 1. เรียนรูแ้ ละการเผชิญหน้ากับความท้าทายต่าง ๆ

สาส์น อิส ลาม

โลกสมัยใหม่จะต้องพบเจอกับปัญหาและค�ำถามใหม่ ๆ เกิดขึ้นทุกวัน การ ปกครองและอารยธรรมทีจ่ ะอยูร่ อดจากปัญหา คือการปกครองและอารยธรรมทีส่ ามารถเดิน ตามเส้นทางของวิวฒั นาการนี้ได้ เมือ่ เผชิญหน้ากับปัญหาต่าง ๆ เหล่านี้ “วัฒนธรรมอิสลาม และอารยธรรมอิสลามจะต้องต่อสูก้ บั ปัญหาใหม่ ๆ ทีเ่ กิดขึ้นอยู่เสมอ และยังจะต้องพบเจอ กับความท้าทายจากส�ำนักคิดและอารยธรรมอืน่ ๆ ด้วย” (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1381/11/16

167


หรือวันที่ 05/02/2003) ประเด็นทีน่ ่าสนใจในหัวข้อนี้ คือ ความท้าทายเหล่านี้ก่อให้เกิด ภูมคิ มุ ้ กันในการเรียนรูท้ ถ่ี กู ต้อง “ทุกวันนี้การปกครองของอิสลามจะต้องเผชิญหน้ากับความ ท้าทายทีใ่ หญ่หลวง หากเราไม่เรียนรูค้ วามท้าทายเหล่านี้ และถ้าหากเรายังไม่รูจ้ กั ศัตรูของ เรา ไม่วา่ จะเป็ นศัตรูทอ่ี าจจะเกิดขึ้น หรือศัตรูทม่ี อี ยู่ในขณะนี้ เราก็ไม่สามารถทีจ่ ะก�ำหนด บทบาททีถ่ กู ต้องได้” (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 14/08/1379 หรือวันที่ 04/10/2000 ) ด้วยเหตุ นี้เองสาธารณรัฐอิสลามได้ขบั เคลือ่ นวิวฒั นาการไปสูอ่ ารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ด้วยการเรียน รูท้ ถ่ี กู ต้อง และการเผชิญหน้าทีเ่ หมาะสมกับความท้าทายต่าง ๆ ทัง้ ภายในและภายนอก 2. ส่งเสริมและปกป้ องจากพื้นที่ของการวิพากษ์วจิ ารณ์ การผลิตวิชาความรูแ้ ละวิทยาศาสตร์เป็ นหนึ่งในข้อก�ำหนดทีแ่ น่ชดั ส�ำหรับการก่อ ตัง้ อารยธรรมอิสลาม ดังทีท่ ่านอายะตุลลอฮ์ อะลี คาเมเนอีได้อธิบายว่า “หากไม่มพี ้นื ทีใ่ น การวิพากษ์วจิ ารณ์ทถ่ี กู ต้อง และไม่มอี สิ ระในการพูดคุยหรือการอรรถาธิบายทีด่ ี การปกป้ อง ระบบอิสลาม และ การชี้นำ� ของบรรดาผูร้ ู ้ ในการผลิตความรูแ้ ละวิชาการศาสนา การสร้าง อารยธรรมและการสอนสังคม ก็ไม่อาจเกิดขึ้นได้และจะพบกับปัญหาอย่างมากมาย” ดังนัน้ อาจกล่าวได้วา่ การไปถึงยังอารยธรรมนัน้ จ�ำเป็ นจะต้องมีพ้นื ทีใ่ ห้คนในสังคมได้แสดงทัศนะ ของตนอย่างอิสระและวิพากษ์วจิ ารณ์ได้ ในขณะเดียวกันบรรดาผูร้ ูแ้ ละนักวิชาการก็ควรที่ จะชี้นำ� วิธที างและพื้นทีส่ ำ� หรับวิพากษ์วจิ ารณ์ดว้ ย

สาส์น อิส ลาม

3. วิสยั ทัศน์ในการสร้างอารยธรรม

168

กลุม่ หนึ่งจากนักวิจารณ์แนวทางของอารยธรรม ได้ถกเถียงกันเกี่ยวกับประเด็นนี้ ซึง่ สังคมในปัจจุบนั ของพวกเราจะต้องเผชิญกับปัญหาต่าง ๆ มากมาย และจ�ำเป็ นทีจ่ ะต้อง ให้ความส�ำคัญกับปัญหาต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึ้นในทุกวันนี้ ฉะนัน้ แล ้วการน�ำค�ำพูดจากอารยธรรม ของอนาคตมาใช้ ไม่สามารถแก้ปญั หาทีเ่ กิดขึ้นในปัจจุบนั นี้ได้ แต่ทว่าแนวทางของท่านอยา ตุลลอฮ์ ซัยยิดอะลี คอมาเนอี ทีม่ ตี ่อทัศนนี้คอื เรื่องราวของการสร้างอารยธรรมทีเ่ กิดขึ้น ในทุกยุคสมัยของมนุษยชาติ จ�ำเป็ นทีจ่ ะต้องมีวสิ ยั ทัศน์ทก่ี า้ วไกลด้วยเช่นเดียวกัน ส�ำหรับ ค�ำอธิบายจากทัศนนี้ ฯพณฯ ได้ช้ใี ห้เห็นว่าบุคคลทีเ่ ป็ นผูศ้ รัทธาและเป็ นมุสลิมนัน้ อยูใ่ นฐานะ ของ “ปัจจัยส�ำคัญ” ในเรือ่ งนี้ “เป้ าหมายทีเ่ ราได้วางเอาไว้ส�ำหรับพวกเรา ต่อการวางโครงสร้าง ทีส่ ูงส่งนี้ ในฐานะของผูศ้ รัทธา ในฐานะของมุสลิม ในฐานะของผูอ้ าวุโสของส�ำนักคิดทีก่ ำ� ลัง


สาส์น อิส ลาม

ก้าวหน้า และในฐานะของกลุ่มคนผูม้ แี รงจูงใจ ซึ่งได้รบั ข่าวคราวจากความยิ่งใหญ่ของ อารยธรรมอิสลามในอนาคต และอีกหลายศตวรรษในอนาคต มีความจ�ำเป็ นทีจ่ ะต้องร�ำลึก ถึงอัลลอฮ์ (ซบ.) เพือ่ ทีจ่ ะขับเคลือ่ นไปในหนทางนี้ได้” (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1386/06/31 หรือวันที่ 22/09/2007) ฯพณฯ ยังได้กล่าวเอาไว้ในค�ำปราศรัยอืน่ ๆ “ด้วยความโปรดปราน ของพระผูเ้ ป็ นเจ้า ในอนาคตอีกหลายปี และอีกสิบ ๆ ปี ต่อจากนี้ไป โครงสร้างของอารยธรรม อันสูงส่งนี้จะถูกวางรากฐานเอาไว้ ณ ทีแ่ ห่งนี้และอีกหลาย ๆ แห่ง ความยิง่ ใหญ่ของอิสลาม และมุสลิมนัน้ จะแสดงให้เห็น ซึง่ จะไม่มคี วามจริงเหลืออยู่สำ� หรับความเย่อหยิง่ ของโลกใบ นี้” (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1373/08/11 หรือวันที่ 02/11/1994 ) และเช่นเดียวกัน ฯพณฯ ยังได้อธิบายเอาไว้ถงึ ช่วงเวลาที่รุ่งเรืองของอารยธรรมที่แท้จริงของอิสลาม คือช่วงเวลา เดียวกันกับการปรากฏกายของท่านอิมามมะฮ์ดี (อ.) “อารยธรรมและดุนยาทีแ่ ท้จริงของ อิสลาม จะเกิดขึ้นในยุคสมัยของการปรากฏกายของท่านอิมาม (อ.) ผูค้ นบางกลุม่ ได้อปุ ทาน ว่าห้วงเวลาของการปรากฏกายของท่านอิมามมะฮ์ดี (อ.) คือ ห้วงเวลาของยุคสุดท้ายของดุน ยา แต่ฉนั ขอกล่าวไว้เลยว่า มันคือจุดเริ่มต้นของดุนยาต่างหาก จุดเริ่มต้นของการขับเคลือ่ น มนุษยชาติในหนทางทีเ่ ทีย่ งตรงของพระผูเ้ ป็ นเจ้า ด้วยอุปสรรคทีน่ อ้ ยลงหรือไม่มอี ปุ สรรค ใด ๆ เลย ด้วยความเร็วทีส่ ูงขึ้นและด้วยสวัสดิการทัง้ หมดทีไ่ ด้ถกู เตรียมเอาไว้สำ� หรับการ ขับเคลือ่ นนี้ หากจะเปรียบเส้นทางทีเ่ ทีย่ งตรงของพระผูเ้ ป็ นเจ้าดังถนนเส้ ่ นตรงและกว้างใหญ่ นี้ ให้พวกเราลองนึกภาพดูวา่ ตลอดช่วงหลายพันปี ทผ่ี ่านมาบรรดาศาสนทูตได้ถกู ส่งลงมา เพือ่ ทีจ่ ะช่วยเหลือมนุษยชาติจากหนทางทีค่ ดเคี้ยวไปสู่หนทางทีเ่ ทีย่ งตรงของพระองค์ และ เมือ่ ได้มาอยู่ในหนทางนี้กจ็ ะสามารถขับเคลือ่ นได้เร็วยิง่ ขึ้น ครอบคลุมได้ทวั ่ ถึงยิง่ ขึ้น และ ประสบความส�ำเร็จยิง่ ขึ้น และจะพบเจอกับความลม้ เหลวน้อยลงหรืออาจจะไม่พบเจอกับ ความล ้มเหลวใด ๆ เลย ยุคสมัยของการปรากฏกายคือยุคสมัยทีม่ นุษยชาติสามารถหายใจ ได้อย่าสะดวก สามารถทีจ่ ะเดินในหนทางของพระผูเ้ ป็ นเจ้าได้อย่างสะดวก และสามารถใช้ ประโยชน์จากพรสรรค์ต่าง ๆ ทีม่ อี ยู่ทงั้ ในโลกดุนยาและในตัวของมนุษย์เองได้อย่างเหมาะ สมทีส่ ุด” (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1379/07/14 หรือวันที่ 05/10/2000 ) ดังทีไ่ ด้กล่าวผ่านไป แล ้ว จากข้อก�ำหนดเบื้องต้นทัง้ 3 ประการ จากกรณีต่าง ๆ เหล่านี้สามารถกล่าวได้วา่ เมือ่ ในสังคมใดทีม่ องไปยังอนาคตด้วยความหวัง (ดังทีใ่ นศาสนาอิสลามโดยเฉพาะนิกายชีอะฮ์ นัน้ มีความหวังในยุคสมัยของการมาของท่านอิมามมะฮ์ดี (อ) ) และพร้อมด้วยจิตวิญญาณ ทีอ่ ดทนและเข้มแข็ง ซึง่ รอบกายนัน้ เต็มไปด้วยเงือ่ นไขและความท้าทายต่าง ๆ มากมาย

169


สังคมนัน้ ก�ำลังอยู่ในเส้นทางของการขับเคลือ่ นไปสู่อารยธรรมอิสลามอย่างแท้จริง ขัน้ ตอนในการก่อตัวของอารยธรรมอิสลาม ไม่ตอ้ งสงสัยเลยว่า ไม่มอี ารยธรรมไหนที่จะสามารถก่อตัวได้เพียงแค่ ครัง้ เดียว จ�ำเป็ นทีจ่ ะต้องใช้เวลา หนทาง การปกครองต่าง ๆ หนึ่งในองค์ประกอบทีส่ ำ� คัญทีส่ ุดจาก ทัศนะของท่านอยาตุลลอฮ์ ซัยยิดอะลี คอมาเนอี คือ การมองไปยังกระบวนการทีจ่ ะให้ได้ มาซึ่งอารยธรรมอิสลาม ถึงขนาดที่ว่ากระบวนการนี้ได้ม่งุ เน้นไปยังประสบการณ์ของ สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน “เรามีการปฏิวตั อิ สิ ลาม หลังจากนัน้ เราได้กำ� หนดรูปแบบการ ปกครองของอิสลาม ขัน้ ตอนหลังจากนัน้ คือสร้างรัฐของอิสลาม ขัน้ ตอนหลังจากนัน้ คือสร้าง ประเทศอิสลาม และในขัน้ ตอนสุดท้ายคือสร้างอารยธรรมระหว่างประเทศอิสลาม ในขณะ นี้เราอยู่ในขัน้ ตอนของรัฐอิสลาม และประเทศอิสลาม” (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1383/08/06 หรือวันที่ 27/10/2004) ในล�ำดับต่อไปขอน�ำเสนอกระบวนทัง้ 5 ประการนี้โดยสังเขป

สาส์น อิส ลาม

ขัน้ ตอนแรก การเกิดขึ้นของการปฏิวตั อิ สิ ลาม

170

ชัยชนะของการปฏิวตั แิ ละการเปลีย่ นแปลงทางการเมืองในประเทศคือจุดเริม่ ต้นของ การขับเคลือ่ นไปสู่อารยธรรมอิสลามยุคใหม่ ในการปฏิวตั นิ ้ ี “เป้ าหมายก็คือ เพือ่ ทีจ่ ะให้ ประเทศและด้วยการปกครองนี้สามารถใช้ประโยชน์จากสิง่ ทีด่ งี าม และความสิรมิ งคลทัง้ หลายทีพ่ ระผูเ้ ป็ นเจ้าได้มอบไว้แก่ประชาชาติของผูศ้ รัทธาทัง้ หลาย” (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1384/05/28 หรือวันที่ 19/08/2005 ) ทว่าหากเรามองความหมายของการปฏิวตั ใิ ห้กว้างยิง่ ขึ้น เราสามารถบอกได้วา่ ขัน้ ตอนนี้ยงั คงมีชวี ติ และมีพลังอยูเ่ สมอ ท่านอยาตุลลอฮ์ ซัยยิดอะ ลี คอมาเนอี ได้อธิบายถึงความหมายนี้เอาไว้วา่ “การปฏิวตั ไิ ม่ใช่กฎเกณฑ์ทต่ี ายตัวแต่เป็ น กฎเกณฑ์ทย่ี ดื หยุ่น ในขัน้ ตอนหนึ่ง การปฏิวตั สิ ามารถเปลีย่ นแปลงการปกครองได้ ถือเป็ น กฎเกณฑ์ทต่ี ายตัว แต่เมือ่ ยุคสมัยเปลีย่ นไป การปฏิวตั กิ จ็ ำ� เป็ นทีจ่ ะต้องปรับเปลีย่ น การ ปรับเปลีย่ นนี้เป็ นอย่างไร? การปรับเปลีย่ นนี้ก็คือ หากส่วนหนึ่งส่วนใดลา้ หลัง และไร้ซง่ึ วิวฒั นาการ ก็จำ� เป็ นทีจ่ ะต้องปรับปรุงส่วนนัน้ ให้ทนั โลกาภิวตั น์ และในทุก ๆ วันก็จะต้อง คิดค้นหนทางใหม่ ๆ การงานใหม่ ๆ แนวคิดใหม่ ๆ และรูปแบบใหม่ ๆ ภายใต้กรอบและ พื้นฐานอันทรงคุณค่าของมันให้เกิดขึ้นในสังคม และพัฒนาต่อไปจนกว่าประเทศจะสามารถ ขับเคลือ่ นไปยังเป้ าหมายของตัวเองได้อย่างเต็มภาคภูมแิ ละทรงพลัง การหันหลังกลับถือ


เป็ นสิง่ ทีผ่ ดิ พลาด การร่นถอยถือเป็ นสิง่ ทีข่ าดทุน แต่ทว่าการหยุดอยู่กบั ทีก่ ถ็ อื เป็ นสิง่ ทีผ่ ดิ พลาด จ�ำเป็ นทีจ่ ะต้องขับเคลือ่ นและเดินหน้าต่อไป” (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1379/02/23 หรือวันที่ 12/05/2000 ) ขัน้ ตอนที่สอง ก�ำหนดรูปแบบการปกครองของอิสลาม

สาส์น อิส ลาม

“การปกครองของอิสลาม หมายถึง การวางโครงสร้างและออกแบบทุกสิง่ ทุกอย่าง ของอิสลามในทีท่ ห่ี นึ่ง ดังเช่นตัวอย่างจากประเทศของเราทีถ่ ูกผูกขาดกับการปกครองใน ระบอบราชวงศ์ เผด็จการ และเป็ นระบบที่สบื ทอดกันรุ่นต่อรุ่นของชนชัน้ สู ง ซึ่งได้ถูก เปลีย่ นแปลงด้วยการแทนทีโ่ ดยระบบการปกครองของศาสนา ความย�ำเกรง และเป็ นระบบ ทีไ่ ด้รบั การเลือกตัง้ จากประชาชน”(ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1379/09/12หรือวันที่ 23/04/1997) เพราะฉะนัน้ ในระบบการปกครองของอิสลาม “ศาสนา คือ พื้นฐานและแก่นของกฎหมายใน ประเทศ และการขับเคลือ่ นของมนุษย์ คือ การขับเคลือ่ นไปสู่เป้ าหมายและปณิธานต่าง ๆ ของศาสนา นี้คอื ความหมายของการปกครองของอิสลาม” (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1384/05/28 หรือวันที่ 19/08/2005) ทัศนะของท่านอยาตุลลอฮ์ ซัยยิดอะลี คอมาเนอี จากประสบการณ์ ของสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน การวางรากฐานการปฏิวตั แิ ละการสร้างระบบการปกครอง “ ได้ถกู เตรียมการเอาไว้ในรูปแบบเช่นนี้ “ท่านอิมาม (อิมามโคมัยนี รฏ. ) ได้มอบหมายให้ ผูท้ รงคุณวุฒิ (คุบเรกอน) ทีไ่ ด้รบั การเลือกตัง้ มาร่างรัฐธรรมนู ญขึ้น เหล่าบรรดาผูร้ ่าง รัฐธรรมนู ญทีไ่ ด้รบั การเลือกตัง้ ขึ้นมาจากประชาชน เป็ นผูร้ ่างรัฐธรรมนู ญด้วยตัวของพวก เขาเอง หาใช่ว่าอิมาม (รฎ.) ได้รวบรวมผูค้ นเฉพาะขึ้นมากลุ่มหนึ่ง แลว้ ให้พวกเขาร่าง รัฐธรรมนู ญกันขึ้นมาเอง เหล่าบรรดาผูท้ รงคุณวุฒิ (คุบเรกอน) ล ้วนแล ้วแต่ได้รบั ความไว้ วางใจจากประชาชน ประชาชนได้เลือกผูท้ รงคุณวุฒิ (คุบเรกอน) ขึ้นมา ด้วยความเชื่อมัน่ ความไว้ใจของพวกเขาและพวกเขาก็ได้ร่วมกันร่างรัฐธรรมนู ญขึ้นมา หลังจากนัน้ อิมาม (รฏ.) ได้มอบรัฐธรรมนู ญฉบับบนี้ให้ประชาชนได้พจิ ารณาอีกครัง้ หนึ่ง โดยจัดให้มกี ารลงประชามติ ร่างรัฐธรรมนู ญในประเทศขึ้น นี้คอื หนึ่งในอัจฉริยภาพของอิมาม (รฏ.) จะเห็นได้วา่ อิมาม ได้วางรากฐานของระบอบการปกครองนี้เอาไว้อย่างมันคง ่ ทัง้ ในด้านของสิทธิมนุษยชน ทัง้ ในด้านของการเมืองการปกครอง ทัง้ ในด้านของกิจกรรมทางสังคม และทัง้ ในด้านของการ ส่งเสริมทางด้านวิชาการ อิมาม (รฏ.) ได้สร้างกฎทีแ่ ข็งแกร่งและมันคงเอาไว้ ่ และด้วยของ กฎเกณฑ์น้ ี สามารถทีจ่ ะสร้างอารยธรรมอิสลามทีย่ ง่ิ ใหญ่ให้เกิดขึ้นได้” (ซัยยิดอะลี คอมา

171


เนอี 1390/03/14 หรือวันที่ 04/06/2011) เพราะฉะนัน้ “เป็ นทีแ่ น่ชดั แล ้วว่า แหล่งทีม่ าของ กฎหมาย บรรทัดฐานกฎเกณฑ์ในการด�ำเนินการ และผูท้ ม่ี สี ทิ ธิในการตัดสินใจหลักๆ ต่อ กฎหมายในประเทศของเรานัน้ เป็ นอย่างไร องค์ประกอบทีส่ ำ� คัญของการปกครอง (อ�ำนาจ บริหาร อ�ำนาจนิตบิ ญั ญัติ ผูน้ ำ� สูงสุด อ�ำนาจตุลาการ และองค์ประกอบส�ำคัญอืน่ ๆ) ได้ถกู จัดตัง้ ขึ้น และเมือ่ รัฐธรรมนู ญได้เกิดขึ้น ก็ได้สร้างความเสถียรภาพให้แก่องค์ประกอบต่าง ๆเหล่านี้ทงั้ หมด ฉะนัน้ รากฐานของหลักการต่าง ๆ ได้ถกู วางไว้แล ้วเรียบร้อย” ขัน้ ตอนที่สาม การก่อตัง้ รัฐอิสลาม

สาส์น อิส ลาม

เมื่อพิจารณาจากค�ำกล่าวของท่านอยาตุลลอฮ์ ซัยยิดอะลี คอมาเนอี เกี่ยวกับ ขบวนการการขับเคลือ่ นสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ไปสูอ่ ารยธรรมอิสลามยุคใหม่ แสดง ให้เห็นว่าองค์ประกอบต่าง ๆ ของรัฐอิสลาม จ�ำเป็ นทีจ่ ะต้องตรวจสอบพฤติกรรมของผู ้บริหาร รัฐบาล และรวมไปถึงเจ้าหน้าทีข่ องรัฐอิสลามในทุกหน่วยงาน “ทุกวันนี้ประเทศของเรา – หมายถึง เจ้าหน้าทีข่ องผูอ้ ำ� นาจบริหาร อ�ำนาจนิตบิ ญั ญัติ อ�ำนาจตุลาการ ซึง่ ทัง้ หมดของ พวกเขาเหล่านี้คอื ประเทศอิสลาม – มีสง่ิ ทีด่ งี ามจากคุณค่าของอิสลาม แต่ยงั ไม่เพียงพอ เราจ�ำเป็ นทีจ่ ะต้องก้าวไปสูก่ ารใช้ชวี ติ แบบอิสลาม แบบมุสลิม แบบผูศ้ รัทธา ให้มากกว่าเดิม และจ�ำเป็ นที่จะต้องก้าวไปสู่การใช้ชีวติ แบบท่านอิมามอะลี (อ.) (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1383/08/06 หรือวันที่ 27/10/2004 ) อีกค�ำปราศรัยหนึ่ง ฯพณฯท่านอธิบายเกี่ยวกับรัฐ อิสลามไว้ว่า “เจ้าหน้าทีท่ งั้ หมดของการปกครองแบบอิสลามรวมอยู่ในรัฐอิสลามด้วยเช่น เดียวกัน ไม่ใช่เพียงแค่ อ�ำนาจบริหารเท่านัน้ กล่าวคือ ทัง้ ผูป้ กครองและเจ้าหน้าทีท่ วั ่ ไป จ�ำเป็ นทีจ่ ะต้องปฏิบตั ใิ ห้สอดคล ้องกับบรรทัดฐานของอิสลาม ทัง้ ในด้านของการอยูใ่ นสังคม ประพฤติสว่ นตัว และความสัมพันธ์ของพวกเขาระหว่างประชาชน เพือ่ ทีจ่ ะให้พวกเขาสามารถ บรรลุสูเ่ ป้ าหมายต่าง ๆ ได้ดว้ ยการปลูกฝังความเป็ นอิสามและตัง้ เป้ าหมายและมุง่ หน้าไปยัง เป้ าหมายนัน้ นี่คอื รัฐอิสลาม

172

จากทัศนะของท่านอยาตุลลอฮ์ ซัยยิดอะลี คอมาเนอี สรุปได้ดงั นี้ “ความหมายจาก สโลแกนของรัฐอิสลาม คือ เราต้องการที่จะให้ การกระท�ำของตัวบุคคล การปฏิบตั ิต่อ ประชาชน การปฏิบตั ริ ะหว่างพวกเราด้วยกันเอง และการปฏิบตั ริ ะหว่างประเทศอืน่ ๆ ให้ได้ เข้าใกล ้กับบรรทัดฐานและเงือ่ นไขของอิสลามให้ได้มากทีส่ ดุ สโลแกนนี้ถอื เป็ นสิง่ ทีท่ รงคุณค่า


อย่างมาก” ขัน้ ตอนที่ส่ี การก่อตัง้ ประเทศอิสลาม

ขัน้ ตอนที่หา้ การก่อตัง้ ของอารยธรรมระหว่างประเทศอิสลาม

สาส์น อิส ลาม

ความพยายามของรัฐอิสลามในการส่งเสริมและพัฒนาสิทธิและความชอบธรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ เพือ่ ทีจ่ ะก้าวจากขัน้ ตอนของรัฐอิสลามสู่ขนั้ ตอนของประเทศอิสลาม ถือเป็ น สิง่ ทีจ่ ำ� เป็ นอย่างมาก “สิทธิมนุษยชนและความชอบธรรมทัง้ หลายของมนุษย์ แม้เวลาจะล่วง เลยผ่านไปแต่สง่ิ เหล่านัน้ ไม่เคยเปลีย่ น จากวันแรกของประวัตศิ าสตร์จนถึงทุกวันนี้ และ จากวันนี้ไปจนถึงวันสิ้นโลก มนุษย์กย็ งั คงรักความยุตธิ รรมอยู่เสมอ และมีความจ�ำเป็ นต่อ ความยุตธิ รรมต่าง ๆ เหล่านัน้ ” (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1384/05/28 หรือวันที่ 19/08/2005) “ส�ำหรับเจ้าหน้าทีข่ องรัฐจ�ำเป็ นทีจ่ ะต้องมีความยุตธิ รรมอยูเ่ สมอ การไม่โกงกินทรัพย์สนิ ของ ประชาชนก็เป็ นสิง่ ทีจ่ ำ� เป็ นอยูเ่ สมอ ซึง่ ไม่สามารถเปลีย่ นแปลงมันได้ ด้วยเตาฟี ก (การอ�ำนวย ความส�ำเร็จ) ของพระผูเ้ ป็ นเจ้าหากเราสามารถท�ำให้ตวั เราสมบูรณ์แบบในด้านนี้ได้ และได้ ท�ำมันอย่างสมบูรณ์จากทุกย่างก้าวทีเ่ ราได้เดินผ่านมา ถึงเวลานัน้ ประเทศอิสลามในรูปแบบ ทีฉ่ นั กล่าวมา จะเกิดขึ้นอย่างแน่นอน กล่าวคือ จากรัฐอิสลามก็สามารถเกิดเป็ นประเทศ อิสลามได้” (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1384/05/28 หรือวันที่ 19/08/2005) ในกรณีน้ ี “ความ ยุตธิ รรมก็จะเกิดขึ้น การเลือกปฏิบตั กิ ็จะถูกขจัดออกไป ความยากไรก็จะค่อยๆ ถูกขจัด ออกไป เกียรติยศที่แท้จริงของประชาชนก็จะเกิดขึ้น ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศก็จะ แน่นแฟ้ นยิง่ ขึ้น สิง่ ต่าง ๆ เหล่านี้ถงึ รวมเรียกว่าประเทศอิสลาม” (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1379/09/14 หรือวันที่ 04/12/2000) แต่ทว่าจากทัศนะของ ฯพณฯ คุณลักษณะของอิสลาม ส�ำหรับประเทศเช่นนี้ คือ อิสลามทีผ่ ูช้ ้ นี ำ� ของประเทศได้รบั การปรับปรุงแล ้ว หรือจะอธิบาย ได้อกี อย่างว่า ประเทศทีส่ ามารถเรียกได้วา่ อิสลาม จะต้องเป็ นประเทศที่ “ถูกปกครองโดย อิสลามที่ให้ชีวติ อิสลามที่สร้างความเบิกบาน อิสลามที่สร้างความสุขุมนุ่ มลึก อิสลามที่ ปราศจากความคิดทีบ่ ดิ เบี้ยว ยึดติดและเบีย่ งเบนใด ๆ อิสลามทีไ่ ม่มกี ารผสมผสาน อิสลาม ที่เสริมสร้างความกลา้ หาญแก่ มนุ ษย์ และเป็ นอิสลามที่ช้ ีนำ� มนุ ษย์ไปสู่วชิ าการความรู ”้ (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1384/05/28 หรือวันที่ 19/08/2005) ด้วยค�ำอธิบายนี้สามารถกล่าว ได้วา่ ประเทศทีแ่ สดงให้เห็นถึงความยึดติด หรือเบีย่ งเบน ถือว่าไม่ใช่ประเทศอิสลาม

173


สาส์น อิส ลาม

ขัน้ ตอนสุดท้ายของการขับเคลือ่ นอารยธรรมจากทัศนะของท่านอยาตุลลอฮ์ ซัยยิดอะ ลี คอมาเนอี คือ ขัน้ ตอนของการก่อตัง้ อารยธรรมอิสลามระหว่างประเทศ “หลังจากนัน้ จะ เป็ นโลกของอิสลาม จากประเทศอิสลามสามารถสร้างโลกอิสลามได้ จากแบบอย่างทีด่ งี าม สามารถสร้างต้นแบบให้เกิดขึ้นในโลกดุนยา” จากมุมมองของท่าน “ทุกวันนี้เรา – ทัง้ เจ้า หน้าทีแ่ ละผูด้ ำ� รงต�ำแหน่งในสาธารณรัฐอิสลาม รวมไปถึงประชาชนทุกคน – มีความจ�ำเป็ น เป็ นอย่างมากทีจ่ ะต้องเรียนรูค้ ำ� สัง่ และค�ำสอนของศาสนาอิสลาม และถือปฏิบُ ตั สิ ง่ิ ต่าง ๆ َّ ‫ُك ْن تُ ْ� َخ ْي َ� أ‬ เหล่านัน้ หากเราได้ ป ฏิ บ ต ั ต ิ ามค� ำ สั ง ่ เหล่ า นั น ้ ถึ ง เวลานั น ้ เราจะได้ บ รรลุ ถ ง ึ ‫ة‬ ‫م‬ ٍ َّ ‫( ُأ ْخر َج ْت ل‬ความหมาย พวกเจ้านัน้ เป็ นประชาชาติทด่ี ยี ง่ิ ซึง่ ถูกให้อบุ ตั ขิ ้นึ ส�ำหรับ ‫اس‬ ‫لن‬ ِ ِ ِ มนุษย์ชาติ) หมายถึง เราจะเป็ นประชาชาติทเ่ี มือ่ โลกมองมายังเรา สามารถทีจ่ ะเรียนรูแ้ บบ อย่างจากเรา และยกให้เราเป็ นแบบอย่างส�ำหรับพวกเขา” (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1379/09/25 หรือวันที่ 15/12/2000) นี้คอื ความหมายของ “การเผยแพร่ชวี ติ ทีด่ งี ามตามแบบฉบับของ อิสลาม” ในสังคมของมนุษย์ชาติ และสร้างอารยธรรมอิสลามระหว่างประเทศ

174

เมือ่ พิจารณาจากขัน้ ตอนทัง้ ห้า สามารถกล่าวได้วา่ ประเด็นส�ำคัญทีจ่ ะต้องค�ำนึงถึง จากกระบวนการต่าง ๆ ตามทีไ่ ด้กล่าวมานัน้ การเริ่มต้นในทุก ๆ ขัน้ ตอน ไม่ได้หมายความ ว่าจะเป็ นจุดจบส�ำหรับขัน้ ตอนก่อนหน้า แต่ทว่าในทุกขัน้ ตอนยังมีบทบาทและแนวคิดที่ ส�ำคัญ ซึง่ อยู่ในสถานะของการพัฒนาอยู่เสมอ หรือจะอธิบายอีกอย่างว่า “มีห่วงโซ่อยู่เส้น หนึ่งทีเ่ ต็มไปด้วยตรรกะ ห่วงแรกคือการปฏิวตั อิ สิ ลาม ห่วงต่อไปเป็ นการก่อตัง้ การปกครอง ของอิสลาม ถัดไปเป็ นการจัดตัง้ รัฐของอิสลาม ห่วงถัดไปเป็ นการก่อตัง้ สังคมอิสลาม และ ห่วงถัดไปเป็ นการสร้างประชาชาติของอิสลาม นี้เป็ นห่วงโซ่ทเ่ี ชือ่ มต่อกัน ซึง่ มีความข้องเกีย่ ว ซึง่ กันและกัน” (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1390/07/24 หรือวันที่ 16/10/2011) จะเห็นได้วา่ การ เชื่อมต่อกันของโซ่นนั้ ให้ความหมายได้วา่ ห่วงต่าง ๆ ของโซ่มคี วามเป็ นไปได้ทจ่ี ะซ�ำ้ กันใน การเชือ่ มต่อนี้ หรือจะกล่าวได้อกี อย่างว่า จิตวิญญาณของการปฏิวตั จิ ะยังคงอยู่ในทุก ๆ ขัน้ ตอนของการขับเคลือ่ นอารยธรรมอิสลาม ในความเห็นของท่านอยาตุลลอฮ์ ซัยยิดอะลี คอ มาเนอี “วัตถุประสงค์จากการปฏิวตั อิ สิ ลาม – ซึง่ คือขัน้ ตอนแรก – คือการขับเคลือ่ นการ ปฏิวตั ิ เพราะไม่เช่นนัน้ ความหมายของการปฏิวตั เิ พียงอย่างเดียว จะถูกรวมเอาไว้ในทุก ๆ ขัน้ ตอนตามทีไ่ ด้กล่าวมา วัตถุประสงค์ของการปฏิวตั อิ สิ ลามของเราในตรงนี้ หมายถึง การ ขับเคลือ่ นการปฏิวตั แิ ละขบวนการปฏิวตั ทิ ไ่ี ด้โค่นระบอบการปกครองเก่า และเป็ นระบอบ


การปกครองทีผ่ ูกขาดและเน่าเฟะลง และได้เตรียมพื้นทีเ่ อาไว้ส�ำหรับการก่อตัวของปกครอง ใหม่ทจ่ี ะเกิดขึ้น จากค�ำอธิบายข้างต้น สามารถจินตนาการได้ถงึ ห่วงโซ่ของขัน้ ตอนต่าง ๆ ใน การขับเคลือ่ นอารยธรรม ในรูปแบบของแผนผังด้านล่างนี้

- การเกิดขึ้นของ การปฏิวตั อิ สิ ลาม เปลีย่ นแปลง และยกระดับคุณค่า ต่าง ๆ

การจัดโครงสร้าง ทีส่ ำ� คัญ ของการปกครอง - ก่อตัง้ ระบอบ การปกครองของอิสลาม

- ก่อตัง้ รัฐอิสลาม ยกระดับ พฤติกรรมของ เจ้าหน้าทีร่ ฐั

ปรับใช้แบบอย่าง ของอิสลามในชีวติ

- ก่อตัง้ อารยธรรม อิสลาม

- ก่อตัง้ ประเทศ อิสลาม

ขยายการอยู่ ร่วมกันของ ประชาชาติ อิสลาม

ความจ�ำเป็ นที่สำ� คัญส�ำหรับการบรรลุถงึ อารยธรรมอิสลาม

เมือ่ พิจารณจากขัน้ ตอนและหนทางในการขับเคลือ่ นอารยธรรมจากทัศนะของท่า นอยาตุลลอฮ์ ซัยยิดอะลี คอมาเนอี เพือ่ ให้การขับเคลือ่ นนี้ประสบความส�ำเร็จ จะต้องท�ำ ควบคู่ไปกับความจ�ำเป็ นทีส่ ำ� คัญต่าง ๆ ด้วย ซึง่ มันจะเกิดขึ้นได้ดว้ ยความพยายาม การเอา จริงเอาจังและร่วมมือกันระหว่างประชาชนทัว่ ไปกับเจ้าหน้าทีร่ ฐั อันทีจ่ ริงแลว้ ความจ�ำเป็ น เหล่านี้เป็ นกิจการทีเ่ ฉพาะ ซึง่ จากทัศนะของท่านอยาตุลลอฮ์ ซัยยิดอะลี คอมาเนอี แลว้ ความจ�ำ เป็ น เหล่า นี้ ถูก นับได้ว่า เป็ นสิ่ง ที่สำ� คัญ ส�ำ หรับ การขับ เคลื่อ น เพื่อ ให้บ รรลุถึง อารยธรรมอิสลาม ความจ�ำเป็ นต่าง ๆ เหล่านี้ได้ถกู จัดหมวดหมูเ่ อาไว้ใน 4 หัวข้อ ภายใต้ 2 หมวดหลัก ๆ ด้วยกัน ดังนี้

ก. ความจ�ำเป็ นของการเตรียมพร้อมขัน้ พื้นฐาน สาส์น อิส ลาม

อันที่จริงแลว้ ในข้อนี้นนั้ มาจากความจ�ำเป็ นต่าง ๆ ที่จะเป็ นสิ่งที่จะน�ำมาภายใต้ โครงสร้างพื้นฐาน ส�ำหรับการก่อตัง้ อารยธรรม ความจ�ำเป็ นนี้นนั้ ให้ความส�ำคัญไปยังการ

175


เสริมสร้างและการยกระดับ สิง่ ล�ำ้ ค่าและสมรรถนะต่าง ๆ ทีไ่ ม่อาจประเมินค่าได้ (หมายถึง ความคิดและสามารถของมนุษย์) ในประเทศหนึ่ง ท่านอยาตุลลอฮ์ ซัยยิดอะลี คอมาเนอี อธิบายถึงความจ�ำเป็ นในข้อนี้เอาไว้วา่ “ส�ำหรับการก่อตัง้ อารยธรรมอิสลาม – เหมือนกับ อารยธรรมอืน่ ๆ- ทีจ่ ะมีพ้นื ฐานทีจ่ ำ� เป็ นอยู่ 2 องค์ประกอบ คือการเสริมสร้างความคิด และ การ พัฒนาศักยภาพของมนุษย์ ส�ำหรับการเสริมสร้างความคิดนัน้ สามารถท�ำได้ในทุกช่วง เวลาที่เหมาะสมกับความจ�ำเป็ นในแต่ ละช่ วงเวลานัน้ จากคลังวิชาการที่กว้างใหญ่ น้ ี” (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1379/07/14 หรือวันที่ 05/10/2000 ) จากนี้ไปเราจะพูดคุยจาก 2 องค์ประกอบทีเ่ ป็ นกุญแจและพื้นฐานทีส่ ำ� คัญนี้ (กล่าวคือว่าหากไม่มอี งค์ประกอบทัง้ สองนี้ ก็ไม่สามารถที่จะสร้างอารยธรรมได้) หมายถึง “การเสริมสร้างความคิด” และ “พัฒนา ศักยภาพของมนุษย์”

สาส์น อิส ลาม

1. การเสริมสร้างความคิดและความรูส้ ำ� หรับการสร้างอารยธรรมอิสลาม

176

ความจ�ำเป็ นต่อการสร้างเสริมด้านความคิดและวิชาการ ส�ำหรับการก่อตัง้ อารยธรรม ท่านอยาตุลลอฮ์ คอมาเนอี มีความเชื่อว่า “พื้นฐานเดิมของอารยธรรม หาใช่อตุ สาหกรรม เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ แต่เป็ นอารยธรรม ทัศนคติ ความรูแ้ ละความสมบูรณ์ทางด้าน ปัญญาของมนุษย์” (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1373/01/01 หรือวันที่ 21/03/1994 ) อันทีจ่ ริง แล ้วจากทัศนะของท่าน การใช้ประโยชน์ของมนุษย์กลุม่ หนึ่ง จากสถาบันแห่งความคิด เป็ น สิง่ ทีจ่ ำ� เป็ นส�ำหรับการขับเคลือ่ นไปสูอ่ ารยธรรม ในลักษณะทีจ่ ะต้องกล่าวว่า “ส�ำหรับประเทศ ๆ หนึ่งมีความจ�ำเป็ นเป็ นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องท�ำความรูจ้ กั อย่างจริงจังกับความต้องการขัน้ พื้น ฐาน และเป็ นความต้องการจริง ๆ ส�ำหรับตัวเขาเอง และเขาจะต้องตัดสินใจทีจ่ ะน�ำความ ต้องการนี้เข้ามายังตัวเขา และเครื่องมือทีจ่ ะให้ได้มาซึง่ ความต้องการที่กล่าวมาในข้อข้างต้น คือ ความคิดและความพยายามของมนุษย์ทม่ี อี ยู่ในตัวของพวกเขาเอง สิง่ เหล่านี้เป็ นสิง่ ที่ ส�ำคัญส�ำหรับประเทศ ๆ หนึ่ง และจะเป็ นสิง่ ทีส่ ร้างประวัตศิ าสตร์ นี้คอื การสร้างอารยธรรม (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1385/03/25 หรือวันที่ 15/06/2006 ) เกี่ยวกับประเด็นนี้ ท่านยังได้ เน้นย�ำ้ เอาไว้ในค�ำปราศรัยอื่นอีกช่วงเวลาหนึ่งว่า “หากขาดซึ่งความคิด ความสามารถ อุดมการณ์และส�ำนักคิด ไม่มปี ระเทศไหนทีจ่ ะสามารถสร้างอารยธรรมได้ เป็ นไปไม่ได้ทจ่ี ะ สร้างอารยธรรม หากปราศจากซึง่ ส�ำนักคิด ความคิดและความศรัทธา และปราศจากซึง่ ความ พยายาม และการเสียสละต่อหนทางนี้” (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1391/07/23 หรือวันที่


14/10/2012) จากมุมมองของท่านอยาตุลลอฮ์ คอมาเนอี ในประเด็นของ การส่งเสริมทาง ด้านความคิดและวิชาการ ส�ำหรับก่อตัง้ อารยธรรมอิสลาม แบ่งออกเป็ น 3 คุณลักษณะด้วย กันดังนี้ ข้อแรก ความจ�ำเป็ นของกระบวนการทางด้านความคิด คือ การขับเคลือ่ นสังคม ขนาดใหญ่ไปสู่เป้ าหมายหนึ่ง ซึง่ เป้ าหมายของมันคือการสร้างเรื่องราวทีข่ บั เคลือ่ นไปสู่เป้ า หมายทีช่ ดั เจน ตามทัศนะของซัยยิดอะลี คอมาเนอี กระบวนการทางด้านวิชาการ คือ ความ พยายามอย่างกว้างขวางต่อวิวฒั นาการของวัฒนธรรมทางสังคม ส�ำหรับเสริมสร้างความเชือ่ มันและสร้ ่ างความภาคภูมใิ นตัวเอง ความหมายของการเชือ่ มันในตั ่ วเองก็คอื ตัวตนของพวก เรามีอำ� นาจและความสามารถในการผลิต และคิดค้นสิง่ ใหม่ๆ ในสมรภูมขิ องการใช้ชวี ติ ของ ตัวเองและสังคม” (อยาตุลลอฮ ซุบฮอนีย)์ เกี่ยวกับประเด็นนี้ ท่านอยาตุลลอฮ์ อะลี คอมา เนอี ได้อธิบายเอาไว้เช่นนี้ “กระบวนการของเครื่องมือทีไ่ ม่สามารถจับต้องได้ คือ การส่ง เสริมการศึกษาทีไ่ ร้ขอบเขต เพือ่ ให้ได้มาซึง่ กระบวนการหนึ่งทีย่ ง่ิ ใหญ่ หมายถึง จะต้องไม่ นิ่งเฉยเพือ่ รอความช่วยเหลือจากผูอ้ น่ื และรอให้ผูอ้ น่ื ปลูกและเก็บเกี่ยวผลผลิต และรอรับ ผลผลิตทีผ่ ูอ้ น่ื ไม่ตอ้ งการแล ้ว” ข้อทีส่ อง มุมมองของการเพียรพยายามในการส่งเสริมด้านวิชาการ : แม้ว่าจาก ทัศนะของ ฯพณฯ ทีว่ า่ “การเก็บเกี่ยววิชาการความรูท้ ท่ี รงคุณค่าทางด้านฟิ กฮ์ของอิสลาม โดยตัง้ อยู่บนพื้นฐานส�ำนักคิดของอะฮลุลบัยตฺ (อ.) คือหนึ่งในมรดกทีผ่ ลิดอกออกผล และ ทรงคุณค่ามากที่สุด ส�ำหรับวัฒนธรรม และอารยธรรมอิสลาม” (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1369/11/02 หรือวันที่ 22/01/1991) แต่ทว่ามุมมองของการเพียรพยายามในการส่งเสริม ด้านความคิดในเวทีหนึ่งนัน้ ได้แผ่ขยายไปกว้างกว่าฟิ กฮ์ “การเพียรพยายามและเรียนรูใ้ น เวทีทแ่ี ตกต่างกันออกไป ไม่วา่ จะเป็ นในด้านของมนุษย์ศาสตร์ ไปจนถึงระบบการศึกษาที่ เป็ นทางการ และจากเศรษฐกิจและการธนาคารและการเงินไปจนถึงการผลิตนวัตกรรมใหม่ ๆ ขึ้น และจากสือ่ ต่าง ๆ ทีท่ นั สมัย สูศ่ ลิ ปะและภาพยนตร์ และไปจนถึงความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศ ทัง้ หมดเหล่านี้ล ้วนแล ้วแต่เป็ นสิง่ ทีจ่ ำ� เป็ นส�ำหรับการสร้างอารยธรรม” สาส์น อิส ลาม

อย่างทีส่ าม การเชื่อมต่อระหว่างวิชาการกับจริยธรรม : ด้วยคุณลักษณะในข้อนี้ วิชาการความรูท้ ท่ี รงคุณค่าส�ำหรับการขับเคลือ่ นอารยธรรมอิสลาม คือ วิชาการทีจ่ ะต้องไม่

177


แยกออกมาจากจริยธรรม จากตรงนี้เอง ฯพณฯ ได้กล่าวว่า “เราจ�ำเป็ นทีจ่ ะต้องเดินหน้าไป ด้วยวิชาการความรูแ้ ละจริยธรรม ดังทีม่ หาวิทยาลัยเปรียบเสมือนกับจุดศูนย์กลางวิชาการ ความรู ้ ก็จำ� เป็ นที่จะต้องเป็ นจุดศู นย์กลางทางศาสนาและจิตวิญญาณด้วยเช่นเดียวกัน บัณฑิตทีจ่ บมาจากมหาวิทยาลัย ก็เหมือนกับบัณฑิตทีจ่ บมาจากโรงเรียนสอนศาสนา จบ ออกมาด้วยการมีศาสนา” (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1376/06/19 หรือวันที่ 10/09/1997)

2. พัฒนาศักยภาพของมนุษย์

องค์ประกอบทีส่ ำ� คัญอีกอย่างหนึ่งส�ำหรับการสร้างอารยธรรม คือ พัฒนาศักยภาพ ของมนุษย์ ค�ำจ�ำกัดความส�ำหรับการพัฒนาศักยภาพของมนุษย์ โดยส่วนมากแล ้วจะเป็ นการ พัฒนาและเสริมสร้างลักษณะเฉพาะทีม่ คี วามจ�ำเป็ นในแต่ละด้านของมนุษย์ ซึง่ ถูกวางเอาไว้ เพือ่ ก�ำหนดรูปแบบของอารยธรรมหนึ่ง ซึง่ สามารถแจกแจงคุณลักษณะเฉพาะเหล่านัน้ ได้ ดังนี้

สาส์น อิส ลาม

ข้อหนึ่ง ท�ำเพือ่ อัลลอฮ (ซบ) “หากมนุษย์ได้คน้ พบหนทางของพระผูเ้ ป็ นเจ้า และ ได้เรียนรูจ้ ากหนทางนี้วา่ จะท�ำงานเพือ่ อัลลอฮ (ซบ) ได้อย่างไร เมือ่ นัน้ จะเห็นว่าจะมีความ รักและสามารถปฏิบตั กิ ารงานนัน้ ได้อย่างง่ายดาย อารยธรรมอิสลามจะเกิดขึ้นได้ดว้ ยวิธเี ช่น นี้” (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1373/06/29 หรือวันที่ 20/09/1994 ) กล่าวอีกนัยหนึ่งว่า “การร�ำ ลึกถึงอัลลอฮ (ซบ.) คือ การเริ่มต้นด้วยการร�ำลึกถึงอัลลอฮ (ซบ.) เพราะฉะนัน้ การร�ำลึก หรือซิกร์คอื สิง่ ทีจ่ ะช่วยให้เราสามารถเดินอยู่ในหนทางทีเ่ ทีย่ งตรงได้ เป้ าหมายทีเ่ ราได้วาง เอาไว้ส�ำหรับพวกเรา ต่อการวางโครงสร้างทีส่ ูงส่งนี้ ในฐานะของผูศ้ รัทธา ในฐานะของมุสลิม ในฐานะของผูอ้ าวุโสของส�ำนักคิดทีก่ ำ� ลังก้าวหน้า และในฐานะของกลุม่ คนผูม้ แี รงจูงใจ ซึง่ ได้รบั ข่าวคราวจากความยิง่ ใหญ่ของอารยธรรมอิสลามในอนาคต และอีกหลายศตวรรษใน อนาคต มีความจ�ำเป็ นทีจ่ ะต้องร�ำลึกถึงอัลลอฮ์ (ซบ.) เพือ่ ทีจ่ ะขับเคลือ่ นไปในหนทางนี้ได้” (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1386/06/31 หรือวันที่ 22/09/2007)

178

ข้อทีส่ อง การฟื้ นฟูจติ วิญญาณของการใช้ชวี ติ แบบท่านอิมามอะลี (อ.) “จะต้อง ท�ำให้จติ วิญญาณของการใช้ชวี ติ แบบท่านอิมามอะลี (อ.) เกิดขึ้นในตัวของพวกเรา – หมาย ถึง มีความเป็ นธรรม มีความย�ำเกรง มีความเคร่งครัดในศาสนา เกิดขึ้นในในตัวของพวก เรา มีความบริสุทธิ์ มีความกล ้าหาญในหนทางของพระผูเ้ ป็ นเจ้า มีความต้องการทีจ่ ะเสียสละ


ในหนทางของพระองค์ – (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1382/08/06 หรือวันที่ 27/108/2004) ข้อทีส่ าม ยืนหยัดและอดทน : ท่านอยาตุลลอฮ์ คอมาเนอี ได้ช้ ใี ห้เห็นถึง หนึ่งใน คุณลักษณะทีส่ ำ� คัญส�ำหรับประเทศ ๆ หนึ่งคือการยืนหยัดและอดทน ทีจ่ ะต้องมีในหนทาง ของการสร้างอารยธรรม “การยืนหยัดและอดทน และมีความเชื่อมันต่ ่ อค�ำมันสั ่ ญญา َ َ َ َّ َّ ُ ُ ُ َ َ ُ َّ َّ َ ُ َ َ َ �ٌ‫الل لق ِو ٌّي َع ِز ي ز‬ ‫ولينصن الل من ينصه ِإن‬ (ความหมาย และแน่นอนอัลลอฮ์ จะทรงช่วยเหลือผูท้ ส่ี นับสนุนศาสนาของพระองค์ แท้จริงอัลลอฮ์เป็ นผูท้ รงพลัง ผูท้ รงเดชานุภาพอย่างแท้จริง) เพือ่ ทีจ่ ะขับเคลือ่ นไปในเส้น ทางแห่งความภาคภูมใิ จนี้ จนบรรลุถงึ แก่นแท้ของอารยธรรมอิสลาม” (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1392/02/09 หรือวันที่ 29/04/2013) แต่ทว่าความอดทนและการยืนหยัดนี้จะต้องมีอยู่ทงั้ ในหนทางและเป้ าหมายทีก่ ำ� ลังท�ำอยู่ “ความอดทน หมายถึง อย่าสูญเสียทิศทางและหนทาง และหากพบเจอกับข้อผิดพลาดก็จงแก้ไขมัน และหากมีคนบอกเราว่า คุณได้ทำ� สิง่ ทีผ่ ดิ พลาด ก็จงอย่ารูส้ กึ ไม่ดตี ่อค�ำ ๆนัน้ ” (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1380/09/21 หรือวันที่ 12/12/2001) เพราะนัน้ “การมีอยู่ของการยืนหยัดและอดทนในประเทศๆหนึ่ง คือการมีอยู่ทล่ี ำ�้ ค่าและทรง คุณค่ายิง่ ” (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1376/05/29 หรือวันที่ 20/08/1997) ข. ความจ�ำเป็ นที่แท้จริงของผูป้ ฏิบตั หิ น้าที่

สาส์น อิส ลาม

ความจ�ำเป็ นของคนทีท่ ำ� งาน คือ ผูท้ ส่ี ร้างและเป็ นผูส้ นับสนุนนของอารยธรรมอย่าง แท้จริง แม้ว่าในแง่ของประเภทแลว้ ความจ�ำเป็ นนี้ถูกนับได้ว่าอยู่ในส่วนปลีกย่อยของ อารยธรรม แต่อกี แง่หนึ่ง แขนงต่าง ๆ ของอารยธรรมก็จำ� เป็ นทีจ่ ะต้องพึง่ พายังความจ�ำเป็ น นี้ จากตรงนี้ในมุมมองของท่านอยาตุลลอฮ์ คอมาเนอี สามารถแบ่งความจ�ำเป็ นนี้ได้ 2 ส่วน ด้วยกัน ทัง้ ความจ�ำเป็ นต่อเครื่องมือทีส่ ามารถจับต้องได้ และทัง้ ความจ�ำเป็ นต่อเครื่องมือที่ ไม่สามารถจับต้องได้ หรือจะพูดอีกนัยหนึ่งว่า “หากเรายึดเอาความเจริญก้าวหน้าในทุก ๆ ด้าน หมายถึงการสร้างอารยธรรมอิสลามยุคใหม่ อารยธรรมยุคใหม่นนั้ มีองค์ประกอบอยู่ 2 ส่วนด้วยกัน ส่วนทีห่ นึ่ง คือ ส่วนของการใช้เครื่องไม้เครื่องมือ อีกส่วนหนึ่งคือ ส่วนของ ทฤษฎีและหลักการพื้นฐานต่าง ๆ เราจ�ำเป็ นที่จะต้องบรรลุให้ได้ทงั้ 2 ส่วนที่กล่าวมา” (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1391/07/23 หรือวันที่ 14/10/2012) สองส่วนจากความจ�ำเป็ นของ

179


อารยธรรม ในทัศนะของ ฯพณฯ สามารถทีจ่ ะอธิบายได้ดงั นี้ :

สาส์น อิส ลาม

1. การสร้างระบบและยกระดับรูปแบบของการจัดการ

180

“ในส่วนของการใช้เครื่องมือ (อารยธรรม) คือ คุณค่าต่าง ๆ ทีเ่ ราก�ำลังพูดถึงอยู่น้ ี ในฐานะของความเจริญก้าวหน้าของประเทศ ไม่ว่าจะเป็ น วิชาการความรูต้ ่าง ๆ สิง่ ทีเ่ รา คิดค้นขึ้นมาใหม่ อุตสาหกรรม การเมือง เศรษฐกิจ ผูม้ อี ำ� นาจทางการเมืองและการปกครอง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ การโฆษณาและเครื่องมือต่าง ๆ ในการโฆษณา ทัง้ หมดเหล่า นี้คอื องค์ประกอบของเครื่องมือต่าง ๆ ของอารยธรรม” ประเด็นส�ำคัญทีจ่ ะต้องค�ำนึงถึงใน หัวข้อนี้คอื การให้ความจ�ำเป็ นต่าง ๆ เหล่านี้ได้บรรลุวตั ถุประสงค์ ในการสร้างระบบ กล่าว คือ การปรับเปลีย่ นและปรับปรุงภายนอกของอารยธรรมอิสลามยุคใหม่นนั้ จะต้องผ่านการ ออกแบบ และสร้างระบบของสังคมอิสลาม ทีแ่ ตกต่างกันออกไป เช่น ระบบการเมืองการ ปกครอง ระบบเศรษฐกิจ โครงสร้างของสือ่ ต่าง ๆ และระบบอืน่ ๆ อีกมากมาย ในลักษณะ ทีแ่ ม้แต่ในการวิเคราะห์ของฯพณฯถึงอนาคตการปฏิวตั ขิ องชาวอาหรับ เรื่องราวการตื่นตัว ของโลกอิสลาม และได้กล่าวถึงผูน้ ำ� ของการปฏิวตั นิ ้ วี า่ “ปัญหาหลักของพวกท่านคือ จะสร้าง ระบบการปกครอง การร่างกฎหมาย และการจัดการกับประเทศและการปฏิวตั ิ ทีจ่ ะเกิดขึ้น ได้อย่างไร นี่คือปัญหาทีส่ ำ� คัญส�ำหรับการสร้างอารยธรรมอิสลามอีกครัง้ ในยุสมัยใหม่” (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1390/11/14 หรือวันที่ 03/02/2012) การประมาทต่อกฎเกณฑ์ในการ จัดการกับระบบ คือภัยคุกคามทีร่ า้ ยแรง ส�ำหรับการขับเคลือ่ นต่าง ๆ ของอารยธรรม “เมือ่ ประมาณ 60-70 ปี ทแ่ี ล ้ว เราได้รบั ประสบการณ์จากประเทศต่าง ๆ แถบแอฟริกาเหนือ ใน ช่วงกลางของศตวรรษที่ย่ีสบิ ในประเทศตูนิเซียนี้เองที่ได้มกี ารปฏิวตั ิเกิดขึ้น ได้มกี าร เคลือ่ นไหวทางการเมืองได้เกิดขึ้น และได้มกี ลุม่ คนลุกขึ้นมาท�ำหน้าทีใ่ นตรงนี้ ในประเทศ อียปิ ต์ทไ่ี ด้มกี ารปฏิวตั เิ กิดขึ้น ได้มกี ารท�ำรัฐประหารเกิดขึ้น มีการเคลือ่ นไหวทางการเมือง และได้มกี ลุม่ คนขึ้นมาท�ำหน้าทีใ่ นตรงนี้ และในหลาย ๆ ประเทศก็เป็ นเช่นนี้ แต่กไ็ ม่สามารถ จัดตัง้ ระบอบการปกครองขึ้นได้ การทีพ่ วกเขาไม่สามารถจัดตัง้ ระบอบการปกครองขึ้นมาได้ นัน้ ไม่ใช่เพียงแค่ทำ� ให้การปฏิวตั เิ ท่านัน้ ทีส่ ูญเปล่า แต่ยงั ส่งผลถึงบุคคลต่าง ๆ ทีล่ กุ ขึ้นมา ท�ำหน้าทีใ่ นการปฏิวตั ิ จะต้องพบเจอกับการเปลีย่ นครัง้ ส�ำคัญ ต�ำแหน่งของพวกเขาพลิกผัน จากหน้ามือเป็ นหลังมือ ตัวของพวกเองก็ตอ้ งพบเจอกับความเสียหายมากมาย” (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1391/09/21 หรือวันที่ 11/12/2012)


จากตรงนี้เอง ในช่วงหลายปี ให้หลังมานี้ ฯพณฯ ได้นำ� เสนอถึงการบรรลุถงึ แบบ อย่างของอิสลามนัน้ เป็ นอย่างไร “อันทีจ่ ริงแล ้วความก้าวหน้าของอิหร่านนัน้ คือ การน�ำเสนอ ผลผลิตของการปฏิวตั อิ สิ ลาม และการออกแบบอารยธรรมใหม่อกี หนึ่งอารยธรรม และความ ก้าวหน้าในทุก ๆ ด้าน โดยตัง้ อยู่บนพื้นฐานความคิดและแนวคิดของอิสลาม” (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1391/12/14 หรือวันที่ 04/03/2013) จากแบบอย่างนี้เอง ในอนาคตหากต้องการ ทีจ่ ะออกแบบโครงสร้างของระบอบการปกครอง และออกแบบการจัดการ การขับเคลือ่ นของ สาธารณรัฐอิสลามจะต้องมีอยู่ในแบบแผนนัน้ ด้วย ประเด็นทีส่ ำ� คัญในการสร้างระบอบการ ปกครองและการจัดการนัน้ ก็คอื จะต้องตัง้ อยู่บนพื้นฐานและบรรทัดฐานของอิสลาม “ใน ประเด็นของการปกครองและการจัดการ หากพวกเราได้หลงผิดไป และได้ทำ� มันลงไป โดย หลงลืมพื้นฐานและบรรทัดฐานของอิสลาม และได้ทำ� ตามแบบฟอร์มดังทีท่ วโลกท� ั่ ำกัน ความ หมายของสังคมอิสลามก็จะสูญหายไป ประเด็นนี้จะเป็ นตัวก�ำหนด”(ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1369/04/20 หรือวันที่ 11/07/1990) 2. ปรับปรุงรูปแบบการใช้ชวี ติ และความประพฤติในสังคม (บรรลุถงึ หนทางของ การปฏิบตั ติ ามแบบอย่างของอิสลาม)

สาส์น อิส ลาม

“องค์ประกอบทีแ่ ท้จริงของอารยธรรมก็คอื สิง่ ทีส่ ร้างสิง่ แวดล ้อมของการใช้ชวี ติ นัน่ คือวิถชี วี ติ องค์ประกอบนี้คอื พื้นฐานเดิมของอารยธรรม เช่น การมีครอบครัว การแต่งงาน รูปแบบของทีอ่ ยู่อาศัย ประเภทของเสื้อผ้า ประเภทของอาหาร การพักผ่อน ประเด็นของ ภาษา การท�ำมาหากิน พฤติกรรมของเราในสถานทีท่ ำ� งาน ในมหาวิทยาลัย ในสถานศึกษา อืน่ ๆ พฤติกรรมของเราต่อการแสดงออกทางการเมือง พฤติกรรมของเราในการเล่นกีฬา พฤติกรรมของเราต่อสือ่ ทีเ่ ราควบคุมอยู่ ความประพฤติของเราทีม่ ตี ่อพ่อแม่ คู่สมรส และ ลูกหลาน พฤติกรรมของเราทีม่ ตี ่อหัวหน้างาน ผูบ้ งั คับบัญชา ต�ำรวจ และเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ การเดินทางของเรา การรักษาความสะอาดต่าง ๆ พฤติกรรมของเราทีม่ ตี ่อเพือ่ น ศัตรู และ คนต่างถิน่ ทัง้ หมดเหล่านี้คอื องค์ประกอบทีส่ ำ� คัญของอารยธรรม ซึง่ ก็คอื วิถกี ารใช้ชวี ติ ของ มนุษย์ สิง่ ต่าง ๆเหล่านี้คอื สิง่ แวดล ้อมของการใช้ชวี ติ สิง่ ต่าง ๆเหล่านี้คอื สิง่ ทีใ่ นส�ำนวนขอ งงอิสลามเรียกมันว่า “อักเลมะออช” ในส่วนนี้สามารถนับได้วา่ เป็ นเครื่องมือทีไ่ ม่อาจจับต้อง ได้ของอารยธรรม และในส่วนแรกทีเ่ ราได้กล่าวผ่านมาแล ้วนัน้ เป็ น เครื่องมือทีเ่ ราสามารถ จับต้องมันได้” (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1391/07/23 หรือวันที่ 14/10/2012) เนื้อหาส�ำคัญใน

181


ส่วนของเครื่องมือต่าง ๆ ทีไ่ ม่อาจจับต้องได้ของอารยธรรม คือ วิถชี วี ติ และถูกนับได้วา่ เป็ น องค์ประกอบทีโ่ ดดเด่นและยกระดับในการขับเคลือ่ นไปสู่อารยธรรม หมายถึง “หากเราไม่ พัฒนาในส่วนของสิง่ แวดลอ้ มรอบตัวเราส�ำหรับการใช้ชวี ติ ทัง้ หมดของความก้าวหน้าของ เราในส่วนแรก ก็ไม่สามารถที่จะท�ำให้เราประสบความส�ำเร็จได้ ไม่สามารถมอบความ ปลอดภัยและความสงบสุขให้เราได้ แม้ว่าเราจะมีความก้าวหน้าในด้านของอุตสาหกรรม และ แม้ว่าเราจะสามารถพัฒนาและคิดค้นสิง่ ใหม่ๆได้มากมายก็ตาม หากเราไม่สามารถท�ำในส่วน นี้ให้ถกู ต้องได้ ก็ไม่สามารถบอกได้วา่ เป็ นความก้าวหน้าของอิสลามอย่างแท้จริง จ�ำเป็ นทีจ่ ะ ต้องเรียนรู ้ ปฏิบตั ิ และเพียรพยายามในส่วนนี้ให้มาก ๆ” (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1391/07/23 หรือวันที่ 14/10/2012)

สาส์น อิส ลาม

อีกหนึง่ เนื้อหาทีส่ ำ� คัญที่ ฯพณฯ ได้อธิบายเอาไว้เกีย่ วกับการใช้ชวี ติ นัน้ ก็คอื บทบาท ของ 3 สาขาวิชาความรู ้ ศาสนบัญญัตขิ องอิสลาม กฎหมายของอิสลาม จริยธรรมของอิสลาม ในการพัฒนารูปแบบของการใช้ชวี ติ “เราได้เรียนรูใ้ นเรื่องของศาสนบัญญัตแิ ละกฎหมาย ของอิสลามมากพอสมควร และจ�ำเป็ นทีจ่ ะต้องเรียนรูใ้ นเรื่องของมารยาทของอิสลาม ด้วย คุณภาพและปริมาณทีส่ ูง เป็ นหน้าทีข่ องโรงเรียบนสอนศาสนาต่าง ๆ ต้องรับผิดชอบในเรื่อง นี้ นักวิชาการและนักวิจยั ต้องรับผิดชอบในเรื่องนี้ มหาวิทยาลัยทัง้ หลายก็ตอ้ งรับผิดชอบ วิชาจริยศาสตร์จะต้องวางไว้ในโปรแกรมการเรียนการสอนของเรา และจะต้องเสริมสิง่ นี้ไว้ ในในทุกแขนงวิชาทีเ่ ราศึกษา ในปัจจุบนั เราทุกคนมีความจ�ำเป็ นต่อสิง่ นี้เป็ นอย่างมาก และ จ�ำเป็ นต้องขวนขวายเพือ่ ให้ได้มนั มา เพือ่ บรรลุถงึ ส่วนทีเ่ ป็ นพื้นฐานส�ำคัญของอารยธรรม อิสลามยุคใหม่ ซึง่ ก็คอื วิถขี องการปฏิบตั นิ นั้ เอง” (ซัยยิดอะลี คอมาเนอี 1391/07/23 หรือ วันที่ 14/10/2012) ความส�ำคัญในประเด็นของวิถกี ารใช้ชวี ติ ในกระบวนการสร้างอารยธรรม ตามทัศนะของท่านอยาตุลลอฮ์ คอมาเนอี ถึงขนาดทีท่ ่านได้อธิบายเอาไว้วา่ การปรับปรุงวิถี การใช้ชวี ติ เทียบเท่ากับการ “ญิฮาด” ต่อสูข้ องทหารถึง 8 ปี ดว้ ยกัน

182

ในภาพรวมจากทัง้ หมดของสิง่ ทีจ่ ำ� เป็ นในการขับเคลือ่ นอารยธรรมของสาธารณรัฐ อิสลามแห่งอิหร่าน ตามทัศนะของท่านอยาตุลลอฮ์ คอมาเนอี สามารถสรุปได้ตามแผนผัง ดังนี้


สิง่ จ�ำเป็ นต่าง ๆ ในการขับเคลื่อนอารยธรรม ของสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ความจ�ำเป็ นของผูป้ ฏิบตั หิ น้าที่

ปรับปรุงวิถี การใช้ชีวติ

สร้างระบอบการ ปกครองและยกระดับ ใช้ประโยชน์จากสถาบัน รูปแบบของการจัดการ สอนศาสนาในด้านของ - ศาสนบัญญัติ โดยตัง้ อยู่บนพื้นฐาน อิสลาม และบรรทัดฐานของ - กฎหมายอิสลาม อิสลาม - มารยาทใน อิสลาม

ความจ�ำเป็ นขัน้ พื้นฐาน

การฝึ กอบรม ก�ำลังของมนุ ษย์

ส่งเสริมทางความคิด และวิชาการ

ด้วยกับการเน้นย�ำ้ ถึง เน้นการเคลือ่ นไหว การท�ำหน้าทีเ่ พือ่ ทางด้านเครื่องมือต่าง ๆ พระผูเ้ ป็ นเจ้า ทีไ่ ม่สามารถจับต้องได้ ฟื้ นฟูจติ วิญญาณ ให้ความส�ำคัญ ของการใช้ชวี ติ แบบ กับการศึกษา ท่านอิมามอะลี (อ) เสริมสร้างวิชาการ ยืนหยัดและอดทน ไปพร้อม ๆ กับจริยธรรม

สาส์น อิส ลาม

183



วิถชี ีวติ แบบอิสลามในโองการอัลกุรอาน และริวายะฮ์ (รายงานฮะดีษ) ซัยยิดศ็อดรุดดีน ชะรีอะตี1 ญะมาลุดดีน ปาทาน2 บทคัดย่อ หากพิจารณาประวัตศิ าสตร์และแนวความคิดทางสังคม จะพบว่ามี 3 รูปแบบหลัก ทีเ่ กี่ยวกับวิถกี ารด�ำเนินชีวติ ของมนุษย์ อันประกอบด้วย 1.ประการแรก วิถขี องนักพรต นักบวช หรือ การปล่อยวางทางโลก ตามทัศนะนี้ เชื่อว่า โลกคือสถานทีบ่ อ่ นท�ำลายบุคลิกภาพและอัตลักษณ์ของความเป็ นมนุษย์ โลกยังเป็ น เหมือนโซ่ตรวนทีผ่ ูกล่ามมนุษย์ เป็ นอุปสรรคขัดขวางการเติบโต ความสุข และความสูงส่ง ของมนุษย์ ด้วยเหตุน้ ี ส�ำหรับการต่อสูก้ บั โลก เราจึงจะต้องออกห่างจากการแต่งงาน หน้าที่ ความรับผิดชอบ และข้อตกลงต่าง ๆ ทัง้ หมดทางสังคม และเราจะต้องพยายามหาสถานที่ ปลีกวิเวก เพือ่ พัฒนาให้จติ วิญญาณของเราสูงส่งมากยิง่ ขึ้น 2.ประการที่สอง วิถชี ีวติ แบบการแสวงหาผลประโยชน์ทางโลกเพียงอย่างเดียว ทฤษฎีน้ ไี ม่มคี วามเชือ่ ในวันปรโลก การใช้ชวี ติ บนในโลกนี้คอื เป้ าหมาย ทัศนะดังกล่าวนี้การ มีชวี ติ อยู่กเ็ พือ่ แสวงหาผลประโยชน์ และความสุขเฉพาะบนโลกนี้เท่านัน้ ไม่มโี ลกหลังจาก นี้ ดังนัน้ หลังจากความตายมนุษย์จะพบกับการดับสลาย

1  . รองศาสตราจารย์และอธิการบดีมหาวิทยาลัยตอบาตอบาอีย ์ ประเทศอิหร่าน (shariati@atu.ac.ir). 2  . ปริญญาเอก สาขาอัลกรุอ่าน มหาวิทยาลัยนานาชาติอลั มุศตอฟา เมืองกุม ประเทศอิหร่าน.

สาส์น อิส ลาม

3.ประการทีส่ าม วิถชี วี ติ แบบอิสลาม ซึง่ ได้รวมทัง้ โลกและปรโลกเข้าด้วยกัน บน

185


พื้นฐานของความเชื่อนี้ จึงใส่ใจความต้องการทางโลกของมนุ ษย์ ขณะเดียวกันก็ให้ความ ส�ำคัญเกี่ยวกับปรโลก ในทัศนะนี้มนุ ษย์จงึ มีหน้าทีร่ บั ผิดชอบใน 4 ประเภทด้วยกัน คือ หน้าทีค่ วามรับผิดชอบต่อพระผูเ้ ป็ นเจ้า ต่อตัวเอง ต่อประชาชน และหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ ต่อธรรมชาติ บทความนี้ จะกล่าวถึง มุมมองโดยทัวไปที ่ เ่ กีย่ วกับสิทธิและหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ ของมนุษย์ทถ่ี กู ก�ำหนดให้ตรงตามค�ำสอนของศาสนา และจะวิพากษ์ในสองรูปแบบของวิถี การด�ำเนินชีวติ โดยเน้นย�ำ้ ว่า วิถกี ารด�ำเนินชีวติ แบบอิสลามนัน้ เป็ นวิถที ส่ี มบูรณ์แบบทีส่ ุด

ค�ำศัพท์สำ� คัญ : วิถชี วี ติ มนุษย์ การด�ำเนินชีวติ ความผาสุก

บทน� ำ

สาส์น อิส ลาม

วิถกี ารด�ำเนินชีวติ มีรากฐานทีม่ าทางสังคมและแนวความคิดทีย่ าวนาน จากค�ำ กล่าวของท่านผูน้ ำ� สูงสุดแห่งการปฏิวตั อิ สิ ลาม อยาตุลลอฮ์ ซัยยิดอะลี คาเมเนอี ได้นำ� เสนอ วิถชี วี ติ แบบอิสลาม และอารยธรรมในรูปแบบใหม่ทส่ี ามารถปฏิบตั ไิ ด้จริง จากการศึกษา ประวัตศิ าสตร์อสิ ลามเราจะพบว่า ในสถานทีซ่ ง่ึ อิสลามถือก�ำเนิดขึ้นมายังไม่มสี ถาปัตยกรรม หรือรูปแบบทางวัฒนธรรม ไม่มกี ารก่อสร้าง และพัฒนาอย่างแท้จริง นอกจากนัน้ ในด้าน การศึกษา และการอบรมสัง่ สอนทีเ่ กี่ยวข้องกับการจดบันทึก การเขียน สถานทีศ่ ึกษาและ ศูนย์วจิ ยั ก็มไิ ด้มกี ารกล่าวถึงแต่อย่างใด ซึง่ ตรงตามรายงานทีบ่ นั ทึกว่า ในช่วงเวลาทีศ่ าสนา อิสลามถือก�ำเนิดขึ้นมา มีผูม้ คี วามสามารถในการเขียนหนังสือไม่ถงึ 10 คน ซึง่ บุคคลเหล่า นัน้ มีความสามารถเฉพาะอ่านออกเขียนได้เท่านัน้ ไม่ได้มคี วามสามารถในด้านความคิด ใน สภาพเช่นนัน้ อิสลามพร้อมกับพระมหาคัมภีรอ์ ลั กุรอานทีว่ ่า “ในมันนัน้ มีการอธิบายทุกสิง่ อย่าง”1 และ “เป็ นทางน�ำส�ำหรับมนุ ษยชาติ2 เป็ นทางน�ำส�ำหรับกลุม่ ชนทีย่ ดื มัน่ ”3 ได้ถูก ประทานลงมา อัลกุรอานเป็ นแนวทางทีม่ นคงแข็ ั่ งแรงในการชี้นำ� มวลมนุษยชาติ ด้วยเหตุน้ ี เอง ทุกประเด็นทีเ่ กี่ยวกับการชี้นำ� และการเป็ นผูน้ ำ� ของอิสลาม จึงถูกกล่าวไว้ในอัลกุรอาน และเช่นเดียวกัน ประเด็นทีเ่ กี่ยวกับการแนะน�ำสถานภาพของมนุษย์ ซึง่ อัลกุรอานในฐานะ

186

1  . อัลกุรอาน บทอันนะฮ์ล ์ โองการที่ 89. 2  . อัลกุรอาน บทอัลบะกอเราะฮ์ โองการที่ 185. 3  . อัลกุรอาน บทอัลอิสรออ์ โองการที่ 9.


มุอญ์ ซิ าต (ปาฏิหาริย)์ ของท่านศาสดา ผูท้ รงเกียรติ ได้เชิญชวนและท้าทายให้นำ� มาซึง่ สิง่ คล ้ายเหมือนกับอัลกุรอาน ถ้าหากมีความสงสัยในความเป็ นพระคัมภีรข์ องพระเจ้า ขณะที่ ปฏิกริ ยิ าตอบโต้ของพวกเขาต้องการท้าทาย อัลกุรอาน พวกเขาได้พบกับความล ้มเหลวและ ความพ่ายแพ้ อัลกุรอานได้สร้างอารยธรรมอันยิง่ ใหญ่ให้เกิดขึ้นในในช่วงเวลาอันเฉพาะพิเศษ ขณะนัน้ และอารยธรรมนี้ ได้แพร่ขยายไปในประเทศต่างๆ ทัง้ ตะวันออกกลาง แอฟริกา เหนือ ยุโรปตะวันตกและตะวันออก อารยธรรมนี้สำ� หรับตัวมันเองคือ วิถชี วี ติ อันเป็ นแบบ ฉบับแห่งการด�ำเนินชีวติ ที่แท้จริง เป็ นแนวทางหนึ่งในการด�ำเนินชีวติ ร่ วมกันของมวล ประชาชาติทงั้ หลาย เป็ นวิถใี นการติดต่อสัมพันธ์กนั ของสังคมภายนอก การค้าพาณิชย์ การ ท�ำธุรกรรม การแต่งงาน ปัญหาครอบครัว วัฒนธรรม การศึกษา การพัฒนา การแสวงหา ผลประโยชน์จากแร่ธาตุ และความต้องการทัง้ หมดของมนุษย์ได้ถกู น�ำเสนอไว้ พระเจ้าทรง แนะน�ำมนุษย์ ในฐานะทีเ่ ป็ นสิง่ ถูกสร้างทีป่ ระเสริฐทีส่ ุดในโลก ทัง้ ชัน้ ฟ้ า แผ่นดิน ภูเขา ทะเล ทราย ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ หมูด่ าวนพเคราะห์ สรรพสัตว์ทงั้ หลายทัง้ สัตว์เลี้ยง และสัตว์ ทีด่ รุ า้ ย ตลอดจนทุกสิง่ อย่างล ้วนแต่ถกู สร้างขึ้นมา เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกและรับใช้มนุษย์ ทัง้ สิ้น มนุษย์คอื ผูป้ กครองโลกนี้ แต่ตอ้ งเป็ นไปตามมาตราฐานแห่งเตาฮีด (ความเป็ นเอกะ ของพระเจ้า) มาตรฐานแห่งพระเจ้าได้สร้างภูมศิ าสตร์การเมือง และสังคมมนุษย์อนั ยิง่ ใหญ่ นี้ข้นึ มา และได้ออกแบบสถาปัตยกรรมพิเศษแก่โลก จนก่อเกิดวิสยั ทัศน์พเิ ศษขึ้นในโลก เพือ่ มนุษย์ อย่างไรก็ตามวิถแี ห่งอัลกุรอานและการขับเคลือ่ น ปรกอบกับการใส่ใจในปัญหา ต่างๆ ทีเ่ กิดขึ้นบนโลกนี้ ได้นำ� เสนอวิถกี ารด�ำเนินชีวติ ในรูปแบบอันเฉพาะพิเศษ ซึง่ บทความ นี้ จะขอน�ำเสนอบางส่วนของวิถชี วี ติ ทีว่ างอยู่บนพื้นฐานของอัลกุรอาน และรายงานฮะดีษ

วิถชี ีวติ แบบปล่อยวางทางโลก

สาส์น อิส ลาม

เราจะวิเคราะห์ทศั นะต่างๆ ทีเ่ กี่ยวกับวิถชี วี ติ แบบปล่อยวาง แน่นอนว่าบางทัศนะ เหล่านัน้ ขัดแย้งกับทัศนะอิสลาม ซึง่ โดยทัว่ ไปแล ้ว กล่าวได้วา่ วิถชี วี ติ ทีเ่ กี่ยวข้องกับสังคม และโลก มีดว้ ยกัน 3 แนวทาง ซึง่ ทัง้ สามแนวทางนี้ เป็ นสิง่ ทีเ่ กิดขึ้นจริงและไม่อาจกล่าวได้ ว่ามันเป็ นเพียงแนวคิดหรือทฤษฎีเท่านัน้ ซึง่ จุดประสงค์ของบทความนี้ในการอธิบายถึงวิสยั ทัศน์แรก บนพื้นฐานทีว่ า่ โลกมิใช่เป็ นเพียงสถานทีบ่ อ่ นท�ำลายบุคลิกภาพ และอัตลักษณ์ ของความเป็ นมนุษย์ โลกยังเป็ นเหมือนโซ่ตรวนทีผ่ ูกล่ามมนุษย์ เป็ นอุปสรรคกีดขวางการ เติบโต ความสุข และความสูงส่งของมนุษย์ ด้วยเหตุน้ ีเอง พวกเขาจึงมีความเชื่อว่า มนุษย์

187


จะต้องต่อสู ก้ บั การด�ำเนินชีวติ บนโลกนี้ และจะต้องก�ำจัดโลกให้ส้ นิ ไป อีกทัง้ จะต้องไม่ พยายามทีจ่ ะขยายมันให้เติบโตกว้างขึ้น หมายความว่า มนุษย์จะต้องท�ำลายและหนีหา่ งจาก การด�ำเนินชีวติ บนโลกนี้โดยสิ้นเชิง กล่าวคือ มนุษย์จะต้องไม่แต่งงาน ไม่มกี ารท�ำงานใดๆ ทัง้ สิ้น ต้องไม่ยอมรับข้อตกลงต่างๆ ทางสังคม ไม่มแี ผนการณ์ขยายโครงการต่างๆ ไม่มี การพัฒนาไปสู่ความเจริญ ไม่มกี ารค้นหาแร่ธาตุ ไม่มกี ารสัมผัสกับธรรมชาติ และสิ่ง แวดลอ้ ม มนุ ษย์จะต้องปลีกวิเวกท่องไปตามท้องทะเลทราย หรืออาศรม ทีห่ ่างไกลจาก สายตาผูค้ น และสาระวนหมกมุน่ อยู่กบั การขอพร การร�ำลึก และอยู่ในสภาพของนักพรต ตลอดไป เพือ่ ทีจ่ ะท�ำให้จติ วิญญาณของเรา ซึง่ เป็ นตัวตนทีแ่ ท้จริงของการมีอยู่ สามารถ บรรลุถงึ ฐานะภาพอันสูงส่งได้ ตามทัศนะนี้กล่าวว่า ผูท้ ป่ี ล่อยวางทางโลก คือ นักพรตทีไ่ ม่ ใส่ใจต่อการใช้ชวี ติ ทางโลก หรือเป็ นนักบวชทีม่ กี ารด�ำเนินชีวติ โดยปราศจากความรับผิด ชอบต่อหน้าที่ การผลิต การลงทุน การบูรณาการ ความก้าวหน้าทางจริยธรรม มนุษยธรรม และวัฒนธรรม ดังนัน้ จะเห็นได้วา่ ในทัศนะนี้ มีวถิ ชี วี ติ ทีพ่ เิ ศษโดยไม่ใส่ใจต่อรูปลักษณ์ ภายนอก ของการด�ำเนินชีวติ ของมนุษย์แต่อย่างใด

สาส์น อิส ลาม

188

วิถชี ีวติ แบบการแสวงหาผลประโยชน์ทางโลก

ฝ่ ายสนับสนุนวิถชี วี ติ ลักษณะนี้ ไม่มคี วามเชื่อเรื่องจิตวิญญาณ จิตด้านใน การ ด�ำรงอยู่ของวิญญาณ และวันปรโลก พวกเขามีความเชือ่ ว่า ชีวติ มนุษย์เริ่มต้นและสิ้นสุดบน โลกนี้ กล่าวคือการมีชวี ติ ของมนุษย์เริ่มต้นในโลกนี้ และต้องสิ้นสุดแค่โลกนี้ พวกเขาจึงมี ความเชื่อว่า ความตายนัน้ เป็ นเพียงการเปลีย่ นแปลงทางธรรมชาติ มิได้หมายถึง การกลาย สภาพเป็ นก้อนดิน ก้อนหิน หรือกลายเป็ นเครื่องปัน้ ดินเผา วัฏจักรชีวติ คือการหมุนเวียน เปลีย่ นไปตามธรรมชาติ มีการเปลีย่ นสีสนั และรูปร่างไปในแต่วนั ฉะนัน้ ชีวติ ของมนุ ษย์ ทัง้ หมดจ�ำกัดอยู่แค่บนโลกนี้ และทุกสิง่ อย่างก็อยู่ในโลกใบนี้ ก่อนทีม่ นุษย์จะเกิดมาและ ด�ำเนินชีวติ อยู่บนโลกใบนี้ เป็ นเรื่องทีม่ อิ าจเข้าใจได้ และเมือ่ มนุษย์ตายไปแล ้ว ก็เป็ นเรื่องที่ มิอาจเข้าใจได้เช่นกัน ดังนัน้ สิง่ ส�ำคัญคือ การใส่ใจในความเพลิดเพลิน การแสวงหาความ สุขทางโลกในแต่ละวัน การใช้ประโยชน์จากโลกให้มากทีส่ ุดเท่าทีจ่ ะเป็ นไปได้ ตลอดจนการ แสวงหาอ�ำนาจ ความมังคั ่ ง่ และการแสวงหาความสุขบนโลกนี้จนเต็มก�ำลังความสามารถ ซึง่ จะท�ำให้เรามีอำ� นาจโน้มน้าวผูอ้ ่นื ให้มคี วามเชื่อเช่นเดียวกับเรา มีความประพฤติเยี่ยงเรา ดึงดู ดความคิดของผู อ้ ่ืนให้เข้ามารวมกับความคิดของเรา เพื่อที่จะได้ปฏิบตั ิตามความ


ปรารถนาของเราในภายหลัง วัฏจักรชีวติ เริ่มต้นขึ้นจากความว่างเปล่า และสิ้นสุดลงทีค่ วาม ว่างเปล่า ทุกสิง่ อย่างจะดับสลายและสูญสิ้นไป หมายถึง การเริม่ วงจรทีผ่ ดิ พลาดอันเกิดจาก การกิน การดืม่ การสวมใส่ ความเพลิดเพลิน การมีอำ� นาจ การขับเคลือ่ นพร้อมก�ำจัดทุก อุปสรรคทีข่ วางกัน้ ทาง ซึง่ บางครัง้ อาจน�ำไปสู่การลอบสังหารบุคคลส�ำคัญ การก่อการร้าย และการสร้างปัญหาต่างๆ อีกมากมาย ชนกลุม่ นี้คอื พวกโลกนิยม ซึง่ พวกเขาไม่มคี วามเชื่อ เรื่องโลกหลังความตาย ไม่เชื่อการมีชวี ติ ในวันปรโลก พวกเขามีความเชื่อเรื่องผัสสะ โดย ถือว่าสิง่ นี้คอื จุดมุง่ หมายสูงสุดในการด�ำเนินชีวติ ของพวกเขา อย่างไรก็ตาม เรามิได้มเี จตนา ทีจ่ ะปฏิเสธแนวคิดนี้ทงั้ หมดในแง่ของวิชาการ แต่เราเชื่อว่า แนวคิดนี้ยงั ไม่ครอบคลุมและ ไม่สมบูรณ์ เพราะว่าเราไม่สามารถประเมินทุกสิง่ อย่างได้ดว้ ยวิธกี ารนี้ เนื่องจากแนวคิดนี้ เป็ นเพียงผัสสะทีไ่ ด้รบั จากการคิดค�ำนวณและการทดลองโดยอาศัยการสังเกต แม้ว่าโดยตัว ของมันแล ้วจะถือว่าเป็ นวิธกี ารทีด่ ี มีคุณค่า และมีประสิทธิภาพก็ตาม แต่มนั ไม่อาจน�ำมา ใช้ได้สำ� หรับทุกกรณี

ดังเช่น การโฆษณาเพือ่ คว้ารางวัลใหญ่จากการซื้อจ�ำนวนมาก ซึง่ ในทัศนของพวก

สาส์น อิส ลาม

นักกวีทา่ นหนึ่งได้กล่าวกวีไว้วรรคหนึ่งว่า “รากฐานของผูใ้ ช้เหตุผลเป็ นเพียงไม้ และ ไม้ไม่มคี วามคงทนแข็งแรง” มิได้หมายความว่ากวีทา่ นนี้มยิ อมรับการใช้เหตุผล ทว่าในทัศนะ ของท่าน ระบบของผัสสะเปรียบเสมือนรากฐานทีเ่ ป็ นไม้ ไม่มคี วามแข็งแรง และไม้จะใช้ได้ ดีกบั พื้นราบเรียบ แต่ไม่อาจใช้ได้กบั พื้นทุกสภาพ ดังเช่นเท้าคนเราด้วยสรีระและสถานภาพ อันเฉพาะจึงสอดคล ้องกับระบบร่างกายบางต�ำแหน่ง มิใช่ทวั ่ ทัง้ รายกาย บางสถานทีต่ อ้ งวิง่ ต้องกระโดด ต้องเงย หรือต้องก้ม ร่างกายก็จะปรับสภาพไปตามนัน้ เพือ่ ให้ไปถึงจุดหมาย สูงสุด ดังนัน้ จะเห็นว่าเท้าไม่ได้ใช้ได้ทกุ ทีเ่ สมอไป วิชาการก็เช่นกัน ดังจะเห็นว่า วิธกี ารทาง วิทยาศาสตร์ทไ่ี ด้รบั การเสนอในด้านการค้นพบโลกในปัจจุบนั เป็ นวิธกี ารทีเ่ หมาะสม แต่เรา ไม่สามารถน�ำเอาเอาวิธีการนี้มาใช้ในการรู จ้ กั โลก เพราะว่าเป็ นเพียงการใช้การสัมผัส ประสบการณ์ และการสังเกต ซึง่ จะเห็นผลปรากฏชัดเจน แต่ตอ้ งเป็ นไปตามความจริงไม่ ปิ ดบัง และถึงแม้วา่ วิธดี งั กล่าวจะสามารถตอบค�ำถามได้อย่างสมบูรณ์ และเป็ นจริงก็ตาม กระนัน้ เราก็จะพบว่า วิธกี ารนี้ไม่ได้เป็ นค�ำตอบทีแ่ น่นอน เนื่องจากทัศนะนี้ได้เน้นถึงความ เป็ นโลกนิยมเป็ นหลัก โดยถือว่าทุกสิง่ นัน้ มีค่าอยู่ในโลกนี้เท่านัน้ และเพือ่ ไปให้ถงึ เป้ าหมาย จึงมีการแข่งขันกันอย่างใหญ่หลวง

189


เขาเพียงต้องการ เรือ่ งการบริโภคกับการสรรหาความสุข ดังอัลกุรอาน กล่าวว่า “เป็ นการเล่น และการสนุกสนาน” แต่สง่ิ ทีน่ ่าเสียใจเป็ นอย่างยิง่ ในขณะทีม่ นุษย์เมือ่ ได้รบั อ�ำนาจและมี ทรัพย์สนิ มากมาย เขาก็จะแสดง “ความโอ้อวด” ค�ำว่า “ตะกอษุร” หมายถึง “การสะสมทรัพย์ สมบัตจิ ำ� นวนมากมาย”1 จะเห็นว่า อัลกุรอานโองการนี้ดา้ นหนึ่งกล่าวถึง การใช้ชวี ติ เพือ่ การ ละเล่นและการแสวงหาความสนุกสนาน ขณะทีอ่ กี ด้านหนึ่งได้กล่าวถึงเครื่องประดับ ซึง่ ถ้า มนุษย์ตอ้ งการความสวยงาม จ�ำเป็ นต้องใช้เครื่องประดับเหล่านัน้ สิง่ ทีร่ องรับอารมณ์ความ รู ส้ ึกของมนุ ษย์คือ ร่ างกาย และร่ างกายนี้ก็มเี งื่อนไขที่พิเศษเฉพาะของมันอันไม่อาจ เปลีย่ นแปลงได้ ดังนัน้ ด้านหนึ่งคือความสวยงาม ส่วนอีกด้านหนึ่งคือความโอ้อวด และ ส่วนอีกด้านหนึ่งคือ การสัง่ สมทรัพย์สมบัตอิ นั มากมายและลูกหลาน ซึง่ บุตรหลานจ�ำนวน มากมายก็ถอื ว่าเป็ น ทรัพย์สมบัตทิ ม่ี อี ยู่ของมนุษย์ แต่เมือ่ บิดามารดาของตนได้เข้าสู่ไว้วยั ชราภาพ พวกเขากลับใช้ข ้ออ้างต่างๆนานา แล ้วน�ำท่านทัง้ สองไปฝากไว้ยังบ้านพักคนชรา ดัง นัน้ โลกจึงเปรียบเสมือนดัง่ นายพรานล่าเนื้อ ซึง่ มีวธิ กี ารล่าเนื้อทีแ่ ตกต่างกัน ขณะทีเ่ ขาก�ำลัง ล่าเนื้ออยู่นนั้ เขาจะต้องมุง่ มันไปยั ่ งเหยือ่ เพือ่ ทีจ่ ะท�ำให้มนั มาติดกับดักของเขา ส่วนประเด็นทางจริยธรรม เรื่องสิทธิมนุษย์ชน และประชาธิปไตยในโลกสมัยใหม่ คือตัวอย่างของวิธกี ารล่าเนื้อของนายพราน ได้ใช้วธิ กี ารล่อเหยือ่ เพือ่ ให้มนั มาติดกับดักของ เขา และในทีส่ ุดไก่กไ็ ด้ตดิ กับดัก ซึง่ ตัวอย่างทีโ่ ดดเด่นในโลกคือ ประเด็นความสัมพันธ์ของ โลก และอาชญากรรมทีอ่ ยู่ภายใต้ขอ้ อ้างเรื่องสิทธิมนุษยชน ทัง้ ในบาห์เรน อิรกั ปากีสถาน ซีเรีย และปาเลสไตน์ทถ่ี กู ยึดครอง ดังจะเห็นว่า พวกเขาได้ใช้เล่หเ์ พทุบายจากค�ำว่า สิทธิ มนุ ษยชน มนุ ษยธรรม และการปกป้ องผูท้ ถ่ี ูกลิดรอน มาเป็ นเครื่องมือก่ออาชญากรรม อย่างไรก็ตามวิถชี วี ติ แบบนี้ เป็ นเพียงทัศนคติของโลกนิยม

สาส์น อิส ลาม

190

วิถชี ีวติ แบบอิสลาม

ทัศนทีส่ ามคือ การไม่เห็นด้วยกับทัศนะของการปล่อยวางสังคมและประชาชน แต่ สนับสนุนการใช้ชวี ติ ร่วมกัน ซึง่ การใช้ชวี ติ ในรูปแบบนี้ของมนุษย์ เป็ นการใช้ชวี ติ ควบคู่กนั ทัง้ โลกนี้และปรโลก หมายความว่า โลกนี้และปรโลกจะต้องอยู่ร่วมและเคียงข้างกัน เป็ นการ เติมเต็มความสมบูรณ์ให้แก่กนั และกัน โลกหนึ่งเป็ นการสร้างสมมติฐานให้กบั อีกโลกหนึ่ง 1  . อัลกุรอาน บทฮะดีด โองการที่ 20.


ตามวิธกี ารนี้มคี วามเชื่อว่า หากไม่มกี ารกระท�ำบนโลกนี้อย่างถูกต้อง ก็จะไปไม่มวี นั ไปถึง ปรโลกเป็ นอันขาด และหากต้องการสร้างปรโลกส�ำหรับตน เขาจะต้องตระเตรียมทุกอย่าง บนโลกนี้ และหากว่าเขาต้องการเป็ นมนุษย์ทด่ี ี ณ พระผูเ้ ป็ นเจ้า เขาจะต้องรวมทัง้ โลกนี้และ ปรโลกเข้าด้วยกัน ดังอัลกุรอาน กล่าวว่า “โอ้พระผูอ้ ภิบาลของเรา โปรดประทานความดีทงั้ ในโลกนี้ และโลกหน้าแก่เราด้วยเถิด และโปรดให้เรารอดพ้นจากไฟนรก”1 ท่านศาสดา (ซ็อลฯ) กล่าวว่า “ถือว่าไม่ใช่พวกเรา ผูท้ ล่ี ะทิ้งโลกนี้และปรโลก และผูท้ ล่ี ะทิ้งปรโลกเพือ่ โลกนี้” กลุม่ แรกมีความเชื่อว่า เราควรละทิ้งโลกนี้ไป เพราะว่าโลกรบกวนและเป็ นอุปสรรค ขวางกัน้ การกระท�ำของมนุษย์ เพือ่ ทีเ่ ขานัน้ จะไปถึงยังต�ำแหน่งทีส่ ูงสุดในการเป็ นอาริฟ (นัก รหัสยนิยม) อย่างแท้จริง ขณะทีเ่ หล่าอาริฟจอมปลอมอ้างว่า จะต้องมีการต่อสูก้ บั โลกนี้และ การละทิ้งการงาน เพือ่ ทีจ่ ะเข้าถึงอาลัมบัรซัคและโลกแห่งจิตวิญญาณ ในขณะทีท่ ่านศาสดา ผูท้ รงเกียรติ (ซ็อลฯ) กล่าวว่า “ผูท้ ล่ี ะทิ้งปรโลกเพือ่ โลกนี้ เขานัน้ มิได้มาจากฉัน” แล ้วผูใ้ ด หรือเป็ นผูท้ ม่ี าจากท่านศาสดา ผูน้ นั้ คือผูท้ ม่ี ที งั้ โลกนี้และปรโลก หมายความว่า เขาเอาใจใส่ ทัง้ ในโลกนี้และปรโลก ดังนัน้ วิถชี วี ติ แบบนี้จะอยูใ่ นสถานภาพทีส่ ามารถให้คำ� ตอบ และมีความรับผิดชอบ แน่นอน ซึง่ หน้าทีค่ วามรับผิดชอบของมนุษย์แบ่งเป็ น 4 ประเภท กล่าวคือ ความรับผิดชอบ ต่อพระเจ้า ต่อตัวเอง ต่อประชาชน และต่อธรรมชาติ ซึง่ ธรรมชาติน้ ีไม่ใช่ธรรมชาติของผูท้ ่ี ไม่ยอมรับในหลักเตาฮีด (ความเป็ นเอกะของพระเจ้า) ทว่าหมายถึง พื้นดิน พื้นน�ำ้ ดิน ภูเขา ทะเลทราย สรรพสัตว์ ดอกไม้ พืชพันธุ ์ และความโปรดปรานทัง้ หมดทีม่ อี ยู่

1  . อัลกุรอาน บทอัลบะกอเราะฮ์ โองการที่ 201.

สาส์น อิส ลาม

ส่วนประเด็นเกี่ยวกับมลพิษทางเสียงทีม่ อี ยู่ในปัจจุบนั เป็ นประเด็นของธรรมชาติ หรือมลพิษทางอากาศ มลพิษทางน�ำ้ และปัญหาต่างๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง เช่น ความรุนแรงทีเ่ พิม่ ขึ้นของก๊าซเรือนกระจกทัวโลก ่ ท�ำให้เกิดปัญหากับระบบโอโซนทางอากาศ และการใช้ชวี ติ ที่ ยากล�ำบากเพิม่ ขึ้น นี่คอื ความหมายของค�ำว่า ธรรมชาติ ซึง่ เป็ นธรรมชาติทเ่ี รานัน้ จะต้อง เยียวยารักษา เพือ่ จะได้สามารถด�ำเนินชีวติ ต่อไปได้ ในทัศนนี้มนุษย์มคี วามเชือ่ ว่า เนื่องจาก เขามีความสัมพันธ์กบั พระเจ้า ดังนัน้ พระเจ้าจึงมีสทิ ธิเหนือพวกเขา ซึง่ พวกเขามีหน้าทีป่ ฏิบตั ิ ตาม มนุษย์มคี วามสัมพันธ์กบั ตัวเอง ดังนัน้ ไม่วา่ จะเป็ นจิตวิญญาณ สายตา หู และอวัยวะ

191


สาส์น อิส ลาม

192

ส่วนอืน่ ๆ ของร่างกายต่างมีสทิ ธิ ซึง่ เขาจะต้องรักษาสิทธินนั้ ส่วนกรณีสทิ ธิทม่ี ตี ่อมนุษย์ดว้ ย กัน กล่าวคือ สิทธิของบิดาและมารดา สิทธิของภรรยาและบุตร สิทธิของครูบาอาจารย์และ ลูกศิษย์ สิทธิของผู ้ปกครอง ทีป่ รึกษา สิทธิของมิตร และเพือ่ นบ้าน และความสัมพันธ์ทงั้ หมด เหล่านี้เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ทางสังคม ซึง่ จะต้องปฏิบตั ติ ามสิทธิเหล่านี้ และหากไม่เป็ น ไปตามนัน้ ก็จะถือว่าเป็ นหนี้บญ ุ คุณของคนเหล่านี้ น�ำ้ พืช พื้นดิน ทะเลทราย ดวงอาทิตย์ และสิง่ เหล่านี้ทงั้ หมดนัน้ มีสทิ ธิ และทัง้ หมดเหล่านัน้ ถูกสร้างขึ้นมาเพือ่ การด�ำเนินชีวติ ของ มนุษย์ มวลหมูเ่ มฆ ลม หมอก ดวงตะวัน และจักราษี ต่างโคจรหมุนเวียนเพือ่ เจ้าจะได้รบั อาหาร และบริโภคอย่างผูไ้ ม่หลงลืม ทัง้ หมดได้รบั ประโยชน์ และต่างเชือ่ ฟังปฏิบตั ติ าม หาก เงือ่ นไขไม่ยุตธิ รรม เจ้าก็มติ อ้ งเชื่อฟังปฏิบตั ติ าม ดังนัน้ ตามความเชื่อนี้ มนุษย์จงึ ไม่มสี ทิ ธิ ท�ำให้นำ�้ สกปรก หรือปล่อยของเสียท�ำลายสภาพแวดล ้อม หรือจุดไฟท�ำลายบรรยากาศ ท�ำให้ ประกายไฟลุกลามกลายเป็ นไฟไหม้ป่ า ขณะทีค่ ำ� สอนของอิสลามได้จดั ระเบียบความประพฤติ ของมนุษย์ไว้ 4 รูปแบบด้วยกัน ซึง่ ทัง้ 4 รูปแบนี้ครอบคลุมทัง้ ในด้านวัตถุ ปัจเจกบุคคล สังคม การเมืองและเศรษฐกิจ โดยมีข ้อบังคับในการปฏิบตั ิ ซึง่ ข้อบังคับเหล่านัน้ จะเสริมสร้าง ให้มนุ ษย์อยู่ในกรอบของความชอบธรรม และจะโต้ตอบเมือ่ ไม่ได้รบั ความชอบธรรม ถ้า หากว่าสังคมปัจจุบนั ไม่มกี ารร่างกฏหมาย ก็จะเกิดการวางเฉยไม่ใส่ใจขึ้นมากมาย ดังค�ำที่ กล่าวทีว่ า่ เมือ่ ถึงไปถึงสวนจะต้องเด็ดดอกไม้ แต่ไม่สำ� คัญว่าดอกไม้นัน้ จะเป็ นของผูใ้ ด เมือ่ เขาต้องการที่จะท�ำเขาก็จะกระท�ำตามใจปรารถนา และไม่จำ� เป็ นต้องสนใจใครหรือตอบ ค�ำถามผูใ้ ด วิถกี ารด�ำเนินชีวติ แบบลัทธิเพิกเฉย จะก่อให้เกิดผลเสียต่อครอบครัวและสังคม การอบรมสังสอนลั ่ กษณะนี้นกั เรียน จะเป็ นผูท้ ำ� ลายสภาพแวดล ้อมทางการศึกษาทุกรูปแบบ ซึง่ ไม่สำ� คัญว่าปกรณ์การศึกษานัน้ จะใช้สำ� หรับทุกคน ซึง่ การกระท�ำเหล่านี้จะท�ำให้มนุ ษย์ กลายเป็ นหนี้สงั คม ส่วนการอบรมแบบอิสลาม แม้แต่การเดินเข้ามาในสถานทีแ่ ห่งหนึ่ง หรือ การนัง่ ใกล ้ชิดคนใดคนหนึ่งยังมีการอธิบายให้รบั รูว้ า่ จะต้องประพฤติตนอย่างไร ซึง่ ผูท้ เ่ี ดิน เข้ามาจะต้องรูว้ า่ ตนต้องวางท่าที หรือประพฤติตน หรือตอบสนองอย่างไร ซึง่ รายละเอียด ทัง้ หมดนัน้ มีการกล่าวไว้ในค�ำสอนของอิสลาม ดังนัน้ ในกรอบความสัมพันธ์กบั ตัวเองและ ผูอ้ น่ื ความสัมพันธ์กบั ธรรมชาติและพระเจ้า จึงได้รบั การตรวจสอบไว้อย่างละเอียดและยัง มีขอ้ บังคับในการปฏิบตั ิ สิทธิของพระเจ้าถือเป็ นสิทธิทใ่ี หญ่ทส่ี ุด และด้วยเหตุผลใดสิทธิ ของพระองค์จึงเป็ นสิทธิท่ีใหญ่ท่ีสุด? เนื่องจากสิทธิทงั้ หมดนัน้ เกิดขึ้นมาจากสิทธิของ พระองค์ทงั้ สิ้น หมายถึง หากว่ามนุษย์ไม่รูจ้ กั สิทธิของพระเจ้า แน่นอนว่าเขาก็จะไม่รูจ้ กั และ


1  . อัลกุรอาน บทอัลบะกอเราะฮ์ โองการที่ 131.

สาส์น อิส ลาม

ไม่ใส่ใจในสิทธิของผูอ้ ่นื สิทธิของพระเจ้าเป็ นสิทธิทม่ี คี วามส�ำคัญอันดับแรก ซึง่ สิทธิของ พระเจ้ามี 2 ลักษณะ กล่าวคือสิทธิในการรูจ้ กั พระองค์ และสิทธิในการเชื่อฟังปฏิบตั ติ ามพ ระองค์ดว้ ยความบริสุทธิ์ใจ อีกนัยหนึ่งเราจะต้องท�ำความรูจ้ กั พระองค์ และด้านหนึ่งเราต้อง ยอมจ�ำนนต่อพระองค์โดยดุษฎี ดังนัน้ การยอมในสิทธิของพระเจ้าแต่ไม่ยอมรับเงือ่ นไขจึง เป็ นไปไม่ได้ เหมือนผูท้ ต่ี อ้ งการสักยันต์รูปสิงโตลงบนร่างกายของเขา เพือ่ แสดงให้เห็นถึง ความกล ้าหาญ ซึง่ เขาคิดเองว่าดูเหมือนว่าง่าย เขาจึงได้ไปหาช่างสักยันต์เพือ่ ทีจ่ ะขอให้เขา สักยันต์รูปสิงโต แต่หลังจากทีร่ ูปสิงโตถูกวาดลงบนตัวของเขา เขาก็คดิ ว่าการสักยันต์นนั้ ง่ายและคงไม่มคี วามเจ็บปวดอันใดทัง้ สิ้น หลังจากทีเ่ ขาทนความเจ็บปวดไปได้สกั พักหนึ่ง ความอดทนเริ่มลดน้อยลง เขาจึงถามช่างสักว่า ท่านจะเริ่มสักส่วนไหนของสิงโตอีก ช่างสัก ได้ตอบว่า ส่วนหัว เขาจึงบอกว่าไม่ตอ้ งสักหัวสิงโตก็ได้ หลังจากทีเ่ ขาไม่อาจทนต่อความเจ็บ ปวดได้ เขาจึงละความพยายามในการสักส่วนอืน่ ของสิงโต ช่างสักจึงได้บอกกับเขาว่า สิงโต ทีไ่ ม่หวั ไม่มหี างและไม่มที อ้ ง มันไม่ใช่สงิ โต ดังนัน้ ผูใ้ ดก็ตามทีก่ า้ วเดินตามวิถขี องพระเจ้า เขาก็จะต้องมอบตนเองและวิญญาณให้ยอมจ�ำนนต่อพระองค์โดยไม่มเี งือ่ นไข เหมือนการ สักยันต์ท่ีตอ้ งทนทุกข์ทรมานกับความเจ็บปวด จึงจะได้รูปสิงโตที่สมบูรณ์และมีความ สวยงาม ท�ำนองเดียวกันเขาต้องยอมจ�ำนนต่อพระเจ้าโดยดุษฎี เพือ่ ทีจ่ ะไปถึงยังจุดสูงสุด และได้รบั เลือกจากพระองค์ ดังอัลกุรอานกล่าวถึงการใช้ชวี ติ ของศาสดาอิบรอฮีม (อ.) ว่า เขาเป็ นผูท้ ไ่ี ด้รบั การคัดเลือกของพระเจ้าในโลกนี้ และเป็ นผูม้ คี วามประเสริฐในโลกหน้า เขา คือตัวอย่างในการเลือกสรร (บทบะเกาะเราะฮฺ) หลังจากนัน้ อธิบายว่า เขาได้รบั การคัดเลือก ได้อย่างไร และเพราะเหตุผลใดเขาจึงบ่าวทีป่ ระเสริฐ “เมือ่ พระเจ้าทรงรับสังให้ ่ เขาปฏิบตั ิ เขา ก็ยอมจ�ำนน เมือ่ พระองค์ตรัสว่า ลูกชายของเจ้า จะต้องถูกสังหาร เขาก็ได้ปฏิบตั ติ าม เมือ่ พระองค์ตรัสกับเขาว่าให้เจ้าเข้าไปในกองไฟ เขาก็ปฏิบตั ติ าม เขาต้องจ�ำพรากจากครอบครัว เขาก็ปฏิบตั ติ าม ในทุกกรณีทพ่ี ระองค์ตรัส เขาก็ปฏิบตั ติ าม ฉันได้ยอมจ�ำนนต่อพระผูอ้ ภิบาล แห่งสากลจักรวาล”1 นี่คอื หลักในวิถกี ารด�ำเนินชีวติ หมายถึงการน�ำวิถแี บบศาสนามาเป็ น ครรลองในการด�ำเนินชีวติ ทีม่ พี ระเจ้าเป็ นเป้ าหมาย ซึง่ ได้กำ� หนดบทบาทหน้าทีข่ องตนต่อบุ คคอืน่ ให้อยูใ่ นขอบข่ายของการใช้สติปญั ญาบนพื้นฐานของโลกสมัยใหม่ อิสลามไม่ประสงค์ ให้ผูใ้ ดปฏิบตั ติ ามเยีย่ งคนหูหนวกตาบอด ทว่าไม่อนุญาตให้กระท�ำเช่นนัน้ เด็ดขาด แต่ถา้ ผู ้

193


ใดออกนอกกรอบทีก่ ล่าวมาถือว่าเป็ นผูอ้ ธรรม ศาสนาได้สง่ สาส์น 2 ประการแก่มนุษย์ กล่าว คือ “เจ้าจงใช้ชวี ติ อยู่ในโลกนี้เหมือนกับว่าเจ้าจะมีชวี ติ นิรนั ดร์ และจงอยู่กบั โลกหน้าเหมือน กับเจ้านัน้ จะตายจากโลกนี้ในวันพรุ่งนี้” เจ้าจงปฏิบตั ภิ ารกิจบนโลกนี้ประดุจดังเจ้าจะมีชวี ติ อยู่ตลอดไป นี่คอื เป้ าหมายอันยิง่ ใหญ่สำ� หรับการพัฒนาหน้าทีก่ ารงาน รายได้ และการผลิต การสร้างชีวติ เพือ่ ควบคุมโลกทัง้ หมด ดังทีก่ ล่าวว่า เจ้าจงใช้ชวี ติ บนโลกนี้เหมือนเจ้าจะมีชวี ติ นิรนั ดร์ ขณะเดียวกันจงใช้ชวี ติ เพือ่ ปรโลก ประหนึ่งว่าพรุ่งนี้เจ้าจะตายจากโลกไป หมายความ ว่า เจ้าจงใช้ชวี ติ บนโลกนี้ เพือ่ การเตรียมพร้อมประหนึ่งว่าพรุ่งนี้จะเป็ นวันตายส�ำหรับเจ้า มิได้หมายความว่าเมือ่ รูว้ า่ จะต้องตายแล ้ว จึงไม่พฒั นาและไม่สร้างสรรสิง่ ใดบนโลกนี้ อัลลอฮฺ (ซบ.) กล่าวถึงมนุษย์ไว้ในอัลกุรอานว่า “อัลลอฮฺ ทรงสร้างมนุษย์ข้นึ จากดิน และทรงให้เจ้า เป็ นสถาปนิกแห่งโลก” (ซูเราะฮฺ ฮูด) ค�ำว่า อิสตะอฺมะเราะกุม ฟี ฮา” หมายถึงพระองค์ประสงค์ ให้มนุ ษย์สร้างและพัฒนาโลกนี้ อย่างไรก็ตามนี่คือพื้นฐานการด�ำเนินชีวติ อันเฉพาะ ทีไ่ ด้ ผนวกวิถชี วี ติ ทัง้ โลกนี้และโลกหน้าเข้าด้วยกันกล่าววคือ ให้พฒั นาโลกนี้ให้เจริญเท่าปรโลก และใส่ใจต่อปรโลกโดยน�ำเอาปรโลกมาไว้เคียงข้างกับโลกนี้ และท�ำให้โลกนี้เป็ นสถาน ประกอบศาสนกิจเพือ่ ก้าวไปสู่โลกหน้าอย่างภาคภูมิ

สาส์น อิส ลาม

194

บทสรุป

จากการวิเคราะห์รูปแบบการด�ำเนินชีวติ จะเห็นว่าบางคนด�ำรงขีวติ อยู่เพือ่ โลกนี้ อย่างเดียว บางคนอยู่เพือ่ โลกหน้า และบางคนก็ปล่อยวางโลกนี้ ท�ำให้ได้บทสรุปว่าการมีอยู่ ของมนุษย์นนั้ มี 2 มิติ กล่าวคือมิตทิ างร่างกายและจิตวิญญาณ และนี่คอื สิง่ ส�ำคัญทีไ่ ด้รบั จากค�ำสอนของอิสลาม ซึง่ ได้ครอบคุมคุณลักษณะของมนุษย์ทงั้ หมด และเป็ นวิถที าง อิสลาม ได้อธิบายปัญหาจนได้บนทสรุปว่า วิถชี วี ติ มนุษย์ประกอบกันหลายมิตมิ ที งั้ มิตทิ เ่ี ป็ นปัจเจก ชน ครอบครัว สังคม การเมือง และการปกครอง นอกจากนัน้ ยังต้องมีความสัมพันธ์อย่าง ถูกต้อง ระหว่างบิดา มารดาและบุตร บนพื้นฐานของความอิสระเสรีในการกระท�ำและความ พฤติกรรม เพือ่ น�ำไปสู่การกระท�ำและการผลิต อย่างไรก็ตาม อิสลามได้สงั ่ สอนและอธิบาย วิถกี ารด�ำเนินชีวติ ตามค�ำสอนของอิสลามไว้อย่างสมบูรณ์แบบ มีกรอบความสัมพันธ์ทงั้ กับ ตนเอง ผูอ้ น่ื ความสัมพันธ์กบั ธรรมชาติ และพระเจ้า และมีเงือ่ นไขในการปฏิบตั ซิ ง่ึ ได้รบั การวิเคราะห์ไว้อย่างพิถพี ถิ นั รอบครอบ เพือ่ เป็ นค�ำตอบแก่ประชาชนในทุกยุคทุกสมัย



‫مقدمه‬ ‫پیروزی انقالب اسالمی ایران تحوالت و دگرگونیهای بسیاری در معادالت فرهنگی‪،‬‬ ‫اجتامعی و سیاسی با خود بهمراه داشته و بعنوان نقطه عطفی در شکل گیری متدن‬ ‫نوین اسالمی محسوب میگردد‪ .‬انقالب اسالمی ایران در واقع در طی بیش از ‪4‬دهه‬ ‫بالندگی‪ ،‬توسعه و پیرشفت با وجود موانع و چالشهای زیادی که در برابرش ایجاد کردند‪،‬‬ ‫از طریق تقویت بنیان های پیرشفت و توسعه موجب بسرتسازی و احیای متدن نوین‬ ‫اسالمی و دستاوردهای متنوع آن شده است‪ .‬این دستاوردها که عمدتا حاصل تکیه بر‬ ‫رسمایه های انسانی و منابع داخل کشور بنا شده است‪ ،‬زمینه مساعدی برای مطالعه‬ ‫صاحبنظران و دانشمندان بعنوان الگو و مدل پیرشفت متدن نوین را فراهم آورده است‬ ‫بر این اساس مبناسبت ‪ 42‬مین سالگرد پیروزی انقالب اسالمی در بهمن ماه ‪1399‬‬ ‫(فوریه ‪ )2021‬با همکاری برخی علام و دانشمندان معرفی و تبیین متدن نوین اسالمی‪،‬‬ ‫نقش مولفه ها و عوامل مؤثر بر شکل گیری و تحقق دستاوردهای آن را بعنوان آرمان‬ ‫انقالب اسالمی بر مبنای اندیشه رهرب معظم انقالب اسالمی حرضت آیت الله خامنه ای‬ ‫(مدظله) را بصورت نشستی علمی برگزار کردیم که مورد توجه و عنایت واقع گردید‬ ‫به این مناسبت مقاالت این نشست علمی بر مبنای دیدگاه رهرب معظم انقالب بعنوان‬ ‫محور موضوعی این شامره از نرشیه پیام اسالم تنظیم و تقدیم میگردد‪ .‬امید است گامی‬ ‫مؤثر در شناخت متدن نوین اسالمی و توسعه روابط فرهنگی سازنده دو کشور موجب‬ ‫گردیده و مورد عنایت و استفاده اندیشمندان و متفکران و عالقمندان مطالعات ایران‬ ‫اسالمی قرار گیرد‪ .‬در خامته از کلیه مرتجامن و مولفان مقاالت و همچنین دستاندرکاران‬ ‫این نرشیه بویژه دبیران علمی و اجرای این شامره تشکر و قدردانی میگردد‬

‫‪สาส์น อิส ลาม‬‬

‫مهدی حسنخانی‬ ‫رایزن فرهنگی‬ ‫سفارت ج‪.‬ا‪.‬ایران ‪ -‬تایلند‬

‫‪196‬‬



‫پیام اسالم‬

‫دوره نوزدمه ‪ -‬ش�ره یک ‪ -‬ب�من ‪1399‬‬

‫فهرست‬ ‫مقدمه‪7..................................................................................................................‬‬ ‫رسدبیر‪8..................................................................................................................‬‬ ‫انقالب اسالمی و نقش آن در شکل گیری متدن نوین اسالمی‪11.................................‬‬ ‫جایگاه انقالب اسالمی در تکوین متدن نوین اسالمی‪39.............................................‬‬ ‫زمینه های تحقق متدن نوین اسالمی در جامعه اسالمی‪87........................................‬‬ ‫تبیین عوامل ایجاد متدن نوین اسالمی از نگاه آیت الله خامنه ای‪111.......................‬‬ ‫متدن نوین اسالمی در اندیشه آیت الله خامنه ای‪147..............................................‬‬ ‫درآمدی بر سبک زندگی اسالمی در آیات و روایات‪185 ...........................................‬‬



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.