Message of Islam -vol 18- No .1

Page 1



2

สาส์น อิส ลาม


บรรณาธิการอ�ำนวยการ มะฮ์ดยี ์ ฮะซันคอนีย์

บรรณาธิการ

ประเสริฐ สุขศาสน์กวิน

ศิลปกรรมและรูปเล่ ม อะลี กัลเอะบอล ศราวุฒิ พิชยั รัตน์

ผลิตโดย

ศูนย์วฒ ั นธรรม สถานเอกอัครราชทูต สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ประจ�ำกรุงเทพฯ 106 - 106/1 ซอยเจริญมิตร สุขมุ วิท 63 เอกมัย 10 แยก 6 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110

โทร : 02-392 2620 โทรสาร : 02-392 2623 อี เมล์ : cultural_iran@yahoo.com เว็บไซต์ : www.bangkok.icro.ir ทรรศนะและความคิดเห็นในนิตยสาร (บทความวิชาการ) นี้ ไม่จ�ำเป็ นต้อง ถือว่าเป็ นจุดยืนอย่างเป็ นทางการของ ศูนย์วฒ ั นธรรมฯ เรายินดีต้อนรับ ข้อเขียนจากนักเขียนและนักวิชาการ ทัวไป ่ ขอสงวนสิทธิ ์ในการคัดเลือกและ ตัดตอนข้อความที่ไม่สมควร โดยไม่ปิดบังความหมายของผู้เขียน และผู้เขียนบทความนัน้ ๆ จะเป็ น ผู้รบั ผิดชอบบทความของตน

DIRECTOR

Mehdi Hassankhani

EDITOR

Prasert Suksaskawin

ARTWORK

Sarawut Pichaira

PUBLISHED BY

Cultural Center of The Embassy of the Islamic Republic of Iran Bangkok 106 - 106/1 Soi Charoen Mitt, Ekamai Soi 10 Sukhumvit 63, Kwang Klongton Nua, Khet Vadhana, Bangkok 10110

Tel : 02-392 2620 Fax : 02-392 2623 E-mail : cultural_iran@yahoo.com Web : www.bangkok.icro.ir


4

สาส์น อิส ลาม


สาส์นอิสลาม ปี ที่ 18 ฉบับที่ 1 กันยายน - ธันวาคม 2562

สารบัญ

• บรรณาธิ ก าร....................................................................................7 • ความสมานฉัน ท์ต ามกรอบแนวคิ ด ของอิ ส ลาม.........................................9 • โลกปัจ จุ บ นั กับ ความจ�ำ เป็ นต่ อ การสร้า งสมานฉัน ท์ ระหว่ า งศาสนาและนิ ก าย...................................................................23 • ปรัช ญาอิ ส ลามกับ ว่ า ด้ว ยเรื่ อ งความสมานฉัน ท์ร ะหว่ า งศาสนา.....................31 • พหุ นิ ย มทางศาสนากับ หลัก สมานฉัน ท์ร ะหว่ า งศาสนาและนิ ก าย...................41 • พระพุ ท ธศาสนากับ หลัก การด�ำ รงชี วิต ในสัง คมพหุ ว ฒ ั นธรรม ......................51 • ปรัช ญาศาสนสัม พัน ธ์. ........................................................................65 • มุม มองปรัช ญากับ ความสมานฉัน ท์เ ชิ ง พหุ ว ฒ ั นธรรม.................................77 • กรณี ศึ ก ษา จุ ฬ าราชมนตรี ต่ ว น สุ ว รรณศาสน์ : ชี วิต และแบบอย่ า ง การอยู่ ร่ ว มกัน อย่ า งสมานฉัน ท์ใ นสัง คมพหุ ว ฒ ั นธรรม...............................91 • หลัก การอยู่ ร่ ว มกัน จากประสบการณ์ ช าวพุ ท ธ........................................105 • อิ น เดี ย : บทเรี ย นการเรี ย นรู เ้ พื่อ ก้า วข้า มเส้น พรมแดนแห่ ง ความเชื่ อ และความสมานฉัน ท์ใ นสัง คมแบบพหุ . .................................................115


6

สาส์น อิส ลาม


บรรณาธิ ก าร ตลอดระยะเวลาของสาส์นอิสลาม ได้ให้ความส�ำคัญในการเพิ่มพูนความรู เ้ กี่ยวกับอิสลาม มุฮมั มะดีย ์ (ศ็อล) อันบริสุทธิ์ และเน้นความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับหลักค�ำสอนของพระมหาคัมภีร ์ อัลกุรอานและวิชาการของอะฮ์ลุลบัยต์ (อ) เป็ นแหล่งของผลงานและการบริการแก่บรรดานักวิชาการ ของสังคมไทยเรื่อยมา แน่ นอนว่าสัญลักษณ์หนึ่งของความเจริญและความสู งส่งทางวัฒนธรรมและสังคมของสังคม หนึ่งนัน้ ขึ้นอยู่กบั ระดับความร่วมมือกันทางด้านจิตวิญญาณบนพื้นฐานของจุดร่วมทีเ่ หมือนกันของแต่ละ ศาสนาและนิกายต่างๆ ดังนัน้ การสานเสวนาของแต่ละศาสนิกชน การหาจุดร่วมเพือ่ สร้างสันติภาพและ การอยู่ร่วมกันอย่างสันติถอื เป็ นเสาหลักของการก่อให้เกิดความเป็ นน�ำ้ หนึ่งใจเดียวและความร่วมไม้ ร่วมมือกันของคนในสังคม บรรดาผูร้ ูแ้ ละนักวิชาการอิสลามให้ความส�ำคัญด้านการสร้างศักยภาพในการอยู่ร่วมกันอย่าง สันติบนพื้นฐานของสาระธรรมค�ำสอนของศาสนาอิสลามเสมอมา ซึง่ สามารถน�ำมาใช้ได้อย่างน่าอัศจรรย์ ในสังคมพหุวฒั นธรรม พระมหาคัมภีรอ์ ลั กรุอานได้กล่าวถึงเรื่องนี้วา่ ‫) ال َِّذي َن يَ ْستَ ِم ُعو َن الْ َق ْو َل فَ َيتَّ ِب ُعو َن أَ ْح َس َن ُه‬17( ‫ش ِعبا ِد‬ ْ ِّ ‫فَ َب‬ 18 ‫ْباب‬ ِ ‫أُول ِئ َك ال َِّذي َن َهدا ُه ُم اللَّ ُه َوأُول ِئ َك ُه ْم أُولُوا ْالَل‬ “...ดังนัน้ จงแจ้งข่าวดีแก่ปวงบ่าวของข้า (17) บรรดาผูท้ สี ่ ดับฟังค�ำกล่าวแล ้วปฏิบตั ติ าม ทีด่ ีทสี ่ ดุ ของมัน ชนเหล่านี้คือบรรดาผูท้ อี ่ ลั ลอฮ์ทรงชี้แนะแนวทางทีถ่ กู ต้องแก่พวกเขา และพวกเขาคือผูท้ มี ่ สี ติปญั ญาใคร่ครวญ (18)” (อัลกุรอานบทอัซซุมรั โองการ 17-18)

สาส์น อิส ลาม

อันทีจ่ ริงอัลกุรอานไม่เพียงส่งเสริมและเชิญชวนมนุษย์สู่การสานเสวนาเท่านัน้ แต่ยงั อธิบายถึง การยินดีรบั ฟังความคิดเห็นของผูอ้ ่นื อีกด้วยโดยให้เลือกและปฏิบตั ิตามความคิดเห็นทีด่ ที สี ุด นัน้ คือ คุณลักษณะเฉพาะของมนุ ษย์ทไ่ี ด้รบั การชี้นำ� แลว้ จากพระผูเ้ ป็ นเจ้าและได้รบั การขนานนามว่าเป็ นผูท้ ม่ี ี สติปญั ญาใคร่ครวญ พระมหาคัมภีรอ์ ลั กรุอานยังกล่าวถึงเงือ่ นไขส�ำคัญในการสานเสวนาเอาไว้นัน่ คือการ ให้เกียรติแก่ความคิดเห็นของผูอ้ น่ื และห้ามบรรดาผูศ้ รัทธาดูหมิน่ สิง่ ศักดิ์สทิ ธิ์และพระเจ้าทีเ่ ป็ นทีเ่ คารพ นับถือในศาสนาต่างๆ ไว้ดว้ ยเช่นกัน (อัลกุรอานบทอัลอันอาม โองการที่ 108)

7


ในขณะเดียวกันเป็ นทีช่ ดั เจนว่าศาสนาและโลกทัศน์แห่งจิตวิญญาณอืน่ ๆ เช่นหลักค�ำสอนของ พุทธศาสนาก็ส่งเสริมการสานเสวนาและการให้เกียรติแก่ศาสนาและนิกายอืน่ ๆ เช่นกัน ทัง้ นี้เพือ่ ความ สงบสุขและความเจริญก้าวหน้าของประเทศชาติ สาส์นอิสลามฉบับนี้ได้จดั ท�ำขึ้นในหัวข้อ “ศักยภาพการสร้างสันติภาพและความสมานฉันท์ ระหว่างศาสนาและนิกาย” เพือ่ ให้ทา่ นผูอ้ ่านได้รบั ประโยชน์จากทัศนะต่างๆ ของนักวิชาการทีเ่ ป็ นเจ้าของ บทความ และเข้าใจถึงศักยภาพของจุดร่วมระหว่างศาสนาอิสลามและศาสนาพุทธ อันเป็ นค�ำสอนที ่ โดดเด่นในศาสนาอิสลาม หวังเป็ นอย่างยิ่งว่าบรรดานักวิชาการและนักอ่านที่เคารพทุกท่านจะท�ำให้เราได้รบั ประโยชน์ จากมุมมองและประเด็นทีส่ ร้างสรรค์จากบทความสาส์นอิสลามฉบับนี้ โดยชุดบทความนี้จดั ท�ำเพือ่ เป็ น แนวทางในการเสริมสร้างความสมานฉันท์และขยายความร่วมมือกันทางด้านจิตวิญญาณและให้ศาสนา มีบทบาทในการสร้างสังคมทีเ่ จริญสูค่ วามสูงส่งภายใต้ร่มเงาแห่งความปลอดภัยและความสงบสุขทัง้ ด้าน วัตถุและจิตวิญญาณ

สาส์น อิส ลาม

มะดีย ์ ฮะซันคอนีย ์ พฤศจิกายน 2562

8


ความสมานฉั น ท์ ต ามกรอบแนวคิ ด ของอิ ส ลาม ดร.อนุ ช า อาเมน อาจารย์พิเ ศษ ภาควิช าภาษาตะวัน ออก มหาวิท ยาลัย ศิ ล ปกร

สาส์น อิส ลาม

บทคั ด ย่ อ ค�ำ สอนของศาสนาอิ ส ลาม มุ่ง มัน่ ให้ร กั สัน ติ แ ละเรี ย กร้อ งไปสู่ ส นั ติ ภ าพทัง้ มิติ ภายนอกและมิติ ภ ายในอี ก ทัง้ ยัง ส่ ง เสริ ม ให้ม นุ ษ ยชาติ อ ยู่ ร่ ว มกัน อย่ า งสัน ติ เพราะ ว่ า โลกใบนี้ เ ต็ ม ไปด้ว ยวัฒ นธรรมที่ ห ลากหลายและมีค วามเชื่ อ ที่ แ ตกต่ า งกัน จึ ง ถือ ได้ว่ า จ�ำ เป็ นจะต้อ งยอมรับ สิ่ ง ส�ำ คัญ หนึ่ ง ของวิถี ชี วิต มนุ ษ ย์ นัน่ คื อ เรื่ อ งการอยู่ ร่ ว ม กัน อย่ า งสัน ติ และล�ำ ดับ ต่ อ มาจะต้อ งศึ ก ษาเรื่ อ งความหลากหลายของวัฒ นธรรม ศึ ก ษาชี วิต ความเป็ น อยู่ ท่ีแ ตกต่ า งและความหลากทางความเชื่ อ ของมนุ ษ ย์ โดยผ่ า น การเรี ย นรู ท้ างวัฒ นธรรม ผ่ า นวิถีป ฎิ บ ตั ิ ท างศาสนาของกลุ่ ม ชนที่ ต่ า งกัน การใช้ค วามรู ้ คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม เพื่อ “เข้า ใจผู อ้ ื ่น ” เข้า ใจความเป็ น อยู่ ข อง คนในที่ ท่ี มีค วามเชื่ อ ต่ า งกัน รวมทัง้ ที่ จ ะเรี ย นรู ้ “วิ ธี ก าร” ที่ เ ราจะอยู่ ร่ ว มกับ ผู อ้ ่ื น ได้ อย่ า งมีค วามสุ ข การเรี ย นรู แ้ ละเข้า ใจวัฒ นธรรมของผู อ้ ่ื น กลุ่ ม ชน ศาสนิ ก อื่ น คื อ การปรับ ตัว เพื่อ การเข้า ใจต่ อ กัน และสามารถลดความขัด แย้ง จะสร้า งสัน ติ สุ ข ในการ อยู่ ร่ ว มกัน นอกจากนั้น การรู จ้ ัก วัฒ นธรรมระหว่ า งกัน และกัน ยัง ท�ำ ให้เ รารู อ้ ี ก ว่ า อะไรที่ค วรท�ำ หรื อ อะไรที่ไ ม่ ค วรท�ำ เรื่ อ งใดที่เ ขายึ ด ถือ เคารพ ห้า มละเมิด และยอม ได้ห รื อ ยอมไม่ ไ ด้ ในบางเรื่ อ งผู ท้ ่ีเ ป็ น เจ้า ของวัฒ นธรรมจะเป็ น คนบอกเองว่ า อะไรที่ เป็ น ข้อ ผ่ อ นปรนได้ อะไรที่ผ่ อ นปรนไม่ ไ ด้ อะไรคื อ เรื่ อ งหลัก อะไรคื อ เรื่ อ งรอง และ ที่ส �ำ คัญ ไปกว่ า นั้น ก็ คื อ การเข้า ถึง ปรัช ญาการสร้า งมนุ ษ ย์บ นความหลากหลาย ซึ่ง เป้ า หมายเพื่อ ให้ม นุ ษ ย์เ รี ย นรู ก้ ัน และกัน และให้เ กี ย รติ ต่ อ กัน ไม่ ล ะเมิด สิ ท ธิ ก ัน และกัน และเพื่อ ให้เ กิ ด ความสมานฉัน ท์ใ นการใช้ชี วิต ร่ ว มกัน นัน่ เอง. ค�ำ ส�ำ คัญ : ปรัช ญาสมานฉัน ท์, ศาสนาอิ ส ลาม, สัน ติ ภ าพ

9


สาส์น อิส ลาม

Academic article Capacities for Achieving peaceful Co-Existence among religions and sects : Reconciliation based on Islamic concepts

10

Abstract Teachings of Islam Determined to love peace and call for peace, both external and internal. Therefore, when this world is full of various cultures and different beliefs. Therefore it is necessary to accept the important things about peaceful coexistence And the next step is to study the diversity of cultures Lives, differences and various beliefs in each country. Through learning the cultures of different groups Aside from creating love, attachment, and getting to know each other The use of knowledge, morality and ethics to “understand others” understand the well-being of people in different Both far away and near the community around, as well as knowing “how” we can happily co-exist with others. Learning and understanding other people’s cultures and other religious groups is an adjustment for understanding one another. And able to reduce conflicts Will make peace to live together Besides that, knowing the culture Also made us realize that What should be done or what should not be done Anything that he abides, respects, must not violate and allow or cannot be tolerated. In some respects, the person who owns the culture can tell himself what is permissive. Anything that is not lenient What is the main story What is secondary And, more importantly, to access the philosophy of creating humans on diversity The goal is for humans to learn from each other and to honor each other Do not violate each other’s rights Keywords: reconciliation, Islam, and peace


บทน�ำ

สาส์น อิส ลาม

มนุ ษยชาติ มี ค วามแตกต่ างกั น โดยมี ส ัง คมและการเป็ นอยู่ ท่ี มี ค วาม หลากหลาย ผ่ า นการสร้า งอารยธรรม และวัฒ นธรรมที่ เ ป็ นเอกลัก ษณ์ ข อง ต น เ อ ง แ ล ะ ห นึ่ ง จ า ก เ อ ก ลั ก ษ ณ์ ข อ ง อารยธรรมนั้ น คื อ การอยู่ ร่ ว มกัน อย่ า ง สัน ติ แ ละมี ค วามสัน ติ ภ าพระหว่ า งผู ท้ ่ี มี ค วามเชื่ อ และมี ศ รัท ธาที่ แ ตกต่ า งกัน และจากการวิ เ คราะห์ถึ ง โครงสร้า งของ หลัก การในเรื่อ งนี้ จ ะพบว่า แท้จ ริง การอยู่ ร่ ว มกัน อย่ า งสัน ติ แ ละมีค วามสมานฉัน ท์ ระหว่ า งคนที่ มี ค วามคิ ด เห็ น ต่ างหรื อ มี ค วามเชื่ อ ต่ า ง คื อ ธรรมชาติ บ ริ สุ ท ธิ์ ดั้ง เดิ ม (ฟิ ตเราะฮ์ ) ของมนุ ษ ย์ และ เป็ นไปไม่ ไ ด้ท่ี ม นุ ษยชาติ ต่ า งได้เ รี ย ก ร้อ งสู่ ค วามก้า วหน้า ทางด้า นเทคโลโลยี เ รี ย ก ร้ อ ง ก า ร ส ร้ า ง น วั ต ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ใ ห้ดี ข้ ึ น แ ต่ มิ ไ ด้ เ รี ย ก ร้ อ ง ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม สั น ติ แ ล ะ ก า ร ส ร้า ง อ า ร ย ธ ร ร ม แ ห่ ง สั ง ค ม อ า ร ย ะ นั ่ น คื อ ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม ส ม า น ฉั น ท์ ร ะ ห ว่ า ง ค น ที่ มี ค ว า ม เ ชื่ อ แ ล ะ ศ รั ท ธ า ที่ ต่ า ง กั น แ ล ะ โ ล ก วั น นี้ ต่ า งก็ ไ ด้เ รี ย กร้อ งให้ส งั คม ไม่ ว่ า สัง คม เล็ก หรื อ สัง คมใหญ่ ก้า วไปสู่ ค วามเจริ ญ งอกงามอย่ า งมีคุ ณ ค่ า ทางจริ ย ธรรมและ วัฒ นธรรม ซึ่ ง หมายถึ ง การไปถึ ง การมี อายธรรม ที่ ม นุ ษ ยชาติ ทุ ก ชนชาติ ทุ ก ลัท ธิ ทุ ก ศาสนาต่ า งอยู่ ร่ วมกั น อย่ า ง ศานติ และเครื่ อ งมื อ หนึ่ ง ของการสร้า ง สัน ติ ภ าพและความสมานฉั น ท์คื อ การ

หัน มานัง่ สนทนาธรรม หรื อ สานเสวนา ระหว่ า งกั น และกั น แสวงหาทางสาย กลาง ปฏิ เ สธความรุ น แรงและการมี ความคิ ด หรื อ การแสดงออกแบบสุ ด โต่ ง ให้เ กี ย รติ ร ะหว่ า งศาสนาและเคารพใน สิท ธิ ต่ อ กัน ซึ่ง ถือ ว่ า เป็ น หนึ่ ง จากค�ำ สอน ของศาสนาที่ ไ ด้ก ล่ า วไว้ ศ า ส น สั ม พั น ธ์ แ ล ะ นิ ก า ย สั ม พั น ธ์ ถื อ ว่ า เ ป็ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ท า ง ปั ญ ญาและยั ง ถื อ ว่ า เป็ นหลัก สั น ติ วิ ธี โดยยึ ด ความเมตตาธรรมและความ รัก เป็ นที่ ต ั้ง และพร้อ มที่ จ ะปฏิ บ ตั ิ แ ละ พยายามน� ำ หลัก การทางศาสนาของ ศาสนาและนิ ก ายของตนมาบู ร ณาการ ปฎิ บ ัติ ใ นด้า นความสั ม พัน ธ์ แ ละด้า น สั ง คม กอรปกั บ แสดงออกด้ว ยการ ปฏิ บ ัติ อ ย่ า งเอาจริ ง เอาจั ง ของแต่ ละ ศาสนาและแต่ ล ะนิ ก าย โดยยึ ด ปฎิ บ ตั ิ ตามค� ำ สัง่ สอนและสิ่ ง ที่ ถู ก สอนไว้ใ น นิ ก ายนั้ น ๆ เพื่ อ ส� ำ แดงให้เ ห็ น ว่ า ทุ ก ศาสนาและทุ ก นิ ก ายได้เ คารพหลัก ความ เชื่ อ ความศรัท ธาต่ อ กัน และกัน ไม่ ดู ถู ก หรื อ ดู ห มิ่น ดู แ คลนค�ำ สอนของความเชื่ อ หรื อ ความศรัท ธาในศาสนาของกัน และ กัน และพร้อ มที่ จ ะเป็ นเพื่ อ นร่ ว มโลก ต่ อ กัน และกัน ศาสนสัม พัน ธ์ คื อ บทบาทหนึ่ ง ที่ จะน�ำ แนวทางการสานเสวนาทางศาสนา โดยยึด หลัก ปรัช ญาว่ า ด้ว ยทฤษฎี “ความ เป็ นเอกภาพในพหุ ภ าพ และความเป็ น พหุ ภ าพในเอกภาพ” นัน่ คื อ การปรับ เปลี่ ย นกระบวนทัศ น์ ก ารยึ ด มัน่ ถื อ มัน่

11


สาส์น อิส ลาม

12

ที่ เ คยแสดงความชิ ง ชัง ต่ อ กัน กลับ มาสู่ การให้เ กี ย รติ แ ละเคารพต่ อ ความคิ ด เห็น และความเชื่ อ ที่แ ตกต่ า งกัน ซึ่ง นัน่ หมาย ถึ ง การน� ำ ไปสู่ ก ารมี ค วามสมานฉั น ท์ และความสั น ติ สุ ขของสั ง คมที่ ย ั ่ง ยื น และเราเชื่ อ ว่ า กระบวนทัศ น์ ข องศาสน สัม พัน ธ์ใ นยุ ค โลกาภิ ว ตั น์น ั้น คื อ การไม่ เหยี ย ดหยามและไม่ ดู ถู ก ดู ห มิ่ น ความ เชื่ อ ของกัน และกัน โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง พระศาสดา รวมถึ ง สิ่ ง ที่ เ ป็ นที่ เ คารพ ทุ ก ศ า ส น า ไ ม่ ว่ า จ ะ เ ป็ น พ ร ะ ศ า ส ด า มุฮ มั มัด (ศ) ของอิ ส ลาม พระสัม มาสัม พุ ท ธเจ้า ของพุ ท ธศาสนา พระเยซู ค ริ ส ต์ และอื่น ๆต่ า งเป็ น ที่ย อมรับ ต่ อ กัน และกัน อิ ส ลามถื อ ว่ า เป็ นศาสนาหนึ่ ง ที่ ทรงอิ ท ธิ พ ลต่ อ ชาวโลกจ�ำ นวนมาก และ มี ก ารวิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์ ใ นเรื่ อ งความเชื่ อ และการอุ ด มการณ์ ข องศาสนาไปใน ทางลบ โดยกล่ า วว่ า เป็ นศาสนาที่ นิ ย ม ในความรุ น แรง มองคนต่ างศาสนิ ก อื่ น เป็ นศั ต รู เป็ นพวกชาติ นิ ย มอะไร ท�ำ นองนี้ ซึ่ ง เราจะพบเห็ น ตามสื่ อ ต่ า งๆ ที่ ไ ด้เ สนออิ ส ลามในเชิ ง ลบ ทั้ ง ๆ ที่ ศาสนาอิ ส ลามจากสมัย ของพระศาสดา มุ ฮ ั ม มัด (ศ) ท่ า นศาสดา (ศ) เป็ น บุ ค คลแรกที่ ไ ด้มี แ บบฉบับ ในการอยู่ กับ คนต่ า งศาสนิ ก อย่ า งสัน ติ แ ละเรี ย ก ร้อ งการอยู่ ร่ ว มกัน อย่ า งสมานฉั น ท์ ใ ห้ เกี ย รติ ต่ อ กั น และท่ า นศาสดามุ ฮ ัม มัด เป็ น บุ ค คลแรกที่ไ ด้น�ำ เสนอหลัก การสาน เสวนาทางศาสนาขึ้น ในนครมะดี น ะฮ์ ตลอดเวลาของประวัติ ศ าสตร์

อิ ส ลามที่ผู ด้ �ำ เนิ น รอยตามแบบฉบับ ของ ศาสดามุฮ มั มัด (ศ) และปฎิ บ ตั ิ ว งศ์ ว าน ลู ก หลานของศาสดา ชี้ ใ ห้เ ห็ น ว่ า อิ ส ลาม ในค�ำ สอนอัน พิสุ ท ธิ์ น ั้น ผ่ า นการชี้ น�ำ โดย อิ ม ามผู น้ � ำ ภายหลัง จากศาสดามุ ฮ ัม มัด เรี ย กร้อ งให้ทุ ก ศาสนานั ่ง สานเสวนา และพู ด คุ ย ในด้า นศาสนาอย่ า งเป็ นมิ ต ร และไมตรี จิ ต ศาสนาทั้ง หลายในอดี ต ได้แ สดง บทบาทที่ ส � ำ คั ญ และเห็ น ด้ว ยกั บ หลัก การนั้น โดยการให้ค วามร่ ว มมื อ จึ ง เป็ น ที่ค าดหวัง ว่ า ในยุ ค หนึ่ ง นั้น บรรดาศาสนา ทั้ง หลายจะอยู่ ก ัน อย่ า งสัน ติ เ คารพใน ศาสนากั น และกั น และสร้า งความพึ ง พอใจและความต้อ งการด้า นต่ า งๆ ของ ม นุ ษ ย์ อ ย่ า ง ไ ม่ มี ท่ี ส้ ิ น สุ ด ดั ง นั้ น ทุ ก ศ า ส น า ไ ด้เ ชื่ อ แ ล ะ มี ค ว า ม ศ รั ท ธ า ว่ า โลกแห่ ง สัน ติ ภ าพยัง มิ อ าจบรรลุ ถึ ง ได้ นอกเสี ย จากบรรดาศาสนาและผู ้น� ำ ของศาสนาต่ า งๆ ซึ่ ง มี พ้ ื น ฐานทางด้า น วัฒ นธรรมอัน ดี ง ามและมี อ ารยธรรม อัน น่ า ยกย่ อ งนั้น มาร่ ว มสานเสวนาและ พู ด คุ ย สนทนาทางด้า นศาสนากัน เพราะ ว่ า ในความเป็ นจริ ง แล ว้ ไม่ มี ศ าสนาใด ในโลกใบนี้ ที่ มี ค วามเชื่ อ หรื อ มี ห ลัก คิ ด ที่ เ ป็ นลบต่ อ กัน หรื อ ส่ ง เสริ ม มุ่ ง ร้า ยและ แข่ ง ขัน ในทางที่ มิ ช อบ แต่ ต รงกัน ข้า ม ศาสนาทั้ง หลายต่ า งชิ่ น ชมและยิ น ดี ใ น ความเป็ นมิ ต รและมี จิ ต เอื้ อ อาทรต่ อ กัน กล่ า วอี ก นั ย หนึ่ ง คื อ ว่ า ศาสนาไม่ ใ ช่ ภ ัย คุ ก คามต่ อ กัน เป็ นที่ รู จ้ ัก กั น ดี ว่ า พุ ท ธศาสนา


ชั ด เจนในความสัม พัน ธ์ ท่ี ท � ำ ให้นึ ก ถึ ง บรรดาผู ศ้ รัท ธาในศาสดาก่ อ นศาสดา มุ ฮ ัม มัด อย่ า งเช่ น ชาวยิ ว ที่ มี ศ รัท ธาต่ อ ศาสดาฮิ บ รอฮี ม และศาสดามู ซ า ชาว คริ ส ต์ ท่ี ไ ด้ศ รัท ธาต่ อ พระเยซู ศาสดา อี ซ า ชาวโซโรอัส เตอร์ เรื่ อ งราวทางประวัติ ศ าสตร์ อ ัน ทรงคุ ณ ค่ า ที่ สุ ด ที่ ห น้า ประวัติ ศ าสตร์ท งั้ หลายได้บ นั ทึ ก การด�ำ เนิ น ชี วิต ของเหล่ า วี ร บุ รุ ษ ผู ้ย่ิ ง ใหญ่ การด� ำ เนิ น ชี วิ ต ของ พวกเขาได้ส ร้า งคลื่ น ชี วิ ต แบบพิ เ ศษ มหัศ จรรย์แ ละถู ก จารึ ก เป็ นเรื่ อ งราวใน รู ป แบบต่ า งๆ พวกเขาเป็ นผู ย้ ่ิ ง ใหญ่ สิ่ ง ที่ เ กี่ ย ว พัน กับ พวกเขา อย่ า งเช่ น ชี ว ประวัติ ข อง พวกเขาก็ ย่ิ ง ใหญ่ แ ละทรงพลัง เจิ ด จรัส สว่ า งไสวเสี ย จนเราต้อ งเรี ย นรู ้ ศึ ก ษา ค้น คว้า ในสิ่ ง ลี้ ล บั ของบทเรี ย นชี วิ ต อัน ทรงคุ ณ ค่ า นั้น การด�ำ เนิ น ชี วิต ของพวก เขาเป็ นสุ ด ยอดแห่ ง ประวัติ ศ าสตร์ ซ่ึ ง ได้ถู ก จารึ ก เป็ นขบวนการต่ า งๆ อัน ทรง คุ ณ ค่ า แห่ ง การสร้า งสรรค์ ก่ อ นที่ จ ะมี ม นุ ษ ย์เ กิ ด ขึ้ น บนโลก ใบนี้ ความหลากหลายในธรรมชาติ ไ ด้มี มาก่ อ นแล ว้ ซึ่ ง เป็ นพื้ น ฐานของการอยู่ ร่ ว มกัน ของสรรพสิ่ ง และแท้จ ริ ง มนุ ษ ย์ นั้น ถื อ ว่ า เป็ นส่ ว นย่ อ ยหนึ่ ง ของเอกภพ และการเกิ ด ขึ้ น ของมนุ ษ ย์มี ค วามแตก ต่ า งกับ สรรพสิ่ ง อื่ น ๆ แต่ ส่ิ ง หนึ่ ง ที่ เ ป็ น คุ ณ ลัก ษณะของมนุ ษย์ คื อ การอยู่ ร่ ว ม กั น เป็ นการอยู่ ก ั น อย่ า งเป็ นหมู่ ค ณะ อี ก ทั้ง มนุ ษ ย์น ั้น ยัง มี ก ารปฎิ ส ัม พัน ธ์ ต่ อ

สาส์น อิส ลาม

นั้ น เป็ นศาสนาแห่ ง ความสงบและเป็ น ศาสนาแห่ ง สัน ติ เป็ นศาสนาที่ ส อนให้ มนุ ษย์ รู ้จ ัก ตัว ตนและการท� ำ ลายทุ ก ข์ ทัง้ ปวง และพุ ท ธศาสนาเป็ นสาส์น แห่ ง ความรัก และสอนให้เ อ็ น ดู รู ส้ ึ ก สงสาร ไม่ เ บี ย ดเบี ย นพร้อ มกับ สอนให้อ ดกลัน้ และสัน ติ ภ าพและความรั ก ถื อ ว่ า เป็ น หัว ใจของพุ ท ธศาสนานัน่ หมายความว่ า วัต ถุ ป ระสงค์ ข องชี วิ ต แห่ ง ศิ ล ธรรมทั้ง มวลของการฝึ กฝนอบรมและปฎิ บ ตั ิ ใ น ทางศาสนาทั้ง หมด จุ ด มุ่ ง หมายที่ สุ ด ของพุ ท ธศาสนา คื อ นิ พ พาน ดัง นั้น สิ่ ง ใดที่ไ ม่ น�ำ ไปสู่ ส นั ติ ภ าพ สิ่ง นั้น ถือ ว่ า เป็ น อุ ป สรรคและเป็ นการรบรวมสัน ติ ภ าพ ศ า ส น า อิ ส ล า ม โ ด ย ก า ร เ ป็ น ประจัก ษ์ พ ยานตามบริ บ ทของยุ ค สมัย จากสมัย เริ่ ม แรกจนถึง ปัจ จุ บ นั ซึ่ง ยืน ยัน โดยประวัติ ศ าสตร์ข องอิส ลามว่ า ศาสดา มุฮ มั มัด (ศ) ได้ก �ำ ชับ และบอกแก่ ส าวก ของท่ า นให้อ ยู่ ร่ วมกั บ บรรดาศาสนิ ก อื่ น ๆ ในนครมะดี น ะฮ์อ ย่ า งสัน ติ และ ประวัติ ศ าสตร์ไ ด้บ นั ทึ ก ไว้ว่ า หลัง จากที่ ศาสดามุฮ มั มัด ได้อ พยพสู่ น ครมะดี น ะฮ์ และได้จ ดั ตัง้ รัฐ อิ ส ลามขึ้น บรรดามุส ลิม ในสมัย นั้น ได้เ ริ่ ม รู จ้ กั บรรดาศาสนิ ก ของ ศาสนาอื่ น ๆ โดยใช้ชี วิต ตัง้ ถิ่น ฐานท�ำ มา หากิ น อยู่ ร่ ว มกัน และมีค วามสัม พัน ธ์ต่ อ กัน ทางด้า นวัฒ นธรรม มี ก ารแปลต�ำ รา ทางด้า นศาสนาจากภาษาอื่ น ๆ และมี การปฎิ ส มั พัน ธ์ท างวัฒ นธรรมตลอดทัง้ ทางด้า นวิช าการด้า นอื่ น ๆ คัม ภี ร ์ อ ัล กุ ร อานได้อ า้ งไว้อ ย่ า ง

13


สาส์น อิส ลาม

14

กั น ดั ง นั้ น ในแต่ ละแห่ ง ของมนุ ษย์ ก็ ย่ อ มมี ก ารเรี ย นรู ท้ ่ี จ ะอยู่ ร่ ว มกัน โดย การอยู่ ร่ ว มกั น นั้ น อย่ า งสอดคล อ้ งกั บ ธรรมชาติ ถึ ง แม้ว่ า มี วิ ถี ชี วิ ต ที่ แ ตกต่ า ง กัน เราเรี ย กว่ า เป็ นความหลากหลาย ทางชี ว ภาพ และมนุ ษ ย์ย งั มีค วามหลาก หลายทางวัฒ นธรรม ซึ่ง ทัง้ สองเป็ น เรื่ อ ง ที่ เ ชื่ อ มโยงกัน และจากการที่ ม นุ ษ ย์ ม ี ปฎิ ส มั พัน ธ์ท างด้า นวัฒ นธรรม เป็ นบ่ อ เกิ ด ของการรู จ้ กั กัน และเข้า ใจกัน และกัน พร้อ มที่ จ ะเกื้ อ กู ล และสนับ สนุ น กัน และ กัน และสร้า งความสัน ติ ใ นการอยู่ ร่ ว มกัน อัล กุ ร อานได้ก ล่ า วถึ ง เรื่ อ งของ ความสัม พัน ธภาพของมนุ ษ ย์ ดัง นี้ “โอ้ม นุ ษย์เ อ๋ย แท้จ ริ ง เราได้ส ร้า ง พวกเจ้า มาจากชายหนึ่ ง และหญิ ง หนึ่ ง และเราได้ท �ำ ให้พ วกเจ้า เกิ ด เป็ นเผ่ า พัน ธุ ต์ ่ า งๆ เพื่ อ ที่ จ ะได้รู จ้ ัก กัน และมี ป ฎิ ส มั พัน ธ์ต่ อ กัน แท้จ ริ ง ผู ม้ ี เ กี ย รติ ท่ี สุ ด ณ องค์อ ลั ลอฮ คื อ ผู ้ มี ค วามย�ำ เกรงและส�ำ รวมตนที่ สุ ด ” (บทอัล ฮุ จ รอต โองการที่ ๑๓) เมื่ อ พิ จ ารณาในระบบย่ อ ยลงมา จากจัก รวาล ก็ ส ามารถมองเห็ น อย่ า ง ประจัก ษ์ช ัด ว่ า สรรพสิ่ ง ทัง้ หลายมี ค วาม สัม พัน ธ์ เ กี่ ย วโยงกัน ในระบบองค์ ร วม เป็ นอั น หนึ่ งอั น เดี ย วกั น ในท่ า มกลาง ความหลากหลาย สรรพสิ่ ง ต่ า งๆ ต้อ ง อิ ง อาศัย ซึ่ ง กัน และกัน โดยมีม นุ ษ ย์เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของธรรมชาติ มิ ใ ช่ ธ รรมชาติ และสิ่ง แวดล อ้ มเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของมนุ ษ ย์ ตามที่ เ คยคิ ด และเข้า ใจกัน มาแต่ ก่ อ น

มนุ ษ ย์จึ ง ต้อ งท�ำ ตัว ให้เ ป็ นส่ ว นหนึ่ ง ของ โลกธรรมชาติ ม นุ ษ ย์ แต่ ท ว่ า ในปัจ จุ บ นั นอกจากมนุ ษย์ จ ะท� ำ ตัว แปลกแยกไป จากธรรมชาติ แ ล ว้ ยัง เป็ น ตัว การท�ำ ลาย สภาพแวดล อ้ มและท� ำ ลายวัฒ นธรรม กัน และกัน อย่ า งมากมาย สิ่ ง แวดล อ้ มที่ ส�ำ คัญ ของมนุ ษ ย์มีอ ยู่ 3 ประเภทใหญ่ ๆ ได้แ ก่ 1) สิ่ ง แวดล อ้ มทางกายภาพ ได้แ ก่ สิ่ ง ไม่ มี ชี วิ ต เช่ น แร่ ธ าตุ ดิ น น�้ำ อากาศ ทะเลทราย ภู เ ขา ป่ าไม้ แม่ น�้ำ ล�ำ คลอง เป็ นต้น 2) สิ่ ง แวดล อ้ มทางชี ว ภาพ ได้แ ก่ สิ่ง ที่มีชีวิต เช่ น ต้น ไม้ สัต ว์ เชื้ อ โรค สิ่ ง เหล่ า นี้ มีค วามสัม พัน ธ์ก ับ สิ่ ง แวดล อ้ มทางกายภาพ 3) สิ่ ง แวดล อ้ มทางสัง คม เ ป็ น สิ่ ง แ ว ด ล ้อ ม ที่ เ กิ ด ขึ้ น จ า ก ม นุ ษ ย์ เ ช่ น ป ร ะ ช า ก ร เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ก า ร เ มื อ ง ก า ร ป ก ค ร อ ง ก า ร ศึ ก ษ า วัฒ นธรรม พิ ธี ก รรมทางศาสนา และ เทคโนโลยี เป็ นต้น ในระบบองค์ ร วมสิ่ ง แวดล อ้ มทั้ง สามชนิ ด ของมนุ ษ ย์จ ะต้อ งด�ำ รงอยู่ ใ น ลัก ษณะประสานสัม พัน ธ์ สอดคล อ้ ง กลมกลืน กัน เพื่อ ให้เ กิ ด ภาวะดุ ล ยภาพ สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในระยะเวลาที่ ผ่ า นมาจนถึ ง ปัจ จุ บ นั และจากยุ ค วัต ถุนิ ย มที่ ส่ ง เสริ ม ให้ม นุ ษย์ บ ริ โ ภคเกิ น ขอบเขต ท� ำ ให้ มนุ ษย์ ส ร้า งปรัช ญาในการด� ำ เนิ น ชี วิ ต ระบบเศรษฐกิ จ การเมือ ง การปกครอง ระบบการศึ ก ษา รวมทัง้ เทคโนโลยีต่ า งๆ


สภาพสัญ ชาตญาณเดิ ม จนกลายเป็ น มนุ ษ ย์ส งั คม เพราะมนุ ษ ย์ไ ม่ ไ ด้อ ยู่ ค น เดี ย วในโลก จึ ง ต้อ งผ่ า นกระบวนการ ขัด เกลาทางสัง คมตลอดชีวิต ทัง้ โดยตรง และโดยอ้อ ม ซึ่ ง ศาสดาเป็ นผู ช้ ้ ี น� ำ และ ท�ำ หน้า ที่ ข ดั เกลา โดยการน� ำ หลัก คิ ด ที่ ผ่ า นกรอบแนวคิ ด จากวิ ว รณ์ แ ห่ ง พระผู ้ เป็ น เจ้า ปรัช ญาสัง คมได้ส อนให้เ รารู ว้ ่ า แท้จ ริ ง สัง คมนั้ น จะต้อ งด� ำ รงอยู่ ด ว้ ย ความยุ ติ ธ รรม และผู ท้ ่ี จ ะมาสร้า งความ ยุ ติ ธ รรมแก่ ส ัง คมได้น ั้น จะต้อ งเป็ นผู ้ ที่ มี คุ ณ ธรรมขั้น สู ง อี ก ทั้ง ได้ผ่ า นการ ขัด เกลาจิ ต ใจตนเองจนบรรลุ ธ รรม ซึ่ ง ในหน้า ประวัติ ศ าสตร์คื อ บรรดาศาสดา เป็ น ตัว แทนของพระผู เ้ ป็ น เจ้า ได้ถู ก แต่ ง ตั้ง ให้ท �ำ หน้า ที่ ด ัง กล่ า ว ดัง ที่ อ ัล กุ ร อาน ได้ยื น ยัน ไว้ว่ า “แน่ น อนเราได้ส่ ง ศาสนทู ต ของเรา มา ด้ว ยกับ หลัก ฐานอัน ชัด แจ้ง และ เราได้ป ระทานคัม ภี ร ์แ ละตาชั่ง มา พร้อ มกับ พวกขา เพื่ อ ว่ า ให้ม นุ ษย์ นั้น ยื น ขึ้ น ต่ อ สู ด้ ว้ ยความยุ ติ ธ รรม” (บทอัล ฮะดี ด โองการที่ ๒๔) โลกกั บ ความสั ม พัน ธ์ ท างวั ฒ นธรรม การด� ำ รงชี วิ ต ของมนุ ษ ย์ ถู ก วาง รากฐานให้มี ค วามสัม พัน ธ์ต่ อ กัน ไม่ ว่ า จะเรื่ อ งเล็ ก หรื อ เรื่ อ งใหญ่ และได้เ ป็ น เช่ น นี้ มาตั้ง แต่ เ ริ่ ม แรกของการอุ บ ตั ิ ข้ ึ น มาของมนุ ษ ย์ แ ละตลอดเวลาที่ ผ่ า นมา การด�ำ รงชี วิ ต ของสัง คมขึ้ น อยู่ ก ับ ความ

สาส์น อิส ลาม

ในลัก ษณะที่ เ ป็ นการท�ำ ลายสิ่ ง แวดล อ้ ม ทางกายภาพ สิ่ ง แวดล อ้ มทางชี ว ภาพ และสิ่ง แวดล อ้ มทางสัง คมอย่ า งมากมาย ในลัก ษณะที่ ไ ม่ เ คยปรากฏมาก่ อ น และ ยัง ท�ำ ลายเกี ย รติ ศ ัก ดิ์ ศ รี ข องความเป็ น มนุ ษ ย์ ซึ่ง นัน่ เป็ น การจุ ด ไฟแห่ ง สงคราม เพื่อ ท�ำ ลายต่ อ กัน และกัน นัก สัง คมวิท ยาได้ก ล่ า วว่ า แท้จ ริ ง มนุ ษ ย์เ ป็ น สัต ว์ส งั คมมีชี วิต ที่อ ยู่ ก นั อย่ า ง เป็ น กลุ่ ม หมู่ และมนุ ษ ย์ก บั สัง คมเป็ น สิ่ง ที่ ค วบคู่ ก ัน กล่ า วคื อ เมื่อ มนุ ษ ย์เ กิ ด ขึ้น ในโลกใบนี้ มนุ ษ ย์ก็ ไ ด้ร วมอยู่ เ ป็ น สัง คม แต่ เ นื่ อ งจากมนุ ษ ย์มี ค วามต้อ งการไม่ มี ที่ ส้ ิ น สุ ด ฉะนั้น จึ ง มีค วามจ�ำ เป็ นต้อ งมี การจัด ระเบี ย บทางสัง คม เพื่ อ ควบคุ ม แ บ บ แ ผ น แ ห่ ง พ ฤ ติ ก ร ร ม ข อ ง ม นุ ษ ย์ หากปล่ อ ยให้ม นุ ษ ย์แ ต่ ล ะคนท�ำ การตาม อ�ำ เภอใจโดยปราศจากการควบคุ ม แล ว้ สัง คมก็ ย่ อ มจะเกิ ด ความปัน่ ป่ วนยุ่ ง เหยิง แ ล ะ ข า ด ร ะ เ บี ย บ แ บ บ แ ผ น ดั ง นั้ น จึง จ�ำ เป็ น ต้อ งมีก ารจัด ระเบีย บทางสัง คม เพื่อ สัง คมจะเกิ ด สัน ติ สุ ข สัง คมอาจจะเป็ นสัง คมที่ ดี โ ดย การยึ ด ระเบี ย บแบบแผนทางสัง คมนั้น มาปฎิ บ ัติ และอาจจะเป็ นสัง คมที่ เ ลว และสัง คมที่ต ายไร้ชี วิต ชี ว า ดัง นั้น พระผู ้ เป็ น เจ้า จึง จ�ำ เป็ น จะต้อ งส่ ง ศาสดามาชี้ น�ำ ทางประชาชนและปรับ ปรุ ง เปลี่ย นแปลง หรื อ ขัด เคลาสัง คม และ การขัด เกลา ทางสัง คม คื อ การน� ำ คนเข้า สู่ ร ะบบ ของสัง คม โดยผ่ า นกระบวนการต่ า งๆ ที่ ท �ำ หน้า ที่ ข ัด เกลาอัต ตชี ว ะให้พ น้ จาก

15


สาส์น อิส ลาม

16

สัม พัน ธ์ ท่ี ม นุ ษย์ มี ต่ อ กัน และกัน และ เรามัก จะได้ยิ น อยู่ ป ระจ�ำ ว่ า “มนุ ษ ย์คื อ สัต ว์ส งั คม” ต่ อ ม า ม นุ ษ ย์ ไ ด้ พ ั ฒ น า ค ว า ม ก้า วหน้า ในเรื่ อ งของการสื่อ สาร มีเ ครื่ อ ง ไม้เ ครื่ อ งมื อ ที่ ล �ำ้ สมัย และปัจ จุ บ นั เข้า สู่ ยุ ค อิ น เตอร์ เ นต หรื อ ยุ ค โลกาภิ ว ัต น์ ยิ่ ง ดู ใ ห้ เ ห มื อ น ว่ า โ ล ก ใ บ นี้ แ ค บ ล ง เพราะว่ า มนุ ษ ย์มี ก ารสื่ อ สารและมี ก าร ป ฏิ ส ั ม พั น ธ์ ก ั น ไ ด้อ ย่ า ง ส ะ ด ว ก แ ล ะ ร ว ด เ ร็ ว ม า ก ยิ่ ง ขึ้ น จ น อ า จ จ ะ ก ล่ า ว ไ ด้ ว่ า ม นุ ษ ย์ ท ั้ ง โ ล ก คื อ ค ร อ บ ค รั ว เดี ย วกั น เสมื อ นว่ า ทุ ก คนเป็ นเพื่ อ น บ้า นไปโดยอัต โนมัติ เ ลยที เ ดี ย ว หรื อ พู ด อี ก นัย หนึ่ ง คื อ มัน ท�ำ ให้เ รารู จ้ ัก คน แปลกหน้า มากขึ้ น ซึ่ ง สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในวง กว้า งทางวัฒ นธรรมนี่ เ องส่ ง ผลกระทบ ต่ อ วัฒ นธรรม ค่ า นิ ย ม ความเชื่ อ หรื อ แม้แ ต่ ค วามเป็ นมาทางประวัติ ศ าสตร์ ข อ ง ช น ช า ติ ต่ า ง ๆ ไ ม่ ว่ า จ า ก ช น ช า ติ ตะวัน ออกหรื อ ตะวัน ตกก็ ต าม ซึ่ง เครื่ อ ง มื อ การสื่ อ สารทางความสั ม พัน ธ์ ท าง วัฒ นธรรม คื อ ตั ว แปรส� ำ คั ญ ในการ ท�ำ ให้เ กิ ด ความสามัค คี ใ นหมู่ ช นชาติ ข อง แต่ ล ะสัง คม ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ข อ ง ม นุ ษ ย์ ท่ี มี ต่ อ กั น ถื อ ว่ า เ ป็ น ที่ ม า ข อ ง วั ฒ น ธ ร ร ม อัน ดี ง าม ตลอดจนเป็ นการสรรสร้า ง ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า แ ล ะ ค ว า ม ง ด ง า ม ใ น สั ง ค ม ที่ มี ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ผ่ า น ก า ร ย อ ม รั บ ใ น ด้ า น วั ฒ น ธ ร ร ม ที่ แ ต ก ต่ า ง ซึ่ ง ก ลั บ กั น ถ้า ก า ร ข า ด ห า ย ไ ป

ข อ ง ก า ร เ ชื่ อ ม สั ม พั น ธ์ แ ล ะ ก า ร ไ ม่ มี ปฏิ ส ัม พัน ธ์ ร ะหว่ า งมนุ ษยชาติ มัน จะ ส่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ที่ จ ะ ปิ ด กั้ น ก า ร พั ฒ น า ความก้า วหน้า ทางสัง คม ซึ่ ง หมายถึ ง การหยุ ด นิ่ ง ของการขับ เคลื่อ นของสัง คม มนุ ษ ย์ แต่ ท ว่ า โลกทัศ น์ท่ีถู ก ต้อ งคื อ การ ขับ เคลื่อ นทางอารยธรรมของมนุ ษ ย์ คื อ การเพิ่ ม ความสัม พัน ธ์แ ละการยกระดับ การมีป ฏิ ส มั พัน ธ์ร ะหว่ า งมนุ ษ ย์ด ว้ ยกัน ค� ำ ว่ า culture หรื อ วัฒ นธรรม นัก ปราชญ์แ ต่ ก่ อ นเอาค�ำ บาลีว่ า วฑฺ ฒ น รวมเข้า กั บ ค� ำ สัน สกฤตว่ า ธรฺ ม เป็ น วัฒ นธรรม มี ใ นพจนานุ ก รมมติ ช นว่ า หมายถึ ง แบบแผนการด�ำ เนิ น ชี วิ ต และ ขนบประเพณี ข องสัง คม แต่ โ ดยทัว่ ไป คนมัก เข้า ใจแคบๆ ว่ า หมายถึง ความ มี ร ะเบี ย บ ความสวยงาม ความเจริ ญ ที่ ถู ก ก�ำ หนดโดยชนชั้น สู ง เท่ า นั้น (ที่ม า : คอลัม น์ สยามภาษา นสพ. มติ ช นรายวัน ) และการ ที่ ม นุ ษ ย์ม าอยู่ ร วมกัน เป็ นกลุ่ ม ชุ ม ชน สัง คม ขึ้ น มา ย่ อ มต้อ งมี ค วามสัม พัน ธ์ ระหว่ า งสมาชิ ก ของกลุ่ ม ทั้ง ที่ เ ป็ นชาว บ้า นและชาวเมื อ ง การที่ จ ะอยู่ ร่ ว มกัน จ� ำ เป็ นที่ จ ะต้อ งมี ร ะเบี ย บแบบแผนที่ ควบคุ ม พฤติ ก รรมของบุ ค คลในกลุ่ ม ให้ อยู่ ใ นขอบเขต ที่ จ ะอยู่ ร่ ว มกัน อย่ า งมี ความสงบสุ ข สิ่ ง ที่ เ ป็ นเครื่ อ งมือ ในการ ควบคุ ม พฤติ ก รรมของกลุ่ ม คนนี้ เรา เรี ย กว่ า “วัฒ นธรรม” ดัง นั้น วัฒ นธรรม จึ ง เปรี ย บเสมื อ น “อาภรณ์ ” ห่ อ หุ ้ม ร่ า งกาย ตกแต่ ง ประดับ คนให้น่ า ดู ช ม เป็ นเอกลัก ษณ์ ท่ี ส ร้า งความเป็ นที่ รู จ้ ัก


เป็ นวิ ถี ชี วิ ต ที่ ถู ก เลื อ ก ที่ ถู ก สร้า งสรรค์ ด้ว ย ค ว า ม รู ้ เ ป็ น เ ก ร า ะ ป้ อ ง กั น ก า ร รุ ก รานจากภายนอก และเป็ นการแสดง ถึง การยื น ยัน ในความเป็ น “ตัว ตน” ของ กลุ่ ม ชน ที่ มีค วามหลากหลายทัง้ ความรู ้ วิธี คิ ด ความเชื่ อ ถือ และศรัท ธา ศาสตราจารย์ แซมมวล ฮัน ติ ง ตัน แห่ ง มหาวิท ยาลัย ฮาวาร์ด เป็ นผู ซ้ ่ึ ง เคยมีอิท ธิ พ ลต่ อ การก�ำ หนดนโยบายต่ า ง ประเทศของสหรัฐ อเมริ ก า สมัย อดี ต รัฐ บาลจอร์ช บุ ช และอดี ต รัฐ มนตรี ว่ า การ กระทรวงการต่ า งประเทศ นางสาว คอร์ โดลิ ซ่ า ไรซ์ ซึ่ ง แสดงท่ า ที เ ป็ นปรปัก ษ์ ต่ อ โลกมุ ส ลิ ม ค่ อ นข้า งมาก ก่ อ ให้เ กิ ด ความตึ ง เครี ย ดในโลกยุ ค ปัจ จุ บ นั ฮัน ติ ง ตัน มีค วามเชื่ อ ว่ า ความแตกแยกระดับ มหาภาคระหว่ า งมนุ ษย์ ด ว้ ยกั น และ ที่ ม าของความขัด แย้ง ต่ า งๆ จะมาจาก ด้า นวัฒ นธรรม การปะทะกัน ระหว่ า ง อารยธรรม จะครอบง�ำ การเมื อ งโลก การปะทะที่ ส �ำ คัญ ที่ สุ ด จะเป็ นการปะทะ กัน ระหว่ า ง “อารยธรรมตะวัน ตก กับ อารยธรรมที่ มิ ใ ช่ ต ะวัน ตก” แต่ เ ขาใช้ พื้ น ที่ ส่ ว นใหญ่ ใ นบทความและหนัง สื อ บรรยายความขัด แย้ง ทั้ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น จริ ง และมี แ นวโน้ม ว่ า จะเกิ ด (อ้า งจาก www. midnightuniv.org)

thaipost.com)

จากแนวคิ ด และทฤษฎี ข องชาติ ต ะ วั น ต ก ม อ ง ยั ง อ า ร ย ธ ร ร ม อิ ส ล า ม และมุ ส ลิ ม ว่ า เป็ นวัฒ ธรรมที่ อ ัน ตราย และเป็ นภัย คุ ก คามต่ อ ชาวโลก ส่ ง ผล ให้บ างประเทศได้ติ ด กับ ดัก หลุ ม พลาง นั้ น อย่ า งชนิ ด ที่ ห ลี ก เลี่ ย งไม่ ไ ด้ โดยที่ พวกเขาลื ม ไปว่ า แท้จ ริ ง แล ว้ ถ้า พวกเขา ได้สื บ ค้น และเข้า ถึ ง วัฒ นธรรมอิ ส ลาม พวกเขาจะพบว่ า แท้จ ริ ง อิ ส ลามและ แนวคิ ด ของอิ ส ลามไม่ ไ ด้เ ลวร้า ยที่ พ วก เขาเข้า ใจ ดัง นั้น ผู เ้ ขีย นเล็ง เห็น ถึง ความ จ�ำ เป็ น ที่จ ะต้อ งอรรถาธิ บ ายบางประการ

สาส์น อิส ลาม

ฮั น ติ ง ตั น ชี้ ว่ า หั ว ใ จ ข อ ง ทุ ก อ า รย ธ รรม นั้ น อ ยู่ ที่ ศ าสนา แ ล ว้ พู ด เจาะจงลงไปถึ ง ผู น้ ับ ถื อ ศาสนาอิ ส ลาม กับ ศาสนาอื่ น ๆ ว่ า “...ในพื้น ที่ ท ง้ั หลาย เหล่ า นี้ ความสัม พัน ธ์ร ะหว่ า งชาวมุส ลิม

กับ ประชาชนของอารยธรรมอื่ น ๆ ไม่ ว่ า คาทอลิก โปรเตสแตนท์ ออร์โ ธดอกซ์ ฮิ น ดู จี น พุ ท ธ หรื อ ยิ ว นั้น โดยทัว่ ไป แล ว้ เป็ นปรปั ก ษ์ ก ัน เกิ ด ความรุ น แรง ในคู่ ค วามสัม พัน ธ์เ หล่ า นี้ ใ นบางช่ ว งของ ประวัติ ศ าสตร์ ความรุ น แรงหลายกรณี เกิ ด ขึ้น ในช่ ว งทศวรรษ ๑๙๙๐ ไม่ ว่ า มอง ไปทางไหน ชาวมุส ลิม มีป ัญ หาในการอยู่ ร่ ว มกับ เพื่อ นบ้า นอย่ า งสัน ติ ค�ำ ถามย่ อ ม ตามมาว่ า แบบแผนของความขัด แย้ง ใน ปลายศตวรรษที่ ๒๐ ระหว่ า งมุส ลิม กับ กลุ่ ม ที่ ไ ม่ ใ ช่ มุ ส ลิ ม เช่ น นี้ จะเป็ นจริ ง ใน กรณี ข องคู่ ค วามสัม พัน ธ์ ร ะหว่ า งอารย ธรรมอื่ น ๆ ด้ว ยหรื อ ไม่ ? ค�ำ ตอบคื อ ไม่ ดัง นั้น มุส ลิม มีป ระชากร ๑ ใน ๕ ของ โลก แต่ ใ นช่ ว งทศวรรษ ๑๙๙๐ พวก เขามีส่ ว นพัว พัน ในความรุ น แรงระหว่ า ง กลุ่ ม มากกว่ า ผู ค้ นของอารยธรรมอื่ น ๆ หลัก ฐานมี ม ากมาย...” (อ้า งจากwww.

17


สาส์น อิส ลาม

18

ให้ก ั บ ท่ า นผู ้อ่ านเกี่ ยวกั บ วั ฒ นธรรม อิ ส ลามและประโยชน์ ท างวัฒ นธรรมที่ ผ่ า นกระบวนการคิ ด โดยทายาทศาสดา มุ ฮ ัม มัด (ศ) ผู อ้ ยู่ ใ นฐานะของผู ช้ ้ ี น� ำ มนุ ษ ยชาติ ผู ช้ ้ ี น� ำ ชาวโลก โดยจะสรุ ป ถึง แนวคิ ด ทางศาสนาและทางวัฒ นธรรม ได้ด งั นี้ ก.อิ ส ลามสนั บ สนุ นแนวทางการ สมานฉั น ท์ อิ ส ลาม คื อ ศาสนาแห่ ง สัน ติ ภ าพ และเรี ย กร้อ งไปสู่ ค วามเป็ นหนึ่ ง เดี ย ว เรี ย กร้อ งไปสู่ ค วามเป็ นเอกภาพและ ความสมานฉัน ท์ และต่ อ ต้า นการก่ อ การ ร้า ยทุ ก รู ป แบบและอิ ส ลามเป็ นศาสนาที่ สร้า งความสมดุ ล ภาพทัง้ ทางเอกบุ ค คล และทางสัง คม อิ ส ล า ม เ รี ย ก ร้อ ง ม นุ ษ ย ช า ติ สู่ การยอมจ� ำ นนต่ อ ความเป็ นเอกะของ พระผู เ้ ป็ นเจ้า เอกอองค์อ ลั ลอฮ (ซ.บ.) เพราะว่ า พระองค์อ ลั ลอฮ คื อ ปฐมเหตุ แรก เป็ นผู ส้ ร้า ง เป็ นผู ป้ กครอง และ เป็ น ผู ป้ กป้ อง และเป้ าหมายการยอมรับ อิ ส ลาม คื อ การน� ำ มาซึ่ ง ความผาสุ ก ความสงบสุ ข ของชี วิ ต ทั้ง โลกนี้ และ ชี วิต โลกหน้า ก า ร บั ญ ญั ติ ท า ง ศ า ส น า ทุ ก ประการและทุ ก เรื่ อ ง ไม่ ว่ า หลัก ปฎิ บ ตั ิ ท่ี เป็ นเรื่ อ งเล็ก สุ ด จนไปถึ ง สิ่ ง ใหญ่ สุ ด ได้ รับ การบัญ ชาใช้ห รื อ บัญ ชาห้า มมาจาก เอกองค์ อ ัล ลอฮ (ซ.บ.) และปรัช ญา ข อ ง ก า ร บั ญ ญั ติ ห ลั ก ป ฎิ บ ั ติ เ ห ล่ า นั้ น ทัง้ หมดคื อ ความโปรดปรานจากพระองค์

อัล ลอฮ (ซ.บ.) โดยที่ ป ระโยชน์ข องการ ยึด ปฎิบ ตั ิ ต ามค�ำ สัง่ ใช้ห รื อ ละเว้น จากค�ำ สัง่ ห้า มนั้น เป็ น ของมนุ ษ ย์โ ดยแท้ และ บางบทบัญ ญั ติ มี ป ระโยชน์ ใ นมิ ติ ท าง ปัจ เจกบุ ค คล และบางบทบัญ ญัติ มี มิ ติ ทางสัง คม ห ลั ก ป รั ช ญ า แ ล ะ ท ฤ ษ ฎี ท า ง เทววิ ท ยาได้ก ล่ า วไว้ว่ า แท้จ ริ ง พระเจ้า อยู่ ใ นฐานะของผู ้ท รงวิ ท ยปั ญ ญาขั้น สู ง (ทรงฮะกี ม ) อัน หมายความว่ า ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย่ า งที่ พ ระผู เ้ ป็ นเจ้า ทรงกระท� ำ หรื อ พระองค์ท รงบัญ ชา สิ่ ง นั้น ย่ อ มเป็ น สิ่ ง ที่ ท รงคุ ณ ค่ า และมี ป ระโยชน์ และ ประโยชน์ น ั้ น จะยั ง ถึ ง ผู ้ป ฏิ บ ั ติ แ ละผู ้ กระท� ำ ดัง นั้ น หลัก การเรื่ อ งหนึ่ ง และ ข้อ บัญ ญัติ ห นึ่ ง ของมุ ส ลิม คื อ การสร้า ง ความสมานฉั น ท์ร ะหว่ า งมุ ส ลิ ม ด้ว ยกัน และจะต้อ งมี ป ฎิ ส ัม พัน ธ์ ท่ี ดี ก ั บ เพื่ อ น บ้า น รวมไปถึง คนต่ า งศาสนิ ก ดัง ที่ อิ ม า มอะลี ( อ)ได้ก ล่ า วกับ ท่ า นมาลิ ก อัช ตัร ว่ า .. “โอ้ม ะลิ ก เอ๋ย จงน� ำ ค� ำ ขวัญ เป็ น คติ ต่ อ ตัว เองเสมอว่ า ต้อ งมี ค วามเมตต จิ ต าและความรัก ต่ อ พวกเขา จงมี ค วาม โอบอ้อ มอารี และอย่ า ได้เ ป็ นดั ง่ สัต ว์ ดุ ร า้ ย ที ่ค อยจะกัด กิ น พวกเขา เพราะ ว่ า ประชาชนเหล่ า นัน้ มี ส องกลุ่ ม หนึ่ ง พวกเขาอาจจะเป็ นพี ่น อ้ งร่ ว มศาสนากับ เจ้า หรื อ ถ้า ไม่ เ ป็ น เช่ น นัน้ พวกเขาก็ เ ป็ น มนุ ษ ย์เ หมื อ นกับ เจ้า ” แ ล ะ อั ล กุ ร อ า น ไ ด้ ก ล่ า ว ถึ ง เรื่ อ งหลัก เอกภาพและการสร้า งความ


ไกลและอยู่ ใ กล ช้ ุ ม ชนรอบตัว รวมทั้ง รู ้ “วิ ธี ก าร” ที่ เ ราจะอยู่ ร่ ว มกับ ผู อ้ ่ื น ได้ อย่ า งมี ค วามสุ ข การเรี ย นรู แ้ ละเข้า ใจ วัฒ นธรรมของผู อ้ ่ื น /กลุ่ ม ชน ศาสนิ ก อื่ น มีป ระโยชน์แ ละก�ำ ไรส�ำ หรับ ผู ท้ ่ีรู ้ เป็ น ผู ร้ ู ้ กาละเทศะ การปรับ ตัว เพื่อ การเข้า ใจกัน สามารถลดความขัด แย้ง สร้า งสัน ติ สุ ข ในการอยู ร่ วมกั น นอกจากนั้ น การรู ้ วัฒ นธรรม ยัง ท�ำ ให้เ รารู อ้ ี ก ว่ า อะไรที่ ควรท�ำ หรื อ อะไรที่ ไ ม่ ค วรท�ำ เรื่ อ งใดที่ เขายึ ด ถื อ เคารพ ห้า มละเมิด และยอม ได้ห รื อ ยอมไม่ ไ ด้ ในบางเรื่ อ งผู ท้ ่ี เ ป็ น เจ้า ของวัฒ นธรรมจะเป็ นคนบอกเองว่ า อะไร ที่ เ ป็ นข้อ ผ่ อ นปรนได้ อะไรที่ ผ่ อ น ปรนไม่ ไ ด้ อะไรคื อ เรื่ อ งหลัก อะไรคื อ เรื่ อ งรอง และที่ ส � ำ คัญ ไปกว่ า นั้ น ก็ คื อ การเข้า ถึ ง ปรั ช ญาการสร้า งมนุ ษย์ บ น ความหลากหลาย ซึ่ ง เป้ าหมายเพื่ อ ให้ มนุ ษ ย์เ รี ย นรู ก้ ัน และกัน และให้เ กี ย รติ ต่ อ กัน ไม่ ล ะเมิด สิ ท ธิ ก ัน และกัน (อ้า งจาก บทความการจัด การทางวัฒ นธรรม : ความหลากหลาย

ทางวัฒ นธรรม ในเชี ย ตะวัน ออกเฉี ย งใต้)

อั ล กุ ร อ า น ยั ง เ รี ย ก ร้ อ ง ใ ห้ ใ ห้ มนุ ษ ยชาติ มีก ารสร้า งปฏิส มั พัน ธ์ร ะหว่ า ง กั น แ ล ะ กั น โ ด ย ใ ห้มุ ม ม อ ง ว่ า ก า ร มี ปฏิ ส ัม พัน ธ์ ร ะหว่ า งกั น คื อ การสร้า ง สัน ติ ภ าพที่ ย งั ่ ยื น และน�ำ ไปสู่ ก ารมีภ าวะ ส�ำ รวมตนทั้ง ทางปัจ เจกบุ ค คลและทาง สัง คม “โอ้ม นุ ษย์เ อ๋ย แท้จ ริ ง เราได้ส ร้า ง พวกเจ้า มาจากชายหนึ่ ง และหญิ ง หนึ่ ง และเราได้ท �ำ ให้พ วกเจ้า เกิ ด

สาส์น อิส ลาม

สมานฉัน ท์ไ ว้ว่ า “และพวกเจ้า จงยึ ด สายเชื อ ก ของอัล ลอฮฺ โดยพร้อ มเพรี ย งกัน ทัง้ หมด และจงอย่ า แตกแยกกัน และ จงร�ำ ลึ ก ถึ ง ความเมตตาของอัล ลอฮฺ ที่ มี แ ด่ พ วกเจ้า ขณะที่ พ วกเจ้า เป็ น ศัต รู ก นั แล้ว พระองค์ไ ด้ท รงท�ำ ให้ สนิ ท สนมกัน ระหว่ า หัว ใจของพวก เจ้า แล้ว พวกเจ้า ก็ ก ลายเป็ นพี่ น ้อ ง กัน ด้ว ยความเมตตาของพระองค์” (บทอาลิ อิ ม รอน : 103) ข.อิ ส ลามยอมรั บ ในความต่ า ง และความหลากหลายทางวัฒ นธรรม ศาสนาอิ ส ลามเป็ นศาสนาที่ ส อน ให้ร ัก สัน ติ แ ละเรี ย กร้อ งไปสู่ ส ัน ติ ภ าพ ดัง นั้น เมื่ อ โลกใบนี้ มี ว ฒ ั นธรรมที่ ห ลาก หลาย ดัง นั้ น จะต้อ งยอมรับ สิ่ ง ส� ำ คั ญ ล�ำ ดับ ต่ อ มาคื อ การศึ ก ษาเรื่ อ งความ หลากหลายของวัฒ นธรรม ชี วิ ต ความ เป็ นอยู่ ค วามแตกต่ างและหลากทาง วัฒ นธรรมที่ อ ยู่ ใ นแต่ ล ะประเทศต้อ ง เรี ย นรู ว้ ัฒ นธรรมของกลุ่ ม ชนที่ ต่ า งกัน นอกจากจะสร้า งความรัก ความผู ก ผัน ท� ำ ความรู จ้ ัก ต่ อ กัน แล ว้ ยัง ก่ อ ให้เ กิ ด การเรี ย นรู ้ ตระหนัก และพัฒ นาความ เป็ น ชาติ ศาสนา ท้อ งถิ่น และชุม ชน รวม ทั้ง ยัง สามารถเกิ ด การพัฒ นาในระดับ บุ ค คล คื อ การพัฒ นา ความรู ้ สติ ป ัญ ญา ทั้ง ร่ า งกายและจิ ต ใจ รวมทั้ง การหล่ อ หลอมให้เ กิ ด การใช้ค วามรู ้ คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม เพื่อ “เข้า ใจผู อ้ ่ืน ” เข้า ใจความ เป็ นอยู่ ข องคนในที่ ต่ า งกัน ทัง้ ที่ อ ยู่ ห่ า ง

19


สาส์น อิส ลาม

20

เป็ นเผ่ า พัน ธุ ต์ ่ า งๆ เพื่ อ ที่ จ ะได้รู จ้ ัก กัน และมี ป ฎิ ส มั พัน ธ์ต่ อ กัน แท้จ ริ ง ผู ม้ ี เ กี ย รติ ท่ี สุ ด ณ องค์อ ลั ลอฮ คื อ ผู ้ มี ค วามย�ำ เกรงและส�ำ รวมตนที่ สุ ด ” (บทอัล ฮุ จ รอต โองการที่ ๑ ๓) รากฐานความคิ ด และการกระ ท� ำ แบบเดี ย วกั น ที่ ส่ ง เสริ ม การให้เ กิ ด สัน ติ ภ าพและความสัน ติ สุ ข ของสัง คม ถื อ ว่ า เป็ นหลัก คิ ด ที่ เ ป็ นหลัก สากล นัน่ หมายถึ ง โครงสร้า งของการท�ำ ให้ส งั คม มี มิ ต รภาพและความเมตตาระหว่ า ง กั น และกั น โดยก� ำ หนดให้เ ป็ นหลัก จริ ย ธรรมอัน สู ง ส่ ง ของค�ำ สอนในศาสนา อิ ส ลาม และความพยายามหนึ่ ง ของ ศาสนาอิ ส ลามต้อ งการที่ จ ะให้โ ลกและ ป ร ะ ช า ค ม โ ล ก ป ร ะ จั ก ษ์ พ ย า น ต่ อ ค� ำ สอนอัน เที่ ย งธรรม และอิ ส ลามแท้ ว่ า แท้จ ริ ง อิ ส ลามนั้ น มี ค วามปรารถนา ที่ จ ะสถาปนาสัน ติ ภ าพและปั ด เป่ าสง สรามและความขัด แย้ง กั น ให้อ อกไป และสนับ สนุ น ให้อ ยู่ ร่ ว มกัน อย่ า งสัน ติ จากกรอบแนวคิ ด ที่ ไ ด้ก ล่ า วมา นั้ น แน่ น อนพระคัม ภี ร ์ อ ัล กุ ร อานและ บทรายงานจากวจนะของศาสดามุฮ มั มัด (ศ) และแบบฉบับ ของสาวกทรงธรรม ตลอดถึ ง บรรดาทายาทผู บ้ ริ สุ ท ธิ์ ของ ศาสดามุ ฮ ัม มัด ต่ า งก็ ไ ด้ใ ช้ห ลัก การและ แ น ว ท า ง ใ น ก า ร อ ยู่ ร่ ว ม กั น บ น ค ว า ม หลากหลายทางวัฒ นธรรมมาก่ อ นแล ว้ และจะเห็ น ว่ า เป็ นความส�ำ เร็ จ หนึ่ ง ที่ ถู ก จารึ ก ไว้ใ นประวัติ ศ าสตร์ ถึง การอยู่ ร่ ว ม กั น ระหว่ า งศาสนาและระหว่ า งนิ ก าย

อย่ า งสัน ติ ภ าพ และนัน่ คื อ แบบอย่ า งที่ ถื อ ว่ า เป็ นวัฒ นธรรมของอิ ส ลามและยัง ถื อ ว่ า เป็ นหลัก ค�ำ สอนส�ำ คัญ ของศาสนา อิ ส ลามที่ มุ่ง เน้น ความมีส นั ติ ภ าพในการ อยู่ ร่ ว มกั น และรั ง เกี ย จการให้ร ้า ยต่ อ กัน อี ก ทัง้ ไม่ เ ห็ น ด้ว ยกับ การก่ อ การร้า ย ทุ ก รู ป แบบ


บรรณานุ ก รม -กี ร ติ บุ ญ เจื อ .อรรถปริ ว รรต คู่ เ วรคู่ กรรม ปรัช ญาหลัง นวยุ ค กรุ ง เทพฯ. พิ ม พ์ ที่ โรงพิ ม พ์แ ห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิท ยาลัย ปี ท่ี พิม พ์ พศ. ๒๕๔๙ -เชคชะรี ฟ ฮาดี ยฺ ค�ำ สอนจากนะฮญุ ลบะลาเฆาะฮ กรุ ง เทพฯ, สถานศึ ก ษา ดารุ ล อิ ลมฺ มู ล นิ ธิ อิ ม ามคู อี ย ์ ปี ท่ี พิม พ์ พ.ศ. ๒๕๕๐ -อบู อ าดิ ล ชะรี ฟ อัล ฮาดี ย ์ 2548 การ ก�ำ เนิ ด ส�ำ นัก ต่ า งๆในอิ ส ลาม กรุ ง เทพฯ :ศู น ย์ วัฒ นธรรมสถานเอกอัค ร ราชทู ต สาธารรัฐ อิ ส ลามแห่ ง อิ ห ร่ า น ประจ�ำ กรุ ง เทพฯ -อยาตุ ล ลอฮ์ ญะอ์ฟ ัร ซุ บ ฮานี แปล โดย อบู อ าดิ ล ชะรี ฟ อัล ฮาดี ย ์ 2548 ชี อ ะฮ์ใ น ประวัติ ศ าสตร์อิ ส ลาม กรุ ง เทพฯ : The Ahl al bayt a.s World Assembly -Ayatullah Misbah Yazdi. Jami ah wa Tareek. Qom Iran : Sazman Tabliqat 1372 -Ayatullah Javadi Amoli. Falsafah Hukok Bashar. Qom Iran : Isra Puplication Center 1382

สาส์น อิส ลาม

21


22

สาส์น อิส ลาม


โลกปั จจุ บั น กั บ ความจ�ำ เป็ นต่ อ การสร้ า งสมานฉั น ท์ ระหว่ า งศาสนาและนิ ก าย โดย เชคอิ ม รอม พิช ยั รัต น์ มหาวิท ยาลัย นานาชาติ อัล มุส ตอฟา ประจ�ำ กรุ ง เทพมหานคร

บทคั ด ย่ อ ประเด็ น การสมานฉัน ท์ร ะหว่ า งศาสนานั้น เป็ นประเด็ น ที่ พู ด ถึ ง กัน มาช้า นาน โดยเฉพาะในยุ ค ปัจ จุ บ นั ที่ เ ป็ น ยุ ค โลกาภิว ฒ ั น์ย่ิ ง เป็ น ประเด็ น ที่ จ �ำ เป็ น และพู ด ถึง กัน อย่ า งกว้า งขวางท่ า มกลางพหุ ว ฒ ั นธรรม โดยเฉพาะศาสนาอิ ส ลาม เป็ นศาสนาที่ ให้ค วามส�ำ คัญ และมี แ นวทางที่ ถื อ ปฏิ บ ตั ิ ก ัน มาตั้ง แต่ ก ารเริ่ ม สร้า งมนุ ษ ย์ต ลอดจน บรรดาศาสดาและบรรดาผู น้ � ำ ผู บ้ ริ สุ ท ธิ์ ก็ ใ ช้แ นวทางดัง กล่ า วนี้ ไ ว้เ ป็ นแบบอย่ า งและ นัน่ ก็ คื อ “แนวทางแห่ ง การสานเสวนาและการสนทนาท�ำ ความเข้า ใจร่ ว มกัน ” ซึ่ ง บทความนี้ ผู เ้ ขีย นจะพยายามน�ำ เสนอในมุม มองของอิ ส ลามโดยหยิบ ยกโองการและ บางรายงานเพื่อ ชี้ ใ ห้เ ห็ น ถึง ความส�ำ คัญ และคุ ณู ป การที่ ไ ด้ร ับ จากการสนทนาพู ด คุ ย ท�ำ ความเข้า ใจร่ ว มกัน ระหว่ า งศาสนาซึ่ ง ถือ ได้ว่ า เป็ น แนวทางที่ ดี ท่ี สุ ด อัน หนึ่ ง ในการ สร้า งความสมานฉัน ท์ร ะหว่ า งศาสนา ค�ำ ส�ำ คัญ : สมานฉัน ท์, ศาสนาอิ ส ลาม

สาส์น อิส ลาม

23


Academic article Capacities for Achieving peaceful Co-Existence among religions and sects World today and the need for reconciliation between religions and sects

สาส์น อิส ลาม

Abstract The issue of reconciliation between religions is a long-standing issue. Especially in the present day of globalization, it is a necessary issue and widely discussed among many cultures. Especially Islam It is an important religion and has been followed since the beginning of human creation, as well as the Prophet and the innocent leaders as a model and that is “The way of dialogue and dialogue to understand together.” In this article, the author will try to present in the perspective of Islam by raising verses and some reports to indicate the importance and contributions received from the dialogue. Discuss common understanding between religions, which is regarded as one of the best ways to reconcile between religions. Key words: reconciliation, religion, Islam

24


ซ้อ น นัก วิช าการได้ก ล่ า วสรุ ป ถึ ง สาเหตุ ของการเกิ ด ขึ้น ของศาสนาไว้ด งั นี้ 1-เกิ ด จากความไม่ รู ้ (อวิช ชา) 2-เกิ ด จากความกลัว 3-เกิ ด จากความจงรัก ภัก ดี 4-เกิ ด จากความอยากรู เ้ หตุ ผ ล (ปัญ ญา) 5-เกิ ด จากอิ ท ธิ พ ลของคนส�ำ คัญ 6-เกิ ด จากลัท ธิ ก ารเมือ ง อย่ า งไรก็ ต ามศาสนามี บ ทบาท และอิ ท ธิ ต่ อ ความคิ ด ความเชื่ อ และรู ป แบบวิถีชี วิต ของผู ค้ นในสัง คม ทว่ า ยัง ส่ ง ผลต่ อ ความเปลี่ย นแปลงประวัติ ศ าสตร์ มนุ ษย์ ช าติ ด ้ว ยเช่ นกั น ด้ว ยอิ ท ธิ พ ล ของค� ำ สอนทางศาสนาและแบบอย่ า ง อัน งดงามของบรรดาผู ใ้ ห้ก �ำ เนิ ด ศาสนา ได้ส่ ง ผลให้เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงชี วิ ต และสัง คมไปในทางที่ดี ข้ ึน อย่ า งมากมาย โดยได้ฉุ ด ดึ ง สัง คมที่ ก �ำ ลัง อยู่ ใ นสภาพที่ มื ด บอดและจมดิ่ ง ลงสู ค วามหายนะ สู่ สัง คมสงบสุ ข สัง คมมนุ ษ ย์ไ ด้พ ฒ ั นาไปสู่ ค วาม เจริ ญ รุ่ งเรื อ งและความก้า วหน้า ทาง ด้า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศพัฒ นาขึ้ น อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว เ พื่ อ ต อ บ ส น อ ง ต่ อ ก า ร เจริ ญ เติ บ โตของความสัม พัน ธ์ ท างด้า น เศรษฐกิ จ การเมื อ งและวัฒ นธรรมที่ เชื่ อ มโยงระหว่ า งปัจ เจกบุ ค คล ชุ ม ชน หน่ ว ยธุ ร กิ จ และสัง คมโลก ซึ่ ง เรี ย กว่ า “ยุ ค โลกาภิ ว ฒ ั น์” ฉะนั้น จึ ง ปฏิ เ สธไม่ ไ ด้ ว่ า ปัจ จุบ นั เหตุ ก ารณ์ ห นึ่ ง ที่เ กิ ด ขึ้น ในที่ใ ด บนโลกใบนี้ ย่ อ มส่ ง ผลกระทบต่ อ ความ

สาส์น อิส ลาม

การสมานฉั น ท์ ร ะหว่ า งศาสนา กระแสเหตุ ก ารณ์ ข องโลกวัน นี้ ทุ ก พื้น ที่ ทุ ก ประเทศ และทุ ก ๆ มุม ของ โลก เรี ย กร้อ งและต้อ งการสัน ติ ภ าพ ความยุ ติ ธ รรม เสรี ภ าพ และการมี ความสัม พัน ธ์ ฉั น มิ ต รและการอยู่ ร่ ว ม กัน อย่ า งสงบสุ ข แต่ ท ว่ า อุ ด มคติ แ ละโลก ทัศ น์ต่ า งๆได้ถู ก ท�ำ ให้ส บั สน และท�ำ ให้ มนุ ษ ย์ต่ า งก็ แ สวงหาการอยู่ ร่ ว มกัน อย่ า ง สัน ติ สุ ข นั้น เกื อ บจะสิ้ น หวัง แ ต่ ท ว่ า ต ล อ ด เ ว ล า ข อ ง ประวัติ ศ าสตร์ช้ ี ใ ห้เ ห็ น ถึ ง บทบาทของ ศาสนา ต่ า งได้แ สดงบทบาทหนึ่ ง ที่ส ำ� คัญ ในอัน ที่ จ ะก่ อ ให้เ กิ ด ความพึ ง พอใจแก่ มนุ ษ ย์ จึ ง เกิ ด ความหวัง อยู่ ว่ า สัก วัน หนึ่ ง ด้ว ยกับ วิ ถี ท างแห่ ง ศาสนาจะน� ำ พา มนุ ษยชาติ ไ ปสู่ ส ั น ติ ภ าพ และความ ห วั ง นั้ น ไ ด้ก่ อ ตั ว ขึ้ น ด้ว ย ก า ร ก่ อ เ กิ ด เป็ นอารยธรรมและวัฒ นธรรมในการ สร้า งความเข้า ใจระหว่ า งกัน และกัน และ ระหว่ า งในหมู่ ศ าสนิ ก ชนของศาสนานัน้ ๆ ทัง้ หมด และในความเป็ นจริ ง แล ว้ ไม่ มี ศาสนาใดบนโลกใบนี้ มีค�ำ สอนให้มุ่ง ร้า ย ต่ อ กัน แต่ ต รงกัน ข้า มศาสนาทั้ง หลาย ต่ า งก็ ช่ื น ชมยิ น ดี ใ นความเป็ นมิต ร ซึ่ ง มี จิ ต เอื้ อ อาทรต่ อ กัน และกัน หรื อ กล่ า วอี ก นัย หนึ่ ง คื อ ศาสนาไม่ ไ ด้เ ป็ นภัย คุ ก คาม ต่ อ กัน จากร่ อ งรอยทางประวัติ ศ าสตร์ แ ล ะ โ บ ร า ณ ส ถ า น ต่ า ง ๆ ชี้ ใ ห้เ ห็ น ว่ า ศ า ส น า เ กิ ด ค ว บ คู่ กั บ ม นุ ษ ย์ ม า อ ย่ า ง ยาวนาน เริ่ ม จากความเชื่ อ ที่ ไ ม่ ส ลับ ซับ

25


สาส์น อิส ลาม

26

เป็ น อยู่ ข องประชาคมโลกทัง้ หมด แ ล ะ เ นื่ อ ง จ า ก ค ว า ม เ ป็ น โลกาภิ ว ัฒ น์ ท่ี เ กิ ด ขึ้ นในสั ง คมมนุ ษย์ ท�ำ ให้ผู ค้ นได้ร ับ ข้อ มู ล ข่ า วสารที่ ร วดเร็ ว และหลากหลาย อัน เป็ นปั จ จัย หนึ่ ง ที่ ท�ำ ให้เ กิ ด ค�ำ ถามในเรื่ อ งต่ า งๆ ขึ้น อย่ า ง กว้า งขวางและสลับ ซับ ซ้อ นมากยิ่ ง ขึ้ น โดยเฉพาะค� ำ ถามเกี่ ย วกับ เรื่ อ งความ เชื่ อ และศาสนา เช่ น เรื่ อ งความหลาก หลายของศาสนา เปลื อ กและแก่ น ของ ศาสนา จุ ด ร่ ว มจุ ด ต่ า งของศาสนา ทาง รอดพ้น ของผู ท้ ่ี ยึ ด มัน่ ศาสนาทั้ง ๆ ที่ มี ความขัด แย้ง (ตะอารุ ฎ ) กัน อยู่ แก่ น แท้ข องศาสนามีอ ยู่ ใ นทุ ก ศาสนาหรื อ ไม่ ? กระทัง่ ท�ำ ให้เ กิ ด ความเชื่ อ ต่ า งๆ เพิ่ม ขึ้น อย่ า งมากมาย ทัง้ ในกลุ่ ม เทวนิ ย มหรื อ อเทวนิ ย ม ซึ่ง แน่ น อนว่ า ย่ อ มมีค วามแตก ต่ า งกัน อย่ า งแน่ น อน อัน สื บ เนื่ อ งมาจาก ภู มิ ห ลัง ทางประวัติ ศ าสตร์ ภู มิ ศ าสตร์ และขนบธรรมเนี ย มที่ แ ตกต่ า งกัน ดัง นั้น แนวทางที่ ดี ท่ี สุ ด ที่ จ ะสร้า ง ค ว า ม ส ม า น ฉั น ท์ ใ ห้เ กิ ด ขึ้ น ร ะ ห ว่ า ง ศาสนาต่ า งๆ นั้น คื อ การท�ำ ความเข้า ใจ และท�ำ ความรู จ้ ัก ซึ่ ง กัน และกัน เพราะ ความไม่ รู ้น ั้ น เป็ นบ่ อ เกิ ด ของการห่ า ง เหิ น และท�ำ ให้เ กิ ด ความชิ ง ชัง ต่ อ กัน หาก ความไม่ รู ้น ั้ น ถู ก ใส่ ข อ้ มู ล ที่ ไ ม่ ถู ก ต้อ ง และแน่ น อนที่ สุ ด ว่ า การสานเสวนาพู ด คุ ย กัน นั้ น เป็ นวิ ธี ก ารหนึ่ ง ที่ น� ำ ไปสู่ ก าร เจริ ญ ปั ญ ญาในการท� ำ ความเข้า ใจจุ ด เหมือ นที่ จุ ด ต่ า งร่ ว มกัน วลี ห นึ่ งที่ ศ าสนิ ก ชนทุ ก ศาสนา

ต่ า งให้ค วามส�ำ คัญ และมี ค วามเห็ น พ้อ ง ต้อ งกัน อัน เป็ นสาระธรรมในเชิ ง ปฏิ บ ตั ิ ของทุ ก ศาสนานัน่ ก็ คื อ “ทุ ก ศาสนาสอน ให้ค นเป็ น คนดี” การเป็ น คนดีมีคุ ณ ธรรม คื อ เป้ าหมายประการหนึ่ ง ของทุ ก ศาสนา เพราะความดี เ ป็ นสิ่ ง สากลที่ ศ าสนิ ก ทุ ก ศาสนารัก และปรารถนาที่จ ะให้เ กิ ด ขึ้น ใน สัง คม ซึ่ ง ศาสนาอิ ส ลามให้ค วามส�ำ คัญ ในจุ ด ร่ ว มระหว่ า งศาสนาเป็ นอย่ า งมาก โดยจะเห็ น ได้จ ากโองการและฮะดี ษ มา กมายที่ ก ล่ า วถึง ประเด็ น นี้ ไ ว้ อั ล กุ ร อ า น ย อ ม รั บ วิ ธี ก า ร ส า น เสวนากับ ผู เ้ ห็ น ต่ า งโดยยกเรื่ อ งราวใน อดี ต ไว้เ ป็ นตั ว อย่ า งอี ก ด้ว ย อั ล ลอฮ์ (ซบ.) ได้น� ำ เสนอการเจรจากับ ผู ท้ ่ี เ ห็ น ต่ า งนับ ตั้ง แต่ ท รงเริ่ ม สร้า งอาดัม ที่ ท รง น�ำ เสนอเรื่ อ งนี้ แ ก่ เ หล่ า ทวยเทพ (มะลาอิ กะฮ์) และพวกเขาก็ น�ำ เสนอทัศ นะของ พวกเขาต่ อ พระองค์ พระเจ้า ทรงอธิ บ าย และชี้ แ จงถึ ง การสร้า งอาดัม ให้พ วกเขา ได้เ ข้า ใจจนเป็ น ที่ก ระจ่ า ง บรรดาศาสนา ก็ ส านเสวนาและพู ด คุ ย กับ บรรดาชนเผ่ า ที่ เ ห็ น ต่ า งด้ว ยเช่ น กัน และพวกท่ า นให้ เวลาในการท�ำ ความเข้า ใจแก่ ผู ค้ นในยุ ค ของท่ า นอย่ า งมากมาย เช่ น : ศาสดานู ห ์ (อ.) ที่ ไ ด้ใ ช้เ วลานาน ถึง 950 ปี ใ นการสนทนากับ ผู ค้ นในยุ ค นั้น ‫ُوح َقدْ َجا َد لْ َت َنا َفأَ ك َ ْ​ْث َت‬ ُ ‫َقا لُوا يَا ن‬ ‫جِ دَ ا لَ َنا َفأْ تِ َنا بِ َا تَ ِعدُ نَا إِ نْ كُ ْن َت ِم َن‬ ‫لصا ِد ِق َني‬ َّ ‫ا‬ “พวกเขากล่ า วว่ า “โอ้นู ห์เ อ๋ย !


โองการนี้ อธิ บ ายไว้อ ย่ า งชัด เจน ถึ ง พัน ธกิ จ ของท่ า นศาสดามุ ฮ ั ม หมัด (ศ็ อ ลฯ) ในการเชิ ญ ชวนผู ค้ นสู่ ศ าสนา ของพระเจ้า ด้ว ยวิ ท ยปัญ ญาและค� ำ ตัก เตื อ นที่ ง ดงาม ในซู เ ราะฮ์ อ าลิ อิ ม รอน โองการที่ 64 ได้เ ชิ ญ ชวนให้ท่ า นศาสดา มุฮ มั หมัด (ศ็ อ ลฯ) เจรจากับ ชาวคัม ภี ร ์ โดยก�ำ หนดหัว ข้อ ในการเจรจาอี ก ด้ว ย ‫اب تَ َعا لَ ْوا إِ َل كَلِ َم ٍة‬ ِ ‫ُق ْل يَا أَ ْه َل ا لْ ِك َت‬ َ‫َس َوا ٍء بَ ْي َن َنا َو بَ ْي َنك ُْم أَ َّل نَ ْع ُبدَ إِ َّل اللَّه‬ ‫َو َل ن ُْشِكَ ِب ِه شَ ْي ًئا َو َل َي َّت ِخ َذ َب ْعضُ َنا‬ ‫َب ْعضً ا أَ ْر َبا ًبا ِم ْن ُد ونِ اللَّ ِه َفإِ نْ تَ َولَّ ْوا‬ َ‫َفقُولُوا اشْ َهدُ وا ِبأَ نَّا ُم ْسلِ ُمون‬ “จงกล่ า วเถิ ด (มุ ฮ มั หมัด ) ว่ า โอ้ ชาวคัม ภี ร ์ ! จงมายัง ถ้อ ยค�ำ หนึ่ ง ซึ่ ง เท่ า เที ย มกัน ระหว่ า งเราและพวก ท่ า นในการไม่ เ คารพสัก การะนอก จากอัล ลอฮ์ และเราจะไม่ ใ ห้ส่ ิ งหนึ่ ง สิ่ งใดเป็ นภาคี ก บั พระองค์ และพวก เราบางคนก็ จ ะไม่ ยึ ด ถื อ อี ก บางคน เป็ นพระเจ้า อื่ น จากอัล ลอฮ์ แล้ว หาก พวกเขาผิ น หลัง ให้ ก็ จ งกล่ า วเถิ ด ว่ า พวกท่ า นจงเป็ นพยานด้ว ยว่ า แท้จ ริ ง พวกเราเป็ นผู จ้ �ำ นน (ต่ อ สัจ ธรรม)” (ซู เ ราะฮ์อ าลิอิ ม รอน โองการที่ 64) ประเด็น ต่ า งๆ ที่ไ ด้ร บั จากโองการ นี้ ไ ด้แ ก่ : 1. อัล ลลอฮ์ (ซบ.) ทรงบัญ ชา อ ย่ า ง เ ปิ ด เ ผ ย ว่ า ใ ห้ท่ า น ศ า ส ด า มุ ฮ ั ม หมั ด (ศ็ อลฯ) เข้า สู่ ก ารเสวนาและ เจรจากั บ ชาวคั ม ภี ร ์ โดยย�้ำ ถึ ง หัว ข้อ หลัก เอกานุ ภ าพเป็ นหัว ข้อ หลัก ซึ่ ง เป็ น

สาส์น อิส ลาม

แน่ น อนท่ า นได้โ ต้เ ถี ย งของเรามากขึ้ น ดัง นั้น จงน� ำ มาให้เ ราเถิ ด สิ่ งที่ ส ญั ญา กับ เราไว้ถ า้ ท่ า นอยู่ ใ นหมู่ ผู ส้ ตั ย์จ ริ ง ” (ซู เ ราะฮ์ฮู ด โองการที่ 32) ศาสดาอิ บ รอฮี ม (อ.) ที่ ส นทนา พู ด คุ ย เกี่ ย วกับ เรื่ อ งการลงโทษาชนชาว ลู ฏ รวมถึ ง บรรดาศาสดาทุ ก ท่ า น เช่ น ศาสดาซอลิ ห ์ ศาสดามู ซ า ศาสดาอี ซ า และ ฯลฯ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ศาสดามุ ฮ ัม หมัด (ศ็ อ ลฯ) และบรรดาผู น้ �ำ ที่ บ ริ สุ ท ธิ์ ยิ่ง (อ.) ก็ ไ ด้ใ ช้วิธี ก ารเสวนาและสนทนา ท� ำ ความเข้า ใจกับ ผู เ้ ห็ น ต่ า งซึ่ ง ท่ า นมัร ฮู ม ฏอบัร ซี ได้ร วบรวมเหตุ ก ารณ์ เ หล่ า นั้น ไว้ใ นหนัง สื อ อัน ทรงคุ ณ ค่ า ของท่ า น (อัล เอี้ ย ะห์ติ ญ าจ) เบื้ อ งต้น ท่ า นได้เ ริ่ ม อธิ บ ายเกี่ ย วกับ เรื่ อ งของการโต้เ ถีย งและ ประเภทต่ า งๆของมัน โดยยกตัว อย่ า ง ต่ า งๆ การโต้เ ถี ย งที่ ดี ง ามระหว่ า งท่ า น ศาสดามุฮ ัม หมัด (ศ็ อ ลฯ) กับ บรรดาผู ้ ปฏิ เ สธไว้ อัล กุ ร อานถื อ ว่ า การสานเสวนา และสนทนาพู ด คุ ย ท�ำ ความเข้า ใจระหว่ า ง กัน นั้น เป็ นหน้า ที่ ห นึ่ ง ที่ จ ะท�ำ ให้ดี ท่ี สุ ด ‫ا ْد ُع إِ َل َسبِيلِ َر بِّكَ بِا لْ ِحكْ َم ِة‬ ‫َو ا لْ َم ْو ِعظَ ِة ا لْ َح َس َن ِة َو َجا ِد لْ ُه ْم بِا لَّ ِتي‬ ‫ِه َي أَ ْح َس ُن‬ “เจ้า จงเชิ ญ ชวนสู่ แ นวทางของ พระผู อ้ ภิ บ าลของเจ้า ด้ว ยวิ ท ย ปั ญ ญา ด้ว ยข้อ ตัก เตื อ นที่ ง ดงาม อี ก ทัง้ การโต้เ ถี ย งที่ ดี ท่ี สุ ด เถิ ด ” (ซู เ ราะฮ์อ นั นะห์ล โองการที่ 125)

27


สาส์น อิส ลาม

28

จุ ด ร่ ว มระหว่ า งทั้ง สองที่ บ รรดาศาสดา ได้ป ระกาศ 2. ไม่ ไ ด้เ ริ่ ม การสนทนาด้ว ยการ ปฏิ เ สธการตั้ง ภาคี เ พื่ อ พิ สู จ น์ ก ารมี อ ยู่ ของพระเจ้า เพราะอัล กุ ร อานถือ ว่ า เรื่ อ ง นี้ เ ป็ น เรื่ อ งสัญ ชาตญาณดัง้ เดิ ม ที่มีอ ยู่ ใ น ความเป็ นมนุ ษ ย์ แม้แ ต่ บ รรดาผู ต้ งั้ ภาคี ก็ ถื อ ว่ า การเคารพสัก การะเจว็ ด นั้น เป็ น สื่ อ ที่ จ ะน�ำ สู่ ค วามใกล ช้ ิ ด พระเจ้า เช่ น กัน แต่ ใ ช้วิธี ก ารทางอ้อ มอย่ า งละมุน ละม่ อ ม อ่ อ นโยน โดยพู ด ถึง การไม่ เ คารพสัก กา ระสิ่ ง อื่ น ที่ น อกเหนื อ จากอัล ลอฮ์ ‫َما نَ ْع ُبدُ ُه ْم إِ َّل لِ ُي َق ِّر بُونَا إِ َل اللَّ ِه‬ “พวกเราไม่ ไ ด้เ คารพสัก กา ระเหล่ า นั้น นอกจากเพื่ อ ที่ จ ะ ท�ำ ให้พ วกเราใกล้ชิ ด อัล ลอฮ์” (ซู เ ราะฮ์อ ซั ซุ ม รั โองการที่ 1) 3. เริ่ ม สนทนาด้ว ยการแสวงหา จุ ด ร่ ว ม คื อ การไม่ เ คารพสัก การะสิ่ ง อื่ น ที่ น อกเหนื อ จากพระเจ้า “เราจะไม่ ใ ห้ส่ิ ง หนึ่ งสิ่ ง ใดเป็ น ภาคี ก ับ พระองค์ และพวกเราบางคนก็ จะไม่ ยึ ด ถื อ อี ก บางคนเป็ นพระเจ้า อื่ น จาก อัล ลอฮ์” 4. เริ่ ม สนทนาจากเนื้ อหาที่ เ ป็ น สากลและเป็ นเรื่ อ งสัญ ชาติ ญ าณดัง้ เดิ ม ที่ เ ป็ นจุ ด ร่ ว มระหว่ า งศาสนา จะเห็ น ได้ ว่ า โองการนี้ ไม่ ไ ด้ก ล่ า วถึ ง การเชิ ญ ชวน สู่ ศ าสนาอิ ส ลามเป็ นการเฉพาะ 5. ท้า ยโองการกล่ า วว่ า “แล ว้ หากพวกเขาผิน หลัง ให้ ก็ จ งกล่ า วเถิด ว่ า พวกท่ า นจงเป็ น พยานด้ว ยว่ า แท้จ ริ ง พวก

เราเป็ น ผู จ้ �ำ นน (ต่ อ สัจ ธรรม)” กล่ า วคื อ หากพวกเขาไม่ ต อบรับ ค� ำ เชิ ญ ชวนของ เจ้า ก็ จ งประกาศออกไปว่ า แท้จ ริ ง เรา ยอมรับ ในหลัก การทั้ง หมดที่ ก ล่ า วมานี้ และส� ำ หรั บ พวกท่ า นยึ ด ตามหลัก ฐาน ของพวกท่ า น (โดยปราศจากการทะเลาะ วิว าทและยัด เยี ย ดความเชื่ อ ให้แ ก่ ก ัน ) จากโองการนี้ ช้ ี ใ ห้เ ห็ น ว่ า แม้ว่ า เรา จะเชื่ อ มัน่ และศรัท ธาว่ า ศาสนาอิ ส ลาม คื อ ศาสนาที่ส มบู ร ณ์ แ บบและครอบคลุ ม รายละเอี ย ดทั้ง หมดของการใช้ชี วิ ต ทั้ง ทางโลกและทางธรรม แต่ ก็ พ ร้อ มที่ จ ะ อยู่ ร่ ว มกับ ต่ า งศาสนิ ก ได้อ ย่ า งสัน ติ สุ ข ปราศจากการเบีย ดเบีย นและท�ำ ร้า ยกัน และกัน . ดั ง นั้ น แนวทางและวิ ธี ก ารสาน เสวนาในการท� ำ ความเข้า ใจซึ่ ง กัน และ กัน นั้น เป็ น แนวทางที่ดี ท่ีสุ ด แนวทางหนึ่ ง ในการสร้า งความสมานฉัน ท์แ ละการอยู่ ร่ ว มกัน อย่ า งสัน ติ ใ นสัง คม ซึ่ ง พอที่ จ ะ สรุ ป ถึง คุ ณู ป การมากมายได้ด งั นี้ : 1.ช่ ว ยแก้ป ัญ หาความขัด แย้ง ที่น�ำ ไปสู่ ก ารเป็ น ศัต รู ต่ อ กัน การเห็ น ต่ า งจาก ความเข้า ใจที่ แ ตกต่ า งและหลากหลาย เกี่ ย วกับ เรื่ อ งของความเชื่ อ สัง คม และ ฯลฯ เป็ นความต่ า งที่ มี ร ากเหง า้ มาจาก ความคิ ด และมุ ม มองของตัว บุ ค คล ซึ่ ง แต่ ล ะคนต่ า งก็ เ ชื่ อ ว่ า ตนนั้ น ตั้ ง อยู่ บ น แนวทางที่ ส จั ธรรม ซึ่ ง เป็ น วิถีท่ี เ ป็ น ปกติ แต่ แ ทนที่ จ ะเผชิ ญ หน้า กั น ด้ว ยการใช้ ความรุ น แรงและความทิ ฐิ ให้ห ัน มาใช้ วิธี ก ารสานเสวนาท�ำ ความเข้า ใจร่ ว มกัน


ความเชื่ อ ที่ ส ัจ ธรรมและโมฆะ อัน เป็ น จุ ด เริ่ ม ต้น ของความรุ น แรงกระทัง่ เป็ น เหตุ ใ ห้เ กิ ด การหลัง่ เลื อ ดและสงคราม แม้ว่ า บรรดาผู ป้ กครองที่อ ธรรมพยายาม ที่ จ ะใช้วิ ธี ก ารสร้า งความแตกแยกให้ เกิ ด ขึ้ น ระหว่ า งศาสนิ ก กระทัง่ เกิ ด การก ระทบกระทั ง่ หลัง เลื อ ดกั น ระหว่ า งผู ้ บริ สุ ท ธิ์ ท ั้ง นี้ เพื่ อ ให้อ �ำ นาจของพวกเขา มัน่ คงก็ ต าม 2.เป็ นการปู ท างสู่ ก ารได้ร ับ ทาง น� ำ อัน เที่ ย งตรง ซึ่ ง แน่ น อนว่ า การที่ จ ะ ไปถึ ง ยัง เป้ าหมายนี้ น ั้น จ�ำ เป็ นต้อ งค�ำ นึ ง ถึ ง หลัก การต่ า งๆ ที่ จ � ำ เป็ น และสิ่ ง ที่ ส�ำ คัญ ที่ สุ ด คื อ การสร้า งแรงบัน ดาลใจ ในการแสวงหาสัจ ธรรมให้เ กิ ด ขึ้ น เมื่ อ ใจ ถ วิ ล ห าแ ล ะ ต้อ งก าร สั จ ธ ร ร ม โ ดย ปราศจากความทิ ฐิ การตัด สิ น ไว้ล่ ว ง หน้า ในการเผชิ ญ หน้า กับ ความเชื่ อ และ แนวคิ ด แตกต่ า งที่ ห ลากหลายในโลก แห่ ง ความเป็ นจริ ง แต่ น อนว่ า จะเป็ น บัน ไดส�ำ คัญ ในการให้เ ขามุ่ ง สู่ แ นวทาง อัน สัจ ธรรมได้ต่ อ ไป อัล กุ ร อานกล่ า ว ถึง เรื่ อ งไว้ว่ า : ‫﴾ ا ل َِّذ ي َن يَ ْستَ ِم ُعو َن‬۱۷﴿ ‫ش ِع َبا ِد‬ ْ ِّ ‫فَ َب‬ ‫ا لْ َق ْو َل فَ َيتَّ ِب ُعو َن أَ ْح َس َن ُه أُ ولَ ِئ َك ا ل َِّذ ي َن‬ ‫اب‬ ِ ‫َه َد ا ُه ُم اللَّ ُه َوأُولَ ِئ َك ُه ْم أُولُو ْالَ لْ َب‬ “จงแจ้ง ข่ า วดี แ ก่ ป วงบ่ า วของข้า (17) บรรดาผู ท้ ่ี ส ดับ ฟั ง ค�ำ กล่ า ว แล้ว ปฏิ บ ตั ิ ต ามที่ ดี ท่ี สุ ด ของมัน พวก เขาเหล่ า นั้น คื อ บรรดาผู ท้ ่ี อ ลั ลอฮ์ ทรงชี้ แ นะแนวทางที่ ถู ก ต้อ งแก่ พ วก เขาและพวกเขาเหล่ า นั้น พวกเขา

สาส์น อิส ลาม

บนพื้น ฐานของตรรกะและเหตุ ผ ล เพราะ ความเชื่ อ เป็ น เรื่ อ งของหัว ใจที่ไ ม่ อ าจฝื น และบัง คับ กัน ได้ และประสบการณ์ ก็ ช้ ี ให้เ ห็ น แล ว้ ว่ า วิธี ก ารบัง คับ นั้น ไม่ ป ระสบ ความส� ำ เร็ จ แม้ว่ า บัง คั บ ในเรื่ อ งที่ ถู ก ต้อ งก็ ต าม แน่ น อนว่ า การสานเสวนาจะ เปลี่ ย นความเป็ นศัต รู ใ ห้ก ลายเป็ นมิ ต ร ต่ อ กัน อัล กุ ร อานได้ฝ ากฝัง เรื่ อ งนี้ ไ ว้แ ก่ ท่ า นศาสดามุฮ มั หมัด (ศ็ อ ลฯ) ว่ า ‫الس ِّيئَ ُة‬ َّ ‫َو َل ت َْستَوِي ا لْ َح َس َن ُة َو َل‬ ‫ا ْد فَ ْع بِا لَّ ِتي ِه َي أَ ْح َس ُن فَ ِإ ذَا ا ل َِّذ ي‬ ‫بَ ْي َن َك َو بَ ْي َن ُه َع َد ا َو ٌة كَأَ نَّ ُه َو ِ ٌّل َح ِمي ٌم‬ “ความดี แ ละความชั่ว นั้น ย่ อ มไม่ เท่ า เที ย มกัน เจ้า จงขับ ไล่ ( ความชั่ว ) ด้ว ยสิ่ งที่ ดี ก ว่ า แล้ว เมื่ อ นั้น ผู ท้ ่ี อ ยู่ ระหว่ า งเจ้า และระหว่ า งเขาที่ เ คยเป็ น อริ ก นั ก็ จ ะกลายเป็ นมิ ต รที่ ดี ต่ อ กัน ” (ซู เ ราะฮ์ฟุ ศ ศิ ล ตั โองการที่ 34) การใช้ค�ำ ว่ า “สิ่ ง ที่ ดี ก ว่ า ” บ่ ง ชี้ ถึง ความดี ง ามต่ า งๆ เช่ น การมี ใ บหน้า ที่ ยิ้ ม แย้ม แจ่ ม ใส การมีอ ธั ยาศัย ที่ ดี การ ใช้ค� ำ พู ด ที่ ดี ไ ม่ ใ ช้ค� ำ พู ด ที่ น� ำ ไปสู่ ค วาม เกลี ย ดชัง ใช้ภ าษารัก ที่ เ ป็ นภาษาที่ ทุ ก คนปรารถนา วิธี ก ารเช่ น นี้ เ ชื่ อ ได้เ ลยว่ า เป็ นวิ ธี ก ารที่ ดี ท่ี สุ ด และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ มากที่ สุ ด ศาสนาอิส ลามต้อ งการให้ก ารสาน เสวนาและการสนทนาพู ด คุ ย ท�ำ ความ เข้า ใจร่ ว มกัน เป็ นวิธี ก ารที่ ท �ำ ลายความ เกลี ย ดชัง ความเป็ นศัต รู ก ัน ที่ เ กิ ด จาก การไม่ เ ข้า ใจกั น การใส่ ร ้า ยกั น การ ป ร ะ ณ า ม แ ล ะ ก ล่ า ว ห า กั น แ ล ะ กั น ถึ ง

29


บรรณานุ ก รม คื อ ผู ท้ ่ี มี ส ติ ปั ญ ญาใคร่ ค รวญ(18)” 1. อัล กุ ร อาน (ซู เ ราะฮ์อ ซั ซุ ม รั โองการที่ 17-18) 2 . บิ ฮ า รุ ล อั น ว า ร มุ ฮ ั ม ห มั ด บ า เ ก ร มีร ายงานจากอิ ม ามมู ซ า (อ.) ว่ า อัล มัจ ลิซี อัล ลอฮ์ (ซบ.)ทรงแจ้ง ข่ า วดี น้ ี แ ก่ บ รรดา 3.นิ ต ยสาร นอเมะฮ์ มุฟี ด ฉบับ ที่ 16 ผู ม้ ี ป ัญ ญา ซึ่ ง ไม่ จ �ำ เพาะส�ำ หรับ บรรดา มู ซ าวีย อน ซัย ยิด อะบุ ล ฟัฎ ล์ ผู ศ้ รัท ธาเท่ า นั้น (บิอ ารุ ล อัน วาร เล่ม ที่ 75 หน้า

สาส์น อิส ลาม

296 พิม พ์เ บรุ ต )

30

บทสรุ ป ศาสนาอิ ส ลามเป็ นศาสนาแห่ ง ความสั น ติ ที่ มุ่ ง เน้น ให้ใ ช้ชี วิ ต อย่ า ง สั น ติ สุ ข ในสั ง คมบนความแตกต่ างที่ หล า ก หล า ย โดยให้ค วามส� ำ คั ญ กั บ วิ ธี ก ารปฏิ บ ัติ ต นต่ อเพื่ อ นมนุ ษย์ โ ดย เฉพาะแนวทางปฏิ บ ตั ิ ใ นการเผชิ ญ หน้า กับ ความต่ า งทางความเชื่ อ และความคิ ด อย่ า งมีต รรกะบนพื้น ฐานของเหตุ แ ละผล และปฏิเ สธวิธี ก ารและสิ่ง ยัว่ ยุ ต่ า งๆ ที่จ ะ น�ำ พาสู่ ค วามเกลีย ดชัง และการเป็ น ศัต รู กัน และกัน ศาสนาอิ ส ลามได้น� ำ เสนอ วิ ธี ก ารและแนวทางในการสัน ติ สุ ข ด้ว ย การสานเสวนาและการสนทนาท�ำ ความ เข้า ใจร่ ว มกัน นั บ แต่ เ มื่ อ ครั้ง การสร้า ง อาดัม และพระเจ้า เป็ นผู ใ้ ช้วิ ธี ก ารนี้ ด ว้ ย พระองค์ เ องเพื่ อ ให้เ ป็ นที่ ป ระจัก ษ์ แ ก่ มนุ ษ ย์ท งั้ หลาย หวัง ว่ า บทความสัน้ ๆ นี้ จ ะพอเป็ น แรงบัน ดาลใจให้เ ราท่ า นสานเสวนาและ สนทนาท�ำ ความเข้า ใจในจุ ด ร่ ว มและจุ ด ต่ า งโดยการแสวงหาจุ ด ร่ ว มและสงวน จุ ด ต่ า งระหว่ า งกัน ในทุ ก ศาสนาและทุ ก นิ ก าย


ปรั ช ญาอิ ส ลามกั บ ว่ า ด้ ว ยเรื่ อ งความสมานฉั น ท์ ระหว่ า งศาสนา ดร.ประเสริ ฐ สุ ข ศาสน์ก วิน ศู น ย์อิ ส ลามศึ ก ษา วิท ยาลัย เทคโนโลยี ส ยาม

สาส์น อิส ลาม

บทคั ด ย่ อ หากย้อ นดู ป ระวัติ ป รัช ญาอิ ส ลาม จะพบว่ า นัก ปรัช ญามุส ลิม จะเปิ ด ความคิ ด และยอมรับ กระบวนการทางความคิ ด ของต่ า งชาติ แ ละพวกเขาถื อ ว่ า การน�ำ เสนอ แนวคิ ด ทางปรัช ญาไม่ ใ ช่ เ ป็ นเรื่ อ งของชาติ พ นั ธุ ์ ห รื อ เชื้ อ ชาติ หรื อ ต้อ งถู ก จ�ำ กัด ไว้ เฉพาะในศาสนา นั ก ปรั ช ญามุ ส ลิ ม พยายามจะหลี ก เลี่ ย งความเป็ นชาติ นิ ย มทางความคิ ด โดยที่ พ วกเขาพยายามหาโอกาสในการสนทนาแลกเปลี่ย นวิช าการพร้อ มกับ พู ด คุ ย ถึง แนวคิ ด ทางปรัช ญาของกัน และกัน เช่ น ท่ า นอบู อิ ส ฮากอัล กิ น ดี ย ์ (Abu-Ishakh Al-Kindi) หรื อ อัล ฟาอรอบีย ์ (Al-Farabi) อเวน สีน่ า (Aven cina) และถ้า สืบ ค้น ไปสมัย ก่ อ นหน้า นั้น ที่ป รัช ญาอิ ส ลามเริ่ ม ก่ อ ตัว ในสมัย การปกครองของราชวงศ์บ ะนี อับ บาส (Abbaziyah) ชาวมุส ลิม ยิ น ดี ท่ี จ ะรับ แนวคิ ด ปรัช ญาแบบกรี ก โบราณหรื อ แบบตะวัน ออก โดยปราศจากการปิ ด กัน้ ไม่ ว่ า จะเป็ น แนวคิ ด ของเพลโต อริ ส โตเติ ล หรื อ นัก ปรัช ญาคนอื่ น ๆ ตลอดจนท�ำ ให้ค วามความสนอกสนใจต่ อ ศาสตร์ป รัช ญาได้ ทวีคู ณ มากยิ่ ง ขึ้น ในสมัย นั้น หรื อ แม้แ ต่ ศ าสตร์อ่ื น ๆ ที่ม าจากจี น หรื อ อิ น เดี ย ก็ ไ ด้ร บั การขานรับ จากปราชญ์มุส ลิม เป็ นอย่ า งดี ปัจ จุ บ นั จะเห็ น ว่ า ปรัช ญาอิ ส ลามได้น�ำ เสนอทฤษฎี “ความเป็ น เอกภาพในพหุ ภาพ” เป็ น ทฤษฎีห นึ่ ง ของปรัช ญาอิส ลามได้ม องถึง ความเป็ น ภวัน ตภาพว่ า มีค วามเป็ น หนึ่ ง เดี ย วกัน และในขณะเดี ย วกัน ก็ มีค วามต่ า งในรู ป และลัก ษณ์ ซึ่ ง นัน่ เป็ นกรอบ แนวคิ ด ของการพู ด ถึ ง ความสมานฉัน ท์ใ นศาสนา โดยการบู ร ณาการจากองค์ค วาม รู ด้ า้ นปรัช ญาและค�ำ สอนของอิ ส ลามให้เ ข้า ถึง หลัก การอยู่ ร่ ว มกัน อย่ า งสัน ติ เรี ย นรู ้ การให้เ กี ย รติ ผู อ้ ่ื น ไม่ ยึ ด มัน่ ถือ มัน่ ค�ำ ส�ำ คัญ : ปรัช ญาสมานฉัน ท์, เอกภาพ, พหุ ภ าพ

31


สาส์น อิส ลาม

32

Academic article Capacities for Achieving peaceful Co-Existence among religions and sects Islamic philosophy and peaceful Co-Existence among religions Abstract Considering the early days of the emergence of Islamic philosophy And the history of Muslim philosophy Will find that Muslim philosophers open their minds and accept foreign thought processes, and see that the presentation of philosophical ideas is not about ethnicity or ethnicity and religion, and Muslim philosophers try to avoid nationalism. Ideas as they try to find opportunities for academic exchanges while discussing the philosophical ideas of each other Such as Abu-Ishakh Al-Kindi) is a Muslim philosopher who is very popular in the philosophy of Aristotle or Al-Farabi (Al-Farabi) Aven Cina (Aven cina). And if searching before that philosophy Islam began in the reign of the Abbaziyah dynasty. Muslims were happy to accept ancient Greek or Eastern philosophies. Without blocking Whether it’s the concept of Plato, Aristotle, or other philosophers As well as making his interest in philosophy more and more multiplied in those days Or even other sciences that come from China or India Received a response from a Muslim philosopher as well Currently, the study of philosophy in the Muslim community has also studied various philosophical concepts, including Western philosophy, Eastern philosophy or comparative philosophy at Islamic universities, and dialogue or dialogue among Muslim philosophers and non-Muslim philosophers. Has come in every age and from this context suggests that Islamic philosophy is accepted in the fifth process or called It also integrates from the knowledge of philosophy and the philosophy of the philosophers who are teachings of Islam to respect others, not adhering to the commitment, ready to create accuracy and And to make peace happen on this planet Key words : philosophy, peaceful Co-Existence


บทน�ำ

(อ้า งจากหนัง สื อ ปรัช ญาอิ ส ลาม โดย

ดร.อิ ม รอน มะลู ลีม )

มีผู ไ้ ม่ ห วัง ดี แ ละผู ต้ อ้ งการท�ำ ลาย อิ ส ลามหรื อ ผู ไ้ ม่ เ ข้า ใจต่ อ ค�ำ สอนอิ ส ลาม พยายามจะน� ำ บทความและข้อ เขี ย น ต่ า งๆว่ า แท้จ ริ ง อิ ส ลามไม่ ส นับ สนุ น การ แสวงความรู ด้ า้ นปรัช ญาและต่ อ ต้า นการ ใช้เ หตุ ผ ลเชิ ง ปรั ช ญาและตรรกวิ ท ยา และพวกเขายัง ยื น ยัน อี ก ว่ า นัก วิช าการ อิ ส ล า ม ที่ ไ ด้ นิ ย ม ใ น ศ า ส ต ร์ ป รั ช ญ า หรื อ การใช้เ หตุ ผ ลทางปรัช ญาและทาง ตรรกวิ ท ยานั้ น ได้ล อกเลี ย นแบบจาก วัฒ นธรรมอื่ น มิใ ช่ เ ป็ นหลัก การและค�ำ สอนที่อ ยู่ ใ นกรอบแนวคิ ด ของอิส ลาม ซึ่ง การกล่ า วเช่ น นี้ แ สดงถึง ผู พ้ ู ด และผู เ้ ขีย น นั้น ขาดความเข้า ใจที่ดี พ อในค�ำ สอนของ อิ ส ลามหรื อ ไม่ ก็ มี ค วามอคติ อ ย่ า งสู ง ต่ อ อิ ส ลาม เพราะว่ า ในประวัติ ศ าสตร์ และค�ำ สอนต่ า งๆ ที่ อ ยู่ ใ นกรอบแนวคิ ด ของอัล กุ ร อานและวจนะแห่ ง ศาสดาได้ ประจั ก ษ์ พ ยานว่ า ได้เ น้น หนั ก ต่ อ การ ศึ ก ษาและให้ค วามส�ำ คัญ อย่ า งยิ่ ง ยวด ต่ อ การเรี ย นรู ้ รวมทัง้ การใช้เ หตุ ผ ล ไม่ ว่ า จะเป็ นเหตุ ผ ลทางปรั ช ญาหรื อ ทาง ตรรกะ เพราะสิ่ ง เหล่ า นั้น มิ ไ ด้ค ัด ค้า น กับ ค� ำ สอนของอิ ส ลามแต่ อ ย่ า งใด แต่ ยัง ถื อ ว่ า มัน คื อ ส่ ว นหนึ่ ง ของอิ ส ลามเสี ย ด้ว ยซ�ำ ้ อิ ส ลาม คื อ ศาสนาที่ มี ค� ำ สอน ต่ อ เรื่ อ งความสัน ติ เรี ย กร้อ งไปสู่ ค วาม สงบสุ ข ต่ อ ต้า นการก่ อ การร้า ยและเรี ย ก ร้อ งสู่ ก ารยอมรับ ยอมจ�ำ นนต่ อ ความเป็ น

สาส์น อิส ลาม

อิ ส ลามคื อ ศาสนาเรี ย กร้อ งไปสู่ การเรี ย นรู แ้ ละยัง สนับ สนุ น ให้ม นุ ษ ย์ใ ช้ ปัญ ญาและการคิ ด ไตร่ ต รอง ไม่ ใ ห้เ ชื่ อ งมงายขาดเหตุ ผ ล ด้ว ยเหตุ น้ ี มุ ส ลิ ม ในยุ ค สมัย ศาสดามุ ฮ ัม มัด (ศ) และใน ยุ ค สาวกผู ท้ รงธรรมทัง้ หลายได้มี ค วาม ก้า วหน้า และมีค วามเจริ ญ และรุ่ ง เรื อ งยิ่ง โดยเฉพาะอย่ า งนี้ ในยุ ค แห่ ง การฟื้ นฟู ทางด้า นวิ ท ยาการ ท�ำ ให้โ ลกอิ ส ลามได้ จารึ ก ไว้ห น้า ประวัติ ศ าสตร์ว่ า เป็ นกลุ่ ม คนที่ ไ ด้ส ร้า งอารยธรรมอัน ยิ่ ง ใหญ่ แ ก่ ชาวโลก มุ ส ลิ ม ได้ถู ก จารึ ก ไว้ไ ม่ มี ว นั ตาย ไว้ใ นหน้า ประวัติ ศ าสตร์ ว่ า อารยธรรม อิ ส ลามและวัฒ นธรรมอิ ส ลามเป็ นความ ภาคภู มิแ ละมุส ลิม ได้พ ลิก ประวัติ ศ าสตร์ อี ก ทั้ ง ส ร้ า ง ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ไ ด้ ชู ด ว ง ประที ป แห่ ง วิ ช าความรู ้ข้ ึ นสู งในกาล เวลาที่ ช นชาติ ศ าสนาอื่ น ๆในโลกยัง ตก อยู่ ใ นความมืด มนแห่ ง อวิช ชา มุส ลิม เคย เป็ นผู น้ � ำ ในเรื่ อ งศาสตร์ แ ละวิ ท ยาการ ต่ า งๆ แม้ก ระทั้ง ชาวตะวัน ตกต้อ งน� ำ ทฤษฎี แ ละหลัก ปรัช ญาแห่ ง อิ ส ลามมา เป็ น ข้อ มู ล อ้า งอิ ง และน�ำ ไปเผยแพร่ ดัง ที่ ไ ด้ป รากฏในประวัติ ศ าสตร์ ข องโลก วิท ยาการแห่ ง ตะวัน ตกว่ า วัฒ นธรรมแห่ ง อิส ลามและวิท ยาการอิส ลามได้มีบ ทบาท ในเมื อ งคอร์ โ ดวา (Cordova) และ แกรนนาดา (Grannada) ชาวคริ ส ต์ ได้น� ำ วัฒ นธรรมอิ ส ลามและวิ ท ยาการ อิ ส ลามไปเผยแพร่ ใ นประเทศของพวก

เขาในยุ โ รป

33


สาส์น อิส ลาม

34

เอกะของพระผู เ้ ป็ น เจ้า พระองค์อ ลั ลอฮ์ (ซ.บ.) ศาสนาอิ ส ลามเป็ นศาสนาแห่ ง ความสัน ติ หมายความว่ า ความสู ง ส่ ง ของแก่ น ของค�ำ สอนในทุ ก ๆ ระดับ มา จากพระองค์อ ลั ลอฮ์ และทุ ก สิ่ง ทุ ก อย่ า ง ทั้ง หมดจะกลับ คื น สู่ พ ระองค์ (ซ.บ.) เพราะว่ า พระองค์ อ ัล ลอฮ์ คื อ ปฐมเหตุ แรก เป็ นผู ส้ ร้า ง เป็ นผู ป้ กครอง และ เป็ น ผู ป้ กป้ อง และเป้ าหมายการยอมรับ อิส ลามจะน�ำ มาซึ่ง ความผาสุ ก ความสงบ สุ ข ของชี วิ ต ศาสนาอิ ส ลามไม่ ใ ช่ อ่ื น ใด นอกจากการศรัท ธาและยอมรับ ต่ อ ค� ำ สัง่ ของพระผู เ้ ป็ นเจ้า พร้อ มปฏิ บ ตั ิ ต าม พระบัญ ชาแห่ ง พระผู เ้ ป็ นเจ้า โดยผ่ า น ศาสดาผู เ้ ป็ น ศาสนทู ต ของพระองค์ เพื่อ ให้ไ ด้ร ับ มาซึ่ ง ความสัน ติ สุ ข และความดี งามทัง้ โลกนี้ และชี วิต โลกหน้า ดั ง นั้ น แก่ นแท้ข องอิ ส ลามหรื อ เรี ย กว่ า ศาสนา คื อ วิ ญ ญาณของการ ด�ำ เนิ น ชี วิต กล่ า วคื อ ทุ ก อิ ริ ย าบถ ทุ ก เรื่ อ ง ทุ ก วิน าที ท่ี เ ราได้ก ระท�ำ ลงไป คิ ด ประดิ ษ ฐ์ส่ิ ง ใดนั้น ทัง้ หมดนั้น จะเป็ นค�ำ ตอบของค�ำ ถามที่ติ ด อยู่ ใ นหัว อกของเรา ตลอดมาว่ า เรามาจากไหน? แล ว้ เราจะ ไปไหน? ดัง นัน้ นี่ คื อ เหตุ ผ ลหนึ่ ง ที่อิส ลาม ได้เ รี ย กตัว เองว่ า ศาสนาเพื่ อ ไขปัญ หา ของค�ำ ถามข้า งต้น และยัง จะหาค�ำ ตอบ ให้ก ับ ปั ญ หาอื่ น ๆ ในทุ ก ๆ เรื่ อ งเกี่ ย ว กับ การด�ำ เนิ น ชี วิ ต ของมนุ ษ ย์ และบาง ปัญ หาได้เ กี่ ย วข้อ งกับ ปรัช ญา และบาง ปัญ หาต้อ งอาศัย หลัก คิ ด ทางปรัช ญาใน ระดับ สู ง และลึก เพื่อ แก้โ จทย์น ั้น และที่

ผ่ า นมาศาสนากับ ปรัช ญาไม่ ไ ด้ข ัด แย้ง กัน แต่ ท ว่ า ได้เ กื้ อ กู ล ระหว่ า งกัน และกัน การสนอกสนใจต่ อ ปรัช ญาถื อ ว่ า เ ป็ น คุ ณ ส ม บั ติ พิ เ ศ ษ ข อ ง ม นุ ษ ย์ แ ล ะ ถื อ ว่ า เป็ นการตอบสนองสัญ ชาตญาณ บริ สุ ท ธิ์ ท่ี ไ ด้ถู ก สร้า งมา ดัง ค�ำ กล่ า วของ อริ ส โตเติ ล (Aristotle 384-322B.C.) ที่ ว่ า “มนุ ษ ย์เ ป็ นสัต ว์แ ห่ ง ปัญ ญา” ด้ว ย เ ห ตุ น้ ี ม นุ ษ ย์ เ ป็ น สิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ แ ส ว ง ห า ความรู แ้ ละมี ส ัญ ชาตญาณบริ สุ ท ธิ์ แ ห่ ง การค้น คว้า การใช้ค วามคิ ด และการ เพ่ ง พินิ จ ปรัช ญา คื อ วิช าว่ า ด้ว ยการสื บ ค้น หาความจริ ง ด้ว ยเหตุ ผ ลหรื อ หาสาเหตุ หลัก ของสิ่ ง ที่ มี อ ยู่ แ ละการรู จ้ ัก สารัต ถะ และความจริ ง ของสิ่ ง ที่ มี ดัง นั้น ศาสตร์ ปรั ช ญาจึ ง มี เ นื้ อหาที่ ก ว้า ง ไม่ เ ฉพาะ อยู่ เ รื่ อ งใดเรื่ อ งหนึ่ ง แต่ เ ป็ นหลัก สากล เช่ น เนื้ อหาเรื่ อ งกฎเหตุ แ ละผล ความ จริ ง มีอ ยู่ จ ริ ง ไม่ ใ ช่ ม ายา โลกสสาร โลก อสสาร อะไรคื อ ความจริ ง สู ง สุ ด ชี วิ ต พระเจ้า และอื่ น ๆ ปรั ช ญาอิ ส ลาม จากการวิ ว ัฒ นาการของปรัช ญา อิ ส ลามจากอดี ต จนถึ ง ปัจ จุ บ ัน จะเห็ น ไ ด้ว่ า ป รั ช ญ า อิ ส ล า ม มี ค ว า ม เ ป็ น อั ต ลัก ษณ์ ข องตัว เองที่ ช ัด เจนมากขึ้ น และ มี ป ระเด็ น ปั ญ หาที่ น� ำ มาพู ด คุ ย ในราย ละเอี ย ดและเนื้ อหาที่ ก ว้า งขึ้ น และจุ ด แข็ ง ของปรั ช ญาอิ ส ลามคื อ การสื บ ค้น หาหลัก บู ร ณาการทั้ง ทางศาสตร์ ท ฤษฎี


หลี ก เลี่ ย งไม่ ไ ด้ แต่ ก ารที่ ก ล่ า วว่ า ผล กระทบนั้น มิไ ด้ห มายความว่ า นัก ปรัช ญา มุ ส ลิ ม รั บ แนวคิ ด หรื อ รู ปแบบปรั ช ญา กรี ก มาเต็ ม ร้อ ย หรื อ ผลกระทบนั้น เป็ น ผลกระทบในเชิ ง ลบเสีย ทีเ ดีย ว เพราะว่ า กระบวนการคิ ด เชิ ง ปรัช ญาแท้จ ริ ง แล ว้ ไม่ มี พ รมแดน ไม่ มี อ ดี ต ไม่ มี ป ั จ จุ บ ัน ไม่ มี อ นาคต เพี ย งแต่ ก ารใช้ค วามคิ ด และการเพ่ ง พิ นิ จ โดยกระบวนการทาง ปรัช ญาจะผลิ ด อกและเจริ ญ ก้า วไปแค่ ไหน อย่ า งไรมากกว่ า ปรัช ญาอิ ส ลามได้เ ดิ น ทางมาเป็ น ระยะเวลาได้ศ ตวรรษและผ่ า นส� ำ นั ก คิ ด ทางปรัช ญามากมาย ไม่ ว่ า ส�ำ นัก มัช ชาอี ย ะฮ์ (Mashaiyah) ส�ำ นัก อิ ช รอกี ยะฮ์ (Israkiyah) ส�ำ นัก ฮิ ก มะตุ ล มุต ะ อาลีย ะฮ์( Hikmatulmotahaliyah) และ ส�ำ นัก ย่ อ ยๆ อี ก มากมาย เป็ นการบ่ ง ชี้ ว่ า ปรัช ญาอิ ส ลามได้เ ดิ น ทางมาด้ว ยวิ ธี การและรู ป แบบที่ เ ข้ม แข็ ง ขึ้ น ทุ ก วัน และ ก� ำ ลัง มุ่ ง ทยานไปสู่ ค วามสมบู ร ณ์ สู ง สุ ด โดยผ่ า นกระบวนทัศ น์ แ ต่ ล ะยุ ค แต่ ล ะ สมัย ดัง นั้น ปรัช ญาอิ ส ลามก็ ไ ม่ ไ ด้ห ยุ ด อยู่ ก ับ ที่ ห รื อ เป็ นปรัช ญาที่ ถู ก เก็ บ ไว้ใ น พิ พิ ธ ภัณ ท์แ ล ว้ ผู ส้ นใจทางปรัช ญาเรี ย น รู ใ้ นเชิ ง ประวัติ ป รัช ญาเท่ า นั้น ปรั ช ญาอิ ส ลามได้ฉ ายแสงแห่ ง ศาสตร์ ป รัช ญาอย่ า งน่ า ทึ่ ง และโดดเด่ น ไม่ มี ว นั ตาย เป็ นการเพ่ ง พิ นิ จ ใช้ค วาม คิ ด จากระดับ หนึ่ ง สู่ อี ก ระดับ หนึ่ ง เพื่ อ ทยานไปสู่ ค วามสมบู ร ณ์ สู ง สุ ด เป็ นรู ป แบบเชิ ง พิ พ ากษาและตรวจสอบวาท

สาส์น อิส ลาม

และทางปฎิ บ ตั ิ ท่ี จ ะให้เ กิ ด ผลสะท้อ นใน เชิ ง บวกทั้ง ทางด้า นสัง คมศาสตร์ ทาง จิ ต วิ ท ยา หรื อ ทางประวัติ ศ าสตร์ หรื อ บางครั้ง ปรัช ญาอิ ส ลามได้ถู ก น� ำ เสนอ ม า ใ น บ ริ บ ท ท า ง ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ สั ง ค ม อย่ า งน่ าทึ่ ง ที เ ดี ย ว เช่ น มุ ล ลาศอ็ ด รอ (Mulla Sadra) เจ้า ส�ำ นัก ปรัช ญาสู ง ส่ ง (Hikmatulmotahaliyah) ได้มี ชี ว ติ อยู่ ใ นสมัย การปกครองราชวงศ์ ซ าฟาวี ยะฮ์ (Zafaviyah) แนวคิ ด ทางปรัช ญา อิ ส ลามก็ จ ะถู ก น�ำ เสนอไปตามบริ บ ทนั้น อย่ า งลงตัว และสร้า งคุ ณู ป ระการอย่ า ง ยิ่ ง ใหญ่ ต่ อ สัง คมในยุ ค นั้น ปรัช ญาอิ ส ลามเริ่ ม ต้น ด้ว ยวิธี ก าร อธิ บ ายและแจกแจงให้ค วามเข้า ใจพื้ น ฐานของปรัช ญาภายนอกก่ อ นเป็ น อัน ดับ แรก ซึ่ ง ถ้า จะวิ เ คราะห์จ ากท่ า นอัล -กิ น ดี ย ์ (Kindi) เป็ นนัก ปรัช ญามุ ส ลิ ม คน แรกของโลกอาหรับ จนได้ฉ ายาว่ า “นัก ปรัช ญาอาหรับ ” พบว่ า ปรัช ญาอิ ส ลาม ได้เ สนอรู ป แบบการสาธยายหรื อ อธิ บ าย โครงสร้า งเดิ ม ของปรัช ญา บางเนื้ อหา ได้ข ยายความหลัก คิ ด ทางปรัช ญาของ อริ ส โตเติ ล บ้า ง หรื อ ของเพลโตบ้า ง ซึ่ ง ผลกระทบปรัช ญากรี ก โบราณต่ อ ปรัช ญา อิ ส ลามในช่ ว งแรกเริ่ ม เป็ น ผลกระทบทัง้ เชิ ง บวกและเชิ ง ลบ ดัง นัน้ ผลการตรวจสอบวาทกรรม ทางปรัช ญาของนัก ปรัช ญามุ ส ลิ ม ระดับ แนวหน้า ไม่ ว่ า อัล กิ น ดี ย ์ อัล ฟารอบี ย์ หรื อ อิ บ นุ สี น่ า ได้ร ับ อิ ท ธิ พ ลรู ป แบบ และแนวคิ ด ทางปรัช ญากรี ก โบราณอย่ า ง

35


สาส์น อิส ลาม

36

กรรมทางปรัช ญาทัง้ ภายในและภายนอก เรี ย นรู ป้ ระวัติ ป รัช ญาเพื่ อ เข้า ถึ ง บริ บ ท ทางปรัช ญา ใช้ห ลัก ตรรกะเป็ นเครื่ อ ง มื อ ควบคู่ ก ับ หลัก ปรัช ญาอย่ า งเกื้ อกู ล กัน และกัน นัน่ หมายความว่ า นัก ปรัช ญา มุส ลิม ได้น�ำ ทฤษฎีท างปรัช ญามาอธิ บ าย และแจกแจงประเด็ น ปัญ หาโดยรู ป แบบ ทางปรัช ญาและรู ป แบบทางตรรกวิ ท ยา ด้ว ย หากพิ จ ารณาจากยุ ค สมัย ต้น ๆ ของการก� ำ เนิ ด ปรั ช ญาอิ ส ลาม และ ป ร ะ วั ติ ป รั ช ญ า มุ ส ลิ ม จ ะ พ บ ว่ า นั ก ปรัช ญามุ ส ลิม เปิ ดความคิ ด และยอมรับ กระบวนการทางความคิ ด ของต่ า งชาติ แ ล ะ เ ห็ น ว่ า ก า ร น� ำ เ ส น อ แ น ว คิ ด ท า ง ปรัช ญาไม่ ใ ช่ เ ป็ นเรื่ อ งของชาติ พ นั ธุ ์ห รื อ เชื้ อ ชาติ แ ละศาสนาและนัก ปรัช ญามุส ลิม พยายามจะหลีก เลี่ย งความเป็ น ชาติ นิ ย ม ทางความคิ ด โดยที่ พ วกเขาพยายามหา โอกาสในการสนทนาแลกเปลี่ย นวิช าการ พร้อ มกับ พู ด คุ ย ถึ ง แนวคิ ด ทางปรัช ญา ของกัน และกัน เช่ น ท่ า นอบู อิ ส ฮากอัล กิ น ดี ย ์ (Abu-Ishakh Al-Kindi) เป็ น นัก ปรัช ญามุ ส ลิ ม ที่ นิ ย มในปรัช ญาของ อริ ส โตเติ ล เป็ น อย่ า งมาก หรื อ ท่ า นอัล ฟา รอบี ย ์ (Al-Farabi) ท่ า นอเวน สี น่ า (Aven cina) และถ้า สื บ ค้น ไปสมัย ก่ อ นหน้า นั้น ที่ ป รัช ญาอิ ส ลามเริ่ ม ก่ อ ตัว ในสมัย การปกครองของราชวงศ์ บ ะนี อับ บาส (Abbaziyah) ชาวมุส ลิม ยิ น ดี ที่ จ ะรับ แนวคิ ด ปรัช ญาแบบกรี ก โบราณ หรื อ แบบตะวัน ออก โดยปราศจากการ

ปิ ดกั้ น ไม่ ว่ า จะเป็ นแนวคิ ด ของเพล โต อริ ส โตเติ ล หรื อ นัก ปรัช ญาคนอื่ น ๆ ตลอดจนท�ำ ให้ค วามความสนอกสนใจ ต่ อ ศาสตร์ ป รัช ญาได้ท วี คู ณ มากยิ่ ง ขึ้ น ในสมัย นั้น หรื อ แม้แ ต่ ศ าสตร์อ่ื น ๆ ที่ ม า จากจี น หรื อ อิ น เดี ย ก็ ไ ด้ร ับ การขานรับ จ า ก ป ร า ช ญ์ มุ ส ลิ ม เ ป็ น อ ย่ า ง ดี แ ล ะ จนถึ ง ปั จ จุ บ ัน นี้ การศึ ก ษาด้า นปรัช ญา ในแวดวงของมุส ลิม ยัง ได้ศึ ก ษาแนวคิ ด ต่ า งๆ ทางปรัช ญามี ส าขาปรัช ญาตะวัน ตกสาขาปรัช ญาตะวัน ออกหรื อ ปรัช ญา เปรี ย บเที ย บในมหาวิ ท ยาลัย อิ ส ลาม และการสนทนาหรื อ การเสวนาทางความ คิ ด ของนัก ปรัช ญามุ ส ลิ ม กับ นัก ปรัช ญา ที่ ไ ม่ ใ ช่ มุ ส ลิ ม มี ม าทุ ก ยุ ค ทุ ก สมัย และ จากบริ บ ทดัง กล่ า วนี้ ชี้ ใ ห้เ ห็ น ว่ า ปรัช ญา อิส ลามยอมรับ ในกระบวนที่ห า้ หรื อ เรี ย ก ว่ า กระบวนทัศ น์ ห ลัง นวยุ ค อี ก ทั้ง ได้ บู ร ณาการจากองค์ ค วามรู ด้ า้ นปรัช ญา และแนวทางของนั ก ปรั ช ญาที่ เ ป็ นค� ำ สอนของอิ ส ลามให้รู จ้ ัก การให้เ กี ย รติ ผู ้ อื่ น ไม่ ยึ ด มัน่ ถื อ มัน่ พร้อ มที่ จ ะสรรสร้า ง ความถู ก ต้อ งและความสัน ติ ภ าพให้เ กิ ด ขึ้น จริ ง บนโลกใบนี้ ปรั ช ญาอิ สลามว่ า ด้ วยทฤษฎี หลั ก เอกภาพในพหุ ภ าพและความเป็ น เอกภาพในพหุภ าพ ในปรั ช ญาอิ ส ลามมี เ นื้ อหาหนึ่ ง เ ป็ น เ นื้ อ ห า ส� ำ คั ญ แ ล ะ ถื อ ว่ า เ ป็ น อั ต ลัก ษณ์ ข องส� ำ นั ก ปรั ช ญาอิ ส ลาม คื อ เรื่ อ ง “หลัก เอกภาพในพหุ ภ าพและความ


เป็ นสิ่ ง แวดล อ้ มที่ เ กิ ด ขึ้ นจากมนุ ษย์ เช่ น ประชากร เศรษฐกิ จ การเมือ ง การ ปกครอง การศึ ก ษา วัฒ นธรรม พิธี ก รรม ทางศาสนา และเทคโนโลยี เป็ นต้น ในระบบองค์ ร วม สิ่ ง แวดล อ้ ม ทั้ง สามชนิ ด ของมนุ ษ ย์จ ะต้อ งด�ำ รงอยู่ ในลัก ษณะประสานสัม พัน ธ์ สอดคล อ้ ง กลมกลืน กัน เพื่อ ให้เ กิ ด ภาวะดุ ล ยภาพ สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในระยะเวลาที่ ผ่ า นมาจนถึ ง ปัจ จุ บ นั และจากยุ ค วัต ถุนิ ย มที่ ส่ ง เสริ ม ให้ม นุ ษย์ บ ริ โ ภคเกิ น ขอบเขต ท� ำ ให้ มนุ ษย์ ส ร้า งปรัช ญาในการด� ำ เนิ น ชี วิ ต ระบบเศรษฐกิ จ การเมือ ง การปกครอง ระบบการศึ ก ษา รวมทัง้ เทคโนโลยีต่ า งๆ ในลัก ษณะที่ เ ป็ นการท�ำ ลายสิ่ ง แวดล อ้ ม ทางกายภาพ สิ่ ง แวดล อ้ มทางชี ว ภาพ และสิ่ง แวดล อ้ มทางสัง คมอย่ า งมากมาย ในลัก ษณะที่ ไ ม่ เ คยปรากฏมาก่ อ น ข- ทุ ก ๆสิ่ ง ที่ อุ บ ัติ ข้ ึ นมา มี ค วาม เหมื อ นกัน กล่ า วคื อ ถ้า เราได้ส งั เคราะห์แ ยก เนื้ อหาย่ อ ยของกระบวนการคิ ด แล ว้ มา วิ เ คราะห์แ ละแจกแจงของสิ่ ง ต่ า งๆ ที่ เกิ ด ขึ้น ใหม่ หรื อ ผ่ า นการคิ ด ทางปรัช ญา เราจะพบว่ า ในเอกภพและสิ่ ง ต่ า งๆ ที่ อยู่ บ นโลกใบนี้ มี ค วามเหมื อ นกัน และมี สถานะอัน เดี ย วกัน หรื อ ความเป็ นหนึ่ ง เดี ย ว นั ่น คื อ ความมี ห รื อ ความเป็ น ภวัน ตภาพ กล่ า วคื อ ทุ ก ๆ สิ่ ง ที่ ป รากฏ และด�ำ รงอยู่ ที่ ส ัม ผัส มัน ด้ว ยประสาท สัม ผัส ทัง้ ห้า ถือ ว่ า เป็ น สิ่ง ที่มีอ ยู่ จ ริ ง และ เรายอมรับ ว่ า มีภ าวะด�ำ รงอยู่ ดัง นั้น เรา

สาส์น อิส ลาม

เป็ นเอกภาพในพหุ ภ าพ” เป็ นหลัก คิ ด ที่ มี มุ ม มองต่ อ เอกภพและต่ อ โลก แล ว้ น� ำ มาบู ร ณาการในการใช้ชี วิ ต ทางสัง คม ของมนุ ษ ยชาติ โดยน� ำ เสนอว่ า แท้จ ริ ง แล ว้ โครงสร้า งของสรรพสิ่ ง ของโลกใบ นี้ นั้ น มี ค วามเป็ นหนึ่ ง เดี ย วกั น และ ขณะเดีย วกัน ก็ มีค วามต่ า งกัน ไม่ เ หมือ น กั น จนปรากฏเป็ นความหลากหลาย ของสรรพสิ่ ง มากมาย แต่ ท ว่ า ทั้ง ความ หลากหลายและความแตกต่ า ง หรื อ เรี ย กตามหลัก ปรัช ญา คื อ ความเป็ น พหุ ภาพ จะย้อ นกลับ ไปหาแก่ น แท้ข องความ เป็ นหนึ่ ง เดี ย ว หรื อ เรี ย กว่ า ความเป็ น เอกภาพ ด้ว ยเหตุ น้ ี ห ลัก ปรัช ญาอิ ส ลาม ในเรื่ อ งนี้ ส่ ง ผลอย่ า งมากต่ อ หลัก คิ ด ในเรื่ อ ง การสร้า งความสมานฉัน ท์แ ละ การอยู่ ร่ ว มกัน อย่ า งสัน ติ ในภาวะที่ มี ความแตกต่ า งในด้า นความเชื่ อ ศาสนา และชาติ พ นั ธุ ์ และเราจะขอน�ำ เสนอทาง ทฤษฎี ท างปรัช ญาดัง นี้ ก- เอกภพมี ค วามหลากหลาย และความหลากหลายนั้ น แบ่ ง ออกได้ 3 ประเภทกลุ่ ม ดัง นี้ 1) ความหลากหลายทางกายภาพ ได้แ ก่ สิ่ ง ไม่ มีชี วิต เช่ น แร่ ธ าตุ ดิ น น�้ำ อากาศ ทะเลทราย ภู เ ขา ป่ าไม้ แม่ น�้ำ ล�ำ คลอง เป็ นต้น 2) ความหลากหลายทางชี ว ภาพ ได้แ ก่ สิ่ ง ที่ มีชี วิต เช่ น ต้น ไม้ สัต ว์ เชื้ อ โรค สิ่ ง เหล่ า นี้ มี ค วามสัม พัน ธ์ ก ั บ สิ่ ง แวดล อ้ มทางกายภาพ 3) ความหลากหลายทางสัง คม

37


สาส์น อิส ลาม

38

จึ ง เชื่ อ ว่ า สิ่ ง นั้น มี เช่ น เรามองไปรอบๆ ตัว เรา เราเห็น พ่ อ แม่ ข องเรา เราเห็น สัต ว์ เลี้ย ง แมว สุ น ัข เห็ น ต้น ไม้ และอื่ น ๆ มากมาย ซึ่ ง ทัง้ หมดนั้น มีภ าวะเดี ย วกัน คื อ ความมี การด�ำ รงอยู่ ค- ในความเหมื อ นนั้ นย่ อ มมี ความต่ า ง กล่ า วคื อ ทฤษฎี ท างปรัช ญาได้ กล่ า วว่ า เมื่ อ มี ส่ิ ง สองสิ่ ง เกิ ด ขึ้ นย่ อม มี ค ว า ม เ ห มื อ น แ ล ะ ค ว า ม ต่ า ง แ ล ะ ใ น ค ว า ม ต่ า ง นั้ น ย่ อ ม มี ค ว า ม เ ห มื อ น ซึ่ ง ทั้ ง ส อ ง มิ ติ นั้ น จ ะ อ ยู่ ร่ ว ม กั น แ ล ะ เกื้ อกู ล ต่ อ กั น และจะเป็ นไปไม่ ไ ด้ท่ี จ ะ มี ค วามเหมื อ นกั น หมดแต่ ไม่ มี ค วาม ต่ า งอยู่ เ ลยซึ่ ง เป็ นหลัก ธรรมชาติ ข อง โลกสสารและโลกวัต ถุ ท่ี จ ะต้อ งธ� ำ รง อยู่ ใ นสภาพเช่ นนี้ ความเหมื อ นของ สรรพสิ่ ง คื อ ความมี อ ยู่ จ ริ ง ของสิ่ ง นั้น ห รื อ เ รี ย ก ว่ า ภ า ว ก า ร ณ์ มี ( วุ ยู ด ) ส่ ว น ค ว า ม ต่ า ง ก็ คื อ คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ แ ล ะ อัต ลัก ษณ์ เ ฉพาะตัว ตน (มาฮี ย ะฮ์) เช่ น ความเป็ นแมว ความเป็ นสุ น ั ข ความ เป็ นต้น ไม้ ความเป็ นนายแดง ความ เป็ น นายด�ำ ง- ระหว่ า งความเหมื อ นกับ ความ ต่ า งของสรรพสิ่ ง มี อ ยู่ ป ระการหนึ่ งเป็ น แก่ น แท้ กล่ า วคื อ ในทฤษฎีป รัช ญาอิส ลาม ถือ ว่ า ภาวะทางภวัน ต์ห รื อ เรี ย กว่ า “วุ ยู ด ” การมี อ ยู่ น ั้ น คื อ ภาวะแท้ข องสิ่ ง ต่ างๆ ดั ง นั้ น จ า ก ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ที่ เ ร า ประจัก ษ์ด ว้ ยสายตาหรื อ จากความต่ า ง

ที่ เ รารับ รู ด้ ว้ ยทางผัส สะของเรา ดัง นั้น หลัก ปรัช ญาอิ ส ลามได้น� ำ มาวิ เ คราะห์ ว่ า แท้จ ริ ง แล ว้ ในความต่ า งและความ เหมือ นนั้น มีโ ครงสร้า งอยู่ 2 อย่ า ง และ หนึ่ ง จากสองโครงสร้า งเป็ น แก่ น แท้ เป็ น เนื้ อ แท้ข องสรรพสิ่ ง นั้น และโครงสร้า ง 2 อย่ า งคื อ 1. ภวัน ตภาพ คื อ ภาวะความมีอ ยู่ เช่ น ความมี อ ยู่ ข องตัว เสื อ ความมี อ ยู่ ของตัว แมว 2. คุณ านุ ภ าพ คื อ ลัก ษณะเฉพาะ หรื อ ความเป็ นเอกลัก ษณะของตั ว ตน เช่ น ความเป็ น แมว ความเป็ น เสือ ดัง นั้น หลัก ปรัช ญาอิ ส ลามเชื่ อ ว่ า ภวัน ตภาพ นั้ น คื อ ความเป็ นจริ ง ของสรรพสิ่ ง เป็ น แก่ น แท้ข องสิ่ ง นั้น ส่ ว นความเป็ นแมว ความเป็ นเสื อ เรี ย กว่ า คุ ณ านุ ภ าพ เป็ น ผลผลิต ของด�ำ รงอยู่ ข องภาวะภวัน ตภาพ วิ เ คราะห์ ห ลั ก ปรั ช ญาเรื่ อ ง “ความ เป็ นเอกภพในพหุภ าพและความเป็ น พหุภ าพในเอกภาพ” จากทฤษฎี ป รัช ญาอิ ส ลามข้า งต้น ท� ำ ให้เ ราเข้า ใจได้ว่ า แท้จ ริ ง สรรพสิ่ ง ทั้ง หมด มี ค วามสัม พัน ธภาพกัน อย่ า ง ลึ ก และอย่ า งแนบแน่ นท� ำ ให้เ ข้า ใจได้ ว่ า ความต่ างและความเหมื อ นคื อ กฎ ธรรมชาติ ห นึ่ ง ของเอกภพดัง นั้น การจะ สร้า งความสมดุ ล ภาพของเอกภพคื อ การ สร้า งเอกภาพในพหุ ภ าพซึ่ ง เป็ นแนวคิ ด หนึ่ งของนั ก ปรั ช ญามุ ส ลิ ม และเป็ น เอกลัก ษณ์ ข องส�ำ นัก ปรัช ญาฮิ ก มะตุ ล มุ


ตะวัน ออก โดยปราศจากการปิ ด กั้น ไม่ ว่ า จะเป็ น แนวคิ ด ของเพลโต อริ ส โตเติ ล หรื อ นัก ปรัช ญาคนอื่ น ๆ ตลอดจนท�ำ ให้ ค ว า ม ค ว า ม ส น อ ก ส น ใ จ ต่ อ ศ า ส ต ร์ ปรัช ญาได้ท วี คู ณ มากยิ่ ง ขึ้ น ในสมัย นั้น หรื อ แม้แ ต่ ศ าสตร์อ่ื น ๆที่ ม าจากจี น หรื อ อิ น เดี ย ก็ ไ ด้ร ับ การขานรับ จากปราชญ์ มุ ส ลิ ม เป็ นอย่ า งดี และจนถึ ง ปั จ จุ บ ัน นี้ การศึ ก ษาด้า นปรัช ญาในแวดวงของ มุ ส ลิ ม ยัง ได้ศึ ก ษาแนวคิ ด ต่ า งๆ ทาง ปรั ช ญามี ส าขาปรั ช ญาตะวัน ตกสาขา ปรั ช ญาตะวัน ออกหรื อ ปรั ช ญาเปรี ย บ เที ย บในมหาวิ ท ยาลัย อิ ส ลามและการ สนทนาหรื อ การเสวนาทางความคิ ด ของ นัก ปรัช ญามุ ส ลิ ม กับ นัก ปรัช ญาที่ ไ ม่ ใ ช่ มุส ลิม มีม าทุ ก ยุ ค ทุ ก สมัย และจากบริ บ ท ดัง กล่ า วนี้ ชี้ ใ ห้เ ห็ น ว่ า ปรัช ญาอิ ส ลามได้ บู ร ณาการจากองค์ ค วามรู ด้ า้ นปรัช ญา และแนวทางของนั ก ปรั ช ญาที่ เ ป็ นค� ำ สอนของอิ ส ลามให้รู จ้ ัก การให้เ กี ย รติ ผู ้ อื่ น ไม่ ยึ ด มัน่ ถื อ มัน่ พร้อ มที่ จ ะสรรสร้า ง ความถู ก ต้อ งและความสัน ติ ภ าพให้เ กิ ด ขึ้น จริ ง บนโลกใบนี้ อิ ส ล า ม วั น นี้ ที่ ไ ด้ ถู ก โ ฆ ษ ณ า ชวนเชื่ อ ให้ช าวโลกมองแนวคิ ด อิ ส ลาม ห รื อ โ ล ก ทั ศ น์ อิ ส ล า ม ใ น เ ชิ ง ล บ ห รื อ มองว่ า ศาสนาอิ ส ลามเป็ นศาสนาแห่ ง ชาติ นิ ย มหรื อ เป็ นศาสนาที่ นิ ย มในความ รุ น แรงหรื อ กล่ า วหาที่ ร ้า ยแรงกว่ า นั้ น คื อ เป็ นศาสนาแห่ ง การก่ อ การร้า ย เป็ น ศาสนาที่ ไ ม่ ส ามารถอยู่ ร่ ว มกับ ศาสนา อื่ น ๆได้ หรื อ ค� ำ กล่ า วหาอื่ น ๆ ดัง นั้ น

สาส์น อิส ลาม

ตะอาลี ย ะฮ์ (ส�ำ นัก ปรัช ญาปรี ช าญาณ สู ง ส่ ง ของมุล ลาศ๊ อ ดรอ) จนสามารถน�ำ มาเป็ นทฤษฎี ท างสัง คมวิท ยาและศาสน สัม พัน ธ์ ใ นการใช้ชี วิ ต ของมนุ ษยชาติ บนความหลากหลาย และผ่ า นมุม มองที่ ถู ก ต้อ งและอยู่ บ นความเป็ นจริ ง หนึ่ ง ว่ า มนุ ษ ย์น ั้น เป็ นส่ ว นย่ อ ยหนึ่ ง ของเอกภพ และมนุ ษย์ ส ามารถสร้า งสัม พัน ธภาพ กับ สรรพสิ่ ง ต่ า งๆได้ท งั้ หมด โดยเฉพาะ ความสัม พัน ธภาพระหว่ า งมนุ ษ ย์ด ว้ ยกัน และหากพิจ ารณาจากยุ ค สมัย ต้น ๆ ของ การก�ำ เนิ ด ปรัช ญาอิ ส ลาม และประวัติ ปรัช ญามุส ลิม จะพบว่ า นัก ปรัช ญามุส ลิม เปิ ดความคิ ด และยอมรับ กระบวนการ ทางความคิ ด ของต่ า งชาติ แ ละเห็ น ว่ า การ น� ำ เสนอแนวคิ ด ทางปรั ช ญาไม่ ใ ช่ เ ป็ น เ รื่ อ ง ข อ ง ช า ติ พ ั น ธุ ์ ห รื อ เ ชื้ อ ช า ติ แ ล ะ ศาสนาและนัก ปรัช ญามุส ลิม พยายามจะ หลี ก เลี่ ย งความเป็ นชาติ นิ ย มทางความ คิ ด โดยที่ พ วกเขาพยายามหาโอกาสใน การสนทนาแลกเปลี่ ย นวิ ช าการพร้อ ม กั บ พู ด คุ ย ถึ ง แนวคิ ด ทางปรั ช ญาของ กั น และกั น เช่ น ท่ า นอบู อิ ส ฮากอัล กิ น ดี ย ์ (Abu-Ishakh Al-Kindi) เป็ น นัก ปรัช ญามุ ส ลิ ม ที่ นิ ย มในปรัช ญาของ อริ ส โตเติ ล เป็ นอย่ า งมาก หรื อ อัล ฟา รอบีย ์ (Al-Farabi) อเวน สี น่ า (Aven cina) และถ้า สื บ ค้น ไปสมัย ก่ อ นหน้า นั้ น ที่ ป รัช ญาอิ ส ลามเริ่ ม ก่ อ ตัว ในสมัย การปกครองของราชวงศ์ บ ะนี อ ับ บาส (Abbaziyah) ชาวมุ ส ลิ ม ยิ น ดี ท่ี จ ะรับ แนวคิ ด ปรัช ญาแบบกรี ก โบราณหรื อ แบบ

39


สาส์น อิส ลาม

ข้า พเจ้า อยากจะให้ท่ า นผู อ้ ่ า นได้เ ปลี่ย น มุ ม มองว่ า แท้จ ริ ง ปรั ช ญาอิ ส ลามและ วิ ถี ข องนัก ปรัช ญามุ ส ลิ ม จากอดี ต สมัย จนถึง ปัจ จุ บ นั มีก ระบวนทัศ น์ท่ีไ ม่ ยึ ด มัน่ ถื อ มัน่ นัน่ คื อ การยอมรับ ในความต่ า ง และความหลากหลายของวิ ธี คิ ด และรู ป แบบของการคิ ด และพร้อ มที่ จ ะยอมรับ ความคิ ด เห็ น ต่ า งและปรัช ญาอิ ส ลามยัง ไม่ ป ฎิ เ สธกระบวนการคิ ด ต่ า งๆ ของนัก ปรัช ญาไม่ ว่ า จะเป็ น นัก ปรัช ญาจากซีก ฝัง่ ตะวัน ตกหรื อ ซี ก ฝัง่ ตะวัน ออก เพราะว่ า ปรัช ญาอิ ส ลามสอนในเรื่ อ ง “ความเป็ น เอกภาพในความหลากหลายและความ หลากหลายอยู่ ใ นความเป็ นเอกภาพ” นั น่ หมายความว่ า แก่ น แท้ข องมนุ ษย์ ทุ ก คนไม่ ว่ า อยู่ ใ นศาสนาใดหรื อ ในลัท ธิ ไหนมี ค วามเหมื อ นกัน แม้ว่ า จะแตกต่ า ง ในเชื้ อชาติ ห รื อ ชาติ พ ัน ธุ ์ แ ละหลัก คิ ด ทางปรัช ญาอิ ส ลามในข้อ นี้ ส่ ง ผลบวกต่ อ การอยู่ ร่ ว มกัน ของมนุ ษ ยชาติ อ ย่ า งมาก ที เ ดี ย วเพราะว่ า ท�ำ ให้ม นุ ษ ย์มี ค วามรัก ใคร่ แ ละมี ค วามใกล ช้ ิ ด กัน และกัน อี ก ทั้ง สร้า งความสมานฉั น ท์ป ลองดองใน การอยู่ ร่ ว มกัน และนัน่ คื อ การเกิ ด สัง คม แห่ ง อารยะขึ้ น เป็ นสัง คมแห่ ง สัน ติ แ ละ สงบสุ ข นัน่ เอง

40

บรรณานุ ก รม - กี ร ติ บุ ญ เจื อ ชุ ด ปรัช ญาและศาสนา เซนต์จ อร์น รู จ้ กั ปรัช ญา เล่ ม ๑ กรุ ง เทพฯ , มหาวิท ยาลัย เซนต์จ อห์น ปี ท่ีพิม พ์ พ.ศ. ๒๕๔๕ - อายาตุ ล ลอฮ์ มุ เ ฏาะฮารี แปลโดย มัร ฮู ม เชคยู ซุ ฟ กู ดี ห วา 2555. เทววิท ยา รหัส ยวิ ท ยา และปรัช ญาภาคปฎิ บ ตั ิ กรุ ง เทพฯ. สถาบัน การแปล มหาวิ ท ยาลัย นานาชาติ อ ัล มุ ศตอฟา แห่ ง อิ ห ร่ า น ประจ�ำ กรุ ง เทพฯ - อั ล ลามะฮ ฎอบะฎอบาอี ย ์ แปล โดย เชคชะรี ฟ ฮาดี ย ์ 2553 ส�ำ นัก คิ ด ชี อ ะฮ์ กรุ ง เทพฯ :ศู น ย์ว ฒ ั นธรรมอิ ส ลาม สาธารณรัฐ อิ ส ลามแห่ ง อิ ห ร่ า น ประจ�ำ กรุ ง เทพฯ - ดร.อิ ม รอน มะลู ลีม 2539 ปรัช ญา อิ ส ลาม กรุ ง เทพฯ : ส�ำ นัก พิม พ์อิ ส ลามิค อคา เดมี - กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร 2537. ปรัช ญา อิ ส ลาม กรุ ง เทพฯ: องค์ก ารค้า ครุ ส ภา ต�ำ ราภาษาต่ า งประเทศ

،‫ فخری ما جد‬.‫اسالم درجهان سري فلسفه‬ .1387 ‫ ايران‬- ‫طهران‬ ‫ عبد الحسین‬.‫فلسفه فلسفه اسالمی‬ . 1392 ‫ ايران‬-‫ قم‬،‫خرسوپناه‬ -‫ قم‬،‫ آیه الله مصباح یزدی‬.‫آموزش فلسفه‬ . 1387 ‫ايران‬ ‫ شهید مطهری‬.‫کالم عرفان وحکمت عملی‬ . 1382 ‫ ايران‬-‫ قم‬، -‫ قم‬،‫ هانری کوربن‬.‫تاریخ فلسفه اسالمی‬ . 1388 ‫ايران‬ ‫ مصباح‬.‫در جستجوی عرفان اسالمی‬ . 1391 ‫ ايران‬-‫ قم‬،‫یزدی‬ ‫ ايران‬-‫ قم‬،‫ مصباح یزدی‬.‫فلسفه اخالق‬ . 1389


พหุนิ ย มทางศาสนากั บ หลั ก สมานฉั น ท์ ระหว่ า งศาสนาและนิ ก าย ดร.ทศพร มะหะหมัด มหาวิท ยาลัย เกษมบัณ ฑิ ต

สาส์น อิส ลาม

บทคั ด ย่ อ พหุ นิ ย ม (Pluralism) ถือ ว่ า เป็ นค�ำ ที่ ถู ก หยิ บ ยกไปใช้อ ย่ า งกว้า งขวางในโลก ปัจ จุ บ นั หมายถึง ชุ ด ของแนวคิ ด หนึ่ ง ที่ร บั รู ว้ ่ า มีค วามแตกต่ า งด้า นแนวคิ ด อยู่ แ ละยัง เป็ น ชุ ด ความคิ ด ที่ย อมรับ ในความคิ ด เห็ น ที่แ ตกต่ า งหลากหลาย เช่ น พหุ ว ฒ ั นธรรม ศาสนาอิ ส ลามโดยการเป็ นประจัก ษ์พ ยานตามบริ บ ทของยุ ค สมัย จากสมัย เริ่ ม แรกจนถึ ง ปัจ จุ บ นั ซึ่ ง ยื น ยัน โดยประวัติ ศ าสตร์ข องอิ ส ลามว่ า ศาสดามุ ฮ ัม มัด (ศ) ได้ก �ำ ชับ และบอกแก่ ส าวกของท่ า นให้อ ยู่ ร่ ว มกับ บรรดาศาสนิ ก อื่ น ๆ ในนคร มะดี น ะฮ์อ ย่ า งสัน ติ และประวัติ ศ าสตร์ไ ด้บ นั ทึ ก ไว้ว่ า หลัง จากที่ ศ าสดามุ ฮ ัม มัด ได้ อพยพสู่ น ครมะดี น ะฮ์ และได้จ ัด ตั้ง รัฐ อิ ส ลามขึ้ น บรรดามุ ส ลิม ในสมัย นั้น ได้เ ริ่ ม รู จ้ ัก บรรดาศาสนิ ก ของศาสนาอื่ น ๆ โดยใช้ชี วิ ต ตั้ง ถิ่ น ฐานท�ำ มาหากิ น อยู่ ร่ ว มกัน และมี ค วามสัม พัน ธ์ต่ อ กัน ทางด้า นวัฒ นธรรม มี ก ารแปลต�ำ ราทางด้า นศาสนาจาก ภาษาอื่ น ๆ และมีก ารปฎิ ส มั พัน ธ์ท างวัฒ นธรรมตลอดทัง้ ทางด้า นวิช าการด้า นอื่ น ๆ ยอมรับ ความต่ า งในการอยู่ ร่ ว มกัน พหุ นิ ย มในศาสนา เป็ น วิธี ห นึ่ ง ของนัก สัน ติ วิธี แ ละเป็ น ที่ย อมรับ ของการสร้า ง ความสัน ติ สุ ข ในสัง คม ลดความขัด แย้ง เพราะว่ า เป็ น หลัก คิ ด ที่ส ติ ป ัญ ญายอมรับ โดย เฉพาะอย่ า งยิ่ ง ในศาสนาอิ ส ลามเรี ย กร้อ งให้อ ยู่ ด ว้ ยกัน อย่ า งศานติ แ ละอยู่ ด ว้ ยกัน อย่ า งเห็ น อกเห็ น ใจ ไม่ ส ร้า งการทะเลาะ ชิ ง ชัง และให้ร า้ ยต่ อ ผู อ้ ่ื น แต่ ใ ห้มีมิต รภาพ ระหว่ า งกัน และกัน อยู่ ภ ายในร่ ม ธงแห่ ง ความเป็ น มนุ ษ ยชาติ เ ดี ย วกัน ค�ำ ส�ำ คัญ : พหุ นิ ย ม, ศาสนา, ความสมานฉัน ท์

41


สาส์น อิส ลาม

Academic article Capacities for Achieving peaceful Co-Existence among religions and sects Pluralism and Reconciliation to create peaceful in Religions

42

Abstract Pluralism is one of many words. The term has been widely used in almost every branch. But overall, it implies a set of concepts that recognize that there are differences in concepts in society And supports those various differences in concepts Including antitrust, interpretation, or dominance by one single concept, such as cultural pluralism, supports concepts that value cultural diversity. Islam by witnessing in the context of the age from the earliest times to the present day Confirmed by the history of Islam that The Prophet Muhammad (S.W.L) charged and told his disciples to live peacefully with other religions in Medina. And history has been recorded that after the Prophet Muhammad migrated to Medina And established an Islamic state The Muslims in those days began to recognize the religions of other religions by living and living for a living. And have cultural connections There are translations of religious texts from other languages and cultural interactions as well as other academic fields. The meaning of pluralism in religion Is accepted by peaceful means and is accepted for peace in society Reducing conflicts because this is the principle that wisdom has accepted In addition, religions are encouraged to do so. Especially in Islam that calls for peaceful and sympathetic coexistence Do not create controversy or loathing Malignant But to have friendship between each other Within the banner of humanity Keywords : pluralism, religion, and reconciliation


บทน�ำ

สาส์น อิส ลาม

วิ ธี คิ ด หรื อ หลัก คิ ด ที่ ก ลายเป็ น ความเชื่ อ ของส�ำ นัก คิ ด หนึ่ ง ส�ำ นัก คิ ด ใด เกี่ ย วกับ การมองต่ อ โลก มนุ ษ ย์ และ สรรพสิ่ง และได้ข อ้ สรุ ป เกี่ ย วกับ การมอง ต่ อ สิ่ง เหล่ า นัน้ จนกลายเป็ น ความเชื่ อ เรา เรี ย กว่ า “โลกทัศ น์” และทุ ก ส�ำ นัก คิ ด ทางศาสนาทุ ก นิ ก ายหรื อ แม้แ ต่ ล ทั ธิ ท าง ปรัช ญา การเมือ งล ว้ นแล ว้ แต่ มีโ ลกทัศ น์ เป็ นของตนเองเพื่ อ น� ำ เสนอหลัก คิ ด แก่ ผู อ้ ่ื น และอธิ บ ายในความเชื่ อ ของส�ำ นัก ของตน เพื่ อ สร้า งระเบี ย บแบบแผน ต่ า งๆ ไม่ ว่ า สิ่ ง ที่ ค วรจะกระท�ำ หรื อ สิ่ ง ที่ ไม่ ค วรจะกระท�ำ มนุ ษ ย์โ ดยทัว่ ไปแล ว้ จะเรี ย นรู ส้ ่ิง ที่ส มั ผัส และรู ส้ ึก ได้ก่ อ นที่จ ะเรี ย นรู เ้ รื่ อ ง ราวทางจิต วิญ ญาณ เช่ น ความมัง่ มีถือ ว่ า เป็ นต้น ทุ น หนึ่ ง ของการด�ำ เนิ น ชี วิ ต ทาง กายภาพของมนุ ษ ย์ ทุ ก คนจะรู จ้ ัก มัน อย่ า งรวดเร็ ว และดิ้ นรนหาคุ ณ ค่ า มัน นั ่น คื อ การแสวงหาการงานที่ มี ร ายได้ สู ง หรื อ มี เ กี ย รติ ย ศควบคู่ ไ ปด้ว ย และ บางครั้ง มนุ ษ ย์ ไ ด้ใ ห้คุ ณ ค่ า แก่ ม ัน ชนิ ด ที่ เ กิ น ความพอดี จึ ง เกิ ด การแย่ ง ชิ ง และ ความละโมบ ยิ่ ง จะสร้า งความเจ็ บ ปวด ให้ก ั บ เขาและสัง คมชนิ ด ที่ ย ากในการ จะเยี ย วยา ผลประโยชน์ ข องการศรัท ธาใน ศาสนาจะสร้า งหลัก คุ ณ ธรรมและการ มีจ รรยามารยาทที่ ดี ง าม กล่ า วคื อ จาก รากฐานของความเชื่ อ และการศรัท ธา ทางศาสนามี ค� ำ สอนในด้า นจริ ย ธรรม

และจรรยามารยาทที่จ ะเป็ น เกราะคุ ม้ กัน มนุ ษ ย์ใ ห้ป ลอดภัย การสร้า งหลัก พื้น ฐาน ทางจรรยามรยาทที่ดี ง าม คื อ ห่ ว งโซ่ แ รก สุ ด ของห่ ว งโซ่ ท างจิ ต วิ ญ ญาณ นั น่ คื อ การมี ศ รัท ธาในศาสนาและการเชื่ อ ใน พระเจ้า ดัง นั้น เกี ย รติ ย ศ ความไว้ว างใจ ความซื่ อ สัต ย์ การเสี ย สละ และการ กระท�ำ ดีทุ ก อย่ า งที่ม นุ ษ ย์ไ ด้ข นานนามว่ า เป็ นสิ่ ง ที่ ป ระเสริ ฐ และมนุ ษ ย์ทุ ก ยุ ค ทุ ก สมัย ต่ า งก็ ส รรเสริ ญ ล ว้ นแต่ ว างอยู่ บ น รากฐานของการมีศ รัท ธาในศาสนาทัง้ สิ้น พหุ นิ ย มทางศาสนาก็ ถือ ได้ว่ า เป็ น อีก โลกทัศ น์ห นึ่ ง ที่ต อ้ งการจะพยายามให้ ผู น้ ับ ถือ ศาสนาบนโลกใบนี้ เ กิ ด สัน ติ ภ าพ และอยู่ ก ัน อย่ า งสัน ติ สุ ข เคารพซึ่ ง กัน และกัน ไม่ ชิ ง ชัง ระหว่ า งกัน หรื อ ดู ถู ก ดู แคลนต่ อกั น และกั น และพหุ นิ ย ม ทางศาสนาเป็ นทฤษฎี ห นึ่ ง ที่ น ัก วิ ช าการ และนัก เทววิ ท ยาตะวัน ตกได้น� ำ เข้า มา สู่ ส ัง คมโลกและน� ำ เข้า มาในวงการของ ศาสนา เพื่ อ ให้เ กิ ด ทัศ นะเฉพาะในการ ให้ค� ำ ตอบแก่ บ างค� ำ ถามเกี่ ย วกับ เรื่ อ ง ความเชื่ อ และน� ำ เสนอเพื่ อ แก้ไ ขปัญ หา ต่ า งๆ ที่ เ กิ ด ขึ้น ในสัง คม และถือ ว่ า เป็ น ประเด็ น ปัญ หาหนึ่ ง ทางปรัช ญาศาสนา ปั จ จุ บั น พ หุ นิ ย ม ศ า ส น า ไ ด้ใ ห้ ค ว า ม ห ม า ย ใ ห ม่ แ ล ะ ถู ก ตี ค ว า ม ใ ห ม่ นั ่น ก็ คื อ แก่ นแท้อ ั น บริ สุ ท ธิ์ และทาง รอดพ้น ไม่ ไ ด้ถู ก จ�ำ กัด อยู่ ใ นศาสนาหนึ่ ง ศาสนาใดหรื อ ในนิ ก ายใดเท่ า นั้น ทว่ า พวกเขาเชื่ อ ว่ า แก่ น แท้อ ัน บริ สุ ท ธิ์ คื อ จุ ด ร่ ว มเดี ย วกัน ในศาสนาทัง้ หมด ศาสนา

43


สาส์น อิส ลาม

44

นิ ก าย และหลัก ปฏิ บ ตั ิ ต่ า งๆ ที่ มีน ั้น คื อ การส�ำ แดงออกมาอย่ า งหลากหลายจาก แก่ นแท้อ ั น บริ สุ ท ธิ์ นั้ น ดั ง นั้ น ศาสนา และนิ ก ายทั้ง หมดคื อ ทางรอดพ้น ด้ว ย กัน ทัง้ สิ้ น จอห์น ฮิ ก (เกิ ด ค.ศ. 1922) ถือ ได้ว่ า เป็ นบุ ค คลแรกได้น� ำ เสนอแนวคิ ด ในเรื่ อ งพหุ นิ ย มทางศาสนา และเขาเป็ น ผู ว้ างแผนและได้ส่ ง เสริ ม ให้เ กิ ด ขึ้น ของ แนวคิ ด นี้ ไ ปทัว่ โลก เ ข า ก ล่ า ว ว่ า “ ศ า ส น า ที่ แ ต ก ต่ า งกัน เป็ นกระแสที่ แ ตกต่ า งกัน ของ ประสบการณ์ ท างศาสนา ซึ่ ง แต่ ล ะจุ ด นั้น อยู่ ใ นระดับ อัน เฉพาะเจาะจง ที่ เ ริ่ ม ต้น ขึ้น ในประวัติ ศ าสตร์ข องมนุ ษ ย์ และ ตัว การที่ รู แ้ จ้ง ด้ว ยปัญ ญาของตน ก็ จ ะ ถู ก กู ค้ ื น ในบรรยากาศของวัฒ นธรรม” เขากล่ า วอี ก ว่ า “ในมุ ม มองด้า น ปรากฏการณ์ วิ ท ยา นิ ย ามที่ ว่ า ความ หลากหลายทางศาสนา (ศาสนาจ�ำ นวน มาก) ในรู ป ค�ำ ง่ า ยๆ หมายถึง ความจริ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ทางประวัติ ศ าสตร์ ข องศาสนา กล่ า วคื อ การแสดงแบบฉบับ อัน หลาย หลากเป็ น จ�ำ นวนมากของแต่ ล ะประเภท เหล่ า นั้น ในทัศ นะของปรัช ญาที่ จ ะน� ำ ไป สู่ ค วามจริ ง ได้ก นั ทัง้ หมด นิ ย ามดัง กล่ า ว คื อ การสัง เกตทางทฤษฎี โดยเฉพาะ อย่ า งยิ่ ง ความสัม พัน ธ์ร ะหว่ า งประเพณี ต่ า งๆ การอ้า งอิ ง และการแข่ ง ขัน กับ พวกเขาค�ำ นิ ย ามนี้ หมายถึ ง ทฤษฎี ท่ี ว่ า ศาสนาที่ย่ิ ง ใหญ่ ข องโลก ได้ป ระกอบขึ้น โดยการรับ รู ท้ ่ี แ ตกต่ า งกัน จากความจริ ง

สุ ด ท้า ย ในความลึก ลับ แห่ ง สิ่ง ศัก ดิ์สิท ธิ์ ” เป็ นไปได้ว่ า ทัศ นะที่ จ อห์ น ฮิ ก ได้แ สดงออกมาอาจจะสมมติ ฐ านว่ า แท้จ ริ ง ความคิ ด ในเรื่ อ งพหุ นิ ย มทาง ศาสนา เป็ นการน� ำ เสนอถึ ง หลัก คิ ด ที่ ช้ ี ให้เ ห็ น ว่ า ทุ ก ๆ ศาสนา มีค วามจริ ง และ ผู น้ ั บ ถื อ ศาสนาได้แ สดงออกการตอบ สนองออกมาที่ เ หมือ นกัน ถึ ง แม้ว่ า จะมี รู ป ลัก ษณ์ ท่ีแ ตกต่ า ง และการตอบสนอง นั้น ได้ว างอยู่ บ นเงื่อ นไขด้า นวัฒ นธรรม แต่ ห ลัก คิ ด ของฮิ ก ได้แ ตกต่ า งกับ หลัก คิ ด หลัก ปรัช ญาแบบคานท์นิ ย ม (Kantianism) ที่ เ รี ย กว่ า จิ ต นิ ย มอุ ต รวิ ส ยั (transcendental idealism) กล่ า วว่ า มนุ ษ ย์ใ ช้แ นวคิ ด บางอย่ า งที่ติ ด ตัว มาแต่ ก�ำ เนิ ด ในการรับ รู ป้ ระสบการณ์ ท่ีเ กิ ด ขึ้น รอบตัว ในโลกใบนี้ รับ รู โ้ ลกด้ว ยผ่ า นทาง ประสาทสัม ผัส และประกอบกับ มโนภาพ ที่ ติ ด ตั ว มา ดัง นั้ น จึ ง มี ค วามแตกต่ า ง และไม่ เ หมือ นกัน และฮิ ก เชื่ อ ว่ า แท้จ ริ ง ประสบการณ์ แ ละความเป็ นจริ ง แท้มี สองมุม และสองมิติ และเป็ นไปได้ท่ี เ ขา ต้อ งการจะระงับ ข้อ ถกเถี ย งและความ ขัด แย้ง ระหว่ า งศาสนาต่ า งๆ และเป็ น ไป ได้ท่ี เ ขาต้อ งการจะให้ศ าสนาต่ า งๆ ใกล ้ ชิ ด กัน มากยิ่ ง ขึ้น พหุ นิ ย มทางศาสนา (Religious Pluralism) ในนิ ย ามของฮิ ก คื อ ความ จริ ง และความถู ก ต้อ งที่ไ ม่ ไ ด้จ �ำ กัด พิเ ศษ เฉพาะในศาสนาใดศาสนาหนึ่ ง เนื่ อ งจาก ทุ ก ศาสนาได้ร ับ ประโยชน์จ ากความจริ ง ดัง นั้น การปฏิบ ตั ิ ต ามหลัก เกณฑ์ข องของ


ศาสนาใดศาสนาหนึ่ ง พวกเขาก็ ส ามารถ ได้ร ับ การช่ ว ยเหลื อ ให้ร อดพ้น ได้ ด้ว ย เหตุ น้ ี บนพื้ น ฐานดัง กล่ า วนี้ การพิ พ าท กัน ระหว่ า งความถู ก ต้อ งกับ ความไม่ ถู ก ต้อ งที่ เ กิ ด ขึ้ น ระหว่ า งศาสนาต่ า งๆ ถู ก เปลี่ย นจากการเป็ น ปฏิป ัก ษ์ การโต้เ ถีย ง และการวิ ว าทกัน ทางศาสนาให้มี ค วาม สอดคล อ้ งและการเป็ น ห่ ว งเป็ น ใยเอาใจ ใส่ ต่ อ กัน และกัน

สาส์น อิส ลาม

สมมติ ฐ านพหุ นิ ย มทางศาสนาของ จอห์ น ฮิ ก หนึ่ ง ฮิ ก พยายามจะให้เ ห็ น ถึ ง สองวาทกรรม คื อ ค� ำ ว่ า “แก่ น แท้ข อง ศาสนา” และค�ำ ว่ า “ความจริ ง ศาสนา” ว่ า มีค วามแตกต่ า งกัน กล่ า วคื อ แท้จ ริ ง แล ว้ สองวาท กรรมข้า งต้น เป็ นการเชื่ อ มโยงและมี ความสัม พัน ธภาพระหว่ า งกั น และกั น ฮิ ก ได้ใ ห้ส าระส�ำ คัญ ไปที่ แ ก่ น และสมอง ของศาสนา และมองว่ า แท้จ ริ ง แก่ น ของศาสนาของทุ ก ๆ ศาสนาเป็ นหนึ่ ง เดี ย วกัน แต่ เ ขาไม่ ไ ด้อ รรถาธิ บ ายถึ ง นิ ย ามนั้น อย่ า งรัด คุ ม และเขาได้ก ล่ า ว ว่ า ไม่ ต อ้ งใส่ ใ จต่ อ ความจริ ง ต่ า งๆ ของ ศาสนา ซึ่ ง ความหมายที่ เ ขาจะกล่ า วถึ ง ความจริ ง ทางศาสนา ได้แ ก่ หลัก การ สอน พิ ธี ก รรม และประเพณี ภ ายนอก ศาสนกิ จ จะถือ ว่ า อยู่ ใ นฐานะของความ จริ ง และเป็ นเปลื อ กนอกของศาสนา เท่ า นั้น ไม่ ใ ช่ แ กนหรื อ แก่ น ของศาสนา ทั้ง ๆ ที่ ส องวาทกรรมข้า งต้น เป็ นการ

เ ชื่ อ ม โ ย ง แ ล ะ มี ค ว า ม สั ม พั น ธ ภ า พ ระหว่ า งกัน และกัน มิ ส ามารถแยกออก จากกัน ได้ นัน่ คื อ ว่ า แก่ น ของศาสนา กั บ ความจริ ง ของศาสนาจะเชื่ อ มโยง ระหว่ า งกัน และกัน เหมือ นกับ โลกทัศ น์ กับ การปฏิ บ ตั ิ เป็ นไปได้ว่ า ฮิ ก ต้อ งการจะให้ สัง คมที่เ ต็ ม ไปด้ว ยความขัด แย้ง ระหว่ า ง กั น ในแวดวงของศาสนาและระหว่ า ง ศาสนิ ก หัน เข้า มาพู ด คุ ย กั น มากยิ่ ง ขึ้ น แต่ เ ขามิไ ด้ม องผ่ า นมุม ทางอภิป รัญ าและ ปรัช ญาศาสนา ฮิ ก ได้ร ับ แรงบัน ดาลใจโดยตรง จากเวที ส ัง คม ซึ่ ง เขาเป็ นสัก ขี พ ยาน ด้ว ยตัว ของเขาเองในเมือ งเบอร์มิง แฮม ประเทศอัง กฤษ โดยที่ ฮิ ก ได้พ บปะกับ ประชาชนที่ น ับ ถื อ ศาสนาที่ แ ตกต่ า งกัน และมี ศ าสนาหลากหลาย และยั ง ได้ ประจัก ษ์พ ยานถึ ง การปฏิ บ ัติ ท างศาสน กิ จ ของแต่ ละบุ ค คล ซึ่ ง เขาได้พ บว่ า ในทุ ก ๆ ศาสนาของบุ ค คลเหล่ า นั้ น มี ความเหมื อ นกั น และมี ส่ิ ง ที่ เ หมื อ นกั น ในศาสนาของเขา คื อ มนุ ษ ย์ก � ำ ลัง เปิ ด จิ ต ของเขาสู่ ค วามจริ ง แท้ต่ อ พระผู เ้ ป็ น เจ้า จนกระทัง้ เขาได้เ รี ย กร้อ งให้ช าวโลก ในปี ค.ศ. 1937 ว่ า แต่ ล ะศาสนาควร พิ จ ารณาในฐานะที่ ม นุ ษ ย์ไ ด้แ สดงออก ถึ ง ความแตกต่ า งในการนับ ถื อ พระเจ้า องค์ เ ดี ย ว โดยที่ ถื อ ว่ า ทุ ก ๆ คนที่ ไ ด้ นับ ถื อ พระเจ้า มี ค วามเหมื อ นกัน แต่ ที่ แ ตกต่ า งกัน อยู่ ใ นมิ ติ ว ัฒ นธรรมและ พิธี ก รรม (สาส์น อิส ลาม ฉบับ ที่ ๑ ปี ท่ี ๒๕ ประจ�ำ

45


เดื อ นกั น ยายน - ตุ ล าคม ๒๕๔๙ ศู นย์ ว ัฒ นธรรม สถานเอกอัค รราชทู ต สาธารณรัฐ อิ ส ลามแห่ ง อิ ห ร่ า น

สาส์น อิส ลาม

กรุ ง เทพฯ)

46

สอง ฮิ ก เชื่ อ ว่ า ทุ ก ศาสนามีส าส์น อัน เดี ย วกัน และด้ว ยการวิเ คราะห์เ ล็ก ๆ น้อ ยๆ ก็ จ ะสามารถปลดเปลื้ อ งความ แตกต่ า งออกไปได้ ในความเป็ นจริ ง แล ว้ ความแตกต่ า งทางศาสนา เกิ ด จาก ความแตกต่ า งในการตี ค วามและความ แตกต่ า งกัน ของภาษา แต่ เ นื้ อ หาเดีย วกัน เนื่ อ งจากเขาได้เ ข้า ใจระหว่ า งพหุ นิ ย ม และอรรถปริ ว รรตศาสตร์ท่ีค ลาดเคลื่อ น กล่ า วคื อ ระบบความเข้า ใจของมนุ ษ ย์ จะตามกฎของการสนทนา การพู ด ซึ่ ง บรรดาปวงผู ม้ ี ส ติ ท ั้ง หลายบนโลกนี้ จะ ยึ ด ตามหลัก การของการเจรจาและการ ท� ำ ความเข้า ใจ ขบวนการของความ เข้า ใจและการท�ำ ความเข้า ใจจะมี ห ลัก การ เช่ น ใส่ ใ จต่ อ สถานการณ์ ผู พ้ ู ด และ ผู เ้ ขีย น, ระบบค�ำ ศัพ ท์ข องเขา, ภาษาที่ เขาได้เ ลือ กในการอธิ บ าย (อารมณ์ ข นั , เป็ น สัญ ลัก ษณ์ อ ย่ า งจริ ง จัง หรื อ ฯลฯ ) และหลัก การนี้ เ องที่ ผู พ้ ู ด มีว ตั ถุป ระสงค์ ในความเข้า ใจอัน เฉพาะเจาะจง โดยให้ ความมัน่ ใจประโยคของตน ซึ่ ง ทัง้ หมด จะแจ้ง ให้ท ราบจากค� ำ สัง่ นั้ น แน่ น อน ว่ า บางสิ่ ง บางอย่ า งของข้อ ความขึ้ น อยู่ กั บ หลัก ฐานและสถานการณ์ ควรจะ พยายามที่จ ะเข้า ใจมัน ขณะที่ต วั บทของ ศาสนามี ท ั้ง สิ่ ง ที่ ม ายกเลิ ก และสิ่ ง ที่ ถู ก ยกเลิก มีท งั้ สิ่ ง ทัว่ ไปและเฉพาะเจาะจง มี ค วามกว้า งและมี เ งื่ อ นไข ฉะนั้ น จะ

ต้อ งมี ค วามระมัด ระวัง และต้อ งตรวจ สอบที่ม าที่ไ ปของมัน ดัง นั้น เพื่อ ท�ำ ความ เข้า ใจข้อ ความหนึ่ ง จะต้อ งมี ค่ า เริ่ ม ต้น เช่ น เข้า ใจภาษาของผู เ้ ขีย น เครื่ อ งหมาย ที่ บ่ ง บอกสภาพ ค�ำ พู ด แต่ ก็ ย งั มีค่ า เริ่ ม ต้น อื่ น อี ก ซึ่ ง จะท� ำ ให้ผู ฟ้ ั ง ห่ า งไกลจาก ความเข้า ใจในตัว บท ดัง นั้น จ�ำ เป็ นต้อ ง หลีก เลี่ย งมิใ ห้ส่ิ ง เหล่ า นั้น เข้า มายุ่ ง เกี่ ย ว กับ ในการท�ำ ความเข้า ใจกับ ตัว บท สมมติ ฐ านของฮิ ก ศาสนาทัง้ หมด ถู ก ก�ำ หนดภายใต้เ งื่อ นไขทางวัฒ นธรรม มากกว่ า ก�ำ หนดภายใต้แ ก่ น ของศาสนา จึ ง ปรากฏการอรรถาธิ บ ายที่ แ ตกต่ า งกัน และหัว ใจของสมมติ ฐ านเชิ ง พหุ นิ ย มทาง ศาสนา พื้ น ฐานของประสบการณ์ ท าง ศาสนา (สาส์น อิส ลาม ฉบับ ที่ ๑ ปี ที่ ๒๕ ประจ�ำ เดื อ นกั น ยายน - ตุ ล าคม ๒๕๔๙ ศู นย์ ว ัฒ นธรรม สถานเอกอัค รราชทู ต สาธารณรัฐ อิ ส ลามแห่ ง อิ ห ร่ า น กรุ ง เทพฯ)

วิ จั ก ษ์ พ หุนิ ย มศาสนา พหุ นิ ย มในศาสนาได้ถู ก น� ำ มาตี ความในหลายๆ ความหมาย ซึ่ง ในแต่ ล ะ ค ว า ม ห ม า ย ต้อ ง อ า ศั ย ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ และการสัง เคราะห์อ ย่ า งละเอี ย ดถึ ง จะ เข้า ใจเนื้ อ หานั้น ได้อ ย่ า งถู ก ต้อ งและรอบ ด้า น และในแต่ ล ะความหมายมี ค วาม น่ า สนใจอยู่ ม ากที เ ดี ย ว เราคงจะได้น� ำ มาพู ด คุ ย กัน ส่ ว นประเด็ น โลกาภิ ว ตั น์ ถื อ ว่ า เป็ นอี ก ปรากฏการณ์ ห นึ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้น ในโลกใบนี้ และยัง คงมี อิ ท ธิ พ ลต่ อ ชาว โลกจนถึ ง วัน นี้ ความหมายของโลกาภิ วัต น์ (globalization) คื อ ผลจากการ


เสวนาและปรั บ เปลี่ ย นกระบวนทัศ น์ แบบยึ ด มัน่ ถื อ มัน่ มาเป็ นกระบวนทัศ น์ แบบพหุ นิ ย ม หรื อ ถ้า เราอาจจะมองให้ แคบกว่ า นั้น ในความแตกต่ า งของนิ ก าย ในศาสนาเดี ย วกัน โดยมองว่ า เป็ นไป ได้ท่ี จ ะพิ จ ารณาระหว่ า งศาสนาด้ว ย กัน ในลัก ษณะที่ ว่ า ทุ ก ศาสนานั้น ความ จริ ง และความถู ก ต้อ ง หรื อ มองว่ า ทุ ก ๆ ศาสนาต่ า งได้ป ระโยชน์ จ ากความจริ ง ทั้ง สิ้ น หรื อ ในศาสนาหนึ่ ง ๆ อาจแบ่ ง ออกเป็ นหลายนิ ก าย และแต่ ล ะนิ ก าย นัน้ ต่ า งมีค วามจริ ง ทัง้ สิ้น เช่ น นิ ก ายซุ น นี และชี อ ะฮ์ มี อ ยู่ ภ ายในศาสนาอิ ส ลาม และแต่ ล ะนิ ก ายจะแนะน� ำ ตัว เองว่ า เป็ น อิ ส ลาม ถึ ง แม้ว่ า จะมี บ างหลัก ปฏิ บ ัติ ที่ แ ตกต่ า งอยู่ ก็ ต าม ดัง นั้ น ตามทัศ นะ ของผู น้ ิ ย มในหลัก คิ ด พหุ นิ ย มแล ว้ ทั้ง สองนิ ก ายสามารถวางอยู่ บ นความถู ก ต้อ งหรื อ กล่ า วได้ว่ า การได้ร ับ ประโยชน์ จากความจริ ง มี อ ยู่ ท ั้ ง สองนิ ก ายก็ ไ ด้ หรื อ กล่ า วอี ก นัย หนึ่ ง ก็ คื อ พหุ นิ ย มทาง ศาสนาสามารถแบ่ ง ออกเป็ น ความหลาก หลายภายนอกและภายในศาสนา ก ร ะ แ ส เ ห ตุ ก า ร ณ์ ข อ ง โ ล ก า ภิ วัต น์ แ ละประชาคมโลกต่ า งเรี ย กร้อ ง และต้อ งการความสัน ติ ภ าพ ต้อ งการ ความยุ ติ ธ รรม และปรารถนาความ สัม พัน ธไมตรี แ ละอยู่ อ ย่ า งมิ ต รภาพมี ความสมานฉั น ท์ อุ ด มการณ์ ท างการ เมื อ งหรื อ ทางลัท ธิ ค วามเชื่ อ ได้ถู ก ท�ำ ให้ ผู ค้ นสับ สนจนก่ อ ให้เ กิ ด ความบาดหมาง และมี ท ัศ นคติ ท่ี เ ป็ นลบต่ อ กัน ทั้ง ๆ ที่

สาส์น อิส ลาม

พัฒ นาการติ ด ต่ อ สื่ อ สาร การคมนาคม ขนส่ ง และเทคโนโลยี ส ารสนเทศ อัน แสดงให้เ ห็ น ถึ ง การเจริ ญ เติ บ โตของ ความสัม พัน ธ์ ท างเศรษฐกิ จ การเมื อ ง เทคโนโลยี และวัฒ นธรรมที่ เ ชื่ อ มโยง ระหว่ า งปั จ เจกบุ ค คล ชุ ม ชน หน่ วย ธุ ร กิ จ และรัฐ บาลทัว่ ทัง้ โลก โลกาภิว ตั น์ ตามพจนานุ ก รมฉบับ ราชบัณ ฑิต ยสถาน พ.ศ. 2542 หมายถึง “การแพร่ ก ระจาย ไปทัว่ โลก การที่ ป ระชาคมโลกไม่ ว่ า จะ อยู่ ณ จุ ด ใด สามารถรับ รู ้ สัม พัน ธ์ หรื อ รับ ผลกระทบจากสิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ได้อ ย่ า ง รวดเร็ ว กว้า งขวาง ซึ่ ง เนื่ อ งมาจากการ พัฒ นาระบบสารสนเทศเป็ นต้น ” และ โลกาภิ ว ตั น์ เ ป็ นค�ำ ศัพ ท์เ ฉพาะที่ บ ญ ั ญัติ ขึ้ น เ พื่ อ ต อ บ ส น อ ง ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์ ข อ ง สั ง คมโลกที่ เ หตุ ก ารณ์ ท างเศรษฐกิ จ การเมือ ง สิ่ ง แวดล อ้ ม และวัฒ นธรรมที่ เกิ ด ขึ้ น ในส่ ว นหนึ่ ง ของโลก ส่ ง ผลกระ ทบอัน รวดเร็ ว และส� ำ คัญ ต่ อ ส่ ว นอื่ น ๆ ของโลก (วิกี พิเ ดีย หมวดโลกาภิว ตั น์) สัง คมโลกาภิ ว ัต น์ ไ ด้ถื อ ว่ า ทุ ก ๆ ความขัด แย้ง นั้ น สามารถจะแก้ไ ขได้ โดยเฉพาะปัญ หาความขัด แย้ง ในศาสนา และศาสนิ ก หรื อ แม้แ ต่ ใ นระหว่ า งนิ ก าย ดัง นั้น การสนองตอบต่ อ ทฤษฎี พ หุ นิ ย ม ในศาสนาและนิ ก ายคื อ ทางออกหนึ่ ง ของ ความขัด แย้ง และน�ำ ไปสู่ ส นั ติ ภ าพ โดย พวกเขาได้น� ำ เสนอทางออกของความ ขัด แย้ง ระหว่ า งศาสนาหรื อ ระหว่ า งนิ ก าย ลดลงไปหรื อ อาจจะท�ำ ให้เ กิ ด ความใกล ้ ชิ ด ระหว่ า งกัน มากยิ่ ง ขึ้น คื อ การนัง่ สาน

47


สาส์น อิส ลาม

48

ค�ำ สอนของทุ ก ศาสนาต่ า งเรี ย กร้อ งให้ผู ้ ปฎิ บ ตั ิ ต ามศาสนานั้น ๆ หรื อ ให้ศ าสนิ ก ของตนอยู่ ร่ ว มกับ เพื่อ นมนุ ษ ย์อ ย่ า งฉัน ท์ พี่ น อ้ ง อี ก ทัง้ ให้รู จ้ กั เคารพสิ่ ง ศัก ดิ์ สิ ท ธิ์ เคารพบู ช าของแต่ ล ะศาสนา นั ก โลกาภิ ว ัต น์ ไ ด้เ รี ย กร้อ งให้ ทุ ก ๆ ศาสนาและทุ ก นิ ก ายลัท ธิ ห ัน มา ศึ ก ษาและเรี ย นรู ท้ ่ี จ ะอยู่ ร่ ว มกัน และให้ รัง เกี ย จการให้ร า้ ยและการสร้า งความ แตกแยกในสัง คม และยัง เรี ย กร้อ งให้ ทุ ก ๆ ศาสนาสร้า งหลัก ศาสนสัม พัน ธ์ และนิ ก ายสั ม พั น ธ์ เพราะถื อ ว่ า เป็ น กระบวนการทางปั ญ ญาและยัง ถื อ ว่ า เป็ นหลัก สัน ติ วิ ธี โ ดยยึ ด ความเมตตา ธรรมและความรัก เป็ นที่ ต ั้ง และพร้อ ม ที่ จ ะปฏิ บ ตั ิ แ ละพยายามน�ำ หลัก การทาง ศาสนาของศาสนาและนิ ก ายของตนมา บู ร ณาการปฎิ บ ัติ ใ นด้า นความสัม พัน ธ์ และด้า นสั ง คม กอรปกั บ แสดงออก ด้ว ยการปฏิ บ ัติ อ ย่ า งเอาจริ ง เอาจัง ของ แต่ ล ะศาสนาและแต่ ล ะนิ ก าย โดยยึ ด ปฎิ บ ัติ ต ามค� ำ สัง่ สอนและสิ่ ง ที่ ถู ก สอน ไว้ใ นนิ ก ายนั้น ๆ เพื่อ ส�ำ แดงให้เ ห็น ว่ า ทุ ก ศาสนาและทุ ก นิ ก ายได้เ คารพหลัก ความ เชื่ อ ความศรัท ธาต่ อ กัน และกัน ไม่ ดู ถู ก หรื อ ดู ห มิ่น ดู แ คลนค�ำ สอนของความเชื่ อ หรื อ ความศรัท ธาในศาสนาของกัน และ กัน และพร้อ มที่ จ ะเป็ นเพื่ อ นร่ ว มโลก ต่ อ กัน และกัน การตี ค วามและการนิ ย ามของพหุ นิ ย มในศาสนาตามความเชื่ อ ของจอห์น ฮิ ก เป็ น ไปได้ท่ี เ ขาจะให้ค วามหมายของ

พหุ นิ ย มทางศาสนา คื อ ทุ ก ๆ ศาสนิ ก ของแต่ ล ะศาสนามี ค วามต่ า งในเรื่ อ ง หลัก ปฏิ บ ัติ ต ามศาสนกิ จ แต่ มี แ ก่ น แท้ ของความจริ ง เดี ย วกัน ซึ่ง หมายความว่ า ในแต่ ละศาสนานั้ น มี จุ ด ร่ วมและจุ ด ต่ า ง และในความต่ า งนั้น สามารถจะใช้ ชี วิ ต อยู่ ร่ ว มกัน ได้อ ย่ า งสัน ติ หรื อ ต่ า ง ได้อ ดทนระหว่ า งกั น และกั น ในความ ต่ า ง หรื อ เรี ย กว่ า “การใช้ชี วิ ต ร่ ว มกัน อย่ า งสมานฉั น ท์ใ นมี ห ลัก ปฏิ บ ัติ ที ่ แ ตก ต่ า งกัน ” ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง พ หุ นิ ย ม ใ น ศาสนาของนิ ย ามข้า งต้น นัน้ เป็ น ที่ย อมรับ ของนัก โลกาภิ ว ัต น์ เพราะว่ า เป็ นหลัก คิ ด ที่ ส ติ ป ัญ ญายอมรับ อี ก ทัง้ ในศาสนา สนับ สนุ น ให้พึง ปฏิบ ตั ิ เ ช่ น นัน้ โดยเฉพาะ อย่ า งยิ่ ง ในศาสนาอิ ส ลามที่ เ รี ย กร้อ ง ให้อ ยู่ ด ว้ ยกั น อย่ า งศานติ แ ละอยู่ ด ว้ ย กัน อย่ า งเห็ น อกเห็ น ใจ ไม่ ส ร้า งความ ทะเลาะหรื อ ชิ ง ชัง ให้ร า้ ยต่ อ กัน แต่ ใ ห้มี มิ ต รภาพระหว่ า งกัน และกัน อยู่ ภ ายใน ร่ ม ธงเดี ย วกัน ดัง กุ ร อานได้ก ล่ า วว่ า “จงกล่ า วเถิ ด (โอ้มุ ฮ มั มัด ) ว่ า โอ้ช าว คัม ภี ร ์เ อ๋ย จงเข้า มายัง ถ้อ ยค�ำ หนึ่ ง ที่ เท่ า เที ย มกัน ระหว่ า งเราและพวกท่ า น นั่ น คื อ เราจะไม่ ส กั การะกราบไหว้ส่ ิ ง ใด นอกจากพระอัล ลอฮ์เ ท่ า นั้น และ จะไม่ ต งั้ ภาคี ใ ดๆ กับ พระองค์ และ พวกเราบางคนก็ จ ะไม่ ยึ ด ถื อ อี ก บาง คนเป็ นพระเจ้า อื่ น นอกเหนื อ พระ อัล ลอฮ์ แล้ว ถ้า หากพวกเขาได้ผิ น หลัง ให้ ก็ จ งกล่ า วเถิ ด ว่ า พวกท่ า น


พวกเจ้า ออกจากบ้า นเรื อ นของพวกเจ้า ในการที่ พ วกเจ้า จะท�ำ ความดี ต่ อ พวก เขาและให้ค วามยุ ติ ธ รรมแก่ พ วกเขา แท้จ ริ ง อัล ลฮ์ท รงรัก ผู ม้ ี ค วามยุ ติ ธ รรม” (มุม ตะฮี น ะฮ์ โองการที่ ๘) อิ ม ามอะลี บิ น อะบี ต อลิ บ ได้ กล่ า วต่ อ มาลิก อัช ตัร ถึง การปกครอง โดยยึ ด ความยุ ติ ธ รรมและสร้า งความ ารัก ต่ อ ผู อ้ ยู่ ใ ต้ก ารปกครอง ไม่ ว่ า เขา ผู น้ ั้น จะเป็ นมุ ส ลิ ม หรื อ ไม่ ใ ช่ มุ ส ลิ ม ดัง บัน ทึ ก ไว้ว่ า ... “ผู ้น� ำ ต้อ งใช้ม โนธรรมที ่ เ ปี ่ ยม ด้ว ยความเมตตา ปราณี ต่ อ ประชาชน สร้า งความรั ก และความกรุ ณาขึ้ นใน จิ ต ใจเพื ่อ ประชาชน ปฏิ บ ตั ิ ต่ อ ประชาชน ด้ว ยความเป็ น มิต รและอ�ำ นวยประโยชน์ สุ ข แก่ ค นเหล่ า นัน้ โดยถ้ว นหน้า อ ย่ า ป ฏิ บ ั ติ ก ั บ ป ร ะ ช า ช น อ ย่ า ง สัต ว์ร า้ ยที ่ มี ค วามเคี ย ดแค้น โดยโน้ม เอี ย งไปสู่ ก ารเบี ย ดเบี ย นให้ร า้ ย เพราะ ว่ า ประชาชนมี ส องกลุ่ ม เขาอาจจะเป็ น พี ่น ้อ งในศาสนาเหมื อ นกับ ท่ า น(อยู่ ใ น ศาสนาเดี ย วกัน ) หรื อ เขาอาจจะเหมือ น กับ ท่ า นในความเป็ น มนุ ษ ย์ แม้ว่ า ประชาชนเหล่ า นัน้ บางส่ ว น จะมี อุ ด มการณ์ ความเชื ่อ ศรัท ธาและ ทัศ นะคติ บ างอย่ า งแตกต่ า งไปจากผู น้ � ำ ก็ ต าม ผู น้ � ำ ต้อ งไม่ รู ้สึ ก ละอายในการ ให้อ ภัย และไม่ ส ร้า งความพยาบาท ไม่ กระหยิ ม่ หรื อ ทะนงตนในอ�ำ นาจ” (นะฮ์ญุ ล บะลาเฆาะฮ์, ระซาอิ ล ที่ ๕๓)

ข้า พเจ้า มุ่ ง หวัง ในการน� ำ เสนอ

สาส์น อิส ลาม

จงเป็ นพยานด้ว ยว่ า แท้จ ริ ง พวกเรา เป็ นผู น้ ้อ มตาม (ยอมรับ ความศานติ ) ” (อาลิอิ ม รอน โองการที่ ๖๔) หรื อ แม้แ ต่ ใ นหลัก ปฏิบ ตั ิ ศ าสนกิ จ (ฟิ กฮุ ล อิ ส ลาม) ได้มี บ ทและมาตราว่ า ด้ว ยการอยู่ ร่ ว มกัน ระหว่ า งศาสนิ ก อื่ น และระหว่ า งนิ ก ายอื่ น ๆ โดยได้น� ำ ค� ำ วิ นิ จ ฉั ย ของปวงปราชญ์ ถึ ง เรื่ องนี้ ว่ า ถื อ เ ป็ น ห น้า ที่ ห นึ่ ง ข อ ง มุ ส ลิ ม ต้อ ง ใ ห้ เกี ย รติ แ ละไม่ เ มิ ด สิ ท ธิ ข องเพื่ อ นบ้า น ไม่ ว่ า ผู น้ ั้น จะเป็ นมุส ลิม หรื อ ไม่ ใ ช่ มุส ลิม ก็ ต าม และอี ก ทัง้ ยัง ได้ก ล่ า วถึง สิ ท ธิ ข อง เพื่อ นบ้า นและคนต่ า งศาสนิ ก ไว้น่ า ชื่ น ชม ที เ ดี ย ว อิม ามอะลี บิน อะบีต อลิบ ในขณะ ที่ ไ ด้เ ป็ นคอลี ฟ ะฮ์ ป กครองอาณาจัก ร อิ ส ลาม ครัง้ นี้ ท่ า นได้เ ดิ น ผ่ า นต�ำ บลหนึ่ ง และได้เ ห็ น ชายตาบอด ซึ่ ง ได้ข อทาน และขอความเชื่ อ เหลื อ จากประชาชน อิ ม า ม อ ะ ลี ไ ด้ก ล่ า ว ว่ า “ ช า ย ผู ้พิ ก า ร และตาบอดนั้ น เขาเป็ นผู ข้ ัด สน จงน� ำ ทรัพ ย์ สิ น กองกลาง (บัย ตุ ล มาล) ให้ กับ เขาเถิด และจงรัก ษาเกี ย รติ ข องเขา” ทั้ง ๆ ที่ ช ายพิ ก ารและตาบอดผู น้ ั้น เป็ น ชาวคริ ส เตี ย นเสี ย ด้ว ยซ�ำ ้ และการสร้า ง ความรัก และความเมตตาระหว่ า งศาสนา ไม่ ไ ด้เ ฉพาะแค่ ศ าสนาหนึ่ ง ศาสนาใด แต่ ทุ ก ๆ ศาสนาและทุ ก ๆ นิ ก าย อัล กุ ร อาน ได้ก ล่ า วอี ก ว่ า .... “องค์อ ลั ลอฮ์มิ ไ ด้ท รงห้า มพวกเจ้า เกี่ ย วกับ บรรดาผู ท้ ่ี มิ ไ ด้ต่ อ ต้า นพวกเจ้า ในเรื่ อ งศาสนา และพวกเขามิ ไ ด้ข ับ ไล่

49


สาส์น อิส ลาม

50

บทความข้า งต้น นั้ น เพื่ อ จะอธิ บ ายให้ เห็ น ว่ า “พหุ นิ ย มทางศาสนา” ในมิติ ข อง ความหมาย “แสวงหาจุ ด ร่ ว ม สวงนจุ ด ต่ า ง” จะสามารถแสดงผลในเชิ ง บวกต่ อ บรรดาศาสนิ ก ชนของทุ ก ๆ ศาสนาได้ อย่ า งดี นัน่ คื อ การได้ม าซึ่ ง ความเข้า ใจ ระหว่ า งกัน และกัน และเกิ ด สัน ติ ภ าพ ในการอยู่ ร่ ว มกัน และแท้จ ริ ง พหุ นิ ย ม ในศาสนาจะเป็ นอี ก หนทางหนึ่ งที่ จ ะ ท�ำ ให้บ รรดาศาสนาและผู น้ ับ ถื อ ศาสนา ได้ใ กล ช้ ิ ด กัน มากขึ้ น และจะท�ำ ให้เ ห็ น ถึ ง ความแตกต่ า งระหว่ า งศาสนาให้เ ข้า มาใกล ก้ ัน ซึ่ ง อิ ส ลามยอมรับ ในความ ต่ า งและส่ ง เสริ ม การพู ด คุ ย ในเชิ ง เหตุ และผล อีก ทัง้ ได้แ สดงออกถึง การเคารพ ต่ อ ความเชื่ อ ของศาสนาอื่ น ๆ และเราจะ เห็ น ว่ า แท้จ ริ ง นัก โลกาภิว ตั น์แ ละผู ท้ ่ีเ ห็ น ด้ว ยกั บ เรื่ อ งความเป็ นพหุ ว ัฒ นธรรม ของสัง คมมนุ ษ ยชาติ ต่ า งได้เ รี ย กร้อ ง ให้ทุ ก ๆ ศาสนาและทุ ก ๆ นิ ก ายหัน มา สานเสวนาระหว่ า งกัน และกัน หรื อ การ เรี ย กร้อ งหลัก ศาสนสัม พัน ธ์ และทัศ นะ ของนัก วิช าการอิ ส ลามและนัก คิ ด ทัง้ ยุ ค อดี ต และยุ ค ปั จ จุ บ ัน ยอมรั บ ในเรื่ อ ง ความแตกต่ า งในศาสนาและนิ ก าย และ ถื อ ว่ า การท�ำ ความเข้า ใจกับ ศาสนาอื่ น ๆ เป็ นความจ�ำ เป็ นหนึ่ ง ดัง นั้น พหุ นิ ย มใน ศาสนาในความหมายที่ ก ล่ า วมาข้า งต้น นั น่ หมายความว่ า การมี ค วามหลาก หลายในหลัก ปฏิบ ตั ิ ข องศาสนาต่ า งๆ ไม่ ได้เ ป็ นเหตุ ห รื อ มู ล เหตุ ป ั จ จัย ที่ จ ะต้อ ง ขัด แย้ง หรื อ ดู ถู ก ระหว่ า งกัน และกัน แต่

ทว่ า ทางเลื อ กที่ ดี ท่ี สุ ด คื อ การแสวงหา จุ ด ร่ ว มและสงวนจุ ด ต่ า ง คื อ หลัก ส�ำ คัญ ของการให้เ กิ ด สัน ติ ภ าพที่ ย งั ่ ยื น บรรณานุ ก รม - กี ร ติ บุ ญ เจือ . อรรถปริ ว รรต คู่ เ วร คู่ ก รรม ปรัช ญาหลัง นวยุ ค กรุ ง เทพฯ. พิม พ์ ที่ โรงพิ ม พ์แ ห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิท ยาลัย ปี ท่ี พิม พ์ พศ. ๒๕๔๙ - เชคชะรี ฟ ฮาดียฺ ค�ำ สอนจากนะฮญุ ลบะลาเฆาะฮ กรุ ง เทพฯ, สถานศึ ก ษา ดารุ ล อิ ลมฺ มู ล นิ ธิ อิ ม ามคู อี ย ์ ปี ท่ี พิม พ์ พ.ศ. ๒๕๕๐ - สาส์น อิ ส ลาม ปี ที่ ๒๖ ฉบับ ที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๔๙ - ติ น ปรัช ญพฤทธิ์ . (2536). ทฤษฏี องค์ก าร.พิม พ์ค รัง้ ที่ 2. กรุ ง เทพฯ : ไทยวัฒ นา พานิ ช . - ติ น ปรัช ญพฤทธิ์ .(2535). รัฐ ประ ศาสนศาสตรเปรี ย บเที ย บ : เครื่ อ งมื อ ในการ พัฒ นาประเทศ. (พิ ม พฺ ์ค รั้ง ที่ 2). กรุ ง เทพฯ: จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิท ยาลัย . - นภาเดช กาญจนะ.(๒๕๓๙) พหุ นิ ย มทางศาสนาของจอห์ น ฮิ ก กั บ ปั ญ หา ความเป็ นจริ ง : กรุ ง เทพฯ : จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิท ยาลัย . - ไรน่ าน อรุ ณ รัง สี : ลัท ธิ พ หุ นิ ย ม ทางศาสนาของจอห์น ฮิ ก และอิ ส ลาม : ศึ ก ษา เชิ ง วิ เ คราะห์ วิ จ ัก ษ์ แ ละวิ ธ านมหาวิ ท ยาลัย เซนต์จ อห์น - Jason F. Isaacson .(2009). “Islam in Asia: Changing Political Realities” Publicher Amrican jew comittiee new Brunswick USA. p181.


พระพุ ทธศาสนากั บ หลั ก การด�ำ รงชี วิ ต ในสั ง คมพหุวั ฒ นธรรม พระมหาสมพงษ์ คุ ณ ากโร ดร. วิท ยาลัย พุ ท ธศาสตร์น านาชาติ มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิท ยาลัย

บทคั ด ย่ อ สัง คมหนึ่ ง ๆ ประกอบด้ว ยองค์ป ระกอบหลายๆ อย่ า ง เช่ น ภาษา ศาสนา ขนบธรรมเนี ย ม ประเพณี แ ละวัฒ นธรรม ผู ค้ นที่ อ ยู่ ใ นสัง คมนั้น ๆ ต่ า งมีภ าษาในกา รติ ต ต่ อ สื่ อ สารซึ่ ง กัน และกัน มี ศ าสนาเป็ นเครื่ อ งยึ ด เหนี่ ย วจิ ต ใจและมี ข นบธรรม ประเพณี ว ัฒ นธรรมที่ สื บ ทอดมาจากบรรพบุ รุ ษ จากรุ่ น สู่ รุ่ น เมื่ อ มองสัง คมจาก อดี ต สู่ ป ัจ จุ บ นั จะเห็ น ได้ถึ ง ความแตกต่ า ง ผู ค้ นในสัง คมเดี ย วกัน ในยุ ค ก่ อ นนับ ถื อ ศาสนาเดี ย วกัน มี ข นบธรรมเนี ย มประเพณี แ ละวัฒ นธรรมเหมื อ นกัน ซึ่ ง ท�ำ ให้ผู ค้ น ที่ อ ยู่ ใ นสัง คมนั้น ๆ ใช้ชี วิ ต อย่ า งไม่ ซ ับ ซ้อ นเท่ า ไรนัก เมื่ อ หัน กลับ มามองปัจ จุ บ นั ความเปลี่ย นแปลงหลายอย่ า งได้เ กิ ด ขึ้น ท�ำ ให้เ กิ ด ความหลากหลายทางสัง คม เช่ น ความหลากหลายทางด้า นภาษา ศาสนา ความหลากหลายทางด้า นขนบธรรมเนี ย ม ประเพณี แ ละวัฒ นธรรม สิ่ ง เหล่ า นี้ ส่ ง ผลกระทบต่ อ วิถี ชี วิต ของผู ค้ นในสัง คมท�ำ ให้ ผู ค้ นที่ อ ยู่ ใ นสัง คมนัน่ ๆ ต้อ งเปลี่ ย นท่ า ที แ ละปรับ เปลี่ ย นวิ ถี ชี วิ ต ให้ส อดคล อ้ งกับ สัง คมที่ เ ปลี่ย นไป ค�ำ ส�ำ คัญ : พระพุ ท ธศาสนา, พหุ ว ฒ ั นธรรม, สัน ติ ภ าพ

สาส์น อิส ลาม

51


Academic article Capacities for Achieving peaceful Co-Existence among religions and sects Buddhism and principles of living in a multicultural society Abstract A society consists of many elements such as language, religion, customs, traditions and culture. The people in that society all have language to communicate with each other. There is religion as an anchor to the mind, and there is tradition and culture inherited from ancestors from generation to generation. Looking at the society from the past to the present, it can be seen the difference. People in the same society in the olden days believed in the same religion, traditions, and culture, which made people in that society live a very uncomplicated life. Looking back to the present, many changes have taken place, resulting in social diversity such as language, religion, traditions and cultures. These things affect the way of life of people in society, causing people in that society Must change the attitude and change the lifestyle to be in line with the changing society

สาส์น อิส ลาม

Keywords : Buddhism, Multiculturalism, Peace

52


บทน�ำ

ทั ศ นคติ ท างด้ า นสั ง คม สัง คมในปัจ จุ บ นั นี้ เปลี่ย นไปจาก ที่ เ ป็ นสัง คมเดี่ ย วกลายเป็ นสัง คมที่ มี ความหลากหลาย อาจจะสืบ เนื่ อ งมาจาก การหลัง่ ไหลของผู ค้ นและวัฒ นธรรม จากที่ ห นึ่ ง ไปสู่ ท่ี ห นึ่ ง นัน่ ท�ำ ให้ผู ค้ นที่ อ ยู่ ในสัง คมปั จ จุ บ ัน ต้อ งปรั บ ท่ า ที ใ นการ ด�ำ รงชี วิ ต ร่ ว มกับ คนอื่ น ที่ มี ว ฒ ั นธรรมที่ ต่ า งกัน โดยต้อ งมีก ารเรี ย นรู ซ้ ่ึ ง กัน และ กัน ท่ า มกลางความหลากหลายนั้น แรกๆ ต่ า งคนต่ า งไม่ ส ามารถรู ไ้ ด้ว่ า คนที่ม าจาก วัฒ นธรรมที่ ต่ า งกัน จะมีค วามคิ ด ความ รู ส้ ึ ก หรื อ แสดงพฤติ ก รรมออกเหมื อ น กัน หรื อ ไม่ เนื่ อ งจากวัฒ นธรรมที่มีค วาม แตกต่ า งกัน ได้ก ารสร้า งพื้น ฐานทางด้า น พฤติ ก รรมของผู ค้ นขึ้น มา อย่ า งไรก็ ต าม เมื่ อ พู ด ถึ ง ทัศ นคติ ท างสัง คม สามารถ สรุ ป ได้คื อ : 1 . สั ง ค ม พ หุ วั ฒ น ธ ร ร ม (Multi-Cultural Society) คื อ สัง คม ประกอบด้ว ยกลุ่ ม ผู ค้ นที่ มี ค วามหลาก หลายทางด้า นชาติ พ ัน ธ์ แ ละวัฒ นธรรม

สาส์น อิส ลาม

ความหลากหลายทางด้า นสัง คม นั้น อาจกล่ า วได้ว่ า ส่ ว นหนึ่ ง มีส าเหตุ ม า จากผู ค้ นที่ มี พ้ ื น ฐานและเบื้ อ งหลัง ชี วิ ต ที่ แ ตกต่ า งกัน เช่ น วัฒ นธรรม ความ เชื่ อ ตามศาสนาที่ น ับ ถื อ เป็ นต้น ความ แตกต่ า งเหล่ า นี้ ก่ อ ให้เ กิ ด สัง คมหลาก หลาย เช่ น สัง คมพหุ ว ฒ ั นธรรม (Pluralistic Cultural Society) สัง คม ข้า มวัฒ นธรรม (Cross-Cultural Society) และสัง คมระหว่ า งวัฒ นธรรม (Inter-Cultural Society) นอกจากจะ มีว ฒ ั นธรรมที่ แ ตกต่ า งกัน แล ว้ ผู ค้ นใน สัง คมนั้น ๆ ต่ า งนับ ถือ ศาสนาที่ แ ตกต่ า ง กัน ออกไปอัน อาจจะก่ อ ให้เ กิ ด ทัศ นคติ ทางด้า นศาสนาซึ่ ง ส่ ง ผลกระทบต่ อ การ อยู่ ร่ ว มกัน ในสัง คมนั้น ๆ คื อ 1) มี ท ัศ นคติ ท างศาสนาแบบก ลางๆ (Religious Pluralism) 1 2) มีท ศั นคติ แ บบเหยี ย ดศาสนา (Religious Exclusivism) และ 2 3) มี ท ั ศ นคติ แ บบรวมศาสนา (Religious Inclusivism) 3 ปฏิ เ สธไม่ ไ ด้ว่ า ผู ค้ นในสัง คมมี เป้ าหมายเดี ย วกั น คื อ การใช้ชี วิ ต ร่ ว ม กับ คนอื่ น ในสัง คมอย่ า งมีค วามสุ ข เมื่อ ผู ้ค นอาศั ย อยู่ ใ นสั ง คมที่ ห ลากหลาย ไม่ ว่ า จะเป็ นวัฒ นธรรมหรื อ ศาสนาแล ว้ จะด� ำ รงชี วิ ต ท่ า มกลางหลากหลายใน สัง คมอย่ า งนี้ ให้มี ค วามสุ ข ได้อ ย่ า งไร ศาสนาจะเข้า มามี บ ทบาทในการช่ ว ยให้ ผู ค้ นเหล่ า นั้น ใช้ชี วิ ต อย่ า งมี ค วามสุ ข ได้

อย่ า งไร ในประเด็ น นี้ พ ระพุท ธศาสนาได้ แสดงท่ า ที ใ นการใช้ชี วิต ท่ า มกลางความ หลากหลายในสัง คมให้มีค วามสุ ข นัน่ คื อ การยึ ด หลัก ความสามัค คี โดยการสร้า ง ความสามัค คี ใ ห้เ กิ ด ขึ้ น ในหมู่ เ หล่ า แล ว้ ความสงบสุ ข จะตามมา ดัง ที่ อ งค์ส มเด็ จ พระสัม มาสัม พุท ธเจ้า ได้ต รัส เป็ น สุ ภ าษิต ไว้ว่ า (สุ ข า สงฺ ฆสฺ ส สามคฺ คี ) ความ สามัค คี ข องหมู่ ค นน�ำ ความสุ ข มาให้4

53


สาส์น อิส ลาม

54

เป็ น ต้น 2 . สั ง ค ม ข้ า ม วั ฒ น ธ ร ร ม (Cross-Cultural Society) คื อ สัง คม มี ก ารเปรี ย บเที ย บความแตกต่ า งทาง ด้า นวัฒ นธรรมเป็ นต้น ของผู ค้ นที่ อ ยู่ ใ น สัง คมนั้น ๆ 3. สัง คมระหว่ า งวัฒ นธรรม (Inter-Cultural Society) คื อ สัง คมที่ มี การเรี ย นรู เ้ พื่อ ท�ำ ความ เข้า ใจซึ่ง กัน และ กัน และให้ค วามเคารพวัฒ นธรรมอื่ น ๆ ที่ แ ตกต่ า งกัน 5 ประเด็ น ของการอยู่ ร่ ว มกัน ท่ า ม กลางความหลากหลายเพื่อ ให้เ กิ ด ความ สามัค คี น ั้น แนวคิ ด สัง คมพหุ ว ฒ ั นธรรม และสัง คมข้า มวัฒ นธรรมไม่ ส ามารถเป็ น แนวคิ ด ที่ จ ะท�ำ ให้ผู ค้ นมี ค วามสามัค คี เป็ น อัน หนึ่ ง อัน เดีย วกัน ในสัง คมนัน้ ๆ ได้ เพราะเมื่อ พิ จ ารณาอย่ า งรอบครอบแล ว้ สัง คมพหุ ว ฒ ั นธรรม (Multi-Cultural Society) มุ่ ง เน้น ที่ แ สดงให้เ ห็ น ความ หลากหลายของผู ค้ นที่ อ ยู่ ร่ วมกั น กั บ คนอื่ น ๆ โดยที่ ผู ค้ นเหล่ า นั้น ไม่ มี ค วาม จ� ำ เป็ นจะต้อ งมี ก ารแลกเปลี่ ย นหรื อ แม้แ ต่ ติ ด ต่ อ สื่ อ สารกั บ ผู ค้ นที่ อ ยู่ ร าย รอบนั้น ๆ ตัว อย่ า งเช่ น เพื่ อ นบ้า นที่ มี วัฒ นธรรมที่แ ตกต่ า งกัน เปิ ด ร้า นขายของ หรื อ ร้า นอาหาร แต่ ไ ม่ ส ร้า งมิ ต รภาพ กับ เพื่ อ นบ้า นคนอื่ น ๆ ส่ ว นในประเด็ น สัง คมข้า มวัฒ นธรรม (Cross-Cutural Society) ก็ เ ช่ น เดี ย วกัน ผู ค้ นที่ อ ยู่ ใ น สัง คมเช่ น นี้ สามารถเข้า ใจหรื อ รับ รู ถ้ ึ ง ความแตกต่ า งระหว่ า งวัฒ นธรรมได้แ ต่

เป็ นการรั บ รู ้เ พื่ อ เปรี ย บเที ย บให้เ ห็ น ความเหมื อ นและความต่ า งเท่ า นั้น เช่ น ก� ำ หนดวัฒ นธรรมหนึ่ ง เป็ นมาตรฐาน แล ว้ น�ำ วัฒ นธรรมอื่ น ๆ มาเปรี ย บเที ย บ เมื่ อ เป็ นที่ ท ราบกัน ดี ว่ า สัง คมในปัจ จุ บ นั นี้ มี ค วามหลากหลาย ท�ำ อย่ า งไรจึ ง จะ ท�ำ ให้ผู ค้ นในสัง คมนั้น ๆ มีค วามสามัค คี กัน เพื่อ ก่ อ ให้เ กิ ด ความสุ ข ตามมา จึง ได้มี การสนับ สนุ น แนวคิ ด ทางสัง คมระหว่ า ง วัฒ นธรรม (Inter-Cultural Society) เพราะท่ า มกลางความหลากหลายใน สัง คม การเข้า ใจซึ่ง กัน และกัน การเรี ย น รู แ้ ละการให้ค วามเคารพวัฒ นธรรมที่ แตกต่ า งกัน สามารถสร้า งความสามัค คี ให้เ กิ ด ขึ้น แก่ ผู ค้ นในสัง คมนั้น ๆ ได้ ท่ า ที ท างพระพุ ทธศาสนาต่ อ ศาสนิ กอื่ น จากการที่ ไ ด้พิ จ ารณาทั ศ นคติ ทางศาสนาอย่ า งลึ ก ซึ้ ง แล ว้ จะเห็ น ได้ ว่ า ศาสนาที่ มี ท ัศ นคติ ท างศาสนาแบบ Religious Pluralism สามารถที่ จ ะ สร้า งความร่ วมมื อ กั บ ศาสนาอื่ น เพื่ อ สร้า งความสามัค คี ใ ห้เ กิ ด ขึ้น ในสัง คมที่มี ความหลากหลาย เพราะเป็ น การปฏิ บ ตั ิ ต่ อ ผู ้มี ค ว า ม เ ห็ น ต่ า ง อ ย่ า ง เ ท่ า เ ที ย ม กั น โดยยึ ด หลัก การยอมรั บ ความต่ า ง ทางด้า นศาสนา ในประเด็ น นี้ พระพุ ท ธ ศาสนาได้แ สดงออกถึง ท่ า ที ข องการเป็ น Religous Pluralism เพื่ อ การสร้า ง ศาสนสัม พัน ธ์น ัน่ คื อ : 1) ไม่ แ ทรกแซงทัศ นคติ ห รื อ วิ ธี


สุ ข แก่ ส รรพสัต ว์ไ ม่ ว่ า จะเป็ นเทวดาหรื อ มนุ ษ ย์โ ดยไม่ มี ก ารแบ่ ง แยก จะเห็ น ได้ จากที่พ ระองค์ท รงให้โ อวาทแก่ ส าวกของ พระองค์ก่ อ นที่ จ ะส่ ง ไปยัง ทิ ศ ต่ า งๆ เพื่อ เผยแผ่ พุ ท ธศาสนาโดยตรัส ว่ า “ภิ ก ษุ ท งั้ หลาย พวกเธอ จงเที ่ย วจาริ ก ไป เพื ่อ ประโยชน์แ ก่ ช น เป็ น อัน มาก เพื ่อ ความสุ ข แก่ ช นเป็ น อัน มาก เพื ่อ อนุ เ คราะห์ส ตั ว์โ ลก เพื ่อ ประโยชน์ เพื ่อ เกื้ อ กู ล เพื ่อ ความสุ ข แก่ เ ทพดาและมนุ ษ ย์ท งั้ หลาย” 8 นี่ เ ป็ นเครื่ อ งยื น ยัน ได้ว่ า สมเด็ จ พระสัม มาสัม พุ ท ธเจ้า ทรงปฏิ บ ตั ิ ต่ อ คน อื่ น เท่ า เที ย มกั น และไม่ ท รงแทรกแซง แนวทางการปฏิ บ ัติ ห รื อ ความเชื่ อ ของ ศาสนิ ก ในศาสนาอื่ น ในการเทศนาของ พระองค์ ท รงมุ่ ง เน้น ที่ ป ระโยชน์ ข องคน อื่ น มากกว่ า ประโยชน์ข องพระองค์เ อง หลั ก พุ ทธธรรมในการด� ำ รงชี วิ ต ใน สั ง คมพหุวั ฒ นธรรม ท่ า มกลางความหลากหลายใน สัง คมยุ ค ใหม่ ผู ค้ นที่ อ ยู่ ใ นสัง คมเหล่ า นั้น จ�ำ เป็ นต้อ งตระหนัก โดยเอาใจเขา มาใส่ ใ จเราและยึ ด หลัก การสร้า งความ สามัค คี ใ ห้เ กิ ด ขึ้ นในสัง คมนั้ น ๆ และ ในการสร้า งความสามัค คี ใ ห้เ กิ ด ขึ้ น ใน สัง คมที่มีค วามหลากหลายนัน้ ปฏิเ สธไม่ ได้ว่ า ศาสนาเข้า มามี บ ทบาทในประเด็ น ดัง กล่ า วเมื่อ ผู ค้ นในสัง คมนัน้ ๆ มีศ าสนา เป็ นเครื่ อ งยึ ด เหนี่ ย วจิ ต ใจโดยน� ำ เอา หลัก ค� ำ สอนของศาสนาที่ ต นนั บ ถื อ มา

สาส์น อิส ลาม

ปฏิ บ ตั ิ ข องศาสนาอื่ น 2) ยอมรับ ความแตกต่ า งทางด้า น แนวคิ ด และหลัก ปฏิ บ ตั ิ ข องศาสนาอื่ น 6 จากทั้ง สองประเด็ น ดัง กล่ า วข้า ง ต้น ส รุ ป ไ ด้ใ น ป ร ะ เ ด็ น คื อ ท่ า ที ข อ ง พระพุ ท ธศาสนาด้า นความเท่ า เที ย มกัน ไม่ ว่ า จะเป็ น วิธี คิ ด การแสดงออก หรื อ แม้แ ต่ วิ ธี ก ารปฏิ บ ตั ิ โดยยอมรับ ความ แตกต่ า งศาสนาอื่น เห็น ได้จ ากการที่อ งค์ สมเด็ จ พระสัม มาสัม พุท ธเจ้า ไม่ เ อาความ แตกต่ า งทางด้า นศาสนา ไม่ ว่ า จะเป็ น แนวคิ ด หรื อ วิ ธี ป ฏิ บ ัติ ม าเป็ นอุ ป สรรค ในการเทศนาธรรม แต่ พ ระองค์ ท่ า น แสดงธรรมเพื่ อ มุ่ ง ประโยชน์ แ ก่ ค นอื่ น โดยตรง สามารถเห็ น ได้อ ย่ า งชัด เจน คื อ ครั้ง หนึ่ ง พระองค์ไ ด้แ สดงธรรมแก่ คฤหบดี ท่ า นหนึ่ ง นามว่ า อุ บ าลี ซึ่ ง เป็ น ลู ก ศิ ษ ย์ ข องนัก บวชเชน นามว่ า มหา วีร ะ พระพุท ธเจ้า ได้ท รงตรัส กับ คฤหบดี ท่ า นนี้ ว่ า ถึ ง แม้จ ะหัน มานับ ถื อ พระพุ ท ธ ศาสนาแล ว้ ก็ ค วรท�ำ บุ ญ ถวายทานแก่ นัก บวชเชนเหมือ นที่เ คยประพฤติ ป ฏิบ ตั ิ มา 7 เรื่ อ งนี้ แสดงให้เ ห็ น ว่ า พระพุ ท ธเจ้า ได้ป ฏิ บ ตั ิ ต่ อ ผู ค้ นที่ น ับ ถื อ ศาสนาอื่ น เท่ า เที ย มกัน โดยแสดงธรรมแก่ ค ฤหบดี ท่ า นนั้น โดยไม่ ใ ส่ ใ จว่ า คฤหบดี ท่ า นนั้น นั บ ถื อ ศาสนาอะไรและนั บ ถื อ ใครเป็ น ศาสดา นอกจากนี้ การแสดงธรรมของ พระองค์ไ ม่ ใ ช่ เ พื่ อ เป็ นการเปลี่ย นแปลง จิ ต ใจของผู ค้ นที่ มี ค วามเชื่ อ หรื อ ความ เห็ น ที่ แ ตกต่ า งให้ม านั บ ถื อ ตนเอง แต่ พระองค์ท รงมุ่ง หวัง ประโยชน์แ ละความ

55


สาส์น อิส ลาม

56

เป็ นหลัก ปฏิ บ ตั ิ เ พื่ อ ด�ำ เนิ น ชี วิ ต ให้บ รรลุ เป้ าหมายตามที่ต นเองตัง้ ไว้ เมื่อ เป็ น เช่ น นี้ ผู น้ � ำ ทางศาสนาแต่ ล ะศาสนาในสัง คม นั้น ๆ จะต้อ งร่ ว มมือ กัน หรื อ สร้า งความ สัม พัน ธ์ ร ะหว่ า งศาสนาเป็ นอัน ดับ แรก เพื่ อ ร่ ว มมื อ กั น แก้ไ ขปั ญ หาสัง คมและ สร้า งความสามัค คี ใ ห้เ กิ ด ขึ้ น แก่ ผู ค้ นใน สัง คมท่ า มกลางความหลากหลาย เป็ น ที่ ท ราบกัน เป็ นอย่ า งดี ว่ า ศาสนาแต่ ล ะ ศาสนามีห ลัก ค�ำ สอนที่มุ่ง สอนให้ค นเป็ น คนดี ประเด็ น ส�ำ คัญ คื อ แต่ ล ะศาสนานั้น จะมี ห ลัก ค� ำ สอนและหลัก ปฏิ บ ัติ อ ะไร ที่ ส ามารถสร้า งความสั ม พั น ธ์ ใ ห้เ กิ ด ขึ้ น กับ ศาสนานิ ก อื่ น และสามารถน� ำ มา ประยุ ก ต์ใ ช้ใ นการด�ำ รงชี วิ ต เพื่ อ ให้เ กิ ด ความสามัค คี ความสัน ติ และอยู่ อ ย่ า ง มี ค วามสุ ข ท่ า มกลางความแตกต่ า งและ ความหลากหลายในสัง คม ในประเด็ น นี้ พระพุ ท ธศาสนาใช้ห ลัก พุ ท ธธรรม 2 อย่ า งคื อ หลัก ธรรมที่ เ ป็ นเครื่ อ งยึ ด เหนี่ ย ว นัน่ คื อ สัง คหวัต ถุ และหลัก การ ฝึ กความอดทน นัน่ คื อ ขัน ติ ธ รรม 1- สัง คหวัต ถุ : ธรรมเป็ นเครื่ อ ง ยึ ด เหนี่ ยว ส�ำ หรับ พระพุท ธศาสนาแล ว้ หลัก พุ ท ธธรรมที่ ส ามารถสร้า งความสัม พัน ธ์ กับ ศาสนาอื่ น รวมทัง้ ผู ค้ นในศาสนานั้น ๆ เพื่ อ การด�ำ รงชี วิ ต ในความหลากหลาย อย่ า งมี ค วามสามัค คี ก ัน ในหมู่ ค ณะนั้น คื อ หลัก สัง คหะวัต ถุ ๔ อัน ได้แ ก่ 1) ทาน คื อ การรู จ้ กั ให้ รู จ้ กั เสี ย สละหรื อ ปัน สิ่ ง ของให้แ ก่ บุ ค คลอื่ น โดย

ปราจากความตระหนี่ ซ่ึ ง คุ ณ ธรรมข้อ นี้ สามารถฝึ กให้เ ป็ นคนไม่ ล ะโมบและไม่ เห็ น แก่ ต วั 2) ปิ ยวาจา คื อ การพู ด จาด้ว ย ถ้อ ยค� ำ ที่ ไ พเราะ พู ด จาด้ว ยถ้อ ยค� ำ ที่ อ่ อ นหวาน และมี ค วามจริ ง ใจ ไม่ พู ด หยาบคายและไม่ พู ด กระทบกระทัง่ ผู ้ อื่ น พู ด แต่ ใ นสิ่ ง ที่ เ ป็ นประโยชน์ แ ก่ ต น และผู อ้ ่ื น พู ด แต่ ภ ายใต้ค วามเหมาะสม กับ กาลเทศะ การพู ด ให้เ ป็ นปิ ย วาจานั้น ยึ ด หลัก ดัง ต่ อ ไปนี้ : - เว้น จากการพู ด เท็ จ คื อ พู ด แต่ ค� ำ สัต ย์ ไม่ พู ด จาโกหกหลอกลวงผู อ้ ่ื น เพื่ อ แสวงหาสิ่ ง ที่ เ ป็ นผลประโยชน์ ใ ห้ แก่ ต นเอง ได้เ ห็ น ได้ฟ ัง อย่ า งไรก็ พู ด ไป อย่ า งนั้น ไม่ พู ด เสริ ม ความยุ ย ง จนท�ำ ให้ เกิ ด ความแตกแยก - เว้น จากการพู ด ส่ อ เสีย ด คื อ ไม่ พู ด จายุ ย งให้เ ขาแตกร้า ว โดยเอาความ ทางนี้ ไปบอกทางโน้น หรื อ เอาความทาง โน้น มาบอกทางนี้ เมื่ อ ได้ยิ น ได้ฟ ัง เรื่ อ ง ราวที่ เ ป็ น ชนวนก่ อ ให้เ กิ ด การแตกความ สามัค คี ก็ ห าทางระงับ เสี ย - เว้น จากการพู ด ค� ำ หยาบ คื อ พู ด ด้ว ยถ้อ ยไพเราะ ค�ำ อ่ อ นหวานสุ ภ าพ ไม่ เ อะอะโวยวาย ไม่ พู ด เรื่ อ งหยาบคาย เมื่อ ฟัง แล ว้ มีค วามสบายใจ - เว้น จากการพู ด เพ้อ เจ้อ คื อ ไม่ พู ด ในสิ่ง ที่เ หลวไหล ไร้ส าระ หรื อ พู ด วก วนจนจับ ใจความไม่ ไ ด้ แต่ ค วรพู ด ในสิ่ง ที่ เ ป็ นประโยชน์มีส ารมีเ หตุ ผ ล 3) อัต ถะจริ ย า คื อ ประพฤติ ใ นสิ่ง


2. ขัน ติ ธ รรม : หลัก ของการฝึ ก ความอดทน นอกจากนี้ พระพุ ท ธศาสนายัง มี หลัก ธรรมส� ำ หรับ ประพฤติ ป ฏิ บ ัติ เ พื่ อ การอยู่ ร่ ว มกัน ในสัง คมพหุ ว ัฒ นธรรม อย่ า งสงบสุ ข นั น่ คื อ หลัก ขัน ติ ธ รรม ป ฏิ เ ส ธ ไ ม่ ไ ด้ว่ า เ มื่ อ มี ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง กั น ไ ม่ ว่ า จ ะ เ ป็ น ด้ า น ศ า ส น า ภ า ษ า ขนบธรรมเนี ย มประเพณี ห รื อ วัฒ นธรรม ไม่ ช า้ ไม่ น านความขัด แย้ง อาจจะเกิ ด ขึ้น ตามมาเพราะผู ค้ นใช้ชี วิ ต อยู่ ใ นสัง คม เดี ย วกั น ย่ อ มต้อ งมี ก ารติ ด ต่ อ สื่ อ การ การคบค้า สมาคมด้ว ยกั น หลัก ขัน ติ ธรรมถู ก น� ำ มาใช้เ พื่ อ การหลี ก เลี่ ย งการ ปะทะ ที่ส �ำ คัญ ที่สุ ด ส�ำ หรับ ขัน ติ ธ รรมคื อ เมื่อ ผู ค้ นได้ร ับ การฝึ กจนสามารถข่ ม จิ ต ไม่ ใ ห้โ กรธแค้น จนเกิ ด เป็ นความเมตตา แล ว้ สามารถสร้า งมิ ต รภาพท่ า มกลาง ศั ต รู ห รื อ สามารถเปลี่ ย นคนที่ เ ป็ นศั ต รู มาเป็ น มิต รได้อ ย่ า งไม่ อ ยาก ในธรรมบท ท่ า น ได้ก ล่ า ว ลัก ษณ ะ ข อ งขั น ติ ธ ร ร ม ไว้ใ นท่ อ นหนึ่ ง ของบทคาถาว่ า “ขนฺ ตี ปรม ํ ตโป ตี ติ กฺ ข า… (ความอดทนเป็ น ตบะอย่ า งยิ ง่ )” 9 จากข้อ ความนี้ แสดง ให้เ ห็ น ว่ า การฝึ กความอดทนนั้น เท่ า กับ เป็ นการบ�ำ เพ็ ญ เพี ย รเพื่ อ การเผาผลาญ กิ เ ลส หรื อ ที่ เ รี ย กอี ก อย่ า งว่ า เป็ นการ บ� ำ เพ็ ญ ตบะอย่ า งยิ่ ง ยวด คื อ ต้อ งใช้ ความพยายามในการข่ ม ความอดทนที่ พ ระพุ ท ธศาสนา เน้น มากที่ สุ ด คื อ ความอดทนต่ อ ความ อ�ำ นาจของโทสะที่เ กิ ด มาจากการกระทบ

สาส์น อิส ลาม

ที่ เ ป็ น ประโยชน์ และในสิ่ ง ที่ ดี ง ามแก่ ค น รอบข้า งด้ว ยการปฏิบ ตั ิ ต ามแนวทางดัง นี้ 3.1- มี ค วามประพฤติ ช อบทาง กาย เรี ย กว่ า “กายสุ จ ริ ต ” ได้แ ก่ - เว้น จากการท�ำ ลายชี วิต - เว้น จากการลัก ทรัพ ย์ ฉ้อ โกง ทรัพ ย์ - เว้น จากการประพฤติ ผิด ในกาม 3.2- มี ค วามประพฤติ ช อบทาง วาจา เรี ย กว่ า “วจี สุ จ ริ ต ” ได้แ ก่ - เว้น จากการพู ด เท็ จ - เว้น จากการพู ด ส่ อ เสี ย ด - เว้น จากการพู ด ค�ำ หยาบ - เว้น จากการพู ด เพ้อ เจ้อ 3.3- มีค วามประพฤติ ช อบทางใจ เรี ย กว่ า “มโนสุ จ ริ ต ” ได้แ ก่ - ไม่ โ ลภอยากได้ข องผู อ้ ่ื น - ไม่ พ ยายามปองร้า ยผู อ้ ่ื น - เห็ น ชอบในสิ่ ง ที่ ดี ง าม 4) สมานัต ตา คื อ การเป็ นผู ม้ ี ความสม�ำ่ เสมอ หรื อ มี ค วามประพฤติ เสมอต้น เสมอปลาย การที่ จ ะประพฤติ ตนให้เ ป็ นผู ม้ ี “สมานัต ตา” นั้น ต้อ งยึ ด หลัก เกณฑ์ด งั ต่ อ ไปนี้ - บุ ค คลาธิ ษ ฐาน คื อ บุ ค คลที่ เป็ น ตัว ตัง้ หมายความว่ า ถ้า มีต �ำ แหน่ ง มีฐ านะสู ง ส่ ง ขึ้น ต้อ งไม่ ห ลงลืม ตัว เคย แสดงความเคารพนั บ ถื อ ผู ใ้ ดก็ แ สดง ความเคารพนับ ถือ อย่ า งนั้น - ธรรมาธิ ษ ฐาน คื อ ธรรมที่ เ ป็ น ที่ ต งั้ หมายความว่ า บุ ค คลทุ ก คนย่ อ มมี ความเสมอภาคกัน

57


สาส์น อิส ลาม

58

กระทัง่ กัน ของผู ค้ นในสัง คมก่ อ ให้เ กิ ด ความโกรธแค้น ชิ ง ชัง กัน ในการฝึ ก ความ อดทนต่ อ ความโกรธดัง กล่ า วองค์ส มเด็ จ พระสัม มาสัม พุ ท ธเจ้า ชี้ ใ ห้เ ห็ น โทษของ ความโกรธเป็ นอัน ดับ แรกโดยตรั ส ว่ า “อาวุ โ ส คนที่ โ กรธขึ้น มาแล ว้ ถู ก ความ โกรธครอบง�ำ แล ว้ มีจิต อัน ความโกรธยึด ครองไว้แ ล ว้ ย่ อ มล า้ งผลาญชี วิต ของกัน และกัน ที เ ดี ย ว” 10 จ า ก ข้อ ค ว า ม ดั ง ก ล่ า ว ข้า ง ต้ น พระองค์ ไ ด้ช้ ี ให้เ ห็ น ความหายนะของ บุ ค ค ล ที่ มี จิ ต ถู ก ค ว า ม โ ก ร ธ ค ร อ บ ง� ำ บุ ค คลเช่ น นี้ มี จิ ต อาฆาต มี ค วามโกรธ แค้น มุ่ ง ล า้ งแค้น ล า้ งผลาญและสามารถ ท�ำ ลายชี วิ ต ของคนอื่ น ได้อ ย่ า งง่ า ยดาย เมื่อ พระองค์ช้ ี ใ ห้เ ห็น โทษของความโกรธ แค้น แล ว้ ทรงชี้ ใ ห้เ ห็ น อานิ ส งค์ข องการ ข่ ม ความโกรธโดยการใช้ห ลัก ขัน ติ ธ รรม โดยตรัส ว่ า “ขัน ติ คื อ ความยับ ยัง้ ไว้ไ ด้ เป็ น ธรรมเครื ่อ งเผาบาปให้เ หื อ ดแห้ง ชัน้ เยี ่ย ม เรายกย่ อ งบุ ค คลผู ม้ ี ข นั ติ เป็ น ก�ำ ลัง มี ข นั ติ เ ป็ นกองทัพ ว่ า เป็ น พราหมณ์ คุ ณ ธรรมที ่จ ะเป็ นเครื ่อ ง ป้ องกัน ความฉิ บ หาย และน�ำ ไปซึ่ ง ประโยชน์อ นั ยิ ง่ ใหญ่ ม าให้แ ก่ ต นและ คนอื ่น ที ่จ ะประเสริ ฐ วิ เ ศษยิ ง่ ไปกว่ า ขัน ติ น ัน้ ย่ อ มไม่ มี ” 11 เนื่ อ งจากความโกรธแค้น นั้น เกิ ด ขึ้ น มาด้ว ยอ�ำ นาจของกิ เ ลสที่ ฝ ัง แน่ น อยู่ ในจิ ต คื อ อ�ำ นาจของโทสะ จึ ง ไม่ ง่ า ยเลย ที่ จ ะฝึ กเพื่ อ บรรเทาความโกรธนี้ ใ ห้ส งบ

ลงได้ อย่ า งไรก็ ต ามพระพุท ธศาสนามีวิธี ที่ เ ป็ น อุ บ ายในการบรรเทาความโกรธได้ ซึ่ ง ประกอบด้ว ย 10 วิธี ด ว้ ยกัน คื อ 1 - หั น ก ลั บ เ ข้า ไ ป ป ฏิ บ ั ติ ใ ห ม่ (กลับ เข้า ฌานใหม่ ) 12 เมื่ อ ผู ฝ้ ึ กจิ ต ให้มี เ มตตาธรรมแผ่ เมตตาจิ ต ไปหาบุ ค คลที่ เ ป็ นคู่ เ วรหรื อ ศั ต รู ก ัน ความโกรธแค้น เกิ ด ขึ้ น มาอี ก เหตุ เ พราะระลึ ก ถึ ง ความผิ ด ที่ เ ขาได้ กระท�ำ ไว้ต่ อ ตนเองแต่ ก่ อ น เมื่อ เป็ น เช่ น นั้ น ผู ฝ้ ึ กควรหวนกลับ ไปฝึ กเมตตาจิ ต ใหม่ โ ดยการฝึ กหลายๆ ครั้ง แล ว้ ลอง พยายามเจริ ญ เมตตาธรรมในบุ ค คลที่ เป็ น คู่ เ วรกัน บ่ อ ยๆ ครัง้ แล ว้ ครัง้ เล่ า เช่ น นี้ ก็ ส ามารถบรรเทาความโกรธแค้น ต่ อ คู่ เวรกัน ได้ 2- พิ จ ารณาถึ ง พระพุ ท ธโอวาท เมื่ อ ผู ฝ้ ึ กจิ ต เจริ ญ เมตตาธรรม โดยวิ ธี ห ัน เข้า ไปปฏิ บ ัติ เ มตตาจิ ต ใหม่ แล ว้ แผ่ เ มตตาจิ ต ไปหาผู ท้ ่ี เ ป็ นคู่ เ วรกัน แต่ เ มื่อ ระลึก ถึ ง คู่ เ วรกัน แล ว้ ความโกรธ แค้น ยัง ไม่ ห ายไป หรื อ ไม่ อ าจบรรเทา ความโกรธแค้น ให้ส งบลงได้ แนวทางต่ อ ไปของพระพุท ธศาสนาเพื่อ บรรเทาความ โกรธเช่ น นี้ คื อ ให้พ ยายามฝึ กให้ห นัก ยิ่ ง ขึ้น ไปอี ก เพื่ อ บรรเทาความโกรธแค้น ให้ ได้โ ดยใช้วิธี พิจ ารณาถึ ง พระพุ ท ธโอวาท ที่ พ ระองค์ พ ร� ่ำ สอนเช่ นระลึ ก ถึ ง พระ ด�ำ รัส ของพระองค์ท่ีท รงตรัส พร�ำ่ สอนว่ า “ผู ใ้ ดโกรธตอบต่ อ คนที ่โ กรธก่ อ น ผู น้ ัน้ ชื ่อ ว่ า เป็ นคนเลวเสี ย ยิ ง่ กว่ า คนที ่ โกรธก่ อ น เพราะเหตุ ที ่โ กรธตอบนัน้


ฝึ กเมตตาจิ ต ควรระลึ ก ถึ ง แต่ ม ารยาท อัน เรี ย บร้อ ยทางใจของเขาอย่ า งเดี ย ว เท่ า นัน้ ส่ ว นในกรณี บุ ค คลที่ไ ม่ มีม ารยาท อัน ดี ง ามอะไรเลย ผู ฝ้ ึ กเมตตาจิ ต ควร ยกเอาความกรุ ณ าขึ้ น มาตั้ง ไว้ใ นใจแล ว้ ให้พิ จ ารณาว่ า “บุ ค คลเช่ น นี้ ถึ ง แม้เ ขา เที่ ย วขวางหู ขวางตาคนอยู่ ใ นมนุ ษย์ โลกนี้ ก็ แ ต่ ใ นปัจ จุ บ นั ชาติ น้ ี เ ท่ า นั้น ต่ อ ไปไม่ ช า้ ไม่ น าน เขาก็ จ ัก ต้อ งท่ อ งเที่ ย ว ไป บัง เกิ ด ในมหานรก 8 ขุ ม และใน อุ ส สทะนรก 16 ขุ ม โดยแท้” 15 ด้ว ยการ พิ จ ารณาอย่ า งนี้ ผู ฝ้ ึ กเมตตาจิ ต เมื่อ แผ่ เมตตาจิ ต ไปสู่ บุ ค คลเช่ น นี้ สามารถที่ จ ะ บรรเทาความโกรธลงได้ 4- การพร�ำ่ สอนตนเอง ใ น ก ร ณี ที่ ผู ้ ฝึ ก เ ม ต ต า จิ ต ฝึ ก บรรเทาความโกรธแค้น ด้ว ยการมอง เฉพาะส่ ว นดี ข องคู่ เ วรแล ว้ แต่ เ มื่ อ แผ่ เมตตาจิ ต ไปหาคู่ เ วร ความโกรธแค้น ยัง ไม่ ถู ก บรรเทา พระพุ ท ธศาสนาให้ใ ช้ วิ ธี บ รรเทาใหม่ ด ว้ ยการพร�ำ่ สอนตนเอง ด้ว ยอุ บ ายวิธี ด งั ต่ อ ไปนี้ 16 - ก็ เ มื่ อ คนผู เ้ ป็ นคู่ เ วรท�ำ ทุ ก ข์ใ ห้ แก่ เ จ้า ก็ แ ต่ ต รงที่ ร่ า งกายของเจ้า เหตุ ไฉนเจ้า จึ ง ปรารถนาที่ จ ะหอบเอาความ ทุ ก ข์น ั้น เข้า มาใส่ ใ นจิต ใจของตน อัน มิใ ช่ วิส ยั ที่ ค นคู่ เ วรจะพึง ท�ำ ให้ไ ด้เ ล่ า - หมู่ ญ าติ ซ่ึ ง เป็ น ผู ม้ ีอุ ป การะคุ ณ เป็ น อัน มาก ทัง้ ๆ ที่มีห น้า ชุ ม โชกอยู่ ด ว้ ย น�้ำ ตาเจ้า ก็ ย ัง อุ ต ส่ า ห์ล ะทิ้ ง เขามาได้ ก็ เหตุ ไ ฉนจึ ง จะละไม่ ไ ด้ซ่ึ ง ความโกรธ อัน เป็ นตัว ศัต รู ผู ท้ �ำ ความพิ น าศให้อ ย่ า ง

สาส์น อิส ลาม

ผู ใ้ ดไม่ โ กรธตอบคนที ่โ กรธก่ อ น ผู น้ ัน้ ชื ่อ ว่ า ชนะสงครามที ่ช นะได้อ ยาก ผู ใ้ ดรู ว้ ่ า คนอื ่น โกรธแล ว้ เป็ นผู ม้ ี ส ติ ยับ ยัง้ ความโกรธไว้เ สี ย ได้ คื อ ไม่ โ กรธ ตอบ ผู น้ ัน้ ได้ชื ่อ ว่ า ประพฤติ สิ ง่ ที ่เ ป็ น ประโยชน์ท งั้ แก่ ต นและคนอื ่น ด้ว ยกัน ทัง้ สองฝ่ ายดัง นี้ ป ระการหนึ่ ง ” 13 3- มองคนในแง่ ดี ก า ร ม อ ง ค น ใ น แ ง่ ดี เ ป็ น อุ บ า ย อย่ า งหนึ่ งในการบรรเทาความโกรธ โดยมี วิ ธี ป ฏิ บ ัติ คื อ ถ้า ผู ้ฝึ กจิ ต เจริ ญ เมตตาธรรมถึง แม้น ระลึก ถึง พุ ท ธโอวาท ขององค์ ส มเด็ จ พระสัม มาสัม พุ ท ธเจ้า ที่ พ ระองค์ ไ ด้พ ร� ำ่ สอนไว้เ กี่ ย วกับ เรื่ อ ง ความโกรธเพื่ อ บรรเทาความโกรธแค้น แต่ เ มื่อ ระลึก การถู ก กระท�ำ จากคนที่เ ป็ น คู่ เ วรกัน ความโกรธแค้น เกิ ด ขึ้น มากระ ทบจิ ต ใจครั้ง แล ว้ ครั้ง เล่ า ควรหัน มาใช้ อุ บ ายใหม่ คื อ การมองคนในแง่ ดี อัน ได้แ ก่ ม องคุ ณ ธรรมส่ ว นใดส่ ว นหนึ่ ง ที่ คู่ เวรกัน นั้น มีอ ยู่ 14 เช่ น บางคนมีม ารยาท ทางกายงาม แต่ ม ารยาททางวาจาและ ทางใจของเขาไม่ เ รี ย บร้อ ย บุ ค คลเช่ น นี้ ผู ฝ้ ึ กเมตตาจิ ต ควรระลึ ก แต่ ม ารยาท เรี ย บร้อ ยทางกาย บางคนมี ม ารยาท เรี ย บร้อ ยแต่ ท างวาจา แต่ ม ารยาททาง กายและทางใจไม่ เ รี ย บร้อ ย บุ ค คลเช่ น นี้ ผู ฝ้ ึ ก เมตตาจิต ควรระลึก ถึง แต่ ม ารยาท อั น เรี ย บร้อ ยทางวาจาของเขาเท่ า นั้ น และบางคนมี ม ารยาทเรี ย บร้อ ยแต่ ท าง ใจอย่ า งเดี ย ว แต่ ไ ม่ มี ค วามเรี ย บร้อ ย ทางกายและทางวาจา บุ ค คลเช่ น นี้ ผู ้

59


สาส์น อิส ลาม

60

ใหญ่ ห ลวงเล่ า - เจ้า จงอุ ต ส่ า ห์ร ัก ษาศี ล เหล่ า ใด ไว้ แต่ เ จ้า ก็ ไ ด้พ ะนอเอาความโกรธอัน เป็ นเครื่ อ งตั ด รากศี ล เหล่ า นั้ น ไว้ด ว้ ย ใครเล่ า ที่ จ ะโง่ เ ซ่ อ เหมือ นเจ้า - เมื่อ เจ้า โกรธขึ้น มาแล ว้ เจ้า จัก ได้ก่ อ ทุ ก ข์ใ ห้แ ก่ ค นอื่ น ผู ท้ �ำ ความผิ ด ให้ แก่ เ จ้า นั้น หรื อ ไม่ ก็ ต าม แต่ เ ป็ น อัน ว่ า เจ้า ได้เ บีย ดเบีย นตนเองด้ว ยทุ ก ข์ คื อ ความ โกรธ ณ ขณะนี้ น ัน่ เที ย ว ฯลฯ 5- พิ จ ารณาถึ ง กรรม เ มื่ อ ผู ้ฝึ ก จิ ต เ จ ริ ญ เ ม ต ต า แ ล ะ แผ่ เ มตตาไปหาคู่ เ วรด้ว ยการพร� ่ำ สอน ตนเองแล ว้ แต่ ค วามโกรธแค้น ต่ อ คู่ เวรยัง ไม่ ส ามารถถู ก บรรเทาให้เ บาบาง ลงได้ แนวทางพระพุ ท ธเจ้า ในการฝึ ก เมตตาต่ อ ไปคื อ ให้ห ัน มาพิ จ ารณาถึ ง กรรมโดยใช้วิ ธี พิ จ ารณาถึ ง ภาวะที่ ท ั้ง ตนเองและคนอื่ น เป็ นผู ม้ ี ก รรมเป็ นของ แห่ ง ตน โดยพิ จ ารณาภาวะที่ ต นเองมี กรรมเป็ นของตนเองเป็ นอั น ดั บ แรก เช่ น พิจ ารณาเป็ นต้น ว่ า “นี่ แ นะ พ่ อ มหา จ� ำ เริ ญ เจ้า โกรธคนอื่ น เขาแล ว้ จัก ได้ เป็ นประโยชน์ อ ะไร กรรมอัน มี ค วาม โกรธเป็ นเหตุ ข องเจ้า นี่ ม นั จัก บัน ดาลให้ เป็ นไปเพื่ อ ความฉิ บ หายแก่ เ จ้า เองมิ ใ ช่ หรื อ ด้ว ยว่ า เจ้า เป็ นผู ม้ ี ก รรมเป็ นของ แห่ ง ตน มีก รรมเป็ นทายาท มีก รรมเป็ น ก�ำ เนิ ด มีก รรมเป็ น เผ่ า พัน ธุ ์ มีก รรมเป็ น ที่ พึ ง เจ้า ท�ำ กรรมสิ่ ง ใดไว้ เจ้า จัก ต้อ ง ได้ร ับ ผลกรรมนี้ ” 17 เมื่ อ พิ จ ารณาตัว ที่

เป็ นผู ม้ ี ก รรมเป็ นของแห่ ง ตนแล ว้ ให้ พิ จ ารณาภาวะที่ ผู อ้ ่ื น เป็ นผู ม้ ี ก รรมเป็ น ของตน เช่ น พิจ ารณาเป็ นต้น ว่ า “แม้เ ขา ผู น้ ั้น โกรธเจ้า แล ว้ เขาจัก ได้ป ระโยชน์ อะไร กรรมอัน เป็ นความโกรธเป็ นเหตุ ของเขาผู น้ ั้ น มัน จัก บัน ดาลให้เ ป็ นไป เพื่ อ ความฉิ บ หายแก่ เ ขาเองไม่ ใ ช่ ห รื อ เพราะเขาเป็ นผู ม้ ี ก รรมเป็ นของแห่ ง ตน มี ก รรมเป็ นทายาท มี ก รรมเป็ นก� ำ เนิ ด มี ก รรมเป็ นเผ่ า พัน ธุ ์ มี ก รรมเป็ นที่ พ่ึ ง เขาจัก ได้ท �ำ กรรมสิ่ ง ใดไว้ เขาก็ จ กั ต้อ ง ได้ร ั บ ผลของกรรมนั้ น ” 18 ท่ า นกล่ า ว ว่ า การพิ จ ารณาถึ ง กรรมอย่ า งนี้ ส ามารถ ที่ จ ะบรรเทาความโกรธให้เ บาบางหรื อ สงบลงได้ 6- พิ จ ารณาถึ ง พุ ท ธจริ ย าในปาง ก่ อ น เมื่อ ผู ฝ้ ึ กเมตตาจิ ต เจริ ญ เมตตา จิ ต แล ว้ แผ่ เ มตตาจิ ต ให้แ ก่ ผู เ้ ป็ นคู่ เ วร กั น ด้ว ยด้ว ยพิ จ ารณาหลัก ของกรรม ของแต่ ล ะคนแล ว้ ยัง ไม่ ส ามารถบรรเทา ความโกรธแค้น ต่ อ คู่ เ วรให้ส งบลงได้ ใน ทางพระพุ ท ธศาสนาท่ า นแนะน� ำ ให้ห ัน มาระลึ ก ถึ ง พระคุ ณ คื อ พระจริ ย าวัต ร ของพระบรมศาสดาในปางก่ อ น ซึ่ ง มีวิธี ปฏิ บ ตั ิ ด งั นี้ ให้ร ะลึก ถึง พระบรมศาสดา ในสมัย ที่ ย ัง ไม่ ไ ด้ต รัส รู เ้ ป็ นพระสัม มา สัม พุ ท ธเจ้า ถึ ง แม้พ ระองค์ จ ะเป็ นพระ โพธิ ส ัต ว์บ �ำ เพ็ ญ บารมี 30 ทัศ อยู่ ถึ ง 4 อสงไขยกับ แสนมหากัป นั้น พระองค์ ก็ มิ ไ ด้ท รงท� ำ พระหฤทัย ให้โ กรธเคื อ ง แม้ใ นศั ต รู ท ั้ง หลายผู พ้ ยายามประหัต


เวรกัน แต่ ค วามโกรธยัง ไม่ บ รรเทาสงบ ลงได้ ตามหลัก พระพุ ท ธศาสนาท่ า นให้ หัน มาใช้ก ารพิ จ ารณาถึ ง อานิ ส งค์ ข อง เมตตาที่ อ งค์ ส มเด็ จ พระสัม มาสัม พุ ท ธ เจ้า ทรงสอนไว้ 11 ประการด้ว ยกัน คื อ 1) นอนเป็ น สุ ข 2) ตื่ น เป็ นสุ ข 3) ไม่ ฝ ัน ร้า ย 4) เป็ น ที่ ร ัก ของมนุ ษ ย์ท งั้ หลาย 5) เป็ น ที่ร กั ของอมนุ ษ ย์ 6) เทวดาทัง้ หลาย คอยเฝ้ ารัก ษา 7)ไฟยาพิ ษ หรื อ ศัส ตรา ไม่ ก ล�ำ้ กรายในตัว ของเขา 8) จิ ต เป็ น สมาธิ เ ร็ ว 9) ผิ ว หน้า ผ่ อ งใส 10) ไม่ หลงท�ำ กาลกิ ริ ย า 11) เมื่ อ ไม่ บ รรลุ ถึ ง คุ ณ ธรรมเบื้อ งสู ง อย่ า งต�ำ่ ก็ จ ะไปบัง เกิ ด ในพรหมโลก 22 9- พิ จ ารณาแยกธาตุ ถ้า ใ ช้ ค ว า ม พ ย า ย า ม ด้ว ย ก า ร พิ จ ารณาด้ว ยอานิ ส งค์ เ มตตาแล ว้ แต่ ความโกรธแค้น ของผู ฝ้ ึ กเมตตาจิ ต ยัง ไม่ ส งบบรรเทาลงได้ แนวทางปฏิบ ตั ิ ท าง พระพุ ท ธศาสนาคื อ ให้ห ัน ไปพิ จ ารณา แยกธาตุ คื อ พิจ ารณาองค์ป ระกอบของ มนุ ษ ย์ซ่ึง ประกอบด้ว ย (1) ​อ าการ 32 มี ผม ขน เล็บ เป็ น ต้น (2) ประกอบด้ว ย ธาตุ 4 มีดิน น�ำ ้ ลม ไฟ (3) ประกอบด้ว ย ขัน ธ์ 5 มีรู ป เวทนา สัญ ญา สัง ขาร และ วิญ ญาณ (6) ประกอบด้ว ยอายตนะ 12 อัน มี จัก ขวายตนะ รู ป ายตนะ เ ป็ น ต้น (7) ประกอบด้ว ยธาตุ 18 อัน มี จัก ขุ ธ าตุ รู ป ธาตุ จัก ขุ วิญ ญาณธาตุ เป็ นต้น แล ว้ พิจ ารณาว่ า เราโกรธแค้น ที่ ผ มหรื อ ที่ ข น ที่ เ ล็บ หรื อ ที่ ฟ ัน ที่ ต าหรื อ ที่ รู ป เป็ น ต้น 23 สุ ด ท้า ยก็ ไ ม่ รู ว้ ่ า เมื่อ ความ โกรธแค้น เกิ ด

สาส์น อิส ลาม

ประหารพระองค์อ ยู่ ใ นชาติ น ั้น ๆ 19 ซึ่ ง ผู ้ บ�ำ เพ็ ญ เมตตาจิ ต เมื่ อ ได้แ ผ่ เ มตตาจิ ต พร้อ มกับ การพิ จ ารณาถึ ง พุ ท ธจริ ย าใน ปางก่ อ นต่ อ ผู ท้ ่ี เ ป็ นคู่ เ วรกัน อย่ า งนี้ แล ว้ ท่ า นกล่ า วว่ า สามารถที่ จ ะบรรเทาความ โกรธให้ส งบลงได้ 7- พิ จ ารณาความสัม พัน ธ์ก ัน มา ในสัง สารวัฎ เมื่ อ ผู ฝ้ ึ กเมตตาจิ ต แผ่ เ มตตาจิ ต ไปถึ ง ผู ท้ ่ี เ ป็ นคู่ เ วรกัน ด้ว ยการพิ จ ารณา ถึ ง พุ ท ธจริ ย าในปางก่ อ น แต่ พ อนึ ก ถึ ง สิ่ ง ที่ ถู ก ก ร ะ ท� ำ โ ด ย ผู ้ท่ี เ ป็ น คู่ เ ว ร กั น นั้น ท�ำ ให้ค วามโกรธก� ำ เริ บ ขึ้ น มาและ ไม่ ส ามารถบรรเทาได้ ตามหลัก พุ ท ธ ศาสนาท่ า นให้เ ปลี่ ย นมาพิ จ ารณาถึ ง ความสัม พัน ธ์ก ัน มายาวนานที่ ห าต้น ชน ปลายไม่ ไ ด้แ ต่ มีอ ยู่ ใ นสัง สารวัฎ 20 เพราะ ตามหลัก ความเชื่ อ ทางพระพุ ท ธศาสนา สัต ว์ท่ีเ กิ ด มาบนโลกนี้ ทุ ก ท่ า นอาจจะเคย เป็ นญาติ พ่ี น อ้ งกัน มาในภพใดภพหนึ่ ง เหมื อ นที่ อ งค์ ส มเด็ จ พระสัม มาสัม พุ ท ธ เจ้า ได้ต รัส ไว้ใ นสัง ยุ ต ตนิ ก ายว่ า “ภิ ก ษุ ทัง้ หลาย สัต ว์ที ่เ กิ ด มาในโลกนี้ น ัน้ ที ่จ ะ ไม่ เ คยเป็ นมารดากัน ไม่ เ คยเป็ นบิ ด า กัน ไม่ เ คยเป็ นพี ่ น ้อ งชายกัน ไม่ เ คย เป็ นพี ่น อ้ งหญิ ง กัน ไม่ เ คยเป็ นบุ ต รกัน และไม่ เ คยเป็ นธิ ด ากัน เป็ นสิ ง่ ที ่ ห าได้ ไม่ ง่ า ยเลย” 21 8- พิ จ ารณาด้ว ยอานิ ส งส์เ มตตา เมื่ อ ผู ฝ้ ึ กจิ ต ได้พ ยายามพิ จ ารณา โดยความสัม พัน ธ์ ก ั น มาในสัง สารวัฎ แล ว้ แล ว้ แผ่ เ มตตาจิ ต ไปยัง ผู ท้ ่ี เ ป็ นคู่

61


สาส์น อิส ลาม

ขึ้ น มัน เกิ ด ขึ้ น ต่ อ ตรงใหนขอ งผู ท้ ่ี เ ป็ น คู่ เ วร เพราะคู่ เ วรถู ก พิจ ารณ าแยกออก เป็ น ส่ ว นประกอบต่ า ง ๆ 10- การให้ป ัน สิ ง่ ของ เมื่อ ใช้ก ารพิ จ ารณาแยกธาตุ แ ล ว้ พอแผ่ เ มตตาจิ ต ไปหาผู ้เ ป็ นคู่ เวรกั น ความโกรธแค้น ยัง ไม่ ส ามารถบรรเทาให้ สงบลงได้ แนวทางปฏิ บ ตั ิ ท างพระพุ ท ธ ศาสนาให้ห ัน มาใช้วิ ธี ก ารใหม่ คื อ การ ให้ป ัน สิ่ ง ของ วิ ธี ก ารปฏิ บ ตั ิ คื อ ถ้า เห็ น ว่ า ผู ท้ ่ีเ ป็ น คู่ เ วรกัน มีค วามเดื อ ดร้อ นและ ต้อ งการความช่ ว ยเหลือ ควรยื่ น มือ เข้า ช่ ว ยเหลือ และผู ฝ้ ึ กเมตตาจิ ต ก็ ค วรรับ สิ่ ง ของจากผู ท้ ่ี เ ป็ นคู่ เ วรกัน ด้ว ย การให้ สิ่ ง ของนี้ นับ ว่ า เป็ นสิ่ ง ที่ มี อ านุ ภ าพอย่ า ง ยิ่ ง ใหญ่ ใ นการระงับ บรรเทาความโกรธ แค้น เหมื อ นดัง ที่ ท่ า นพระโบราณจารย์ ได้ป ระพัน ธ์ไ ว้ว่ า อทนฺ ต ทมนํ ทานํ ทานํ สพฺ พ ตฺ ถ สาธกํ ทาเนน ปิ ยวาจาย อุ นฺ น มนฺ ติ นมนฺ ติ จ. “การให้ป ัน เป็ นอุ บ ายทรมานคน พยศให้ห ายได้ การให้ป ั น เป็ นเครื่ อ ง บัน ดาลให้ป ระโยชน์ทุ ก ๆ อย่ า งส�ำ เร็ จ ได้ ผู ใ้ ห้ย่ อ มฟู ใ จขึ้ น ฝ่ ายผู ร้ ับ ปัน ย่ อ ม อ่ อ นน้อ มลง ทั้ง นี้ ด้ว ยการให้ป ัน ด้ว ย วาจาอ่ อ นหวานเป็ นเหตุ ฉะนี้ ”

62

สรุ ป

ในสั ง คมที่ มี ค วามหลากหลาย และแตกต่ า งด้า นศาสนาและวัฒ นธรรม ผู ค้ นต้อ งปรับ ท่ า ที การใช้ชี วิต ให้อ ยู่ ร่ ว ม กับ คนอื่ น ได้อ ย่ า งมี ค วามสุ ข โดยสร้า ง ความสามัค คี ใ ห้เ กิ ด ขึ้ น ระหว่ า งผู ค้ นที่ อยู่ ร ายรอบนัน้ ๆ สิ่ง เดีย วที่จ ะสร้า งความ สามัค คี ใ ห้เ กิ ด ขึ้ น ได้ ต้อ งสร้า งความ สัม พัน ธ์ ก ัน ระหว่ า งศาสนาและระหว่ า ง ผู ค้ นของแต่ ล ะศาสนาเป็ นอัน ดับ แรก พระพุ ท ธศาสนาได้เ สนอแนวทางคื อ การปฏิ บ ตั ิ ต่ อ กัน อย่ า งเท่ า เที ย มกัน การ เรี ย นรู ซ้ ่ึ ง กัน และกัน และการให้ค วาม เคารพซึ่ ง กัน และกัน การปฏิ บ ตั ิ อ ย่ า งนี้ สามารถปฏิ บ ัติ ไ ด้โ ดยปฏิ บ ัติ ต ามหลัก สัง คหวัต ถุ 4 อัน ได้แ ก่ การให้ การกล่ า ว ค�ำ อัน เป็ น ที่ร กั การประพฤติ แ ต่ ส่ิง ที่เ ป็ น ประโยชน์ แ ละการเป็ นผู ป้ ระพฤติ ต น เสมอต้น เสมอปลาย นอกจากนี้ ย งั ต้อ งมี หลัก ขัน ติ ธ รรมเข้า มาสนับ สนุ น นเพื่อ ฝึ ก ให้รู จ้ กั ความอดทน การให้อ ภัย โดยต้อ ง ฝึ กการข่ ม หรื อ บรรเทาความโกรธแค้น ที่ เ กิ ด ขึ้ น ภายในจิ ต ใจของตนเองให้ไ ด้ เมื่ อ ประพฤติ ป ฏิ บ ัติ ไ ด้อ ย่ า งนี้ แล ว้ ก็ จ ะ สามารถด�ำ รงชี วิต ท่ า มกลางความหลาก หลายในสัง คมอย่ า งมี ค วามสุ ข เพราะ เมื่ อ ความสามัค คี เ กิ ด ขึ้ น ในหมู่ ห รื อ ใน กลุ่ ม ใดกลุ่ ม หนึ่ ง แล ว้ ความสุ ข ความ สงบก็ จ ะเกิ ด ขึ้น ทัง้ แก่ ต นเองและคนอื่ น เหมือ นพุ ท ธศาสนสุ ภ าษิ ก ล่ า วไว้ว่ า สุ ข า สงฺ ฆ สฺ ส สามคฺ คี สมคฺ ค านญฺ จ นุ คฺ ค โห


สมคฺ ค รโต ธมฺ ม ฏฺ โฐ โยคกฺ เ ขมา น ธํส ติ “ ค ว า ม พ ร้ อ ม เ พ รี ย ง ข อ ง ห มู่ เป็ นสุ ข และการสนั บ สนุ น คนผู พ้ ร้อ ม เพรี ย งกัน ก็ เ ป็ น สุ ข , ผู ย้ ิน ดีใ นคนผู พ้ ร้อ ม เพรี ย งกัน ตัง้ อยู่ ใ นธรรม ย่ อ มไม่ ค ลาด จากธรรมอัน เกษมจากโยคะ” 24 ค�ำ ย่ อ - ขุ.ธ. : ขุททฺ กนิกาย ธมฺมบท - ขุ.อิต.ิ : ขุททฺ กนิกาย อิตวิ ุตตฺ ก - องฺ.ทสก. : องฺคุตตฺ รนิกาย ทสกนิปาต - ม.ม. : มชฺฌมิ นิกาย มชฺฌมิ ปณฺณาสก - ที.มหา : ทีฆนิกาย มหาวคฺค - ที.ปา. : ทีฆนิกาย มูลปณฺณาสก - สํ.นิ. : สํยุตตฺ นิกาย นิทานวคฺค - องฺ.เอกาทสก. : องฺคุตฺตนิกาย เอกาทสก นิปาต

สาส์น อิส ลาม

อ้ า งอิ ง 1) Global Centre for Pluralism, “Defining Pluralism”, Pluralism Papers No.1 (Ottawa: Global Centre, 2012), p. 1, quoted to Giuseppe, Giordan, Religious Pluralism: Framing Religious Diversity In the Contemporary World, ed. Enzo Pace, (New York: Springer, 2014), p. 16. 2) Jose M. Vigil, Theology of Religious Pluralism (London: Transaction Publishers, 2008), p.57. 3) Ibid. 4) ขุ . ธ. 25/ 41. ขุ . อิ ติ . 25/ 238. องฺ . ทสก. 24/ 80. 5) Aljona Atamaniuk, The Terms of “Multicultural”, “Cross-Cultural”, “Inter-

culatual”. Meaning, Differences, Area of Using, Norderstedt Germany: GRIN Verlag GmbH, 2014, pp. 1-2. 6) I. Lazari-Pawlowska, Trzy pojecia tolerancji [Three Concepts of Tolerance], “Studia Filozoficzne”, Warsaw, 1984, No 8, p. 118. 7) ม.ม.13/64. 8) ที . มหา 10/46-47. 9) ที . มหา. 10/57. 10) พระพุ ท ธโฆสเถระ, คัม ภี ร ์วิสุ ท ธิ ม รรค, แปลโดย สมเด็ จ พระพุ ฒ าจารย์ (อาจ อาสภ มหาเถร), พิม พ์ ครั้ง ที่ 10 (กรุ ง เทพมหานคร: บริ ษ ทั ธนาเพรส จ�ำ กัด ,2554), หน้า 482. 11) เรื่ อ งเดี ย วกัน , หน้า 482. 12) เรื่ อ งเดี ย วกัน , หน้า 490. 13) วิสุ ท ธิ ม รรค, หน้า 491. 14) เรื่ อ งเดี ย วกัน , หน้า 493. 15) เรื่ อ งเดี ย วกัน , หน้า 494. 16)วิสุ ท ธิ ม รรค, หน้า 495-496. 17)เรื่ อ งเดี ย วกัน , หน้า 497. 18)เรื่ อ งเดี ย วกัน , หน้า 498. 19)วิสุ ท ธิ ม รรค, หน้า 499-500. 20)เรื่ อ งเดี ย วกัน , หน้า 507. 21)สํ. นิ . 16/137-138/ 227-228. 22) องฺ . เอกาทสก. 24/15/425. 23) วิสุ ท ธิ ม รรค, หน้า 510. 24) วิสุ ท ธิ ม รรค หน้า 511.

63


สาส์น อิส ลาม

บรรณานุ ก รม - มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิท ยาลัย . พระ ไตรปิ ฏกภาษาไทย ฉบับ มหาจุ ฬ าลงกรณราช วิท ยาลัย . กรุ ง เทพมหานคร: โรงพิม พ์ม หาจุ ฬ า ลงกรณราชวิท ยาลัย , 2539 - พระธรรมปฏิ ก (ป.อ. ปยุ ตฺ โ ต). พจนานุ ก รมพุ ท ธศาสน์ ฉบับ ประมวลศั พ ท์ . พิม พ์ค รัง้ ที่ 8. กรุ ง เทพมหานคร: โรงพิม พ์ม หา จุ ฬ าลงกรณราชวิท ยาลัย , 2538 - พระพุ ท ธโฆสเถระ. คั ม ภี ร ์ วิ สุ ท ธิ ม ร ร ค . แ ป ล โ ด ย ส ม เ ด็ จ พ ร ะ พุ ฒ า จ า ร ย์ (อาจ อาสภมหาเถร). พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 10. กรุ ง เทพมหานคร: บริ ษ ทั ธนาเพลส จ�ำ กัด , 2554. - Atamaniuk, Aljona. The Terms of “Multicultural”, “Cross-Cultural”, “Interculatual”. Meaning,Differences, Area of Using. Norderstedt Germany: GRIN Verlag GmbH, 2014. - Giordan, Giuseppe. Religious Pluralism: Framing Religious Diversity in the Contemporary World, ed. Enzo Pace, New York: Springer, 2014. - Lazari-Pawlowska, I. Trzy pojecia tolerancji [Three Concepts of Tolerance], “Studia Filozoficzne”. Warsaw,1984. - Sri Dhammananda, K. Buddhist Attitude towards Other Religion. Kaula Lumper: Buddhist Missionary Society, 1983. - Vigil, Jose M. Theology of Religious Pluralism. London: Transaction Publishers, 2008.

64


ปรั ช ญาศาสนสั ม พั น ธ์ ศ. กี ร ติ บุ ญ เจื อ

สาส์น อิส ลาม

บทคั ด ย่ อ การเสวนามิ ใ ช่ ก ารแบ่ ง รับ แบ่ ง สู ้ มิ ใ ช่ ก ารปรองดองออมชอม มิ ใ ช่ ก ารบวก กัน หารสองหรื อ การหาจ�ำ นวนกลางทางเลขคณิ ต มิใ ช่ ก ารผ่ อ นสัน้ ผ่ อ นยาวหรื อ แบ่ ง กัน กิ น คนละครึ่ ง วิ ธี ก ารเหล่ า นี้ เหมาะสมส�ำ หรับ แก้ป ัญ หาเฉพาะหน้า เท่ า นั้น เมื่ อ ส่ ว นได้ส่ ว นเสี ย ร่ ว มกัน ผ่ า นพ้น ไป การแตกแยกแยกแข่ ง ขัน ชิ ง ดี ก ัน ก็ จ ะกลับ มาดัง เดิ ม หรื อ หนัก กว่ า เดิ ม การแก้ป ัญ หาระยะยาวต้อ งใช้ก ารเสวนา นัน่ คื อ หาจุ ด สนใจ ร่ ว มกัน เพื่อ ใช้เ ป็ นพื้น ฐานแห่ ง ความเข้า ใจดี ต่ อ กัน จุ ด สนใจร่ ว มกัน นั้น ไม่ มีจุ ด ใด เป็ นพื้ น ฐานได้ลึก ซึ้ ง เท่ า ปรัช ญาแนวทางปฏิ บ ตั ิ ร่ ว มกัน ระหว่ า งศาสนาต่ า งๆ ดัง นั้น ในบทความนี้ จ ะหยิ บ ยกแนวทางปฏิ บ ตั ิ ท่ี ผู เ้ ขี ย นเห็ น ว่ า ควรรี บ ปฏิ บ ตั ิ เ พื่ อ บรรลุ เ ป้ า หมายศาสนสัม พัน ธ์ มีด งั ต่ อ ไปนี้ 1. แต่ ล ะฝ่ ายจะต้อ งเริ่ ม อบรมสมาชิ ก ในศาสนาของตนให้ต ระหนัก ในปรัช ญา แห่ ง การ ประนี ป ระนอม โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ในส่ ว นที่จ ะเป็ น พื้น ฐานแห่ ง ความร่ ว มมือ ระหว่ า ง ศาสนาได้อ ย่ า งจริ ง ใจต่ อ กัน 2. ควรมี ส ถาบัน ค้น คว้า วิ จ ัย หาทัง้ ค�ำ สอนและแนวปฏิ บ ตั ิ เ พื่ อ ความร่ ว มมื อ อย่ า งมีป ระสิ ท ธิ ภ าพ 3. ประมุ ข ระดับ ชาติ ข องทุ ก ศาสนาควรสัม มนากัน สัก ปี ละครั้ง โดยมี ก าร ประชาสัม พัน ธ์พ อสมควร เพื่อ เป็ นตัว อย่ า งและก�ำ ลัง ใจแก่ ศ าสนิ ก ชนทัง้ หลาย และยัง มีป ระเด็ น ทีส �ำ คัญ ที่อ ยากจะให้ผู อ้ ่ า นได้เ ห็ น ถึง ความจ�ำ เป็ น ต่ อ การอยู่ ร่ ว มกัน อย่ า งสัน ติ แ ละการสร้า งสัน ติ ภ าพร่ ว มกัน ค�ำ ส�ำ คัญ : ปรัช ญาสมานฉัน ท์, ศาสนาอิ ส ลาม, สัน ติ ภ าพ

65


Academic article Capacities for Achieving peaceful Co-Existence among religions and sects : Philosophy of peaceful Co-Existence among religions

สาส์น อิส ลาม

Abstract Dialogue is not a fight and reconciliation not a combination Divide two or find the middle number in arithmetic. is not a laxity or half-share these methods are suitable for solving immediate problems only. When the common interest has passed Separation, rivalry, will return to the original or harder. Long-term solution requires dialogue, which is to find common ground. To be used as a basis for mutual understanding there is no point of mutual interest that is as fundamental as philosophy, common practices between different religions. Therefore, in this article I will put forward the practices that the author deems to act quickly to achieve religious relations goals. Are as follows 1. Each party must begin to train members of their religion to become aware of the philosophy of Compromise, especially in the area that will form the basis of sincere cooperation between religions 2. There should be research institutes to search for both teachings and guidelines for effective cooperation. 3. National heads of all religions should conduct a seminar once a year. With sufficient publicity As an example and encouragement to all religious people And there are still important issues that would like readers to see the need for peaceful coexistence and peace-building Keywords : philosophy of reconciliation, peace

66


ปรั ช ญา ปรัช ญาคื อ อะไร? ยากที่ จ ะตอบ ให้น่ า พอใจได้ ได้มี ผู ใ้ ห้นิ ย ามไว้แ ล ว้ มากมาย ผิ ด เพี้ ย นกัน ไปต่ า งๆ นานา แล ว้ แต่ ล ทั ธิ ค วามเชื่ อ ถื อ และขอบเขตที่ แต่ ล ะคนจะให้แ ก่ ป รัช ญา นิ ย ามปรัช ญา ของแต่ ละคนย่ อ มบอกลัท ธิ แ ละแนว โน้ม ทางปรัช ญาของผู น้ ิ ย าม อยู่ ใ นที่ ผู ้ เขีย นไม่ อ าจจะให้นิ ย ามกลางๆ ได้ หาก จะนิ ย ามก็ ค งจะเป็ นนิ ย ามของผู เ้ ขี ย น เองโดยเฉพาะ ซึ่ ง หมายถึ ง ว่ า จะเป็ น นิ ย ามที่ แ สดงถึ ง แนวโน้ม ทางความคิ ด ของผู เ้ ขี ย นเองโดยเฉพาะ ไม่ อ าจจะ เป็ นนิ ย ามสากลที่ ใ ช้ไ ด้ก ั บ ปรั ช ญาทุ ก รู ป แบบ ปรัช ญาของผู เ้ ขีย นเป็ นปรัช ญา บริ บ ท ซึ่ ง จะนิ ย ามในหัว ข้อ ต่ อ ไป ท่ า นผู ้ อ่ า นท่ า นใดมีแ นวโน้ม ทางปรัช ญาเหมือ น ผู เ้ ขี ย น ก็ อ าจจะนิ ย ามปรัช ญาเหมื อ น หรื อ คล า้ ยกั บ ผู เ้ ขี ย น หากท่ า นใดไม่ เลื่อ มใสในปรัช ญาแบบนี้ ก็ ค งจะนิ ย าม ปรัช ญาไปตามแบบของท่ า น และก็ ค ง ไม่ ย อมรับ นิ ย ามปรัช ญาแบบของผู เ้ ขีย น เป็ น แน่ เมื่อ นิ ย ามต่ า งกัน เป้ าหมายของ การศึ ก ษาปรัช ญาก็ ดี ขอบเขตของวิ ช า ปรัช ญาก็ ดี รวมทัง้ วิธี ส อนและวิธี แ สดง เนื้ อ หาปรัช ญาก็ ค งจะแตกต่ า งกัน ไปโดย อัต โนมัติ

กระบวนทัศ น์ข องผู ค้ ิ ด

สาส์น อิส ลาม

การเสวนา การเสวนามิ ใ ช่ ก ารแบ่ ง รั บ แบ่ ง สู ้ มิใ ช่ ก ารปรองดองออมชอม มิใ ช่ ก าร บวกกัน หารสอง หรื อ การหาจ�ำ นวนกลาง ทางเลขคณิ ต มิใ ช่ ก ารผ่ อ นสัน้ ผ่ อ นยาว หรื อ แบ่ ง กัน กิ น คนละครึ่ ง วิ ธี ก ารเหล่ า นี้ เหมาะสมส�ำ หรับ แก้ป ัญ หาเฉพาะหน้า เท่ า นั้น เมื่อ ส่ ว นได้ส่ ว นเสี ย ร่ ว มกัน ผ่ า น พ้น ไป การแตกแยกแข่ ง ขัน ชิ ง ดี ก ัน ก็ จ ะ กลับ มาดัง เดิ ม หรื อ หนัก กว่ า เดิ ม การแก้ ปัญ หาระยะยาวต้อ งใช้ก ารเสวนา นัน่ คื อ หาจุ ด สนใจร่ ว มกัน เพื่ อ ใช้เ ป็ นพื้ น ฐาน แห่ ง ความเข้า ใจดี ต่ อ กัน จุ ด สนใจร่ ว ม กั น นั้ น ไม่ มี จุ ด ใดเป็ นพื้ นฐานได้ลึ ก ซึ้ ง เท่ า ปรัช ญา ป รั ช ญ า ไ ด้ แ ก่ ก า ร ม อ ง เ ห็ น ปัญ หาและการแสวงหาค� ำ ตอบที่ ไ ม่ อ ยู่ ในขอบข่ า ยของกฏเกณฑ์ แ ละทฤษฎี ของวิ ช าการต่ า งๆ ท่ า นเห็ น ปั ญ หาใด ก็ ต ามที่ไ ม่ อ าจจะตอบได้ใ นขอบข่ า ยของ ก ฏ เ ก ณ ฑ์ แ ล ะ ท ฤ ษ ฎี ข อ ง วิ ช า ใ ด เ ล ย (นอกจากปรัช ญา) ก็ น บั ว่ า ปัญ หาของท่ า น เป็ น ปัญ หาปรัช ญาแล ว้ และการแสวงหา ค�ำ ตอบเพื่ อ แก้ป ัญ หาดัง กล่ า ว ไม่ ว่ า จะ ตอบอย่ า งไร ก็ น ับ เป็ นค� ำ ตอบปรัช ญา ทัง้ สิ้น ขอแต่ ใ ห้ค�ำ ตอบของท่ า นมีเ หตุ ผ ล ปรั ช ญาบริ บ ท สนับ สนุ น พอสมควร หรื อ มิฉ ะนั้น ท่ า นก็ บริ บ ท (context) หมายถึ ง สิ่ ง ต้อ งอธิ บ ายชี้ แ จงตอบข้อ ข้อ งใจได้โ ดย แวดล อ้ มภายนอก อัน ได้แ ก่ สัง คมของ ไม่ ข ดั แย้ง ตัว เอง ให้ส งั เกตว่ า การตอบ ผู ค้ ิ ด และสิ่ ง แวดล อ้ มภายในอัน ได้แ ก่ ลอย ๆ ยัง ไม่ ใ ช่ ป รัช ญา เพราะเหมือ น

67


สาส์น อิส ลาม

เอาก�ำ ปั้น ทุ บ ดิ น จะตอบอย่ า งไรก็ ไ ด้ ไม่ ทุ ก อ ย่ า ง แ ล ะ ทุ ก ร ะ ดั บ ด้ ว ย สั น ติ วิ ธี ต้อ งรับ ผิ ด ชอบ ประสบการณ์ ใ ห้บ ทเรี ย นมามากพอแล ว้ ลั กษณะเด่ นของปรั ช ญาแห่ งการ ว่ า วิ ธี ก ารรุ น แรงรัง แต่ ส ร้า งปัญ หาให้ยุ่ ง ยากมากขึ้น และสร้า งความเดื อ ดร้อ นให้ ประนี ป ระนอม 1. ไม่ ส งั กัด ลัท ธิ ไม่ ส งั กัด ศาสนา ทุ ก ฝ่ ายโดยไม่ จ �ำ เป็ น

68

ไม่ มีเ นื้ อ หาตายตัว มีแ ต่ ท่ า ที ร่ ว มกัน คื อ เคารพความคิ ด เห็ น ของกัน และกัน โดย ส่ ง เสริ ม ให้แ ต่ ล ะคนเป็ นตัว ของตัว เอง มี ป รั ช ญาของตนเอง มี ค วามคิ ด เห็ น ของตนเองโดยเฉพาะ แต่ ท ว่ า ในเวลา เดี ย วกัน ก็ พ ยายามเข้า ใจความคิ ด เห็ น ของผู อ้ ่ื น ด้ว ยใจเป็ นกลาง ให้ค วามเป็ น ธรรมแก่ ทุ ก ฝ่ าย ไม่ ยึ ด ถือ เป็ น อัน ขาดว่ า “ใครคิ ด ไม่ เ หมื อ นฉัน ใช้ไ ม่ ไ ด้” 2. ส่ ง เสริ ม และสนับ สนุ น ความ ร่ ว มมือ ระหว่ า งฝ่ ายต่ า งๆ โดยเรี ย กร้อ ง ให้ทุ ก ฝ่ ายหาทางสายกลางปฏิบ ตั ิ ร่ ว มกัน โดยทุ ก ฝ่ ายจะได้บ า้ งเสี ย บ้า ง ไม่ มี ฝ่ าย ใดเลยมีแ ต่ เ สี ย ไม่ มีไ ด้ และไม่ มีฝ่ ายใด เลยมี แ ต่ ไ ด้ไ ม่ มี เ สี ย การรวมกลุ่ ม เช่ น นี้ เรี ย กได้ว่ า เป็ นการ “สร้า งเอกภาพใน พหุ ภ าพ” (unify in diversity) ซึ่ ง ขัด แย้ง กับ หลัก divide and rule (สร้า ง ความแตกแยกแล ว้ ปกครอง) และ unity and rule (สร้า งความเป็ นหนึ่ ง เดี ย ว แล ว้ ปกครอง) สองวิธี ห ลัง ปกครองง่ า ย ตกลงเร็ ว แต่ ไ ม่ ส่ ง เสริ ม การสร้า งสรรค์ วิ ธี แ รกตกลงกัน ยาก แต่ อุ ด มด้ว ยการ สร้า งสรรค์ เพราะแต่ ล ะแนวคิ ด ย่ อ มมี อะไรดี ๆ 3. พยายามขจั ด ความขัด แย้ง

วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการศึ ก ษาปรั ช ญา เพื่ อ การประนี ป ระนอม 1. เพื่อ รู จ้ กั มองเห็น ปัญ หาซึ่ง ตาม ปกติ เ รามองไม่ เ ห็ น 2. เพื่ อ รู จ้ กั มองหาค�ำ ตอบทุ ก ค�ำ ตอบที่ เ ป็ นไปได้ 3. เพื่ อ รู จ้ ัก เก็ บ ส่ ว นดี จ ากทุ ก ค�ำ ตอบมาเป็ นหลัก ยึ ด เหนี่ ย วของตน

ลั ท ธิ ที่ ส่ ง เ ส ริ ม ป รั ช ญ า แ ห่ ง ก า ร ประนี ป ระนอม ทุ ก ลัท ธิ มี ส่ ว นส่ ง เสริ ม ปรั ช ญา แห่ ง การประนี ป ระนอมทัง้ สิ้ น ไม่ แ ง่ ใ ด ก็ แ ง่ ห นึ่ ง หรื อ หลายแง่ ท่ีน ับ ว่ า ส�ำ คัญ ก็ คื อ 1. ศาสนาทุ ก ศาสนา สอนให้ มี เ มตตาจิ ต ต่ อ กัน เมตตาจิ ต ที่ ส � ำ คัญ เรื่ อ งหนึ่ ง ก็ คื อ เคารพความรู ส้ ึ ก นึ ก คิ ด ของผู อ้ ่ื น และพยายามเข้า ใจผู อ้ ่ื น ด้ว ย ใจเป็ นธรรม 2. ลัท ธิ อ ตั ถิภ าวนิ ย ม สอนให้ก ล า้ เผชิ ญ ปัญ หาด้ว ยตัว เอง ให้รู จ้ กั ประเมิน ค่ า นิ ย มเสี ย ใหม่ และให้รู จ้ ัก ตัด สิ น ใจ ท� ำ การด้ว ยความรั บ ผิ ด ชอบ สรุ ป ลง เป็ น หลัก การของผู ร้ กั การประนี ป ระนอม 3 ประการว่ า See, Judge, Act (ดู , ตัด สิ น , ลงมือ ) 3 . ลั ท ธิ ส ั จ นิ ย ม ใ ห ม่ ส อ น ใ ห้


แสวงหาค� ำ ตอบในปั ญ หาเดี ย วกัน จาก ทุ ก ทาง เพื่ อ ดู ว่ า ค�ำ ตอบแบบใดจะมี น�้ำ หนั ก มากที่ สุ ด ให้ถื อ เป็ นค� ำ ตอบเพื่ อ ปฏิ บ ัติ ไ ปพลางๆ ก่ อ น ระหว่ า งนั้ น ก็ ให้ห าหลัก ฐานเพิ่ ม เติ ม เรื่ อ ยไปเพื่ อ ได้ ค�ำ ตอบที่ ส มบู ร ณ์ ข้ ึน ไปอี ก การแสวงหา ค�ำ ตอบจึ ง ต้อ งกระท�ำ เรื่ อ ยไปอย่ า งไม่ มี วัน จบ

ความร่ ว มมื อ ระหว่ า งศาสนา ความจ�ำ เป็ นส�ำ หรับ ประเทศไทย : การสอนศาสนาในทุ ก ระดับ การศึ ก ษา ตั้ง แต่ ช ั้น อนุ บ าลจนถึ ง อุ ด มศึ ก ษา เป็ น น โ ย บ า ย ห ลั ก ข อ ง ทุ ก ช า ติ ท่ี มี ศ า ส น า ประจ� ำ ชาติ และศาสนาที่ ก � ำ หนดให้ สอนก็ คื อ ศาสนาประจ� ำ ชาติ ข องแต่ ล ะ ชาติ รัฐ บาลใดที่ แ ยกการเมือ งออกจาก การศาสนาอย่ า งเด็ ด ขาดจะไม่ ส นใจใย ดี ใ นเรื่ อ งนี้ ปล่ อ ยให้ก ารสอนศาสนา เป็ นธุ ร ะขององค์ก ารศาสนาที่ จ ะจัด การ สอนนอกหลัก สู ต รตามอัธ ยาศัย แต่ ถ า้ รัฐ บาลใดมีน โยบายที่ จ ะท�ำ ลายศาสนาก็ จะจัด ให้มีก ารสอนศาสนา เพื่อ ประนาม ให้ร ้า ยจนนั ก เรี ย นและนั ก ศึ ก ษารู ้สึ ก เป็ นปฏิ ป ัก ษ์ต่ อ ศาสนา และมองเห็ น ว่ า ศาสนาในทุ ก รู ป ทุ ก แบบเป็ นเรื่ อ งของ ความงมงาย ล า้ สมัย และถ่ ว งความเจริ ญ เดิ ม ทีเ ดี ย ว ชาติ ท่ีมีศ าสนาประจ�ำ ชาติ จ ะ มุ่ง สอนและอบรมพลเมือ งให้เ ลื่อ มใสใน ศาสนาประจ� ำ ชาติ ข องตนเป็ นประเด็ น ส�ำ คัญ ชนกลุ่ ม น้อ ยที่ น ับ ถื อ ศาสนาอื่ น นอกเหนื อ ไปจากศาสนาประจ�ำ ชาติ ก็ จ� ำ ต้อ ง เ รี ย น ศ า ส น า ป ร ะ จ� ำ ช า ติ ต า ม หลัก สู ต ร เพื่ อ สอบให้ผ่ า นหลัก สู ต รไป ได้เ หมือ นคนอื่ น ส่ ว นศาสนาของตนเอง ก็ ห าโอกาสเรี ย นนอกหลัก สู ต รตามแต่

สาส์น อิส ลาม

ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ป รั ช ญ า แ ห่ ง ก า ร ประนี ป ระนอม 1. ไม่ คิ ด ว่ า ความคิ ด ของตนแต่ ผู ้ เดีย วถู ก ต้อ งอย่ า งสมบู ร ณ์ แ ล ว้ จึ ง รับ ฟัง ความคิ ด เห็ น ของผู อ้ ่ื น ด้ว ยความสนใจ จริ ง ๆ เพื่อ ปรับ ปรุ ง ความคิ ด ของตนเอง ให้ส มบู ร ณ์ ย่ิ ง ๆ ขึ้น 2. ไม่ ป ระณามใครเลย หรื อ ฝ่ าย ใดเลยว่ า งมงาย ไร้เ หตุ ผ ล เพราะรู ด้ ี ว่ า ทุ ก คนที่ ใ ช้เ หตุ ผ ลย่ อ มมี เ หตุ ผ ลของ ตนเอง และทุ ก คนที่ ใ ช้ค วามคิ ด ย่ อ มมี ความจริ ง ไม่ ม ากก็ น อ้ ย 3. ถือ ว่ า ความจริ ง เดีย วกัน อาจจะ แสดงออกได้ห ลายรู ป แบบและหลายแง่ หลายมุม จึ ง พยายามมองและพิจ ารณา จากหลายทางเพื่ อ เข้า ใจให้ส มบู ร ณ์ ม าก ขึ้น 4. ไม่ ถื อ ว่ า ปรัช ญาเป็ นเกมส์ฝึ ก สมอง แต่ เ ชื่ อ ว่ า ปรัช ญามีบ ทบาทส�ำ คัญ ยิ่ ง ยวดในการสร้า งความเข้า ใจดี ต่ อ กัน ระหว่ า งบุ ค คล ระหว่ า งกลุ่ ม ระหว่ า ง ชนชาติ ระหว่ า งลัท ธิ และระหว่ า งศาสนา 5. เป็ น ตัว ของตัว เอง มีจุ ด ยืน ของ

ตนเองโดยตระหนัก ดี ว่ า จุ ด ยื น ของตน เป็ นอย่ า งไร ในเวลาเดี ย วกัน ก็ เ คารพ จุ ด ยืน ของผู อ้ ่ืน และส่ ง เสริ ม ให้แ ต่ ล ะคน มีจุ ด ยื น ของตนเอง

69


สาส์น อิส ลาม

70

องค์ ก ารศาสนาของชนกลุ่ ม น้อ ยนั้ น ๆ จะจัด ให้ ต่ อ มาหลัก สู ต รศาสนาในระดับ อุ ด มศึ ก ษาก็ มีแ นวโน้ม ที่ จ ะให้ค วามเป็ น ธรรมมากขึ้น โดยเปลี่ย นแปลงหลัก สู ต ร จากการสอนศาสนาเดีย วมาเป็ น การสอน หลายศาสนา ให้ช่ื อ หลัก สู ต รว่ า “ศาสนา เปรี ย บเที ย บ” โดยเที ย บศั พ ท์ ภ าษา อัง กฤษว่ า Compartive Religion แต่ การสอนก็ ม กั จะล�ำ เอี ย งอย่ า งเห็ น ได้ช ัด คื อ ตัว ผู ส้ อนจะต้อ งนั บ ถื อ ศาสนาของ ชนกลุ่ ม ใหญ่ แ ละการสอนจะเน้น และ ถื อ เอาศาสนาของชนกลุ่ ม ใหญ่ เ ป็ นหลัก ศาสนาอื่ น ๆ เมื่ อ เอามาเปรี ย บเที ย บ แล ว้ จะต้อ งสรุ ป ได้ว่ า ด้อ ยกว่ า ศาสนา ของชนกลุ่ ม ใหญ่ ใ นทุ ก เรื่ อ ง ถ้า บัง เอิ ญ มี เ รื่ อ งใดที่ เ ด่ น กว่ า โดยไม่ มี ท างเลี่ ย ง เช่ น ในเรื่ อ งจ�ำ นวนของผู น้ ับ ถือ ก็ จ ะมี ค� ำ ชี้ แ จงจนเห็ น ว่ า ไม่ ใ ช่ เ ป็ นเรื่ อ งที่ ต อ้ ง น้อ ยหน้า แต่ ป ระการใด ต่ า งฝ่ ายต่ า งก็ ท�ำ กัน ย่ า งเป็ นล�ำ่ เป็ นสัน หนัง สื อ ต� ำ รา ศาสนาเปรี ย บเที ย บทัง้ หลายก็ เ ป็ นไปใน ท�ำ นองนี้ คื อ แล ว้ แต่ ว่ า ผู เ้ ขี ย นเลื่ อ มใส ในศาสนาใดก็ จ ะให้ค วามเด่ น แก่ ศ าสนา ของตน การสอนศาสนาแบบนี้ จึ ง ยัง ผล ให้เ กิ ด การแตกแยกรหว่ า งศาสนายิ่ง กว่ า จะส่ ง เสริ ม ให้เ กิ ด ความเข้า ใจดี ต่ อ กัน ระ หว่ า งศาสนิ ก ชนของศาสนาต่ า งๆ ต่ อมาได้มี น ั ก วิ ช าการที่ เ ห็ น ว่ า วิช าการควรแยกตัว ออกจากศรัท ธา นัก วิ ช าการในฐานะนัก วิ ช าการควรค้น คว้า วิ จ ัย เพื่ อ รู ้ โดยเก็ บ ความรู ้สึ ก ศรั ท ธา ประจ� ำ ตัว ไว้เ บื้ อ งหลัง หรื อ กล่ า วตาม

ส�ำ นวนของนัก ปรากฎการณ์ วิท ยาว่ า “ใส่ วงเล็ บ ไว้” (bracketing) ผู ร้ ิ เ ริ่ ม เผย แพร่ วิธี ก ารนี้ อ ย่ า งเป็ นทางการได้แ ก่ น ัก ปรัช ญาชาวเยอรมัน ชื่ อ เอ็ ด มุ น ด์ ฮุ ส เซิ ร ์ ล (Edmund Husserl 1859 1938) วิธี ก ารนี้ ไ ด้ร บั การนิ ย มอย่ า งกว้า ง ขวางในหมู่ น ัก วิช าการส�ำ หรับ การศึ ก ษา ปรั ช ญาและศาสนา มี ห นั ง สื อ ว่ า ด้ว ย ศาสนาพิม พ์อ อกผยแพร่ แ ล ว้ จ�ำ นวนมาก โดยด�ำ เนิ น เรื่ อ งตามวิ ธี ท างของปรากฎ การณ์ วิท ยาของศาสนา แต่ ผ ลมัก จะเป็ น ไปในท�ำ นองว่ า ผู เ้ รี ย นกลายเป็ นคนไร้ ศาสนา ไม่ เ ชื่ อ และไม่ น ับ ถื อ ศาสนาใด เลย เพราะฝึ กวางตัว เป็ น กลางอย่ า งเลย เถิด เสี ย จนเคยชิ น ประเทศไทยมี พ ระพุ ท ธศาสนา เป็ นศาสนาประจ�ำ ชาติ ต ามรัฐ ธรรมนู ญ แต่ ท ว่ า ในทางปฏิ บ ัติ น ั้น ศาสนาทั้ง 3 คื อ พระพุ ท ธศาสนา ศาสนาอิ ส ลาม และศาสนาคริ ส ต์ ล ว้ นแต่ เ ป็ นศาสนา ประจ� ำ ชาติ อ ย่ างเสมอหน้า กั น ส่ ว น ศาสนาอื่ น ๆ นอกเหนื อ ไปจาก 3 ศาสนา นี้ ก็ มิ ไ ด้ถู ก เพิ ก เฉย แต่ ท ว่ า ได้ร ับ ความ สนใจและให้ค วามสนับ สนุ น ตามความ ส�ำ คัญ ของจ�ำ นวนสมาชิ ก ทัง้ นี้ ก็ เ พราะ ว่ า องค์พ ระประมุข ของชาติ ท รงประกาศ เป็ นศาสนู ป ถัม ภกของทุ ก ศาสนาที่ มี ค น นับ ถื อ ในประเทศไทย แลรัฐ บาลทุ ก ชุ ด ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้า อยู่ ห ัว ก็ ไ ด้ ตอบสนองพระราชประสงค์น้ ี ด ว้ ยดีเ สมอ มา การสอนศาสนาในระดับ อุ ด มศึ ก ษา แต่ เ ดิ ม มา จึ ง ยัง มิไ ด้ต อบสนองพระราช


ที่ ผู น้ ับ ถื อ ศาสนาต่ า งๆ จะตระหนัก ถึ ง ภัย ดัง กล่ า วอัน ท�ำ ให้ผู ม้ ี ศ รัท ธาต้อ งเสี ย สละอย่ า งไม่ ค วร เมื่อ ตระหนัก แล ว้ ก็ ค วร ลงมือ ท�ำ อะไรบางอย่ า งเพื่อ สะกัด กั้น ภัย เช่ น นั้น อย่ า งมีป ระสิ ท ธิ ภ าพ การกระท�ำ ที่ส �ำ คัญ อย่ า งยิ่ ง ก็ คื อ หัน หน้า เข้า ปรึ ก ษา กัน ท�ำ ความเข้า ใจต่ อ กัน สร้า งมิต รภาพ ต่ อ กัน ด้ว ยเมตตาธรรมและสุ จ ริ ต ธรรม จนสามารถร่ ว มมื อ กัน ได้อ ย่ า งแท้จ ริ ง ทัง้ ในด้า นป้ องกัน และในด้า นสร้า งสรรค์ ข้อ เท็ จ จริ ง และอุ ป สรรค : ขณะ นี้ มี ข บวนการหลายขบวนการเกิ ด ขึ้ น ที่ พยายามจะสร้า งบรรยากาศแห่ ง ความ ร่ ว มมื อ ระหว่ า งศาสนาและระหว่ า งลัท ธิ ต่ า งๆ อย่ า งเช่ น ในจุล งกรณ์ ม หาวิท ยาลัย ก็ มี ธ รรมสถานซึ่ ง นอกจากจะเป็ นสถาน ที่ ส �ำ หรับ ให้ทุ ก ศาสนามาบ�ำ เพ็ ญ ศาสน กิ จ ไ ด้อ ย่ า ง เ ส ม อ ห น้ า กั น แ ล ้ว ยั ง มี คณะกรรมการซึ่ ง ประกอบด้ว ยผู น้ ับ ถื อ ศ า ส น า ต่ า ง ๆ มี เ ป้ า ห ม า ย ที่ จ ะ ส ร้า ง บรรยากาศแห่ ง ความร่ ว มมื อ ระหว่ า ง ศาสนาต่ า งๆ ทางองค์ก ารศาสนาคริ ส ต์ ก็ มี ค ณะกรรมการกลางส�ำ หรับ หาทาง สนับ สนุ น ความร่ ว มมื อ ระหว่ า งศาสนา ทางพุ ท ธศาสนาก็ มี อ งค์ ก าร พ.ส.ล. (พุ ท ธศาสนิ ก สัม พัน ธ์แ ห่ ง โลก) ซึ่ ง มีเ ป้ า หมายสร้า งความสัม พัน ธ์ ร ะหว่ า งนิ ก าย ต่ า งในพุท ธศาสนาและติ ด ต่ อ สร้า งความ สัม พัน ธ์ อ ั น ดี ก ั บ ศาสนาอื่ น ๆ ในนาม ของชาวพุ ท ธทัง้ มวล จึ ง อาจจะกล่ า วได้ ว่ า ในขณะนี้ มี บ รรยากาศที่ ส่ อ ให้เ ห็ น ว่ า หลายฝ่ ายปรารถนาและส่ ง เสริ ม ความ

สาส์น อิส ลาม

ประสงค์ แ ละนโยบายของรัฐ บาลเท่ า ที่ ควร เป้ าหมายของเราก็ คื อ ท�ำ อย่ า งไร จึ ง จะให้ผู ้เ รี ย นที่ น ั บ ถื อ ศาสนาต่ างๆ เรี ย นเรื่ อ งศาสนาร่ ว มกั น ได้ โดยที่ ผู ้ นับ ถื อ แต่ ล ะศาสนาสามารถเข้า ใจและ มี ศ รัท ธาต่ า ศาสนาของตนเองอย่ า งลึ ก ซึ้ งมากขึ้ น แต่ ท ว่ า ในเวลาเดี ย วกั น ก็ สามารถเคารพศรัท ธาของศาสนาอื่ น ได้ อย่ า งจริ ง ใจและอาจจะน� ำ บางส่ ว นมา เสริ ม ศรัท ธาในศาสนาของตนเองย่ า ง ลึก ซึ้ ง มากขึ้น ความจ�ำ เป็ นส�ำ หรับ มนุ ษยชาติ : ประวัติ ศ าสตร์ไ ด้ส อนเราเพีย งพอแล ว้ ว่ า สงครามระหว่ า งศาสนา (เช่ น สงครามครู เสด) เป็ นสงครามที่ โ หดเหี้ ย มร้า ยกาจ ยิ่ ง กว่ า สงครามธรรมดา เพราะต่ า งฝ่ าย ต่ า งมุ่ ง ร้า ยต่ อ กัน ด้ว ยศรัท ธา สงคราม ระหว่ า งนิ ก ายของศาสนาเดี ย วกัน (เช่ น สงคราม 30 ปี ) ร้า ยกาจยิ่ ง กว่ า สงคราม ระหว่ า งศาสนา เพราะคู่ สงครามมุ่ ง ร้า ยต่ อ กัน ด้ว ยศรัท ธาเดี ย วกัน คงไม่ มี ใครอยากให้ส งครามเช่ น เดี ย วกั น นั้ น เกิ ด ขึ้ น อี ก และก็ ค งไม่ มี ใ ครชอบเห็ น ผู ้อ ้า ง ศ า ส น า บั ง ห น้ า เ พื่ อ ส ร้า ง ค ว า ม แตกแยกระหว่ า งมนุ ษ ย์ไ ม่ ว่ า ในรู ป แบบ ใดทั้ง สิ้ น เนื่ อ งจากศาสนามี ศ รัท ธาอัน ละเอี ย ดอ่ อ นเป็ นพื้ น ฐาน และอาจจะ มี ผู ฉ้ ลาดเหนื อ เมฆน� ำ เอามาใช้บ ัง หน้า เพื่ อ เรี ย กร้อ งความเสี ย สละอย่ า งสุ ด ขี ด จากผู ม้ ี ศ รั ท ธาเพื่ อ ประโยชน์ ส่ ว นตั ว หรื อ ประโยชน์ข องคนกลุ่ ม หนึ่ ง จึ ง ควร

71


สาส์น อิส ลาม

72

ร่ ว มมื อ ระหว่ า งศาสนา แต่ ท ว่ า ความ ร่ ว มมือ ก็ ย งั มิไ ด้เ กิ ด ขึ้น อย่ า งจริ ง จัง ใคร อยากร่ ว มมื อ ก็ ร่ ว มมื อ กัน ไป โครอยาก รัง เกี ย จก็ ร ัง เกี ย จกัน ไป ใครสร้า งความ แตกแยกก็ ส ร้า งกัน ไป ชาวบ้า นธรรมดา ในทุ ก ศาสนาก็ ย งั คงนับ ถื อ ไสยศาสตร์ท่ี แอบแฝงอยู่ ใ นศาสนาต่ า งๆ ต่ อ ไป ซึ่ ง ผู ร้ ู พ้ ากัน ประณามว่ า เป็ นเดรัจ ฉานวิ ช า แต่ ก็ ไ ม่ มี ใ ครสามารถขจั ด ให้ห มดไป จากศาสนาของตน ความร่ ว มมือ ระหว่ า ง ศาสนาจึ ง ดู เ หมือ นว่ า ท�ำ กัน อย่ า งผิ ว เผิ น เพีย งเพื่อ แสดงมารยาทต่ อ กัน เท่ า นั้น ทางเป็ นไปได้ : แนวทางที่ จ ะ ให้ศ าสนาต่ า งๆ และนิ ก ายต่ า งๆ ของ ศาสนาเดี ย วกัน สามารถร่ ว มมื อ กัน ได้ อย่ า งจริ ง จัง และจริ ง ใจนั้น ผู เ้ ขีย นคิ ด ว่ า มี ส่ิ ง หนึ่ ง ที่ ข าดเสี ย มิ ไ ด้แ ละจะต้อ งเป็ น พื้น ฐานของกิ จ กรรมอื่ น ๆ ทุ ก อย่ า ง สิ่ ง นั้น ก็ คื อ ปรัช ญาอัน เหมาะสมที่ จ ะท�ำ ให้ ทุ ก ฝ่ ายเคารพศรั ท ธาของฝ่ ายอื่ น ได้ อย่ า งจริ ง ใจ และปรัช ญานั้น จะต้อ งเป็ น ที่ ย อมรับ ร่ ว มกัน ของทุ ก ฝ่ าย ปรัช ญาดัง กล่ า วจะต้อ งมี ล กั ษณะไม่ ข ดั แย้ง กับ ค� ำ สอนหลัก ของศาสนาหรื อ ลัท ธิ ใ ดเลย ยิ่ ง กว่ า นั้น ควรจะเสริ ม สร้า งเสริ ม แต่ ง ได้ทุ ก ศาสนาและทุ ก ลัท ธิ ท่ี เ กี่ ย วข้อ ง ปรัช ญา ที่ จ ะรั บ ภาระดัง กล่ า วได้ก็ เ ห็ น จะมี แ ต่ ปรัช ญาแห่ ง การประนี ป ระนอมนี่ แ หละ ซึ่ง อาจจะเรี ย กชื่ อ เป็ น อย่ า งอื่น ไปอย่ า งไร ก็ ไ ด้ แนวทางแห่ ง การประนี ป ระนอม เป็ น อย่ า งไรได้ช้ ี แ จงไว้แ ล ว้ ข้า งต้น เรื่ อ ง ที่ จ ะ ต้อ ง ชี้ แ จ ง เ จ า ะ จ ง ต่ อ ไ ป ก็ คื อ ว่ า

ค� ำ ส อ น เ รื่ อ ง ใ ด ข อ ง ป รั ช ญ า แ ห่ ง ก า ร ประนี ป ระนอมจะเกี่ ย วข้อ งและเป็ นพื้ น ฐานแห่ ง การร่ ว มมื อ ทางศาสนาโดยตรง ซึ่ ง ผู เ้ ขีย นจะขอชี้ แ จงทัน ที ด งั ต่ อ ไปนี้ พื้ นฐานปรั ช ญาแห่ ง ความร่ ว มมื อ ระหว่ า งศาสนา ผู ท้ ่ี ต ั้ง ใจจะแสวงหาทางร่ ว มมื อ ระหว่ า งศาสนาให้มีป ระสิท ธิ ภ าพ จ�ำ เป็ น จะต้อ งยอมรั บ ความจริ ง ขั้น มู ล บทว่ า ภาษาที่เ ราใช้ก นั อยู่ ทุ ก วัน นี้ มีค วามหมาย หลายระดั บ พุ ท ธทาสภิ ก ขุ ท่ า นแยก ภาษาคนกับ ภาษาธรรม ส่ ว นนัก ปรัช ญา ภาษาก็ แ ยกความหมายระดั บ ผิ ว พื้ น (surface meaning) กับ ความหมาย ระดับ ลึ ก (deep meaning) ปรัช ญา แห่ ง การประนี ป ระนอมของผู เ้ ขีย นขอรับ เอาการแบ่ ง 2 แบบนี้ ม าประนี ป ระนอม กัน ได้ค วามหมายในการใช้ภ าษาเป็ น 4 ระดับ ภาษาคนมีไ ด้ 2 ระดับ คื อ ระดับ ผิ ว พื้น กับ ระดับ ลึก ส่ ว นภาษาธรรมมีไ ด้ 4 ระดับ คื อ นอกจาก 2 ระดับ แรกยัง มี ระดับ ลึ ก ที่ สุ ด (deepest meaning) และระดับ ลึก กว่ า (deeper meaning) จะขอชี้ แ จงแต่ ล ะระดับ ดัง ต่ อ ไปนี้ 1) ระดับ ผิ ว พื้ น ได้แ ก่ ความ หมายที่ เ ข้า ใจกั น ในระดับ ชาวบ้า น มี อารมณ์ แ ละรสนิ ย ม ส่ ว นตัว เข้า แทรกมาก และมัก จะ มี ป ัญ หามากจากอารมณ์ แ ละรสนิ ย มดัง กล่ า ว ถึ ง กับ มี ก ารเข่ น ฆ่ า กัน ตายและ บาดเจ็ บ มามากต่ อ มากแล ว้ โดยไม่ ต อ้ ง


ว่ า เป็ นสิ่ ง วิ เ ศษสุ ด น่ า รู แ้ ละมี ป ระโยชน์ เ ห ลื อ เ กิ น ท่ า น จึ ง ป ร า ร ถ น า จ ะ บ อ ก กล่ า วให้พ วกเราได้รู เ้ รื่ อ ง หากท่ า นจะ ตรั ส สอนจากยอดเขาพวกเราก็ ค งจะ ไม่ ไ ด้ยิ น เสี ย งของท่ า น ท่ า นจึ ง ต้อ งเสี ย สละเดิ น ลงมาจนถึ ง เชิ ง เขาจึ ง สอนพวก เราได้ ศาสดาองค์ ใ ดลงมาเชิ ง เขาด้า น ใดก็ ย่ อ มจะต้อ งสอนสัง่ ตามสภาพของ เชิ ง เขาด้า นนั้น ๆ แหละนัน่ คื อ การใช้ ภาษาสมมุ ติ ส ัจ จะอธิ บ ายปรมัต ถสัจ จะ ของศาสนาทัง้ หลาย พุท ธทาสเรี ย กภาษา ดัง กล่ า วว่ า ภาษาธรรม เราต้อ งมองให้ ทะลุ เ ปลื อ กนอกแห่ ง ภาษาคนจึ ง จะเข้า ถึ ง แก่ น อัน เป็ นความหมายแท้ข องภาษา ธรรมได้บ า้ ง 4) ระดับ ลึ ก กว่ า เราที่ ฟ ัง ค� ำ สัง่ สอนของศาสดา หากเราเข้า ใจตามความ ต้อ งการของอารมณ์ แ ละรสนิ ย มของเรา เอง เราก็ จ ะได้เ พี ย งความหมายผิ ว พื้ น ของธรรมะ แหละนี่ คื อ ที่ม าของเดรัจ ฉาน วิ ช าซึ่ ง พบแทรกอยู่ ใ นทุ ก ศาสนา ผู ใ้ ด เข้า ใจธรรมะตามหลัก ตรรกวิ ท ยาและ ตามหลัก วิ ช าการต่ า งๆ ย่ อ มได้ค วาม หมายระดับ ลึก เราพบคนที่ “มี ค วามรู ้ ท่ ว มหัว เอาตัว ไม่ ร อด” อยู่ ม ากมาย เขา รู ธ้ รรมะทุ ก ข้อ อธิ บ ายได้เ ป็ น คุ ง้ เป็ น แคว แต่ ไ ม่ ป ฏิบ ตั ิ คนประเภทนี้ ก็ พ บได้ชุ ก ชุ ม ในทุ ก ศาสนา เช่ น กัน ศาสนิ ก ชนที่ เ ข้า ถึง ความหมายลึ ก ที่ สุ ด ของศาสนาคงจะมี จ�ำ นวนน้อ ยเหลือ เกิ น มีอี ก จ�ำ นวนหนึ่ ง ที่ พ ยายามจะเข้า ถึ ง ธรรมะให้ลึ ก ที่ สุ ด เท่ า ที่จ ะสามารถท�ำ ได้ โดยหมัน่ ศึ ก ษาทัง้

สาส์น อิส ลาม

นั บ กรณี ที่ เ พี ย งแต่ ผิ ด ใจและขัด ข้อ ง ห ม อ ง ใ จ กั น ไ ป ซึ่ ง มี จ � ำ น ว น เ ห ลื อ นั บ ตัว อย่ า ง เช่ น ค�ำ ว่ า “งู ” ผู ช้ อบกิ น งู ผู ้ เกลีย ดงู หมองู หมอรัก ษางู คนเลี้ย งงู ประจ�ำ สวนสัต ว์ ฯลฯ ย่ อ มมีค วามรู ส้ ึ ก เกี่ ย วกัน งู ต่ า งๆ กัน และผลประโยชน์ ก็ ม ัก จะติ ด ตามความรู ส้ ึ ก อย่ า งใกล ช้ ิ ด ด้ว ย 2) ระดับ ลึ ก ความหมายระดับ นี้ ได้แ ก่ ค วามเข้า ใจทางวิ ช าการ ซึ่ ง นัก วิ ช าการมัก จะเข้า ใจตรงกัน แต่ ค รั้น มี ผลประโยชน์ เ ข้า เกี่ ย วข้อ ง ความหมาย ระดับ ผิว พื้น ก็ ม กั จะแซกเข้า มาท�ำ ให้เ สีย งานเสี ย การมามากต่ อ มากแล ว้ 3) ระดับ ลึก ที่สุ ด เป็ น ความหมาย ในความเข้า ใจของศาสนาในเรื่ อ งที่เ กี่ ย ว กับ ศาสนาและศี ล ธรรม ศาสนาท่ า นเข้า ถึ ง ด้ว ยวิ ธี เ ฉพาะตัว ของท่ า น ท่ า นเข้า ถึง แล ว้ ก็ ป รารถนาเผื่ อ แผ่ แ ก่ ม วลมนุ ษ ย์ แต่ ท ว่ า ธรรมะที่ท่ า นเข้า ถึง นัน้ เป็ น ธรรมะ ในระดั บ ปรมัต ถสั จ จะ มนุ ษย์ เ ราไม่ เคยประดิ ษ ฐ์ ภ าษาไว้อ ธิ บ ายปรมัต ถ สัจ จะ เรามี แ ต่ ภ าษาส�ำ หรับ ใช้ใ นระดับ สมมุ ติ ส จั จะทัง้ สิ้ น จึ ง เหมาะสมส�ำ หรับ ชี้ แ จงเรื่ อ งราวที่ มี ป ระสบการณ์ ไ ด้ด ว้ ย ประสบการณ์ ท างผัส สะและติ ด ต่ อ ด้ว ย เหตุ ผ ล ซึ่ ง มี มู ล บทเป็ นพื้ น ฐานเท่ า นั้น ศาสดาท่ า นจ� ำ เป็ นต้อ งใช้ภ าษาสมมุ ติ สัจ จะเพื่ อ ชี้ แ จงปรมัต ถสัจ จะที่ ท่ า นเข้า ถึง เพื่อ ให้เ ข้า ใจง่ า ยจะขอเปรี ย บปรมัต ถสัจ จะเหมือ นกับ ยอดเขาซึ่ง ศาสดา ท่ า น ได้ไ ปเห็ น มาด้ว ยตัว ท่ า นเอง ท่ า นพบ

73


สาส์น อิส ลาม

ด้า นปริ ย ตั ิ แ ละปฏิบ ตั ิ พวกนี้ ก �ำ ลัง มุ่ง เข้า สู่ ค วามหมายที่ ลึ ก ที่ สุ ด แต่ ย ัง ไม่ ถึ ง จึ ง ได้ค วามหมายที่ เ รี ย กได้ว่ า ระดับ ลึก กว่ า อนึ่ ง ผู ท้ ่ี ศึ ก ษาค�ำ สอนของศาสดาหลาย ท่ า น โดยเชื่ อ ว่ า ศาสดาเหล่ า นั้น เข้า ถึ ง ปรมัต ถสัจ จะเดี ย วกัน แต่ จ � ำ เป็ นต้อ ง อธิ บ ายสัง่ สอนด้ว ยภาษาสมมุ ติ ส ัจ จะ ของแต่ ล ะท้อ งถิ่ น จึ ง พยายามจะมอง ให้ท ะลุ เ ปลือ กของแต่ ล ะศาสนาเพื่ อ เข้า ถึง แก่ น ร่ ว มของศาสนาต่ า งๆ โดยถือ ว่ า นัน่ คื อ ปรมัต ถสัจ จะร่ ว มของศาสดาทั้ง หลาย ผู เ้ ขีย นเชื่ อ ว่ า ส่ ว นที่ เ ป็ นแก่ น ที่ ไ ด้ จากการศึ ก ษาในท�ำ นองนี้ แหละ เรี ย ก ได้ว่ า ความหมายระดับ ลึ ก กว่ า เช่ น กั น แหละนี่ คื อ สารัต ถะแห่ ง ปรัช ญาแห่ ง การ ประนี ป ระนอมที่ ค วรจะใช้เ ป็ นพื้ น ฐาน ส�ำ หรับ การร่ ว มมื อ ระหว่ า งศาสนาให้มี ประสิ ท ธิ ภ าพอย่ า งแท้จ ริ ง และจริ ง ใจ ต่ อ กัน

74

แ น ว ท า ง ป ฏิ บั ติ ร่ ว ม กั น ร ะ ห ว่ า ง ศาสนาต่ า งๆ แนวทางปฏิ บ ัติ ท่ี ผู เ้ ขี ย นเห็ น ว่ า ควรรี บ ปฏิบ ตั ิ เ พื่อ บรรลุ เ ป้ าหมายข้า งต้น มีด งั ต่ อ ไปนี้ 1. แต่ ล ะฝ่ ายจะต้อ งเริ่ ม อบรม สมาชิ ก ในศาสนาของตนให้ต ระหนั ก ในปรัช ญาแห่ ง การประนี ป ระนอม โดย เฉพาะอย่ า งยิ่ ง ในส่ ว นที่ จ ะเป็ นพื้ น ฐาน แห่ ง ความร่ ว มมือ ระหว่ า งศาสนาได้อ ย่ า ง จริ ง ใจต่ อ กัน 2. ควรมีส ถาบัน ค้น คว้า วิจ ยั หาทัง้

ค�ำ สอนและแนวปฏิบ ตั ิ เ พื่อ ความร่ ว มมือ อย่ า งมีป ระสิ ท ธิ ภ าพ 3 . ป ร ะ มุ ข ร ะ ดั บ ช า ติ ข อ ง ทุ ก ศาสนาควรสัม มนากัน สัก ปี ล ะครั้ง โดย มี ก ารประชาสัม พัน ธ์ พ อสมควร เพื่ อ เป็ นตั ว อย่ า งและก� ำ ลัง ใจแก่ ศ าสนิ ก ช นทัง้ หลาย 4. มี ส ั ม มนาบ่ อ ย ๆ ร่ วมกั น ระหว่ า งบุ ค คลชั้น หัว หน้า และผู ร้ ั บ ผิ ด ชอบหน่ ว ยงานของศาสนาต่ า งๆ เพื่ อ ปฏิ บ ตั ิ ร่ ว มกัน ในกิ จ กรรมต่ า งๆ 5. เลิก การโจมตี ก ัน เสี ย ดสี ก ัน และแบ่ ง สมาชิ ก ัน อย่ า งเด็ ด ขาด ทุ ก ฝ่ าย จะสนับ สนุ น ให้ทุ ก คนมีศ าสนาและชื่น ชม ในการนับ ถือ ศาสนาของทุ ก คน ไม่ ว่ า เขา ผู น้ ั้น จะสมัค รใจนับ ถื อ ศาสนาใด โดย ส่ ง เสริ ม ให้แ ต่ ละคนเลื อ กการปฏิ บ ัติ ศาสนกิ จ ตามความสมัค รใจของตนอย่ า ง สมบู ร ณ์ และอาจจะตัด สิ น ใจเปลี่ย นได้ อย่ า งสะดวกใจ เมื่อ ตนเองรู ส้ ึก ตระหนัก แน่ ว่ า ควรเปลี่ย น 6. ส่ ง เสริ ม สนับ สนุ น การพบปะ และกิ จ กรรมร่ ว มของเยาวชนระหว่ า ง ศาสนา เช่ น ชมรม ศาสนศึ ก ษา ชมรมศาสนสัม พัน ธ์ ธรรมสถาน ฯลฯ การแข่ ง ขัน กี ฬ าระหว่ า ง ศาสนาไม่ ค วรกระท�ำ อย่ า งยิ่ ง แต่ ค วรให้ เยาวชนของศาสนาต่ า งๆ มารวมกลุ่ ม กัน แล ว้ แบ่ ง สี ใ ห้แ ต่ ล ะสี มี ส มาชิ ก ของ ศาสนาต่ า งๆ คลุ ก เคล า้ กัน แล ว้ จึ ง เล่ น กี ฬ าระหว่ า งสี หรื อ เล่ น เกมที่ส่ ง เสริ ม การ รู จ้ กั กัน และความเข้า ใจกัน


บรรณานุ ก รม - กี ร ติ บุ ญ เจื อ ปรัช ญาอิ น เดี ย ส�ำ หรับ นั ก ป รั ช ญ า ค ริ ส ต์ ร า ย ง า น ผ ล ก า ร วิ จ ั ย ทุ น รัช ดาภิ เ ษกสมโภช 2521 - กี ร ติ บุ ญ เจื อ ปรัช ญาส�ำ หรับ ผู เ้ ริ่ ม เรี ย น กรุ ง เทพฯ : ไทยวัฒ นาพานิ ช , 2519 - กี ร ติ บุ ญ เจื อ จริ ย ศาสตร์ส �ำ หรับ ผู ้ เริ่ ม เรี ย น กรุ ง เทพฯ : ไทยวัฒ นาพานิ ช , 2519 - กี ร ติ บุ ญ เจื อ ปรัช ญาลัท ธิ อ ตั ถิภ าว นิ ย ม กรุ ง เทพฯ : ไทยวัฒ นาพานิ ช , 2522 - กี ร ติ บุ ญ เจื อ สารานุ ก รมปรัช ญา กรุ ง เทพฯ : ไทยวัฒ นาพานิ ช , 2522 - กี ร ติ บุ ญ เจื อ แก่ น ปรัช ญาปัจ จุ บ นั กรุ ง เทพฯ : ไทยวัฒ นาพานิ ช , 2522 - กี ร ติ บุ ญ เจื อ และคณะ วิว ฒ ั นาการ ศาสนา เอกสารประกอบการสอนในคณะอัก ษร ศาสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิท ยาลัย

สาส์น อิส ลาม

75


76

สาส์น อิส ลาม


มุ ม มองปรั ช ญากั บ ความสมานฉั น ท์ เ ชิ ง พหุวั ฒ นธรรม เอนก สุ ว รรณบัณ ฑิ ต , ปร.ด.ปรัช ญาและจริ ย ศาสตร์ หลัก สู ต รปรัช ญาดุ ษ ฎี บ ณ ั ฑิ ต สาขาปรัช ญาและจริ ย ศาสตร์ บัณ ฑิ ต วิท ยาลัย มหาวิท ยาลัย ราชภัฎ สวนสุ น ัน ทา

บทคั ด ย่ อ บทความนี้ มี ว ัต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ส่ ง เสริ ม สมานฉั น ท์ท่ี ป ฏิ บ ัติ ไ ด้จ ริ ง ด้ว ยการ ปฏิ บ ตั ิ พ หุ ว ฒ ั นธรรม โดยปู พ้ ืน ความเข้า ในด้า นอารยธรรม วัฒ นธรรม ความแปลก แยกแตกต่ า งจนน�ำ ไปสู่ ค วามขัด แย้ง อัน เป็ น ปัญ หาของโลก การตี ค วามต่ อ ความเป็ น พหุ ว ฒ ั นธรรมโดยเน้น ผู ค้ นกับ วิ ถี ชี วิ ต ของคนที่ อ ยู่ บ นวัฒ นธรรมและอารยธรรม ร่ ว มกัน ในด้า นศาสนาและความเชื่ อ เพื่ อ ชวนให้คิ ด ด้ว ยปัญ ญาว่ า ตนอยู่ ใ นกลุ่ ม วัฒ นธรรมใด ควรปฏิ บ ตั ิ ต นอย่ า งไรเพื่อ เป็ นสมาชิ ก ที่ ดี ข องกลุ่ ม วัฒ นธรรมของตน เป็ นส่ ว นหนึ่ ง ในการธ�ำ รงอารยธรรมของตนและเป็ นพลเมื อ งที่ ดี ข องประเทศที่ ต น อยู่ อ าศัย อี ก ด้ว ย จากนั้น เสนอแนวทางสมานฉัน ท์ท่ี ป ฏิ บ ตั ิ ไ ด้จ ริ ง และเครื่ อ งมือ ทาง ปรัช ญาหลัง นวยุ ค เพื่อ เป็ นแนวทางให้ทุ ก ฝ่ ายอยู่ ร่ ว มกัน อย่ า งสัน ติ ค�ำ ส�ำ คัญ : สมานฉัน ท์ท่ี ป ฏิ บ ตั ิ ไ ด้จ ริ ง , การปฏิ บ ตั ิ พ หุ ว ฒ ั นธรรม, วิถีชี วิต

สาส์น อิส ลาม

77


Academic article Capacities for Achieving peaceful Co-Existence among religions and sects Abstract The objective of the article was to promote active reconciliation with multicultural practice. By grounding with the civilization, culture and the alienation that led to the conflict as the world’s problems. The interpretation of multiculturality, focusing on the people and a way of life of the people who live together in the composed cultural and civilized society of religion and belief. Leading the readers to think with intelligence that which culture they lived with, and how to be good members of their cultural group, as part of their civilization, and maintain as good citizens of their country of residence. Then, offering the active reconciliation with postmodern tools to guide all parties to live together in peace.

สาส์น อิส ลาม

of life

78

Key Words : active reconciliation, multicultural practice, way


บทน�ำ

สาส์น อิส ลาม

กระแสพหุ ว ัฒ นธรรมได้ร ับ การ ยกเป็ นวาระของโลกสมัย ปัจ จุ บ นั เมื่ อ เป็ นวาระที่ ไ ด้ร ับ การส่ ง เสริ ม จากทุ ก ๆ ประเทศ ในระดั บ อุ ด มคติ แ ล ว้ โลก ควรเดิ น หน้า ต่ อ ไปสู่ ค วามสงบสุ ข แต่ ในความเป็ นจริ ง มนุ ษย์ ก็ ย ัง รบราฆ่ า ฟั น กัน ด้ว ยเรื่ อ งการแบ่ ง แยกทางลัท ธิ ศาสนา เชื้ อ ชาติ สี ผิ ว แนวคิ ด ทางการ เมือ ง ระดับ ความก้า วหน้า ทางเศรษฐกิ จ ภาวะสัง คมและวัฒ นธรรม ด้ว ยมอง เห็ น ความแตกต่ า งเป็ นความแปลกแยก มี อ �ำ นาจน� ำ ที่ ก ดขี่ ฝ่ ายอื่ น มี ก ารเอารัด เอาเปรี ย บกัน จึ ง ไม่ อ ดทนต่ อ กัน ไม่ เปิ ดใจต่ อ กั น เกิ ด ทิ ฐิ ยึ ด มัน่ ถื อ มัน่ ใน ความคิ ด ของตนและฝ่ ายตนว่ า ถู ก ฝ่ าย เดี ย ว เกิ ด เป็ นสัง คมที่ แ ปลกแยก แยก ส่ ว น คนในสัง คมเดี ย วกั น หรื อ คนละ สัง คมก็ มี ค วามคิ ด เห็ น แตกต่ า งกัน คน แตกแยกกัน คนเห็น ไม่ ต รงกัน ก็ ถ กเถีย ง กัน บนประสบการณ์ ส่ ว นตัว ยิ่ ง มี ค วาม ก้า วหน้า ของผ่ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศ ที่ ร วดเร็ ว ก็ ย่ิ ง มี ก ารส่ ง ต่ อ ข่ า วสารใน ทุ ก ๆ ด้า น โดยเฉพาะข่ า วร้า ยที่ ข ยายวง กว้า งจนกลายเป็ น บรรยากาศเมฆหมอก แห่ ง ความขมุก ขมัว ที่ก ระจายตัว ไปอย่ า ง ไร้ข อบเขต ปรากฎการณ์ ท่ีเ กิ ด ขึ้น นี้ ก ลับ ขัด แย้ง กับ วาระของโลก และส่ ง ผลให้ มนุ ษ ย์ส่ ว นใหญ่ เ กิ ด ความหวาดระแวง ว่ า ความสงบสุ ข จะหายไปจากประเทศ ภู มิภ าคและโลก ความสัม พัน ธ์ ร ะหว่ า งสัง คมกับ

สมาชิ ก ในสัง คมเกิ ด การเปลี่ ย นแปลง เ ป็ น ไ ม่ แ น่ น อ น ก ร ะ แ ส เ ส รี นิ ย ม ประชาธิ ป ไตยและกระบวนการสัน ติ ภ าพ โ ล ก พ ย า ย า ม อ ย่ า ง ยิ่ ง ที่ จ ะ ส่ ง เ ส ริ ม สัน ติ ภ าพผ่ า นการให้ค วามรู แ้ ละโอกาส แก่ ทุ ก คนอย่ า งเท่ า เที ย มกัน สนับ สนุ น สิ ท ธิ ข อ งป ร ะ ช าช นใน ฐ าน ะ พล เ มื อ ง แต่ ใ นทางตรงกั น ข้า มก็ ท � ำ ให้เ กิ ด เป็ น ประเด็ น ของผู ไ้ ม่ เ ห็ น ด้ว ยกับ นโยบาย รัฐ และผู ด้ อ้ ยโอกาสต่ า งๆ ซึ่ ง ความขัด แย้ง นี้ มัก ไม่ ไ ด้แ ก้ไ ขด้ว ยสัน ติ วิ ธี อ ย่ า ง ชาญฉลาด เมื่ อ ประชาชนไม่ เ ห็ น ด้ว ย กับ นโยบายรัฐ ก็ ส ามารถแสดงความคิ ด เห็ น ต่ อ ต้า นและน� ำ ไปสู่ ก ระบวนการต่ อ ต้า นต่ า งๆ การวิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์ น� ำ ไปสู่ เรื่ อ งเล่ า ที่ จ ริ ง บ้า ง ไม่ จ ริ ง บ้า ง ค�ำ ร�ำ่ ลือ ค� ำ นิ น ทา ได้ร ะบาดไปทัว่ ผลของการ วิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์ ช ัว่ วู บ เหล่ า นี้ ก่ อ ให้เ กิ ด กระแสสัง คมและการต่ อ ต้า นด้ว ยวิธี ก าร อัน รุ น แรงเกิ น กว่ า กฎหมายจะยอมให้ไ ด้ รัฐ จึ ง เข้า ปราบปราม หากรัฐ ไม่ อ าจปราบ ปรามได้ก็ จ ะก้า วสู่ ค วามเป็ นรัฐ ล ม้ เหลว ผู ป้ กครองรัฐ จึ ง มัก กระชับ อ� ำ นาจเข้า สู่ ส่ ว นกลาง เกิ ด ภาวะเผด็ จ การอ� ำ นาจ นิ ย มในหลายๆ พื้ น ที่ ท ัว่ โลก ซึ่ ง ยิ่ ง จะ เพิ่ ม ความแตกแยกในบริ บ ทเชิ ง สัง คม เศรษฐกิ จ และการเมือ งยิ่ ง ขึ้น ไปอี ก โลกมี ป ระเทศเก่ าแก่ ที่ เ ป็ นต้น ธ า ร ข อ ง อ า ร ย ธ ร ร ม มี ป ร ะ เ ท ศ ที่ มี อารยธรรมร่ ว มจึ ง มี ว ฒ ั นธรรมแตกต่ า ง กัน กับ ประเทศอื่ น และมี ป ระเทศเกิ ด ใหม่ จ �ำ นวนมาก บางประเทศมีล กั ษณะ

79


สาส์น อิส ลาม

80

ผสมวัฒ นธรรมแต่ ไ ร้ร าก (no root country) เนื่ อ งจากวัฒ นธรรมคื อ “ภาค แสดงของอารยธรรม” แต่ ป ระเทศของ เขาไม่ มี อ ารยธรรมของตนเอง มี เ พี ย ง วัฒ นธรรมของคนในสัง คมที่ แ สดงออก มา แต่ เ ขาไม่ อ าจแน่ ใ จได้ว่ า วัฒ นธรรม ของเขามาจากอารยธรรมใดบ้า งกัน แน่ ท�ำ ให้เ กิ ด การเน้น ความต่ า ง เพื่อ เสริ ม อัต ลัก ษณ์ แต่ ก็ เ ป็ น ดาบสองคม คมหนึ่ ง หัน ออกนอกไว้ฟ าดฟัน คนอื่ น อี ก คมก็ ก ลับ มาบาดตนเอง คมดาบนั้น ก็ คื อ การเห็ น ต่ า ง การกล่ า วโทษกลุ่ ม อื่ น ก่ อ ให้เ กิ ด ข้อ ขัด แย้ง และความแค้น เคื อ งที่ ลุ ก ลาม เป็ นความรุ น แรงที่ ไ ม่ อ าจพยากรณ์ ผ ล ตามได้ใ นทุ ก ระดับ อ�ำ นาจน� ำ ของบาง ประเทศแทบจะเข้า ไปแทรกแซงกิ จ การ ภายในของประเทศอื่ น ๆ หลายประเทศ จึ ง เกิ ด ฝ่ ายที่ ไ ม่ อ าจทนต่ อ ไปได้ ภาพ ของการต่ อต้า นด้ว ยความรุ น แรงจึ ง เกิ ด ขึ้ น โ ด ยเ ฉพ าะในประเ ทศที่ อ ยู่ ระหว่ า งการพัฒ นาทางเศรษฐกิ จ ท�ำ ให้ รัฐ มุ่ ง ไปที่ ก ารพัฒ นาเชิ ง วัต ถุ ในขณะ ที่ ด า้ นสัง คมและวัฒ นธรรมอ่ อ นแอลง ผู ค้ นในสัง คมจึ ง ลุ ก ขึ้ นต่ อ ต้า นอ� ำ นาจ ของอารยธรรมตะวัน ตก โดยเฉพาะ อารยธรรมแบบอเมริ ก ั น จนน� ำ ไปสู่ ขบวนการต่ อ ต้า นดัง กล่ า วและถู ก กล่ า ว หาว่ า ก่ อ การร้า ย ในทางตรงกัน ข้า ม อี ก ฝ่ ายหนึ่ ง ก็ เ น้น ย�ำ้ ว่ า ตนดี ก ว่ า เหนื อ กว่ า แ ล ะ ผ ลั ก ดั น อ า ร ย ธ ร ร ม ต ะ วั น ต ก ใ ห้ เป็ นอารยธรรมเดี ย วของโลก เกิ ด เป็ น ขบวนการขวาจัด ในประเทศพัฒ นาแล ว้

ซึ่ ง ขยายตัว โดยการระดมผู ม้ ี ท รรศนะ แบบชาติ นิ ย ม ลัท ธิ เ ชื้ อชาติ นิ ย มและ เน้น ความเป็ นคนขาว การแก้ป ั ญ หา ปะทะกัน ในอนาคตกลุ่ ม ต่ า งๆ คื อ การ ถือ อารยธรรมหนึ่ ง เดี ย วกัน ทัว่ โลก และ การขยายอารยธรรมใดอารยธรรมหนึ่ ง ให้มีเ หนื อ กว่ า อารยธรรมอื่ น แต่ ท งั้ สอง วิธี ต่ า งก็ เ ป็ น ความฝัน เฟื่ องที่ผิด และไม่ มี ทางจะเป็ น ไปได้ การถือ อารยธรรมหนึ่ ง เดี ย วกัน ทัว่ โลกย่ อ มถู ก ต่ อ ต้า นจากคน ทั้ง โลก อารยธรรมอื่ น ๆ ทั้ง หมดย่ อ ม จะรวมหัว กัน ต่ อ ต้า นอารยธรรมที่ ต ั้ง ตัว เองเป็ น อารยธรรมสากล ส่ ว นการขยาย อารธรรมของตนให้เ หนื อ กว่ า อารยธรรม อื่ น ก็ ง่ า ยที่ จ ะล ม้ เหลวเพราะในแต่ ล ะ อารยธรรมต่ า งก็ มีอ ตั ลัก ษณ์ ข องตนเอง ที่ ไ ม่ เ ป็ น รองอารยธรรมอื่ น ใด เมื่ อ ไม่ เ ห็ น ว่ า จะมี ค วามเป็ นไป ได้ใ น 2 ทางนี้ จึ ง เกิ ด กระแสเรี ย ก ร้อ งให้ย อมรับ พหุ ว ฒ ั นธรรมเพื่ อ ความ ปลอดภั ย ของโลกยิ่ ง ขึ้ น กระแสพหุ วั ฒ นธรรมให้ย อมรั บ ความแตกต่ าง หลากหลายของวัฒ นธรรม การยอมรับ วัฒ นธรรมจึ ง เท่ า กั บ เป็ นการยอมรั บ ความมี อ ยู่ จริ ง ของอารยธรรมอื่ น ไป พร้อ มกัน คนส่ ว นมากยอมรับ กระแส พหุ ว ฒ ั นธรรมได้ หากแต่ ก็ ต อ้ งการเวลา ต้อ งการพลัง ปัญ ญา เพื่อ การสร้า งสรรค์ ปรับ ตัว ร่ ว มมื อ และแสวงหาท่ า ที ใ น การยอมรับ ความเป็ น พหุ ว ฒ ั นธรรมของ แต่ ล ะภาคส่ ว นให้ส มดุ ล ที่ สุ ด


การแสดงออกเชิ ง วัฒ นธรรมอื่ น ใดโดย ไม่ ส นใจว่ า สิ่ ง ที่ สู ญ หายไปนั้ น มี คุ ณ ค่ า เพี ย งใด ความเป็ นพหุ ว ัฒ นธรรมไม่ เพีย งส่ ง เสริ ม อารยธรรมต่ า งๆ ที่ ป รากฎ ในปั จ จุ บ ัน แต่ ย ัง สื บ ค้น ร่ อ งรอยแห่ ง ก�ำ เนิ ด อารยธรรมเพื่อ แสดงความหลาก หลายของพั ฒ นาการทางอารยธรรม แ ล ะ เ ป็ น ก า ร ยื น ยั น ว่ า ใ น เ ว ล า ห นึ่ ง เวลาใดเคยมี ม นุ ษ ย์ท่ี มี ป ัญ ญาสร้า งสม อารยธรรมขึ้ น ไว้ใ ห้แ ก่ ม วลมนุ ษ ยชาติ และส่ ง ต่ อ ความรุ่ ง เรื อ งเหล่ า นี้ ไว้ใ ห้แ ก่ มนุ ษ ยชาติ ความเป็ นพหุ ว ฒ ั นธรรม (multiculturality) จึ ง เป็ นระดับ คุ ณ ภาพ ของพหุ ว ัฒ นธรรมบนหลัก การว่ า โลก จ�ำ เป็ นจะต้อ งมีห ลายอารยธรรม แต่ ล ะ อารยธรรมมี เ อกลัก ษณ์ ข องตนอัน จะ ละเมิด มิไ ด้ ทัง้ นี้ แต่ ล ะอารยธรรมย่ อ ม ศรั ท ธาในคุ ณ ค่ าของอารยธรรมของ ตน ในขณะเดี ย วกั น ก็ ต อ้ งยอมรั บ ว่ า อารยธรรมอื่น มีคุ ณ ค่ า ส�ำ หรับ คนอื่น ด้ว ย เช่ น เดี ย วกัน แม้ต นเองจะไม่ มี ศ รัท ธา ก็ ต ามแต่ จ ะต้อ งเคารพศรัท ธาของกัน และกัน ความเป็ นพหุ ว ฒ ั นธรรมจึ ง มิใ ช่ การมีธ�ำ รงวัฒ นธรรมให้อ ยู่ ใ นพื้ น ที่ แ ห่ ง ใดแห่ ง หนึ่ ง แต่ เ ป็ นเรื่ อ งของการมี ชี วิ ต อยู่ ร่ วมกั น ของผู ้ค นจากหลากหลาย วัฒ นธรรม ดัง เช่ น วัฒ นธรรมไทยที่เ ป็ น วัฒ นธรรมร่ ว มของอารยธรรมตะวัน ออก เช่ น อิ น เดี ย จี น เปอร์เ ซี ย -อิ ส ลาม และ อารยธรรมตะวัน ตก เช่ น กรี ก -โรมัน อย่ า งกลมกลื น (รวิ ช ตาแก้ว , 2558)

สาส์น อิส ลาม

ความเป็ นพหุวั ฒ นธรรม พหุ ว ฒ ั นธรรม (multiculture) เป็ น รู ป แบบแนวคิ ด ของการอยู่ ร วมกลุ่ ม ของคนในสัง คมที่ มีค วามแตกต่ า งหลาก หลายทางด้า นความคิ ด ภาษา ศาสนา การแต่ ง กาย วิ ถี ชี วิ ต โดยอยู่ ร่ ว มกัน อย่ า งผสมกลมกลื น กั น หรื อ หากไม่ ผสมกลืน กัน ก็ อ ยู่ ร่ ว มกัน ได้ ไม่ ข ดั แย้ง กัน เนื่ อ งด้ว ยกลุ่ ม ชนไม่ อ ยู่ ติ ด พื้ น ที่ มี การเคลื่ อ นย้า ยกลุ่ ม คนข้า มพื้ น ที่ ข้า ง ภู มิภ าค ข้า มประเทศ ท�ำ ให้ชุ ม ชนมีผู อ้ ยู่ แต่ เ ดิ ม และผู ม้ าใหม่ ซ่ึ ง มี ค วามแตกต่ า ง กัน ความแตกต่ า งย่ อ มมีค วามน่ า สนใจ แต่ ใ นขณะเดีย วกัน ก็ ท �ำ ให้เ กิ ด ความรู ส้ ึก แปลกแยก ดัง นั้น การผสมกลมกลืน จึ ง เป็ นแนวทางที่ ร ัฐ ได้เ ข้า มามี บ ทบาทใน การบัง คับ ให้แ ต่ ล ะกลุ่ ม ชนต้อ งปฏิ บ ัติ ตามวัฒ นธรรมหลัก ของชาติ น ั้น ไม่ ว่ า จะ เป็ น แนวคิ ด หม้อ หลอมละลาย (melting pot) หรื อ ชามสลัด (salad bowl) ของ ประเทศสหรัฐ อเมริ ก า ในกระบวนการนี้ ได้เ กิ ด การต่ อ รองจากกลุ่ ม ชาติ พ นั ธุ ์แ ละ วัฒ นธรรมย่ อ ยในประเด็ น อัต ลัก ษณ์ เ พื่อ เพิ่ม โอกาสให้ก บั ผู ถ้ ู ก กดขี่ใ นการจัด การ ให้ผู ค้ นอยู่ ร่ ว มกัน อย่ า งราบรื่ น มากที่ สุ ด กระแสพหุ ว ัฒ นธรรมขับ เคลื่ อ น ผ่ า นการไม่ เ ชื่ อ ว่ า มี อ ารยธรรมสากล เพราะการเชื่ อ ในอารยธรรมสากล จะ ท�ำ ให้ผู ท้ ่ี อ ยู่ ใ นอารยธรรมนั้น ท�ำ ตนเป็ น ต�ำ รวจความคิ ด คอยจับ ตาดู ค นอื่น ทัง้ ยัง มุ่ ง ก� ำ จัด พวกที่ คิ ด ไม่ เ หมาะสมให้ห มด สิ้ น ไป น� ำ ไปสู่ ก ารจ�ำ กัด พฤติ ก รรมและ

81


สาส์น อิส ลาม

82

ดัง่ จะเห็ น ได้จ ากพหุ ว ฒ ั นธรรมและพหุ ศาสนาในพื้ น ที่ ต่ า งๆ ของประเทศไทย และเป็ นวิถีชี วิต ของคนไทยกลุ่ ม ต่ า งๆ เมื่ อ กล่ า วถึ ง ความคิ ด ความเชื่ อ ความศรัท ธาที่ อ ยู่ เ บื้ อ งหลัง อารยธรรม และศาสนาต่ า งๆ การคิ ด อย่ า งปรัช ญา จะเปิ ด พื้น ที่ ใ หม่ แ ห่ ง ความเข้า ใจได้ เช่ น ระบบลัท ธิ ป รัช ญา ระบบ -ism ซึ่ ง เป็ น ระบบความเชื่ อ ที่ อ ยู่ ใ นยุ ค โบราณ ระบบ นี้ เ มื่อ อยู่ ใ นกระบวนทรรศน์ดึ ก ด�ำ บรรพ์ ล ว้ นเรี ย กว่ า ศาสนา “religion” อะไรที่ เป็ น ลัท ธิ ใ นยุ ค โบราณ ในยุ ค ดึก ด�ำ บรรพ์ ก็ คื อ ศาสนาทั้ง หมด แม้ป ลาธรรมดา ที่ ว่ า ยอยู่ ใ นน�้ำ เกล็ ด เป็ นสี ข าวสะท้อ น แสง มนุ ษย์ ก็ เ กิ ด ความเชื่ อ ขึ้ น เพี ย ง เท่ า นี้ ก็ เ ป็ น ศาสนาอย่ า งหนึ่ ง ได้ ศาสนา ไม่ จ � ำ เป็ นต้อ งมี ศ าสดา การก� ำ หนดว่ า ต้อ งมี ศ าสดา เป็ นการก� ำ หนดของนั ก วิช าการในยุ ค สมัย ใหม่ (modern era) ซึ่ ง จ�ำ แนกว่ า ความเชื่ อ ใดไม่ มีศ าสดา ให้ กลับ ไปเป็ นลัท ธิ แต่ ใ นยุ ค ดึ ก ด�ำ บรรพ์ เชื่ อ อะไร สิ่ ง นั้น ก็ เ ป็ นศาสนาแล ว้ การ เชื่ อ ว่ า หญ้า มีชี วิต ก็ เ ป็ นศาสนา กระต่ า ย เป็ นเทพเจ้า ก็ เ ป็ นศาสนา เพราะศาสนา ของยุ ค ดึ ก ด� ำ บรรพ์ น ั้ น คื อ สิ่ ง ที่ ข ยาย ไปเป็ นวิ ถี ชี วิ ต ศาสนาแต่ ด ั้ง เดิ ม คื อ รู ป แบบชี วิต (way of life) เราเชื่ อ อะไร เรานับ ถือ ศาสนาอะไร มัน ก็ คื อ วิถีชี วิต ของเราอย่ า งนั้น (เอนก สุ ว รรณบัณ ฑิ ต , 2562ก) ถ้า เราเชื่ อ ว่ า ภู เ ขามี เ ทพ ภู เ ขา ต่ า งๆ ก็ จ ะมี เ ทพ เราก็ จ ะเคารพภู เ ขา ต่ า งๆ เราก็ จ ะมีพ ฤติ ก รรมศาสนา

แต่ ร ะบบลัท ธิ ค วามเชื่ อ (-ism) เป็ น วิถีชี วิต หรื อ ไม่ ในยุ ค โบราณมองว่ า เอกภพมี ก ฎเกณฑ์ต ายตัว ธรรมชาติ มี กฎธรรมชาติ ( law of nature) เมื่อ เรา เข้า ใจกฎของธรรมชาติ เราก็ จ ะด�ำ เนิ น ชี วิ ต ได้ จะเกิ ด แกนหลัก ของวิ ถี ชี วิ ต และมี ค วามเชื่ อ ต่ า งๆ เข้า มาผสมเป็ น รายละเอี ย ดในวิ ถี ชี วิ ต คนโบราณคิ ด ว่ า และมองว่ า กระบวนทรรศน์เ ก่ า ที่ ม อง เอกภพเป็ นกลีภ พว่ า ผิ ด นัก ปราชญ์ห นั ความสนใจมาแสวงหากฎเกณฑ์ข องโลก และมนุ ษ ย์ค วรรู ก้ ฎเกณฑ์เ พื่ อ แสวงหา ความสุ ข ในโลกนี้ เพราะว่ า กฎเกณฑ์ แท้จ ริ ง บงการทุ ก อย่ า ง กฎเกณฑ์น้ ี เ รี ย ก ว่ า “ชะตา” เป็ น อ�ำ นาจที่ ลึก ลับ ที่ สุ ด และ เป็ น สิ่ง ที่มีก ฎเกณฑ์ท่ีสุ ด ซึ่ง ผลัก ดัน โลก ให้ก า้ วจากกลี ภ พไปสู่ เ อกภพ ความรู ้ เป็ น เคล็ด ลับ ของการกระท�ำ เป็ น ปัญ ญา คิ ด ช่ ว ยทุ่ น แรง ทุ่ น เวลา ความรู ต้ ่ า งๆ แสดงออกผ่ า นต�ำ นานและซ่ อ นกฎเกณฑ์ ต่ า งๆ ไว้ใ ห้เ รี ย นรู ้ เมื่อ ผ่ า นเวลานานเข้า ได้มีก ารเรี ย บเรี ย งและก�ำ หนดเป็ น กรอบ ความรู เ้ ข้า ไว้ด ว้ ยกัน ก็ ไ ด้เ ป็ นกฎเกณฑ์ หลัก ขึ้น มา แม้จ ะมีข อ้ ยกเว้น บ้า ง ก็ ต อ้ ง ไม่ ฝื นกฎเกณฑ์สู ง สุ ด การเชื่ อ ในระบบ เครื อ ข่ า ยความคิ ด เช่ น นี้ ท �ำ ให้เ กิ ด ความ ต้อ งการที่จ ะรู ก้ ฎเกณฑ์ใ ห้ม ากที่สุ ด เพื่อ จะได้ผ ลประโยชน์ จ ากความรู น้ ั้น และ ผู ท้ ่ี รู ก้ ฎเกณฑ์ม ากกว่ า ก็ จ ะได้เ ปรี ย บผู ้ ที่ รู ก้ ฎเกณฑ์น อ้ ยกว่ า กรอบของชะตา เป็ นกฎเกณฑ์ท่ี แ น่ ช ัด ว่ า ถ้า ท�ำ ดี ต อ้ งได้ ดี ถ้า ท�ำ ไม่ ดี ต อ้ งได้ร ับ ผลตอบแทนของ


เ มื่ อ โ ล ก ก้ า ว สู่ ยุ ค ส มั ย ใ ห ม่ มนุ ษ ย์เ ชื่ อ ถื อ วิ ธี ก ารวิ ท ยาศาสตร์ การ รู ก้ ฎเกณฑ์ ข องโลกจะท� ำ ให้โ ลกนี้ เป็ น สวรรค์ ส �ำ หรับ มนุ ษ ย์ทุ ก คนและมี เ พี ย ง วิ ท ยาศาสตร์ เ ท่ า นั้น ที่ จ ะแสวงหาความ รู ใ้ นกฎเกณฑ์ข องโลกได้ วิ ท ยาศาสตร์ จะแก้ป ัญ หาทุ ก อย่ า งของมนุ ษ ย์ไ ด้ ยุ ค นี้ ไม่ ส นใจศาสนา สนใจแต่ วิถีชี วิต แต่ เ ป็ น lifestyle มนุ ษ ย์จ ะมีวิถีชี วิต อย่ า งไรก็ ไ ด้ เป็ น ของแต่ ล ะคน เป็ น ปัจ เจก แต่ ล ะคน ต้อ งมีวิถีชี วิต ของตนเอง แต่ ก็ อ ยู่ ร่ ว มกัน กับ ผู อ้ ่ืน ที่มีวิถีชี วิต ของเขาเองด้ว ย (Pisman, 2007) อย่ า งไรก็ ต าม วิถีชี วิต นั้น ไม่ ต อ้ งยึ ด หลัก ศาสนา แต่ มี ล ทั ธิ เ ข้า มา มีบ ทบาท เช่ น ลัท ธิ เ สรี นิ ย ม ลัท ธิ ม าร์ก เป็ น ต้น คนในยุ ค นี้ เ อาวิถีชี วิต เป็ น ตัว ตัง้ แล ว้ ค่ อ ยดู ว่ า ไปสิ่ง ที่ต นปฏิบ ตั ิ น นั้ ตรงกับ ศาสนาหรื อ ลัท ธิ ห รื อ ค�ำ สอนใด ถ้า เขายัง นับ ถือ ศาสนาก็ ค่ อ ยเอาค�ำ สอนศาสนามา เป็ นเหตุ ผ ลสนับ สนุ น สิ่ ง ที่ ต นเองเลื อ ก ปฏิ บ ตั ิ เ ป็ น วิถีชี วิต เช่ น คนที่ ช อบไปท�ำ สวน ปลู ก ต้น ไม้ ไม่ แ ก่ ง แย่ ง แข่ ง ขัน นัน่ ก็ คื อ วิ ถี ชี วิ ต ของเขา ในขณะที่ ค นใน ยุ ค โบราณและยุ ค กลางจะดู ว่ า ตนเอง เชื่ อ ลัท ธิ ห รื อ ศาสนาใด แล ว้ ประพฤติ ปฏิ บ ตั ิ ต ามหลัก การของลัท ธิ แ ละศาสนา นั้ น ในยุ ค นี้ ศาสนาก็ ย ัง คล า้ ยจะถื อ หลัก ว่ า ปรั ช ญาเป็ นสาวใช้ข องศาสนา อย่ า งยุ ค กลาง แต่ เ อาวิ ท ยาศาสตร์ ม า รั บ ใช้ศ าสนาแทน เช่ น ชไลเออร์ ม า เคอร์ (F. Schleiermacher, 17681834) ต้อ งการเอาเหตุ ผ ลวิท ยาศาสตร์

สาส์น อิส ลาม

ความไม่ ดี น ั้น อย่ า งแน่ น อน ความเชื่ อ เช่ น นี้ สื บ ทอดต่ อ กั น มาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เป็ นความยึ ด มัน่ ถื อ มัน่ ต่ อ ระบบเครื อ ข่ า ย จนไม่ ก ล า้ คิ ด อะไรออกไปนอก กรอบของเครื อ ข่ า ยความรู ้ ใครไม่ เ ชื่ อ ในระบบเครื อ ข่ า ย ถือ ว่ า แปลกแยก ยุ ค โบราณนี้ ห ากอยู่ ล ทั ธิ ไ หน ก็ จ ะมีวิถีชี วิต ตามลัท ธิ น ั้น อย่ า งชัด เจน ครั้น ถึ ง ยุ ค กลาง นัก ปราชญ์เ ชื่ อ ว่ า โ ล ก มี ก ฎ เ ก ณ ฑ์ แ ต่ ไ ม่ อ า จ จ ะ ใ ห้ ความสุ ข เที่ ย งแท้แ ก่ ม นุ ษย์ ไ ด้ ความ สุ ข แท้มีอ ยู่ แ ต่ ใ นโลกหน้า จึ ง ต้อ งทุ่ ม เท ทรัพ ยากรต่ า ง ๆ และแสวงหาวิธี ก ารที่ สามารถตระเตรี ย มความสุ ข ในโลกหน้า ได้อ ย่ า งดี ความรู ว้ ิ ช าการและความรู ้ เทคนิ ค ต่ า งๆ ไม่ ใ ช่ ส่ิ ง ส�ำ คัญ อี ก ต่ อ ไป แต่ ค วามรู ศ้ าสนาจึ ง ส�ำ คัญ ที่ สุ ด นัก บวช ที่เ ป็ น นัก วิช าการจึ ง ร่ ว มใจกัน สร้า งเครื อ ข่ า ยความรู ้เ พื่ อ รั บ รองต่ อ ข้อ เชื่ อ ข้อ ศรัท ธาและเรื่ อ งเล่ า ในศาสนาให้ส มเหตุ สมผลและสอดคล อ้ งต้อ งตรงกัน อย่ า ง มีร ะเบีย บแบบแผน การสร้า งโลกและสิ่ง ต่ า งๆ ของพระเจ้า เป็ น ไปอย่ า งมีร ะเบีย บ เนื่ อ งด้ว ยพระเจ้า ทรงเป็ นสัพ พัญ ญู ดัง นั้น สิ่ ง สร้า งจึ ง เรี ย งล�ำ ดับ ชั้น จากต�ำ่ สุ ด ไปถึง สู ง สุ ด อย่ า งสมบู ร ณ์ แ บบ ความเชื่ อ ต่ า งๆ ก็ จ ะเป็ นทัง้ ศาสนาและลัท ธิ ค วาม เชื่ อ คื อ มีท งั้ ศาสนาและลัท ธิ ค วามเชื่ อ ศาสนาคื อ ศาสนา คนที่ น ั บ ถื อ ศาสนา มีค วามเชื่ อ (-ism) ร่ ว มด้ว ยได้ ซึ่ ง จะ ท�ำ ให้เ กิ ด การปฏิ บ ตั ิ ท่ี ต่ า งกัน เกิ ด เป็ น นิ ก ายต่ า งๆ ของศาสนา

83


สาส์น อิส ลาม

84

มาอธิ บ ายศาสนา ด้ว ยเชื่ อ ว่ า ศาสนากับ วิ ท ยาศาสตร์ ไ ปด้ว ยกั น ตามกระแส ขบวนการปั ญ ญา (enlightenment movement) โดยการตี ค วามเพื่ อ ไม่ ให้ต กกระแสและเสนอเป็ นเทววิ ท ยา เสรี นิ ย ม (liberal/natural theology) ในยุ ค นี้ ในระดับ ปัจ เจกนั้น คนจะสนใจ แต่ วิถีชี วิต ของตนเอง เขาไม่ ย อมรับ และ ไม่ ส นใจวิถีชี วิต ของคนอื่ น เขาจะเอาตัว เองเป็ น ที่ต งั้ เขาจะไม่ ส นใจว่ า วัด โบสถ์ สุ เ หร่ า จะตั้ง มากี่ ปี จะมี ก ารสวดมนต์ จัด งานอะไรอย่ า งไร เขาไม่ ส นใจ แต่ ถ า้ รบกวนวิ ถี ชี วิ ต เขา เขาก็ จ ะไม่ ย อมทน ย่ อ มใช้ก ฎหมายมาช่ ว ยให้ต ัว เองด�ำ เนิ น วิถีชี วิต ที่ เ ขาต้อ งการ ยุ ค ปัจ จุ บ นั มนุ ษ ย์คิ ด อะไร เชื่ อ อะไร ถื อ เป็ นวิ ถี ชี วิ ต (way of life) เพราะมัน คื อ การพัฒ นาไปสู่ คุ ณ ภาพชี วิต ที่ ดี ก ว่ า มองทุ ก อย่ า งด้ว ยวิจ ารญาณ มี การวิ เ คราะห์ แ ยกประเด็ น เพื่ อ ความ เข้า ใจที่ เ ป็ นกลาง ประเมิน ค่ า แต่ ล ะส่ ว น ที่ แ ยกออกมาว่ า ให้คุ ณ หรื อ โทษอย่ า งไร และประยุ ก ต์ส่ ว นที่เ ป็ น คุ ณ ไว้ใ ช้ต ามเป้ า หมายของมนุ ษ ยชาติ แล ว้ ชี้ แ จงอย่ า งมี เหตุ ผ ลตามความนิ ย ม ไม่ ร บราฆ่ า ฟัน กัน ไม่ ข ดั แย้ง ทะเลาะเบาะแว้ง กัน วิถี ชี วิต ไม่ ใ ช่ lifestyle แต่ เ ป็ น mix and match เป็ นการหยิ บ เอาวิ ถี ค วามเชื่ อ ต่ า งๆ อย่ า งละนิ ด อย่ า งละหน่ อ ย มี ท งั้ ดึ ก ด� ำ บรรพ์ โบราณ ยุ ค กลาง สมัย ใหม่ มาร่ ว มกัน เป็ นวิถีชี วิต ของเขา แต่ เป็ นการยอมรั บ ความแตกต่ างหลาก

หลาย (variety and diversity) และ ทนได้ก บั วิถีชี วิต ของคนอื่ น แต่ ถ า้ ปล่ อ ย ไปจนสุ ด ทางก็ จ ะเกิ ด การพร่ อ งไปของ อั ต ลั ก ษ ณ์ จึ ง ต้อ ง มี ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม อั ต ลัก ษณ์ เ ข้า มาเสริ ม ไม่ มีก ารส่ ง เสริ ม ด้า น ใดถู ก ต้อ งที่สุ ด แต่ ใ ห้ดู ว่ า ท�ำ วิถีไ หนแล ว้ คุ ณ ภาพชี วิต ดี ก ว่ า ก็ ใ ห้ท �ำ ตามวิถีน ั้น อย่ า งไรก็ ต าม คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ของผู น้ ั บ ถื อ ศาสนาคื อ การบรรลุ เ ป้ า หมายสู ง สุ ด ของศาสนา เป้ าหมายสู ง สุ ด ของศาสนาเป็ นเรื่ อ งของความศรัท ธา ความศรั ท ธานั้ น เป็ นความเชื่ อ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากยอมรับ แนวคิ ด ค� ำ สอนและวิ ธี ปฏิ บ ตั ิ แ ล ว้ ยึ ด ถื อ มาเป็ นแนวทางในการ ปฏิบ ตั ิ จ นเกิ ด ผลที่ดี ก บั ชี วิต ของตน จาก นั้น ก็ ยึ ด ถือ ปฏิบ ตั ิ ต ามจนเกิ ด พฤติ ก รรม เ ค ย ชิ น แ ล ะ ค ว า ม เ ชื่ อ นั้ น ก็ ฝั ง ลึ ก อ ยู่ ภายในจิ ต ใจว่ า ตนจะต้อ งปฏิ บ ัติ ต าม วิ ถี ท างนั้น อย่ า งมัน่ คง ศรัท ธาจึ ง มี วิ ถี คู่ เคี ย งกับ จิ ต ส�ำ นึ ก อย่ า งแยกออกจากกัน ไม่ ไ ด้ เพราะศรัท ธาคอยเกื้ อ หนุ น ให้เ กิ ด ความพยายามที่ จ ะให้บ รรลุ เ ป้ าหมายที่ ต้อ งการของแต่ ล ะศาสนา แนวคิ ด เรื่ อ ง ศาสนาจึ ง เป็ นความศรัท ธาที่ เ กิ ด ขึ้น จาก การปฏิ บ ัติ กิ จ ทางศาสนา บุ ค คลก็ จ ะ มี เ ป้ าหมายสู ง สุ ด ตามแนวทางศาสนา นั้น เป้ าหมายสู ง สุ ด ของผู ม้ ี ศ รัท ธาต่ อ ศาสนาจึ ง เป็ นเป้ าหมายสู ง สุ ด เดี ย วกัน กับ เป้ าหมายของศรัท ธา การปฏิ บ ตั ิ กิ จ ของศาสนาในแต่ ล ะครั้ง ก็ เ ป็ นเป้ าหมาย เฉพาะกิ จ ที่ ก � ำ หนดด้ว ยแนวทางของ ศาสนานั้น เช่ น กัน และมาตรการจริ ย ะก็


อย่ า งไรและตนอยู่ ใ นกลุ่ ม วัฒ นธรรมใด ควรปฏิ บ ตั ิ ต นอย่ า งไรเพื่ อ เป็ นสมาชิ ก ที่ ดี ข องกลุ่ ม วัฒ นธรรมของตน เป็ นส่ ว น หนึ่ ง ในการธ�ำ รงอารยธรรมของตนและ เป็ นพลเมื อ งที่ ดี ข องประเทศที่ ต นอยู่ อาศัย อี ก ด้ว ย การปฏิ บั ติ พ หุวั ฒ นธรรม การปฏิ บ ตั ิ พ หุ ว ฒ ั นธรรม (multicultural practice) เป็ นแนวทาง ข อ ง ค ว า ม ส ม า น ฉั น ท์ ซึ่ ง ต้อ ง เ ข้า ใ จ สมานฉัน ท์ใ ห้ลึก ซึ่ ง ค�ำ ว่ า “สมานฉัน ท์” ตรงกับ ภาษาอัง กฤษว่ า “reconciliation” มาจาก reconcile ซึ่ง เป็ น ค�ำ กริ ย า ซึ่ ง แปลมาจากภาษาฝรัง่ เศส reconcillier มีร ากภาษาลาติ น คื อ reconcilare ประกอบจาก re + concilare re- หมายถึง อี ก ครั้ง (again) concilare หมายถึง ท�ำ ให้คุ น้ เคย (make friendly) แนวทางสมานฉั น ท์ เ มื่ อ ตี ค วาม ตามศั พ ท์จึ ง เป็ นแนวทางให้แ ต่ ล ะฝ่ าย เป็ นเพื่ อ นกั น ไม่ รู ส้ ึ ก แปลกแยกแตก ต่ า งกับ ความเป็ นอื่ น มีค วามคุ น้ เคยกัน หรื อ กลับ มาเป็ น เพื่อ นกัน อี ก ครั้ง ฉะนั้น การแก้ป ัญ หาในแนวทางนี้ จึ ง มีห ลัก การ ส�ำ คัญ ที่ จ ะส่ ง เสริ ม ให้เ กิ ด ความรู ค้ วาม เข้า ใจในวัฒ นธรรมของคนอื่ น รากเหง า้ ความเป็ นมา อารยธรรมที่ เ ป็ นเขาสัง กัด เป็ นความเข้า ใจตามความเป็ นจริ ง ไม่ ตัด สิน ด้ว ยเกณฑ์ว ฒั นธรรมของตน และ ท�ำ ให้รู ส้ ึ ก เป็ นมิต รต่ อ กัน เป็ นเพื่ อ นกัน

สาส์น อิส ลาม

เป็ น ตามกรอบของศาสนา มโนธรรมจึ ง เกิ ด จากการใช้ม าตรการจริ ย ะในแต่ ล ะ ครั้ง เพื่ อ ให้บ รรลุ เ ป้ าหมายเฉพาะกิ จ ที่ ส อ ด ค ล ้อ ง กั บ เ ป้ า ห ม า ย สู ง สุ ด ข อ ง ศรัท ธา แต่ ส �ำ หรับ คนที่ ไ ม่ ย อมรับ เป้ า หมายของศาสนามาเป็ นเป้ าหมายสู ง สุ ด นั้น แต่ ล ะคนมัก จะมีวิถีก ารเลือ กปฏิบ ตั ิ ตามแนวคิ ด ของตนเอง และเป็ น แนวคิ ด ที่ ไ ม่ เ กี่ ย วข้อ งกับ ศาสนาใด การที่ เ ข้า ใจเรื่ อ งต่ า งๆ ได้อ ย่ า ง ต่ อ เนื่ อ งเช่ น นี้ จะพบว่ า ไม่ มี ส่ิ ง ใดที่ พ อ ข้า มผ่ า นยุ ค สมัย แล ว้ จะหายไปอย่ า งสิ้ น เชิ ง สิ่ ง นั้น เพีย งแต่ มีก ารปรับ เปลี่ย นไป ตามกระบวนทรรศน์ข องยุ ค เท่ า นั้น การ เข้า ใจผ่ า นปรัช ญากระบวนทรรศน์ ก็ จ ะ เข้า ใจการเปลี่ ย นแปลงทัศ นคติ ความ คิ ด ความเชื่ อ ที่ ก า้ วหน้า ตามอารยธรรม มนุ ษ ย์ (เอนก สุ ว รรณบัณ ฑิ ต และกี ร ติ บุ ญ เจื อ , 2558) การเข้า ใจเช่ น นี้ เป็ น รากฐานของความเป็ นพหุ ว ัฒ นธรรม ทุ ก ฝ่ ายจึ ง ต้อ งย้อ นมองให้อ อกว่ า ใน อดี ต เป็ นอย่ า งไร แล ว้ ส่ ง ทอดมาจนถึ ง ปัจ จุ บ ัน อย่ า งไร อย่ า มองตัด ขวางเป็ น ช่ วงๆ แล ว้ ก็ บ อกว่ า มั น หายไป สู ญ ไป ถ้า อะไรๆ ก็ ห ายไป ในยุ ค นี้ ก็ จ ะไม่ สามารถรื้ อฟื้ นความคิ ด ความเชื่ อ แต่ เดิ ม กลับ มาได้ เท่ า กับ บีบ ให้โ ลกต้อ งมุ่ง ไปทางวิ ท ยาศาสตร์อ ย่ า งเต็ ม ก� ำ ลัง แต่ ในความเป็ นจริ ง ความหลากหลายที่ เกิ ด ทัว่ โลก นี่ คื อ สิ่ ง ที่ ม นุ ษ ย์ส ามารถใช้ ปัญ ญาในการพิ จ ารณาได้เ ป็ นอย่ า งดี ว่ า สายธารอารยธรรมของตนนั้น ด�ำ เนิ น มา

85


สาส์น อิส ลาม

86

ความเข้า ใจในบริ บ ทเช่ น นี้ ไม่ ก ระทบ กระเทื อ นต่ อ คุ ณ ค่ า ใดๆ ในวัฒ นธรรม ใดของโลกเลย ทัง้ ยัง จะช่ ว ยแก้ไ ขความ ยึ ด มัน่ ถื อ มัน่ ที่ ผิ ด จากนั้ น ส่ ง เสริ ม ให้ เกิ ด บรรยากาศของความงอกงามเชิ ง วัฒ นธรรมที่มีร่ ว มกัน ในฐานะวัฒ นธรรม ของเพื่อ นอี ก ด้ว ย คุ ณ ค่ า ของความแตกต่ า งนั้น เป็ น ประโยชน์ต่ อ การพัฒ นาความรู ข้ องมวล มนุ ษ ยชาติ เ ป็ นที่ สุ ด เฉกเช่ น กับ ความ เป็ นจริ ง ในธรรมชาติ ท่ี มิ ไ ด้ป ระกอบไป ด้ว ยสิ่ง ที่เ หมือ นกัน หรื อ คล อ้ ยตามกัน ไป ทัง้ หมด แต่ ก ลับ ประกอบไปด้ว ยความ แตกต่ า งหลากหลายของสรรพชี วิ ต และ สิ่ ง แวดล อ้ มที่ อิ ง อาศัย กัน เป็ นระบบองค์ รวมที่ ป ระสานสอดคล อ้ งกัน ได้อ ย่ า งน่ า อัศ จรรย์ เป็ นเอกภาพในความหลาก หลาย (unity in diversity) นัน่ คื อ สรรพสิ่ ง ไม่ มุ่ง เอาชนะกัน แต่ เ ปลี่ย นมา เป็ น ส่ ง เสริ ม กัน ถือ ว่ า ความหลากหลาย เป็ นความสวยงามทางความคิ ด และ เป็ นปั จ จัย แห่ ง การสร้า งสรรค์ ส่ิ ง ใหม่ หลัก การส�ำ คัญ คื อ การแสวงหาจุ ด ร่ ว ม สงวนจุ ด ต่ า ง เปิ ดโอกาสให้ทุ ก ฝ่ ายได้ แสดงความคิ ด ต่ า ง ทุ ก คนมี สิ ท ธิ ท่ี จ ะ แสดงความคิ ด เห็ น ตามระบบเครื อ ข่ า ย ของตนเอง และก็ ย อมรับ ฟัง ความคิ ด ตามระบบเครื อ ข่ า ยของผู อ้ ่ื น โดยไม่ ไ ด้ มุ่ง ที่จ ะล ม้ ล า้ งหรื อ เอาชนะความคิ ด เหล่ า นั้น ว่ า ไม่ ต รงกับ ความเป็ นจริ ง แต่ ม อง หาจุ ด ร่ ว มและแสดงความคิ ด เห็ น อย่ า ง สร้า งสรรค์ เ พื่ อ ความก้า วหน้า ความ

เจริ ญ เพื่อ สัน ติ ภ าพของโลก การเรี ย นรู ท้ ่ี จ ะด�ำ เนิ น ชี วิต ด้ว ย ความสมานฉั น ท์ ด้ว ยการยอมรั บ ใน ความแตกต่ า งหลากหลายของมนุ ษย์ ว่ า จ� ำ เป็ นต้อ งแตกต่ า งกัน เป็ นธรรมดา อยู่ แ ล ว้ ทัง้ นี้ มิ ใ ช่ แ ตกต่ า งเพื่ อ ความขัด แย้ง แตกแยกกัน แต่ เ พื่ อ การประสาน สอดคล อ้ งเกื้ อกู ล ซึ่ ง กัน และกัน พึ่ ง พา อาศัย แบ่ ง ปัน ความรู แ้ ละประสบการณ์ แก่ ก ัน เติ ม เต็ ม ซึ่ ง กัน ร่ ว มมือ กัน ให้มี ความหลากหลายในเอกภาพที่ พ ร้อ มจะ ช่ ว ยเหลื อ เกื้ อกู ล ด้ว ยความเคารพและ เมตตาต่ อ กัน (เอนก สุ ว รรณบัณ ฑิ ต , 2559) ทัง้ หมดดัง กล่ า วก็ เ พื่อ การพัฒ นา คุ ณ ภาพชี วิต และการอาศัย อยู่ ร่ ว มกัน ได้ อย่ า งสัน ติ สุ ข อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ข้อ ค� ำ นึ ง บ า ง ประการที่ ต อ้ งตระหนัก ร่ ว มด้ว ยในการ สร้า งความสมานฉัน ท์เ ชิ ง พหุ ว ฒ ั นธรรม คื อ ปั จ จัย ทางจิ ต วิ ท ยาที่ อ ยู่ เ บื้ อ งหลัง มาตรการต่ า งๆ ได้แ ก่ อคติ จ ากการมอง โลกในแง่ ดี (optimism bias) และอคติ จากการมองโลกในแง่ ร า้ ย (pessimism bias) อคติ ท งั้ 2 ตัว นี้ มีใ นตัว ของเราทุ ก คน ยิ่ ง เป็ นผู ท้ ่ี ยึ ด มัน่ ในความคิ ด ของ ตนเอง (egocentric thinking) ก็ ย่ิ ง ยึ ด มัน่ ในตนเองสู ง ยิ่ ง จะเป็ นผู ม้ ีอ คติ น้ ี อย่ า งชัด เจน เรื่ อ งหนึ่ ง เรื่ อ งใด หากมอง โลกในแง่ ดี วิ ธี ก ารก็ จ ะแบบหนึ่ ง หาก มองโลกในแง่ ร า้ ย วิ ธี ก ารก็ จ ะอี ก อย่ า ง หนึ่ ง อคติ จ ากการมองโลกในแง่ ดี มี ผ ล แตกต่ า งกัน ในเหตุ ก ารณ์ เ ชิ ง บวกและเชิ ง


ป้ องกัน นี้ มี อ คติ ข องการมองโลกในแง่ ร้า ย เขาจะมีอ คติ โ อนเอีย งไปในการออก มาตรการป้ องกัน ที่ เ น้น อนุ ร ัก ษ์ สุ ด โต่ ง ผลของการยอมรับ ในพหุ ว ฒ ั นธรรมจาก ฝ่ ายอนุ ร ัก ษ์ผู ม้ ีอ คติ จ ากการมองโลกแง่ ร้า ยเช่ น นี้ จะยิ่ ง กลายเป็ นการเพิ่ ม ความ เข้ม แข็ ง ให้ก ับ แต่ ล ะกลุ่ ม ต่ า งกลุ่ ม ต่ า ง เน้น อนุ ร ัก ษ์สุ ด โต่ ง ยิ่ ง จะท�ำ ให้เ กิ ด การ สร้า งวงขอบที่ แ ตกต่ า งเด่ น ชัด และข้า ม กัน ไม่ ไ ด้ใ ห้แ ก่ ค วามพิเ ศษหนึ่ ง เดี ย วของ กลุ่ ม วัฒ นธรรมนั้น ไปพร้อ มกัน ยิ่ ง ท�ำ ให้ กลุ่ ม อื่น ๆ ไม่ ส ามารถที่จ ะเข้า ไปเชื่ อ มต่ อ ได้อ ย่ า งเดิ ม อี ก ต่ อ ไป ในหลายครั้ง แม้ กลุ่ ม อารยธรรมเดี ย วกัน แต่ ว ฒ ั นธรรม ย่ อ ยต่ า งกัน ก็ ก ลายเป็ นแตกต่ า งกัน ไป ในที่ สุ ด แต่ ล ะกลุ่ ม กลับ จะไม่ ส ามารถ ที่ จ ะรู จ้ ัก กัน อย่ า งแท้จ ริ ง เป็ นแต่ เ พี ย ง การยอมรับ ว่ า อี ก กลุ่ ม หนึ่ ง มี อ ยู่ เ ท่ า นั้น ซึ่ ง เ ป็ น เ รื่ อ ง ที่ เ ป ร า ะ บ า ง ม า ก ขึ้ น เ มื่ อ ความแตกต่ า งทางวัฒ นธรรมนี้ ถู ก ท�ำ ให้ เป็ นความขัด แย้ง ทางการเมื อ งระหว่ า ง วัฒ นธรรมและระหว่ า งอารยธรรม เมื่ อ เข้า ใจปั ญ หาพื้ น ฐานในทาง ปฏิ บ ตั ิ เ ช่ น นี้ แ ล ว้ ฝ่ ายที่ เ น้น การส่ ง เสริ ม ความสมานฉั น ท์ เ ชิ ง พหุ ว ัฒ นธรรมจึ ง ต้อ งไม่ เ ป็ นเพี ย งผู ้ท่ี ม องโลกในแง่ ดี เพราะอคติ จ ากการมองโลกในแง่ ดี ก็ จ ะ ท�ำ ให้เ ราไม่ ท �ำ อะไรเลย ติ ด หล่ ม อยู่ ใ น อุ ด มคติ ข องพหุ ว ฒ ั นธรรมโดยได้ก ระท�ำ การอย่ า งกระตื อ รื อ ร้น การปฏิ บ ัติ พ หุ วัฒ นธรรมนั้ น ต้อ งการเครื่ อ งมื อ ทาง ปรัช ญาหลัง นวยุ ค ที่ ส �ำ คัญ คื อ

สาส์น อิส ลาม

ลบ ในเหตุ ก ารณ์ เ ชิ ง บวก อคติ จ ากการ มองโลกในแง่ ดี จ ะน� ำ ไปสู่ ค วามสุ ข และ ความมัน่ ใจ แต่ ใ นเหตุ ก ารณ์ เ ชิ ง ลบ อคติ จากการมองโลกในแง่ ดี จ ะน� ำ ไปสู่ ค วาม เสี่ย งที่สู ง ยิ่ง ขึ้น ที่จ ะประสบกับ เหตุ ก ารณ์ นั้น เนื่ อ งจากการมีพ ฤติ ก รรมเสี่ ย งและ ไม่ ท � ำ การป้ องกั น ความเสี่ ย งใดๆ ใน ขณะที่ อ คติ จ ากการมองโลกแง่ ร า้ ยจะ ท�ำ ให้ป ระเมิ น โอกาสที่ เ หตุ ก ารณ์ เ ชิ ง ลบ จะเกิ ด มากเกิ น ไป ผ่ า นกลไกความเป็ น ตัว แทน (representativeness heuristic) ว่ า เหตุ ก ารณ์ จ ะเกิ ด จากคนไม่ ดี ท�ำ ให้ย่ิ ง วิ ต กกัง วลเกิ น กว่ า เหตุ และน� ำ ไปสู่ ก ารเตรี ย มการป้ องกัน ที่เ กิ น กว่ า เหตุ ด้ว ยเช่ น เดีย วกัน ในสัง คมพหุ ว ฒั นธรรม ย่ อ มมีฝ่ ายที่ มีแ นวคิ ด เสรี นิ ย ม ส่ ง เสริ ม อ� ำ น า จ ตั ด สิ น ใ จ ใ น ต น เ อ ง อ ย่ า ง เ ส รี (MacDonald, 2010) เพื่ อ เลื อ กสรร วัฒ นธรรมที่ ส่ ง เสริ ม คุ ณ ภาพชี วิ ต ของ กลุ่ ม ฝ่ ายนี้ มี บ ทบาทในการเปิ ดรับ พหุ วัฒ นธรรม และการแลกเปลี่ย นเรี ย นรู ้ ที่ จ ะอยู่ ร่ ว มกับ ผู อ้ ่ื น อย่ า งไรก็ ต าม ฝ่ าย นี้ ย่ อ มมีอ คติ จ ากการมองโลกในแง่ดีแ ฝง อยู่ ท �ำ ให้ข าดความระมัด ระวัง ต่ อ ความ เป็ นไปได้ข องการเลื อ นหายไปของอัต ลัก ษณ์ ข องกลุ่ ม ตน ในอี ก ด้า นหนึ่ ง ฝ่ าย ปกป้ องพิท กั ษ์อ ารยธรรมและวัฒ นธรรม ของตน ฝ่ ายนี้ มีบ ทบาทส�ำ คัญ ในการเป็ น ก�ำ แพงพิง หลัง ของอารยธรรม ค�ำ้ ประกัน ว่ า อารยธรรมจะไม่ ถู ก ดัด แปลง กลืน กิ น จนหมดสิ้ น ไป เป็ นก� ำ แพงสุ ด ท้า ยของ แต่ ล ะอารยธรรม แต่ เ มื่อ ใดก็ ต ามที่ ฝ่ าย

87


สาส์น อิส ลาม

88

1 . วิ จ า ร ณ ญ า ณ ใ น ก า ร รั บ ฟั ง ฟั ง อย่ า งตั้ ง ใจเพื่ อ ให้รู ้อ ย่ า งองค์ ร วม (เอนก สุ ว รรณบัณ ฑิ ต , 2561) แล ว้ น�ำ สมรรถภาพคิ ด ท�ำ การวิเ คราะห์ห าความ หมายต่ า งๆ ที่เ ป็ น ไปได้ท งั้ หมด พร้อ มๆ ไปกับ การประเมิน ค่ า แล ว้ เลือ กแต่ ส่ิ ง ที่ ดี แ ละมีป ระโยชน์ต่ อ การพัฒ นาคุ ณ ภาพ ชี วิ ต ของแต่ ล ะบุ ค คล ตลอดจนสัง คม ทัว่ ไปเพื่อ มุ่ง สู่ ค วามสุ ข แท้ต ามความเป็ น จริ ง ร่ ว มกัน 2. การวางตัว เป็ นกลางในการ พิ จ ารณาประเด็ น ต่ า งๆ อย่ า งรอบคอบ ให้ค วามเป็ นธรรมแก่ ทุ ก ฝ่ าย เข้า ถึ ง เหตุ ผ ลของทุ ก ค� ำ ตอบด้ว ยความเป็ น ธรรม เมื่ อ มองรอบคอบแล ว้ ก็ ต ัด สิ น ใ จ โ ด ย เ ลื อ ก เ อ า ส่ ว น ดี จ า ก ทุ ก ท า ง สัง เคราะห์ ส่ ว นดี ต่ า งๆ ให้เ ข้า กัน เป็ น ระบบใหม่ ข องตนเอง น� ำ ไปปฏิ บ ตั ิ โ ดย ยึ ด ทางสายกลางไว้เ สมอ แต่ เ ป็ นทาง สายกลางที่ย กระดับ สู ง กว่ า สายที่ล ำ� เอีย ง (กี ร ติ บุ ญ เจื อ , 2560) 3. ส่ ง เสริ ม แนวทางการเรี ย นรู ้ ศาสนา คื อ 1) ศึ ก ษาศาสนาต่ า งๆ ด้ว ย ใจเป็ น ธรรม 2) ศึ ก ษาศาสนาต่ า งๆโดย ยกย่ อ งทุ ก ศาสนาเท่ า เทีย มกัน 3) ศึ ก ษา ตามบริ บ ทของศาสนาแต่ ล ะศาสนา โดย ตัง้ สมมุติ ไ ว้ว่ า ทุ ก ศาสนาดี แ ต่ ดี ต่ า งกัน 4. ใช้แ นวคิ ด ปรั ช ญากระบวน ทรรศน์ ห ลัง นวยุ ค สายกลาง (moderate postmodern philosophy) ที่ มี ท รรศนะต่ อ ศาสนาต่ า งๆ ว่ า ผู น้ ับ ถื อ ศาสนาต่ า งกัน ควรหัน หน้า เข้า หากัน ต่ า ง

ลัท ธิ ก ัน หัน หน้า เข้า กัน เพื่ อ แลกเปลี่ย น ความรู แ้ ละประสบการณ์ ใ ห้แ ก่ ก ัน เพื่ อ สร้า งบรรยากาศแห่ ง ความเป็ นเอกภาพ บนความหลากหลาย ความร่ ว มมื อ ระหว่ า งศาสนาอาจจะปฏิบ ตั ิ ไ ด้เ ป็ น ขัน้ ๆ ดัง นี้ 1) ไม่ ร ัง เกี ย จกัน 2) เคารพกัน 3) ช่ ว ยเหลือ กัน ตามมารยาทสัง คม 4) หวัง ดี ต่ อ กัน ด้ว ยความจริ ง ใจ 5) แบ่ ง ปัน ความรู แ้ ละประสบการณ์ แ ก่ ก ัน เพื่อ พัฒ นาไปด้ว ยกัน โดยมีเ ป้ าหมายร่ ว มกัน ในการสร้า งสัน ติ ภ าพ สมานฉั น ท์ จ ะเกิ ด ขึ้ นได้จ ริ ง ใน ระหว่ า งอารยธรรม วัฒ นธรรม ศาสนา นิ ก าย เชื้ อ ชาติ ชนชาติ นั้น จะต้อ งเป็ น สมานฉั น ท์ ท่ี ป ฏิ บ ั ติ ไ ด้จ ริ ง (active reconciliation) โดยทัง้ ฝ่ ายที่ ส่ ง เสริ ม และฝ่ ายอนุ ร ัก ษ์ นิ ย มมี ค วามเข้า ในใน แนวทางสมานฉั น ท์อ ย่ า งเหมาะสมและ มุ่ ง แสวงหาระดั บ ของการอยู่ ร่ วมกั น อย่ า งสัน ติ สุ ข สรุ ป

พ หุ วั ฒ น ธ ร ร ม เ ป็ น แ น ว คิ ด ใ น การการเสริ ม ศั ก ยภาพการสร้า งความ สมานฉั น ท์ ท่ี ไ ด้ร ั บ การยอมรั บ ในการ แก้ป ัญ หาความขัด แย้ง ความแตกแยก ระหว่ า งอารยธรรม วัฒ นธรรม เชื้ อ ชาติ และศาสนา ทัง้ ระหว่ า งและภายใน อารยธรรม วัฒ นธรรม เชื้ อ ชาติ และ ศาสนานั้ น การน� ำ หลัก พหุ ว ัฒ นธรรม ไปใช้ต อ้ งสร้า งความเป็ นพหุ ว ฒ ั นธรรม ยอมรับ ว่ า อารยธรรมอื่ น มีคุ ณ ค่ า ส�ำ หรับ


คนอื่ น ด้ว ยเช่ น เดี ย วกั น ทั้ง นี้ ในยุ ค ปั จ จุ บั น ต้ อ ง ส ร้ า ง พ หุ วั ฒ น ธ ร ร ม อ ยู่ บนการใช้ชี วิ ต การเป็ นวิ ถี ชี วิ ต ที่ เ น้น การพัฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต บนฐานศาสนา วัฒ นธรรม อารยธรรม ทัง้ นี้ การปฏิ บ ตั ิ พหุ ว ัฒ นธรรมจะต้อ งเน้น การกลับ มา เป็ นเพื่ อ นกัน อี ก ครั้ง ของทุ ก ฝ่ าย และ พึ ง ระวัง อคติ จ ากการมองโลกในแง่ ดี และอคติ จ ากการมองโลกในแง่ ร า้ ยไป พร้อ มกั น และใช้เ ครื่ อ งมื อ แห่ ง ความ สมานฉัน ท์ท่ี ท นั สมัย นัน่ คื อ ปรัช ญากระ บวนทรรศน์ ห ลัง นวยุ ค สายกลางเพื่ อ ให้ เป็ นสมานฉั น ท์ ท่ี ป ฏิ บ ัติ ไ ด้จ ริ ง และทุ ก ฝ่ ายอยู่ ร่ ว มกัน ได้อ ย่ า งสัน ติ

สาส์น อิส ลาม

บรรณานุ ก รม 1. M acDonald F. (2010). Relational group autonomy. Ethics of care and multiculturalism paradigm. Hypatia. 25(1): 196-212. 2. P isman A. (2007). Lifestyles as centrifugal and centripetal forces in the polycentric network city of Flanders. In international conference on new concepts and approaches for urban and regional policy and planning, Leuven 2-3/4/2007 papers, Leuven. Retrieve on August, 5, 2019 from https:// biblio.ugent.be/publication/379900/ file/460473 3. กี ร ติ บุ ญ เจื อ . (2560). ปรัช ญา และจริ ย ศาสตร์ ส มัย ปั จ จุ บ ัน . กรุ ง เทพฯ : มหาวิท ยาลัย ราชภัฏ สวนสุ น ัน ทา. 4. กี ร ติ บุ ญ เจื อ . (2556). ปัญ หาและ ทางแก้เ กี่ ย วกับ การอบรมคุ ณ ธรรมจริ ย ธรรม รวมศี ล ธรรมในประเทศไทยจากมุ ม มองของ แซมมวล ฮัน ติ ง ตัน . กรุ ง เทพฯ : มหาวิท ยาลัย ราชภัฏ สวนสุ น ัน ทา. 5. ร วิช ตาแก้ว .(2558). ความหมายของ ค�ำ “ดี ง าม” ในบริ บ ทวัฒ นธรรมไทย. วารสาร บัณ ฑิต ศึ ก ษา มหาวิท ยาลัย ราชภัฎ สวนสุ น ัน ทา. 8(1): 258-272. 6. เ อ น ก สุ ว ร ร ณ บั ณ ฑิ ต . ( 2 5 6 1 ) . ภู มิ คุ ้ม กั น เชิ ง สัง คมในสัง คมก้ม หน้า . รมย สาร. 16(1): 25-40. 7. เอนก สุ ว รรณบัณ ฑิ ต . (2559). คน สัต ว์ สวนสัต ว์: จริ ย ธรรมแห่ ง การดู แ ล. รมย สาร. 14(3): 105-116. 8. เอนก สุ ว รรณบัณ ฑิต , กี ร ติ บุ ญ เจื อ . (2558). สัง คมบนฐานความรู ก้ บั สัน ติ ภ าพ.รมย สาร. 13(2): 149-160. 9. เ อนก สุ ว รรณบัณ ฑิ ต . (2562ก).

89


สาส์น อิส ลาม

การตี ค วามปรั ช ญากระบวนทรรศน์ ก ั บ ลัท ธิ ความเชื่ อ . สื บ ค้น เมื่ อ 5 สิ ง หาคม 2562 จาก http://philosophy-suansunandha. com/2019/07/18/paradigm-and-ism.

90


กรณี ศึ ก ษา จุ ฬ าราชมนตรี ต่ ว น สุ ว รรณศาสน์ : ชี วิ ต และแบบอย่ า งการอยู่ ร่ ว มกั น อย่ า งสมานฉั น ท์ ในสั ง คมพหุวั ฒ นธรรม สมาน อู่ ง ามสิ น นัก ศึ ก ษาหลัก สู ต รประกาศนี ย บัต รชัน้ สู ง การเสริ ม สร้า งสัง คมสัน ติ สุ ข ส�ำ นัก สัน ติ วิธี แ ละธรรมาภิ บ าล สถาบัน พระปกเกล า้

สาส์น อิส ลาม

บทคั ด ย่ อ จุ ฬ าราชมนตรี ต่ ว น สุ ว รรณศาสน์ ให้ค วามสนใจเข้า ร่ ว มกิ จ กรรมศาสน สัม พัน ธ์ท่ี ก รมการศาสนาจัด ขึ้น อย่ า งสม�ำ่ เสมอมาโดยตลอด ซึ่ ง มีท งั้ พุ ท ธ อิ ส ลาม คริ ส ต์ ฮิ น ดู - พราหมณ์ แ ละซิ ก ข์ ท่ า นจะเข้า ร่ ว มกิ จ กรรมด้ว ยตัว เองเป็ นประจ�ำ ทุ ก ปี จนถึง ปี 2523 ซึ่ ง เป็ นครั้ง สุ ด ท้า ยก่ อ นถึง อนิ จ กรรมในปี ถ ดั มา ด้ว ยบทบาทของจุ ฬ าราชมนตรี ต่ ว น สุ ว รรณศาสน์ ที่ ป ระกอบภารกิ จ ที่ มี คุ ณู ป การสู ง เด่ น เช่ น นี้ ท่ า นจึ ง ได้ร ับ พระราชทานเครื่ อ งราชอิ ส ริ ย าภรณ์ ต ริ ต าภรณ์ มงกุ ฎ ไทยเมื่อ ปี 2493 ตริ ต ราภรณ์ ช า้ งเผื อ กเมื่อ ปี 2509 ทวิติ ย าภรณ์ ม งกุ ฎ ไทย เมื่อ ปี 2517 และทวิติ ย าภรณ์ ช า้ งเผื อ กเมื่อ ปี 2524 เป็ น การประกาศเกี ย รติ ป ระวัติ และคุ ณ งามความดี ท่ี ท่ า นมอบไว้แ ก่ ส งั คมพหุ ว ฒ ั นธรรมโดยไม่ แ บ่ ง แยกมุส ลิม ออก จากสัง คมที่ มีค วามหลากหลายทางความคิ ด และความเชื่ อ ท่ า นพร�ำ่ สอนลู ก ศิ ษ ย์ลู ก หาตลอดเวลาให้เ คารพความคิ ด และความเชื่ อ ที่ แ ตกต่ า งและชื่ น ชมยิ น ดี ก ับ ความ เหมื อ น โดยเน้น การอยู่ ร่ ว มกัน อย่ า งศานติ แ ละแสวงหาจุ ด ร่ ว มสงวนจุ ด ต่ า ง โดย การน� ำ หลัก การอิ ส ลามที่ เ ป็ นค� ำ สอนส�ำ คัญ ด้า นการอยู่ ร่ ว มกัน อย่ า งสัน ติ ใ นสัง คม แบบพหุ ว ฒ ั นธรรมและยึ ด หลัก จริ ย ะวัต รพระศาสดามุ ฮ ัม มัด เป็ นที่ ต ั้ง ของการขับ เคลื่อ นหลัก สมานฉัน ท์ ค�ำ ส�ำ คัญ : จุ ฬ าราชมนตรี , สัง คมพหุ ว ฒ ั นธรรม, ความสมานฉัน ท์

91


Academic article Capacities for Achieving peaceful Co-Existence among religions and sects : case study of Chula Rajmontri, Mr.Tuan Suwanasat: life and ways of living together Reconciliation in a multicultural society

สาส์น อิส ลาม

Abstract Chula Rajmomtri Mr. Tuan suwannasat, interested in participating in religious relations activities. Organized by the Religious Affairs Department consistently throughout Which includes Buddhism, Islam, Christianity, Hindu-Brahman and Sikhism You will attend the activities yourself annually until the year 1980, the last time before demise the following year. With the role of Chula Rajmomyri Mr. Tuan suwannasat, a mission that has such outstanding contributions His Highness therefore received the Crown Crown Trident Award in 1950, Chang Puak Tritorn in 1966, Thitiporn Thornphon Thai Crown in 1974, and Twittiyaporn Chang Phueak in 1981, being an honorable mention and good deeds that He gave it to a multicultural society without separating Muslims from a society of diverse ideas and beliefs. He constantly taught his disciples to respect different ideas and beliefs and to enjoy similarities. By focusing on the peaceful coexistence and searching for common reserve points By adopting Islamic principles that are important teachings for peaceful coexistence in a multicultural society and observing the principles of the Prophet Muhammad as the driving force of reconciliation. Keywords: Chula Rajmomtri, Mayor, Multicultural Society, Reconciliation

92


หน้ า แรกของชี วิ ต หนั ง สื อ “ชี วิ ต และงานของนาย ต่ ว น สุ ว รรณศาสน์” ซึ่ ง จัด พิม พ์โ ดยคุ ณ หญิง สมร ภูมิณ รงค์ ประธาน “มูล นิ ธิต่ ว น สุ ว รรณศาสน์ จุ ฬ าราชมนตรี ” บัน ทึ ก ประวัติ โ ดยสัง เขปของจุ ฬ าราชมนตรี ต่ ว น สุ ว รรณศาสน์ ไว้ด งั นี้ “นายต่ ว น สุ ว รรณศาสน์ ห รื อ ที่ ลู กศิ ษ ย์ เ รี ย กกั น ติ ด ปากว่ า “ครู ต่ ว น” มี ช่ื อ เป็ นภาษา อาหรับ ว่ า “ฮัจ ยี อิ ส มาแอล บิน ฮัจ ยี ย ะห์ ยา” เกิ ด เมื่อ วัน ที่ 1 เมษายน 2431 ที่ ต�ำ บลบ้า นดอน อ�ำ เภอพระโขนง จัง หวัด พระนคร บิด ามารดาชื่ อ ฮัจ ยีย ะห์ย าและ นางเอี่ ย ม ภรรยาชื่ อ นางสาย สุ ว รรณ ศาสน์ ธิ ด าและบุ ต รคื อ คุ ณ หญิ ง สมร ภู มิณ รงค์แ ละนายสมาน สุ ว รรณศาสน์” ประมาณปี 2449 ขณะอายุ 18 ปี ท่ า น เ ดิ น ท า ง ไ ป ป ร ะ ก อ บ พิ ธี ฮ ั จ ย์ แ ล ะ เ ข้า ศึ ก ษาวิ ช าการศาสนาชั้น สู ง จากเช็ ค อา ลี มาลิ กี ที่ ม หานครมัก กะฮ์ ประเทศ ซาอุ ดิ อ ารเบีย โดยใช้เ วลาในการศึ ก ษา ราว 8 ปี

สาส์น อิส ลาม

ชี วิ ตคื อการศึ กษา การศึ กษาคื อ ชี วิ ต ประมาณปี 2458 หลัง จากเดิ น ทางกลับ สู่ ม าตุ ภู มิ ท่ า นเริ่ ม งานด้า นการ ศึ ก ษาทั น ที โ ดยได้ร ั บ เชิ ญ จากคุ ณ ชื่ น ชื่ น อัง กู ร ให้เ ป็ นครู ส อนประจ�ำ ที่ “ยา เวีย ร์” ซึ่ง เป็ น โรงเรี ย นของมุส ลิม เชื้อ สาย อิน เดีย ที่ต งั้ อยู่ ใ นชุม ชนมัส ยิด ฮารู ณ การ เรี ย นการสอนที่ น่ี ค ล า้ ยกั บ ปอเนาะใน

จัง หวัด ชายแดนใต้ คื อ นัก เรี ย นต้อ งมา อยู่ ป ระจ�ำ ในอาคารของโรงเรี ย น ศึ ก ษา วิ ช าการศาสนาในภาคกลางวัน ฝึ กหัด ภาคปฏิ บ ตั ิ ใ นตอนกลางคื น โรงเรี ย นไม่ คิ ด ค่ า ใช้จ่ า ยใดๆ ในการเรี ย น แล ว้ แต่ ผู ป้ กครองจะบริ จ าค แต่ น ัก เรี ย นทุ ก คน ต้อ งหุ ง หาอาหารกิ น กัน เอง ปี 2463 ครู ต่ ว นได้จ ดั ท�ำ หลัก สู ต ร เพื่ อ การเรี ย นการสอนภาคศาสนาและ ยื่ น ขออนุ ญ าตจากกระทรวงธรรมการ เพื่ อ จัด ตั้ง โรงเรี ย นราษฎร์ช่ื อ “อัน ยุ ม นั อิ ส ลาม” ตามชื่ อ สมาคมที่น ายห้า ง เอ.อี . นานา เป็ นผู ร้ ิ เ ริ่ ม และเป็ นเจ้า ของที่ ดิ น อัน ยุ ม ัน อิ ส ลามจึ ง เป็ นโรงเรี ย นที่ ส อน วิ ช าการสามัญ ในภาคเช้า และวิ ช าการ ศาสนาในภาคบ่ า ย ครู ต่ ว นจึง ต้อ งเป็ น ทัง้ ผู บ้ ริ ห ารและครู ผู ส้ อนที่ มีค วามสามารถ ในการถ่ า ยทอดวิ ช าความรู จ้ นท� ำ ให้ผู ้ ปกครองนิ ย มส่ ง ลู ก หลานเข้า มาเป็ นลู ก ศิ ษ ย์เ รี ย นวิช าการศาสนา ภาษาอาหรับ และภาษามลายู ก ับ ท่ า นเป็ นจ�ำ นวนมาก โรงเรี ย นอัน ยุ ม นั จึ ง มี ช่ื อ เสี ย งขจรขจาย เป็ น ที่ย อมรับ ของสัง คมมุส ลิม อย่ า งกว้า ง ขวางในขณะนั้น ค รั้ ง ห นึ่ ง พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พระมงกุ ฎ เกล า้ เจ้า อยู่ ห ัว รั ช กาลที่ 6 เสด็ จ ประพาสทางชลมารคผ่ า นโรงภาษี เก่ า ริ ม แม่ น�้ำ เจ้า พระยา ครู ต่ ว นจึ ง จัด นัก เรี ย นภาคศาสนาของโรงเรี ย นอัน ยุ มัน อิ ส ลามไปถวายการรับ เสด็ จ ท่ า นได้ แปลบทเพลงสรรเสริ ญ พระบารมี เ ป็ น ภาษาอาหรับ และให้น ัก เรี ย นขับ ร้อ งรับ

93


สาส์น อิส ลาม

เสด็ จ แต่ เ นื่ อ งจากการเสด็ จ ผ่ า นเป็ น ยงค์ ด�ำ รงต� ำ แหน่ ง จุ ฬ าราชมนตรี ซึ่ ง เวลาค�ำ ่ ท่ า นจึ ง ให้น ัก เรี ย นทุ ก คนถือ คบ ค รู ต่ ว น ไ ด้ร ั บ แ ต่ ง ตั้ ง เ ป็ น ก ร ร ม ก า ร เพลิง ที่ ท �ำ เป็ นรู ป ดอกบัว ไว้ใ นมือ กลางอิ ส ลามแห่ ง ประเทศไทยท่ า นหนึ่ ง จุ ฬ าราชมนตรี ท่ า นที่ 15 แห่ ง กรุ ง ด้ว ย พอถึง ปี 2490 เกิ ด ความผัน ผวน ทางการเมือ ง จุ ฬ าราชมนตรี แ ช่ ม พรหม รั ต นโกสิ น ทร์ หนั ง สื อ “จุ ฬ าราชมนตรี ต่ ว น ยงค์ ต้อ งเดิ น ทางออกนอกประเทศ สุ ว รรณศาสน์ และความเป็ นมาของ เป็ นผลให้ต � ำ แหน่ งจุ ฬ าราชมนตรี ว่ า ง ต� ำ แ หน่ ง จุ ฬ าราช มนตรี ” จั ด พิ ม พ์ ปี ลง กระทรวงมหาดไทยจึ ง จัด ประชุ ม 2524 โดยกองบรรณาธิ ก ารหนัง สือ พิม พ์ เ พื่ อ เ ลื อ ก ตั้ ง ป ร ะ ธ า น แ ล ะ ก ร ร ม ก า ร ชานเมื อ ง กล่ า วถึ ง ครู ต่ ว นไว้ต อนหนึ่ ง อิส ลามประจ�ำ จัง หวัด ที่มีป ระชากรมุส ลิม “ท่ า นมีผ ลงานทางด้า นการอบรมสัง่ สอน จ�ำ นวนมาก 24 จัง หวัด ซึ่ ง ในครั้ง นี้ ค รู ลู ก ศิ ษ ย์ลู ก หามากมาย ในด้า นการปราศัย ต่ ว นได้ร ับ เลื อ กเป็ นประธานกรรมการ การเขีย น แม้ถึง ไม่ เ รี ย กว่ า มากนัก แต่ ก็ อิ ส ลามประจ� ำ จั ง หวั ด พระนคร ราว พอมี ผ ลงานไม่ น ้อ ยเหมื อ นกั น ” ในปี กล างปี 2 4 9 1 ฯ พณ ฯ จ อ มพล ป . 2478 ครู ต่ ว นผลิ ต งานหนัง สื อ (น่ า จะ พิ บู ล ย์ ส งคราม จั ด ประชุ ม กรรมการ เป็ น) เล่ ม แรกรวบรวมคุ ต บ๊ะ ฮ์ข องท่ า น อิ ส ลามประจ� ำ จั ง หวัด ทุ ก จั ง หวัด เพื่ อ ชื่ อ “รั้ว ซุ น นี แ ห่ ง สยาม” พิม พ์ท่ี โ รงพิม พ์ ลงคะแนนเสี ย งเลื อ กตั้ง จุ ฬ าราชมนตรี ย้ง หลี เชิ ง สะพานเสาชิ ง ช้า และหนัง สื อ ท่ า นใหม่ ณ ท�ำ เนี ย บรัฐ บาล ปรากฏว่ า เล่ ม นี้ ยัง มี ผู ส้ นใจเสาะหามาอ่ า นจวบ ครู ต่ ว นได้ร ับ เลื อ กจากเสี ย งข้า งมากให้ จนถึ ง ทุ ก วัน นี้ ในปี 2480 ครู ต่ ว นเป็ น ด�ำ รงต� ำ แหน่ ง จุ ฬ าราชมนตรี ท่ า นที่ 15 หนึ่ ง ในห้า ของผู ท้ รงคุ ณ วุ ฒิ ท่ี ไ ด้ร ับ แต่ ง แห่ ง กรุ ง รัต นโกสิ น ทร์ ข ณะที่ ท่ า นมี อ ายุ ตั้ง เป็ นที่ ป รึ ก ษากิ จ การศาสนาอิ ส ลาม 60 ปี

94

ต่ อ มาอี ก เกื อ บหนึ่ ง ทศวรรษ คื อ ในปี 2488 รัฐ บาลมีพ ระราชกฤษฎี ก าว่ า ด้ว ย การศาสนู ป ถัม ภ์ฝ่ ายอิ ส ลามเพื่อ จัด ให้มี จุ ฬ าราชมนตรี กรรมการกลางอิ ส ลาม แห่ ง ประเทศไทย และกรรมการอิ ส ลาม ประจ� ำ จัง หวัด เพื่ อ เป็ นที่ ป รึ ก ษาของ ทางราชการในระดับ ต่ า งๆ ฯพณฯ ปรี ดี พนมยงค์ ผู ส้ �ำ เร็ จ ราชการแทนพระองค์ ในขณะนั้น ได้แ ต่ ง ตัง้ ให้น ายแช่ ม พรหม

อิ สลามวิ ทยาลั ยแห่ งประเทศไทย แ บ บ อ ย่ า ง ก า ร อ ยู่ ร่ ว ม กั น อ ย่ า ง สมานฉั น ท์ ใ นสั ง คมพหุวั ฒ นธรรม ภาระกิ จ ส� ำ คั ญ อั น ดั บ แรกของ จุ ฬ าราชมนตรี ต่ ว น สุ ว รรณศาสน์ ห ลัง จากเข้า รับ ต�ำ แหน่ ง คื อ การด�ำ เนิ น การต่ อ เนื่ อ งในเรื่ อ งการศึ ก ษา ทัง้ นี้ สืบ เนื่ อ งจาก ในมาตรา 4 ของพระราชกฤษฎี ก าว่ า ด้ว ย ศาส นู ป ถั ม ภ์ ฝ่ าย อิ ส ล ามร ะ บุ ว่ า


70 ปี และนั บ เป็ นความภาคภู มิ ใ จที่ ศิ ษย์ เ ก่ าจากจั ง หวั ด ชายแดนใต้ข อง อิ ส ลามวิ ท ยาลัย แห่ ง ประเทศไทยท่ า น หนึ่ ง คื อ “นายวัน มู ห ะมัด นอร์ มะทา” ได้ร ั บ การโปรดเกล า้ ฯ ขึ้ นสู่ ต � ำ แหน่ ง ส� ำ คั ญ ในฝ่ ายบริ ห ารของคณะรั ฐ บาล หลายชุ ด เช่ น รัฐ มนตรี ว่ า การกระทรวง คมนาคมและรัฐ มนตรี ว่ า การกระทรวง มหาดไทย เป็ น ต้น และสุ ด ท้า ยท่ า นก้า ว ขึ้ น สู่ ต � ำ แหน่ ง ประธานรัฐ สภา ประมุ ข สู ง สุ ด ของฝ่ ายนิ ติ บ ญ ั ญัติ อี ก ท่ า นหนึ่ ง ซึ่ ง เป็ นศิ ษ ย์เ ก่ า และความภาคภู มิใ จของ อิ ส ลามวิ ท ยาลัย แห่ ง ประเทศไทยเช่ น เดี ย วกัน คื อ “ทนายสมชาย นี ล ะไพจิ ต ร” ลู ก ห ล า น ค น ห น อ ง จ อ ก ผู ้ผ ดุ ง ค ว า ม ยุ ติ ธ รรมแม้จ ะต้อ งแลกกับ ชี วิ ต ที่ ค นทัง้ ประเทศให้ก ารยกย่ อ ง ทั้ง สองท่ า นจึ ง เป็ นผลผลิต ของนโยบายการอยู่ ร่ ว มกัน อย่ า งสมานฉัน ท์ใ นสัง คมพหุ ว ฒ ั นธรรม ซึ่ ง จุ ฬ าราชมนตรี ต่ ว น สุ ว รรณศาสน์ เป็ น ผู ร้ ิ เ ริ่ ม ใ น ปี แ ร ก ที่ มี นั ก เ รี ย น ส� ำ เ ร็ จ ก า ร ศึ ก ษ า จ า ก อิ ส ล า ม วิ ท ย า ลั ย แ ห่ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย รั ฐ บ า ล ยั ง ไ ม่ ส า ม า ร ถ จัด หาทุ น ให้ไ ปเรี ย นต่ อ ในต่ า งประเทศ ไ ด้ต า ม พ ร ะ ร า ช ก ฤ ษ ฎี ก า ที่ ป ร ะ ก า ศ ไ ว้ จึ ง เ ป็ น ภ า ร ะ กิ จ เ ร่ ง ด่ ว น ข อ ง จุ ฬ าราชมนตรี ต่ ว น สุ ว รรณศาสน์ ท่ี จ ะ ต้อ งติ ด ต่ อกั บ สถานทู ต อาหรั บ หลาย แห่ ง ในประเทศไทยเพื่ อ ขอทุ น และก็ ประสบความส� ำ เร็ จ โดยท่ า นสามารถ ขอทุ น ผ่ า นสถานเอกอัค รราชทู ต อี ยิ ป ต์

สาส์น อิส ลาม

“เมื่ อ เห็ น สมควร กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร อ า จ จั ด ตั้ ง ส ถ า น ก า ร ศึ ก ษ า เ รี ย ก ว่ า “ อิ ส ล า ม วิ ท ย า ลั ย แ ห่ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ” เพื่ อ อิ ส ลามศาสนิ ก จะได้ศึ ก ษาและได้ รับ การอบรมทางด้า นศาสนา ผู ส้ �ำ เร็ จ การศึ ก ษาจากวิ ท ยาลัย นี้ มี สิ ท ธิ เ ข้า รับ เลื อ กเพื่ อ รับ พระราชทานเงิ น ทุ น ส่ ง ไป เข้า ศาสนาจารี ต ณ นครเมกกะ ตาม จ�ำ นวนที่ ไ ด้ท รงพระกรุ ณ าโปรดเกล า้ ฯ ก�ำ หนดขึ้ น เป็ นคราวๆ ในเรื่ อ งของการ ศึ ก ษา จุ ฬ าราชมนตรี ต่ ว น สุ ว รรณศาสน์ นั บ เป็ นผู ม้ ี ป ณิ ธ านอัน แรงกล า้ ที่ จ ะยก ระดั บ การศึ ก ษาเล่ า เรี ย นองค์ ค วามรู ้ ที่ ห ลากหลาย ไม่ ใ ช่ แต่ เพี ย งศาสนา อย่ า งเดี ย วและยัง ต้อ งการฝึ กฝนการ อยู่ ร่ ว มกัน อย่ า งสมานฉั น ท์ข องเยาวชน มุ ส ลิ ม กั บ เ พื่ อ น นั ก เ รี ย น ต่ า ง ศ า ส นิ ก ในสถาบัน เดี ย วกัน อี ก ด้ว ย ท่ า นจึ ง ได้ ร่ ว มกับ กรมการศาสนาจัด หาที่ ดิ น เพื่ อ ใช้เ ป็ นสถานที่ ต ั้ง ของอิ ส ลามวิ ท ยาลัย แห่ ง ประเทศไทย จัด วางหลัก สู ต รด้ว ย ก า ร บ ร ร จุ วิ ช า ก า ร ศ า ส น า แ ล ะ ภ า ษ า อาหรั บ เพื่ อ ปู ท างให้ส ามารถศึ ก ษาต่ อ ในมหาวิ ท ยาลัย ศาสนาในต่ า งประเทศ และเปิ ด รับ นัก เรี ย นรุ่ น แรกเป็ น นัก เรี ย น ประจ� ำ ระดั บ มั ธ ยมศึ กษาตอนปลาย เพื่ อ สะดวกในการฝึ กภาคปฏิ บ ตั ิ โ ดยให้ โอกาสแก่ น ัก เรี ย นจากภาคใต้เ ป็ นกรณี พิเ ศษ อิ ส ลามวิท ยาลัย แห่ ง ประเทศไทย เปิ ดเป็ นสถานศึ ก ษาอย่ า งเป็ นทางการ เมื่ อ วัน ที่ 10 กรกฎาคม 2493 จนถึ ง วัน นี้ มี อ ายุ ย่ า งเข้า สู่ ภ าวะผู ส้ ู งวัย กว่ า

95


สาส์น อิส ลาม

จ� ำ น ว น 1 0 ทุ น จ า ก ม ห า วิ ท ย า ลั ย อัล อัซ ฮั ร ซึ่ ง เป็ นมหาวิ ท ยาลัย เก่ า แก่ ชั้น น� ำ ของโลก ความส�ำ เร็ จ ในครั้ง นั้น จึ ง เป็ นช่ องทางให้น ั ก เรี ย นนั ก ศึ กษา มุ ส ลิม จากประเทศไทยได้ร ับ ทุ น มาโดย ตลอดรวมถึ ง การขยายไปสู่ ก ารรับ ทุ น ภาควิ ช าการสามัญ จากมหาวิ ท ยาลัย อื่ น ๆ ในคาบสมุ ท รอาหรับ เช่ น สาขา แ พทย์ ศ า ส ต ร์ แ ละวิ ศ วกรรมศาสตร์ เป็ น ต้น ห ลั ง จ า ก จั ด ตั้ ง แ ล ะ ว า ง ห ลั ก น โ ย บ า ย ก า ร บ ริ ห า ร ใ ห้ แ ก่ อิ ส ล า ม วิท ยาลัย แห่ ง ประเทศไทยเป็ น รู ป เป็ น ร่ า ง เรี ย บร้อ ยแล ว้ ในปี 2499 ตามค�ำ เรี ย ก ร้อ งของลู ก ศิ ษ ย์ ลู ก หา จุ ฬ าราชมนตรี ต่ ว น สุ ว รรณศาสน์ จึ ง เริ่ ม จัด บรรยาย ศาสนธรรมแก่ บุ ค คลทัว่ ไปทุ ก วัน อาทิต ย์ ณ ส�ำ นัก อภิ ธ รรมอัน ยุ ม นั อิ ส ลาม ตรอก โรงภาษี เ ก่ า บางรัก ตัง้ แต่ เ วลา 9.30 – 11.30 น. อี ก ครั้ง หนึ่ ง โดยเริ่ ม ต้น จาก ลู ก ศิ ษ ย์เ พีย ง 30 – 40 คน จนกระทัง่ ถึง 500 กว่ า คน เมื่อ ท่ า นจุ ฬ าราชมนตรี ต่ ว น สุ ว รรณศาสน์มีอ ายุ ข ยั เกื อ บ 90 ปี ท่ า นได้ส ัง่ เสี ย และมอบหมายภาระกิ จ ส� ำ คัญ นี้ แก่ บ รรดาลู ก ศิ ษ ย์ ข องท่ า นให้ ช่ ว ยกัน ส่ ง เสริ ม ดู แ ลสถาบัน แห่ ง นี้ ใ ห้ค ง อยู่ คู่ ก ับ มุส ลิม และลู ก หลานสื บ ไป

96

จัง หวัด ชายแดนใต้ ภารกิ จ พื้ น ฐานซึ่ ง ขาดเสี ย มิ ไ ด้คื อ การเยี่ ย มเยี ย นชุ ม ชน มุส ลิม อย่ า งสม�ำ่ เสมอเพื่อ เป็ น ขวัญ ก�ำ ลัง ใจและร่ ว มกัน ปรึ ก ษาหารื อ แก้ไ ขปัญ หา ต่ า งๆ เท่ า ที่ จ ะเป็ นไปได้ เช่ น การเรี ย น การสอนศาสนาแก่ เ ยาวชนในปอเนาะ การจัด อบรมศาสนาในวัน หยุ ด ราชการ แก่ ผู ส้ ู งวัย การอ� ำ นวยความสะดวก สบายในการประกอบศาสนกิ จ ต่ า งๆ เช่ น การละหมาด การถือ ศี ล อด การเดิ น ทาง ไปบ�ำ เพ็ ญ ฮัจ ย์ ฯลฯ และการท�ำ มาหา เลี้ ย งชี พ เป็ นต้น โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง การเยี่ ย มเยี ย นเป็ นก�ำ ลัง ใจแก่ ผู ป้ ระสบ อุ ท กภัย ซึ่ ง เกิ ด ขึ้ นบ่ อ ยครั้ ง ในจั ง หวัด ชายแดนใต้ ภาพทางสื่ อ สารมวลชนที่ ปรากฎแสดงให้เ ห็ น เป็ นประจั ก ษ์ แ ก่ สาธารณชนตลอดหลายปี ที่ ท่ า นด� ำ รง ต�ำ แหน่ ง จุ ฬ าราชมนตรี ว่ า ท่ า นเป็ น ผู น้ �ำ จิ ต วิ ญ ญาณอัน ดับ ต้น ๆ ของมุ ส ลิ ม ใน ประเทศไทยอย่ า งแท้จ ริ ง นอกจากนี้ จุ ฬ าราชมนตรี ต่ วน สุ ว รรณศาสน์ ย ัง เป็ นผู ม้ ี บ ทบาทส�ำ คัญ ในการประสานงานการก่ อ สร้า งมัส ยิ ด กลางจัง หวัด ปัต ตานี ซ่ึ ง เป็ นมัส ยิ ด กลาง ที่ ใ หญ่ ท่ี สุ ด ในประเทศไทยที่ ต � ำ บลจะ บัง ติ ก อ อ�ำ เภอเมือ งปัต ตานี บนเนื้ อ ที่ 7 ไร่ เ ศษ ตัง้ แต่ ปี 2500 ด้ว ยงบประมาณ จากรัฐ บาลเป็ น เงิน 3,773,027.00 บาท ภารกิ จ ในจั ง หวั ด ชายแดนใต้ ใ น ก า ร ด� ำ ร ง ต� ำ แ ห น่ ง แ ล ะ เ งิ น บ ริ จ า ค จ า ก ป ร ะ ช า ช น ทั ่ว ไ ป จุ ฬ าราชมนตรี ข องประเทศไทยซึ่ ง มี อี ก 300,000.00 บาท ฯพณฯ จอมพล ์ ประชากรมุ ส ลิ ม ส่ ว นใหญ่ อ าศั ย อยู่ ใ น สฤษฎิ ธนะรัช ต์ นายกรัฐ มนตรี เป็ น ผู ป้ ระกอบพิ ธี ม อบมัส ยิ ด กลางจัง หวัด


สุ ว รรณศาสน์ ในฐานะผู ร้ ับ มอบกุ ญ แจ จาก ฯพณฯ นายกรั ฐ มนตรี ใ นนาม ของชาวไทยมุ ส ลิ ม ได้ก ล่ า วตอบตอน หนึ่ ง ว่ า “ความกรุ ณ าของรัฐ บาลในครั้ง นี้ ชาวไทยมุ ส ลิ ม ในประเทศไทยและ มุ ส ลิ ม โดยทั ว่ ไปต่ างมี ค วามปลื้ มปิ ติ และจารึ ก ไว้ใ นดวงจิ ต ตลอดไป และ โดยเฉพาะอาคารแห่ ง นี้ ก็ เ ป็ นอาคารที่ มิ อาจมีอ าคารอื่ น เสมอเหมือ น เพราะเป็ น อาคารที่ ใ ช้เ ป็ นมัส ยิ ด ซึ่ ง เป็ นถาวรวัต ถุ ทางศาสนาและเป็ นประจัก ษ์ พ ยานที่ ดี ยิ่ ง ในการที่ แ สดงว่ า รัฐ บาลของสมเด็ จ พระเจ้า อยู่ หั ว มี ค วามห่ วงใย ความ ปราถนาดี และให้ก ารศาสนู ปถัม ภ์ท่ี ดี ต่ อ ศาสนาอิ ส ลาม โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง พระบาทสมเด็ จ พระเจ้า อยู่ ห ัว ก็ ไ ด้ท รง มี พ ระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ให้ก ารอุ ป ถัม ภ์ อย่ า งดี ” งานเมาลิ ดกลางแห่ ง ประเทศไทย วาระแสดงตั ว ตนของชาวไทยมุ ส ลิ ม วัต ถุ ป ระสงค์ ข องการจัด งานเมา ลิด (วัน เกิ ด ) ตั้ง แต่ อ ดี ต จนถึ ง ปัจ จุ บ นั มิ ใ ช่ เ พี ย งแค่ ก ารเผยแพร่ จ ริ ย วัต รและ จริ ย ธรรมอัน งดงามของท่ า นศาสดามุ ฮัม มัด (ขอความสัน ติ จ งมี แ ด่ ท่ า น) ผู ้ เป็ น แบบอย่ า งของมนุ ษ ยชาติ เ ท่ า นั้น แต่ ยัง มีอี ก ประการหนึ่ ง ที่ ส �ำ คัญ ไม่ น อ้ ยกว่ า กัน คื อ ความต้อ งการแสดงอัต ลัก ษณ์ ความเป็ น คนไทยมุส ลิม ซึ่ง เป็ น ประชากร ส่ ว นน้อ ยที่มีจ �ำ นวนมากที่สุ ด ในประเทศ และมี ป ระวัติ ศ าสตร์ ข องความผู ก พัน

สาส์น อิส ลาม

ปัต ตานี เ มื่อ วัน ที่ 25 พฤษภาคม 2506 และท่ า นกล่ า วปราศรั ย ด้ว ยใจความ อั น เ ป็ น ที่ น่ า ป ร ะ ทั บ ใ จ ดั ง ที่ บ ั น ทึ ก ไ ว้ ในหนั ง สื อ อนุ สรณ์ “มัส ยิ ด กลางของ ประชาชนชาวไทยภาคใต้” จัด พิม พ์โ ดย หน่ ว ยพัฒ นาการเคลื่อ นที่ข องรัฐ บาลเมื่อ ปี 2506 ตอนหนึ่ ง “ข้า พเจ้า ภู มิใ จที่ จ กั กล่ า วว่ า ประเทศไทยเป็ นประเทศหนึ่ ง ที่ ให้สิ ท ธิ เ สรี ภ าพอย่ า งกว้า งขวางในการ บ�ำ เพ็ญ ศาสนกิ จ แก่ ศ าสนิ ก ชนโดยทัว่ ไป รัฐ บาลของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้า อยู่ ห วั ซึ่ ง มีข า้ พเจ้า เป็ นนายกรัฐ มนตรี ใ ห้ค วาม เสมอภาคแก่ ศ าสนิ ก ชนทุ ก ศาสนา ทุ ก นิ ก าย ให้ป ฏิ บ ตั ิ ต ามลัท ธิ ศ าสนกิ จ โดย มิ ไ ด้ข ัด ขวางแม้ด ว้ ยประการใด และ มี แ ต่ ส่ ง เสริ ม เป็ นอย่ า งดี ท่ี สุ ด เพราะ รัฐ บาลของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้า อยู่ ห วั เห็ น ว่ า ศาสนาเป็ นนาถะส� ำ คั ญ ยิ่ ง ของ ศาสนิ ก ชนผู ม้ ี อ ารยธรรม ศาสนาเป็ น ประที ป ที่ โ ชติ ช่ ว งของมนุ ษยชาติ แ ละ ศาสนาเป็ นเครื่ อ งหมายของคุ ณ งาม ความดี มวลมนุ ษ ยชาติ ท่ี ด �ำ รงชี วิ ต อยู่ ร่ ว มกัน ด้ว ยความผาสุ ก ทุ ก วัน นี้ ต่ า งมี ศาสนาเป็ นที่ พ่ึ ง ที่ ร ะลึ ก ทุ ก คน เพราะ ทุ ก ศาสนาล ว้ นแต่ ส อนให้ม นุ ษ ยชาติ อ ยู่ ร่ ว มกัน ด้ว ยความรัก ความสามัค คี ทุ ก ศาสนาสอนไม่ ใ ห้เ บี ย ดเบี ย นกัน สอน ให้มีเ มตตากรุ ณ าต่ อ กัน สอนให้มีน�้ำ ใจ เอื้ อ เฟื้ อเผื่ อ แผ่ แ ก่ ผู อ้ ่ อ นอายุ อ่ อ นสติ ปัญ ญาและผู พ้ ิ ก ารทุ พ พลภาพ สอนให้ เคารพในกรรมสิ ท ธิ์ ข องผู อ้ ่ื น ” ใ น ก า ร นี้ จุ ฬ า ร า ช ม น ต รี ต่ ว น

97


สาส์น อิส ลาม

98

ร่ ว มกัน ที่ ย าวนานในการสร้า งบ้า นแปลง เมื อ งร่ ว มกับ ชนกลุ่ ม ชาติ พ นั ธุ ์ อ่ื น ๆ ใน ชาติ จุ ฬ าราชมนตรี ต่ ว น สุ ว รรณศาสน์ ได้ร้ ื อฟื้ นการจั ด งานเมาลิ ด ขึ้ นมาอี ก ครั้ง หนึ่ ง ในปี 2504 หลัง จากที่ เ คยมี ก า ร จั ด ใ น ส มั ย พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ จุ ล จอมเกล า้ เจ้า อยู่ ห วั รัช กาลที่ 5 และ ยุ ค หลัง เปลี่ย นแปลงการปกครอง 2475 แต่ ห ยุ ด ชะงัก ไปเป็ นเวลานานหลายปี ในการจัด งานเมาลิด เมื่อ ปี 2506 จุ ฬ าราชมนตรี ต่ ว น สุ ว รรณศาสน์ ได้ ก ร า บ บั ง ค ม ทู ล เ ชิ ญ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พระเจ้า อยู่ ห ัว รัช กาลที่ 9 และสมเด็ จ พระนางเจ้า ฯ พระบรมราชิ นี น าถ เสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น ทรงเปิ ดงานที่ ลุ ม พิ นี สถานเป็ นครั้ง แรก ในการจัด งานเมา ลิ ด กลางเมื่ อ ปี 2519 พระบาทสมเด็ จ พระเจ้า อยู่ ห วั รัช กาลที่ 9 ได้พ ระราชทาน พระราชด�ำ รัส แก่ ค ณะกรรมการจัด งาน เมาลิ ด กลาง ณ พระต� ำ หนัก จิ ต รลดา รโหฐาน เมื่อ วัน ที่ 3 สิ ง หาคม 2519 มี ใจความตอนหนึ่ ง ว่ า “ฉะนัน้ ที ่ท่ า นทัง้ หลายได้ พยายามที ่จ ะน�ำ ความรู แ้ ละวิ ธี ป ฏิ บ ตั ิ ของศาสนาที ่ดี เ ลิศ มาปฏิ บ ตั ิ โ ดยแท้ ด้ว ยความไม่ ท อ้ ถอยนัน้ ก็ เ ป็ นสิ ง่ ที ่ สร้า งความผาสุ ก ส่ ว นรวมของประเทศ ทัง้ ประเทศ เพราะว่ า ประเทศไทย ประกอบด้ว ยบุ ค คลต่ า งๆ ซึ่ ง มี ค วาม เชื ่อ มัน่ ต่ า งๆ กัน แต่ ว่ า แม้จ ะมี ความเชื ่อ มัน่ ในทางศาสนาต่ า งกัน ถ้า แต่ ล ะคนที ่ยึ ด มัน่ ศาสนาที ่ดี ปฏิ บ ตั ิ

อย่ า งเคร่ ง ครัด ย่ อ มไม่ มี ก ารขัด เคื อ ง กัน และอยู่ เ ย็ น เป็ นสุ ข ร่ ว มกัน ได้ การอยู่ เ ย็ น เป็ น สุ ข ร่ ว มกัน นัน้ ก็ หมายความแต่ ล ะคนสามารถที ่จ ะ ปฏิ บ ตั ิ ต ามความเชื ่อ มัน่ ที ่ดี ที ่ช อบของ ตน โดยไม่ มี ก ารขัด ขวาง เพราะเหตุ ว่ า ความเชื ่อ มัน่ ที ่ถู ก ต้อ งย่ อ มไม่ ข ดั ขวางกัน ความเชื ่อ มัน่ ที ่ถู ก ต้อ งนัน้ มี การเห็ น อกเห็ น ใจซึ่ ง กัน และกัน มี ก าร สนับ สนุ น ซึ่ ง กัน และกัน ทัง้ นัน้ ทุ ก ศาสนา ฉะนัน้ การที ่ไ ด้เ พ่ ง ศาสนาและปฏิ บ ตั ิ ศาสนาอย่ า งดี น้ ี ก็ เ ป็ น ประโยชน์อ ย่ า งยิ ง่ และเป็ นสิ ง่ ที ่น่ า ชื ่น ชม ก็ ข อให้ท่ า นทัง้ หลายได้เ พี ย รพยายามในการปฏิ บ ตั ิ ใ ห้ เคร่ ง ครัด ที ่สุ ด ” ภารกิ จ ในต่ า งแดน นอกเหนื อ จากการบริ ห ารกิ จ การ ศาสนาอิ ส ลามภายในประเทศซึ่ ง รวม ถึ ง ก า ร ใ ห้ก า ร ต้ อ น รั บ บุ ค ค ล ส� ำ คั ญ ระดั บ โลก เช่ น กษั ต ริ ย ์ ไ ฟซอลแห่ ง ซาอุ ดิ อ ารเบี ย กษัต ริ ย ์แ ห่ ง สหพัน ธรัฐ มาเลเซีย เลขาธิ ก ารสภามุส ลิม โลก ฯลฯ จุ ฬ าราชมนตรี ต่ ว น สุ ว รรณศาสน์ ยัง เข้า ร่ ว มกิ จ กรรมศาสนาอิ ส ลามในต่ า ง ประเทศอี ก ด้ว ย รัฐ บาลได้อ นุ ม ตั ิ ใ ห้ท่ า น เดิน ทางไปร่ ว มประชุม กิ จ การศาสนาตาม ค�ำ เชิ ญ ของรัฐ บาลปากี ส ถาน ณ กรุ ง กา ราจี เมื่ อ ปี 2501 ซึ่ ง เป็ นการเดิ น ทาง ไปต่ า งประเทศครั้ ง แรกของท่ า นหลัง จากได้ร ับ ต�ำ แหน่ ง เมื่ อ ปี 2491 ในการ ประชุ ม ครั้ง นี้ ท่ า นได้ส ร้า งเกี ย รติ ป ระวัติ


ที่ส ง่ า งามจนท�ำ ให้โ ลกอิส ลามรับ รู ถ้ ึง การ ศาสนู ป ภัม ภ์ฝ่ ายอิ ส ลามในประเทศไทย ว่ า คนไทยต่ า งเชื้ อ ชาติ ต่ า งศาสนาต่ า ง ความเชื่ อ และวัฒ นธรรมสามารถอยู่ ร่ วมกั น ในสั ง คมพหุ ว ัฒ นธรรมอย่ า ง สามัค คี ป รองดองมาช้า นาน ท่ า นได้ แสดงปาฐกถาแก่ ผู เ้ ข้า ร่ ว มประชุ ม เป็ น ภาษาอาหรับ มี อ ยู่ ค รั้ง หนึ่ ง ท่ า นได้ร ับ เชิ ญ ให้ท �ำ หน้า ที่ป ระธานในที่ป ระชุ ม และ อี ก ครั้ง หนึ่ ง ท่ า นได้ร ับ เกี ย รติ ใ ห้อ ัน เชิ ญ พระมหาคัม ภีร ์อ ลั กุ ร อานเปิ ด การประชุ ม ปี 2 5 0 3 จุ ฬ า ร า ช ม น ต รี ต่ ว น สุ ว รรณศาสน์ไ ด้ร บั เชิ ญ ให้เ ป็ น กรรมการ ตั ด สิ น ก า รทด สอ บการอ่ านพ ระมหา คัม ภี ร ์ อ ัล กุ ร อานระหว่ า งประเทศที่ ก รุ ง กั ว ล า ลั ม เ ป อ ร์ ส ห พั น ธ รั ฐ ม า เ ล เ ซี ย ท่ า นจึ ง เป็ นกรรมการต่ า งชาติ ค นแรกที่ เข้า ร่ ว มและได้ท �ำ หน้า ที่ น้ ี อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ติ ด ต่ อ กัน ถึ ง 5 ปี หลัง จากนั้น ท่ า นได้ มอบหมายให้แ ก่ ผู ท้ รงคุ ณ วุ ฒิ ท่ า นอื่ น จากประเทศไทยปฏิบ ตั ิ ห น้า ที่แ ทนสืบ ไป

สาส์น อิส ลาม

พระมหาคั ม ภี ร์ อั ล กุ ร อาน คั ม ภี ร์ แ ห่ ง มนุ ษ ยชาติ ภ า ร กิ จ ชิ้ น เ อ ก ใ น “ ชี วิ ต คื อ การศึ กษา การศึ กษาคื อ ชี วิ ต ” ของ จุ ฬ าราชมนตรี ต่ ว น สุ ว รรณศาสน์ คื อ ก า ร แ ป ล พ ร ะ ม ห า คั ม ภี ร์ อ ั ล กุ ร อ า น เป็ นภาษาไทยตามที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้า อยู่ ห ัว รั ช กาลที่ 9 ทรงมี พ ระ ราชปรารภแก่ ท่ า นเสมอๆ ว่ า “อยาก จะให้มี พ ระมหาคั ม ภี ร ์ อ ัล กุ ร อานฉบับ

ภาษาไทยไว้เ ป็ นสมบั ติ อ ั น ล�้ำ ค่ าของ ช า ติ ” จุ ฬ า ร า ช ม น ต รี ต่ ว น สุ ว ร ร ณ ศาสน์ จึ ง ถื อ ว่ า ภารกิ จ ชิ้ นนี้ ส�ำ คัญ อย่ า ง ยิ่ ง ท่ า นจึ ง ใช้ค วามวิริ ย ะอุ ต สาหะ ความ ระมัด ระวัง และความประณี ตในการ ขัด เกลาภาษาไทยโดยให้ลู ก ศิ ษ ย์ท่ี ค อย ช่ ว ยเหลื อ งานแปลอ่ า นทบทวนถ้อ ยค� ำ ให้ท่ า นฟัง หลายๆ ครั้ง จนแน่ ใ จว่ า ถู ก ต้อ งตามต้น ฉบับ ที่ ท่ า นแปลแล ว้ เขี ย น ไว้ด ว้ ยลายมือ การแปลพระมหาคัม ภี ร ์ อัล กุ ร อานเป็ นภาษาไทยเสร็ จ สิ้ น เมื่อ วัน ที่ 22 กรกฎาคม 2509 โดยคุ ณ หญิ ง สมร ภู มิณ รงค์ เลขานุ ก ารจุ ฬ าราชมนตรี และบุ ต รี ข องท่ า นเป็ น ผู ด้ ู แ ลอย่ า งใกล ช้ ิ ด ทุ ก ขัน้ ตอน เกี่ ย วกับ การแปลพระมหาคัม ภี ร ์ อัล กุ ร อานเป็ นภาษาไทยนั้น เป็ นมิ ติ ท่ี ทุ ก คนสามารถสัม ผัส ได้ถึง ความสัม พัน ธ์ ร ะ ห ว่ า ง ส ถ า บั น พ ร ะ ม ห า ก ษั ต ริ ย ์ ก ั บ มุ ส ลิ ม ใ น แ ผ่ น ดิ น ไ ท ย นั ่น คื อ ก า ร ที่ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้า อยู่ ห ัว ได้ท รงมี พระราชด�ำ รัส ในงานฉลอง 14 ศตวรรษ พระมหาคัม ภีร ์อ ลั กุ ร อาน มีใ จความตอน หนึ่ ง ว่ า “คัม ภี ร ์กุ ร อานมิ ใ ช่ จ ะเป็ นคัม ภี ร ์ ที ่ส �ำ คัญ ในศาสนาอิ ส ลามเท่ า นัน้ แต่ ย งั เป็ น วรรณกรรมส�ำ คัญ ของโลกเล่ ม หนึ่ ง ซึ่ ง มหาชนรู จ้ กั ยกย่ อ งและได้แ ปลออก เป็ น ภาษาต่ า งๆ อย่ า งแพร่ ห ลายแล ว้ ด้ว ย การที ่ท่ า นทัง้ หลายได้ด�ำ เนิ น การ แปลออกเผยแพร่ เ ป็ นภาษาไทยครัง้ นี้ เป็ น การสมควรชอบด้ว ยเหตุ ผ ลอย่ า ง

99


สาส์น อิส ลาม

แท้จ ริ ง เพราะจะเป็ นการช่ ว ยเหลือ ให้ อิ ส ลามิ ก ชนบริ ษ ทั ในประเทศไทยที ่ไ ม่ รู ้ ภาษาอาหรับ ได้ศึ ก ษาเล่ า เรี ย นธรรมะ ในศาสนาได้ส ะดวกและแพร่ ห ลาย ทัง้ ยัง เป็ น การเปิ ดโอกาสให้ป ระชาชนผู ้ สนใจทัว่ ไปได้ศึ ก ษาท�ำ ความเข้า ใจใน หลัก ค�ำ สอนของอิ ส ลามอย่ า งถู ก ต้อ ง กว้า งขวางยิ ง่ ขึ้ น เป็ นที ่ท ราบกัน อยู่ ว่ า คัม ภี ร ์อ ลั กุ ร อานมี อ รรถรสลึก ซึ้ ง ยาก ที ่จ ะแปลออกเป็ นภาษาอื ่น ใดให้ต รง ตามภาษาเดิ ม ได้ เมื อ่ ท่ า นมี ศ รัท ธา และมี วิ ริ ย ะอุ ต สาหะอัน แรงกล า้ แปล ออกเป็ น ภาษาไทยโดยพยายามรัก ษา ใจความแห่ ง คัม ภี ร ์เ ดิ ม ไว้ใ ห้บ ริ สุ ท ธิ ์ บริ บู ร ณ์แ ละพิ ม พ์ข้ ึ น แพร่ ห ลายเช่ น นี้ จึ ง เป็ น ที ่ค วรอนุ โ มทนาสรรเสริ ญ และ ร่ ว มมื อ สนับ สนุ น อย่ า งยิ ง่ ”

100

ฯพณฯ พลเอก กฤษณ์ สี ว ะรา ผู ้ อุ ป ถั ม ภ์ กิ จ การศาสนาอิ ส ลามบนเส้ น ทางศาสนสั ม พั น ธ์ ในการจั ด พิ ม พ์ พ ระมหาคั ม ภี ร ์ อัล กุ ร อานซึ่ ง ต้อ งใช้ง บประมาณจ�ำ นวน ม ห า ศ า ล นั้ น จุ ฬ า ร า ช ม น ต รี ต่ ว น สุ ว รรณศาสน์ไ ด้เ ขีย นในค�ำ ไว้อ าลัย การ อสัญ กรรมของ ฯพณฯ พลเอก กฤษณ์ สี ว ะรา เมื่อ วัน ที่ 28 เมษายน 2519 ค�ำ ไว้อ าลัย ของท่ า นถู ก ตี พิม พ์ใ น “หนัง สือ ที่ ระลึก งานพระราชทานเพลิง ศพ ฯพณฯ พลเอก กฤษณ์ สี ว ะรา” มี ค วามตอน หนึ่ ง ที่ บ รรยายถึ ง นัย ของการอยู่ ร่ ว มกัน อย่ า งสมานฉัน ท์ข องคนในชาติ ท่ี มีค วาม

แตกต่ า งกั น ทางศาสนาและความเชื่ อ “ฯพณฯ พลเอก กฤษณ์ สี ว ะรา เป็ น ผู ้ หนึ่ ง ที่มีค วามใกล ช้ ิ ด กับ มุส ลิม มาก ทัง้ นี้ โดยเหตุ ท่ี เ ป็ นผู ส้ ื บ เชื้ อสายจากมุ ส ลิ ม ฯพณฯ เคยบอกกับ ข้า พเจ้า ในโอกาสที่ พบกัน ครั้ง แรกว่ า “ผมสื บ เชื้ อ สายจาก มุ ส ลิ ม คุ ณ ยายของผมฝั ง อยู่ ท่ี สุ ส าน มหานาค บ้า นเกิ ด ของผมก็ อ ยู่ ใ นหมู่ บ า้ น มุส ลิม ผมมีค วามสนิ ท สนมและมีเ พื่อ น ฝู ง มุส ลิม มาก” ฯพณฯ พลเอก กฤษณ์ สี วะรา ให้ก ารสนับ สนุ น ต่ อ กิ จ การศาสนา อิ ส ลามด้ว ยดี ฯพณฯ เป็ นผู อ้ นุ ม ัติ ใ ห้ จั ด รายการภาคมุ ส ลิ ม ทางสถานี วิ ท ยุ กระจายเสี ย งกองบัญ ชาการกองพลที่ 1 รัก ษาพระองค์ เพื่ อ ให้บ รรดามุ ส ลิ ม ได้มีโ อกาสรับ ฟัง ความรู ด้ า้ นศาสนา รับ ฟัง ข่ า วในวงการมุ ส ลิ ม พร้อ มทัง้ เป็ นผู ้ อุ ป ถัม ภ์ม าเป็ นเวลาเกื อ บ 20 ปี สมัย หนึ่ ง ที่ ฯพณฯ ด�ำ รงต�ำ แหน่ ง รัฐ มนตรี ช่ วยว่ า การกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ใน ระยะนั้น พระบาทสมเด็ จ พระเจ้า อยู่ ห ัว มี พ ระราชประสงค์ ใ ห้จ ัด แปลพระมหา คัม ภี ร ์อ ลั -กุ ร อานเป็ นภาษาไทย โดยให้ รัฐ บาลจัด หางบเงิน ค่ า จัด พิม พ์ใ ห้ ฯพณฯ พลเอก กฤษณ์ สี ว ะรา ก็ ไ ด้พ ยายาม จั ด หางบเงิ น ให้ถึ ง แปดแสนกว่ า บาท เพื่อ เป็ น การสนองพระราชประสงค์ และ ให้ก ารสนับ สนุ น กิ จ การศาสนาอิส ลาม ... ข้า พเจ้า ประทับ ใจในมารยาทอัน ดี ข อง พลเอก กฤษณา สีว ะรา มาก แม้ ฯพณฯ จะเป็ นชายชาติ ท หาร อยู่ ใ นเครื่ อ งแบบ ของทหารมาโดยตลอด แต่ ฯพณฯ รู จ้ กั


ค�ำ ว่ า “เข้ม แข็ ง ” และ “สุ ภ าพอ่ อ นโยน” ได้ดี พอรู ้จ ั ก แยกความเข้ม แข็ ง และ ความอ่ อ นโยน และรู จ้ ัก ใช้ ท�ำ ให้เ กิ ด ความเลื่อ มใสต่ อ ผู ไ้ ด้พ บเห็ น ครั้ง หนึ่ ง ข้า พเจ้า ไปยัง บ้า น ฯพณฯ ในสวนพุ ด ตาล เพื่ อ น�ำ คณะผู แ้ ทนประเทศไทยซึ่ ง จะเดิ น ทางไปมาเลเซี ย เข้า พบเพื่ อ อ�ำ ลา ข้า พเจ้า พบกั บ ฯพณฯ ในลัก ษณะที่ ฯพณฯ รอรับ ด้ว ยการให้เ กี ย รติ ต่ อ ผู ม้ ี อาวุ โ ส พู ด คุ ย กับ ผู เ้ ข้า พบด้ว ยอัธ ยาศัย ไมตรี และถามถึ ง การเตรี ย มการใน การเดิ น ทางด้ว ยความห่ ว งใย ท� ำ ให้ ข้า พเจ้า นึ ก ถึ ง หลัก การปกครองที่ พ ระ ศาสดาเคยให้ค� ำ สอนไว้ว่ า “จงสุ ภ าพ อ่ อ นโยนต่ อ ประชาชน จงอย่ า เข้ม งวด ต่ อ พวกเขา จงท�ำ ให้เ ขามี ค วามร่ ม เย็ น เป็ น สุ ข ...” แม้ ฯพณฯ พลเอก กฤษณ์ สี ว ะรา จะไม่ ใ ช่ มุ ส ลิ ม มี แ ต่ เ พี ย งเชื้ อ สายเท่ า นั้น แต่ ฯพณฯ ก็ ป ฏิ บ ตั ิ ต ัว ได้ ดัง เช่ น นัก ปกครองที่ ดี ต ามหลัก การของ ศาสนา หากประเทศชาติ ข องเรามี น ั ก ปกครองเช่ น นี้ ม ากๆ เราก็ ค งจะประสบ แต่ ค วามสุ ข ”

สาส์น อิส ลาม

รางวั ล ชี วิ ต จุ ฬ าราชมนตรี ต่ ว น สุ ว รรณศาสน์ มิ ไ ด้เ ป็ นที่ รู จ้ ัก และเคารพรัก ของมุ ส ลิ ม ใ น ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ เ ท่ า นั้ น แต่ ท่ า นเป็ นที่ รู ้จ ั ก และเคารพรั ก ของ คนทุ ก ศาสนาในแง่ ข องความเป็ นเลิ ศ ทางวิ ช าการศาสนาอิ ส ลามและความ สามารถในการติ ด ต่ อ สัม พัน ธ์ ก ั บ ฝ่ าย

ต่ า งๆ ด้ว ยไมตรี จิ ต ด้ว ยเหตุ ท่ี ท่ า นเป็ น คนมีนิ ส ยั อ่ อ นโยน ถ่ อ มตน อะลุ่ ม อล่ ว ย สงบเสงี่ย ม รัก สัน ติ มีจิ ต ใจใฝ่ ช่ ว ยเหลือ สัง คม มี วิ ริ ย ะอุ ต สาหะแรงกล า้ ในการ พัฒ นาการศึ ก ษาด้า นศาสนา และไม่ ฝัก ใฝ่ การเมื อ ง ท�ำ ให้ท่ า นเป็ นที่ ร ัก ใคร่ ของหน่ ว ยงานราชการและประชาชนโดย ทัว่ ไปตลอดระยะเวลาการด�ำ รงต�ำ แหน่ ง จุ ฬ าราชมนตรี ซ่ึ ง เป็ นเวลายาวนานถึ ง 33 ปี คื อ ตัง้ แต่ ว นั ที่ 23 ตุ ล าคม 2491 จนถึ ง วัน ที่ 22 มีน าคม 2524 นับ เป็ น จุ ฬ าราชมนตรี ท่ี อ ยู่ ใ นต�ำ แหน่ ง ยาวนาน ที่ สุ ด ในประวัติ ศ าสตร์ไ ทย จุ ฬ าราชมนตรี ต่ ว น สุ ว รรณศาสน์ ให้ค วามสนใจเข้า ร่ วมกิ จ กรรมศาสน สัม พัน ธ์ ที ่ ก รมการศาสนาจัด ขึ้ น อย่ า ง สม� ำ่ เสมอมาโดยตลอด ซึ่ ง มี ท ั้ง พุ ท ธ อิ ส ลาม คริ ส ต์ ฮิ น ดู - พราหมณ์แ ละซิ ก ข์ ท่ า นจะเข้า ร่ ว มกิ จ กรรมด้ว ยตัว เองเป็ น ประจ�ำ ทุ ก ปี จนถึ ง ปี 2523 ซึ่ ง เป็ นครั้ง สุ ด ท้า ยก่ อ นถึ ง อนิ จ กรรมในปี ถ ดั มา ด้ว ยบทบาทของจุ ฬ าราชมนตรี ต่ ว น สุ ว รรณศาสน์ ที่ ป ระกอบภารกิ จ ที่ มี คุ ณู ป การสู ง เด่ น เช่ น นี้ ท่ า นจึ ง ได้ร ับ พระราชทานเครื่ อ งราชอิ ส ริ ย าภรณ์ ต ริ ตาภรณ์ ม งกุ ฎ ไทยเมื่ อ ปี 2493 ตริ ต รา ภรณ์ ช า้ งเผื อ กเมื่อ ปี 2509 ทวิติ ย าภรณ์ มงกุ ฎ ไทยเมื่อ ปี 2517 และทวิติ ย าภรณ์ ช้า งเผื อ กเมื่อ ปี 2524 เป็ น การประกาศ เกี ย รติ ป ระวัติ แ ละคุ ณ งามความดี ท่ี ท่ า น มอบไว้แ ก่ ส ัง คมพหุ ว ัฒ นธรรมโดยไม่ แบ่ ง แยกมุ ส ลิม ออกจากสัง คมที่ มี ค วาม

101


สาส์น อิส ลาม

หลากหลายทางความคิ ด และความเชื่ อ ท่ า นพร� ำ่ สอนลู ก ศิ ษ ย์ลู ก หาตลอดเวลา ให้เ คารพความคิ ด และความเชื่ อ ที่ แ ตก ต่ า งและชื่ น ชมยิ น ดี ก ับ ความเหมือ น

102

หน้ า สุ ด ท้ า ยของชี วิ ต วั น ที่ 2 9 ตุ ล า ค ม 2 5 2 3 จุ ฬ าราชมนตรี ต่ ว น สุ ว รรณศาสน์ เป็ น ประธานในพิ ธี จ ัด งานเฉลิ ม ฉลองย่ า ง ก้า วเข้า สู่ ศ ตวรรษที่ 15 แห่ ง ศั ก ราช อิ ส ลาม ปี ฮิ จ เราะฮ์ศ ัก ราช 1401 ณ หอ ประชุ ม ส่ ว นกลาง ส�ำ นัก อภิ ธ รรมอัน ยุ มัน อิ ส ลาม บางรัก กรุ ง เทพมหานคร โดยในวัน นั้น ผู ม้ ี เ กี ย รติ ช าวไทยมุ ส ลิ ม และต่ า งประเทศเข้า ร่ ว มงานเป็ นจ�ำ นวน มาก นี่ คื อ ภารกิ จ ครั้ ง สุ ดท้า ยก่ อนที่ จุ ฬ าราชมนตรี ต่ ว น สุ ว รรณศาสน์ จ ะ ถึง แก่ อ นิ จ กรรมด้ว ยโรคชราเมื่อ วัน ที่ 22 มีน าคม 2524 ศิ ริ อ ายุ 93 ปี ในระหว่ า ง ที่ร กั ษาตัว อยู่ ใ นโรงพยาบาลเป็ น เวลา 53 วัน จุ ฬ าราชมนตรี ต่ ว น สุ ว รรณศาสน์ไ ด้ สัง่ เสี ย แก่ บุ ต รหลานของท่ า นว่ า “ขอให้ พยายามรัก ษาเกี ย รติ เ อาไว้ อย่ า ให้ใ คร ดู ถู ก สิ่ง ใดก็ ต ามที่เ คยปฏิบ ตั ิ อ ยู่ เ มื่อ ท่ า น ยัง มีชี วิต อยู่ ซ่ึง เป็ น เกี ย รติ ป ระวัติ ท่ีดี ง าม ขอให้ป ฏิ บ ตั ิ เ ช่ น เดิ ม แม้จ ะได้ร ับ เกี ย รติ ไม่ เ ท่ า ที่ ท่ า นยัง มีชี วิต อยู่ ก็ ต าม” ปฏิ กิ ริ ย าการจากไปอย่ า งสงบ ของจุ ฬ าราชมนตรี ต่ ว น สุ ว รณศาสน์ ผู ้ เป็ นแบบอย่ า งของการอยู่ ร่ ว มกัน อย่ า ง สมานฉั น ท์ใ นสัง คมพหุ ว ัฒ นธรรมเป็ น ไปอย่ า งลึก ซึ้ง และกว้า งขวาง สื่อ มวลชน

ทั้ ง ในและต่ างประเทศเสนอข่ า วสาร และภาพข่ า วการจากไปของท่ า นอย่ า ง ละเอี ย ดและต่ อ เนื่ อ ง มีบุ ค คลและกลุ่ ม บุ ค คลผู ม้ ี เ กี ย รติ เ ข้า เยี่ ย มแสดงความ เสีย ใจที่บ า้ นพัก ของท่ า นเป็ น จ�ำ นวนมาก มี ส าส์น และโทรเลขแสดงความอาลัย จากบุ ค คล องค์ ก รและสถาบัน ศาสนา การศึ ก ษา การเมือ งและสัง คม ทัง้ ใน ประเทศและต่ า งประเทศทัว่ สารทิ ศ เช่ น ฯพณฯ พลเอก เปรม ติ ณ สู ล านนท์ , นายแพทย์ เสม พริ้ ง พวงแก้ว รัฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงสาธารณสุ ข , นายสัญ ญา ธรรมศัก ดิ์ องค์ก ารพุท ธศาสนิ ก สัม พัน ธ์ แห่ ง โลก, ศาสตราจารย์ป ระภาส อวย ชั ย พุ ท ธสมาคมแห่ ง ประเทศไทยใน พระบรมราชู ป ถัม ภ์, สมาคมคาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทย, Dr. M. Abdel Rahman Bissar อิ ม ามมหาวิ ท ยาลัย อั ล อั ซ ฮั ร กรุ ง ไคโร ประเทศอี ยิ ป ต์ , Dr.Syedna Mohammed Burhanuddinsaheb ผู น้ �ำ จิ ต วิญ ญาณมุส ลิม ส�ำ นัก คิ ด ดาวู ดี กรุ ง บอมเบย์ (มุ ม ไบ) สาธารณรัฐ อิ น เดี ย , Mr. Morton I. Abramowitz เอกอัค รราชทู ต อเมริ ก ัน United States of America และ โรงเรี ย นวัฒ นธรรมอิ ส ลาม จั ง หวัด ปัต ตานี เป็ นต้น จุ ฬ าราชมนตรี ต่ ว น สุ ว รรณศาสน์ ได้ร ับ พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ จากพระบาท สมเด็ จ พระเจ้า อยู่ ห วั รัช กาลที่ 9 รับ อยู่ ในพระบรมราชานุ เ คราะห์ ทุ ก ประการ และทรงโปรดให้ส มเด็ จ พระเทพรั ต น


รา ชสุ ด า ส ยามมกุ ฎ ราช กุ ม ารี เ สด็ จ ทรงเป็ นประธานในพิ ธี ศ พนับ ตั้ง แต่ พิ ธี พระราชทานอาบน�้ำ ศพตลอดจนถึ ง พิ ธี พระราชทานดิ น และรับ สัง่ ให้จ ัด การ ในสิ่ ง อัน เป็ นเกี ย รติ ย ศทุ ก ประการให้ แก่ ศ พของจุ ฬ าราชมนตรี ต่ ว น สุ ว รรณ ศาสน์ ด้ว ยการประกอบคุ ณ งามความ ดี แ ก่ ป ระเทศชาติ ศาสนา และสถาบัน พระมหากษัต ริ ย ์ ม าโดยตลอด ถึ ง แม้ จุ ฬ าราชมนตรี ต่ ว น สุ ว รรณศาสน์ จ ะ จากโลกนี้ ไปแล ว้ ท่ า นก็ ย ัง ได้ร ับ พระ มหากรุ ณาธิ คุ ณ จากพระบาทสมเด็ จ พระเจ้า อยู่ ห วั รัช กาลที่ 9 ในขัน้ สุ ด ท้า ย ด้ว ย ก า รทรงพ ระกรุ ณาโปรดเ กล า้ ฯ พ ร ะ ร า ช ท า น เ ค รื่ อ ง ร า ช อิ ส ริ ย า ภ ร ณ์ มงกุ ฎ ไทย ชัน้ ที่ 1 เมื่อ วัน ที่ 29 มกราคม 2525 ถื อ เป็ นเกี ย รติ ป ระวั ติ แ ก่ วงศ์ ตระกู ล ของท่ า นและสัง คมไทยมุ ส ลิ ม เป็ น อย่ า งสู ง จุ ฬ าราชมนตรี ต่ ว น สุ ว รรณศาสน์ คื อ ผู น้ � ำ จิ ต วิ ญ ญาณที่ ก า้ วย่ า งบนถนน สายยาตราสัน ติ ธ รรมอย่ า งมัน่ คงและต่ อ เนื่ อ งยาวนานโดยไม่ รู จ้ ัก เหน็ ด เหนื่ อ ย ท่ า นอาจมีว าทกรรมหรื อ ทฤษฎี ท่ี ห รู ห รา แสดงไว้ไ ม่ ม ากนัก แต่ ค งไม่ มี ใ ครกล า้ ปฏิ เ สธแบบอย่ างของท่ า นในการอยู่ ร่ วมกั น อย่ า งสมานฉั น ท์ ใ นสั ง คมพหุ วัฒ นธรรมร่ ว มสมัย ปัจ จุ บ นั สาส์น อิส ลาม

103


104

สาส์น อิส ลาม


หลั ก การอยู่ ร่ ว มกั น จากประสบการณ์ ช าวพุ ทธ ดร.งามศุ ก ร์ รัต นเสถีย ร ศู น ย์ส นั ติ ศึ ก ษา มหาวิท ยาลัย มหิ ด ล

บทคั ด ย่ อ ผู เ้ ขีย นเกิ ด ในครอบครัว ชาวพุ ท ธ ที่ พ่ อ แม่ เ ป็ นอดี ต ข้า ราชการครู ในอ�ำ เภอ เบตง จัง หวัด ยะลา ที่ น ัน่ มีท งั้ คนไทยเชื้ อ สายจี น มลายู มุส ลิม และชาวไทยพุ ท ธ ใน พื้น ที่แ ละนอกพื้น ที่ ที่ม าประกอบอาชี พ รับ จ้า ง อาจถือ ได้ว่ า อ�ำ เภอเบตงเป็ น พื้น ที่ห นึ่ ง ที่ มีค วามหลากหลายมากอ�ำ เภอหนึ่ ง ในวัย เด็ ก ผู เ้ ขีย นไม่ ไ ด้ต ระหนัก รู ว้ ่ า เส้น แบ่ ง ทางชาติ พ นั ธุ ์แ ละศาสนา จะน�ำ มาซึ่ง ความขัด แย้ง รุ น แรง แต่ ก ารได้เ ห็ น การใช้ค วาม รุ น แรงในครอบครัว ท�ำ ให้ผู เ้ ขีย นมีค�ำ ถามว่ า ท�ำ ไมชาวพุ ท ธที่ ส วดมนต์ ท่ อ งศี ล 5 และเข้า วัด ถึง ได้ใ ช้ค วามรุ น แรงกับ คนในครอบครัว ได้ เมื่อ โตขึ้น มาหน่ อ ยได้ยิ น ค�ำ กล่ า วจากพระที่ มีช่ื อ เสี ย งรู ป หนึ่ ง ที่ ก ล่ า วไว้ใ นปี 2516 ว่ า “ฆ่ า คอมมิว นิ ส ต์ ไม่ บ าป” นอกจากนี้ ห ลัง เกิ ด กระแสความเกลีย ดกลัว อิ ส ลาม ก็ จ ะมีว าทกรรมที่ค ล า้ ยกัน เพีย ง แต่ เ ปลี่ย นตัว ละครจากผู เ้ ห็ น ต่ า งทางการเมือ ง มาเป็ น คนมุส ลิม “ฆ่ า มุส ลิม ไม่ บ าป” ค�ำ ส�ำ คัญ : พุ ท ธศาสนา, มุส ลิม , สัน ติ ภ าพ

สาส์น อิส ลาม

105


Academic article Capacities for Achieving peaceful Co-Existence among religions and sects Principles coexistence from Buddhist experiences Abstract The author was born in a Buddhist family. Whose parents are former civil servants in Betong District, Yala Province. There are Thai, Chinese, Malay, Muslim and Thai Buddhists. In and outside the area Who are employed as a contractor It may be considered that Betong District is one area that is very diverse. In childhood, the author did not realize that Ethnic and religious boundaries will lead to violent conflicts. But seeing the use of domestic violence Causing the author to have a question that Why do Buddhists chant the 5 precepts and enter the temple to use violence against family members? When he grew up he heard a famous quote from a Buddhist monk mentioned in 1973 that “killing the Communists is not a sin.” Will have a similar discourse only changing the character from a different political commentator Become a Muslim “Kill Muslims Not Sin”

สาส์น อิส ลาม

Keywords : Buddhism, Islam, reconciliation

106


ความเมตตา กรุ ณ า และการเอื้ อ เฟื้ อ ต่ อ เพื่อ นมนุ ษ ย์ เพราะหลัก การที่ ว่ า นี้ ผู ้ เขี ย นเห็ น ว่ า จะเป็ นแนวทางในการช่ ว ย ให้ช าวพุ ท ธอยู่ ร่ ว มกัน กับ คนอื่ น ๆ ได้ ด้ว ยความเคารพ และไม่ ท �ำ ร้า ยกัน ด้ว ย ความรุ น แรง แต่ ด ว้ ยเหตุ ป ัจ จัย อะไรที่ ท�ำ ให้ช าวพุ ท ธมี ข อ้ จ�ำ กัด ในการเห็ น ใจ ต่ อ ผู ค้ นที่ มีค วามแตกต่ า ง จนท�ำ ให้เ กิ ด มีค�ำ ถามในค�ำ สอนหรื อ แนวทางของพุท ธ ศาสนาจากผู ค้ นในศาสนาอื่ น ๆ หรื อ แม้ กระทัง่ ในหมู่ ช าวพุ ท ธด้ว ยกัน ถึ ง หลัก การปฏิ บ ตั ิ ใ นการอยู่ ร่ ว มกัน กับ คนอื่ น ๆ ที่ มีค วามแตกต่ า งอย่ า งฉัน มิต ร ดัง นั้น บทความนี้ จึ ง ได้อ า้ งอิ ง งาน เขี ย นของพระไพศาล วิ ส าโล พระสาย เถรวาท ซึ่ ง ให้ค วามสนใจต่ อ การน� ำ ค� ำ สอนไปปฏิ บ ตั ิ ใ ช้ใ นชี วิ ต ประจ�ำ วัน รวม ทั้ง ให้ค วามสนใจกับ ปั ญ หาสัง คมด้ว ย ผู เ้ ขี ย นเห็ น ว่ า พระไพศาล จะสามารถ อธิ บ ายและท� ำ ความกระจ่ า ง ในเรื่ อ ง ห ลั ก ก า ร ท า ง ศ า ส น า ที่ ส า ม า ร ถ น� ำ ม า ประยุ ก ต์ใ ช้ใ นชี วิ ต จริ ง ได้ ส�ำ หรับ พุ ท ธ แบบมหายานนั้น ผู เ้ ขี ย นได้อ า้ งอิ ง งาน เขีย นของติ ช นัท ฮัน ห์ และองค์ท ะไลลา มะ ซึ่ง มีเ นื้ อ หาที่เ กี่ ย วข้อ งกับ การอยู่ ร่ ว ม กั น ในแง่ มุ ม ศาสนาและจริ ย ธรรมพื้ น ฐาน ซึ่ ง มี ค วามสอดคล อ้ งกับ หลัก การ ทางศาสนา ก่ อ น จ ะ ไ ป สู่ ห ลั ก ก า ร ท า ง พุ ท ธ ศาสนา ผู เ้ ขีย นอยากจะขอเริ่ ม จ่ า กโจทย์ ส�ำ คัญ โจทย์ ห นึ่ ง ที่ พ ระไพศาลตั้ง ไว้ใ น งาน “พุ ท ธศาสนาไยในอนาคตแนวโน้ม

สาส์น อิส ลาม

จ า ก ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ที่ เ ติ บ โ ต ม า ในสัง คมพุ ท ธแบบเถรวาท ท� ำ ให้เ ห็ น ข้อ จ� ำ กั ด ในการน� ำ เอาไปปฏิ บ ัติ ใ ช้ใ น ชี วิ ต ประจ� ำ วัน โดยเฉพาะการจัด การ กับ ความขัด แย้ง ทั้ง ในระดับ ครอบครัว ชุ ม ชน ประเทศ รวมถึ ง ประเทศเพื่ อ น บ้า น ดัง ตัว อย่ า งที่ เ อ่ ย ไว้ข า้ งต้น แต่ ห าก ติ ด ตามข่ า วตามหน้า หนั ง สื อ พิ ม พ์ห รื อ สื่ อ ออนไลน์ ก็ จ ะเห็ น กระแสการเกลีย ด กลัว คนมุส ลิม ในหมู่ ช าวพุ ท ธมากขึ้น จึ ง ท�ำ ให้ผู เ้ ขีย นมีค วามสนใจในค�ำ สอนมาก ขึ้น โดยเฉพาะพุ ท ธแบบมหายาน อย่ า ง ท่ า นติ ช นัท ฮัน ห์ และองค์ท ะไลลามะ ซึ่ ง เน้น การน� ำ ค� ำ สอนของพระพุ ท ธองค์ ไปประยุ ก ต์ใ ช้ใ นชี วิต ประจ�ำ วัน รวมทัง้ การเข้า ไปมีส่ ว นร่ ว มกับ การเปลี่ย นแปลง สัง คม อย่ างไรก็ ต ามแม้ว่ า ผู ้เ ขี ย นจะ เติ บ โตมาในครอบครั ว ชาวพุ ท ธ และ เ ค ย ศึ ก ษ า เล่ า เ รี ย นพุ ท ธศาสนาผ่ าน แบบเรี ย นในโรงเรี ย น และโรงเรี ย น สอนพุ ท ธศาสนาในวั น อาทิ ต ย์ จ นได้ ประกาศนี ย บัต รนัก ธรรมตรี แต่ ก็ ย งั นับ ว่ า มี ข อ้ จ�ำ กัด ในความรู ท้ างพุ ท ธศาสนา อยู่ พ อสมควร บทความชิ้ น นี้ จึ ง เขีย นขึ้น มาจาก ประสบการณ์ ใ นฐานะชาวพุ ท ธ ที่ ย งั อยู่ บนเส้น ทางการเรี ย นรู แ้ ละมีค วามสงสัย ในพฤติ ก รรมและทัศ นคติ ข องชาวพุ ท ธ ซึ่ ง ด�ำ เนิ น รอยตามค� ำ สอนและได้เ รี ย น รู ค้ �ำ สอนของพระพุ ท ธเจ้า ไม่ ว่ า จะเป็ น ศี ล 5 หรื อ หลัก กาลามสู ตร รวมทั้ง

107


สาส์น อิส ลาม

และทางออกจากวิ ก ฤต” คื อ เหตุ ผ ลที่ มนุ ษ ย์ต อ้ งการศาสนาคื อ อะไร ส�ำ หรับ ค�ำ ตอบเบื้อ งต้น ที่ ท่ า นอธิ บ ายไว้ก็ คื อ “เพราะมนุ ษ ย์ต อ้ งการสิ ง่ ยึ ด เหนี ่ย วในจิ ต ใจเพื ่อ ปกป้ องคุ ม้ ครอง ตน และเพื ่อ ให้ด�ำ เนิ น ชี วิ ต ได้อ ย่ า ง ผาสุ ก ความที ่สิ ง่ ยึ ด เหนี ่ย วดัง กล่ า ว (ถู ก คาดหมายให้) ท�ำ หน้า ที ่ที ่มี ค วาม ส�ำ คัญ อย่ า งยิ ง่ ต่ อ ชี วิ ต จึ ง ถู ก ยกให้เ ป็ น สิ ง่ ศัก ดิ ส์ ิ ท ธิ ์ สมัย ที ่ธ รรมชาติ ย งั เป็ น สิ ง่ ลี้ล บั สิ ง่ ศัก ดิ ส์ ิ ท ธิ ด์ ัง กล่ า วมี ห น้า ที ่ ปกป้ องอัน ตรายจากธรรมชาติ โ ดยตรง แต่ เ มื อ่ วิ ท ยาศาสตร์แ ละเทคโนโลยี บรรเทาภยัน ตรายจากธรรมชาติ ไ ปได้ ก็ ใ ช่ ว่ า สิ ง่ ศัก ดิ ส์ ิ ท ธิ จ์ ะหมดความส�ำ คัญ ทัง้ นี้ เ พราะสิ ง่ คุ ก คามความผาสุ ก หรื อ มี ชี วิ ต ความเป็ นอยู่ ข องผู ค้ นยัง มี อ ยู่ โดยที ่วิ ท ยาศาสตร์แ ละเทคโนโลยี ไ ม่ สามารถให้ห ลัก ประกัน แก่ ชี วิ ต ได้อ ย่ า ง ถึ ง ที ่สุ ด พระเจ้า หรื อ เทพเจ้า ทัง้ หลาย จึ ง ยัง เป็ น ที ่พ่ึ ง พาของผู ค้ น” (น.377)

108

จากค� ำ อธิ บ ายของพระไพศาล ข้า งต้น ท�ำ ให้เ ราเห็ น ว่ า แม้ว่ า ยุ ค สมัย จะ เปลี่ย นไป แต่ ศ าสนาก็ ย งั เป็ น สิ่ง ที่ม นุ ษ ย์ ต้อ งการส� ำ หรั บ การยึ ด เหนี่ ยวจิ ต ใจ อย่ า งไรก็ ต ามศาสนาไม่ ไ ด้ด �ำ รงอยู่ อ ย่ า ง เอกเทศ แต่ ข้ ึ น อยู่ ก ับ โครงสร้า งความ คิ ด ของสัง คมหนึ่ ง ๆ ซึ่ ง ประเวศ วะสี ไ ด้ สะท้อ นเรื่ อ งนี้ โดยยกตัว อย่ า งพระพุ ท ธ ศาสนาในประเทศไทยไว้ใ นค�ำ น�ำ หนัง สือ ของพระไพศาล วิส าโลที่อ า้ งอิง ข้า งต้น ว่ า

“ในยุ ค สมัย หนึ่ ง ๆ พระพุ ท ธศาสนาใน ประเทศไทยด�ำ รงอยู่ ภ ายใต้โ ครงสร้า ง อ�ำ นาจรัฐ และวัฒ นธรรมอ�ำ นาจระบบ การปกครองคณะสงฆ์ก็ ใ ช้ร ะบบราชการ ซึ่ง รวมศู น ย์อ �ำ นาจ และเมื่อ ประเทศไทย รับ วัฒ นธรรมทุ น นิ ย มเข้า มาเต็ ม ตัว ชาว พุ ท ธไทยและสถาบัน สงฆ์ ก็ ย่ อ มได้ร ับ ผลกระทบ...” ดัง นั้น หากเราต้อ งการจะท�ำ ความ เข้า ใจชาวพุ ท ธ การท�ำ ความเข้า ใจแก่ น สารและหลัก การปฏิ บ ตั ิ ข องศาสนาอาจ ไม่ เ พี ย งพอ เราอาจต้อ งมี ค วามรู ค้ วาม เข้า ใจในเรื่ อ งการเมือ ง เศรษฐกิ จ สัง คม และวัฒ นธรรม ซึ่ ง มี อิ ท ธิ พ ลกั บ พุ ท ธ ศาสนาประกอบกัน ไปด้ว ย ซึ่ง ผู เ้ ขีย นจะ ไม่ ล งรายละเอี ย ดในเรื่ อ งนี้ แต่ จ ะขอน�ำ เอาหลัก ปฏิ บ ตั ิ ท่ี ส ามารถใช้เ ป็ น แนวทาง การด�ำ เนิ น ชี วิต เพื่อ การอยู่ ร่ ว มกัน กับ คน อื่ น ๆ ของชาวพุ ท ธได้ ติ ช นั ท ฮั น ห์ พ ร ะ เ ซ น ช า ว เวี ย ดนามกล่ า วถึ ง “พุ ท ธศาสนาในวิ ถี ชี วิต ประจ�ำ วัน ” ซึ่ ง ค�ำ นี้ ถู ก บัญ ญัติ ข้ ึน ใน ช่ ว งสงครามเวี ย ดนามไว้อ ย่ า งน่ า สนใจ ว่ า แม้ใ นสถานการณ์ อ นั ยากล�ำ บาก ที่ รุ ม ล อ้ มอยู่ ร อบตัว เรา พุ ท ธศาสนาใน วิ ถี ชี วิ ต ประจ� ำ วัน ไม่ เ ป็ นเพี ย งแค่ พุ ท ธ ศาสนาที่เ กี่ ย วข้อ งกับ ปัญ หาสัง คมเท่ า นัน้ แต่ ย งั หมายถึง การฝึ กสติ ใ นทุ ก ที่ ในทุ ก การกระท�ำ และในทุ ก เวลาด้ว ย พุ ท ธ ศาสนาในวิ ถี ชี วิ ต ประจ� ำ วัน เกิ ด ขึ้ นได้ ตลอดเวลา ไม่ ว่ า จะเป็ นในขณะที่ เ รา อยู่ ค นเดี ย ว เดิ น นัง่ ดื่ ม น�้ำ ชา หรื อ ท�ำ


การแก้ป ัญ หาความขัด แย้ง ศี ลข้ อที่ หนึ่ ง (ปาณาติ ป าตาเวรมณี หมายถึง การละเว้น จากการฆ่ า ชี วิต สัต ว์ ทุ ก ชนิ ด ) ด้ว ยการตระหนัก รู ถ้ ึ ง ความทุ ก ข์ ทรมานอัน เกิ ด จากการท�ำ ลายชี วิ ต ฉั น ตัง้ สัต ย์ป ฏิญ าณที ่จ ะบ่ ม เพาะความกรุ ณ า และเรี ย นรู ว้ ิ ธี ที ่จ ะปกป้ องชี วิ ต ของผู ค้ น สรรพสัต ว์ และพื ช พรรณ ฉัน ตัง้ จิ ม นั ่ ที ่ จะไม่ ท �ำ ลายชี วิต และจะไม่ ม องข้า มการ ท�ำ ลายชี วิต ในโลกนี้ ในมโนส�ำ นึ ก และวิถี ชี วิ ต ของฉัน ติ ช นัท ฮัน ห์ ชี้ ใ ห้เ ห็ น ว่ า ศี ล ข้อ นี้ แสดงถึ ง การตกลงปลงใจของเราที่ จ ะ ไม่ ท �ำ ลายชี วิ ต ไม่ ว่ า โดยตรงหรื อ โดย อ้อ ม และรวมถึ ง ป้ องกัน ผู อ้ ่ื น ไม่ ใ ห้ฆ่ า ด้ว ย ในการตัง้ สัต ย์ป ฏิ ญ าณที่ จ ะปฏิ บ ตั ิ ตามศี ล ข้อ นี้ เราได้ใ ห้ค�ำ มัน่ ที่ จ ะปกป้ อง โลกของเรา ศี ลข้ อที่ สอง (อทิ น นาทานาเวรมณี หมายถึง การเว้น จากการลัก ทรัพ ย์ห รื อ ทรัพ ย์ท่ี เ จ้า ของเขาไม่ ไ ด้ใ ห้) ด้ว ยการตระหนั ก ถึ ง ความทุ ก ข์ ทรมานอัน เกิ ด จากการหาประโยชน์ส่ ว น ตัว ความอยุ ติ ธ รรมในสัง คม การลัก ขโมย และการกดขี ่ ฉัน ตัง้ สัต ย์ป ฏิ ญ าณ ที ่จ ะบ่ ม เพาะความรัก ความเมตตาและ เรี ย นรู ว้ ิ ธี ที ่จ ะท�ำ ให้ผู ค้ นสรรพสัต ว์ และ พื ช พรรณ มีค วามเป็ น อยู่ ที ่ดี ฉัน ตัง้ สัต ย์ ปฏิญ าณที ่จ ะเอื้ อ เฟื้ อเผือ่ แผ่ โ ดยการแบ่ ง

สาส์น อิส ลาม

อาหารเช้า ในความเห็ น ของ ติ ช นั ท ฮั น ห์ การฝึ กปฏิ บ ัติ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งกั น แบบนี้ ไม่ เ พี ย งจะเป็ นประโยชน์ ก ับ ตัว เราเอง แต่ ย ัง เพื่ อ ปกปั ก รัก ษาตนเอง ให้ส ามารถช่ ว ยเหลือ ผู อ้ ่ื น และเชื่ อ มโยง กับ ชี วิต ทัง้ หมดด้ว ย ดัง นั้น “สติ สมาธิ ปั ญ ญา” จึ ง มี ค วามส�ำ คัญ ต่ อ ชาวพุ ท ธ ซึ่ ง ไม่ เ พี ย งจะเป็ นประโยชน์ ต่ อ ตนเอง เท่ า นั้น แต่ ย งั มีผ ลถึง ความสัม พัน ธ์ผู อ้ ่ื น ในสัง คมด้ว ย แนวทางการปฏิ บ ตั ิ ใ นชี วิต ประจ�ำ วัน ที่ ติ ช นัท ฮัน ห์ เสนอเพื่อ น�ำ มาประยุ กติ์ ใ ช้ก ับ สถานการณ์ แ ละปัญ หาที่ ท่ี เ กิ ด ขึ้น อยู่ ใ นรอบๆ ตัว เรา ไม่ ว่ า จะเป็ น ความ รุ น แรง การแบ่ ง ชัน้ วรรณะ พิษ สุ ร าเรื้ อ รัง การท�ำ ทารุ ณ กรรมทางเพศ การตัก ตวง ประโยชน์ จ ากสิ่ ง แวดล อ้ มและปั ญ หา อื่ น ๆ ซึ่ ง บี บ คั้น ให้เ ราต้อ งหาทางหยุ ด ยั้ง ความทุ ก ข์ท่ี คุ ก รุ่ น อยู่ ใ นตัว เราและ สัง คม เป็ นแนวทางเมื่ อ สองพัน ห้า ร้อ ย ปี ก่ อ น ที่พ ระพุ ท ธองค์ท รงบัญ ญัติ ศี ล ห้า อัน ประเสริ ฐ ให้แ ก่ พ ระอานนท์แ ละพระ สงฆ์ส าวกรู ป อื่ น ๆ เพื่ อ เป็ นหลัก ปฏิ บ ตั ิ ในการอยู่ อ ย่ า งศานติ แ ละมีชีวิต ประเสริ ฐ ข้า งล่ า งนี้ เป็ นค� ำ อธิ บ ายและการ ตี ค วามศี ล ห้า ที่ ส ามารถน� ำ เอาไปประ ยุ ก ติ์ ใ ช้ใ นชี วิ ต ประจ� ำ วัน โดยติ ช นั ท ฮัน ห์ แต่ ท งั้ นี้ ท งั้ นั้น ก็ ข้ ึน อยู่ ก บั บริ บ ททาง วัฒ นธรรมของแต่ ล ะสัง คมด้ว ย ส�ำ หรับ ผู เ้ ขีย นแล ว้ ศี ล ห้า เป็ นหลัก การพื้ น ฐาน ที่ ส อดคล อ้ งกับ แนวทางสัน ติ วิ ธี ซึ่ ง ให้ ความส�ำ คัญ กับ การไม่ ใ ช่ ค วามรุ น แรงใน

109


สาส์น อิส ลาม

เวลา พลัง งาน และทรัพ ย์สิ น แก่ ผู ท้ ี ่มี ความจ�ำ เป็ น ต้อ งใช้ ฉัน ตัง้ จิ ต มัน่ ที ่จ ะไม่ ลัก ขโมยและไม่ ค รอบครองสิ ง่ ที ่ค วรเป็ น ของผู อ้ ื ่น ฉั น จะเคารพในทรัพ ย์ส มบัติ ของผู อ้ ื ่น และจะป้ องกัน ไม่ ใ ห้ผู อ้ ื ่น ฉั น จะเคารพในทรัพ ย์ส มบัติ ข องผู อ้ ื น่ และจะ ป้ องกัน ไม่ ใ ห้ผู อ้ ื ่น หาประโยชน์จ ากความ ทุ ก ข์ท รมานของเพื ่อ นมนุ ษ ย์ห รื อ ความ ทุ ก ข์ท รมานของสรรพสิ ง่ ต่ า งๆในโลกนี้ ส� ำ ห รั บ ก า ร ลั ก ข โ ม ย ใ น ค ว า ม หมายของ ติ ช นั น ฮัน ห์ มี ห ลายรู ป แบบ แม้แ ต่ ก ารกดขี่ก็ ถื อ ว่ า เป็ นการลัก ขโมยรู ป แบบหนึ่ ง และท�ำ ให้เ กิ ด ความ ทุ ก ข์ท รมานมากมาย ศี ล ข้อ นี้ ย งั รวมถึง การตระหนัก รู ถ้ ึง ความทุ ก ข์ท รมาน และ การบ่ ม เพาะความรัก ความเมตตาด้ว ย

110

ศี ล ข้ อ สาม (กาเมสุ มิ ส ฉาจาราเวรมณี หมายถึง การละเว้น จากการประพฤติ ผิด ในกาม การประพฤติ ผิ ด ลู ก เมีย คนอื่ น ) ด้ว ยการตระหนัก รู ถ้ ึ ง ความทุ ก ข์ ทรมานอัน เกิ ด จากการประพฤติ ผิ ด ทาง เพศ ฉั น ตัง้ สัต ย์ป ฏิ ญ าณ ที ่จ ะมี ค วาม รั บ ผิ ด ชอบและเรี ย นรู ว้ ิ ธี ที ่ จ ะคุ ม้ ครอง ป้ องกัน ความปลอดภัย และเกี ย รติ ย ศ ของปั จ เจกบุ ค คลคู่ ส มรส ครอบครั ว และสัง คม ฉัน ตัง้ ใจที ่จ ะไม่ มีเ พศสัม พัน ธ์ โดยปราศจากความรัก และพัน ธสัญ ญาที่ ยาวนาน เพื ่อ ที ่จ ะปกปัก รัก ษาความสุ ข ของตนเองและผู อ้ ื่น ฉั น ตัง้ จิ ต มัน่ ที ่จ ะ เคารพในพัน ธสัญ ญาของฉั น และผู อ้ ื ่ น จะท�ำ ทุ ก อย่ า งตามก�ำ ลัง ความสามารถใน

อัน ที ่จ ะป้ องกัน เด็ ก ๆ จากการถู ก ทารุ ณ กรรมทางเพศ และป้ องกัน ไม่ ใ ห้คู่ ส มรส และครอบครั ว แตกแยกเนื ่ อ งจากการ ประพฤติ ผิ ด ทางเพศ การปฏิ บ ัติ ต ามศี ล ข้อ นี้ ติ ช นั ท ฮัน ห์เ ห็ น ว่ า ไม่ เ พีย งแต่ จ ะช่ ว ยตัว เราเอง แต่ ย ัง ช่ ว ยผู อ้ ่ื น ไม่ ใ ห้เ กิ ด ความเจ็ บ ปวด ด้ว ย นอกจากนี้ ย งั ช่ ว ยฟื้ นฟู ศ านติ แ ละ ความมัน่ คงภายในตัว เรา ครอบครัว และ สัง คม ความสัม พัน ธ์ ท างเพศเป็ นการ กระท�ำ ร่ ว มกัน อย่ า งหนึ่ ง ซึ่ ง ควรกระท�ำ อย่ า งมีส ติ ด้ว ยความรัก ความเอาใจใส่ และความเคารพ ศี ล ข้ อ ที่ สี่ (มุส าวาทาเวรมณี หมายถึ ง การละเว้น จากการพู ด ปดมดเท็ จ พู ด จา โกหก พู ด ไม่ อ ยู่ ก ับ ร่ อ งกับ รอย) ด้ว ยการตระหนัก รู ถ้ ึ ง ความทุ ก ข์ ทรมานอัน เกิ ด จากค� ำ พู ด ที ่ ข าดสติ แ ละ การขาดความสามารถในการฟั ง ผู อ้ ื ่ น ฉั น ตั้ง สั ต ย์ป ฏิ ญ าณที ่ จ ะกล่ า ววาจาที ่ ไพเราะและฟัง อย่ า งตัง้ ใจ เพื ่อ ที ่จ ะน�ำ มา ซึ่ ง ความสดชื ่น รื ่น เริ ง และความสุ ข ของผู ้ อื ่น และบรรเทาความทุ ก ข์ท รมานของ พวกเขาด้ว ยการรู ว้ ่ า ถ้อ ยค�ำ นัน้ สามารถ สร้า งสรรค์ไ ด้ท งั้ ความสุ ข หรื อ ความทุ ก ข์ ทรมาน ฉัน ตัง้ สัต ย์ป ฏิ ญ าณที ่จ ะเรี ย นรู ้ การพู ด ความจริ ง ด้ว ยถ้อ ยค� ำ ที ่บ ัน ดาล ให้เ กิ ด ความมัน่ ใจในตนเอง ความสดชื่น รื ่ น เริ ง และความหวัง ฉั น ตัง้ จิ ต มัน่ ที่จ ะ ไม่ ก ระจายข่ า วที ่ ฉั น ไม่ รู ้จ ริ ง และไม่ วิ พ ากษ์วิ จ ารณื ห รื อ ต�ำ หนิ ติ เ ตี ย นในสิ ง่ ที ่


ฉัน ไม่ แ น่ ใ จ ฉัน จะละเว้น จากการพู ด จา ซึ่ ง อาจเป็ นสาเหตุ ใ ห้เ กิ ด ความแตกแยก หรื อ ความขัด แย้ง หรื อ ท� ำ ให้ค รอบครั ว หรื อ ชุ ม ชนแตกสลาย ฉั น จะพยายาม ทุ ก วิถี ท างที ่จ ะประนี ป ระนอม และแก้ไ ข ความขัด แย้ง ต่ า งๆ ไม่ ว่ า จะใหญ่ ห รื อ เล็ก เพี ย งใด ส� ำ หรั บ ติ ช นั น ฮั น ห์ ค� ำ พู ด ที่ อ่ อ นหวานไพเราะ ถื อ เป็ นการเอื้ อ เฟื้ อ เผื่ อ แผ่ อ ย่ า งหนึ่ ง แต่ เ ราจะต้อ งมีค วาม รัก ความเมตตาประกอบกัน ไปด้ว ย จึ ง จะสามารถท�ำ ให้ผู อ้ ่ื น เป็ นสุ ข ได้ด ว้ ยค� ำ พู ด ที่ อ่ อ นหวานของเรา นอกจากการ ค� ำ พู ด แล ว้ ศี ล ข้อ นี้ ยัง ให้ค วามส� ำ คัญ กั บ การฟั ง อย่ า งลึ ก ซึ้ งด้ว ย เนื่ อ งจาก การฟัง อย่ า งลึ ก ซึ้ ง เป็ นพื้ น ฐานของการ ปรองดอง ซึ่ ง การปรองดองในที่ น้ ี ห มาย ถึ ง การน� ำ ศานติ แ ละความสุ ข ไปสู่ ส มา ชิ ใ นครอบครัว สัง คมและชนชาติ อ่ื น ๆ ดัง นั้น เพื่อ จะส่ ง เสริ ม การปรองดอง เรา จะต้อ งละเว้น จากการเข้า ไปฝั ก ใฝ่ กับ ฝ่ ายหนึ่ ง ฝ่ ายใด เพื่ อ ว่ า เราจะได้เ ข้า ใจ ทัง้ สองฝ่ าย

สาส์น อิส ลาม

ศี ล ข้ อ ที่ ห้ า (สุ ร าเมรัย มัช มะปะมาทัต ถานาเวรมณี หมายถึ ง การละเว้น จาก การดื่ ม สุ ร าเมรัย และดื่ ม เครื่ อ งดองของ มึน เมาทุ ก ชนิ ด ) ด้ว ยการตระหนัก รู ถ้ ึ ง ความทุ ก ข์ ทรมานอัน เกิ ด จากการบริ โ ภคที ่ข าดสติ ฉั น ตั้ง สัต ย์ป ฏิ ญ าณที่ จ ะรั ก ษาสุ ข ภาพ ทัง้ ทางร่ า งกายและจิ ต ใจเพื ่อ ตัว ฉั น เอง

ครอบครั ว และสัง คมของฉั น โดยการ กิ น ดื ่ ม และบริ โ ภคอย่ า งมี ส ติ ฉั น ตัง้ สัต ย์ป ฏิ ญ าณที่จ ะบริ โ ภคแต่ สิ ง่ ที่ถ นอม รัก ษาศานติ ความมี สุ ข ภาพดี แ ละความ สดชื ่ น รื ่ น เริ ง ในร่ างกายและจิ ต ส� ำ นึ ก ของฉั น และในร่ างกายและจิ ต ส� ำ นึ ก ของครอบครัว และสัง คม ฉั น ตัง้ จิ ต มัน่ ที ่จ ะไม่ ดื่ม เหล า้ หรื อ เครื ่อ งดองของเมา อื ่น ใด หรื อ เสพรับ อาหารหรื อ สิ ง่ อื ่น ๆ ที ่ มีพิ ษ ภัย เช่ น รายการโทรทัศ น์ นิ ต ยสาร หนัง สื อ ภาพยนตร์ และการสนทนา ฉัน ตระหนัก ว่ า การบัน่ ทอนท�ำ ลายร่ า งกาย หรื อ จิ ต ส�ำ นึ ก ของฉั น ด้ว ยพิ ษ ภัย เหล่ า นี้ เป็ นการไม่ ซื ่อ สัต ย์ต่ อ บรรพบุ รุ ษ พ่ อ แม่ สัง คมของฉั น รวมทัง้ คนรุ่ น ต่ อ ไปด้ว ย ฉั น จะท�ำ การเปลี ่ย นแปลงความรุ น แรง ความหวาดกลัว ความโกรธ และความ สับ สนในตัว ฉั น และในสัง คม ด้ว ยการ ฝึ กการบริ โภคเพื ่ อ ตั ว ฉั น สั ง คม ฉั น ตระหนั ก ว่ า อาหารที ่ ถู ก ต้อ งเหมาะสม นัน้ เป็ นสิ ง่ ส�ำ คัญ ยิ ง่ ในการเปลี ่ย นแปลง ตนเองและสัง คม หัว ใจส�ำ คัญ ในศี ล ข้อ นี้ ต ามความ เห็ น ของติ ช นัท ฮัน ห์ คื อ การบริ โ ภค อย่ า งมี ส ติ การกิ น อาหารอย่ า งเงี ย บๆ แม้เ พี ย งสองสามนาที เ ป็ นสิ่ ง ส�ำ คัญ มาก มัน จะช่ ว ยขับ ไล่ ค วามคิ ด ฟุ้ งซ่ า นต่ า งๆ ซึ่ ง ท�ำ ให้เ ราไม่ ไ ด้ส ัม ผัส กับ อาหารอย่ า ง แท้จ ริ ง การกิ น อาหารอย่ า งเงีย บๆ ในห้า หรื อ สิ บ นาที แ รก จะเป็ นสิ่ ง ที่ ดี ม าก ติ ช นัท ฮัน ห์ ยัง ได้ย กตัว อย่ า งวัด ของท่ า น ซึ่ ง มี ธ รรมเนี ย มปฏิ บ ัติ ก าร “พิ จ ารณา

111


สาส์น อิส ลาม

112

ห้า ประการ” ก่ อ นที่ จ ะกิ น อาหาร การ พิ จ ารณาอย่ า งที่ ส องคื อ “เราตั้ ง สัต ย์ ปฏิ ญ าณที่ จ ะท�ำ ตนให้ค วรค่ า แก่ อ าหาร นี้ ” จากค� ำ ขยายความศี ล ทั้ง ห้า ข้อ ของติ ช นัท ฮัน ห์ ท�ำ ให้เ ราเห็ น เห็ น ว่ า หลัก การที่พ ระพุท ธองค์ไ ด้บ ญั ญัติ ไ ว้เ มื่อ สองพัน กว่ า ปี ก่ อ นนั้น ไม่ ใ ช่ เ พี ย งแต่ ข อ้ ห้า มห้ว นๆ อย่ า งที่ผู เ้ ขีย นใส่ ไ ว้ใ นวงเล็บ อย่ า งที่ ช าวพุ ท ธจ�ำ นวนมากท่ อ งจ�ำ หรื อ ได้ยิ น ในพิธี ก รรมต่ า งๆ แต่ ติ ช นัท ฮัน ห์ ได้ช่ ว ยให้เ ราเข้า ใจความหมายและราย ละเอี ย ดที่ แ จกแจงให้เ ห็ น ในหลัก การทัง้ ห้า ข้อ รวมทัง้ การเอาไปประยุ ก ติ์ ก ับ ตัว เองและสัง คมด้ว ย นอกจากการปฏิ บ ัติ ต ามศี ล ห้า ซึ่ ง มี ค วามส� ำ คั ญ ส� ำ หรั บ ชาวพุ ท ธและ สัง คมแล ว้ หลัก ธรรมอี ก อย่ า งหนึ่ ง ที่ ผู เ้ ขี ย นเห็ น ว่ า น่ า จะมี ค วามเหมาะสม ที่ จ ะเอามาปฏิ บ ัติ ใ ช้ใ นโลกยุ ค โลกานุ วัฒ น์ ซึ่ ง เป็ นยุ ค ของข้อ มู ล ข่ า วสาร และ เทคโนโลยี คื อ “กาลามสู ต ร” ซึ่ ง หลัก ธรรมนี้ พระพุ ท ธเจ้า ทรงโปรดชาวกาลา มะ ที่ก �ำ ลัง สับ สนไม่ รู จ้ ะเชื่ อ ใครดี เพราะ อาจารย์ เ จ้า ลัท ธิ ท่ี ม าสอนต่ างยื น ยั น วิ ธี ข องตนเท่ า นั้ น ถู ก ของคนอื่ น ผิ ด พระพุ ท ธเจ้า จึ ง ได้ใ ห้ห ลัก ความเชื่ อ 10 ประการ/กาลามสู ต ร ไว้เ พื่อ เป็ น แนวทาง ในการแยกแยะและการตัด สิ น ใจต่ อ ค�ำ สอน ความเชื่ อ ข้อ มู ล ข่ า วสาร อย่ า งมี สติ ซึ่ ง ช่ ว ยให้เ ราคิ ด อย่ า งมีต รรกะและ เหตุ ผ ล อัน ได้แ ก่

1) อย่ า เพิ่ง เชื่ อ โดยฟัง ตามๆ กัน มา 2) อย่ า เพิ่ง เชื่ อ ตามที่เ คยท�ำ สืบ ต่ อ กัน มา 3) อย่ า เพิ่ง เชื่ อ ตามข่ า วลือ 4) อย่ า เพิ่ง เชื่อ ตามต�ำ ราหรื อ อ้า งในปิ ฏ ก 5) อย่ า เพิ่ ง เชื่ อ เพราะมี เ หตุ ผ ลน่ า เชื่ อ ถือ ได้ 6) อย่ า เพิ่ง เชื่ อ ด้ว ยการคาดคะเนเอา 7) อย่ า เพิ่ง เชื่ อ ด้ว ยการตรึ ก ตามอาการ 8) อย่ า เพิ่ง เชื่ อ เพราะตรงกับ ความคิ ด เห็ น ของตน 9) อย่ า เพิ่ ง เชื่ อ เพราะว่ า ผู พ้ ู ด ควรเชื่ อ ถือ ได้ 10) อย่ า เพิ่ ง เชื่ อ เพราะว่ า สมณะนี้ เ ป็ น ครู ข องเรา อาจกล่ า วได้ว่ า กาลามสู ต ร เป็ น หลัก การ ทัก ษะในการคิ ด เชิ ง วิ พ ากษ์ (critical thinking) เพื่อ ไม่ ใ ห้เ ราเชื่ อ หลงงมงายสิ่ง ที่ไ ด้ยิน ได้ฟ งั มาอย่ า งง่า ยๆ ดัง นั้น เราจะต้อ งตัง้ ค�ำ ถาม และถกเถีย ง เพื่ อ จะน� ำ ไปสู่ ก ารหาข้อ มู ล ข้อ เท็ จ จริ ง อย่ า งสมเหตุ ส มผล ซึ่ ง เหมาะที่ จ ะเอา มาประยุ ก ติ์ ใช้ใ นโลกปั จ จุ บ ัน ที่ ข อ้ มู ล ข่ า วสารแพร่ ก ระจายอย่ า งรวดเร็ ว จน น�ำ ไปสู่ ค วามขัด แย้ง รุ น แรงได้ และล่ า สุ ด เราจะเห็ น การพู ด ถึ ง ข่ า วปลอม (fake news) ที่มีแ นวโน้ม จะมากขึ้น เรื่ อ ยๆ ดัง นัน้ หลัก การทัง้ 10 ข้อ น่ า จะเป็ น แนวทาง หนึ่ ง ที่จ ะช่ ว ยให้เ ราเสพข้อ มู ล ข่ า วสารได้ อย่ า งมีส ติ และมีต รรกะเหตุ ผ ลที่ พ ร้อ ม จะรับ ฟัง และสนทนากับ ผู ท้ ่ี มี ค วามเห็ น แตกต่ า ง จ า ก ห ลั ก ธ ร ร ม ค� ำ ส อ น ข อ ง


พระพุ ท ธเจ้า ทั้ ง สองอย่ างข้า งต้น นั้ น เป็ น แค่ เ พีย งส่ ว นหนึ่ ง เท่ า นั้น แต่ ย งั มีอี ก มากมายที่ ช าวพุ ท ธสามารถน� ำ เอามาใช้ ในชี วิ ต ประจ�ำ วัน อย่ า งไรก็ ต ามส�ำ หรับ ผู เ้ ขี ย นแนวทางทั้ง สองอย่ า งนี้ หากได้ ศึ ก ษาในรายละเอี ย ด รวมทั้ง น� ำ เอามา ปฏิ บ ตั ิ ผู เ้ ขี ย นเชื่ อ ว่ า จะท�ำ ให้ช าวพุ ท ธ มี ใ จเปิ ดกว้า ง มี ค วามอดทนอดกลั้น เอื้ อ เฟื้ อเผื่ อ แผ่ ต่ อ เพื่ อ มนุ ษ ย์แ ละอ่ อ น โยนต่ อ สรรพชี วิต ที่ อ ยู่ ร่ ว มกัน ในโลกใบ นี้ ด้ว ยความเคารพ ไม่ เ ลือ กปฏิ บ ตั ิ แ ละ ปราศจากอคติ

สาส์น อิส ลาม

113


114

สาส์น อิส ลาม


อิ น เดี ย : บทเรี ย นการเรี ย นรู้ เ พื่ อ ก้ า วข้ า มเส้ น พรมแดน แห่ ง ความเชื่ อ และความสมานฉั น ท์ ใ นสั ง คมแบบพหุ อับ ดุ ร เราะฮหมาน มู เ ก็ ม นัก วิจ ยั ศู น ย์เ อเชี ย ใต้ศึ ก ษา สถาบัน เอเชี ย ศึ ก ษา จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิท ยาลัย

บทคั ด ย่ อ ความรุ น แรง คื อ หนึ่ ง ในสัญ ญาณกระตุ น้ เตื อ นส�ำ นึ ก สัง คมได้เ ป็ นอย่ า งดี อย่ า งน้อ ยก็ ป ลุ ก ให้ทุ ก คนรับ รู ว้ ่ า “ความสามัค คี เ ริ่ ม บกพร่ อ ง” เพราะธรรมชาติ ข อง มนุ ษ ย์น ้นั ไม่ มีใ ครสัก คนที่จ ะทนได้แ ละชาชิ น กับ การฆ่ า ฟัน โดยไร้ค วามรู ส้ ึก แต่ อ ย่ า ง ใด บรรดาปราชญ์เ หล่ า นั้น ก็ โ ตมาท่ า มกลางสภาพสัง คมที่โ หดร้า ยและมีบ าดแผล จน ทุ ก คนเล็ง เห็ น เป็ นเสี ย งเดี ย วกัน ว่ า “ความรุ น แรงสร้า งสรรค์ส งั คมไม่ ไ ด้” บทเรี ย น ส�ำ คัญ คงหนี ไ ม่ พ น้ การแยกประเทศเมื่อ เดื อ นสิ ง หาคม 1947 ซึ่ ง ห้ว งยามนั้น แผ่ น ดิน อิน เดีย ถู ก ฉี ก ออกเป็ น ชิ้ น ๆ เปรอะเปื้ อนไปด้ว ยบาดแผลสีแ ดงหม่ น ส่ ง ผลให้ผู ค้ น หลายล า้ นต้อ งสัง เวยชี วิต จนภาพความรุ น แรงเหล่ า นั้น มัน น่ า กลัว เกิ น กว่ า จะ “ผลิต ซ�ำ้ ” ความรุ น แรงระลอกใหม่ ซึ่ง แน่ น อนไม่ มีใ ครที่จ ะยิน ยอมให้เ กิ ด ความรุ น แรงและ การฆ่ า ฟัน กัน ขึ้น โดยง่ า ยดายในสัง คมพหุ ว ฒ ั นธรรมอี ก ต่ อ ไป ค�ำ ส�ำ คัญ : สัง คมพหุ ว ฒ ั นธรรม, ความเชื่ อ , อิ น เดี ย

สาส์น อิส ลาม

115


Academic article Capacities for Achieving peaceful Co-Existence among religions and sects Case study : India and learning lessons to cross the border of faith and peaceful coexistence

สาส์น อิส ลาม

Abstract Violence is One of the signs that alert the society well. At least to awaken to everyone that “Unity begins to lack” because of the nature of humans No one can endure it and become accustomed to killing without feelings in any way. Those sages grew up in a cruel and wounded society. Until everyone saw in one voice that “Violence cannot create society.” An important lesson is inevitably separating the country in August 1947, at which point The Indian land was torn to pieces, smeared with deep red wounds. Resulting in millions of people sacrificing their lives Until those violent images are too scary to “reproduce” new violence Of course, no one would easily tolerate violence and killings in a multicultural society. Keywords: multicultural society, belief, India

116


“ในสายตาเพื ่อ นร่ ว มโลก เราต่ า งไม่ ใ ช่ ท งั้ มุส ลิม หรื อ ฮิ น ดู แต่ เ ราคื อ อิ น เดี ย ส�ำ นึ ก แห่ ง เรา มัน คื อ ตัว ตนแห่ ง ความ เป็ น ชาติ นัน่ ก็ คื อ ฮิ น ดู มุส ลิม คริ ส ต์ พุ ท ธและอื ่น ๆ เราทัง้ หลายล ว้ นทิ้ ง รกและฝัง ราก ที ่นี่ เพราะที ่นี่คื อ ประเทศของเรา เมื อ่ เราต่ า งเชื ่อ แบบนี้ สิ ง่ เดี ย ว จะเกิ ด ขึ้ น ต่ อ สาธารณะ นัน่ ก็ คื อ การหยิ บ ยื ่น ความดี ใ ห้แ ก่ ก ัน ” เซอร์ ซัย ยิ ด อะหมัด คาน (Sir Syed Ahmad Khan 1817 – 1898)

1. การอยู่ ด้ ว ยกั น ในสัง คมทัว่ ไป คนอิ น เดี ย จะอยู่ ด้ว ยกัน เป็ นกลุ่ ม ก้อ น เพราะโดยมาก ของพวกเขาชอบการพู ด คุ ย แลกเปลี่ย น ระหว่ า งกัน ตลอดเวลา ไม่ ว่ า ศาสนาหรื อ ชาติ พ ัน ธุ ์ ใ ด ดัง นั้น ในการคลุ ก คลี จึ ง มี “การอยู่ ร่ ว ม” และ “การปะทะ” ซึ่ ง เริ่ ม ต้น ผ่ า นความเห็ น ที่ เ หมื อ นและต่ า งกัน ส่ ง ผลให้เ กิ ด การแลกเปลี่ ย นถกเถี ย ง ด้ว ยค� ำ พู ด ที่ รุ น แรงทั้ง น�้ำ เสี ย งและการ ใช้ค�ำ “เสี ย งใครดัง กว่ า ชนะ” เมื่อ ข้อ ขัด แย้ง จบลงไม่ ไ ด้ก็ อ าจน� ำ ไปสู่ ก ารลงไม้ ลงมื อ ระหว่ า งกัน แล ว้ น� ำ มาซึ่ ง การรุ ม ท�ำ ร้า ย และเกิ ด การนองเลื อ ด แล ว้ มี การคลี่ค ลายด้ว ยบุ ค คลที่ ส าม แล ว้ ทุ ก คนก็ ยุ ติ บ ทบาทของตนท�ำ ราวกับ ว่ า ไม่ เคยเกิ ด อะไรขึ้น แล ว้ ทุ ก คนก็ ม กั ปล่ อ ย ให้ฉ ากการห�ำ้ หัน่ ระหว่ า งกัน จบลงด้ว ย การหัก มุ ม แบบห้ว น ๆ ผ่ า นค� ำ พู ด คื อ “มาอัฟ กาโร๊ ะ ” (ขอโทษนะ) แล ว้ จับ มือ กัน ดีก นั วัน ต่ อ มาทุก คนก็ น งั ่ ร่ ว มโต๊ะ ดื่ม กิ น ชากัน อย่ า งเดิ ม กระนั้น ก็ ย ัง มี ก รณี รุ น แรงจนถึ ง ขั้น เลื อ ดตกยางออกหรื อ ส่ ง ผลต่ อ การสู ญ เสี ย ชี วิ ต ซึ่ ง มี ป รากฏ ให้เ ห็ น ไม่ ต่ า งกัน ปฏิ เ สธไม่ ไ ด้ว่ า นี ่คื อ อิ ริ ย ะวัต ร

สาส์น อิส ลาม

อิ น เ ดี ย : แ บ บ แ ล ะ วิ ธี ก้ า ว ข้ า ม พรมแดนความเชื่ อ ไม่ มี ใ ครปฏิ เ สธว่ า ประเทศแถบ เอเชี ย ใต้ เป็ นหนึ่ ง ในพื้ น ที่ ป กคลุ ม ไป ด้ว ยความรุ น แรง บาดแผล การล า้ ง แค้น และสมานฉัน ท์ม าอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและ ยาวนานจนมี ป ระวัติ ศ าสตร์ แ ห่ ง ความ รัก และความแค้น เป็ นของตนเองอย่ า ง น่ า เลื่อ มใส น่ า ยกย่ อ งและน่ า สมเพศใน เวลาเดี ย วกัน กระนั้น ประสบการณ์ ก าร ต่ อ สู ค้ รั้ง ดัง กล่ า วของชาวเอเชี ย ใต้ถื อ เป็ นแบบเสมื อ นที่ ส ามารถย่ อ ขนาดให้ เห็ น กระบวนการจัด การความต่ า งให้เ รา เข้า ใจและรับ รู ร้ ะหว่ า งกัน ได้อ ย่ า งลงตัว โดยเฉพาะเรื่ อ งเล่ า อัน ทรงพลัง จากหนึ่ ง ในพื้ น ที่ โ ดดเด่ น ของเอเชี ย ใต้ นัน่ ก็ คื อ อิ น เดี ย ซึ่ ง ผู เ้ ขี ย นเคยปัก หลัก ชี วิ ต ณ สถานที่ แ ห่ ง นั้น ร่ ว ม 10 ปี จนสามารถ

เ ห็ น “ ก า ร ก่ อ ตั ว ” “ วิ ธี ก า ร ใ ช้ค ว า ม รุ น แรง” “การจัด การ” “การคลี่ ค ลาย” และรวมถึ ง “การลื ม ” และ “การก้า ว ผ่ า น” ปรากฏการณ์ ต่ า ง ๆ จนสามารถ ฉายออกมาคร่ า ว ๆ ดัง นี้ คื อ

117


สาส์น อิส ลาม

118

และธรรมชาติ ข องมนุ ษ ย์ร่ ว มโลกของเรา ผู เ้ ขี ย นเรี ย น ณ มหาวิ ท ยาลัย อาลิ ก าร์ มุ ส ลิ ม (Aligarh Muslim university) ประกอบไปด้ว ยเพื่ อ น ร่ ว มสถาบัน ที่ น ับ ถื อ ศาสนาต่ า งกัน แม้ ชื่ อ มหาวิ ท ยาลัย จะมี ก ลิ่ น อายและขนบ แห่ ง ความเป็ นมุส ลิม เจื อ ปนอยู่ กระนั้น เ พื่ อ น ร่ ว ม ส ถ า บั น ก็ สั ง กั ด ค ว า ม เ ชื่ อ ศาสนาและค่ า ยความคิ ด ผสมปนเปกัน ไป เช่ น อิ ส ลาม ชี อ ะฮฺ แ ละซุ น นี ย ์ อิ มามีย ะฮฺ แ ละโบราฮฺ บาเรลวีแ ละดิ ว บัน ดี ฮิ น ดู ซิ ก ห์ คริ ส ต์ บาไฮน์ เชน พุ ท ธ กลุ่ ม ไม่ มี ศ าสนาและอื่ น ๆ ซึ่ ง ทั้ง หมด ต่ า งก็ เ ชื่ อ และมี วิ ธี ป ฏิ บ ัติ ไ ม่ เ หมื อ นกัน อย่ า งเห็ น ได้ช ดั ทุ ก ค น มี พ้ ื น ที่ ต่ อ ร อ ง เ ป็ น ข อ ง ตนเอง อย่ า งน้อ ยก็ เ พื่ อ ต้อ งการที่ จ ะ เป็ นส่ ว นหนึ่ ง ของสัง คมนั้น ๆ ที่ ต นเอง ด� ำ รงอยู่ จะเห็ น ได้ว่ า ในมัส ยิ ด กลาง ของมหาวิท ยาลัย ซึ่ง เราเรี ย กว่ า “มัส ยิ ด เซอร์ ซัย ยิ ด อะหมัด คาน” (Sir Syed Ahmad Khan University Mosque) นั ก ศึ ก ษาซุ น นี ห ์ แ ละชี อ ะฮฺ ล ะหมาดวัน ศุ ก ร์ ด ว้ ยกัน แต่ ไ ม่ พ ร้อ มกัน หน� ำ ซ�้ำ คนละเวลา เมื่อ กลุ่ ม ซุ น นี ย ล์ ะหมาดเสร็ จ กลุ่ ม ชี อ ะฮฺ ก็ ข้ ึน อ่ า นคุ ต บะฮฺ แ ละละหมาด ในช่ ว งเวลาถัด ไป ก็ ไ ม่ เ ห็ น มีก ารทะเลาะ และ “แจกนรกให้ก ัน และกัน ” อย่ า งซุ น นี ห ์แ ละชี อ ะฮฺ ใ นประเทศไทยท�ำ กัน น อ ก จ า ก นี้ ใ น ค ณ ะ เ ท ว วิ ท ย า (Theology) ก็ ย งั มีท งั้ สองภาควิช า ทัง้ เทววิ ท ยาแบบซุ น นี ย ์แ ละเทววิ ท ยาแบบ

ชี อ ะฮฺ ซึ่ ง ในคณะเดี ย วกัน ก็ ร วมทัง้ สอง ภาควิช าเข้า ด้ว ยกัน นี่ คื อ ความต่ า งที่ มี การจัด การที่ ล งตัว และไม่ เ คยน� ำ มาซึ่ ง การฆ่ า ฟัน กัน ทุ ก คนพร้อ มจะรับ ฟัง กัน และกัน สิ่ ง เหล่ า นี้ ทั้ง หมดเกิ ด จากบท เรี ย นและบาดแผลที่ ทุ ก คนเคยมี ร่ ว ม กัน จนกระทัง่ แต่ ล ะคนมีค วามรู ส้ ึ ก ร่ ว ม แบบ “สุ ด ทน” กับ ความแตกแยกและ การห�้ำ หัน่ กั น ในอดี ต สัง คมใหม่ ข อง พวกเขาจึ ง น่ า สนใจและน่ า ศึ ก ษาเรี ย น รู ้ ก ร ะ นั้ น พื้ น ที่ ด ั ง ก ล่ า ว นี้ ก็ เ ค ย เ ป็ น สนามรบแห่ ง ความต่ า งและมีบ าดแผลมา อย่ า งโชกโชนแล ว้ เช่ น เดี ย วกัน วั น สุ ด ท้ า ย ที่ ผู ้ เ ขี ย น เ รี ย น จ บ ฐานะมิต รสหายก็ น�ำ ของขวัญ มามอบให้ ผู เ้ ขี ย นได้ร ั บ ของที่ ร ะลึ ก ก่ อ นวัน กลับ บ้า น ถื อ เป็ น “ชิ้ น ทรงคุ ณ ค่ า ” ที่ สุ ด ใน สายตาของเพื่อ นชาวฮิ น ดู ขณะมุม มอง ของผู เ้ ขี ย น อาจถื อ เป็ น “ของขวัญ ชิ้ น ไร้ค่ า ” ในม่ า นแห่ ง ศรัท ธาแบบอิ ส ลาม ของขวัญ ชิ้ น นั้น ก็ คื อ “พระพิฆ เนศ” มิต ร สหายของ ผู เ้ ขี ย นบอกว่ า “ให้ผู เ้ ขี ย น เพื่อ ความเป็ นศิ ริ ม งคลและเพื่อ เดิ น ทาง โดยสวัส ดิภ าพ” ผู เ้ ขีย นจึ ง ไม่ ก ล า้ ปฏิเ สธ น�้ำ ใจ เพราะหากไม่ ร ับ ถื อ ว่ า “ท�ำ ลาย ความรู ส้ ึ ก ดี ” ในห้ว งเวลาส�ำ คัญ และน่ า ยิ น ดี เ ยี่ ย งนี้ หาก “รับ ” ก็ “กระไร” หาก “ปฏิ เ สธ” ก็ “ท�ำ ร้า ยน�้ำ ใจ” ผู เ้ ขี ย นจึ ง เลื อ กรับ น�้ำ ใจของเพื่ อ นไว้ก่ อ น ส่ ว นที่ เหลือ ค่ อ ยว่ า กัน “ น� ้ ำ ใ จ ถื อ เ ป็ น สิ ่ ง ส� ำ คั ญ ที ่ ไ ม่ สามารถหยิ บ ยื ่น ให้ก ัน ได้ หากไม่ มี ใ จ


ให้ก ัน และกัน ” ผู ้เ ขี ย น จึ ง ส รุ ป บ ท เ รี ย น ค รั้ ง นี้ ว่ า ในสัง คมใหญ่ แ ละมี ค วามเชื่ อ อั น หลากหลาย เราจึ ง ต้อ งถนอมความรู ส้ ึ ก ระหว่ า งกัน เพราะความรู ส้ ึ ก ก็ เ ป็ นส่ ว น หนึ่ ง ใน “สิ ท ธิ ข องเพื่อ นมนุ ษ ย์” (Haqul Adam) ส่ ว นที่ เ หลื อ หลัง จากรับ ความ รู ส้ ึก ดี ความหวัง ดี แ ละน�ำ้ ใจดี ๆ มาแล ว้ ค่ อ ยว่ า กั น อี ก ทอดหนึ่ ง โดยไม่ ท � ำ ให้ “สิ ท ธิ ร ะหว่ า งบ่ า วกับ พระเจ้า ” (Haqullah) นั้น “เสี ย ศู น ย์” เช่ น เดี ย วกัน สิ่ ง นี้ ต่ า งหากที่ ป ฏิ บ ตั ิ ไ ด้ค่ อ นข้า ง ยากในสัง คมพหุ ว ัฒ นธรรมและสัง คม แบบบ้า นเรา

สาส์น อิส ลาม

2. ถั ง ความคิ ด (Think Tank) สั ง ค ม อิ น เ ดี ย มี ป ร า ช ญ์ ท่ี ค อ ย ชี้ น� ำ สัง คมและเชื่ อ มร้อ ยสัง คมให้เ ป็ น ปึ กแผ่ น ผ่ า นความเชื่ อ และแนวคิ ด ที่ มี ภู มิห ลัง ต่ า งกัน โดยสิ้ น เชิ ง ทว่ า สิ่ ง ที่ ทุ ก คนมีเ หมือ นกัน นัน่ ก็ คื อ บาดแผลแห่ ง การสู ญ เสี ย อิ น เดี ย จึ ง สร้า งถัง ความคิ ด เพื่ อ อยู่ ร่ ว มกัน ในความต่ า งผ่ า นปราชญ์ อิ ส ลามอย่ า ง เซอร์ ซัย ยิ ด อะหมัด คาน (Sir Syed Ahmad Khan 1817 – 1898) ผู ท้ ่ี เ ติ บ โตมาท่ า มกลางความขัด แย้ง และความรุ น แรงภายใต้ก ารต่ อ สู ้ ของภาคประชาชนเพื่อ ปลดปล่ อ ยตนเอง จากการปกครองของนัก ล่ า อาณานิ ค ม อัง กฤษ จึง ไม่ แ ปลกที่เ ซอร์ ซัย ยิด อะหมั ด คาน ได้ก ล่ า วชี้ น� ำ คนรุ่ น หลัง เมื่ อ ผ่ า นวิบ ากกรมอัน เลวร้า ยว่ า “การศึ ก ษา

มี ห น้า ที ่ ป ะ ชุ น ร อ ย ร้ า ว แ ล ะ ซ่ อ ม แ ซ ม ความรู ้สึ ก เกลี ย ดชั ง ที ่ ก � ำ ลัง ด� ำ เนิ น ไป ระหว่ า งมุ ส ลิ ม และอัง กฤษ เพราะต่ า ง ฝ่ ายต่ า งมีอ คติ แ ละเชื ่อ ว่ า ฝัง่ ตรงข้า มคื อ ศัต รู ท่ า นพยายามทุ ก วิ ถี ท างเพื ่อ แสดง ให้ส องกลุ่ ม เห็น ไม่ ต่ า งกัน คื อ มนุ ษ ย์เ ป็ น มิ ต รสหายร่ ว มแผ่ น ดิ น ” ผู เ้ ขี ย นเคยน� ำ เสนองานเขี ย นชิ้ น หนึ่ ง ชื่ อ “เซอร์ ซัย ยิ ด อะหมัด คาน: ปลดแอกความรุ น แรงสู่ ก ารศึ ก ษา” ซึ่ ง ท่ า นเคยเพื่ อ ปลุ ก ส�ำ นึ ก ผู ค้ นในอิ น เดี ย ให้ร วมกัน เป็ นหนึ่ ง ว่ า “อิ น เดี ย คื อ แผ่ น ดิ น แม่ ข องเราทัง้ ฮิ น ดู แ ละมุส ลิม เรา คื อ ผู ท้ ่ี ห ายใจโดยใช้อ ากาศเหมื อ นกัน ผู ท้ ่ี ด่ื ม น�้ำ จากแม่ น�้ำ อัน ศัก ดิ์ สิ ท ธิ์ เ หมื อ น กัน คื อ ยามู น าและผู ท้ ่ี บ ริ โ ภคสิ น ค้า จาก ผื น แผ่ น ดิ น เดี ย วกัน ” นอกจากนี้ ซัย ยิ ด อะหมัด คาน ยัง เป็ นนัก คิ ด ผู ย้ ่ิ ง ใหญ่ นัก การศาสนา ผู ท้ รงรู แ้ ละนัก ประวัติ ศ าสตร์ ท่ี แ ม่ น ย�ำ นัก ปฏิรู ป และนัก เขีย นผู ท้ รงอิ ท ธิ พ ล นัก หนัง สื อ พิ ม พ์ท่ี น่ า กลัว รวมถึ ง นัก สัน ติ วิ ธี ผู เ้ ป็ นสะพานเชื่ อ มสัม พัน ธ์ ร ะหว่ า ง ฮิ น ดู - มุ ส ลิ ม นอกจากนี้ ท่ า นก็ ย ัง ได้ รับ การยกย่ อ งให้เ ป็ นนัก การศึ ก ษาผู ย้ ก ระดับ สัง คมมุ ส ลิ ม ในอนุ ท วี ป และกลาย เป็ น ผู ท้ รงอิ ท ธิ พ ลของมุส ลิม ในศตวรรษ ที่ 19 ได้อ ย่ า งชัด เจน” (อับ ดุ ร เราะฮ หมาน มู เ ก็ ม 2558, 53-56) ผู เ้ ขี ย น จึ ง สรุ ป ในบทความชิ้ นดัง กล่ า วว่ า “เซ อร์ซ ัย ยิ ด อะหมัด คานได้เ ปลี่ย นผ่ า น วัฒ นธรรมแห่ ง ความรุ น แรงที ่มุ่ง เน้น การ

119


สาส์น อิส ลาม

นองเลือ ดไปสู่ ส งั คมใต้ข นบใหม่ ๆ ด้ว ย การศึ ก ษา ท่ า นพยายามสร้า งแนวคิ ด ใน การปลดปล่ อ ยตัว เองจากจัก รวรรดิ นิ ย ม อัง กฤษด้ว ยการปลุ ก พลัง บวกของความ รั ก ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ ช า ช น ช า ว มุ ส ลิ ม แ ล ะ ฮิ น ดู ที ่เ คยมี ป มขัด แย้ง ระหว่ า งกัน ผ่ า น ส�ำ นึ ก สาธารณะของความเป็ น พี ่น อ้ งร่ ว ม แผ่ น ดิ น ผู ม้ ี ส่ ว นร่ ว มในชะตากรรมแห่ ง ความเป็ นพลเมื อ งอิ น เดี ย ใต้นิ ย ามค�ำ ว่ า “Qaum” (Nation)” (อับ ดุ ร เราะฮหมา น มู เ ก็ ม 2558, 38) ว่ า ด้ว ย ถั ง ค ว า ม คิ ด อิ น เ ดี ย มี ปราชญ์ จ � ำ นวนมากมายที่ ค อยเติ ม เต็ ม วิ ถี คิ ด และก� ำ หนดสู ต รการอยู่ ร่ ว มกั น เพื่ อ ให้ส ัง คมพหุ ว ฒ ั นธรรมมี ค วามเป็ น เอกภาพและก้า วข้า มผ่ า นความรุ น แรง และความสุ ด โต่ ง ไปได้ อย่ า งน้อ ยก็ มีน ัก คิ ด นัก เขี ย นรุ่ น ใหม่ ท่ี พ ยายามน� ำ เสนอ วิถีคิ ด เหล่ า นั้น เช่ น เมาลานาวาฮิ ดุ ด ดี น คาน (Maulana Wahiduddin Khan) และคนอื่ น ๆ ซึ่ ง ผู เ้ ขี ย นจะน� ำ เสนอให้ ผู อ้ ่ า นได้ร ับ ทราบในงานเขีย นชิ้ น ถัด ไป

120

3. พลั ง แห่ ง ความต่ า งในการสร้ า ง เอกภาพ ความรุ น แรงคื อ หนึ่ ง ในสัญ ญาณ กระตุ น้ เตื อ นส�ำ นึ ก สัง คมได้เ ป็ นอย่ า งดี อย่ า งน้อ ยก็ ป ลุ ก ให้ทุ ก คนรับ รู ว้ ่ า “ความ สามัค คี เ ริ่ ม บกพร่ อ ง” เพราะธรรมชาติ ของมนุ ษ ย์น ั้น ไม่ มีใ ครสัก คนที่จ ะทนได้ และชาชิ น กับ การฆ่ า ฟัน โดยไร้ค วามรู ส้ ึก แต่ อ ย่ า งใด บรรดาปราชญ์เ หล่ า นั้น ก็ โ ต

มาท่ า มกลางสภาพสัง คมที่ โ หดร้า ยและ มี บ าดแผล จนทุ ก คนเล็ ง เห็ น เป็ นเสี ย ง เดี ย วกัน ว่ า “ความรุ น แรงสร้า งสรรค์ สัง คมไม่ ไ ด้” บทเรี ย นส�ำ คัญ คงหนี ไ ม่ พ้น การแยกประเทศเมื่ อ เดื อ นสิ ง หาคม 1947 ซึ่ง ห้ว งยามนั้น แผ่ น ดิ น อิ น เดี ย ถู ก ฉี ก ออกเป็ นชิ้ น ๆ เปรอะเปื้ อนไปด้ว ย บาดแผลสีแ ดงหม่ น ส่ ง ผลให้ผู ค้ นหลาย ล า้ นต้อ งสัง เวยชี วิต จนภาพความรุ น แรง เหล่ า นั้น มัน น่ า กลัว เกิ น กว่ า จะ “ผลิต ซ�ำ้ ” ความรุ น แรงระลอกใหม่ ซึ่ง แน่ น อนไม่ มี ใครที่จ ะยิ น ยอมให้เ กิ ด ความรุ น แรงและ การฆ่ า ฟัน กัน ขึ้ น โดยง่ า ยดายในสัง คม พหุ ว ฒ ั นธรรมอี ก ต่ อ ไป ความต่ างถื อ เป็ นพลัง แห่ ง การ สร้า งสรรค์ส่ิ ง ดี ๆ ให้ก ับ สัง คมองค์ร วม ของเรา ผู เ้ ขี ย นได้ร ั บ แนวความคิ ด นี้ มาจากการปรุ ง อาหารอิ น เดี ย ที่ เ รี ย กว่ า “บิ ร ยานี ” ในบทความชิ้ น หนึ่ ง ผู เ้ ขี ย น ได้ตี พิ ม พ์เ มื่ อ ปี 2017 ชื่ อ ว่ า “บิ ร ยานี (Indian Biryani) นิ ย ามและความ หลากหลายในหม้อ เครื่ อ งเทศ” ซึ่ง อาหาร ชนิ ด นี้ อุ ด มไปด้ว ยเครื่ อ งเทศน์ ก ว่ า 20 ชนิ ด เช่ น ขิง กระเที ย มปัน่ กานพลู ใบ กระวาน ลู ก กระวาน อบเชย ยี่ ห ร่ า ขาว ยี่ ห ร่ า ด�ำ ยี่ ห ร่ า ป่ น พริ ก ไทยด�ำ ผงกา รัม มัส สาลา พริ ก แดงป่ น ลู ก จัน ทร์เ ทศ ดอกจัน ทร์เ ทศ กะทิ แ ห้ง มะเขือ เทศสด พริ ก เขีย วสด หญ้า ซัฟ ร่ อ น หัว หอม นม เปรี้ ย ว เนื้ อ ข้า วสาร เกลือ น�้ำ มัน น�้ำ และอื่ น ๆ เครื่ อ งเทศแต่ ล ะชนิ ด นั้น มี ค วาม


2017) เมื่อ เป็ น เช่ น นั้น คงเป็ น เรื่ อ งตลก สิ้ น ดี ที่ เ ราจะจ� ำ กัด ให้มี ค นเพี ย งแบบ เดี ย วกัน กับ เราให้อ ยู่ บ นโลกใบเดี ย วกับ เราเพี ย งเท่ า นั้น ทว่ า สิ่ ง ที่ ส �ำ คัญ กว่ า นั้น คื อ พระเจ้า สร้า งเรามาจากดิ น ที่ มี ส่ ว น ผสมของสี ช นิ ด ต่ า งกัน แนวคิ ด ที่ ป ะชุ น มาไม่ เ หมื อ นกัน และถู ก ปรุ ง แต่ ง มาคน แบบกัน หน� ำ ซ�ำ้ ในสัง คมที่ ก ว้า งไปจาก รั้ว ประตู บ า้ นของเรา ต่ า งถู ก แต่ ง แต้ม ด้ว ยสี ค นละแบบกัน ทว่ า ทั้ง หมดเพื่ อ “ท� ำ ความรู ้จ ั ก เข้า ใจและหนุ นเสริ ม ระหว่ า งกัน ” ในงานเขี ย นชิ้ น หนึ่ ง ของอาจารย์ กิ น โก อี โ ต (Kinko Ito) ศาสตราจารย์ ป ร ะ จ� ำ ภ า ค วิ ช า สั ง ค ม วิ ท ย า ม ห า วิ ท ยาลัย อาร์ ค ั น ซอส์ แ ห่ ง ลิ ต เติ้ ลร็ อ ค สหรัฐ อเมริ ก า (University of Arkansas of Little Rock, U.S.A.) ได้ น� ำ เสนองานเขี ย นชิ้ นหนึ่ ง ชื่ อ “Cooking and World Peace” (อาหารและ สัน ติ ภ าพโลก) ซึ่ ง ตัง้ ค�ำ ถามง่ า ย ๆ คื อ “คุ ณ จะท�ำ กิ จ กรรมอะไรเมื่ อ ผู ห้ ญิ ง ต่ า ง ความเชื่ อ และพื้ น เพจ�ำ นวนหลายคนมา รวมตัว กัน ในสถานที่แ ห่ ง หนึ่ ง ” กิ จ กรรม ส�ำ หรับ ผู ค้ นพหุ ค วามเชื่ อ คื อ “ทุ ก คนมา ท�ำ อาหารด้ว ยกัน เพื่ อ เป็ นสะพานเชื่ อ ม ในการท�ำ ความเข้า ใจวัฒ นธรรมที่ แ ตก ต่ า งกั น ” อี โ ตเคยเดิ น ทางมาประเทศ ตุ ร กี เ มื่ อ ปี 2007 ในฐานะสมาชิ ก ของ International of Interfaith Dialogue จากเมือ ง Little Rock ซึ่ ง มีเ ป้ า หมายเพื่ อ เยี่ ย มชมเมื อ งประวัติ ศ าสตร์

สาส์น อิส ลาม

ส�ำ คัญ เฉพาะทางและมีต �ำ แหน่ ง แห่ ง ที่ใ น บริ บ ทที่ แ ตกต่ า งกัน ออกไป ไม่ มี เ ครื่ อ ง เทศชนิ ด ไหนมี ส ถานะโดดเด่ น กว่ า ชนิ ด ไหน ไม่ มี ช นิ ด ไหนสามารถแทนที่ อี ก ชนิ ด ได้ เพราะทุ ก ชนิ ด ล ว้ นถู ก สร้า งมา เพื่อ เป้ าหมายและภาระหน้า ที่อ นั ยิ่ ง ใหญ่ สรุ ป ง่ า ยก็ คื อ แม้เ ครื่ อ งเทศแต่ ล ะชนิ ด มี ความแตกต่ า งกัน ทางด้า นกลิ่น รสชาติ สี ส ัน ทว่ า ทุ ก ประเภทล ว้ นต้อ งพึ่ ง พา อาศัย ซึ่ง กัน และกัน อย่ า งหลีก เลี่ย งไม่ ไ ด้ เมื่ อ ธรรมชาติ ข องเครื่ อ งเทศ หนุ น เสริ ม ระหว่ า งกัน ได้อ ย่ า งทรงพลัง อี ก ทั้ง ยัง สามารถด�ำ รงจิ ต วิ ญ ญาณของ ตนในแสดงออกถึ ง อัต ลัก ษณ์ ท่ า มกลาง กระแสของการเปลี่ ย นแปลงได้อ ย่ า ง ลงตัว กระนั้น เครื่ อ งเทศน์แ ต่ ล ะชนิ ด ก็ ยัง คงท�ำ หน้า ที่ ข องตนได้อ ย่ า งสมบู ร ณ์ เพื่อ สะท้อ นสี กลิ่น รสให้อ อกมาปรากฏ ในหม้อ บิร ยานี แล ว้ มนุ ษ ย์เ ราจะมาแก่ ง แย่ ง ชิ ง ดี เพื ่อ อัน ใดกัน ? บิ ร ย า นี จึ ง ก ล า ย เ ป็ น ศู น ย์ ร ว ม วัฒ นธรรมอัน หลากหลายของความเป็ น อัต ลัก ษณ์ แ ห่ ง เครื่ อ งเทศที่ ถู ก บรรจุ ไ ว้ ในหม้อ ซึ่ ง แน่ น อนมนุ ษ ย์อ ย่ า งเราก็ ไ ม่ ได้มี แ ค่ วิ ถี ว ัฒ นธรรมเดี ย ว ความเชื่ อ และวิถี คิ ด แค่ เ พี ย งแบบเดี ย ว ทว่ า เรา ถู ก สร้า งมาบนเสาหลัก ของความหลาก หลาย การผสมปนเปและการเกี่ ย วพัน ธ์ กัน อย่ า งลงตัว อาจผ่ า นการอพยพย้า ย ถิ่ น การศึ ก ษา การแต่ ง งานและการ เข้า สัง คม (อับ ดุ ร เราะฮหมาน มู เ ก็ ม

121


สาส์น อิส ลาม

122

เช่ น เมือ งอัง การา โรงเรี ย น โรงพยาบาล และอื่ น ๆ การเดิ น ทางครั้ง นี้ ท�ำ ให้อี โ ต เจอกับ กลุ่ ม สมาชิ ก อาสาสมัค รสตรี ช าว ตุ ร กี ซ่ึ ง รวมตัว กัน เพื่ อ ท�ำ กิ จ กรรมปรุ ง อาหารร่ ว มกัน รับ ประทานอาหารด้ว ย กั น และพู ด คุ ย แลกเปลี่ ย นระหว่ า งกั น ส่ ว นมากของผู เ้ ข้า ร่ ว มกิ จ กรรมมี อ ายุ ประมาณ 20 ตอนปลายและ 30 ตอน ต้น มีบ า้ งที่อ ายุ เ กื อ บ 60 ในจ�ำ นวนนั้น ก็ มีเ ด็ ก เล็ก ครู อาจารย์ม หาวิท ยาลัย นัก วิ จ ัย นัก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลัย และมัธ ยม ปลายซึ่ ง ประกอบไปด้ว ยสมาชิ ก หลาย ประเทศ เช่ น อเมริ ก า จีน ญี่ป่ ุ น เม็ก ซิโ ก โคลัม เบีย อุ ซ เบกิ ส ถาน โปแลนด์ เติ ร ์ก มิ นิ ส ถาน ทั้ง หมดสื่ อ สารกัน ด้ว ยภาษา กลางนั ่น ก็ คื อ ภาษาอัง กฤษและตุ ร กี นอกจากนี้ ยัง มี ห ลายศาสนารวมกัน คื อ อิ ส ลาม คริ ส ต์ค าทอลิก โปรเตสแตนต์ ยิว และเซน กิ จ กรรมเรี ย บง่า ยธรรมดา ๆ ซึ่ ง จะจัด ขึ้น สัป ดาห์ล ะ 1 ครั้ง มีผู ส้ นใจ เข้า ร่ ว ม 4-13 คนและครู ผู ส้ อน 2 คน “อาหารก็ คื อ ตัว แทนของอารยะ ธรรมและวัฒ นธรรม” ซึ่ง เป็ น สะพานเพื่อ ให้เ ราเข้า ใจวัฒ นธรรมแห่ ง ความต่ า งได้ เป็ นอย่ า งดี อาหารก็ เ ป็ นอี ก วิ ธี ก ารหนึ่ ง ในการรวมผู ค้ นผ่ า น “ห้อ งอาหาร” และ “ต�ำ ราอาหาร” ซึ่ ง ทัง้ สองนี้ ไ ม่ ต่ า ง “หลัก ค�ำ สอนศาสนา” ที่ จ ะเป็ น ผู ช้ ้ ี ท างสว่ า งให้ กับ “ศาสนิ ก ชน” อุ ป กรณ์ เ ครื่ อ งปรุ ง ต่ า ง ๆ คื อ เครื่ อ งมือ ที่ น�ำ พาศาสนิ ก ทัง้ หลาย ไปสู่ ห ลัก ค�ำ สอนของพระเจ้า นัน่ เอง ใน วงคุ ย ส�ำ หรับ กิ จ กรรมดัง กล่ า วมี ค� ำ พู ด

หนึ่ ง ที่พ วกเขาต่ า งเห็น พ้อ งต้อ งกัน คื อ “รู ้ หรื อ เปล่ า พวกเรารับ ประทานอาหารร่ ว ม กัน แลกเปลี่ย นประสบการณ์ ร ะหว่ า งกัน และพยายามเข้า ใจวัฒ นธรรมของแต่ ล ะ บุ ค คลที่ ม าจากจากประเทศต่ า ง ๆ เรา กลายเป็ นมิ ต รสหาย ซึ่ ง ไม่ มี ใ ครสัก คน พู ด ถึ ง เรื่ อ งระเบิ ด ของแต่ ล ะประเทศ หรื อ ความแตกแยกของผู ค้ นในประเทศ นั้น ๆ” อี โ ตกล่ า วทิ้ ง ท้า ยว่ า “ข้า พเจ้า หวัง ว่ า วัน หนึ่ ง โลกของเรานั้น จะไม่ มีส งคราม และผู ค้ นจะอยู่ ก ัน ท่ า มกลางสัน ติ ภ าพ และแน่ น อน เราอาจเริ่ ม ต้น ความหวัง ดัง กล่ า วในห้อ งครัว ” (Kinko Ito 2013, 17-19) ก้ า วแรกของการสร้ า งความเข้ า ใจ ระหว่ า งศาสนา ผู เ้ ขี ย นเล็ ง เห็ น ว่ า สถานศึ ก ษา ทั้ ง ใ น ร ะ บ บ แ ล ะ น อ ก ร ะ บ บ ร ว ม ถึ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า ท า ง เ ลื อ ก ทั้ ง ห ม ด ล ้ว น เป็ นสื่ อ ส�ำ คัญ ล�ำ ดับ ต้น ๆ ส�ำ หรับ คน รุ่ น ใหม่ ใ นการเรี ย นรู ค้ วามหลากหลาย เข้า ถึ ง ความต่ า ง คลุ ก คลี พ หุ ค วามเชื่ อ ประนี ป ระนอมความศรัท ธาที่ ไ ม่ เ หมือ น กัน เมื่ อ เป็ นเช่ น นั้น สถานศึ ก ษาจึ ง ไม่ สามารถเป็ นได้แ ค่ เ พี ย งสถานที่ เ สริ ม สร้า งทัก ษะทางด้า นวิ ช าการเพี ย งอย่ า ง เดี ย ว ยิ่ ง ไปกว่ า นั้น โรงเรี ย นต้อ งเป็ น สถานบ่ ม เพาะทัก ษะทางด้า นสัง คม โดย เฉพาะการอยู่ ก ั บ สัง คมแห่ ง ความต่ า ง และพหุ ว ัฒ นธรรม ตลอดจนสามารถ ประยุ ก ต์ ใ ช้ห ลัก ค� ำ สอนเพื่ อ อยู่ ร่ ว มกับ


กิ จ กรรมเหล่ า นี้ สามารถเข้า มา เป็ นสะพานเชื่ อ มร้อ ยความต่ างและ เสริ ม สร้า งทัก ษะการอยู่ ด ว้ ยกัน ผ่ า นการ เรี ย นรู ร้ ะหว่ า งกัน อย่ า งน้อ ยก็ เ พื่ อ ให้ นัก ศึ ก ษาต่ า งศาสนาเข้า ใจ “วัน ส�ำ คัญ ส�ำ หรับ ศาสนาของเพื่อ น เช่ น เข้า พรรษา ออกพรรษา วัน คุ รุ น านั ก เทศกาลโฮ ลี เทสกาลอี ส เตอร์แ ละอื่ น ๆ” ในขณะ เพื่อ นต่ า งศาสนิ ก ก็ ส ามารถเข้า ใจอิส ลาม มากกว่ า “คนมุ ส ลิ ม ไม่ กิ น หมู่ ” ตลอด จนเรี ย นรู ว้ นั ส�ำ คัญ ต่ า ง ๆ เช่ น “ตรุ ษ อิ ด้ ิ ล อัฎ ฮาและอื่ น ๆ” ด้ว ยเช่ น เดี ย วกัน Peter J. Mehl ได้ก ล่ า วใน “The Gulen Movement: A Shared Bridge Between The U.S. and Islam” ว่ า “กระบวนการจัด การเพื่ อ เคลื่ อ นไหวการก้า วข้า มวัฒ นธรรมได้ เกิ ด ขึ้น ในทุ ก ภาคส่ ว นของโลก ซึ่ ง มีเ ป้ า หมายอย่ า งเดี ย วกัน นัน่ ก็ คื อ สร้า งความ สมานฉัน ท์ใ ห้ก ับ มนุ ษ ยชาติ ” หนึ่ ง ในนั้น คื อ ฟัต ฮุ ล ลอฮฺ กุ เ ลน (Fethullah Gulen) ซึ่ ง เคยเป็ น หนึ่ ง ใน 100 ของมนุ ษ ย์ ผู ท้ รงอิ ท ธิ พ ลของโลกในปี 2013 ซึ่ ง เขาใช้วิ ธี ก ารสร้า งสะพานเพื่ อ เชื่ อ มร้อ ย ผู ค้ นที่ มี ค วามเชื่ อ ต่ า งกัน ให้ก ลายเป็ น ผู ก้ า้ วข้า มความต่ า งเหล่ า ด้ว ย 2 อย่ า ง คื อ การศึ ก ษาและการพู ด คุ ย ระหว่ า ง กัน (dialogue) การศึ ก ษาไม่ ไ ด้เ ป็ น ศัต รู กับ หลัก ศรัท ธาของศาสนา แต่ ส ามารถ หนุ น เสริ ม หลัก ศรัท ธาของผู ค้ นให้เ ข้ม แข็ ง กุ เ ลนเปิ ดโอกาสให้ผู ค้ นได้เ รี ย นรู ้ วัฒ นธรรมที่ ต่ า งไปจากตนเอง รวมทั้ง

สาส์น อิส ลาม

สัง คมและวัฒ นธรรมอื่ น ๆ ในประเทศนี้ อย่ า งสงบสุ ข ท่ า มกลางความหลากหลาย หากโรงเรี ย นขาดการคลุ ก คลี และปฏิ ส ัง สรรค์ ก ับ บุ ค คลที่ มี ค วามเชื่ อ ต่ า งกัน อาจเป็ นผลร้า ยและมี ค วามสี่ ยงในอนาคต โดยเฉพาะการอยู่ ร่ ว ม กัน ท่ า มกลางความหลากหลายในสัง คม ใหญ่ ด้ว ยเหตุ น้ ี จ ะต้อ งมีกิ จ กรรมอย่ า ง หนึ่ ง เพื่ อ ก้า วข้า มพรมแดนเหล่ า นี้ เช่ น โรงเรี ย นมุส ลิม ส่ ว นใหญ่ ไ ม่ ห ยุ ด เรี ย นใน วัน ส�ำ คัญ ตามความเชื่ อ ของพุ ท ธศาสนา และโรงเรี ย นส่ ว นใหญ่ ข องประเทศไทย ก็ ห ยุ ด เรี ย นตามการก� ำ หนดวัน ส� ำ คั ญ เฉพาะเกี่ ย วโยงกับ ศาสนาพุ ท ธเท่ า นั้น เบื้ อ งต้น คื อ เป็ นไปได้ไ หมว่ า ปฏิ ทิ น ใน ประเทศนี้ สามารถให้ค วามส� ำ คั ญ กั บ ทุ ก วัน หยุ ด ของทุ ก ศาสนาและก� ำ หนด ใ ห้เ ป็ น วั น ห ยุ ด ร า ช ก า ร ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ หากไม่ ส ามารถท�ำ ให้ทุ ก วัน ส�ำ คัญ ของ แต่ ล ะศาสนาเป็ นวัน หยุ ด ของประเทศ ได้ จะเป็ น ไปได้ไ หมในวัน ส�ำ คัญ ทาง ด้า นศาสนาเหล่ า นั้น ทางโรงเรี ย นอาจ ด� ำ เนิ น กิ จ กรรมร่ ว มกับ นั ก ศึ ก ษาพุ ท ธ คริ ส ต์ อิส ลาม ซิก ห์ ฮิ น ดู ใ นพื้น ที่บ ริ เ วณ ละแวกใกล เ้ คี ย งเพื่ อ พู ด คุ ย เรื่ อ ง “การ อยู่ ร่ ว มกัน ในสัง คมที ่ แ ตกต่ า งกัน ” ซึ่ ง วิท ยากรอาจจะเป็ น พระอาจารย์ป ระจ�ำ ชุ ม ชน โต๊ ะ ครู บาทหลวงและคุ รุ หรื อ ผู ้น� ำ แต่ ละศาสนามาให้ค วามรู ้ค วาม เข้า ใจเพื่ อ สร้า งการอยู่ ร่ ว มกัน อัน ดี ข อง เด็ ก รุ่ น ใหม่ ภ ายใต้ท ัศ นคติ ความเชื่ อ หลัก ศรัท ธาที่ แ ตกต่ า งกัน

123


สาส์น อิส ลาม

124

วิท ยาศาสตร์ ประวัติ ศ าสตร์ การเมือ ง เศรษฐกิ จ และวิธี ก ารพัฒ นาสัง คม ด้ว ย เหตุ น้ ี อิ ส ลามหัว ก้า วหน้า จึ ง เป็ นการน�ำ องค์ค วามรู จ้ ากอัล กุ ร อ่ า นและหะดิ ษ มา ปรับ ใช้ก บั บริ บ ทต่ า ง ๆ ในสัง คมปัจ จุ บ นั “ความรู จ้ ึ ง เป็ นถนนเพื่ อ เข้า ถึ ง หลัก ศี ล ธรรมและพัฒ นาจิ ต วิ ญ ญาณ” (Peter J. Mehl 2013: 22-25) นอกจากนี้ ก ลุ่ ม ขบวนการเคลื่อ น ไหวฮิ ซ เมซ (Hizmet Movement) ยัง สานต่ อ อุ ด มการณ์ แ ห่ ง การอยู่ ร่ ว มกั น ของมนุ ษยชาติ ท่ า มกลางความผาสุ ก และความเข้า ใจอั น ดี ร ะหว่ า งศาสนา วั ฒ น ธรรม ความเ ชื่ อ แม้ก ลุ่ ม นี้ จะ ถื อ ก� ำ เนิ ด ในประเทศตุ ร กี แต่ ป ั จ จุ บ ัน แนวคิ ด ของกลุ่ ม สามารถขับ เคลื่ อ นอยู่ ใน 140 ประเทศทัว่ โลก (Suat Yildirim 2013, 27-30) Peter J. Mehl ยัง เสนอแนวคิ ด ของ Peter Berger ผ่ า นงานเขี ย นของเขาชื่ อ “Religious Pluralism for a Pluralistic Age” ว่ า “โลกร่ วมสมัย นั้น มี เ พี ย ง 3 ทาง เลื อ กส�ำ หรับ สัง คมศาสนาที ่จ �ำ เป็ นต้อ ง เผชิ ญ หน้า คื อ (1) ต่ อ ต้า นความต่ า ง ด้ว ยการถอนตัว ออกจากความต่ า งและ (2) มี ส่ ว นร่ วมในความต่ างเหล่ า นั้น และ (3) การเข้า ไปมี ส่ ว นร่ ว มกับ ความ ต่ า งเหล่ า นัน้ ภายใต้เ งื่อ นไขของระบอบ ประชาธิ ป ไตย แน่ น อน ทางเลื อ กนี้ คื อ การเปิ ด พื้ น ที ่ใ นการแสดงอัต ลัก ษณ์แ ละ พู ด คุ ย แลกเปลี ่ย นเพื ่อ ให้ทุ ก คนมี ที ่ยื น เป็ นของตนเองอย่ า งไม่ ถู ก เลื อ กปฏิ บ ตั ิ ”

(Peter J. Mehl 2013: 22-25) นัก วิช าการอิ น เดี ย อัส กัร อาลี แอนจิเ นี ย (Asghar Ali Engineer) ได้ น�ำ เสนอใน “The Need For Inter-Religious Dialogue” เพือ่ ท�ำ การคลีค่ ลาย ความกัง วล ข้อ กัง ขาและความขัด แย้ง ต่ า ง ๆ ในสัง คมอิ น เดี ย ว่ า “ในโลกที่เ ต็ ม ไปด้ว ยความหลากหลาย การด�ำ เนิ น การ ในการไดอาล็ อ คนั้น จะต้อ งเป็ นไปเพื่อ ปลดพัน ธะคลีค่ ลายข้อ ขัด แย้ง และชี้ แ นะ ความเข้า ใจผิ ด ระหว่ า งกัน โลกสมัย ใหม่ อยู่ ใ นคราบ “3 Ds” คื อ “Democracy” (การปกครองในระบอบประชาธิ ป ไตย) และระบอบประชาธิ ป ไตยน� ำ ไปสู่ “Diversity” (ความหลากหลาย) และความ หลากหลายก็ จ ะน�ำ โลกไปสู่ “Dialogue” (การพู ด คุ ย ระหว่ า งกัน ) อย่ า งหลีก เลีย่ ง ไม่ ไ ด้” (Asghar Ali Engineer, 2012: 18-19) ส�ำ หรับ กระบวนการไดอะล็อ กใน มุ ม มองของอัส กัร อาลี แอนจิ เ นี ย นั้น จะเกิ ด ขึ้ น ได้ก็ ต่ อ เมื่ อ ผ่ า นองค์ป ระกอบ 4 อย่ า งคื อ (1) ผู ท้ ่ี มี ส่ ว นเกี่ ย วข้อ งใน โครงสร้า งของศาสนา,นั ก วิ ช าการที่ มี ความเข้า ใจในประเด็ น อย่ า งลึ ก ซึ้ ง ,นัก เขีย นที่ น�ำ เสนอมุม มองให้ก ับ สัง คม (2) ใช้ค วามเป็ นเพื่ อ นมนุ ษ ย์เ รี ย นรู ร้ ะหว่ า ง กัน น�ำ ความรู ม้ าแลกเปลี่ย นกัน ค่ อ นข้า ง จะดี ก ว่ า การโต้แ ย้ง ในประเด็ น ที่ เ ราขาด พื้ น ฐาน เพราะการไดอะล็ อ กจะสร้า ง ความกระจ่ า งให้ก บั เรา (3) ต้อ งน�ำ เสนอ จากรากฐานแห่ ง ความเชื่ อ ตามหลัก การ


การละหมาด การกิ น การนอน การเดิ น ทาง การด�ำ เนิ น ภารกิ จ ต่ า ง ๆ เพราะ อิ ส ลามสอนให้ร วมกัน เสมอ นอกจาก นี้ ยั ง เน้น ย�้ ำ ว่ า “ผู ้โ ดดเดี่ ย วคื อ ผู ้ท่ี อัต ตาและมารร้า ยอาจครอบง�ำ เขาได้” อิ ส ลามจึ ง เน้น ย�้ำ ให้เ รารวมกั น ผ่ า น หลายโองการของอัล กุ ร อ่ า นและบทค� ำ สอนจากหะดิษ ซึ่ง ทัง้ หมดเหล่ า นั้น ก�ำ ชับ เราถึ ง เรื่ อ งของการรวมกัน ทั้ง สิ้ น โดย เฉพาะเรื่ อ งราวของการท�ำ ฮัจ ย์ ซึ่ ง อาจ เป็ นภาพที่ ค่ อ นข้า งชัด เจนที่ สุ ด ผ่ า นค�ำ พู ด ของท่ า นอบู ฮ าซัน อาลี อัล นัด วี ซึ่ ง ท่ า นได้ก ล่ า วว่ า “การท� ำ ฮัจ ย์ คื อ การรวมกัน ของ หมู่ ช นผู ศ้ รัท ธาในสถานที่ แ ห่ ง หนึ่ ง ภาย ใต้เ งื่ อ นไขที่ ต่ า งกัน โดยสิ้ น เชิ ง จากทุ ก แห่ ง หนบนพื้ น โลก ฮัจ ย์ คื อ การบอก ถึ ง ชัย ชนะของอิ ส ลามที่ ส ามารถเอาชนะ คว ามเ ป็ น ช าติ นิ ย ม เ ชื้ อ ช าติ ภ าษา เขตแดน นอกจากนี้ พวกเขาสวมใส่ เสื้ อ ผ้า ไม่ ต่ า งกัน ขับ กล่ อ มบทสวดอัน เดี ย วกัน ไม่ ว่ า บ่ า วไพร่ ห รื อ นายจ้า ง ไม่ ว่ า คนรวยหรื อ คนจน ไม่ ว่ า ชนชัน้ สู ง หรื อ ชนชัน้ ต�ำ ่ ทุ ก คนต่ า งวิ่ง ระหว่ า งซอฟาและ มัร วะเหมื อ นกัน เดิ น ทางไปยัง สถานที่ เดี ย วกัน ณ มิน า มุ่ง ตรงไปยัง จุ ด หมาย เดี ย วกัน คื อ ทุ่ ง อารอฟะฮฺ พัก ค้า งคื น สถานที่ เ ดี ย ววัน ณ มุซ ดาลิฟ ะฮฺ ท�ำ การ ละหมาดพร้อ มกัน ณ ญาบัล เราะฮมะฮฺ (ภู เ ขาแห่ ง ความเมตตา)ทั้ง หมดเหล่ า นี้ คื อ ภาพแห่ ง ความเป็ นอิ ส ลามที่ เ ราไม่ เคยสอนให้แ ตกแยกและทะเลาะกั น ”

สาส์น อิส ลาม

ที่ ต ัว เองมี แ ล ว้ อธิ บ ายปรากฏการณ์ ต่ า ง ๆ ถึ ง การกระท�ำ ที่ ถู ก ต้อ งตามหลัก ค�ำ สอนของศาสนา เพราะประเด็ น สงสัย อาจส่ ง ผลต่ อ อัน ตรายที่จ ะเกิ ด ขึ้น ตามมา เสมอและ (4) จะต้อ งให้เ กี ย รติ อดทน ระหว่ า งกัน ต้อ งตัง้ ใจฟัง อย่ า งถี่ถ ว้ นแบบ ใส่ ใ จและท� ำ ความเข้า ใจปรากฏการณ์ ต่ า ง ๆ อย่ า งจริ ง ใจ เมื่อ มีก ารพยายาม อธิ บ ายให้เ ข้า ใจเพื่ อ ให้ก ระจ่ า งในข้อ สงสัย ผู ม้ ีส่ ว นร่ ว ม จะต้อ งแลกเปลี่ย น ซัก ถามและน� ำ เสนอแนะอย่ า งมี ท ัก ษะ ในทางกลับ กัน “การเงีย บ” เป็ นหนึ่ ง วิธี การท�ำ ลายแนวคิ ด แห่ ง การ “ไดอะล็อ ก” (Dialogue) การไดอะล็ อ ก ถื อ เป็ นการขจัด ความต่ า งด้ว ยการแลกเปลี่ ย นระหว่ า ง กัน เพื่อ น�ำ ไปสู่ ส่ิ ง เหล่ า นี้ (1) เพื่อ น�ำ เสนอสิ่ง ที่เ ราเข้า ใจและ การไม่ ป ฏิ เ สธความแตกต่ า งหรื อ ความ เชื่ อ ที่ไ ม่ เ หมือ นของผู อ้ ่ื น และพยายามหา ทางออกร่ ว มกัน (2) ตระหนัก ไว้เ สมอ ว่ า การไดอะล็อ ก ไม่ ใ ช่ ก ารเกิ ด ขึ้น ของ การปรั บ เปลี่ ย นแนวความคิ ด ได้โ ดย กะทัน หัน ทว่ า มัน คื อ ก้า วแรกในการ เข้า ใจคนที่ ไ ม่ เ หมื อ นที่ ต อ้ งอยู่ ร่ ว มโลก กับ เรา (3) การจัด การที่ มีพ ลัง และวิเ ศษ นั้น จะท�ำ ให้เ ข้า ใจและเรี ย นรู ค้ วามต่ า ง แห่ ง ความเชื่ อ และหลัก การศรัท ธา ใน แต่ ล ะคนที่ อ ยู่ ร่ ว มโลกกับ เรา (Asghar Ali Engineer, 2012: 18-19) ความจริ ง “การรวมกัน ” นั้น เป็ น ปฐมบทแห่ ง หลัก ค�ำ สอนของอิส ลาม เช่ น

125


สาส์น อิส ลาม

(Abul Hasan Ali Al-Nadwi 2012, 252) แล ว้ เหตุ ผ ลอะไรที่เ ราถึง อยากแยก คนอื่ น ที่ต่ า งจากเราออกจากวงโคจรของ เรา เมื่อ อิส ลามไม่ เ คยสอนและไม่ ไ ด้ช้ ี ใ ห้ เราท�ำ แบบนั้น

126

อ น า ค ต ข อ ง สั ง ค ม ไ ท ย กั บ เ ข้ า ใ จ ความต่ า งระหว่ า งกั น สัง คมไทย ถือ เป็ น หนึ่ ง ใน “ชุ ม ชน องค์ ค วามรู แ้ บบโดดเดี่ ย ว จ� ำ กัด และ ขาดกระบวนการในการเชื่ อ มร้อ ยความ สัม พัน ธ์ร ะหว่ า งกัน ” โดยเฉพาะการเข้า ถึ ง หลัก ธรรมค� ำ สอนของศาสนาที่ ต่ า ง ไปจากตนเอง ใช่ ห รื อ ไม่ ว่ า เมื่ อ ออก จากบ้า นไม่ ว่ า จะไปยัง สถานที่ ส าธารณะ ส�ำ นัก งาน ห้า งร้า นหรื อ โรงเรี ย น เราก็ จะพบกั บ คนที่ เ ชื่ อ ต่ า งจากเรา คิ ด ไม่ เหมือ นเรา และนับ ถือ ศาสนาคนละแบบ กับ เรา อย่ า งน้อ ยก็ 1 คนเสมอ ๆ ยิ่ ง ไปกว่ า นั้น หากนัง่ รถโดยสารรถประจ�ำ ทาง นัง่ เครื่ อ งบิ น ไปยัง สถานที่ ต่ า ง ๆ ทั้ง ในประเทศหรื อ ต่ า งประเทศ พื้ น ที่ เมือ งหรื อ ชนบท น้อ ยมากที่ จ ะไม่ พ บคน ที่ เ ชื่ อ และคิ ด ต่ า งจากเรา อาจเป็ นเพราะ ชาติ พ นั ธุ ์ท่ีต่ า งกัน ผิ ว ที่ร ะบุ สีค นละชนิ ด หรื อ แม้แ ต่ ก ระทัง่ สายเชื อ กแห่ ง หลัก ศาสนา เราจึ ง ถู ก กัก บริ เ วณไว้ใ น “สัง คม พหุ ว ฒ ั นธรรม” ไม่ ต่ า งจากบิร ยานี ท่ีผ สม ผสานเครื่ อ งเทศกว่ า 20 ชนิ ด ในหม้อ เดี ย วกัน แม้ค วามหลากหลายในหม้อ ข้า วบิ รยานี ถื อ เป็ นเรื่ อ ง “ปกติ อ นั แสนพิเ ศษ”

และสัง คมพหุ ว ฒ ั นธรรมถื อ เป็ น “ภาพ อั น งดงาม” กระนั้ น ก็ ย ั ง เป็ น “เรื่ อ ง แปลกพิลึก ” ที่ เ ราหลายคนไม่ เ คยเข้า ใจ ความสวยงามของความต่ า งดัง กล่ า ว จน ท�ำ ให้ค นที่ คิ ด ต่ า งออกไปจากตนเองนั้น เป็ น “คนแปลกแยก” หน�ำ ซ�ำ้ ยิ่ ง เป็ น “ผู ้ หลงผิ ด ” นี่ คื อ ภาพที่ก �ำ ลัง ฉายให้เ ราเห็น ใน สัง คมบ้า นเรา แม้ป รากฏการณ์ ด งั กล่ า ว จะมี จ �ำ นวนน้อ ยหากเที ย บกับ ประชากร กว่ า 65 ล า้ นคนในประเทศไทย กระนั้น มัน อาจเพิ่ม รอยร้า วมากขึ้น เรื่ อ ย ๆ และ จะเป็ นปัญ หาอนาคตอย่ า งหลีก เลี่ย งไม่ ได้ หากไร้ก ระบวนการจัด การที่ ดี ความไม่ เ ข้า ใจดั ง กล่ า วไม่ ไ ด้มี สาเหตุ ม าจาก “การขาดองค์ ค วามรู ้ ระหว่ า งกัน ” หรื อ “การปฏิ ส งั สรรค์เ พื่อ ก้า วข้า มพรมแดนความเชื่ อ ที่ ไ ม่ เ หมื อ น กัน ” ทว่ า ปัจ จัย หลัก ก็ คื อ “ความใส่ ใ จ อัน บกพร่ อ งระหว่ า งกัน ” ของพวกเรา ต่ า งหาก ส่ ง ผลให้ส่ิ ง ต่ า ง ๆ เหล่ า นี้ ด�ำ เนิ น ไป “อย่ า งช้า ๆ มีป ระสิ ท ธิ ภ าพ” เป็ น “ระบบระเบีย บ”และ “น่ า วิต ก” จน กระทัง่ กลายเป็ น “ความรุ น แรงอัน น่ า สะ พรึ ง กลัว ” อย่ า งที่ พ วกเราเห็ น และรับ รู ้ กัน ในปัจ จุ บ นั ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์ เ ช่ น นี้ ต่ า ง ห า ก ที่ สัง คมเราจะต้อ งหัน มา “ทบทวนร่ ว ม กัน ” อย่ า งจริ ง จัง เสี ย ที ในความต่ า ง ถื อ เป็ นความจ�ำ เป็ นแบบเร่ ง ด่ ว นที่ ต อ้ ง สร้า ง “การเรี ย นรู ร้ ะหว่ า งกัน ” เพราะหาก ไร้ “กระบวนการจัด การ” ที่ มีคุ ณ ภาพ


ท�ำ ลายพระพุ ท ธรู ป ในมหาวิ ท ยาลัย แห่ ง หนึ่ ง เนื่ อ งจากเขาให้เ หตุ ผ ลว่ า “อิ ส ลาม ห้า มกราบไหว้พ ระพุ ท ธรู ป และพระพุ ท ธ รู ปคื อ ชนวนที่ จ ะน� ำ ตนเองไปสู่ ค วาม บกพร่ อ งแห่ ง ศรัท ธา” ผู เ้ ขี ย นถึ ง กับ อึ้ ง และสะพรึ ง กลัว กับ วิธี คิ ด อัน สุ ด โต่ ง และกรอบองค์ค วาม (ไม่ ) รู ข้ องเยาวชนมุ ส ลิ ม คนดัง กล่ า ว กระนั้น สิ่ ง เหล่ า นี้ มัน ก็ มี ต น้ สายปลาย เหตุ แ ละมี ค วามเป็ นไปที่ เ ราต้อ งช่ ว ย กัน สอดส่ อ งดู แ ลและเยี ย วยาไปพร้อ ม กั น ในทางกลับ กั น ขณะสัม มนา ณ มหาวิท ยาลัย แห่ ง หนึ่ ง แม่ ค รัว ก็ อ ธิ บ าย ว่ า “อาหารทั้ง หมดเหล่ า นี้ ไม่ มี ห มู่ มี เฉพาะไก่ แ ละเนื้ อ มุ ส ลิ ม ทานได้” ยิ่ ง ไปกว่ า นั้น แม่ ค รัว ยัง กล่ า วอี ก ว่ า “แยก อาหารมุส ลิม ไว้เ รี ย บร้อ ยแล ว้ ” ได้ยิ น ดัง กล่ า ว ผู เ้ ขีย นเดิน ไปยัง โต๊ะ อาหารแล ว้ จึง พบว่ า “แยกอาหารไว้เ ป็ น การเฉพาะตาม ที่ แ ม่ ค รัว ได้บ อกไว้เ บื้อ งต้น แต่ ท่ี น่ า เป็ น ห่ ว งนัน่ ก็ คื อ อาหารที่ แ ยกออกมาก็ คื อ อาหารชุ ด เดี ย วกัน ส� ำ หรับ แขกทั้ง หมด หมายความว่ า ค�ำ ว่ า “แยก” ของแม่ ค รัว คื อ ตัก ออกมาจากหม้อ เดีย วกัน และแยก ที่ น ัง่ ต่ า งหากให้ก ับ นัก ศึ ก ษามุส ลิม ” สิ่ ง เ ห ล่ า นี้ ชี้ ให้เ ห็ น ว่ า แ ม่ ค รั ว เข้า ใจผิ ด เพราะค� ำ ว่ า “แยก” ส�ำ หรับ แม่ ค รัว คื อ “การแยกอาหารและสถาน ที่ ร ับ ประทานให้ก ับ มุ ส ลิ ม ” แต่ ส �ำ หรับ มุ ส ลิ ม นั้น ค� ำ ว่ า “แยก” คื อ “การแยก กระบวน ก ารผลิ ต แล ะส่ วนผส ม ขอ ง อาหารต่ างๆ ออกจากกั น การปะปน

สาส์น อิส ลาม

เมล็ ด กล า้ พัน ธุ ์ ใ หม่ ท่ี ส ัง คมเราช่ ว ยกัน ปลู ก ในนาม “อนาคตของประเทศชาติ ” ก็ อ าจ “แปดเปื้ อนมลทิ น ความรุ น แรง” และกลายเป็ น “ผลิต ผลของความต่ า ง” ที่ มี “หน่ อ เชื้ อ ความชัง ” ซุ ก ซ่ อ นมาก็ เ ป็ น ได้ เมื่อ ถึง เวลานั้น “สัน ติ ภ าพ” ที่เ ราต่ า ง ถามหา กลับ กลายเป็ นเรื่ อ ง “เพ้อ ฝัน ” อย่ า งหลีก เลี่ย งไม่ ไ ด้ ความไม่ เ ข้า ใจที่ ผู เ้ ขี ย นประสบ มาเองนัน่ ก็ คื อ เพื่ อ นมุ ส ลิ ม บอกเพื่ อ น ชาวพุ ท ธว่ า “หากตนเองเข้า วัด นั้น ถือ ว่ า บาป” ซึ่ ง การพู ด ออกมาในลัก ษณะนี้ ไม่ มี ป ราชญ์ แ ละนั ก วิ ช าการท่ า นไหน เห็ น ด้ว ย เพราะ “การเข้า วัด ไม่ ถื อ ว่ า เป็ นความผิ ด บาปแต่ อ ย่ า งใด” หรื อ ยิ่ ง ไปกว่ า นั้ น บางครั้ ง อาจมี ค วามรุ น แรง ในสัง คมไทยสามารถสะท้อ นถึ ง ความ ไม่ เ ข้า ใจและไม่ ใ ห้เ กี ย รติ ซ่ึ ง กัน และกัน โดยการพู ด พาดพิง ศาสนาอื่ น ๆ อย่ า งไม่ เข้า ใจ ส่ ง ผลให้มีก ารวิพ ากษ์อิส ลามิก ชน ไปต่ า ง ๆ นานา จนกระทัง่ ท�ำ ให้ส �ำ นัก จุ ฬ าราชมนตรี ต ้อ งออกมาพู ด ขอโทษ และท�ำ ความเข้า ใจระหว่ า งศาสนา “แค่ เ พี ย งค� ำ พู ด ของคนเพี ย งคน เดี ย ว ยัง ท� ำ ร้า ยความสวยงามของพหุ สัง คมได้ข นาดนี้ หากว่ า สัง คมเราเริ ่ม ถางกว้า งการไม่ ใ ห้เ กี ย รติ ค วามเชื่อ กัน และกัน ละ สัง คมเราจะเดิ น ไปสู ห นไหน ลองจิ น ตนาการดู !!!” นอกจากนี้ ผู เ้ ขี ย นยัง ได้ร ั บ ค� ำ บอกเล่ า จากกลุ่ ม นั ก ศึ ก ษามุ ส ลิ ม กลุ่ ม หนึ่ ง ว่ า มี เ พื่ อ นมุ ส ลิ ม บางคนพยายาม

127


สาส์น อิส ลาม

หมู แ ละสิ่ ง ต้อ งห้า มอื่ น ๆ และถึ ง แม้ว่ า อาหารเหล่ า นี้ เป็ นเนื้ อและไก่ มุ ส ลิ ม ก็ ยัง ไม่ ส ามารถรับ ประทานได้ หากไม่ ผ่ า น “การเชื อ ดแบบอิ ส ลาม” ท�ำ ไมถึ ง ความเข้า ใจของแม่ ค รัว กั บ ชาวมุ ส ลิ ม ถึ ง แตกต่ า งกั น อย่ า งสิ้ น เชิ ง เกิ ด อะไรขึ้ นกั บ การจั ด การองค์ ความรู เ้ หล่ า นี้ ของสัง คมไทยและสัง คม มุ ส ลิม มัน มี ก ระบวนการและขัน้ ตอน ผิ ด พลาดอยู่ ต รงไหน ท�ำ ไมเรื่ อ งพื้น ฐาน เหล่ า นี้ สัง คมเราถึ ง ก้า วข้า มกัน ไม่ ไ ด้ สัง คมมุ ส ลิม ควรจัด การเรื่ อ งราวเหล่ า นี้ อย่ า งไร แล ว้ องค์ก รทางด้า นศาสนาของ ชาวมุส ลิม และชาวพุท ธเข้า ใจ รับ รู แ้ ละมี มุม มองต่ อ ความเข้า ใจส�ำ หรับ “ประเด็ น อัน บิด เบี้ย ว” เหล่ า นี้ อ ย่ า งไร ปฏิเ สธไม่ ไ ด้ว่ า ภาพที่ฉ ายออกมา ทัง้ หมดเหล่ า นี้ บ่ ง บอกอาการของ “โรค พร่ อ งหรอทางด้า นพหุ ส งั คม” อาการดัง กล่ า วจึง เป็ น ที่ม าของ “ไม่ รู จ้ กั ฉัน ไม่ รู จ้ กั เธอ” ในสัง คมไทยของเรา แล ว้ ในฐานะ ปัญ ญาชนและนัก วิช าการ เราจะจัด การ สิ่ ง เหล่ า นี้ อย่ า งไร หรื อ ไม่ ต อ้ งท�ำ อะไร ปล่ อ ยให้ม นั ผ่ า นไปอย่ า งที่ ผ่ า นมา

128

สั ญ ญาณเตื อนสั ง คมไทยในบริ บ ท พหุสั ง คม มองแบบมุ ม กว้า ง สัง คมไทยมี ความเป็ นเอกภาพและเข้า ใจความเป็ น พหุ ว ฒ ั นธรรมค่ อ นข้า งสู ง กระนั้น เมื่อ เพ่ ง เล็ ง อย่ า งตั้ ง ใจก็ จ ะพบว่ า หลาย พื้ น ที่ ป ระสบปัญ หาเรื่ อ งความแตกต่ า ง

ทางด้า นศาสนา วัฒ นธรรมและความ เชื่ อ ตลอดจนการปฏิ บ ัติ ซึ่ ง แน่ น อน บาดแผลของสัง คมนั้ น ได้ป รากฏออก มาทัง้ ในรู ป แบบความเกลีย ด ความกลัว ความชัง ความขัด แย้ง ความรุ น แรงซึ่ ง ส่ ง ผลต่ อ ชี วิ ต และทรัพ ย์สิ น อย่ า งที่ เ ห็ น ในปัจ จุ บ นั ข้อ เ ส น อ แ น ะ ป ร ะ ก า ร ส� ำ คั ญ ที่ รัฐ มัก ถู ก น� ำ เสนอมาโดยตลอดนัน่ ก็ คื อ “ทางออกของความรุ น แรงคื อ องค์ค วาม รู แ้ ละการศึ ก ษา” กระนั้น ค�ำ ถามที่ ใ หญ่ กว่ า นั้น ก็ คื อ “เยาวชนจะต้อ งศึ ก ษาอะไร และมีอ งค์ค วามรู แ้ บบใด ที่ส ามารถผลิต พวกเขาให้เ ข้า ใจความเป็ น พหุ ว ฒั นธรรม และไม่ มีค วามขัด แย้ง ระหว่ า งกัน ” เรื่ อ งราวเหล่ า นี้ คื อ สิ่ ง ที่ เ ราต้อ ง หัน มาทบทวนและตัง้ ค�ำ ถามไปพร้อ มกัน ว่ า “การศึ ก ษาชนิ ด ไหนและองค์ค วามรู ้ แบบใดที่ จ �ำ เป็ นกับ สัง คมพหุ ว ฒ ั นธรรม ของเรา” หากดู ใ นแผนพัฒ นาเศรษฐกิ จ และสัง คมแห่ ง ชาติ ตลอดจนนโยบาย ต่ า ง ๆ สิ่ ง หนึ่ ง ที่ ร ัฐ ท�ำ มาโดยตลอดนัน่ ก็ คื อ การสนั บ สนุ นการศึ กษาให้ก ั บ เยาวชน จนกระทัง่ เรี ย นฟรี หน� ำ ซ�ำ้ ยัง สนับ สนุ น งบประมาณให้ก บั สถานบัน การ ศึ ก ษาต่ า ง ๆ ไม่ ว่ า จะเป็ น รัฐ เอกชน และสถาบัน การศึ ก ษาทางเลือ ก รัฐ บาล จึง ให้ก ารสนับ สนุ น พลเมือ งทุ ก ศาสนาให้ เข้า ถึ ง หลัก ธรรมค�ำ สอนเพราะรัฐ เข้า ใจ มาโดยตลอดว่ า “สถาบัน ศาสนาสามารถ ช่ ว ยรั ฐ ในการพัฒ นาเยาวชนของชาติ ได้” เช่ น ปี 2561 กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร


แย้ง ได้เ ลย โรงเรี ย นจะต้อ งรั บ มื อ กั บ การ เปลี่ย นผ่ า นเหล่ า นี้ อ ย่ า งไร นี่ คื อ ปัญ หา ใ ห ญ่ ที่ สั ง ค ม เ ร า ก� ำ ลั ง เ ผ ชิ ญ แ ล ้ว โรงเรี ย นจะจั ด การเรื่ อ งปั ญ หาความ ต่ า งได้อ ย่ า งไร เมื่ อ โรงเรี ย นมุ ส ลิ ม ใน ทุ ก วั น ไม่ ไ ด้ค ลุ ก คลี ก ั บ ผู ้คิ ด ต่ างเลย แม้แ ต่ น อ้ ย เนื่ อ งจากสถาบัน การศึ ก ษา มัก สอนเฉพาะเด็ ก นัก เรี ย นที่ มีค วามคิ ด ความเชื่ อ และค่ า ยความศรัท ธาเหมื อ น กัน ช่ อ งทางการปฏิ ส ัง สรรค์ ค วามเชื่ อ ที่ แ ตกต่ า งจึ ง ค่ อ นข้า งพร่ อ งหรอและไร้ ประสิ ท ธิ ภ าพ ยิ่ ง ไปกว่ า นั้ น ความสัม พัน ธ์ อ ัน หย่ อ นยานของสัง คมพหุ ว ัฒ นธรรมก่ อ ตัว ขึ้ น อย่ า งช้า ๆ และเป็ นระบบ ส่ ว น การเข้า ใจความแตกต่ า งกลับ ถู ก สะบัน้ ลงผ่ า นหลัก สู ต รการเรี ย นรู แ้ บบเชิ ง เดี่ย ว อย่ า งเป็ น ระบบ ส่ ง ผลให้เ กิ ด “ความไม่ เข้า ใจระหว่ า งกัน อย่ า งเป็ น ระบบ ขัด แย้ง กัน อย่ า งเป็ นระบบ และห�ำ้ หัน่ กัน อย่ า ง เป็ นระบบ”โรงเรี ย นจึ ง ไม่ ใ ช่ ส ถานที่ บ่ ม เพาะวิ ช า จรรยา จริ ย ธรรมคุ ณ ธรรม เพีย งอย่ า งเดี ย ว ทว่ า หมุด หมายส�ำ คัญ ของโรงเรี ย นนัน่ ก็ คื อ แหล่ ง แลกเปลี่ย น และเรี ย นรู ้ค วามต่ างของกั น และกั น สถานที่พู ด คุ ย ระหว่ า งกัน และคลุ ก คลีก บั คนที่คิ ด ต่ า งไปจากตนเอง เชื่ อ ไม่ เ หมือ น ตนเอง มีนิ ส ยั คนละแบบกับ ตนเอง ซึ่ ง โรงเรี ย นจะถู ก สร้า งมาในรู ป แบบไหน ไม่ ส �ำ คัญ เท่ า โรงเรี ย นจัด การ เ รี ย น ก า ร ส อ น แ บ บ ไ ห น มี กิ จ ก ร ร ม

สาส์น อิส ลาม

ระบุ ว่ า โรงเรี ย นพระปริ ย ตั ิ ธ รรมสามัญ ระดั บ มัธ ยมมี จ � ำ นวน 409 โรงและ มหาวิท ยาลัย สงฆ์ 2 แห่ ง ส่ ว นโรงเรี ย น เอกชนสอนศาสนาฯในไทยมี ป ระมาณ 288 โรง ตลอดจนโรงเรี ย นอื่ น ๆ ที่ ร ัฐ พยายามให้ก ารสนั บ สนุ น (ส� ำ นั ก งาน เลขาธิ ก ารสภาการศึ ก ษา กระทรวง ศึ ก ษาธิ ก าร 2561, 96-106) กระนั้น ค�ำ ถามที่ ส �ำ คัญ คื อ “เรี ย น อะไรเพื่ อ ไม่ ใ ห้ท ะเลาะกัน ศึ ก ษาอะไร เพื่อ ให้เ ข้า ใจความต่ า งซึ่ ง กัน และกัน ” นี่ คื อ ค� ำ ถามข้อ ใหญ่ ข องโรงเรี ย น ยิ่ ง ไป กว่ า นั้น สัง คมมุ ส ลิม กับ สัง คมพุ ท ธเริ่ ม ถ่ า งกว้า งขึ้ น ไปอี ก เมื่ อ สัง คมทั้ง สองนี้ ถู ก สะบัน้ ลงด้ว ยระบบการศึ ก ษาที่ ไ ม่ ไ ด้ เชื่ อ มร้อ ยให้ผู ค้ นในสัง คมคลุ ก คลี แ ละ ปฎิ ส ัม พัน ธ์ ก ัน เหมื อ นเดิ ม โดยเฉพาะ สัง คมมุ ส ลิม ปัจ จุ บ นั มี โ รงเรี ย นเอกชน มุส ลิม ที่ท �ำ การเปิ ด สอนตัง้ แต่ ช นั้ อนุ บ าล จ น ก ร ะ ทั ่ง มั ธ ย ม ป ล า ย ซึ่ ง แ น่ น อ น โอกาสการคลุ ก คลี ก ั บ เพื่ อ นนั ก ศึ ก ษา ต่ า งศาสนิ ก นั้น ย่ อ มหายไปอย่ า งไม่ ต อ้ ง สงสัย “แล ว้ อะไรคื อ องค์ ค วามรู ้ข อง สัง คมพหุ ว ฒั นธรรมที่เ ยาวชนไทยจ�ำ เป็ น ต้อ งเรี ย นรู ร้ ่ ว มกัน ” เมื่ อ กระบวนการ เหล่ า นี้ ถู ก สะบั้น ลง ความเข้า ใจความ ต่ า งก็ เ ลือ นหายไปจากวิถี ชี วิต ประจ�ำ วัน ของเยาวชน คนหนุ่ ม สาวที่ เ ติ บ โตมาใน สัง คมแห่ ง ความต่ า งก็ จ ะขาดองค์ ค วาม รู แ้ ละความเข้า ใจสัง คมพหุ ว ัฒ นธรรม ตลอดจนไม่ มีว คั ซี น ที่ จ ะท�ำ ลายหน่ อ เชื้ อ แห่ ง ความชัง ความรุ น แรงและความขัด

129


สาส์น อิส ลาม

แบบใด เพราะความเข้า ใจสัง คมพหุ วั ฒ น ธ ร ร ม ไ ม่ ใ ช่ เ พี ย ง เ พื่ อ “ ก า ร มี โรงเรี ย น” แต่ ม ากไปกว่ า นั้ น นั ่น ก็ คื อ “โรงเรี ย นสอนอะไรและผลิต องค์ค วามรู ้ แบบไหน” สิ่ง นี้ ต่ า งหากที่ค�ำ ถามประการ ส�ำ คัญ ในปัจ จุ บ นั อี ก หนึ่ ง ทศวรรษ หากประเทศ ไร้ก ระบวนการจัด การองค์ค วามรู เ้ กี่ ย ว กั บ สั ง คมพหุ ว ัฒ นธรรมอย่ า งชั ด เจน สัง คมเราก็ จ ะผลิต “หน่ อ เชื้ อ แห่ ง ความ ไม่ เ ข้า ใจ” และ “กล า้ ไม้แ ห่ ง ความคับ แคบอัน บิด เบี้ย ว” ที่จ ะสร้า งรอยร้า วและ บาดแผลให้ก ับ สัง คมของเราอย่ า งไม่ รู ้ จบ ผ่ า นเมล็ ด พัน ธุ ์ แ ห่ ง ความไม่ เ ข้า ใจ พหุ ส ัง คมที่ ถู ก หว่ า นเมล็ ด ไว้เ รื อ นเพาะ ช� ำ ของสัง คมเมื่ อ หลายปี ที่ แ ล ว้ ดัง นั้น เราหัน มาสร้า งความเข้า ใจในการอยู่ ร่ ว ม กัน ระหว่ า งศาสนิ ก ชนทัง้ หลายและเรี ย น รู ก้ ารอยู่ ร่ ว มกัน ของสัง คมแบบพหุ เพื่อ สรรสร้า งสัน ติ ภ าพที่ ย งั ่ ยื น .

130

อ่ า นเพิ่ ม เติ ม - Ali Al-Nadwi. Abul Hasan. (2012) The Four Pillars of Islam. Lucknow: Academy of Islamic Research and Publication. - Asghar Ali Engineer, “The Need for Inter-Religious Dialogue”, The Nation and The World (The Fortnightly Newsmagazine, April, 2012 (19) 18-19. - Kinko Ito. (2013). “Cooking and World Peace”. The Fountain Magazine 93 (May-June 2013: 17-19). - Peter J. Mehl. (2013). The Gulen Movement: A Shared Bridge Between The U.S. and Islam. The Fountain Magazine. 92 (Mar-April 2013: 22-25). - Suat Yildirim. (2013). Culture of Coexistence: Exemplary Cases of Relationship between Muslim and Non-Muslims. The Fountain Magazine 93 (May-June 2013: 27-30). - ภัก ดี ประเสริ ฐ ด�ำ . ผู บ้ ริ ห ารสถาบัน ตะห์ ฟี ซุ ล กุ ร อาน บ้า นนาทราย ต.นาทราย อ.เมือ ง จ.นครศรี ธ รรมราช สัม ภาษณ์ เ มื่อ วัน ที่ 14 มิถุน ายน 2562 - สมพงษ์ วัน แอเลาะ. เทศบาลต�ำ บล บางบัว ทอง จ. นนทบุ รี ผู ช้ ่ ว ยประสานงาน กั บ ผู ้แ ท น ส ม า ค ม คุ รุ สั ม พั น ธ์ อิ ส ล า ม แ ห่ ง ประเทศไทยในพระบรมราชู ป ถัม ภ์ สัม ภาษณ์ เมื่อ วัน ที่ 22 มิถุน ายน 2562 - ส�ำ นัก งานเลขาธิ ก ารสภาการศึ ก ษา กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร. (2561). รายงานการ ศึ ก ษาไทย พ.ศ. 2561. กรุ ง เทพฯ : ส�ำ นัก งาน เลขาธิ ก ารสภาการศึ ก ษา กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร. - อับ ดุ ร เราะฮหมาน มู เ ก็ ม , “เซอร์ ซัย ยิ ด อะหมัด คาน: ปลดแอกความรุ น แรง


สู่ ก ารศึ ก ษา” ใน “วารสารสัง คมศาสตร์ ฉบับ เข้า ใจเพื่ อ นบ้า น” มหาวิ ท ยาลัย วลัย ลัก ษณ์ 8 (8) นครศรี ธ รรมราช: สถาบัน วิจ ยั และพัฒ นา มหาวิท ยาลัย วลัย ลัก ษณ์ , 2558: 35-61 - อับ ดุ ร เราะฮหมาน มู เ ก็ ม . (2017). บิ ร ยานี (Indian Biryani) นิ ย ามและความ หลากหลายในหม้อ เครื่ อ งเทศ. 17 ตุ ล าคม 2017. https://deepsouthwatch.org/th/ node/11382

สาส์น อิส ลาม

131


132

สาส์น อิส ลาม


‫با سایر ادیان و مذاهب توجه داشته اند‪ ،‬تا بسرت صلح‪ ،‬رشد تعالی ملت و کشور را‬ ‫فراهم منایند‪ .‬از این رو بر آن شدیم‪ ،‬موضوع همزیستی مساملت آمیز در جامعه چند‬ ‫فرهنگی و ظرفیت های گسرتده و بالقوه آن را به عنوان محور بحث این شامره از پیام‬ ‫اسالم برگزینیم‪ .‬در این مسیر با بهره گیری از دیدگاههای اندیشمندان و صاحبنظران‪،‬‬ ‫گفتگو و شناخت دو سویه از ظرفیتهای مشرتک اسالم و بودیزم را که اتفاقا در تعالیم‬ ‫اسالمی بر آن ارج نهاده شده است‪ ،‬بعنوان روش کار انتخاب کنیم ‪ .‬از اندیشمندان‬ ‫و خوانندگان محرتم انتظار داریم دیدگاه ها و نقطه نظرات اصالحی و سازنده خود‪،‬‬ ‫مارا بهره مند منوده و امیدواریم این سلسله مباحث و گفتگوها‪ ،‬راه را برای تقویت‬ ‫گرایش و گسرتش همگرایی معنوی و نقش آفرینی ادیان در ایجاد جامعه ایی رشدیافته‬ ‫و روبه تعالی در سایه امنیت و آرامش مادی و معنوی فراهم آورد‬

‫‪สาส์น อิส ลาม‬‬

‫مهدی حسنخانی‬ ‫آبان ماه‪1398‬‬

‫‪133‬‬


‫رسمقاله‬

‫‪สาส์น อิส ลาม‬‬

‫نرشیه پیام اسالم در طی عمر خود همواره در جهت افزایش معرفت نسبت به اسالم‬ ‫ناب محمدی(ص) و درک صحیح از تعالیم قرآنی و معارف اهل بیت(ع) گامهای‬ ‫اساسی برداشته و منشاء اثرات و خدمات نزد نخبگان و اندیشمندان جامعه تایلند‬ ‫بوده است‪ .‬روشن است که یکی از عالئم رشد و تعالی فرهنگی و اجتامعی یک‬ ‫جامعة چند فرهنگی‪ ،‬به میزان همگرایی معنوی بر مبنای مشرتکات ادیان و مذاهب‬ ‫گوناگون وابسته است‪ .‬بر این اساس گفتگوی پیروان ادیان و طرح و بحث و بکارگیری‬ ‫مشرتکات برای بسرتسازی صلح و همزیستی از ارکان تحقق این انسجام و همگرایی‬ ‫است‪ .‬ظرفیت های همزیستی مساملت آمیز برمبنای آموزه های اسالمی نیز همواره‬ ‫مورد تأکید علام و اندیشمندان مسلامن بوده است که در جوامع چند فرهنگی بصورت‬ ‫«فبش عباد‬ ‫چشمگیر امکان ظهور پیدا میکند‪ .‬قرآن کریم در این زمینه می فرماید‪ّ :‬‬ ‫الذین یستمعون القول فیتّبعون أحسنه أولئک الّذین هداهم الله و أولئک هم أولوا‬ ‫األلباب» سوره زمر‪ 17-18/‬پس بندگان مرا بشارت ده‪ ،‬هامن کسانی که سخنان را می‬ ‫شنوند و از نیکوترین آنها پیروی می کنند‪ .‬آنان‪ ،‬کسانی هستند که خدا هدایتشان کرده‬ ‫و آنها خردمندانند‪ .‬در واقع قرآن کریم نه تنها انسانها را تشویق و ترغیب به گفت وگو‬ ‫می کند‪ ،‬بلکه گوش دادن به سخنان دیگران و انتخاب و پیروی منودن از بهرتین آنها‬ ‫را از ویژگیهای انسانهای هدایت شده از سوی خداوند و خردمندان معرفی می کند‪.‬‬ ‫قرآن کریم همچنین پیش رشط اساسی در گفت وگو را احرتام گذاشنت به دیدگاه ها و‬ ‫نقطه نظرات دیگران دانسته و مؤمنان را از توهین به مقدسات و خدایان دیگر ادیان‬ ‫منع کرده است(سوره انعام آیه ‪ . )108‬در عین حال ناگفته روشن است دیگر ادیان‬ ‫و جهان بینی های مبتنی بر معنویات همچون تعالیم بودا نیز بر لزوم گفتگو و احرتام‬

‫‪134‬‬


สาส์น อิส ลาม

135


‫پیام اسالم‬

‫دوره جهدمه ‪ -‬ش�ره یک ‪ -‬بآ�ن ‪1398‬‬

‫فهرست‬ ‫رسمقاله‪7.............................................................................................................‬‬ ‫زندگی مساملت آمیز از دیدگاه اسالم‪9...................................................................‬‬ ‫جهان امروز و نیاز به تعامل بین ادیان و مذاهب‪23..............................................‬‬ ‫فلسفه و نظریه وحدت اسالمی در ابعاد مختلف برای زندگی مساملت‬ ‫آمیز بین ادیان و مذهب‪31...................................................................................‬‬ ‫تکرث گرایی (پلورالیسم) ادیان و اصول تعامل بین ادیان و مذاهب‪41......................‬‬ ‫آیین بودا و زندگی در جامعه چند فرهنگی‪51........................................................‬‬ ‫فلسفه ی روابط ادیان‪65........................................................................................‬‬ ‫دیدگاه فلسفه در مورد زندگی مساملت آمیز در جامعه چند فرهنگی‪77..................‬‬ ‫زندگی مساملت آمیز در جامعه چند فرهنگی‬ ‫از قول شیخ االسالم سابق آقای توان سواناسات‪91...................................................‬‬ ‫ارکان زندگی مشرتک بین ادیان از منظر تجربه بودایی‪105.......................................‬‬ ‫درس های زندگی مساملت آمیز ‪ :‬مورد مطالعه هندوستان‪115..................................‬‬

‫‪สาส์น อิส ลาม‬‬

‫‪136‬‬



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.