Payam islam 36 2

Page 1


CONTENTs สาส์ น อิ ส ลาม MESSAGE OF ISLAM

สาส์นเพื่อการสืบสานอารยธรรม

‫پيام اسالم‬

ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558 Vol. 36 No.2 MAY-AUGUST 2015 ISSN : 0859-7162 ผู้อ�ำนวยการ : Director มุสฏอฟา นัจญอรียอนซอเดะฮ์ Mostafa Najarian Zadeh บรรณาธิการอ�ำนวยการ : Editor-in-Chief เชคมุฮัมมัด นาอีม ประดับญาติ บรรณาธิการ : Editor อรุณ เด่นยิ่งโยชน์ กองบรรณาธิการ : Section Editor กวีฮัยดัร พุ่มภักดี จะมีลฮัยดัร แสงศรี นูรรีฎอ แสงเงิน อับดุลมาลิก อาเมน อาซียะฮ์​์ พุ่มเพ็ชร ออกแบบรูปเล่ม : Design/Artwork 14 พับลิเคชั่น E-mail : thaqalayn12@gmail.com โทร. 02 7325563 โทรสาร 02 7325564 ผลิตโดย : Published by ศูนย์วัฒนธรรม สถานเอกอัครราชทูต สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ประจ�ำกรุงเทพฯ 106-106/1 ซอยเจริญมิตร สุขุมวิท 63 เอกมัย 10 แยก 6 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทร. 0-2392-2620-2 โทรสาร 0-2392-2623

สารบัญ

หน้ า

ศาสนสัมพันธ์กบั การปกป้องเกียรติแห่งพระศาสดา

5

บทเรียนจากบุคลิกภาพของท่านอิมามริฏอ (อ.)

18

กุรอานปริทัศน์ : ศาสนากับการเมืองในมุมมอง ของอัลกุรอาน

82

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในรัฐอิสลาม ของศาสดามุฮัมมัด (ซ็อลฯ)

90

จริยศาสตร์ด้านเอกบุคคลและทางสังคม ในมุมมองของศาสนาอิสลาม

97

โลกาภิวัตน์กับความรุนแรงบนตรรกะใหม่ : กรณีศึกษากลุ่มนักรบไอเอส (IS)

110

CULTURAL CENTER THE EMBASSY OF ISLAMIC REPUBLIC OF IRAN BANGKOK 106-106/1 SOI CHAROENMITR SUKHUMVIT 63 EKAMAI 10 YEAK 6 KLONGTON NUA VADHANA BANGKOK 10110 THAILAND

ทรรศนะและความคิดเห็นในนิตยสารนี้ ไม่จ�ำเป็นต้องถือว่าเป็นจุดยืนอย่างเป็นทางการ ของศูนย์วัฒนธรรมฯ เรายินดีต้อนรับข้อเขียน จากนักเขียนและนักวิชาการทั่วไป ขอสงวนสิทธิ์ ในการคัดเลือกและตัดตอนข้อความที่ไม่สมควร โดยไม่ปิดบังความหมายของผู้เขียน และผู้เขียน บทความนั้นๆ จะเป็นผู้รับผิดชอบบทความของตน

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

1


EDITORIAL บทบรรณาธิการ

http// Bangkok.icro.ir

ด้ วยพระนามของอัลลอฮ์ พระผู้ทรงเมตตา พระผู้ทรงกรุ ณาปรานีเสมอ เมื อ่ เดือนมุฮรั รอมมาถึงฉันได้แต่เศร้าโศกเสียใจ น�้ำตาของฉันได้หลัง่ ไหลดังล�ำธารฟุรอต เมื อ่ เดือนมุฮรั รอมมาถึงจิ ตใจฉันช่างเศร้าหมอง เขาคือใครทีอ่ ยู่ท่ามกลางจิ ตใจอันเศร้าหมองของฉัน (จากบทความของท่านฮุจญะตุลอิสลามอิบรอฮีม อันศอรี) การร�ำลึกถึงความเป็นอมตะตลอดกาลของขบวนการฮุซัยนีได้ถูกก�ำหนดขึ้น ถ้าบรรดาชุหะดาที่อยู่ร่วมใน เหตุการณ์การเป็นชะฮีดของท่านอิมามฮุเซนบุตรของท่านอิมามอะลี (อ.) ในวันอาชูรอ ยังมีชีวิตลอดอยู่ก็คงไม่ สามารถทีจ่ ะน�ำความส�ำเร็จในการเป็นชะฮาดัตมาใช้ได้ เป็นควมถูกต้องทีพ่ ระผูเ้ ป็นเจ้า ทีพ่ ระองค์ทรงบัญญัตใิ ห้ บรรดาชุหะะดายังคงมีชวี ติ อยูใ่ นโลกนี้ และเพือ่ ให้เป็นแบบอย่างในหน้าประวัตศิ าตร์แก่ประชาชาติ แต่เครือ่ งมือ ทีพ่ ระผูเ้ ป็นเจ้าทรงใช้ในกกิจการนีก้ ค็ อื การแสดงออกของพวกเรา ทีพ่ วกเราสามารถทีจ่ ะเลือกในการทีจ่ ะท�ำการ ร�ำลึกถึงบรรดาชุหะดา และท�ำให้ปรัชญาแห่งการเป็นชะฮาดัตนั้นยังคงมีชีวิตชีวาอยู่ (ค�ำพูดปราศรัยของ ฯพณฯ ท่านผู้น�ำสูงสุดทางจิตวิญญาณ) การกล่าวร�ำลึกถึงเรื่องราวในนามของท่านอิมาม ฮุเซน (อ.) และบรรดาชุหะดา ที่ท�ำให้น�้ำตาของบรรดา ชีอะห์ต้องไหลนองเสมือนดังล�ำธารฟุรอต และปากก็พร�่ำเรียกร้องว่า ยาฮุเซน ด้วยความรักที่มีต่อท่านนั้น พวก เราขอมอบความรักแด่ทา่ นเมือ่ เดือนมุฮรั รอมได้เริม่ ขึน้ แล้ว ซึง่ ในวันอาชูรอทีท่ า่ นได้เสียสละเลือดเนือ้ ความเศร้า โศกของเรานัน้ ได้ทอดยาวไปจนถึงอัรบะอีน (40วัน) ในการร�ำลึกถึงท่านผูเ้ ป็นประมุขของบรรดาชุหะดาทัง้ หลาย ดังทีไ่ ด้กล่าวว่า “นับเป็นความเศร้าโศกของพวกเราถึงสามสิบทิวาราตรีและจากวันเวลาทีผ่ า่ นมาแล้วสิบทิวาราตรี จนมันครบถึงสี่สิบทิวาราตรีในการร�ำลึกถึงท่าน” วันนี้ดวงใจของความรักที่มีต่อท่านอิมามฮุเซน (อ.) หนทางสู่กัรบะลาเปิดแล้ว ที่สามารถจะเดินทางไป เพื่อจุมพิศบนหลุมฝังศพของบรรดาชุหะดาแห่งนัยนาวา และท�ำการร�ำลึกถึงวีรกรรมแห่งสัจธรรมนั้น วันนี้พกว ท่านสามารถที่จะสัมผัสอย่างใกล้ชิดกันท่านอิมาม ฮุเซน (อ.) และยังได้ร�ำลึกถึงวีรกรรมของผู้ที่ต้องการจะดับ ความกระหายน�้ำเยี่ยงท่านอับบาสบุตรของท่านอิมาม อะลี (อ.) วันเวลาแห่งการมอบสัตยาบันได้เริ่มขึ้นใหม่อีก ครั้งในวันอาชูรอ เดือนมุฮัรรอมและอาชูรอเป็นช่วงเวลาอันบริสุทธิ์ของการมอบความรักแด่บรรดาชุหะดา เดือน มุฮัรรอม และเดือนศอฟัรยังท�ำให้เราได้รำ� ลึกนึกถึงวันเวลาทีด่ วงอาทิตย์ได้สอ่ งแสงทองมายังโลกนีเ้ พือ่ ดับความ โง่เขลาเบาปัญญา พวกเราต่างร�ำ่ ไห้ดว้ ยการถูกกดขีว่ นั อาชูรอคือวันทีท่ ำ� ให้ได้รำ� ลึกถึงพวกเขาเหล่านัน้ ที่ พวกเขา 2

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


ได้ยืนหยัดปกป้องสัจธรรมจากเหล่าอธรรมทั้งหลาย ในช่วงเวลาพบค�่ำความกระหายแห่งวันอาชูรอ เมื่อใบไม้ของต้นไม้ที่อยู่ท่ามกลางความมืด เวลาที่ ดวงวิญญาณของบรรดาชุหะดาได้สงบลง เวลาที่เสียงแห่งการท�ำลาย และเปลวไฟที่ลุกเผาไหม้คัยมะห์ที่พัก พวกเพชฌฆาตฆาตกรต่างพากันทีบ่ กุ ปล้นสดม เจ็ดสิบสีช่ วี ติ ของบรรดาเด็กๆและสตรีทตี่ กอยูท่ า่ มกลางคมหอก และคมดาบ ต่างก็ถูกร้อยด้วยโซ่ตรวน บรรดาศัตรูต่างได้เฝ้ามองดู และน�ำพาสตรีและเด็กเป็นเชลย โดยมีศรีษะ ของบรรดาชุหะดาที่ถูกเสียบบนปลายกหอกแห่น�ำหน้าขบวน แต่แสงรัศมีของท่านหญิงซัยนับ (อ.) ,ท่านอิมาม สัจญาด (อ.) ที่เฝ้าจับมองไปยังศรีษะของท่านอิมาม ฮุเซน (อ.) ที่ถูกเสียบอยู่ปลายหอกพร้อมกับรรดาชุหะดาที่ ถูกสังหารอย่างทารุณที่สุด เดือนมุฮรั อมและเดือนศอฟัรเป็นโอกาสทีเ่ หล่าบรรดาผูถ้ กู กดขี่ แต่ในเวลาเดียนวกันท่านหญิงซัยนับ (อ.) ก็คงยังต้องเรียกร้องให้การหห้ามปรามความชั่ว และแนะน�ำความดีที่เป็นอาวุธของท่านอิมาม ฮุเซน (อ.) คงอยู่ ตลอดไปพวกเราได้ยังได้รับบทเรียนจกาท่านอิมามฮุเซน (อ.) โดยผ่านท่านอิมาม อะลีซัยนุลอาบิดีน (อ.) และ ท่านหญิงฟาฏิมะห์ ซัยนับ (อง) แห่งยุคสมัยนั้น อีกทั้งยังเป็นแนวทางแห่งวิลายัต เป็นทางน�ำในหนทางของการ ต่อสู้ส�ำหรับผู้ที่มีความรักต่อไป เรื่องราวของท่านอิมาม ฮุเซน (อ.) การด�ำเนินชีวิต และการยืนหยัดของท่านถือว่าเป็นแบบอย่างและ ระบบแนวทางแห่งความคิดรูปแบบหนึง่ ทีเ่ สมือนธงแห่งเกียรติยศของสัคมมนุษยชาติในการชีแ่ นะน�ำทางในการ ปกป้องสัจธรรม ท่านอะลาอับดิลลาฮ์ ฮุเซน (อ.) เป็นแบบอย่างในการเรียกร้องเสรีภาพ และการเรียกร้องสู่ความ เป็นเตาฮีด ความเป็นหนึง่ สูจ่ ริยธรรม ความกล้าหาญ และในภาพรวมสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ในวันอาชูรอ คือการปฏิวตั ิ การ เปลี่ยนแปลงแนวทางการยืนหยัดต่อสู้ และเช่นกันระบบขบวนการนี้ที่ผ่านมาจากอดีตจนถึงปัจจุบันยังคงอยู่ จากแนวทางนี้พระผู้เป็นเจ้าและบรรดาศาสดาที่ได้รับภารกิจนี้มาปฏิยัติก่อนหน้า จนถึงเรื่องที่เกิด ขึ้นในวันอาชูรอ บการขับเคลื่อนในขบวนการของท่านอิมาม ฮุเซน (อ.) พระผู้เป็นเจ้าได้ทรงให้มะลาอิกะห์ ญิบรออีลแจ้งข่าวเรือ่ งราวของท่านอิมาม ฮุเซน (อ.) แก่ทา่ นศาสดาอาดัม (อ.) , ท่านศาสดา นุฮ์ (อ.) , ท่านศาสดา อิบรอฮีม (อ.) และบรรดาศาสดา (อ.) ทั้งหลาย และบรรดาศาสดา (อ.) ทั้งหลายก็ได้รับบทเรียบวีรกรรมการต่อสู้ ของท่านอิมาม ฮุเซน (อ.) เพราะอาชูรอคือสิ่งที่ได้ถูกจารึกไว้ และมีคุณค่าอย่างมากมาย แม้กระทั้งการด�ำรงอยู่ ของท่านศาสดามุฮมั มัด (ศ.) ศาสดาท่านสุดท้าย เช่นกันในวันทีท่ า่ นซัยยิดชุ ชุหะดา (อ.) ประสูติ ท่านศาสดา (ศ.) ได้รับร็เรื่องราวตลอด ในวันประวสูติของท่านอะบาอับดิลลาฮ์ (อ.) ท่านศาสดา (ศ.) ได้ตอบค�ำถามแก่บุคคลรอบ ด้านที่ถามท่านว่าท�ำไมต้องร้องไห้เสียใจ ซึ่งท่านได้กล่าวในวันแรกของวันประสูติอิมามฮุเซน (อ.) เช่นกันท่านอะมีรุลมุอ์มินีน (อ.) ในช่วงของสงครามศิฟฟีน วันหนึ่งท่านได้นิมิตฝันเห็นเหตุการณ์ในแผ่น ดินกัรบะลา เมื่อท่านตกใจตื่นขึ้น ท่านก็ร้องไห้ จนกระทั้งอัสฮาบของท่านได้เอ่ยถามว่า ท่านอะมีรุลมุอ์มีนิน ท่าน ร้องไห้ท�ำไม ? ท่านก็ได้กล่าวตอบว่า “ฉันได้เห็นฮุเซนของฉันในความฝันเขาได้นอนจมอยู่ในทะเลเลือด” และสิ่ง นี้ก็เป็นปรากฏารณ์การปรากฎของอิมามแห่งยุคสมัย อิมามซะมาน (อญ.) ที่จะเป็นผู้ทวงหนี้เลือด (ยาซาละตัล ฮุเซน)” และสิง่ แรกทีท่ า่ นจะได้ปฏิบตั ใิ นโลกนีค้ อื สิง่ นี้ พร้อมกับการด�ำรงไว้ถงึ เรือ่ งราวแห่งกัรบะลา นัน้ คือการยืน หยัดต่อสู้ของอิมาม ฮุเซน (อ.) เป็นความถูกต้องในเดือนมุฮรั รอม เป็นเดือนแห่งความทุกข์ แผ่นดินกัรบะลาร้อนระอุประดุจดังความร้อน ของดวงอาทิตย์ที่ก�ำลังเดือนผล่านด้วยทะเลเลือด ในวันนั้นที่บรรดาผู้ท�ำการร�ำลึกต่างๆร้อนรุ่มในจิตวิญญาณ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

3


ตราบจนถึงพบค�่ำ แผ่นดินสั่นสะท้าน ท้องฟ้ามัวหมอง ด้วยการอาลัยอาวรณ์ถึงเรื่องราวของท่านอิมาม ฮุเซน (อ.) ผู้ถูกกดขี่ ถูกทารุณกรรม และบรรดาชุหะดาแห่งนัยนาวา เป็นความถูกต้องในเดือนมุฮัรรอมการแสดงออกซึ่งความรัก ประดุจดังที่ได้ยืนอยู่ที่ยอดปล่องภูเขาไฟ สองมือทีย่ กขึน้ ตบลงมาทีอ่ ก ทีศ่ รีษะ เพือ่ แสดงออกถึงความเจ็บปวดทีบ่ รราดาผูถ้ กู กดขีไ่ ด้รบั พร้อมกับการเปล่ง เสียงคร�่ำครวญไปถึงชั้นฟากฟ้าถึงความตายอันแสนเจ็บปวดที่พวกเขาได้รับ เป็นความถูกต้อง เพื่อสิ่งใดที่พวกเราพร้อมหมู่ชนได้ยืนหยัด ? ไม่ใช่เพราะว่าทุกวันเป็นวันอาชูรอ และ ทุกแผ่นดินคือกัรบะลาหรือ ? ไม่ใช่ในเวลายามเช้าของวันศุกร์ที่ต้องมาอ่านดุอาอ์นุตบะห์ ในประโยคที่กล่าวว่า “ท่านผู้เป็นผู้ทวงหนี้เลือดในกัรบะลาท่านอยู่ไหน ? ด้วยความหวังว่าในวันหนึ่งผู้เป็นนายผู้ปกครองของเราจะได้ มาปรากฎ ดังที่พระองค์อัลลอฮ์ (ซบ.) ทรงตรัสไว้ในคัมภีร์อัลกุอานว่า “และแท้จริงเราได้บันทึกไว้ในคัมภีร์ซะบูร จะมีบุรุษหนึ่งที่เขาเป็นผู้ปฏิบัติดีจะเป็นผู้รับมรดกในการปกครองแผ่นดินนี้” และในวันนี้ก็เช่นกัน เราก็ขอเป็นส่วนหนึ่งที่ได้อยู่ร่วมกับบรรดาชุหะดาแห่งกัรบะลา และบรรดาชะฮีด ในแนวทางของท่านอิมาม ฮุเซน (อ.) เราขอเป็นทหารหาญของท่านผู้ปกครอง ผู้รกัษาวัฒนธรรมให้พ้นจาก แนวทางของพวกพ้องของยะซีด เราไม่ขอที่จะจับมือ หรือให้สัตยาบันกับพวกมัน ดังที่ท่านอิมาม ฮุเซน (อ.) ไกด้ ปฏิบัติมาแล้ว เราขอที่ยืนหยัดเคียงข้างท่านผู้น�ำสูงสุด ผู้ที่ด�ำรงต�ำแหน่งวิลายะตุลอัมร์แห่งยุคสมัย ตัวแทนของ ท่าน อิมามฮุจญัต (อญ.) ท่านอิมาม อะลี คอมาเนอี (ขออัลลอฮ์ทรงปกป้องท่าน) และเราขอความเมตตาจาก พระผู้เป็นเจ้าของท่านอิมาม ฮุเซน (อ.) ให้พวกเราได้เป็นส่วนหนึ่งของบรรดาชุหะดาในวันนั้นด้วยเทอญ “ข้าฯ แต่พระผูอ้ ภิบาล ขอให้ทรงประทานความส�ำเร็จแก่เราให้ได้อยูร่ ว่ มกับบรรดาชุหะดาทีไ่ ด้เสียสละในแนวทางของ พระองค์ด้วยเถิด อามีน ร็อบบิลอาละมีน” ดวงดาวทีส่ ่องสว่างบนชายคาบ้าน เราขอเปล่งเสียงตักบี รควบคู่ไปกับเสียงแห่งสตรี การแสดงออกซึ่งความรักของพวกเรา เราขอมอบดุอาอ์ฟาติ ฮะห์นนั้ แด่วิญญาณอันบริ สทุ ธิ์

4

มุศฏอฟา นัจยารี ยอน ซอเดะฮ์ Mostafa Najjarian Zadeh ที่ปรึกษาฝ่ายวัฒนธรรม สถานเอกอัครราชทูต สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่านกรุงเทพฯ

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


ศาสนสัมพันธ์กับ การปกป้องเกียรติแห่ง

พระศาสดา

มนุ ษ ย์ คื อ สิ่ ง มี ชี วิ ต ประเภทหนึ่ ง ที่ป ระกอบด้ ว ยร่ างกาย และวิ ญ ญาณ มี ส ติปั ญญา และมี อ ารมณ์ และมนุ ษ ย์ ยั ง มี สัญชาตญาณบริสทุ ธิ์ท่เี รียกร้ องและพยายามแสวงหาค�ำตอบให้กบั ชีวติ ทัง้ ส่ วนที่เป็ นความสุขทางกายภาพและทางจิตและวิญญาณ และยังได้ แสวงหาสืบค้ นบางอย่ างให้ เจอเพื่อไปสู่ความสมบูรณ์ สูงสุดของตัวตน การด�ำเนินชีวติ ของมนุษย์ มสี องด้ าน คือด้ านเอกบุคคลและ ด้ านสังคม เหมือนกับทุกๆอวัยวะของร่ างกายมีผลต่ อการด�ำเนิน ชีวิตของมนุษย์ ต่ออวัยวะส่ วนอื่นๆด้ วยเช่ นกัน ดังนัน้ มนุษย์ จึง มีความจ�ำเป็ นต่ อแบบแผนการด�ำเนิ นชีวิตหนึ่ ง ที่จะเป็ นหลัก ประกันความผาสุกทัง้ ทางกายภาพและทางจิตวิญญาณ ทัง้ ทางการ ด�ำเนินชีวติ ที่เป็ นปั จเจกบุคคลและทางสังคม กระบวนแบบแผนนี ้ เรี ยกว่ า “ศาสนา” ซึ่งเป็ นความจ�ำเป็ นที่สัญชาตญาณของมนุษย์ เรี ยกหา ดังที่องค์ อัลลอฮทรงตรั สว่ า... “จงผินหน้ าของเจ้ าสู่ศาสนาอันเที่ยงแท้ เถิด ซึ่งพระองค์ ทรงสร้ างให้ มนุษย์ มีมันอยู่ค่ ูกับมนุษย์ ” (บทอัรอัรรูม โองการที่ 30)

บทความโดย กองบรรณาธิการ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

5


และสิง่ มีชวี ติ ทุกอย่างมีสถานะของความสมบูรณ์ อยู่ ซึง่ จะต้องพัฒนาไปสูจ่ ดุ สูงสุดของความสมบูรณ์นนั้ และไม่มีหนทางใดที่จะไปสู่ความสมบูรณ์สูงสุดนั้นได้ นอกจากจะต้องยึดปฎิบัติตามที่ได้ถูกก�ำหนดด้วยพระ ผูเ้ ป็นเจ้า ซึง่ เป็นระเบียบแบบแผนทีช่ ดั เจน และเป็นวิถี ชีวิตของมนุษย์ทั้งหมด มิได้เฉพาะกลุ่มหนึ่งกลุ่มใด ดัง ที่อัลกุรอานได้กล่าวยืนยันไว้ว่า.. “มูซา กล่าวว่า พระผู้อภิบาลของเรา คือผู้ที่ทุก สิ่งอุบัติขึ้นมา และพระองค์ทรงชี้น�ำทางมัน”(บทฎอฮา โองการที่ 50) ค�ำว่า “ตืน่ ” ซึง่ ตรงข้ามกับค�ำว่า “หลับ” และการ หลับนัน้ คือสภาวะทางร่างกายขณะไม่มสี ติสมั ปชัญญะ การรับรูโ้ ลกภายนอก และความสามารถในการป้องกัน ตนเองจะลดลงอย่างมาก ไม่มกี จิ กรรมต่างๆของการใช้ ชีวิต มนุษย์หายใจในขณะหลับแต่ไม่มีสติสัมปชัญญะ ไม่มีการคิด และการ “ตื่น” หมายถึง การกลับมามี สติสัมปชัญญะ กลับมามีชีวิตชีวา ดังนัน้ “การตืน่ ตัวของศาสนา” ให้ความหมายใน เชิงบวกคือ“การฟื้นฟูศาสนา”นั่นก็หมายถึงการท�ำให้ อิสรภาพ ความยุตธิ รรมและหลักธรรมค�ำสอนของศาสนา มีชีวิตชีวา เป็นการฟื้นฟูศาสนา ให้ความส�ำคัญต่อค�ำ สอนของศาสนาทั้งทางด้านปัจเจกและทางด้านสังคม เป็นการน�ำหลักการศาสนามาแก้ไขตัวเองและสังคม แต่ ไม่ใช่เป็นการ “ดัดแปลงศาสนา” ทว่าเป็นขบวนการแห่ง “การฟื้นฟูศาสนา” หมายถึง การให้มนุษย์และสังคม กลับมามีชีวิตตามครรลองและบรรทัดฐานของศาสนา ส่วนความหมายของศาสนาหมายถึงพันธะสัญญา ต่างๆ ที่มีต่อพระเจ้า ซึ่งจะขับเคลื่อนมนุษย์ให้ประคอง ตนสอดคล้องกับบทบัญญัตทิ ปี่ ระทานแก่ทา่ นศาสดาเพือ่ เป็นวิถชี วี ติ ทัง้ หมดนีล้ ว้ นเป็นความหมายเชิงกว้างของ ค�ำว่า ศาสนา ที่สามารถปรับประยุกต์และน�ำมานิยาม บทบัญญัตจิ ากพระเจ้าทีไ่ ด้ประทานแก่เหล่าศาสดาทุก ท่าน. หรือกล่าวอีกนัยหนึง่ ก็คอื ศาสนาอุดมไปด้วยแนว

6

ความเชือ่ ,ศีลธรรมจรรยา และประมวลบทบัญญัตจิ าก พระเจ้านั่นเอง การยอมรับว่าบ่อเกิดของศาสนามาจากตัวของ มนุษย์เอง ก็คงจะเป็นค�ำตอบแก่ตัวของเขาว่าแท้จริง การเชื่อดังกล่าวไม่ใช่ความถูกต้องเลย เนื่องจากตัว ของมนุษย์นนั้ จะสูญสลายไปพร้อมกับศาสนาก็เป็นไป ได้ หรือนักสังคมวิทยาหรือนักปรัชญาทางสังคมได้เชื่อ ว่าการเชื่อหรือศรัทธาในศาสนาเป็นช่วงเวลาที่อ่อนแอ ของมนุษย์ ดังค�ำกล่าวของนักสังคมวิทยานักปรัชญา ลัทธิปฏิฐานนิยม ศาสตราจารย์ ออคุสม์ กงต์(Auguste Comet 1979) เป็นชาวฝรั่งเศสผู้โด่งดัง ได้กล่าวถึงการ วิวฒ ั นาการของกระบวนการคิดของมนุษย์วา่ มีสามระดับ (three stages of human mind)คือ 1)ระดั บ ต�่ ำ สุ ด คื อ ระดั บ การคิ ด ทางศาสนา (theological stsge) เข้าใจทุกอย่างในเชิงลึกลับใน ท�ำนองเหนือธรรมชาติ พิสูจน์ไม่ได้ มีมีปัญหาใดๆก็ จะยอมรับฟังและจ�ำนนตามค�ำสอนนั้น(ปราศจากการ พิสูจน์และการทดลอง) 2) ระดับรองลงมาคือการคิดทางอภิปรัชญา (metaphysical stage) เข้าใจอะไรก็จะอ้างได้เป็น ระบบ เมื่อเป็นระบบแล้วก็จะพอใจ ไม่ค�ำนึงว่าระบบ นั้นจะผิดหรือถูก 3)ระดับสูงสุดคือขัน้ ปฎิฐาน (positive stage) ขัน้ นีถ้ อื ว่าเป็นขัน้ สุดยอดของจิตใจมนุษย์ จะยอมรับอะไร เป็นความรู้ด้วยการทดลองและการคิดตามแนวทาง วิทยาศาสตร์ และถือว่าผูท้ ไี่ ปถึงขัน้ ทีส่ ามจัดอยูใ่ นระดับ ของพุทธิปญ ั ญา และเขากล่าวว่าส่วนมากมนุษย์ยงั อยู่ ในระดับแรกนั่นคือมีกระบวนการคิดเชิงศาสนายังไม่ บรรลุระดับพุทธิปัญญา ส่วนความเชื่อที่ว่าศาสนาเป็นผลของการสร้าง มนุษย์หรือมาจากการค้นคิดประดิษฐ์ของมนุษย์ บางครัง้ การอุบตั ขิ องศาสนานัน้ มีเป้าหมายเพือ่ แสวงหาอ�ำนาจ การล่าอาณานิคม ซึ่งเป็นเป้าหมายทางการเมืองและ

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


อ�ำนาจการปกครอง หรืออาจจะมีเป้าหมายทางด้าน เศรษฐกิจ การครอบครองทรัพยากรต่างๆไว้ในอาณัติ ของตนเอง กล่าวคือด้วยกระบวนการทางการศรัทธา การเชือ่ สามารถครอบครองทรัพยากรอันส�ำคัญของโลก ซึง่ โดยกระบวนการสร้างศาสนาดังกล่าวนี้ สามารถประ สบความเร็จทางด้านการครอบครองทรัพยากรต่างๆและ สามารถจะควบคุมกลไกลทางด้านเศรษฐกิจได้อยูใ่ นก�ำ มือของผูแ้ สวงหาสิง่ ดังกล่าว ซึง่ ประจักษ์พยานได้ไม่วา่ จากวิถขี องชนชาติในยุคโบราณ เช่นในยุคอียปิ ต์โบราณ ในสมัยของการปกครองกษัตริย์ฟาโรห์ ดังนั้นการตื่นตัวของศาสนาโลกในยุคปัจจุบัน และการหันหน้าเข้ามาสานเสวนาทางด้านวัฒนธรรม และศาสนามากขึ้นเนื่องจากได้ประจักษ์พยานแล้วว่า ขบวนการแห่งนวยุคภาพ(Modernity)หรือลัทธินวยุค (Modernism)สร้างความเสียหายทางด้านศิลธรรมและ คุณธรรมแห่งมนุษยชาติเป็นอย่างยิง่ และมองศาสนาเป็น เรื่องงมงายหรือเป็นเรื่องของคนโง่เขลา ทั้งๆที่บทบาท ของศาสนาในทุกยุคและทุกสมัยยังคงสร้างคุณปู ระการ ต่อโลกใบนี้มาตลอดและสร้างสันติภาพอย่างยั่งยืนแก่ มนุษยชาติ

กระแสเหตุการณ์ของโลกปัจจุบนั และประชาคมโลก ต่างเรียกร้องและต้องการความสันติภาพ ต้องการความ ยุตธิ รรม และเสรีภาพ และปรารถนาความสัมพันธไมตรี และอยู่อย่างมิตรภาพมีความสมานฉันท์ อุดมการณ์ ทางการเมืองหรือทางลัทธิความเชื่อได้ถูกท�ำให้ผู้คน สับสนจนก่อให้เกิดความบาดหมางและมีทศั นคติทเี่ ป็น ลบต่อกันทั้งๆที่ค�ำสอนของทุกศาสนาต่างเรียกร้องให้ ผู้ปฎิบัติตามศาสนานั้นๆหรือให้ศาสนิกของตนอยู่ร่วม กับเพือ่ นมนุษย์อย่างฉันท์พนี่ อ้ ง อีกทัง้ ให้รจู้ กั เคารพสิง่ ศักดิ์สิทธิ์เคารพบูชาของแต่ละศาสนา ศาสนสัมพันธ์ถอื ว่าเป็นกระบวนการทางปัญญา และการปฏิบตั ทิ พี่ ยายามน�ำหลักการทางศาสนาของทุก ศาสนามาบูรณาการและแสดงออกด้วยการปฏิบตั อิ ย่าง เอาจริงเอาจังของแต่ละศาสนา เพือ่ ส�ำแดงให้เห็นว่าทุก ศาสนาได้เคารพหลักความเชือ่ ความศรัทธาต่อกันและ กัน ไม่ดถู กู หรือดูหมิน่ ดูแคลนค�ำสอนของความเชือ่ หรือ ความศรัทธาในศาสนาของกันและกัน ศาสนสัมพันธ์คือบทบาทหนึ่งที่จะน�ำแนวทาง การสานเสวนาทางศาสนา โดยยึดหลักปรัชญาว่าด้วย ทฤษฎี”ความเป็นเอกภาพในพหุภาพ และความเป็น

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

7


พหุภาพในเอกภาพ” นั่นคือ การปรับเปลี่ยนกระบวน ทัศน์การยึดมัน่ ถือมัน่ นัน่ ก็คอื ทีเ่ คยแสดงความชิงชังต่อ กัน หรือเคยท�ำสงครามกัน แต่ทว่ากระบวนทัศน์ของศาสน สัมพันธ์ในยุคโลกาภิวตั น์นนั้ คือการไม่เหยียดหยามและ ดูถูกดูหมื่นความเชื่อของกันและกัน โดยเฉพาะอย่าง ยิงพระศาสดา ถึงเป็นที่เคารพของทุกศาสนา ไม่ว่าจะ เป็นพระศาสดามุฮัมมัด(ศ)ของอิสลาม พระสัมมาสัม พุทธเจ้าของพุทธศาสนา พระเยซูคริสต์ และอื่นๆต่าง เป็นที่ยอมรับต่อกันและกัน อิสลามถือว่าเป็นศาสนาหนึ่งที่ทรงอิทธิพลต่อ ชาวโลกจ�ำนวนมาก และมีการวิพากษ์วิจารณ์ในเรื่อง ความเชื่อและการอุดมการณ์ของศาสนาไปในทางลบ โดยกล่าวว่าเป็นศาสนาที่นิยมในความรุนแรง มองคน ต่างศาสนิกอื่นเป็นศัตรู เป็นพวกชาตินิยมอะไรท�ำนอง นี้ ซึง่ เราจะพบเห็นตามสือ่ ต่างๆทีไ่ ด้เสนออิสลามในเชิง ลบ ทั้งๆที่ศาสนาอิสลามจากสมัยของพระศาสดามุฮัม มัด(ศ)ท่านศาสดา(ศ)เป็นบุคคลแรกทีไ่ ด้มแี บบฉบับใน การอยูก่ บั คนต่างศาสนิกอย่างสันติและเรียกร้องการอยู่ ร่วมกันอย่างสมานฉันท์ให้เกียรติตอ่ กันและท่านศาสดา มุฮมั มัดเป็นบุคคลแรกทีไ่ ด้นำ� เสนอหลักการสานเสวนา ทางศาสนาขึ้นในนครมะดีนะฮ์ ตลอดเวลาของประวัติศาสตร์อิสลามที่ผู้ดำ� เนิน รอยตามแบบฉบับของพระศาสดามุฮมั มัด(ศ)และปฎิบตั ิ วงศ์วานลูกหลานของศาสดา ชี้ให้เห็นว่าอิสลามในค�ำ สอนอันพิสุทธิ์นั้นผ่านการชี้น�ำโดยอิมามผู้น�ำภายหลัง จากศาสดามุฮมั มัดเรียกร้องให้ทกุ ศาสนานัง่ สานเสวนา และพูดคุยในด้านศาสนาอย่างเป็นมิตรและไมตรีจิต ศาสนาทัง้ หลายในอดีตได้แสดงบทบาททีส่ ำ� คัญ และเห็นด้วยกับหลักการนัน้ โดยการให้ความร่วมมือจึง เป็นทีค่ าดหวังว่าในยุคหนึง่ นัน้ บรรดาศาสนาทัง้ หลายจะ อยู่กันอย่างสันติเคารพในศาสนากันและกันและสร้าง ความพึงพอใจและความต้องการด้านต่างๆของมนุษย์ อย่างไม่มีที่สิ้นสุด ดังนั้นทุกศาสนาได้เชื่อและมีความ

8

ศรัทธาว่า โลกแห่งสันติภาพยังมิอาจบรรลุถึงได้ นอก เสียจากบรรดาศาสนาและผู้น�ำของศาสนาต่างๆ ซึ่งมี พื้นฐานทางด้านวัฒนธรรมอันดีงามและมีอารยธรรม อันน่ายกย่องนั้น มาร่วมสานเสวนาและพูดคุยสนทนา ทางด้านศาสนากัน เพราะว่าในความเป็นจริงแล้วไม่มี ศาสนาใดในโลกใบนีท้ มี่ คี วามเชือ่ หรือมีหลักคิดทีเ่ ป็นลบ ต่อกันหรือส่งเสริมมุง่ ร้ายและแข่งขันในทางทีม่ ชิ อบ แต่ ตรงกันข้ามศาสนาทัง้ หลายต่างชิน่ ชมและยินดีในความ เป็นมิตรและมีจติ เอือ้ อาทรต่อกัน กล่าวอีกนัยหนึง่ คือว่า ศาสนาไม่ใช่ภัยคุกคามต่อกัน เป็นทีร่ จู้ กั กันดีวา่ พุทธศาสนานัน้ เป็นศาสนาแห่ง ความสงบและเป็นศาสนาแห่งสันติ เป็นศาสนาที่สอน ให้มนุษย์รู้จักตัวตนและการท�ำลายทุกข์ทั้งปวง และ พุทธศาสนาเป็นสาส์นแห่งความรัก และสอนให้เอ็นดู รูส้ กึ สงสาร ไม่เบียดเบียนพร้อมกับสอนให้อดกลัน้ และ สันติภาพและความรักถือว่าเป็นหัวใจของพุทธศาสนา นั่นหมายความว่าวัตถุประสงค์ของชีวิตแห่งศิลธรรม ทั้งมวลของการฝึกฝนอบรมและปฎิบัติในทางศาสนา ทั้งหมด จุดมุ่งหมายที่สุดของพุทธศาสนา คือ นิพพาน

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


ดังนัน้ สิง่ ใดทีไ่ ม่นำ� ไปสูส่ นั ติภาพ สิง่ นัน้ ถือว่าเป็นอุปสรรค และเป็นการรบรวมสันติภาพ ศาสนาอิสลามโดยการเป็นประจักษ์พยานตาม บริบทของของยุคสมัยจากสมัยเริ่มแรกจนถึงปัจจุบัน ซึ่งยืนยันโดยประวัติศาสตร์ของอิสลามว่า ศาสดามุ ฮัมมัด(ศ)ได้กำ� ชับและบอกแก่สาวกของท่านให้อยูร่ ว่ ม กับบรรดาศาสนิกอื่นๆในนครมะดีนะฮ์อย่างสันติ และ ประวัตศิ าสตร์ได้บนั ทึกไว้วา่ หลังจากทีศ่ าสดามุฮมั มัดได้ อพยพสูน่ ครมะดีนะฮ์ และได้จดั ตัง้ รัฐอิสลามขึน้ บรรดา มุสลิมในสมัยนั้นได้เริ่มรู้จักบรรดาศาสนิกของศาสนา อืน่ ๆโดยใช้ชวี ติ ตัง้ ถิน่ ฐานท�ำมาหากินอยูร่ ว่ มกัน และมี ความสัมพันธ์ตอ่ กันทางด้านวัฒนธรรม มีการแปลต�ำรา ทางด้านศาสนาจากภาษาอืน่ ๆและมีการปฎิสมั พันธ์ทาง วัฒนธรรมตลอดทั้งทางด้านวิชาการด้านอื่นๆ คัมภีร์อัลกุรอานได้อ้างไว้อย่างชัดเจนในความ สัมพันธ์ที่ท�ำให้นึกถึงบรรดาผู้ศรัทธาในศาสดาก่อน ศาสดามุฮัมมัด อย่างเช่นชาวยิวที่มีศรัทธาต่อศาสดา ฮิบรอฮีม และศาสดามูซา ชาวคริสต์ทไี่ ด้ศรัทธาต่อพระ เยซู ศาสดาอีซา ชาวโซโรอัสเตอร์

เรื่องราวทางประวัติศาสตร์อันทรงคุณค่าที่สุด ที่หน้าประวัติศาสตร์ทั้งหลายได้บันทึกการด�ำเนินชีวิต ของเหล่าวีรบุรุษผู้ยิ่งใหญ่การด�ำเนินชีวิตของพวกเขา ได้สร้างคลืน่ ชีวติ แบบพิเศษมหัศจรรย์และถูกจารึกเป็น เรื่องราวในรูปแบบต่างๆ พวกเขาเป็นผู้ยิ่งใหญ่ สิ่งที่เกี่ยวพันกับพวกเขา อย่างเช่นชีวประวัติของพวกเขาก็ยิ่งใหญ่และทรงพลัง เจิดจรัสสว่างไสวเสียจนเราต้องเรียนรู้ ศึกษาค้นคว้าใน สิง่ ลีล้ บั ของบทเรียนชีวติ อันทรงคุณค่านัน้ การด�ำเนินชีวติ ของพวกเขาเป็นสุดยอดแห่งประวัตศิ าสตร์ซงึ่ ได้ถกู จารึก เป็นขบวนการต่างๆอันทรงคุณค่าแห่งการสร้างสรรค์ ในหมูว่ รี บุรษุ ผูย้ งิ่ ใหญ่แห่งหน้าประวัตศิ าสตร์ ผูท้ ี่ มีการด�ำเนินชีวติ ทีท่ รงพลังเต็มเปีย่ มไปด้วยเรือ่ งราวและ เหตุการณ์ทสี่ ร้างการเปลีย่ นแปลงได้อย่างมากมายท่าน หนี่งคือ “มูฮัมมัด” ศาสดาแห่งอิสลาม(ศ็อลฯ) นิยามค�ำว่า ศาสดา ตามพจนานุกรม concise oxford English dictionary ศาสดา คือ ครูหรือผู้สั่ง สอนที่ได้รับแรงดลใจ เป็นผู้เปิดเผยหรือผู้ตีความตาม เจตนารมณ์ของพระผู้เป็นเจ้า และศาสดาคือตัวแทน ของพระเจ้า ที่พระเจ้าได้คัดเลือกเพื่อเป็นผู้เผยแพร่ และเผยแผ่หลักธรรมค�ำสอนของพระองค์แก่มนุษยชาติ อัลกุรอานได้กล่าวถึงศาสดามุฮัมมัดว่าท่านคือ ศาสนทูตแห่งพระเจ้า เป็นผู้ตักเตือน , ดังนั้นเมื่อมอง ไปยังประวัติศาสตร์ได้มีรายงานบันทึกไว้ว่า ในปีแรกๆ ของการแต่งตัง้ ท่านศาสดามุฮมั มัด(ศ)ได้มายืนอยูท่ เี่ ชิง เขาซอฟา พร้อมกับ ร้องตะโกนดังๆ ออกมาว่า อันตราย ! อันตราย ! ประชาชนได้มายืนรวมกัน ณ เชิงเขาซอฟา ต่างถามกันว่าเกิดอะไรขึน้ ? เป็นครัง้ แรกทีพ่ วกเขาได้ยนิ จากมูฮัมมัด (ศ็อลฯ) อะไรคืออันตราย? เหตุการณ์จะ เป็นเช่นกับเหตุการณ์ในปีช้างหรือไม่? อันดับแรกเพื่อ ต้องการการยืนยันจากประชาชนท่านศาสดาจึงถามพวก เขาว่าว่า โอ้ประชาชาติทั้งหลาย จนถึงตอนนี้พวกท่าน รูจ้ กั ฉันกันอย่างไร? ทัง้ หมดกล่าวว่า เป็นผูท้ ซี่ อื่ สัตย์ ไว้

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

9


วางใจได้และเป็นผู้ที่พูดแต่สิ่งที่เป็นความจริง ท่านศาสดากล่าวว่า ถ้าหากว่าตอนนี้ฉันจะตักเตือนพวกท่านและ จะแจ้งเตือนถึงอันตรายว่าด้านหลังของภูเขานี้มีพวกศัตรูมากมายมาเป็นกองทัพพร้อมด้วยอาวุธสงครามและ ต้องการที่จะตัดศีรษะพวกท่าน พวกท่านเชื่อในค�ำพูดของฉันหรือไม่? พวกเขาพูดกันว่า แน่นอนพวกเราเชื่อ เมื่อ ได้รบั ค�ำยืนยันท่านศาสดาจึงกล่าวว่า “ดังนัน้ ฉันจะแจ้งเตือนพวกท่านทัง้ หลายถึงอันตรายว่า หนทางทีท่ า่ นก�ำลัง จะไปนัน้ จะมีการลงโทษอันแสนสาหัสจากพระผูเ้ ป็นเจ้าติดตามมาทัง้ ในโลกนีแ้ ละโลกหน้า” อัลกุรอานเองได้ระบุ เกี่ยวกับฐานภาพนี้ของท่านศาสดาไว้อย่างชัดเจนว่า “ โอ้ นบีเอ๋ย! แท้จริง เราได้ส่งเจ้ามาเพื่อให้เป็นพยาน ผู้แจ้งข่าวดี ผู้ตักเตือน และเป็นผู้เรียกร้องเชิญชวน ไปสู่อัลลอฮ์ ตามพระบัญชาของพระองค์ อีกทั้งเป็นดวงประทีปอันแจ่มจรัส” ท่านได้มาเชิญชวนประชาชนสู่หนทางของพระผู้เป็นเจ้าด้วยกับการฉันทานุมัติของพระองค์ ท่านได้ท�ำให้ ประชาชนขับเคลือ่ นไปสูพ่ ระองค์ ท่านเป็นผูเ้ รียกร้องเชิญชวนไปสูพ่ ระองค์ การเชิญชวนสูพ่ ระผูเ้ ป็นเจ้านัน้ ไม่ใช่เป็น งานทีเ่ ล็ก ในเมือ่ ท่านเป็นกระบอกเสียงของพระองค์ ดังนัน้ จะใช้สอื่ หรือเครือ่ งมืออันใดในการเชิญชวนประชาชาติ สู่พระผู้เป็นเจ้า? เป็นไปได้หรือ? ที่มนุษย์ได้นอนฝันและจะใช้การฝันนี้เป็นเครื่องมือในการเชิญชวนประชาชนสู่ พระผูเ้ ป็นเจ้า ทุกเช้าทีต่ นื่ ขึน้ มาพูดว่า วันนีฉ้ นั ได้ฝนั เห็นงานหนึง่ จงมาท�ำงานนีด้ งั ทีฝ่ นั เห็นกันเถิด ? แน่นอนทีส่ ดุ เป็นอย่างนัน้ ไม่ได้ คัมภีรอ์ ลั กุรอานได้กำ� หนดหนทางทีช่ ดั เจนไว้แล้ว การเชิญชวนสูพ่ ระผูเ้ ป็นเจ้านัน้ เป็นการเชิญ ชวนไปสูส่ จั ธรรมหรือความเป็นจริงทีย่ งิ่ ใหญ่ทสี่ ดุ ในโลก คือการเชิญชวนไปสูส่ งิ่ ทีป่ ญ ั ญาสากลของมนุษย์นนั้ ชีน้ ำ� ไปพร้อมกับขับเคลื่อนไปสู่มัน คือการเชิญชวนไปสู่สิ่งหนึ่งที่ปัญญาสากลต้องยอมรับ ด้วยกับเหตุผล , หลักฐาน การพิสูจน์ , วิทยปัญญาและค�ำพูดเชิงตรรกะ โดยที่ท่านศาสดาไม่เคยใช้หลักบีบคับหรือใช้ความรุนแรง ต่อไปนีจ้ ะน�ำเสนอบางส่วนทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ในแนวทางด้านงานเผยแพร่ของท่านศาสดา(ศ็อล) อันเป็นพืน้ ฐาน ทีท่ ำ� ให้ประชาชนชาวอาหรับในสมัยนัน้ หันกลับมาสนใจต่ออิสลามและท�ำให้อสิ ลามมีอทิ ธิพลเหนือความคิดของ พวกเขาและขยายวงกว้างออกไปสู่ประเทศข้างเคียงอย่างรวดเร็ว คือ

10

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


1.จรรยามารยาทอันดีงาม มนุ ษ ย์ ผู ้ ยิ่ ง ใหญ่ ด ้ ว ยกั บ การปฏิ สั ม พั น ธ์ แ ละ จรรยามารยาทอันดีงามความยิ่งใหญ่ของเขาจะแสดง ความแตกต่างจากบุคคลอื่นทั่วไปออกมาให้ประจักษ์ จรรยามารยาทเป็นคุณสมบัตทิ ลี่ ะเอียดอ่อนทีส่ ดุ ซึง่ ใน การปฏิสมั พันธ์ทางสังคมเป็นเหตุให้เกิดความรักขึน้ และ จะท�ำให้คำ� พูดมีนำ�้ หนักต่อพวกเขาเป็นอย่างมาก ด้วย เหตุนี้เองพระผู้เป็นเจ้าได้ทรงเลือกบุคคลที่อ่อนน้อม มี จรรยามารยาทอันดีงาม ไม่แข็งกระด้างเป็นศาสดาและ ตัวแทนของพระองค์เพือ่ ทีค่ ำ� พูดของเขาจะมีผลต่อจิตใจ ประชาชาติได้อย่างสมบูรณ์และดึงดูดพวกเขาเข้ามาหา บุคคลผู้ยิ่งใหญ่เหล่านี้ในการที่ท�ำให้บรรลุสู่เป้าหมาย ของพระองค์ต้องประสบกับอุปสรรค์มากมายแต่เมื่อ ประชาชนเจอกับมารยาทอันดีงามและความอดทนอด กลั้น เมื่อพวกเขาประจักษ์ความดีตรงนี้ มิใช่แค่เพียง กลุ่มชนที่มีจิตใจแสวงหาความจริงเท่านั้นแต่บรรดาก ลุ่มชนที่เป็นศัตรูอันชัดแจ้งต่อศาสดาและตัวแทนเหล่า นัน้ เองก็ยอมสารภาพถึงความสูงส่งและบุคลิกภาพอัน ยิ่งใหญ่ของท่านศาสดา(ศ็อลฯ) ดังที่พระผู้เป็นเจ้าได้ ทรงตรัสไว้ในคัมภีร์ของพระองค์เองเกี่ยวกับเรื่องนี้ว่า “แท้จริงแล้วเจ้าถูกประดับประดาด้วยจริยธรรม อันดีงาม” ในกรณีนแี้ ม้แต่ศตั รูของท่านศาสดาเองก็สารภาพ เมือ่ พวกเขาได้เจอกับท่านบรรดาผูท้ ตี่ อ่ ต้านท่านศาสดา เป็นจ�ำนวนมากซึ่งก่อนทีจ่ ะยอมรับอิสลามด้วยเหตุผล หรือด้วยเหตุผลอะไรก็ตาม จากมิตภิ ายในของพวกเขา ยอมจ�ำนนต่อจรรยามารยาทอันงดงามของท่านมาก่อน แล้ว โดยพื้นฐานนี้ท่านศาสดาได้ปฏิบัติคุณลักษณะ มารยาทที่ดีที่สุดต่อบรรดาสาวกของท่านจนกระทั่งทุก คนหลงใหลที่จะเข้าพบท่านและนั่งร่วมกับท่าน และ ด้วยกับจรรยามารยาทที่ดีของท่านนี้เองที่ได้ดึงหัวใจ ของพวกเขาเข้ามา และได้สร้างบรรยากาศที่เต็มเปี่ยม ไปด้วย พลังศีลธรรม พลังแห่งความหวัง พลังศรัทธา

พลังความมัน่ ใจขัน้ สูงให้ประจักษ์แก่มติ ดิ า้ นในแห่งจิตใจ 2.สร้ างวัฒนธรรมแห่ งความเป็ นพี่น้องและ ความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน ความสัมพันธ์ท่ีใกล้ชิดและแข็งแกร่งที่สุดของ มนุษย์ คือครอบครัว และในระหว่างประเภทต่างของ ครอบครัว “พี่น้อง” มีความใกล้ชิดและสนิทสนมมาก ส่วนความสัมพันธ์ทางจิตวิญาณและปฏิสัมพันธ์ใน ระหว่างชีวิตจากแรงแห่งศรัทธาเป็นการแสดงออกมา ที่สวยที่สุดในเชิงปฏิบัติ ท่านศาสดา(ศ็อลฯ)ได้พยายามเผยแพร่ด้วย แนวทางหลากหลายเพื่อให้วัฒนธรรมของความเป็นพี่ น้องในอิสลามได้สะท้อนออกมา ทั้งในเรื่องความคิด วาจา และพฤติกรรมของบรรดามุสลิมและได้ก�ำชับ เกี่ยวกับเรื่องนี้อยู่เสมอๆ ตัวอย่างหนึ่งอันชัดเจนที่จะ หยิบยกมาประกอบตรงนีค้ อื ท่านศาสดา(ศ็อลฯ) ในช่วง ทีท่ า่ นเผยแพร่อย่างเป็นทางการท่านเคยด�ำเนินการท�ำ สัญญาความเป็นพีน่ อ้ งในระหว่างมุสลิมถึงสองครัง้ ครัง้ แรก ก่อนการอพยพในหมู่ผู้อพยพ และครั้งที่สอง ก่อน ทีจ่ ะเข้าเมืองมะดีนะฮ์ในขณะทีท่ า่ นศาสดาต้องการวาง โครงสร้างสังคมอิสลามจึงได้ด�ำเนินการจัดพิธีสัญญา ความเป็นพีน่ อ้ งระหว่างบรรดาผูอ้ พยพชาวมักกะฮ์และ ชาวเมืองมะดีนะฮ์ทเี่ รียกพวกเขาอีกชือ่ หนึง่ คือชาวอันศอร เพือ่ สร้างให้เป็นพืน้ ฐานอันแข็งแกร่งของสังคม สัญญา ความเป็นพี่น้องอันนี้เกิดขึ้นในหมู่ประชาชนที่ ตกอยู่ ในกองไฟแห่งการแข็งขันระหว่างเผ่าต่างๆ การชิงดีชิง เด่นของแต่ละเผ่า การหลั่งเลือด และชาตินิยมที่ไม่ถูก ต้อง ซึ่งก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงอย่างน่ายินดี อีก ทั้งความเป็นพี่น้อง ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันแบบ อิสลามมาแทนที่องค์ประกอบที่สร้างความแตกแยกที่ มีมาก่อนหน้านี้ ภายใต้พื้นฐานการชี้น�ำของอัลกุรอานที่ถือว่า ความเป็นพี่น้องเป็นความสัมพันธ์ทางสังคมที่มีความ ส�ำคัญอย่างยิ่ง พระองค์ทรงตรัสว่า

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

11


“แท้จริงบรรดาผู้ศรัทธานั้นเป็นพี่น้องกัน ดังนั้น พวกเจ้าจงไกล่เกลีย่ ประนีประนอมกันระหว่างพีน่ อ้ งทัง้ สองฝ่ายของพวกเจ้า และจงย�ำเกรงอัลลอฮ์เถิด หวังว่า พวกเจ้าจะได้รับความเมตตา” เป็นทีช่ ดั เจนทีส่ ดุ การสร้างสรรค์สงั คมทีส่ มบูรณ์ ให้ได้และการทีจ่ ะน�ำสังคมไปสูท่ ศิ ทางเดียวกันด้วยความ เป็นปึกแผ่นนัน้ มันจะเกิดขึน้ ไม่ได้นอกจากภายใต้ความ สัมพันธ์อนั แนบแน่นของศรัทธาชน เมือ่ เราพิจารณาให้ ดีจะเห็นได้วา่ การไม่รกั ษาพืน้ ฐานของวัฒนธรรมความ เป็นพี่น้องและความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันก่อให้เกิด ปัญหาทางสังคมติดตามมามากมาย ความเสียหาย จากการไม่ให้ความส�ำคัญและละเลยต่อความเป็นพี่ น้องไม่ใช่เกิดขึ้นในระดับของสังคมเท่านั้น ยังเป็นเหตุ ให้บุคคลนั้นสูญเสียความเป็นตัวตนที่แท้จริงของเขา เองจนเปลี่ยนเป็นผู้แปลกหน้าในกลุ่มอันน�ำไปสู่ความ สัมพันธ์ทางสังคมทีเ่ ย็นชาและอ่อนแอ ยิง่ กว่านัน้ บุคคล นั้นจะรู้สึกเหนื่อยและอ่อนล้าในที่สุดต้องพึงพาต่อการ รักษาตัวเขาเองด้วย 3.การแสวงหาความยุตธิ รรม พื้นฐานอันหนึ่งที่ถูกให้ความส�ำคัญเป็นพิเศษ ส�ำหรับการเผยแพร่ของท่านศาสดาคือการเน้นในเรื่อง ของ ความยุตธิ รรมและการด�ำเนินการเพือ่ ให้เกิดความ

12

ยุตธิ รรมขึน้ ในสังคมในทุกหน่วยงาน พืน้ ฐานนีเ้ ป็นรากฐาน ที่แข็งแกร่งของอิสลาม มิใช่แค่เชื่อเฉพาะว่าระบบการ สร้างสรรค์นอี้ ยูภ่ ายใต้พนื้ ฐานแห่งความยุตธิ รรมเท่านัน้ หากแต่วา่ ในการร่างรัฐธรรมนูญและบทบัญญัตถิ อื เป็น หลักพืน้ ฐานเบือ้ งต้น ในมุมมองของการเผยแพร่ของท่าน ศาสดา(ศ็อลฯ)การสถาปนาความยุติธรรมให้แก่สังคม เป็นเป้าหมายสูงสุดของการส่งบรรดาศาสดาแห่งพระ ผู้เป็นเจ้าและคัมภีร์จากฟากฟ้าทั้งหลาย เหมือนกับว่า พระผูเ้ ป็นเจ้าทรงประสงค์อย่างชัดเจนในการบัญชาแก่ ท่านศาสดา(ศ็อลฯ)เพือ่ ให้สถาปนาความยุตธิ รรมขึน้ มา ในทุกระดับทางสังคม พระองค์ทรงตรัสว่า “ข้าได้บัญชาเพื่อให้เกิดความยุติธรรมในหมู่ พวกสูเจ้า” ดังนัน้ จึงเห็นได้วา่ ทัง้ ชีวติ ของท่านศาสดา(ศ็อลฯ) ผ่านไปด้วยการต่อสูใ้ นการทีจ่ ะสถาปนาความยุตธิ รรม และพยายามให้สงั คมปกครองด้วยหลักการอันทรงคุณค่า นีแ้ ละขจัดความปลิน้ ปล้อนหลอกหลวงให้หมดไปอีกทัง้ น�ำเสนอศาสนาอันเป็นแนวทางทีแ่ สดงถึงหลักการความ ยุติธรรมอย่างครอบคลุม แนวทางของท่านศาสดาคือ แนวทางแห่งความยุตธิ รรมพระด�ำรัสของท่านคือความ ยุติธรรม ตรรกะของท่านเป็นสิ่งที่แยกระหว่างสัจธรรม และโมฆะเหมือนดั่งที่อัครสาวกของท่านได้กล่าวถึง

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


คุณสมบัติของท่านศาสดาว่า “ท่านคือผู้ที่มีตรรกะที่เป็นธรรมและแนวทางที่ แยกสัจธรรมออกจากความเป็นโมฆะ” ท่านศาสดาเป็นบุคคลที่มีความยุติธรรมที่สุดใน ระหว่างประชาชนและนับเป็นเวลาถึงยีส่ บิ สามปีทที่ า่ น และดวงจิตและแนวความคิดทัง้ หลายทีไ่ ด้รบั การอบรม จากวิถขี องท่านศาสดาได้แสดงให้ชาวโลกเห็นถึงความ ยุติธรรมในทุกๆดด้าน ดังนั้นความยุติธรรมเป็นสาระ ส�ำคัญของแนวทางของท่านในฐานะเป็นหลักการพื้น ฐานและเป็นทิพย์แห่งความดี อีกทัง้ เป็นคุณสมบัตขิ อง ความศรัทธาขั้นสูง สังคมใดก็ตามทีบ่ ริหารจัดการด้วยพืน้ ฐานความ ยุติธรรมคือสังคมที่เข็มแข็งและทรงคุณค่า และหาก สังคมใดไม่ได้ขบั เคลือ่ นด้วยหลักการนีค้ ณ ุ ค่าต่างๆ ต้อง ถูกท�ำหลายและจะเป็นสังคมทีต่ อ่ ต้านคุณค่าต่างๆของ ความเป็นมนุษย์ และยังเป็นสถานที่ของผู้กดขี่ ปล้น สดม ริดรอนสิทธิของผู้อื่น เราอาจสามารถที่จะพูดได้ ว่า คุณค่าของสังคมหนึ่งขึ้นอยู่กับศักยภาพของศาล ยุติธรรมของสังคมนั้น 4.เมตตาโอบอ้ อมอารี และอยู่กับประชาชน แบบฉบับของท่านศาสดา(ศ็อลฯ)อย่างหนึ่งต่อ ประชาชนทั้งที่เป็นมุสลิมและต่างศาสนาคือความมี

เมตตาและโอบอ้อมอารีอย่างบริสทุ ธิใ์ จ ท่านมองผูท้ ตี่ อ่ ต้านท่านว่าเป็นผูท้ มี่ อี าการป่วยซึง่ จ�ำเป็นต้องรักษาและ เห็นอกเห็นใจส�ำหรับการเยียยารักษาและแพทย์ต้องรู้ ถึงอาการของเขาจึงจะรักษาเขาได้ดี และท่านศาสดา (ศ็อลฯ)มองศรัทธาชนว่า เขาจะต้องมีการระมัดระวังตน ตัง่ มัน่ อยูบ่ นปัญญา ไม่ประมาทเพือ่ ให้จติ ศรัทธาเจริญ เติบโตสูร่ ะดับจิตศรัทธาขัน้ สูง อันเนือ่ งด้วยสาเหตุนี้ ท่าน ศาสดา(ศ็อลฯ)จึงสร้างความสัมพันธ์อันแนบสนิทและ ความรักกับพวกเขาด้วยความบริสุทธิ์ใจ ความเมตตา และโอบอ้อมอารีตอ่ บรรดาผูห้ ลงทางในด้านของการสร้าง ความอ่อนโยนแก่จติ ใจและเตรียมการเพือ่ ให้หวั ใจของ พวกเขาหันมายอมรับการเชิญชวนสู่อิสลามและความ สัมพันธ์อันแนบแน่นต่อบรรดาศรัทธาชน ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า หนึ่งในยุทธศาสตร์การเผย แพร่ของท่านศาสดา(ศ็อลฯ) คือ การมีเมตตาและโอบ อ้อมอารีซึ่งเป็นเหมือนต้นไม้ที่ให้ผลผลิตที่รวดเร็วที่สุด และง่ายที่สุดมากกว่าแบบฉบับอื่นๆ ที่ถูกน�ำมาใช้ใน แนวทางการเผยแพร่จนกระทั่งว่าท่านได้รับฉายานาม ว่า “ศาสดาแห่งความเมตตา” 5.ให้ เสรี ภาพทางความเชื่อ เป็นไปได้ทคี่ วามเชือ่ อาจจะเกิดจากความคิดและ เป็นไปได้ที่จะเกิดจากการลอกเลียนแบบ ปฏิบัติตาม

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

13


ผูอ้ นื่ หรือเกิดจากจินตนาการไปเองหรือสร้างให้เกิดความ เชื่อมั่นเองหรือหลายร้อยพันอย่าง ความเชื่อที่มิได้เกิด จากปัญญาและความคิด , เป็นแค่ปฏิกริ ยิ าทางจิตวิทยา เท่านัน้ กล่าวคือ เป็นสถานการณ์ตอ่ เนือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับ เรือ่ งทางจิตวิญญาณ ในมุมมองของอิสลามไม่อนุญาต ให้ใครถูกพันธนาการไว้ด้วยสถานการณ์ต่อเนื่องเหล่า นี้ แม้ว่าจะเป็นในลักษณะที่บุคคลคนนั้นคล้องโซ่แห่ง พันธนาการนี้ไว้ด้วยกับมือของตนเองก็ตาม ดังนั้นเรื่องเสรีภาพทางความเชื่อมีความหมาย ที่กว้าง เรื่องเสรีภาพทางความคิดและเสรีภาพของ การศรัทธา หมายถึงว่า ทุกคนต้องท�ำการค้นคว้าและ คิดเกี่ยวกับการศรัทธาในการได้สิ่งนั้นมา แนวทางของ ท่านศาสดา(ศ็อลฯ)และอัลกุรอานคือการต่อสู้ส�ำหรับ การที่จะขจัดอุปสรรคที่ขัดขวางเสรีภาพทางสังคมและ ความคิด ท่านศาสดามิได้กล่าวว่า “พวกท่านทั้งหลาย ต้องยอมรับอิสลาม” ดังนั้น หลักพื้นฐานมนุษยธรรม , ความเป็นมิตรไมตรี ความนุ่มนวล ความรักและหลีก เลี่ยงจากความหยาบกระด้างรุนแรงและการบีบบีงคับ และการหยัดเหยียดในเรือ่ งการศรัทธาอย่างไม่เป็นธรรม ( ไม่เกี่ยวกับอุปสรรคทั้งหลายทางสังคมและทางความ คิดของการศรัทธาซึ่งถือว่าเป็นประเด็นอื่น ) เป็นหลัก ของการเชิญชวนสู่อิสลาม หากแต่ว่า อัลกุรอานได้ระบุ

14

เกี่ยวกับเรื่องนี้ไว้อย่างชัดเจนว่า “ไม่มีการบังคับกันในเรื่องเกี่ยวกับศาสนา สิ่ง ที่ถูกต้องได้ถูกจ�ำแนกแยกแยะออกจากสิ่งที่ผิดเป็นที่ ชัดเจนแล้ว ดังนั้น ผู้ใดที่ปฏิเสธฏอฆูต และศรัทธาใน อัลลอฮ์ เขาก็ได้รับการสนับสนุนอันมั่นคงไม่มีวันขาด และอัลลอฮ์เป็นผู้ทรงได้ยิน ผู้ทรงรอบรู้” เพราะว่าธรรมชาติของการศรัทธาไม่ยอมรับการ บีบบังคับและการหยัดเหยียดความเชื่ออย่างไม่เป็น ธรรมและไม่สอดคล้องกับความหยาบกระด้าง ยังมีอีก โองการหนึ่งระบุว่า “ดังนัน้ จงตักเตือนเถิด เพราะแท้จริงเจ้าเป็นเพียง ผู้ตักเตือนเท่านั้น เจ้ามิใช่ผู้มีอ�ำนาจเหนือพวกเขา นอกจากผูท้ ผี่ นิ หลังให้และปฏิเสธศรัทธาเท่านัน้ อัลลอฮ์จะทรงลงโทษเขาซึ่งการลงโทษอันมหันต์” โอ้ ท ่ า นศาสนทู ต แห่ ง พระเจ้ า ! จงตั ก เตื อ น เถิดแก่ประชาชาติเถิด จงปลุกประชาชาติให้ตื่นขึ้น จากการหลับใหลเถิด จงเรียกให้พวกเขาตื่นเถิด จง ประกาศให้ประชาชาติได้รเู้ ถิด จงท�ำให้ประชาชาติเกิด ความตระหนักเถิด , จงเชิญชวนพวกเขาสู่ศาสนาเถิด “‫ ”انام انت مذکر‬เจ้าไม่มีฐานภาพอื่นนอกจากเป็น เพียงผู้ตักเตือนเท่านั้น , เจ้าไม่ได้เป็นผู้ที่มีอ�ำนาจ , คือ พระเจ้าไม่ได้แต่งตั้งท่านมาเพื่อที่จะใช้อ�ำนาจบังคับ

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


ขู่เข็ญให้พวกเขาเกิดศรัทธา “ นิตยสารรายสัปดาห์ TIME ฉบับวันที่ 15 กรกฎาคม 1974 หน้า 32-33 ได้ตีพิมพ์บทความเรื่อง Who Were History’s Great Leaders ? (ใครคือผู้ที่น�ำที่ยิ่งใหญ่ ของประวัติศาสตร์?) ของนักจิตวิเคราะห์ชาวอเมริกัน คนหนึ่งชื่อจูลส์ มาสเซอร์แมน (Jules Masserman) ซึ่งได้วางหลักเกณฑ์กว้างๆในการคัดเลือกไว้ว่าผู้ที่จะ เป็นผู้น�ำที่ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาลได้นั้น จะต้องปฏิบัติ หน้าที่ 3 ประการต่อไปนี้ให้ส�ำเร็จ นั่นคือ 1) ให้ความเป็นอยู่ที่ดีแก่ผู้ที่อยู่ใต้การปกครอง 2) สร้างระเบียบทางสังคมที่ท�ำให้คนที่อยู่อาศัย ในนั้นมีความรู้สึกมั่นคงปลอดภัย 3) สร้างระบบความเชื่ออย่างหนึ่งให้แก่สังคม หลังจากก�ำหนดหลักเกณฑ์ที่จะตัดสินว่าใคร สมควรที่จะได้ชื่อว่าเป็นสุดยอดของมหาบุรุษโลกผู้ยิ่ง ใหญ่แล้ว นายจูลส์ มาสเซอร์แมนก็ไดแสดงความเห็น โดยอาศัยหลักเกณฑ์ดังกล่าวข้างต้นเป็นพื้นฐานการ พิจารณาว่า :- “คนอย่างหลุยส์ ปาสเตอร์และซอล์ค เป็น ผูน้ ำ� ในข้อแรก ส่วนคนอย่างคานธีและขงจือ๊ ในด้านหนึง่ และคนอย่างอเล็กซานเดอร์ ซีซา่ ร์และฮิตเลอร์ในอีกด้าน หนึง่ นัน้ เป็นผูน้ ำ� ในข้อทีส่ องและในข้อทีส่ าม ส�ำหรับพระ เยซูและพระพุทธเจ้านั้นก็เป็นผู้น�ำในข้อที่สามเท่านั้น แต่คนที่เป็นผู้น�ำที่ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาลก็คือมุฮัมมัด ผู้ท�ำหน้าที่ทั้งสามได้ครบ ถึงแม้โมเสสจะท�ำได้เหมือน กับมุฮัมมัด แต่ก็ยังน้อยกว่า” หลังจากนัน้ อีกสีป่ ี คือใน ค.ศ.1978 ก็มหี นังสือออก มาอีกเล่มหนึ่งชื่อ The 100 – A Ranking of The Most Influential Persons in History ( 100 ล�ำดับบุคคลผู้มี อิทธิพลที่สุดในประวัติศาสตร์) ซึ่งเขียนโดยนายไมเคิล เอช. ฮาร์ท (Michael H. Hart) นักดาราศาสตร์ชาว อเมริกนั และเป็นหนังสือทีข่ ายดีทสี่ ดุ เล่มหนึง่ ในเวลานัน้ หนังสือเล่มนี้ได้จัดล�ำดับบุคคลส�ำคัญๆในแขนงสาขา ต่างๆจ�ำนวน 100 คนที่เขาเห็นว่าเป็นผู้ที่ทรงอิทธิพล

ที่สุดในประวัติศาสตร์ แต่ในที่นี้จะน�ำมากล่าวเพียง 20 ล�ำดับเท่านั้นคือ 1) นบีมุฮัมมัด 2) ไอแซค นิวตัน 3) พระเยซูคริสต์ 4) พระพุทธเจ้า 5) ขงจื๊อ 6) เซนต์ ปอล 7) ไซหลุน โยฮาน กูเต็นเบิร์ก 9) คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส 10) อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ 11) คาร์ล มาร์กซ 12) หลุยส์ ปาสเตอร์ 13) กาลิเลโอ 14) อริสโตเติล 15) เลนิน 16) โมเสส 17) ชาร์ส ดาร์วิน 18) ซีหวังตี 19) ออกัสตัส ซีซ่าร์ 20) เหมาเจ๋อตุง ในหนังสือเล่มนี้ นายไมเคิล เอช. ฮาร์ต ได้แสดง ความคิดเห็นข้อพิจารณาในการจัดล�ำดับมหาบุรษุ ของ โลกไว้หลายแง่หลายมุมด้วยกัน ลองมาดูวา่ เขาได้กล่าว ถึงท่านนบีมุฮัมมัดไว้อย่างไร 1) ประสบความส�ำเร็จสูงสุด “ทีผ่ มเลือกเอานบีมุ ฮัมมัดขึน้ มาเป็นอันดับหนึง่ ของรายชือ่ บุคคลผูม้ อี ทิ ธิพล ทีส่ ดุ ของโลกนัน้ อาจท�ำให้ผอู้ า่ นบางคนแปลกใจและบาง คนอาจจะสงสัย แต่ทา่ นเป็นคนเดียวในประวัตศิ าสตร์ที่ ประสบความส�ำเร็จสูงสุดทัง้ ในด้านศาสนาและด้านโลก วัตถุ” (หน้า 4 และ 33)

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

15


2) ผูท้ รี่ วมอาหรับได้เป็นครัง้ แรกในประวัตศิ าสตร์ “ชนเผ่าเบดูอนิ แห่งอารเบียเป็นเผ่าทีม่ ชี อื่ เสียงร�ำ่ ลือมาก ในเรื่องความเป็นนักรบที่ดุร้าย แต่เนื่องจากมีจ�ำนวน น้อยและแตกแยกเป็นก๊กเป็นเผ่าท�ำสงครามเข่นฆ่า กันอยู่ตลอดเวลา พวกอาหรับจึงไม่มีทางที่จะเปรียบ เทียบได้กับกองทัพที่ใหญ่กว่าของอาณาจักรต่างๆใน เขตการเกษตรที่เป็นหลักแหล่งแล้วในทางตอนเหนือ อย่างไรก็ตาม หลังจากที่ได้ถูกรวบรวมเข้าด้วยกันเป็น ครั้งแรกในประวัติศาสตร์โดยมุฮัมมัดและด้วยความ ศรัทธาอันแข็งแกร่งในพระเจ้าทีแ่ ท้จริงแต่เพียงพระองค์ เดีย ว กองทั พ อาหรับ เล็กๆเหล่า นี้ก็เริ่ม ท�ำการพิ ชิ ต ต่อเนื่องกันอย่างน่าประหลาดที่สุดในประวัติศาสตร์ มนุษยชาติ”(หน้า 34-35) 3) ผู ้ มี บ ทบาทส� ำ คั ญ ในการพั ฒ นาอิ ส ลาม “ประการแรก นบีมุฮัมมัดมีบทบาทส�ำคัญเป็นอย่างยิ่ง ต่อการพัฒนาอิสลามมากกว่าทีพ่ ระเยซูมตี อ่ การพัฒนา ศาสนาคริสต์ถงึ แม้วา่ พระเยซูจะเป็นผูท้ มี่ สี ว่ นส�ำคัญต่อ ค�ำสอนทางด้านจริยธรรมและศีลธรรมของศาสนาคริสต์ เซนต์ปอลต่างหากทีเ่ ป็นคนพัฒนาวิชาการคริสตศาสนา และเป็นคนเปลีย่ นแปลงศาสนาทีส่ ำ� คัญและเป็นผูเ้ ขียน เนื้อหาส่วนใหญ่ของคัมภีร์ใหม่ แต่อย่างไรก็ตาม นบี มุฮัมมัดก็เป็นผู้รับผิดชอบต่อทั้งศาสนศาสตร์และหลัก การทางศีลธรรมและจริยธรรมของอิสลาม นอกจากนัน้ แล้ว ท่านยังเป็นผู้มีบทบาทส�ำคัญในการเปลี่ยนแปลง ความเชื่อใหม่และในการวางรากฐานการปฏิบัติศาสน กิจของอิสลามด้วย” (หน้า 39) 4) ผูน้ ำ� ทางโลกและทางศาสนาทีม่ อี ทิ ธิพลยิง่ ใหญ่ “เนือ่ งจากกุรอานเป็นสิง่ ส�ำคัญต่อมุสลิมเช่นเดียวกับที่ คัมภีรไ์ บเบิลมีความส�ำคัญต่อชาวคริสเตียน อิทธิพลของ นบีมฮุ มั มัดผ่านทางคัมภีรก์ รุ อานจึงยิง่ ใหญ่มาก ดังนัน้ มันจึงเป็นไปได้ที่อิทธิพลของนบีมุฮัมมัดต่ออิสลามจะ ยิ่งใหญ่กว่าอิทธิพลของพระเยซูและเซนต์ ปอลที่มีต่อ ศาสนาคริสต์รวมกันเสียอีก” “ยิ่งไปกว่านั้น มุฮัมมัด

16

ยังเป็นผู้น�ำทางโลกและทางศาสนาด้วยซึ่งไม่เหมือน กับพระเยซู ความจริงแล้ว ในฐานะที่เป็นพลังผลักดัน อยู่เบื้องหลังการพิชิตของชาวอาหรับ ท่านน่าที่จะอยู่ ในต�ำแหน่งผู้น�ำทางการเมืองที่มีอิทธิพลที่สุดในทุกยุค ทุกสมัยเสียด้วยซ�้ำ” “ในเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ ที่ส�ำคัญๆ บางคนอาจพูดว่าเหตุการณ์นั้นเป็นเรื่องที่ หลีกเลี่ยงไม่ได้และมันเกิดขึ้นมาเองถึงแม้ว่าจะไม่มี ผูน้ ำ� ทางการเมืองคนใดคนหนึง่ มาน�ำทางเหตุการณ์นนั้ ตัวอย่างเช่น อาณานิคมอเมริกาใต้อาจจะได้รบั เอกราช จากสเปนก็ได้ถึงแม้ว่าจะไม่มีคนอย่างไซม่อน โบลิวาร์ แต่กรณีเช่นนี้จะน�ำมาใช้กับการพิชิตของพวกอาหรับ ไม่ได้ เพราะไม่มีสิ่งใดเช่นว่านี้เกิดขึ้นก่อนนบีมุฮัมมัด และไม่มีเหตุผลใดที่จะเชื่อว่าการพิชิตของพวกอาหรับ จะเกิดขึ้นได้หากปราศจากนบีมุฮัมมัด”(หน้า 39-40) 5) บุคคลเดียวที่มีอิทธิพลที่สุดในประวัติศาสตร์ มนุษยชาติ “ดังนัน้ เราจะเห็นว่าการพิชติ ของพวกอาหรับ ในศตวรรษที่ 7 ยังมีบทบาทส�ำคัญต่อไปในประวัตศิ าสตร์ มนุษยชาติเรือ่ ยมาจนกระทัง่ ปัจจุบนั ” “การรวมกันของ อิทธิพลทางโลกและศาสนาอย่างไม่มีอะไรมาเสมอ เหมือนได้นี้เองที่ท�ำให้ผมรู้สึกว่านบีมุฮัมมัดสมควรที่ จะถูกพิจารณาว่าเป็นบุคคลเดียวที่มีอิทธิพลที่สุดใน ประวัติศาสตร์มนุษยชาติ” (หน้า 40) พฤติ ก รรมที่ ส มบู ร ณ์ แ บบแห่ ง ความเมตตา ( Perfect Behavior of Mercy ) ในนิยามของค�ำว่า “ผู้น�ำที่ดี” คือนิยามที่ให้โดย เดมมิ่ง (Deming ) ซึ่งเขากล่าวว่า “ผู้น�ำที่ดี คือผู้น�ำ คือ ผู้ที่สามารถสร้างภาวะผู้น�ำให้เกิดแก่ผู้อื่น รับฟังประชาชนและอภัยต่อความผิดของพวก เขาเหล่านี้ ” ...ซึง่ มีสาระใกล้เคียงกับค�ำสอนอิสลาม ว่า “และเราไม่ได้สง่ เจ้ามาเพือ่ อืน่ ได้เว้นแต่เพือ่ เป็น ความเมตตาแก่สากลโลก” “เนื่องด้วยความเมตตาจากอัลลอฮ์นั่นเอง เจ้า (มุฮัมมัด) จึงได้สุภาพอ่อนโยนแก่พวกเขา และถ้าหาก

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


เจ้าเป็นผูป้ ระพฤติหยาบช้าและมีใจแข็งกระด้างแล้วไซร้ แน่นอนพวกเขาก็ยอ่ มแยกตัวออกไปจากรอบ ๆ เจ้ากัน แล้ว ดังนั้นจงอภัยให้แก่พวกเขาเถิด และจงขออภัยให้ แก่พวกเขาด้วย และจงปรึกษาหารือกับพวกเขาในกิจการทัง้ หลาย ครั้นเมื่อเจ้าได้ตัดสินใจแล้ว ก็จงมอบหมายแด่อัลลอฮ์ เถิด แท้จริงอัลลอฮ์ทรงรักใคร่ผู้มอบหมายทั้งหลาย” ดังนั้นสรุปได้ว่าแท้จริงศาสนาเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และเป็นทีเ่ คารพบูชาของแต่ละศาสนิกและเป็นสิง่ สากล สูงสุดมีจุดร่วมและจุดต่าง มีค�ำสอนที่เป็นหลักศรัทธา และความเชือ่ และแท้จริงแล้ว อุดมการณ์อนั สูงสุดของ ศาสนาทั้งหลายที่ยิ่งใหญ่ของโลกคือน�ำพามนุษย์ไป สู่ความรอดพ้น จากความชั่วร้ายทั้งด้านปัจเจกบุคคล และด้านสังคม โดยการเข้าสูว่ ถิ ชี วี ติ แห่งธรรมะและเป็น วิถีธรรมชาติ วิถีแห่งความประพฤติปฏิบัติธรรมตาม แนวทางศาสนาตนอย่างบริสุทธิ์ใจ ปัจเจกบุคคลเหล่า นั้นก็จะไม่เบียดเบียน ไม่นิยมความรุนแรง ไม่กดขี่ขม เหงรังแกและจะเข้าสูห่ น้าทีอ่ นั เป็นภารกิจสูงสุดแห่งชีวติ มนุษย์ สังคมทั้งหลายก็จะเปลี่ยนสภาพโดยอัตโนมัติ เข้าสู่ธรรมสถานสูงสุดซึ่งเรียกในภาษาบาลีว่า สภาพ “อสังขตธรรม” แล้วมนุษย์ก็จะอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข บรรณานุกรม กีรติ บุญเจือ. อรรถปริวรรต คูเ่ วรคูก่ รรม ปรัชญา หลังนวยุค กรุงเทพฯ. พิมพ์ที่ โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ปีที่พิมพ์ พศ. ๒๕๔๙ คณาจารย์คณะอุศูลุดดีน สถาบัน ดัรรอเฮฮัก เมืองกุม แปล เชคซัยนุลอาบีดีน ฟินดี้ รากฐานศาสนา อิสลาม กรุงเทพฯ .ศูนย์วัฒนธรรมอิสลามแห่งอิหร่าน ประจ�ำกรุงเทพฯ ปีที่พิมพ์ พศ.๒๕๔ เชคชะรีฟ ฮาดียฺ ค�ำสอนจากนะฮญุลบะลาเฆาะฮ กรุงเทพฯ, สถานศึกษา ดารุลอิลมฺ มูลนิธิ อิมามคูอยี ์ ปี ที่พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๕๐

พีชวออี แปลโดย ไซม่า ซาร์ยดิ ภาพลักษณ์ทางการ เมืองของอิมาม ๑๒ พิมพ์ สถาบันศึกษาอัลกุรอาน รอซูลอัลอะอ์ซอม.ปีที่พิมพ์ ๒๕๕๑ วิวัฒน์วงศ์. บรรณาธิการ. สังคมวัฒนธรรมกับ สุขภาพ, หน้า 27-38. สงขลา : มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์. อบูอาดิลชะรีฟ อัลฮาดีย์ 2548 การก�ำเนิดส�ำนัก ต่างๆในอิสลาม กรุงเทพฯ :ศูนย์วฒ ั นธรรมสถานเอกอัคร ราชทูต สาธารรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ประจ�ำกรุงเทพฯ อยาตุลลอฮ์ ญะอ์ฟัร ซุบฮานี แปลโดย อบูอาดิ ล ชะรีฟ อัลฮาดีย์ 2548 ชีอะฮ์ในประวัติศาสตร์อิสลาม กรุงเทพฯ : The Ahl al bayt a.s World Assembly อัลลามะฮ ฎอบะฎอบาอีย์ แปลโดย เชคชะรีฟ เกตุสมบูรณ์ 2548 ชีอะฮ์ในอิสลาม กรุงเทพฯ :สถาบัน ส่งเสริมการศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับอิสลาม อ้างอิงจากเว็ปไซต์ www.al shiah .com ภาค ภาษาไทย Ayatullah Javadi Amoli. Imam Khomaini Qom Iran : Isra Publication Center 1384 Ayatullah Misbah Yazdi. Jami ah wa Tareek. Qom Iran : Sazman Tabliqat 1372 Ayatullah Javadi Amoli. Falsafah Hukok Bashar. Qom Iran : Isra Puplication Center 1382

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

17


บทความโดย เชค มุฮัมมัด มุห์ซิน อัฏฏ็อบซีย์

บทเรียนจาก บุคลิกภาพของ

ท่านอิมามริฏอ (อ.) อิมามอะลี บิน มูซา อัร-ริฎอ (อ) เป็ นลูกหลานของท่ านศาสนทูตแห่ งอัลลอฮ์ (ศ) ท่ านเป็ นอิมาม ที่ 8 ในบรรดาอิมามผู้สทิ ธิชอบธรรมในต�ำแหน่ งคอลีฟะฮ์ (ตัวแทน)แห่ งศาสดาของพระผู้เป็ นเจ้ า ความ จริงข้ อนี ้ คือ ท่ านเป็ นรั ศมีแสงสว่ าง ซึ่งให้ ความจ�ำเริญแก่ มัซฮับชีอะฮ์ อย่ างมากมาย อีกทัง้ ยังได้ แผ่ ไป ยังมัซฮับต่ างๆของซุนนีอีกด้ วย ทัง้ นีก้ เ็ นื่องจากได้ มีบุคคลต่ างๆ ที่สังกัดมัซฮับเหล่ านัน้ ได้ กล่ าวสดุดี ยกย่ องและเทิดเกียรติท่านอิมามไว้ อย่ างสูง ดังที่บรรดานักปราชญ์ ของพวกเขาได้ บนั ทึกเรื่ องนัน้ ๆ ไว้ ในต�ำราต่ างๆ และถึงแม้ ว่า จะได้ กล่ าวถึงเรื่ องราวที่เป็ นเกียรติยศต่ างๆของนักปราชญ์ แห่ งวงศ์ วาน ศาสดมุฮัมมัด (ศ) พวกเขาก็มไิ ด้ อธิบายฐานภาพตามความเป็ นจริงของท่ าน หากแต่ เป็ นการยอมรั บ ของพวกเขา ตามที่ได้ ให้ ทศั นะและให้ การยอมรั บความส�ำคัญของอิมามท่ านนี ้ แน่ นอน บรรดานักปราชญ์ อะฮ์ ลิซซุนนะฮ์ บางท่ านได้ แสดงจุดยืนในการยอมรั บ และมีค�ำพูด ยืนยันของพวกเขาต่ อความเป็ นจริงบางประการ ในเรื่ องของดวงประทีปที่สว่ างไสวโดยอิมามริฎอ (อ) เมื่อครัง้ ท่ านยังมีชีวติ อยู่ และหลังจากท่ านได้ พลีชีพวายชนม์ ไปแล้ ว ด้ วยเหตุนี ้ จึงมีความจ�ำเป็ นในการ รวบรวมมรดกทางวิชาการอันทรงคุณค่ าเหล่ านี ้ และจ�ำเป็ นต้ องให้ ความเป็ นธรรมถึงแม้ ว่า ส่ วนมาก จะเป็ นเรื่ องราวที่ขาดตกบกพร่ อง และมิใช่ การแต่ งเรื่ องใดขึน้ มาตามที่ปรากฏในหนังสือบันทึกเรื่ อง ราวตามแนวทางและบรรทัดฐานของพวกเขา

18

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


วิถชี ีวติ ของอิมามริฎอ(อ) สายตระกูล ท่านอัซซัมอานีย์ อัชชาฟิอีย์ ได้อธิบายถึงสาย ตระกูลของอิมามอะลี ไว้วา่ “อะลี เป็นบุตรของมูซา บุตร ของญะอ์ฟัร บุตรของมุฮัมมัด บุตรของอะลี บุตรของ ฮุเซน บุตรของอะลี บุตรของอะบีฏอลิบ” เป็นที่แน่นอนอย่างชัดแจ้งแล้วว่า อิมามริฎอ(อ) คือ เชือ้ สายของท่านศาสนทูตผูย้ งิ่ ใหญ่ ดังทีท่ า่ นฮากิม อันนัยซาบูรยี ์ อัชชาฟิอยี ์ ได้ชแี้ จงไว้ โดยท่านได้กล่าวว่า “เหตุที่สายตระกูลของท่านอะลี บิน มูซา อัรริฎอ ประเสริฐยิง่ ก็เพราะท่านเป็นเชือ้ สายของมนุษย์ ที่ประเสริฐที่สุด นั่นคือ ศาสดามุฮัมมัด อัลมุศตอฟา (ศ็อลฯ) และนี่คือ ทัศนะของมัซฮับอะฮ์ลิซซุนนะฮ์ วัลญะมาอะฮ์ และทัศนะที่ตรงกันเป็นเอกฉันท์ของ บรรดาฟุกอฮาอ์แห่งเมืองฮิญาซ และผู้ใดคัดค้านค�ำ กล่าวนี้ แน่นอน เท่ากับเขาคัดค้านคัมภีรอ์ ลั กุรอานและ แบบอย่างของท่านศาสดา ต่อต้านหลักสัจธรรม และ ส�ำแดงความแข็งกร้าวต่อสองประมุขแห่งชายหนุม่ ชาว สวรรค์ และลูกหลานของท่านทั้งสอง จนถึงวันปรโลก” ในการอธิบายถึงเชื้อสายของอิมาม เป็นหลัก ฐานที่ยืนยันว่ามีขบวนการของพวกที่ต่อต้านบรรดา อะฮ์ลลุ บัยต์(อ)มาตัง้ แต่ในยุคประวัตศิ าสตร์ ทีพ่ ยายาม จะแยกบรรดาอะฮ์ ลุ ล บั ย ต์ อ อกจากท่ า นศาสนทู ต ผูท้ รงเกียรติ (ศ็อลฯ) ขณะเดียวกัน ก็เป็นหลักฐานแสดง ว่ามีกลุ่มบุคคลต่าง ๆ เช่น ท่านฮากิม อันนัยซาบูรีย์ อัชชาฟิอีย์ ที่พยายามยืนหยัดเพื่อต่อต้าน กับกระแส ของพวกที่ก่อความเสียหายเหล่านั้น พระนาม ฉายานาม และสมญานาม ท่านอิมามมีพระนามอันประเสริฐว่า อะลี และ เป็นบุคคลที่สาม ในจ�ำนวนของบรรดาอะฮ์ลุลบัยต์ ผู้ที่ ได้รบั การตัง้ ชือ่ นี้ ถัดจากอิมามอะลี อิมามซัจญาด อะลี บิน ฮุเซน (อ) เช่นเดียวกับทีไ่ ด้มกี ารบันทึกไว้ในรายงาน ของอะฮ์ลิซซุนนะฮ์

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

19


ฉายานามของท่านคือ อะบูฮะซัน เหมือนดังที่ ท่านอิมามกาซิม (อ) บิดาของท่านได้กล่าวไว้ว่า “บุตร ชายของฉัน เป็นผูไ้ ด้รบั ฉายานามเช่นเดียวกับฉายานาม ของฉัน”ถึงแม้จะมีบางท่านเข้าใจว่า ฉายานามของท่าน คือ อะบูบกั ร์ แต่นนั่ ก็เป็นเพียงส่วนน้อยนิด เพราะฉายา นามที่รู้กันอย่างแพร่หลายของท่าน คือ อะบุลฮะซัน” ท่านฆิยาซุดดีน อัชชาฟิอีย์ ผู้เป็นที่รู้จักในชื่อ ว่า “คุวานด์ อะมีร”กล่าวว่า สมญานามของท่านอิมาม อะลี ริฎอ(อ) มีหลายชื่อ และชื่อเหล่านี้ถือเป็นสมญา นามของท่านทัง้ สิน้ เช่น อัรริฎอ, อัลฮาชิมยี ,์ อัลอะละวีย์ , อัลฮุซยั นีย,์ อัลกุรชีย,์ อัลมะดะนีย์ อัลวะลีย,์ อัลฮะฟีย,์ อัศศอบิร,อัซากีย์, อัลกออิม และ ที่รู้อย่างแพร่หลาย คือ อัรริฎอ ใครเป็ นผู้มอบสมญานามค�ำว่ า อัรริฎอ ผู้รู้จ�ำนวนหนึ่งในฝ่ายอะฮ์ลิซซุนนะฮ์เชื่อถือว่า อั ล มะอ์ มู น แห่ ง ตระกู ล อั บ บาซี ย ์ เป็ น คนแรกที่ ใ ห้ สมญานามนี้ แ ก่ ท ่ า น เมื่ อ ครั้ ง ที่ ไ ด้ แ ต่ ง ตั้ ง ท่ า นให้ ด�ำรงต�ำแหน่งผู้ส�ำเร็จราชการเมื่อ ฮ.ศ ๒๐๑ แล้วตั้ง สมญานามให้เรียกท่านว่า ริฎอ แต่ทว่า มีบทรายงาน ของอะห์มัด บิน มุฮัมมัด บิน อะบี นัศรุล บัซซันตีย์ ซึ่ง อ้างว่า เป็นรายงานมาจากอิมามญะวาด โดยปฏิเสธ เรื่ อ งราวที่ แ อบอ้ า งเหล่ า นั้ น โดยมี ร ายงานบั น ทึ ก ว่า อิบนุ อะบี นัศรุล บัซซันตีย์ ได้กล่าวแก่อิมาม ญะวาด (อ) ว่า “มีคนกลุม่ หนึง่ ทีข่ ดั แย้งกับท่าน ได้แอบ อ้างว่า บิดาของท่าน ได้รับสมญานามจากมะอ์มูนว่า อัรริฎอ จากมะอ์มนู เมือ่ เขามีความพึงพอใจยกต�ำแหน่ง ผู ้ ส� ำ เร็ จ ราชการให้ ? ท่ า นตอบว่ า “พวกเขาโกหก ขอสาบานต่ออัลลอฮ์ และพวกเขาชัว่ ร้าย ความจริงแล้ว การที่อัลลอฮ์ ทรงขนานนามให้ท่านว่า อัรริฎอ ก็เพราะ ท่านเป็นทีพ่ งึ พอพระทัยของอัลลอฮ์ และเป็นทีพ่ งึ พอใจ แห่งศาสนทูตของพระองค์และบรรดาอิมามในแผ่นดิน ของพระองค์ภายหลังจากท่าน (ขออัลลอฮ์รงประทาน ความจ�ำเริญแด่ท่านเหล่านั้น” ในบทรายงานยังได้เล่า

20

ต่อไปอีกว่า “แล้วฉันได้กล่าวแก่ทา่ นว่า “บรรพบุรษุ ของ ท่านทุกคนในอดีตทีผ่ า่ นมา ต่างก็เป็นทีพ่ งึ พอพระทัยขอ งอัลลอฮ์และศาสนทูตของพระองค์ อีกทั้ง บรรดา อิมา มอยู่แล้วมิใช่หรือ ? ท่านตอบว่า “ใช่แล้ว” ดังนั้น ฉันยัง ได้ถามต่อไปว่า “แล้วท�ำไม บิดาของท่าน จึงได้รับการ ตั้งสมญานามว่า อัรริฎอ ท่ามกลางพวกเขาเหล่านั้น ด้วยเล่า..ท่านตอบว่า “เพราะว่า ท่านยังเป็นที่พึงพอใจ ของบรรดาศัตรูคู่ขัดแย้งของท่าน เช่นเดียวกับเป็นที่พึง พอใจของ ปวงมิตร ที่ให้การยอมรับต่อท่านเองด้วย” นักปราชญ์อะฮ์ลิซซุนนะฮ์บางท่าน ได้ยืนยันใน เรื่องนี้เช่นกัน อย่างเช่น ท่านญูวัยนีย์ อัชชาฟิอีย์ ท่าน อับดุรเราะห์มาน อัลญามีย์ อัลฮะนะฟีย์ อีกทั้งยังได้มี นักปราชญ์อีกบางท่านเขียนบทประพันธ์อธิบายเรื่อง ราวเหล่านี้เอาไว้ ดังมีความหมายต่อไปนี้ ว่า อิมามอะลี บิน มูซา อัรริฎอ เป็นผู้มีตระกูลอัน สูงส่ง เป็นผูป้ ระเสริฐส�ำหรับชาวอายัมและเป็นผูน้ ำ� ของ ชาวอาหรับ พระผู้เป็นเจ้าผู้สร้างสรรพสิ่งทั้งหลาย ทรง พอพระทัยต่อท่าน ดังนัน้ พระองค์จงึ ทรงให้สมญานาม เรียกท่านว่า ริฎอ บิดามารดาของอิมามริฎอ บิดาของท่านคือ มูซา บิน ญะอ์ฟัร อิมาม อัล กาซิม (อ) ส่วนชื่อของผู้เป็นมารดาผู้ทรงเกียรติของ ท่าน มีชอื่ ต่าง ๆ กัน บรรดานักปราชญ์กล่าวว่า นางเป็น หญิงรับใช้ และมีชอื่ เรียกขานกันหลายชือ่ เช่น สะกีนะฮ์ อัรวา ค็อยซะรอน,มะรีซยี ะฮ์ นัจมะฮ์ ยังมีบางท่านกล่าว ว่า นางมีสมญานามและฉายานาม ว่า ชุกรอุนนูบียฮ์ และอุมมุลบะนีน ควรจะกล่าวไว้ด้วยว่า ท่านมุฮัมมัด คอวาญิฮ์ บาร์ซา อัลบุคอรี อัลฮะนะฟีย์ ได้กล่าวถึงสถานะอัน สูงส่งของนางว่า “ปรากฏว่ามารดาของท่าน เป็นสตรีผู้ สูงศักดิใ์ นหมูช่ าวอาญัม เป็นสตรีคนหนึง่ ทีม่ สี ติปญ ั ญา ดีและ และเคร่งครัดศาสนาเป็นเลิศ

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


สถานที่ประสูติ ท่านอิมามริฎอ (อ) ประสูตหิ ลังจากปีทอี่ มิ ามญะอ์ฟรั ศอดิก (อ) พลีชพี (เป็นชะฮีด) ทีเ่ มืองมะดีนะฮ์ในวันศุกร์ แต่ทว่า ในการระบุถงึ ปีและวันประสูตขิ องท่านทีช่ ดั เจน ยังมีความเห็นขัดแย้งกันอยู่ มีบางท่านระบุว่า ปีที่ท่าน ประสูติ คือ ฮ.ศ ๑๔๓,๑๔๘,๑๕๑,และ ฮ.ศ ๑๕๓ และ บางท่านก็ได้ระบุว่า ท่านประสูติวันที่ ๖ ที่ ๗ และที่ ๘ เดือนเชาวาล ในหนังสือของอะฮ์ลซิ ซุนนะฮ์ ยังได้กล่าวถึงความ อัศจรรย์ที่ปรากฏเมื่อท่านประสูติอีกด้วย ซึ่งเราจะน�ำ มาเสนอในบทที่ ๖ ท่ านเสียชีวติ ตามปกติหรื อพลีชีพ ? ในประวัตกิ ารพลีชพี ของอิมามริฎอ(อ) ก็ยงั มีความ เห็นขัดแย้งกันอีกด้วย ดังที่ได้มีการกล่าวไว้ในหนังสือ ประวัติศาสตร์ต่อไปนี้ .. มีบางท่านกล่าวว่า เป็นวันเสาร์สดุ ท้ายของเดือน

ศอฟัร ฮ.ศ ๒๐๓ ในสมัยการปกครองของอัลมะมูน แห่ง ตระกูลอับบาซีย์ และนัน่ คือ ทีร่ กู้ นั อย่างแพร่หลายในหมู่ นักปราชญ์อะฮ์ลิซซุนนะฮ์ บางท่านก็กล่าวว่า เป็นวันที่ ๑ เดือนซอฟัร ฮ.ศ ๒๐๓ บ้าง(๒๖) คืนวันศุกร์ เดือนรอมฎอน ฮ.ศ ๒๐๓ บ้าง วันที่ ๕ เดือนซุลฮิจญะฮ์ ฮ.ศ ๒๐๓ บ้าง วันที่ ๑๓ เดือนซุลกิอ์ดะฮ์ ฮ.ศ ๒๐๓ บ้าง และบ้างก็ว่า ฮ.ศ ๒๐๒ อิมามริฎอ(อ)พลีชพี เป็นชะฮีดเมือ่ อายุ ๕๐ ปีโดย ประมาณ(๓๑) แต่ทว่า ในการกล่าวถึงรายละเอียดของ อายุขยั ของท่าน ก็ยงั เป็นเรือ่ งทีข่ ดั แย้งกัน มีผรู้ บู้ างท่าน กล่าวว่า ท่านเป็นชะฮีดเมื่ออายุ ๔๔ ปี อีกส่วนหนึ่ง ก็ กล่าวว่า ๔๗ ปี ๔๙ ปี ๕๐ ปี ๕๓ปี ในสมัยการปกครอง โดยอ�ำนาจของ มะอ์มนู ตระกูลอับบาซีย์ ท่านได้เสียชีวติ ที่ ต�ำบลซะนาบาด ซึง่ ขึน้ กับนูกอน เมืองย่อยของเมืองฏูซ ซึง่ มะอ์มนู สัง่ ให้ฝงั ท่านใกล้ ๆ กับสุสานของฮารูน รอชีด มีการกล่าวถึงรายงานเกี่ยวกับความมหัศจรรย์

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

21


ที่ปรากฏในวาระการเป็นชะฮีดของอิมาม และมีการ เล่าขาน และถามไถ่กันภายหลังจากท่านได้พลีชีพไป แล้ว ดังที่เราจะได้น�ำเสนอในบทที่ ๖ ความเห็นของนักปราชญ์ อะฮ์ ลิซซุนนะฮ์ ถึงแม้ว่าจะมีค�ำยืนยันอย่างชัดเจนของอิมาม ริฎอ(อ)ในหลายเหตุการณ์ตลอดชีวติ อันทรงเกียรติของ ท่าน ว่า “ฉันจะถูกสังหารด้วยยาพิษอย่างอธรรมและจะ ถูกฝังในต่างแดน” “แท้จริง ฉันจะถูกสังหาร ถูกวางยา พิษ จะถูกฝังในต่างแดน”และท่านได้กล่าวว่า “แท้จริง แล้ว มะอ์มูน คือคนสังหารท่าน” และเช่นเดียวกัน นี้ ก็ยังมีการยืนยันโดยนักปราชญ์อาวุโสของอะฮ์ลิซ ซุนนะฮ์ เช่น ดร.กามิล มุศฏอฟา อัชชัยบีย์ ที่ได้กล่าว ว่า “ท่านริฎอ เสียชีวิตด้วยสาเหตุถูกวางยาพิษ ตามที่ นักประวัติศาสตร์ส่วนมากได้ให้ความเห็น” แต่ทว่า ยัง มีนกั ปราชญ์บางท่านได้บดิ เบือนความจริงข้อนี้ โดยได้ กล่าวอ้างไปยังเรื่องราวที่ไม่เหมาะสม และสร้างภาพ การเสียชีวิตของ อิมามริฎอ(อ)ให้เป็นไปในรูปต่างๆ ดัง ประโยคบอกเล่าของพวกเขาเหล่านั้น เช่น..

22

อิบนุญะรีร อัฏฏ็อบรีย์ และท่านอื่นๆ อีกเชื่อว่า สาเหตุการเสียชีวติ ของอิมามริฎอ(อ) คือ ท่านรับประทาน ผลองุ่นมากเกินไป ทั้งนี้ โดยมิได้ค�ำนึงถึงความเป็น จริงใดๆของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ เขาได้กล่าว ว่า “แท้จริง ท่านอะลี บิน มูซา อัรริฎอ รับประทานผล องุ่นมากเกินไป ดังนั้น ท่านจึงเสียชีวิตอย่างกะทันหัน” นักปราชญ์บางกลุ่มก็เชื่อไปตามค�ำพูดนี้ เช่น อิบนุ อัลอะซีร อัชชาฟิอยี ,์ ชัมซุดดีน บิน ค็อลกาน อัชชาฟิอยี ,์ อิบนุลเญาซีย์ อัลฮัมบะลีย,์ อะบุลฟิดาอ์ อัดดะมัชชะกีย์ อัชชาฟิอีย์, และอิบนุกะซีร อัดดะมัชชะกีย์ อัชชาฟิอีย์ ตรงกั น ข้ า มกั บ นั ก ปราชญ์ อี ก กลุ ่ ม หนึ่ ง ของ พวกเขาเอง ที่ตั้งข้อสงสัยต่อค�ำกล่าวของอิบนุญะรีร อัฏฏ็อบรีย์ เช่น อัลยาฟิอีย์ อัชชาฟิอีย์,มัซกุวัยยะฮ์, มุฮัมมัด คอวาญิฮ์ บารซา อัลฮะนะฟีย์,จนเป็นเรื่องที่ ท�ำให้พวกเขา ถกเถียงกันในเรื่องสาเหตุการเสียชีวิต หรือการพลีชีพ มิสกูวัยฮ์ ได้รายงานว่า “ตามเรื่องราวที่ เล่าขานกันมา ก็คือ ท่านรับประทานลูกองุ่นมาก ท่าน จึงเสียชีวิตอย่างกะทันหัน”

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


ส่วนมุฮัมมัด คอวาญิฮ์ บาร์ซา อัลฮะนะฟีย์ ได้ให้ทัศนะของ เขาอีกด้านหนึ่งเป็นการส่วนตัวว่า เป็นการเสียชีวิตตามปกติหรือพลี ชีพ ด้วยการกล่าวค�ำคัดค้านและตอบโต้กับข้ออ้างเหล่านี้ ขณะเดียวกัน ยังมีนักปราชญ์อีกกลุ่มหนึ่ง เช่น อิบนุฮะญัร อัลฮัยษะมีย์ อัชชาฟิอีย์ และฟัฎล์ บิน รูซบะฮาน อัลคุนญีย์ อัลอิศฟะ ฮานีย์ อัลฮะนะฟีย์ ยืนยันว่า อิมามริฎอเสียชีวิตอย่างกะทันหัน เนื่องจากถูกยาพิษที่มากับลูกทับทิมหรือองุ่น แต่เขาทั้งสองมิได้เปิด เผยต่อไปว่าเป็นการลอบสังหาร ส่วนในกลุม่ ทีส่ าม ได้ให้ทศั นะในเชิงตัง้ ข้อสงสัยและคลางแคลง ใจต่อมะมูน ว่า โดยลักษณะของเขา จะเป็นผู้สังหารอิมามริฎอ (อ) และพวกเขายอมรับว่า สาเหตุการเสียชีวิตอย่างกะทันหันของท่าน มาจากการถูกวางยาพิษ เช่น มัสอูดย์อัชชาฟิอีย์ ,อิบนุฏ็อกฏอกีย์ อัล มักรีซยี ์ อัชชาฟิอยี ,์ และนักปราชญ์รว่ มสมัยอีกส่วนหนึง่ เช่น ดร.ติรมานีย์ อัลมัสอูดีย์ อัชชาฟิอีย์ กล่าวว่า ในสมัยที่เขา (มะมูน) เป็น คอลีฟะฮ์ ท่านอะลี บิน มูซา อัรริฎอ ได้ถูกวางยาพิษที่เมืองฏูส และ อิบนุฏ็อกฏอกีย์ได้กล่าวว่า “แท้จริงมะอ์มูนนั้นได้วางพิษท่านในผล องุ่น” อัลมักรีซีย์ อัชชาฟิอีย์ ได้กล่าวว่า “มะอ์มูนได้ถูกตั้งข้อหาว่า วางยาพิษในผลองุ่น” แต่เขาได้ยืนยันนภายหลัง ว่า “มะมูนนั้นได้

ลอบวางยาพิษอิมามริฎอ” และอัตติร มานีนีย์ ได้เขียนไว้ว่า “มีคนกล่าวกัน ว่า แท้จริงมะอ์มูนนั่นเองที่ได้ลอบวาง ยาพิษท่าน” อี ก ด้ า นหนึ่ ง นั ก ประวั ติ ศ าสตร์ นักฮะดีษ ผู้มีชื่อเสียง เป็นส่วนมากได้ ยืนยันอย่างชัดเจนว่า มะอ์มูน เป็นผู้ สังหารอิมามริฎอ(อ) เช่น มุฮมั มัด บิน อะลี อัลฮัลบีย์ ซึง่ รูจ้ กั กันในชือ่ ว่า อิบนุลอะซีมยี ,์ อิบนุฮบิ บาน อัลบุซตีย์ อัชชาฟิอยี ,์ อัซซัม อานีย์ อัชชาฟิอีย์, อัศศอฟะดีย์ อัชชา ฟิอีย์, อะบุลฟะร็อจญ์ อัลอัศฟะฮานีย์, อั ล ฮากิ ม อั น นั ย ซาบู รี ย ์ อั ช ชาฟิ อี ย ์ , อัลมุก็อรรีซีย์ อัชชาฟิอีย์,ในหนังสือบาง เล่มของท่าน อิบนุศศิบาฆ อัลมาลิกีย์, อัชชิบลันญีย์ อัชชาฟิอีย์,มีร มุฮัมมัด อิบนุซซัยยิด บุรฮานุดดีน มีร คุวานด์ อัชชาฟิอยี ,์ ฆิยาซุดดีน อัชชาฟิอยี ์ คุวานด์, อับบาส บิน อะลี อัลมักกีย์ อัชชาฟิอีย์ อิ บ นุ ฮั บ บาน อั ล บั ซ ตี ย ์ อั ช ชา ฟิอีย์ ได้เขียนไว้ว่า “ท่านอะลี บิน มูซา ได้เสียชีวติ ทีเ่ มืองฏูซ จากสาเหตุทดี่ มื่ น�ำ้ ทีม่ ะอ์มนู ได้ยนื่ ให้ดว้ ยตัวเอง แล้วท่านก็ เสียชีวิตในชั่วโมงนั้น” ส่วนอีกแห่งหนี่ง เขาได้กล่าวว่า “แน่นอน ท่านถูกวางยา พิษในน�ำ้ ทิบทิม โดยมะมูนได้ให้ทา่ นดืม่ ” อัศศ็อฟดี อัชชาฟิอีย์ ได้กล่าว ในท�ำนองนี้เช่นกันว่า “ท่านได้ท�ำการ ปกครองร่วมกับมะอ์มนู จนกระทัง่ เขาได้ วางยาพิษในน�ำ้ ทับทิมให้ทา่ นดืม่ ตามที่ มีคนกล่าวกันว่า “เป็นการด�ำเนินงานของ ชาวตระกูลอับบาซีย์” มีรายงานมาจากอะบิล ฟะร็อจ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

23


อัลอัศฟะฮานีย์ กล่าวว่า “มะอ์มูนนั้น ได้มอบหมาย ต�ำแหน่งผู้ส�ำเร็จราชการให้เพื่อด�ำรงต�ำแหน่งภายหลัง จากตัวเอง ต่อมาก็ได้ลอบสังหารท่านเสีย ซึ่งภายหลัง จากนั้น ก็ถูกระบุว่า เป็นการวางยาพิษ ซึ่งท่านก็เสีย ชีวิตด้วยสาเหตุนั้น” เรื่ องราวการพลีชีพ ต้องไม่ลมื ว่า ฮากิม อันนัยซาบูรยี ์ อัชชาฟิอยี ์ เป็น คนแรกที่ถือว่า การเสียชีวิตของอิมามริฎอ(อ) เป็นการ พลีชีพ ดังที่ท่านฮากิม นัยซาบูรีย์ อัชชาฟิอีย์ ได้กล่าว ว่า “ท่านอะลี อิบนุ มูซา ได้พลีชีพ (เป็นชะฮีด) ที่แคว้น บุซนาบาด เมืองฏูซ” อิบนุศิบาฆ อัลมาลิกีย์ และฟัฎล์ บิน รูซบะฮาน อัลค็อนญีย์ อัลอัศฟะฮานีย์ อัลฮะนะฟีย์ ก็ได้เชื่อถือตาม ซึ่งทั้งสองท่านได้กล่าวว่า ท่านอะลี บิน มูซา อัรริฎอ(อ) เป็นชะฮีด และอีกตอนหนึ่ง ท่าน กล่าวว่า “อิมามอัลกออิม อันดับทีแปด และท่านเป็น ชะฮีด เนื่องจากถูกลอบวางยาพิษ” อัลกอฎี บะฮ์ญดั อัฟฟันดีย์ อัชชาฟิอยี ์ เชือ่ ถือว่า มะมูนเป็นคนสังหารอิมามริฎอ(อ) และสถานะของอิมาม ริฎอ นัน้ เป็นชะฮีด ดังทีเ่ ขาได้ยนื ยันอย่างชัดเจนว่า “เนือ่ ง จากมะอ์มนู กลัวว่า วิชาการของอะฮ์ลลุ บัยต์บยั ต์ และ แสงสว่างแห่งการชี้น�ำของอิมามริฎอ(อ) จะแพร่หลาย ดังนัน้ เขาจึงลอบสังหารท่านเสีย และข้าพเจ้ามัน่ ใจว่า เป็นแผนลวงของเขา ทัง้ นีก้ เ็ พราะว่าไม่สามารถรวมอยูใ่ น สถานทีเ่ ดียวกันได้ ระหว่างความอธรรมกับความยุตธิ รรม สัจธรรมกับความผิดพลาด วิชาความรูก้ บั ความโฉดเขลา นอกเหนือจากที่เราได้กล่าวไปแล้วว่า อิมาม ริฎอ (อ) ได้พลีชีพไปเพราะถูกวางยาพิษ ก็ยังจ�ำเป็นที่ จะต้องกล่าวด้วยว่า ความเชือ่ ว่า การเสียชีวติ ของท่าน เป็นไปโดยปกติวสิ ยั นัน้ ไม่สอดคล้องกับสติปญ ั ญา เมือ่ เราได้พจิ ารณาถึงเหตุการณ์ทางประวัตศิ าสตร์ เนือ่ งจาก อิมามริฎอ อ. อยูใ่ นสถานะทีเ่ ป็นอันตรายต่อมะมูนและ การปกครองของมะอ์มูนอย่างยิ่ง กล่าวคือ มะอ์มูน ไม่สามารถบรรลุถึงเป้าหมายของตนได้ ด้วยการ บีบ

24

บังคับอิมามให้ยอมรับต�ำแหน่งผู้ส�ำเร็จราชการ ฝ่าย พวกตระกูลอับบาซีย์ก็มีความโกรธเคืองท่านในสาเหตุ นั้นด้วย ส�ำหรับนักวิเคราะห์เพื่อหาข้อเท็จจริงจึงมิ อาจยอมรับการแอบอ้างเช่นนั้นได้เลยว่า ท่านอิมาม ริฎอ(อ) เสียชีวิตโดยปกติวิสัย อีกด้านหนึ่ง เราจะยอมรับได้อย่างไรว่า บุคคล หนึง่ เสียชีวติ ด้วยสาเหตุทรี่ บั ประทานผลองุน่ เข้าไปมาก ทัง้ ๆทีค่ นผูน้ นั้ มีอปุ นิสยั เป็นคนนอนน้อย ถือศีลอดเป็น ส่วนใหญ่ในชีวติ ประจ�ำวัน ตามบุคลิกลักษณะทีบ่ รรดา เครือญาติใกล้ชิดของเขาได้บอกเล่าไว้ ? สรุ ป ไม่มขี อ้ สงสัยใด ๆ อีกเลยว่า การเป็นชะฮาดัตของ อิมามริฎอ (อ) นัน้ เกิดขึน้ จากการทีม่ ะอ์มนู ได้สงั หาร โดย การวางยาพิษท่าน ด้วยฝีมอื ของเขาเอง ตามรายงานริวา ยะฮ์มากมายทีย่ อมรับและยืนยันโดยนักประวัตศิ าสตร์ เป็นจ�ำนวนมากของซุนนะฮ์วา่ ท่านได้พลีชพี โดยอ�ำนาจ ทางการเมืองของมะมูนมีสว่ นพัวพัน ดังนัน้ ทัศนะต่างๆ ทีไ่ ขว้เขวและไม่เป็นไปตามความเป็นจริงของบุคลิกภาพ อย่างเช่นของอิบนุค็อลดูน อัลมาลิกีย์ อะห์มัด อะมีน อัลมิศรีย์ อัชชาฟิอีย์ จึงไม่มีอะไรเหลือให้ตีความเพื่อ เบี่ยงเบนอีกต่อไป ลูกของอิมามริฎอ(อ) อิมามริฎอ(อ) มีบตุ รชาย ๕ คน ดังมีรายชือ่ ต่อไปนี้ ๑.อิมามอะบูญะอ์ฟัร มุฮัมมัด ตะกีย์ ๒. ฮะซัน ๓.อะลี ๔.ฮุเซน ๕.มูซา และมีบุตรหญิงคนเดียว ชื่อ ฟาฏิมะฮ์ ผู้ที่กล่าวเช่นนี้ คือ อัลฟัครุ รอซีย์ อัชชาฟิอีย์ บรรดานักประวัตศิ าสตร์ให้ความเห็นตรงกันว่า เชือ้ สาย ของท่านสืบทอดมาจากอิมามญะวาด นักปราชญ์อีกบางท่านกล่าวว่า ลูกของอิมาม ริฎอ นั้นได้แก่ มุฮัมมัด (อิมามญะวาด) และฮุเซน แต่ ซะร็อนดี อัลฮะนะฟีย์ กล่าวว่า “เรื่องที่ถูกต้องก็คือว่า ท่านไม่มีบุตรชาย บุตรหญิงเลย นอกจากมุฮัมมัด บิน อะลี อัตตะกียเ์ ท่านัน้ ท่านซัมอานีย์ อัชชาฟิอยี ์ ได้กล่าว

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


เพิ่มเติมว่า “สมญานามลูกหลานของอิมาม ริฎอ (อ) และเชื้อสายของท่าน ก็คือ ริฎวียีน” บุคลิกภาพของอิมามริฎอ (อ) สถานะของท่านในฐานะผู้บอกเล่ าบทรายงาน ตามทัศนะของอะฮ์ ลิซซุนนะฮ์ ถึงแม้ว่า โดยหลักความเชื่อของชีอะฮ์ จะถือว่า อิมามริฎอ (อ) มีสถานะสูงส่งทางวิชาการ และฮะดีษ เหตุที่ได้กล่าวเช่นนี้ ก็เพราะท่านคือ คอลีฟะฮ์ที่แปด ของท่านรอซูล (ศ็อลฯ) แต่ทว่า ในทัศนะของอะฮ์ลิซซุน นะฮ์ ได้จดั อันดับให้ทา่ นเป็นเพียงแค่นกั รายงานฮะดีษที่ เป็นชาวเมืองมะดะนะฮ์รนุ่ ตาบิอนี คนหนึง่ เท่านัน้ ท่าน ถูกจัดอยู่ในรุ่นที่แปด บางท่านกล่าวว่า อยู่ในรุ่นที่สิบ สถานะทางวิชาการ และการเป็นนักรายงานฮะดีษ ของอิมามริฎอ(อ) เป็นทีช่ ดั เจนอยูแ่ ล้วว่า ส�ำหรับทัศนะ ของอะฮ์ลิซซุนนะฮ์ ตามค�ำกล่าวของซะฮะบีย์ อัชชาฟิ อีย์ ระบุว่า ท่านเป็นที่อ้างอิงของเจ้าของต�ำราศิฮาฮุซ ซิตตะฮ์ เช่น ศอฮีฮ์ติรมิซีย์ อะบีดาวูด อิบนุมาญะฮ์ ใน ต�ำราประเภทสุนัน มีฮะดีษจากอิมามริฎอ(อ) ในเรื่อง ซะกาต เรื่องความศรัทธา และอื่น ๆ อีก และยังได้ถูก อ้างอิงอย่างจ�ำกัดอีกหลายฮะดีษ ไปบันทึกในต�ำราประ เภทสุนันและมุสนัดต่างๆ เช่น สุนันบัยฮะกีย์,สุนัน ดารุ กูฏนีย,์ มุสนัดชิฮาบ ในเรือ่ งซะกาตและความศรัทธา และ หัวข้อการวิเคราะห์ ด้านตัฟซีร และอัคลาก ท่านมุซซีย์ อัชชาฟิอีย์ได้กล่าวไว้ว่า “อิมามริฎอ (อ)ได้รับรายงานจากบรรดาผู้ทรงความรู้มากมาย เช่น บรรพบุรุษและบรรดาลุงของท่าน เช่น มูซา บิน ญะฟัร (อ) อิสมาอีล, อิสฮาก,และอับดุลลอฮ์ อีกทัง้ จากบรรดา ลูกๆของญะฟัร,อับดุรเราะห์มาน บิน อะบิล เมาลา และ คนอืน่ ๆ เช่นเดียวกับทีม่ บี คุ คลต่างๆ จ�ำนวนมาก ได้รบั รายงานจากท่าน เช่น อะบี ศิลัต อับดุสสลาม อัลฮัรวีย์, อะห์มัด บิน อามิร อัฏฏออีย์,อับดุลลอฮ์ อิบนิอับบาส อัลก็อซวีนีย์,อาดัม บิน อะบี อียาซ,อะห์มัด บิน ฮัมบัล, มุฮัมมัด บิน รอฟิอ์,นัศร์ อิบนิ อะลี อัลญะฮ์ฎอมีย์

อัลญะฮะนีย์,คอลิด บิน อะห์มัด อัซซะฮ์ลีย์,อิสฮาก บิน รอฮุวัยฮ์,อะบี ซุรอะฮ์ อัรรอซีย์, และมุฮัมมัด บิน อัสลัมอัฏฏูซีย์ ฯลฯ” ท่านอิบนุฮบิ บาน อัลบุสตีย์ อัชชาฟิอยี ์ (ฮ.ศ ๓๕๔) ได้กล่าวภายหลังจากทีไ่ ด้ยกย่องสถานะของอิมามริฎอ (อ)และเชือ้ สายของท่าน ดังถ้อยความต่อไปนี้ “ท่านอะ ลี บิน มูซา อัรริฎอ อะบูฮะซัน เป็นเจ้านายและปัญญา ชนในหมู่บรรดาอะฮ์ลุลบัยต์ เป็นผู้ทรงเกียรติในตระกู ลบะนีฮาชิม จ�ำเป็นต้องให้การยอมรับฮะดีษของท่าน ในเมื่อได้ถูกรายงานมาจากท่าน ท่านฮากิม นัยซาบูรีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๔๐๕) ได้ ก ล่ า วถึ ง ฐานภาพการเป็ น นั ก รายงานฮะดี ษ ของ อิมามริฎอ(อ) อีกเช่นกันว่า “มีนักปราชญ์ฮะดีษระดับ ผู้น�ำรับรายงานจากท่านหลายคน เช่น อาดัม บิน อะบี อัยยาซ,นัศร์ บิน อะลี อัลญะฮ์ฎอมีย์,และมุฮัมมัด บิน กอชีรีย์ และท่านอื่นๆ อีก” จ�ำเป็นจะต้องอธิบายตรงนีด้ ว้ ยว่า บรรดาบุคคล ต่างๆ เช่น ท่านอิบรอฮีม บิน อะบี มักร็อม อัลญะอ์ ฟะรีย์, อิบรอฮีม บิน ดาวูด อัลญะอ์กูบีย์ อิบรอฮีม บิน มูซา อะห์มัด บิน ฮะซัน อัลกูฟีย์ อัลอะซะดีย์,อิสมา อีล บิน ฮัมมาม อัลบัศรีย์,ท่านซัลญุ์ บิน อะบี ซัลญุล ยะกูบีย์, ญะอ์ฟัร บิน อิบรอฮีม อัลฮัฎรอมีย์, ญะอ์ฟัร บินซะฮัล, ญะอ์ฟัร บิน ชะรีก, ฮะซัน บิน อิบรอฮีม อัล กูฟีย์, ดะอ์บัล ค็อซซาอีย์,อับดุสสลาม บิน ศอลิห์,อะห์ มัด บิน อะลี อัรร็อกีย,์ ดาวูด บิน สุลยั มาน อัลญัรญานีย,์ ดาวูด บิน สุลัยมาน อัลฆอซีย์, พวกเขาเหล่านี้ ให้การ ยอมรับ บทรายงานและมิตรสหายของอิมามริฎอ (อ) ด้วย เช่นกัน แต่ทว่า อะฮ์ลิซซุนนะฮ์ กลับถือว่า บทรายงาน ต่างๆ ของพวกท่านขาดความน่าเชือ่ ถือ(ฎออีฟ)เนือ่ งจาก พวกเขาเป็นชีอะฮ์ หรือเป็นเพราะว่า คนเหล่านัน้ มีความ สัมพันธ์แนบแน่น กับอิมามริฎอ(อ) หรือเนื่องจากพวก เขาอ้างอิงฮะดีษต่างๆ โดยให้ความส�ำคัญและมีความ รู้สึกดีต่ออิมาม ริฎอ(อ)

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

25


ต�ำแหน่ งของท่ านตามวจนะของท่ านรอซูล ผู้ทรงเกียรติ (ศ็อลฯ) มีรายงานจากอิมามมูซา อัลกาซิม (อ) กล่าวว่า “ฉันฝันเห็นท่านรอซูลุลลอฮ์ (ศ็อลฯ) โดยมีท่านอะมีรุลมุมิ นีน อะลี (อ) อยู่กับท่านด้วย ท่านกล่าวว่า “โอ้มูซา บุตรของเจ้าจะมองเห็นโดยรัศมีของอัลลอฮ์ ผู้ทรงสูงส่ง และ เขาจะพูดโดยวิทยปัญญา เขาจะถูกต้องและไม่ผิดพลาด เขาจะมีความรู้และจะไม่โง่เขลา แน่นอน เขาจะได้รับ ความรู้และวิทยปัญญาอย่างเต็มเปี่ยม” ต�ำแหน่ งอิมามตามทัศนะของอะฮ์ ลิซซุนนะฮ์ ศตวรรษที่ ๒ ๑-ฮะซัน บิน ฮานีย์ ผู้เป็นที่รู้จักกันในชื่อว่า อะบี นูวาซ (ฮ.ศ ๑๙๖) บรรดาสหายของท่านได้กล่าวกับอะบี นุวาซ ในวันหนึ่งว่า “โอ้อะบูนุวาซ แน่นอน ท่านเองรู้ในสถานะของท่านอะลี บิน มูซา อัรริฎอ เป็นอย่างดี แล้ว ท�ำไมท่านจึงละเลยที่จะกล่าวยกย่องชมเชยเขา ทั้ง ๆ ที่ท่านเป็นสุดยอดนักกวีแห่งยุคสมัยที่ท่านมีชีวิตอยู่ ? เขา ได้ตอบคนเหล่านั้นว่า “ขอสาบานต่ออัลลอฮ์ ที่ฉันละเลยจากเรื่องนั้น ก็เพราะฉันให้เกียรติเขานั่นเอง เนื่องจาก ว่า ความสามารถของคนอย่างฉันไม่เพียงพอ ที่จะกล่าวถึงความยิ่งใหญ่ของท่าน..” แต่ทว่า ภายหลังจากนั้น ไม่ นาน เขาก็ได้กล่าวบทกวีบทหนึ่งขึ้นมา ดังนี้

26

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


“มีคนพูดกับฉันว่า เธอเป็นเก่งที่สุดในการเขียน บทกวีเตือนใจ เธอยอดเยี่ยมที่สุดในการสรรหาค�ำ มา ยกย่องชมเชย ให้มันผลิผลพรั่งพรูในมือของฉัน แล้ว เพราะเหตุใด ท่านจึงละเลยการยกย่องบุตรของมูซา และแง่มุมต่าง ๆที่รวมอยู่ในตัวเขา ? ฉันตอบว่า ฉันไม่ สามารถสรรหาค�ำมายกย่องอิมาม ผูซ้ งึ่ มี “ญิบรีล” เป็น ผู้รับใช้บิดาของเขาเลย” ท่านซัยยิด อับบาส อัลมักกีย์ อัลฮุซยั นีย์ อัชชาฟิ อีย์ นักกวีคนหนึง่ ของอะฮ์ลซิ ซุนนะฮ์ ได้กล่าวยกย่องบท กวีบทนี้ว่า “ไม่ต้องสงสัยเลยว่า ผู้ประพันธ์ร้อยแก้วอัน ล�ำ้ ค่าบทนี้ อัลลอฮ์จะทรงอภัยโทษให้แก่เขาในความผิด บาปที่ล่วงพ้นมาแล้วและที่จะมีต่อไปในหนหลัง” ท่านฮากิม นัยซาบูรีย์ อัชชาฟิอีย์ ได้กล่าวเช่น เดียวกันว่า “วันหนึ่ง อะบูนุวาซได้ออกมาจากเรือน ของเขา แล้วได้เห็นชายคนหนึ่งขี่พาหนะผ่านไป เขาได้ ถามถึงชายคนนั้น เพราะเขามิได้เห็นหน้า ได้มีคนตอบ ว่า นั่นแหละ อะลี บิน มูซา อัรริฎอ เขาจึงกล่าวบทกวี บทหนึ่งความว่า “ขณะที่ฉันส่งสายตาจ้องไปยังท่านจากที่ไกล ความสงสัยว่าจะเป็นท่านก็ได้ปรากฏขึน้ ขณะทีห่ วั ใจก็ ยืนยันหนักแน่น มาดแม้นว่า คนกลุม่ หนึง่ ยึดท่านเป็นผูน้ ำ� แน่นอนเครือ่ งหมายของท่านก็จะน�ำทางพวกเขาได้ แม้ กระทั่ง พาหนะที่ควบขี่ก็จะแสดงหลักฐานบ่งบอกได้” มีเรื่องเล่ากันมาว่า วันหนึ่ง อะบูนุวาซ ได้มอง เห็นอิมามริฎอ(อ) ในขณะที่ท่านขี่ฬ่อออกมาจากวังขอ งมะอ์มนู อะบูนวุ าซก็เดินเข้าไปให้สลามท่านแล้วกล่าว ว่า “โอ้บตุ รของท่านรอซูลลุ ลอฮ์ ข้าพเจ้าได้กล่าวเป็นกวี บทหนึง่ ในเรือ่ งของท่าน และข้าพเจ้าต้องการทีจ่ ะกล่าว ให้ท่านฟัง” ท่านอิมามริฎอ ตอบว่า “เชิญกล่าวมาเถิด” อะบูนุวาซก็ได้ร่ายบทกวีความว่า “เชือ้ สายของพวกเขาเป็นผูส้ ะอาดบริสทุ ธิ์ พรอัน จ�ำเริญได้ถกู ประทานแก่พวกเขา ไม่วา่ แห่งหนใดทีพ่ วก เขาถูกกล่าวถึง

“คนที่มิใช่เชื้อสายของอะลีนั้น เมื่อกล่าวถึงเชื้อ สายของเขา ก็จะไม่มีความภาคภูมิใจส�ำหรับตนมา ตั้งแต่ในยุคก่อนเก่า องค์อัลลอฮ์ ครั้นเมื่อทรงรังสรรค์สรรพสิ่งใด พระองค์จะทรงละเอียดถีถ่ ว้ น พระองค์ทรงช�ำระขัดเกลา และเลือกสรรพวกเขาแล้ว โอ้มนุษย์ทั้งหลาย พวกเขาเป็นมนุษย์ผู้สูงส่ง ขณะเดียวกัน กับมี ความรู้แห่งคัมภีร์ และเรื่องราวที่ถูกประทานมาในบท ต่างๆแห่งคัมภีร์” อิมามริฎอ(อ)ได้กล่าวว่า “แท้จริงเธอได้ประพันธ์ บทกวี ที่ยังไม่เคยมีใครสักคนเดียวประพันธ์ได้มาก่อน แล้วท่านได้กล่าวกับคนรับใช้วา่ เด็กน้อยเอ๋ย ค่าใช้จา่ ย ของเรามีอยู่ที่เธอบ้างไหม ? เขาตอบว่า “มีสามร้อยดี นาร” อิมามได้กล่าวกับคนรับใช้วา่ “จงมอบเงินจ�ำนวน นั้นให้เขาเถิด” หลังจากนั้นอิมาม(อ) ได้กล่าวว่า “หรือ ว่าบางที เงินจ�ำนวนนัน้ อาจน้อยเกินไป โอ้เด็กน้อย เธอ จงจูงฬ่อตัวนี้ไปมอบให้เขาเถิด” ศตวรรษที่ ๓ ๒-มุฮัมมัด บิน อุมัร อัลวากิดีย์ (ฮ.ศ ๒๐๗)ได้ กล่าวถึงอิมามริฎอ(อ)ว่า “เป็นผูว้ นิ จิ ฉัยความศาสนา ซึง่ ได้รับความเชื่อถือที่สุด ในมัสยิดของรอซูลุลลอฮ์ ขณะ ที่มีอายุเพียง ๒๐ ปี และนับว่าเป็นตาบิอีนรุ่นที่แปดใน หมู่ชนชาวเมืองมะดีนะฮ์ ๓-ท่านฮะซัน บิน ซะฮัล (ฮ.ศ ๒๑๕)ได้กล่าวว่า “แน่นอน มะมูนได้แต่งตั้งให้อะลี บิน มูซา เป็นผู้ส�ำเร็จ ราชการแทนเขา เพราะตามสายตาของเขามองว่า ในบร รดาชาวบะนีอับบาซีย์ และลูกหลานของอะลีนั้น ไม่มี ใครประเสริฐกว่า ส�ำรวมตนเหนือกว่า และมีความรู้สูง กว่า ท่านอะลี บิน มูซา” ๔- อัลมะมูน แห่งวงศ์อับบาซีย์ (๒๑๘) อัลมะ มูน (ผู้สังหารอิมามริฎอ)ได้กล่าวในขณะสนทนากับ เสนาบดีของเขา ผู้ชื่ออัลฟัฎล์ บิน ซะฮัล ในเรื่องของ อิมามริฎอว่า “ฉันไม่เคยรูเ้ ลยว่า จะมีใครสักคนทีป่ ระเสริฐ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

27


กว่า ชายคนนี้” ๕-อับดุลญับบาร บิน สะอีด (ฮ.ศ ๒๒๙) เมือ่ ครัง้ ทีอ่ มิ ามริฏอ(อ)ถูกบังคับให้รบั ต�ำแหน่งผูส้ ำ� เร็จราชการ อับดุลญับบาร บิน สะอีดได้เดินทางไปยังเมืองมะดีนะฮ์ ในปีเดียวกันนั้น เขาได้กล่าวในเหตุการณ์ครั้งส�ำคัญนี้ ว่า “ผู้ส�ำเร็จราชการปกครองบรรดาชาวมสุลิม คืออะลี บิน มูซา บิน ญะอ์ฟัร บิน มุฮัมมัด อิบนิ อะลี บิน ฮุเซน บิน อะลี บิน อะบี ฏอลิบ (อ) หลังจากนั้น เขาได้กล่าว บทกวีความว่า “บรรพบุรุษของเขา ๖ รุ่นที่ผ่านไป พวกเขาล้วน เป็นผูป้ ระเสริฐ เนือ่ งจากได้ดมื่ น�ำ้ ฝนแห่งเมฆอันบริสทุ ธิ”์ ท่านอัลเมาซุลีย์ อัชชาฟิอีย์ ได้กล่าวสนับสนุน ว่า “ค�ำสรรเสริญของผู้กล่าวเป็นของอัลลอฮ์” ๖-อะบูศิลัต อัลฮัรวีย์ (ฮ.ศ ๒๓๖) อัลบัดคอชีย์ อัลฮินดีย์ อัลฮะนะฟีย์ ได้อ้างค�ำพูดจากอะบีสิลัตว่า “ฉันไม่เคยเห็นใครมีความรู้เหนือกว่า อะลี บิน มูซา อัร ริฎอ และไม่มีผู้รู้คนใดเมื่อได้เห็นท่านแล้ว จะไม่ยืนยัน เหมือนอย่างค�ำยืนยันของฉัน ๗-อิบรอฮีม บิน อับบาส อัศศูลีย์ (ฮ.ศ ๒๔๓) อิ บรอฮีม บิน อับบาส ได้ประพันธ์บทกวี เป็นการสดุดีอิ มามอะลี ริฎอ (อ)ภายหลังจากทีท่ า่ นได้ถกู แต่งตัง้ ให้รบั ต�ำแหน่งผู้ส�ำเร็จราชการ บทหนึ่ง ความว่า “ความทุกข์ใจมิได้สูญสลาย นับตั้งแต่หลังจาก มีการฟาดฟัน ต่อสู้กับ บรรดาลูกหลานของศาสดามุ ฮัมมัด(ศ)” ท�ำนองเดียวกันนี้ เขาได้กล่าวไว้อาลัยอิมาม ภาย หลังจากล่วงลับไปแล้ว เนื่องด้วยความให้เกียรติและ ยกย่องอย่างสูง ความว่า “แท้จริง มันเป็นความทุกข์ระทม และความขมขืน่ โอ้บุตรของมูซา หลังจากสิ้นท่านไปแล้วดวงตาของฉัน ไม่เคยเหือดแห้งจากหยาดน�ำ้ ตา ความอดทนได้รบั การ ยกย่องสรรเสริญไปทัว่ ทุกแห่งหน ความอดทนทีจ่ ะร้องไห้ ให้แก่ท่าน และเราปวดร้าวยิ่งนัก”

28

เขายังได้กล่าวยกย่องครอบครัว และบรรพบุรุษ ของอิมามอะลี บิน มูซา อัรริฎอ(อ) อีกด้วยว่า “แน่นอนทีส่ ดุ เขาเป็นมนุษย์ทดี่ เี ลิศ ในความเป็น ตัวตนและเป็นบิดา ทัง้ เผ่าพันธุแ์ ละ บรรพบุรษุ ผูม้ เี กียรติยศอันสูงส่ง ความรูแ้ ละความเฉลียวฉลาด ได้มมี ายังพวกเรา โดยอาศัยท่าน ผู้เป็นอิมามที่แปด ท่านได้ท�ำหน้าที่เป็นหลักฐานของอัลลอฮ์ที่ถูก ปิดบังไว้” ๘-อะบูซรุ อะฮ์ อัลฮัมบะลีย์ (ฮ.ศ ๒๖๑)และมุฮมั มัด บิน อัสลัม อัฏฏูซยี (์ ฮ.ศ ๒๔๒) ทัง้ สองท่านนี้ เป็นนัก ปราชญ์ผู้มีชื่อเสียงของอะฮ์ลิซซุนนะฮ์ แห่งเมืองนัยซา บูร ในสมัยทีอ่ มิ ามริฎอเดินทางเข้าสูเ่ มือง เขาทัง้ สองได้ กล่าวต่ออิมามว่า “โอ้ทานประมุขผูส้ งู ส่ง บุตรของบรรดา ประมุขแห่งอิมามทั้งหลาย โดยสิทธิของบรรพบุรุษของ ท่านผูบ้ ริสทุธิ์ และบรรพชนของท่านผูท้ รงเกียรติ ขอเพียง ให้เราได้เห็นใบหน้าของท่านอันอิ่มเอิบ และให้ท่านได้ ถ่ายทอดฮะดีษจากบรรพบุรุษของท่าน ที่ได้รับมาจาก ศาสนดามุฮัมมัด ปู่ทวดของท่านให้แก่เราด้วยเถิด เพื่อ เราจะได้ระลึกถึงท่านด้วยเรื่องนั้น ๆ” ๙- อะห์มดั บิน ยะห์ยา อัลบะลาซุรยี ์ (ฮ.ศ ๒๗๙) หลังจากบุตรของอิมามได้เสียชีวิต อัลบะลาซุรีย์ก็ได้ เข้าไปพบท่าน เพื่อแสดงความเสียใจ พลางได้กล่าว ว่า “ท่านมีบุคลิกอันสูงส่งเกินจาก ที่เราเคยกล่าวถึง แน่นอน พวกเราบกพร่องอย่างยิง่ ต่อเกียรติยศอันสูงส่ง ของท่าน ต่อวิชาความรูข้ องท่านทีม่ อี ย่างมากมาย และ ต่อรางวัลตอบแทนทีอ่ ลั ลอฮ์ประทานให้เนือ่ งจากความ ทุกข์โศกของท่าน” ๑๐-อับบาส บิน มุฮัมมัด บิน ซูล(ศตวรรษที่ ๓ แห่งฮ.ศ) ท่านอิบรอฮีม บิน อับบาส ได้กล่าวว่า “ข้าพเจ้า ได้ยินมาว่า ท่านอับบาส บิน มุฮัมมัด บิน ซูล ผู้อยู่ร่วม สมัยกับอิมามริฎอ(อ) ได้กล่าวถึงอิมามริฎอ ว่า “ทุก เรื่องราวที่อัรริฎอถูกตั้งค�ำถาม ล้วนแต่เขาจะตอบได้

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


ทั้งสิ้น จนฉันไม่เห็นว่าจะมีใคร รู้มากกว่าเขา นับแต่แต่ อดีนต จนกระทัง่ มาถึงสมัยทีเ่ ขามีชวี ติ อยู่ มะอ์มนู เอง ก็ เคยทดสอบเขาด้วยค�ำถามต่างๆ ทุกเรือ่ ง แต่เขาก็ตอบ มะมูนด้วยค�ำตอบอย่างฉาดฉาน เขาเป็นคนทีน่ อนน้อย ถือศีลอดมาก โดยจะไม่ขาดการถือศีลอดเกินสามวันใน แต่ละเดือน และเขากล่าวว่า เป็นการถือศีลอดตลอดปี เป็นคนมีคณ ุ ธรรมอย่างมากมาย และบริจาคอย่างเงียบ ๆ โดยมากเขาจะกระท�ำเช่นนัน้ ในยามกลางคืนอันมืดมิด ในฤดูรอ้ น เขาชอบนัง่ บนเสือ่ ในฤดูฝนเขาจะนัง่ บนพืน้ ” ๑๑-อันเนาฟะลีย์(ศตวรรษที่ ๓แห่ง ฮ.ศ) ได้แต่ง บทกวีไว้บทหนึ่งเพื่อเป็นการยกย่องอิมามริฎอ ดังนี้ “ฉันได้เห้นชายผมหงอก ศตวรรษที่ ๔ ๑๒-อะบูบกั ร์ บิน คุซยั มะฮ์ อัชชาฟิอยี ์ (ฮ.ศ ๓๑๑) และอะบูอะลี อัษษะกอฟีย์ อัชชาฟิอีย์(ฮ.ศ ๓๒๘) ท่าน ฮากิม อันนัยซาบูรีย์ อัชชาฟิอีย์ กล่าวว่า “ฉันยินท่านมุ ฮัมมัด บิน มุอัมมิล บิน ฮะซัน บิน อีซา ได้กล่าวว่า “เรา ได้ออกไปพร้อมกับอิมามของบรรดานักฮะดีษ คือ อะบู บักร์ บิน คุซยั มะฮ์และสหายของเขาคือ อะบี อะลี อัษษะ กอฟีย์ พร้อมกับบรรดาเชคของพวกเรากลุ่มหนึ่ง ซึ่งใน ขณะนั้นพวกเขามุ่งหน้าจะไปเยี่ยมเยือนสุสานของท่า นอะลี บิน มูซาอัรริฎอ ที่เมืองฏูซ ท่านกล่าวว่า “ฉันได้ เห็นอิบนุคุซัยยะฮ์กระท�ำการให้เกียรติต่อสถานที่แห่ง นั้น ด้วยความนอบน้อม นับว่าเป็นเรื่องที่ท�ำให้ฉันฉงน สนเท่ห์อย่างยิ่ง มีขอ้ สังเกตอย่างหนึง่ คือ ประโยคค�ำพูดทีส่ มบูรณ์ ของผูร้ ายงาน(มุฮมั มัด บิน มุอมั มิล) ซึง่ เป็นทีน่ า่ เสียดาย ว่า นักรายงานอีกบางท่านมิได้น�ำมาอ้างถึง ตรงที่ท่าน กล่าวว่า “ณ มัชฮัดสถานแห่งนี้ ยังมีวงศ์วานของกษัตริย์ และวงศ์วานของชาซาน บิน นะอีม และวงศ์วาน ชันกอ ชีน และคนตระกูลอะละวีย์ผู้ทรงเกียรติ อีกกลุ่มหนึ่ง ที่ เป็นชาวนัยซาบูร, ฮิรรอฮ์,ฏูซ,และซัรค็อส,พวกเขาแสดง ความนิยมชมชื่นต่อ อะบีบักร์ มุฮัมมัด บิน อิสฮาก เมื่อ

เขามาเยี่ยมเยือน(ซิยารัต)สุสานอิมามริฎอ พวกเขา พึงพอใจ และได้บริจาค ด้วยความซาบ ซึ้งใจต่อการ แสดงออกของอิมามแห่งบรรดานักปราชญ์ทมี่ ตี อ่ มัชฮัด สถานแห่งนัน้ และพวกเขาร่วมกันกล่าวว่า ถ้าหากอิมาม ท่านนี้ไม่รู้ว่า นี่คือ ซุนนะฮ์และความประเสริฐประการ หนึ่ง แน่นอน เขาจะไม่กระท�ำเช่นนี้” ๑๓-มุฮัมมัด บิน ยะห์ยา อัศศูลีย์(ฮ.ศ ๓๓๕) อ้างอิงมาจาก อะห์มดั บิน ยะห์ยา จาก อัชชุอบ์ ยี ์ กล่าว ว่า วันหนึ่ง ท่านชุอ์บีย์ ได้กล่าวว่า “บทกวีใดที่ดีที่สุด ?” มีคนตอบท่านว่า “บทกวีที่ชาวอันศอรน�ำมากล่าว เมื่อวันบะดัร” “ณ บ่อน�้ำหนึ่งของบะดัร หลายใบหน้าของพวก เขาอิ่มเอิบ เนื่องด้วยภายใต้ธงของเรานั้น มีญิบรีลและ มุฮัมมัด” หลังจากนัน้ มุฮมั มัด บิน ยะห์ยา อัศศูลยี ์ ได้กล่าว ว่า “ฉันพึงพอใจกับบทกวีของอะบี นุวาซ ทีก่ ล่าวถึง อะลี บิน มูซา อัรริฎอ (บทกวีทผี่ า่ นมาแล้ว) และในอีกสถานที่ หนึง่ เขาได้กล่าวบทกวีในเรือ่ งการด�ำรงต�ำแหน่งผูส้ ำ� เร็จ ราชการของอิมามริฎอ ความว่า “เมือ่ ตอนทีป่ ระชาชนได้ยนื่ มือให้แก่อะลี บิน มูซา ในฐานะเป็นผูส้ ำ� เร็จราชการ นัน่ แสดงว่า ในหมูพ่ วกเรา ไม่มผี ใู้ ด ทรงเกียรติ นอกเหนือจากเขาอีกแล้ว ไม่วา่ เขา จะยอมรับหรือจะปฏิเสธก็ตาม” ๑๔-อะลี บิน ฮุเซน อัลมัสอูดยี ์ อัชชาฟิอยี (์ ฮ.ศ๓๔๖) กล่าวว่า “มะมูน เห็นว่า ในสมัยของเขาไม่มใี ครอีกแล้วที่ จะประเสริฐ และมีความเหมาะสมในการด�ำรงต�ำแหน่ง ยิ่งกว่า อะลี บิน มูซา อัรริฎอ(อ) ดังนั้น เขาจึง ท�ำการม อบบัยอัต(สัตยาบัน)ให้ท่านเป็นผู้ส�ำเร็จราชการ และ ประทับชื่อของท่านลงในเหรียญดีนารและดิรฮัม ๑๕-อิบนุฮบิ บาน อัลบุซตี อัชชาฟิอยี (์ ฮ.ศ ๓๕๔) กล่าวว่า “ท่านอะลี บิน มูซา อัรริฎอ อะบุล ฮะซัน เป็น ประมุขและปัญญาชน ของอะฮ์ลลุ บัยต์ เป็นผูป้ ระเสริฐ และดีเลิศ ในตระกูลบะนีฮาชิม จ�ำเป็นจะต้องยอมรับ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

29


ฮะดีษของเขา เมื่อได้ถูกรายงานมาจากเขา.. ฉันได้ เยี่ยมเยียนสุสานของท่านหลายครั้ง และคราวใด ที่ฉัน ประสบปัญหาความยากล�ำบากในช่วงเวลาทีฉ่ นั พ�ำนัก อยูท่ เี่ มืองฏูซ ฉันจะไปเยีย่ มเยียนสุสานของท่านอะลี บิน มูซา (ขอความจ�ำเริญจงประสบแด่ท่านและปู่ทวดของ ท่าน) และฉันได้วิงวอนขอต่ออัลลอฮ์ เพื่อให้พระองค์ ขจัดความทุกข์ยากนั้น ๆ ให้พ้นไปจากฉัน แล้วความ เดือดร้อนนั้น ๆ ก็ได้หายไปจากฉัน นี่คือ สิ่งหนึ่งซึ่งเป็น ประสบการณ์ที่ฉันได้รับ บ่อยครั้ง ขอต่ออัลลอฮ์ โปรด ให้เราตายลงบนความรักต่อศาสดา อัลมุศฏอฟา และ อะฮ์ลุลบัยต์ของท่าน ขอให้อัลลอฮ์ทรงประทานความ จ�ำเริญแด่ท่านและวงศ์วานของท่าน ทั้งมวลด้วยเถิด ๑๖-ฮุเซน บิน อะห์มัด อัลมุฮัลละบีย์(ฮ.ศ ๓๘๐) ได้กล่าวในขณะที่เขาพูดถึงเมืองเนากอน และความ เจริญของมัน ซึ่งเป็นเมืองหนึ่ง ที่ขึ้นกับแคว้นคุรอซาน เขาได้พรรณนาถึงคุณลักษณะของท่านอะลี บิน มูซา อัรริฎอ(อ)ด้วย ความตอนหนึ่งว่า “สาเหตุหนึ่งที่ท�ำให้ เมืองต่างๆ ของคุรอซานเจริญ อย่างที่เห็นได้ชัดก็คือ เมืองเนากอน ก็คือ มีสุสานของอิมามอะลี บิน มูซา บิน ญะอ์ฟัร และสุสานของฮารูน รอชีด อีกทั้งสุสานของอะ ลี บิน มูซานั้น เป็นที่สงวนไว้ และในสถานที่นั้นจะมีคน พวกหนึ่งเฝ้าแหนอยู่ตลอดเวลา...” ๑๗-มุฮัมมัด บิน อะลี บิน ซะฮัล อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๓๘๔) ท่านฮากิม อันนัยซาบูรยี ์ กล่าวว่า “ฉนเคยได้ยนิ อะบา ฮะซัน มุฮัมมัด บิน อะลี บิน ซะฮัล ผู้รู้ด้านศาสน บัญญัต(ิ ฟะกีฮ)์ กล่าวว่า “ไม่วา่ ยามใดทีฉ่ นั ประสบปัญหา อุปสรรค ทัง้ ด้านศาสนาและทางโลก ฉันจะมุง่ ไปยังสุสาน ของท่านริฎอ เพื่อแก้ปัญหาความจ�ำเป็นนั้น ๆ และฉัน จะวิงวอนขอที่สุสานของท่าน แล้วปัญหาความจ�ำเป็น นั้น ๆ ของฉันก็จะส�ำเร็จผ่านลุล่วงไป โดยอัลลอฮ์ ทรง เป็นผูป้ ลดเปลือ้ งความเดือดร้อนเหล่านัน้ ให้พน้ ไปจาก ฉัน. ส�ำหรับฉันจึงถือว่าอันนี้ เป็นกิจกรรมปกติของฉัน คือ จะต้องออกไปยังศาสนสถานแห่งนัน้ เพือ่ แก้ปญ ั หา

30

อุปสรรคทัง้ หมดของฉัน” ส�ำหรับฉัน นีค่ อื ประสบการณ์ ๑๘-อัดดารุกุฏนีย์ อัลบัฆดาดีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๓๘๕) เขาได้กล่าวถึงอิมามในฐานะผู้ให้การยกย่อง อย่างลึกซึ้ง ว่า “เขาคือ อะลี บิน มูซา บิน ญะอ์ฟัร บิน มุฮมั มัด อัลอะละวีย์ อัลฮุซยั นีย์ อะบุลฮะซัน อัรริฎอ เขา ได้ถา่ ยทอดฮะดีษมาจาก บิดาของท่านเอง คือ มูซา บิน ญะอ์ฟัร ที่ได้รับรายงานมาจาก อะลี” ศตวรรษที่ ๕ ๑๙-อัลฮากิม อันนัยซาบูรยี ์ อัชชาฟิอยี (์ ฮ.ศ ๔๐๕) ท่านผูน้ ถี้ กู จัดให้เป็นนักปราชญ์ใหญ่ของมัซฮับชาฟิอยี ์ เขาได้กล่าวไว้ในหนังสืออัษษะมีน (ตารีค อันนัยซาบูร) ของเขา เกีย่ วกับเรือ่ งราวต่าง ๆ ทีส่ ำ� คัญและมีคณ ุ ค่าขอ งอิมามอัรริฎอ(อ) ถึงแม้ว่า ในปัจจุบันนี้ เราไม่พบเห็น ต้นฉบับจริงของหนังสือเล่มนีแ้ ล้วก็ตาม แต่ทว่าได้มกี าร อ้างอิงรายงานจากหนังสือเล่มนี้ ไว้ในผลงานนักปราชญ์ อาวุโสของอะฮ์ลซิ ซุนนะฮ์และเป็นทีเ่ ชือ่ ถือของพวกเขา ต่อเรือ่ งราวทีถ่ กู รายงานและถูกถ่ายทอดมาโดยท่านฮา กิม อันนัยซาบูรีย์ ที่ได้รับรายงานมาจากอิมามริฎอ(อ) จึงได้มีการอนุรักษ์ข้อความบันทึกอันมีคุณค่าเหล่านี้ ไว้อย่างต่อเนื่อง อัลญุวยั นีย์ อัชชาฟิอยี ์ ได้นำ� มาบันทึกไว้ในหนังสือ ฟะรออิดุซซัมตีน หมวดว่าด้วย เกียรติยศของอัลมุรตะ ฎอ และผู้บริสุทธิ์ เหล่าบรรดาทายาทของศาสดา และ บรรดาอิมาม ในเชื้อสายของพวกเขา (อ) จน ถึงบท รายงาน ต่างๆ มากมายและทัศนะของท่านฮากิม อัน นัยซาบูรีย์ เกี่ยวกับอิมามริฎอ(อ) อย่างไรก็ตาม ท่านฮากิม อันนัยซาบูรยี ์ ได้กล่าว ถึงบุคลิกลักษณะของอิมามริฎอ ทางด้านวิชาการว่า “ท่านเป็นผู้วินิจฉัยความในมัสยิดของท่านรอซูลุลลอฮ์ (ศ็อลฯ)ในขณะที่อายุได้เพียง ๒๐ ปีเท่านั้น บรรดานัก ฮะดีษระดับน�ำทีไ่ ด้รบั การถ่ายทอดรายงานฮะดีษจากท่าน ได้แก่ อัลมุลลา บิน มันศูร อัรรอซีย,์ อาดัม อิบนุ อะบี อัย ยาซ อัลอัสก็อลลานีย์,นัศรุ บิน อะลี อัลญะฮ์ฎอมีย์ ,มุ

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


ฮัมมัด บิน อะบี รอฟิอ์ อัลก็อศรีย์ อัลกุชัยรีย์ และ ฯลฯ เกีย่ วกับสายตระกูลอันทรงเกียรติของอิมามริฎอ (อ) นัน้ เขาได้กล่าวถึงโดยการให้เกียรติอย่างสูง ว่า ท่าน เป็นเชื้อสายของท่านนบี ผู้ยิ่งใหญ่ (ศ็อลฯ) ความว่า “ที่ ว่า อะลี บิน มูซา มีความประเสริฐ ประการหนึง่ ก็เพราะ ว่า ท่านคือเชื้อสายของศาสดามุฮัมมัด อัลมุศฏอฟา มนุษย์ที่ประเสริฐที่สุด (ศ็อลฯ) เขาได้กล่าวอีกด้วยว่า “แท้จ ริง อัลลอฮ์ทรง แนะน�ำให้ฉันได้รู้จักกับเกียรติคุณต่างๆ ของดินที่มี ความประเสริฐ ประการหนึ่งก็คือ ฉันเป็นโรคเหน็บชา ไม่สามารถขยับเขยื้อนได้ นอกจากจะต้องพยายาม อย่างมาก ฉันจึงออกเดินเท้าจากเมืองกะรอบีซเพื่อไป เยี่ยมเมืองนูกอน และได้ไปถึงเมืองนูกอนในวันรุ่งขึ้น ขณะนั้นเอง อาการป่วยก็ได้หายไป และสามารถเดิน ทางไปยังเมืองนัยซาบูรได้ด้วยดี ท่านฮากิม อันนัยซาบูรี อัชชาฟิอีย์ ได้กล่าวเพิ่ม เติมไปจากเรื่องนี้อีก ตามที่ท่านได้พบเห็นทุกสิ่งทุก ประการ ที่บรรดานักปราชญ์อาวุโสของอะฮ์ลิซซุนนะฮ์ ได้ยอมรับว่าได้หายจากอาการป่วย ณ ศาสนสถานอัน จ�ำเริญแห่งนั้นของอิมามริฎอ (อ) ดังจะน�ำมาเสนออีก บางเรื่องต่อไปนี้.. ก.ฮัมซะฮ์ ผู้มาเยี่ยมเยือนชาวอียิปต์ ท่านฮากิม อันนัยซาบูรีย์ ได้กล่าวถึงในสะนัด(สารบบการรายงาน ฮะดีษ)ของท่านว่า ท่านฮัมซะฮ์ ได้เดินทางมาจากอียปิ ต์ เพื่อเยี่ยมเยียนสุสานอิมามริฎอ(อ) ท่านเป็นผู้ศรัทธา ในเกียรติคุณของอิมามริฎอ(อ)ทางด้านจิตวิญญาณ (รายละเอียดในเรื่องนี้ จะน�ำมากล่าวถึงในบทว่าด้วย การซิยารัต) ข.มุฮัมมัด บิน กอซิม อัชชาฟิอีย์ คนผู้นี้ เป็นผู้ที่ ปฏิเสธความเชือ่ เรือ่ งเกียรติคณ ุ ต่าง ๆของอิมามริฎอ(อ) และการเยีย่ มเยียนสุสานของท่าน แต่ทว่า ภายหลังจาก ทีเ่ ขาได้ประสบเหตุการณ์กบั ตัวเขาเอง ก็ได้กลับเปลีย่ น จาก ความเชือ่ ทีผ่ ดิ พลาด และได้กลายเป็นทีห่ มัน่ ในการ

เยีย่ มเยียนสุสานของอิมาม(อ)ตัง้ แต่นนั้ มา โดยเขาจะมา เยีย่ มเยียนสุสานของอิมามริฎ(อ)ปีละสองครัง้ ทัง้ ๆทีม่ ี ปัญหาอุปสรรค และยากล�ำบากในการเดินทางสมัยนัน้ ค.ฟัครุดดีน ฮับบะตุลลอฮ์ บิน มุฮมั มัด บิน มะห์มดู อัลอะดีบุล ญุนดีย์ อัชชาฟิอีย์ ท่านผู้นี้ ได้เยี่ยมเยียน สุสานของอิมามริฎอ(อ)และได้ประจักษ์แก่สายตาใน เรื่องเกียรติคุณอันมหัศจรรย์ที่มาจากศาสนสถานอัน จ�ำเริญแห่งนั้น ง.อะบุนนะฎิร อัลมุอซั ซิน อันนัยซาบูรยี ์ อัชชาฟิอยี ์ ก็เป็นอีกท่านหนึง่ ทีห่ ายป่วยโดยความจ�ำเริญ เนือ่ งจาก ได้ไปเยี่ยมเยียนสุสานของอิมามริฎอ(อ) จ.มีชายคนหนึ่งซึ่ง ท่านมุฮัมมัด บิน อะบีอะลี อัศศออิฆ นักรอวีย์ จ�ำชื่อไม่ได้ ตามที่ท่านฮากิม อันนัย ซาบูรีย์ได้พบเห็นสิ่งที่เกิดขึ้นกับชายนิรนามคนนี้ ณ ที่ สุสานของอิมามริฎอ(อ) ด้วยสายตาของท่านเอง และ ได้น�ำเหตุการณ์มหัศจรรย์นี้ไปเล่าต่อ ดังจะไดกล่าวใน รายละเอียดในบทว่าด้วยการซิยาเราะฮ์ ด. ซัยด์ อัลฟาริซยี ์ กล่าวว่า ตนได้หายจากอาการ ป่วยโรคกล้ามเนื้อโดยความจ�ำเริญของการเยี่ยมเยียน สุสานของอิมามริฎอ(อ) ญ.ฮะมูวยั ยะฮ์ บิน อะลี ซึง่ เป็นคนหนึง่ ทีเ่ ยีย่ มเยียน สุสานของอิมามริฎอ(อ) ประจ�ำ และเป็นคนทีม่ คี วามเชือ่ ถือต่อบุคลิกภาพทางด้านจิตวิญญาณของอิมาม เขา ได้เห็นประจักษ์ถึงเกียรติคุณหลายประการจาก สถาน สุสานแห่งของอิมามริฎอ ๒๐- อะบุลฮุเซน บิน อะบี บักร์ อัชชาฟิอีย์ เป็น บุคคลทีท่ า่ นฮากิม อันนัยซาบูรยี ์ อัชชาฟิอยี ์ ได้กล่าวถึง ความว่า “ฉันได้ยิน อะบา ฮุเซน บืน อะบูบักร์ นักการ ศาสนา(ฟะกีฮ์)คนส�ำคัญกล่าวว่า “แน่นอนอัลลอฮ์ได้ ตอบรับค�ำวิงวอนขอของฉันทุกเรื่อง ที่ฉันขอ ณ สุสาน ของอิมามริฎอ(อ) แม้กระทั่งฉันวิงวอนขอจากอัลลอฮ์ ให้ทรงประทานบุตรชายแก่ฉนั ฉันก็ยงั ได้มบี ตุ รชายหนึง่ คน หลังจากที่สิ้นหวังเรื่องนี้มาแล้ว”

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

31


๒๑-อะบูสะอัด มันศูร บิน ฮุเซน อัลอาบีย์(ฮ.ศ ๔๒๑) ท่านได้เขียนอธิบายเรื่องราวของอิมามริฎอ(อ) และถ้อยค�ำอันทรงคุณค่าไว้ในหนังสือของท่านหลาย หน้า นอกจากนั้น ท่านยังได้อ้างถึงเหตุการณ์ทาง ประวัติศาสตร์เมื่อครั้งที่อิมามริฎอ(อ)เดินทางเข้ายัง เมืองนัยซาบูร และการต้อนรับจากประชาชนชาวเมือง อย่างล้นหลาม และฮะดีษซัลซิละติซซะฮับ (สายสืบฮะ ดีษสายโซ่ทองค�ำ)และมีคำ� กล่าวของอะฮ์ลซิ ซุนนะฮ์ ใน ท�ำนองเดียวกัน ในฮะดีษนี้ ตลอดถึง เรื่องการหายป่วย โดยความจ�ำเริญของฮะดีษซัลซิละติซซะฮับ ๒๒-อะห์มัด บิน อะลี อัลคอตีบุล บัฆดาดีย์ อัช ชาฟิอีย์ ท่านได้กล่าวถึงอิมามริฎอ(อ)ว่า “เขาคือ อะลี บิน มูซา อัรริฎอ อสาบานต่ออัลลอฮ์ เขาเป็นอัรริฎอ สม ตามที่ถูกตั้งสมญานาม” ๒๓-อะลี บิน ฮับบะติลลาฮ์ อิบนิ มากูลา อัชชาฟิ อีย(์ ฮ.ศ ๔๗๕) เขาได้กล่าวถึงคุณลักษณะของอิมามริฎอ (อ)ว่า “ท่านคือ อะบุล ฮะซัน อะลี บิน มูซา บิน ญะอ์ฟัร บิน มุฮัมมัด บิน อะลี บิน ฮุเซน บิน อะลี บิน อะบี ฎอ ลิบ (อ)...เป็นผู้ทรงคุณวุฒิในหมู่ชาวอะฮ์ลุลบัยต์ ผู้มี ความรู้ และมีเกียรติยิ่ง” ศตวรรษที่ ๖ ๒๔-อะบูสะอัด อับดุลกะรีม บิน มันซูร อัตตะมี มีย์ อัซซัมอานีย์ อัชชาฟิอยี (์ ฮ.ศ ๕๖๒) กล่าวว่า “อัรริฎอ เป็นผู้มีความรู้และมีเกียรติยิ่ง เนื่องจากมีชาติตระกูล อันประเสริฐ” ๒๕-อะบุลฟะร็อจ อิบนุลเญาซีย์ อัลฮัมบะลีย์ (ฮ.ศ ๕๙๗)กล่าวว่า “อัรริฎอ(อ)เป็นผู้วินิจฉัยความใน มัสยิดของท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ)ตั้งแต่อายุ ๒๐ ปี...และ มะอ์มูนได้มีค�ำสั่งให้น�ำตัวมาจากเมืองมะดีนะฮ์ ครั้น เมื่อท่านมาพักที่เมืองนัยซาบูร ท่านได้ขี่ฬาออกมาพบ กับประชาชน บรรดานักปราชญ์ที่อยู่ในเมืองนั้น เช่น ยะห์ยา บิน ยะห์ยา, อิสฮาก บิน รอฮูวียะฮ์,มุฮัมมัด บิน รอฟิอ์,อะห์มัด บิน ฮะร็อบ,และคนอื่น ๆ ต่างก็มา

32

ขอให้ท่านพักที่นั่น ดังนั้นจึงหยุดพักที่นั่น ชั่วระยะหนึ่ง อีกตอนหนึ่ง เขาได้กล่าวว่า “ อะลี บิน มูซา อัร ริฎอ เป็นอิมามของชาวเมืองต่างๆ เป็นคนรุน่ สืบต่อจาก รุ่นตาบิอีน...เขาคือ อะลี บิน มูซา บิน ญะอ์ฟัร บิน มุฮัม มัด บิน อะลี บิน ฮุเซน บิน อะลี อัลฮาชิมีย์ ได้รับฉายา นามว่า ริฎอ เป็นคนซื่อสัตย์ เสียชีวิตเมื่อ ฮ.ศ ๒๐๓ ศตวรรษที่ ๗ ๒๖-มัจญุดดีน บิน อัลอะษีร อัลญัซรีย์อัชชาฟิ อีย์ (ฮ.ศ ๖๐๖) เขากล่าวว่า “นั่นคือ อะบุลฮะซัน อะลี บิน มูซา บิน ญะอ์ฟัร บิน มุฮัมมัด บิน อะลี บิน ฮุเซน บิน อะลี บิน อะบี ฏอลิบ อัลฮาชิมีย์ เป็นที่รู้จักในชื่อว่า อัรริฎอ อาศัยอยู่กับบิดาของท่าน คือ มูซา บิน ญะอ์ฟัร เป็นเวลา ยี่สิบเก้าปีเศษ และมีชีวิตต่อไปภายหลังจาก นั้นอีก ๒๐ ปี ต�ำแหน่งอิมามของสายชีอะฮ์ ตกทอด มาถึงท่าน เป็นคนมีเกียรติยศอย่างมากมายสุดจะนับ พรรณนา ขอให้อัลลอฮ์ทรงประทานความเมตตาและ พึงพอพระทัยแด่ท่านด้วยเถิด” ๒๗-อิบนุ กุดามะฮ์ อัลมุก็อดดะซีย์ อัลฮัมบะลีย์ (ฮ.ศ ๖๒๐) ได้กล่าวถึงบรรดาลูกหลานของอิมามฮุเซน(อ) ว่า “อะลี บิน ฮุเซน, มุฮมั มัด บิน อะลี, อะบู ญะอ์ฟรั บากิ ร,...ญะอ์ฟัร บิน มุฮัมมัด ศอดิก, มูซา บิน ญะอ์ฟัร,อะลี บิน มูซา ทัง้ หมดนัน้ เป็นอิมามผูไ้ ด้รบั ความโปรดปราน และเกียรติยศของพวกเขา เป็นที่เลื่องลือ อย่างมาก” หลังจากนัน้ เขาได้กล่าวถึงบรรดาอิมามมะอ์ซมู และกล่าวถึงอิมาม ริฎอ(อ) เป็นการเฉพาะว่า มีในบาง กระแสรายงานของพวกท่านที่ได้รับมาจากบรรพบุรุษ โดยท่านอะลี บิน มูซา รับมาจากบิดาของท่าน คือ มูซา บิน ญะอ์ฟัร ที่ได้รับมาจากมุฮัมมัด บิน อะลี บิน ฮุเซน บิน อะลี ที่ได้รับมาจากท่านนบี ซึ่งบรรดาผู้รู้บางท่าน กล่าวไว้ว่า สารบบการรายงานนี้ ถ้าได้น�ำไปอ่านให้แก่ คนวิกลจริต แน่นอน เขาจะหายจากอาการ” ๒๘-อะบุลกอซิม อับดุลกะรีม อัร-รอฟิอยี ์ อัชชาฟิ อีย(์ ฮ.ศ ๖๒๓)กล่าวว่า “อะลี บิน มูซา อิบนิญะอ์ฟรั ...ก็

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


คือ อะบุลฮะซัน อัรริฎอ เป็นอิมามคนหนึ่งจากบรรดาอิ มามแห่งอะฮ์ลุลบัยต์และเป็นซัยยิดผู้อาวุโสสูงสุดใน หมู่พวกเขา” ๒๙-เชคมะห์ยดุ ดีน บิน อะรอบีย์ อัชชาฟิอยี (์ ฮ.ศ ๖๓๘) กล่าวบทกวีตอนหนึง่ ว่า.. อยูใ่ นรหัสย์แห่งพระเจ้า แล้วมองเห็นความจริงทั้งหลาย เป็นต้นว่า รัศมีอันไม่มี สิน้ สุด เป็นมนุษย์ผเู้ กรียงไกร รากฐานของแดนแห่ง เทพ มะละกูต เป็นผู้รู้แห่งมวลมนุษย์ เป็นผลที่ส�ำแดงโดย พระเจ้าผู้ทรงรอบรู้โดยแท้ เป็นผู้ประจักษ์แจ้งสิ่งเร้น ลับโดยแท้ เป็นวิญญาณ(รูห)์ แห่งบรรดาวิญญาณ และ เป็นชีวติ ทีเ่ บิกบาน เป็นศิลปทีง่ ดงามซึง่ ด�ำรงอยูใ่ นงาน สร้างสรรค์ เป็นแหล่งพิทกั ษ์คมุ้ ครองดวงจิตอันศักดิส์ ทิ ธิ์ เป็นผู้ช่วยเผ่าพันธุ์แห่งมนุษย์ เป็นข้อพิสูจน์ที่เด็ดขาด แห่งพระเจ้า เป็นผูเ้ ข้าถึงถ่องแท้ในสัจธรรมของสรรพสิง่ สลายสิง่ ซึง่ ด�ำรงอยู่ และให้ดำ� รงอยูซ่ งึ่ สิง่ สลาย เป็นขุม คลังแห่งรหัสย์อันลี้ลับ เป็นคัมภีร์ที่ไม่มีข้อสงสัย เป็นกุ รอานซึง่ ครบถ้วนบริบรู ณ์ เป็นเครือ่ งจ�ำแนกอันละเอียด

พิสดาร เป็นอิมามแห่งมวลมนุษย์ เป็นดวงประทีปส่อง แสง ท่านอะบี มุฮัมมัด อะลี บิน มูซา อัรริฎอ” ๓๐-มุฮิบบุดดีน อะบูอับดุลลอฮ์ รู้จักแพร่หลาย ในชือ่ อิบนิน นัจญาร อัลบัฆดาดีย์ อัชชาฟิอยี (์ ฮ.ศ๖๔๓) กล่าวถึงอิมามริฎอ(อ)ว่า “ท่านประสูติที่เมืองมะดีนะฮ์ ของท่านนบี ...ท่านได้รบั การถ่ายทอดฮะดีษมาจากบิดา มารดา ลุงป้าน้าอา และบุคคลอื่น ๆ ในหมู่ชาวฮิญาซ เป็นผู้มีความรู้และเชี่ยวชาญด้านศาสนา และท่านได้ ท�ำหน้าที่วินิจฉัยหลักการศาสนา ที่มัสยิดของท่านรอซู ลุลลอฮ์ ในขณะที่มีอายุ ๒๐ ปี ๓๑-มุฮมั มัด บิน ฏ็อลหะฮ์ อัชชาฟิอยี ์ (ฮ.ศ ๖๕๒) โดยท่านชิบรอวีย์ อัชชาฟิอยี ์ ได้อา้ งมาจากถ้อยค�ำของ มุ ฮัมมัด บิน ฏ็อลหะฮ์ อัชชาฟิอยี ์ ทีก่ ล่าวถึงเรือ่ งลูกหลาน ของอิมามกาซิม(อ)ว่า “ท่านมูซา อัลกาซิม นัน้ มีลกู ๓๗ คนรวมทัง้ ชายหญิง ทีม่ คี วามประเสริฐ มีเกียรติยศ และ มีความสมบูรณ์ที่สุด ในหมู่พวกเขาก็คือ ท่านอะลี บิน มูซา อัรริฎอ...”

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

33


ท่านมุฮมั มัด บิน ฏ็อลหะฮ์ ได้กล่าวด้วยตัวเองว่า “แน่นอนยิ่ง ในเรื่องราวของอะมีรุลมุมินีนอะลี และซัย นุลอาบิดีนอะลี จะได้รับการกล่าวถึงก่อนใคร ๆ เสมอ และตามมาด้วยเรือ่ งราวของอะลี ริฎอ เป็นคนทีส่ าม ถ้า พิจารณาอย่างละเอียดก็จะเห็นได้วา่ ท่านเป็นผูส้ บื ทอด มรดกของบุคคลทั้งสอง จึงถือได้ว่า ท่านคืออะลี คนที่ สาม ในด้านความศรัทธา การด�ำเนินชีวิต และสถานะ อันสูงส่ง อีกทัง้ ท่านยังมีความสามารถอย่าง กว้างขวาง และมีมติ รสหายมากมาย ท่านมีขอ้ พิสจู น์อย่างชัดเจน จน กระทัง่ คอลีฟะฮ์มะอ์มนู ยังต้องถ่ายโอนอ�ำนาจให้แก่ทา่ น และให้ทา่ นมีสว่ นร่วมในการบริหารงานปกครอง ...ท่าน มีคณ ุ ลักษณะอันสูงส่ง มีความสมบูรณ์ในเกียรติยศ เป็น ผู้น�ำทางจริยธรรมของชาวอาหรับ ตัวของท่านเอง เป็น คนตระกูลฮาชิม สืบเชื้อสายมาจากผู้เป็นนบี” ๓๒-ซิบฏิ อิบนิล เญาซีย์ อัลฮะนะฟีย์ (ฮ.ศ ๖๕๔) กล่าวว่า ท่านอัรริฎอ อ. เป็นผู้หนึ่งในหมู่บรรดาผู้ทรง เกียรติยิ่ง ผู้มีความส�ำรวม ที่ใจประเสริฐอย่างยิ่ง ๓๓-อิบนุอะบี อัลฮะดีด อัลมุอ์ตะซะลีย์ อัชชาฟิ อีย์ (ฮ.ศ ๖๕๖) ได้ยอมรับว่า อิมามริฎอ เป็นประมุขและ เป็นนักปราชญ์คนหนึ่ง ของบรรดาอะฮ์ลุลบัยต์” เขาได้กล่าวว่า อิมามริฎอ (อ) นั้น ได้รับการ สนับสนุนจากชาวบะนีฮาชิม ให้ดำ� รงต�ำแหน่งคอลีฟะฮ์ และได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ส�ำเร็จราชการ ท่านเป็นผู้มี ความรูแ้ ละใจบุญสุนทานคนหนึง่ และเป็นผูม้ จี ริยธรรม อันทรงเกียรติ ๓๔-มุฮัมมัด บิน ยูซุฟ อัลกันญี อัดดะมัชชะกีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๖๕๘) กล่าวว่า “และอิมามภายหลัง จากท่าน (หมายถึง ภายหลังจาก อิมามกาซิม อ. อะ บุลฮะซัน อะลี บิน มูซา อัรริฎอ อ. สถานที่ประสูติของ ท่าน คือ เมืองมะดีนะฮ์ เมื่อ ฮ.ศ ๑๔๘ ท่านเสียชีวิตที่ เมือง ฏูซ ซึ่งเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของคูรอซาน ๓๕-อุมัร บิน ชุญาอุดดีน มุฮัมมัด บิน วาฮิด อัลเมาศุลีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๖๖๐) ท่านได้กล่าวอย่าง

34

ละเอียดในหนังสือของท่านเล่มหนึ่ง คือ ฟัศลุฟล อิมา มอะลี บิน มูซา อัรริฎอ(อ) ซึง่ เขาได้กล่าวในหนังสือเล่ม นั้นว่า “อะลี บิน มูซา บิน ญะอ์ฟัร บิน มุฮัมมัด บิน อะ ลี บิน ฮุเซน (อ) มีค�ำกล่าวว่า ท่านเป็นผู้มีจริยธรรม มี ความสุขุม และความรู้เป็นเลิศ เป็นผู้รายงานฮะดีษที่ ละเอียดถีถ่ ว้ น มีความสามารถเปรือ่ งปราดในวิชาความ รู้ เป็นทีไ่ ว้วางใจ ในความสุขมุ มีคนสมถะและนอบน้อม ถ่อมตนอย่างสมบูรณ์แบบ” ๓๖-ชัมซุดดีน อิบนุ ค็อลกาน อัชชาฟิอีย์(ฮ.ศ ๖๘๑) กล่าวว่า ท่านคือ อิมามคนหนึ่งในบรรดาอิมาม ทั้งสิบสองตามความเชื่อของฝ่ายอิมามียะฮ์ คอลีฟะฮ์ มะอ์มูน ได้ประทับชื่อของท่านไว้ในเหรียญดีนาร และ เหรียญดิรฮัม ซึง่ เขาได้เรียกว่า ท่านอะลี และยังได้มอบ ต�ำแหน่งที่ดีที่สุดให้แก่ท่าน ในยุคนั้น ไม่ปรากฏว่าจะมี ใครเหมาะสมกับการได้รบั ต�ำแหน่งการปกครอง มากกว่า ท่านอะลี ริฎอ ดังนั้น เขาจึงให้สัตยาบันต่อท่าน.. ศตวรรษที่ ๘ ๓๗-ชัยคุลอิสลาม อิบรอฮีม บิน มุฮัมมัด อัลญุ วัยนี อัลคุรอซานี อัชชาฟิอีย์ (๒๕๔) (ฮ.ศ ๗๒๒)ได้ เขียนไว้ในหนังสืออันทรงคุณค่าของเขา คือ ฟะรออิดุ ซซัมฏีน หมวดว่าด้วย “เกียรติยศด้านต่าง ๆ ของอัลมุ รตะฎอและอัลบะตูลและบรรดาทายาท บรรดาอิมาม จากเชื้อสายของพวกท่าน” เป็นส่วนหนึ่ง ส�ำหรับอิมา มอะลี บิน มูซา อัรริฎอ (อ) ซึ่งเขาได้พูดถึงบุคลิกภาพ อันยิง่ ใหญ่ของท่าน ด้วยถ้อยค�ำทีใ่ ห้เกียรติเป็นอย่างสูง ความว่า “ในการกล่าวถึงเกียรติคุณบางประการของอิ มามที่แปด เป็นการเปิดเผยความลี้ลับมากมายหลาย ประการ ท่านเป็นแหล่งทีม่ าแห่งเกียรติยศและความมีสริ ิ มงคล โอบอ้อมอารี อ่อนโยนละมุนละม่อม สุภาพเป็นที่ เคารพรัก เป็นเจ้านายที่มีเกียรติ เป็นแก้วตาดวงใจของ ตระกูลอาลิยาซีน และอาลิ อับดุลมะนาฟ เป็นเจ้านายผู้ สะอาดบริสทุ ธิ์ ปราศจากความบาป เป็นผูร้ แู้ จ้งในแก่น แท้ของวิชาความรู้ และเข้าใจในเนือ้ หาของสิง่ ลีล้ บั ซ่อน

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


เร้น เป็นผู้บอกเล่าเหตุการณ์ในปัจจุบันและอดีตที่ผ่าน มา เป็นทีพ่ งึ พอพระทัยของอัลลอฮ์ ด้วยความพอใจของ ท่านที่มีต่อพระองค์ ในทุกสภาวการณ์ ด้วยเหตุนี้ ท่าน จึงได้รับฉายานามเป็น อัรริฎอ อะลี บิน มูซา ขอพรอัน จ�ำเริญพึงมีแด่มฮุ มั มัด และวงศ์วานของท่าน โดยเฉพาะ อย่างยิง่ แด่ทา่ นผูเ้ ป็นเสมือนต้นไม้ทงี่ อกงาม ส�ำหรับการ อธิบายถึงเรื่องของจริยธรรมอันสูงส่ง ท่านก็เป็นบุคคล ที่ถูกยอมรับ ว่าเป็นคนที่มีเกียรติคุณที่งดงามมากมาย หลายประการ และยังได้กล่าวถึงฮะดีษต่าง ๆ ที่ท่านได้ รับรายงาน มาจากบรรดาบรรพชนของท่าน ผู้เป็นข้อ พิสูจน์ของอัลลอฮ์แก่ปวงบ่าวของพระองค์ ขออัลลอฮ์ ทรงประทาน ความสุขสันติ และเกียรติยศอันไพบูลย์ แด่ท่าน ด้วยเถิด ๓๘-อิมาดุดดีน อิสมาอีล อะบุลฟิดาอ์ อัดดะมัช ชะกีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๗๓๒) เขาได้กล่าวถึง ท่านอะลี ว่า ท่านคือ อะลี อัรริฎอ เป็นอิมามคนทีแ่ ปด ในบรรดาอิ มามทัง้ สิบสอง ตามทัศนะของมัซฮับอิมามียะฮ์ นัน่ ก็คอื อะลี อัรริฎอ บิน มูซา กาซิม บิน ญะอ์ฟัร ศอดิก บิน มุ ฮัมมัด บากิร อิบนิ ซัยนุลอาบิดีน บิน ฮุเซน บิน อะลี บิน อะบี ฏอลิบ และท่านอะลี ริฎอ คือ บิดาของมุฮัม มัด ญะวาด อิมามที่เก้า.. ๓๙-อัซซะฮะบีย์ อัชชาฟิอีย์(ฮ.ศ ๗๔๘) กล่าว ว่า ท่านคือ อิมาม ซัยยิด อะบุลฮะซัน อะลี อัรริฎอ บิน มูซา อัลกาซิม บิน ญะอ์ฟัร ศอดิก บิน มุฮัมมัด บากิร บิน อะลี บิน ฮุเซน อัลฮาชิมีย์..ท่านเป็นแหล่งความรู้ และวิชาการศาสนา อีกตอนหนึง่ เขากล่าวว่า หนึง่ ในบรรดานักปราชญ์ คือ อิมาม...ท่านเป็นเจ้านายแห่งตระกูลบะนีฮาชิม ใน ยุคสมัยของท่าน ในฐานะเป็นผู้ทรงเกียรติและความ ภาคภูมิใจของพวกเขา และมะอ์มูนเอง ยังได้ยกย่อง เทิดเกียรติแก่ท่านอย่างสูง จนถึงกับแต่งตั้งให้ด�ำรง ต�ำแหน่งผู้ส�ำเร็จราชการ และได้บันทึกเรื่องนี้ให้เป็นที่ รู้แก่คนทั้งหลาย”

เขาได้เขียนไว้อกี แห่งหนึง่ ว่า “ท่านเป็นผูม้ คี วามรับ ผิดชอบอันยิง่ ใหญ่ มีความรูแ้ ละอธิบายได้อย่างแตกฉาน และเป็นที่ประทับใจของคนทั้งหลาย มะอ์มูนยังได้แต่ง ตั้งท่านให้ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นผู้ส�ำเร็จราชการ เพื่อเป็น เกียรติยศส�ำหรับท่าน” เขาได้กล่าวอีกว่า “ท่านเป็นหนึง่ ในบรรดอิมามสิ บสองท่านตามทีพ่ วกรอฟิฎเี ชือ่ ถือว่า ต้องยึดมัน่ ต่อพวก ท่านและวาญิบจะต้องเคารพเชื่อฟังพวกท่าน” มีการบอกเล่าสืบต่อกันมาว่า “ท่านเคยวินิจฉัย ความปัญหาศาสนาตั้งแต่ยังหนุ่มในสมัยของมาลิก” เขาได้กล่าวไว้อีกแห่งหนึ่งว่า “ท่านคือ เจ้านาย ของคนตระกูลบะนีฮาชิม ชิม ในยุคสมัยของท่าน มีฐานะ เป็นผู้ทรงเกียรติและความภาคภูมิใจของพวกเขา และ มะอ์มูนเอง ยังได้ยกย่อง เทิดเกียรติแก่ท่านอย่างสูง” ๔๐-ซัยนุดดีน อิบนุ วัรดีย์ อัลฮะละบีย์ อัชชาฟิอยี ์ (ฮ.ศ ๗๔๙)เขาได้กล่าวถึงอิมามริฎอ (อ) ว่า “ท่านเป็น อิมามคนที่แปด ในบรรดาอิมามทั้งสิบสอง ตามทัศนะ ของฝ่ายอิมามียะฮ์” ๔๑-อัซซัรนะดีย์ อัลฮะนะฟีย์(ฮ.ศ ๗๕๗) กล่าว ว่า “ อิมามที่แปด คือรัศมีแห่งทางน�ำ เป็นรากฐานของ การส�ำรวมตน เป็นผู้มีเกียรติอันสมบูรณ์ เป็นผู้รู้แจ้ง มี ความรู้ในสิ่งเร้นลับ เป็นคนพลัดถิ่น เป็นผู้พลีชีพ โดย ถูก วางยา เป็นผู้ถูกสังหารที่ได้รับความเมตตา เป็น แก้วตาของบรรดาผู้ศรัทธา เป็นหลักยึดของผู้มุ่งหวัง เปรียบเสมือนดวงอาทิตย์ของดวงอาทิตย์ทงั้ หลาย เป็น ผูใ้ ห้ความอบอุน่ ท่านถูกฝังทีเ่ มืองฏูซ ท่านคือ อะบุลฮะ ซัน อะลี บิน มูซา อัรริฎอ ท่านเป็นนักปราชญ์ ผู้มีความ สมถะ ทีท่ รงคุณธรรม เป็นเอาลิยาอ์ เป็นผูม้ วี ทิ ยปัญญา และมีคุณงามความดี” ๔๒-คอลีล บิน อีบกั อัศศอฟะดีย์ อัชชาฟิอยี ์ (ฮ.ศ ๗๖๔) กล่าวว่า “ท่านคือ หนึง่ ในบรรดาอิมามทัง้ สิบสอง ท่านคือ เจ้านายแห่งตระกูลบะนีฮาชิมในสมัยของท่าน มะอ์มนู ยังให้ความเคารพนบนอบ และยกย่องให้อยูใ่ น

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

35


ต�ำแหน่งที่สูงส่ง” ๔๓-อับดุลลอฮ์ บิน อัสอัด อัลยาฟิอีย์ อัลยะมะ นีย์ อัลมักกีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๗๖๘) ได้กล่าวว่า “ท่าน เป็นอิมามผูท้ รงเกียรติ สืบเชือ้ สายจากเจ้านายผูม้ เี กียรติ มีนามว่า อะบุลฮะซัน อะลี บิน มูซา อัลกาซิม หนึง่ ในบร รดาอิมามทั้งสิบสอง เป็นผู้มีเกียรติในล�ำดับต้น ๆ ตาม ทัศนะของฝ่ายอิมามียะฮ์ ซึ่งพวกเขาถือเป็นรากฐาน ในมัซฮับของพวกเขา” ๔๔-อิบนุกะษีร อัดดะมัชชะกีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๗๗๔) ได้กล่าวถึงเรือ่ งวะฟาตของอิมามริฎอ(อ)เมือ่ ฮ.ศ ๒๐๓ ว่า “ในปีนั้น บุคคลส�ำคัญคนหนึ่งเสียชีวิต คือ ท่า นอะลี บิน มูซา บิน ญะอ์ฟัร บิน มุฮัมมัด บิน อะลี บิน ฮุเซน บิน อะลี บิน อะบี ฏอลิบ อัลกุรชีย์ อัลอะละวีย์ ผู้ มีฉายานามว่า อัรริฎอ ๔๕-มุฮัมมัด บิน อับดุลลอฮ์ อิบนิ บะฏูเฏาะฮ์ อัลมัฆริบีย์ (ฮ.ศ ๗๗๙) ได้กล่าวเมื่อครั้งที่เดินทางถึง เมืองมัชฮัด อัรริฎอ ว่า “และเราก็ได้เดินทางถึงยังเมือ งมัชฮัด ของท่าน อัรริฎอ นั่นคือ อะลี บิน มูซา อัลกาซิม บินญะอ์ฟัร ศอดิก บิน มุฮัมมัด บากิร บิน อะลี ซัยนุล อาบิดีน บิน ฮุเซน อัชชะฮีด บิน อะมีริล มุมินีน อะลี บิน อะบี ฏอลิบ (ขอให้อัลลอฮ์ทรงพอพระทัยต่อท่านเหล่า นั้น) ซึ่งนับว่า เป็นเมืองที่ใหญ่มาก มีโดมสุสานที่ใหญ่ และสวยงาม โดดเด่น และภายในสถานที่แห่งนั้น มีทั้ง โรงเรียนและมัสยิดรายรอบ ทั้งหมดนั้นเป็นอาคารอัน ทรงคุณค่า และยังมีการประดิษฐ์ฝาผนังด้วยศิลปะอัน สวยงาม เหนือสุสาน รอบๆโดมจะประดับด้วยลายไม้ ที่ประกบเงิน กรอบประตูสุสานก็เคลือบด้วยเงิน ตรง เหนือประตูจะมีม่านผ้าไหมประดับทองค�ำ ซึ่งเยื้องๆ กัน ก็คือ สุสานฮารูน รอซีด แต่เมื่อพวกรอฟิฎีย์ ได้เข้า มาเยีย่ มเยียน ก็ได้เหยียบย�ำ่ สุสานของฮารูน รอชีด แล้ว จึงเข้ามาให้สลามแด่สุสานของท่านริฎอ ๔๖-มุฮัมมัด บิน ฮุเซน บิน อะห์มัด อัลคอลีฟะฮ์ อันนัยซาบูรีย์ อัชชาฟิอีย์ ได้กล่าวไว้ในหนังสือ “ตัลคีศ

36

ตารีค นัยซาบูร” เป็นการพรรณนาถึงท่านอิมามริฎอ และความภาคภูมใิ จของชาวนัยซาบูร ทีม่ มี าแต่เดิม ว่า “ส่วนหนึง่ ของพวกเขา มีคนระดับเอาลิยาอ์ ทีเ่ ป็น กษัตริย์ มีบรรดาผูส้ ำ� รวมตนทีเ่ ป็นข้อพิสจู น์ได้อย่างชัด แจ้ง เป็นทายาททางวิชาการของบรรดาศาสนทูต เป็นที่ รับรองวิทยปัญญาของพระผูอ้ ภิบาลแห่งสากลโลก เป็น วะลียุลลอฮ์ เป็นดวงใจของท่านศาสนทูตแห่งอัลลอฮ์ เป็นผู้ช่วยของประชาชาติ เป็นผู้ปลดเปลื้องความทุกข์ โศก เป็นความหวังที่ยิ่งใหญ่ ในวันแห่งการตอบแทน นั่นคือ อิมามอะบุลฮะซัน อะลี บิน มูซา อัรริฎอ (ขอให้ อัลลอฮ์ทรงประทานพรและความสันติสขุ แด่ ท่านศาสน ทูตแห่งอัลลอฮ์และแด่วงศ์วานของท่านผู้เป็นอิมาม ผู้ ปราศจากความบาป (มะอ์ซูม) และบรรดาผู้เจริญรอย ตามท่านเหล่านั้นทั้งมวล จนถึงวันตอบแทน รัศมีอัน จ�ำเริญของท่านได้แผ่เข้ามายังเมืองนี้เมื่อ ฮ.ศ ๑๔๘) จากนัน้ ท่านได้รบี ไปให้การอนุเคราะห์ตอ่ ศาสนา เพือ่ ให้ แสงสว่างแก่ประชาชน โดยเดินทางไปยังเมืองบัศเราะฮ์ เพื่อสอนวิชาฮะดีษ และวิชาการ ต่างๆ ในปี ฮ.ศ ๑๙๔ ท่านได้สนับสนุนกิจการศาสนาด้วยการรวบรวมคัมภีร์ หลังจากนั้น ท่านก็ได้พ�ำนักประจ�ำอยู่ที่เมืองคูรอซาน จนสิ้นอายุขัย และในฮ.ศ ๒๐๐ เมืองนัยซาบูร ได้กลาย เป็นเมืองทีม่ ชี อื่ เสียงเนือ่ ง ด้วยท่านได้มาฝากรอยเหยีบ ย่างอันจ�ำเริญลงในดินแดนของเมืองแห่งนี้ ศตวรรษที่ ๙ ๔๗- อะฏออุลลอฮ์ บิน ฟัฎลุลลอฮ์ อัชชีรอซีย์ (ฮ.ศ ๘๐๓) ได้กล่าวว่า “ท่านพูดภาษาเดียวกับประชาชน และ เป็นผูท้ พี่ ดู ชัดเจนและมีความรูใ้ นทุกภาษามากกว่าคน อื่นๆ สุสานของท่านเป็นที่เยี่ยมเยียนของคนทั้งหลาย จากทุกหนแห่ง ทั่วสารทิศ ๔๘- อิบนุคอ็ ลดูน อัลมาลิกยี ์ (ฮ.ศ ๘๐๘)กล่าวว่า ท่านอะลี ริฎอ เป็นบุคคลส�ำคัญทีส่ ดุ ในตระกูลบะนีฮาชิม ๔๙-อะห์มัด บิน อะลี อัลก็อลกอชันดีย์ อัชชาฟิ อีย์ (ฮ.ศ ๘๒๑) ได้กล่าวถึงเรื่องต�ำแหน่งอิมาม และ

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


สถานะอันสูงส่งของท่าน ซึ่งเป็นเหตุผลในการแต่งตั้ง ท่าน ว่า “จนกระทั่ง ท่านถูกบีบบังคับ ให้ยอมรับแม้ ต�ำแหน่งผู้ส�ำเร็จราชการจากมะอ์มูน “ท่านอะลี บิน มู ซา บิน ญะอ์ฟัร บิน มุฮัมมัด บิน อะลี บิน บิน ฮุเซน บิน อะลี บิน อะบี ฏอลิบ” เมื่อมะอ์มูนเห็นในคุณงามความ ดี เห็นในวิชาความรู้อันสูงส่ง และความเป็นคนสมถะ ทางโลกของท่าน และเห็นว่าประชาชนให้การยอมรับ ท่าน และมีค�ำบอกเล่าในเรื่องนี้ติดต่อกันมา ไม่ขาด สาย ซึ่งล้วนแต่สอดคล้องตรงกัน ดังนั้น เขาจึงแต่งตั้ง ให้ท่านด�ำรงต�ำแหน่งคอลีฟะฮ์ ๕๐-มุฮัมมัด คอวาญิฮ์ บาริซา อัลบุคอรี อัลฮะน นะฟีย์ (ฮ.ศ ๘๒๒)กล่าวว่า “ท่าน เป็นอิมามคนหนึ่ง ใน บรรดาอะฮ์ลลุ บัยต์ นัน่ คือ ท่านอะบุลฮะซัน อะลี อัรริฎอ บิน มูซา อัลกาซิม ขอให้อัลลอฮ์ทรงพอพระทัยต่อท่าน ทัง้ สอง หลังจากนัน้ เขาได้กล่าวถึงคุณงามความดีและ เกียรติยศต่างๆของอิมาม ส่วนหนึ่ง ก็คือเรื่องที่ท่านได้ เดินทางไปยังเมืองนัยซาบูร และการต้อนรับอย่างเป็น ประวัติการณ์ โดยบรรดาอุละมาสาขาต่างๆของอะฮ์ ลิซซุนนะฮ์และประชาชนทั้งหลาย และเรื่องฮะดีษอัน ทรงคุณค่า ๕๑-อิบนุอตุ บะฮ์ (ฮ.ศ ๘๒๘) กล่าวว่า ในบรรดา ลูกหลานตระกูลตอลิบ สมัยนัน้ ไม่มใี ครเสมอเหมือนท่าน ท่านเป็นคนมีเกียรติสูงส่ง มีฐานะที่ยิ่งใหญ่” ๕๒-ท่านตะกียดุ ดดีน อะห์มดั บิน อะลี อัลมุกอ็ ร รีซีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๘๔๕) ท่านได้กล่าวว่าในหนังสือ ของท่าน ว่า มะอ์มนู ได้ให้เกียรติ และความเคารพนับถือ อิมามริฎอ(อ) เป็นอย่างยิง่ และได้อา้ งถึงเรือ่ งการท�ำเห รียญดิรฮัมโดยประทับตราพระนามของอิมามริฎอตาม ค�ำสั่งของมะอ์มูน เพื่อเป็นการขอบคุณในการที่อิมาม ยอมรับต�ำแหน่งผู้ส�ำเร็จราชการ และในภายหลังมะอ์ มูนกลับเป็นคนวางยาพิษฆ่าอิมามริฎอ(อ) ๕๓-อิบนุฮะญัร อัลอัสก็อลลานีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ๘๕๒) ได้กล่าวว่า อะลี บิน มูซา อัรริฎอ เป็นผู้

ซื่อสัตย์ยิ่ง ในบรรดาผู้อาวุโสทั้งหลาย ๕๔-อิบนุศศ็อบบาฆ อัลมาลิกยี ์ (ฮ.ศ ๘๕๕) ท่าน เป็นอิมามที่แปด ส�ำหรับเกียรติยศของท่าน มีหลักฐาน ข้อพิสูจน์ที่ยงิ่ ใหญ่ ซึ่งยืนยันได้ว่า ท่านมีศักยภาพ และ ฐานภาพสูงส่งยิ่ง หลังจากนี้ เขาก็ยังได้กล่าวถึงเรื่องราวที่เป็น เกียรติยศต่าง ๆ ของอิมาม โดยการอ้างอิงไปถึงบรรดา นักปราชญ์บางท่าน ๕๕-อิบนุ ตัฆรีย์ อัลบุรดีย์ อัลอะตาบะกีย์ อัล หะนะฟีย์ (ฮ.ศ ๘๗๔) กล่าวว่า อิมามอะบุลฮะซัน อะลี ริฎอ เป็นอิมามผู้มีความรู้ ท่านอะลี เป็นซัยยิดแห่งตระ กูลบะนีฮาชิม ในสมัยของท่าน เป็นผู้มีเกียรติยศสูงสุด อัลมะอ์มูนเอง ยังได้ให้เกียรติและยกย่อง ด้วยความ นอบน้อมถ่อมตน ด้วยความเคารพนับถือต่อท่าน จน กระทั่ง ได้แต่งตั้งท่านเป็นผู้ส�ำเร็จราชการ ๕๖-นูรุดดีน อับดุรเราะห์มาน อัลญามีย์ อัลหะ นะฟีย์ (ฮ.ศ ๘๙๘) ได้เขียนไว้ในหนังสือของท่าน ว่า “ท่านอะลี บิน มูซา บิน ญะอ์ฟัร (ร.ฎ)เป็นอิมามท่าน ที่แปด และแท้จริงแล้ว เรื่องราวที่เป็นคุณงามความดี ของท่านอะลี ริฎอ (อ) ที่เล่าขานกันในหมู่ประชาชนนั้น ถือว่ายังเล็กน้อยเกินไป หยดน�ำ้ ทะเลอันกว่างไพศาลยัง ไม่พอที่จะน�ำมาพรรณนาให้หมดได้ เราจะขอกล่าวถึง เรือ่ งความศักดิส์ ทิ ธิแ์ ละปาฏิหาริยข์ องท่านบางประการ ..หลังจากนัน้ ท่านได้กล่าวถึงเรือ่ งความศักดิส์ ทิ ธิ์ ของอิ มามริฎอ(อ)..ในหนังสือเล่มนั้น ศตวรรษที่ ๑๐ ๕๗- มีร มุฮมั มัด อิบนุ ซัยยิด บุรฮานุดดีน คุวนั เด ชาห์ ผู้เป็นที่รู้จักในนามว่า มีร คุวันเด อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๙๐๓) เขาได้กล่าวถึงสิง่ ทีเ่ ป็นความมหัศจรรย์อย่างหนึง่ ว่า ผูท้ เี่ ยีย่ มเยือนสุสานของท่านอะลี ริฎอ (อ) นัน้ จะมุง่ มายังอิหร่าน จากทัว่ ทุกมุมโลก ทัง้ โรม อินเดีย และประ เทศอื่นๆ เรื่องเรื่องราวของท่านอะลี ริฎอ(อ)นั้น บริเวณ สุสานของท่าน กว้างใหญ่ เมืองมัชฮัดของท่านเป็นเมือง

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

37


ศักดิส์ ทิ ธิ์ มีฐานะเป็นรากฐานของอิหร่านเลยทีเดียว จะมี คนจากทัว่ สารทิศทัง้ เด็กและผูใ้ หญ่เดินทางมุง่ หน้ามายัง ที่นี่ ประชาชนจากเผ่าพันธุ์ต่างๆ ชนชั้นต่าง ๆ จากลูก หลานของอาดัม พอใจที่จะเดินทางออกจากบ้านเมือง ของตนเพือ่ มายังทีน่ ี่ ไม่วา่ จะมาจากทิศทีไ่ กลโพ้นอย่าง โรม อินเดีย และจากทุกๆ ประเทศ ทุกๆปี เรื่องราวของ อิมามอะลี ริฎอ(อ)ได้ถูกน�ำมาเล่าขาน มากมายหลาย ด้าน ซึ่งแสดงให้เห็นถึงเกียรติยศอันยิ่งใหญ่ และความ ประเสริฐของท่าน ๕๘ ญะลาลุดดีน อัซซะยูฏีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๙๑๑) ได้กล่าวว่า นับได้วา่ ท่านอิมามผูน้ ี้ เป็นผูม้ คี วาม รู้แตกฉาน และอาวุโสที่สุดท่านหนึ่ง ๕๙-ฟัฏลุลลอฮ์ บิน รูซบะฮาน อัลคุนญีย์ อัศฟะ ฮานีย์ อัลฮะนะฟีย(์ ฮ.ศ ๙๒๗) กล่าวว่า “ได้ไปเยีย่ มเยียน สุสานของอิมามแห่งบรรดาอิมาม ผู้ชี้น�ำอันทรงเกียรติ และสุสานของท่านยิง่ ใหญ่มาก ท่านมีฐานะเป็นราชันย์ ของมวลมนุษย์และญิน นั่นคือ อิมามอะลีย์ อัรริฎอ บิน มูซา อัลกาซิม บิน ญะอ์ฟัร อัศศอดิก บิน มุฮัมมัด อัล บากิร บิน อะลี ซัยนุลอาบิดีน บิน ฮุเซน อัชชะฮีด บิน อะลี อัลมุรตะฎอ หลังจากนั้น ท่านได้กล่าวบทกวียกย่องอิมาม อะลี ริฎอ เขาได้เขียนไว้ในอีกแห่งหนึ่งว่า โอ้อัลลอฮ์ ได้ โปรดประทานพรอันจ�ำเริญแด่อิมามที่แปด ผู้เป็นเจ้า นายที่ประเสริฐ ผู้เป็นข้อพิสูจน์หลักฐานยืนยันอันชัด แจ้ง ของมวลมนุษย์และญิน โอ้อัลลอฮ์ โปรดประทาน ให้แก่เราด้วยความอ่อนโยนของพระองค์และเกียรติยศ ของพระองค์ เพือ่ ให้เราได้เยีย่ มเยียนสุสานของท่านอัน อบอุ่น และขอได้ทรงโปรดอภัยโทษให้แก่พวกเรา และ ช่วยให้เราได้ลลุ ว่ งในภาระทีจ่ ำ� เป็นทัง้ หมดของเราด้วย เถิด โอ้อัลลอฮ์ โปรดประทานความจ�ำเริญแด่อิมามอัล มุจตะบา อะบัล ฮะซัน อะลี บิน มูซา อัรริฎอ และขอ ความสันติสุขได้ประสบแด่ท่านตลอดไป”

38

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


๖๐- ฆิยาซุดดีน บิน ฮิมามุดดีน อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๙๔๒)ได้กล่าวไว้ในเรื่องบุตรของอิมามมูซา กาซิม (อ) ว่า บุตรของอิมามมูซาที่ประเสริฐสูงสุด และมีเกียรติ เหนือกว่าใครทั้งหมด คือ อิมามอะลี บิน มูซา อัรริฎอ เขายังได้กล่าวถึงอิมามอย่างละเอียดต่อไปโดย เรียกท่านว่า อิมามที่แปด คือ อะลี บิน มูซา อัรริฎอ ขอความสันติสุขมีแด่ท่านทั้งสอง อิมาม ที่จ�ำเป็นต้อง ให้เกียรติ คือ อะลี บิน มูซา อัรริฎอ นอกจากนี้ เขายังได้เขียนบทกวี สดุดยี กย่องอิมาม อะลี ริฎอ อย่างไพเราะ และให้เกียรติอย่างสูง มีใจความ ตอนหนึ่งว่า “แสงสว่างที่มีดาษดื่นในหน้าแผ่นดิน ยัง ไม่มีแสงใดสว่างไสวเท่ากับ อะลี บิน มูซา บิน ญะอ์ฟัร ๖๑-ชัมซุดดีน มุฮัมมัด บิน เฏาลูล อัดดะมัชชะกี อัลหะนะฟีย์ (ฮ.ศ ๙๕๓) กล่าวว่า ท่านอะลี คือ อิมาม ที่แปด นั่นก็คือ อะบุลฮะซัน อะลี อัรริฎอ บิน มูซา อัล กาซิม บิน ญะอ์ฟัร บิน มุฮัมมัด บากิร บิน อะลี ซัยนุล อาบิดนี บิน ฮุเซน บิน อะลี บิน อะบี ฏอลิบ (อ) หลังจาก นัน้ เขาก็ได้กล่าวถึงข้อเขียนของบรรดานักปราชญ์รว่ ม สมัยที่กล่าวยกย่อง สดุดี ท่านอิมามริฎอ ๖๒-เชค ฮุเซน บิน มุฮัมมัด อัดดัยยาร บักรีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๙๖๖) กล่าวว่า ท่านอะลี บิน มูซา อัร ริฎอ เป็นอิมามคนหนึง่ ในบรรดาอิมามทัง้ สิบสองซึง่ พวก รอฟิเฎาะฮ์ เชื่อถือว่าพวกเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ และวาญิบ จะต้องปฏิบัติตาม ๖๓-อิบนุฮะญัร อัลฮัยซุมยี ์ อัชชาฟิอยี ์ (ฮ.ศ ๙๗๔) กล่าวว่า ท่านอะลี ริฎอเป็นผูม้ ชี อื่ เสียงดีทสี่ ดุ ในหมูพ่ วก เขา และมีเกียรติอย่างยิ่ง ด้วยเหตุนี้เอง ท�ำให้มะอ์มูน ต้องมอบต�ำแหน่งที่มีเกียรติยิ่งให้แก่ท่าน และจัดการ สมรสให้กับบุตรสาวของตนและให้มีส่วนร่วมในการ ปกครองอาณาจักร อีกทัง้ ยังได้มอบภารกิจในต�ำแหน่ง คอลีฟะฮ์ให้อีกด้วย ศตวรรษที่ ๑๑ ๖๔-อะห์มดั บิน ยูซฟุ อัลก็อรมานีย์ อัดดะมัชชะกีย์

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

39


(ฮ.ศ ๑๐๑๙) เขาได้กล่าวอย่างละเอียดในเรื่องของ อิมามริฎอ(อ) ดังมีใจความตอนหนึ่งในบทที่เจ็ด เขาได้ เปรียบเทียบว่า ผู้ที่คล้ายกับท่านอะลี มุรตะฎอ ปู่ทวด ของท่าน ในเรื่อง ความกล้าหาญ คือ อิมามอะลี บิน มู ซา อัรริฎอ (ร.ฎ)ท่านมีเกียรติยศสูงส่ง มีคณ ุ สมบัตติ าม ตามแบบฉบับของท่านนบี และมีความศักดิ์สิทธิ์หลาย ประการ เกียรติคุณของท่านเป็นที่เลื่องลือ ท่านเป็นคน ที่นอนน้อย ถือศีลอดเป็นส่วนมาก ในฤดูร้อนจะนั่งบน เสื่อธรรมดา ส่วนฤดูหนาวจะนั่งบนหนังแกะ หลังจากนั้น เขาได้อ้างถึงคุณงามความดีและ บุญญาธิการด้านต่างๆของอิมาม ส่วนหนึ่งก็ถือฮะดีษ ว่าด้วยสร้อยทอง ๖๕-อับดุรรออูฟ อัลมะนาวีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๑๐๓๑) ได้กล่าวว่า ท่านอะลี ริฎอ บิน มูซา อัลกาซิม บิน ญะอ์ฟัร อัศศอดิก เป็นผู้มีเกียรติยศที่ยิ่งใหญ่ และ มีชื่อเสียง มีบุญญาธิการ มากมายหลายประการ หลัง จากนั้น เขาได้ยกเรื่องบุญญาธิการของอิมามริฎอ (อ) มากล่าวเป็นข้อๆ ๖๖-อิบนุ อิมาด อัดดมัชชะกีย์ อัลฮัมบะลีย์ (ฮ.ศ ๑๐๘๙) เขาได้กล่าวถึงเรือ่ งการเสียชีวติ ของอิมามริฎอ (อ) ใน ฮ.ศ ที่ ๒๐๓ ว่า “ท่านอะลี บิน มูซา อัรริฎอ อิมาม อะบุล ฮะซัน อัลฮุซัยนีย์ เสียชีวิตที่เมืองฏูซ ขณะมีอายุ ๕๐ ปี สุสานของท่านกว้างใหญ่ไพศาล เป็นทีเ่ ยีย่ มเยียน ท่านรายงานฮะดีษมาจากบิดาของท่าน คือ อิมามมูซา อัลกาซิม ซึง่ ได้รายงานมาจากปูข่ องท่าน คือ ญะอ์ฟรั บิน มุฮมั มัด อัศศอดิก ท่านเป็นอิมามคนหนึง่ ในจ�ำนวนสิบ สองท่าน ตามหลักความเชื่อในมัซฮับอิมามียะฮ์ ศตวรรษที่ ๑๒ ๖๗-ท่านอับดุลลอฮ์ บิน มุฮัมมัด บิน อามิร อัชชิ บรอวีย์ อัชชาฟิอยี ์ (ฮ.ศ ๑๑๗๒)กล่าวว่า คนทีแ่ ปดในบร รดาอิมาม คือ ท่านอะลี ริฎอ ท่านเป็นผู้มีจิตใจเผื่อแผ่ มีเกียรติยศ เป็นที่ยกย่องนับถือ บิดาของท่าน คือ มูซา อัลกาซิม ได้ให้ความรักแก่ทา่ นอย่างมากมาย กล่าวกัน

40

ว่า ท่านอะลี ริฎอ ได้ปล่อยทาสหนึ่งพันคน เป็นคนอยู่ ในวุฎูอ์ และนมาซ ตลอดทั้งคืน คือท่านจะท�ำวุฎูอ์ และ นมาซ แล้วจะนอนงีบหนึ่ง ต่อมาก็ลุกขึ้นท�ำวุฎูอ์ แล้ว นมาซอีก แล้วนอนงีบหนึ่งอีก จะเป็นอย่างนี้ตลอดจน ถึงเวลาศุบฮ์ สานุศษิ ย์ของท่านคนหนึง่ กล่าวว่า “ฉันไม่มี ความเห็นต่อท่านเป็นอย่างอืน่ เลย นอกจากทีฉ่ นั ได้อา่ น ในโองการของพระองค์ ผูท้ รงสูงสุด ความว่า “ในยามกลาง คืนนัน้ น้อยทีส่ ดุ ซึง่ พวกเขาจะได้นอนพักผ่อน”(อัดดาริ ยาต/๑๗)มีบางท่านกล่าวว่า ท่านอะลี อัรริฎอ บิน มูซา อัลกาซิม บินญะอ์ฟัร อัศศอดิกนั้น เป็นอะฮ์ลุลบัยต์ที่มี เกียรติสงู ส่ง ในหมูบ่ รรดาท่านเหล่านัน้ ได้ให้การยกย่อง เชิดชูเกียรติทา่ นมากทีส่ ดุ และมีผเู้ อาใจใส่ทา่ นมากมาย ข้อพิสูจน์หลักฐานของท่านปรากฏชัดเจน ท่านเป็นผู้มี คุณสมบัติสูงส่ง มีคุณลักษณะตามแบบฉบับของท่าน นบี ตัวของท่านเป็นผู้ทรงเกียรติในตระกูลฮาชิม ท่าน เกิดมาในร่มเงาอันมีเกียรติของสภาวะการเป็นนบี บุญ ญาธิการของท่านมากมายสุดเหลือคณานับ.. ๖๘-อับบาส บิน อะลี บิน นูรดุ ดีน อัลมักกีย์ อัลฮุซยั นีย์ อัลมุเซาวีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๑๑๘๐) ได้กล่าวว่า คุณงามความดีต่างๆของท่านอะลี บิน มูซา อัรริฎอ นั้น มากมายไร้ขอบเขตจ�ำกัด และค�ำณวนนับได้ เป็นหน้าที่ ของอัลลอฮ์ ทั้งก่อนหน้านั้นและหลังจากนั้น ศตวรรษที่ ๑๓ ๖๙- อัซซุบยั ดีย์ อัลฮะนะฟีย์ (ฮ.ศ๑๒๐๕) กล่าว ว่า แท้จริง อะบัลฮะซัน อะลี บิน มูซานัน้ มีฉายานามหนึง่ ว่า ผูม้ คี วามสัจจริง อิบนุมาญะฮ์ จะเล่ารายงานของท่าน ๗๐-อะบุล เฟาซ์ มุฮัมมัด บิน อะมีน อัลบัฆดา ดีย์ อัซซุวัยดีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๑๒๔๖) กล่าวว่า ท่าน เกิดที่เมืองมะดีนะฮ์ มีร่างกายก�ำย�ำแข็งแรงอย่างยิ่ง มี บุญญาธิการมากมาย เกียรติคณ ุ ของท่านเป็นทีเ่ ลือ่ งลือ ไม่มีผู้ใดเสมอเหมือน ๗๑-ซัยยิด มุศฏอฟา บิน มุฮัมมัด อัลอะรูซีย์ อัล มิศรีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๑๒๙๓) กล่าวว่า ท่านอะลี บิน

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


มูซา อัลกาซิม บิน ญะอ์ฟัร ศอดิก เป็นผู้มีศักยภาพ ยิ่งใหญ่ มีชื่อเสียงเล่าลือ ท่านมีบุญญาธิการมากมาย หลังจากนั้น ก็ได้ล�ำดับเรื่องที่เป็นบุญญาบารมีต่างๆ ของอิมามริฎอ ๗๒-อับกุลดูซยี ์ อัลฮะนะฟีย์ (ฮ.ศ ๑๒๙๔) กล่าว ว่า เขาได้นำ� เรือ่ งราวของท่านบันทึกไว้ในหนังสือของท่าน ชือ่ ยะนาบีอลุ มะวัดดะฮ์ ลิซลิ กุรบา ทัศนะของอะฮ์ลซิ ซุน นะฮ์ในเรือ่ งบรรดาอิมามมะอ์ซมู (อ)โดยเฉพาะอย่างยิง่ อิมามริฎอ(อ) ซึ่งท่านได้กล่าวถึงฐานภาพอันสูงส่งของ ท่านไว้เป็นกรณีพิเศษ ๗๓-เชคมุมนิ บิน ฮะซัน อัชชิบลันญีย์ อัชชาฟิอยี ์ (ฮ.ศ ๑๒๙๘) กล่าวว่า ในการกล่าวถึงเกียรติยศของท่าน ซัยยิดินา อะลี อัรริฎอ บิน มูซา อัลกาซิม บิน ญะอ์ฟัร อัศศอดิก บิน มุฮัมมัด อัลบากิร บิน อะลี ซัยนุลอาบิดีน บิน ฮุเซน บิน อะลี บิน อะบี ฏอลิบ (อัลลอฮ์พอพระทัย ต่อท่านเหล่านั้นทั้งมวล..เขายังได้อ้างอิงเรื่องราว ที่ เป็นบุญญาธิการ และหลังจากได้อธิบายถึงคุณสมบัติ ด้านต่างๆแล้ว เขายังได้กล่าวถึงแง่มมุ ชีวติ ทีถ่ กู ยกย่อง สรรเสริญของอิมามริฎออีกด้วย ๗๔-อะมีร อะห์มดั ฮุเซน บุฮาดุร คาน อัลบัรยานุ วีย์ อัลฮินดีย์ อัลฮะนะฟีย์ (ศตวรรษที่ ๑๓) เขาได้กล่าว ถึงชีวประวัติของบรรดาบุตรของอิมามอัลกาซิม แต่ เมื่อได้กล่าวถึงอิมามริฎอ (อ) เขาจะกล่าวถึงด้วยการ ยกย่องเป็นพิเศษ โดยได้อ้างอิงถึงหนังสืออื่นๆบางเล่ม เขาถือว่า อิมามริฎอ เป็นผู้มีเกียรติที่สุดในบรรดาลูกๆ ของอิมามอัลกาซิม และเหนือกว่าคนทั้งหลาย อีกทั้ง ยังได้อ้างอิงถึงกรณีต่างๆ ที่เป็นบุญญาธิการของอิมา มริฎอ โดยเป็นการเทิดเกียรติยกย่องอย่างสูง ศตวรรษที่ ๑๔ ๗๕-เชค ยาซีน บิน อิบรอฮีม อัซซันฮุวะตีย์ อัชชาฟิ อีย์ (ฮ.ศ๑๓๔๔) เขากล่าวว่า อิมามอะลี อัรริฎอ มีเชื้อ สายจากตระกูลทีด่ เี ลิศ อัลลอฮ์ทรงบันดาลให้ทา่ นด�ำรง อยูอ่ ย่างมีเกียรติ มีศกั ยภาพ และเป็นหลักฐานอันยิง่ ใหญ่

มะอ์มูนได้มอบต�ำแหน่งอันสูงส่งแก่ท่าน และให้ท่านมี ส่วนร่วมในการปกครอง อีกทั้งจัดการแต่งงานท่านกับ บุตรสาวของตน และมอบหมายต�ำแหน่งคอลีฟะฮ์ให้แก่ ท่าน หลังจากทีเ่ ขาต้องการจะสละอ�ำนาจการปกครอง ในบัน้ ปลายชีวติ แต่บรรดาคนในตระกูลอับบาซียะฮ์ ได้ ยับยั้งไว้ ต่อมา ท่านอิมามก็ได้เสียชีวิตไปก่อน นับเป็น ความน่าเสียใจอย่างยิ่ง ท่านมีบุญญาธิการมากมาย ๗๖-ยูซุฟ บิน อิสมาอีล อัลนะบะฮานีย์ อัชชาฟิ อีย์ (ฮ.ศ ๑๓๕๐) กล่าวว่า อะลี อัรริฎอ บิน มูซา อัล กาซิม บิน ญะอ์ฟัร อัศศอดิก เป็นคนหนึ่งในบรรดาผู้ อาวุโส และเป็นดวงประทีปของประชาชาติ ท่านมาจา กอะฮ์ลุลบัยต์ของนบี เป็นรากฐานของวิชาการ ความรู้ อันลึกซึ้ง มีจิตเอื้อเฟื้อสูงส่งยิ่ง เป็นผู้มีศักยภาพอันยิ่ง ใหญ่ มีกิติศัพท์ที่ลือเลื่อง และมีบุญญาธิการมากมาย ๗๗-อั ลกอฎี บะฮ์ ญัด อะฟั น ดี ย ์ อั ช ชาฟิ อี ย ์ (ฮ.ศ๑๓๕๐) กล่าวว่า หลังจากอิมามมูซา อัลกาซิม แล้ว ลูกชายคนโตของเขา คือ อิมามริฎอ (อ) ก็ได้เป็น อิมาม ซึ่งเป็นไปตามค�ำสั่งเสียของท่าน สถานะของอิ มามท่านนี้ เป็นเรื่องที่ยิ่งใหญ่มาก เกินการที่บันทึกใน หนังสือเล่มนีไ้ ด้ อิมามริฎอ(อ)รับสืบทอดมรดกวิชาการ ของท่านนบี และอิมาม ด้วยเหตุนี้เอง ท่านจึงได้รับการ ทดสอบที่ยิ่งใหญ่มากมาย หลังจากนัน้ เขาได้กล่าวถึงความรอบรูข้ องอิมาม ในสิง่ ลีล้ บั เขากล่าวว่า ท่านรอบรูถ้ งึ ผลลัพท์ทจี่ ะเป็นไป ในบั้นปลายของสิ่งต่าง ๆ ทั้งๆที่เรื่องนั้น ยังอยู่ในความ เร้นลับ และในที่สุด ก็ได้มีการเปิดเผยถึงความอธรรม และการประทุษร้ายของมะอ์มนู ทีก่ ระท�ำต่ออิมาม และ การหลอกลวงให้ประชาชนหลงผิด หลังจากนัน้ เขายังได้ อ้างถึงเรื่องที่อิมามได้เดินทางไปยังเมืองนัยซาบูร และ ฮะดีษซิลซิละตุซซะฮับ ๗๘-อะลี บิน มุฮมั มัด อับดุลลอฮ์ อัลฟิกรีย์ อัลฮุซยั นีย์ อัลกอฮิรีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๑๓๗๒) เขาได้วิเคราะห์ บุคลิกภาพของอิมามริฎอ(อ)ด้านวิชาความรู้ สังคม และ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

41


เรือ่ งการท�ำอิบาดะฮ์ หลังจากนัน้ เขาได้กล่าวว่า ทัง้ วิชา ความรู้ และความดีเด่นของท่าน นั้น อิบรอฮีม บิน อับ บาส ได้กล่าวว่า ที่ฉันเห็นมาตลอดก็คือ ไม่ว่า ท่านอะ ลี ริฎอจะถูกตัง้ ค�ำถามในเรือ่ งใด ท่านจะรูค้ ำ� ตอบทัง้ นัน้ และฉันไม่เคยเห็นใครมีความรูม้ ากกว่า ท่าน ตลอดเวลา อันยาวนาน จนถึงยุคสมัยของท่าน มะอ์มูนเอง ยังได้ ทดสอบท่านด้วยค�ำถามต่างๆในทุกเรือ่ ง ท่านก็สามารถ ให้ค�ำตอบทันทีทันใด เป็นที่เพียงพอ ส่วนเรือ่ งการท�ำอิบาดะฮ์ของท่านนัน้ ท่านเป็นคน นอนน้อย ถือศีลอดเป็นส่วนใหญ่ โดยไม่เว้นว่างจากการ ถือศีลอดเกินสามวันติดต่อกัน ในทุกๆเดือน เขากล่าวว่า นี่แหละ ที่เรียกว่า การถือศีลอดทั้งปี ด้านคุณธรรมและบริจาคทาน ท่านเป็นผูม้ คี ณ ุ ธรรม ความดี และท�ำการบริจาคทานอย่างมากมาย และส่วน มาก เรื่องเหล่านี้ ท่านจะกระท�ำในตอนกลางคืน

42

ท่านเป็นผูม้ จี ติ เผือ่ แผ่และเป็นคนใจบุญ ครัง้ หนึง่ มีนักกวีคนหนึ่ง ชื่ออะบูนุอาซ ได้กล่าวค�ำกวีเป็นการ ยกย่องท่าน ดังนัน้ ท่านได้สงั่ ให้คนติดตามมอบเงิน ๓๐๐ ดีนารให้แก่เขา และดิอบ์ ลั อัลค็อซซาอีย์ ก็ได้ยกย่องท่าน ด้วยบทกวีที่ยืดยาวบทหนึ่ง ท่านได้มอบถุงเงินซึ่งมีเงิน ๑๐๐ ดีนาร ให้ทันที พร้อมกับกล่าวขอโทษ ความมักน้อย และนอบน้อมถ่อมตน ท่านเป็นคน สมถะ และใช้ชวี ติ อย่างนอบน้อมถ่อมตน ในฤดูแล้งท่าน จะนั่งบนเสื่อ และฤดูหนาวจะนั่งบนหนังแกะ ๗๙-มุฮัมมัด ฟะรีด วุจดีย์ (ฮ.ศ๑๓๗๓) กล่าวว่า อัรริฎอ คือ อะบุลฮะซัน อะลี อัรริฎอ บิน มูซา อัลกาซิม บิน ญะอ์ฟัร อัศศอดิก บิน มุฮัมมัด อัลบากิร บิน อะลี ซัยนุลอาบิดนี ในความเชือ่ ของชีอะฮ์ ท่านคือ หนึง่ ในบร รดาอิมามทั้งสิบสอง อัลมะอ์มูน ได้จัดแต่งงานท่านกับ บุตรสาวของตน และแต่งตัง้ ท่านด�ำรงต�ำแหน่งผู้ ส�ำเร็จ

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


ราชการ อีกทั้งยังได้ประทับชื่อของท่านลงบนเหรียญดี นาร ในตอนท้าย เขาได้อ้างอิงบทกวีของอะบีนุอาซที่ กล่าวเป็นค�ำสดุดีท่านอิมามอัรริฎอ(อ) ๘๐-อับดุลมุตะอาล อัศศออีดยี ์ อัลมิศรีย์ อัชชาฟิ อีย์ (ฮ.ศ ๑๓๗๗)อาจารย์สอนภาษาอาหรับประจ�ำมหา วิทยาลัยอัลอัซฮัร กล่าวว่า ท่านอะลี อัรริฎอ เกิดเมื่อ ฮ.ศ ๑๕๐ ตรงกับ ค.ศ ๗๖๗ ส่วนหนึ่ง ในบุคลิกภาพอันยิง่ ใหญ่ของท่าน คือ เป็นผูม้ คี วามรูแ้ ละ นอบน้อมถ่อมตน และอีกแห่งหนึง่ เขากล่าวว่า ท่านเป็น อิมาม ที่ยึดในหลักสมถะ ๘๑-ค็อยรุดดีน อัซรอกะลีย์ อัดดะมัชชะกีย์ (ฮ.ศ ๑๓๙๖) กล่าวว่า อะบุลฮะซัน มีสมญานามว่า อัรริฎอ เป็นอิมามทีแ่ ปดในจ�ำนวนสิบสองอิมาม ตามทัศนะขอ งอิมามียะฮ์ ท่านเป็นซัยยิดและเป็นผู้มีเกียรติยศสูงส่ง ที่สุดในบรรดาอะฮ์ลุลบัยต์ (สมัยของท่าน)

ศตวรรษที่ ๑๕ ๘๒-ซัยยิด มุฮัมมัด ฏอฮิร อัลฮาชิมีย์ อัชชาฟิ อีย์ (ฮ.ศ ๑๔๑๒)เขาได้เขียนในหนังสือของเขาหลาย หน้ากระดาษ ในเรื่องเกียรติยศด้านต่างๆของอิมามอะ ลี บิน มูซา อัรริฎอ (อ) โดยเขาได้อ้างอิงเรื่องราวที่เป็น เกียรติยศ ความดีงามและบุญญาธิการต่างๆของอิมาม และกล่าวถึงค�ำกล่าวของผูท้ ไี่ ด้ตดิ ตามและนักปราชญ์ อะฮ์ลิซซุนนะฮ์ในเรื่องนั้นๆ ๘๓-มุฮมั มัด อะมีน ฎ็อนนาวีย์ กล่าวว่า ท่านอะลี บิน มูซา บิน ญะอ์ฟัร บิน มุฮัมมัด บิน อะลี บิน ฮุเซน มี สมญานามว่า อัรริฎอ เป็นท่านทีแ่ ปดในบรรดาอิมามสิ บสองท่านตามทัศนะของอิมามียะฮ์ และเป็นเจ้านายผู้ มีเกียรติอย่างสูงแห่งอะฮ์ลุลบัยต์ ๘๔-อะห์มัด ซะกีย์ ศ็อฟวะตุชชาฟิอีย์ เขามี บทบาทในการให้เกียรติอมิ ามริฎอ(อ) และกล่าวถึงสาย

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

43


ตระกูลอันประเสริฐและอ้างถึงการตัดสินคดีความทีเ่ กิด ขึ้นในยุคของท่าน ๘๕-ดร.อับดุสสลาม อัตตัรมานีนีย์ กล่าวว่า ท่า นอะลี บิน มูซา อัลกาซิม บิน ญะอ์ฟัร อัศศอดิก บิน มุ ฮัมมัด อัลบากิร บิน อะลี ซัยนุลอาบิดีน บิน ฮุเซน บิน อะลี บิน อะบี ฏอลิบ ท่านอะบุลฮะซัน มีสมญานามว่า อัรริฎอ เป็นอิมามคนที่แปด ในบรรดาอิมามทั้งสิบสอง ตามทัศนะของฝ่ายอิมามียะฮ์ ท่านเกิดทีเ่ มืองมะดีนะฮ์ เป็นเจ้านายที่มีเกียรติยศยิ่งในบรรดาอะฮ์ลุลบัยต์ ๘๖-ฮาดีย์ ฮัมมู อลมิศรีย์ อัชชาฟิอีย์ กล่าวว่า อิ มามอัรริฎอ เป็นผู้สร้างความรุ่งโรจน์ให้แก่อารยธรรม อิสลาม กล่าวคือ ในสมัยของมะอ์มูน มีปัญหาจาก หลายกลุ่มชน ท่านอิมามได้เข้าไปร่วมในที่ประชุม ใน ฐานะผู้มีความรอบรู้ และมีสติปัญญาปราดเปรื่อง อัล มะอ์มนู ได้เลือกให้ทา่ นเป็นผูต้ อบปัญหาข้อสงสัยต่างๆ ทีม่ กี ารถกเถียงกัน ในระหว่างบรรดานักปราชญ์ นักการ ศาสนา และผู้คงแก่เรียนจากส�ำนักต่าง ๆ และศาสนา ต่างๆ พวกเขาจะตัง้ ค�ำถาม โดยทีท่ า่ นเป็นคนเดียวทีใ่ ห้ ค�ำตอบ จนกระทั่งไม่มีคนใดในหมู่คนเห่านั้นปฏิเสธได้ นอกจากจะมีแต่ยอมรับต่อท่าน ด้วยการยกย่อง และให้ ความเคารพนับถือ ครั้งกระนั้น ได้มีนักปราชญ์คนหนึ่ง ชือ่ อีซา อัลยักฏีนยี ์ เขาได้รวบรวมหนังสือของท่านหนึง่ เล่ม ในนั้นมี ๑๘ ค�ำถาม และค�ำตอบ แต่หนังสือเล่มนี้ ได้ถกู ท�ำให้สญ ู หายไปพร้อมกับหนังสืออีกจ�ำนวนนับพัน เล่ม ที่ถูกท�ำให้สูญหายไปโดยห้องสมุดอาหรับอิสลาม ๘๗-บากิร อามีน อัลวัรดุ อัชชาฟิอยี ์ กล่าวว่า ท่า นอะลี บิน มูซา อัลกาซิม บิน ญะอ์ฟัร อัศศอดิก อะบุล ฮะซัน มีสมญานามว่า อัรริฎอ เป็นคนทีแ่ ปดในบรรดาอิ มามทั้งสิบสองตามทัศนะของอิมามียะฮ์ และเป็น เจ้า นายที่มีเกียรติสูงส่งในบรรดาอะฮ์ลุบัยต์ หลังจากนั้น เขายังได้อธิบายถึงเรื่องเอกสารทางยารักษาโรคของอิ มามริฎอ(อ) และกล่าวในเรื่องนี้โดยละเอียด ๘๘-ดร.ค็อลดูน อะห์ดับ อัลฮัมบะลีย์ ได้กล่าว

44

ภายหลังจากที่ได้อ้างค�ำพูดของอิบนุฮะญัร ในตอนที่ ให้การรับรองว่า ท่านอิมามเป็นคนซื่อสัตย์ ว่า เกี่ยว กับเรือ่ งของบิดาและปูท่ วดของท่านอิมามนัน้ พวกท่าน ทั้งหมดล้วนเป็นที่เชื่อถือของบรรดาผู้มีคุณธรรม ผู้มี เกียรติ และมีความรู้ ๘๙-ดร.อับดุลฮะลีม มะห์มูด อัชชาฟิอีย์ และ มะห์มูด บิน ชะรีฟ อัชชาฟิอีย์ ได้กล่าวถึงบุคลิกภาพ ของอิมามริฎอ(อ) ว่า อัลมะอ์มูนได้ให้เกียรติท่านเป็น อย่างสูง และได้แต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นคอลีฟะฮ์ ภายหลังจากสมัยของของตัวเอง แต่อิมามได้เสียชีวิต เสียก่อน ท่านเกิดที่เมืองมะดีนะฮ์ เมื่อ ฮ.ศ ๑๔๘ และ เสียชีวิตที่เมืองฏูซ เมื่อ ฮ,ศ ๒๐๓ ท่านมีบุญญาธิการ มากมาย ต่อจากนั้น เขาได้กล่าวถึงบุญญาธิการบาง อย่างของอิมามริฎอ(อ) ๙๐-ดร.กามิล มุศฏอฟา อัชชัยบีย์ กล่าวว่า ท่า นอัรริฎอ มีภารกิจอยู่กับวิชาความรู้ เช่นเดียวกับปู่และ บิดาของท่าน จนกระทัง่ ท่านอับดุลลอฮ์ บิน ญะอ์ฟรั อัล ฮิมรีย์ รายงานไว้ว่า ท่านต้องตอบค�ำถามมากมายถึง 15,000 ค�ำถาม นี่คือเหตุการณ์ก่อนหน้าที่คนทั้งหลาย ร่วมกันลงความเห็นในเรือ่ งเกียรติยศของท่าน ท่านเป็นผู้ มีบญ ุ ญาธิการและความกล้าหาญเป็นเลิศ ท่านมีความ รู้เหมือนกันกับอิมามญะอ์ฟัร อัศศอดิก ปู่ของท่านท่าน มีต�ำรารวบรวมฮะดีษที่รายงานมาจากบรรพบุรุษของ ท่าน ซึ่งได้รับมาจากท่านนบี ค�ำถามที่ไม่ มีคำ� ตอบ ค�ำถามแรก ตามค�ำพูดของบรรดาอะฮ์ลซิ ซุนนะฮ์ ที่เล่าขานกันมาตั้งแต่ต้นนั้น อิมามริฎอ (อ) มีฐานภาพ สูงส่งยิ่งนัก ทางด้านวิชาการ จิตวิญญาณ ความรู้แจ้ง (อิรฟาน ในเรื่องของพระผู้เป็นเจ้า) และทางด้านสังคม เป็นอย่างสูง จนกระทั่งได้มีค�ำพูดว่า ท่านมีความดีเด่น เป็นพิเศษ ในสถานะทางวิชาความรู้ โดยมีค�ำยกย่อง มากมายหลายประโยค ดังนี้ “เป็นที่เชื่อถือ” ท่านท�ำหน้าที่วินิจฉัยความ ใน

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


มัสยิดของท่านรอซูลลุ ลอฮ์ ในขณะอายุยงั น้อย คือ ยีส่ บิ ปี “ไม่ว่าจะถูกตั้งค�ำถามอย่างไร ท่านอะลี ริฎอ จะมี ความรู้ในเรื่องนั้น ๆ ทั้งสิ้น”ท่านเป็นเจ้านาย(ซัยยิด) แห่งอะฮ์ลุลบัยต์” “ท่านเป็นผู้ปราดเปรื่องทางปัญญา ที่สุดในหมู่พวกเขา และมีเกียรติสูงสุดในหมู่บรรดาบะ นีฮาชิม” ที่ถือกันว่า “จ�ำเป็นจะต้องยอมรับฮะดีษของ ท่าน” เมื่อได้รับรายงานฮะดีษนั้นๆมาจากท่าน และ มีการยกย่องว่า “บรรดาอิมามนักฮะดีษต่างยอมรับ รายงานทีม่ าจากท่าน” และถือว่า “ท่านเป็นนักปราชญ์ ผู้มีเกียรติ ที่ส�ำคัญในบรรดาอะฮ์ลุลบัยต์” “ท่านเป็น ผู้ทรงคุณวุฒิ ทางด้านวิชาการ” ท่านอะลี บิน มูซา อัร ริฎอ เป็นผูป้ ระเสริฐ” เป็นคนมีความรูม้ ากทีส่ ดุ ” “เป็นอิ มาม ผู้ทรงคุณความรู้” ฯลฯ ทุกประโยคค�ำพูดเหล่านี้ อธิบายได้อย่างชัดเจน ว่า อิมามเป็นผูร้ ู้ ทีส่ ามารถท�ำหน้าทีว่ นิ จิ ฉัยความศาสนา ได้ตั้งแต่อายุยังน้อย เพียงยี่สิบปี ที่มัสยิดท่านนบี และ เป็นผู้อาวุโสที่มีเกียรติในบรรดาอะฮ์ลุลบัยต์ (อ) มีผู้น�ำ สาขาวิชาฮะดีษยอมรับรายงานจากท่าน และเชือ่ ถือว่า ท่านเป็นดวงประทีปของประชาชาติ เป็นรากฐานทาง วิชาการ และวิชาความรู้ในเรื่องของพระผู้เป็นเจ้า เมื่อพิจารณาคุณสมบัติต่าง ๆ เหล่านี้แล้ว ก็เกิด ค�ำถามโดยปริยาย ว่า ด้วยสาเหตุอันใด ที่ไม่มีรายงาน ฮะดีษของท่านแม้แต่บทเดียวในต�ำราศอฮีฮข์ องอะฮ์ลซิ ซุนนะฮ์ แม้แต่ในต�ำราฟิกฮ์ หรือตัฟซีร หรืออื่นๆ และ ท�ำไม ความหมายเหล่านี้หมายถึง มรดกอันทรงคุณค่า จึงได้เลือนลับไป เมือ่ เทียบฐานภาพของอิมามริฎอทาง วิชาการ กับผู้เขียนต�ำราศอฮีฮ์ ซึ่งมีชีวิตร่วมสมัยกับ อิมามริฎอ(อ) ยิ่งไปกว่านั้น ถ้าพวกเขาบางคนพบว่า รายงานบทใด ในหนังสือมุสนัดหรือสุนันเล่มใด พวก เขาจะท�ำหมายเหตุระบุวา่ ฎออีฟ(ขาดความน่าเชือ่ ถือ) โดยปราศจากหลักฐานใด ๆ ? ค�ำถามทีส่ อง ถ้าเราพิจารณาอย่างถ่องแท้ในเรือ่ ง ยุคสมัยทีอ่ มิ ามริฎอ มีชวี ติ แน่นอนเราจะพบว่า มีบรรดา

นักปราชญ์อาวุโสของอะฮ์ลิซซุนนะฮ์อยู่ด้วย แต่ละคน ล้วนแต่นับได้ว่า มีชื่อเสียง เช่น มาลิก บิน อะนัส (ฮ.ศ ๑๙๐) อะบี บักร์ บิน อิยาช (ฮ.ศ ๑๙๓) ซีบุวัยฮ์ อันนะห์ วิ (ฮ.ศ ๑๙๔)อับดุรเราะห์มาน บิน มะห์ดีย์ (ฮ.ศ ๑๙๔) อะบี ยะอ์กูบ ยูซุฟ บิน อัซบาฏ (ฮ.ศ ๑๙๕)วะกีอ์ บิน ญะรอฮ์(ฮ.ศ ๑๙๗) ซุฟยาน บิน อัยยินะฮ์ (ฮ.ศ ๑๙๘) ยะห์ยา บิน สะอีด อัลก็อฏฏอน(ฮ.ศ ๑๙๘) มุฮมั มัด บิน อิดรีส อัชชาฟิอีย์(ฮ.ศ๒๐๔)อะบีดาวูด อัฏฏ็อยยาลิซีย์ (ฮ.ศ ๒๐๔) และนักรายงานฮะดีษ นักฟุกอฮาอ์ ผู้มีชื่อ เสียง อีกหลายสิบคน ทีม่ สี ถานะทางวิชาการในยุคสมัย ของพวกเขา เมื่อพิจารณาก็จะเห็นได้ว่าอยู่ในสมัยของ อิมามริฎอ (อ) และถ้อยค�ำของ ซะฮะบีย์ อัชชาฟิอีย์ที่ กล่าวถึงสถานะของอิมาม ในเรือ่ งความสามารถท�ำการ วินิจฉัยความตั้งแต่ยังหนุ่ม ก็อยู่ในสมัยของมาลิก บิน อะนัส หรือ ถ้อยความทีก่ ล่าวว่า อิมามอะลี บิน มูซา อัร ริฎอ เป็นผู้น�ำในด้านต่างๆ และคุณสมบัติอื่นๆ ที่กล่าว ถึงอิมามผู้ยิ่งใหญ่ ดังที่ผ่านไปแล้วนั้น ก็มีค�ำถามเกิด ขึ้นในใจว่า ท�ำไม ในหมู่บรรดาคนเหล่านั้น ไม่มีใครรับ รายงานจากท่านแม้แต่คนเดียว หรือสักรายงานเดียว หรือสักค�ำถามเดียว ? และท�ำไมระหว่างพวกเขากับ อิมามจึงไม่มคี วามสัมพันธ์ใดๆกันเลย ? และจะมีความ หมายอะไร จากค�ำเชิดชูเกียรติตา่ ง ๆ ทีบ่ รรดานักปราชญ์ อะฮ์ลิซซุนนะฮ์มีให้ ในเรื่องบุคลิกภาพอันยิ่งใหญ่ของ อิมามริฎอ(อ) และจุดยืนของอุละมาอ์ บรรดานักปราชญ์ ในยุคนั้น เป็นอย่างไร ? และท�ำไมจุดยืนของบรรดานัก ปราชญ์ในยุคนั้นจึงเสมอเหมือนกันกับนักปราชญ์ใน สมัยถัดมา บทรายงานเรื่ อง สายโซ่ ทองค�ำ เราได้กล่าวไปแล้วว่า รายงานบทนีม้ ขี นึ้ เมือ่ ครัง้ ที่ อิมามริฎอ(อ)เดินทางไปยังเมืองนัยซาบูร และมีประชาชน ออกมาให้การต้อนรับอย่างล้นหลาม โดยเฉพาะบรรดา นักปราชญ์ ผู้รู้ในวิชาฮะดีษที่มีชื่อเสียง ชาวอะฮ์ลิซซุน นะฮ์ และเราได้กล่าวไปแล้วเช่นเดียวกัน ส�ำหรับฮะดีษ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

45


ที่ว่า “ลา อิลาฮะ อิลลัลลอฮ์ เป็นเกราะคุ้มกันส�ำหรับ ฉัน...” ซึ่งมีบรรดานักเขียน ๒๐,๐๐๐ คนได้บันทึกไว้ ท่านฮากิม นัยซาบูรีย์ อัชชาฟิอีย์ ได้กล่าวไว้ใน หนังสือตารีคของท่านว่า อิมามริฎอ(อ) ได้เดินทางเข้า เมืองนัยซาบูรเมือ่ ฮ.ศ ๒๐๐ และเขาได้รวบรวมเหตุการณ์ ทางประวัตศิ าสตร์ทเี่ กิดขึน้ ในปีนนั้ ไว้ในหนังสือของเขา คือ หนังสือ “ตารีค นัยซาบูร” ความขัดแย้ ง ความจ�ำเป็นประการหนึง่ คือต้องรูด้ ว้ ยว่า มีสอง ฮะดีษทีแ่ ตกต่างกัน ทัง้ ๆทีห่ ลักฐานมาจากแหล่งเดียวกัน และทัง้ ๆทีม่ าจากสารบบการรายงานในหนังสือของอะฮ์ ลิซซุนนะฮ์ ด้วยกัน ในหัวข้อที่ชื่อว่า “สายโซ่ทองค�ำ”ซึ่ง ถูกรายงานมาจากอิมามริฎอ (อ)ทีเ่ มืองนัยซาบูร ฮะดีษ ที่หนึ่ง คือ ฮะดีษว่าด้วย “เกราะป้องกัน” ฮะดีษที่สอง คือ ฮะดีษว่าด้วย “ความศรัทธา” ซึ่งในบทนี้ เราจะน�ำ

46

สองฮะดีษนี้มาวิเคราะห์ในรายละเอียด ยังมีฮะดีษอื่นๆที่เข้ามาเสริมสองฮะดีษนี้ ซึ่งถูก ถ่ายทอดมาจากอิมามอัรริฎอ(อ) และที่อิมามได้รับ รายงานมาจากบรรพบุรุษของท่าน ซึ่งมีใจความที่แตก ต่างไปจากฮะดีษว่าด้วยความศรัทธาและฮะดีษว่าด้วย เกราะป้องกัน อีกนัยหนึ่ง ฮะดีษต่างๆที่เรียกว่า สายโซ่ทองค�ำ ดังที่ถูกกล่าวถึงไว้มากมายในต�ำราฮะดีษของอะฮ์ลิซ ซุนนะฮ์นั้น เป็นฮะดีษที่อิมามอัรริฎอ(อ) ได้รับรายงาน มาจากบรรพบุรษุ ผูท้ รงเกียรติของท่าน (อ) และมีจำ� นวน มากมาย เพราะเป็นที่รู้กันว่าท่านอิมามยึดแนวทาง รายงานโดยบุตรรับมาจากบิดาเป็นส่วนใหญ่ และ บรรดาสานุศษิ ย์ของอิมามก็ได้รวบรวมฮะดีษต่างๆทีช่ อื่ “สายโซ่ทองค�ำ”ไว้ในหนังสือ ศอฮีฟะฮ์ ดังที่ ท่านซัมอา นีย์ อัชชาฟิอีย์ ได้กล่าวไว้ว่า “ท่านได้เล่ารายงานจาก

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


บรรพบุรุษของท่านไว้เป็นเล่มบันทึก “ศอฮีฟะฮ์” “และ ทีก่ ล่าวว่า “บันทึกรายงานของท่านทีม่ ชี อื่ เสียงมากทีส่ ดุ คือ ศอฮีฟะฮ์” บันทึกที่รวบรวมฮะดีษต่างๆไว้เหล่านี้ มีชื่อเรียกอีกว่า “มุสนัดอัรริฎอ” ด้วย อิบนุ ชัยรูวียะฮ์ อัดดัยละมีย์ อัชชาฟิอีย์ ให้การ รับรองว่า ศอฮีฟะฮ์เล่มนี้ เป็นต�ำราศอฮีฮ์ มีความถูก ต้อง และเป็นที่เชื่อถือ และเขาได้น�ำบางตอนไปบันทึก ไว้ในหนังสือมุสนัดของเขา พร้อมกันนีก้ ย็ งั มีนกั รายงาน บางคน ถือว่าศอฮีฟะฮ์นี้ อ่อนหลักฐาน ขาดความน่า เชื่อถือ หรือเป็นมุสนัดที่ปราศจากหลักฐานใดๆอันน่า เป็นที่ยอมรับ พวกเขาจึงถือว่าฮะดีษต่างๆในหนังสือ นั้น ไม่เป็นที่เชื่อถือ ณ ตรงนี้ เราจะอ้างถึงฮะดีษทีช่ อื่ ว่า สายโซ่ทองค�ำ ซึ่งรู้จักกันดีในเหล่าบรรดานักปราชญ์อะฮ์ลิซซุนนะฮ์ เนือ้ หาสาระของฮะดีษนีก้ ค็ อื ฮะดีษว่าด้วย ความศรัทธา และ เกราะป้องกัน ตามที่ค้นคว้าได้จากข้อความของ ฮะดีษนี้ในต�ำราของอะฮ์ลิซซุนนะฮ์ หลังจากนั้น เราจะ อธิบายไปถึงฮะดีษอืน่ ๆทีค่ ล้ายคลึงกับ “สายโซ่ทองค�ำ” ที่มีในสารบบการรายงานเท่านั้น หนังสือ สายโซ่ ทองค�ำ มีการกล่าวกันว่า ฮะดีษบทนีม้ ผี รู้ ายงานถ่ายทอด มากมายนับจ�ำนวนหนึ่งหมื่นคน และที่เล่าลือกันมาก ที่สุดคือ สองหมื่นคน ประการที่ ๑ บทรายงานว่าด้วย “เกราะป้องกัน” ข้ อความจากบทรายงาน ท่านอะลี บิน มูซา อัรริฎอ(อ) ได้กล่าวว่า ท่านมูซา อัลกาซิม บิดาของฉันได้เล่าฉันว่า มีรายงานจาก ท่าน ญะอ์ฟัร อัศศอดิก บิดาของท่าน เล่าว่า มีรายงานจาก ท่านมุฮมั มัด อัลบากิรบิดาของท่าน เล่าว่า มีรายงานจาก ท่านอะลี ซัยนุลอาบิดีน บิดาของท่าน เล่าว่า มีรายงาน จากท่านฮุเซน ชะฮีดแห่งกัรบะลาอ์ เล่าว่า มีรายงานจาก ท่านอะลี บิน อะบี ฏอลิบ บิดาของท่าน กล่าวว่า ท่าน รอซูลุลลอฮ์ ศ็อลฯ ที่รักของฉัน และแก้วตาดวงใจของ

ฉัน ได้เล่าฉันว่า “ญิบรออีล ได้เล่าฉันว่า ฉันได้ยินพระ ผู้อภิบาลผู้ทรงเกียรติ มหาบริสุทธิ์ พระองค์ผู้ทรงสูงสุด มีดำ� รัสว่า ค�ำว่า ลาอิลาฮะ อิลลัลลอฮ์ คือเกราะป้องกัน ของฉัน ดังนัน้ ใครก็ตามทีไ่ ด้กล่าวค�ำนี้ เขาจะได้เข้าไปอยู่ ในเกราะป้องกันของฉัน และผูใ้ ดทีไ่ ด้เข้าไปอยูใ่ นเกราะ ป้องกันของฉัน เขาจะปลอดภัยจากการลงโทษของฉัน” นักรายงาน ผูร้ ายงานฮะดีษบทนี้ เป็นบรรดานักปราชญ์อาวุโส ของอะฮ์ลซิ ซุนนะฮ์ เราจะกล่าวถึงพวกเขาตามล�ำดับของ ยุคสมัย จนถึงยุคปัจจุบนั และในการวิเคราะห์ทสี่ มบูรณ์ นัน้ จะต้องท�ำความเข้าใจว่า จ�ำนวนนักรายงานฮะดีษว่า ด้วยเกราะป้องกัน มีจ�ำนวนคงที่อยู่ห้าสิบรายงาน จาก นักรายงานทั้งสิ้นจ�ำนวนระหว่าง ๑๐,๐๐๐-๓๐,๐๐๐ คน แต่ที่คงเหลือในปัจจุบันนี้จากสารบบการรายงาน ฮะดีษ มีเพียงสิบสองสายรายงานเท่านั้นที่นักปราชญ์

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

47


รุ่นอื่น ๆ บันทึกรายงานอันทรงคุณค่านี้ ศตวรรษที่ ๓ อิมามมุฮัมมัด อัลญะวาด(อ)(ฮ.ศ ๒๒๐) มุฮัม มัด บิน อุมัร อัลวากิดีย์ (ฮ.ศ ๒๐๗) ยะห์ยา บิน ยะห์ ยา(ฮ.ศ ๒๒๖) อะห์มัด บิน หะร็อบ อันนัยซาบูรีย์(ฮ.ศ ๒๓๔)อะบูศิลัต อับดุสสลาม บิน ศอลิฮ์ อัลฮัรวีย์ (ฮ.ศ ๒๓๖) อิสฮาก บิน รอฮาวัยฮ์ อัลมะรูซีย์ (ฮ.ศ ๒๓๘) มุ ฮัมมัด บิน อัสลัม อัลกินดีย์ อัฏฏูซีย์ (ฮ.ศ ๒๔๒) มุฮัม มัด บิน รอฟิอ์(ฮ.ศ อัลกุชัยรีย์ (ฮ.ศ ๒๔๕) อะบูซุรอะฮ์ อัรรอซีย์ (ฮ.ศ ๒๖๑)อะห์มดั บิน อามิร อัฏฏออีย์ อะห์มดั บินอีซา อัลอะละวีย์ อะห์มัด บิน อะลี บิน ศอดาเกาะฮ์ ศตวรรษที่ ๕ อัลฮากิม อันนัยซาบูรีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๔๐๕) อะห์มดั บิน อับดุรเราะห์มาน อัชชีรอซีย(์ ฮ.ศ ๔๐๗ หรือ ฮ.ศ ๔๑๑ อะบูนะอีม อัลอัศฟะฮานีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๔๓๐) อัลกุฎออีย์ อัชชาฟิอีย์(ฮ.ศ ๔๕๔) อัชชะญะรีย์ อัลญุรญานีย์ อัลหะนะฟีย์ (ฮ.ศ ๔๙๙) ศตวรรษที่ ๖ อะบูฮามิด มุฮัมมัด อัลฆอซาลี อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๕๐๕) อิบนุ ชีรุวัยฮ์ อัดดัยละมี อัชชาฟิอีย์(ฮ.ศ ๕๐๙) อัซมะมัคชะรีย์ อัลหะนะฟีย์ (ฮ.ศ ๕๓๗) อิบนุ อะซากิร อัดดะมัชชะกีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๕๗๑)อิบนุ อัลเญาซีย์ อัลฮัมบะลีย์ (ฮ.ศ ๕๙๗) ศตวรรษที่ ๗ อิบนุกุดามะฮ์ อัลมักดะซีย์ อัลฮัมบะลีย์ ( ฮ.ศ ๖๒๐) อัรรอฟิอีย์ อัลก็อซวัยนีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๖๒๓) มุฮัมมัด บิน ฏ็อลหะฮ์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๖๕๒)ซิบฏุ อิ บนุลเญาซีย์ อัลฮะนะฟีย์ (ฮ.ศ ๖๕๔) ศตวรรษที่ ๘ อิบนุ มันซูร อัลอัฟรีกีย์ (ฮ.ศ ๗๑๑)อัลญุวัยนี อัช ชาฟิอีย์(ฮ.ศ ๗๓๐) อัซซะฮะบีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๗๓๘) อัซซะร็อนดีย์ อัลหะนะฟีย์ (ฮ.ศ ๗๕๗) อัลคอลีฟะฮ์ อัน นัยซาบูรีย์ อัชชาฟิอีย์

48

ศตวรรษที่ ๙ มุฮัมมัด คอวาญิฮ์ บารซา อัลบุคอรี อัลฮะนะฟีย์ (ฮ.ศ ๘๒๒) อิบนุฮะญัร อัสก็อลลานีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๘๕๒) อิบนุศศ็อบบาฆ อัลมาลิกีย์ (ฮ.ศ ๘๕๕) ศตวรรษที่ ๑๐ อัสสะยูฏยี ์ อัชชาฟิอยี ์ (ฮ.ศ ๙๑๑) อัซซัมฮูดยี ์ อัช ชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๙๑๑) อัลค็อนญีย์ อัลอัศฟะฮานีย์ อัลหะ นะฟีย์ (ฮ.ศ ๙๒๗) อิบนุฮะญัร อัลฮัยซุมีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๙๗๔)อัลมุตตะกีย์ อัลฮินดีย์(ฮ.ศ๙๗๕) ศตวรรษที่ ๑๑ อัลกุรมานีย์ อัดดะมัชชะกีย์ (ฮ.ศ ๑๐๑๙) อับดุร รออูฟ อัลมันนาวีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๑๐๓๑) ศตวรรษที่ ๑๒ อันนาบัลซีย์ อัดดะมัชชะกีย์ อัลฮะนะฟีย์ (ฮ.ศ ๑๑๔๓) อัลมิรซา มุฮัมมัด คาน อัลบะดัคชีย์ อัลฮินดีย์ อัลฮะนะฟีย์ ศตวรรษที่ ๑๓ อัซซะบัยดีย์ อัลฮะนะฟีย์ (ฮ.ศ ๑๒๐๕) อัลกุนดู ซีย์ อัลฮะนะฟีย์(ฮ.ศ๑๒๙๔)อัชชิบลันญีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๑๒๙๘) ศตวรรษที่ ๑๔ และต่ อๆมา อัลกอฎี บะฮ์ญดั อะฟันดีย์ อัชชาฟิอยี (์ ฮ.ศ ๑๓๕๐) ซัยยิด มุฮมั มัด ฏอฮิร อัลฮาชิมยี ์ อัชชาฟิอยี ์ (ฮ.ศ๑๔๑๒) เชคอะห์มัด อัตตาบิอีย์ อัลมิศรีย์ อัชชาฟิอีย์ อับดุลอะ ซีซ บิน อิสฮาก อัลบัฆดาดีย์ อัลฮะนะฟีย์ สายรายงานของนักรายงานฮะดีษ ได้มีการบันทึกเหตุการณ์เมื่อครั้งที่อิมามริฎอ (อ)เดินทางเข้าเมืองนัยซาบูร และบันทึกฮะดีษว่าด้วย เกราะป้องกัน มากนับเป็น ๑๐,๐๐๐ -๓๐,๐๐๐ คน แต่ ทว่า ได้เลือนหายไป และสารบบการรายงานทีส่ มบูรณ์ ก็สูญหายไปเช่นเดียวกับฮะดีษเรื่อง ฆอดีรคุม ซึ่งมีนัก รายงานบันทึกไว้มากมายหลายคน ที่แตกต่างกันทาง ด้านมัซฮับ

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


อย่างไรก็ตาม เป็นทีย่ อมรับกันว่า ฮะดีษทีอ่ บั ดุส สลาม บิน ศิลาฮ์ อัลฮัรวีย์ รายงานมาจากอิมามริฎอ(อ) นัน้ มีบางคนได้ให้ความเห็นว่าฮะดีษนัน้ หมดความน่า เชือ่ ถือ โดยถือว่า อะบูศอ็ ลต์ เป็นบุคคลทีข่ าดคุณสมบัติ ความน่าเชื่อถือ(ฎออีฟ) ในความเป็นจริงนั้น ประการแรก นักรายงาน อาวุโสของอะฮ์ลซิ ซุนนะฮ์ ให้ความเชือ่ ถือต่ออะบูศอ็ ลต์ ดังจะอธิบายต่อไป ประการทีส่ อง ฮะดีษนีย้ งั มีนกั รายงานคนอืน่ ๆอีก ที่ได้รับรายงานมาจากอิมามริฎอ(อ) ในที่นี้ นอกเหนือ จากอะบูศลิ ตั แล้วเราจะกล่าวถึงรายชือ่ ของคนเหล่านัน้ เพิ่มเติมเข้ามาด้วย ๑-อิมามญะวาด (อ) พวกเขาทัง้ หมด รวมถึง อัลยุ วัยนี อัชชาฟิอยี ์ และอัซซุบยั ดีย์ อัลฮะนะฟีย์ ก็ได้รายงาน ด้วยสารบบการรายงานฮะดีษจากอิมามญะวาด(อ) ๒-อะบูศ็อลต์ อับดุสสลาม บิน ศอลิห์ อัลฮัรวีย์

เป็นคนรับใช้ประจ�ำของอิมามอะลี บิน มูซา อัรริฎอ(อ) เขาได้ถ่ายทอดฮะดีษที่ส�ำคัญเป็นประวัติศาสตร์บทนี้ อย่างละเอียด โดยมีนักรายงานส่วนใหญ่ของอะฮ์ลิซ ซุนนะฮ์ รายงานเป็นสายต่างๆไปจ�ำนวนมาก ๓- อะห์มดั บิน อามิร อัฏฏออีย์ ท่านอิบนุอะซากิ ร อัดดะมัชชะกียไ์ ด้เล่าฮะดีษนี้ โดยสารบบการรายงาน ของเขาจากอะห์มัด บิน อามิร อัฏฏออีย์ ๔-อะห์มัด บิน อีซา อัลอะละวีย์ ท่านอัรรอฟิอีย์ อัลก็อซวัยนีย์ ออัชชาฟิอีย์ ได้เล่าฮะดีษนี้ โดยสารบบ การรายงานของเขาจาก ท่านผู้นี้ ๕-อะห์มัด บิน อะลี บิน ศอดะเกาะฮ์ มีท่านอับ ดุลลอฮ์ มุฮัมมัด บิน สะลามะฮ์ อัลกุฏออีย์ อัชชาฟิอีย์ เล่าฮะดีษจากโดยสารบบการรายงานจากเขา ๖-มุฮัมมัด บิน อุมัร อัลวากิดีย์ มีท่านซิบฏ์ บิน เญาซีย์ อัลฮะนะฟีย์ เล่าฮะดีษจากสารบบการรายงาน ของเขา

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

49


๗-อะบูซุรอะฮ์ อัรรอซีย์ ๘-มุฮัมมัด บิน อัสลัม อัฏฏูซีย์ กล่าวว่า ท่านฮา กิม อันนัยซาบูรีย์ ได้ยืนยันในเรื่องส�ำคัญนี้ ๙ อิสฮาก บิน รอฮุวัยฮ์ อัลมะรซีย์ ๑๐-มุฮัมมัด บิน รอฟิอ์ อัลกอชัยรีย์ ๑๑-อะห์มัด บิน ฮะร็อบ อันนัยซาบูรีย์ ส�ำหรับสามท่านสุดท้ายนี้ มีผรู้ บั การเล่าไปบันทึก เป็นรายงานต่อ คือ อิบนุลเญาซีย์ อัลฮัมบะลีย์ ซิบฏุ อิ บนุลเญาซีย์ อัลฮะนะฟีย์ ซึง่ รับรายงานมาจาก อัลวากิดยี ์ ๑๒-ยะห์ยา บิน ยะห์ยา โดยมีอบิ นุเญาซีย์ อัลฮัม บะลียฺ รับการบอกเล่าไปรายงานต่อด้วยเช่นกัน บทรายงานที่สมบูรณ์ ต้องมีประโยคว่า แน่นอน ยังมีเงื่อนไขของมัน และฉันคือเงื่อนไขของมัน บทรายงานที่สมบูรณ์จริงๆนั้นได้ถูกลบเลือนไป จากต�ำราของอะฮ์ลซิ ซุนนะฮ์หลายเล่ม เว้นแต่บางคนที่ มีใจเป็นกลางทีไ่ ด้บนั ทึกรายงานฮะดีษนีอ้ ย่างสมบูรณ์ ครบถ้วน ซึ่งได้อธิบายถึงฐานภาพอันสูงส่งของต�ำแหน่ งอิมามไว้อย่างชัดเจน เช่น อัลคอวาญิฮ์ บารซา อัลฮะ นะฟีย์ และอัลกอฎี บะฮ์ญัด อะฟันดีย์ อัชชาฟิอีย์ ๑-มุฮมั มัด อัลคอวาญิฮ์ บารซา อัลบุคอรีย์ อัลฮะ นะฟีย์ (ฮ.ศ ๘๒๒) บันทึกว่า รายงานจากอะบูศอ็ ลต์ อับ ดุสสลาม บิน ศอลิฮ์ บิน สุลยั มาน อัลฮัรวีย์ กล่าวว่า ฉัน ได้อยูก่ บั อิมามริฎอ(อ)เมือ่ ครัง้ ทีท่ า่ นเดินทางเข้าเมืองนัย ซาบูร ขณะนั้นท่านก�ำลังขี่ฬ่ออยู่ ครั้นแล้ว อะห์มัด บิน ฮะร็อบ และยะห์ยา บิน ยะห์ยา และท่านอิสฮาก บิน รอ ฮะวัยฮ์ และบรรดาผู้มีความรู้อีกจ�ำนวนหนึ่ง ได้เข้ามา ยืนประชิดกับฬ่อทีเ่ ป็นพาหนะ พวกเขากล่าวว่า โอ้บตุ ร ของท่านรอซูลลุ ลอฮ์ ด้วยสิทธิของบรรดาบรรพบุรษุ ของ ท่านผู้บริสุทธิ์ ได้โปรดเล่าฮะดีษสักบทหนึ่งให้แก่พวก เราด้วยเถิด ที่ท่านได้ฟังมาจากบิดาของท่าน ซึ่งได้รับ รายงานมาจากบรรพบุรษุ ของท่าน แล้วท่านอิมามริฎอ (อ)ก็ได้ยื่นศีรษะอันบริสุทธิ์ของท่านออกมาจากเงาร่ม แล้วกล่าวว่า แน่นอนยิง่ ท่านมูซา อัลกาซิม บิดาของฉัน

50

ได้เล่าฉันว่า มีรายงานจาก ท่านญะอ์ฟรั อัศศอดิก บิดา ของท่าน เล่าว่า มีรายงานจากท่านมุฮัมมัด อัลบากิรบิ ดาของท่าน เล่าว่า มีรายงานจากท่านอะลี ซัยนุลอาบิ ดีน บิดาของท่าน เล่าว่า มีรายงานจากท่านฮุเซน ชะฮีด แห่งกัรบะลาอ์ เล่าว่า มีรายงานจากท่านอะลี บิน อะบี ฏอลิบ บิดาของท่าน กล่าวว่า ท่านรอซูลุลลอฮ์ ศ็อลฯ ทีร่ กั ของฉัน และแก้วตาดวงใจของฉัน ได้เล่าฉันว่า “ญิบ รออีล ได้เล่าฉันว่า ฉันได้ยินพระผู้อภิบาลผู้ทรงเกียรติ มหาบริสุทธิ์ พระองค์ผู้ทรงสูงสุด มีด�ำรัสว่า แท้จริง ข้า คือ อัลลอฮ์ ไม่มีพระเจ้าอื่นใด นอกจากข้า ดังนั้น พวก เจ้าจงเคารพภักดีตอ่ ข้า และผูใ้ ดทีไ่ ด้กล่าวปฏิญาณตน ว่า ลาอิลาฮะ อิลลัลลอฮ์ ด้วยความบริสุทธิ์ใจ เขาจะ ได้เข้าไปอยูใ่ นเกราะป้องกันของฉัน และผูใ้ ดทีไ่ ด้เข้าไป อยู่ในเกราะป้องกันของฉัน เขาจะปลอดภัยจากการ ลงโทษของฉัน” ในอีกสายรายงานหนึ่ง บันทึกว่า ครั้น เมื่อพาหนะของอิมามได้เดินผ่าน ไป ท่านได้ประกาศ แก่พวกเราว่า ..แน่นอน มันยังมีเงื่อนไขของมันอยู่ และ ฉันเอง คือ เงือ่ นไขของมัน มีคำ� อธิบายว่า ส่วนหนึง่ จาก เงื่อนไขของเรื่องนี้ก็คือ การยอมรับว่า ท่าน คืออิมาม ที่ ถูกก�ำหนดมาจากอัลลอฮ์ให้ทุกคนเชื่อฟังปฏิบัติตาม” ๒-อัลกอฎีย์ บะฮ์ญัต อะฟันดีย์อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๑๓๕๐) บันทึกว่า อะบูศอ็ ลต์ บิน ศอลิห์ กล่าวว่า ฉันได้ อยูก่ บั อิมาม เมือ่ ครัง้ ทีท่ า่ นออกจากเมืองนัยซาบูร ขณะ ทีท่ า่ นขีฬ่ อ่ เป็นพาหนะ ได้มบี รรดานักปราชญ์เมืองคุรอ ซานกลุม่ หนึง่ เข้าไปหาท่าน เช่น อิสฮาก บิน รอฮุวยั ฮ์ อะห์ มัด บิน ฮะร็อบ ยะห์ยาบิน ยะห์ยา พวกเขากล่าวว่า โอ้ บุตรของท่านรอซูลุลลอฮ์ (ศ็อลฯ) โปรดเล่าฮะดีษให้แก่ พวกเราสักบทหนึง่ ด้วยเถิด ทีท่ า่ นได้รบั รายงานมาจาก บิดาของท่านและปูท่ วดของท่าน ผูบ้ ริสทุ ธิ์ ดังนัน้ ท่านอิ มามได้ยื่นศีรษะของท่านออกมาจากพาหนะแล้วตอบ พวกเขา ว่า ว่า ท่านมูซา อัลกาซิม บิดาของฉันได้เล่า ฉันว่า มีรายงานจาก ท่านญะอ์ฟัร อัศศอดิก บิดาของ ท่าน เล่าว่า มีรายงานจากท่านมุฮัมมัด อัลบากิรบิดา

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


ของท่าน เล่าว่า มีรายงานจากท่านอะลี ซัยนุลอาบิดีน บิดาของท่าน เล่าว่า มีรายงานจากท่านฮุเซน ชะฮีดแห่ งกัรบะลาอ์ เล่าว่า มีรายงานจากท่านอะลี บิน อะบี ฏอ ลิบ บิดาของท่าน กล่าวว่า ท่านรอซูลุลลอฮ์ ศ็อลฯ ที่รัก ของฉัน และแก้วตาดวงใจของฉัน ได้เล่าฉันว่า “ญิบรอ อีล ได้เล่าฉันว่า ฉันได้ยนิ พระผูอ้ ภิบาลผูท้ รงเกียรติ มหา บริสทุ ธิ์ พระองค์ผทู้ รงสูงสุด มีดำ� รัสว่า ค�ำว่า ลาอิลาฮะ อิลลัลลอฮ์ คือเกราะป้องกันของฉัน ดังนั้นใครก็ตามที่ ได้กล่าวค�ำนี้ เขาจะได้เข้าไปอยู่ในเกราะป้องกันของ ฉัน และผู้ใดที่ได้เข้าไปอยู่ในเกราะป้องกันของฉัน เขา จะปลอดภัยจากการลงโทษของฉัน” หลังจากนั้น ท่าน ได้กล่าวว่า “แน่นอนที่สุด มันต้องประกอบด้วยเงื่อนไข ของมัน” และอิมามกล่าวอีกว่า “ฉันเอง คือส่วนหนึ่ง จากเงื่อนไขของมัน” ทัศนะของอะฮ์ ลิซซุ นนะฮ์ ในบทรายงาน ว่ าด้ วย เกราะป้องกัน มีอยู่สองทัศนะเกี่ยวกับฮะดีษว่าด้วย เกราะ ป้องกัน บางกลุ่มตั้งข้อสงสัยว่า มีอะบูศ็อลต์คนเดียว เป็นผูร้ ายงานฮะดีษนี้ เพราะฉะนัน้ พวกเขาจึงพยายาม ลบล้างความน่าเชื่อถือของฮะดีษนี้ ขณะเดียวกับที่มี นักปราชญ์และบรรดาผู้ทรงคุณวุฒิอีกมากที่สนับสนุน ฮะดีษว่าด้วยเกราะป้องกัน อีกทั้งยังได้ให้การสนับสนุ นอะบูศิลัต ดังนั้นพวกเขาได้บันทึกและกล่าวถึงเรื่อง ราวของฮะดีษบทนี้ และยังมีนักปราชญ์อีกบางส่วน ที่ ถือว่าฮะดีษนี้ เป็นยาบ�ำบัดรักษาโรคภัยไข้เจ็บต่างๆได้ ซึ่งเราจะหยิบยกมากล่าวถึงดังนี้ ผู้สนับสนุนรายงานฮะดีษบทนี ้ บทรายงานว่าด้วย “เกราะป้องกัน” เป็นบทรายงาน เดียว ที่บรรดานักปราชญ์อาวุโสของอะฮ์ลิซซุนนะฮ์ มี ความประทับใจเป็นอย่างยิง่ และท�ำให้พวกเขายอมรับ ในความน่าเชื่อถือ ซึ่งเราจะน�ำเสนอถ้อยค�ำต่างๆขอ งบุคลลเหล่านั้น ดังนี้ ๑-อะบูศ็อลต์ อัลฮัรวีย์ (ฮ.ศ ๒๓๖) เขาได้กล่าว

ถึงคุณลักษณะทีย่ งิ่ ใหญ่ของฮะดีษนีว้ า่ ถ้าฉันน�ำสารบบ การรายงานฮะดีษนนี้ ไปอ่านให้คนเสียสติ แน่นอน เขา จะหายจากอาการ ๒-อะห์มัด บิน ฮัมบัล (ฮ.ศ ๒๔๑) เขาเป็นอิมาม สายวิชาฟิกฮ์ และวิชาฮะดีษ ของอะฮ์ลซิ ซุนนะฮ์ เขาได้ กล่าวว่า ถ้าหากฉันได้อา่ นสายรายงานฮะดีษบทนีใ้ ห้แก่ คนเสียสติ แน่นอน เขาจะหายจากอาการสติฟั่นเฟือน เขาได้กล่าวอีกแห่งหนึง่ ว่า ถ้าฉันได้อา่ นสายรายงานฮะ ดีษบทนีใ้ ห้แก่คนเสียสติ แน่นอน เขาจะหายจากอาการ ๓-ยะห์ยา บิน ฮุเซน อัลฮะซะนีย์ (ฮ.ศ ๒๙๘)เขา ได้กล่าวถึงสายรายงานฮะดีษของหนังสือ ศอฮีฟะฮ์อัร ริฎอ(อ)ว่า ถ้าหากสายรายงานฮะดีษนี้ ถูกน�ำไปอ่านที่ หูของคนเสียสติ แน่นอนเขาจะหายจากอาการ ๔-อะบูนุอีม อัลอัศฟะฮานีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๔๓๐)กล่าวไว้ ในหนังสือ บะยาน ชามิล ว่า นีค่ อื ฮะดษ ที่มีหลักฐานรับรอง เป็นที่เชื่อถือได้โดยสายรายงานมา จากผู้บริสุทธิ์จากบิดาของพวกเขาผู้ประเสริฐ บรรดา บรรพชนของนักฮะดีษ เมือ่ รายงานฮะดีษโดยอาศัยสาย รายงานนี้ ก็กล่าวว่า ถ้าหากน�ำสายรายงานฮะดีษบทนี้ ไปอ่านให้แก่คนเสียสติ แน่นอน เขาจะหายจากอาการ ๕-อะบุลกอซิม อับดุลกะรีม บิน ฮุวาซิน อัลกุชัย รีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๔๖๕) ได้กล่าวถึงความประทับใจ ต่อฮะดีษบทนี้ ความว่า “ฮะดีษนี้กับสายรายงานนี้ ได้ ถูกส่งไปยังเจ้าเมืองผูม้ เี กียรติยศสูงส่งคนหนึง่ ดังนัน้ เขา ได้นำ� ไปเขียนด้วยทองค�ำ และสัง่ เสียว่าให้ฝงั ร่วมกับเขา ในสุสานของเขา ได้มีคนฝันเห็นเขาถูกถามว่า อัลลอฮ์ ทรงปฏิบัติต่อท่านอย่างไรบ้าง ? เขาตอบว่า พระองค์ ได้อภัยโทษให้แก่ฉัน ด้วยถ้อยค�ำของฉันที่กล่าวว่า ลา อิลาฮะ อิลลัลลอฮ์ และความเชือ่ มัน่ ของฉันว่า มุฮมั มัด เป็นศาสนทูตของอัลลอฮ์” ๖- อะบูฮามิด มุฮัมมัด อัลฆอซาลี อั.ศ ๕๐๙) เขายอมรับว่าฮะดีษนี้ศอฮีฮ์ และกว่าวว่า เป็นฮะดีษที่ มีหลักฐานที่มาถูกต้อง

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

51


๘-อัซซมัคชะรีย์ อัลหะนะฟีย์ (ฮ.ศ ๕๓๘) เขา ได้กล่าวถึงถ้อยค�ำของยะห์ยา บิน ฮุเซน อัลฮุซนีย์ ใน สายรายงานหนังสือ ศอฮีฟะฮ์ ของอิมามริฎอ(อ) เพื่อ เป็นการให้เกียรติ ฮะดีษ สายโซ่ทองค�ำ เมือ่ เขากล่าวว่า ถ้าหากสายรายงานฮะดีษนีไ้ ด้ถกู อ่านทีห่ ขู องคนเสียสติ แน่นอนเขาจะหายจากอาการ ๙-อิบนุ กุดามะฮ์ อัลมุก็อดดะซีย์ อัลฮัมบะลีย์ (ฮ.ศ ๖๒๐)กล่าวว่า ผู้มีความรู้ได้กล่าวว่า ถ้าหากสาย รายงานฮะดีษนี้ ได้ถกู น�ำไปอ่านให้แก่คนเสียสติ แน่นอน เขาจะหายจากอาการ ๑๐-ซิบฏ์ อิบนุลเญาซีย์ อัลฮะนะฟีย์ (ฮ.ศ ๖๕๔) ได้กล่าวถึงถ้อยค�ำของ อิบนุกุดามะฮ์ อัลฮัมบะลีย์ ที่ ยกย่องฮะดีษบทนี้ ว่า ถ้าหากสายรายงานฮะดีษบทนีไ้ ด้ ถูกน�ำไปอ่านแก่คนเสียสติ แน่นอน เขาจะหายจากอาการ ๑๑-อัซซะร็อนดีย์ อัลฮะนะฟีย์ (ฮ.ศ ๗๕๗)กล่าว ถึงฐานภาพของฮะดีษว่าด้วยเกราะป้องกันว่า “โอ้อลั ลอฮ์ ได้โปรดบันดาลให้เราทั้งหลายเป็นผู้ปลอดภัยจากการ ลงโทษของพระองค์ด้วยเถิด ในวันวิกฤตอันยิ่งใหญ่ แท้จริงพระองค์ เป็นผู้ทรงเกียรติยศอันสูงส่ง และทรง เผื่อแผ่อาทร และยิ่งใหญ่เกรียงไกรเสมอ” ๑๒-ท่านซะยูฏีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๙๑๑) ให้การ ยอมรับว่า ฮะดีษว่าด้วยเกราะป้องกัน เป็นฮะดีษทีศ่ อฮีฮ์ ๑๓-อัลคุนญีย์ อัศฟะฮานีย์ อัลฮะนะฟีย์ (ฮ.ศ ๙๒๗) เขากล่าวว่า “ถ้าหากรายงานบทนี้ ได้ถูกอ่าน พร้อมกับสายรายงานดังกล่าวนั้น ให้แก่คนเสียสติ แน่นอน เขาจะหายจากอาการ” เขาได้กล่าว ณ อีกแห่งหนึ่งว่า “นี่คือ ฮะดีษที่มี ฐานภาพอันสูงส่ง และสายสืบของฮะดีษนี้ ศอฮีฮ์ เป็น ที่เชื่อถือได้ ตามที่บรรดานักปราชญ์ได้รายงานไว้ ดัง นั้น “นักปราชญ์ฮะดีษทานหนึ่งได้อ่านฮะดีษนี้ข้ึนใน ที่ประชุมของบรรดาผู้ปกครองเมืองบุคอรี เจ้าเมืองได้ ขอร้องให้นกั ฮะดีษผูน้ นั้ เขียนฮะดีษบทนีพ้ ร้อมกับสาย รายงาน และได้สงั่ เสียว่าให้นำ� ป้ายนัน้ ตัง้ ทีผ่ า้ กะฝัน่ และ

52

หลุมสุสานของเขา ๑๔-อับดุลวาซิอ์ บิน ยะห์ยา อัลวาซิอีย์ อัลยะ มานีย์ อัลฮะนะฟีย์ กล่าวว่า สิ่งที่สมควรที่สุด ก็คือ จะ ต้องเขียนสายรายงานฮะดีษบทนี้ทั้งหมดด้วยทองค�ำ เนือ่ งจากเป็นสายรายงานทีป่ ระกอบด้วยผูบ้ ริสทุ ธิ์ และ เชื้อสายของท่านนบี ที่น่าภาคภูมิใจ บ� ำ บั ด โรคภั ย ไข้ เจ็ บ ด้ วยสิ ริ ม งคลแห่ ง สายรายงานโซ่ ทองค�ำ เราได้กล่าวถึงทัศนะและค�ำกล่าวของนักปราชญ์ อาวุโสของอะฮ์ลซิ ซุนนะฮ์ เกีย่ วกับฮะดีษอันประเสริฐนี้ บัดนีเ้ ราจะอธิบายเรือ่ งทีม่ บี างท่านทีถ่ อื ปฏิบตั ติ อ่ ฮะดีษ นี้ และกล่าวว่า คนป่วยถูกบ�ำบัดให้หายจากอาการ โดย สิริมงคลของฮะดีษว่าด้วยสายโซ่ทองค�ำ

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


ก.ค็อบรุ อิบนุ ค็อนกาน อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๖๘๑) ได้กล่าวว่า เมื่อครั้งที่อะบูดะลัฟ อัลอิจญ์ลีย์ ป่วยหนัก ได้มีการปิดม่านกั้นมิให้ประชาชนเข้าเยี่ยมเป็นบางวัน เขาได้กล่าวกับคนคุมม่านว่า ตรงประตูมีใครที่ต้องการ อะไรไหม ?คนคุมผ้าม่านตอบว่า มีคนจากตระกูลอันทรง เกียรติจ�ำนวนสิบคน พวกเขาเดินทางมาจากคุรอซาน และพวกเขาเฝ้าอยูป่ ระตูหลายวันมาแล้ว ดังนัน้ เขาจึง อนุญาตให้คนเหล่านั้นเข้ามาหา แล้วได้ให้การต้อนรับ พวกเขาเหล่านั้น และได้ถามถึงสาเหตุในการมา พวก เขาตอบว่า ความเป็นอยู่ของพวกเราคับแค้นมาก และ เราได้ยินมาว่า ท่านเป็นผู้มีจิตเผื่อแผ่ เราจึงเดินทางมา หาท่าน” ดังนัน้ เขาได้นำ� ถุงเงินออกมายีส่ บิ ถุง ในแต่ละ ถุงมีเงิน ๑,๐๐๐ ดีนาร แล้วได้มอบให้แก่พวกเขาเหล่า

นั้นไปคนละสองถุง หลังจากนั้น ก็ได้มอบเครื่องยังชีพ ให้แต่ละคน เพื่อเป็นเสบียงในการออกเดินทาง และได้ สั่งว่า อย่าใครได้เปิดถุงก่อนจะถึงไปยังบ้านเรือนโดย สวัสดิ์ภาพ และได้กล่าวว่า ให้พวกท่านแต่ละคนเขียน ด้วยลายมือของตัวเองว่า ตนเป็นใคร บุตรของใคร จน กระทั่งไปถึงท่านอะลี บิน อะบี ฏอลิบ (อ)และให้กล่าว ถึงท่านหญิงฟาฏิมะฮ์ บุตรีของท่านรอซูลลุ ลอฮ์ (ศ็อลฯ) ย่าทวดของตน แล้วให้เขียนว่า ยารอซูลลุ ลอฮ์ แท้จริงฉัน ประสบความแร้นแค้นในการด�ำเนินชีวิต จึงได้เดินทาง มาหาท่านอะบา ดะลัฟ อัลอิจลีย์ แล้วเขาได้มอบเงินช่วย เหลือแก่ฉันสองพันดีนาร เพือ่ เป็นการให้เกียรติแก่ท่าน และแสวงหาความพึงพอใจจากท่าน และหวังการชะฟา อัตจากท่าน เมือ่ พวกเขาเขียนแล้วก็มอบกระดาษเหล่า

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

53


นัน้ ให้แก่เขา ต่อมาอะบาดะลัฟได้สงั่ เสียแก่ทายาทของ เขาว่า เมื่อเขาตายก็ให้วางแผ่นกระดาษเหล่านี้ลงใน ผ้ากะฝั่นของเขา เพื่อเขาจะได้พบกับท่านรอซูลุลลอฮ์ (ศ็อลฯ)แล้วจะแสดงต่อท่าน อัซซัมฮูดยี ์ อัชชาฟิอยี ์ ได้เป็นพยานยืนยันในเรือ่ ง นี้ ในความเป็นสิริมงคล และเรื่องราวของฮะดีษ สายโซ่ ทองค�ำ ที่มีผลต่อการบ�ำบัดรักษา และในอีกแห่งหนึ่ง เขาได้กล่าวอย่างละเอียดเกี่ยวกับประวัติของฮะดีษว่า ด้วยเกราะป้องกัน ข.ค็อบรุ อัลคุนญีย์ อัลฮะนะฟีย์ (ฮ.ศ ๙๒๗) กล่าว ว่า ความเป็นพิเศษของฮะดีษบทนี้ คือ ถ้าหากน�ำไปอ่าน ด้วยความตั้งใจจริง โดยอ่านควบคู่กับสายรายงาน ลง บนที่นอนของคนป่วย ถึงแม้ว่า เขาจะถึงวาระสุดท้าย แต่เขาก็ยงั ปรากฏอาการว่าหายอย่างฉับพลัน ข้าพเจ้า ในฐานะบ่าวผู้ต�่ำต้อย ได้เคยอ่านให้แก่คนป่วยมาแล้ว เป็นจ�ำนวนมาก และปรากฏว่ามีผลดังกล่าว อีกแห่งหนึง่ เขาได้กล่าวว่า ข้าพเจ้าในฐานะบ่าว ผู้ต�่ำต้อย เคยได้น�ำฮะดีษนี้ไปอ่านให้แก่ผู้ป่วย ถึงแม้ดู แล้วจะเห็นว่า เขาถึงวาระทีจ่ ะต้องตาย แต่เมือ่ ข้าพเจ้า ได้อ่านสายรายงานให้แก่เขาด้วยความตั้งใจที่แท้จริง อัลลอฮ์กย็ งั ทรงบันดาลให้เขาหายจากอาการ และนีค่ อื ประสบการณ์ที่ข้าพเจ้าได้ประสบด้วยตัวเอง บรรดาผู้คัดค้านรายงานบทนี้ มีนักปราชญ์บางท่าน ปฏิเสธความเชื่อถือต่อ อะบูศ็อลต์ เนื่องจากพวกเขาสงสัยว่า มีเขาคนเดียวที่ รายงานฮะดีษสายโซ่ทองค�ำ หรือ เกราะป้องกัน พวก เขาอ้างว่า ไม่มีความน่าเชื่อถือใดๆต่อบรรดาฮะดีษที่ รายงานจากอะบูศ็อลต์ ส่วนหนึ่ง ก็คือ ฮะดีษว่าด้วย เกราะป้องกัน แต่ขณะเดียวกัน ค�ำคัดค้านเหล่านี้ ก็ ปราศจากหลักฐานใดๆ แต่ปรากฏว่าบรรดานักปราชญ์ อาวุโสของอะฮ์ลซิ ซุนนะฮ์ ได้ปฏิเสธข้ออ้างเหล่านี้ ดังที่ จะน�ำมาเสนอในตอนต่อไป ประการที่ ๒ บทรายงานเรื่ องความศรั ทธา

54

ฮะดีษสายโซ่ทองค�ำยังได้ถกู น�ำไปรายงานในอีก ลักษณะหนึ่ง ดังนี้ “เมื่อท่านอะลี บิน มูซา อัรริฎอ เดินทางเข้าเมือง นัยซาบูร โดยใช้ฬ่อเป็นพาหนะ บรรดานักปราชญ์ของ บ้านเมืองจ�ำนวนมาก ได้ออกไปพบท่าน เช่น ยะห์ยา บิน ยะห์ยา อิสฮาก บิน รอฮุวัยฮ์ อะห์มัด บิน ฮะร็อบ มุ ฮัมมัด บิน รอฟิอ์ พวกเขาได้เข้าไปจับสายเชือกพาหนะ ของท่าน ท่านอิสฮาก ได้พูดกับท่านว่า “โดยสิทธิแห่ง บรรพบุรษุ ของท่าน ได้โปรดเล่าฮะดีษให้แก่พวกเราด้วย ท่านจึงกล่าวว่า “ความศรัทธา หมายถึง ความรูจ้ กั ด้วย หัวใจ ความมั่นคงด้วยปลายลิ้น และประกอบการงาน ด้วยรากฐาน” ผู้รายงาน เมือ่ พิจารณาอย่างถีถ่ ว้ น เราจะพบว่า บทรายงาน นี้ มี ๔๘ นักรายงาน ทีเ่ ป็นผูอ้ ยูใ่ นศตวรรษทีส่ าม ซึง่ เป็น จ�ำนวนทีถ่ อื ได้วา่ แตกต่างกันมาก ในขณะทีน่ กั รายงาน ทั้งหมดเหล่านั้น มีระหว่าง ๑๐,๐๐๐-๓๐,๐๐๐ คน ศตวรรษที่ ๓ ยะห์ยา บิน ยะห์ยา (ฮ.ศ ๒๒๖) อะห์มัด บิน ฮะร็ อบ(ฮ.ศ อันนัยซาบูรีย์ (ฮ.ศ ๒๓๔) อับดุสสลาม บิน ศอ ลิห์ อะบูศิลัต อัลฮัรวีย์ (ฮ.ศ ๒๓๖) อิสฮาก บิน รอฮุวัย ฮ์ อัลมะรูซีย์ (ฮ.ศ ๒๓๘) มุฮัมมัด บิน อัสลัม อัลกินดีย์ อัฏฏูซีย์ (ฮ.ศ ๒๔๒) มุฮัมมัด บิน รอฟิอ์ อัลกุชัยรีย์(ฮ.ศ ๒๓๕) อะบูซุรอะฮ์ อัรรอซีย์ (ฮ.ศ ๒๖๑) อิบนุมาญะฮ์ อัลก็อซวัยนีย์ (ฮ.ศ ๒๗๕) มุฮัมมัด บิน ซะฮัล บิน อามิร อัล อัลบะญะลีย์, มุฮัมมัด บิน ซิยาด อัสสุละมีย์, ดาวู ด บิน สุลัยมาน อัลก็อซวัยนีย์, อะลี บิน อัซฮัร อัซซัร คอซีย์, ฮัยซัม บิน อับดุอะห์มัด บิน อับบาส อัศศ็อนอา นีย์,อะห์มัด บิน อามิร อัฏฏออีย์ ศตวรรษที่ ๔ อัดเดาลาบีย์ อัลฮะนะฟีย์ ฮ.ศ ๓๑๐ อะบูบักร์ อัลอัญรีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๓๖๐) อัฏฏ็อบรอนีย์ อัลฮัม บะลีย์ (ฮ.ศ ๓๖๐) อัดดารุกุฏนี อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๓๘๕)

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


ศตวรรษที่ ๕ อิบนุมรั ดุวยี ะฮ์ อัลอัศฟะฮานีย์ (ฮ.ศ ๔๑๐) มันศูร บิน ฮุเซน อัลอาบีย์ (ฮ.ศ ๔๒๑) อะบูนะอีม อัลอัศฟะฮา นีย์ อัชชาฟิอยี ์ (ฮ.ศ ๔๓๐) อัลบัยฮะกีย์ อัชชาฟิอยี ์ (ฮ.ศ ๔๕๘) อัลคอฏีบ อัลบัฆดาดีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๔๖๓) อัชชะญะรีย์ อัลญัรญานีย์ อัลฮะนะฟีย์ (ฮ.ศ ๓๙๙) ศตวรรษที่ ๖ อะบู ฮามิด มุฮมั มัด อัลฆอซาลีย์ อัชชาฟิอยี ์ (ฮ.ศ ๕๐๕) อิบนุชรี อวัยฮ์ อัดดัยละมีย์ อัชชาฟิอยี ์ (ฮ.ศ ๕๐๙) อิบนุอะซากิร อัดดะมัชชะกีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๕๗๑) อิ บนุลเญาซีย์ อัลฮัมบะลีย์ (ฮ.ศ ๕๙๗) ศตวรรษที่ ๗ อิบนุกุดามะฮ์ อัลมุก็อดดะซีย์ อัลฮัมบะลีย์ (ฮ.ศ ๖๒๐) อัรรอฟิอีย์ อัลก็อซวัยนีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๖๒๓) ซิบฏ์ อิบนุลเญาซีย์ อัลฮะนะฟีย์(ฮ.ศ ๖๕๔) อิบนุ อะ บิล ฮะดีด อัลมุอ์ตะซะลีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๖๕๖) อัล เมาศุลีย์ อัชชาฟิอีย์(ฮ.ศ ๖๖๐) ศตวรรษที่ ๘ อิบนุมันซูร อัลอัฟริกีย์ (ฮ.ศ ๗๑๑) อัลมัซซีย์ อัช ชาฟิอยี ์ (ฮ.ศ ๗๔๒) อัซซะฮะบีย์ อัชชาฟิอยี ์ (ฮ.ศ ๗๔๘) อัซซะร็อนดีย์ อัลฮะนะฟีย์ (ฮ.ศ ๗๕๗) อัศศ็อฟดีย์ อัช ชาฟิอีย์(ฮ.ศ ๗๖๔) ศตวรรษที่ ๙ มุฮมมัด บิน มุฮมั มัด อัลญะซะรีย์ อัชชาฟิอยี ์ (ฮ.ศ ๘๓๓) อิบนุฮะญัร อัลอัสก็อลลานีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๘๕๒)อับดุรเราะห์มาน อัศศ้อฟฟูรยี ์ อัชชาฟิอยี ์ (๘๙๔) ศตวรรษที่ ๑๐ อัซซัมฮูดยี ์ อัชชาฟิอยี ์ (ฮ.ศ ๙๑๑) อัซซะยูฏยี ์ อัช ชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๙๑๑) อิบนุฮะญัร อัลฮัยซุมีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๙๗๔) อัลมุตตะกีย์ อัลฮินดีย์ (ฮ.ศ ๙๗๕) ศตวรรษที่ ๑๑ อับดุรรออูฟ อัลมันนาวีย์ อัชชาฟิอยี ์ (ฮ.ศ ๑๐๓๑) ศตวรรษที่ ๑๒

อัลมิรซา มุฮัมมัด คาน อัลบะดัคชีย์ อัลฮินดีย์ อัลฮะนะฟีย์ ศตวรรษที่ ๑๓ และต่ อๆ มา อัลกุนดูซีย์ อัลฮะนะฟีย์(ฮ.ศ ๑๒๙๓) มุฮัมมัด บิน ยูซุฟ อัลฮัฟศีย์ อัลฆอดะวีย์ (ฮ.ศ ๑๓๓๒)ซัยยิดมุ ฮัมมัด ฏอฮิร อัลฮาชิมีย์ อัชชาฟิอีย์ (๑๔๑๒) อับดุลอะ ซีซ บิน อิสหาก อัลบัฆดาดีย์ อัลฮะนะฟีย์ สายรายงานของฮะดีษ ได้กล่าวไปแล้วว่า มีความพยายามของนักปราชญ์ บางคน เพื่อลดความน่าเชื่อถือต่ออบูศ็อลต์ เพื่อลบ ความน่าเชื่อถือฮะดีษว่าด้วยความศรัทธา ด้วยเหตุว่า อะบูศ็อลต์ เป็นคนเดียวที่รายงานฮะดีษบทนี้ แต่ทว่า คุณสมบัติของอะบูศ็อลต์นั้น มีฐานภาพที่สูงส่งและมี เกียรติเหนือกว่าผู้ตั้งข้อกล่าวหาเหล่านี้ทุกประการ ที่ เป็นผู้มีสติปัญญาปราดเปรื่องของอะฮ์ลิซซุนนะฮ์ จ�ำเป็นที่จะต้องกล่าวว่า มีความเห็นขัดแย้งกับ อัฏฏ็อบรอนีย์ อัลฮัมบะลีย์ ที่เขาได้อ้างว่า อะบูศ็อลต์ เป็นคนเดียวที่รายงานฮะดีษว่าด้วยความศรัทธา ที่ รายงานมาจากอิมามอะลี บิน มูซา อัรริฎอ(อ) แท้จริง แล้ว สายรายงานฮะดีษว่าด้วยความศรัทธา มิได้มเี พียง อะบูศ็อลต์ ที่เป็นผู้รายงาน แต่ทว่า ยังมีคนอื่นๆที่เป็น สายรายงานมากมาย โดยการยืนยันของ อัดารุ กุฏนีย์ อัชชาฟิอีย์ และอิบนุอะดีย์ อัลญัรญานีย์ อัชชาฟิอีย์,อัร รอฟิอีย์ อัลก็อซวัยนีย์ อัชชาฟิอีย์, อัลมัซซีย์ อัชชาฟิอีย์ ท่านดารุลกุฏนีย์ อัชชาฟิอีย์ ได้กล่าวถึงสาย รายงานริวายะฮ์ ฮะดีษว่าด้วยความศรัทธา ที่มาจากอิ มามริฎอ(อ)ในฐานะให้ความส�ำคัญ อย่างเป็นกลาง ดังนี้ “รายงานฮะดีษนีม้ บี นั ทึกอยูใ่ นต�ำราของพวกเรา เป็นอันมาก” ในล�ำดับต่อไปเราจะชี้แจงเรื่องของผู้รายงานฮะ ดีษนี้บางท่านและสายรายงานต่างๆ ๑-อับดุสสลาม บิน ศอลิฮ์ อะบูศ็อลต์ อัลฮัรวีย์ ๒-มุฮัมมัด บิน ซะฮัล บิน อามีร อัลบัจลีย์

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

55


๓-มุฮัมมัด ซิยาด อัสซิลมีย์ อัลมัซซีย์ อัชชาฟิอยี ์ ได้กล่าวภายหลังจากได้อา้ ง ริวายัตของอะบูศอ็ ลต์จากสายรายงานของอิบนุมาญะฮ์ ดังนี้ “ ท่านมุฮัมมัด บิน ซะฮัล บิน อามิร อัลบัจลีย์ และ มุฮมั มัด บิน ซิยาด อัซซิลมีย์ ได้บนั ทึกฮะดีษนี้ จากอิมา มอะลี บิน มูซา อัรริฎอ(อ) ท่านอิบนุฮะญัร อัลอัสก็อลลานีย์ อัชชาฟิอีย์ ยัง ได้น�ำรายงานฮะดีษนี้มาจากสายรายงานอื่นอีก นอก เหนือจากสายของอิมามริฎอ(อ) ในการสนับสนุนฮะ ดีษว่าด้วยความศรัทธา โดยได้รายงานฮะดีษที่มาจา กอิมามมูซา อัลกาซิม(อ)อีกด้วย อัลมิซซีย์ อัชชาฟิอีย์ นั้น ได้กล่าวไว้ในที่อื่น ๆ เป็นการปกป้องอะบูศลิ ตั ว่า “อิบนุมาญะฮ์นนั้ ได้รายงาน ฮะดีษว่าด้วยความศรัทธา เราได้รบั สิง่ ทีส่ งู ส่งยิง่ นักจาก ท่าน ท่านได้รับรายงานฮะดีษนั้นมาจากมุฮัมมัด บิน อิสมาอีล อัลอะห์มะซีย์ และซะฮัล บิน ซันญะละฮ์ อัร รอซีย์ จึงเท่ากับว่า เราได้สงิ่ มีคา่ สูงส่งจากท่านสองชัน้ ” หลังจากนัน้ เขาได้นำ� ฮะดีษว่าด้วยความศรัทธา มาจากสองสายรายงานอืน่ อีก เป็นรายงานจาก อิมามกา ซิม และอิมามศอดิก(อ)เพือ่ เป็นการสนับสนุนอะบูศอ็ ลต์ เขาได้กล่าวว่า “ท่านฮะซัน บิน อะลี อัตตะมีมยี ์ อัฏฏ็อบ ร็อซตานีย์ ก็ได้รับรายงานฮะดีษนี้ มาจากมุฮัมมัด บิน ศอดะเกาะฮ์ อัลอินบะรีย์ ซึ่งได้รับรายงานมาจาก มูซา บิน ญะอ์ฟัร และท่านอะห์มัด อิบนุ อีซา บิน อะลี บิน ฮุ เซน บิน อะลี บิน อะบี ฏอลิบ อัลอะละวีย์ ได้รับมาจาก อิบาด บิน ศุฮัยบ์ ที่ได้รับมาจาก ญะอ์ฟัร บิน มุฮัมมัด ๔-มุฮัมมัด บิน อัสลัม อัลกินดีย์ อัฏฏูซีย์ อัลบัยฮะกีย์ อัชชาฟิอยี ์ ได้อา้ งรายงานบทนี้ โดย สายรายงานของท่าน มาจากมุฮมั มัด บิน อัสลัม อัลกินดีย์ ๕-ดาวูด บิน สุลัยมาน อัลก็อซวัยนีย์ ๖-อะลี บิน อัซฮัร อัซซัรคอซีย์ ๗-ฮัยซัม บิน อับดุลลอฮ์ อิบนุอะดีย์ อัลญุรญานีย์ อัชชาฟิอีย์ ได้กล่าวใน

56

ค�ำอธิบายของเขาเกี่ยวกับเรื่องของท่านฮะซัน บิน อะลี บิน ศอลิห์ อัลอัดวีย์ อัลบัศรีย์ และเมื่อเขาได้รับรู้ฮะดีษ ว่าด้วยความศรัทธา ว่า นี่คือ ฮะดีษที่มาจากท่านอะลี บิน มูซา อัรริฎอ ซึง่ อะบูศลิ ตั ,ดาวูด บิน สุลยั มาน อัลฆอ ซีย์ อัลฆ็อซวัยนีย์ และอะลี บิน อัซฮัรอัซซัรคอซีย์ และ ท่านอืน่ ๆ ได้รบั การรายงานมาจากท่าน เขาเหล่านี้ ล้วน เป็นผู้มีชื่อเสียง ยิ่งกว่า ฮัยซัม บิน อับดุลลอฮ์ ซึ่ง อัล อัดวีย์ได้รับรายงานมาจากท่าน ๘-อะห์มัด บิน อับบาส อัศศ็อนอานีย์ อิบนุอะดีย์ อัลญุรญานีย์ อัชชาฟิอีย์ ยังได้บอก เล่าเกี่ยวกับสายรายงานของริวายัตบทนี้ ๙-อะห์มัด บิน อามิร อัฏฏออีย์ อะบุลวะฟาอ์ อัลฮะละบีย์ ได้แสดงสายรายงาน นี้ไว้ในหนังสือของท่าน ๑๐-อิสหาก บิน รอฮุวัยฮ์ ๑๑-มุฮัมมัด บิน รอฟิอ์ ๑๒-อะห์มัด บิน หะร็อบ ๑๓-ยะห์ยา บิน ยะห์ยา ๑๔- อะบูซุรอะฮ์ อัรรอซีย์ บุคคลเหล่านี้ทั้งสิบสี่ท่าน ได้รับรายงานฮะดีษ ว่าด้วยความศรัทธามาจากอิมามอัรริฎอ(อ) โดยตรง เป็นทีแ่ น่ชดั แล้วว่า ฮะดีษว่าด้วยความศรัทธานัน้ ถูกอ้างอิงมาจากอิมามอัลกาซิม (อ)และอิมามอัศศอดิก (อ) นอกเหนือไปจากทีร่ ายงานมาโดยบรรดาสาวกและ ตาบิอีนทั่วไป โดยมีหลักฐานแสดงในตัวอย่างชัดเจน ว่า ถูกบอกเล่ามาโดยไม่มีช่องว่างตกหล่นเลย จาก ตรงนี้เอง แสดงให้เห็นถึงความอคติอย่างชัดเจน ของ พวกเขาบางคนที่ถือว่าฮะดีษนี้ไม่มีความน่าเชื่อถือ(ฎ ออีฟ)ทั้งๆที่ปราศจากหลักฐาน ถึงแม้ว่าจะมีผู้รับรอง ความน่าเชื่อถือของฮะดีษนี้ พร้อมด้วยหลักฐานอย่าง มากมายอยู่ก็ตาม ๑-มุฮัมมัด บิน ศอดะเกาะฮ์ อัลอันบะรีย์ อัลมัซซีย์ อัชชาฟิอีย์ ได้กล่าวว่า ฮะดีษนี้ ถูก

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


ถ่ายทอดมาจากอิมามมูซา อัลกาซิม(อ) ๒-อับบาด บิน ซุฮัยบ์ อัลมัซซีย์ อัชชาฟิอีย์ ได้กล่าวว่า อับบาด ได้รับ รายงานฮะดีษว่าด้วยความศรัทธา มาจากอิมามอัศ ศอดิก(อ) ๓-มาลิก บิน อะนัส ๔-ฮัมมาด บิน เซด ๕-อะห์มัด บิน อะบี ค็อยซุมะฮ์ ๖ อับดุลลอฮ์ บิน อะห์มัด บิน ฮัมบัล มุฮมั มัด บิน มุฮมั มัด อัล ญัซรีย์ อัชชาฟิอยี ์ ได้อา้ ง ถึงสายรายงาน สีส่ ายรายงานทีไ่ ด้รบั มาจากคนอืน่ นอก เหนือจากอิมามอัรริฎอ(อ) เพือ่ เป็นการสนับสนุนฮะดีษว่า ด้วยความศรัทธา และเขาได้ยนื ยันว่า ฮะดีษนี้ มิได้เป็น มัจฮูล(ฮะดีษประเภทไม่เป็นทีร่ จู้ กั ) ไม่เพียงแค่นนั้ บุคคล ทั้งสี่ยังได้กล่าวอีกว่า มีเป็นฮะดีษที่ถูกรายงานมาโดย กลุ่มคณะ ประหนึ่งเป็นฮะดีษ ที่ถูกรับรองเป็นเอกฉันท์ ๗-อะลี บิน ฆุรอบ ซะยูฏี อัชชาฟิอีย์ ได้อ้างสายรายงาน ของ อะลี บิน ฆุรอบ เพื่อเป็นการสนับสนุนฮะดีษนี้ ๘-อะบูกอตาดะฮ์ อัลฮาริษ บิน ร็อบอีย์ อัลอัน ศอรีย์ อัศศอฮาบีย์ ๙-อาอิชะฮ์ อัลกินานีย์ อัชชาฟิอีย์ ได้อ้างสายรายงาน จาก แหล่งอื่นอีกสองสาย ด้วยเหตุนี้ จึงเป็นการสนับสนุน ฮะดีษว่าด้วยความศรัทธา ว่ามีที่มาถูกต้อง สมบูรณ์ ทัศนะของอะฮ์ ลิซซุนนะฮ์ ต่ อฮะดีษว่ าด้ วย ความศรั ทธา ฮะดีษว่าด้วยความศรัทธา มีการให้ความเห็นอยู่ สองทาง กล่าวคือ ส่วนหนึง่ สงสัยว่า ฮะดีษนี้ รายงานโด ยอะบูศิลตั อัลฮัรวีย์ เพียงคนเดียว พวกเขาจึงพยายาม แสดงให้เห็นถึงความไม่น่าเชื่อถือต่อบุคลิกภาพขอ งอะบูศิลัต และพยายามลบล้างความน่าเชื่อถือของฮะ ดีษนี้และผู้รายงาน ดังที่จะได้กล่าวถึงต่อไปนี้

ประการแรก ข้ออ้างต่างๆของพวกเขาเหล่านั้น ปราศจากหลักฐานใดๆ แต่เป็นความพยายามกล่าวหา โดยปราศจากข้อเท็จจริง เพราะว่ามีบรรดานักปราชญ์ อะฮ์ลซิ ซุนนะฮ์จำ� นวนมาก ยอมรับต่ออะบูศอ็ ลต์วา่ เป็น คนซื่อสัตย์ และเป็นที่เชื่อถือ ประการที่สอง ฮะดีษว่าด้วยความศรัทธา มิได้ มีอะบูศ็อลต์คนเดียว เป็นผู้รายงาน หากแต่ยังมีบุคคล อื่นๆอีกที่รายงานมาจากอิมามอัรริฎอ(อ) เช่นเดียวกัน ผู้สนับสนุนรายงานบทนี ้ ในทีน่ ี้ มีการบันทึกจากบรรดานักปราชญ์อล์ ซิ ซุน นะฮ์ สองประการ ประการแรก ความน่าเชือ่ ถือ และการยืนยันอย่าง ชัดเจน เกีย่ วกับลักษณะของฮะดีษว่าด้วยความศรัทธา ประการทีส่ อง เป็นการยืนยันของผูม้ ปี ระสบการณ์ ต่อผลลัพท์ของฮะดีษนี้ ทีส่ ามารถบ�ำบัดรักษาอาการของ ผูป้ ว่ ย นอกเหนือไปจากการยืนยันในฐานภาพอันสูงส่ง ของฮะดีษ เช่น อะบูอาติม อัรรอซีย์ อัชชาฟิอยี ์ ซึง่ ได้อา้ ง ว่า ท่านอะห์มัด บิน ฮัมบัล เคยมีประสบการณ์ในเรื่อง นี้ และมีคนป่วย หายจากอาการโดยฮะดีษสายโซ่ทองค�ำ ๑-มุฮมั มัด บิน อิดรีส อัชชาฟิอยี ์ (ฮ.ศ ๒๐๔) ท่าน ชาฟิอยี ไ์ ด้ให้การสนับสนุนฮะดีษนี้ เขาคือ อิมามคนหนึง่ ในสายวิชาฟิกฮ์ของชาวซุนนี ๒-อับดุลลอฮ์ บิน ฏอฮิร (ฮ.ศ ๒๓๐)เขาเป็นผู้ ปกครองเมืองคุรอซาน เมืองญัรญาน เมืองเรย์ และ เมือง ฏ็อบร็อซตาน บุตรชายของเขา ซึ่งเป็นนักกวี ผู้ เชี่ยวชาญ ชื่อมุฮัมมัด บิน อับดุลลอฮ์ ได้กล่าวว่า “ฉัน ได้ยนื ใกล้กบั บิดา ในขณะนัน้ ก็มที า่ นอะห์มดั บิน ฮัมบัล ท่านอิสฮาก บิน รอฮุวัยฮ์ ท่านอะบูศ็อลต์ รวมอยู่ด้วย บิดาของฉันกล่าวว่า ในหมูพ่ วกท่านทุกคน ได้โปรดเล่า ฮะดีษให้แก่ฉนั สักบทหนึง่ เถิด อะบูศอ็ ลต์เป็นคนแรก ที่ ได้อ้างรายงานฮะดีษว่าด้วยสายโซ่ทองค�ำ และได้อ่าน ให้พวกเราฟัง”ท่านมุฮัมมัด บิน อับดุลลอฮ์ ได้กล่าวว่า ฉันแปลกใจต่อทีม่ าของสายรายงานฮะดีษนี้ แล้วกล่าว

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

57


ว่า สายรายงานนี้ เป็นอย่างไร ? บิดาของฉันตอบว่า “นี่ คือ ยาที่สามารถบ�ำบัดรักษาอาการคนเสียสติ เมื่อคน เสียสติได้ยิน เขาจะหายจากอาการ” ประเด็นทีแ่ น่ชดั ก็คอื ผูท้ ถี่ ามด้วยความแปลกใจ นั้นได้แก่ อะห์มัด บิน ฮัมบัล นั่นเอง เพราะว่า อิสฮาก บิน รอฮูวัยฮ์ นั้น เขาได้ฟังเรื่องราวชองสายรายงานนี้ จากการบอกเล่าของอิมามอัรริฎอ(อ)มาแล้ว ที่เมือง นัยซาบูร ดังนั้น ไม่ได้หมายความว่า เขาประหลาดใจ ๓-อะบูศอ็ ลต์ อัลฮัรวีย์ (ฮ.ศ ๒๓๖) เขาได้กล่าวว่า “สายรายงานนี้ ถ้าได้นำ� ไปอ่านให้แก่คนเสียสติ แน่นอน เขาจะหายจากอาการ” ๔-อะห์มัด บิน ฮัมบัล (ฮ.ศ ๒๔๑)ในฐานะเป็น อิมามคนหนึ่งของอะฮ์ลิซซุนนะฮ์ ด้านวิชาฟิกฮ์ และ ฮะดีษ เขากล่าวว่า ถ้าฉันได้อ่านสายรายงานนี้ ให้แก่ คนเสียสติ แน่นอนเขาจะหายจากอาการ มีคนเล่าว่า ครัง้ หนึง่ เขาได้อา่ นสายรายงานบทนีใ้ ห้แก่คนทีถ่ กู แทง ปรากฏว่า คนผูน้ นั้ หายจากอาการ และเขากล่าวอีกว่า “ถ้าฉันได้อา่ นสายรายงานนีแ้ ก่คนเสียสติ แน่นอนเขาจะ หายจากอาการเสียสติ” ๕-อิบนุมาญะฮ์ อัลก็อซวัยนีย์ (ฮ.ศ ๒๗๕) อิบนุ มาญะฮ์ได้กล่าวไว้ในฮะดีษบทนี้ ตามที่ได้อ้างอิงมา จาก อะบู ศ็อลต์วา่ “ถ้าหากสายรายงานฮะดีษนีถ้ กู อ่าน ให้แก่คนเสียสติแน่นอนเขาจะหายจากอาการเสียสติ” ๖-อะบูฮาติม อัรรอซีย์ อัชชาฟิอยี ์ (ฮ.ศ ๒๗๗) อับ ดุรเราะห์มาน บิน อะบี ฮาติม อ้างรายงานมาจากอะบี ฮาติม บิดาของเขาว่า แท้จริง ท่านอะห์มัด บิน ฮัมบัล ได้อ่านสายรายงานฮะดีษบทนี้ให้แก่คนเสียสติ ท�ำให้ เขาหายจากอาการ” ๗-ยะห์ยา บิน ฮุเซน อัลฮุซนีย์ (ฮ.ศ ๒๙๘ ) ได้ กล่าวไว้ในสายรายงานของหนังสือ ศอฮีฟะฮ์ อิมามอัร ริฎอ(อ) ว่า “ถ้าหากสายรายงานนี้ ถูกอ่านไปทีห่ ขู องคน เสียสติ แน่นอน เขาจะหายจากอาการ” ๘-อะบูบักร์ มุฮัมมัด บิน ฮุเซน อัลอาญะรีย์ อัช

58

ชาฟิอยี (์ ฮ.ศ ๓๖๐) ได้กล่าวว่า ฮะดีษบทนี้ เป็นรากฐาน ที่ยิ่งใหญ่ในเรื่องความศรัทธา ส�ำหรับบรรดานักฟุกอ ฮาอ์ของมวลมุสลิม ทั้งรุ่นเก่า รุ่นใหม่ และสอดคล้อง กับคัมภีรข์ องอัลลอฮ์ ในเรือ่ งราวของฮะดีษนี้ ไม่มคี วาม ขัดแย้งอะไรเลย นอกจากผูท้ ชี่ กั ใยสร้างความแปดเปือ้ น ที่ใส่ร้ายป้ายสี ในเรื่องแนวทางศาสนาของเขาเท่านั้น และฉันเองได้อธิบายชัดเจนถึงความหมายเหล่านี้ เพื่อ คนทั้งหลายจะได้รู้ว่า จะต้องพิจารณาฮะดีษนี้ให้เป็น ค�ำอบรมสั่งสอนส�ำหรับบรรดาผู้ศรัทธา” และเขายังได้ สนับสนุนฮะดีษโดยได้อธิบายจุดยืนของเขาต่อคัมภีร์ อัลกุรอานและซุนนะฮ์ ๙-อัดดารุ กุฏนีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๓๘๕)เขาได้ ให้การสนับสนุนพืน้ ฐานการรายงานฮะดีษบทนี้ ถึงแม้วา่ เขาเองเป็นคนทีข่ ดั แย้งกับอะบูศลิ ตั หลังจากได้อา้ งถึงฮะ ดีษว่าด้วยความศรัทธาแล้ว เขาได้กล่าวว่า “ในหนังสือ ของพวกเรา มีสายรายงานฮะดีษนี้อย่างมากมาย” ๑๐-มันศูร บิน ฮุเซน อัลอาบีย์ (ฮ.ศ ๔๒๑) เขา ได้กล่าวย�้ำถ้อยค�ำของอะห์มัด บิน ฮัมบัลและอะบีฮา ติม อัรรอซีย์ อัชชาฟิอีย์ ที่ยกย่องฐานภาพของฮะดีษ ส�ำคัญบทนี้ ๑๑-อะบูนุอีม อัลอัศฟะฮานีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๔๓๐) อะบูนุอีม อัลอัศฟะฮานีย์ อัชชาฟิอีย์ เป็นอีกคน หนึง่ ทีอ่ า้ งค�ำพูดทีป่ ระทับใจของอะห์มดั บิน ฮัมบัล ทีม่ ี ต่อฮะดีษบทนี้ แล้วกล่าวว่า อะบู อะลี อะห์มัด บิน อะลี อัลอันศอรีย์ ได้กล่าวแก่ฉันว่า ท่านอะห์มัด บิน ฮัมบัล ได้กล่าวแก่ฉนั ว่า “แท้จริง ฉันได้อา่ นสายรายงานฮะดีษ บทนีใ้ ห้แก่คนเสียสติ แล้วเขาก็หายจากอาการ” ไม่มขี อ้ ต�ำหนิใด ๆ ส�ำหรับฮะดีษบทนี้ จะมีก็แต่สายรายงานที่ ประเสริฐยิ่ง” ๑๒-อัลบัยฮะกีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๔๕๘) เขาได้ สนับสนุนฮะดีษว่าด้วย ความศรัทธา และได้น�ำฮะดีษ ทีร่ ายงานจากท่านนบี ศ็อลฯมาหลายฮะดีษ เพือ่ ยืนยัน รับรองความถูกต้องของฮะดีษบทนี้

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


๑๓-อัชชะญะรีย์ อัลญัรญานีย์ อัลฮะนะฟีย์ (ฮ.ศ ๔๙๙) อัชชะญะรีย์ อัล ญัรญานีย์ ก็เช่นเดียวกัน คือ เขา ได้อ้างสายรายงานฮะดีษนี้จากอะบูฮาติม ที่รับมาจาก อับดุสสลาม (อะบูศ็อลต์) แล้วกล่าวว่า “สายรายงานนี้ ถ้าหากได้นำ� ไปอ่านให้ทหี่ ขู องคนเสียสติ แน่นอน เขาจะ หายจากอาการ” ๑๔-อะบูฮามิด มุฮัมมัด อัลฆอซาลีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๕๐๕) เขาได้ท�ำตามหน้าที่ของเขา ในการอธิบาย และขยายความ ฮะดีษ สายโซ่ทองค�ำ หลังจากทีใ่ ห้การ สนับสนุน ๑๕-อัซซะมัคชะรีย์ อัลฮะนะฟีย์ (ฮ.ศ ๕๓๘) เขา ได้กล่าวถึงค�ำพูดของยะห์ยา บิน ฮุเซน อัลฮุซนีย์ ใน เรื่องสายรายงานของหนังสือ ศอฮีฟะฮ์ อิมามริฎอ(อ) เพือ่ อธิบายถึงฐานภาพของฮะดีษสายโซ่ทองค�ำอันทรง เกียรติ เขาได้กล่าวว่า ถ้าหากได้น�ำสายรายงานของฮะ ดีษนี้ไปอ่านที่หูของคนเสียสติ เขาจะหายจากอาการ” ๑๖-อิบนุ กุดามะฮ์ อัลมุก็อดดะซีย์ อัลฮัมบะลีย์ (ฮ.ศ ๖๒๐) กล่าวว่า นักวิชาการบางท่านกล่าวว่า ถ้า หากได้นำ� สายรายงานนีอ้ า่ นทีห่ ขู องคนเสียสติ แน่นอน เขาจะหายจากอาการ” ๑๗-ซิบฏ์ อิบนุเญาซีย์ อัลฮะนะฟีย์(ฮ.ศ ๖๕๔) เขาได้กล่าวถึงค�ำพูดของกุดามะฮ์ อัลฮัมบะลีย์ เกี่ยว กับความยิ่งใหญ่ของฮะดีษนี้ และกล่าวว่า ถ้าหากสาย รายงานนี้ ถูกน�ำมาอ่านให้แก่คนเสียสติ แน่นอนเขาจะ หายจากอาการ ๑๘-ญะมาลุดดีน อัลมัซซีย์ อัชชาฟิอยี ์ (ฮ.ศ ๗๔๒) กล่าวว่า อิบนุมาญะฮ์ ได้รายงานฮะดีษนี้ เราเห็นว่า เป็น ฮะดีษทีม่ คี วามหมายสูงส่งยิง่ หลังจากนัน้ ก็ได้กล่าวถึง สายรายงานอื่นๆที่รายงานฮะดีษบทนี้ ๑๙-อิบนุฮะญัร อัลอัสก็อลลานีย์ อัชชาฟิอยี ์ (ฮ.ศ ๘๕๒) อิบนุ ฮะญัร อัลอัสก็อลลานีย์ ก็เป็นอีกคนหนึง่ ที่ สนับสนุนฮะดีษว่าด้วยความศรัทธา โดยสายรายงาน อื่นมากมาย ที่นอกเหนือไปจากสายรายงานของอิมา

มอัรริฎอ(อ) อีกทั้งเขายังได้รายงานฮะดีษ ที่มาจากอิ มามอัลกาซิม(อ) อีกด้วย ๒๐- มุฮัมมัด บิน มุฮัมมัด อัลญัซรีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๘๓๓)กล่าวว่า เป็นฮะดีษทีด่ งี าม(ฮะซัน)ทัง้ ถ้อยค�ำ และความหมาย บุคคลทีเ่ ป็นสายรายงาน ก็ลว้ นมีความ น่าเชื่อถือ นอกเหนือจากอับดุสสลาม บิน ศอลิห์ อัลฮัร วีย์ แต่เขาก็คอื คนรับใช้ของอิมามอะลี บิน มูซา อัรริฎอ (อ) ถึงกระนั้น คนบางกลุ่มให้ทัศนะว่า ไม่น่าเชื่อถือทั้ง ที่เขาเป็นคนดี และเป็นรายงานจากท่านมาลิก และฮัม มาด บิน เซด อีกด้วย และท่านอะหัด บิน อะบี ค็อยซัม มะฮ์ และอับดุลลอฮ์ บุตรของอิมามอะห์มัด บิน ฮัมบัล และนักปราชญ์อีกกลุ่มหนึ่ง ก็ได้รายงานฮะดีษนี้ด้วย กล่าวโดยสรุป ถือว่าสายรายงานฮะดีษนีถ้ กู ต้องโดยแท้ เพราะมีทมี่ าจากท่านผูห้ นึง่ ในตระกูลผูบ้ ริสทุ ธิน์ ี้ ดังนัน้ ฮะดีษนี้ อาจเรียกว่า ฮะดีษศอฮีฮ์ หรือฮะซัน(ดีงาม)หรือ ฮะดีษที่ดีเลิศ ตามแต่ความประสงค์ ๒๑-อับดุรเราะห์มาน อัศศอฟูรยี ์ อัชชาฟิอยี ์ (ฮ.ศ ๘๙๔) เขายึดถือค�ำพูดของอะห์มดั บิน ฮัมบัล และอะบูฮา ติม อัรรอซีย์ อัชชาฟิอยี ์ ในความยิง่ ใหญ่ของฮะดีษบทนี้ ๒๒-อัซซะยูฏยี ์ อัชชาฟิอยี ์ (ฮ.ศ ๙๑๑)กล่าวรับรอง ความมีน�้ำหนักของฮะดีษนี้ว่า “ความเป็นจริงก็คือ อัน นี้มิใช่ฮะดีษปลอม” และเขายังได้กล่าวถึงสายรายงาน อื่น ของฮะดีษนี้มาสนับสนุน ๒๓-อะบุลฮะซัน อะลี บิน มุฮมั มัด อัลกินานีย์ อัช ชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๙๖๓)ความถูกต้องของฮะดีษนี้ สามารถ ยืนยันได้สองทาง คือ ความน่าเชื่อของอะบูศิลัต และ ความน่าเชื่อถือของสายรายงานฮะดีษเป็นอันดับแรก หลังจากนั้น เขาได้ยืนยันด้วยหลักฐานสองประการท่ ปรากฏอยูใ่ นเนือ้ หาของฮะดีษว่าด้วยเกราะป้องกันและ ฮะดีษว่าด้วยความศรัทธา เพือ่ จะไม่มขี อ้ สงสัยต่อไปอีก ท่านซะยูฏีย์ กล่าวว่า ฮะดีษทั้งสองนี้ มีพยานหลักฐาน ยืนยันสองประการ ได้แก่ ฮะดีษของท่านกอตาดะฮ์ ทีว่ า่ “ผูใ้ ดปฏิญาณตนว่า ไม่มพี ระเจ้าอืน่ ใด นอกจากอัลลอฮ์

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

59


และมุฮมั มัด เป็นศาสนทูตของอัลลอฮ์ จะท�ำให้วาจาของ เขานอบน้อม และท�ำให้หวั ใจของเขาสงบมัน่ ไฟนรกจะ ไม่แผ้วพานเขา” อัลบัยฮะกีย์ รายงานไว้ในหนังสือ อัชชุ อับ หลักฐานทีส่ อง มาจากฮะดีษของท่านหญิงอาอิชะฮ์ ความว่า “ความศรัทธาต่ออัลลอฮ์ หมายถึง การยืนยัน ด้วยวาจา และเชื่อมั่นด้วยหัวใจ และประกอบการงาน โดยรากฐาน” อัดดัยละมีย์ และอัชชีรอซีย์ ได้รายงานไว้ ในหนังสือ อัล อัลกอบ ๒๔-อะบุลฮะซัน ซินดีย์ อัลฮะนะฟีย์ (ฮ.ศ ๑๑๓๘) เขาเป็นผู้อธิบายหนังสือศอฮีฮ์บุคอรี และสุนันอิบนุ มาญะฮ์ แน่นอน เขาได้กล่าวสนับสนุนรายงานบทนี้ โดยยกค�ำพูดของนักปราชญ์ผู้อาวุโสของอะฮ์ลิซซุน นะฮ์ และปกป้องเกียรติของอะบูศอ็ ลต์ ทีอ่ ยูใ่ นกลุม่ ของ ผูร้ ายงาน เขาได้ยกค�ำพูดของซะยูฏยี ์ อัชชาฟิอยี ์ มาอ้าง เพื่อรับรองความน่าเชื่อถือของฮะดีษบทนี้ ว่า “แน่นอน ที่สุด ฮะดีษนี้ มิใช่ฮะดีษปลอม” ๒๕-อัลอิจลูนีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๑๑๖๒)เขาได้ ตอบโต้อิบนุลเญาซีย์ ที่กล่าวว่า ฮะดีษว่าด้วยความ ศรัทธา เป็นฮะดีษปลอม เพื่อเป็นการปกป้องเกียรติขอ งอะบูศิลัต หลังจากนั้น เขาได้ให้การสนับสนุนฮะดีษนี้ แล้วกล่าวว่า ส่วนหนึง่ จากความน่าเชือ่ ถือของสายรายงาน นี้ก็คือ เป็นบทรายงานที่บุตรได้รับมาจากบิดาทั้งมวล เป็นอันว่า การยืนยันและสนับสนุนของนักปราชญ์ อาวุโสของอะฮ์ลซิ ซุนนะฮ์ ได้ชว่ ยอธิบายได้ชดั เจนยิง่ ขึน้ ส�ำหรับค�ำพูดของซะยูฏยี ์ อัชชาฟิอยี ท์ วี่ า่ แน่นอนทีส่ ดุ ฮะ ดีษนี้ มิใช่ของปลอม ดังนั้น เป็นที่ชัดเจนแล้วว่า ค�ำพูด ของอิบนุเญาซีย์ อัลฮัมบะลีย์ และคนอืน่ ๆอีก ทีก่ ล่าวว่า ฮะดีษว่าด้วยความศรัทธาเป็นของปลอมนัน้ เป็นค�ำพูด ทีไ่ ม่พนื้ ฐานใดๆรองรับ นอกจากนี้ ยังสามารถทีจ่ ะกล่าว ได้วา่ แหล่งทีม่ าของฮะดีษนี้ คือ มาจากอิมามอัรริฎอ(อ) ๒๖-อัลกุนดูซีย์ อัลฮะนะฟีย์ (ฮ.ศ ๑๒๙๔) ได้ สนับสนุนฮะดีษว่าด้วยความศรัทธา โดยอ้างอิงบทรายงาน ของอิบนุมาญะฮ์ และค�ำพูดของอะบูศ็อลต์ ในเรื่องนี้

60

๒๗-มุฮัมมัด ฟุอาด อับดุล บากีย์ อัลฮะนะฟีย์ เขาได้สนับสนุนฮะดีษนีไ้ ว้ทเี่ ชิงอรรถของเขาในหนังสือสุ นัน อิบนุมาญะฮ์ โดยได้กล่าวถึงถ้อยค�ำของอะบูศอ็ ลต์ ในตอนท้ายของฮะดีษว่าด้วยความศรัทธา ที่กล่าวว่า “แน่นอน เขาจะหายจากอาการเสียสติ” ก็เพราะเนือ่ งจาก ว่า สายรายงานนี้ เป็นปวงบ่าวทีด่ เี ลิศของอัลลอฮ์ พวก เขาเป็นอะฮ์ลลุ บัยต์ ของท่านนบี อัลลอฮ์ทรงพอพระทัย ต่อท่านเหล่านั้น” ๒๘-ดร.ฟารูก ฮัมมาดะฮ์ ได้กล่าวถึงฮะดีษว่าด้วย ความศรัทธาเพื่อสนับสนุนค�ำพูดของอะบีศ็อลต์ และ สายรายงานฮะดีษ ว่า “แน่นอน นี่คือสายโซ่ของอะฮ์ลุ ลบัยต์ อัลลอฮ์ทรงพอพระทัยต่อท่านเหล่านั้น” ผู้คัดค้ านรายงานบทนี ้ ได้กล่าวมาก่อนหน้านี้แล้วว่า มีบางคนสงสัย ว่า อะบูศ็อลต์ เป็นคนเดียวที่รายงานฮะดีษบทนี้ โดย พยายามลดความน่าเชือ่ ถือ ทัง้ นีเ้ พราะพวกเขาต้องการ ลบความน่าเชื่อทั้งของผู้รายงานและบทรายงาน ณ ที่นี้เราจะแสดงให้เห็นถึงทัศนะและจุดยืนขอ งอะฮ์ลิซซุนนะฮ์ ที่มีต่ออะบูศ็อลต์ เพื่อจะได้ท�ำความ เข้าใจ ว่า ฐานภาพจริงของเขาในมุมมองของพวกเขา ป็นอย่างไร ฐานภาพในการเป็ นผู้ ร ายงานฮะดี ษ ของ อะบูศอ็ ลต์ ตามมุมมองของอะฮ์ ลิซซุนนะฮ์ ควรจะกล่าวไว้ ณ ที่นี้ด้วยว่า พวกเขาบางคน พยายามกล่าวหาว่า ฮะดีษว่าด้วยความศรัทธาและเกราะ ป้องกัน เป็นฮะดีษปลอม เพือ่ ลบความน่าเชือ่ ถือของฮะ ดีษทั้งสอง ทั้งนี้ก็เพราะพวกเขาสงสัยที่อะบูศ็อลต์ เป็น เดียวทีร่ ายงานสองฮะดีษนี้ ขณะทีพ่ วกเขาท�ำเป็นลืมค�ำ ยืนยัน และจุดยืนของบรรดานักปราชญ์อะฮ์ลซิ ซุนนะฮ์ และในความเป็นจริง ผู้ถ่ายทอดฮะดีษว่าด้วย ความศรัทธา มิได้มีเพียงอะบูศ็อลต์ ดังที่ได้กล่าวไป แล้ว ว่าทั้งสองฮะดีษมีการรายงานมาจากสายรายงา นอื่นๆ อีกมากกว่าสิบสายรายงาน

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


โดยพืน้ ฐานข้อนี้ จ�ำเป็นจะต้องศึกษาถึงฐานภาพ และบุคลิกภาพข์องอะบูศ็อลต์ และสถานะบทรายงาน และแนวทางศาสนาของเขา ตามความเข้าใจของอะฮ์ลซิ ซุนนะฮ์ เพือ่ หักล้างข้อกล่าวหาและการแอบอ้างต่างๆที่ ปราศจากพื้นฐานที่มีความถูกต้อง เป็นทีร่ กู้ นั อยูว่ า่ ในต�ำราว่าด้วยประวัตบิ คุ คลต่างๆ (ริญาล) ของอะฮ์ลซิ ซุนนะฮ์นนั้ ถือว่าอะบูศอ็ ลต์เป็นชาว มัซฮับซุนนี แต่เป็นผู้มีความรักต่ออะฮ์ลุลบัยต์(อ)และ รายงานถึงเกียรติยศที่ดีงามของพวกเขา มีการตั้งข้อสังเกตในเรื่องนี้ไว้สามประการเกี่ยว กับบุคลิกภาพของอะบูศ็อลต์ ในฐานะเป็นนักรายงาน และบทรายงานต่างๆของเขา ทัศนะทีห่ นึง่ -เป็นทีย่ อมรับว่า ผูส้ นับสนุนอะบูศอ็ ลต์ และบทรายงานของเขา ทั้งในเรื่องบุคลิกภาพและบท รายงานต่างๆของเขาที่ถูกถ่ายทอดมานั้น ปราศจาก อคติ และการแบ่งฝักฝ่าย และไม่มีเรื่องส่วนตัว ทัศนะที่สอง-การวิพากษ์วิจารณ์โดยนักปราชญ์

บางกลุ่มต่อบทรายงานของเขาที่ถูกถ่ายทอดมาจาก เขานัน้ ไม่มกี ารตัง้ ข้อกล่าวหาว่าเขาเป็นคนกุฮะดีษหรือ โกหก พร้อมกับยังให้การสนับสนุนบุคลิกภาพและบท รายงานของเขาอีกด้วย ทัศนะทีส่ าม-กลุม่ ทีส่ ามได้ปฏิเสธบุคลิกภาพขอ งอะบูศอ็ ลต์ในฐานะผูร้ ายงานและต่อต้านบทรายงานที่ ถูกรายงานมาจากเขา และเพราะความคลั่งไคล้ในเผ่า พันธุ์ ได้เข้าครอบง�ำการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการ ได้ ท�ำให้สถานะของอะบูศิลัตหมดสภาพความน่าเชื่อถือ และสร้างบาดแผลให้เขาว่าเป็นคนโกหก และกุฮะดีษ โดยปราศจากหลักฐานทางวิชาการใดๆ นอกเหนือจาก ประเด็นที่ว่า เขาเป็นคนมีความรักต่ออะฮ์ลุลบัยต์ของ ท่านรอซูล(อ)เท่านั้น ทัศนะที่หนึ่ง ทัง้ ๆทีร่ กู้ นั ว่าอะบูศอ็ ลต์เป็นชาวซุนนีทพี่ วั พันกับ ชีอะฮ์ โดยการให้ทัศนะของอะฮ์ลิซซุนนะฮ์ แต่ทว่า เขา มีฐานภาพดีเด่นเป็นพิเศษและได้รับการยกย่องโดย

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

61


บรรดานักปราชญ์อาวุโสของอะฮ์ลิซซุนนะฮ์ ผู้ใช้ชีวิต ร่วมสมัยและสมัยถัดมา จากบทรายงานต่างๆอันเป็นประวัติศาสตร์ได้ อธิบายให้เห็นว่า อะบูศ็อลต์ มีฐานภาพที่ดีเลิศ และมี บุคลิกภาพทีส่ งู ส่ง เป็นทีน่ บั ถือของนักปราชญ์อาวุโสขอ งอะฮ์ลิซซุนนะฮ์ กล่าวถือ เขาเป็นหนึ่งในสหายของ อิส ฮาก บิน รอฮูวัยฮ์ , อะห์มัด บิน ฮัมบัล , อับดุรรอซซาก อัศศ็อนอานีย์ , ยะห์ยา บิน มุอีน , อะห์มัด บิน ซัยยาร , อัลมะรูซีย์ อัชชาฟิอีย์ , มุฮัมมัด บิน อับดุลลอฮ์ บิน นุ มัยร์ เขามีบทบาทท่ามกลางบุคคลเหล่านี้ ในฐานะนัก วิเคราะห์ทางวิชาการและฮะดีษ แน่นอนบรรดานักปราชญ์อาวุโสทีม่ ใี จเป็นกลาง ของอะฮ์ลิซซุนนะฮ์ ได้ให้ความเชื่อถือในความซื่อสัตย์ ของอะบูศอ็ ลต์ ในฐานะนักรายงานฮะดีษโดยปราศจาก การถือฝักฝ่ายในเรื่องชาติพันธุ์ ทั้งๆที่พวกเขาเหล่านั้น รูด้ วี า่ อะบูศอ็ ลต์ นัน้ พัวพันกับพวกชีอะฮ์ นอกเหนือจาก จะยอมรับต่อบทรายงานของเขาแล้ว บรรดานักปราชญ์ อาวุโสเหล่านัน้ ยังได้ถา่ ยทอดและกล่าวถึงเขาว่า เป็นผู้ มีความจ�ำดี เป็นผูส้ ำ� รวมตน และเชือ่ ถือได้ และเป็นคน ซื่อสัตย์ มีความประพฤติดี มารยาทดี เป็นนักวิชาการ ศาสนา เป็นผูร้ ู้ บรรดาผูท้ อี่ ธิบายลักษณะของอะบูศอ็ ลต์ ดังนี้ ได้แก่ ยะห์ยา บิน มุอนี , อะบูดาวูด อัซซัจซะตานี เจ้าของ ต�ำราสุนันอะบูดาวูด , อิบนุชาฮีน ,ฮากิม นัยซาบูรีย์ อัช ชาฟิอยี ์ , อัลฮากิม อัลฮะสะกานีย์ อัลฮะนะฟีย์ , อะบูอะ ลี อัลก็อซวัยนีย์ , อัลมิซซีย์ อัชชาฟิอีย์ , มุฮัมมัด บิน มุ ฮัมมัด อัลยัซรีย์ อัชชาฟอีย์ , อิบนุฮะญัร อัลอัสก็อลลา นีย์ อัชชาฟิอีย์ ,อิบนุ ตะฆ็อรรีย์ อัลฮะนะฟีย์, อะบุลฮะ ซัน อัลกะนานีย์ อัชชาฟิอีย์ , ๑ – ยะห์ยา บิน มุอีน (ฮ.ศ ๒๓๓) อัลฮากิม อัน นัยซาบูรีย์ อัชชาฟิอีย์ กล่าวว่า “ท่านยะห์ยา บิน มุอีน ผู้น�ำบรรดานักปราชญ์ฮะดีษ ให้ความเชื่อถือต่อเขา” แน่นอน ยะห์ยา บิน มุอนี ได้สนับสนุนบุคลิกภาพ

62

ของอะบูศอ็ ลต์ในฐานะเป็นนักรายงานฮะดีษไว้ในหนังสือ ของเขาหลายแห่ง ทั้งที่รู้ว่า เขาเป็นชาวชีอะฮ์ เขาสรุป ความทั้งหมดที่เล่ามาเพื่ออธิบายให้เห็นว่า อะบูศ็อลต์ เป็นคนที่นับถือ และมีเกียรติอย่างสูงในทัศนะของยะห์ ยา บิน มุอีน อับบาส บิน มุฮัมมัด อัดดูรีย์ ได้กล่าวว่า ฉันได้ ถามยะห์ยา บิน มุอีน เกี่ยวกับอะบูศ็อลต์ อัลฮัรวีย์ เขา กล่าวว่า เป็นคนเชื่อถือได้ ศอลิห์ บิน มุฮมั มัด กล่าวว่า ฉันได้ถามยะห์ยา บิน มุอนี เกีย่ วกับอะบูศอ็ ลต์ เขากล่าวว่า เขาเป็นคนซือ่ สัตย์ อิบนุมุฮัรร็อซ กล่าวว่า ฉันได้ถามยะห์ยา บิน มุ อีน เกี่ยวกับอะบูศ็อลต์ เขากล่าวว่า เขามิใช่คนโกหก อิบรอฮีม บิน อับดุลลอฮ์ บิน ญุนยั ด์ กล่าวว่า ฉัน ได้ถามยะห์ยา บิน มุอนี เกีย่ วกับอะบูศอ็ ลต์ เขาตอบว่า ไม่เป็นที่ยอมรับกันว่าเขาโกหก อิบรอฮีม ได้กล่าวไว้ในอีกแห่งหนึ่ง เป็นค�ำพูด จากยะห์ยา บิน มุอีนว่า ตามทัศนะของเรา อะบูศ็อลต์ มิใช่คนโกหก เขาได้สรุปค�ำพูดไว้ในอีกแห่งหนึง่ ว่า “อะบูศอ็ ลต์ เป็นคนเชื่อถอืได้ เป็นคนซื่อสัตย์ เพียงแต่เขาเป็นชาว ชีอะฮ์ เท่านั้น ยะห์ยา บิน มุอนี ได้สนับสนุนอะบูศอ็ ลต์ในหลายๆ ที่ และยืนยันปฏิเสธว่า อะบูศ็อลต์ ไม่เคยถูกตั้งข้อหา ปลอมแปลงฮะดีษ อะบูศอ็ ลต์ได้ถา่ ยทอดฮะดีษความว่า “ฉันคือเมือง แห่งความรู้ และอะลี คือประตูของมัน” ปรากฏว่า มีคน บางกลุ่มตั้งข้อกล่าวว่าว่า เขากุฮะดีษขึ้นมาด้วยตัวเอง แต่แล้วข้อกล่าวหาก็ถูกลบล้าง ไปด้วยค�ำพูดของ ยะห์ ยา บิน มุอนี ทีก่ ล่าวถึงสายรายงานทีถ่ า่ ยทอดฮะดีษบท นี้ และการยืนยันถึงน�้ำหนักความน่าเชื่อถือและความ ซื่อสัตย์ของอะบีศ็อลต์ ศอลิห์ บิน มุฮัมมัด ได้กล่าวว่า ฉันได้เห็นอิบนุมุ อีนไปหาอะบีศ็อลต์ แล้วให้สลาม

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


ริวายัตบทนี้ เผยให้เห็นถึงฐานภาพอันสูงส่งและ คุณสมบัติที่อะบูศ็อลต์มีอยู่ จนถึงกับท�ำให้ผู้น�ำทาง วิชาฮะดีษอย่างยะห์ยา บิน มุอีน ต้องเป็นฝ่ายเริ่มใน การให้สลาม ๒-อัลอิจญ์ลีย์ (ฮ.ศ ๒๖๑)กล่าวถึงอะบูศ็อลต์ ว่า “อับดุสสลาม บิน ศอลิห์ ในสายตาของฉัน เขาเป็น ผู้เชื่อถือได้ ๓-อะบูดาวูด อัซซัจซะตานี (ฮ.ศ ๒๗๕ กล่าวถึง อะบูศ็อลต์ว่า เป็นคนเคร่งครัด ๔-มุฮมั มัด บิน อิสมาอีล อัลบุคอรี (ฮ.ศ ๒๕๖) ซึง่ เป็นคนร่วมสมัยกับอะบูศอ็ ลต์ และอาศัยอยูใ่ นภูมลิ ำ� เนา เดียวกัน จะสังเกตเห็นถึงความสัมพันธ์ทแี่ น่นแฟ้น เป็น พิเศษกับอะบูศอ็ ลต์ เช่นเดียวกับยะห์ยา บิน มุอนี นักฮะ ดีษผูม้ ชี อื่ เสียงของอะฮ์ลซิ ซุนนะฮ์ เขาได้ถา่ ยทอดริวายั ตต่างๆว่าด้วยเรือ่ งเกียรติยศ ทีด่ งี าม ในฐานะทีเ่ ขาเป็น นักรายงานฮะดีษ จึงสามารถกล่าวสรุปได้วา่ โดยทีอ่ ลั บุ คอรี มีชื่อเสียงดีเด่นในด้านนี้ แต่เรายังพบว่า อัลบุคอรี ไมได้กล่าวถึงอะบูศ็อลต์ว่า เป็นคนที่อ่อนด้อย(ฎออีฟ) อีกทัง้ มิได้บนั ทึกชือ่ ของอะบูศอ็ ลต์ ในฐานะนักรายงาน ที่น่าเคลือบแคลงสงสัยใดๆ ๕-อิบนุชาฮีน (ฮ.ศ ๓๘๕) เขาให้การยอมรับว่า อะบูศ็อลต์เป็นชีอะฮ์ แต่มีคุณลักษณะเป็นคนซื่อสัตย์ และเชื่อถือได้ โดยไม่มีอคติ ดังนี้ “อะบูศ็อลต์ อัลฮัร วีย์ เป็นคนที่เชื่อถือได้ และเป็นคนซื่อสัตย์ เพียงแต่เขา เป็น ชีอะฮ์ ๖-อัลฮากิม อันนัยซาบูรยี ์ อัชชาฟิอยี ์ (ฮ.ศ๔๐๕) ได้กล่าวถึงอะบูศอ็ ลต์วา่ เป็นทีเ่ ชือ่ ถือของผูน้ ำ� บรรดานัก ฮะดีษ นั่นคือ ยะห์ยา บิน มุอีน” อีกแห่งหนึ่ง เขากล่าว ว่า อะบูศ็อลต์ เป็นที่เชื่อถือได้โดยสนิทใจ” ๗-อะบูยะอ์ลา อัลกุซวัยนีย์ (ฮ.ศ ๔๖๕) ได้ชี้แจง ถึงฐานภาพพิเศษของอะบูศอ็ ลต์ในทัศนะของนักปราชญ์ อาวุโสอะฮ์ลซิ ซุนนะฮ์ ว่า “อะบูศอ็ ลต์ เป็นผูม้ ชี อื่ เสียงเลือ่ ง ลือ”บรรดานักปราชญ์อาวุโส รับรายงานฮะดีษจากเขา

๘-อัลฮากิม อัลฮัสกานีย์ อัลฮะนะฟีย์ (ฮ.ศ ๒๙๐) กล่าวว่า อะบูศอ็ ลต์ อับดุสสลาม อิบนุศศอลิฮ์ อัลฮัรวีย์ เป็นทีเ่ ชือ่ ถือ ยะห์ยา บิน มุอนี ให้การยกย่อง และกล่าว ว่า เขาเป็นคนซื่อสัตย์ ๙-อัลมิซซีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๗๔๒) เขาได้กล่าว ถึงอะบูศ็อลต์ อย่างให้เกียรติเป็นพิเศษว่า “อะบูศ็อลต์ อาศัยทีเ่ มืองนัยซาบูร เขาเดินทางไปศึกษาฮะดีษถึงเมือ งบัศเราะฮ์ เมืองกูฟะฮ์ เมืองฮิญาซ และเยเมน เขาเป็น ผู้รับใช้ของท่านอะลี บิน มูซา อัรริฎอ เป็นผู้มีมารยาท ดี เป็นฟะกีฮ์ เป็นผู้รู้..อิบนุมาญะฮ์ ได้รับรายงานฮะดีษ นี้ของเขา (ฮะดีษว่าด้วยความศรัทธา) สถานะของเขา ส�ำหรับเราถือว่า สูงส่งมาก) ๑๐-มุฮมั มัด บิน มุฮมั มัด อัลญะซอรีย์ อัชชาฟิอยี ์ (ฮ.ศ ๘๓๓)เขาได้กล่าวถึงฮะดีษว่าด้วยความศรัทธาและ และสถานะอันสูงส่งของฮะดีษฯ ด้วยความพูดอันทรง คุณค่า และได้กล่าวถึงอะบูศอ็ ลต์ อัลฮัรวีย์ ว่า “เป็นผูร้ บั ใช้ของอิมามอะลี ริฎอ ดังนัน้ พวกเขาจึงว่าท่านเป็นคน ขาดประสิทธิภาพความน่าเชือ่ ถือ ทัง้ ๆทีท่ า่ นเป็นคนดี...” ๑๑-อิบนุฮะญัร อัลอัสก็อลลานีย์ อัชชาฟิอยี ์ (ฮ.ศ ๗๕๒) กล่าวว่า เขาอาศัยที่เมืองนัยซาบูร และเดินทาง ไปศึกษาฮะดีษยังหลายเมือง และรับใช้อิมามอะลี บิน มูซา อัรริฎอ” อีกแห่งหนึง่ เขากล่าวว่า “มีการยืนยันว่า แนวทาง ศาสนาของอะบูศ็อลต์นั้น เป็นชีอะฮ์ แต่เป็นที่ยอมรับ ว่า เขาเป็นคนซื่อสัตย์ ผู้ใดที่สงสัยว่าเขาโกหก นั่นคือ คนผิดพลาดและอคติ ควรจะกล่าวไว้ดว้ ยว่า การทีเ่ ขาอ้างฮะดีษคนเดียว มิได้ทำ� ให้สถานะการเป็นนักรายงานขาดประสิทธิภาพ ความน่าเชื่อถือ ๑๒-อิบนุ ตะฆ็อรรีย์ อัลฮะนะฟีย(์ ฮ.ศ ๘๗๔) เขา กล่าวถึงอะบูศลิ ตั ด้วยการยกย่อง ว่า “อะบูศอ็ ลต์ อัลฮัร วีย์ เป็นคน(ฮาฟิซ)มีความจ�ำดี เขาเดินทางไปศึกษาหา ความรุ้ยังหลายประเทศ และรับฮะดีษมาจากคนกลุ่ม

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

63


หนึ่ง และมีผู้รับรายงานจากไม่น้อยกว่าหนึ่ง มีการกล่า วกันว่า เขาเป็นชีอะฮ์” ค�ำว่า มีความจ�ำดี (ฮาฟิซ) ทีถ่ กู น�ำมาใช้เพือ่ ยกย่อง นักรายงานฮะดีษ และนัน่ คือ หลักฐานยืนยันถึงฐานภาพ อันสูงส่งของเขา และในความหมายของค�ำนี้ ยังมีความ เห็นแตกต่างกัน คนบางกลุ่มถือว่า ความหมายของค�ำ ว่า คนมีความจ�ำดี ก็คือ นักรายงานที่จดจ�ำฮะดีษได้ไม่ ต�่ำว่า หนึ่งแสนฮะดีษ ทั้งสายรายงานและตัวบท และ มีนักรายงานบางคนถือว่า “คือคนที่ทองจ�ำได้ถึงสอง แสนหรือสามแสนฮะดีษ” และการกล่าวถึงอะบูศ็อลต์ ว่า ฮาฟิซ(คนมีความจ�ำดี) หมายถึง ความเป็นคนละ เอียด อ่อนในการท่องจ�ำฮะดีษ และมีความแม่นย�ำทั้ง สายรายงานและตัวบท ๑๓-อะบุลฮะซัน อัลกินานีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๙๖๓) เขาได้ยนื ยันว่าฮะดีษว่าด้วยความศรัทธา เป็นฮะ ดีษที่ถูกต้อง มิใช่ฮะดีษปลอมแน่นอน ในเมื่อได้ศึกษา ในสองประเด็น ประเด็นแรก คือ การปกป้องฐานภาพ ของอะบูศ็อลต์ในฐานะนักรายงาน ที่เชื่อถือได้โดยการ รับรองของยะห์ยา บิน มุอนี ซึง่ สามารถคัดค้านข้อกล่าว หาเรือ่ งการปลอมฮะดีษได้ ประเด็นทีส่ อง คือ การยืนยัน ของนางอาอิชะฮ์ และอะบีกอตาดะฮ์ อัลอันศอรีย์ ผูเ้ ป็น สาวกของท่านนบี ซึ่งเป็นหลักฐานยืนยันว่า ฮะดีษว่า ด้วยความศรัทธา เป็นทีเ่ ชือ่ ถือได้ โดยเหตุนี้ ค�ำพูดของผู้ ปรักปร�ำ ว่าอะบูศลิ ตั รายงานฮะดีษนีเ้ พียงเขาคนเดียว โดยล�ำพัง จึงต้องถูกปฏิเสธ ๑๔-อะบุลฮะซัน อัซซะนะดีย์ อัลฮะนะฟีย์ (ฮ.ศ ๑๑๓๘) เขาได้กล่าวถึงการสนับสนุนฮะดีษว่าด้วยความ ศรัทธา โดยค�ำรับรองความน่าเชื่อถือโดยนักปราชญ์ อะฮ์ลิซซุนนะฮ์ และสนับสนุนฐานภาพของอะบูศ็อลต์ ในฐานะนักรายงาน เขาได้กล่าวสนับสนุนฮะดีษด้วย การอ้างถึงถ้อยค�ำของอัซซะยูฏีย์ อัชชาฟิอีย์ ว่า ความ จริงแล้ว ฮะดีษนี้มิใช่ฮะดีษปลอม” ๑๕-อัลอิจลูนีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๑๑๖๒) เขาได้

64

ตอบโต้คำ� พูดของคนบางกลุ่มที่กล่าวว่า ฮะดีษว่าด้วย ความศรัทธาเป็นของปลอมโดยฝีมอื ของอะบูศอ็ ลต์ และ ได้สนับสนุนว่า “เป็นฮะดีษของคนกลุ่มหนึ่งที่มีสารบบ การรายงาน ในลักษณะที่บุตรรับรายงานมาจากบิดา ทั้งหมด” ทัศนะที่สอง ทัศนะนีใ้ ห้ความเชือ่ ถือต่อบุคลิกภาพอันสูงส่งขอ งอะบูศอ็ ลต์ในฐานะเป็นนักรายงาน แต่ได้มกี ารวิพากษ์ บทรายงานต่างๆที่เขาน�ำมาสื่อ ดังนี้ ๑-ซะกะรียา บิน ยะห์ยา อัซซาญีย์ อัลบัศรีย์ อัช ชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๓๐๗) เขามิได้กล่าวปฏิเสธความซื่อสัตย์ ของอะบูศอ็ ลต์ ในการรายงานฮะดีษ แต่เขามีปญ ั หาตรง ที่บทรายงานท�ำให้เขาดูว่า เป็นฮะดีษที่แปลก ส�ำหรับ เขาและเขาได้วพิ ากษ์ดงั นี้ “เขาเล่าฮะดีษเพียงคนเดียว ในทัศนะของพวกเขา เห็นว่า ฮะดีษเช่นนั้น อ่อนหลัก ฐาน(ฎออีฟ) ๒-อันนักกอช อัลฮัมบะลีย์ (ฮ.ศ ๔๑๔) กล่าวว่า ไม่มกี ารถกเถียงกันในเรือ่ งความซือ่ สัตย์ของอะบูศอ็ ลต์ ทัง้ ในเรือ่ งบุคลิกภาพของการเป็นนักรายงานฮะดีษ หาก แต่มีการปฏิเสธบทรายงานของเขาตรงที่ “เขารายงาน คนเดียว” ๓- อะบูนอุ มี อัลอัศฟะฮานีย์ อัชชาฟิอยี ์ (ฮ.ศ ๔๓๐) มีการยอมรับบทรายงานของอะบูศ็อลต์ โดยไม่มีความ เห็นเป็นอืน่ เกีย่ วกับความเป็นคนน่าเชือ่ ถือ และซือ่ สัตย์ ของเขา “แต่หลายๆฮะดีษ เขารายงานเพียงคนเดียว” วิพากษ์แก้ ทัศนะทีส่ อง มิได้ลดิ รอนความน่าเชือ่ ความน่าไว้ วางใจ และความซือ่ สัตย์ของอะบูศอ็ ลต์ แต่ในมาตรฐาน ของบุคคลผูร้ ายงานฮะดีษของอะฮ์ลซิ ซุนนะฮ์ มิให้ยอมรับ บทรายงานต่างๆในเรื่องเกียรติยศ ความดีงาม ของนัก รายงานทีเ่ ป็นคนขาดความน่าเชือ่ ถือ(ฎออีฟ)โดยถือว่า ฮะดีษเหล่านัน้ มีขอ้ น่ารังเกียจ เป็นฮะดีษแปลก ประหลาด เพราะว่า การระบุให้ผู้รายงานฮะดีษเป็นคนขาดความ

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


น่าเชือ่ ถือ(ฎออีฟ) จะถูกน�ำไปอ้างเป็นหลักฐานในปฏืเส ธรายงานฮะดีษอืน่ ๆทีน่ อกเหนือจากบทรายงานของนัก รายงานที่ถูกปฏิเสธ ทัศนะที่สาม บรรดาผูม้ ที ศั นะเช่นนี้ ให้การยอมรับต่ออะบูศอ็ ลต์ ในฐานะเป็นนักรายงาน แต่บทรายงานของเขาได้ถูก วิพากษ์อย่างรุนแรง นัน่ คือพวกมีอคติในฝ่ายอะฮ์ลซิ ซุน นะฮ์ ทัง้ นีก้ เ็ พียงเพราะว่าอะบูศอ็ ลต์ มีความรักต่ออะฮ์ลุ ลบัยต์(อ) แต่การรายงานของเขาในเรือ่ งความประเสริฐ ต่างๆ ก็เป็นไปตามวิธกี ารรายงานของบรรดานักปราชญ์ ของฝ่ายซุนนะฮ์ ดังนัน้ เขาจึงตกอยูใ่ นสภาพทีถ่ กู ลบหลู่ และตั้งข้อหาจากบรรดาคนเหล่านั้น ๑- อิบรอฮีม บิน ยะอ์กูบอัลเญาซุญานีย์ (ฮ.ศ ๒๕๙) ซึ่งได้ด้วยความไม่รับรู้ต่อยะห์ยา บิน มุอีน ใน ฐานะผู้น�ำนักรายงานฮะดีษ และนักปราชญ์คนอื่นๆ ที่ ให้การยอมรับต่ออะบูศอ็ ลต์ ทัง้ นีก้ ด็ ว้ ยความมีอคติ การ ดูแคลนต่ออะบูศอ็ ลต์ และลบหลูน่ กั ปราชญ์อะฮ์ลซิ ซุน นะฮ์ ทีใ่ ห้การยอมรับนับถือ เขากล่าวว่า อะบูศอ็ ลต์ อัลฮัร วีย์ เป็นคนที่หันเหออกนอกสัจธรรม ฉันได้ยินคนผู้หนึ่ง ซึง่ ได้เล่าฮะดีษให้แก่ฉนั เป็นรายงานมาจากบรรดาผูน้ ำ� บางคน พูดถึงเขาว่า เขาเป็นคนโกหก ถึงขั้นลาสกปรก เลยทีเดียว เดิมที เขาเป็นคนเละเทะแปดเปือ้ นมากมาย ๒-อะบูฮาติม อัรรอซีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๒๗๗) ส�ำหรับฉัน ถือว่า เขามิใช่คนซือ่ สัตย์ และยังเป็นคนอ่อน ความน่าเชื่อถือ(ฎออีฟ) ๓-อะบูซุรอะฮ์ อัดดะมัชชะกีย์ อัลฮัมบะลีย์ (ฮ.ศ ๒๘๑)อะบูฮาติม อัรรอซีย์ อัชชาฟิอีย์ กล่าวว่า อะบูซุ รอะฮ์ สั่งให้โจมตีฮะดีษของอะบูศิลัต และเขากล่าวว่า “ฉันจะไม่กล่าวถึงเขา และไม่พึงพอใจต่อเขา” ๔-อันนะซาอีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๓๐๓) มีคนอ้าง ว่า เขาเป็นผู้ลดความน่าเชื่อของอะบูศ็อลต์ แล้วถึงเขา ว่า “เป็นคนไม่มีความน่าเชื่อถือ” ๕-อัลอุกัยลีย์ อัลมักกีย์(ฮ.ศ ๓๒๒ )เขาได้กล่าว

ด้วยความอคติต่ออะบูศ็อลต์ว่า “เขาเป็นพวกปฏิเสธ (รอฟิฎ) ทีส่ กปรก อะบูศอ็ ลต์ ไม่มอี ยูก่ บั ความเทีย่ งตรง และอีกในที่หนึ่ง เขากล่าวว่า เป็นคนโกหก ด้วย ๖-อิบนุ ฮิบบาน อัลบุสตีย์ อัชชาฟิอยี (์ ฮ.ศ ๓๕๔) เขาถือว่า ฮะดีษต่างๆของอะบูศ็อลต์ ขาดความน่าเชื่อ ถือ(ฎออีฟ)ทั้งสิ้น และสถานะของอะบูศ็อลต์นั้น มีสอง ประเภท เขากล่าวต่อไปว่า จ�ำเป็นต้องยอมรับฮะดีษ ของ(ท่านอิมามริฎ ) ในเมือ่ ถูกรายบงานมาจากท่านโดย คนอืน่ ทีน่ อกเหนือไปจากบรรดาลูกๆและชีอะฮ์ของเขา โดยเฉพาะอะบูศอ็ ลต์ ดังนัน้ รายงานบอกเล่าใดของเขา ล้วนเป็นโมฆะ อันที่จริงแล้ว ความบาปในข้อนี้ เป็นขอ งอะบูลัต บรรดาลูกๆและชีอะฮ์ของเขาเท่านั้น เขาเล่า รายงานที่ได้รับจาก ฮัมมาด บิน เซด และชาวอิรัก ล้วน เป็นเรือ่ งทีน่ า่ อัศจรรย์ใจเกีย่ วกับความประเสริฐของท่า นอะลี และอะฮ์ลลุ บัยต์ของท่าน ไม่อนุญาตให้นำ� มาอ้าง เป็นหลักฐาน ในเมื่อเขาเป็นคนเดียวที่รายงาน ๗-อิบนุ อะดียอ์ ลั ญัรญานีย์ อัชชาฟิอยี (์ ฮ.ศ ๓๖๕) เขาได้ลดความน่าเชือ่ ถือของอะบูศอ็ ลต์ และบทรายงาน ของเขา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง บทรายงานว่าด้วยความ ศรัทธา และได้ตงั้ ข้อหาว่า เขาเป็นคนกุฮะดีษ และกล่าว ว่า “ส�ำหรับอับดุสสลามคนนี้ มีรายงานจากอับดุรรอซาก เป็นฮะดีษประเภทมีสายรายงานคนเดียว ว่าด้วยเรือ่ งราว ความประเสริฐของอะลี ฟาฏิมะฮ์ และฮะซัน ฮุเซนและ เขาคือ ผูถ้ กู ตัง้ ข้อกล่าวหาในฮะดีษต่างๆเหล่านี้ และได้ รายงานฮะดีษว่าด้วยความศรัทธา มาจากท่านอะลี บิน มูซา อัรริฎอ และเขาก็ถกู ตัง้ ข้อกล่าวหาในฮะดีษเหล่านี้ ๘-อัดดารุกฏุ นีย์ อัลบัฆดาดีย์ อัชชาฟิอยี ์ (ฮ.ศ ๓๘๕) เขาได้กล่าวหาอะบูศอ็ ลต์วา่ เป็นคนไร้ประสิทธิภาพใน ความน่าเชื่อถือ (ฎออีฟ)และกล่าวถึงอย่างดูแคลน ว่า เป็นพวกปฏิเสธ(รอวาฟิฎ)ทีส่ กปรก และได้กล่าวหาอีก ว่า อะบูศิลัต เป็นคนปลอมฮะดีษ เขาได้กล่าวว่า มีราย งานจากญะอ์ฟัร บิน มุฮัมมัด เป็นฮะดีษที่ได้รับมาจาก บิดาของพวกเขา ทีไ่ ด้รบั มาจากท่านนบี (ศ็อลฯ) ว่า ท่าน

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

65


ได้กล่าวว่า ความศรัทธา คือ การรับรองด้วยค�ำพูด และ การกระท�ำ ด้ยอวัยวะต่างๆ...และเขาถูกตัง้ ข้อกล่าวหา ว่าปลอมฮะดีษนี้ จะไม่มใี ครเล่าฮะดีษนี้ นอกจากคนที่ ขโมยฮะดีษนีม้ าจากเขา เขาเป็นคนริเริม่ ในเรือ่ งฮะดีษนี”้ ๙-อัซซะฮะบีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๔๗๘) ได้กล่าว ต�ำหนิอะบูศอ็ ลต์ และว่าบทรายงานของอะบูศอ็ ลต์ ไม่นา่ เชื่อถือ ไว้หลายแห่งในหนังสือของเขา เช่น “อะบูศ็อลต์ เป็นเชค ผู้รู้ ที่ท�ำการเคารพภักดี เป็นเชคชีอะฮ์ เป็นคน มีเกียรติ เขาเป็นคนดี แต่เป็นชีอะฮ์หัวรุนแรง เขาถูกตั้ง ข้อหาว่า โกหกหลายครั้ง” อะบูซุรอะฮ์ ได้กล่าวว่า “เขา มิใช่คนน่าเชือ่ ถือ” อิบนุอะดีย์ ได้กล่าวว่า “เขาเป็นผูถ้ กู ตั้งข้อกล่าวหา” และมีคนอื่นๆอีกที่กล่าวว่า “เขาเป็น พวกปฏืเสธ(รอฟิฎีย์)” “อะบูศิลัต อับดุสสลาม บิน ศอ ลิห์ อัลฮัรวีย์ เป็นคนเพ้อเจ้อ” “อะบูศอ็ ลต์ อัลฮัรวีย์ เป็น ชีอะฮ์ เป็นผูท้ เี่ คารพภักดี ฮะดีษทีเ่ ขารายงานจะถูกละทิง้ ” “อะบูศ็อลต์ เป็นคนรับใช้ของอะลี บิน มูซา อัรริฎอ เป็น คนเพ้อเจ้อ เป็นชีอะฮ์ทถี่ กู ตัง้ ข้อกล่าวหา ทัง้ ทีเ่ ป็นคนดี” อีกทีห่ นึง่ เขาได้วพิ ากษ์คำ� พูดของอัลฮากิม อันนัย ซาบูรยี ์ อัชชาฟิอยี ์ ทีก่ ล่าวว่า อะบูศอ็ ลต์ เป็นคนเชือ่ ถือ ได้ เขากล่าวว่า ไม่หรอก ขอสาบานต่ออัลลอฮ์ เขามิใช่ คนที่น่าเชื่อถือ และไว้วางใจมิได้ ๑๐-มุฮัมมัด บิน ฏอฮิร อัลมุก็อดดะซีย์ อัซซอฮิ รีย์(ฮ.ศ ๕๐๗)ถือว่า อะบูศ็อลต์ เป็นโกหก ๑๑- อะบูสะอัด อับดุลกะรีม อัซซัมอานีย์ อัชชาฟิ อีย์ (ฮ.ศ ๕๖๒) ถือว่า บทรายงานของอะบูศอ็ ลต์ ล้วนมี ปัญหา เขาได้ยำ�้ ค�ำกล่าวของอิบนุฮบิ บาน อัลบุซตีย์ อัช ชาฟิอีย์ ที่ว่า เขาได้รับรายงานมาจากฮัมมาด บิน เซด และชาวอิรกั เกีย่ วกับเกียรติยศอันน่าอัศจรรย์ใจของอะ ลี และอะฮ์ลลุ บยต์(อ) ไม่อนุญาตให้ยดึ เอามาเป็นหลัก ฐาน เมื่อเขารายงานเพียงคนเดียว ๑๒-อะบูอัลฟะร็อจญ์ อิบนุล เญาซีย์ อัลฮัม บะลีย์ (ฮ.ศ ๕๙๗) เขาได้จัดให้ชื่อของอะบูศ็อลต์ อยู่ ในกลุ่มบุคคลที่ไม่มีความน่าเชื่อถือ(ฎออีฟ) และเป็น

66

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


นักรายงานประเภทที่ถูกละทิ้ง ๑๓-อิบนุกะซีร อัดดะมัชชะกีย์ อัชชาฟิอีย์ ฮ.ศ ๗๗๔ ได้จัดให้อะบูศ็อลต์ อยู่ในกลุ่มบุคคลประเภทไม่ น่าเชื่อถือ(ฎออีฟ) โดยกล่าวว่า “อะบูศ็อลต์ อัลฮัรวีย์ เป็นคนหนึ่งที่ไม่น่าเชื่อถือ” โดยพื้นฐานของการท�ำลายความเชื่อถือนี้ ผู้ อธิบายหนังสือสุนันอิบนุมาญะฮ์ ที่อคติบางคน จึงได้ ตอบโต้ฮะดีษว่าด้วยความศรัทธาทีอ่ ะบูศอ็ ลต์ รายงาน ไว้อย่างรุนแรงในอีกแห่งหนึ่งในที่สุดฮะดีษนี้ พวกเขา ถือว่า เป็นฮะดีษปลอม ๑๔-อัลบูซีรีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๘๔๐) ได้กล่าว ว่า สายรายงานฮะดีษนี้อ่อนแอ โดยความเห็นตรงกัน ของพวกเขาที่ไม่มีความเชื่อถือต่ออะบูศ็อลต์ อัลฮัรวีย์ นีค่ อื การแอบอ้างทีผ่ ดิ พลาด เมือ่ สังเกตไปยังค�ำ พูดของผู้รู้อะฮ์ลิซซุนนะฮ์ ที่ให้ความเชื่อถือ และให้การ ยกย่องต่ออะบี ศ็อลต์ แน่นอน ได้มีการยืนยันอย่างชัดเจน จาก บัช ชาร เอาววาด จากซอฟา อุซซอฟวา อะห์มัด อัลอัดวีย์ และนาซิรุดดีน อัลบานีย์ อัลฮัมบะลีย์ ว่า ฮะดีษว่าด้วย ความศรัทธา เป็นฮะดีษปลอม และพวกเขาได้ตั้งข้อ หาอะบูศ็อลต์ ว่าปลอมฮะดีษนี้ การวิพากษ์ และแก้ ข้อกล่ าวหา ประการแรก ทัศนะที่หนึ่งและที่สอง และการให้ ความเชื่อถือของนักฮะดีษรุ่นดั้งเดิม เช่นยะห์ยา บิน มุ อีน และนักปราชญ์คนอืน่ และชาวซุนนะฮ์ทวี่ างใจเป็นก ลาง ทุกคนล้วนเป็นหลักฐานทีด่ เี ลิศ โดยไม่ตอ้ งมีทศั นะ ที่สามหรือหลักฐานข้อพิสูจน์ใดๆอีก ประการทีส่ อง ไม่มกี ารบ่งชีถ้ งึ ความไม่นา่ เชือ่ ถือ ของอะบูศ็อลต์ โดยอันนะซาอีย์ อัชชาฟิอีย์ และอัดดา รุกฏุ นีย์ อัชชาฟิอีย์ เนื่องจากไม่มีการระบุชื่อของอับดุส สลาม บิน ศอลิห์ (อะบูศอ็ ลต์) ไว้ในหนังสือว่าด้วยบุคคล ที่ขาดความน่าเชื่อถือ(ฎออีฟ) ของคนทั้งสอง ประการทีส่ าม สมมติวา่ อะบูศอ็ ลต์ ถูกระบุความ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

67


ไม่นา่ เชือ่ ถือ โดยอันนะซาอีย์ อัชชาฟิอยี ์ ก็จำ� เป็นจะต้อง กล่าวว่า ทั้งอันนะซาอีย์ อัชชาฟิอีย์ ก็ดี อะบูฮาติม อัร รอซีย์ อัชชาฟิอีย์ ก็ดี อิบนุ ฮิบบาน อัชชาฟิอีย์ และยะห์ ยา บิน มุอีน ก็หมดสภาพความน่าเชื่อถือ และจะไม่มี คุณค่า ทางประวัตบิ คุ คลผูร้ ายงานฮะดีษเลย เนือ่ งจาก พวกเขาเป็นผู้ที่ถูกต�ำหนิโดยบรรดานักปราชญ์ และ เป็นผูร้ ะบุความไม่นา่ เชือ่ ถือต่อนักรายงาน จะมีขอ้ อ้าง ทีช่ อบธรรมอะไรก็ตาม ในเมือ่ เขาเองเป็นผูข้ าดความน่า เชือ่ ถือเสียแล้ว เพราะเป็นทีร่ กู้ นั ว่า พวกเขาพร�ำ่ เพรือ่ ใน การต�ำหนิ และการตั้งข้อกล่าวหา แต่ทั้งๆที่ ยะห์ยา บิน มุอีน เป็นคนหนึ่งในกลุ่ม ของผู้ต�ำหนิติเตียนนักรายงานฮะดีษ แต่ทว่า เขาให้ ความเชื่อถือต่ออะบูศ็อลต์ และการให้ความเชื่อถือนี้ นับเป็นคุณค่าอย่างสูง ส�ำหรับบรรดานักรายงานฮะดีษ เพราะเป็นความเชือ่ ถือจากผูท้ เี่ ป็นนักต�ำหนิ จึงเป็นหลัก ฐานแสดงถึงความเป็นที่เชื่อถือได้อย่างสมบูรณ์ โดย ปราศจากความอ่อนด้อยหรือข้อต�ำหนิใดๆ ด้วยเหตุนี้ จึงถือว่า การให้ความเชื่อถือของยะห์ยา บิน มุอีน จึง มีคุณค่าอย่างสูง ประการทีส่ ี่ ประเด็นปัญหาขัน้ พืน้ ฐานของทัศนะ นี้ ทีถ่ อื ว่าเป็นหลักฐานส�ำคัญของการระบุวา่ อะบูศอ็ ลต์ เป็นคนหมดความน่าเชื่อถือ(ฎออีฟ) ก็คือ มัซฮับของ เขาและบทรายงานของเขานั่นเอง พวกเขาเหล่านั้น ได้ ประณามเขา ด้วยสาเหตุทเี่ ขามีความจงรักภักดีตอ่ อะฮ์ ลุลบัยต์ของท่านรอซูลลุ ลอฮ์(ศ็อลฯ) และเขาได้ถา่ ยทอด บทรายงานเกีย่ วกับความประเสริฐของท่านเหล่านัน้ ทัง้ นี้ ก็มาจากสายรายงานของบรรดาผูร้ ขู้ องฝ่ายซุนนะฮ์เอง เช่น อับดุรร็อซซาก อัลอัศฟะฮานีย์ และคนอืน่ ๆ แต่พวก เขาก็ยงั ถือว่า อะบูศอ็ ลต์ เป็นผูไ้ ม่มคี วามน่าเชือ่ ถือ และ ดูหมิ่นด้วยถ้อยค�ำที่ต�่ำทราม จากการพิจารณาเรือ่ งราวทางประวัตศิ าสตร์เพือ่ จะหาสาเหตุทเี่ ป็นรากเหง้าของการดูหมิน่ เหยียดหยาม และการบั่นทอนความน่าเชื่อถือเหล่านี้แล้ว ก็ไม่มีพื้น

68

ฐานใดๆรองรับส�ำหรับเรือ่ งนี้ เพือ่ น�ำไปเป็นเหตุให้อลั ญู ซะญานียล์ บล้างความน่าเชือ่ ถือ อย่างมีอคติแบบหลับหู หลับตา ต่ออะบูศอ็ ลต์ และทุกๆคนทีเ่ ป็นผูร้ ายงานเรือ่ ง ราวว่าด้วยเกียรติยศ ด้วยถ้อยค�ำทีน่ า่ เกลียด และสร้าง รอยต�ำหนิ ถึงแม้จะเป็นคนของอะฮ์ลซิ ซุนนะฮ์เองก็ตาม เราสามารถกล่าวได้ว่า ส�ำหรับตัวของอัลเญา ซะญานียเ์ องนัน้ ในฐานะเป็นแหล่งทีม่ าของการลบล้าง ความน่าเชือ่ ถือเหล่านีท้ กุ ประการ เขาไม่มฐี านภาพใดๆ ในทัศนะของบรรดานักปราชญ์ซุนนะฮ์เลย ดังนั้น ชา วอะฮ์ลิซซุนนะฮ์ จึงถือว่า เขาเป็นพวกนาศิบ และพวก เขาให้ความเห็นว่า ทัง้ เขาและสานุศษิ ย์ของเขา ไม่มคี ณ ุ ค่าใดๆส�ำหรับพวกเขาเลย อัลเญาซะญานีย์ ต้นตอการตัง้ ข้อหาแก่อะบูศอ็ ลต์ อิบรอฮีม บิน ยะอ์กบู อัลเญาซะญานีย์ เป็นพวก นาศิบ ต้นตอของการกล่าวหาบุคลิกภาพอันมีเกียรติ ของอะบูศ็อลต์ ว่าขาดความน่าเชื่อถือ ด้วยสาเหตุที่ อะบูศ็อลต์ รายงานฮะดีษว่าด้วยเกียรติยศอันดีงามขอ งอิมามอะลี และอะฮ์ลลุ บัยต์(อ)แน่นอน ฮะดีษต่างๆของ เขาได้รับการสนับสนุนโดยบรรดานักปราชญ์ เช่น ยะห์ ยา บิน มุอนี ในขณะทีอ่ ลั เญาซญานียถ์ อื ว่า อะบูศอ็ ลต์ เป็นคนขาดความน่าเชือ่ ถือ โดยปราศจากหลักฐานใดๆ ที่เชื่อถือได้มารองรับ เขาได้ลบหลู่ดูแคลนบุคลิกภาพ อันเป็นทีเ่ ชือ่ ถือของบรรดาผูร้ ฝู้ า่ ย ซุนนะฮ์ โดยกล่าวว่า อะบูศอ็ ลต์เป็นคนหันเหออกจากสัจธรรมและเป้าหมายที่ ถูกต้อง ฉันได้ยนิ คนทีเ่ ล่าฮะดีษให้แก่ฉนั ทีไ่ ด้รบั รายงาน มาจากผูน้ ำ� วิชาฮะดีษบางท่านกล่าวว่า อะบูศอ็ ลต์ เป็น คนโกหกเหมือนลาที่สกปรกเลยทีเดียว และเดิมที เขา เป็นคนเละเทะ เหลวไหล ส่วนคนอืน่ ๆ ถือว่า อะบูศอ็ ลต์หมดสภาพความน่า เชือ่ ถือ โดยยึดเอาความอคติ ตามค�ำพูดของเญาซะญา นี ผู้เป็นพวกนาศิบ ดังกล่าวมาแล้วนั่นเอง นักปราชญ์ฝ่ายซุนนะฮ์ยืนยันว่า อัลเญาซะญา นีย์ เป็นศัตรูของอะฮ์ลุลบัยต์ (อ)

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


สาเหตุที่ อัลเญาซะญานีย์ ต�ำหนิอะบูศ็อลต์ และรายงานของเขา ว่า ไม่มีความน่าเชื่อถือ นั้น ตาม ค�ำยืนยันของนักปราชญ์ซุนนะฮ์ส่วนหนึ่ง เช่น อิบนุอะ ดีย์ อัชชาฟิอีย์ , อัดดารุกุฏนีย์,อัชชาฟิอีย์ , อัซซะฮะบีย์ อัชชาฟิอีย์, อิบนุฮะญัร อัลอัสก็อลลานีย์ อัชชาฟิอีย์ และบรรดาคนร่วมสัมยกับพวกเขา เช่น อัลฆ็อมมารีย์ อัชชาฟิอีย์ , ฮะซัน บิน อะลี อัซซักกอฟ อัชชาฟิอีย์ ก็ เพราะว่า เขาเคียดแค้นชิงชังต่อท่านอะมีรลุ มุมนิ นี อะลี (อ) จึงเป็นธรรมดาอยู่เอง ที่พวกนาศิบเช่นเขา จะต้อง ปฏิเสธเกียรติยศของท่านอะลี(อ)และผู้ที่รายงานเรื่อง ราวที่เป็นเกียรติยศอันดีงามของท่าน และเกียรติยศที่ ดีงามของอะฮ์ลุลบัยต์(อ) ด้วย อิบนุอะดีย์ อัลญัรญานีย์ อัชชาฟิอีย์ กล่าวว่า “อัลเญาซะญานีย์ เคยกล่าวบนมิมบัร...เขาเป็นคนที่ เอนเอียงไปยังแนวทางของชาวดะมัชชักอย่างรุนแรง ที่กล่าวหาท่านอะลี” อัดดารุกฏุ นีย์ อัชชาฟิอยี ก์ ล่าวว่า “คนผูน้ ี้ ผลักไส ท่านอะลี(อ)” อิบนุ ฮิบบานอัลบัซตีย์ อัชชาฟิอีย์ กล่าวว่า “อิ บรอฮีม บิน ยะกูบ อัลเญาซะญานีย์ ยึดถือพวกฮะรีซีย์ เป็นแนวทางศาสนา” อิบนุฮะญัร อัลอัสก็อลลานีย์ ได้อธิบาย ถ้อยค�ำ ของอิบนุ ฮิบบาน อัชชาฟิอยี ท์ วี่ า่ พวกฮะรีซยี ์ นัน้ หมาย ถึง ฮะรีซ บิน อุษมาน ผู้ซึ่งเป็นที่รู้กันว่า เป็นพวกนาศิบ และถ้อยค�ำของอิบนุอะดีย์ ก็สนับสนุนเรื่องนี้” อัซซะฮะบีย์ อัชชาฟิอีย์ ได้สนับสนุนถ้อยค�ำขอ งอิบนุอะดีย์ เกีย่ วกับเรือ่ งของอัลเญาซะญานีย์ ว่า “เขา เป็นพวกนาศิบ ตามแนวทางของชาวดะมัชกัดในยุคนัน้ ” อิบนุ ฮะญัร อัลอัสก็อลลานีย์ อัชชาฟิอีย์ ก็ได้ กล่าว ภายหลังจากหยิบยกเอาถ้อยค�ำของอิบนุฮบิ บาน อัชชาฟิอยี ,์ และถ้อยค�ำของอิบนุอะดีย์ อัชชาฟิอยี ์ อีกทัง้ ถ้อยค�ำของอัดดารุกุฏนีย์ อัชชาฟิอีย์ เกี่ยวกับเรื่องราว ของอัลเญาซะญานีย์ ที่เป็นพวกนาศิบ โดยมีหนังสือ

ของอัลเญาซะยานีย์ มาแสดงเป็นหลักฐานส�ำหรับข้อ อ้างนี้ว่า “และหนังสือว่าด้วยบรรดาผู้ไม่มีความน่าเชื่อ ถือ ได้อธิบายค�ำพูดของเขาอย่างชัดแจ้ง” ในหนังสือเล่มนี้ อัลเญาซะญานีย์ ได้ปฏิเสธบรรดา มิตรสหายของอิมามอะลี(อ)ทุกคน และผูท้ รี่ ายงานเรือ่ ง ความประเสริฐของท่านทุกคน เป็นผู้ขาดความน่าเชื่อ ถือ และถูกดูหมิน่ เหยียดหยามอย่างรุนแรง ด้วยเหตุนี้ อิ บนุฮะญัร อัลอัสก็อลลานีย์ ไม่ยอมรับค�ำพูดของอัลเญา ซะญานีย์ที่ระบุความไม่น่าเชื่อถือต่อนักรายงานฮะดีษ อิบนุฮะญัร ได้วิพากษ์จุดยืนและสถานะของอิ บนุอัลเญาซะญานีย์ อย่างรุนแรง ดังนี้ “อัลเญาซะญา นีย์ เป็นพวกนาศิบ ที่หันเหออกจากท่านอะลี เขาจึงต่อ ต้านชาวชีอะฮ์ ที่หันเหออกจากอุษมาน” อับดุลอะซีซ อัลฆุมมารีย์ อัชชาฟิอีย์ ได้กล่าวถึง อัลเญาซะญานีย์ ด้วยการยืนยันว่า “อะบูอสิ ฮาก อัลเญา ซะญานีย์ เป็นพวกนาศิบอันลือชือ่ เขาเป็นผูท้ มี่ บี ทบาท ในการประณาม ปรักปร�ำ และโจมตี ใส่รา้ ยด้วยถ้อยค�ำ อันน่าเกลียดแก่บรรดาผูน้ ำ� ทัง้ หลายทีเ่ ป็นชีอะฮ์ ตลอด จนถึงชาวกูฟะฮ์ทงั้ หมด และนีค่ อื เรือ่ งราวของเขาอันเป็น ที่รู้ จนกระทั่งได้มีคนบางกลุ่มคล้อยตามค�ำใส่ร้ายของ เขาต่อบรรดานักปราชญ์ชาวกูฟะฮ์และบรรดาคนที่อยู่ ในแนวทางชีอะฮ์โดยไม่เฉลียวใจ ฮะซัน บิน อะลี อัซซักกอฟ อัชชาฟิอีย์ ก็เป็นอีก คนหนึ่งที่กล่าวถึงเขาว่า “อัลเญาซะญานีย์อยู่ในฝ่าย ผู้มีคุณธรรมในรุ่นแรก แต่เป็นคนหนึ่งที่หันเหออกจาก สัจธรรม เขาได้กล่าวโจมตีคนทัง้ หลายอย่างเสียหาย ขอ ให้อลั ลอฮ์ทรงชิงชังต่อเขา เพราะเขาด่าประณามอย่าง รุนแรงต่อมิตรสหายผูป้ ระเสริฐในคุณธรรมทัง้ หลาย ขอ ให้อัลลอฮ์ทรงพอพระทัยต่อพวกเขา บทสรุ ป ประการแรก : ดังที่ได้กลาวไปแล้วนั้น จะเห็น ได้วา่ การทีอ่ ลั เญาซะญารนียถ์ อื ว่า มิตรสหายของท่าน อะมีรลุ มุมนิ นี (อ) และผูท้ รี่ ายงานเรือ่ งเกียรติยศของท่าน

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

69


ตลอดถึงบุคคลผูเ้ ป็นทีร่ กั ใคร่ของท่านอะมีรลุ มุมนิ นี (อ) เป็นบุคคลทีไ่ ม่มคี วามน่าเชือ่ ถือ(ฎออีฟ)ตามค�ำบอกเล่า ของนักปราชญ์ฝ่ายซุนนะฮ์นั้น เป็นสิ่งที่ไร้คุณค่าทาง วิชาการอย่างสิ้นเชิง ประการที่สอง : นักปราชญ์ซุนนะฮ์ เช่น ยะห์ ยา บิน มุอีน ได้รายงานฮะดีษจากอะบูศ็อลต์ ในเรื่อง ความประเสริฐของท่านอะมีรุลมุมินีน (อ) และของบร รดาอะฮ์ลุลบัยต์(อ) อย่างมากมายไว้ในหนังสือต่างๆ จากสายรายงานอืน่ เพราะฉะนัน้ จึงถือเป็นการอธิบาย ถึงการรับรองความเชือ่ ถือต่อบทรายงานของอะบูศอ็ ลต์ ประการที่สาม : ถ้าหาก แบบแผนของการระบุ ความไม่นา่ เชือ่ ถือ เป็นไปตามวิธกี ารของ อัลเญาซะญา นีย์ นัน่ คือ การระบุความไม่นา่ เชือ่ ถือต่อทุกคนทีร่ ายงาน เรือ่ งความประเสริฐของท่านอะมีรลุ มุมนิ นี (อ) และอะฮ์ลุ ลบัยต์(อ) แน่นอนทีส่ ดุ ยังจะต้องละทิง้ บรรดาผูร้ ายงาน ริวายัตต่างๆอีกเป็นจ�ำนวนมาก ทั้งจากเหล่าบรรดาศอ ฮาบะฮ์และตาบิอนี และนีค่ อื การให้เหตุผลของซะฮะบีย์ อัชชาฟิอีย์ โดยกล่าวว่า “ดังนัน้ ถ้าหากจะปฏิเสธฮะดีษ ของคนเหล่านั้น แน่นอน เรื่องราวที่เป็นมรดกของท่าน นบี(ศ็อล)จะต้องสูญหายเป็นอันมาก และนี่คือ ความ เสียหายอย่างชัดแจ้ง” ประการที่ส่ ี : ได้กล่าวมาแล้วว่า ฮะดีษว่าด้วย ความศรัทธา นั้น อะบูศ็อลต์ได้รับรายงานมาจากอิมา มอัรริฎอ(อ)ทีไ่ ด้รบั มาจากบรรพบุรษุ ของท่านจนกระทัง่ ถึงท่านอะมีรุลมุมินีน (อ) ซึ่งรับมาจากท่านนบี ผู้ทรง เกียรติ(ศ็อลฯ) โดยหลายกระแสรายงาน เป็นการบอก เล่าต่อๆกันมาอย่างเป็นระบบตามมาตรฐานที่ถูกต้อง ของฮะดีษและเป็นบทรายงานทีม่ สี ายรายงานทีเ่ ชือ่ ถือได้ ประการที่ห้า : อย่าได้ทำ� เมินเฉยกับการสนับสนุน ของบรรดาผู้รู้อะฮ์ลิซซุนนะฮ์ ที่มีต่ออะบูศ็อลต์ และ บทรายงานของเขา ยิ่งไปกว่านั้น เราสามารถถือได้ว่า สายรายงานฮะดีษที่เป็นยาบ�ำบัดรักษาทุกโรค และที่ มากไปกว่านั้น ก็คือ ประสบการณ์ของผู้ที่เคยบ�ำบัด

70

รักษาอาการเป็นผลส�ำเร็จโดยความมีสริ มิ งคลของสาย รายงานนี้ ย่อมเป็นทางแก้ส�ำหรับความเห็นขัดแย้ง ดัง นั้น คงจะไม่มีใครเข้าใจผิด ว่าบทรายงานนี้ หรือผู้เล่า รายงานเรื่องนี้ จะไม่มีความน่าเชื่อถือ แนวทางศาสนา(มัซฮับ)ของอะบูศลิ ตั อัลฮัรวีย์ อะบูศอ็ ลต์ เป็นชีอะฮ์ อิมามียะฮ์ ตามทัศนะของ นักปราชญ์อิมามียะฮ์ ส่วนใหญ่ เว้นแต่ เชคฏูซีย์ และ สานุศิษย์เช่น อิบนุดาวูด อัลฮุลลีย์ ,อัลลามะฮ์ อัลฮุล ลีย,์ สองท่านนีถ้ อื ว่า อะบูศอ็ ลต์ อยูใ่ นมัซฮับของมุสลิม ทั่วไป ซึ่งเป็นชาวซุนนีย์ นั่นเอง และในมุมมองของนัก ปราชญ์ซุนนีย์ ก็ถือว่า อะบูศ็อลต์ อัลฮัรวีย์ เป็นซุนนีย์ ที่มีความพัวพันกับชีอะฮ์ มีประเด็นค�ำถามเกิดขึน้ ณ ตรงนีว้ า่ การใช้ศพั ท์ ค�ำว่า ชาวชีอะฮ์ ,ชีอะฮ์หวั รุนแรง,พวกรอฟิฎสกปรก ใน หนังสืออ้างอิงของอะฮ์ลซิ ซุนนะฮ์ เป็นหลักฐานแสดงว่า อะบูศ็อลต์ เป็นชีอะฮ์ อิมามียะฮ์ หรือเปล่า ? ค�ำตอบก็คือว่า หาใช่เช่นนั้นไม่ เพราะเหตุว่า ถ้อยค�ำเหล่านีถ้ กู น�ำมาใช้ในความหมายหนึง่ โดยเฉพาะ ดังที่เราจะอธิบายต่อไป ความหมายค�ำว่ า ชาวชีอะฮ์ , ชีอะฮ์ หวั รุนแรง, รอฟิ ฎีย์สกปรก, ตามทัศนะของอะฮ์ ลิซซุนนะฮ์ ความหมายของค�ำว่า “ชาวชีอะฮ์” ในทัศนะของ นักปราชญ์ชีอะฮ์ อิมามียะฮ์ กับในทัศนะของฝ่ายซุน นะฮ์ มีความแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง กล่าวคือ ความ หมายค�ำว่า “ชาวชีอะฮ์” ตามทัศนะของชาวอิมามียะฮ์ คือ ยึดหลักความเชื่อในวิลายะฮ์(อ�ำนาจการปกครอง) ของท่านอะมีรลุ มุมนิ นี อะลี(อ)และอิมามอีกสิบเอ็ดคน ภายหลังจากท่าน หลังจากสมัยท่านนบี(ศ็อลฯ)โดยไม่มี ช่องว่าง และสหายคนหนึ่งคนใดของบรรดาอิมามเป็น ชีอะฮ์ ก็หมายความว่า เขามีความเชื่อมั่นต่อบรรดาอิ มามภายหลังจากท่านนบี ศ็อลฯ จนกระทั่งถึงอิมาม แห่งยุคสมัยของเขา ในขณะที่ความหมายค�ำว่า ชาว ชีอะฮ์ ในทัศนะของอะฮ์ลิซซุนนะฮ์นั้น มิได้เป็นไปตาม

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


ความหมายดังกล่าวนี้ จึงไม่สามารถสรุปความเป็นจริง ในตัวอะบูศอ็ ลต์ ได้วา่ เป็นชีอะฮ์ อิมามียะฮ์ ตามความ หมายที่กล่าวไปแล้วนี้หรือไม่ ค�ำว่า “ชาวชีอะฮ์” มีสองความเห็น บางคนเชื่อ ว่า ความหมายของค�ำว่าชาวชีอะฮ์ ก็คอื ผูท้ รี่ กั ท่านอะลี และยกย่องท่านมากกว่าอุษมาน และเชือ่ ถือว่า ท่านอะ ลี มีสทิ ธิชอบธรรมทุกประการในการท�ำสงครามทัง้ หมด และถือว่า คนทีต่ อ่ สูก้ บั ท่านมีความผิด แต่ทว่า ผูอ้ าวุโส สองคนแรก มีฐานภาพสูงส่งกว่า อีกพวกหนึ่งถือว่า “ชาวชีอะฮ์” หมายถึง คนที่ ยกย่องท่านอะลี(อ) ให้มสี ถานะทีเ่ หนือกว่าบรรดาสาวก ทัง้ หมดของท่านนบี ศ็อลฯแม้กระทัง่ ผูอ้ าวุโสทัง้ สอง(อะบู บักร์ อุมัร) และยอมรับว่า สองคนนี้ก็มีความประเสริฐ กว่า แต่ไม่มีสิทธิในต�ำแหน่งคอลีฟะฮ์ ค�ำว่า “ชีอะฮ์ฆอลู” หรือ “ญัลด์” ก็มีสองความ เห็นเช่นเดียวกันในเรื่องความหมาย บางพวกกล่าวว่า ชีอะฮ์ ฆอลุหรือญัลด์ หมายถึง ผู้ที่เชื่อถือว่า อิมามมี สถานะที่สูงส่งเหนือกว่าผู้ประเสริฐใดๆทั้งหมด แม้ กระทั่ง ผู้อาวุโสสองท่าน ส่วนบางพวกกล่าวว่า แท้จริง ชีอะฮ์ ญัลด์ หรือ ฆอลู หมายถึงผู้ที่รักอิมามอะลี แต่มิได้ยกย่องท่านให้ เหนือกว่า ผูอ้ าวุโสทัง้ สอง แต่ถอื ว่าอิมามอะลี (อ) มีฐาน ภาพสูงส่งกว่าอุษมาน และสาปแช่งอุษมาน , มุ อาวียะฮ์, ฏ็อลหะฮ์,ซุเบร และสาปแช่งทุกคนที่ท�ำสง ครามกับอิมาม(อ) ค�ำว่า “พวกรอฟิฎีที่สกปรก” ชาวอะฮ์ลิซซุนนะฮ์ ทั้งหมดมีความเห็นตรงกันว่า หมายถึง ผู้ที่รักอิมามอะ ลี (อ)และผู้ที่กล่าวว่า ท่านประเสริฐกว่าบรรดาสาวก ทัง้ หมด แม้กระทัง่ ผูอ้ าวุโสทัง้ สอง และหมายถึง ผูท้ เี่ ชือ่ ถือว่า อิมามอะลี(อ) มีสทิ ธิในต�ำแหน่งคอลีฟะฮ์ภายหลัง จากท่านนบี ศ็อลฯ ทันทีโดยไม่มีช่องว่าง และหมายถึง ผู้ที่ปฏิเสธอย่างสิ้นเชิงต่อผู้อาวุโสทั้งสอง และเป็นผู้ที่ โกรธคอลีฟะฮ์ และประณามพวกเขา

ฉะนัน้ การใช้คำ� ว่า “ชาวชีอะฮ์” ค�ำว่า “ฆอลู” จะ มีการเรียกชาวซุนนีทมี่ คี วามคิดเบีย่ งเบน เป็นกรณีพเิ ศษ อยู่อีกด้วย แต่จะน�ำค�ำว่า รอฟิฎีย์ มาใช้กับคนที่กล่าว ว่า ต�ำแหน่งคอลีฟะฮ์ เป็นสิทธิของท่านอะมีรลุ มุมนิ นี (อ) ภายหลังจากท่านนบี ศ็อลฯ ทันที และไม่อาจทีจ่ ะสรุปว่า นักรายงานฮะดีษคนใด เป็นชีอะฮ์อมิ ามียะฮ์ โดยอาศัย การกระบวนการนีไ้ ด้ เพราะพวกรอฟิฎยี ์ ยังมีในชาวซัย ดียะฮ์ , กีซานียะฮ์ , และชาววากิฟียะฮ์ และอื่นๆ อีก การวิพากษ์ และทางแก้ จากการพิจารณาความหมายและข้อมูลทาง ประวัติศาสตร์ ในหนังสืออ้างอิงของซุนนะฮ์ ที่ได้กล่าว มาแล้ ว ตลอดจนถ้ อ ยค� ำ ต่ างๆที่ ถูก น� ำ มากล่ า วแก่ อะบูศ็อลต์ จะเห็นได้ว่า อะบูศ็อลต์ เป็นชาวซุนนี และ มิใช่พวกรอฟิฎยี ์ แต่มขี อ้ มูลทางประวัตศิ าสตร์ทชี่ ดั เจนอยู่ หลาย ประการทีส่ มควรจะท�ำความเข้าใจว่า อะบูศอ็ ลต์ เป็นชาวซุนนีย์ ทีม่ แี นวโน้มมาทางชาวชีอะฮ์ฆอลูและหัว รุนแรง ในที่นี้ เราจะกล่าวถึงข้อมูลทางประวัติ ศาสตร์ ที่เล่าขานว่าอะบูศ็อลต์ถือมัซฮับซุนนี แต่โน้มเอียงมา ทางชีอะฮ์ ดังนี้ ๑-อะบูศอ็ ลต์ ได้รายงานฮะดีษต่างๆว่าด้วยความ ประเสริฐของอะฮ์ลบุ ยั ต์ อย่างมากมาย โดยเฉพาะเรือ่ ง ความประเสริฐของอะมีรุลมุมินีน อะลี (อ) เช่น ฮะดีษที่ ว่า “ฉันคือนครแห่งความรู้ แต่อะลี คือ ประตูของมัน”และ ฮะดีษสายโซ่ทองค�ำ ๒-อัลคอฏีบบัฆดาดี อัชชาฟิอีย์ ได้กล่าวถึง อะบูศ็อลต์ โดยอ้างจากหนังสือตารีค มะรู ของอัลมะรู ซีย์ ว่า “เขาเป็นที่รู้จักเพราะค�ำพูดของชีอะฮ์” ๓-เขาได้กล่าวในเรื่องหลักความเชื่อ(อะกีดะฮ์) ของอะบูศอ็ ลต์ในเรือ่ งบรรดาคอลีฟะฮ์อกี ด้วย โดยอ้าง จากอัลมะรูซีย์ อัชชาฟิอีย์อีกเช่นกัน ว่า “ฉันเห็นว่าเขา ยกย่องอะบูบักร์และอุมัร แต่ให้ความเคารพยกย่องต่อ อะลี และอุษมาน และไม่ได้กล่าวถึงบรรดาสาวกของ ท่านนบี ศ็อลฯ ในทางอื่น นอกจากยกย่องอย่างดีงาม

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

71


และฉันได้ยินเขากล่าวว่า นี่คือ มัซฮับของฉันที่อัลลอฮ์ ทรงก�ำหนดให้เป็นศาสนา” ๔-อัลมะรูซยี ์ อัชชาฟิอยี ์ ให้ทศั นะว่า จุดอ่อนของ เขาประการเดียวก็คอื การถ่ายทอดบทรายงานในทางลบ ต่อสาวกบางคน เช่น อะบูมซู า อัลอัชอะรีย์ และมุอาวียะฮ์ ๕-อัดดารุกุฏนีย์ อัชชาฟิอีย์ อ้างว่า อะบูศ็อลต์ กล่าวถึงชาวบะนีอมุ ยั ยะฮ์ ว่า “สุนขั ของชาวอะละวีย์ (คน ตระกูลของท่านอะลี)ยังดีกว่า ชาวบะนีอมุ ยั ยะฮ์ทงั้ หมด” การยืนยันของอัลมะรูซีย์ อัชชาฟิอีย์ คัดค้านข้อ อ้างนีด้ งั กล่าวแล้ว จึงด้วยเหตุนี้ อัซซะฮะบีย์ อัชชาฟิอยี ์ จึงไม่ยอมรับถ้อยค�ำของอัดดารุกุฏนีย์ และถือว่า สาย รายงานของเขา ไม่มีความน่าเชื่อถือ(ฏออีฟ) แต่เขาก็ ยังถือปฏิบัติไปตามที่อัลมะรูซีย์กล่าวอยู่ บทสรุ ป เพราะฉะนั้น อะบูศ็อลต์ จึงเป็นชาวซุนนีย์ แต่มี ใจโน้มเอียงเข้าหาท่านอิมามอะลี (อ) ค่อนข้างมาก และ เขาได้รายงานเกี่ยวความประเสริฐต่างๆของท่าน และ เป็นคนมีจุดยืนกระด้างกระเดื่องต่ออะบูมูซา อัลอัชอะ รีย์ และมุอาวียะฮ์ และบะนูอมุ ยั ยะฮ์ และนีค่ อื สิง่ ทีท่ ำ� ให้ นักปราชญ์หลายคนจัดให้เขาเป็นชาวชีอะฮ์ประเภท ฆุ ลาตและหัวรุนแรง เหตุผลทีท่ ำ� ให้มคี ำ� พูดของอัลอุกอ็ ยลีย์ อัลมักกีย์ และอัดดารุกฏุ นีย์ อัชชาฟิอยี ์ จัดให้อะบูศอ็ ลต์ เป็นพวก รอฟิฎีย์นั้น เป็นข้ออ้างที่เลื่อนลอยปราศจากหลักฐาน ไม่สอดคคล้องกับข้อมูลในนิยามของชีอะฮ์ตามความ หมายทางวิชาการของซุนนะฮ์ โดยเฉพาะ ริวายัตว่ าด้ วยเกราะป้องกันและความศรัทธา เป็ นอันเดียวกัน มีประเด็นค�ำถามเกิดขึ้นจากตรงนี้ว่า ฮะดีษว่า ด้วยเกราะป้องกัน และความศรัทธา เป็นฮะดีษเดียวกัน หรือว่าเป็นฮะดีษต่างกรรมต่างวาระกัน ? อิบนุฮะญัร อัลฮัยซุมีย์ อัชชาฟิอีย์ ยืนยันว่า ทั้ง สองฮะดีษมีทมี่ าต่างกรรมต่างวาระ และเขาได้วา่ “เป็น

72

ไปได้ ที่สองฮะดีษนี้ มาจากสองเหตุการณ์” มีการแสดงความคิดเห็นติดตามมา โดยเหตุผล หลายประการดังนี้ : ประการทีห่ นึง่ ไม่ตอ้ งสงสัยแต่ประการใดเลยว่า ทั้งสองบทรายงานนี้ มีที่มาจากอิมามริฎอ(อ) ประการที่สอง ไม่มีหลักฐานอันใดยืนยันว่า ฮะ ดีษว่าด้วยเกราะป้องกันกับฮะดีษว่าด้วยความศรัทธา จะเป็นฮะดีษเดียวกัน หรือจะมาจากแหล่งเดียว เวลา เดียวกัน แต่ทไี่ ม่มขี อ้ สงสัยคลางแคลงเลยก็คอื ทีม่ าของ ฮะดีษทั้งสองนี้มาจากอิมามริฎอ(อ)เท่านั้นเอง ประการทีส่ าม ไม่มพี ยานหลักฐานอันใดคัดค้าน ว่าทั้งสองฮะดีษนี้ มีแหล่งที่มาจากเมืองนัยซาบูร ค่อนข้างจะเป็นไปได้ว่า ฮะดีษว่าด้วยความ ศรัทธา มีในช่วงที่อิมามริฎอ(อ)เดินทางเข้าเมืองนัย ซาบูร และฮะดีษว่าด้วยเกราะป้องกัน มีเมืองท่านเดิน ทางออกจากเมือง การเดิ น ทางของอิ ม าม(อ)ไปยั ง เมื อ ง นั ยซาบูรกับท่ าทีของบรรดานั กปราชญ์ ซุนนะฮ์ และประชาชน ถ้าเราย้อนไปพิจารณาบทรายงานทีเ่ ล่าเรือ่ งการ เดินทางของอิมามริฎอ(อ) ตอนเข้ามายังเมืองฯยซาบูร และสถานที่ต่างๆ และการแสดงออกของประชาชน ตลอดจนบรรดานักปราชญ์ที่เต็มไปด้วยความปิติยินดี เราจะพบกับประเด็นค�ำถามส�ำคัญหลายประการ ด้วย เหตุนี้ เราจะกลับไปพิจารณาบทรายงานเหล่านี้ เพือ่ หา ค�ำอธิบายต่อค�ำถามนั้นๆ รายงานของอัลวากิดยี ์ “เมือ่ ถึงปี ฮ.ศ ๒๐๐ อัลมะอ์มนู ได้สงั่ ให้นำ� ตัวท่าน จากเมืองมะดีนะฮ์ เดินทางไปยังเมืองคุรอซาน ครัน้ เมือ่ ถึงยังเมืองนัยซาบูร บรรดานักปราชญ์ประจ�ำเมืองนั้น ต่างก็ออกมาต้อนรับ เช่น ยะห์ยา บิน ยะห์ยา ,อิสฮาก บิน รอฮูวัยฮ์ ,มุฮัมมัด บิน รอฟิอ์ , อะห์มัด บิน ฮัรบ์, และบุคคลต่างๆ แล้วขอร้องให้ท่านเล่าฮะดีษ และบท

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


รายงาน อีกทั้งขอความเป็นสิริมงคลต่อท่าน...” รายงานของอิบนุลเญาซีย์ อัลฮัมบะลีย์ อะบุลฟะร็อจญ์ บิน เญาซีย์ อัลฮัมบะลีย์ รายงาน ว่า “เมือ่ ท่านเดินทางมาถึงเมืองนัยซาบูร ท่านได้ชะโงก ออกมาขณะทีอ่ ยูใ่ นร่มบนหลังพาหนะ บรรดานักปราชญ์ ประจ�ำเมืองได้ออกมาขอร้องท่าน เช่น ยะห์ยา บิน ยะห์ ยา ,อิสฮาก บิน รอฮะวียะฮ์ ,มุฮมั มัด บิน รอฟิอ์ ,อะห์มดั บิน ฮะร็อบ,ฯลฯ แล้วท่านได้พำ� นักอยูท่ นี่ นั่ ชัว่ ระยะหนึง่ รายงานของอัลฮากิม อันนัยซาบูรีย์ อัชชาฟิ อีย์ เป็ น ที่ น ่ า เสี ย ใจอยู ่ ว ่ า วั น นี้ เราไม่ มี ห นั ง สื อ ประวัตศิ าสตร์ของเมืองนัยซาบูร ซึง่ หนังสือประวัตศิ าสตร์ อันทรงคุณค่าเล่มนีไ้ ด้สญ ู หายไป ฉะนัน้ เราจะกล่าวถึง บทรายงานของท่านฮากิม ทีม่ อี ยูใ่ นบทรายงานของนักฮะ ดีษคนอืน่ ๆ ซึง่ มีหนังสือของท่านฮากิมในมือของพวกเขา บันทึกของท่านฮากิม ได้ถูกน�ำมารายงานโดย บุคคลต่อไปนี้ : อะห์มัด บิน มุฮัมมัด บิน ฮุเซน อัลคอ ลีฟะฮ์ อันนัยซาบูรีย์ อัชชาฟิอีย์(ศตวรรษที่ ๘) อิบนุศศิ บาฆ อัลมาลิกีย์ (ฮ.ศ ๕๓๕) อิบนุฮะญัร อัลฮัยซุมีย์ อัช ชาฟิอีย์(ฮ.ศ ๕๓๖) อัลก็อรมานีย์ อัดดะมัชชะกีย์(ฮ.ศ ๕๓๗) อับดุรรออูฟ อัลมะนาวีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๕๓๘) อัชชิบลันญีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๕๓๙) (โดยละเอียด) อัซ ซะฮะบีย์ อัชชาฟิอีย์(ฮ.ศ ๕๔๐) อิบนุฮะญัร อัสก็อลลา นีย์ อัชชาฟิอีย์(ฮ.ศ ๕๔๑)(โดยสังเขป) ส่วน อัซซัมฮูดีย์ อัชชาฟิอีย์(ฮ.ศ ๕๔๒) และ อัลค็อนญีย์ อัลอิศฟะฮานีย์ อัลฮะนะฟีย(์ ฮ.ศ ๕๔๓)นัน้ ไม่ได้นำ� มาอ้างถึง บันทึกของอัลฮากิม จากหนังสือตารีค นัยซาบูร โดยตรง แต่ได้บนั ทึกเรือ่ งราวนี้ จากหนังสือขอ งอิบนุศศิบาฆ อัลมาลิกีย์ อิบนุ ฮะญัร อัลฮัยซุมีย์ อัชชาฟิอีย์ ได้เล่าเรื่อง ราวโดยการอ้างอิงจากอัลฮากิม อันนัยซาบูรีย์ อัชชาฟิ อีย์ ว่า อิมามได้เดินทางถึงเมืองนัยซาบูร ได้มนี กั ท่องจ�ำ ฮะดีษสองท่านคือ อะบูซรุ อะฮ์ อัรรอซีย์ และมุฮมั มัด บิน อัสลัม อัฏฏูซีย์ ได้ขอวิชาความรู้และขอฮะดีษจากท่าน

และได้ขอให้ทา่ นโผล่ใบหน้าของท่านออกมาให้พวกเขา เห็น แล้วท่านก็ได้รายงานฮะดีษตามที่ได้รับมาจากิดา ปู ทวด ฯลฯของท่าน มีข้อความที่อ้างมาอีกแห่งหนึ่งว่า “เมื่ออะลี บิน มูซา อัรริฎอ ได้เดินทางเข้ามายังเมืองนัยซาบูร ด้วย พาหนะที่เป็นฬ่อ บรรดานักปราชญ์ประจ�ำเมืองก็ได้ ออกไปขอความรู้จากท่าน เช่น ยะห์ยา บิน ยะห์ยา , อิสฮาก บิน รอฮะวียะฮ์ ,อะห์มัด บิน ฮะร็อบ, มุฮัมมัด บิน รอฟิอ์ ดังนั้นพวกเขาก็แขวนเชื่อกล่ามพาหนะของ ท่านไว้ แล้วอิสฮาก ก็ได้กล่าวกับท่านว่า โดยสิทธิของ บรรพบุรุษของท่าน ได้โปรดเล่าฮะดีษให้พวกเราด้วย เถิด.! ท่านกล่าวว่า... “ อิบนุศศิบาฆ อัลมาลิกยี ์ ได้กล่าวโดยอ้างมาจาก ท่านฮากิมว่า “เจ้าของหนังสือตารีค นัยซาบูร ได้บันทึก ไว้ในว่า เมื่อครั้งที่ ท่านอะลี บิน มูซา อัรริฎอ เดินทาง เข้ามาถึงเมืองนัยซาบูร นัน้ มีการบันทึกหลักฐานไว้เป็น เกียรติประวัติ ปรากฏว่า ตรงที่ท่านนั่งบนหลังฬ่อนั้น มี ม่านกั้น ตลาดในเมืองนัยซาบูรคับแคบ ได้มีผู้น�ำวิชา ฮะดีษ ผู้เป็นนักท่องจ�ำฮะดีษต่างๆของท่านนบี ศ็อลฯ สองท่านได้เสนอตัวต่อท่าน นั่นคือ อะบูซุรอะฮ์ อัรรอ ซีย์ และมุฮัมมัด บิน อัสลัม อัฏฏูซีย์ พร้อมด้วยบุคคล อื่นๆอีกนับไม่ถ้วน ประกอบด้วยผู้แสวงหาวิชาความ รู้ นักท่องจ�ำฮะดีษและนักรายงานและนักวิเคราะห์ฮะ ดีษ เขาทั้งสองกล่าวว่า โอ้ท่านผู้เป็นนาย ผู้ทรงเกียรติ ผู้เป็นบุตรของบรรดานาย บรรดาอิมาม โดยสิทธิของ บรรพบุรษุ ของท่านผูบ้ ริสทุ ธิ์ ผูท้ รงเกียรติ ขอให้พวกเรา ได้เห็นใบหน้าอันจ�ำเริญของท่านด้วยเถิด และขอให้ทา่ น ได้เล่าฮะดีษทีท่ า่ นได้รบั มาจากบรรพบุรษุ ของท่าน ทีไ่ ด้ รับมาจากทวดของท่าน นั่นคือ ท่านนบีมุฮัมมัด ศ็อลฯ ให้แก่พวกเราด้วยเถิด เพื่อพวกเราจะได้ระลึกถึงท่าน ด้วยบทรายงานนั้นๆ ดังนั้นท่านได้พยุงฬ่อให้หยุดและสั่งคนรับใช้ ของท่านให้ท�ำการเปิดม่านที่อยู่ตรงเหนือที่นั่ง ทันใด

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

73


นั้น สายตาของคนทั้งหลาย ก็เต็มไปด้วยความยินดี ปรีดา เมื่อได้เห็นตัวของท่านอันมีสิริมงคล ทุกคนก็ได้ ลุกขึ้นยืนตามแท่นต่างๆของพวกเขา เพื่อจะได้ชื่นชม ท่าน ขณะที่พวกเขาบางคนก็ส่งเสียงตะโกน บางคนก็ ร้องไห้ และบางคนก็เกลือกลิ้งลงบนดิน และจูบสีข้าง ของฬ่อ แล้วบรรดาผู้น�ำ บรรดานักปราชญ์ และนัก วิชาการศาสนาก็ได้เปล่งเสียงร้องขึ้นว่า : โอ้ประชาชน ทัง้ หลาย จงฟังเถิด จงตัง้ สติ และจงเงียบเสียง เพือ่ พวก ท่านจะได้ยนิ ในสิง่ ทีเ่ ป็นประโยชน์สำ� หรับพวกท่าน และ จงอย่าท�ำร้ายพวกเราด้วยการส่งเสียงตะโกนและเสียง ร้องไห้ของพวกท่านเลย ดังนั้น ท่านอะลี บิน มูซา อัรริฎอ(อ) ได้กล่าวว่า บิดาของฉัน คือ มูซา อัลกาซิม ได้เล่าฉันว่า ท่านได้รับ รายงานมาจากญะอ์ฟัร ศอดิก บิดาของท่าน ซึ่งได้รับ มาจาก มุฮัมมัด บากิร บิดาของท่าน ซึ่งได้รับมาจาก อะลี ซัยนุลอาบิดีน บิดาของท่าน ซึ่งได้รับมาจากฮุเซน ชะฮีดแห่งกัรบะลาอ์ ซึ่งได้รับมาจากอะลี บิน อะบี ฏอ ลิบ บิดาของท่าน ได้กล่าวว่า ท่านรอซูลุลลอฮ์ ศ็อลฯ ผู้ เป็นทีร่ กั ของฉัน และเป็นแก้วตาของฉัน ได้เล่าฮะดีษแก่ ฉันว่า “ญิบรออีล ได้เล่าฮะดีษแก่ฉันว่า ฉันได้ยินพระผู้ อภิบาลผู้ทรงอานุภาพยิ่ง มหาบริสุทธิ์ยิ่ง สูงสุดยิ่ง ตรัส ว่า “ค�ำว่า ลา อิลา ฮะ อิล ลัลลอฮ์ เป็นเกราะป้องกัน ของฉัน ดังนั้น ผู้ใดได้กล่าวค�ำนี้ เขาจะได้เข้าสู่เกราะ ป้องกันของฉัน และผู้ใดได้เข้าอยู่ในเกราะป้องกันของ ฉัน เขาจะปลอดภัยจากการลงโทษของฉัน หลังจากนัน้ ท่านได้คลีผ่ า้ ม่านลงบนฬ่อของท่าน แล้วเดินทางต่อไป” เขาเล่าว่า พวกเขาได้นับจ�ำนวนบรรดาผู้ที่ได้จดบันทึก ทั้งหมด มีไม่น้อยกว่าสองหมื่นคน” ค�ำชีแ้ จงเกี่ยวกับบทรายงานนี ้ บทรายงานนี้ สามารถแบ่งสาระส�ำคัญออกได้ สองประการ ก.การแสดงออกของประชาชนต่อการมาของอิ มามอัรริฎอ(อ)

74

๑-เตรียมการต้อนรับกันอย่างยิง่ ใหญ่และเป็นพิเศษ ๒-มีเสียงตะโกน เสียงร้องไห้ ที่สะท้อนมาจาก ความตื้นตันใจและซาบซึ้งใจ ๓-มีคนบางพวกถึงกับเกลือกกลิ้งบนพื้นดิน ๔-มีการจูบสีข้างของฬ่อ พาหนะของท่าน ข. การแสดงออกของบรรดานักปราชญ์ซุนนะฮ์ ที่มีต่อิมามอัรริฎอ(อ) ๑-พวกเขาปรารถนาที่จะได้เห็นตัวของท่านอัน จ�ำเริญ และต้องการจะให้ท่านเล่าฮะดีษแก่พวกเขา ที่ รายงานมาจากบรรพบุรษุ ของท่าน ผูบ้ ริสทุ ธิ์ ทีไ่ ด้รบั มา จากทวดของท่าน คือ ท่านนบี มุฮัมมัด ศ็อลฯ ๒-บรรดานักปราชญ์ได้มกี ารแสวงหาความจ�ำเริญ (ตะบัรรุก)จากอิมามอัรริฎอ(อ) ๓- มีการจัดต้อนรับโดยบรรดาผู้รู้ของอะฮ์ลิซ ซุนนะฮ์ และพวกเขาซึ่งประกอบด้วยเหล่าบรรดานัก รายงานฮะดีษ นักวิเคราะห์ และผู้รู้อื่นๆในหมู่พวกเขา ได้ขอความรู้จากอิมาม(อ) ๔-มีนักรายงานฮะดีษมาร่วมจ�ำนวน หนึ่งหมื่น ถึงสามหมื่นคน เพื่อถ่ายทอดเรื่องราวที่เกิดขึ้นในครั้งนี้ บางทีประเด็นเหล่านีเ้ อง ทีเ่ ป็นเหตุให้เกิดการถก เถียง เพื่อลบล้างเหตุการณ์ครั้งประวัติศาสตร์ในคราว นั้น ทั้งจากต�ำราศอฮีฮ์ และญามิอ์ฮะดีษทั้งหลายขอ งอะฮ์ลิซซุนนะฮ์ สถานะของบรรดานั ก ปราชญ์ แห่ ง เมื อ ง นัยซาบูร เพื่อจะได้ท�ำความรู้จักกับบุคคลต่างๆที่เป็นนัก ปราชญ์ของฝ่ายซุนนะฮ์ ผูม้ ชี อื่ เสียงตามทีถ่ กู น�ำมากล่าว ไว้ในบทรายงานทางประวัติศาสตร์ และเพื่อเป็นการ ศึกษาถึงฐานภาพของพวกเขาในยุคนั้น ซึ่งมีบทบาท อย่างสูงในการอธิบายเหตุการณ์อนั ยิง่ ใหญ่ ซึง่ พวกเขา ได้อยูต่ อ่ หน้าพาหนะของอิมามอัรริฎอ(อ) และพวกเขาได้ ร้องไห้เมือ่ ได้เห็นใบหน้าอันบริสทุ ธิข์ องท่าน หลังจากนัน้ ท่านก็ได้ถา่ ยทอดบทรายงานทีไ่ ด้รบั มาจาก บรรพบุรษุ

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


ของท่านผู้บริสุทธิ์ ให้แก่พวกเขา กลุ่ม บุคคลเหล่านั้นได้แก่ ๑-อาดัม บิน อะบี อียาซ อัลอัส ก็อลลานีย์ (ฮ.ศ ๒๒๐) เขาเป็นหนึ่ง ในหกคน ซึ่งได้ถ่ายทอดเรื่องราวที่ถูก ต้องตรงตามความเป็นจริง อัซซะฮะบีย์ อัชชาฟิอยี ์ ได้กล่าวถึงเขาว่า “เขาเป็น ผูน้ ำ� นักท่องจ�ำฮะดีษ เป็นประมุข และ ผูอ้ าวุโสแห่งชาวซีเรีย คือ อะบุลฮะซัน อัลคุรอซานีย์ อะบูฮาติม อัรรอซีย์ อัชชาฟิอีย์ ได้กล่าวว่า “เขาเป็นบุคคลทีเ่ ชือ่ ถือได้ ไว้วางใจได้ เป็นคนเคร่งครัดในอิบาดัต นับว่า เป็นบ่าวที่ดีเลิศคนหนึ่งของ อัลลอฮ์” อะห์มดั บิน ฮัมบัล กล่าวว่า เขา คือหนึง่ ในหก ของบรรดาคนทีแ่ ม่นย�ำ ในเรื่องฮะดีษ” ๒-อะบูซะกะรียา ยะห์ยา บิน ยะห์ยา อัตตะมีมยี ์ อัลมุนกอรีย์ อันนัย ซาบูรีย์ (ฮ.ศ ๒๒๖) อะบูบกั ร์ บิน อับดุรเราะห์มาน ได้กล่าวว่า เขาคือ ชัยคุลอิสลาม และ นักปราชญ์แห่งเมืองคุรอซาน ผูเ้ ป็นนัก ท่องจ�ำฮะดีษ อะบุลอับบาส อัซซิรอจญ์ ได้กล่าว ว่า “เขาเป็นผู้น�ำของบรรดาชาวโลก” อะบูอะห์มัด อัลฟัรรออ์ กล่าว ว่า “เขาเป็นผู้น�ำ เป็นคนระดับประมุข และเป็นแสงสว่างของอิสลาม” ท่านนะซาอีย์ อัชชาฟิอีย์ ได้ กล่าวว่า “เขาเป็นคนที่เชื่อถือได้ เป็น ที่ไว้วางใจได้อย่างแน่นอน”

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

75


อะห์มัด บิน ซัยยาร อัลมะรูซีย์ อัชชาฟิอีย์ ได้ กล่าวว่า เขาเป็นคนที่เชื่อถือได้ เป็นคนดี คนมีเกียรติ ๓-อะบูอับดุลลอฮ์ อะห์มัด บิน ฮะร็อบ บิน ฟัย รูซ อันนัยซาบูรยี (์ ฮ.ศ ๒๓๔) อัซซะฮะบีย์ อัชชาฟิอยี ์ ได้ กล่าวว่า เป็นอิมามระดับประมุข เป็นผู้อาวุโสของเมือง นัยซาบูร เป็นคนสมถะ เป็นนักฟุกอฮาอ์ชั้นผู้ใหญ่ และ เป็นผู้เคร่งครัดในการเคารพภักดี” ๔-อะบู ยะอ์กูบ อิสฮาก บิน รอฮุวัยยะฮ์ อัลมะรู ซีย์ (ฮ.ศ ๒๓๘) มีฐานะระดับอิมามและเป็นนักปราชญ์ คนหนึ่งของอะฮ์ลิซซุนนะฮ์ แต่มีความสับสนกันในเรื่อ งมัซฮับที่ถือระหว่างชาฟิอีย์ กับฮัมบะลีย์ อัซซะยูฏีย์ อัชชาฟิอีย์ ได้กล่าวไว้ว่า เขาเป็นอิ มามของบรรดามุสลิม เป็นนักปราชญ์ของศาสนา ทั้ง ความรู้ด้านฮะดีษ, ฟิกฮ์,ความจ�ำ ความซื่อสัตย์ ความ เคร่งคัรด และสมถะ มีรวมอยู่ในตัวเขา” ๕-อะบุลฮะซัน มุฮัมมัด บิน อัสลัม อัลกินดีย์ อัฏ ฏูซีย์ (ฮ.ศ ๒๔๒) อัซซะยูฏีย์ อัชชาฟิอีย์ กล่าวว่า เขา เป็นคนที่เชื่อถือได้ มีความจ�ำแม่นย�ำ และเป็นปิยมิตร ของผู้มีคุณธรรม เขากล่าวโดยอ้างค�ำพูดจากอิบนุคซุ ยั มะฮ์ อัชชาฟิ อีย์ ว่า เขาเป็นนักปราชญ์แห่งศาสนาส�ำหรับประชาชาติ นี้ สองตาของฉันไม่เคยเห็นใครเหมือนกับเขา มีกแ็ ต่อะห์ มัด บิน ฮัมบัลที่คล้ายกับเขา ๖- อะบู อับดุลลอฮ์ บิน รอฟิอ์ อัลกุชัยรีย์ อัลฮัม บะลีย์ (ฮ.ศ ๒๔๕) อัลฮากิม อันนัยซาบูรีย์ อัชชาฟิอีย์ ได้กล่าวถึงเขาผู้นี้ว่า เป็นผู้อาวุโสแห่งเมืองคุรอซานใน ยุคสมัยของตน เป็นคนซื่อสัตย์” มุสลิม , อันนะซาอีย์อัชชาฟิอีย์ ได้กล่าวเช่นกัน ว่า “อิบนุรอฟิอ์ เป็นคนที่เชื่อถือได้ ไว้วางใจได้” อัซซะฮะบีย์ อัชชาฟิอีย์ กล่าวว่า “เขาเป็นอิมา มนักท่องจ�ำฮะดีษ เป็นข้อพิสจู น์ชนั้ ประมุข เป็นทายาท ของเหล่าบรรดาผู้รู้” ๗-นัศร์ บิน อะลี อัลญะฮ์ฎอมีย์ หรืออัลญะฮ์นีย์

76

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


(ฮ.ศ ๒๕๐) อิบนุ อะบี ฮาติม อัรรอซีย์ อัชชาฟิอยี ์ ได้กล่าว ถึงเขาว่า “นัศร์ เป็นที่ชื่นชอบของฉัน ที่เขาเป็นคนที่เชื่อ ถือได้ และมีความจ�ำดีเยี่ยม นัศร์ เป็นคนที่เชื่อถือได้” อันนะซาอีย์ อัชชาฟิอีย์ และอิบนุคอรอช กล่าว ว่า “เขาเป็นคนที่เชื่อถือได้” อับดุลลอฮ์ บิน มุฮัมมัด อัลฟุรฮิยานีย์ ได้กล่าว ว่า “นัศร์ ส�ำหรับฉันถือว่า เป็นคนมีเกียรติยศมากทีส่ ดุ ” อัซซะฮะบีย์ อัชชาฟิอยี ์ กล่าวว่า “เขาเป็นนักท่องจ�ำ เป็นนักปราชญ์ เป็นคนทีเ่ ชือ่ ถือได้ ..เขาเป็นนักปราชญ์ อาวุโส นัศร์ อิบนุ อะลี เป็นอิมามคนหนึ่งของฝ่ายซุน นะฮ์อย่างชัดเจน” ๘-อะบู ซุรอะฮ์ อุบัยดิลลาฮ์ บิน อับดุลกะรีม อัร รอซีย์ อัลกุรชีย์ อัลมัคซูมีย์ อัลฮัมบะลีย์(ฮ.ศ ๒๖๑) เขา เป็นอิมามของนักวิชาการฮะดีษ แห่งเมืองคุรอซาน เป็น คนที่เชื่อถือได้ และเป็นผู้อาวุโสของบ้านเมือง และเป็น นักท่องจ�ำคนหนึ่ง อัซซะยูฏีย์ อัชชาฟิอีย์ได้กล่าวถึงเขาว่า เป็นนัก ปราชญ์และเป็นนักท่องจ�ำฮะดีษของอิสลามคนหนึ่ง” อิบนุอะบี ฮาติม อัรรอซีย์ อัชชาฟิอีย์ ได้กล่าวว่า “ฉันไม่เคยเห็นว่าจะมีใครที่นอบน้อมถ่อมตนมากกว่า อะบูซุรอะฮ์ ทั้งเขาและอะบูฮาติม ต่างก็เป็นอิมามแห่ง เมืองคุรอซาน” อัซซะฮะบีย์ อัชชาฟิอยี ์ ได้เอ่ยถึงเชือ่ ของเขาด้วย ค�ำว่า “อิมาม ผู้เป็นซัยยิดของบรรดานักท่องจ�ำฮะดีษ” ๙-มุฮัมมัด บิน อิสฮาก บิน คุซัยมะฮ์ อัชชาฟิ อีย์ (ฮ.ศ ๓๑๑) จะขอสรุปคุณสมบัติของท่านผู้นี้ตรง ข้อความว่า มีต�ำแหน่งเป็นอิมาม เป็นนักท่องจ�ำฮะดีษ ในยุคสมัยของตน แห่งเมืองคุรอซาน มีบคุ ลิกภาพดีเด่น และเป็นนักท่องจ�ำ อัซซะฮะบีย์ อัชชาฟิอีย์ ได้กล่าวถึงเขาว่า จะขอ สรุปคุณสมบัตขิ องท่านผูน้ ี้ ตรงข้อความต่อไปนีว้ า่ มีตำ� แหน่งเป็นอิมาม เป็นนักท่องจ�ำในยุคสมัยของตน แห่ง เมืองคุรอซาน”

อิบนุฮบิ บาน อัชชาฟิอยี ์ ได้กล่าวว่า “ในหน้าแผ่น ดินนี้ ฉันไม่เคยเห็นใครมีคุณสมบัติในตัวตามซุนนะฮ์ ด้านต่างๆอย่างดีเลิศและมีความจ�ำถ้อยค�ำต่างๆในฮะ ดีษและถ้อยค�ำที่เป็นส่วนเกินเหมือนกับเขา จนกระทั่ง เสมือนว่า ซุนนะฮ์ด้านต่างๆ ทั้งหมดวางอยู่ในสายตา ของเขา จะมีอีกคนก็เพียงท่านอิบนุคุซัยมะฮ์เท่านั้น” อัดดารุกุฏนีย์ อัชชาฟิอีย์ ได้กล่าวว่า เขาคือ อิ มามที่ชัดเจน ไม่มีใครเสมอเหมือน” ๑๐-มุฮัมมัด บินอับดุลวะฮาบ อะบู อะลี อัซซะ กอฟีย์ อัชชาฟิอยี (์ ฮ.ศ ๓๒๘) อัซซะฮะบีย์ อัชชาฟิอยี ไ์ ด้ กล่าวถึงเขาว่า เป็นอิมามของนักฮะดีษ เป็นอัลฟะกีฮ์ ขั้นนักปราชญ์ เป็นคนสมถะ ที่เคร่งครัดในการเคารพ ภักดี เป็นผู้อาวุโสแห่งเมืองคุรอซาน อะบูอะลี เป็นข้อ พิสจู น์ของอัลลอฮ์สำ� หรับมวลมนุษย์ในยุคสมัยของตน .. เขาเป็นอิมามทีม่ ากไปด้วยความรูด้ า้ นศาสนบัญญัติ แน่นอนที่สุด บรรดานักปราชญ์ของอะฮ์ลิซซุน นะฮ์ เหล่านี้ต่างให้ความเคารพนบนอบ และอ่อนน้อม ถ่อมตนต่ออิมามอัรริฏอ(อ) ถึงแม้ว่า พวกเขาจะมีฐาน ภาพทางวิชาการอันสูงส่ง จึงเป็นการอธิบายให้แก่เรา อย่างชัดเจนในเรือ่ งเกียรติยศอันยิง่ ใหญ่ และฐานะของ ผู้เป็นศูนย์รวมทางวิชาการและจิตวิญญาณ ค�ำถามที่ไม่ มีคำ� ตอบ เราได้นำ� เสนอเรือ่ งราวในเหตุการณ์เมือ่ ครัง้ อิมา มอัรริฎอ(อ) เดินทางไปยังเมืองนัยซาบูร และได้เสนอ บทรายงานฮะดีษของท่านที่เรียกว่า สายโซ่ทองค�ำ ซึ่ง ได้ผู้บันทึกไว้ตั้งแต่หนึ่งหมื่นถึงสามหมื่นคน และฮะ ดีษว่าด้วยเกราะป้องกันและว่าด้วยความศรัทธาได้มี การถ่ายทอดจากนักรายงานชาวซุนนี เก้าสิบคน และ ได้ฝากไว้ในต�ำราต่างๆที่ถูกยอมรับหลายสิบเล่ม และ ถ้อยค�ำของบรรดานักปราชญ์ซุนนะฮ์ อีกทั้งการแสดง ท่าทีของพวกเขาที่ให้การสนับสนุนสายรายงานและ เนือ้ หาของสองฮะดีษอันทรงเกียรตินี้ ทัง้ นีห้ นังสือศอฮีฮ์ หลายเล่มก็มิได้บันทึก นี่คือ ค�ำถาม : ท�ำไมพวกเขาจึง

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

77


ลบเลือนทุกเรื่องราวของฮะดีษศอฮีฮ์เหล่านี้ออกจาก ต�ำรารวบรวมฮะดีษของพวกเขา อีกทั้งยังมิได้ให้ค�ำอธิ บายใดๆอีกด้วย อะไรคือแรงจูงใจให้กระท�ำเช่นนี้ ต่อท่าทีการแสดง ออกต่ออิมามอัรริฎอ(อ) และบรรดาฮะดีษระหว่างบรรดา นักปราชญ์แห่งเมืองนัยซาบูรและอืน่ ๆทีเ่ ป็นนักปราชญ์ ของฝ่ายซุนนะฮ์ ? ประการที่สาม บทรายงานอื่นๆ ข้าพเจ้าได้กล่าวมาจนกระทั่งถึงตรงนี้ว่า ทั้งฮะ ดีษว่าด้วยเกราะป้องกันและว่าด้วยความศรัทธา เป็นที่ รูจ้ กั ในชือ่ เรียกว่า สายโซ่ทองค�ำ และได้ทำ� การวิเคราะห์ ครบถ้วนกระบวนความแล้ว ต่อไปนี้ เราจะน�ำเสนอฮะดีษทีแ่ สดงความหมาย อย่างอืน่ นอกเหนือไปจาก ฮะดีษว่าด้วยเกราะป้องกันและ ว่าด้วยความศรัทธา ซึ่งอิมามอัรริฎอ(อ) ได้รายงานไว้ ด้วยสายรายงาน สายโซ่ทองค�ำ ทีไ่ ด้รบั มาจากบรรพบุรษุ ของท่าน ซึง่ ได้ถกู น�ำไปอ้างอิงในต�ำราต่างๆของซุนนะฮ์ ในภาคของฮะดีษ ดังต่อไปนี้ ๑-อิบนุนนัจญาร อัชชาฟิอยี ์ (ฮ.ศ ๖๔๓) ได้รายงาน โดยสารบบการรายงานของเขา ที่ได้มาจากอับดุลลอฮ์ บิน อะห์มัด บิน มุฮัมมัด บิน ฮัมบัล ซึ่งได้รับจากอะลี บิน มูซา อัรริฎอ,ซึ่งได้รับมาจากบรรพบุรุษของท่าน ที่ ได้รบั มาจากท่านอะมีรลุ มุมนิ นี (อ) ซึง่ ได้รบั มาจากท่าน นบี ผูท้ รงเกียรติ ศ็อลฯ แท้จริง ท่านได้กล่าวว่า “ถ้าหาก ชนกลุม่ ใดท�ำการประชุมปรึกษาหารือ แล้วมีคนชือ่ อะห์ มัด หรือมุฮมั มัด เข้ามาร่วมประชุมกับพวกเขา แล้วพวก เขาก็ได้ปรึกษาหารือกับเขา ส�ำหรับพวกเขาจะไม่ได้รบั อย่างอื่น นอกจากความดี อีกประการหนึ่งด้วย” อิบนุนจั ญาร อัชชาฟิอยี ์ ได้รายงานโดยสายรายงาน ของเขา ซึ่งได้รับมาจากยูซุฟ บิน อับดุลลอฮ์ อัลฆอซีย์ ซึ่งได้รับมาจากอะลี บิน มูซา อัรริฎอ ซึ่งได้รับมาจาก บรรพบุรษุ ของท่าน ซึง่ ได้รบั มาจากท่านอะมีรลุ มุมนิ นี (อ) ซึง่ ได้รบั มาจากท่านนบี ผูท้ รงเกียรติ ศ็อลฯ ว่า “อัลลอฮ์

78

ผู้ทรงจ�ำเริญ และสูงสุดยิ่ง ทรงตรัสว่า โอ้ ลูกหลานขอ งอาดัม เจ้ามีความเป็นกลางต่อฉันอย่างไร เจ้าชอบที่ จะให้สิ่งโปรดปรานทั้งหลายเป็นของเจ้าและเกลียดชัง ที่จะท�ำการละเมิดต่อฉัน กระนั้นหรือ ความดีงามของ ฉันทีจ่ ะให้แก่เจ้านัน้ มันจะถูกส่งลงไป ส่วนความชัว่ ของ เจ้าทีม่ ตี อ่ ฉันนัน้ มันจะถูนำ� ขึน้ ข้างบน จะมีมะลาอิกะฮ์ ผูท้ รงเกียรติองค์หนึง่ จะน�ำผลงานอันน่าเกลียดจากเจ้า มาทูลต่อฉันทุกวันทุกคืน โอ้บตุ รของอาดัมเอ๋ย มาดแม้น ว่า เจ้าได้ยนิ เขาบอกเล่าเรือ่ งราวของคนอืน่ โดยเจ้าไม่รู้ ว่าผู้ที่ถูกกล่าวถึงเป็นใคร แน่นอน เจ้าจะเกลียดชังเขา อย่างรวดเร็วที่สุด” ๓-มุฮัมมัด บิน สะลามะฮ์ อัลกุฎออีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๔๕๔)ได้อ้างโดยสายรายงานของเขา ซึ่งได้รับมา จากอิมามอะลี บิน มูซา อัรริฎอ ซึ่งได้รับมาจากบรรพ ชนของเขา ซึง่ ได้รบั มาจากท่านอะมีรลุ มุมนิ นี (อ)ว่า ท่าน นบีผทู้ รงเกียรติ(ศ็อลฯ)ได้กล่าวว่า “ผูใ้ ดได้ปฏิบตั ติ อ่ คน ทัง้ หลาย โดยมิได้อธรรมต่อพวกเขา และพูดกับพวกเขา โดยมิได้โกหกกับพวกเขา และสัญญาต่อพวกเขาโดยมิได้ ผิดสัญญาต่อพวกเขา เขาจะเป็นคนหนึ่งในบรรดาผู้มี บุคลิกภาพที่สมบูรณ์ ความเที่ยงธรรมของเขาจะเป็นที่ ปรากฏ ความเป็นพีน่ อ้ งกับเขา คือสิง่ จ�ำเป็น การนินทา เขา เป็นสิ่งต้องห้าม” ๔-อัลบัยฮะกีย์ อัชชาฟิอยี (์ ฮ.ศ ๔๕๘) ได้รายงาน โดยสายรายงานของเขา จากอิมามอะลี บิน มูซา ซึง่ มา จากบรรพบุรษุ ของท่าน ซึง่ มาจากท่านอะมีรลุ มุมนิ นี (อ) ว่าแท้จริงท่านนบี ศ็อลฯ ได้กล่าวว่า “ผูน้ ำ� ของสติปญ ั ญา นั้น นอกเหนือจากศาสนาแล้วยังมี ความรักใคร่ต่อคน ทัง้ หลาย และการปฏิบตั ดิ ี ต่อทุกคนทัง้ คนดีและคนชัว่ ” ๕-อะบูนะอีม อัลอัศฟะฮานีย์ อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ ๔๓๐) ได้รายงานโดยสายรายงานของเขา จากอิมามอะ ลี บิน มูซา อัรริฎอ ซึ่งมาจากบรรพบุรุษของท่าน ซึ่งมา จากท่านอะมีรุลมุมินีน(อ) แท้จริงท่านได้กล่าวว่า “การ งานทีย่ งิ่ ใหญ่ทสี่ ดุ มีสามประการ คือ การมอบสิทธิจาก

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


ตัวของท่านเองให้ผู้อื่น,การร�ำลึกถึงอัลลอฮ์ทุกสภาพ การณ์,การให้ความเสมอภาคกับพีน่ อ้ งในเรือ่ งทรัพย์สนิ ” ๖-อะบูนอุ มี อัชชาฟิอยี ์ อีกเช่นกัน ได้อา้ งอิงสาย รายงานของตน มาจากท่านอิมามอะลี บิน มูซา อัรริฎอ ซึง่ มาจากบรรพบุรษุ ของท่าน ซึง่ มาจากท่านอะมีรลุ มุมิ นีน ซึง่ มาจากท่านนบี ศ็อลฯ ได้กล่าวว่า “วิชาความรูน้ นั้ คือคลังสมบัติทั้งหลาย และกุญแจของมัน คือ ค�ำถาม ดังนัน้ จงถามเถิด เพือ่ ให้อลั ลอฮ์รงเมตตาต่อท่าน เพราะ ว่า ในเรื่องนี้ มีผู้ได้รับรางวัลสี่คน คือ คนที่ถาม คนที่ สอน คนที่ได้รับฟัง และคนที่ตอบ ให้แก่เขา และความ เป็นที่รัก จะได้แก่เขา” ๗- ดาวูด บิน สุลยั มาน ได้รบั รายงานมาจากอิมา มอัรริฎอ ซึง่ ได้รบั มาจากบรรพบุรษุ ของท่าน ซึง่ ได้รบั มา จากท่านอะมีรุลมุมินีน อะลี(อ) ซึ่งได้รับมาจากท่านรอ ซูล ศ็อลฯ แท้จริง ท่านได้กล่าวว่า “ชัยตอนยังคงหลอก

ลวงคนทัง้ หลายไม่เว้นวาย ตราบเท่าทีเ่ ขายังเป็นผูด้ ำ� รง รักษาการนมาซทัง้ ห้า ครัน้ เมือ่ เขาได้ขาดการนมาซเสีย แล้ว มันจะท�ำให้เขาแข็งกร้าว และจัดวางเขาให้อยู่ใน ความบาปอันยิ่งใหญ่” ๘-ดาวูด บิน สุลยั มาน ได้อา้ งอิงมาจากอิมามอัร ริฎอ ซึง่ ได้รบั มาจากบรรพบุรษุ ของท่าน ซึง่ ได้รบั มาจาก ท่านอะมีรุลมุมินีน (อ) ซึ่งได้รับมาจากท่านรอซูล ผู้ทรง เกียรติ (ศ็อลฯ) แท้จริงท่านได้กล่าวว่า “การงานที่ดีเลิศ ในทัศนะของอัลลอฮ์ ผู้ทรงสูงสุดอีกประการหนึ่ง คือ “ความศรัทธาโดยไม่มีข้อสงสัย และการท�ำสงคราม ที่ ไม่มีการละเมิด” ๙-ดาวูด บิน สุลัยมาน อีกเช่นกัน ได้รับรายงาน มาจากอิมามอะลี บิน มูซา อัรริฎอ ซึ่งได้รับมาจาก บรรพบุรุษของท่าน ซึ่งได้รับมาจากท่านอะมีรุลมุมินีน (อ) ว่า ท่านรอซูล ผู้ทรงเกียรติ ศ็อลฯ ได้กล่าวว่า “ผู้ใด

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

79


เดินผ่านสุสาน แล้วอ่าน กุล ฮุวลั ลอฮุ อะหัด สิบเอ็ดครัง้ หลังจากนัน้ เขาได้มอบผลผลรางวัลอันนัน้ ให้แก่ผตู้ าย เขาจะได้รับผลรางวัลตอบแทนเท่ากับจ�ำนวนผู้ตาย” ๑๐-อะลี บิน ฮัมซะฮ์ อัลอะละวีย์ ได้รับรายงาน มาจากอิมามอะลี บิน มูซา อัรริฎอ(อ) ซึ่งได้รับมาจาก บรรพบุรษุ ของท่าน ซึง่ ได้มาจากท่านอะมีรลุ มินนี (อ)ซึง่ ได้รับมาจากท่านรอซูลุลลอฮ์ ศ็อลฯ แท้จริง ท่านกล่าว ว่า จงสัง่ สอนลูกหลานของพวกท่าน ให้ตดิ ต่อสัมพันธ์กบั บรรดาเครือญาติของพวกท่าน เพราะแท้จริง การติดต่อ สัมพันธ์ทางเครือญาติ จะท�ำให้อายุขยั ยัง่ ยืน จะเป็นบ่อ เกิดทรัพย์สนิ จะเป็นทีพ่ งึ พอพระทัยของพระผูเ้ ป็นเจ้า” ๑๑-อะห์มดั บิน อามิร อัฏฏออีย์ ได้อา้ งอิงมาจาก อิมามอะลี บิน มูซา อัรริฎอ(อ)ซึง่ ได้รบั มาจากบรรพบุรษุ ของท่าน ซึง่ ได้รบั มาจาก ท่านอะมีรลุ มุมนิ นี (อ) ซึง่ ได้รบั มาจากท่านรอซูลุลลอฮ์ ศ็อลฯ แท้จริง ท่านได้กล่าวว่า “ผู้ใดที่ท่องจ�ำสี่สิบฮะดีษเพื่อประชาชาติของฉัน แล้ว พวกเขาได้รับประโยชน์ ในวันกิยามัต อัลลอฮ์จะทรง แต่งตั้งเขาให้เป็นผู้รู้ทางศาสนา” ๑๒-อัชชิบลันญีย์ อัชชาฟิอีย์ ได้อ้างบทรายงาน

80

มาจากอิมามริฎอ(อ) ซึง่ ได้รบั มาจากบรรพบุรษุ ของท่าน ซึ่งได้รับมาจากท่านอะมีรุลมุมินีน(อ) ซึ่งได้รับมาจาก ท่านนบี ผู้ทรงเกียรติ (ศ็อลฯ) แท้จริงท่านได้กล่าวว่า “ผู้ใดไม่ศรัทธาในบ่อน�้ำของฉัน(เฮาฎ์)ของฉัน อัลลอฮ์ ผู้ทรงสูงสุด จะไม่ให้เขาได้ดื่มน�้ำจากบ่อของฉัน และผู้ ใดไม่ศรัทธาต่อการช่วยเหลือ(ชะฟาอัต)ของฉัน อัลลอฮ์ ก็จะไม่ให้เขาได้รบั การช่วยเหลือ(ชะฟาอัต)ของฉัน หลัง จากนั้น ท่านได้กล่าวว่า “อันที่จริงแล้ว การช่วยเหลือ ของฉัน(ชะฟาอัต)นั้น มีส�ำหรับคนในประชาชาติของ ฉันที่ท�ำบาปใหญ่ ส่วนบรรดาคนดีมีคุณธรรม จะไม่มี หนทางหลงผิดใดๆส�ำหรับพวกเขา” ๑๓-อัชชิบลันญีย์ อัชชาฟิอยี ์ ได้รบั รายงานมาจา กอิมามอัรริฎอ(อ) ซึง่ ได้รบั มาจากบรรพบุรษุ ของท่าน ซึง่ ได้รบั มาจากท่านอะมีรลุ มุมนิ นี (อ) ซึง่ ได้รบั มาจากท่าน นบี ผู้ทรงเกียรติ ศ็อลฯ แท้จริง ท่านได้กล่าวว่า “ที่เขา มิได้เป็นผู้ศรัทธาจนถึงวันกิยามัตก็เพราะว่า ยังมีญาติ ของเขาคนหนึ่ง ที่เขาท�ำให้เจ็บปวด” ๑๔-อัชชิบลันญีย์ อัชชาฟิอยี ์ ได้รบั รายงานมาจา กอิมามอัรริฎอ ซึง่ ได้รบั มาจากบรรพบุรษุ ของท่าน ซึง่ ได้

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


รับมาจากท่านอะมีรลุ มุมนิ นี (อ) ซึง่ ได้รบั มาจากท่านนบี ผูท้ รงเกียรติ ศ็อลฯ แท้จริง ท่านได้กล่าวว่า “เมือ่ ครัง้ ฉัน ถูกน�ำขึน้ สูฟ่ ากฟ้า(อิสรออ์) ฉันได้เห็นญาติของคนผูห้ นึง่ แขวนติดอยูท่ อี่ ะรัชของอัลลอฮ์ นางได้ฟอ้ งญาติของนาง ต่อพระผูอ้ ภิบาลของนาง ว่าได้ตดั ญาติขาดมิตรต่อนาง ฉันได้ถามว่า “ระหว่างนางกับญาติของนางนัน้ มีความ เป็นญาติหา่ งกันกีช่ ว่ งบิดา ?” นางตอบว่า (ความเป็นพี่ เป็นน้อง)ของเราจะบรรจบกันในสี่สิบช่วงบิดา” ค�ำถามที่ไม่ มีคำ� ตอบ ในบททีผ่ า่ นมาเราได้กล่าวถึงบุคลิกภาพของท่า นอิมามอัรริฎอ(อ)ไปแล้วอย่างละเอียดว่า บรรดานัก ปราชญ์ฝ่ายซุนนะฮ์ ได้กล่าวถึงโดยให้การยอมรับต่อ บุคลิกภาพทางวิชาการของท่านอย่างน่าอัศจรรย์ใจ และ พวกเขายังได้อธิบายถึงฐานภาพอันสูงส่งของท่านอีก ด้วย แต่มีประเด็นค�ำถามที่จ�ำเป็นต้องตอบก็คือ เราจะ ท�ำอย่างไร จึงจะสามารถเข้าถึงขุมคลังแห่งความรูน้ นั้ ๆ ของอิมามอัรริฎอ(อ) ? หนทางเดียวที่มีอยู่ส�ำหรับการเข้าถึงวิชาการ เหล่านี้ ก็คือ บรรดาบทรายงานที่ได้รับการถ่ายทอดมา จากอิมาม(อ)ซึ่งพวกเขาได้สืบทอดไว้เพื่ออนุชนรุ่นต่อ ไป แน่นอนบทรายงานทัง้ หมดนี้ ตลอดถึงถ้อยค�ำต่าง ๆ และวิชาความรู้ต่างๆ บรรดามิตรสหายของอิมาม และ บรรดานักรายงานร่วมสมัยของท่านได้น�ำมารวบรวม ไว้ในหนังสือเล่มหนึ่งชื่อว่า “ศอฮีฟะฮ์อัรริฎอ” หรือ “มุ สนัด อัรริฎอ” เพือ่ ทีว่ า่ คนรุน่ ต่อไปจะได้ดบั ความเร่าร้อน ในหัวใจที่ปรารถนาจะได้รับวิชาการจากห้วงแห่งวิชา ความรู้ของท่านนั่นเอง แน่นอน หนังสือ อัศศอฮีฟะฮ์ หรือมุสนัด หรือบาง บทรายงานเหล่านี้ ทีม่ าจากอิมามอัรริฎอ(อ) มีลกั ษณะ เป็นบทรายงาน ของนักรายงานอิสระ เช่น อะบีศ็อลต์ อัลฮัรวีย์ , อะลี บิน ศอดะเกาะฮ์ อัรร็อกกีย์,ดาวูด บิน สุลัยมาน อัลญุรญานีย์, อะห์มัด บิน อามิร อัฏฏออิรีย์, อัลฮะซัน บิน ฟัฎล์ บิน อับบาส,และบุคคลอื่นอีกหลาย

สิบคนซึง่ บางส่วนก็ถกู ระบุชอื่ ไว้ในต�ำราฝ่ายซุนนะฮ์อย่าง ดูถกู เหยียดหยาม โดยเหตุทบี่ รรดาผูร้ ปู้ ระวัตบิ คุ คล(อัร ริญาลีน) บรรดาผู้ก�ำหนดข้อต�ำหนิ (อะฮ์ลุลญะเราะฮ์) และเปรียบเทียบน�ำ้ หนักความน่าเชือ่ ถือ(อัตตะอ์ดลี ) ได้ ก�ำหนดให้คนเหล่านัน้ เป็นคนไม่นา่ เชือ่ ถือ(ฎออีฟ) โดย ปราศจากหลักฐานใดๆ ค�ำถามขั้นพื้นฐาน มีอยู่ว่า อะไรคือความหมาย ของค�ำว่า การให้เกียรติทชี่ าวซุนนะฮ์มตี อ่ บุคลิกภาพอัน สูงส่งของอิมามอัรริฎอ(อ) ในด้านนี้ เมือ่ มีการปิดประตู ทางเดินเดียว จนมิได้เข้าถึงขุมวิชาการและความรู้ของ ท่าน โดยระบุคำ� ว่า ฎออีฟ อย่างปราศจากหลักฐานใดๆ โดยความคลั่งไคล้(ตะอัศศุบ)ต่อพรรคพวก ? (อ่านต่อฉบับหน้า)

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

81


กุรอานปริทัศน์

ศาสนากับการเมือง ในมุมมองอัลกุรอาน บทความโดย เชคอิมรอน พิชัยรัตน์

การเมืองหมายถึงการวางกฎระเบียบเพื่อบริ หารจัดการสังคม การปกครองที่มีเป้าหมายเพื่อ บริหารสังคมจ�ำเป็ นต้ องมีกฎระเบียบที่ถูกต้ อง และเป็ นกฎระเบียบที่มีประโยชน์ ครอบคลุมทุกคนใน สังคม อีกทัง้ รั บประกันถึงความยุตธิ รรมในสังคม มนุษย์ ถกู สร้ างมาให้ มีเสรี ภาพ ดังนัน้ จึงมีสทิ ธิในการเลือก ทว่ าบ้ างครั ง้ สิทธิในการเลือกนีอ้ าจ ท�ำให้ เกิดการปะทะและขัดแย้ งกัน ตรงนีน้ ่ ันเองที่กฎหมายเข้ ามาก�ำหนดขอบเขตของสิทธิแต่ ละบุคคล ในสังคม และบรรดานักการเมืองมีหน้ าที่รับผิดชอบในการน�ำกฎหมายมาใช้ อย่ างถูกต้ อง ทว่ าการที่จะ น�ำกฎหมายมาใช้ อย่ างถูกต้ องได้ นัน้ ต้ องมีเงื่อนไขหลักที่สำ� คัญ 3 ประการคือ 1. ความสามารถ 2.ความยุตธิ รรม 3. ความรู้ ต้ องยอมรั บว่ าทุกสังคมไม่ ว่าเป็ นสังคมเล็ก ๆ หรื อสังคมใหญ่ ย่ อมต้ องประสบกับปั ญหาส่ วน

82

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


รวมซึ่งจ�ำเป็ นต้ องมีการตัดสินใจที่ครอบคลุมอัน เป็ นตัวกระตุ้นให้ คนในสังคมยอมรั บในต�ำแหน่ ง หน้ าที่นี ้ ประเด็นที่น่าสนใจก็คือว่ า นับตัง้ แต่ อดีต จนถึงปั จจุบันเรื่ องการเมืองและอ�ำนาจทางการ เมืองเป็ นที่สนใจของบรรดานักคิดและนักวิชาการ ตลอดมา หลักฐานยืนยันค�ำพูดนีเ้ ห็นได้จากหนังสือ ต่างๆ เช่ น หนังสือคลาสสิคของเพลโตที่ช่อื replublic (สาธารณรัฐ)ซึ่งเป็ นต�ำราสอนรัฐศาสตร์ ท่ตี กทอดมา ถึงปั จจุบนั และหนังสือ “รั ฐศาสตร์ ”ของโสกราติส

สถานภาพการเมืองในศาสนา ศาสนาก็คอื การเมืองทีข่ บั เคลือ่ นประชาชน คือ ทุกสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ประเทศชาติและประชาชน และนัน่ ก็คอื หนทางอันเทีย่ งตรง เรามีความเชือ่ ว่าการ เมืองก็คอื ศาสนา เพราะทุกสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ในโลกใบนี้ ย่อม มีรอ่ งรอยปรากฏให้เห็นอันเป็นหลักฐานยืนยันถึงการ เกิดขึ้นของสิ่งนั้นๆได้เป็นอย่างดี บนพืน้ ฐานอันนีจ้ ึง ถือได้วา่ การคงอยูข่ องอิสลามจากหน้าประวัตศิ าสตร์ ชี้ให้เห็นความจริงอันนี้ว่าการเมืองนั้นคืออิสลาม ส�ำหรับหนทางในการพิสจู น์วา่ อิสลามคือศาสนาแห่ง สังคม และมีขอบข่ายทีก่ ว้างกว่าชีวติ ส่วนบุคคลของ ปัจเฉกชน ทว่าเป็นศาสนาที่ครอบคลุมระบบสังคม และการเมืองนั้นมีอยู่สองหนทาง คือ 1. วิธกี ารอุปนัย กล่าวคือ เข้าหาคัมภีรแ์ ละซุน นัต และน�ำหลักธรรมค�ำสอนต่างๆของอิสลาม ในบท ต่างๆของนิติศาสตร์อิสลามมาวิเคราะห์ 2. ด้วยวิธกี ารยึดมัน่ ในคุณสมบัตบิ างประการ ของอิสลาม เช่น “ศาสนาทีส่ มบูรณ์” “ศาสนาสุดท้าย” และคัมภีร์อัลกุรอานเป็นคัมภีร์ที่อธิบายไว้ส�ำหรับ ทุกอย่าง ซึ่งโดยหลักของสติปัญญาและตรรกะแล้ว ผลที่ได้รับก็คือ ศาสนาย่อมเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้อง ในขอบข่ายของสังคมและการเมือง เป็นวิธีการที่ หาความสัมพันธ์ระหว่างความสมบูรณ์ของศาสนา กับบทบัญญัติที่ครอบคลุมเรื่องสังคมและการเมือง การไม่มีเรื่องสังคมและการเมืองเข้ามาในศาสนาก็ เท่ากับศาสนาขาดตกบกพร่องและไม่สมบูรณ์ ความสัมพันธ์ ระหว่ างศาสนากับการเมือง ในอัลกุรอาน ความครอบคลุมของอัลกุรอานคือคุณสมบัติ อันโดดเด่นของคัมภีร์ ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันทั้งหมด หากเราอ่านคัมภีร์อัลกุรอานจะเห็นได้ว่าอัลกุรอา นกล่าวถึงเรือ่ งต่างๆไว้มากมาย นัน่ เป็นการชีใ้ ห้เห็น ถึงความหลากหลายในวิทยาการ ความลุ่มลึกและ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

83


ความสูงส่งของคัมภีร์ เนื้อหาหนึ่งที่อัลกุรอานให้ความ ส�ำคัญนั้นก็คือเรื่อง “การเมือง” เราสามารถที่จะค้นหา เรื่องที่ส�ำคัญเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างศาสนากับ การเมืองได้ในอัลกุรอาน และเมื่อเราค้นหาแล้วก็จะยิ่ง ท�ำให้เราได้ค้นพบกับเรื่องต่างๆอีกมากมายเกี่ยวกับ ประเด็นนี้ เช่น ความจ�ำเป็นในการจัดตั้งรัฐบาลและ การปกครอง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ สภาและ การปรึกษาหารือทางการเมือง เป็นต้น ความจ� ำ เป็ นในการจั ด ตั ้ง รั ฐบาลและ การปกครอง ในมุมมองของอัลกุรอานถือว่ารัฐเป็นเรื่องหนึ่ง ที่ฝังตัวอยู่ในศาสนา อัลกุรอานได้กล่าวถึงเหตุผลสาม ประการที่บ่งชี้ถึงความจ�ำเป็นในการจัดตั้งรัฐบาลและ การปกครองไว้ ได้แก่ 1. เรื่องราวของบนีอิสรออีล เมื่อครั้งที่เกิดความ โกลาหลขึ้นภายใน และไม่มีรัฐปกครองที่เข้มแข็ง จึง ต้องพบกับความอ่อนและพ่ายแพ้ในที่สุด 2. กองทัพญาลูตพ่ายแพ้ตอ่ บนีอสิ รออีล หากไม่มี อ�ำนาจการปกครองทีเ่ ข้มแข็งและสกัดพวกกบฏแล้วไซร้ ความเสียหายย่อมเกิดขึ้นอย่างแน่นอน

84

3.การต่อสู้ในหนทางของพระผู้เป็นเจ้า (ญิฮาด) คือโครงสร้างที่เป็นระบบทั้งในเรื่องการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และอื่นๆ ทั้งหมดนี้เป็นเพียงส่วนหนึ่งในเหตุผลที่ชี้ให้เห็น ถึงความจ�ำเป็นในการจัดตั้งรัฐบาลและการปกครอง ส่วนเรื่องเป้าหมายการปกครองในอิสลามนั้นมีโองกา รอัลกุรอานและฮะดีษต่างๆมากมาย เช่น ِ ِ َ ‫و َق َال ا َّل ِذي ْاش‬ ‫ص ال ْم َر َأتِ ِه َأك ِْر ِمي َم ْث َوا ُه‬ َ َ َ ْ ‫تا ُه م ْن م‬ ِ ِ ِ ‫ف‬ َ ‫وس‬ ُ ‫َع َسى َأ ْن َينْ َف َعنَا َأ ْو َنتَّخ َذ ُه َو َلدً ا َوك َ​َذل َك َم َّكنَّا ل ُي‬ ِ ِ ِ ِ ‫األر‬ ِ ‫ض َولِنُ َع ِّل َم ُه ِم ْن ت َْأ ِو‬ ‫ب‬ ٌ ‫األحاديث َواللَُّ َغال‬ َ ‫يل‬ ْ ‫ِف‬ ِ ‫َع َل َأ ْم ِر ِه َو َل ِك َّن َأ ْك َث َر الن‬ َ ‫َّاس ال َي ْع َل ُم‬ ‫ون‬ “และผู้ที่ซื้อเขามาจากอียิปต์กล่าวกับภริยาของ เขาว่า “จงให้ที่พักแก่เขาอย่างมีเกียรติ บางทีเขาจะท�ำ ประโยชน์ให้เราได้บา้ งหรือรับเขาเป็นบุตร” และเช่นนัน้ แหละเราได้ท�ำให้ยูซุฟมีอ�ำนาจในแผ่นดินและเพื่อเรา จะได้สอนให้เขารู้วิชาท�ำนายฝัน และอัลลอฮ์ทรงเป็น ผู้พิจิตในกิจการของพระองค์ และแต่ว่าส่วนใหญ่ของ มนุษย์ไม่รู้”

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


ِ ِ ِ ‫األر‬ ‫ض َي َت َب َّو ُأ ِمن َْها َح ْي ُث‬ َ ‫وس‬ ْ ‫ف ِف‬ ُ ‫َوك َ​َذل َك َم َّكنَّا ل ُي‬ ِ َ ْ ‫ي َشاء ن ُِصيب بِر‬ ِ ‫ني‬ َ ِ‫يع َأ ْج َر ا ُْل ْح ِسن‬ ُ ‫حتنَا َم ْن ن َ​َشا ُء َوال نُض‬ َ ُ ُ َ “และเช่นนัน้ แหละ เราได้ให้ยซู ฟุ มีอำ� นาจในแผ่น ดินเขาจะพ�ำนักอยู่ที่ใดได้ตามต้องการ เราให้ความ เมตตาของเราแก่ผู้ที่เราประสงค์ และเราจะมิให้รางวัล ของบรรดาผู้ท�ำความดีสูญหาย” (ซูเราะฮ์ยูซุฟ โองการที่ 21 และ 54) ِ ِ ‫األر‬ ‫ش ٍء َس َب ًبا‬ ْ ‫إِنَّا َم َّكنَّا َل ُه ِف‬ ْ َ ‫ض َوآ َت ْينَا ُه م ْن ك ُِّل‬

“แท้จริงเราได้ให้อำ� นาจแก่เขาในแผ่นดิน และเรา ให้เขาทุกสิ่งที่เขาต้องการ” (ซูเราะฮ์อัลกะฮ์ฟ โองการที่ 84) ِ ‫ال‬ ِ ِ ِ ِ ‫ات‬ َّ ‫َو عَدَ ا للَُّ ا َّلذ ي َن آ َمنُوا منْك ُْم َو َعم ُلوا‬ َ ‫الص‬ ِ ْ ‫َليست‬ ِ ‫األر‬ ْ ‫ض ك َ​َم ْاست‬ ‫ف ا َّل ِذي َن ِم ْن َق ْب ِل ِه ْم‬ َ ‫َخ َل‬ ْ ‫َخل َفن َُّه ْم ِف‬ َْ ‫َو َل ُي َم ِّكنَ َّن َل ُ ْم ِدين َُه ُم ا َّل ِذي ْارت َ​َض َل ُ ْم َو َل ُي َبدِّ َلن َُّه ْم ِم ْن‬ ِ ْ ‫َب ْع ِد َخ ْوفِ ِه ْم َأ ْمنًا َي ْع ُبدُ ونَنِي ال ُي‬ َ ‫شك‬ ‫ُون ِب َش ْي ًئا َو َم ْن‬ ِ ‫َك َفر بعدَ َذلِ َك َف ُأو َل ِئ َك هم ا ْل َف‬ َ ‫اس ُق‬ ‫ون‬ َْ َ ُ ُ อั ล ลอฮ์ ท รงสั ญ ญากั บ บรรดาผู ้ ศ รั ท ธาในหมู ่

พวกเจ้า และบรรดาผู้กระท�ำความดีทั้งหลายว่า(*1*) แน่นอนพระองค์จะทรงให้พวกเขาเป็นตัวแทนสืบช่วงใน แผ่นดิน เสมือนดังทีพ่ ระองค์ทรงให้บรรดาชนก่อนพวก เขา เป็นตัวแทนสืบช่วงมาก่อนแล้ว(*2*) และพระองค์จะ ทรงท�ำให้ศาสนาของพวกเขาซึง่ พระองค์ทรงโปรดปราน เป็นทีม่ นั่ คงเป็นเกียรติแก่พวกเขา และแน่นอนพระองค์ จะทรงเปลีย่ นแปลงให้พวกเขาได้รบั ความปลอดภัย หลัง จากความกลัวของพวกเขา โดยทีพ่ วกเขาจะต้องเคารพ ภักดีขา้ ไม่ตงั้ ภาคีอนื่ ใดต่อข้า และผูใ้ ดปฏิเสธศรัทธาหลัง จากนั้น(*3*) ชนเหล่านั้นพวกเขาคือผู้ฝ่าฝืน (ซูเราะฮ์อันนูร โองการที่ 55) ِ َ ‫يا داود إِنَّا جع ْلن‬ ِ ‫األر‬ ‫ي‬ َ ْ ‫احك ُْم َب‬ ْ ‫ض َف‬ َ َ ُ ُ َ َ ْ ‫َاك َخلي َف ًة ِف‬ ِ ‫الن‬ ِ ِ‫ال ِّق َوال َتتَّبِ ِع ْال َ َوى َف ُي ِض َّل َك َع ْن َسب‬ َِّ‫يل الل‬ َ ْ ِ‫َّاس ب‬ ِ ِ‫ون َع ْن َسب‬ َ ‫إِ َّن ا َّل ِذي َن َي ِض ُّل‬ ‫اب َش ِديدٌ بِ َم‬ ٌ ‫يل اللَِّ َل ُ ْم َع َذ‬ ِْ ‫نَسوا يوم‬ ِ ‫ال َس‬ ‫اب‬ َ َْ ُ “โอ้ดาวูด๊ เอ๋ย ! เราได้แต่งตัง้ เจ้าให้เป็นตัวแทนใน แผ่นดินนี้ ดังนั้น เจ้าจงตัดสินคดีต่าง ๆ ระหว่างมนุษย์ ด้วยความยุตธิ รรม และอย่าปฏิบตั ติ ามอารมณ์ใฝ่ตำ�่ มัน จะท�ำให้เจ้าหลงไปจากทางของอัลลอฮ์ แท้จริงบรรดาผู้

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

85


ทีห่ ลงไปจากทางของอัลลอฮ์นนั้ ส�ำหรับพวกเขาจะ ได้รบั การลงโทษอย่างสาหัส เนือ่ งด้วยพวกเขาลืมวัน แห่งการช�ำระบัญชี” (ซูเราะฮ์ศอด โองการที่ 26) ِ ‫إِ َّن اللََّ ي ْأمركُم َأ ْن ت َُؤدوا األمان‬ ‫َات إِ َل َأ ْه ِل َها َوإِ َذا‬ ُّ َ ْ ُ​ُ َ ِ ‫ي الن‬ ‫َّاس َأ ْن َ ْتك ُ​ُموا بِا ْل َعدْ ِل إِ َّن اللََّ نِ ِع َّم‬ َ ْ ‫َحك َْمت ُْم َب‬ َ ‫َي ِع ُظك ُْم بِ ِه إِ َّن اللََّ ك‬ ‫َان َس ِمي ًعا َب ِص ًريا‬ “แท้จริงอัลลอฮ์ทรงใช้พวกเจ้าให้มอบคืน บรรดาของฝากแก่เจ้าของของมัน และเมื่อพวกเจ้า ตัดสินระหว่างผูค้ น พวกเจ้าก็จะต้องตัดสินด้วยความ ยุตธิ รรม แท้จริงอัลลอฮ์ทรงแนะน�ำพวกเจ้าด้วยสิง่ ซึง่ ดีจริง ๆ แท้จริงอัลลอฮ์เป็นผู้ทรงได้ยินและได้เห็น” (ซูเราะฮ์อันนิซาอ์ โองการที่ 58) ท่านอายาตุลลอฮ์มะการิมชีรอซี กล่าวว่า เป้า หมายของการแต่งตั้งบรรดาศาสนทูตนั้นก็คือสร้าง ความเทีย่ งธรรมและยุตธิ รรมให้เกิดขึน้ บนหน้าแผ่นดิน ِ ِ ‫َاب‬ َ ‫َل َقدْ َأ ْر َس ْلنَا ُر ُس َلنَا بِا ْل َب ِّينَات َو َأن َْز ْلنَا َم َع ُه ُم ا ْلكت‬ ِ ِ ِ َ ‫وا ْلِ َيز‬ ‫ال ِديدَ فِ ِيه‬ ُ ‫ان ل َي ُقو َم الن‬ َ َ ْ ‫َّاس بِا ْلق ْسط َو َأن َْز ْلنَا‬ ِ ِ ‫ب ْأس َش ِديدٌ ومنَافِع لِلن‬ ‫ْص ُه‬ ُ َ َ ٌ َ ُ ُ ‫َّاس َول َي ْع َل َم اللَُّ َم ْن َين‬ ِ ‫َو ُر ُس َل ُه بِا ْل َغ ْي‬ ‫ب إِ َّن اللََّ َق ِو ٌّي َع ِز ٌيز‬ “โดยแน่นอนเราได้สง่ บรรดาศาสนทูตของเรา พร้อมด้วยหลักฐานทั้งหลายอันชัดแจ้งและเราได้ ประทานคัมภีรแ์ ละความยุตธิ รรมลงมาพร้อมกับพวก เขาเพือ่ มนุษย์จะได้ดำ� รงอยูบ่ นความเทีย่ งธรรม แล เราได้ให้มเี หล็กขึน้ มา เพราะในนัน้ มีความแข็งแกร่ง มาก และมีประโยชน์มากหลายส�ำหรับมนุษย์ และ เพือ่ อัลลอฮฺจะได้ทรงรูถ้ งึ ผูท้ ชี่ ว่ ยเหลือพระองค์ และ บรรดาร่อซูลของพระองค์ (มีความเชื่อมั่น) โดยทาง ลับ (ต่อพระองค์) แท้จริงอัลลอฮฺนั้นเป็นผู้ทรงพลัง ผู้ทรงอ�ำนาจ” (ซูเราะฮ์อัลหะดีด โองการที่ 25)

86

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


ศาสนามาเพื่อปลดพันธนาการแห่งความเป็น ทาสของมนุษย์สู่ความเป็นไท อิสรภาพและเสรีภาพ แห่งมนุษยชาติ ِ َ ‫ول النَّبِ َّي األ ِّم َّي ا َّل ِذي‬ َ ‫الر ُس‬ َ ‫ا َّل ِذي َن َيتَّبِ ُع‬ ‫يدُ و َن ُه‬ َّ ‫ون‬ ِ ‫يل ي ْأمرهم بِا َْلعر‬ ِ ِ ِ ‫وف‬ ُ ْ ْ ُ ُ ُ َ ِ ‫َم ْكتُو ًبا عنْدَ ُه ْم ِف الت َّْو َراة َواإلنْج‬ ِ ِ ‫ي ِّر ُم َع َل ْي ِه ُم‬ ُ ‫َو َين َْه‬ َ ُ ‫اه ْم َع ِن ا ُْلنْك َِر َو ُي ُّل َل ُ ُم ال َّط ِّي َبات َو‬ ِ ْ ِ َ ‫ص ُه ْم َواأل ْغ‬ ‫َت‬ ْ ‫الل ا َّلتِي كَان‬ َ ْ ‫الَ َبائ َث َو َي َض ُع َعن ُْه ْم إ‬ ِ ِ ‫ُّور‬ َ ‫َصو ُه َوا َّت َب ُعوا الن‬ ُ َ ‫َع َل ْي ِه ْم َفا َّلذي َن آ َمنُوا بِه َو َع َّز ُرو ُه َون‬ َ ‫ا َّل ِذي ُأن ِْز َل َم َع ُه ُأو َل ِئ َك ُه ُم ا ُْل ْف ِل ُح‬ ‫ون‬

“คือบรรดาผู้ปฏิบัติตามศาสนทูตผู้เป็นศาสดา ทีเ่ ขียนอ่านไม่เป็นทีพ่ วกเขาพบเขาถูกจารึกไว้ ณ ทีพ่ วก เขา ทั้งในอัต-เตารอต และในอัล-อินญีลโดยที่เขาจะ ใช้พวกเขาให้กระท�ำในสิ่งที่ชอบและห้ามพวกเขามิให้ กระท�ำในสิ่งที่ไม่ชอบและจะอนุมัติให้แก่พวกเขาซึ่งสิ่ง ดี ๆ ทัง้ หลาย และจะให้เป็นทีต่ อ้ งห้ามแก่พวกเขา ซึง่ สิง่ ที่เลวทั้งหลาย และจะปลดเปลื้องออกจากพวกเขา ซึ่ง ภาระหนักของพวกเขาและห่วงคอที่ปรากฏอยู่บนพวก เขา ดังนั้นบรรดาผู้ที่ศรัทธาต่อเขา และให้ความส�ำคัญ แก่เขาและช่วยเหลือเขา และปฏิบตั ติ ามแสงสว่างทีถ่ กู ประทานลงมาแก่เขาแล้วไซร้ ชนเหล่านีแ้ หละคือบรรดา ผู้ที่ส�ำเร็จ” (ซูเราะฮ์อัลอะอ์รอฟ โองการที่ 157) ศาสนามาเพื่อช่วยเหลือให้บรรดาผู้ด้อยโอกาส รอดพ้นจากอุ้งมือของพวกอธรรม ฉะนั้นเป็นที่ชัดเจน ยิง่ ว่า เป้าหมายทีส่ งู ส่งและยิง่ ใหญ่เช่นนีไ้ ม่อาจบรรลุได้ หากปราศจากซึง่ การจัดตัง้ การปกครอง หากศาสนาแยก ออกจากการเมือง การบริหารจัดการตนเองก็ต้องหลุด มือไปและต้องตกอยูภ่ ายใต้การปกครองของพวกอธรรม ชะฮีดมุเฏาะฮ์ฮารีย์ กล่าวว่า ต้องให้ประชาชน เข้าใจเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างศาสนากับการเมือง ซัยยิดญะมาลปฏิเสธและประณามแนวคิดการแยกศาสนา ออกจากการเมือง และถือว่าอิสลามศาสนาแห่งการเมือง

อิสลามคือศาสนาแห่งสังคม โองการทีส่ ามารถหยิบยก มาอ้างอิงถึงการจัดตัง้ การปกครองได้กค็ อื โองการที่ 25 ซูเราะฮ์ศอด บรรดานักเขียนและนักอรรถาธิบายต่างก็ กล่าวอธิบายโองการข้างต้นว่า การจัดตั้งการปกครอง ที่เข้มแข็ง ไม่ว่าทางด้านสังคม เศรษฐกิจ และอื่นๆ นั้น ไม่ได้ขัดแย้งกับฐานะภาพทางจิตวิญญาณแต่อย่างใด สมมติฐานต่ างๆ ของทฤษฎี secularism (การแยกศาสนาออกจากการเมือง) ก่อนทีเ่ ราจะเข้าสูเ่ หตุผลทีว่ า่ ศาสนาไม่แยกออก จากการเมืองนั้น จ�ำเป็นที่เราจะต้องมาท�ำความเข้าใจ และวิเคราะห์เกีย่ วกับทฤษฎี secularism เสียก่อน และ ขอหยิบยกสมมติฐานที่ส�ำคัญของทฤษฎีนี้ ดังนี้ 1. ปัญญานิยม มุมมองนี้จะยึดเอาปัญญาเป็น หลัก โดยจะปฏิเสธเรือ่ งเบือ้ งหลังปรากฏการณ์ทงั้ หมด แต่ในมุมมองของอิสลามถือว่าปัญญามีฐานะภาพที่ ส�ำคัญยิ่ง กระทั่งมีรายงานกล่าวไว้ว่าปัญญาคือพยาน ยืนยัน (ฮุจญัต)ด้านในของมนุษย์ แต่กไ็ ม่ได้หมายความ ว่าจะยึดเป็นหลักในทุกกรณี ทว่าปัญญาจะต้องควบคู่ ไปกับอัลกุรอาน ซุนนัตและมติเอกฉันท์ของบรรดาผู้รู้ 2. มนุษย์นยิ ม humanism ส�ำหรับมุมมองนีจ้ ะ ถือว่าทุกสิง่ ทุกอย่างทีม่ นี นั้ เพือ่ มนุษย์ และหากมีกฎหมาย ทางสังคมและการเมืองใดขัดแย้งกับมนุษย์ กฎหมายนัน้ ย่อมพ่ายแพ้ไปในทีส่ ดุ แต่ในมุมมองของอิสลาม แม้จะ ถือว่ามนุษย์คอื สิง่ ถูกสร้างทีป่ ระเสริฐ แต่มนุษย์จะสูงส่ง ก็ตอ่ เมือ่ เดินตามหนทางของพระผูเ้ ป็นเจ้า ไม่เช่นนัน้ แล้ว เป็นไปได้ทมี่ นุษย์จะดิง่ ลงสูร่ ะดับขัน้ ต�ำ่ สุดของความเป็น มนุษย์ แม้กระทัง่ ต�ำ่ กว่าสัตว์เดรัจฉาน หลังจากผ่านพ้น ยุคมืดของคริสตจักรที่แวดวงวิชาการมีทัศนคติในทาง ลบต่อศาสนา เป็นยุคที่วิทยาศาสตร์ได้รับการยอมรับ อย่างกว้างขวางและปฏิเสธความรู้เกี่ยวกับเบื้องหลัง ปรากฏการณ์อย่างสิน้ เชิง (มาวะรออุตฏอบีอะฮ์) ชะฮีดมุเฏาะฮารีย์ เขียนเกีย่ วกับเรือ่ งนีไ้ ว้วา่ “จุด ย้อนกลับในยุคใหม่ น�ำโดยกลุม่ หนึง่ ซึง่ ระดับแถวหน้าของ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

87


นักวิชาการก็คอื René Descartes และ Francis Bacon และค�ำพูดของเขาก็คือแนวเหตุผลนิยม(Rationalism) ของวิทยาการนั้นต้องมอบให้กับแนวประสาทสัมผัส และการทดลอง หลังจากปรากฏการณ์ทางความคิดนี้ ปรากฏขึ้น ก็มีความคิดหนึ่งเกิดขึ้นว่าแนวเหตุผลนิยม ไม่อาจสร้างความเชื่อมั่นได้อีกต่อไป หากวิทยาการใด ก็ตามทีไ่ ม่ผา่ นกระบวนการทดลอง ถือว่าเป็นวิทยาการ ที่ไร้แก่นสาร และเนื่องจากว่าวิทยาการด้านเบื้องหลัง ปรากฏการณ์เป็นวิทยาการทีไ่ ม่อาจน�ำมาท�ำลองได้ ดัง นัน้ จึงถือว่าเป็นวิทยาการทีไ่ ม่อาจสร้างความเชือ่ มัน่ ได้ กล่าวคือกลุ่มนี้ได้ขีดเส้นแดงล้อมรอบวิทยาการด้านนี้ เอาไว้.....” ซึง่ แตกต่างจากกลุม่ ทีม่ คี วามเชือ่ ขัดแย้งกับ ประเด็นข้างต้น คือกลุ่มมุสลิมและนักวิชาการศาสนา กล่าวคือในยุคทีน่ กั วิชาการ (ศตวรรษที่ 5-6)ถูกกวดขัน อย่างเข้มงวดจากคริสตจักร กลับเป็นยุคทีว่ ทิ ยาการใน โลกอิสลามเบ่งบาน จนถึงขนาดทีว่ า่ วิทยาการทางด้าน การแพทย์ในโลกอิสลามมีความเจริญก้าวหน้าจนนัก วิชาการตะวันตกต้องเดินทางมายังดินแดนอิสลามเพือ่ ศึกษาด้านการแพทย์กับนักวิชาการมุสลิม 3. เสรีนิยมอย่างไร้ขอบเขต เป็นกลุ่มที่รักเสรี

88

อย่างไร้ขอบเขตโดยปราศจากกฎเกณฑ์ของศาสนา อันทีจ่ ริงแล้วเป็นแนวคิดทีไ่ ม่มศี าสนาใดให้การยอมรับ แม้กระทัง่ ไม่ใช่ศาสนาทีม่ าจากฟากฟ้าแต่เป็นศาสนาที่ มนุษย์กำ� หนดขึน้ เอง ก็ยอ่ มมีกฎเกณฑ์ในการปฏิบตั ติ น โดยพืน้ ฐานแล้วไม่มสี งั คมใดทีจ่ ะยอมรับว่า ไม่มี เส้นแดงในการบริหารสังคม นัน่ ก็เนือ่ งจากว่าการด�ำรง อยูข่ องสังคมนัน้ ต้องมีขอบเขตเพือ่ รักษาสังคมส่วนรวม เอาไว้ เช่น บทลงโทษต่างๆ ต่อผูก้ ระท�ำผิด พวกหัวขโมย พวกลิดรอนสิทธิผู้อื่น เป็นต้น ที่มาของแนวคิดแยกศาสนาออกจากการเมือง ในโลกอิสลาม ศัตรูอิสลามได้รุกคืบสู่ความเชื่อและศรัทธาของ มุสลิมด้วยการคุกคามทางด้านวัฒนธรรมผ่านการ โฆษณาชวนเชื่อจนได้ลูกค้าจากมุสลิมไปบ้าง จะด้วย การรูเ้ ท่าไม่ถงึ การณ์หรือไม่อย่างไรก็ทำ� ให้มสุ ลิมเหล่านี้ ขับเคลือ่ นสูท่ ศิ ทางของพวกศัตรูทขี่ ดุ เจาะไว้ เนือ่ งจากไม่ เข้าใจความหมายของการเมืองในอิสลาม ท�ำให้พวกเขา ไม่เข้ามายุง่ เกีย่ วด้านการเมืองและสังคม จนท�ำให้พวก ล่าอาณานิคมขึน้ มามีบทบาทชีน้ ำ� และเผยแพร่แนวคิด ที่ไร้แก่นสารนี้ออกสู่ประชาคมโลกอย่างเป็นหลักการ

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


และน�ำความอัปยศสู่สังคมมุสลิมในที่สุด ทว่าหลังจาก การปฏิวัติอิสลามแห่งอิหร่านเกิดขึ้น ความหวังในโลก อิสลามก็บังเกิดขึ้นเช่นกัน ทว่าเส้นทางนี้ยังคงอีกยาว ไกลกว่าจะถึงสุดหมายปลายทางแห่งการมาปรากฏของ อิมามมะฮ์ดี (อ.) สาเหตุท่มี ุสลิมให้ ความสนใจกับ secularism (การแยกศาสนาออกจากการเมือง) 1. การโฆษณาชวนเชือ่ และช่องว่าง ตัง้ แต่ยคุ ท่าน ศาสดาอาดัม (อ.)จนถึงยุคอิมามมะฮ์ดี มันคือความจริง ทีว่ า่ มีปจั จัยเป็นเหตุให้อำ� นาจการเมืองการปกครองไม่ ได้อยู่ในมือของโลกอิสลาม มันจึงเกิดช่องว่างขึ้น จน กระทั่งยอมรับกันว่าอิสลามกับการเมืองเป็นสิ่งที่แยก ออกจากกัน และมันก็ได้หยั่งรากลึกเข้าสู่ความคิดของ มวลมุสลิม อิมามโคมัยนี กล่าวถึงเรือ่ งนีว้ า่ “สือ่ ของพวก ล่าอาณานิคมได้ประโคมโฆษณาชวนเชือ่ ว่า ศาสนาแยก ออกจากการเมือง เป็นทีน่ า่ เสียดายทีม่ กี ลุม่ หนึง่ หลงเชือ่ และตกอยู่ใต้อิทธิพลการโฆษณาชวนเชื่อนั้น...” ทว่า หลังจากการปฏิวัติอิสลามแห่งอิหร่านได้เกิดขึ้น ท�ำให้ ความคิดนีเ้ จือจางลง แต่อย่างไรก็ตามศัตรูอสิ ลามก็ไม่ หยุดนิ่งที่จะเผยแพร่แนวคิดนี้ต่อไป 2. ไม่เข้าใจประวัตศิ าสตร์อย่างถ่องแท้ อีกปัจจัย หนึง่ ทีท่ ำ� ให้เคลิบเคลิม้ ไปกับค�ำโฆษณาชวนเชือ่ ของศัตรู เกี่ยวกับการแยกศาสนาออกจากการเมือง คือ การไม่ เข้าใจประวัตศิ าสตร์อย่างถ่องแท้ ปราศจากการวิเคราะห์ ถึงสถานการณ์ตา่ งๆทีข่ วางกัน้ ไม่ให้บรรดาอิมามมะอ์ซมู (อ.) จัดตั้งรัฐปกครองขึ้น จึงเป็นเหตุปัจจัยให้ลืมเลือน ประเด็นการเมืองการปกครองไปในที่สุด 3. เป็ น อั น ตรายต่ อ ผลประโยชน์ ข องชาติ ล ่ า อาณานิคม เรื่องนี้ชัดแจ้งยิ่งกว่าแสงอาทิตย์ที่ส่อง แสงยามเที่ยงวันเสียอีก แต่ก็ไม่เป็นการตอกย�้ำให้รู้ว่า ยุทธศาสตร์ของชาติล่าอาณานิคมนั้นขัดแย้งกับแก่น และวิญญาณของศาสนาอิสลามอย่างสิน้ เชิง อิสลามที่ ชูธงชัยแห่งอิสรภาพและเสรีภาพแห่งความเป็นมนุษย์ที่

สมบูรณ์ ปฏิเสธผลประโยชน์ทไี่ ร้มนุษยธรรมมานับตัง้ แต่ วันแรก แน่นอนทีส่ ดุ ศาสนาอิสลามและผูท้ นี่ บั ถือศาสนา อิสลามย่อมเป็นเป้าในการจู่โจม คุกคาม เพื่อท�ำลาย ให้พ้นไปจากยุทธศาสตร์แห่งการสวาปามของพวกมัน อิมามโคมัยนีกล่าวถึงเรือ่ งนีว้ า่ “ พวกมันเห็นพลัง ของอิสลาม ที่รุกคืบเข้าสู่ตะวันตก และพวกมันก็รู้ว่า อิสลามบริสทุ ธิน์ ขี้ ดั แย้งกับยุทธศาสตร์ของพวกมัน และ ก็เข้าใจแล้วว่าไม่อาจครอบครองนักการศาสนาทีแ่ ท้จริง ได้ พวกมันจึงมุง่ เพียรพยายามตัง้ แต่แรกเพือ่ ก�ำจัดเสีย้ น หนามนี้ออกไปจากเส้นทางยุทธศาสตร์ของพวกมัน” 4. ความกลัวต่ออิสลาม หลังจากพิชติ สเปนโดย ฏอริก บิน ซิยาด กว่า 700 ปีทมี่ สุ ลิมทีน่ นั่ ได้ศกึ ษาหาความรู้ มารยาทอิสลามและ การพัฒนา จนท�ำให้ชาวตะวันตกตะลึงในความเจริญ ก้าวหน้าของมวลมุสลิม พวกเขารู้สึกว่าความเจริญ รุ่งเรืองของอิสลามในใจกลางยุโรปนั้นเป็นอันตราย จึง วางแผนการเปิดสถานเริงรมย์และอบายมุขมอมเมา เยาวชน ทัง้ โจมตีทางกองก�ำลังทหารอีกทางหนึง่ ในทีส่ ดุ การปกครองทีย่ าวนานกว่า 700 ปีกจ็ บลง และพวกเขา ก็เล็งเห็นแล้วว่าวิธกี ารทีจ่ ะสะกัดและท�ำลายอันตรายนี้ ได้นั้นคือการรุกรานทางด้านวัฒนธรรมทุกรูปแบบและ พยายามน�ำเสนอรูปแบบทางการเมืองตามแบบฉบับ ของพวกเขาฝังไว้ในกลุ่มประเทศอิสลาม อ้ างอิง 1. มุฮมั หมัดมะฮ์ดี มะอ์รฟี ตั บทความ “ผูน้ ำ� และ การบริหารจัดการทางด้านการเมืองในอิสลาม” 2.ตัฟซีรอัลมีซาน เล่ม 3 หน้า 144

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

89


ความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศในรัฐอิสลามของ

ศาสดามุฮมั มัด (ซ็อลฯ)

บทความโดย กองบรรณาธิการ

สั ง คมก็เ หมื อ นมนุ ษ ย์ ไม่ ส ามารถอยู่ ตัว คนเดี ย วได้ โ ดยปราศจากการคบหา สมาคมกับผู้อ่ ืน นั่ นก็เพราะว่ าสังคมหนึ่งไม่ สามารถที่จะตระเตรี ยมและมอบทุกๆ สิ่งที่สมาชิกของตนต้ องการให้ ได้ อย่ างครบถ้ วนสมบูรณ์ ฉะนัน้ จึงต้ องมีการปฏิสมั พันธ์ กับสังคมอื่นเพื่อก่ อให้ เกิดการร่ วมมือกัน ซึ่งการร่ วมมือนีเ้ องที่จะน�ำไปสู่ความวิวัฒน์ พัฒนาของมวลมนุษยชาติ

90

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


“สูเจ้าเป็นประชาชาติที่ดีที่สุด ที่ปรากฏแก่มวลมนุษยชาติ ท�ำการ ก� ำ ชั บ ในการท� ำ ดี ห้ า มปรามการ ท�ำชัว่ และศรัทธาต่ออัลลอฮ” (สูเราะฮ์ อาลิอิมรอน โองการที่ 110) พระผูเ้ ป็นเจ้ามิได้ทรงส่งศาสดา มุฮัมมัดมาเพื่อชาวอาหรับเท่านั้น แต่ พระองค์ทรงส่งท่านมาเพื่อมนุษย์ทั้ง โลก ดังเช่นที่พระองค์ตรัสว่า َ ‫َو َما َأ ْر َس ْلن‬ ‫ني‬ َ ِ‫ح ًة ِّل ْل َعا َل‬ َ ْ ‫َاك إِال َر‬

การที่สังคมแต่ละสังคมมีความต้องการที่จะพึ่งพาอาศัยกัน ได้ ก่อให้เกิดกฎเกณฑ์และข้อตกลงในการรักษาสิทธิและผลประโยชน์ของ แต่ละฝ่าย นัน่ ก็เพราะว่า โดยธรรมชาติแล้วมนุษย์เป็นผูท้ รี่ กั ในลาภยศ ต�ำแหน่ง และผลประโยชน์ ซึ่งหากว่าไม่มีกฎเกณฑ์ใด ๆ มาควบคุม มนุษย์ก็จักต้องเอนเอียนไปสู่ความชั่วร้ายและการเอารัดเอาเปรียบ อย่างถึงทีส่ ดุ ดังนัน้ การมีกฎเกณฑ์ทคี่ อยควบคุมความสัมพันธ์ระหว่าง สังคมต่าง ๆ ให้ดำ� เนินไปอย่างราบรืน่ จึงเป็นสิง่ ทีจ่ ำ� เป็นอย่างหลีกเลีย่ ง มิได้ กฎเกณฑ์เหล่านัน้ อาจเป็นธรรมเนียมหรือประเพณีทชี่ นชาติตา่ ง ๆ ให้การเคารพ ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้ได้มาซึง่ สิทธิประโยชน์ทจี่ ะได้รบั จากการสร้าง ความสัมพันธ์กับชนชาติอื่น ๆ อิสลามเองก็มิได้ผิดแผกอะไรไปจากชนชาติอื่นๆ ซึ่งศาสดา มุฮมั มัดเองก็ได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของการสร้างความสัมพันธ์กบั รัฐและชาติอนื่ ตัง้ แต่ชว่ งแรกทีท่ า่ นเริม่ เชิญชวนมนุษย์ไปสูพ่ ระผูเ้ ป็นเจ้า ซึง่ สิง่ นีถ้ อื เป็นหัวใจหลักของการเผยแพร่อสิ ลาม เพราะพระผูเ้ ป็นเจ้าทรง ประสงค์ให้ศาสดามุฮมั มัดและผูท้ ศี่ รัทธาในค�ำสอนของท่านท�ำการเผย แพร่ศาสนานี้ไปทั่วทุกดินแดน ดังเช่นที่พระองค์ได้ตรัสว่า ِ ‫ون بِا َْلعر‬ ِ ‫ُكنْت ُْم َخ ْ َي ُأ َّم ٍة ُأ ْخ ِر َج ْت لِلن‬ ‫وف َو َتن َْه ْو َن َع ِن ا ُْلنك َِر‬ ُ ْ َ ‫َّاس ت َْأ ُم ُر‬ َ ‫َوت ُْؤ ِمن‬ ِّ‫ُون بِالل‬

“และเรามิได้ส่งเจ้าไปเพื่อสิ่ง อื่นใด เว้นแต่เพื่อเป็นความเมตตา ส�ำหรับสากลโลก” (สูเราะฮ์ อัล-อัน บิยาอ์ โองการที่ 107) และพระองค์ยังได้ตรัสอีกว่า ِ ‫َاك إِال كَا َّف ًة ِّللن‬ َ ‫َو َما َأ ْر َس ْلن‬ ‫َّاس َب ِشري ًا‬ ِ ‫َون َِذير ًا َو َل ِك َّن َأ ْك َث َر الن‬ َ ‫َّاس ال َي ْع َل ُم‬ ‫ون‬

“และเรามิได้ส่งเจ้าไป เว้นแต่ เพื่อมนุษยชาติทั้งมวล เพื่อเป็นผู้แจ้ง ข่าวดีและเตือนข่าวร้าย แต่ทว่ามนุษย์ ส่วนมากนั้นหารู้ไม่” (สูเราะฮ์ สะบะอ์ โองการที่ 28) ในวจนะบทหนึ่ ง ของศาสดา มุฮมั มัด ท่านกล่าวกับญาบิร บุตรของ อับดุลลอฮ (ขออัลลอฮทรงโปรดปราน ท่าน) ผู้เป็นศอฮาบะฮ์ของท่าน ว่า :‫خ ًسا َل ْ ُي ْع َط ُه َّن َأ َحدٌ َق ْب ِل‬ ُ ِ‫ُأ ْعط‬ ْ َ ‫يت‬ ِ ِ ‫الر ْع‬ ‫ َو ُج ِع َل ْت‬،‫ب َم ِس َري َة َش ْه ٍر‬ ُّ ِ‫ُص ُتب‬ ْ ‫ن‬ ِ ‫ َف َأ ُّي َم َر ُج ٍل‬،‫ورا‬ ً ‫ِلاألَ ْر ُض َم ْسجدًا َو َط ُه‬ ِ ِ ،‫الص َل ُة َف ْل ُي َص ِّل‬ َّ ‫م ْن ُأ َّمتي َأ ْد َر َك ْت ُه‬

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

91


ِ َ ‫و ُأ ِح َّل ْت ِل ا َْل َغانِم و َل‬ ‫يت‬ ُ ِ‫ َو ُأ ْعط‬،‫ت َّل ِلَ َح ٍد َق ْب ِل‬ َ ْ َ ُ ِ​ِ َ ‫ َوك‬،‫الش َفا َع َة‬ َّ ‫اص ًة َو ُب ِع ْث ُت‬ َّ ‫َان النَّبِ ُّي ُي ْب َع ُث إِ َل َق ْومه َخ‬ ِ ‫إِ َل الن‬ ‫َّاس َعا َّم ًة‬

“มี 5 สิ่งที่ฉันได้รับ ซึ่งไม่เคยมีใครได้รับมันมา ก่อนเลย คือ ฉันได้รับการช่วยเหลือด้วยความสะพรึง กลัวเป็นเวลาแรมเดือน และผืนดินได้ถูกสร้างมาให้ฉัน เพื่อเป็นสถานที่ก้มกราบและไว้ส�ำหรับการช�ำระล้าง ฉะนั้น ใครก็ตามจากประชาชาติของฉัน เมื่อได้เวลา ละหมาดแล้วก็จงกระท�ำมัน ประการทีส่ าม สินสงคราม เป็นทีอ่ นุมตั แิ ก่ฉนั ในขณะทีม่ นั ไม่เคยเป็นทีอ่ นุมตั แิ ก่ผู้ ใดเลยก่อนหน้าฉัน ประการทีส่ ี่ ฉันได้รบั สิทธิใ์ นการช่วย เหลือ (ชะฟาอะฮ์) และประการที่ห้า ศาสดาท่านอื่น ๆ ถูกส่งไปยังชนชาติหนึ่ง ๆ เท่านั้น ในขณะที่ฉันถูกส่งไป ยังมนุษยชาติทั้งมวล” ดังนัน้ จึงกล่าวได้วา่ พระผูเ้ ป็นเจ้าทรงส่งศาสดามุ ฮัมมัด มาสูม่ นุษย์ทกุ กลุม่ ชน เมือ่ เป็นเช่นนี้ จึงมีความ จ�ำเป็นทีท่ า่ นศาสดาจะต้องท�ำการติดต่อสัมพันธ์กบั ผูค้ น หลากหลายเชื้อชาติ เพื่อที่จะเผยแพร่สาส์นของพระผู้ เป็นเจ้าไปสู่พวกเขา ในเบื้องต้นท่านได้เริ่มเผยแพร่ค�ำ สอนของท่านกับเครือญาติทใี่ กล้ชดิ (อัล-อะชีเราะฮ์ อัลอักรอบีน) อย่างลับ ๆ ตามพระบัญชาของพระผูอ้ ภิบาล ที่ได้ตรัสว่า ِ ‫و َأ‬ َ ‫نذ ْر َع ِش َريت‬ ‫َك ْالَ ْق َربِني‬ َ และจงเตือนเครือญาติผใู้ กล้ชดิ ของเจ้า (สูเราะฮ์ อัล-ชุอะรออ์ โองการที่ 214) เมื่อท่านศาสดาได้ปฏิบัติตามพระบัญชาของ พระผู้เป็นเจ้าในครั้งนั้น ภรรยาของท่าน คือท่านหญิง คอดีญะฮ์ ก็ได้ศรัทธาต่อศาสนาที่ท่านน�ำมา รวมไป ถึงท่านอะลี บินอะบีฏอลิบ, ซัยด์ บินหาริษะฮ์ม และ ท่านอบูบักร ต่อมาคนอื่น ๆ จึงได้ยอมรับการเชิญชวน ของศาสดามุฮัมมัด หลังจากทีก่ ลุม่ คนทีศ่ รัทธาในค�ำสอนของศาสดา

92

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


มุฮมั มัดรวมตัวกันร่วมกับท่าน จนกระทัง่ เกิดกลุม่ อ�ำนาจ เล็ก ๆ ขึน้ ท่านศาสดาจึงได้รบั บัญชาให้ทำ� การประกาศ ศาสนาอย่างเปิดเผย และเผยแพร่มันให้มนุษยชาติทั้ง มวลได้รับรู้ ดังเช่นที่พระผู้เป็นเจ้าได้ตรัสว่า ِ ْ ‫اصدَ ْع بِ َم ت ُْؤ َم ُر َو َأ ْع ِر ْض َع ِن ا ُْل‬ ‫ني‬ َ ‫ش ِك‬ ْ ‫َف‬

“ฉะนัน้ จงประกาศสิง่ ทีเ่ จ้าได้รบั บัญชาอย่างเปิด เผย และจงอย่าใสใจต่อพวกตั้งภาคี” (สูเราะฮ์ อัล-หิจร์ โองการที่ 94) นับแต่นั้นมาผู้คนก็เริ่มเข้ามารับศาสนาอิสลาม กันมากขึ้น เป็นเหตุให้ชาวกุร็อยช์ก่อสงครามต่อต้าน ศาสดามุฮัมมัด และกลุ่มคนที่ศรัทธาต่อค�ำสอนของ ท่าน และเมื่อท่านศาสดาตระหนักว่าท่านไม่สามารถ คุม้ ครองมวลมุสลิมให้อยูร่ อดปลอดภัยในเมืองมักกะฮ์ ได้ ท่านก็ได้ออกค�ำสัง่ ให้พวกเขาอพยพไปยังอบิสสิเนีย (หะบะชะฮ์) โดยกล่าวกับพวกเขาว่า ‫لو خرجتم إىل أرض احلبشة فإن فيها مليك ًا ال يظل‬ ‫ وهي أرض ِصدق حتى جيعل اهلل لكم فرج ًا‬،‫عنده أحد‬ “มาตรแม้นว่าพวกท่านเดินทางออกไปยังแผ่นดิน อบิสสิเนีย ซึง่ ทีแ่ ห่งนัน้ มีพระราชาทีไ่ ม่เคยมีใครทีไ่ ด้รบั การอยุติธรรมต่อหน้าเขาเลย อีกทั้งแผ่นดินแห่งนั้นยัง เป็นแผ่นดินแห่งสัจจะ เพือ่ ทีอ่ ลั ลอฮจะทรงประทานทาง รอดให้แก่พวกท่าน” การสัง่ ให้มสุ ลิมอพยพไปยังอบิสสิเนียในครัง้ นัน้ ถือเป็นก้าวแรกของศาสดามุฮัมมัด ในการสร้างความ สัมพันธ์กบั ผูท้ อี่ ยูน่ อกคาบสมุทรอาหรับ ทัง้ นีเ้ พือ่ แสวงหา แผ่นดินที่มุสลิมจะได้สักการะบูชาพระผู้เป็นเจ้าอย่าง ปลอดภัย โดยห่างไกลจากการรังควานของชาวกุร็อยช์ ซึ่งท่านศาสดาก็รู้เป็นอย่างดีว่า กษัตริย์แห่งอบิสสิเนีย เป็นกษัตริยผ์ ทู้ รงธรรมผูไ้ ม่เคยกดขีข่ ม่ เหงผูใ้ ด ด้วยเหตุ นี้ ท่านจึงหวังว่าพระผูเ้ ป็นเจ้าจะทรงบันดาลความผาสุก ให้เกิดขึ้นกับมวลมุสลิม วาระที่สองของการสร้างสัมพันธ์กับกลุ่มชนอื่น

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

93


เกิดขึน้ เมือ่ บุคคลสองคนทีเ่ คยช่วยหลือท่านศาสดา คือ ลุงของท่าน ‘อบูฏอลิบ’ และภรรยาของท่าน ‘คอดีญะฮ์’ สิน้ ชีวติ ลง เมือ่ นัน้ ท่านศาสดาได้มงุ่ หน้าไปยังฏออิฟ เพือ่ ขอความช่วยเหลือให้มสุ ลิมพ้นภัยจากการข่มเหงรังแก ของชาวกุรอ็ ยช์ ซึง่ การอพยพในครัง้ นัน้ ถือได้วา่ เป็นการ สร้างความสัมพันธ์ระหว่างศาสดาแห่งอิสลามกับกลุ่ม คนที่อยู่นอกเมืองมักกะฮ์อย่างชัดเจน นอกจากการอพยพไปยังฏออิฟ แล้ว ยังมี อี ก ตัวอย่างหนึ่งที่แสดงให้เห็นถึงแบบอย่างของศาสดามุ ฮัมมัด ในการสร้างความสัมพันธ์กับกลุ่มชนอื่น นั่น คือการที่ท่านใช้โอกาศอันดีในเทศกาลหัจญ์แนะน�ำตัว เองให้ชาวอาหรับเผ่าต่าง ๆ ได้รู้จัก ท่านได้แนะน�ำตัว เองกับเผ่ากัลบ์ เผ่าหะนีฟะฮ์ เผ่าอามิร รวมไปถึงเผ่า อืน่ ๆ ซึง่ การแนะน�ำตัวครัง้ นัน้ ท่านศาสดามีจดุ ประสงค์

94

ที่จะขยายขอบเขตของการเผยแพร่ศาสนา โดยที่ท่าน หวังจะให้ชาวอาหรับที่เดินทางมายังเมืองมักกะฮ์ใน ช่วงเทศกาลหัจญ์ศรัทธาต่อค�ำสอนของท่าน และน�ำ ค�ำสอนของท่านไปเผยแพร่ยังเผ่าของพวกเขา ซึ่งวิธี นี้จะท�ำให้การเผยแพร่ศาสนาของท่านขยายวงกว้าง ออกไปได้เร็วยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังมีผู้คนที่รู้ข่าวการเผย แพร่ศาสนาของท่าน และเดินทางไปพบท่านเพื่อรับฟัง ค�ำสอนอย่างใกล้ชดิ เช่น ชาวคริสต์จากอบิสสิเนียทีเ่ ข้า รับอิสลามหลังจากทีไ่ ด้สนทนากับท่าน และได้ประจักษ์ ถึงเครื่องหมายแห่งความเป็นศาสดาของท่านที่ตรงกับ บันทึกที่มีอยู่ในคัมภีร์ของพวกเขา หลังจากที่ท่านศาสดาได้แนะน�ำตัวของท่านให้ เป็นที่รู้จักกันในหมู่ชาวอาหรับ ชาวยัษริบกลุ่มหนึ่งก็ เกิดศรัทธาและให้สัตยาบันต่อท่าน อีกทั้งให้สัญญาว่า จะเผยแพร่ศาสนาของท่านในเมืองของพวกเขา ปีต่อ มาพวกเขาก็มาพบท่านอีกในเทศกาลหัจญ์ พร้อมกับ คนกลุ่มใหม่ที่เข้ารับศาสนา ซึ่งจ�ำนวนของพวกเขามี ทัง้ หมด 12 คน และในปีตอ่ มาก็เช่นกัน พวกเขาก็ได้มา พบท่านพร้อมคนอีก 75 คนจากเผ่าเอาซ์และค็อซร็อจ ซึ่งพวกเขาทั้งหมดได้ให้สัตยาบันต่อท่านศาสดา การ ให้สตั ยาบันในครัง้ นัน้ ถือเป็นเหตุการณ์ทสี่ ำ� คัญทีส่ ดุ ใน หน้าประวัตศิ าสตร์อสิ ลาม เพราะถือเป็นการตระเตรียม ลู่ทางให้มุสลิมที่อยู่ในเมืองมักกะฮ์อพยพไปสู่เมืองมะ ดีนะฮ์ จนกระทั่งพวกเขาสามารถก่อตั้งรัฐอิสลามขึ้น มาได้ในที่สุด เมือ่ มุสลิมทีอ่ ยูใ่ นเมืองมักกะฮ์ รวมถึงท่านศาสดา มุฮมั มัด ได้อพยพไปยังเมืองมะดีนะฮ์เป็นทีเ่ รียบร้อยแล้ว สิง่ ส�ำคัญประการแรกทีท่ า่ นท�ำก็คอื สร้างศูนย์กลางการ ปกครองของรัฐ นั่นคือ มัสญิด ซึ่งต่อมาได้กลายเป็น ศูนย์กลางการบริหารปกครองของรัฐอิสลาม กล่าวได้วา่ การไปสูเ่ มืองมะดีนะฮ์ของท่านศาสดา ได้สร้างความสมบูรณ์ให้แก่องค์ประกอบหลักของรัฐ อิสลาม เพราะรัฐ ๆ หนึ่งจะสมบูรณ์ขึ้นได้ก็ต้องมีองค์

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


ประกอบ คือ ประชากร รัฏฐาธิปัตย์ และดินแดน ซึ่งดิน แดนในขณะนัน้ คือ เมืองยัษริบ ภายหลังได้เปลีย่ นชือ่ เป็น ‘มะดีนะตุรอสูลลิ ลาฮ’ (เมืองของศาสนทูตแห่งพระเจ้า) ส่วนประชากร ก็คือ มุสลิมที่อาศัยอยู่ในเมืองมะดีนะฮ์ ทั้งที่เป็นมุฮาญิรูน (ผู้อพยพ) และอันศอร (ชาวเมืองมะ ดีนะฮ์เดิม) และมีศาสดามุฮัมมัด เป็นรัฏฐาธิปัตย์ ซึ่ง ท่านท�ำการปกครองตามบทบัญญัตทิ พี่ ระผูเ้ ป็นเจ้าทรง ประทานลงมาแด่มวลมนุษย์ ในรัฐอิสลามแห่งเมืองมะดีนะฮ์ ภารกิจแรก ๆ ของศาสดามุฮัมมัด ที่เกี่ยวกับการใช้ชีวิตอยู่ร่วมกัน ระหว่างประชากรมุสลิมกับประชากรที่นับถือศาสนา อืน่ ๆ ก็คอื การบัญญัตกิ ฎหมายทีจ่ ะมาสร้างความเป็น ระเบียบเรียบร้อยให้พวกเขา ทัง้ นี้ ก็เพราะเมืองมะดีนะฮ์ เคยเป็นที่พักอาศัยของชาวยิว และยังมีชาวอาหรับใน เมืองมะดีนะฮ์ทยี่ งั คงเคารพพระเจ้าหลายองค์อยู่ รวมไป ถึงมุสลิมทีป่ ะปนกันทัง้ ชาวมุฮาญิรนู และอันศอร ฉะนัน้

ท่านศาสดาจึงบัญญัตกิ ฎบัตร ‘อัล-ศอหีฟะฮ์’ ซึง่ เป็นกฎ เกณฑ์ในใช้ชวี ติ อยูร่ ว่ มระหว่างประชากรกลุม่ ต่าง ๆ ใน เมืองมะดีนะฮ์ที่ต้องมีปฏิสัมพันธ์กัน ทั้งในด้านศาสนา สังคม และการเมือง ซึง่ ในกฎบัตรนีท้ า่ นได้ระบุสทิ ธิและ หน้าที่ของแต่ละกลุ่มไว้อย่างชัดเจน การร่างกฎบัตร ‘อัล-ศอหีฟะฮ์’ แสดงให้เห็น ว่าท่านศาสดาและมุสลิมที่ศรัทธาในค�ำสอนของท่าน ได้กลายเป็นคนกลุ่มคนที่มีความเข้มแข็งและเป็นที่ เกรงขาม ถึงขนาดที่ชาวยิวซึ่งเป็นกลุ่มที่มีอิทธิพลสูง ในเมืองมะดีนะฮ์ยงั ต้องยอมรับข้อตกลงในกฎบัตร และ เมือ่ พิจารณาตามทีก่ ล่าวมานีเ้ ราจึงสามารถเข้าใจได้ไม่ ยากเลยว่า เหตุใดท่านศาสดาจึงมุ่งมั่นที่จะสร้างความ สัมพันธ์กับกลุ่มต่าง ๆ ถึงเพียงนี้ ความสัมพันธ์ที่ท่านศาสดา ได้สร้างขึ้นกับชน เผ่าและกลุ่มชนต่าง ๆ ไม่ว่าจะในเมืองมักกะฮ์หรือใน เมืองมะดีนะฮ์ล้วนแต่เป็นความสัมพันธ์ที่เป็นไปด้วย

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

95


สันติวิธี ส่วนสงครามนั้นเพิ่งขึ้นหลังจากที่ท่านก่อตั้งรัฐ ในเมืองมะดีนะฮ์ เมือ่ มีโองการอนุมตั ใิ ห้ทำ� การสูร้ บ หลัง จากเวลานับสิบปีที่มุสลิมถูกห้ามมิให้ใช้ความรุนแรง โต้ตอบในขณะที่อยู่ในเมืองมักกะฮ์ ค�ำอนุมัติเรื่องการ สู้รบคือโองการของพระผู้เป็นเจ้าที่ตรัสว่า ِ َ ‫أذ َن لِ َّل ِذ ي َن ُي َقا َت ُل‬ ‫ون بِ َأ َّنُ ْم ُظ ِل ُموا َو إِ َّن ا للََّ َع َل‬ ِ ْ ‫ن‬ ‫َص ِه ْم َل َق ِد ٌير‬ “บรรดาผูท้ ถี่ กู ฆ่าฟันได้รบั อนุญาตแล้ว เนือ่ งจาก พวกเขาถูกอยุติธรรม และอัลลอฮนั้นทรงมีอ�ำนาจใน การช่วยเหลือพวกเขาอย่างแน่นอน” (สูเราะฮ์ อัล-หัจญ์ โองการที่ 39) นักอรรถาธิบายอัลกุรอานกล่าวว่า โองการนีเ้ ป็น โองการแรกทีถ่ กู ประทานลงมาในเรือ่ งของการท�ำสงคราม ซึง่ มันได้กอ่ ให้เกิดรูปแบบใหม่ของความสัมพันธ์ระหว่าง รัฐอิสลามกับประชาคมอื่น นั่นคือ การสู้รบเพื่อปกป้อง เสถียรภาพของรัฐ จากนั้น สมรภูมิวัดดาน หรืออับวาอ์ ก็ได้เป็นสมรภูมิแรกในอิสลามที่น�ำโดยศาสดามุฮัมมัด

96

เมือ่ เสร็จสิน้ จากการจัดระเบียบให้สว่ นต่าง ๆ ใน เมืองมะดีนะฮ์ ท่านศาสดา ก็ได้เริ่มภารกิจที่ส�ำคัญ ยิ่งต่อรัฐอิสลาม นั่นคือ การสร้างความสัมพันธ์กับรัฐ อื่น ๆ ที่มิได้นับถืออิสลาม เพื่อเชิญชวนให้พวกเขาเข้า รับอิสลามตามที่พระผู้เป็นเจ้าทรงบัญชา ครั้นท่านจึง ส่งธรรมทูตไปยังผู้ปกครองโรมัน เปอร์เซีย อบิสสิเนีย อิยิปต์ อัล-ยะมามะฮ์ และบาห์เรน การทีศ่ าสดามุฮมั มัด ส่งธรรมทูตไปยังอาณาจักร ต่าง ๆ นั้น นอกจากจะบ่งบอกถึงความพร้อมของรัฐ อิสลามทีจ่ ะประกาศตัวต่อรัฐอืน่ อย่างเปิดเผยแล้ว ยังบ่ง บอกถึงความส�ำคัญของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ในสายตาของท่านศาสดาอีกด้วย อีกทั้งยังบ่งบอกถึง ความเข้มแข็งของรัฐอิสลาม ซึ่งมีความกล้าหาญที่จะ เชิญชวนอาณาจักรต่าง ๆ ให้เข้ารับศาสนาใหม่ ซึ่งถือ เป็นเรื่องใหญ่ระดับโลกทีเดียว

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


จริยศาสตร์ด้านเอกบุคคล

และทางสังคมในมุมมองของ

ศาสนาอิสลาม บทความโดย เชคซัยนุลอาบิดีน ฟินดี้

ความหมายทั่วไป จริยศาสตร์ในความหมายตามพนานุกรม หมาย ถึง ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยความประพฤติและการ ครองชีวิตว่าอะไรดีอะไรชั่ว อะไรถูกอะไรผิด หรืออะไร ควรอะไรไม่ควร และเมื่อเทียบกับค�ำในภาษาอาหรับ (หลักการของศาสนาอิสลามจะอธิบายด้วยภาษาอาหรับ เป็นภาษาหลัก) ก็คอื ‫( ِع ْل ُم األَ ْخال َِق‬อิล้ มุล้ อัคลาก) ซึง่ เป็นค�ำประสมระหว่าง ‫( ِع ْلم‬อิ้ลมุน) แปลว่า ศาสตร์ และ ‫( األَ ْخالَق‬อัคลาก) ซึ่งแปลว่า คุณลักษณะทาง จิตวิญญาณและความรู้สึกด้านในของมนุษย์. ความหมายในมุมมองของนักการศาสนาอิสลาม ๑. นักวิชาการศาสนาบางคนให้ความหมายว่า หมายถึง การกระท�ำและพฤติกรรมบางอย่างซึ่งออก จากคุณลักษณะภายในของมนุษย์ (ขั้นแรกเป็นเพียง คุณลักษณะทางจิตวิญญาณภายใน จากนั้นก็กลาย เป็นการกระท�ำและพฤติกรรม) ๒. อิบนุมัซกะวัยฮ์ ให้ความหมาย อัคลาก ใน หนังสือ ตะฮ์ซีบุ้ลอัคลาก วะตัฏฮีรุ้ลอะอ์รอก ว่า หมาย

ถึง ลักษณะนิสัยอันเป็นคุณลักษณะทางจิตวิญญาณ ซึ่งเรียกร้องให้มนุษย์ได้กระท�ำพฤติกรรมหนึ่ง โดยไม่ จ�ำเป็นต้องใช้ความคิดแต่อย่างใด. ๓. ฟัยฎ์กาชานี กล่าวในหนังสือ ฮะกออิก ถึง ความหมายของ อัคลาก ว่าหมายถึง ลักษณะอันเป็นองค์ ประกอบที่มั่นคงอยู่กับจิตใจซึ่งจะกลายเป็นพฤติกรรม ที่แสดงออกมาโดยไม่ต้องใช้ความคิด จากความหมายดังกล่าว อาจแบ่ง อัคลาก ออก เป็นสองส่วนคือ ๑) ลักษณะนิสัยซึ่งเป็นต้นก�ำเนิดของ พฤติกรรมทีด่ แี ละได้รบั การขนานนามว่า จรรยามารยาท และลักษณะนิสัยที่งดงาม และ ๒) พฤติกรรมใดก็ตาม ที่ออกมาจากลักษณะนิสัยที่ไม่ดี เราก็จะเรียกว่า มาร

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

97


ยามทรามและลักษณะนิสัยที่เลว (แต่ทั้งสองประการ นั้นต้องตีความตามหลักการศาสนาอิสลาม) ฉะนัน้ อิล้ มุล้ อัคลาก หรือ จริยศาสตร์ จึงให้ความ หมายได้วา่ ศาสตร์ทวี่ า่ ด้วยเรือ่ งคุณลักษณะภายในและ ลักษณะนิสัยที่ดีและไม่ดี การได้มาซึ่งคุณลักษณะดัง กล่าว การขัดเกลาลักษณะนิสัยที่ไม่ดีสู่ลักษณะนิสัยที่ ดี และผลของพฤติกรรมและลักษณะนิสัยที่ว่านั้นซึ่งมี อิทธิพลต่อปัจเจกบุคคลและสังคม” ความส�ำคัญของจริยศาสตร์ในมุมมองของอิสลาม เรือ่ งราวทีเ่ กีย่ วข้องกับลักษณะนิสยั และพฤติกรรม ของมนุษย์ทุกคนนั้นนับเป็นเรื่องที่มีความส�ำคัญอย่าง ยิง่ ยวดนับแต่อดีตจวบจนปัจจุบนั เพราะมนุษย์เป็นสิง่ มี ชีวติ ทีด่ ำ� รงอยูเ่ ป็นสังคม ลักษณะนิสยั และพฤติกรรมส่วน ตนนัน้ ย่อมต้องส่งผลต่อคนรอบข้างอย่างหลีกเลีย่ งมิได้ เฉพาะอย่างยิง่ เมือ่ พิจารณาตามมุมมองของอิสลาม ซึง่ 98

เป็นศาสนาทีเ่ น้นในเรือ่ งของปัจเจกบุคคลและสังคมแล้ว ไซร้ เรือ่ งราวในลักษณะท�ำนองนีจ้ ะได้รบั ความส�ำคัญเป็น ล�ำดับแรก เฉพาะอย่างยิง่ ในห้วงเวลาปัจจุบนั ของเรานี้ มนุษย์ตอ้ งเผชิญกับภาวะอันไม่พงึ ปรารถนาซึง่ เกิดจาก น�ำ้ มือ การกระท�ำ และพฤติกรรมของมนุษย์ดว้ ยกันเอง เราจึงต้องให้ความส�ำคัญในเรือ่ งนีเ้ ป็นพิเศษ อาทิ (๑) ตัวแปรและต้นเหตุแห่งความเสือ่ มทรามทาง ศีลธรรมยุคเรานี้มีมากขึ้นกว่ายุคก่อน อดีตให้ความ ส�ำคัญกับเรือ่ งนีเ้ ช่นไร ปัจจุบนั ก็ตอ้ งให้ความส�ำคัญต่อ เรื่องดังกล่าวมากขึ้นเป็นเท่าทวีคูณ. (๒) เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการท�ำลายคุณค่าแห่งความ เป็นมนุษย์หรือเลยเถิดถึงขัน้ สังหารชีวติ มนุษย์ผบู้ ริสทุ ธิน์ นั้ นับวันจะได้รบั การพัฒนาให้มปี ระสิทธิภาพและอานุภาพ ที่ยิ่งใหญ่ขึ้นเรื่อย ๆ ตัวแปรแห่งความเสื่อมทรามทาง ศีลธรรมอาจซ่อนรูปชนิดที่เรียกได้ว่าต้องอาศัยความ รู้ ความเข้าใจ ความเท่าทัน ศีลธรรม และค�ำสอนทาง ศาสนาเข้ามาแยกแยะอย่างละเอียดมากยิ่งขึ้น เช่น อินเตอร์เน็ต ดาวเทียม เป็นต้น (๓) หรือแม้กระทัง่ ศาสตร์ตา่ ง ๆ อันเป็นประโยชน์ ของมนุษย์เองก็ยงั มีการซ่อนท�ำลายคุณค่าแห่งความเป็น มนุษย์ โดยอ้างถึงความชอบธรรม ความจ�ำเป็น และสิทธิ เสรีภาพ โดยไม่คำ� นึงถึงต้นตอของปัญหาและการแก้ไข ปัญหาตามหลักการและแนวคิดของศาสนา เฉพาะอย่าง อย่างยิง่ หลักการศาสนาอิสลามมีวธิ กี ารในการเยียวยา และแก้ไขปัญหาอย่างสมบูรณ์แล้ว เช่น การอ้างสิทธิใน การท�ำแท้งเสรี โดยไม่แยกแยะความจ�ำเป็น (ซึง่ หลักการ ศาสนาอิสลามได้ระบุเรือ่ งดังกล่าวอย่างพร้อมมูลแล้ว) อัน ส่งผลให้เกิดพฤติกรรมการผิดประเวณีอย่างเสรี เป็นต้น ซึง่ ส�ำหรับนักการศาสนาอิสลามหรือผูด้ ำ� รงตนใน ฐานะผูส้ บื ทอดศาสนา เช่นพระสงฆ์ในพระพุทธศาสนา และบาทหลวงในคริสต์ศาสนา หรือนักบวชในศาสนา อื่น หรือแม้กระทั่งนักศีลธรรมอื่นซึ่งมีหน้าที่โดยตรง ในการพิทักษ์ศีลธรรมอันดีงามและจรรยามารยาทอัน

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


เป็นเครือ่ งจรรโลงโลกนัน้ ควรต้องให้ความเอาใจใส่เป็น พิเศษ ผูเ้ ขียนเชือ่ มัน่ ว่า ศีลธรรมจรรยาอันงดงามของทุก แนวคิดตามหลักการศาสนานัน้ จะเป็นตัวปกป้องความ เสือ่ มทรามทางศีลธรรมและการท�ำลายล้างคุณค่าแห่ง ความเป็นมนุษย์ได้อย่างแน่นอน...อามีน พิจารณาตามความที่ปรากฏในอัลกุรอาน (ประมวลพระด�ำรั สของพระเจ้ า) เมือ่ จ�ำเป็นต้องอ้างอิงแนวคิดตามหลักการศาสนา อิสลามในเรือ่ งใดก็แล้วแต่ จ�ำเป็นอย่างยิง่ ทีน่ กั การศาสนา อิสลามหรือบุคคลทั่วไปต้องอ้างอิงจากความหมายที่ ปรากฏอยู่ในอัลกุรอานซึ่งเป็นเสมือนคัมภีร์หรือแม่บท แห่งการด�ำเนินชีวติ ซึง่ จะให้ผลและตรงตามเจตนารมณ์ ของพระเจ้าคืออัลลอฮ์ (ซ.บ.) มากทีส่ ดุ และต้องได้รบั การ อรรถาธิบายและตีความข้อความทีป่ รากฏดังกล่าวโดย อาศัยการตีความและการอรรถาธิบายของท่านศาสดา

แห่งอิสลามคือท่านศาสดามุฮมั มัด (ศ.) ทีเ่ ราเรียกว่าพระ จริยวัตรของท่านศาสดาทีร่ วมความถึงค�ำพูด การกระท�ำ และการแสดงออกของท่านศาสดาทัง้ หมด และยังหมาย ถึงค�ำพูด การกระท�ำ และการแสดงออกของกลุม่ บุคคล ที่อยู่ในฐานะผู้สืบทอดหน้าที่ของศาสดาที่เราเรียกว่า อิมาม หรือผูน้ ำ� ศาสนาอิสลามทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ โดยตรง จากพระเจ้าและศาสดามุฮัมมัด (ศ.) ๑. จริยศาสตร์ในความหมายด้านบวกที่เป็น คุณลักษณะ อุปนิสัย และพฤติกรรมที่ดีนั้นถือว่าเป็น เป้าหมายหลักของการทีพ่ ระเจ้าได้ทรงประทานศาสดา มาเพื่อชี้น�ำมนุษยชาติสู่แนวทางที่เที่ยงตรง ً ‫ني َر ُس‬ ‫ول ِّمن ُْه ْم َي ْت ُلو َع َل ْي ِه ْم‬ َ ‫ُه َو ا َّل ِذي َب َع َث ِف ْالُ ِّم ِّي‬ ِْ ‫ِّيهم ويع ِّلمهم ا ْل ِكتَاب و‬ ِ​ِ ‫الك َْم َة َوإِن كَانُوا‬ َ َ ُ ُ ُ َ ُ َ ْ ِ ‫آ َياته َو ُي َزك‬ ٍ ِ‫ِمن َق ْب ُل َل ِفي َض َل ٍل ُّمب‬ )2 : ‫ني (اجلمعة‬

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

99


“พระองค์คอื ผูท้ รงแต่งตัง้ ศาสนทูตคนหนึง่ ขึน้ มา ในกลุ่มคนที่อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ (ในสมัยนั้น) เขาจะ สาธยายโองการทัง้ หลายของพระองค์ ขัดเกลาพวกเขา สอนคัมภีร์และวิทยปัญญาแก่พวกเขา ถึงแม้ว่าก่อน หน้านี้พวกเขาจะตกอยู่ในภาวะแห่งการหลงผิดอันชัด แจ้ง” (อัลญุมุอะฮ์ / ๒) ค�ำสอนที่ได้รับจากโองการอัลกุรอานข้างต้นก็ คือ ท่านศาสดาแห่งอิสลามที่มาประกาศศาสนาของ พระเจ้านั้นก็มีจุดมุ่งหมายในการท�ำหน้าที่เป็น ครูสอน จรรยามารยาทอันงดงาม ที่ส�ำคัญที่สุด และการสอน พร้อมการฝึกฝนและการขัดเกลาจิตวิญญาณของท่านที่ กระท�ำต่อมนุษยาตินนั้ ถือเป็นตัวแปรทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ทีจ่ ะ ฉุดรัง้ ไม่ให้พวกเขาจมปลักอยูค่ ณ ุ ลักษณะและอุปนิสยั ที่เลวทรามอันถือได้ว่าเป็นความหลงผิดตามหลักการ ศาสนาอิสลามนั่นเอง ๒. การส่งท่านศาสดามาในฐานะที่เป็น ครูสอน จรรยายามารยาทอันงดงามนัน้ ถือว่าเป็น ความโปรดปราน พิเศษที่พระเจ้าทรงประทานมาให้กับมนุษยชาติ ً ‫ني إِ ْذ َب َع َث فِ ِيه ْم َر ُس‬ ‫ول ِّم ْن‬ َ ِ‫َل َقدْ َم َّن ال َّلـ ُه َع َل ا ُْل ْؤ ِمن‬ ِ ِ ‫َأن ُف ِس ِه ْم َي ْت ُلو َع َل ْي ِه ْم آ َياتِ ِه َو ُي َزك‬ ‫َاب‬ َ ‫ِّيه ْم َو ُي َع ِّل ُم ُه ُم ا ْلكت‬ ِْ ‫و‬ ٍ ِ‫الك َْم َة َوإِن كَانُوا ِمن َق ْب ُل َل ِفي َض َل ٍل ُّمب‬ ‫ني (آل‬ َ )164 : ‫عمران‬

“แน่นอนยิง่ อัลลอฮ์ทรงประทานความโปรดปราน พิเศษแก่บรรดาผู้ศรัทธาเมื่อพระองค์ทรงแต่งตั้งศาสน ทูตคนหนึง่ ทีม่ าจากพวกเขาเองให้ไว้ในหมูพ่ วกเขา เขา จะสาธยายโองการต่างๆของพระองค์แก่พวกเขาและจะ ขัดเกลาพวกเขา อีกทัง้ จะสอนพวกเขาให้รจู้ กั คัมภีรแ์ ละ วิทยปัญญา ถึงแม้ว่าก่อนหน้านี้พวกเขาเคยตกอยู่อยู่ ในการหลงผิดอันชัดแจ้งก็ตาม” (อาลิอิมรอน / ๑๖๔) ค�ำสอนที่ได้รับจากโองการอัลกุรอานข้างต้นก็ คือ มนุษยชาติลว้ นได้รบั ความโปรดปราน (เนียะอ์มะฮ์) จากพระเจ้าในด้านต่าง ๆ เพือ่ การด�ำรงชีวติ ของพวกเขา 100

แต่มีความโปรดปรานไม่กี่ประการที่ถูกยกระดับความ ส�ำคัญให้อยู่ในฐานะความโปรดปรานพิเศษ (มินนะฮ์) ซึง่ พวกเขาจะต้องตอบค�ำถามต่อพระองค์ในวันแห่งการ ฟื้นคืนชีพในโลกหน้าว่าพวกเขาได้ใช้ความโปรดปราน พิเศษไปเพื่อการใดบ้าง หนึ่งในความโปรดปรานพิเศษ ทีว่ า่ นีก้ ค็ อื การส่งท่านศาสดาทีม่ าท�ำหน้าทีเ่ ป็น ครูสอน จรรยามารยาทอันงดงาม นั่นเอง ๓. การขัดเกลาจิตวิญญาณของมนุษยชาติเป็น หน้าที่หลักของศาสดาแห่งอิสลามทุกท่านนับตั้งแต่ อดีตจนถึงท่านศาสดามุฮัมมัด และยังเป็นค�ำวิงวอน ขอของศาสดาอิบรอฮีม ผู้เป็นศาสดาผู้ยิ่งใหญ่อีกท่าน หนึ่งของอิสลาม ً ‫َر َّبنَا َوا ْب َع ْث فِ ِيه ْم َر ُس‬ ‫ول ِّمن ُْه ْم َي ْت ُلو َع َل ْي ِه ْم آ َياتِ َك‬ ِْ ‫ويع ِّلمهم ا ْل ِكتَاب و‬ ِ ‫الك َْم َة َو ُي َزك‬ ‫نت‬ َ ‫ِّيه ْم إِن َ​َّك َأ‬ َ َ ُ ُ​ُ ََُ ِ ْ ‫ا ْلع ِز ُيز‬ )129 : ‫يم (البقرة‬ َ ُ ‫الك‬ َ “โอ้พระผู้อภิบาลของเหล่าข้าพระองค์ ได้โปรด แต่งตั้งศาสนทูตคนหนึ่งที่มาจากพวกเขาแก่พวกเขา เขาจะได้สาธยายโองการต่าง ๆ ของพระองค์แก่พวกเขา สอนคัมภีร์และวิทยปัญญาแก่พวกเขา และขัดเกลาตัว ของพวกเขาให้สะอาดสะอาดบริสุทธิ์ แท้จริงพระองค์ คือผูท้ รงอ�ำนาจเด็ดขาด ผูท้ รงปรีชาญาณ” (อัลบะเกาะ เราะฮ์ / ๑๒๙) ค�ำสอนทีไ่ ด้รบั จากโองการอัลกุรอานข้างต้นก็คอื หนึง่ ในค�ำวิงวอนขอของท่านศาสดาอิบรอฮีม ศาสดาผู้ อยู่ในฐานะเสมือนเป็น สหายของพระผู้ทรงเมตตา นั้น คือการขอให้พระเจ้าส่งศาสนทูตทีม่ คี ณ ุ สมบัตอิ นั เพียบ พร้อมและจรรยามารยาทอันงดงามมาเพือ่ สอนผูค้ นและ ขัดเกลาพวกเขาให้มจี ติ วิญญาณอันสวยงามและบริสทุ ธิ์ ซึง่ ถือได้วา่ เป็นงานอันยิง่ ใหญ่ทสี่ ดุ ของศาสดาท่านต่อ ๆ มานั่นเอง และค�ำวิงวอนขอนี้ก็เป็นผล ๔. ในมุมมองของอิสลามแล้ว การท�ำตนให้เพียบ พร้อมไปด้วยคุณลักษณะและอุปนิสัยอันงดงามหรือที่

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


เรียกว่า การขัดเกลาตนเอง นั้นถือว่าเป็นการประสบ ความส�ำเร็จของบุคคลที่ได้กระท�ำมัน และในทางกลับ กันหากบุคคลใดไม่พยายามกระท�ำตามนั้นหรือจงใจ ทีจ่ ะสร้างรอยแปดเปือ้ นให้กบั จิตวิญญาณอันจะส่งผล ให้ลักษณะนิสัยของเขามีแต่มารยาทอันต�่ำทรามละก็ เท่ากับเขาเป็นผู้ขาดทุน สิ้นหวัง และไม่ประสบความ ส�ำเร็จในการใช้ชีวิตในโลกนี้นั่นเอง ‫اها (الشمس‬ َ ‫اب َمن َد َّس‬ َ ‫َقدْ َأ ْف َل َح َمن َزك‬ َ ‫ َو َقدْ َخ‬، ‫َّاها‬

และบริสทุ ธิอ์ นั จะส่งผลให้เกิดการกระท�ำและพฤติกรรม ทีเ่ ราเรียกว่า จรรยามารยาทอันงดงาม ก็เท่ากับประสบ ความส�ำเร็จในการใช้ชีวิตในโลกนี้แล้ว พิจ ารณาตามความที่ป รากฏในอั ล ฮะดี ษ และริวายะฮ์ (ประมวลค�ำพูด การกระท�ำ และการ แสดงออกของศาสดาและผู้นำ� ต่ อจากท่ านศาสดา) ๑. ท่านศาสดามุฮมั มัด (ศ.) ได้ประกาศว่าหน้าที่ ของท่านในการมาประกาศศาสนาของพระเจ้านั่นก็คือ การท�ำให้จรรยามารยาทของมนุษยชาตินนั้ ถึงพร้อมซึง่ )9-10 : ความสมบูรณ์ “บุคคลทีข่ ดั เกลาจิตวิญญาณของตนเองเท่ากับ ِ ‫ان َ​َّم ُب ِع ْث ُت ِلُ َت ِّ َم َمك‬ .‫َار َم ْالَ ْخ َل ِق‬ เขาได้ประสบคามส�ำเร็จแล้ว ส่วนบุคคลใดที่ท�ำให้จิต “อันทีจ่ ริงฉันถูกแต่งตัง้ มาเพือ่ ท�ำให้จรรยามารยาท วิญญาณของเขาแปดเปื้อน (ด้วยการท�ำบาป) ละก็ อันงดงามนัน้ บริบรู ณ์ –ถึงพร้อมซึง่ คุณค่าอันสูงส่งทีส่ ดุ -” เท่ากับเขาได้สิ้นหวังแล้ว” (อัชชัมซ์ / ๙-๑๐) ๒. ท่านอิมามอะลี (อ.) ผู้น�ำอิสลามต่อจากท่าน ค�ำสอนทีไ่ ด้รบั จากโองการอัลกุรอานข้างต้นก็คอื ในความหมายโดยรวมของโองการแห่งพระเจ้านีพ้ ดู ถึง ศาสดามุฮมั มัดได้ให้แง่คดิ แก่ผคู้ นทัว่ ไปถึงความส�ำคัญ ความยิง่ ใหญ่แห่งการสร้างดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ กลาง ของการมีมารยาทอันงดงามและอุปนิสัยที่ดีงามนั้นว่า ْ ‫َل ْو ُكنَّا ال ن َْر ُج ْو َجنَّ ًة وال ن‬ คืน กลางวัน และวิถโี คจรของดวงดาวต่าง ๆ ชัน้ ฟ้า และ ‫َارا وال َث َوا ًبا وال‬ ً ‫َخ َشى ن‬ ِ ผืนแผ่นดินแล้ว สิง่ ทีม่ คี ณ ุ ค่าไม่ยงิ่ หย่อนกว่าสิง่ ถูกสร้าง ‫َار ِم االَ ْخال َِق‬ ِ ‫ب بِ َمك‬ ْ ‫َان َينْ َب ِغى َلنَا‬ َ ‫ِع َقا ًبا َلك‬ َ ‫أن ُن َطال‬ ดังกล่าว ก็คือ จิตวิญญาณของมนุษย์นั่นเอง ที่พระเจ้า ِ ‫َفإِ َّنَا ِمَّا تَدُ ُّل َع َل َسبِ ْي ِل الن َ​َّج‬ .‫اح‬ ทรงประกาศว่า ผูใ้ ดทีท่ ำ� ให้จติ วิญญาณของเขาใสสะอาด

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

101


“หากเราไม่ปรารถนาสวรรค์และไม่กลัวไฟนรก ไม่ ต้องการผลานิสงค์ของการกระท�ำใด (ผลบุญ) และการ ลงทัณฑ์ ก็ยังเป็นความเหมาะสมดีงามส�ำหรับเราที่จะ เรียกร้องแสวงหาให้ได้มาซึ่งจรรยามารยาทอันงดงาม เพราะการนั้นเป็นตัวชี้วัดถึงการที่เราได้ด�ำรงตนอยู่ใน หนทางแห่งการประสบความส�ำเร็จในการใช้ชีวิต” ๓. ท่านศาสดาแห่อิสลามยังได้ยกระดับความ ส�ำคัญของการมีจรรยามารยาทอันงดงามว่าเป็น สาย เชือกที่ถักทอเชื่อมระหว่างพระผู้อภิบาลและปวงบ่าว ของพระองค์ ِ ‫َج َع َل اهللُ ُس ْب َحا َن ُه َمك‬ ‫ي‬ َ ْ ‫َار َم االَ ْخال َِق ِص َل ٌة َب ْينَ ُه و َب‬ ِ ِ​ِ ِ ْ ‫ب َأ َحدُ ك ُْم‬ .ِ‫أن َيت َ​َم َّس َك بِ ُخ ْل ٍق ُمت َِّص ٍل بِاهلل‬ َ ‫ع َباده َف َحس‬ “อัลลอฮ์ทรงบันดาลให้การมีจรรยามารยาทอัน งดงามนั้นเป็นตัวเชื่อมระหว่างพระองค์กับปวงบ่าว ของพระพระองค์ คนใดคนหนึ่งในหมู่พวกท่านได้ยึด กุมอยู่กับอุปนิสัยอันดีงามก็เท่ากับเขาได้เชื่อมตนเอง กับพระองค์แล้ว” จริ ยศาสตร์ ด้านเอกบุคคลและสังคมในมุม มองของอิสลาม หากจะสรุปภาพรวมของค�ำสอนของศาสนาอิสลาม แล้ว เราอาจสรุปได้วา่ ค�ำสอนของอิสลามประกอบด้วย ค�ำสอน ๓ ด้านด้วยกัน คือ ค�ำสอนด้านความเชื่อ (อะ กีดะฮ์) ค�ำสอนด้านการปฏิบัติ (อะฮ์กาม) และค�ำสอน ด้านจริยธรรม (เอียะฮ์ซาน) ซึ่งค�ำสอนทั้งสามด้านนั้น ส่งผลให้เกิดภาระหน้าที่ตามหลักการศาสนาส�ำหรับผู้ ยอมรับนับถือและปฏิบตั ติ ามศาสนาอิสลามหรือทีเ่ รียก ว่ามุสลิมนัน้ โดยก�ำหนดให้พวกเขาต้องปฏิบตั ติ ามหน้าที่ ทัง้ สามนีอ้ ย่างเคร่งครัดอันจะท�ำให้พวกเขาประสบความ ส�ำเร็จในการใช้ชวี ติ ในโลกนีแ้ ละการด�ำรงชีวติ อันเป็นนิ รันดร์ในโลกนี้ ภาระหน้าที่ดังกล่าวอาจแบ่งออกเป็น ๓ ส่วนด้วยกัน คือ หน้าทีต่ อ่ ตนเอง หน้าทีต่ อ่ พระเจ้า และ หน้าที่ต่อบุคคลอื่น

102

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


หลั ก ธรรมค� ำ สอนของศาสนาอิ ส ลามจะระบุ หน้าที่ดังกล่าวไว้อย่างสมบูรณ์ ซึ่งส�ำหรับผู้ที่ได้ชื่อว่า เป็นมุสลิมสมบูรณ์แบบนัน้ พวกเขาจะต้องปฏิบตั หิ น้าที่ ดังกล่าวให้ลุล่วงต่อไป ในแต่ละหน้าทีน่ นั้ ก็จะมีแนววิถปี ฏิบตั ทิ จี่ ะท�ำให้ ตนเองนั้นถึงพร้อมซึ่งจรรยามารยาทอันงดงามทั้งสิ้น ตัวอย่างเช่น เมือ่ เขามีหน้าทีต่ อ่ ตนเองในการดูแลรักษา จิตใจและสุขภาพของเขาในทุกด้านเพือ่ ทีจ่ ะให้เขาได้ทำ� หน้าทีต่ อ่ พระเจ้าในด้านการเคารพภักดี (เช่น การนมาซ เป็นต้น) อีกทัง้ เขาก็ตอ้ งมีหน้าทีเ่ ชิญชวนและกระท�ำตน ให้เป็นแบบอย่างแก่บคุ คลอืน่ เพือ่ การปฏิบตั ติ าม เฉพาะ อย่างยิง่ บุคคลทีอ่ ยูใ่ นความดูแลของเขาเช่น (ภรรยาและ ลูกหลาน เป็นต้น) ซึ่งในหน้าที่ต่อตนเองนั้นก็จะมีค�ำสอนในเรื่อง ความเชื่อมั่น ความศรัทธา ความบริสุทธิ์ใจ การไม่ โอ้อวด การมอบหมายตน เป็นต้น ซึง่ เราอาจเรียกว่าเป็น จริยศาสตร์ในด้านเอกบุคคลก็ได้ และเขาก็จะต้องขัดเกลา จิตวิญญาณของเขาให้มลี กั ษณะของจิตสาธารณะเพือ่ ส่วนร่วม เช่น การช่วยเหลือผู้คน การบริจาคทาน การ คิดดีตอ่ ผูอ้ นื่ การมองโลกในแง่บอก สิง่ เหล่านี้ เราก็อาจ เรียกว่าเป็น จริยศาสตร์ในด้านสังคมก็ได้ เพื่อความเข้าใจในภาพรวมเพื่อให้เหมาะสมกับ การสัมมนาทางวิชาการในครั้งนี้ จึงขอแยกแยะเรื่อง ราวดังกล่าวเป็นหัวข้อและเป็นสังเขปในแต่ละด้านดังนี้ จริยศาสตร์ ด้านเอกบุคคลในมุมมองของอิสลาม อาทิ การร�ำลึกถึงอัลลอฮ์ ความรักทีม่ ตี อ่ พระองค์ การมอบหมายตนต่อพระองค์ การพึงพอใจในการก�ำหนด ลิขิตสภาวะของพระองค์ ความบริสุทธิ์ใจต่อพระองค์ ความปรารถนาในพระองค์ ความอดทนต่อทุกสภาพ การณ์ ความมัน่ ใจในตนเอง ความกล้าหาญ ความหนัก แน่นมั่นคง ความตั้งใจจริง การมองการณ์ไกล เป็นต้น ซึ่งคุณลักษณะภายในและอุปนิสัยที่แสดงออก ภายนอกดังกล่าวนั้นจะถูกต้องและเป็นที่ยอมรับได้ก็

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

103


ต่อเมือ่ คุณลักษณะเหล่านัน้ เป็นไปตามข้อก�ำหนดตาม หลักการศาสนาอิสลาม ตัวอย่างเช่น ความกล้าหาญจะ เป็นคุณลักษณะทีแ่ สดงออกถึงการมีจรรยามารยาทอัน งดงามก็ต่อเมื่อเป็นความกล้าหาญที่พร้อมจะเสียสละ ทุกสิง่ ทุกอย่างเพือ่ ความชอบธรรมตามหลักการศาสนา เช่น กล้าหาญทีจ่ ะท�ำความดี กล้าหาญทีจ่ ะปกป้องคน ดี กล้าหาญทีจ่ ะปกป้องเกียรติยศของตนเอง หรือความ มัน่ ใจในตนเองก็ตอ้ งเป็นความมัน่ ใจในตนเองทีเ่ กิดมา จากความเชือ่ มัน่ ว่าตนเองนัน้ มีหลักความเชือ่ ทีถ่ กู ต้อง และปฏิบตั คิ ณ ุ งามความดีอยูแ่ ล้ว และพร้อมทีจ่ ะยืนยัน ต่อบุคคลอื่นด้วย ตัวอย่ างค�ำสอนของหลักการศาสนาอิสลาม ในเรื่ องดังกล่ าว ِ ๑. การร�ำลึกถึงอัลลอฮ์ (َِّ‫)ذك ُْر الل‬ ๑.๑ อย่าได้ให้สิ่งอื่นใดมาเป็นอุปสรรคขัดขวาง การร�ำลึกถึงอัลลอฮ์

104

อัลลอฮ์ (ซ.บ.) ตรัสว่า ‫َيا َأ ُّ َيا ا َّل ِذي َن آ َمنُوا َل ُت ْل ِهك ُْم َأ ْم َوا ُلك ُْم َو َل َأ ْو َل ُدك ُْم‬ ِ ْ ‫َعن ِذك ِْر ال َّل ِـه ومن ي ْفع ْل َٰذلِ َك َف ُأو َلـ ِٰئ َك هم‬ َ ‫اس‬ ‫ون‬ َ َ َ َ ُ ُ ُ َ‫ال‬ )9 : ‫(املنافقون‬

“โอ้บรรดาผู้มีศรัทธา อย่าได้ให้ทรัพย์สินและ บุตรหลานของพวกเจ้าสกัดกั้นพวกเจ้าจากการร�ำลึก ถึงอัลลอฮ์ บุคคลใดท�ำเช่นนั้น พวกเขาก็เป็นผู้ขาดทุน” (อัลมุนาฟิกูน / ๙) ๑.๒ วันเวลาทีผ่ า่ นไปโดยไม่มกี ารร�ำลึกถึงอัลลอฮ์ นั้นคือความขาดทุนในวันโลกหน้า ท่านศาสดามุฮัมมัดมีวจนะว่า ِ ِ ِ​ِ ٍ ْ ‫ َما م ْن َسا َعة َت ُ ُّر بإ ْبن آ َد َم َل‬: )‫قال رسول اهلل (ص‬ ِ ِ ِ ِ ‫س َع َل ْي َها َي ْو َم ا ْل ِق َيا َم ِة‬ َ ‫َي ْذكُر اللََّ ف ْي َها إالَّ َخ‬ “วันเวลาทีผ่ า่ นมายังลูกหลานของอาดัมโดยเขาไม่

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


ได้รำ� ลึกถึงอัลลอฮ์นนั้ เขาจะรูส้ กึ ขาดทุนในวันโลกหน้า” หัวใจของพวกเขา” (อัลมุญาดะละฮ์ / ๒๒) ๑.๓ ผลของการร�ำลึกถึงอัลลอฮ์ก็คือการรักษา ๒.๓ ความรักทีม่ ตี อ่ อัลลอฮ์ไม่อาจบรรลุได้พร้อม แผลทางใจ กับความรักในความสุขของโลกนี้ ท่านศาสดามุฮัมมัดมีวจนะว่า ท่านศาสดาแห่งอิสลามมีวจนะว่า ِ ‫ ِذك ُْر اللَِّ ِش َفا ُء ا ْل ُق ُل ْو‬: )‫ب اللَِّ الَ قال رسول اهلل (ص‬ ‫ب‬ ُّ ‫ب الدُّ ْن َيا َو ُح‬ ُّ ‫ ُح‬: )‫قال رسول اهلل (ص‬ ٍ ‫يت ََِم ِن ِف َق ْل‬ “การร�ำลึกถึงอัลลอฮ์คือยาสมานแผลทางใจ” ‫ب َأ َبدً ا‬ َْ ๒. ความรักต่อพระองค์ (َِّ‫ب الل‬ ُّ ‫)ح‬ ُ “ความรักทีม่ ตี อ่ การเสพย์สขุ ในโลกนีน้ นั้ และความ ๒.๑ ความรักทีม่ ตี อ่ พระองค์ถอื ว่าเป็นพฤติกรรม รักที่มีต่ออัลลอฮ์ไม่อาจหลอมรวมเข้าเป็นเนื้อเดียวกัน และอุปนิสัยที่ดีเลิศที่สุด ในหัวใจหนึ่งได้เลย” ท่านศาสดาแห่งอิสลามมีวจนะว่า ๓. ความอดทน (‫ب‬ َّ ُ ْ ‫)الص‬ ِ َِّ‫ب ِف الل‬ ๓.๑ อัลลอฮ์ทรงอยู่กับผู้ที่มีความอดทน ُّ ‫حل‬ ُ ‫ َأ ْف َض ُل األَ ْع َمل ا‬: )‫قال رسول اهلل (ص‬ อัลลอฮ์ (ซ.บ.) ตรัสว่า ‫وا ْل ُب ْغ ُض ِف اللَِّ َت َع َال‬ )46 : ‫الصابِ ِري َن (األنفال‬ َّ ‫إِ َّن ال َّلـ َه َم َع‬ “พฤติกรรมที่ประเสริฐที่สุดคือความรักในเรื่อง ราวทีเ่ กีย่ วกับอัลลอฮ์และความโกรธในเรือ่ งราวทีเ่ กีย่ ว “แท้จริงอัลลอฮ์ทรงอยูก่ บั บรรดาผูม้ คี วามอดทน กับอัลลอฮ์” (หมายถึงจะรักหรือเกลียดสิ่งใดก็เป็นไป เป็นเลิศ” (อัลอันฟาล / ๔๖) ตามพระบัญชาของอัลลอฮ์) ๓.๒ ชัยชนะอยู่กับความอดทน ๒.๒ ความรักทีม่ ตี อ่ พระองค์ในฐานะทีต่ อ้ งปฏิบตั ิ ท่านศาสดามุฮัมมัดมีวจนะว่า ตามพระบัญชาใช้และพระบัญชาของอัลลอฮ์นั้น ต้อง ‫الص ِب َوا ْل َفر َج‬ ِ َ ْ َّ ‫َّص َم َع‬ َ ْ ‫ إ َّن الن‬: )‫قال رسول اهلل (ص‬ อยู่เหนือความรักใด ๆ ทั้งปวงของมนุษย์ ِ ْ ‫ب وإِ َّن َم َع ا ْل ُع‬ ِ ‫َم َع ا ْلك َْر‬ ‫سا‬ ً ْ ‫س ُي‬ อัลลอฮ์ (ซ.บ.) ตรัสว่า “ชัยชนะมาพร้อมกับความอดทน ความปลอด ِ َ ‫ال‬ َ ‫ُون بِال َّل ِـه َوا ْل َي ْو ِم ْال ِخ ِر ُي َوا ُّد‬ َ ‫تدُ َق ْو ًما ُي ْؤ ِمن‬ ‫ون َم ْن‬ โปร่งจะมาพร้อมกับความล�ำบาก แท้จริงพร้อมกับความ َ‫ َحا َّد ال َّلـ َه َو َر ُسو َل ُه َو َل ْو كَانُوا آ َبا َء ُه ْم َأ ْو َأ ْبنَا َء ُه ْم أ ْو‬ยุ่งยากนั้นมีความง่ายดายอยู่ด้วย” ِ ِ ِ ْ ‫وبِ ُم‬ ِ ‫َب ِف ُق ُل‬ ‫ال َيم َن‬ ๓.๓ ความอดทนต่ออุปสรรคทัง้ ปวงประเสริฐกว่า َ ‫إِ ْخ َو َانُ ْم َأ ْو َعش َري َ ُت ْم ُأو َلـٰئ َك َكت‬ )22 : ‫ (املجادلة‬การมีชีวิตอย่างสุขสบาย ท่านอิมามอะลี (อ.) กล่าวว่า “เจ้าจะไม่พบกลุม่ ชนใดทีม่ ศี รัทธามัน่ ต่ออัลลอฮ์ ِ ِ َّ : )‫قال اإلمام عيل (ع‬ ُ ْ ‫الص‬ และวันโลกหน้าทีเ่ ขาจะมอบความรักให้กบั บุคคลทีแ่ ข็ง ‫ب َع َل ا ْل َبالَء َأ ْف َض ُل م َن‬ ِ ‫ا ْلعافِي ِة ِف الر َخ‬ ขืนต่ออัลลอฮ์และศาสนทูตของพระองค์ ถึงแม้ว่าคน ‫اء‬ َ َ َّ เหล่านัน้ จะเป็นบรรพบุรษุ ของพวกเขา หรือลูกหลานของ “ความอดทนต่อภัยพิบัติทั้งปวงประเสริฐกว่า พวกเขา หรือพีน่ อ้ งของพวกเขา หรือเครือญาติของพวก ความสะดวกสบายอยู่ในความหรูหรา” เขา บุคคลเหล่านีพ้ ระองค์จะบันทึกความมีศรัทธาไว้ใน َّ ๔. ความกล้าหาญ (‫)الش َجا َع ُة‬

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

105


๔.๑ ความกล้าหาญต้องเป็นไปตามอัตภาพ ท่านอิมามอะลี (อ.) กล่าวว่า ‫الر ُج ِل َع َل َقدْ ِر‬ َّ ‫ َش َجاعض ُة‬: )‫قال اإلمام عيل (ع‬ ِ ‫هتِ ِه و َغ ْ َي ُت ُه َع َل َقدْ ِر َحِ َّيتِ ِه‬ َّ “ความกล้าหาญของบุคคลหนึง่ เป็นไปตามระดับ ขัน้ แห่งการให้ความส�ำคัญของเขา และการทระนงของเขา ขึน้ อยูก่ บั ระดับขัน้ ของการไม่ยอมตนกับความต�ำ่ ต้อย” ๔.๒ ผูท้ เี่ อาชนะต่อความเขลาด้วยความขันติคอื ผู้ที่กล้าหาญที่สุด ท่านอิมามอะลี (อ.) กล่าวว่า ِ ‫ َأ ْش َج ُع الن‬: )‫قال اإلمام عيل (ع‬ ‫ال ْه َل‬ َ ‫َّاس َم ْن َغ َل‬ َْ ‫ب‬ ِ ْ ِ‫ب‬ ‫ال ْل ِم‬

“มนุษย์ทกี่ ล้าหาญทีส่ ดุ คือผูท้ เี่ อาชนะความเขลา ด้วยการใช้ความขันติอดทน” ๔.๓ ความกล้าหาญมีระดับขั้น ท่านอิมามอะลี (อ.) กล่าวว่า َّ : )‫قال اإلمام عيل (ع‬ َّ ِ‫إن ل‬ ‫لش َجا َع ِة ِم ْقدَ ٌار َفإِ ْن َزا َد‬ ‫َع َل ْي ِه َف ُه َو َ َت ُّو ٌر‬ “ส�ำหรับความกล้าหาญแล้วมีขนาด ถ้ามากเกิน ไปมันก็คือความไม่ยั้งคิด ๕. การมองการณ์ไกล (‫)ال ْز ُم‬ َْ ๕.๑ การพิจารณาถึงบั้นปลายของการกระท�ำ ท่านอิมามอะลี (อ.) กล่าวว่า ‫ التَّدْ بِ ْ ُي َق ْب َل ا ْل َع َم ِل ُي ْؤ ِمن َُك‬: )‫قال اإلمام عيل (ع‬ ‫ِم َن النَّدَ ِم‬ “การพินิจพิจารณาก่อนเริ่มการงานนั้นจะท�ำให้ ท่านปลอดภัยจากความเศร้าเสียใจ” ๕.๒ เมื่อสงสัยต้องหยุดพิจารณาก่อน ท่านอิมามอะลี (อ.) กล่าวว่า ُّ َ‫ف ِعنْد‬ ‫الش ْب َه ِة‬ ُ ‫ال ْز ِم ا ْل ُو ُق ْو‬ َ ْ ‫ َأ ْص ُل‬: )‫قال اإلمام عيل (ع‬ 106

“รากเหง้าของการมองการณ์ไกลคือการหยุดคิด เมื่อเกิดระแวงสงสัย” ๕.๓ การร�ำลึกถึงความตายคือการมองการณ์ ไกลที่ดีที่สุด ท่านศาสดาแห่งอิสลามมีวจนะว่า ‫ إِ َّن َأ ْك َي َسك ُْم َأ ْك َث ُر ُه ْم ِذك ًْرا‬: )‫قال رسول اهلل (ص‬ ِ ‫لِ ْلمو‬ ‫ت وإِ َّن َأ ْح َز َمك ُْم َأ ْخ َسنُك ُْم إِ ْستِ ْعدَ ا ًدا َل ُه‬ َْ “คนทีฉ่ ลาดหลักแหลมทีส่ ดุ คือคนทีร่ ะลึกถึงความ ตายมากกว่าผูอ้ นื่ ส่วนคนทีม่ องการณ์ไกลกว่าผูอ้ นื่ นัน้ คนที่เตรียมพร้อมส�ำหรับความตายให้ดียิ่งกว่าผู้อื่น” จริยศาสตร์ ด้านสังคมในมุมมองของอิสลาม ในทัศนะของอิสลามนัน้ ระหว่างปัจเจกบุคคลและ สังคมนัน้ ไม่อาจแยกกันอยูเ่ ป็นเอกเทศได้ ทัง้ ปัจเจกบุคคล และสังคมนั้นมีส่วนสัมพันธ์กันอย่างแยกไม่ออก เมื่อ ใดก็ตามที่ปัจเจกบุคคลในสังคมหนึ่งเป็นผู้ที่มีจรรยา มารยาทอันงดงาม มีอุปนิสัยและพฤติกรรมที่เรียกได้ ว่าเป็นคนดีละก็ สังคมนั้นย่อมต้องพลอยได้รับความ ดีงามนั้นไปด้วย ในทางกลับกันสังคมซึ่งฟอนเฟะไร้ศีล ธรรมนั้นย่อมไม่อาจผลิตปัจเจกบุคคลที่มีคุณค่าและ เป็นคนดีของสังคมได้เลย เพือ่ การท�ำความเข้าใจในประเด็นนีอ้ ย่างรวบรัด ทีส่ ดุ ให้เหมาะสมกับบทความวิชาการทีจ่ ะเสนอในงาน สัมมนานี้ ขอสรุปคุณลักษณะและพฤติกรรมทางสังคมที่ นับว่าดีซงึ่ คนในสังคมอันหมายถึงปัจเจกบุคคลต้องช่วย กันสร้างให้เกิดขึน้ ตามมุมมองของศาสนาอิสลาม ได้แก่ การมีปฏิสมั พันธ์อย่างดี การให้เกียรติ การเสียสละ การ ปกป้องผูถ้ กู กดขี่ ความรักในคุณงามความดีเพือ่ มนุษย์ ความรับผิดชอบ การรักษาสัญญา ความสัจจริง การ ให้อภัย การเชื่อมสัมพันธ์ทางเครือญาติ การมองข้าม ความบกพร่องของผู้อื่น การท�ำความดีต่อบุพการี การ ให้เกียรติตอ่ สิทธิของผูอ้ นื่ การให้ความสนใจต่อปัญหา ของมนุษยชาติ การยืนหยัดในหลักการศาสนา การเป็น

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


เพื่อนบ้านที่ดี เป็นต้น ตัวอย่างค�ำสอนของหลักการอิสลามในเรือ่ งดังกล่าว ِ ๑. การเสียสละประโยชน์ส่วนตน (‫)اإل ْي َث ُار‬ ๑.๑ ความประเสริฐของผู้เสียสละ อัลลอฮ์ทรงมีพระด�ำรัสว่า ِ ُ ‫اليم َن ِمن َقب ِل ِهم‬ ِ َ ‫ي ُّب‬ ‫ون َم ْن‬ ْ ْ َ ِ ْ ‫َوا َّلذي َن َت َب َّو ُءوا الدَّ َار َو‬ ِ ِ ُ‫ون ِف صد‬ ِ َ ‫اج َر إِ َل ْي ِه ْم َو َل‬ ‫اج ًة ِّمَّا ُأوتُوا‬ َ ‫َه‬ َ ‫وره ْم َح‬ ُ َ ُ‫يد‬ َ ‫ون َع َ ٰل َأن ُف ِس ِه ْم َو َل ْو ك‬ َ ‫َو ُي ْؤثِ ُر‬ ‫اص ٌة َو َمن‬ َ ‫َان ِبِ ْم َخ َص‬ َ ‫وق ُش َّح َن ْف ِس ِه َف ُأو َلـ ِٰئ َك ُه ُم ا ُْل ْف ِل ُح‬ َ ‫ُي‬ )9 : ‫ون (احلرش‬ “บรรดาผูซ้ ง่ึ ตัง้ หลักแหล่งอยูใ่ นบ้านหลังนัน้ (ชาว อันศ้อร) และการมีศรัทธาก่อนหน้าพวกเขา พวกเขามี ความชอบพอต่อบุคคลทีไ่ ด้อพยพไปยังพวกเขา โดยที่ พวกเขาไม่พบความต้องการใดในหัวใจของพวกเขาจาก สิง่ ซึง่ พวกเขาได้ให้ไป พวกเขาเห็นแก่ประโยชน์ของผูอ้ นื่ เหนือความต้องการส่วนตนของพวกเขา ถึงแม้พวกเขาจะ

ต้องการอย่างมากก็ตาม บุคคลใดทีย่ บั ยัง้ ความตระหนีข่ อง ตนไว้ได้ พวกเขาเหล่านีเ้ ป็นผูป้ ระสบชัยชนะ” (อัลฮัชร์ / ๙) ๑.๒ ความเสียสละคือสุดยอดของคุณธรรมความดี ท่านอิมามอะลี (อ.) กล่าวว่า ِ ‫اإلحس‬ ِ : )‫قال اإلمام عيل (ع‬ ‫ان و َأ ْع َل‬ َ ْ ِ ‫اإل ْي َث ُار َأ ْح َس ُن‬ ِ ‫ب‬ ِ ِ‫َم َرات‬ ‫اإل ْي َم ِن‬ “ความเสียสละประโยชน์สุขส่วนตนเพื่อคนอื่น นัน้ คือคุณธรรมอันงดงามทีส่ ดุ และเป็นระดับขัน้ สุดของ การมีศรัทธา” ๒. ความรับผิดชอบ (‫)األَ َما َن ُة‬ ๒.๑ ความรับผิดชอบคือคุณลักษณะของผูศ้ รัทธา อัลลอฮ์ (ซ.บ.) มีพระด�ำรัสว่า ِ ‫َوا َّل ِذي َن ُهم ِلَمان‬ َ ‫َاتِ ْم َو َع ْه ِد ِه ْم َرا ُع‬ )8 : ‫ون (املؤمنون‬ َ ْ “และบรรดาผูซ้ งึ่ พวกเขาเป็นผูเ้ อาใจใส่ตอ่ ความ รับผิดชอบและสัญญาของพวกเขา” (อัลมุอ์มินูน / ๘)

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

107


ِ ْ ‫َو ا ْع ُبدُ وا ال َّلـ َه َو َل ت‬ ‫ُش كُوا بِ ِه َش ْي ًئا‬ ‫َو بِا ْل َو الِدَ ْي ِن إِ ْح َسا نًا َو بِ ِذ ي ا ْل ُق ْر َب ٰى‬ ِ ‫وا ْليتَامى وا َْلس‬ ِ ‫اك‬ ِ ‫ال‬ ‫ار ِذي ا ْل ُق ْر َب ٰى‬ َ ْ ‫ني َو‬ َ َ ٰ َ َ َ ِ ‫ُب والص‬ ِ ‫ال‬ ِ ‫اح‬ ‫نب َوا ْب ِن‬ َّ َ ِ ‫الن‬ َ ْ ِ‫ب ب‬ ُ ْ ‫ال ِار‬ َ ْ ‫َو‬ ِ ِ‫السب‬ ‫َت َأ ْي َم ُنك ُْم إِ َّن ال َّلـ َه َل‬ ْ ‫يل َو َما َم َلك‬ َّ ِ َ ‫ب َمن ك‬ )36: ‫ورا (النساء‬ ُّ ‫ُي‬ ً ‫َان ُمْت ًَال َف ُخ‬ “จงเคารพภักดีอลั ลอฮ์และอย่าเอา

สิง่ ใดมาเป็นภาคีตอ่ พระองค์ และจงท�ำดี ต่อบิดามารดา และ (จงท�ำดี) ต่อเครือญาติ เด็กก�ำพร้า คนยากจนอนาถา เพือ่ นบ้านที่ อยูใ่ กล้ เพือ่ นบ้านทีอ่ ยูไ่ กล มิตรแท้ ผูเ้ ดิน ทาง (ทีข่ ดั สน) และผูท้ พี่ วกเจ้าครอบครอง อยู่ แท้จริงอัลลอฮ์ไม่ทรงรักผู้ที่หยิ่งผยอง อีกทั้งเย่อหยิ่ง” (อันนิซาอ์ / ๓๖) ๓.๒การท�ำตัวเป็นเพือ่ นบ้านทีด่ นี นั้ มีคุณูปการณ์มากมาย ท่านอิมามศอดิก (อ.) กล่าวว่า ِْ ‫ ُح ْس ُن‬: )‫قال الصادق (ع‬ ‫ال َو ِار ُي َع ِّم ُر‬ ِ ‫الدَّ َّي‬ ‫ار و َي ِز ْيدُ ِف األَ ْع َم ِر‬

๒.๒ จ�ำเป็นทีจ่ ะต้องมีความรับผิดชอบโดยปราศจากเงือ่ นไขใด “การเป็นเพื่อนบ้านที่ดีต่อกันจะ ท่านอิมามอะลี (อ.) กล่าวว่า ท�ำให้บ้านเมืองเจริญและอายุยืนยาว” ِ ِ‫ت ْن َم ِن إ ْئت َ​َمن َ​َك وإِ ْن َخان َ​َك َوال ت ُِذ ْع ِس ُه وإ ْن‬ ُ َ َ‫ ال‬: )‫قال عيل (ع‬ ๔. การมีปฏิสมั พันธ์ทดี่ ตี อ่ กัน (‫ش‬ َّ ُ ْ ‫)ا ْلع‬ ِ ‫َأ َذ‬ ๔.๑ การมีปฏิสมั พันธ์ทดี่ ตี อ่ กันจะ ‫س َك‬ َ َّ ‫اع‬ “อย่าได้บิดพลิ้วต่อผู้ที่ไว้วางใจท่าน ถึงแม้ว่าเขาจะบิดพลิ้ว สร้างความรู้สึกที่ดีทั้งในยามมีชีวิตหรือ ท่านก่อนก็ตาม และอย่าได้โพนทะนาความลับของผู้ใด ถึงแม้ว่าเขา ยามตายจากกัน ท่านอิมามอะลี (อ.) กล่าวว่า จะโพนทะนาความลับของท่านก่อนก็ตาม” ِ ِ ‫ال‬ ِ ‫َّاس ُمَا َل َط ًة‬ ُ ‫)اإل ْح َس‬ َ ‫ َخال ُطوا الن‬: )‫قال عيل (ع‬ ๓. การเป็นเพื่อนบ้านที่ดี (‫ار‬ َ ْ ‫ان َإل‬ ๓.๑ การเป็นเพื่อนบ้านที่ดีนั้นเป็นพระบัญชาของ อัลลอฮ์ที่ ‫إن ِمت ُّْم َم َع َها َبكَوا َع َل ْيك ُْم وإن ِع ْشت ُْم‬ ْ อยู่ในระนาบเดียวกับการเคารพภักดีและการไม่ตั้งภาคีต่อพระองค์ ِ ‫(غ ْبت ُْم) َحنُّوا إ َل ْيك ُْم‬ อัลลอฮ์ (ซ.บ.) มีพระด�ำรัสว่า

108

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


“จงคลุกคลีอยูก่ บั ผูค้ นทัง้ หลายจนถึงขนาดทีห่ าก ท่านตายจากพวกเขาไป พวกเขาก็จะร้องไห้ตอ่ การจาก ไปนั้น และเมื่อท่านยังมีชีวิตอยู่กับพวกเขา (แต่ไม่ได้ คลุกคลีอยูด่ ว้ ยกัน) พวกเขาก็ปรารถนาทีจ่ ะพบเจอท่าน” ๔.๒ มารยาทในเรื่องการมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ท่านอิมามบาเก็ร (อ.) กล่าวว่า ِ ‫ َصال َُح َش ْأ ِن الن‬: )‫قال الباقر (ع‬ ‫اش‬ ُ ُ ‫َّاس ال َّت َعا ُي ُش َوال َّت َع‬ ٍ ‫ِم ْلئ ِم ْك َي‬ ‫ ُث ْل َثا ُه فِ َط ٌن و ُث ْل ٌث َت َغا ُف ٌل‬، ‫ال‬ َ “สถานะอันเหมาะสมของมนุษย์กค็ อื การอยูร่ ว่ ม กัน การเข้าสังคมเป็นส่วนเติมเต็มของตราชั่ว สองใน สามของมันก็คือความมีไหวพริบส่วนหนึ่งในสามของ มันนั้นคือการปล่อยวาง” ๕. การให้อภัย (‫)ا ْل َع ْف ُو‬ ๕.๑ ความประเสริฐของการให้อภัย อัลลอฮ์ (ซ.บ.) ทรงมีพระด�ำรัสว่า ِ ِ ِ َ ‫ا َّل ِذي َن ُي ِنف ُق‬ ‫ني ا ْل َغ ْي َظ‬ َ ‫الضاء َوا ْلكَاظِ ِم‬ َّ َّ ‫ون ف‬ َّ َّ ‫الساء َو‬ ِ ِ ‫ني َع ِن الن‬ ‫ني (آل عمران‬ َ ِ‫ب ا ُْل ْح ِسن‬ َ ِ‫َوا ْل َعاف‬ ُّ ‫َّاس َوال َّلـ ُه ُي‬

ผูท้ อี่ ธรรมต่อท่าน การเชือ่ มสัมพันธ์ตอ่ ผูท้ ตี่ ดั สัมพันธ์กบั ท่าน และมีขนั ติเมือ่ ท่านได้รบั การปฏิบตั อิ ย่างคนโง่เขลา” สิง่ ทีก่ ล่าวผ่านไปนัน้ เป็นเพียงตัวอย่างของคุณธรรม ความดี หรือการมีจรรยามารยาทอันงดงามที่อิสลาม ได้สอนให้มสุ ลิมได้ฝกึ ฝนให้เป็นอุปนิสยั อันจะน�ำมาซึง่ ความสงบร่มเย็นของสังคมที่เขาอยู่ สิ่งที่ยังไม่ได้กล่าวในบทความนี้ก็คือนิสัยและ พฤติกรรมอันเลวทรามทีอ่ สิ ลามได้สอนให้มสุ ลิมได้หา่ ง ไกลและให้สังคมทั่งไปปฏิเสธพฤติกรรมดังกล่าว ซึ่งมี มากมายหลายประการด้วยกัน อินชาอัลลอฮ์ หากเป็น พระประสงค์ของพระเจ้าละก็ เราก็นา่ จะได้มกี ารหยิบยก มากล่าวกันในโอกาสต่อไป.

เอกสารอ้ างอิง ซัยนุลอาบิดนี ฟินดี.้ อัลกุรอานฉบับแปลไทย เล่ม ที่ ๑ และเล่มที่ ๒. กรุงเทพ ส�ำนักพิมพ์สองสิ่ง. : ‫ قم‬.‫ أخالق در إسالم‬.‫ آية اهلل‬، ‫مكارم شريازي‬ .‫ج إ إيران‬ ‫ مركز‬.‫ ميزان احلكمة‬.‫ آية اهلل‬، ‫ حممدي‬، ‫ري شهري‬ )134: .‫ ج إ إيران‬: ‫ قم‬.‫حتقيقات دار احلديث‬ “บรรดาผูซ้ งึ่ ท�ำการบริจาคทัง้ ในยามสะดวกและ .‫ نافذ عىل قضايا إلسالمي‬.‫ آية اهلل‬، ‫ إبراهيم‬، ‫األميني‬ ยามอัตคัด และบรรดาผูท้ รี่ ะงับโทสะ และบรรดาทีย่ อม .‫ ج إ إيران‬: ‫ قم‬.‫مؤسسة انصاريان‬ ยกโทษให้คนทั่วไป อัลลอฮ์ทรงรักบรรดาผู้กระท�ำการ งานอย่างดีเยี่ยม” (อาลิอิมรอน / ๑๓๔) ๕.๒ การให้อภัยประดุจดังมารยาทอันงดงามของ โลกนี้และโลกหน้า ท่านอิมามศอดิก (อ.) กล่าวว่า ِ ‫كار ِم الدُّ ْنيا و‬ ِ ‫َث ِم ْن َم‬ ٌ ‫ َثال‬: )‫قال الصادق (ع‬ ‫اآلخ َرة‬ َ َ ‫وت ِل ُم إِ َذا‬ ْ َ ‫ َت ْع ُف ْو َع َّم ْن َظ َل َم َك وت َِص ُل َم ْن َق َط َع َك‬، ‫ُج ِه َل َع َل ْي َك‬

“มีคณ ุ ลักษณะอยูส่ ามประการทีถ่ อื ว่าเป็นมารยาท อันงดงามของโลกนีแ้ ละโลกหน้า คือ การทีท่ า่ นให้อภัยต่อ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

109


โลกาภิวัตน์กับความรุนแรง บนตรรกะใหม่ กรณีศึกษา

กลุ่มนักรบไอเอส (IS)

แปลและเรียบเรียงโดย เชคมุฮัมมัดนาอีม ประดับญาติ

หลังจากสงครามเย็นสิน้ สุดลง ประชาคมโลกและมนุษยชาติต่างมีความหวังว่ า โลกคงเข้ าสู่สันติ และมีสนั ติภาพเสียสักที เพราะการเมืองและการต่ อสู้ทางการเมืองเคลื่อนถึงจุดหมายของฟากฝั่ งระบอบ ทุนนิยมและถือว่ าเป็ นชัยชนะของฝ่ ายประชาธิปไตย แต่ น่ นั การมองโลกในแง่ดเี กินไป เพราะว่ าโลกได้ ถกู ท้าทายด้ วยความรุนแรงและการส�ำแดงออกใน การปะทะและการเผชิญหน้ าอีกครัง้ ด้ วยการแสดงออกในเชิญสัญลักษณ์ ของการต่ อสู้ระหว่ างกลุ่มมุสลิม ที่นยิ มความรุนแรงกับชาติมหาอ�ำนาจ นับแต่ ต้นทศวรรษที่1990 ต่ อมาถูกผนวกกับความรุนแรงในนาม ของ”การก่ อการร้ าย”และการปราบปรามการก่ อการร้ าย ที่อ้างตนเองว่ าเป็ น”ผู้ก่อการดี” เพื่อจะพิทกั ษ์ โลกและจัดระเบียบโลกใหม่ ด้วยการใช้ ความรุนแรงในการปราบปรามกลุ่มที่ถกู เรียกว่ า ผู้ก่อการร้ าย และ นั่นเป็ นการเริ่มต้ นของการก�ำเนิดกลุ่มนิยมความรุนแรงและความสุดโต่ งในการต่ อสู้กบั ชาติมหาอ�ำนาจ

110

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


แซมมวล อันติงตัน คล้ายตระหนักถึงสัญญาณ ความรุนแรงใหม่ หรือไม่กพ็ ยายามสร้างศัตรูและให้เห็น ถึงวิถีของประชาคมโลกและมนุษยชาติก�ำลังตกอยู่ใน ภาวะของความอันตรายในนิยามของความรุนแรงแบบ ตรรกะใหม่ เพือ่ ให้รฐั บาลของอเมริกามีความชอบธรรม ในการเข้าแทรกแซงกิจการภายในและภายนอกของประ เทศอืน่ ๆ อันติงตันถือว่าความขัดแย้งหลังสงครามเย็น คือโลกก�ำลังเคลือ่ นเข้าสูค่ วามรุนแรงในตรรกะใหม่ เป็น ตรรกะของการปะทะทางอารยธรรม นักวิชาการทางด้านรัฐศาสตร์ต่างได้วิพากษ์ วิจารณ์อย่างเผ็ดร้อน และกล่าวว่าการน�ำเสนอทฤษฎีการ ปะทะทางอารยธรรมของอันติงตันนัน้ ยังมีชอ่ งโว่และมี ข้อโต้แย้งอีกหลายประเด็น ดังนัน้ ท�ำให้นกั วิชาการทาง ด้านรัฐศาสตร์และนักมานุษยวิทยาได้กล่าวว่า แท้จริง

ความรุนแรงในตรรกะใหม่หลังสงครามเย็น คือ ความ รุนแรงภายในอารยธรรมของความต่าง นั่นการก�ำเนิด กลุ่มต่างๆที่นิยมความรุนแรงและมีอัตลักษณ์ที่กร้าว และสุดโต่ง (อ้างจากบทความ โลกาภิวัตน์กับตรรกะ ใหม่ของความรุนแรง หน้า ๔) นักมานุษยวิทยา ดั่งเช่นท่าน อรชุน อัปปาดูรัย (ArjunAppadurai) ได้กล่าวว่า ความรุนแรงยุคหลัง สงครามเย็นเป็นความรุนแรงภายในอารยธรรม ทีม่ หี ลาย แง่มุมและหลายรูปแบบ เขากล่าวอีกว่า โลกปัจจุบัน คือโลกแห่งการปะทะ แต่มิใช่การปะทะทางอารยธรรม หากแต่เป็นการปะทะของระบอบโลก อัปปาดูรยั กล่าวว่า สงครามทีจ่ ะเกิดขึน้ เป็นภาวะ ของการปะทะ ดังนั้นสงครามจะเป็นสงครามเพื่อสร้าง ศัตรู และเพือ่ ค้นหา ก�ำหนดศัตรู ซึง่ มิได้จำ� กัดอยูเ่ ฉพาะ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

111


สงครามทีก่ ระท�ำโดยสหรัฐอเมริกาและพันธมิตรเท่านัน้ แต่รวมไปถึงการฆ่าและการสังหารหมูใ่ นเชิงสัญลักษณ์ ทีถ่ อื ว่าเป็นศัตรูทางความเชือ่ หรือทางชาติพนั ธุ์ เป็นการ ใช้ความรุนแรงในการสังหารหรือการฆ่า ที่เป็นตรรกะ การช�ำแหละร่าง การฆ่าตัดคอ เป็นการฆ่าอย่างเถื่อน โหดเพื่อท�ำลายศักดิ์ศรีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ การปรากฏของกลุ่มนิยมความรุนแรง อาจจะ เกิดจากความขัดแย้งทางความเชื่อ เป็นการตีความใน ตัวบทคัมภีร์ที่เข้าใจแตกต่างกัน รวมไปถึงการคลั่งใน ชาติพันธุ์ ลัทธิชาตินิยม หรือชาติพันธุ์นิยม หรือการ นิยมความรุนแรงเกิดจากการจินตภาพทางด้านความ เชื่อที่มองในด้านเดียว มีอคติต่อกันและกัน ทั่วโลกยังคงให้ความสนอกสนใจต่อการปรากฏ ของกลุ่มนักรบไอเอส(IS)หรือที่เรียกตัวเองว่ากลุ่มจัด ตัง้ รัฐอิสลาม(Islamic State)โดยการน�ำของ อบูบาการ์ แบกแดดีย์(Abu Bakr al-Baghdadi) เพื่อเรียกร้องรัฐ คอลีฟะฮ์ รัฐอิสลามในอดีตที่เคยสร้างความรุ่งเรืองแก่ ประชาคมมุสลิมมาอย่างน่าภาคภูมิ แต่ทว่าทางกลับกัน ทัว่ โลกโดยเฉพาะโลกตะวันตกได้เสนอข่าวความรุนแรง และความสุดโต่งของขบวนการกลุ่มไอเอส โดยการน�ำ เสนข่าวการเข่นฆ่าสังหารหมู่ชนกลุ่มน้อยมุสลิม ชาว คริสต์ ชาวเคิร์ด ชาวชีอะฮ์ และชนเผ่าอื่นๆ อย่างโหด ร้ายทารุณ ในบางเหตุการณ์ สื่อตะวันตกประโคมข่าว ว่า กลุ่มไอเอส ได้ฆ่าตัดศรีษะนักข่าวชาวตะวันตกและ ล่าสุดได้เผยแพร่ภาพการฆ่าตัดศรีษะนักข่าวชาวญิปนุ่ ซึง่ เป็นภาพทีโ่ หดเหีย้ มอย่างไร้ความปรานี และสหรัฐฯ ได้ขอการสนับสนุนการนานาประเทศโดยเฉพาะกลุ่ม ประเทศอาหรับเพื่อถล่มกลุ่มติดอาวุธไอเอส ในที่สุด ชาติอาหรับ๕ชาติได้แก่ ซาอุดอิ าเรเบีย จอร์แดน กะตาร์ บาร์เรน และสหอาหรับเอมิเรตส์ ต่อมาโอบาม่า กล่าว ยกย่องความร่วมมือของบรรดาประเทศพันธมิตร โดย กล่าวว่าขณะนีป้ ระชาชนและรัฐบาลในตะวันออกกลาง ต่างปฏิเสธกลุ่ม ISIS และต่างแสดงความยืนหยัดเพื่อ

112

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558


สันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาคนี้และของโลก จากปรากฏความรุนแรงและการนิยมในความ สุดโต่งแบบกลุม่ กบถไอเอส เป้าหมายทีแ่ ท้จริงของพวก เขาคือการจัดตั้งรัฐอิสลามจริงหรือ?และอะไรคือแรง จูงใจให้กลุ่มไอเอสนิยมความรุนแรงแบบสุดโต่ง? หรือ จริงๆแล้วเป็นกับดัก ลับ ลวง พราง อีกหลุมหนึ่งของ ชาติมหาอ�ำนาจ? การเข้าถึงและรู้ที่มาที่ไปของกลุ่มไอเอส กรอ ปกับการออกหน้าออกตาและท่าทีของชาติมาหาอ�ำนาจ อย่างสหรัฐฯและชาติตะวันตก ก็พอจะวิเคราะห์ได้วา่ มี วาระซ่อนเร้นของปรากฏการณ์นอี้ ย่างแน่นอนและเห็น เป้าประสงค์หลักและเป้าประสงค์ยอ่ ยของกลุม่ ติดอาวุธ ไอซิซได้อย่างชัดเจนทีเดียว ลองมาดูบทวิเคราะห์ของ สื่อต่างชาติได้กล่าวถึงเรื่องนี้อย่างไร นาย “ชาเอล เบนเอฟราอิม” (Shaiel Ben-Ephraim) นักวิเคราะห์ชาวอิสราเอล ของเว็บไซต์ “International Policy Digest” ได้ชถี้ งึ การเคลือ่ นไหวของกลุม่ ก่อการร้าย “ดาอิช” (ISIS) ในตะวันออกกลาง โดยเขียนว่า “กลุ่มนี้ เป็นเครือ่ งมือทีด่ ที สี่ ดุ ในการควบคุมอิทธิพลของอิหร่าน ในภูมภิ าคนี้ และถือว่าเป็นกลยุทธ์ของสหรัฐอเมริกาใน การควบคุมดินแดนตะวันออกกลาง” และเขาถือว่ากลุม่ ก่อการร้ายนี้ เป็นเครือ่ งมือทีด่ ที สี่ ดุ ส�ำหรับการบรรลุผล ประโยชน์ของสหรัฐอเมริกาในดินแดนตะวันออกกลาง นายเบนเอฟราอิ ม เขี ย นว่ า : “ในปี 2003 สหรัฐอเมริกา ด้วยกับการโค่นล้ม “ซัดดัม ฮุสเซน” ซึ่ง เป็นคู่แข่งที่ร้ายกาจของอิหร่านลงนั้น ได้ท�ำลายดุลย์ อ�ำนาจในตะวันออกกลางลงไปด้วย นับตั้งแต่เวลานั้น เป็นต้นมา ได้กอ่ ให้เกิดภัยคุกคามในการเปลีย่ นอิหร่าน ให้กลายเป็นอ�ำนาจที่โดดเด่นขึ้นในดินแดนชามาต (หมายถึง บริเวณที่เรียกกันว่า “เลแวนต์” ในปัจจุบัน ซึ่งประกอบด้วยจอร์แดน เลบานอน อิสราเอล ดินแดน ปาเลสไตน์และซีเรีย) และรัฐบาลโดยส่วนใหญ่ของกรุง แบกแดดได้กลายเป็นรัฐบาลชีอะฮ์โดยสื่อของอิหร่าน

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 36 No. 2 MAY-AUGUST 2015

113


ทหารจากเหตุการณ์ครัง้ นัน้ และขณะนีพ้ วกเขาก็ทำ� การ ต่อสู้เคียงบ่าเคียงไหล่กับกลุ่มไอซิซ (ISIS)” ประธานาธิบดีอาร์เจนตินากล่าวว่า : “ดิฉันใน ฐานะที่เป็นประธานาธิบดีของประเทศที่เป็นสมาชิกไม่ ถาวรของคณะมนตรีความมัน่ คง จะขอเรียนถามค�ำถาม หนึ่ง และนั่นก็คือว่า “ใครกันที่เป็นผู้ติดอาวุธให้กับคน เลวเหล่านี้ และกลุม่ ไอซิซ (ISIS) เกิดขึน้ มาได้อย่างไร?” ถ้าสมมติฐานข้างต้นเป็นความจริง นัน่ หมายความ ว่า ความรุนแรงและรูปแบบของความสุดโต่งทีอ่ ยูใ่ นร่าง ทรงของกลุ่มติดอาวุธไอเอสคือ ยุทธวิธีหนึ่งของชาติ มหาอ�ำนาจเพือ่ การเข้าควบคุมในภูมภิ าคตะวันออกกลาง และต้องการจะสกัดกัน้ การขยายตัวของรัฐอิสลามแห่ง อิหร่าน และเป้าประสงค์หลักคือการมิให้รฐั อิสลามทีแ่ ท้ จริงเกิดขึ้นบนโลกใบนี้และต้องการให้ประชาคมโลก มองว่ารัฐอิสลามนั้นเป็นภัยคุมคาม ดังนั้น การปรากฏ ของกลุ่มไอซิซในมิติแห่งความรุนแรงและความสุดโต่ง เป็นตัวชี้วัดที่ดีที่สุดในการจะสกัดกั้นการการก�ำเนิดรัฐ อิสลาม ทั้งๆที่ความเป็นจริงแล้วรัฐอิสลามเป็นรัฐแห่ง ธรรมะเป็นรัฐแห่งการสร้างสันติสขุ และน�ำปวงประชาสู่ ความเป็นรัฐแห่งอารยะ และนีค่ อื โลกาภิวตั น์กบั ตรรกะ ใหม่ของความรุนแรงที่จะอุบัติขึ้น ดังนั้นการยับยั้งมิ ให้เกิดความรุนแรงและเกิดกลุ่มนิยมความรุนแรงอื่นๆ ขึ้นอีกบนโลกใบนี้ คือการตื่นรู้และก้าวให้รู้เท่าทันชาติ มหาอ�ำนาจอย่างสหรัฐฯและชาติตะวันตก มิเช่นนัน้ แล้ว เราก็คงยังต้องติดกับดักหลุมพลางของชาติมหาอ�ำนาจ อยู่ตลอดไป

รัฐบาลดามัสกัสของซีเรียเองก็เป็นพันธมิตรทีล่ กึ ซึง้ ของ อิหร่าน ท�ำให้อหิ ร่านสามารถมีพลังอ�ำนาจในการเผชิญ หน้ากับคู่แข่งทั้งหลาย กลุ่มฮิซบุลลอฮ์และฮามาสซึ่ง เป็นกลุม่ “ก่อการร้าย” ทีไ่ ด้รบั การสนับสนุนจากอิหร่าน นัน้ ก็ได้ขนึ้ มามีอำ� นาจในเลบานอนและในฉนวนกาซา” คริสตินา เฟอร์นนั เดซ ประธานาธิบดีอาร์เจนตินา ได้วพิ ากษ์วจิ ารณ์การสนับสนุนของตะวันตกก่อนหน้านี้ ต่อกลุ่มก่อการร้ายต่างๆ พร้อมกับกล่าวว่า : “หากเรา ต้องการที่จะเอาชนะการก่อการร้ายแล้ว จ�ำเป็นที่เรา ต้องพยายามในการสร้างสันติภาพให้เกิดขึ้น พวกท่าน ไม่สามารถที่จะเอาชนะการก่อการร้ายได้ ด้วยการตี อ้ างอิง กลองโหมโรงไฟสงคราม” ที่มา : เว็บไซต์ข่าว “IRINN และ เว็บไซต์ : ค�ำปราศรัยของเธอถูกสะท้อนอย่างกว้างขวางใน สื่อต่างๆ ทางสังคม เธอได้ย�้ำถึงประเด็นที่ว่า “กลุ่มอัล Sahibzaman .com อิหร่าน ชะตากรรมและความโดดเดี่ยวในเวที กออิดะฮ์ได้รับการฝึกขึ้นมาในยุคของสงครามเย็น เพื่อ ใช้เป็นเครือ่ งมือในการต่อสูก้ บั อดีตสหภาพโซเวียต และ การเมืองโลก บรรดานักต่อสู้จ�ำนวนมากมายได้รับการฝึกอบรมทาง

114

สาส์นอิสลาม : ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.