Payamislam35 1 92

Page 1

สาส์ น อิ ส ลาม MESSAGE OF ISLAM สาส์นแห่งการสืบสานอารยธรรม

‫پيام اسالم‬

ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556 Vol. 35 No. 1 Jีuly - September 2013

172 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 มกราคม - เมษายน 2556


CONTENTs สาส์ น อิ ส ลาม MESSAGE OF ISLAM

สาส์นเพื่อการสืบสานอารยธรรม

‫پيام اسالم‬

ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม-กันยายน 2556 Vol. 35 No.1 July-September 2013 ISSN : 0859-7162 ผู้อ�ำนวยการ : Director มุสฏอฟา นัจญอรียอนซอเดะฮ์ Mostafa Najarian Zadeh บรรณาธิการอ�ำนวยการ : Editor-in-Chief เชคมุฮัมมัด นาอีม ประดับญาติ บรรณาธิการ : Editor อรุณ เด่นยิ่งโยชน์ กองบรรณาธิการ : Section Editor กวีฮัยดัร พุ่มภักดี จะมีลฮัยดัร แสงศรี นูรรีฎอ แสงเงิน อับดุลมาลิก อาเมน อาซียะฮ์​์ พุ่มเพ็ชร ออกแบบรูปเล่ม : Design/Artwork 14 พับลิเคชั่น E-mail : thaqalayn12@gmail.com โทร. 02 7325563 โทรสาร 02 7325564 ผลิตโดย : Published by ศูนย์วัฒนธรรม สถานเอกอัครราชทูต สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ประจ�ำกรุงเทพฯ 106-106/1 ซอยเจริญมิตร สุขุมวิท 63 เอกมัย 10 แยก 6 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทร. 0-2392-2620-2 โทรสาร 0-2392-2623 CULTURAL CENTER THE EMBASSY OF ISLAMIC REPUBLIC OF IRAN BANGKOK 106-106/1 SOI CHAROENMITR SUKHUMVIT 63 EKAMAI 10 YEAK 6 KLONGTON NUA VADHANA BANGKOK 10110 THAILAND

ทรรศนะและความคิดเห็นในนิตยสารนี้ ไม่จ�ำเป็นต้องถือว่าเป็นจุดยืนอย่างเป็นทางการ ของศูนย์วัฒนธรรมฯ เรายินดีต้อนรับข้อเขียน จากนักเขียนและนักวิชาการทั่วไป ขอสงวนสิทธิ์ ในการคัดเลือกและตัดตอนข้อความที่ไม่สมควร โดยไม่ปิดบังความหมายของผู้เขียน และผู้เขียนบทความนั้นๆจะเป็นผู้รับผิดชอบ บทความของตน

สารบัญ

หน้า

ค�ำปราศรัยของ ฯพณฯ ผู้น�ำสูงสุด ทางจิตวิญญาณ เนื่องในวาระครบรอบ วันอสัญกรรมของท่านอิมามโคมัยนี (รฮ.) ฮ.ศ. 1434 5 ค�ำปราศรัยของ ฯพณฯ ผู้น�ำสูงสุด ทางจิตวิญญาณ ในวาระที่นักกอรี นานาชาติเข้าพบ 11 ค�ำปราศรัยของ ฯพณฯ ผู้น�ำสูงสุด ทางจิตวิญญาณ ในวาระวันมับอัษ ท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ.) 15 บทบัญญัติรัศมีแห่งทางน�ำ 21 ค�ำอรรถาธิบายอัลกุรอาน บทอัลบะเกาะเราะฮ์ 29 รอมฎอนในค�ำสอนของอะห์ลุลบัยต์ (อ.) 39 การเตรียมตัวเพื่อรอคอยการมา ของอิมามมะฮ์ดี (อญ.) 44 กรุอานวิทยา 66 รหัสวิทยา อิรฟานอิสลาม 71 รัฐบาลในแนวคิดการปฏิบัติของ อิมาม อะลี อิบนิ อะบีฏอลิบ (อ.) 77 ค�ำตอบจากปราชญ์แห่งอัลกุรอาน 86 ส�ำนักคิดปรัชญาปรีชาญาณสูงสุด อัลฮิกมะตุล มุตะอาลียะห์ 94 งานสัมมนา 50 ปีกับการพัฒนา ทางจิตวิญญาณของ ท่านอิมามโคมัยนี (รฮ.) 102 การจัดงานความสัมพันธ์ กุม (อิหร่าน) -อยุธยา 120

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 1


EDITORIAL บทบรรณาธิการ

http// Bangkok.icro.ir

ด้วยพระนามของอัลลอฮ์พระผู้ทรงเมตตา พระผู้ทรงกรุณาปรานีเสมอ

ท่านอิมาม โคมัยนี (รฮ.) ความสัตย์จริงที่คงอยู่ตลอดกาล และผู้เรียกร้องการตื่นตัวของโลกอิสลาม

“บรรดาชายผู้ที่การค้าและการขายมิได้ท�ำให้พวกเขาหันห่างออกจากการร�ำลึกถึงอัลลอฮ์และการด�ำรง การนมาซ และการจ่ายซะกาต เพราะพวกเขากลัววันที่หัวใจและสายตจะเหลือกลานในวันนั้น เพื่ออัลลอฮ์จะทรง ตอบแทนพวกเขาอย่างดี่เยี่ยม ตามที่พวกเขาได้กระท�ำไว้ และพระองค์จะทรงเพิ่มให้พวกเขาอีกจากความโปรดปราน ของพระองค์ และอัลลอฮ์ ทรงประทานปัจจัยยังชีพที่พระองค์ทรงประสงค์ โดยปราศจากการค�ำนวณ” (ซูเราะห์นูร โองการที่ 37-38) ขอความสันติ จงมีแด่ท่าน โอ้รูฮุลลอฮ์ ผู้ที่เป็นบ่าวที่ดี เป็นผู้ปฏิบัติ เชื่อฟังต่อพระองค์อัลลอฮ์ ศานทูตของ พระองค์ และบรรดาอะอิมมะห์ของเหล่าผู้ศรัทธา ขอความสันติ แด่บรรดาชุฮะดา ผู้พลีชีพ และผู้ประพฤติคุณงาม ความดี ขอความสันติ จงมีแด่ดวงวิญญาณที่สูงส่ง ที่ท�ำให้ความจริงปรากฎอยู่ตลอดกาล จากอดีตสู่การตื่นตัวของ โลกอิสลาม ซึ่งระยะเวลาครึ่งศตวรรษที่ประวัติศาสตร์ ได้กล่าวจารึกในเรื่องราวความเป็นอิสระเสรีภาพ และการตื่นตัว ของโลกอิสลาม ด้วยการบันทึกและจารึกชื่เสียงอันมีเกียรติของท่าน อีกทั้งได้ให้การยกย่อง ที่ท่านได้ท�ำให้ประชาชาติ ทั้งหลายได้รับอิสระ จนกระทั้งปัจจุบันนี้ นามอันมีเกียรติของท่านได้ถูกกล่าวขานว่า ท่านนั้นเป็นผู้น�ำที่ท�ำให้ศรัทธา ของเหล่าบรรดานักต่อสู้ได้มีก�ำลังใจ ที่จะก้าวเดินตามแนวทางของท่าน ขอความสันติ จงมีแด่ตัวแทนของท่าน คือท่า นอิมาม คามาเนอีย์ ขอพระองค์อัลลอฮ์ทรงฃปกป้องท่านด้วยเทอญ เดือนคุ้รดอด (เดือนที่สามตามสุรยคติของอิหร่าน) ของทุกๆปี จะเป็นเดือนแห่งการร�ำลึกจากการอสัญกรรม ของท่านรูฮุลลอฮ์ ท่านเป็นมัรญิอ์ที่สูงส่ง เป็นนักรบในช่วงปีทั้งหลายที่ผ่านมา ท่านคือ ผู้น�ำสูงสุดทางจิตวิญญาณ จากฮุซัยนียะห์ญะมาอรน ด้วยความเช่อมั่นยังพระผู้อภิบาล พระผู้ทรงมีอยู่นิจนิรันดร ท่านยังเป็นผู้จุดประกายด้วย ศรัทธา ภักดีต่อพระผู้เป็นเจ้า และทิ้งไว้ซึ่งแนวทางการตื่นตัวของโลกอิสลาม ท่านอิมาม โคมัยนี (รฮ.) ท่านคือ แสงแห่งดวงาทิตย์ที่น�ำทางการตื่นตัวของอิสลาม โดยใช้หนทางของการ เป็นผู้ปกคาอง ซึ่งบันทึกจากหน้าประวัติศาสตร์นั้น ได้จดบันทึกเกียรติประวัติของท่านไว้อย่างถูกต้องว่า ท่านเป็นผู้ ปกครอง เป็นอิมาม อันเป็นสุดที่รัก เป็นแบบอย่างในการแสดงออก ซึ่งศรัทธา และความย�ำเกรง ซึ่งท่านไม่เกรงกลัว อ�ำนาจใด เว้นเสียแต่อ�ำนาจของพระองค์อัลลอฮ์ (ซ.บ.) ท่านเป็นผู้ยืนหยัดด้วยความเข้มแข็ง ต่อสู้กับการทุจริต การ เบี่ยงเบนจากความสัตย์จริง และด้วยเหตุนี้เอง ทีทท�ำให้จิตใจของเหล่าบรรดามนุษยชาตินักล้านๆ ดวงต่างก็จดจ�ำ บันทึกแห่งหน้าประวัติศาสตร์ว่า แท้จริงยังมีบุรุษหนึ่งที่ตลอดกาลนั้นชื่อเสียง เกียรติยศยังคงมีชีวิตเป็นแบบอย่างอัน ดีงามอยู่ 2 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556


ท่านอิมาม มัยนี (รฮ.) วีรกรรมการยืนหยัดต่อสู้ของท่าน ตั้งแต่เริ่มแรกนั้น คือแบบอย่างของแนวทางการตื่น ตัวส�ำหรับบรรดาผู้ถูกกดขี่ทั้งหลาย ค�ำพูดของท่านอิมาม คือค�ำพูดที่ถูกฝังอยู่ในจิตใจของประชาชน และยังเป็นก�ำลัง ใจให้แก่ประชาชนอยู่เสมอว่า ท่านอิมามได้กล่าวว่า : “ชื่อเสียงเกียรติยศของบุคคลนั้น ซึ่งเขาเป็นผู้ที่พยายามอย่าง ยิ่งในการรักษาแบบอย่างที่ดีงาม ด้วยความถูกต้อง” และนี่คือแนวความคิดของท่านอิมามผู้ล่วงลับ (รฮ.) อิมามผู้ซึ่ง ไม่เคยก้มศรีษะของท่านให้แก่ผู้กดขี่คนใดในโลก เว้นเสียการเคารพภักดีต่อองค์พระผู้อภิบาลแห่งสากลโกล เพียง พระองค์เดียวเท่านั้น ท่านมุ่งหวังและสัญญามั่นต่อพระผูเป็นเจ้าว่า ชัยขนะนั้นจะต้องเกิดจากการศรัทธาที่มั่นคง ต่อพระองค์อัลลอฮ์ (ซ.บ.) เพียงพระองค์เดียว ท่านอิมาม โคมัยนี (รฮ.) ได้รับการยอมรับให้เป็นผู้น�ำต่อประชาชาติผู้ ที่ยากไร้ในโลกนี้ และเป็นผู้จุดประกายความถูกต้อง ด้วยการเสนอแนวทางของการตื่นตัวในการที่จะต้องตามผู้น�ำ ทาง และท่านยังเป็นความหวังของเหล่าบรรดาผู้ยากไร้ อีกทั้งยังเป็นแสงสว่างทางน�ำแห่งศรัทธาในดวงจิตของบรรดา มุสลิมอีกด้วย เช่นกันท่านอิมามโคมัยนี (รฮ.) ท่านยังเป็นแบบอย่างหนึ่ง ในเรื่องของวัฒนธรรม ซึ่งด้วยจิตวิญญาณของท่าน คือแบบอย่างในแนวทางของการตื่นตัว และมอบความไว้วางใจยังพระผู้เป็นเจ้า ผู้ทรงมีอยู่ชั่วนิจนิรันดร ท่านอิมามผู้ เป็นสุดที่รัก คือแบบอย่างของบ่างที่อ่อนน้อม และการเคารพภักดีต่อพระผู้เป็นเจ้า การยืนหยัดของท่านที่มีบรรดาฏ อกูต ผู้กดขี่ ก็เพื่อองค์พระผู้อภิบาลเท่านั้น และเวลานี้หลังจากระยะเวลาที่ผ่านมาถึง 50 ปี ตั้งแต่เริ่มแรกของการยืน หยัดต่อสู้จนถึงการตื่นตัวของโลกอิสลาม ก็คือแตวทางทีท่านอิมามผู้เป็นสุดที่รักได้ปฏิบัติไว้ ดังจะพบเห็นว่า แนวทาง ในการปฏิบัติตัว และแนวความคิดของท่านอิมามผู้ล่วงลับ (รฮ.) นั้นเป็นแบบอย่างของการด�ำเนินชีวิตอันเรียบง่าย ที่ มนุษยชาติผู้รักสันติ จะได้เรียนรู้จักว่า ในสถานที่ต่างๆของโลกนี้ มีอะรที่เกิดขึ้นในการเปลี่ยนแปลงไปบ้าง โดยเฉพาะ สิ่งที่ท่านอิมามผู้ล่วงลับ (รฮ.) ได้กระท�ำไว้ อีกทั้งยังทิ้งมรดกอันล�้ำค่าสวยงาม คือท่านอิมาม คามาเนอีย์ (ขออัลลอฮ์ ทรงปกป้องท่าน) มาเป็นผู้น�ำการปฏิวัติอิสลาม และท่านอิมาม คือผู้สถาปนาที่ยิ่งใหญ่ของสาธารณรัฐอิสลามแห่ง อิหร่าน ที่นามของท่านอิมาม โคมัยนี (รฮ.) นั้นจะคงอยู่ตลอดไป เป็นความถูกต้องในหน้าประวัติศาสตร์ ท่านอิมาม โคมัยนี (รฮ.) เป็นนักต่อสู้ ผู้ที่เสียสละ จนถึงยุคสมัยที่บรรดา มนุษยชาติเริ่มที่จะตื่นตัวยืนขึ้น และเรียกร้องเสรีภาพในโลกใบนี้ เป็นความถูกต้องว่าสิ่งนี้จะมีอยู่ตลอดกาลเสมอ เหมือนดังเปาหมายของท่านอิมาม ที่ท่านมุ่งหวังที่จะเปี่ยนแปลงจิตใจของบรรดาผู้ถูกกดขี่ให้ลุกขึ้นต่อสู้ จากเวลาที่ ผ่านไปปีแล้วปีเล่า จนกระทั้งแสงแห่งดวงอาทิตย์นั้นลับขอบฟ้า การจากไปของท่านอิมาม แต่แนวทางและอุดมการ เป้าหมายของท่านก็คงยังอยู่ เป็นแบบอย่างที่จะน�ำพาผู้คน ที่มีลักษณะที่แตกต่างกันให้หันหน้ามาภักดีต่อพระผู้เป็น เจ้า เพียงพระองค์เดียวได้ และด้วยจิตวิญญาณที่ยิ่งใหญ่ของท่าน ที่ท�ำให้สังคมประชาชาติในยุคปัจจุบัน ต่างก็กล่าว ขานชื่นชมชื่อเสียงเกียรตืยศของท่าน อีกทั้งพร้อมที่จะน�ำแนวทางการต่อสู้ของท่านมาปฏิบัติตาม วันแล้วันเล่า ชื่อ เสียงเกียรติยศของท่านก็ถูกฝังลึกกลางจิตใจของผู้ที่รักท่าน เราขอวิงวอน ขอพรจากพระผู้เป็นเจ้า ขอให้แนวทางการเรียกร้องสิทธิเสรีภาพตามห่นทางของท่านอิมาม แห่งยุคสมัย มะห์ดี อัรวาฮุนา วะอัรวาฮุลอาละมีน ของหท่านผู้น�ำสูงสุดทางจิตวิญญาณในยุคปัจจุบัน หลังจากการ จากไปของท่านอิมามผู้ล่วงลับ (รฮ.) ได้รับการปกป้อง ขอให้แนวทางการตื่ตัวของโลกอิสลามได้รับชัยชนะภายใต้ การน�ำของผู้เป็นฟะกีฮ์ของโลก ผู้ที่มีความเป็นธรรม เข้มแข็ง ผู้ที่มีความย�ำเกรง และเป็นผู้ปกครองบรรดามุสลิมโลก คือท่านอายะตุลลอฮ์ อัลอุซมา อิมาม อะลี คามาเนอีย์ ผู้เป็นวิลายัต ผู้น�ำของประชาชาติมุสลิมโลก ได้รับการปกป้อง จกาองค์พระผู้อภิบาลแห่งสากลโลกด้วยเถิด

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 3


และเช่นกันพวกเราจะไม่ขอลืมท่านอิมามของเรา สิ่งต่างๆที่ท่านได้ถือปฏิบัติไว้ เท่ากับเป็นหน้าที่ของเราที่ จะต้องปฏิบัติตาม จนกระทั้งท่านได้มอบหมายให้พวกเราต้องปฏิบัติตาม ฯพณฯ ผู้น�ำสูงสุด คือท่านอิมาม คามาเนอี ย์ (ขออัลลอฮ์ทรงปกป้องท่าน) เราขอเป็นหนึ่งในผู้พิทักษ์ท่าน อีกทั้งเป็นผู้หนึ่งที่อยู่ร่วมกับท่าน ในการรอคอยการกลัล คืนมาของท่านอิมามแห่งยุคสมัย ที่ประฃาชาติต่างวิงวอนดุอาอ์เฝ้ารอคอยท่านอยู่ เราก็อ่านกล่าวแด่ท่านว่า : “ข้าฯ แต่พระองค์อัลลอฮ์ ขอได้ทรงเร่งรีบการมาปรากฎผู้ปกครองของพระองค์ท่านด้วยเถิด และขอให้พวก เราได้เป็นผู้ตาม และเป็นชีอะห์ เป็นผู้ร่วมในภารกิจหน้าที่กับท่านอิมามแห่งยุคสมัยด้วยเถิด” วัสลามุ อะลา อับดิลลาฮิศศอลิฮีน มุศฏอฟา นัจยารียอน ซอเดะฮ์ Mostafa Najjarian Zadeh ที่ปรึกษาฝ่ายวัฒนธรรม สถานเอกอัครราชทูต สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน กรุงเทพฯ

4 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556


ถอดความโดย

เชคมุฮัมมัดนาอีม ประดับญาติ

ค�ำปราศรัย

เนื่องในวาระครบรอบ วันอสัญกรรมของ อิมามโคมัยนี (รฮ.) ฮ.ศ. 1434 3 ความเชื่อมั่น ปัจจัยแห่งชัยชนะของ ท่านอิมามโคมัยนี

ามความเชื่ อ มั่ น ที่ มี อ ยู ่ ใ นตั ว ท่ า นอิ ม าม ผู้มีเกียรติของเรา ซึ่งสามความเชื่อมั่นนี้ เองที่ท�ำให้ท่านมีความหนักแน่นมั่นคง มีความกล้า หาญและเกิดการยืนหยัด นั่นคือ : ความเชื่อมั่นใน พระผู้เป็นเจ้า ความเชื่อมั่นในประชาชนและความเชื่อ มั่นในตัวเอง ความเชื่อมั่นเหล่านี้ได้ส�ำแดงออกมาให้

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 5


“บรรดาผู้ซึ่งประชาชนได้กล่าวแก่พวกเขาว่า แท้จริงหมู่ชนได้รวมตัวกันเพื่อ (ท�ำสงครามกับ) พวก ท่าน ดังนั้นพวกท่านจงกลัวพวกเขาเถิด แต่ (ค�ำข่มขู่ นั้น) มันกลับเพิ่มพูนความศรัทธามั่นแก่พวกเขา และ พวกเขากล่าวว่า อัลลอฮ์ก็ทรงเพียงพอแก่เราแล้ว และ ทรงเป็นผู้รับมอบหมายที่ดีเยี่ยมที่สุด” (1) ّ‫( حسبنَا ُه‬อัลลอฮ์ ก็ทรง ُ ‫الل َون ِْع َم ا ْل َوك‬ ประโยค ‫ِيل‬ ُ ْ َ เพียงพอแก่เราแล้ว และทรงเป็นผู้รับมอบหมายที่ดี เยีย่ มทีส่ ดุ ) นีเ้ องทีท่ า่ นอิมามได้ปฏิบตั ติ ามอย่างแท้จริง และมีความเชือ่ มัน่ ต่อมันอย่างเต็มที่ ท่านอิมามมีความ ไว้วางใจต่อพระผู้เป็นเจ้าผู้ทรงสูงส่ง มีความมั่นใจต่อ ค�ำมั่นสัญญาของพระผู้เป็นเจ้า เคลื่อนไหว ท�ำหน้าที่ พูดและด�ำเนินการเพือ่ พระผูเ้ ป็นเจ้า และท่านเชือ่ มัน่ ว่า เห็นในความหมายที่แท้จริง ในการด�ำรงอยู่ของท่านอิ มาม ในการตัดสินใจของท่านอิมามและในทุกๆ การ เคลื่อนไหวของท่านอิมาม ท่านอิมามพูดกับประชาชน ด้วยหัวใจของท่ าน ดังนั้นประชาชนจึงตอบรับท่าน ด้วยจิตวิญญาณของพวกเขา พวกเขาออกมาสู่สนาม และยืนหยัดขึ้นอย่างลูกผู้ชาย เป็นการเคลื่อนไหวหนึ่ง ซึ่งไม่มีสายตาแห่งความเมตตาจากจุดใดในโลกมอง มายัง มัน เพือ่ ทีจ่ ะยืน่ มือให้การช่วยเหลือ มันค่อยๆ ขับ เคลือ่ นไปสูท่ ศิ ทางของชัยชนะทีละน้อยๆ และในทีส่ ดุ ก็ ไปถึงชัยชนะ ข้าพเจ้า จะขออธิบายสามความเชื่อนี้ที่มีอยู่ใน ตัวท่านอิมามสักเล็กน้อย ประเด็นเหล่านี้เป็นประเด็น ที่มีความส�ำคัญ โดยที่หากมันได้เปิดพื้นที่ขึ้นในหัวใจ ของเรา มันจะท�ำให้ทิศทางการขับเคลื่อนของเราเกิด ความชัดเจน ความเชื่อมั่นในพระผู้เป็นเจ้า : ท่านอิมามคือ ตัวอย่างของโองการอัลกุรอานที่กล่าวว่า ‫اس ق َْد َج َم ُعو ْا لَك ُْم‬ َ ‫اس إ ِ َّن ال َّن‬ ُ ‫ال َّذِ ي َن قَا َل ل َ ُه ُم ال َّن‬

ّ‫إ ِ ْن ت َ ْنصروا َ​َه‬ ‫الل يَ ْن ُص ْرك ُْم‬ ُ ُ

“หากพวกเจ้าช่วยเหลืออัลลอฮ์ พระองค์กจ็ ะทรง ช่วยเหลือพวกเจ้า” (2) มันคือค�ำมั่นสัญญาแห่งพระผู้เป็นเจ้า มันคือสิ่ง ที่จะเกิดขึ้นอย่างแน่นอนและจะไม่ถูกบิดพลิ้ว ความเชือ่ มัน่ ในประชาชน : ท่านอิมามผูม้ เี กียรติ รูจ้ กั ประชาชนอิหร่านอย่างแท้จริง ท่านอิมามเชือ่ มัน่ ว่า ประชนชนเหล่านี้คือประชาชนที่มีความศรัทธาอย่าง ลึกซึ่ง มีความชาญฉลาดและกล้าหาญ หากมีผู้น�ำที่มี ความคู่ควรอยู่ในท่ามกลางพวกเขา ประชาชนเหล่านี้ สามารถจะส่องแสงเรืองรองในสนามต่างๆ ได้ประหนึ่ง ดั่งดวงอาทิตย์ ท่านอิมามยอมรับในเรื่องนี้ แม้ว่าวัน หนึ่งมีคนที่ไม่คู่ควรอย่างเช่น ชาฮ์ สุลต่านฮูเซน ซึ่งเป็น สาเหตุทำ� ให้ประชาชนอิหร่านต้องตกอยูใ่ นข้อจ�ำกัดของ ตนเอง แต่ในอีกวันหนึ่งก็มีบุรุษผู้กล้าหาญ อย่างเช่น นาดิร กุลี ผู้ที่ไม่มีชื่อเสียงเรืองนามใดๆ (ในขณะนั้น) เมือ่ เขาปรากฏตัวขึน้ ท่ามกลางประชาชน และรับหน้าที่ การเป็นผู้น�ำประชาชนด้วยความกล้าหาญ ประชาชน เหล่านี้จึงสามารถแผ่ขยายสนามการเคลื่อนไหวที่น่า ّ‫ُه‬ ‫َاخ َش ْو ُه ْم فَ َزا َد ُه ْم إِي َماناً َوقَالُو ْا َح ْس ُبنَا الل َون ِْع َم‬ ْ ‫ ف‬ภาคภูมิใจของตนเอง จากนิวเดลีไปจนถึงทะเลสีด�ำ ท่ า นอิ ม ามได้ เ ห็ น สิ่ ง นี้ และประจั ก ษ์ ถึ ง สิ่ ง ที่ ُ ‫ا ْل َوك‬ ‫ِيل‬ 6 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556


คล้ายคลึงกันนี้ในประวัติศาสตร์ ท่านมีความเชื่อมั่น และศรัทธาต่อประเด็นนี้ ท่านรู้จักประชาชนอิหร่าน ท่านไว้วางใจต่อประชาชนอิหร่าน ความศรัทธาที่ลึก ซึ้งของประชาชนที่ถูกซ่อนอยู่ภายใต้สิ่งปกคลุมต่างๆ ที่ถูกสร้างขึ้นโดยพวกที่ลุ่มหลงในวัตถุทั้งหลาย ท่านอิ มามผูม้ เี กียรติได้ทำ� ให้ความศรัทธาอันลึกซึง้ และมัน่ คง นี้เปล่งประกายขึ้น ท่านได้ปลุกกระตุ้นความหวงแหน ในศาสนาของประชาชนขึ้น ท�ำให้ประชาชนอิหร่าน กลายเป็นแบบอย่างของการยืนหยัดต่อสู้และมีวิสัย ทัศน์ (บะซีเราะฮ์) ในที่สุด ประชาชนในสายตาของท่า นอิมามนั้นเป็นที่ควรเคารพและมีเกียรติที่สุด และศัตรู ของประชาชนเป็นที่ชิงชังมากที่สุด สิ่งที่พวกท่านเห็น จากการยืนหยัดอย่างมัน่ คงของท่านอิมามในการเผชิญ หน้ากับ บรรดามหาอ�ำนาจผูค้ รอบง�ำอย่างไม่หยุดนิง่ แม้ เพียงชั่วขณะเดียวนั้น ส่วนใหญ่เกิดจากสิ่งนี้นั่นเอง ที่ ว่าบรรดามหาอ�ำนาจผูค้ รอบง�ำคือศัตรูของความผาสุก ของประชาชน และท่านอิมามถือว่าศัตรูของประชาชน ก็คือศัตรูของท่าน ความเชือ่ มัน่ ในตัวเอง : เกีย่ วกับความเชือ่ มัน่ ใน ตัวเองนั้น ท่านอิมามได้สอนประชาชนอิหร่านว่า “เรา ท�ำได้” ก่อนที่ท่านอิมามจะแนะน�ำและสอนประชาชน อิหร่านว่า “เราท�ำได้” นัน้ ท่านได้ทำ� ให้คำ� ว่า “เราท�ำได้” นี้มีชีวิตขึ้นมาจากตัวของท่านเอง ท่านได้ท�ำให้ความ เชื่อมั่นในความสามารถของตัวเองเป็นที่ประจักษ์และ ปรากฏให้ เห็นอย่างแท้จริง ในวันอาชูรอของปี 42 ใน ขณะที่ท่านอิมามอยู่เพียงล�ำพังท่ามกลางนักศึกษา ศาสนาและประชาชนของเมืองกุม ในโรงเรียนฟัยซี ยะฮ์ ท่านได้ขู่มุฮัมมัด ริฎอชาฮ์ ที่ก�ำลังท�ำการปกครอง ประเทศด้วยการพึง่ พิงอยูก่ บั อเมริกาและบรรดาอ�ำนาจ ต่าง ชาติอย่างไม่มีเงื่อนไขและไม่ลืมหูลืมตาว่า หาก เจ้ายังขืนขับเคลื่อนไปแบบนี้ ยังคงด�ำเนินแนวทางเช่น นี้ต่อไป ฉันจะกล่าวกับประชาชนให้ขับไล่เจ้าออกไป จากอิหร่าน! ค�ำพูดนีใ้ ครเป็นผูก้ ล่าวกระนัน้ หรือ นักการ ศาสนาคนหนึ่งที่ อาศัยอยู่ในเมืองกุม ไม่มีทั้งอาวุธ ไม่

ทั้งปัจจัยใดๆ ไม่มีเงินและไม่มีการสนับสนุนใดๆ จาก ต่างชาติ ท่านอาศัยความศรัทธาในพระผู้เป็นเจ้าและ ความเชือ่ มัน่ ในตนเองเพียงเท่านัน้ ทีท่ ำ� ให้ทา่ นสามารถ ยืนหยัดอยู่ในสนามนี้ได้ วันที่ท่านอิมามกลับมาจาก การถูกเนรเทศ ณ (สุสาน) เบเฮชตีซะฮ์รอนี่เองที่ท่าน ได้ประกาศกับรัฐบาลของนายบัคเทียร์ด้วยเสียงดัง ว่า ฉันจะชกเข้าไปที่ปากของรัฐบาลของนายบัคเทียร์ ฉัน จะก�ำหนดรัฐบาลเอง นี่ก็คือความเชื่อมั่นในตนเอง ท่า นอิมามมีความศรัทธาและเชื่อมั่นในก�ำลังและความ สามารถของตนเอง ความเชือ่ มัน่ ดังกล่าวทีม่ อี ยูใ่ นการก ระท�ำและในค�ำพูดของท่านอิมามนี้ ถูกถ่ายทอดมาสู่ ประชาชนชาวอิหร่าน บรรดาผู้เป็นที่รักของข้าพเจ้า! เป็นเวลานับร้อย ปีที่พวกเขาพยายามปลูกฝังเราชาวอิหร่านว่า พวก ท่านท�ำไม่ได้ พวกท่านไม่สามารถที่จะบริหารประเทศ ของพวกท่านได้ พวกท่านไม่สามารถจะมีเกียรติศักดิ์ ศรีได้ พวกท่านไม่สามารถที่จะสร้างและผลิตสิ่งใด ได้ พวกท่านไม่สามารถที่จะขับเคลื่อนในสนามของ วิทยาศาสตร์และอื่นๆ เราเองก็หลงเชื่อเช่นนั้น

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 7


หนึง่ ในเครือ่ งมือทีม่ ปี ระสิทธิภาพของบรรดาศัตรู ในการครอบง�ำประเทศทัง้ หลาย ก็คอื การพร�ำ่ สอนเช่นนี้ ว่า "พวกท่านท�ำไม่ได้" ซึง่ ท�ำให้ประชาชาติทงั้ หลายเกิด ความผิดหวัง โดยที่พวกเขาจะกล่าวว่า เราไม่สามารถ จะท�ำอะไรได้ ด้วยกุศโลบายเช่นนี้ เป็นเวลานับร้อยปี ที่ท�ำให้ประชาชนอิหร่านได้ล้าหลังในสนามต่างๆ ทาง ด้านการเมือง วิทยาศาสตร์ เศรษฐศาสตร์และสนาม ต่างๆ ของการด�ำเนินชีวิตทั้งหมด ท่านอิมามได้พลิก เรื่องราว ท่านได้ยึดเอาเครื่องมือในการครอบง�ำของ เหล่ามหาอ�ำนาจกลับคืนมา ท่านกล่าวกับประชาชน อิหร่านว่า "พวกท่านสามารถท�ำได้" ท่าน ได้เรียกคืน ความกล้าหาญกลับมาสู่พวกเรา ท�ำให้การตัดสินใจ และความมุ่งมั่นกลับคืนมาสู่พวกเรา ท่านได้น�ำเอา ความเชื่อมั่นในตัวเองกลับมาสู่พวกเรา เราประชาชน ชาวอิหร่านได้รู้สึกแล้วว่า เราสามารถท�ำได้ เราได้ขับ เคลื่อน เราได้ลงมือปฏิบัติแล้ว ด้วยเหตุนี้เองประชาชน อิหร่านในทุกๆ สนาม ซึ่งข้าพเจ้าจะขอกล่าวถึงช่วง สามสิบกว่าปีมานี้ที่เราได้รับชัยชนะแล้ว ความเชื่อมั่นสามประการนี้ของท่านอิมาม คือ ความเชือ่ มัน่ ในพระผูเ้ ป็นเจ้า ความเชือ่ มัน่ ในประชาชน

8 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

และความเชื่อมั่นในตนเอง ได้กลายเป็นหลักเกณฑ์ ส� ำ คั ญ ของการตั ด สิ น ใจ การด� ำ เนิ น นโยบายต่ า งๆ ของท่านในช่วงเริ่มต้นขบวนการต่อสู้ สามความเชื่อ มั่นนี้ได้ให้พลังอ�ำนาจแก่ท่านอิมาม เช่นเดียวกันนี้ ใน ช่วงเวลาของการถูกเนรเทศ ในช่วงเวลาที่ท่านอิมาม ย้ายไปยังกรุงปารีส และในช่วงเวลาที่ท่านกลับมายัง อิหร่าน ด้วยสามความเชื่อมั่นดังกล่าวนี้เช่นกันที่ได้ให้ พลังอ�ำนาจนีแ้ ก่ทา่ นอิมาม ซึง่ ท่านได้เข้าสูเ่ ตหะรานใน สถานการณ์เช่นนัน้ ในเหตุการณ์ของเดือนบะฮ์มนั ปี 42 ในท่ามกลางวิกฤติต่างๆ ภายในประเทศ การประกาศ ระบอบสาธารณรัฐอิสลาม การยืนหยัดขึน้ อย่างชัดเจน ในการเผชิญหน้ากับการจัดระเบียบโลกใหม่ของผู้กด ขี่ การประกาศค�ำขวัญ "ไม่มีตะวันออกและไม่มีตะวัน ตก" สงคราม ที่ถูกบังคับ (สงครามอิรัก-อิหร่าน) และ ทุกสถานการณ์ในช่วงสิบปีทเี่ ต็มไปด้วยเหตุการณ์ตา่ งๆ ในชีวิตของท่านนั้น สามความเชื่อมั่นนี้ปรากฏชัดอยู่ ในตัวของท่านอิมาม ซึ่งที่มาของการตัดสินใจของท่าน ที่เป็นบ่อเกิดของการด�ำเนินการของท่านอิมาม และ แหล่งที่มาของนโยบายต่างๆ ของท่านอิมาม ก็คือสาม ความเชื่อมั่นนี้เอง


จวบจนถึงช่วงวันสุดท้ายของชีวิต ไม่มีใครเคย พบเห็นเครือ่ งหมายทีแ่ สดงถึงความเหนือ่ ยหน่าย ความ ลังเลใจ ความเหนื่อยล้า ความถดถอยและการหยุดนิ่ง ในค�ำพูดและการกระท�ำของท่านอิมามผู้มีเกียรติเลย นักปฏิวัติจ�ำนวนมากของโลก เมื่อผ่านพ้นวัยหนุ่มแน่น มาถึงวัยชรา พวกเขาจะประสบกับความลังเลใจ กลาย เป็นพวกอนุรักษ์นิยม กระทั่งว่าบางครั้งได้เปลี่ยนค�ำ พูดต่างๆ ที่เป็นหลักการของตนไปเสียด้วยซ�้ำ ค�ำพูด ของท่านอิมามในช่วงปีท้ายๆ ของอายุขัยนั้น บางครั้ง เป็นค�ำพูดที่แสดงถึงความเป็นนักปฏิวัติยิ่งกว่าในช่วง ปี 42 เสีย อีก มีความร้อนแรงยิ่งกว่า แข็งแกร่งยิ่งกว่า แม้ตัวท่านจะแก่ชรา แต่หัวใจของท่านยังหนุ่มแน่น จิต วิญญาณของท่านยังมีชีวิตชีวา และนี่ก็คือการยืนหยัด ที่คัมภีร์อัลกุรอานได้กล่าวว่า

َّ ‫َوأ َ ْن ل َ ِو ْاس َتقَا ُموا َعلَى‬ ً‫الطرِي َق ِة ألَ ْس َق ْي َنا ُه ْم َماء‬ ً‫َغ َدقا‬ “และหากพวกเขายื น หยั ด อย่ า งมั่ น คงอยู ่ บ น แนวทางทีเ่ ทีย่ งตรง แน่นอนเราก็จะให้พวกเขาได้ดมื่ น�ำ้ อันอุดม (ความดีงามอันมากมาย)” (3) ในอีกโองการหนึ่งได้กล่าวว่า

ّ‫إ ِ َّن ال َّذِ ي َن قَالُوا َرب َنا َُه‬ ‫الل ث َُّم ْاستَقَا ُموا تَتَ َن َّز ُل‬ ُّ ‫َعلَ ْي ِه ُم ا ْل َم اَلئِ َك ُة‬

“แท้จริงบรรดาผูท้ กี่ ล่าวว่า องค์พระผูอ้ ภิบาลของ เราคืออัลลอฮ์ ต่อจากนั้นพวกเขาก็ยืนหยัดอย่างมั่นคง บรรดาทวยเทพ (มะลาอิกะฮ์) จะลงมายังพวกเขา” (4) สามความเชือ่ มัน่ นีเ้ องทีท่ ำ� ให้ทา่ นอิมามยังคงมี ชีวิตชีวาอยู่ ยังคงท�ำให้ท่านหนุ่มแน่น ท�ำให้ความคิด ของท่านอิมาม เส้นทางของท่านอิมามและแนวทาง ของท่ า นอิ ม ามคงอยู ่ อ ย่ า งมั่ น คงและถาวรส� ำ หรั บ ประชาชาตินี้ แล้วความเชื่อมั่นทั้งสามนี่ก็ค่อยๆ เกิด ขึน้ กับประชาชนของเรา คนหนุม่ สาวของเราและกับชน ทุกหมู่เหล่า ความหวังได้ปรากฏขึ้น ความเชื่อมั่นในตัว เองได้ปรากฏขึ้น ความไว้วางใจในพระผู้เป็นเจ้าได้เกิด

ขึ้น สิ่งเหล่านี้ได้เข้ามาแทนที่ความสิ้นหวัง แทนที่ภาพ ที่มืดมัว แทนที่การมองในแง่ร้าย ประชาชนอิหร่านได้ เปลี่ยนแปลงสภาพจิตวิญญาณของตัวพวกเขาเอง พระผูเ้ ป็นเจ้าผูท้ รงสูงส่งจึงทรงเปลีย่ นแปลงสภาพของ พวกเขา ّ‫إ ِ َّن َ​َه‬ ‫الل ال يُ َغ ِّي ُر َما بِق َْو ٍم َح ّتَى يُ َغ ِّي ُروا َما بِأَنفُسِ ِه ْم‬ “แท้จริงอัลลอฮ์จะไม่ทรงเปลีย่ นแปลงสภาพของ หมูช่ นใด จนกว่าพวกเขาจะเปลีย่ นแปลงสภาพด้วยตัว

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 9


ของพวกเขาเอง” (5) ประชาชนอิหร่านได้แก้ไขปรับปรุงแนวทางการ เคลื่อนไหวและแรงบันดาลใจต่างๆ ของตน พระผู้เป็น เจ้าผู้ทรงสูงส่งจึงทรงช่วยเหลือพวกเขา ทรงให้การ สนับสนุนพวกเขา ให้การค�้ำจุนพวกเขา แล้วผลเป็น อย่างไร ผลก็คือ อิหร่านที่เคยพึ่งพาผู้อื่นได้กลายเป็น อิหร่านที่เป็นอิสระ หมายเหตุ (1) (2) (3) (4) (5)

ซูเราะฮ์อาลิอิมรอน อายะฮ์ที่ 173 ซูเราะฮ์มุฮัมมัด อายะฮ์ที่ 7 ซูเราะฮ์อัลญิน อายะฮ์ที่ 16 ซูเราะฮ์ฟุศศิลัต อายะฮ์ที่ 30 ซูเราะฮ์อัรเราะอ์ดุ อายะฮ์ที่ 11

10 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556


ถอดความโดย

เชคมุฮัมมดนาอีม ประดับญาติ

ค�ำปราศรัย

ในวาระที่นักกอรี นานาชาติเข้าพบ

ด้

วยพระนามของอัลลอฮ์ ผู้ทรงเมตตายิ่ง ผู้ทรงปรานีเสมอ ข้าพเจ้า ขอกล่าวต้อนรับและแสดงความยินดี ต่อพี่น้องทั้งสุภาพบุรุษและสุภาพสตรี ครอบครัวแห่ง คัมภีร์อัลกุรอานที่ได้มารวมตัวกันในที่ชุมนุมแห่งนี้ ช่างเป็นความโชคดีของพวกท่าน ทั้งพี่น้องสุภาพบุรุษ และสุภาพสตรี ผู้ซึ่งถูกรู้จักด้วยกับคัมภีร์อัลกุรอาน คุณลักษณะเฉพาะของพวกท่านก็คือ พวกท่านเป็นกอ รี (นักอ่าน) คัมภีร์อัลกุรอาน เป็นฮาฟิซ (นักท่องจ�ำ) อัล กุรอาน เป็นกรรมการเกีย่ วกับคัมภีรอ์ ลั กุรอาน คัมภีรอ์ ลั กุรอานคือหนังสือแสดงสถานะของพวกท่าน ข้าพเจ้า รู้สึกมีความสุขจากการชุมนุมครั้งนี้ จากการอ่านคัมภีร์ ของบรรดาพีน่ อ้ ง คณาจารย์และนักอ่านอาวุโสทีใ่ ช้ชวี ติ ด้วยกับการรับใช้คัมภีร์อัลกุรอาน เราหวังว่าพระผู้เป็น เจ้าผู้ทรงสูงส่งจะทรงบันดาลให้พวกท่านทุกคนและ พวกเรา ทุกคนอยู่ในหมู่ผู้รับใช้คัมภีร์อัลกุรอาน อินชา อัลลอฮ์ (หากพระผู้เป็นเจ้าทรงประสงค์) ขอให้เราได้

อยู่เคียงข้างคัมภีร์อัลกุรอานทั้งในขณะที่ยังมีชีวิตและ ภายหลัง จากความตาย ขอให้เราได้อยู่กับคัมภีร์อัลกุ รอาน ได้รับความจ�ำเริญและได้รับประโยชน์จากคัมภีร์ อัลกุรอานด้วยเทอญ การจัดการแข่งขันและการร่วมชุมนุมนี้ เป็นแค่ เพียงเหตุผลในการให้ความส�ำคัญต่อคัมภีร์อัลกุรอาน และเข้าใกล้เนื้อ แท้และจิตวิญญาณของคัมภีร์อัลกุ รอาน การอ่านก็เป็นสือ่ หนึง่ ทีจ่ ะเข้าถึงเนือ้ แท้ของคัมภีร์ อัลกุรอาน การเรียนรูค้ ำ� สอนต่างๆ ของคัมภีรอ์ ลั กุรอาน การสร้างชีวติ ส่วนตัวและสังคมในร่มเงาของคัมภีรอ์ ลั กุ รอาน คือเป้าหมายของสิ่งเหล่านี้ หาก คัมภีร์อัลกุรอานได้ปกคลุมอยู่ในสังคม ต่างๆ ของมนุษยชาติ มันจะก่อให้เกิดความผาสุกใน โลกนี้ อีกทั้งจะก่อให้เกิดความสูงส่งทางจิตวิญญาณ เส้นทางแห่งความสันติสขุ ทางแห่งความปลอดภัย ทาง แห่งความสงบสุขทางจิตใจนั้น คัมภีร์อัลกุรอานจะเปิด ให้แก่เรา เส้นทางแห่งเกียรติศักดิ์ศรี คัมภีร์อัลกุรอานก็

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 11


จ�ำเป็นต้องใช้ความอุตสาห์พยายาม หนึ่งในค�ำแนะน�ำสั่งสอนของคัมภีร์อัลกุรอานก็ คือ ประชาชาติมุสลิมทุกคนจะต้องมีความเป็นหนึ่ง เดียวกัน จะต้องจับมือกัน

ّ‫و ْاعتَصِ موا بِحب ِل َِه‬ ‫الل َجمِي ًعا َوال تَف َّ​َرقُوا‬ َ َْ ُ

จะเปิดให้แก่เรา แนวทางแห่งการด�ำเนินชีวิตและรูป แบบของการด�ำเนินชีวิตที่เปี่ยมไปด้วยความ ผาสุกนั้น คัมภีรอ์ ลั กุรอานจะเปิดให้แก่เรา หากเราท�ำความเข้าใจ กับคัมภีรอ์ ลั กุรอาน มีความใกล้ชดิ กับหลักค�ำสอนต่างๆ ของคัมภีรอ์ ลั กุรอาน และเทียบเคียงช่องว่างของตัวเอง เข้ากับสิ่งที่คัมภีร์อัลกุรอานต้องการจากเรา การขับ เคลื่อนของเราก็จะรวดเร็วขึ้น เส้นทางเดินของเราก็จะ ชัดเจนขึ้น เป้าหมายก็คือสิ่งนี้ พี่น้องสุภาพบุรุษและสุภาพสตรีที่รัก! วันนี้โลก อิสลามก�ำลังกระหายและมีความต้องการต่อข้อเท็จจริง ต่างๆ ของคัมภีรอ์ ลั กุรอาน วันหนึง่ (ในอดีต) ในประเทศ อิสลามทั้งหลายจากตะวันออกของอิสลามไปจนถึง ตะวันตกของอิสลาม หากคนหนุ่มสาวผู้ที่มีความโดด เด่นต้องการทีจ่ ะเปล่งเสียงเรียกร้องหาเสรีภาพ พวกเขา หยิบยกส�ำนักต่างๆ ของฝ่ายซ้าย พวกเขาจะชูค�ำขวัญ ของลัทธิสงั คมนิยมและลัทธิคอมมิวนิสต์ แต่วนั นีใ้ นโลก อิสลาม จากตะวันออกของอิสลามไปจนถึงตะวันตก ของอิสลาม หากใครต้องการที่จะชูค�ำขวัญของความ ยุติธรรม ชูค�ำขวัญของเสรีภาพและอิสรภาพ ชูค�ำขวัญ ของเกียรติศกั ดิศ์ รี พวกเขาก็จะต้องชูคมั ภีรอ์ ลั กุรอานไว้ ในมือ สิง่ นีเ้ ป็นเรือ่ งทีม่ คี ณ ุ ค่ามาก และสิง่ ทีถ่ กู ต้องก็คอื สิ่งนี้ เราจ�ำเป็นต้องเข้าใกล้ชิดกับคัมภีร์อัลกุรอาน เรา จะต้องคุน้ เคยผูกพันกับคัมภีรอ์ ลั กุรอาน อย่างไรก็ตาม การพูดนั้นเป็นเรื่องง่าย แต่การปฏิบัตินั้นเป็นเรื่องยาก

12 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

“และพวกเจ้าจงยึดมั่นในสายเชือกของอัลลอฮ์ โดยพร้อมเพียงกัน และอย่าได้แตกแยกกัน” (1) โองการ นี้กล่าวกับใครหรือ กล่าวกับเรา กล่าว กับประชาชนอิหร่าน กล่าวกับประชาชาติมุสลิมของ ประเทศอิสลามทัง้ หลาย กล่าวกับทุกคนทีเ่ ป็นผูศ้ รัทธา ต่ออิสลามในทั่วทุกมุมของโลก แล้วเราปฏิบัติตามสิ่ง นี้หรือไม่! จุดตรงข้ามกับการค�ำสอนของคัมภีรอ์ ลั กุรอานนี้ ก็คอื ค�ำสอนของลัทธิลา่ อาณานิคม : ความแตกแยกใน หมู่มุสลิม คนกลุ่มหนึ่งกล่าวหาคนอีกกลุ่มหนึ่งว่าเป็น ผู้ปฏิเสธ (กาฟิร) สาปแช่งกัน ถือว่าตัวเองไม่เกี่ยวข้อง กับพวกเขา นี่คือสิ่งที่วันนี้ลัทธิล่าอาณานิคมต้องการ เพื่อว่าพวกเราจะได้แตกแยกกัน เป็นความน่าเศร้าใจ ทีบ่ างประเทศของอิสลามและรัฐบาลของอิสลามก�ำลัง ถูกหลอกลวง พวกเขาก�ำลังเข้าไปอยู่ในเกมของศัตรู พวกเขาหลงกลของศัตรู ก�ำลังท�ำงานให้ศัตรู ไม่ว่าจะ โดยรู้ตัวหรือไม่ก็ตาม วันนี้ ความสามัคคีและความเป็นอันหนึ่งอัน เดียวกันในหมู่มุสลิม เป็นหน้าที่เร่งด่วนประการหนึ่ง พวกท่านลองดูซิว่าจากผลของสงครามและความขัด แย้งนั้นก่อให้เกิดผลเลวร้ายอะไร บ้าง ลองดูซิว่าใน โลกอิสลาม ลัทธิก่อการร้ายที่หูหนวกตาบอด ด้วย เหตุผลของความขัดแย้งต่างๆ ทางด้านนิกาย พวกเขา ได้ก่อความทุกข์เข็ญอะไรขึ้นมาบ้าง ลองพิจารณาดูวิ ว่า ด้วยกับความขัดแย้งต่างๆ ที่พวกเขาได้สร้างขึ้นใน ระหว่างเราชาวมุสลิมนั้น ระบอบไซออนิสต์ผู้บุกรุกได้ ถอนหายใจด้วยความโล่งอกเพียงใด ทุกครั้งที่ประเทศ อิสลามและประชาชาติมุสลิมต้องการที่จะเข้าใกล้ชิด กัน เมื่อนั้นพวกเขาก็จะวางแผนสมรู้ร่วมคิดหนึ่งขึ้น


สร้างเหตุการณ์หนึ่งขึ้น สิ่งเหล่านี้ควรจะเปิดตาของ เราได้แล้ว สิ่งเหล่านี้ควรจะท�ำให้ประชาชาติมุสลิม ตื่นขึ้นได้แล้ว สิ่งเหล่านี้ควรจะจ�ำแนกโฉมหน้าของผู้ บรรดาผูน้ ำ� และผูป้ กครองทีม่ คี วาม บริสทุ ธิใ์ จออกจาก ผู้ปกครองที่เป็นหุ่นเชิดของบรรดาศัตรูได้แล้ว นี่คือเวที ของการทดสอบ วันนี้ ทุกๆ กล่องเสียงที่ก�ำลังเรียกร้องไปสู่ความ เป็นเอกภาพของโลกอิสลาม นัน้ คือกล่องเสียงแห่งพระ ผูเ้ ป็นเจ้า เป็นผูพ้ ดู จากพระผูเ้ ป็นเจ้า (นาติก มินลั ลอฮ์) ทุกๆ กล่องเสียงและทุกๆ ลิ้นที่ปลุกปั่นประชาชาติ มุสลิม นิกาย (มัซฮับ) ต่างๆ ของอิสลาม กลุม่ ต่างๆ ของ อิสลามไปสูค่ วามเป็นศัตรูและมีอคติตอ่ กัน นัน้ คือผูพ้ ดู จากมารร้าย (นาติก มินัชชัยฏอน)

ผู้ที่พูดออกมาจากลิ้นของอิบลีสนั้น พวกเขาจะ น�ำพาตัวของพวกเขาและผู้รับฟังของพวกเขาไปสู่นรก ญะฮันนัม พวกเขาจะท�ำให้ตัวเองประสบกับความ พินาศ

ّ‫أ َ لَم تَر إِلي ال َّذِ ي َن ب َّدلُوا ن ِعمت َِه‬ ‫الل كُفْ را ً َو أ َ َحلُّوا‬ َ َْ َ ْ ‫ق َْو َم ُه ْم َدا َر ا ْل َب َوا ِر َج َه ّنَ َم يَصلَ ْون َ َها َو بِ ْئس ا ْلق َ​َرا ُر‬

“เจ้ า ไม่ เ ห็ น ดอกหรื อ บรรดาผู ้ เ ปลี่ ย นความ โปรดปรานของอัลลอฮ์เป็นการปฏิเสธ และได้น�ำกลุ่ม ชนของพวกเขาลงสู ่ ที่ พ� ำ นั ก อั น หายนะ นั้ น คื อ นรก ญะฮันนัม ที่พวกเขาจะเข้าไปในมัน และมันช่างเป็นที่ พ�ำนักอันชั่วช้ายิ่ง” (3)

‫يَقْ ُدم ق َْومه يَ ْوم ا ْل ِق َيا َمة فَأَ ْو َر َد ُه ْم ال ّنَار‬

“เขาจะน�ำหน้ากลุ่มชนของเขาในวันกิยามะฮ์

‫كان ال ّناطِ ُق‬ َ ‫َإن‬ ْ ‫ ف‬،‫أصغى إلى ناطِ قٍ فَق َْد َع َب َد ُه‬ ْ ‫ َم ْن‬และน�ำพาพวกเขาลงสู่ไฟนรก” (4) ّ‫الل فَق َْد عب َد َه‬ ّ‫َع ِن ِه‬ ‫كان ال ّناطِ ُق ي َ ْنطِ ُق‬ َ ‫ َو ْإن‬،‫الل‬ ซึ่งโองการนี้เกี่ยวกับฟิรเอาน์ َ​َ ‫إبليس‬ ‫َع ْن ل ِسانِ إبليس فَق َْد َع َب َد‬ วั น นี้ ผู ้ ที่ ก� ำ ลั ง ท� ำ ให้ โ ลกอิ ส ลามออกห่ างจาก َ

“ผู้ ใดทีเ่ งียหูฟงั ไปยังผูพ้ ดู คนหนึง่ แน่นอนเขาได้ ภักดีตอ่ คนผูน้ นั้ ดังนัน้ หากผูพ้ ดู มาจากอัลลอฮ์ แน่นอน เขาได้เคารพภักดีอลั ลอฮ์ แต่ถา้ หากผูพ้ ดู นัน้ พูดจากลิน้ ของอิบลีส แน่นอนยิ่งเขาได้เคารพภักดีอิบลิส” (2)

ความสามัคคีและความเป็นปึกแผ่น ในขณะทีค่ วามเป็น ปึกแผ่นในวันนี้มีความจ�ำเป็นมากขึ้นกว่าเดิม บุคคล เหล่านี้ก�ำลังท�ำงานเพื่อรับใช้ผลประโยชน์ของหมู่มาร (ชัยฏอน) ก�ำลังท�ำงานเพื่อรับใช้ผลประโยชน์ของบร

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 13


รดาอิบลีส วันนีพ้ วกท่านจะเห็นโลกตะวันตก หน่วยงาน ของลัทธิลา่ อาณานิคม บรรดาผูป้ ระกอบการของบริษทั น�ำ้ มันและธุรกิจขนาดใหญ่ของโลก แก๊งกลุม่ การค้าและ การลงทุนเหล่านี้ ทัง้ หมดก�ำลังใช้จา่ ยเงิน ก�ำลังวางแผน การเพื่อต่อต้านอิสลาม พวกเขาเผาคัมภีร์อัลกุรอาน พวกเขาลบหลู ่ ดู หมิ่นชื่ออันจ�ำ เริญของท่านศาสดา พวกเขาผลิตการ์ตูน เขียนหนังสือ พวกเขาก�ำลังสร้าง อารมณ์ความรู้สึกของการคลั่งเชื้อชาติให้เกิดขึ้นใน เมือง หลวงทีย่ งิ่ ใหญ่ทงั้ หลายของยุโรปเพือ่ ต่อต้านชาว มุสลิม ท่านทัง้ หลายได้เห็นแล้วว่า สิง่ เหล่านีเ้ ป็นเรือ่ งที่ ชัดเจนและแจ่มแจ้ง สิง่ เหล่านีม้ นั หมายถึงอะไร? ความ หมายของมันก็คือการสร้างความเป็นศัตรูต่ออิสลาม วันนีศ้ ตั รูตะวันตกชักดาบออกมาต่อต้านอิสลาม และมุสลิมอย่างเปิดเผย ดังนั้นในขณะนี้หน้าที่ของ มุ ส ลิ ม คื อ อะไร มุ ส ลิ ม จะต้ อ งย้ อ นกลั บ มาสู ่ อ งค์ ประกอบต่างๆ แห่งอ�ำนาจของตนเอง มุสลิมจะต้อง เพิ่มปัจจัยความสามารถและศักยภาพภายในตัวของ พวกเขาให้มากยิ่ง ขึ้นในทุกๆ วัน และหนึ่งในปัจจัย ของพลังอ�ำนาจ นัน่ ก็คอื ความเป็นเอกภาพและเป็นอัน หนึง่ อันเดียวกัน นีค่ อื บทเรียนส�ำหรับเรา มันคือบทเรียน ส�ำหรับประชาชาติมุสลิม กลุม่ ของพวกท่านทีไ่ ด้รวมตัวกัน ณ ทีแ่ ห่งนี้ การ แข่งขันซึ่งพวกท่านได้จัดให้มีขึ้น ถือเป็นตัวอย่างหนึ่ง เป็นภาพเล็กๆ ของความสามัคคีของมวลมุสลิม ท่านทัง้ หลายจงรูถ้ งึ คุณค่าของสิง่ เหล่านี้ การนัง่ ล้อมวงกัน การ อยู่ใกล้ชิดกัน และการเสริมสร้างความเข้าใจต่อกันนั้น จ�ำเป็นต้องรู้ถึงคุณค่าของมัน ท่านทั้งหลายจะเห็นว่า ทุกคนมีความรักผูกพันต่ออัลกุรอาน ทุกคนมีหัวใจผูก พันต่ออัลกุรอาน ทุกคนมีหัวใจผูกพันต่อการด�ำรงอยู่ อันจ�ำเริญของศาสดาท่านสุดท้าย (คอตะมุนอันบิยาอ์) พวกท่านทุกคนที่ปรารถนาจะมีชีวิตอยู่กับคัมภีร์อัลกุ รอาน และมีความปรารถนาที่จะถูกรวมเข้ากับคัมภีร์ อัลกุรอานในวันกิยามะฮ์ สิ่งนี้ไม่ใช่ด้านที่เหมือนที่เป็น เรื่องเล็กๆ แต่สิ่งนี้คือด้านที่เหมือนกันที่เป็นเรื่องใหญ่

14 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

สิ่งนี้มันมากกว่าด้านที่แตกต่างกันทั้งหมด สิ่งเหล่านี้คือค�ำแนะน�ำสั่งเสียแห่งอัลกุรอานข องเรา อินชาอัลลอฮ์ (หากพระผู้เป็นเจ้าทรงประสงค์) เราหวังว่าเราจะได้รับบทเรียนจากคัมภีร์อัลกุรอาน เราจะได้รับประโยชน์จากคัมภีร์อัลกุรอาน เราจะรับ ฟังค�ำแนะน�ำสั่งสอนต่างๆ ของคัมภีร์อัลกุรอาน อินชา อัลลอฮ์ (หากพระผู้เป็นเจ้าทรงประสงค์) ขอพระเป็น เจ้าผูส้ งู ส่งทรงท�ำให้ประชาชนชาวอิหร่านได้รบั ชัยชนะ และทรงท�ำให้ฐานันดรของบรรดาชะฮีดผูเ้ ป็นทีร่ กั สูงส่ง ยิง่ ๆ ขึน้ ไป โปรดรวมดวงวิญญาณอันบริสทุ ธิข์ องท่านอิ มามผู้มีเกียรติของเราเข้ากับท่าน ศาสดาด้วยเถิด และ อินชาอัลลอฮ์ (หากพระผู้เป็นเจ้าทรงประสงค์) โปรด บันดาลให้ประชาชาติมุสลิมมีเอกภาพมากขึ้น มีความ เป็นปึกแผ่นมากขึ้นและมีความแข็งแกร่งมากยิ่งขึ้นทุก วันด้วยเทอญ

‫‌والسالم عليكم و رحمةالل‬ ّ

ขอความสันติและความเมตตาจากอัลลอฮ์จง ประสบกับท่านทั้งหลาย หมายเหตุ (1) ซูเราะฮ์อาลุอิมรอน/อายะฮ์ที่ 103 (2) บิฮารุ้ลอันวาร เล่มที่ 2 หน้าที่ 94 (3) ซูเราะฮ์อิบรอฮีม/อายะฮ์ที่ 27 และ 28 (4) ซูเราะฮ์ฮูด/อายะฮ์ที่ 98


ถอดความโดย

เชคมุฮัมมัดนาอีม ประดับญาติ

ค�ฯพณฯ ำปราศรั ย ผู้น�ำสูงสุด ทางจิตวิญญาณ

เนื่องในวาระวันมับอัษ ท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ็อลฯ) ด้วยพระนามของอัลลอฮ์ ผู้ทรงเมตตา ผู้ทรงปรานีเสมอ ข้าพเจ้า ขอแสดงความยินดีเนื่องในวันเฉลิม ฉลองอันยิ่งใหญ่นี้ ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า ส�ำหรับปวงชน มุสลิมทั้งมวล หรือยิ่งไปกว่านั้น ส�ำหรับสังคมของ มนุษยชาติ มันคือการเฉลิมฉลองที่ยิ่งใหญ่ที่สุด และ เป็นความทรงจ�ำที่หอมหวานที่สุดในตลอดระยะเวลา ของประวัติศาสตร์ (ขอแสดงความยินดี) ต่อท่านผู้มี เกียรติทั้งหลายที่อยู่ ณ ที่นี้ บรรดาแขกผู้เป็นที่รักยิ่ง ตัวแทนของประเทศมุสลิมทัง้ หลายทีร่ ว่ มอยูใ่ นทีป่ ระชุม แห่งนี้ และต่อประชาชนชาวอิหร่านทุกคนผู้ซึ่งด�ำเนิน รอยตามแนวทางของมหาบุรุษผู้ยิ่ง ใหญ่ท่านนี้ด้วย ความบริสทุ ธิใ์ จและความซือ่ สัตย์สจุ ริต และได้สบื สาน แนวทางนีด้ ว้ ยอุตสาหพยายามและการพลีอทุ ศิ ตน และ ต่อประชาชาติมุสลิมทั้งมวล รวมทั้งบรรดาผู้แสวงหา เสรีภาพทั้งมวลของโลก เกี่ยวกับค�่ำคืนของการแต่งตั้งท่านศาสนทูตนั้น

ในรายงาน (ริวายะฮ์) ต่างๆ ได้กล่าวไว้เช่นกันว่า ท้องฟ้า มิได้ทอแสงทอดเงาเหมือนกับยามกลางคืน กล่าวคือ ไม่มีค�่ำคืนใดในตลอดช่วงเวลาแห่งประวัติศาสตร์ที่จะ เหมือนกับค�่ำคืนแห่งการ แต่งตั้งท่านศาสนทูตเลย ซึ่ง ในวันรุ่งขึ้น ท่านศาสดาผู้มีเกียรติจะได้รับการแต่งตั้ง โดยพระบัญชาของพระผู้เป็นเจ้า ให้ปฏิบัติภารกิจอัน ยิ่งใหญ่และยั่งยืนในหน้าประวัติศาสตร์ การแต่งตั้ง ท่านให้เป็นศาสนทูต (บิอ์ษะฮ์) คืองานที่ยิ่งใหญ่และ ยากล�ำบาก ความยิ่งใหญ่ของภารกิจการงานทั้งมวล ขึ้นอยู่กับสัดส่วนของปัญหาและอุปสรรค ต่างๆ ที่มีอยู่ กับแนวทางในการปฏิบัติภารกิจเหล่านั้น ภารกิจการ งานเล็กๆ การปฏิบตั งิ านก็มขี นาดเล็ก ซึง่ โดยปกติกจ็ ะมี อุปสรรคกีดขวางทีเ่ ล็กน้อย ภารกิจการงานทีใ่ หญ่กย็ อ่ ม จะมีอปุ สรรคกีดขวางและการต่อต้านทีเ่ ป็นเรือ่ ง ใหญ่โต ในช่วงชีวิตอันจ�ำเริญของท่านศาสดา ไม่ว่าจะในช่วงที่ อยู่ในมักกะฮ์หรือในช่วงที่อยู่ในมะดีนะฮ์ ก็มีอุปสรรค กีดขวางต่างๆ อยูเ่ บือ้ งหน้าจากการประกาศเชิญชวนนี้

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 15


อย่างต่อเนือ่ งและจากทุกๆ ด้านทีห่ ลากหลาย สิง่ นีไ้ ม่ใช่ เฉพาะแต่ทา่ นศาสดาของเราเพียงเท่านัน้ การประกาศ สาส์น (ริซาละฮ์) ทั้งมวลของบรรดาศาสดา ล้วนต้อง เผชิญกับการต่อต้านต่างๆ เช่นนี้ แน่นอนเกี่ยวกับกรณี ของท่านศาสดาของเรา การต่อต้านเหล่านี้หนักหน่วง มากกว่า รุนแรงมากกว่า ครอบคลุมทุกด้านมากกว่า

‫نس‬ ِ ِ‫َوك َ​َذل َِك َج َع ْلنَا لِك ُِّل نَبِ ٍّي َع ُد ًّوا َش َياطِ ي َن اإل‬ ‫ض ُز ْخ ُرفَ ا ْلق َْو ِل‬ ٍ ‫َوا ْل ِج ِّن يُوحِ ي بَ ْع ُض ُه ْم إِلَى بَ ْع‬ ‫ُغ ُرو ًرا‬

“และเช่นนั้นแหละ เราได้บันดาลให้ศาสดาทุก ท่านมีศัตรู ทั้งที่เป็นมารร้ายจากมนุษย์และญิน พวก เขาต่างก็กระซิบกระซาบต่อกันและกัน ด้วยการเสกสรร ค�ำพูดหลอกลวงกันเอง” (1) บรรดามารร้ายทั้งจากมนุษย์และญินต่างช่วย เหลือกันในการต่อต้านการเรียกร้องเชิญ ชวนสู่พระ ผู้เป็นเจ้า การเผชิญหน้ากับแนวทางแห่งความผาสุก ของมนุษยชาติ

‫ون بِ آْالخِ َر ِة‬ َ ‫َولِتَ ْص َغى إِل َ ْي ِه أ َ ْفئ َِد ُة ال َّذِ ي َن لاَ يُ ْؤ ِم ُن‬ ‫ُون‬ َ ‫َول ِ َي ْر َض ْو ُه َول ِ َيقْ تَ ِرفُوا َما ُهم ُّمقْ تَ ِرف‬

“และเพื่ อ ที่ หั ว ใจของบรรดาผู ้ ที่ ไ ม่ ศ รั ท ธาต่ อ ปรโลกจะได้โอนเอียงไปสู่ถ้อยค�ำเสกสรรนั้น และเพื่อ ที่พวกเขาจะได้พึงพอใจในถ้อยค�ำเหล่านั้น และเพื่อ

16 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

ที่ พ วกเขา (ผู ้ ไ ร้ ศ รั ท ธาต่ อ ปรโลก) จะได้กระท�ำตามสิ่ง ที่ พ วกเขาเป็ น ผู ้ ก ระท� ำ กั น อยู่” (2) กล่าวคือบรรดาหัวใจ ทีข่ าดความรู้ หัวใจทีค่ ดิ อย่าง ผิ ว เผิ น หั ว ใจที่ ข าดการคิ ด ใคร่ควร ขาดวิสัยทัศน์ที่ลึก ซึ้ ง ก็ จ ะยอมรั บ เสี ย งเรี ย ก ร้ อ งของผู ้ ต ่ อ ต้ า น ยอมรั บ การคั ด ค้ า นการเชิ ญ ชวนสู ่ พระผู้เป็นเจ้า ยืนเผชิญหน้ากับการประกาศเชิญชวน ของปวงศาสดา สิ่งนี้เริ่มขึ้นนับจากช่วงการปรากฏขึ้น ของการแต่งตั้งศาสดา จากการเริ่มต้นการปรากฏขึ้น ของสาส์นแห่งพระผู้เป็นเจ้า และด�ำเนินไปจนถึงช่วง สุดท้ายแห่งอายุขัยอันจ�ำเริญของท่านศาสดา ด้วยรูป แบบต่างๆ ที่หลากหลาย และภายหลังจากนั้นก็ยังคง ด�ำเนินต่อมาจนถึงวันนี้ ที่ใดมีการเรียกร้องเชิญชวนสู่ สัจธรรม ที่นั่นก็มีการต่อต้านของเหล่ามารร้าย ที่ใดมี แนวทางของปวงศาสดาอยู่ ก็จะมีแนวทางของบรรดา ผู้ต่อต้านปวงศาสดาอยู่เผชิญหน้ากับมัน แต่ อ ย่ า งไรก็ ต าม การขั บ เคลื่ อ นของประวั ติ ศาสตร์ ก� ำ ลั ง มุ ่ ง ไปสู ่ ทิ ศ ทางของสั จ ธรรม กล่ า วคื อ หากท่ า นทั้ ง หลายมองดู แ นวโน้ ม โดยทั่ ว ไปของ ประวัติศาสตร์ พวกท่านจะเห็นได้ว่า ค�ำประกาศเชิญ ชวนของปวงศาสดานัน้ กลายเป็นอมตะมากยิง่ ขึน้ แพร่ กระจายออกไปมากยิ่งขึ้น เป็นที่รับรู้และเข้าใกล้จิตใจ และหัวใจของประชาชนในโลกมากยิง่ ขึน้ ทุกๆ วัน เหล่า มาร (ชัยฏอน) ทั้งหลายก�ำลังท�ำงาน แต่ธรรมชาติของ โลกและการขับเคลื่อนของโลกก�ำลังมุ่งไปสู่สัจธรรม และสิ่งนี้มีอยู่เสมอ หัวใจทั้งหลายที่เข้าใจข้อเท็จจริง ค�ำสอนต่างๆ ของพระผู้เป็นเจ้า ข้อเท็จจริงต่างๆ ของ ของพระผู้เป็นเจ้า และจริยธรรมแห่งพระผู้เป็นเจ้านั้น ปรากฏอยู่ทั่วไปในประชาคมทั้งหลายด้วยรูป แบบ


ต่างๆ แต่การต่อต้านก็มอี ยูใ่ นรูปแบบทีห่ ลากหลายเช่น กัน ในปัจจุบันนี้การต่อต้านก็ยังคงมีอยู่ วันนี้ หลังจากที่ค�ำเชิญชวนต่างๆ ของส�ำนักคิด ทางวัตถุนิยมที่ไม่ได้มาจากพระเจ้า ไม่ว่าจะเป็นการ เรียกร้องเชิญชวนของลัทธิมาร์กซิสต์ ซึ่งช่วงเวลาหนึ่ง เป็นที่สนใจของประชาชน หรือไม่ว่าจะเป็นการเรียก ร้องเชิญชวนของส�ำนักคิดที่เรียกว่า “มนุษยนิยม” และ “ลัทธิเสรีนิยม” ซึ่งควบคุมอารยธรรมในหลายภูมิภาค ของโลกเอาไว้ในก�ำมือ แต่ก็แสดงให้เห็นแล้วว่า ไม่ สามารถที่จะสนองตอบความผาสุกของมนุษยชาติได้ หัวใจทั้งหลายก�ำลังมุ่งมาสู่อิสลาม ที่ใดก็ตามที่เสียง ของความยุติธรรมและการเรียกร้องหาความยุติธรรม ดังขึ้น เสียงนี้คือเสียงของอิสลาม แม้ว่าผู้ที่เปล่งเสียง ร้องนี้ออกมาจะไม่ทราบว่าสิ่งนี้มาจากที่ใดก็ตาม แต่ ที่ใดก็ตามที่เสียงเรียกร้องหาศักดิ์ศรีของความเป็น มนุษย์ดังขึ้น เสียงเรียกร้องนี้คืออิสลาม คือเสียงเรียก ร้องของศาสนา และแน่นอนศูนย์กลางของทัง้ หมดเหล่า นี้คือศูนย์กลางของอิสลาม คือศูนย์กลางของความ ศรัทธา (อีหม่าน) เป็นศูนย์กลางของศาสนาอิสลาม และความศรัทธา และที่ใดก็ตามที่คัมภีร์อัลกุรอานก ลายเป็นแหล่งแห่งความเชื่อและความศรัทธา แน่นอน ยิ่ง ความเป็นปรปักษ์ของบรรดาศัตรูของอิสลามและ

คัมภีร์อัลกุรอาน ณ ที่นั้นก็จะมีมากกว่า วันนี้พวกท่าน ก�ำลังเห็นสิ่งนี้ ใน โลกนี้ ผู้ที่เบื้องหลังนโยบายต่างๆ พวกเหล่า นั้นคือผู้ที่มีจิตใจป่วยไข้และชั่วร้าย ซึ่งพวกเขาก�ำลัง เผชิญหน้ากับศาสดาของอิสลามด้วยรูปแบบของการ ท�ำลายเกียรติ ไม่อาจจะเชือ่ ได้วา่ การดูหมิน่ อิสลาม การ เป็นปรปักษ์ตอ่ อิสลามและการเป็นปรปักษ์ตอ่ มุสลิมนัน้ จะด�ำเนินและแพร่กระจายออกไปในโลกโดยปราศจาก มือต่างๆ ของหน่วยงานด้านความมัน่ คง และปราศจาก เงินของเหล่ามหาอ�ำนาจ ซึง่ วันนีท้ า่ นทัง้ หลายสามารถ เห็นได้จากตัวอย่างต่างๆ ที่เกิดขึ้นในโลก สิ่งนี้ก็คือการ ต่อสู้กับอิสลาม แน่นอนพวกเขาก็จะหาเหตุผลข้ออ้าง จากพฤติกรรมต่างๆ ของพวกเราชาวมุสลิม บางครั้งก็ จะพบความเบี่ยงเบนต่างๆ เกิดขึ้น ความแข็งกระด้าง ต่างๆ ความเป็นพวกหัวคร�่ำครึ การกระท�ำที่ผิดๆ ทั้ง หลาย ซึ่งเหล่ามารก�ำลังใช้มันเป็นข้ออ้าง เพื่อที่จะให้ บรรลุสิ่งที่ว่า

‫ون بِ آْالخِ َر ِة‬ َ ‫َولِتَ ْص َغى إِل َ ْي ِه أ َ ْفئ َِد ُة ال َّذِ ي َن لاَ يُ ْؤ ِم ُن‬ ‫َول ِ َي ْر َض ْو ُه‬

“และเพื่ อ ที่ หั ว ใจของบรรดาผู ้ ที่ ไ ม่ ศ รั ท ธาต่ อ ปรโลกจะได้โอนเอียงไปสู่ถ้อยค�ำเสกสรรนั้น” สิ่งนี้ มุสลิมจ�ำเป็นต้องรับรู้

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 17


การประกาศเชิญชวนสู่อิสลามจ�ำเป็นจะต้อง เผยแพร่ออกไปในโลกด้วยความชัดเจน ด้วยความกล้า หาญ ด้วยความจริงใจ พร้อมกับหลักการส�ำคัญของค�ำ ประกาศเชิญชวนของอิสลาม หมายถึงความยุติธรรม ซึ่งพระผู้เป็นเจ้าทรงตรัสว่า

‫ك صِ ْدقًا َو َع ْدل‬ َ ِّ‫َوت َ َّم ْت َكلِ َم ُت َرب‬

“และพระค�ำแห่งพระผู้อภิบาลของนั้นสมบูรณ์ แล้ว ทั้งความสัจจริงและความยุติธรรม” (3) สองประการนี้ คื อ คุ ณ ลั ก ษณะเฉพาะของค� ำ ประกาศเชิญชวนแห่งพระผูเ้ ป็นเจ้า มันคือคุณลักษณะ เฉพาะของพระค�ำแห่งพระผู้ทรงอภิบาล คือ "ความสัจ จริงและความยุตธิ รรม" "ความจริงใจและความยุตธิ รรม" บรรดา มุสลิมจะต้องแสดงออกให้ชาวโลกได้เห็น สิ่งนี้ จะท�ำให้หัวใจทั้งหลายเกิดความเข้าใจ และจะท�ำให้ สาส์นของอิสลามไปถึงยังหัวใจทั้งหลายได้ แน่นอน ความเป็นศัตรูนั้นจะยังคงมีอยู่และจะยังคงด�ำเนินอยู่ ต่อไป จึงจ�ำเป็นจะต้องยืนหยัดเผชิญหน้ ากับความ เป็นศัตรูทั้งหลาย เหมือนดังที่ท่านศาสดาได้ยืนหยัด เหมือนดังที่บรรดาผู้ศรัทธาต่ออิสลาม และผู้ที่ศรัทธา ต่อความจริงและความยุตธิ รรมได้ยนื หยัดในตลอดช่วง ของประวัติ ศาสตร์ วันนี้ เรามุสลิมจะต้องตื่นตัว เราจะต้องรู้จัก แบบแผนทั่วไปในการด�ำเนินชีวิตของเราและวิธีการที่ ศัตรูกำ� ลัง เผชิญหน้ากับเราและกับอิสลาม หากเรารูจ้ กั แบบแผน เราก็จะเลือกแนวทางได้อย่างถูกต้อง ปัญหา อยู่ตรงจุดที่ว่า บางครั้งเรามุสลิมเอง ไม่รู้จักแผนการ ของศัตรูอย่างถูกต้อง ท�ำให้ตัวเองกลายเป็นส่วนหนึ่ง ของแผนการของศัตรูไป เป็นที่น่าเศร้าใจที่วันนี้โลก อิสลามก�ำลังประสบกับสิง่ นี้ แผนการของศัตรูกค็ อื การ สร้างความขัดแย้งในหมู่ชาวมุสลิม แผนการของศัตรูก็ คือการปลุกปั่นความอคติต่างๆ ของนิกาย (มัซฮับ) ทั้ง หลายของอิสลามให้ต่อต้านกันเอง แผนการของศัตรู ก็คือการที่พวกเขาต้องการเบี่ยงเบนความสนใจของ ประชาชาติอสิ ลามจากจุดทีแ่ ท้จริงของการเป็นปรปักษ์

18 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

และการเป็นศัตรู นัน่ ก็คอื ลัทธิทนุ นิยมทีช่ วั่ ร้ายและลัทธิ ไซออนิสต์ที่เป็นผู้ก่อความเสีย หาย เพื่อมุ่งความสนใจ ไปยังจุดอื่นๆ วันหนึ่งโลกอิสลามได้เผชิญหน้ากับลัทธิไซออ นิสต์ผบู้ กุ รุก ในโฆษณาชวนเชือ่ ของบรรดาศัตรูพวกเขา ได้กล่าวว่า นีค่ อื ลัทธิตอ่ ต้านชาวยิว (Anti-Semitism) ใน ขณะทีม่ นั ไม่ใช่การต่อต้านชาวยิว ในประเทศต่างๆ ของ อิสลาม ชาวยิวก็เช่นเดียวกับศาสนาอื่นๆ ชาวยิว ชาว คริสต์ ชาวมุสลิม อาศัยอยู่ร่วมกัน วันนี้ในประเทศของ เราก็มที งั้ ชาวยิว ชาวคริสต์ ชาวมุสลิม มีทงั้ ศาสนาอืน่ ๆ ร่วมอยู่ด้วย ทั้งหมดล้วนด�ำเนินชีวิตอยู่ร่วมกันได้ภาย ใต้ร่มเงาแห่งสงบสุขของอิสลาม มันไม่ใช่ประเด็นการ ต่อต้านชาวยิว แต่ประเด็นคือการเผชิญหน้ากับลัทธิไซ ออนิสต์ผู้บุกรุก ผู้รุกราน ผู้กดขี่ พวกเขาได้บิดเบือนสิ่ง นี้ด้วยค�ำพูดเท็จ พวกเขากล่าวในเรื่องลัทธิต่อต้านชาว ยิว แต่วันนี้ชาวตะวันตกก�ำลังประสบกับลัทธิต่อต้าน อิสลามและต่อต้านชาวมุสลิมใน โลกตะวันตก พวก ท่านก�ำลังเห็นว่า พวกเขาก�ำลังปลุกปั่นกระแสการต่อ ต้านชาวมุสลิม ก�ำลังสนับสนุนพวกเหล่านีใ้ ห้สนับสนุน พวกที่ดูหมิ่นอิสลามและท่านศาสดาผู้ ยิ่งใหญ่ นี่คือ ลัทธิต่อต้านอิสลาม นี่คือสิ่งที่เกิดขึ้น ณ ที่นั่น (ในโลก ตะวันตก) ในสังคมของอิสลามก็เช่นกัน พวกเขาก�ำลังแพร่ ขยายการเป็นศัตรูระหว่างนิกายที่แตกต่างกัน พวกเขา ก�ำลังแพร่ขยายความเป็นศัตรูต่อชีอะฮ์ นี่คือนโยบาย ของพวกเขา : (ที่ว่า) มุสลิมจะต้องต่อสู้กันเอง จะต้อง ห�ำ้ หัน่ กันเอง ชีอะฮ์ตอ่ ต้านซุนนี ซุนนีตอ่ ต้านชีอะฮ์ เพือ่ ที่ว่าความสนใจทั้งหลายจะได้ถูกเบี่ยงเบนออกไปจาก จุดหลักของความเป็น ศัตรู โดยไม่เข้าใจว่า ในวันนี้ใคร กันทีก่ ำ� ลังเผชิญหน้ากับโลกอิสลาม ไม่เข้าใจว่าใครกัน ทีก่ ำ� ลังวางกับดักต่างๆ ทีอ่ นั ตรายยิง่ ส�ำหรับประชาชาติ อิสลาม สิ่งเหล่านีเ้ ราจ�ำเป็นจะต้องเข้าใจ ประชาชนทัง้ หลายจะต้องเข้าใจ นักการเมืองทัง้ หลายก็จะต้องเข้าใจ ปัญญาชนทั้งหลายก็จะต้องเข้าใจด้วยเช่นกัน


เราจะต้องรู้ถึงแผนการของศัตรู หากเราได้รับ รู้ถึงแผนการของศัตรูแล้ว ความเป็นไปได้ที่จะจัดการ กับแผนการนี้ก็จะเกิดขึ้น แต่หากเราไม่รู้จักแผนการ ของศัตรู ความเป็นไปได้ที่จะจัดการกับมันก็จะไม่มี เราก็จะผิดพลาดในการค้นหาวิธีการของเรา เราก็จะ ผิดพลาดในการปฏิบัติของเรา แผนการของศัตรูก็คือ ว่า : พวกเขาจะท�ำให้ประชาชาติมุสลิมหมกมุ่นในการ ท�ำลายกันเอง สร้างความแตกแยกให้เกิดขึน้ ในระหว่าง พวกเขา ดังทีเ่ ราก�ำลังเห็นอยูใ่ นวันนีว้ า่ พวกเขาได้ทำ� ให้ เกิดขึ้นแล้ว จ�ำนวนหลายพันคนก�ำลังถูกฆ่า เลือดทั้ง หลายก�ำลังถูกหลั่งลงสู่พื้นดิน ประชาชาติมุสลิมก�ำลัง หลงลืมจากปัญหาหลักต่างๆ ของตนเอง หลงลืมจาก การพัฒนาความก้าวหน้าที่จ�ำเป็นที่ควรจะด�ำเนินการ เพือ่ ทีว่ า่ ผลประโยชน์ตา่ งๆ ของบรรดานักล่าอาณานิคม ผลประโยชน์ของผู้มีอ�ำนาจผู้กดขี่และอธรรมจะได้รับ การตอบสนอง เหมือนเช่นทีว่ นั หนึง่ พวกเขาก็ได้กระท�ำ เช่นนี้มาแล้วกับการล่าอาณานิคม ข้าพเจ้าต้องขอกล่าวกับท่านทั้งหลายว่า ชาว ตะวันตกจะไม่สามารถลบรอยด่างอันแสนอัปยศของ

การล่าอาณานิคมในประวัติ ศาสตร์ออกไปจากตัก ของเขาได้ ค�ำขวัญต่างๆ ในการสนับสนุนสิทธิมนุษย ชน ค�ำขวัญต่างๆ ในการสนับสนุนประชาธิปไตย จะ ไม่สามารถท�ำให้การกระท�ำของตะวันตกผู้กล่าวอ้าง และเต็มไปด้วยค�ำกล่าวอ้าง ทีเ่ คยกระท�ำไว้ในเอเชีย ใน แอฟริกา ในลาตินอเมริกาและในจุดต่างๆ ของประเทศ ทัง้ หลายทีอ่ ยูภ่ ายใต้อาณานิคมมายาวนานหลายปีถกู ลืมเลือนไปได้ วันนัน้ ด้วยกับการล่าอาณานิคม พวกเขา ได้กระท�ำเช่นนี้ วันนีพ้ วกเขาก็กำ� ลังด�ำเนินการตามแผน ดังกล่าวด้วยรูปแบบอื่น พวกเขาก�ำลังด�ำเนินการตาม เป้าหมายต่างๆ เหล่านั้น ฉะนั้นเราจะต้องตื่นตัว เราจะ ต้องตระหนักว่าเราควรจะท�ำอย่างไร เราจะต้องรับรู้ถึง แผนงานของเราเอง วันนี้ ความเป็นเอกภาพ ความปรองดอง ความ ร่วมมือร่วมใจส�ำหรับมวลมุสลิม ถือเป็นส่วนหนึ่งจาก สิ่งเร่งด่วนที่สุดและจ�ำเป็นที่สุด เราขอเรียกร้องเชิญ ชวนประเทศมุสลิมทั้งมวล รัฐบาลอิสลามทั้งมวล ให้ ใช้ความเข้าใจที่ลึกซึ้ง (บะซีเราะฮ์) จงพิจารณาดูว่า ใครที่ก�ำลังอยู่เบื้องหน้า จะต้องไม่ผิดพลาดในการรู้จัก

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 19


ศัตรู จะต้องไม่ผดิ พลาดในการรับรูแ้ ผนการศัตรู จะต้อง เข้าใจให้ได้วา่ ศัตรูกำ� ลังมุง่ แสวงหาอะไร และจะต้องรูว้ า่ ความผาสุกของประชาชนของตนอยู่ในสิ่งใด เราหวังว่าด้วยความจ�ำเริญของวันแห่งการแต่ง ตั้งท่านศาสดา ด้วยกับนามชื่ออันจ�ำเริญและศักดิ์สิทธิ์ ของศาสดาท่านสุดท้าย (คอตะมุนอันบิยาอ์) นี้ อินชา อัลลอฮ์ (หากพระผู้เป็นเจ้าทรงประสงค์) พระผู้เป็น เจ้าผู้ทรงสูงส่งจะทรงบันดาลให้ประชาชาติมุสลิมทั้ง มวลรับรู้ถึง แนวทางของตน ท�ำให้พวกเราทั้งมวลตื่น จากความหลับใหล และอินชาอัลลอฮ์ (หากพระผู้เป็น เจ้าทรงประสงค์) ขอพระองค์ทรงโปรดประทานความ ส�ำเร็จให้ประชาชาติมุสลิม ให้ขับเคลื่อนไปสู่จุดสูงสุด ต่างๆ ของความผาสุกไพบูลย์ด้วยเทอญ ‫والسالم عليكم و رحمةاهلل و بركاته‬ ّ ‌ ขอความสันติ ความเมตตาและความจ�ำเริญจาก อัลลอฮ์ จงประสบกับท่านทั้งหลาย

20 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556


แปลและเรียบเรียงโดย เชคกวี ฮัยดัร

บทบัญญัติ

รัศมี

แห่งทางน�ำ ค�ำวินิจฉัยของวะลียุลอัมริลมุสลิมีน หัซรัตอายะตุลลอฮ์อัลอุซมา ซัยยิดอะลี คอมาเนอีย์ รวบรวมค�ำวินิจฉัยโดย ฮุจญะตุลอิสลามเชค มุฮ์ซิน ชะรีอัต

ความสะอาด และสิ่งที่เป็นมลทิน ‫بســـــــم اهلل الرحمن الرحیم‬ ‫ِين‬ َ ‫ين َويُ ِح ُّب ال ْ ُمتَ َط ِّهر‬ َ ِ ‫إِ َّن اللَّـ َه يُ ِح ُّب التَّ َّواب‬

"แท้จริงอัลลอฮ์ทรงชอบบรรดาผู้ส�ำนึกผิด กลับ เนื้อกลับตัว และทรงชอบบรรดาผู้ที่ท�ำตนให้สะอาด”

(‫قال رسول اهلل (ص‬ ‫ سخي‬, ‫ان اهلل تعالی جمیل یحب الجمال‬ ‫ نظیف یحب النظافة‬, ‫یحب السخاء‬

แท้จริงพระองค์อลั ลอฮ์ (ซ.บ.) ทรงรักผูท้ รี่ กั ความ สวยงามและทรงรักผู้ที่เอื้ออาทร และทรงรักผู้ที่รักษา

ความสะอาด) 1. ความสะอาดของอะห์ลุลกิตาบ (บุคคลที่ นับถือศาสนาที่ได้รับคัมภีร์) บรรดาฟุกเกาะฮาอ์บางท่านได้ให้ค�ำวินิจฉัยว่า บรรดาอะห์ลลุ กิตาบเป็นนะญิส และอีกบางท่านวินจิ ฉัย ว่าสะอาด ไม่ทราบว่าในวินิจฉัยทัสนะของ ฯพณฯ จะ เป็นเช่นไร ความเป็นนะญิสด้วยก�ำเนิดของอะห์ลุลกิตาบ นั้ น ไม่ แ น่ ชั ด แต่ ใ นทั ศ นะของเราขอวิ นิ จ ฉั ย ว่ า บร รดาอะห์ลุลกิตาบนั้นสะอาดตั้งแต่ก�ำเนิด 2. ชี้เฉพาะยังบรรดาอะห์ลุลกิตาบ บรรดาอะห์ลุลกิตาบคือบุคคลประเภทไหน กฎ เกณฑ์ในการเข้าร่วมสังคมกับบรรดาอะห์ลุลกิตาบ มี กฎเกณฑ์อย่างไรบ้าง บรรดาอะห์ลุลกิตาบ คือบุคคลที่เขามีศรัทธายัง

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 21


ศาสนาใดศาสนาหนึ่งของพระผู้เป็นเจ้า และเขาเป็น ปฏิบัติตามศาสดาท่านใดท่านหนึ่งจากบรรดาศานะ ทูตของพระผู้เป็นเจ้า และเป็นศาสดาที่พระผู้เป็นเจ้า ทรงประทานคัมภีร์มาให้ เช่นพวกยะฮูดี และสริสเตียน ดังที่พวกเราได้กล่าวเรียกพวกเขาว่าเป็นพวกอะห์ลุลกิ ตาบ ซึ่งในบทบัญญัติของอิสลาม การคบหาสมาคม กับบุคคลเหล่านี้ ถือว่าอนุญาต 3. ความสะอาดของบรรดาคริสเตียนที่ได้ปฏิ เสธขข้อมูลของศาสนา มีผู้กล่าวว่า บรรดาคริสเตียน ปัจจุบันพวกเขา ได้ปฏิเสธข้อบังคับทางศาสนาของพวกเขา เช่นต้อง ห้ามในการดื่มแอลกอฮอลล์ และบทบัญญติมีอยู่ว่า พวกนี้ตกอยู่ในหฒุ่ผู้ปฏิเสธ ของท่านช่วยกรุณาเกี่ยว กับเรื่องนี้ด้วย บรรดาอะห์ ลุ ล กิ ต าบตั้ ง แต่ ก� ำ เนิ ด พวกเขา สะอาด และดังค�ำถามนั้น ไม่มีในบทบัญญติปรากฎที่ จะปรากฎ 4. กาฟิรคือใคร จะเรียกบุคคลใดว่าเป็นกาฟิร บุคคลใดที่ม่เลือกอิสลามเป็นศาสนาของเขา

22 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

หรือบุคคลที่ยอมรับเอาอิสลามเป็นศาสนาของตนเอง แต่ปฏิเสธข้อบังคับของศาสนา ดังนั้นการปฏิเสธของ เขา ก็เท่ากับเป็นผู้ปฏิเสธค�ำสอนของท่านศาสดา (ศ.) บุคคลเหล่านี้ ที่ถูกเรียกว่า “กาฟิร” 5. การตรวจสอบศาสนาที่ไมใช่เป็นมุสลิม ในประเทศต่ า งของสหภาพโซเวี ย ตเดิ ม ได้ วิเคราะห์ว่าบุคคลต่างๆเป็นพวกนอกรีต หรืออะห์ลุลกิ ตาบที่จ�ำเป็นต้องตั้งค�ำถามในการตรวจสอบ ขอความ กรุณาจาก ฯพณฯ ช่วยพิจารณาว่ามีบทบัญญัตสิ ำ� หรับ ผู้คนประเภทนี้ไหม และจ�ำเป็นต้องตรวจสอบหรือไม่ ถ้าส่วนหใญ่ของบุคคลเหล่านี้เป็นพวกนอกรีต การคบกาสมาคมของท่านกับบุคคลเหล่านี้ก็ไม่ถือว่า เป็นนะญิส และถือว่าไม่เป็นไร 6. อะห์ลุลกิตาบของพวกศอบิอะห์ มีกลุ่มชนจ�ำนวนมากที่ได้อาศัยอยู่ในแทบคูซิ สถานซึง่ กลุม่ ชนีถ้ กู เรียกว่า “ศอบิอะห์” พวกเขาได้เรียก ร้องว่าเป็นผู้ปฏิบัติตามท่านศาสดายะห์ยา (อ.) และ เรียกร้องว่าคัมภีร์ของพวกเขาก็มีปรากฎส�ำหรับพวก เรา บรรดาอุลามาอ์ได้พิสูจน์แล้วว่า คนพวกนี้คือ พวก อบิอนู ทีถ่ กู ระบุไว้ในกุรอานด้วยเช่นกัน ขอความกรุณา


ให้ ฯพณฯ ได้ชว่ ยวินจิ ฉัยด้วยว่า กลุม่ ชนเหล่านีเ้ ป็นพวก อะห์ลุลกิตาบด้วยหรือไม่ กลุ่มชนดังที่กล่าวมา พวกเขาเป็นพวกอะห์ลุลกิ ตาบ 7. นะญิสของพวกบาไฮ และบรรทัดฐานการ สมาคมร่วมด้วย ขอความกรุณาช่วยตอบค�ำถามเหล่านี้ : 7.1 การร่วมสมาคม ไม่วา่ จะเป็นในเรือ่ งของการ ศึกษาของนักเรียนที่เป็นมุสลิมกับนักเรียนของกลุ่มผู้ หลงทางพวกบาไฮ จะเป็นเด็กผู้หญิงหรือเด็กผู้ชาย จะรู้นิติภาวะหรือไม่รู้นิติภาวะ การเรียนร่วมกันทั้งใน โรงเรียนและนอกนอกโรงเรียน จะเป็นตัง้ แต่ชนั้ อนุบาล ประถมศึกษา มัธยม หรือมหาวิทยาลัย การร่วมสมาคม กับบุคคลเหล่านี้มีบทบัญญัติอย่างไร 7.2 เรามีความมั่นใจว่าการกระท�ำของอาจารย์ และผู้ดูแลเด็กนักเรียนเขาเป็นพวกบาไฮที่อาจก่อให้ เกิดปัญหา เราจะต้องปฏิบัติเช่นไร 7.3 การใช้ สิ่ ง ของร่ ว มกั น ของนั ก เรี ย นที่ เ ป็ น มุสลิมกับนักเรียนที่เป็นพวกบาไฮ เช่นก๊อกน�้ำดื่ม สาย ฉีดในห้องน�้ำ ภาชนะในห้องน�้ำ สบู่ หรือสิ่งต่างๆ ซึ่ง ทราบดีว่าสิ่งต่างๆนั้น จะต้องถูกสัมผัสจากการใช้ร่วม กัน ในกรณีนี้จะมีบทบัญญัติข้อบังคับอะไรบ้าง บทบัญญัติที่เกี่ยวกับพวกบาไฮผู้หลงทาง พวก เขาเหล่านีเ้ ป็นนะญิส ดังนัน้ การร่วมสมาคม หรือการใช้ ภาชนะสิง่ ของร่วมปนกับคนพวกนี้ เป็นวาญิบทีจ่ ะต้อง ระมัดระวังในเรือ่ งของความสะอาด แต่ในเรื่องการเป็น อาจารย์ หรือผู้ดูแลเด็กนักเรียนที่เป็นพวกบาไฮนั้น จะ ต้องยืนหยัดอยู่บนพื้นฐานของกฎหมาย และจริยธรรม อิสลาม 8. นิกายหนึ่งที่เรียกว่าอะห์ลิฮัก ข้าพเจ้าได้ศึกษาอยู่ในชนบทสถานที่หนึ่ง ซึ่ง บุคคลในชนบทนี้ พกวเขาไม่อ่านนมาซ และเขาเรียก พวกเขาเองว่าเป็นนิกายอะห์ลิฮัก และข้าพเจ้าก็ต้อง ถูกบังคับทีจ่ ะต้องทานอาหารและขนมปังทีพ่ วกเขาปรุง

มา ซึ่งข้าพเจ้าจะต้องอาศัยในชนบทนั้นตลอดทั้งกลาง คืนและกลางวัน ดังนัน้ การปฏิบตั นิ มาซของข้าพเจ้าจะ เป็นเช่นไร ถ้าพวกเขาไม่ปฏิเสธเรื่องเตาฮีด นะบูวัต และ ไม่ปฏิเสธข้อบังคับของอิสลาม หรือว่าเขาไม่ปฏิเสธใน สาส์นค�ำสัง่ สอนของท่านศาสนะทูตของอัลลอฮ์ (ศ.) ดัง นั้นจะลงบัญญัติว่าพวกเขาเป็นผู้ปฏิเสธ (กาฟิร) และ เป็นนะญิสไม่ได้ กรณีที่นอกเหนือจากที่กล่าวมาแล้ว ในการสมาคม และการทานอาหารของพวกเขา จ�ำเป็น ต้องรักษาในบัญญัติของความสะอาดไว้ด้วย 9. บุคคลที่มีศัรทธาต่อสาส์นของท่านศาสดา ท่านสุดท้าย (ศ.) แต่เขากลับไปปฏิบัติตามแนวทางที่ บรรพบุรุษของเขาปฏิบัติสืบต่อกันมา กลุ่มชนหนึ่งจากบรรดาอะห์ลุลกิตาบที่มีศรัทธา ต่อสาส์นของท่านศาสดา ท่านสุดท้าย (ศ.) แต่พวกเขา กลับไปปฏิบตั ติ ามทีบ่ รรพบุรษุ ของพวกขาได้ปฏิบตั กิ นั มาด้วยความเคยชิน ในกรณีนี้ ในเรือ่ งของความสะอาด กับบทบัญญัติความเป็นกาฟิรจะมีอยู่หรือไม่ เพี ย งแคร่ มี ค วามศรั ท ธาต่ อ สาส์ น ของท่ า น ศาสดา ท่านสุดท้าย (ศ.) ส�ำหรับการบ่งบอกเกี่ยวกับ บทบัญญัติอิสลามยังพวกเขานั้นยังไม่เพียงพอ แต่ถ้า พกวเขาถูกยอมรับว่าเป็นพวกอะห์ลลุ กิตาบ บทบัญญัติ ก็ถือว่าพวกเขาสะอาด 10. การตรวจสอบศาสนาของบุคคลต่างชาติ บางกลุ่มจากลูกเรือขนส่งสินค้า และลูกเรือขย ส่งสินค้าต่างประเทศ การตวรจสอบว่าพวกเขาเป็นพวก อะห์ลุลกิตาบหรือไม่นั้น เป็นสิ่งจ�ำเป็นหรือไม่ การตรวจสอบไม่เป็นสิ่งจ�ำเป็น ในกรณีที่เกิดมี ความสงสัย บทบัญญัติถือว่าสะอาด 11. การขนส่งสาธารณะในประเทศต่างๆ ทีไ่ ม่ใช่ ประเทศอิสลาม ที่นั่งของรถยนตร์ รถประจ�ำทาง รถไฟ ที่ต้อง ใช้ร่วมกันระว่างบรรดามุสลิมกับบรรดากาฟิร ซึ่งส่วน ใหญ่แล้วบรรดากาฟิรนั้นจะใช้มากกว่าบรรดามุสลิม

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 23


ในช่วงที่อากาศร้อยอบอ้าวและมีความชื้นของเหงือ ที่นั่งของรถสาธารณะเหล่านี้ ตามบทบัญญัติถือว่าอ สะอาดหรือไม่ กาฟิรทีเ่ ป็นพวกอะห์ลลุ กิตาบ บัญญัตถิ อื ว่าพวก เขาสะอาด และในกรณีเกี่ยวกับสิ่งของที่ต้องใช้ร่วม กันระกว่างมุสลิมกับกาฟิร ถ้าไม่มั่นใจว่าเป็นนะญิส บทบัญญัติถือว่าสิ่งนั้นสะอาด 12. อาภรณ์เครือ่ งแต่งกายของมุสลิมกับอาภรณ์ เครื่องแต่งกายที่เปียกชื้นของบรรดากาฟิรได้มาสัมผัส กันในวันเวลาที่ฝนตก ข้าพเจ้าได้อาศัยอยู่ในประเทศ ที่ประชาชนส่วน ใหญ่เป็นชาวพุทธบูชาเทวรูป ในขณะที่ฝนตกอาภรณ์ เครือ่ งแต่งกายก็จะเปียกชืน้ และบางครัง้ อาภรณ์เครือ่ ง แต่งกายที่เปียกชื้นของมุสลิมต้องไปสัมผัสกับอาภรณ์ เครือ่ งแต่งกายทีเ่ ปียกชืน้ ของบรรดาชาวพุทธ ดังนัน้ การ ทีร่ กั ษาบัญญัตคิ วามสะอาดอาภรณ์เครือ่ งแต่งกายของ เรา จะต้องปฏิบัติเช่นไร ดังค�ำถาม บทบัญญัติถือว่าสะอาด 13. การว่าจ้างบุคคลที่ไม่ใช่มุสลิมมาท�ำงาน

24 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

เกี่ ย วกั บ เครื่ อ งมื อ ด้ า น อุตสาหกรรม ใ น ก า ร ด� ำ เ นิ น ก า ร น� ำ เ ค รื่ อ ง มื อ อุ ต สาหกรรมที่ จ ะต้ อ ง ป ร ะ ก อ บ โ ด ย ช ่ า ง ผู ้ ช�ำนาญ บางครั้งเป็นช่าง ที่ไม่ใช่เป็นมุสลิม ซึ่งใน บทบั ญ ญั ติ ข องอิ ส ลาม กล่ า วว่ า กาฟิ ร นั้ น เป็ น นะญิ ส ในกรณี ที่ ช ่ า งผู ้ เชี่ ย วชาญที่ ไ ม่ ใ ช่ มุ ส ลิ ม นั้นเขาต้องใช้มือทั้งสอง ข้ า งของเขาประกอบครื่ องจักรอุตสาหกรรมใส่น�้ำ มันฟล่อลื่น ซึ่งในกรณีการที่จะรักษาให้เครื่องจักรอุต สหกรรมสะอาดนั้นเป็นไปด้วยความยากล�ำบากมาก ดังนั้นการสัมผัสกับร่างกายหรืออาภรณ์ของคนงาน เหล่านี้ และในเวลาของนมาซก็ไม่มีเวลาที่จะสามารถ ท�ำความสะอาดอาภรณ์และร่างกายให้สะอาดอย่าง สมบูรณ์ได้ ดังน้นหน้าที่ของเราเกี่ยวกับเรื่องนมาซจะ ต้องปฏิบัติอย่างไร การท�ำงานร่วมกับบรรดากาฟิรในงานด้านอุสห กรรมครื่องจักรกล ถ้าพวกเขาเป็นพวกอะห์ลุลกิตาบ บทบัญญัติถือว่าสะอาด แต่ถ้าต้องสัมผัสกับบรรดา คนงานที่เป็นกาฟิรที่มีความเปียกชื้นจากร่างกายของ เขา มาสัมผัสกับอาภรณ์เครื่องแต่งกาย หรือร่างกาย ของมุสลิม ในขณะที่ต้องการจะอ่านนมาซ เป็นวาญิบ ให้เขาเปลี่ยนอาภร์เครื่องแต่งกาย และท�ำความสาอด ร่างกายของเขา 14. ความสะอาดและนะญิสของหนังสัตว์จาก ต่างประเทศ บรรดาหนังสัตว์ทซี่ อื้ ขายจากต่างประเทศทีไ่ ม่ใช่ ประเทศมุสลิม หรือหนังสัตว์จากต่างประเทศทีน่ ำ� มาท�ำ


กระเป๋า รองเท้า ที่น�ำเข้ามาวางขายอยู่ในปรเทศ ถือว่า สะอาดหรือไม่ หนั ง สั ต ว์ ที่ ถู ก เชื อ ดตามหลั ก การของอิ ส ลาม ถือว่าสะอาด แต่ถ้ามั่นใจว่าหนังสัตว์นั้นไม่ได้ถูกเชือด ตามหลักการของอิสลาม ถือว่าเป็นนะญิส 15. นมาซบนอาภรณ์หนังสัตว์จากต่างประเทศ หนังสัตว์จากต่างประเทศที่ไม่ใช่ประเทศมุสลิม และน�ำมาตัดเย็บเป็นอาภรณ์เครื่องแต่งกาย ในกรณี ที่สัมผัสกับหนังสัตว์เหล่านี้ด้วยสัมผัสที่ไม่เปียกชื้นนั้น มีบัญญัติอะไรบ้าง และสามารถที่จะสวมใส่เครื่องแต่ง กายเหล่านี้ในเวลานมาซได้หรือไม่ บทบัญญัติได้กล่าวไว้แล้วในค�ำถามที่ผ่านมา แต่ในกรณีที่มีความสงสัยในเรื่องเครื่องแต่งกายของผู้ ปฏิบัตินมาซ ถือว่าไม่อนุญาต 16. สถานทีๆ่ พักอาศัย ทีผ่ อู้ าศัยเดิมเป็นผูน้ บั ถือ ศาสนาพุทธ ในสถานที่พักอาศัย และสถานที่เราได้ส่วนใหญ่ เป็นสถานทีข่ องบุคคลทีน่ บั ถือศาสนาพุทธ ถ้านักศึกษา ได้เช่าบ้านของผู้ที่นับถือศาสนาพุทธอยู่ บ้านหลังที่ เช่าอยู่นั้นในบัญญัติเกี่ยวกับความสะอาดและนะญิส เป็นเช่นไร การท�ำความสะอาดโดยการล้างบ้านเป็น สิ่งจ�ำเป็นหรือไม่ และบ้านส่วนใหญ่ของภูมิภาคนี้จะ สร้างด้วยไม้ ซึ่งการล้างท�ำความสะอาดจะเป็นความ ยากล�ำบาก และถ้าเป็นโรงแรมเครื่องใช้ไม้ส้อยที่มีอยู่ ในห้องพักจะมีบทบัญญัติอย่างไรบ้าง จนกระทัง้ ท่านมีความมัน่ ใจว่าเครือ่ งใช้ไม้สอ้ ยที่ ท่านเองต้องหยิบใช้ไม่ได้ถกู กาฟิรในขณะทีร่ า่ งกายเขา เปียกชื้น ซึ่งเขาไม่ใช่อะห์ลุลกิตาบ บทบัญญัติกล่าวว่า ยังไม่เป็นนะญิส ส่วนกรณีที่มีควมมั่นใจว่าเครื่องใช้ไม้ ส้อยเปือ้ นนะญิส ก็ไม่เป็นวาญิทจี่ ะน�ำน�ำ้ มาล้างก�ำแพง ฝาผนัง หรือเครื่องใช้ไม้ส้อยของบ้านพักหรือโรงแรม การท�ำความสะอาดเครื่องใช้ไม้ส้อยที่เปื้อนนะญิส ก็ เพียงแคร่ภาชนะใส่อาหาร เครื่องดื่ม และสถานที่ที่ เกี่ยวข้องกับการอ่านนมาซเป็นสิ่งที่เพียงพอแล้ว

17. การท�ำความสะอาดด้วยกระดาษทิชชู่ ในระหว่างการเดินทางไปยังต่างประเทศ เป็น สิ่งที่น่าเสียใจการช�ำระล้างในขณะที่ขับถ่ายอุจจาระ นั้นเป็นสิ่งที่ยากล�ำบาก และเวลาที่จะจัดหาเตรียม อุปกรณ์ในล้างช�ำระก็ไม่สะดวก จึงต้องการให้ท่านได้ ตอบค�ำถามในเรื่องนี้ว่า การแสวงหาอุปกรณ์ที่ต้อง ช�ำระความสะอาด เพื่อจะได้ปฏิบัตินมาซที่เป็นวาญิบ นั้นมีบทบัญญัติอะไรบ้าง การอ่านนมาซด้วยเงื่อนไข ที่ใช้กระดาษทิชชู่ท�ำความสะอาดเพียงอย่างเดียวมี บทบัญญัติอย่างไร การขับถ่ายปัสสาวะ สามารถท�ำความสะอาดได้ มีเพียงน�้ำอย่างเดียว เพื่อที่จะได้อ่านนมาซได้ถูกต้อง และส�ำหรับการอ่านนมาซที่นอกเหนือจากการช�ำระ ด้วยน�้ำ ถือว่าใช้ไม่ได้ และในการขับถ่ายอุจจาระ การ ชะร�ำด้วยกระดาษทิชชู่ ถือว่าไม่เป็นไร และการอ่าน นมาซเช่นกันถือว่าถูกต้อง 18. อุปกรณ์การแพทย์ , น�้ำหอม และโคโลญที่ ผลิตจากประเทศต่างๆ ที่ไม่ใช่ประเทศอิสลาม ครีม สบู่ น�้ำหอมและที่ผลิตในประเทศที่ไม่ใช่ ประเทศอิสลาม สะอาดหรือเป็นนะญิส ถ้าไม่ได้พรรณาว่ามีสิ่งอื่นที่เป็นนะญิสผสมอยู่ หรือจับต้องโดยส่วนต่างๆจากร่างกายของกาฟิรทีไ่ ม่ใช่ พวกอะห์ลุลกิตาบ ถือว่าสะอาด 19. โคโลญ์ชนิดต่างๆ ทีไม่แน่ใจว่าผลิตจาก แอลกอฮอล์ โคโลญ์ชนิดต่างๆ ของผู้หญิง และผู้ชายที่ไม่ ทราบว่ามีส่วนผสมของแอลกอฮอล์หรือไม่ สามารถที่ จะใช้ได้หรือไม่ ดังค�ำถามนั้น การใช้ถือว่าไม่เป็นไร 20. แอลกอฮอล์ อุ ต สาหกรรมน� ำ มาผสมใน โคโลญ์ การน�ำแอลกอฮอล์อสุ าหกรรมมาผสมในโคโลญ์ และน�ำ้ หอมชนิดต่างๆ และบางครัง้ ก็ผสมในสีตา่ งๆ ดัง นัน้ การใช้แชมพูสระผม ทีบ่ างชนิดระบุวา่ มีแอบกอฮอล์

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 25


ผสมอยู่ จะเป็นนะญิสหรือไม่ ถ้ า แอลกอฮอล์ ที่ ไ ม่ ใ ช่ ช นิ ด ที่ ท� ำ ให้ เ กิ ด ความ มึนเมา ถือว่าสะอาด ถึงแม้ว่าจะเกิดข้อสงสัยก็ตาม บัญญัติก็ถือว่าสะอาดเช่นกัน 21. การใช้โคโลญ์ โดโลญ์ทผี่ สมแอลกอฮอล์ทที่ ำ� จากแอลกอฮอล์ที่ มึนเมา มีบทบัญญัติอย่างไร การใช้โคโลญ์ชนิดนั้น ถือว่าไม่เป็นไร และไม่มี ข้อแตกต่างว่าจะเป็นของในประเทศหรือต่างประเทศ ก็ตาม 22. เครื่ อ งส� ำ อางที่ ผ ลิ ต จากประเทศที่ ไ ม่ ใ ช่ อิสลาม เครื่องส�ำอางบางชนิดท�ำมาจากบางส่วนของ สัตว์ บทบัญญัตใิ นใช้เครือ่ งส�ำอางดังกล่าวทีไ่ ม่ได้ผลิต จากประเทศอิสลาม จะเป็นเช่นไร ไม่สามารถจะพิสจู น์ได้วา่ เป็นนะญิส บทบัญญัติ นั้นถือว่าสะอาด 23. พู่กันที่ท�ำจากขนของสุกร การเขียนภาพที่จะต้องใช้พู่กัน แต่พู่กันชนิดที่ดี ทีส่ ดุ คือพูก่ นั ทีท่ ำ� มาจากขนของสุกร และน�ำเข้ามาจาก ประเทศทีไ่ ม่ใช่ประเทศอิสาม ทีน่ ำ� มาใช้ในงานเผยแพร่ วัฒนธรรม การใช้พู่กันชนิดนี้จะมีบทบัญญัติอย่างไร ขนสุกรเป็นนะญิส และการใช้ขนสุกรด้วยเงือ่ นไข ถือว่าที่จให้สะอาดนั้น ไม่เป็นการอนุญาต แต่การใช้ พู่กัน ที่ ท�ำจากขนสุ กรนั้นก็ไ ม่ถือว่าจะเป็นชิ้นงานที่ สะอาด แต่การใช้ก็ถือว่าไม่เป็นไร ถ้าไม่รู้ว่าพู่กันที่ใช้ ถูกท�ำจากขนของสุกร หรือไม่ แม้กระทั้งผลงานที่ออก มาก็ถือว่าสะอาดเช่นกัน 24. เนื้อที่น�ำเข้ามาจากประเทศที่ไม่ใช่ประเทศ อิสลาม การรั บ ประทานเนื้ อ ที่ น� ำ เข้ า มาจากประเทศ ที่ ไ ม่ ใ ช่ ป ระเทศอิ ส ลามถื อ ว่ า ฮะลาลหรื อ ไม่ และ บทบัญญัติในเรื่องของความสะอาดและนะญิสเกี่ยว กับเรื่องนี้คือะไร

26 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

จนกว่ า ชั ร อี ย ์ เ กี่ ย วกั บ การพิ จ ารณายั ง ไม่ ถู ก ยอมรับ การรับประทานเนื้อชนิดนั้นถือว่าฮะราม แต่ ในทัศนะของความสะอาด ถ้ามีความมัน่ ใจว่าได้รบั การ พิจารณาแล้ว ถือว่าสะอาด 25. อุจจาระของบรรดานกที่เนื้อเป็นฮะราม อุจจาระของบรรดานกทีเ่ นือ้ เป็นฮะราม เช่น อีกา , นกอินทรีย์ และนกแก้ว เป็นนะญิสหรือไม่ อุจจาระของบรรดานกที่เนื้อเป็นฮะรามนั้นไม่ เป็นนะญิส 26. หนังงู หนังงูเป็นนะญิสหรือไม่ สะอาด 27. นะญิสของเดรื่องดื่มแอลกอฮอล์ • เครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นนะญิสหรือไม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ทที่ ำ� ให้มนึ เมา ข้อควรระวัง เป็นนะญิส 28. อาหารที่สงสัยว่าสะอาด บุคคลซึ่ง ไม่ท ราบว่ าอยู่ใ นศาสนาอะไร และ เขาได้เดินทางมาจากประเทศอื่นมาท�ำการค้าขายอยู่ ในประเทศอิสลาม โดยได้เปิดร้านขายวัสดุเครื่องปรุง แต่งอาหาร ซึ่งในขณะที่เขาได้ขายวัสดุเครื่องปรุงแต่ง อาหารมือหรือร่างกายที่ชื้นของเขาได้ไปสัมผัสกับวัสดุ เครื่องปรุงแต่งอาหาร ตรงนี้เป็นสิ่งจ�ำเป็นหรือไม่ที่จะ ต้องถามเขาเกี่ยวกับเรื่องศาสนาของเขา หรือเครื่อง ปรุงแต่งอาหารสะอาดอยูแ่ ล้ว ก็ถอื ว่าผ่านมือของผูข้ าย ก็สะอาดตาม ไม่เป็นวาญิบที่จะต้องถามเขาว่าอยู่ในศาสนา ใด และสิ่งของที่สะอาดอยู่ได้ผ่านมือ หรือเรือนร่างของ เขาในขณะที่มีความชื้น สิ่งของเหล่านั้นก็ยังคงสะอาด เหมือนเดิม 29. ความเป็นไปได้ในการสัมผัสกับกาฟิรด้วย ทางเครื่องปรุงอาหาร การด�ำเนินชีวิตของนัศึกษาในต่างประเทศที่จะ ต้องอยู่ร่วมสังคม และสมาคมกับบรรดากาฟิร ดังนั้น


การใช้เครื่องปรุงแต่งอาหารที่อยู่ภายใต้เงื่อนไขที่ว่า จะต้องไม่เป็นฮะราม เช่นเนื้อที่ไม่ได้รับการพิจารณา แต่ความเป็นไปได้ว่าความชื้นบนร่างกายของกาฟิรได้ มาสัมผัสกับเครื่องปรุงแต่งอาหารนั้น จะมีบทบัญญัติ อย่างไรบ้าง ล�ำพังความเป็นไปได้ทคี่ วามชืน้ บนมือของกาฟิร ที่ได้มาสัมผัสกับเครื่องปรุงแต่งอาหารนั้น เพียงข้อ บังคับที่ให้หลีกเลี่ยงอย่างเดียวนั้นไม่เพียงพอ แต่ทว่า มีความมั่นใจว่ามือของกาฟิรที่มาสัมผัสนั้นจริงหรือไม่ บทบัญญัตถิ อื ว่าเครือ่ งปรุงแต่งอาหารนัน้ ยังสะอาดอยู่ แต่ถา้ กาฟิรบุคคลนัน้ เป็นอะห์ลลกิตาบซึง่ ลักษณะของ เขานัน้ ไม่ใช่นะญิส และการสัมผัสมือของเขาทีเ่ ปียกชืน้ ก็ถือว่าไม่เป็นนะญิส 30. เสื้อผ้าอาภรณ์ที่ท�ำจากขนนก เสื้อผ้าที่ด้านในของมันตัดเย็บด้วยขนนก และ ผลิ ต มาจากประเทศที่ ไ ม่ ใ ช่ ป ระเทศอิ ส ลาม จะมี บทบัญญัติใดบ้าง ขนนกทุกชนิดถือว่าสะอาด แต่ในกรณีที่ขนนก ของนกที่เนื้อเป็นฮะราม และน�ำมาเป็นอาภรณ์เครื่อง แต่งกายในนมาซ ก็จะท�ำให้นมาซนั้นเป็นโมฆะ 31. เสื้อผ้าที่ซักโดยบุคคลที่ไม่ใช่มุสลิม และ

น� ำ ไปตากด้ ว ยแสงดวง อาทิตย์จนแห้ง เสื้อผ้าที่ถูกซักโดย บุ ค คลที่ ไ ม่ ใ ชเป็ น มุ ส ลิ ม และน�ำไปตากกับแสงของ ดวงอาทิตย์ ถือว่าสะอาด หรือไม่ ถ ้ า บุ ค ล ที่ ซั ก ท� ำ ความสะอาดเสื้ อ ผ้ า เป็ น กาฟิ ร พวกอะห์ ลุ ล กิ ตาบ ถื อ ว่ า สะอาด แต่ ถ้าเป็นกาฟิรที่ไม่ใช่พวก อะห์ลุลกิตาบ ซึ่งในขณะ ที่ที่เขาซักหรือท�ำความสะอาดเสื้อผ้า มือเขามีความ เปียกชื่นอยู่ ถือว่าเป็นนะญิส ซึ่งแสงของดวงอาทิตย์ก็ ไม่สามารถท�ำให้เสื้อผ้าสะอาดได้ 32. การรีดผ้าโดยผู้ที่ไม่ใช่มุสลิม การรีดผ้าโดยผู้ที่เป็นมุสลิม ซึ่งเขาได้น�ำเสื้อผ้า ของมุสลิม และบุคคลทีไ่ ม่ใช่มสุ ลิมมารีดรวมกัน ดังนัน้ เสื้อที่รีดรวมกันจะไม่เป็นนะญิสหรือ ถ้าเดิมเสือ้ ผ้าไม่ได้เปือนนะญิส บทบัญญัตถิ อื ว่า สะอาด 33. การซักรีดอาภรณ์เสือ้ ผ้าของพวกยะฮูดี และ พวกคริสเตียน การน�ำเสื้อผ้าไปให้ร้านซักรีดนั้น มีบทบัญญัติ เกีย่ วกับเรือ่ งความสะอาดอย่างไรบ้าง จ�ำเป็นทีจ่ ะต้อง กล่าวอธิบายเพิม่ เติมดังนี้ คือเสือ้ ผ้าของพวกยะฮูดี หรือ คริสเตียนจ�ำนวนน้อยที่ส่งมายังร้านซักรีด เพื่อซัก และ รีดให้เรียบ และเราเองก็ทราบดีวา่ ทางร้านซักรีดนีเ้ ขาได้ ใช้น�้ำยาในขณะที่ซักรีดด้วย ถ้าได้สง่ เสือ้ ผ้าไปยังร้านซักรีด ซึง่ ก่อนหน้าไม่ได้ เปือนนะญิส ถือว่าเสื้อนั้นสะอาด แต่การได้น�ำเสื้อผ้า ซักรวมกับเสื้อผ้าของอะห์ลุลกิตาบ ที่ส่งมาซักรีดมี จ�ำนวนน้อยกว่า ก็ถือว่าเสื้อผ้านั้นไม่เป็นนะญิส

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 27


34. การใช้ผา้ เช็ดตัว และแก้วน�ำ้ ในโรงแรมต่างๆ ของต่างประเทศ สามารถที่จะใช้เครื่องใช้ไม้สร้อยของกาฟิร ดัง เช่นผ้าเช็ดตัว หรือแก้วน้ได้หรือไม่ และเช่นกันผ้าเช็ดตัว ในโรงแรมต่างประเทศที่ถูกใช้แล้ว จะมีบทบัญญัติ อย่างไร การพิสูจน์ในเรื่องความสะอาดเป็นสิ่งจ�ำเป็น หรือไม่ ถ้าเป็นอะห์ลุลกิตาบ ถือว่าไม่เป็นไร แต่ภ้าไม่ใช่ ก็ขึ้นว่าถ้ามีมั่นใจว่าเครื่องใช้ใสร้อยโดยมือ หรือส่วน ของร่างกายกาฟิรที่ไม่มีความชื้น ถือว่าไม่เป็นไร และ การตรวจสอบนั้น ถือว่าไม่จ�ำเป็น 35. การใช้สิ่งอ�ำนวยความสะดวกของโรงแรม ต่างๆ ในประเทศที่ใม่ใช่มุสลิม การจั บ แตะต้ อ งสิ่ ง ที่ อ� ำ นวยความสะดวกใน โรงแรมต่างของประเทศทีไ่ ม่ใช่ประเทศอิสลาม (ประเท ศกาฟิร หรือประเทศอะห์ลุลกิตาบ) สิ่งอ�ำนวยความสะดวก เช่น ผ้าปูที่นอน เครื่อง ท�ำความสะอาด ....จะเป็นเช่นไร สิง่ อ�ำนวยความสะดวกทีจ่ ะต้องจับต้อง จะมีกฎ เกณฑ์อย่างไร ทั้งสองกรณี ถือว่าสะอาด 36. การท�ำความสะอาดภาชนะที่ถูกสุนัขเลีย โดยทั่วไปในต่างประเทศ บางคนจะน�ำสุนัขเข้า มาในโรงแรมทีพ่ กั และอาจเป็นไปได้วา่ ภาชนะทีใ่ ช้อาจ จะถูกสุนัขเลีย หรือน�ำภาชนะใส่อาหารให้สุนัขกิน ดัง นั้นการท�ำความสะอาด เพียงใช้น�้ำล้างภาชนะที่เปือน นะญิสนั้น ถือว่าสะอาดหรือไม่ ดังค�ำถาม ที่ได้กล่าวอธิบายมานั้น ถือว่าเป็น นะญิสไม่สะอาด หรือถ้าไม่ใช่ดงั ทีก่ ล่าวมาถือว่าสะอาด 37. การท�ำความสะอาดเสื้อผ้าที่ถูกน�้ำลายขอบ สุนัข ถ้าเสือ้ ผ้าของข้าพเจ้าถูกน�ำ้ ลายสุนขั ข้าพเจ้าจะ ท�ำความสะอาดอย่างไร การท�ำความสะอาดเหมือนกับ ภาชนะที่ถูกน�้ำลายสุนัขหรือไม่

28 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

การท�ำความสะอาดเสื้อผ้าอาภรณ์ที่ถูกน�้ำลาย สุนัขแตกต่างกันกับการท�ำความสะอาดภาชนะที่ถูก น�้ำลายสุนัข การท�ำความสะอาดเสื้อเพียงใช้น�้ำฉีดให้ นะญิสนั้นหใดไปจากเสื้อผ้า เป็นการเพียงพอ 38. ความคิดที่ถูกครอบง�ำ ข้าพเจ้าเป็นเด็กหนุ่มอายุประมาณ 32 ปี น่า เสี ย ใจเป็ น อย่ า งยิ่ ง หลายปี ที่ ผ ่ า นมาความคิ ด ของ ข้าพเจ้าถูกครอบง�ำในเรื่องความสะอาด และสิ่งที่เป็น นะญิสของอาภรณ์เสื้อผ้า ที่พักอาศัย และ....หลายต่อ หลายครั้งข้าพเจ้าได้ไปพบแพทย์ แต่ก็ไม่เป็นผล ขอ ให้ ฯพณฯ ช่วยกรุณาชี้แนะข้าพเจ้าด้วยว่าจะต้องท�ำ อย่างไร ในทัศนะของอิสลาม เรือ่ งของความสะอาด และ นะญิสบนสิ่งที่เดิมสะอาดอยู่แล้ว ถือว่าสิ่งนั้นสะอาด หมายถึงสิ่งใดๆก็ตามที่อาจจะมีนะญิสเพียงเล็กน้อย อยู่ในสิ่งนั้น บทบัญญัติถือว่ามันสะอาด บุคคลใดทีค่ ดิ วิตกอย่างมาในเรือ่ งของนะญิส ถ้า บางครั้งมีความมั่นจว่าสิ่งใดๆ ไม่ใช่นะญิส มันก็ไม่ใช่ นะญิส เว้นเสียแต่จะพบนะญิสนั้นด้วยสายของตนเอง ก็ถือว่าสิ่งนั้นเป็นนะญิส ดังนั้นการที่ปล่อยให้ความ คิดถูกครอบง�ำ และสงสัยอยู่ร�่ำไป เป็นงานของซาตาน ควรจะหลีกเลี่ยงข้อสงสัยอย่างมากมาย จนเป็นเหตุให้ ความคิดนั้นถูกครอบง�ำ


แปลและเรียบเรียงโดย

เชคมุฮัมมัด ชะรีฟ เกตุสมบูรณ์

ค�ำอรรถาธิบาย อัลกุรอาน

บทอัลบะเกาะเราะฮ์ โองการที่ 91,92 .93

َّ‫ِيل لَهم ءا ِم ُنوا بِما أَن َز َل ه‬ ‫ون بِ َما َو َرا َء ُه َو ُه َو ا ْل َح ُّق‬ َ ‫اللُ قَالُوا نُ ْؤم ُِن بِ َما أُن ِز َل َعلَ ْينَا َو يَكْ ف ُ​ُر‬ َ َ ْ ُ َ ‫َو إ ِ َذا ق‬ َّ‫ون أَن ِبياء ه‬ ‫) َو لَق َْد َجا َءكم مُّوسى‬91( ‫الل ِ مِن قَ ْب ُل إِن كُن ُتم مُّ ْؤ ِمنِي َن‬ َ َ َ ُ‫ُمص ِّدقاً ل ِّ َما َم َع ُه ْم ق ُْل فَل َِم ت َقْ ُتل‬ ‫َكم الطو َر‬ َ ‫بِا ْل َبيِّ َنتِ ثُ َّم ات َخ ْذ ُتم ا ْلع ِْج َل مِن بَ ْعدِ ِه َو أَن ُت ْم ظلِ ُم‬ ُ ‫) َو إ ِ ْذ أ َ َخ ْذنَا مِي َث َقك ُْم َو َرف َْع َنا ف َْوق‬92( ‫ون‬ ‫ُخ ُذوا َما َءات َ ْينَكم بِ ُق َّوة َو اس َم ُعوا قَالُوا سم ِْعنَا َو َعص ْينَا َو أُش ِربُوا فى قُلُوبِ ِه ُم ا ْلع ِْج َل بِكفْ ِره ِْم ق ُْل‬ )93( ‫ب ِ ْئس َما يَ ْأ ُم ُركم ب ِ ِه إِي َم ُنك ُْم إِن كُن ُتم مُّ ْؤ ِمنِي َن‬

ความหมาย 91. และเมือ่ ได้กล่าวแก่เขาว่า จงศรัทธาต่อสิง่ ทีอ่ ลั ลอฮฺได้ทรงประทานลงมา พวกเขากล่าวว่า เราจะศรัทธา ต่อสิ่งที่ได้ถูกประทานลงมาแก่เรา และพวกเราปฏิเสธสิ่งที่นอกเหนือจานั้น ขณะที่สิ่งนั้นคือ สัจธรรมโดยยืนยัน ต่อสิ่งที่มีอยู่กับพวกเขา จงกล่าวเถิด (มุฮัมมัด) ก่อนหน้านี้ ไฉนพวกท่านฆ่าบรรดาศาสนทูตของอัลลอฮ ถ้าหาก พวกท่านเป็นผู้ศรัทธา (ถ้าพูดจริงว่าศรัทธาต่อโองการที่ถูกประทานลงมายังเจ้า) 92 . แน่นอน มูซาได้น�ำหลักฐานทั้งหลายอันชัดเจนมายังสูเจ้าแล้ว (แต่ท�ำไม) หลังจากนั้นสูเจ้ายึดลูกวัว การกระท�ำเช่นนี้ สูเจ้าเป็นผู้อธรรม 93 . และจงร�ำลึกถึง เมื่อเราได้เอาค�ำมั่นสัญญาของสูพวกเจ้า และเราได้ยกภูเขาฎูรขึ้นเหนือสูเจ้า (บอก กับสูเจ้าว่า) สูเจ้าจงยึดถือสิง่ ทีเ่ ราได้ประทานแก่สเู จ้าโดยมัน่ คง และจงฟังให้ดี พวกเขากล่าวว่า เราได้ยนิ แล้ว แต่ เราฝ่าฝืน หัวใจของพวกเขาดื่มด�่ำความรักที่มีต่อลูกวัว เนื่องด้วยการปฏิเสธของพวกเขา จงกล่าวเถิด (มุฮัมมัด) ช่างชั่วช้าแท้ ๆ ที่การศรัทธาพวกท่าน บัญชาพวกท่านให้กระท�ำสิ่งนั้น ถ้าพวกท่านเป็นผู้ศรัทธา ค�ำอธิบาย ค�ำอธิบายโองการก่อนหน้านีก้ ล่าวว่า พวกยะฮูดยี ฺ ได้รอนแรมด้วยความยากล�ำบาก และเผชิญกับอุปสรรค

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 29


ปัญหามากมายในการที่จะได้พบกับศาสดาพยากรณ์ ตามทีค่ มั ภีรเ์ ตารอตได้กล่าวไว้ แต่เนือ่ งด้วยความริษยา หรือเป็นเพราะว่าศาสดามิใช่ชาวยิว ประกอบกับต้อง สูญเสียผลประโยชน์ส่วนตัว พวกเขาจึงปฏิเสธและไม่ ยอมรับท่านศาสดา โองการทีจ่ ะกล่าวต่อไปนีต้ อ้ งการเน้นย�ำ้ ประเด็น ทีแ่ ล้ว ในเรือ่ งอคติแห่งความเป็นชาตินยิ ม ซึง่ เป็นทีร่ จู้ กั กันดีทั่วทั้งโลก อัล-กุรอาน กล่าวในเชิง ปรามาสว่า ถ้าพวกเจ้าพูดจริงว่า ศรัทธาต่อโองการที่ถูกประทาน ลงมายังเจ้า เตารอตกกล่าวว่าการสังหารชีวิตบริสุทธิ์ เป็นบาปกรรมอันใหญ่หลวง พวกท่านก็ต้องไม่สังหาร บรรดาศาสดาของเรา แน่นอนค�ำกล่าวอ้างของพวก ยิวที่ว่า พวกเราจะศรัทธาเฉพาะสิ่งที่ได้ประทานลงยัง พวกเราก่อนหน้านั้น พวกเราจะไม่ยอมรับโองการต่าง ๆ ที่ประทานลงมาให้ศาสดาองค์อื่น ซึ่งการกระท�ำเช่น นีเ้ ป็นการบ่งชีใ้ ห้เห็นอย่างชัดเจนว่า พวกเขาหันเหออก จากหลักความศรัทธาต่อพระเจ้าองค์เดียว และการ เคารพภักดีต่อพระองค์ เป็นการแสดงความเห็นแก่ตัว และการหลงตัวเองอย่างยิ่ง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องส่วนตัว หรือเชื้อชาติ ความเป็นเอกภาพของพระเจ้า ปฏิเสธ อย่างแข็งขัน และให้ขุดรากถอนโคน ความเห็นแก่ตัว และความหลงเชื้อชาติออกไปจากตน ประเด็นส�ำคัญ ประโยคที่กล่าวว่า พวกเราได้ยินแล้ว แต่เรา ฝ่าฝืน มิได้หมายความว่า พวกเขาพูดออกมาด้วยลิ้น ทว่าจุดประสงค์คือ พวกเขาแสดงออกอย่างชัดเจน เป็นการใช้ค�ำพูดเหน็บแนมที่สวยงาม ประโยคที่กล่าวว่า หัวใจของพวกเขาดื่มด�่ำ ความรักที่มีต่อลูกวัว เป็นค�ำพูดถากถางที่อธิบายถึง สภาพของพวกยิวได้อย่างยอดเยี่ยม ค� ำ ว่ า อั ช รอบ มาจากรากศั พ ท์ ข องค� ำ ว่ า (‫ )اشربت البعير‬หมายถึง การน�ำเอาเชือกไปผูกคออูฐ ประโยคข้างบนจึงหมายถึง สายป่านแห่งความรักที่ เหนียวแน่นในหัวใจของพวกเขาทีม่ ตี อ่ ลูกวัว ถ้ามาจาก

30 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

รากศัพท์ของค�ำว่า (‫ )اشراب‬หมายถึง การราดลดด้วยน�ำ้ หรือการให้น�้ำ ในกรณีนี้ ค�ำว่า ฮุบ หรือความรักจะซ่อน อยูใ่ นค�ำ ประโยคข้างบนจึงหมายถึง ว่า หัวใจของพวก ยิวดื่มด�่ำความรักที่มีต่อลูกวัว ค�ำกล่าวข้างบน เป็นการเย้ยหยันการกระท�ำที่ ไม่ถูกต้องของพวกบนีอิสรออีล เนื่องด้วย การกระท�ำ ของพวกเขาเป็นผลทีเ่ กิดจากหัวใจทีช่ วั่ ร้ายของพวกเขา เพราะเขาได้ราดลดด้วยน�้ำชิริก (น�้ำแห่งภาคี) ฉะนั้น พื้นดินที่ราดลดด้วยน�้ำดังกล่าว ดอกผลจะไม่มีทาง เป็นอย่างอืน่ เด็ดขาด นอกจากการทรยศ สังหารบรรดา ศาสดา ท�ำบาป และกดขีข่ มเหง ดังทีป่ ระจักษ์แก่สายตา ของชาวโลกในปัจจุบัน โองการที่ 94,95,96

َّ‫ِند ه‬ ً‫الل ِ َخال ِصة‬ َ ‫كم ال َّدا ُر االَخِ َر ُة ع‬ ُ َ ‫ق ُْل إِن كانَت ل‬ ‫اس فَ َت َمنَّ ُوا ا ْل َم ْوت إِن كن ُت ْم صدِ قِي َن‬ ِ َّ‫مِّن ُدونِ الن‬ َّ‫) و لَن يتَمنَّوه أَب َدا بِما قَ َّدمت أَيدِ ي ِهم و ه‬94( ُ‫الل‬ َ ْ ْ َ َ َ ُْ َ َ َ ‫اس‬ ِ َّ‫نه ْم أ َ ْح َرص الن‬ ُ ‫) َو لَتَ ِج َد‬95( ‫َعل ُِيم بِالظلِمِي َن‬ ‫شركُوا يَ َو ُّد أ َ َح ُد ُه ْم ل َ ْو‬ َ َ ‫َعلى َح َيوة َو ِم َن الَّذِ ي َن أ‬ ‫اب‬ ِ ‫يُ َع َّم ُر أ َ ْلف س َنة َو َما ُه َو بِ ُم َز ْحزِحِ ِه ِم َن ا ْل َع َذ‬ ُ َّ‫ه‬ )96ْ ‫ون‬ َ ُ‫ير بِ َما يَ ْع َمل‬ ُ ِ‫أَن يُ َع َّم َر َو الل بَص‬


ความหมาย 94.จงกล่าวเถิด (ถ้าสิ่งที่พวกเจ้ากล่าวอ้าง) สถานที่พ�ำนักแห่งปรโลก ที่อัลลอฮฺ ส�ำหรับพวกท่าน โดยเฉพาะ มิใช่ของบุคคลอื่นแล้วไซร้ ดังนั้น จงใคร่ยา ตายเถิด ถ้าพวกท่านเป็นผู้สัตย์จริง 95. แต่พวกขา จะไม่ใคร่ความตายเด็ดขาด เนือ่ ง ด้วยความชั่วที่พวกเขาได้ส่งไปล่วงหน้า และอัลลอฮ ทรงรอบรู้พวกอธรรม 96. แน่นอนเจ้าจะพบว่าพวกเขาเป็นมนุษย์ทลี่ มุ่ หลงในชีวิตมากที่สุด (โลกและทรัพย์สฤงคาร) ยิ่งกว่า พวกตั้งภาคีขึ้น (เทียบเทียมอัลลอฮฺ) แต่ละคนในหมู่ พวกเขายากมีอายุยืนพันปี ขณะที่อายุขัยยืนยาวจะ ไม่ช่วยให้เขาพ้นจากการลงโทษไปได้ และอัลลอฮฺ เป็น ผู้ทรงเห็นในสิ่งที่เขากระท�ำ ค�ำอธิบาย บางกลุ่มที่พึงพอใจ อัลกุรอานหลายโองการยืนยันว่า พวกยิวมีความ พึงพอใจในเชือ้ ชาติของตน เชือ่ ว่าตนเป็นประชาชาติทดี่ ี ทีส่ ดุ จุดเริม่ ต้นแห่งความเป็นมนุษย์นนั้ มาจากพวกตน เพราะพวกตนพระเจ้าจึงได้สร้างสวรรค์ขนึ้ มา นรกไม่ได้ ถูกเตรียมไว้สำ� หรับพวกเขา พวกเขาคือบุตรของพระเจ้า และเป็นมิตรแท้ของพระองค์ สรุปว่าความดีทงั้ หลายทีม่ ี เฉพาะพวกเขาเท่านัน้ พวกยิวพูดว่าสวรรค์เป็นของพวก

เขา แต่ถ้าต้องถูกลงโทษในนรกก็เพียงไม่กี่วันเท่านั้น พวกเขาต้องการให้บรรดามุสลิมละทิ้งศาสนาของตน แต่อัล-กุรอานได้เปิดม่านแห่งความมุสาออกจากพวก เขา กล่าวว่าเนื่องด้วยพวกเขาไม่พร้อมที่จะทิ้งชีวิตบน โลกนี้ ซึ่งสิ่งนี้เป็นเหตุผลที่แข็งแรงบนความมุสาของ พวกเขา แน่นอนถ้าหากมนุษย์มีความศรัทธาต่อโลก หน้าถึงเพียงนี้ เพราะเหตุใดชีวิตของพวกเขาจึงผูกพัน และหลงใหลอยูก่ บั โลก และประกอบกรรมชัว่ หลายพัน ประการก่อนที่จะไปสู่โลกนั้น โองการต่อมาเน้นว่า แน่นอนพวกเขารู้ว่า บัญชี การกระท�ำของพวกเขาบันทึกไว้แต่ความมืดทึบของ บาป และความผิดต่าง ๆ พวกเขาทราบดีถึงการกระท�ำ ทีช่ วั่ แท้ ๆ ของพวกเขา พระเจ้าก็ทรงทราบดีถงึ ความชัว่ ร้าย ตลอดทัง้ ปรโลกหน้าส�ำหรับพวกเขา คือการลงโทษ อันแสนสาหัส ด้วยเหตุนี้ พวกเขาจึงไม่ต้องการจาก โลกนี้ไป โองการสุดท้ายทีก่ ล่าวถึง ความริษยา และความ ลุม่ หลงต่อโลก ยิวเป็นกลุม่ ชนทีห่ ลงโลกมาตัง้ แต่ตราบ จนถึงปัจจุบัน พวกเขาหลงในทรัพย์สิน แก้วแหวนเงิน ทอง อ�ำนาจ บารมี เกียรติยศจอมปลอม และหลงตัว เองว่าเป็นประชาชาติที่ดีที่สุด พวกเขาต�่ำช้ายิ่งกว่า พวกตั้งภาคีเทียบเคียงพระเจ้า พวกเขาแม้ว่าลุ่มหลง

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 31


ต่อสะสมทรัพย์สินไม่ว่าจะได้มาด้วยวิธีการใดก็ตาม แต่ยังไม่ต�่ำทรามเฉกเช่นกับพวกยิว อย่างไรชนทั้งสอง กลุม่ มีความคล้ายกัน ตรงทีว่ า่ อยากจะมีชวี ติ อยูบ่ นโลก นี้นานเป็นพันปี ประเด็นส�ำคัญ จุดประสงค์ของ 1,000 ปี ที่โองการกล่าวถึง มิได้ หมายถึงจ�ำนวนหนึง่ พัน ทว่าเป็นการเปรียบเปรยให้เห็น ถึงอายุที่ยืนยาว อาชญากรรมเกิดจากชาตินิยม ไม่เป็นที่สงสัยว่าสาเหตุของการเกิดสงคราม และการเข่นฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ของคนในอดีต เกิดจาก ความเป็นชาตินยิ มในเชือ้ ชาติและเผ่าพันธุข์ องตน โดย เฉพาะอย่างยิ่งสาเหตุของการเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2 ซึง่ เป็นสงครามทีค่ ร่าชีวติ ผูค้ นไปมากทีส่ ดุ ความ เสียหายมากมายได้บงั เกิดขึน้ ซึง่ ปัจจัยส�ำคัญทีส่ ดุ ของ สงครามที่ไม่อาจปฏิเสธได้คือ ความเป็นชาตินิยมของ เยอรมัน (นาซี) ความเป็นชาตินิยม และหลงในเชื้อชาติของตน อีกทั้งเป็นกลุ่มชนที่เลวที่สุดบนโลกนี้คือ พวกยิว ดัง เป็นที่ประจักษ์ว่า ประเทศอิสรออีล ที่ได้ก่อร่างสร้าง ประเทศบนพื้นแผ่นดินของคนอื่น โดยการไล่เข่นฆ่า และเนรเทศเจ้าของประเทศออกนอกประเทศ และตน เข้ายึดครองประเทศของเขาแทน ซึง่ พืน้ ฐานส�ำคัญของ การจัดตัง้ ประเทศคือ ชาตินยิ ม พวกเขามีความอคติตอ่ ชนทุกหมู่เหล่าบนโลกนี้ แม้แต่ศาสนาที่มูซาน�ำมาสั่ง 32 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

สอน พวกเขาอ้างว่าเป็นศาสนาประจ�ำชนชาติอิสรอ อีลโดยเฉพาะไม่เกี่ยวข้องกับเชื้อชาติใด ถ้าบุคคลอื่นที่ ไม่ใช่ยวิ ต้องการนับถือศาสนาของ มูซา ถือเป็นสิง่ ไม่นา่ ยินดี ดังนัน้ พวกเขาจึงไม่มกี ารเผยแผ่ศาสนาแก่ชนชาติ อื่นนอกจากพวกยิว โดยหลักการแล้วความเป็นชาตินิยมจัดว่าเป็น หนึง่ ในชิรกิ (การเทียบเคียงพระเจ้า) ด้วยเหตุนี้ อิสลาม ห้ามและมีการต่อต้านเรือ่ งเชือ้ ชาติอย่างรุนแรง อิสลาม เชือ่ โดยหลักการว่ามนุษย์ทกุ คนบนโลกนี้ มีบดิ ามารดา คนเดียวกัน ดังนั้น ทุกคนต้องช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีการด�ำรงชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างเสรี ความดีและความ ประเสริฐของมนุษย์คนหนึ่งอยู่ที่ ความส�ำรวมตนจาก บาปกรรมต่าง ๆ พวกยิวที่หลงในเชื้อชาติของตน มี อคติอย่างรุ่นแรงต่อท่านศาสดา (ซ็อล ฯ) มีความริษยา ที่โองการได้ถูกประทานลงที่ท่าน โกรธญิบรออีลที่ไม่ น�ำโองการมาให้พวกตน หนักไปกว่านั้นโกรธพระเจ้าที่ ล�ำเอียงในการลงโองการให้กับพวกตน โองการที่ 97,98 ‫كان َع ُد ًّوا ل ِّ ِجبرِي َل فَإِن َّ ُه ن َ َّزل َ ُه َعلى قَ ْلبِك‬ َ ‫ق ُْل َمن‬

َّ‫ه‬ ‫شرى‬ َ ُ‫بِإِ ْذنِ الل ِ ُمص ِّدقاً ل ِّ َما بَي َن يَ َد ْي ِه َو ُه ًدى َو ب‬ ‫كان َع ُد ًّوا للِّهَّ ِ َو َملَئكتِ ِه َو‬ َ ‫) َمن‬97( ‫ل ِ ْل ُم ْؤ ِمنِي َن‬ َّ‫رسلِ ِه و ِجبرِي َل و مِيكَا َل فَإِ َّن ه‬ ‫الل َ َع ُد ُّو ل ِّ ْل َك ِفرِي َن‬ ُ َ َ )98(

ความหมาย 97. (พวกเขากล่าวว่า เนื่องด้วยญิบรออีลได้น�ำ โองการมาให้ท่าน ซึ่งพวกเราเป็นศัตรูกับญิบรออีล ดัง นั้นเราจึงไม่ศรัทธาท่าน ) จงกล่าวเถิด ผู้ใดเป็นศัตรูต่อ ญิบรีล (แท้จริงเขาคือศัตรูอลั ลฮฺ) เพราะแท้จริงเขาได้นำ� อัล-กุรอานลงมายังหัวใจของเจ้า โดยอนุมตั ขิ องอัลลอฮฺ เพื่อยืนยัน ต่อสิ่งที่มีมาก่อน เป็นทางน�ำ และเป็นข่าวดี แก่ผู้ศรัทธาทั้งหลาย 98. ผู้ใดเป็นศัตรูต่ออัลลอฮฺ และมลาอิกะฮฺ ของ พระองค์ และบรรดาศาสนทูตของพระองค์ ญิบรีล และ


มีกาอีล (เป็นกาเฟร) แท้จริงอัลลอฮฺ ทรงเป็นศัตรูต่อผู้ ปฏิเสธ สาเหตุแห่งการประทานลงมา เมื่อท่านศาสดามาถึงมะดีนะฮฺ บุตรของซูรียา ผู้ รู้ชาวยิวพร้อมกับสาวกจ�ำนวนหนึ่ง เดินทางมาจากฟะ ดัก เพื่อขอพบท่านศาสดา พวกเขาถามค�ำถามต่าง ๆ มากมาย และขอพิสูจน์สัญลักษณ์ พร้อมกับหลักฐาน อื่นที่ยืนยันการเป็นศาสดา พวกเขากล่าวว่า มุฮัมมัด ท่านนอนอย่างไร เนื่องด้วยพวกเขาเคยรับรู้เรื่องการ นอนของศาสดาพยากรณ์มาก่อนหน้านั้นแล้ว ท่าน ศาสดา (ซ็อล ฯ) กล่าวว่า ดวงตาทั้งสองของฉันหลับ แต่จิตใจของฉันไม่หลับ พวกเขาย�้ำว่า ท่านพูดจริงหรือ หลังจากถามค�ำถามต่าง ๆ มากมายแล้ว บุตรของซูรี ยา กล่าวว่า เหลือค�ำถามอีกข้อหนึ่ง ถ้าท่านสามารถ ตอบได้อย่างถูกต้อง ฉันจะศรัทธาและปฏิบัติตามท่าน มลาอิกะฮฺที่ลงมาหาท่านชื่อว่าอะไร ท่านศาสดา ตอบ ว่า ญิบรออีล บุตรของซูรียา กล่าวว่า เขาคือศัตรูของเรา เนื่อง ด้วยเขามักเอาค�ำสั่งที่เป็นปัญหา เกี่ยวกับสงครามมา ให้พวกเรา ส่วนมีกาอีลมักน�ำค�ำสั่งง่าย ๆ มาให้พวก เราเสมอ ถ้ามลาอิกะฮฺที่น�ำโองการมาให้ท่านเป็น มีกา อีล แน่นอนพวกเราจะศรัทธากับท่านทันที ค�ำอธิบาย ตรงนีจ้ ะเห็นว่าข้ออ้างประการเดียวทีพ่ วกเขาน�ำ มาอ้างคือ ญิบรออีลเป็นผู้น�ำโองการมาให้ท่าน พร้อม กับน�ำเอาภาระอันหนักอึง้ มาประกาศแก่มนุษย์ พวกเรา จึงไม่ศรัทธาต่อท่าน เพราะเราเป็นศัตรูกบั ญิบรออีล ถ้า มลาอิกะฮฺมกี าอีลเป็นผูน้ ำ� โองการมาให้ทา่ น จะเป็นการ ดีมาก ฉันจะศรัทธากับท่านแน่นอน จ�ำเป็นต้องถามพวกนี้ว่า ในหมู่มวลมลาอิกะฮฺมี การปฏิบัติหน้าที่แตกต่างกันด้วยหรือ หรือว่าพวกเขา ปฏิบัติตามอารมณ์ของตัวเอง หรือว่าพวกเขาพูดก่อน ที่จะน�ำโองการมาแจ้งแก่ศาสดา ในความเป็นจริงมวล มลาอิกะฮฺคือ กลุ่มข้าทาสที่อัล-กุรอานกล่าวว่า มีมลา

อิกะฮฺผู้แข็งกร้าวหาญคอยเฝ้ารักษามันอยู่ พวกเขาจะ ไม่ฝ่าฝืนอัลลอฮฺในสิ่งที่พระองค์ทรงบัญชาแก่พวกเขา และพวกเขาจะปฏิบัติตามที่ถูกบัญชา จ� ำ เป็ น ต้ อ งถามพวกเขาว่ า มลาอิ ก ะฮฺ มี ก าร ปฏิ บัติห น้ า แตกต่ า งกั น ด้ วยหรื อ บรรดามลาอิ ก ะฮฺ ปฏิบัติหน้าตามอารมณ์ตนเองหรือ หรือกระท�ำการ โดยพละกาลไม่ตอ้ งรออนุญาตจากพระเจ้า ซึง่ ในความ เป็นจริงแล้ว มลาอิกะฮฺคือกลุ่มข้าทาสที่จงรักภักดีต่อ พระเจ้า ดังอัล-กุรอานที่กล่าวว่า พวกเขา (มลาอิกะฮฺ) จะไม่ฝ่าฝืนอัลลอฮฺในสิ่งที่พระองค์ทรงบัญชาแก่พวก เขา และพวกเขาจะปฏิบัติตามที่ถูกบัญชา อย่างไรก็ตามอัล-กุรอาน ตอบข้อคลางแคลง เหล่านี้โดยกล่าวว่า ผู้ใดเป็นศัตรูต่อญิบรีล (แท้จริงเขา คือศัตรูอัลลฮฺ) เพราะแท้จริงเขาได้น�ำอัล-กุรอานลง มายังหัวใจของเจ้า โดยอนุมัติของอัลลอฮฺ อัล-กุรอาน ยืนยัน ต่อสิ่งที่มีมาก่อน และสอดคล้องกับสัญลักษณ์ ที่กล่าวไว้ในนั้น อัล-กุรอาน เป็นทางน�ำ และเป็นข่าวดี แก่ผศู้ รัทธาทัง้ หลาย ซึง่ ในความเป็นจริงโองการได้ให้ 3 ค�ำตอบอันเป็นตรรกะแก่ชนเหล่านั้น กล่าวคือ ประการแรก ญิบรออีลมิได้น�ำสิ่งใดจากตนเอง มาประกาศ ทุกสิ่งที่น�ำมาได้รับอนุญาตและเป็นของ พระเจ้าทั้งสิ้น ประการที่ ส อง มี สั ญ ลั ก ษณ์ ต ่ า งๆ อั น เป็ น เครื่องหมายที่ยืนยันถึงความสัตย์จริงของคัมภีร์ก่อน หน้านั้น และมีสัญลักษณ์ที่สอดคล้องกัน ประการที่สาม มาตรฐานของคัมภีร์คือเหตุผลที่

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 33


บ่งบอกถึงความดั้งเดิม และความสัตย์จริง โองการต่อมากล่าวในประเด็นเดียวกัน แต่เน้น ย�ำ้ พร้อมกับคาดโทษไว้มากกว่า ซึง่ บ่งบอกให้เห็นว่าชน เหล่านัน้ ไม่สามารถจ�ำแนกแยกแยะ หรือคิดในสิง่ ทีด่ ไี ด้ อัล-กุรอานกล่าวว่า อัลลอฮฺ และมลาอิกะฮฺ ของพระองค์ และบรรดาศาสนทูตของพระองค์ ญิบรีล และมีกาอีล หากผู้ใดเป็นศัตรูกับหนึ่งในนามที่กล่าวมา เท่ากับเป็น ศัตรูกับทั้งหมด ซึ่งถือว่าเป็นผู้ปฏิเสธ แท้จริงอัลลอฮฺ ทรงเป็นศัตรูต่อผู้ปฏิเสธ อีกนัยหนึง่ บัญญัตขิ องพระผูเ้ ป็นเจ้าสร้างความ สมบูรณ์แก่มนุษย์ได้ถกู ประทานลงมายังบรรดาศาสดา โดยผ่านมลาอิกะฮฺ ถ้าในหมูม่ ลาอิกะฮฺมหี น้าทีแ่ ตกต่าง กัน นัน่ เป็นเพราะว่าการแบ่งความรับผิดชอบ มิใช่มหี น้า ทีข่ ดั แย้งกัน พวกเขาทัง้ หมดต่างมีเป้าหมายของการขับ เคลื่อนเดียวกัน ด้วยเหตุนี้ การเป็นศัตรูกับหนึ่งในนาม ที่กล่าวมา จึงเท่ากับเป็นศัตรูกับทั้งหมด หลังจากนั้น อัล-กุรอาน กล่าวถึงประเด็นส�ำคัญ ว่า มนุษย์ที่ถวิลหาความสัตย์จริง และมิใช่ผู้ฝ่าฝืนเขา ต้องไม่มคี วามคลางแคลงใจในโองการของอัลลอฮฺ อัลกุรอานกล่าวว่า.. โองการที่ 99,100,101 ‫وَ لَق َْد أَن َز ْلنَا إِل َ ْيك َءايَتِ بَيِّنَت َو َما يَكْ ف ُ​ُر ب ِ َها‬

‫) أ َ َو كلَّ َما َع َه ُدوا َع ْهدا ً ن َّ َب َذ ُه‬99( ‫ُون‬ َ ‫إِال ا ْلفَسِ ق‬ ‫) َو ل َ َّما‬100( ‫ون‬ َ ‫ثر ُه ْم ال يُ ْؤ ِم ُن‬ ٌ ‫فَر‬ ُ ْ‫ِيق مِّ ْن ُهم بَ ْل أَك‬ َّ‫جاء ُهم رسو ٌل م ْن عِندِ ه‬ ‫الل ِ ُمص ِّد ٌق ل ِّ َما َم َع ُه ْم‬ َ ْ َ َ ِّ َّ‫ه‬ ‫ِيق مِّ َن الَّذِ ي َن أُوتُوا ا ْل ِكتَب كتَب الل ِ َو َرا َء‬ ٌ ‫ن َ َب َذ فَر‬ 101( ‫ون‬ َ ‫)ظهو ِره ِْم َكأَن َّ ُه ْم ال يَ ْعلَ ُم‬ ُ ความหมาย 99. แน่นอน เราได้ประทานสัญญาณต่าง ๆ อัน ชัดแจ้งแก่เจ้า และไม่มีใครปฏิเสธสัญญาณเหล่านั้น นอกจากบรรดาพวกฝ่าฝืน 100. และทุกครั้ง ที่พวกเขา (ยิว) ได้ท�ำสัญญา (กับพระเจ้าและศาสดา) กลุ่มหนึ่งของพวกเขาได้ทอด

34 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

ทิ้ง แต่ส่วนมากของพวกเขาไม่ศรัทธา 101. และเมื่อมีศาสดาจากอัลลอฮฺคนใดมายัง พวกเขา เป็นผู้ยืนยันสิ่งที่มีอยู่กับพวกเขา กลุ่มหนึ่ง ในบรรดาผู้ที่ได้รับคัมภีร์ของอัลลอฮฺ ได้ทิ้งคัมภีร์ขอ งอัลลอฮฺไว้ขา้ งหลังของพวกเขา ประหนึง่ ว่าพวกเขาไม่รู้ สาเหตุการประทานโองการ อิบนิอับบาส นักอรรถาธิบายอัล-กุรอานชื่อดัง กล่าวว่า บุตรของซูรียา นักวิชาการที่มีชื่อเสียงชาวยิว ได้กล่าวกับท่านศาสดาอย่างเย้ยหยัน และล้อเลียนว่า ท่านมิได้น�ำสิ่งที่พวกเราเข้าใจมาให้พวกเรา พระเจ้า มิได้ประทานสิ่งที่ชัดเจนแก่ท่าน เพื่อพวกเราจะได้ ปฏิบัติตามท่าน หลังจากนั้นอัล-กุรอานได้ประทานลง มาเพื่อตอบค�ำเย้ยหยันของพวกเขา ค�ำอธิบาย ยิวผู้บิดพลิ้วสัญญา อัลกุรอานโองการแรกกล่าวถึงความจริงข้อนี้ว่า พระเจ้าทรงประทานเหตุผลที่เพียงพอ สัญลักษณ์ที่ ชัดเจน และโองการทีอ่ ธิบายความจริงให้แก่ทา่ นศาสดา (ซ็อล ฯ) แต่พวกเขาก็ปฏิเสธสิ่งเหล่านั้น ในความเป็น จริง โองการน�ำไปสู่การเชิญชวนอันเป็นสัจธรรมยิ่ง ของท่านศาสดา เนื่องด้วยเป้าหมายที่เฉพาะเจาะจงที่ พวกฝ่าฝืนได้ตั้งขึ้นมา จริง ๆ แล้วการพิจารณาโองการ ต่างๆ ของอัล-กุรอาน ส�ำหรับมนุษย์ทุกคนที่มีจิตใจ สะอาด และถวิลหาสัจธรรมความจริง เป็นประทีปที่ สว่างแก่ทางน�ำอย่างยิง่ และการพิจารณาโองการเหล่า นั้น สามารถน�ำไปสู่การยอมรับการเชิญชวนของท่าน ศาสดา และความยิ่งใหญ่ของอัลกุรอานได้ พระเจ้าทรงท�ำสัญญากับพวกเขาว่า พวกเจ้าจง ศรัทธาต่อศาสดาพยากรณ์ ศาสดาผูซ้ งึ่ การปรากฏของ ท่านได้แจ้งไว้อย่างชัดเจนในคัมภีร์เตารอต แต่พวกเขา ก็ไม่ได้ปฏิบัติตามค�ำสัญญา ตามความเป็นจริงนับตั้งแต่โบราณกาล บรรดา พวกยิวไม่เคยยึดมั่นในค�ำมั่นสัญญา ปัจจุบันก็ยังเป็น เช่นนัน้ อยู่ เมือ่ ใดทีผ่ ลประโยชน์ของพวกยิวไซออนนิสต์


ตกอยูใ่ นอันตราย พวกเขาจะบิดพลิว้ สัญญาประชาคม โลกทั้งหมด และน�ำสิ่งเหล่านั้นไว้ใต้เท้าของตน พร้อม กับหาข้ออ้างต่างๆ เพื่อให้ประชาชนลืมสิ่งเหล่านั้น โองการสุดท้าย ได้ตอกย�้ำความส�ำคัญของ ประเด็นดังกล่าว โดยกล่าวว่า และเมื่อมีศาสดาจา กอัลลอฮฺคนใดมายังพวกเขา เป็นผู้ยืนยันสิ่งที่มีอยู่กับ พวกเขา กลุ่มหนึ่งในบรรดาผู้ที่ได้รับคัมภีร์ของอัลลอฮฺ ได้ทงิ้ คัมภีรข์ องอัลลอฮฺไว้ขา้ งหลังของพวกเขา ประหนึง่ ว่าพวกเขาไม่รู้ ตราบที่ท่านศาสดายังไม่ได้ปรากฏตัว บรรดาผู้รู้ของยะฮูดียฺ ต่างแจ้งให้ประชาชนทราบถึง สัญลักษณ์ บุคลิก และการปรากฏของท่าน แต่เมื่อ ท่านปรากฏมาพร้อมกับสาส์นของพระเจ้า ดังที่แจ้ง ไว้ในคัมภีร์เตารอต พวกเขากลับปฏิเสธอย่างสิ้นเชิง ประหนึ่งไม่เคยรับรู้เรื่องเหล่านี้มาก่อนเลย และสิ่งนี้ เป็นความอคติ การหลงในเชื้อชาติเผ่าพันธุ์ และการ บูชาโลกอย่างแท้จริง เนื่องด้วยพวกเขาได้เริ่มต้นด้วย ความยากล�ำบาก แต่เมือ่ ไปถึงจุดหมายปลายทางแล้วก ลับถอยหลังไปอยู่ร่วมกับศัตรู ปฏิเสธสิ่งที่ตนเคยต่อสู้ และเผยแผ่มาอย่างสิ้นเชิง ประเด็นส�ำคัญ เป็นที่ประจักษ์ว่าการใช้ค�ำว่า นุซูล หมายถึง การลงมา หรือค�ำว่า อินซาล หมายถึง การส่งลงมา ใน อัล-กุรอานมิได้หมายความว่า พระเจ้าทรงมีที่อยู่ใน ท้องฟ้า และประทานอัล-กุรอานลงมาจากที่นั่น ทว่า การให้ความหมายเช่นนี้บ่งชี้ถึงสภาวะจิตวิญญาณที่ สูงส่งของพระองค์ ค�ำว่าฟาซิกมาจากรากศัพท์ของค�ำว่าฟะซะเกาะ ตามรากศัพท์เดิมหมายถึง เม็ดอินทผลัมได้ออกนอกผล อินทผลัม ด้วยเหตุนี้ บางครั้งจะเห็นว่าทลายอินทผลัม ขาดจากต้นหล่นลงพื้น ท�ำให้แตกระจายและเม็ดได้ หลุดออกจากผลของมัน อาหรับเรียกว่า การหลุดออก สภาพเดิม หลังจากนั้นได้น�ำไปใช้กับบุคคลที่หลุดออก จากอาภรณ์แห่งการภักดีตอ่ พระผูเ้ ป็นเจ้า และออกนอก แนวทางของการเป็นบ่าวจึงเรียกว่า ฟาซิก

อัลกุรอานยืนยันว่าจะไม่ประณามประชาชาติใด เนื่องจากการกระท�ำความผิดของชนส่วนมาก ทว่าชน ส่วนมากถูกปกป้องรักษาด้วยสัดส่วนของชนส่วนน้อย ที่มีความย�ำเกรง และมีศรัทธา หลังจากนั้น อัล-กุรอาน อธิบายถึงวิสัยทัศน์ของ พวกยิวในการใช้เล่ห์เพทุบายว่า โองการที่ 102,103

‫ك سلَ ْي َم َن َو‬ ِ ‫ين َعلى ُم ْل‬ ُ ِ‫َو ات َّ َب ُعوا َما ت َ ْتلُوا الش َيط‬ ‫ون‬ َ ‫َما كف َ​َر سلَ ْي َم ُن َو ل َ ِك َّن الش َيطِ ي َن َكف َُروا يُ َعلِّ ُم‬ ‫السح َر َو َما أُن ِز َل َعلى ا ْل َملَكي ِن بِ َبابِ َل‬ ْ ‫النَّاس‬ ‫َه ُروت َو َم ُروت َو َما يُ َعلِّ َمانِ م ِْن أ َ َحد َحتى‬ ‫ون ِم ْن ُه َما َما‬ َ ‫يَقُوال إِن َّ َما ْنح ُن فِ ْتنَ ٌة فَال تَكْ ف ُْر فَ َيتَ َعلَّ ُم‬ ‫ُون بِ ِه بَي َن ا ْل َم ْر ِء َو َز ْو ِج ِه َو َما ُهم بِضا ِّري َن‬ َ ‫يُف َِّرق‬ َّ‫ب ِ ِه م ِْن أَحد إِال بِإِ ْذنِ ه‬ ‫ضر ُه ْم‬ َ ‫الل ِ َو يَتَ َعلَّ ُم‬ َ ُّ َ‫ون َما ي‬ ‫اشترا ُه َما ل َ ُه فى‬ َ ‫َو ال يَن َف ُع ُه ْم َو لَق َْد َعلِ ُموا ل َ َم ِن‬ ‫ُسه ْم ل َ ْو‬ َ ‫االَخِ َر ِة م ِْن َخلَق َو ل َ ِب ْئس َما‬ ُ ‫شر ْوا بِ ِه أَنف‬ ‫) َو ل َ ْو أَن َّ ُه ْم َءا َم ُنوا َو اتَّق َْوا‬102( ‫ون‬ َ ‫كانُوا ي َ ْعلَ ُم‬ َّ‫ه‬ 103( ‫ون‬ َ ‫ير ل َّ ْو كانُوا يَ ْعلَ ُم‬ ٌ ‫)ل َ َمثُوب َ ٌة مِّ ْن عِندِ الل ِ َخ‬ ความหมาย 102. และพวกเขา (ยะฮูดียฺ) ปฏิบัติตามสิ่งที่บร รดาชัยฏอนในสมัยสุลยั มานอ่านให้ฟงั แต่สลุ ยั มานมิได้ ปฏิเสธ แต่ชัยฏอนปฏิเสธ พร�่ำสอนวิชาไสยศาสตร์แก่ ผู้คน และ (ปฏิบัติตาม) ที่ถูกประทานลงมาแก่มลาอิก ะฮฺทั้งสอง คือ ฮารูต และมารูต ณ เมืองบาบิล (มลาอิก ะฮฺทั้งสอง แนะน�ำประชาชนให้รู้จักไสยศาสตร์ และวิธี ท�ำลายมัน) ทั้งสองไม่สอนแก่ผู้ใดทั้งสิ้น จนกระทั่งทั้ง สองกล่าวว่า เราเป็นสื่อในการทดลอง จงอย่าปฏิเสธ (จงอย่าน�ำสิ่งที่แนะน�ำไปใช้ในทางที่ผิด) แล้วเขาเหล่า นั้นได้เรียนจากทั้งสอง เพื่อที่จะสามารถใช้สิ่งนั้น สร้าง ความแตกร้าว ระหว่างสามีกับคู่ครองของเขา แต่พวก เขาไม่อาจใช้สิ่งนั้นท�ำอันตรายแก่ผู้ใดได้ เว้นแต่โดย อนุมัติของอัลลอฮฺ และพวกเขาเรียนสิ่งที่ให้โทษแก่

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 35


พวกเขา และไม่ได้ให้คุณแก่พวกเขา แน่นอนพวกเขา (มุสลิม) รู้ดีว่าผู้ที่ซื้อมัน ในปรโลกจะไม่มีประโยชน์ใด ๆ เลย และชั่วช้าแน่นอน ที่พวกเขาขายตัวของพวกเขา ด้วยสิ่งนั้น หากพวกเขารู้ 103 . และถ้าพวกเขาได้ศรัทธา และส�ำรวมตน จากความชั่ว แน่นอน อนิจสงฆ์ ณ อัลลอฮฺ ย่อมดีกว่า หากพวกเขารู้ ค�ำอธิบาย สุลยั มานกับนักไสยศาสตร์แห่งบาบิล จากรายงานต่าง ๆ ท�ำให้เข้าใจได้วา่ ในสมัยของ ท่านศาสดาสุลัยมาน มีประชาชนกลุ่มหนึ่งเรียนรู้ และ ใช้ไสยศาสตร์ ท่านจึงสั่งให้เก็บรวมรวมสิ่งที่พวกเขา เขียนหรือบันทึกเอาไว้ทั้งหมด ไว้ในที่หนึ่ง หลังจากท่านศาสดาสุลัยมานจากไป พวกเขา ได้น�ำสิ่งนั้นออกมาสั่งสอน และปฏิบัติอีกครั้ง บางคน ถึงกับกล่าวว่า สุลัยมานมิได้เป็นศาสดา ซึ่งมีพวกบนี อิสรออีลบางกลุ่มเชื่อและปฏิบัติตามเขา และหลงใหล ไสยศาสตร์อย่างรุนแรง จนกระทั่งละทิ้งคัมภีร์เตารอต ขณะที่ ท ่ า นศาสดามุ ฮั ม มั ด (ซ็ อ ลฯ) ปรากฏ ตัว ท่านน�ำโองการแจ้งกับประชาชนว่าสุลัยมานเป็น ศาสดาท่านหนึ่งของพระเจ้า ผู้รู้ยะฮูดียฺบางคนกล่าว ว่า พวกท่านไม่แปลกใจดอกหรือ ที่มุฮัมมัดกล่าวว่า สุ ลัยมานเป็นศาสดา ค�ำพูดของยะฮูดยี ฺ เป็นการใส่รา้ ยที่ ต�ำ่ ทรามยิง่ ส�ำหรับศาสดา นัน่ เท่ากับว่าพวกเขาปฏิเสธ สุลัยมาน

36 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

บรรดายะฮูดียฺ ได้เข้าสู่วงจรของไสยศาสตร์โดย การเสี้ยมสอนของชัยฏอนมารร้าย ในสมัยของท่าน ศาสดาสุลัยมาน อีกทางหนึ่งพวกเขาเรียนรู้จากฮารูต และมารูตมลาอิกะฮฺสององค์ของพระเจ้า ที่แนะน�ำ ประชาชนให้รจู้ กั ไสยศาสตร์เพือ่ การท�ำลายศาสตร์ดา้ น นี้ ขณะที่เป้าหมายของมลาอิกะฮฺทั้งสองคือ ต้องการ สอนให้ประชาชนรู้จักวิธีการท�ำลายไสยศาสตร์ ที่นัก ไสยศาสตร์ทั้งหลายน�ำมาใช้ ด้วยเหตุนี้ ทั้งสองจึงไม่ ได้สอนสิ่งใดแก่ประชาชน เว้นเสียแต่ว่า ทั้งสองกล่าว ว่า เราเป็นสื่อในการทดลอง จงอย่าปฏิเสธเลย และจง อย่าน�ำสิ่งนี้ไปใช้ในทางที่ผิด สรุ ป ว่ า เมื่ อ มลาอิ ก ะฮฺ ทั้ ง สองได้ ม าอยู ่ กั บ ประชาชน ช่ ว งนั้ น ไสยศาสตร์ ก� ำ ลั ง ร้ อ นแรง และ ประชาชนต่างเดือดร้อนกันถ้วนหน้า มลาอิกะฮฺทั้งสอง จึงสอนประชาชนให้รู้จักวิธีแก้ไสยศาสตร์ แน่นอนก่อน จะสอนให้รู้จักวิธีแก้ต้องเรียนรู้วิธีผูกก่อน แต่วา่ มียะฮูดยี บฺ างกลุม่ น�ำไปใช้ในทางทีผ่ ดิ พวก เขาใช้ไสยศาสตร์เป็นเครือ่ งมือหากิน จนกระทัง่ ถึงขัน้ ที่ กล่าวหาว่าสุลยั มานมิได้เป็นศาสดาของพระเจ้า และสุ ลัยมานเป็นตัวการในการสอนไสยศาสตร์ ทัง้ มนุษย์และ ญินทีป่ ฏิบตั ติ ามสุลยั มาน จึงถือว่าเป็นบุตรหลานทีเ่ กิด จากไสยศาสตร์ทั้งสิ้น แน่นอน วิธีการเช่นนี้เป็นวิธีการ ของคนชั้นต�่ำที่ต้องการหาข้ออ้างให้กับศาสนาของตน จึงใส่ร้ายแม้กระทั่งศาสดาของพระเจ้า อย่างไรก็ตามพวกเขาพ่ายแพ้การทดสอบ พวก เขาเรียนรู้ไสยศาสตร์จากมลาอิกะฮฺสององค์ เพื่อว่าจะ ได้นำ� สิ่งนี้ไปใช้ในทางทีผ่ ิด และเป็นสือ่ สร้างความแตก ร้าวระหว่างสามีภรรยา แต่อ�ำนาจของพระเจ้าเหนือและยิ่งใหญ่กว่า อ�ำนาจเหล่านั้น พวกเขาไม่สามารถกระท�ำการใด ๆ โดยปราศจากค�ำอนุญาตของพระเจ้าได้ พวกเขาเรียน รู้ส่วนที่ไม่ให้คุณและให้โทษแก่ตนเอง แน่นอน พวกเขาเป็นผู้ท�ำลายและเปลี่ยนแปลง แผนการของพระเจ้า พวกเขาแทนที่จะเรียนรู้เพื่อหาวิธี


การแก้ไข และต่อสู้กับนักไสยศาสตร์ทั้งหลาย แต่กลับ น�ำไปใช้ในทางที่ผิดเป็นสื่อก่อความเสียหายบนหน้า แผ่นดิน เนื่องด้วยพวกเขารู้ว่า บุคคลใดก็ตามเลือกซื้อ สินค้าประเภทนี้ ในปรโลกจะไม่มีประโยชน์ใด ๆ และ ชั่วช้าแน่นอน ที่พวกเขาขายตัวของพวกเขาด้วยสิ่งนั้น หากพวกเขารู้ โองการสุดท้ายกล่าวถึงบทสรุปการกระท�ำของ พวกเขาว่า แท้จริงพวกเขาได้หันหลังให้กับความสุข นิรนั ดรของพวกเขา และหลงระเริงอยูก่ บั บาปกรรมต่าง ๆ ขณะทีถ่ า้ พวกเขาศรัทธา และส�ำรวมตนจากความชัว่ แน่นอน อนิจสงฆ์และผลบุญ ณ อัลลอฮฺ ย่อมเป็นของ พวกเขา หากพวกเขารู้ ประเด็นส�ำคัญ มลาอิกะฮฺเป็นครูของมนุษย์ได้อย่างไร รายงานกล่าวว่า พระเจ้าทรงให้มลาอิกะฮฺกลาย ร่างเป็นมนุษย์ เพื่อจะได้ปฏิบัติหน้าที่ ๆ ได้รับมอบ หมายมา ประเด็นดังกล่าวสามารถดูได้จากโองการที่ 9 บทอันอาม ซึ่งกล่าวว่า ถ้าหากเราให้เขาเป็นมะลัก แน่นอนเราย่อมให้เขาเป็นคนผู้ชาย ถ้าปราศจากค�ำอนุญาตของพระเจ้าไม่มีผู้มี ความสามารถกระท�ำ โองการข้างต้นกล่าวไว้อย่างชัดเจนว่า บรรดา นักไสยศาสตร์ ถ้าปราศจากค�ำอนุญาตของพระองค์ ไม่สามารถกระท�ำสิง่ ใดได้ทงั้ สิน้ ไม่สามารถสร้างความ เสียหายแก่บคุ คลอืน่ แต่ไม่ได้หมายความว่าเป็นการบัง ให้กระท�ำ ทว่าเป็นการบ่งชี้ถึงหนึ่งในประเด็นส�ำคัญ อันเป็นพืน้ ฐานหลักของความเป็นเอกภาพของพระเจ้า เนื่องจากบรรดาอ�ำนาจทั้งหลายบนโลกนี้ล้วนต้องพึ่ง อ�ำนาจของพระองค์ทั้งสิ้น แม้แต่เปลวไฟที่ลุกไม้ หรือ ประกายดาบขณะฟัน ถ้าไม่ได้รบั อนุญาตจากพระองค์ จะไม่สามารถเกิดขึ้นได้อย่างเด็ดขาด มิใช่ว่าบรรดา นักไสยศาสตร์เหล่านั้น สามารถท�ำลายกฎเกณฑ์อัน เป็นธรรมชาติแห่งการสร้างสรรค์ของพระองค์ได้ด้วย ตัวเอง โดยไม่ได้รับอนุญาตจากพระองค์และเข้าไปมี

บทบาทต่อระบบสร้างสรรค์ ทัง้ ทีไ่ ม่ใช่พระประสงค์ของ พระองค์ มิใช่วา่ พระเจ้าทรงก�ำหนดขอบเขตการบริหาร ของพระองค์ แต่สงิ่ นีเ้ ป็นร่องรอยของพระองค์ทที่ รงมอบ ให้บ่าวที่รพระองค์ทรงประสงค์เท่านั้น เพียงแต่ว่าบาง คนน�ำไปใช้ในวิถีทางที่ถูกต้อง และบางคนน�ำไปใช้ใน วิถที างทีผ่ ดิ สิง่ นีเ้ ป็นเจตนารมณ์เสรีทพี่ ระองค์ทรงมอบ ให้กับปวงบ่าว และเป็นสื่อเพื่อทดสอบความสมบูรณ์ ด้วยเหตุผลที่กล่าวว่า บรรดายะฮูดียฺเป็นกลุ่ม ชนที่ชอบหาข้ออ้าง และหาจุดอ่อนของมุสลิม อัลลอฮฺ ทรงเตือนมุสลิมโดยผ่านโองการว่าจงออกห่างจาก พฤติกรรมที่ไม่ดีดังที่พวกยะฮูดียฺได้กระท�ำ โองการที่ 104,105

‫انظرنَا‬ ْ ‫يَأَي ُّ َها الَّذِ ي َن َءا َم ُنوا ال تَقُولُوا َر ِعنَا َو قُولُوا‬ ‫) مَّا يَ َو ُّد‬104( ‫اب أَل ٌِيم‬ ٌ ‫َو اس َم ُعوا َو ل ِ ْلك ِفرِي َن َع َذ‬ ‫الَّذِ ي َن َكف َُروا م ِْن أ َ ْه ِل ا ْل ِكتَ ِب َو ال ال ْ ُمش ِركِي َن‬ َّ‫أَن ين َّز َل علَيكم م ْن َخير من َّربكم و ه‬ ‫اللُ ْيختَص‬ َ ْ ِّ ِّ ُ ِّ ْ َ َّ‫ه‬ ُ 105( ‫َضل ا ْل َعظِ ي ِم‬ ِ ‫)بِ َر ْح َمتِ ِه َمن يَشا ُء َو الل ُذو ا ْلف‬

ความหมาย 104.โอ้บรรดาผูศ้ รัทธา (เมือ่ ท่านศาสดา ขอเวลา เพื่อให้ท่านสร้างความเข้าใจเกี่ยวโองการ) จงอย่าพูด ว่ารออินา และจงกล่าวว่า อุนซุรนา (เนื่องจากค�ำแรก หมายถึง จงให้โอกาสเรา หรือจงท�ำให้เราโง่เขลา) และ จงฟัง และส�ำหรับผู้ปฏิเสธ (ที่เย้ยหยัน) คือการลงโทษ อันเจ็บปวด 105. บรรดาที่ ป ฏิ เ สธในหมู ่ ช าวคั ม ภี ร ์ และ พวกตั้งภาคี ไม่ปรารถนาให้มีความดีอันใด จากพระผู้ อภิบาลของสูเจ้า ถูกประทานลงมาแก่สเู จ้า และอัลลอฮฺ ขณะที่อัลลอฮฺทรงเจาะจงความกรุณาของพระองค์แก่ ผู้ที่พระองค์ทรงประสงค์ และอัลลอฮฺ คือเจ้าแห่งความ โปรดปรานอันใหญ่หลวง สาเหตุแห่งการประทานลงมา อิบนิอับบาศกล่าวว่า บรรดามุสลิมในยุคแรก ของอิสลามขณะที่ท่านก�ำลังกล่าวเทศนา และอธิบาย

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 37


ถึง ความโง่เขลา ไปใช้พูดเพื่อเย้ยหยันศาสดา และผู้ ศรัทธา พระเจ้าจึงลงโองการมาเพื่อป้องกันมิผู้ศรัทธา น�ำค�ำนี้ไปใช้ในทางที่ผิด และแทนที่ค�ำว่า รออินา ด้วย ค�ำว่า อุนซุรนา จากโองการสามารถเข้าใจได้ว่า บรรดามุสลิม ต้องระมัดระวังการด�ำเนินแผนการ และกระท�ำกิจกรรม ของตน อย่าเปิดโอกาสให้ศัตรู แม้กระทั่งประโยคสั้น ๆ เพราะเป็นไปได้ว่าพวกเขาจะน�ำเอาสิ่งเหล่านี้ไปใช้ใน ทางที่ผิด และเพื่อป้องกันไม่ให้สิ่งเหล่านี้เกิดขึ้น อัล-กุ รอาน จึงลงมาเพือ่ เตือนสติบรรดาผูศ้ รัทธามิให้นำ� ไปใช้ ในทางทีผ่ ดิ โดยเฉพาะค�ำทีม่ คี วามหมายคล้ายคลึงกัน โองการอะฮฺกามอยู่นั้น บางครั้งขอร้องท่านให้อธิบาย เพราะศัตรูอาจน�ำค�ำนัน้ ไปใช้ในความหมายอืน่ เป็นการ ช้า ๆ เพือ่ จะได้เข้าใจเรือ่ งราวทัง้ หมด บางครัง้ มีคำ� ถาม ท�ำลายภาวะจิตใจของผู้ศรัทธาให้อ่อนแอ ฉะนั้น ผู้ และอธิบายความต้องการของตน การขอร้องของบรรดา ศรัทธาต้องออกห่างจากสิ่งเหล่านี้อย่างสิ้นเชิง มุสลิมจะเห็นว่า ประโยค รออินา ถ้ามาจากรากศัพท์ ค�ำว่า อัรรออี หมายถึง การขอเวลา หรือการขอโอกาส หรือการประวิงเวลา ส่วนพวกยะฮูดียฺกล่าวค�ำว่า รออินา เหมือนกัน แต่มาจากรากศัพท์ของค�ำว่า อัรเราะอูนะฮฺ หมายถึง ไม่มเี ชาวน์ ไม่ฉลาด และโง่เขลา ความหมายแรกหมาย ถึง โปรดให้โอกาสเรา เพื่อการคิดไตร่ตรอง ส่วนความ หมายที่สอง หมายถึง โปรดให้เราโง่เขลา ตรงนี้ พ วกยะฮูดียฺ ได้โอกาสทันทีโดยยึดเอา ประโยคดังกล่าว ซึ่งเป็นประโยคที่บรรดามุสลิมกล่าว กันเป็นหลักฐานในการเย้ยหยันท่านศาสดาและบรรดา มุสลิม โองการจึงถูกประทานลงมาเพื่อป้องกันมิให้ น�ำ ประโยคไปใช้ในทางที่ผิด และสั่งบรรดาผู้ศรัทธาว่าให้ กล่าวประโยค อุนซุรนา แทนประโยค รอฆินา ซึ่งทั้ง สองประโยคมีความหมายเหมือนกัน เพื่อป้องกันมิให้ ศัตรูหยิบฉวยโอกาสในการล้อเลียน และเย้ยหยันมุสลิม ค�ำอธิบาย การให้โอกาสแก่ศัตรู รออินา มาจากรากศัพท์ของค�ำว่า อัรรออี หมาย ถึง การให้โอกาส หรือการประวิงเวลา แต่พวกยะฮูดียฺ น�ำค�ำนี้ ซึ่งมาจากรากศัพท์ของค�ำว่า อัรเราะอูน หมาย

38 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556


แปลและเรียบเรียงโดย

เชคมุฮัมมัด นาอีม ประดับญาติ

รอมาฎอน ในค�ำสอนของ

อะฮ์ลุลบัยต์ 1. ท่านศาสดา (ศ.) กล่าวว่า "แท้จริงเดือนรอมฎอนได้รับการตั้งชื่อเช่นนี้ก็ เพราะมันเผาไหม้ความบาปให้หมดไป" (กันซุล อัมมาล ฮะดีษเลขที่ 23688) 2. ท่านอิมามญะอ์ฟัร ศอดิก (อ.) กล่าวว่า "จงอย่าพูดว่า 'นี่คือรอมฎอน' และ 'รอมฎอนได้ จากไปแล้ว' และ 'รอมฎอนมาถึงแล้ว' เพราะแท้จริง รอม ฎอนคือพระนามหนึ่งของอัลลอฮ์ ผู้ทรงยิ่งใหญ่ ผู้ทรง จ�ำเริญ ผู้ซึ่งไม่ทรงมาถึงหรือจากไป แท้จริง การมาถึง และจากไปเป็นสิ่งที่ไม่จีรังยั่งยืน จงพูดแทนด้วยค�ำว่า 'เดือนรอมฎอน'" (อัล-กาฟีย์ เล่ม 4 หน้า 70) 3. ท่านอิมามอะลี ริฎอ (อ.) กล่าวว่า "ถ้ามีผู้ถามว่า ท�ำไมการถือศีลอดจึงเป็นกฎข้อ บังคับเฉพาะในเดือนรอมฎอน และไม่บังคับในเดือน อื่นๆ? จงกล่าวว่า เพราะเดือนรอมฎอนเป็นเดือนซึ่ง อัลลอฮ์(ซ.บ.) ได้ทรงประทานอัล-กุรอานมา" (บิฮารุล อันวารฺ เล่ม 18 หน้า 190) 4. ท่านอิมามอะลี ริฎอ (อ.) กล่าวว่า "ผู้ที่อ่านคัมภีร์ของ อัลลอฮ์ ผู้ทรงยิ่งใหญ่ ผู้ทรง จ�ำเริญ หนึ่งโองการในเดือนรอมฎอน เหมือนกับเขาได้ อ่านอัล-กุรอนทัง้ เล่มในเดือนอืน่ ๆ" (บิฮารุล อันวารฺ เล่ม 93 หน้า 344) 5. มีผู้ถามท่านศาสดา (ศ.) ว่า "โอ้ศาสนทูต

แห่งอัลลอฮ์ เดือนใดมีรางวัลตอบแทนยิ่งใหญ่กว่ากัน เดือนรอญับ หรือเดือนรอมฎอน?" ท่านศาสดา (ศ.) ตอบว่า "ไม่มีอะไรสามารถ เปรี ย บเที ย บกั บ เดื อ นรอมฎอนได้ ใ นด้ า นรางวั ล ตอบแทน" (บิฮารุล อันวารฺ เล่ม 97 หน้า 49) 6. ท่านศาสดา (ศ.) กล่าวว่า "ชะอฺบานเป็นเดือนของฉัน และเดือนรอมฎอน เป็นเดือนของอัลลอฮ์ (ซ.บ.) และมันเป็นฤดูใบไม้ผลิ ส�ำหรับคนยากจน" (บิฮารุล อันวารฺ เล่ม 97 หน้า 68) 7. ท่านศาสดา(ศ.) กล่าวว่า "แท้จริง อัลลอฮ์ผู้ทรงยิ่งใหญ่ ผู้ทรงจ�ำเริญ ได้ ทรงเลือกจากบรรดาเดือนทั้งหลาย คือเดือนรอญับ, ชะอฺบาน และเดือนรอมฎอน" (บิฮารุล อันวารฺ เล่ม 27 หน้า 53) 8. ท่านศาสดา (ศ.) กล่าวว่า "แท้ จ ริ ง เดื อ นรอมฎอนเป็ น เดื อ นที่ ยิ่ ง ใหญ่ อัลลอฮ์ทรงเพิ่มพูนให้แก่การท�ำความดีในเดือนนี้ และ ทรงลบล้างความบาปในเดือนนี้ และยกสถานะต่างๆ ใน เดือนนี้" (วะซาอิลุช-ชีอะฮ์ เล่ม 10 หน้า 312) 9. ท่านอิมามอะลี (อ.) กล่าวว่า "เดือนรอมฎอนได้มาถึงพวกท่านแล้ว และมัน เป็นหัวหน้าของเดือนทัง้ หลาย และเป็นเดือนเริม่ ต้นของ ปี" (บิฮารุล อันวารฺ เล่ม 42 หน้า 193)

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 39


10. ท่านอิมามญะอ์ฟัร ศอดิก (อ.) กล่าวว่า "ถ้าเดือนรอมฎอนมีความ ปลอดภัยและปกติสขุ (เกีย่ วกับบาป) ปีนนั้ (ทัง้ ปี) ก็จะคงเป็นเช่นนัน้ (ด้วยเช่น กัน) เดือนรอมฎอน คือเดือนเริ่มต้นของปี" (วะซาอิลุชชีอะฮ์ เล่ม 10 หน้า 311) 11. ท่านศาสดา (ศ.) กล่าวว่า "มัน (รอมฎอน) เป็นเดือนซึ่ง การเริ่มต้นของมัน คือความเมตตา ช่วงกลางของมันคือการอภัยโทษ และ การสิน้ สุดของมันคือการปลดปล่อยจากไฟ(นรก)"(บิฮา รุลอันวารฺเล่ม93หน้า342) 12. ท่านศาสดา (ศ.) กล่าวว่า "โอ้ประชาชนทั้งหลาย แท้จริง เดือนของอัลลอฮ์ ได้มาถึงพวกท่านแล้ว เดือนที่มีความประเสริฐที่สุด จากบรรดาเดือนทั้งหลายในสายตาของอัลลอฮ์ กลาง วันของมันเป็นวันที่ดีที่สุดจากบรรดาวันทั้งหลาย และ กลางคืนของมันเป็นกลางคืนที่ดีที่สุดจากบรรดาเดือน ทั้งหลาย และเวลาของมันเป็นเวลาที่ดีที่สุดจากเวลา ทั้งหลาย" (บิฮารุล อันวารฺ เล่ม 96 หน้า 356) 13. ท่านอิมามญะอ์ฟัร ศอดิก (อ.) กล่าวว่า "เดือนทีด่ ที สี่ ดุ จาก บรรดาเดือนทัง้ หลายคือเดือน ของอัลลอฮ์ เดือนรอมฎอน และหัวใจของเดือนรอมฎอน คือค�่ำคืนแห่งก็อดร์ " (บิฮารุล อันวาร เล่ม หน้า 386) 14. ท่านศาสดา (ศ.) กล่าวว่า "โอ้ประชาชนทั้งหลาย แท้จริง เดือนที่ยิ่งใหญ่

40 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

และมีความจ�ำเริญได้เข้าห่อหุม้ พวกท่านแล้ว เป็นเดือน ที่มีคืนหนึ่ง ซึ่งการกระท�ำในคืนนั้นดีกว่าหนึ่งพันเดือน" (บิฮารุล อันวารฺ เล่ม 96 หน้า 342) 15. ท่านศาสดา(ศ.) กล่าวว่า "การหายใจของพวกท่านใน เดือนนี้เป็นการ สรรเสริญ (ต่ออัลลอฮ์) และการนอนหลับของพวกท่าน ในเดือนนีค้ อื การท�ำอิบาดัต (เคารพภักดีตอ่ อัลลอฮ์)" (บิ ฮารุล อันวารฺ เล่ม 96 หน้า 356) 16. ท่านศาสดา(ศ.) กล่าวว่า "เดือนรอมฎอนเป็นเดือน ซึ่งอัลลอฮ์ ผู้ทรงยิ่ง ใหญ่ ผู้ทรงประเสริฐ ได้ท�ำให้การถือศีลอดเป็นกฎข้อ บังคับเหนือพวกท่าน ดังนั้น ใครที่ถือศีลอดในเดือนนี้ ในฐานะผู้ศรัทธา และด้วยเจตนาเพื่อการชดใช้ จะเป็น ผูป้ ราศจากบาปเหมือนกับวันทีม่ ารดาของเขาได้คลอด เขาออกมา" (ตัษฮีบุล อะฮ์กัม เล่ม 4 หน้า 152) 17. ท่านอิมามญะอ์ฟัร ศอดิก (อ.) ได้เขียนใน พินัยกรรมของท่านต่อบุตรชายของท่านว่า "เมื่ อ เดื อ นรอมฎอนมา ถึ ง จงทุ ่ ม เทแรงกาย เพราะแท้จริงในเดือนนี้เองที่การยังชีพได้ถูกแจกจ่าย เวลาแห่งความตายถูกก�ำหนด และการไปท�ำฮัจญ์ถูก บัญชา ในเดือนนี้คือคืนหนึ่ง ซึ่งการกระท�ำในคืนนั้น ดีกว่าการกระท�ำในหนึ่งพันเดือน" (อัล-กาฟีย์ เล่ม 4 หน้า 66) 18. ท่านศาสดา(ศ.) กล่าวว่า "เดือนนี้ของพวกท่าน (รอมฎอน) ไม่เหมือนกับ เดือนอื่นๆ แท้จริง เมื่อมันมาถึงพวกท่าน มันมาพร้อม กั บ ความโปรดปรานและความเมตตา และเมื่ อ มั น กลับไปจากพวกท่าน มันกลับไปพร้อมกับการอภัยโทษ ต่อบาปทั้งหลาย นี่คือเดือนซึ่งการกระท�ำดีในนั้นถูก เพิ่มพูน และถูกยอมรับ" (วะซาอิลุช ชีอะฮ์ เล่ม 10 หน้า 312) 19. ท่านศาสดา(ศ.) กล่าวว่า "แท้จริง เดือนรอมฎอน เดือนอันจ�ำเริญ ได้มา หาพวกท่านแล้ว เป็นเดือนที่อัลลอฮ์ท�ำให้การถือศีล


อดเป็นข้อบังคับเหนือพวกท่าน ในเดือนนี้ประตูสวรรค์ ถูกเปิดออก และมารร้ายถูกล่ามตรวนไว้ และในเดือน นี้คือค�่ำคืนแห่งก็อดร์ ซึ่งมีความประเสริฐมากกว่าหนึ่ง พันเดือน" (ตะฮ์ษีบุล อะฮ์กัม เล่ม 4 หน้า 152) 20. ท่านอิมามอะลี (อ.) กล่าวว่า "เป็นหน้าที่ของพวกท่านที่จะขอการอภัยโทษ และวิงวอนขออย่างมากมายในเดือนรอมฎอน เพราะ ด้วยการวิงวอนขอ (ดุอาอ์) เป็นสื่อกลางที่ท�ำให้ความ วิบัติทั้งหลายถูกปัดเป่าออกไปจากพวกท่าน และด้วย การขออภัยโทษเป็นการลบล้างความบาปของพวกท่าน ให้หมดไป" (อัล-กาฟีย์ เล่ม 4 หน้า 88) 21. ท่านศาสดา (ศ.) กล่าวว่า "ในเดือนนี้ (รอมฎอน) ประตูนรกจะถูกปิด และ ประตูสวรรค์จะถูกเปิดออก" (บิฮารุล อันวารฺ เล่ม 16 หน้า 274) 22. ท่านอิมามญะอ์ฟัร ศอดิก (อ.) กล่าวว่า "ท่านศาสดา (ศ.) ได้เริ่มท�ำการอิอฺติกาฟในช่วง สิบวันแรกของเดือนรอมฎอน ต่อมา ท่านท�ำในระหว่าง สิบวันตรงกลางของเดือนรอมฎอน และในที่สุด ท่าน ท�ำ(อิอฺติกาฟ) ในช่วงสิบวันสุดท้ายของเดือนรอมฎอน และถือปฏิบัติเช่นนั้นในสิบวันสุดท้าย(จนตลอดชีวิต ของท่าน)" (บิฮารุล อันวารฺ เล่ม 16 หน้า 274) 23. ท่านอิมามญะอ์ฟัร ศอดิก(อ.) กล่าวว่า "คัมภีร์เตารอตถูก ประทานลงมาในวันที่หกของ เดือนรอมฎอน คัมภีร์ไบเบิล (อินญีล) ถูกประทานลง มาในคืนที่สิบสองของเดือนรอมฎอน คัมภีร์ซะบูร ถูก ประทานลงมาในคืนที่สิบแปดของเดือนรอมฎอน และ คัมภีรอ์ ลั -กุรอาน ถูกประทานลงมาในค�ำ่ คืนแห่งก็อดร์" (อัล-กาฟีย์ เล่ม 4 หน้า 157) 24. ระหว่างการกล่าวเทศนาของท่านศาสดา (ศ.) เกีย่ วกับเรือ่ งความประเสริฐของเดือนรอมฎอน ท่า นอิมามอะลี(อ.) กล่าวว่า "ฉันได้ลุกขึ้นแล้วถาม ว่า 'โอ้ท่านศาสนทูตแห่ งอัลลอฮ์ อะไรคือการกระท�ำที่ดีที่สุดส�ำหรับเดือนนี้?'

ท่านศาสดา(ศ.) ตอบว่า 'โอ้ อบุล-ฮะซัน การกระท�ำที่ ดีทสี่ ดุ ส�ำหรับเดือนนีค้ อื การละเว้นจากสิง่ ทีอ่ ลั ลอฮ์ทรง ห้าม ผู้ทรงยิ่งใหญ่ ผู้ทรงจ�ำเริญ'" (บิฮารุล อันวารฺ เล่ม 42 หน้า 190) 25. ท่านศาสดา (ศ.) กล่าวว่า "ผู้ที่รู้ว่าเดือนรอมฎอน (มาถึง) และเขา (ไม่ พากเพียรในเดือนนี้จนท�ำให้) ไม่ได้รับการอภัยโทษ อัลลอฮ์ทรงท�ำให้เขาห่างไกลจากตัวของเขาเอง" (บิฮา รุล อันวารฺ เล่ม 74 หน้า 74) 26. ท่านอิมามญะอ์ฟัร ศอดิก (อ.) กล่าวว่า "เมื่อเดือนรอมฎอนมาถึง ท่านอิมามอะลี อิบนิ ฮุเซน (ซัยนุลอาบิดีน)(อ.) จะไม่พูดถึงสิ่งใดนอกจากดุ อาอ์ (ขอพร), ตัสบีฮ์ (สรรเสริญอัลลอฮ์), อิสติฆฟาร (ขออภัยโทษ) และตักบีร (กล่าวว่า 'อัลลอฮ์ผู้ยิ่งใหญ่')" (อัล-กาฟีย์ เล่ม 4 หน้า 88) 27. ท่านอิมามมุฮัมมัด บากิร (อ.) กล่าวว่า "แท้ จ ริ ง วั น ศุ ก ร์ ข องเดื อ นรอมฎอนมี ค วาม ประเสริฐเหนือกว่าวันศุกร์ในเดือนอื่นๆ เช่นเดียวกับที่ ศาสดามุฮัมมัด (ศ.) มีความประเสริฐเหนือกว่าศาสดา ท่านอื่นๆ" (บิฮารุล อันวารฺ เล่ม 69 หน้า 376) 28. ท่านศาสดา (ศ.) กล่าวว่า "ไม่มีผู้มุอ์มินคนใด ที่ถือศีลอดหนึ่งวันในเดือน รอมฎอนด้วยเจตนาที่จะได้รับรางวัลตอบแทนของมัน นอกจากว่าอัลลอฮ์(ซ.บ.) จะทรงมอบความประเสริฐ ให้แก่เขา 7 ประการ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 41


ก. อาหารต้องห้ามที่ได้เข้าสู่ร่างกายของเขาจะ ละลายหายไป ข. เขาจะเข้ า มาใกล้ ชิ ด กั บ ความเมตตาขอ งอัลลอฮ์ (ซ.บ.) มากยิ่งขึ้น ค. อัลลอฮ์ทรงลบล้างความบาปของเขา ง. อัลลอฮ์ลดความเจ็บปวดทรมานจากความ ตายแก่เขา จ. อัลลอฮ์ทรงปกป้องเขาจากความหิวและความ กระหายในวันแห่งการพิพากษา ฉ. อัลลอฮ์ทรงยกโทษจากไฟ (นรก) ให้แก่เขา ช. อัลลอฮ์ทรงจัดเตรียมอาหารที่ดีที่น่าพึงพอใจ จากสวรรค์ให้แก่เขา" (มุสตัดร็อก วะซาอิลุชชีอะฮ์ เล่ม 7 หน้า 395) 29. ท่านศาสดา (ศ.) กล่าวว่า "และมัน (เดือนรอมฎอน) เป็นเดือนแห่งความ อดทน และแท้จริง รางวัลของความอดทนคือสวรรค์" (อัล-กาฟีย์ เล่ม 4 หน้า 66) 30. ท่านอิมามญะอ์ฟัร ศอดิก (อ.) กล่าวว่า "อัลลอฮ์จะทรงปัดเป่าภัยพิบัติ 70 ประเภทออก ไปจากผู้ที่ท�ำการบริจาคในเดือนรอมฎอน" (วะซาอิลุช ชีอะฮ์ เล่ม 9 หน้า 404) 31. ท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ.) กล่าวว่า "รางวั ล ตอบแทนของผู ้ ที่ ป ฏิ บั ติ สิ่ ง ที่ เ ป็ น วา ญิบ(กฎข้อบังคับ) ของอัลลอฮ์(ในเดือนรอมฎอน) จะ เป็นเหมือนกับผู้ที่ได้ปฏิบัติสิ่งที่เป็นวาญิบนั้นเจ็ดสิบ

42 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

ครัง้ ในเดือน อืน่ ๆ" (วะซาอิลชุ -ชีอะฮ์, เล่ม 10, หน้า 307) 32. ท่านอิมามบากิร (อ.) กล่าวว่า "ในค�ำ่ คืนแห่งก็อดร์ ถูกประกาศิตทุกสิง่ ทุกอย่าง ความพึงพอใจและความไม่พอใจ, การเชื่อฟังและดื้อ ดึง, การเกิดและการตาย และการใช้ชีวิต ซึ่งจะเกิดขึ้น ในระหว่างปีนั้น จนกระทั่งถึงค�่ำคืนแห่งก็อดร์ในปีต่อ ไป" (อัล-กาฟีย์, เล่ม 4, หน้า 157) 33. ท่านอิมามยญะอ์ฟัร ศอดิก (อ.) กล่าวว่า "เมื่ อ เดื อ นรอมฎอนมาถึ ง ท่ า นศาสนทู ต แห่ งอัลลอฮ์ (ศ.) จะเพิม่ นมาซของท่าน ฉันก็เพิม่ นมาซของ ฉันด้วยเช่นกัน และดังนั้น (พวกท่าน) จงเพิ่ม (นมาซ) ของพวกท่าน (ด้วยเช่นกัน)" (ตะฮ์ษีบ อัล-อะกาม, เล่ม 3, หน้า 60) 34. ท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ.) กล่าวว่า "จงรับประทาน 'ซะฮัร' (อาหารมื้อเช้าก่อนเริ่ม ถือศีลอด) ของท่าน แม้ว่ามันจะเป็นเพียงน�้ำ เพราะ ความโปรดปรานของอัลลอฮ์มตี อ่ บรรดาผูท้ รี่ บั ประทาน ซะฮัร" (ตะฮ์ษีบ อัล-อะกาม, เล่ม 4, หน้า 198) 35. ท่านอิมามอะลี (อ.) กล่าวว่า "จงร�ำลึกถึงความหิวและ กระหายของวันแห่ง การพิพากษา ด้วยความหิวและกระหายของพวกท่าน (ในเดือนรอมฎอน)" (บิฮารุล-อันวารฺ, เล่ม 93, หน้า 356) 36. ท่านอับดุลลอฮ์ อิบนฺ อัล-อับบาส อิบนฺ อับ ดุลมุฏฏอลิบ รายงานว่า เขาได้ยินท่านศาสดา (ศ.) กล่าวว่า


"ทุกค�ำ่ คืนในเดือนรอมฎอน อัลลอฮ์ ผูท้ รงเมตตา และผู้ทรงสูงส่ง ทรงเรียกร้องสามครั้งว่า มีใครบ้างไหม ที่ร้องขอจากข้า เพื่อที่ข้าจะได้ตอบรับความปรารถนา ของเขา? มีใครบ้างไหม ที่หันมาหาข้าด้วยความส�ำนึก เสียใจเพื่อข้าจะได้ให้แก่เขา (ด้วยความเมตตา)? มี ใครบ้างไหม ที่ร้องขอการอภัยโทษจากข้า เพื่อข้าจะ ได้อภัยโทษแก่เขา?" (มุสตัดร็อก อัล-วะซาอิล, เล่ม 7, หน้า 429) 37. ท่านอิมามมูซา อิบนิ ญะอ์ฟัร (อ.) กล่าวว่า "ผู้ที่อาบน�้ำฆุซุลในค�่ำคืนแห่งก็อดร์ และตื่นอยู่ ในคืนนัน้ (เพือ่ ท�ำอิบาดัต) จะได้รบั การอภัยโทษในบาป ทั้งหมดของเขา" (วะซาอิลุช-ชีอะฮ์, เล่ม 10, หน้า 358) 38. ท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ.) กล่าวว่า "ผูท้ ใี่ ห้อาหารล่ะศีลอดแก่มอุ ม์ นิ คนหนึง่ ในเดือน รอมฎอน จะได้รับรางวัลตอบแทนเท่ากับการปล่อย ทาสหนึ่งคน (ในหนทางของอัลลอฮ์) และจะได้รับการ อภัยโทษต่อบาปทั้งหมดของเขาก่อนหน้านั้น และถ้า เขาไม่มีสิ่งใดที่จะให้นอกจากนมผสมกับน�้ำ หรือน�้ำ หวานกับผลอินทผลัม อัลลอฮ์ก็จะให้รางวัลตอบแทน แก่เขา" (บิฮารุล-อันวารฺ, เล่ม 93, หน้า 317) 39. ท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ.) ขอพรว่า

"โอ้อัลลอฮ์ โปรดอย่าให้เดือนรอมฎอนนี้เป็น เดือนสุดท้ายที่ฉันจะได้ถือศีลอด แต่ถ้าหากพระองค์ จะทรงให้มันเป็นเช่นนั้น ขอทรงท�ำให้ฉันได้รับความ โปรดปรานและอย่ า ให้ ฉัน ถู ก ถอดถอน (จากความ เมตตาของ พระองค์เลย)" (บะดาบิ อัซ กุรอาน, หน้า 398)

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 43


แปลและเรียบเรียงโดย

เชคมุฮัมมัด นาอีม ประดับญาติ

การเตรียมตัว

เพื่อรอคอย การมาของ

อิมามมะฮ์ดี (อ.) จ

ากเหตุการณ์การตืน่ ตัวของประชาชนทีเ่ กิด ขึ้นในโลกอิสลามประมาณสองปีเต็ม โดย เริ่มจากประเทศตูนิเซีย อียิปต์และลิเบียจนเป็นเหตุ ท�ำให้บรรดาผู้ปกครองเผด็จการถูกโค่นอ�ำนาจลงและ เหตุการณ์ดังกล่าวก็ยังคงลุกลามไปทั่วภูมิภาคตะวัน ออกลางและแอฟริกาเหนือ และปัจจุบนั การเคลือ่ นไหว ตืน่ ตัวของประชาชนในการต่อต้านผูป้ กครองก็ได้ขยาย ตัวลุกลามไปสู่ประเทศต่างๆ แม้กระทั่งในโลกตะวัน ตกคือยุโรปและอเมริกา เหตุการณ์ทั้งหมดเหล่านี้ถือ ได้ว่าเป็นเรื่องที่เราทุกคนจ�ำเป็นต้องติดตาม และให้ ความสนใจเป็นพิเศษ เพราะเหตุว่าโลกในยุคปัจจุบัน นีเ้ หตุการณ์และปัญหาต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ ไม่วา่ จะอยูใ่ นมุม ใดของโลกก็ตาม ผลกระทบของมันจะมาถึงตัวเราด้วย เช่นกันไม่ทางตรงก็ทางอ้อ และที่ส�ำคัญยิ่งไปกว่านั้น เป็นหน้าที่ประการ หนึ่งส�ำหรับมุสลิมที่พึงมีต่อกันในฐานะที่เป็นเสมือน เรือน ร่างเดียวกัน ดังวจนะ (ฮะดีษ) ของท่านอิมามศอ ดิก (อ.) ที่กล่าวว่า

‫شیء منه وجد الم ذلک فی سائر جسده و‬ ‫ارواحهما من روح واحدة‬ “ผู้ศรัทธาคือพี่น้องของผู้ศรัทธา เปรียบเสมือน เรือนร่างเดียวกัน หากส่วนใดได้รับความเจ็บปวดส่วน อืน่ ๆ ของร่างกายก็จะรูส้ กึ ถึงความเจ็บปวดนัน้ ด้วย และ จิตวิญญาณของพวกเขาก็เป็นจิตวิญญาณเดียวกัน” (1) กล่าวโดยรวมแล้ว มุสลิมทุกคนในฐานะที่เป็น มุสลิมนัน้ เขามีหน้าทีร่ บั ผิดชอบต่อสังคมและต่อพีน่ อ้ ง มุสลิมแต่ละคนของเขา ไม่ว่าจะอยู่ในส่วนใดของโลก ก็ตาม หนึง่ ในสิทธิและหน้าทีท่ มี่ สุ ลิมพึงมีตอ่ กัน คือการ เอาใจใส่และการให้ความสนใจในความทุกข์สขุ ของกัน และกัน มิเช่นนัน้ แล้วเขาจะไม่ถกู นับว่าอยูใ่ นฐานะของ ความเป็นมุสลิมที่ดี ท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ.) ได้กล่าว ในเรื่องนี้ว่า

‫س ِم ْن ُه ْم‬ َ ‫َم ْن أَ ْصبَ َح اَل یَ ْهتَ ُّم ب ِ ُأ ُمو ِر ال ْ ُم ْسلِ ِم‬ َ ‫ین فَ َل ْی‬ ‫ین فَ َل ْم یُ ِج ْب ُه‬ َ ‫َو َم ْن یَ ْس َم ْع َر ُج اًل یُنَا ِدی یَا ل َ ْل ُم ْسلِ ِم‬ ‫س ب ِ ُم ْسلِم‬ ‫ ان اشتکى‬،‫المؤمن اخو المؤمن کالجسد الواحد‬ َ ‫فَ َل ْی‬ 44 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556


“ผู้ใดที่ตื่นเช้าขึ้นมา โดยที่เขาไม่ใส่ใจต่อต่อ กิจการ (และความเป็นไป) ของพี่น้องมุสลิม ดังนั้นเขา ไม่ใช่สว่ นหนึง่ จากพวกเขา และผูใ้ ดทีไ่ ด้ยนิ เสียงบุคคล หนึง่ ร้องเรียกว่า “โอ้มวลมุสลิมเอ๋ย!” (เพือ่ ขอความช่วย เหลือ) แล้วเขาไม่ตอบรับเสียงเรียกร้องนั้น ดังนั้นเขา ไม่ใช่มุสลิม” (2) ในวะซียัต (ค�ำสั่งเสีย) สุดท้ายของท่านอะมีรุล มุอ์มินีนอะลี บินอบีฏอลิบ (อ.) ที่มีต่อบุตรชายทั้งสอง ท่าน คือท่านอิมามฮะซัน (อ.) และท่านอิมามฮุเซน (อ.) ในช่วงสุดท้ายแห่งอายุขยั ก่อนการเป็นชะฮีด (เสียชีวติ ) มองภาพเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในโลกนั้น เราต้อง มีกรอบการมองโดยอาศัยหลักค�ำสอนของศาสนาเป็น ของท่าน ท่านได้กล่าวไว้เช่นนี้ว่า องค์ประกอบส�ำคัญ "‫"کونا للظالم خصم ًا و للمظلوم عون ًا‬ เมื่อเราพูดถึงเรื่องราวเกี่ยวกับสถานการณ์โลก “เจ้าทัง้ สองจงเป็นปรปักษ์ตอ่ ผูอ้ ธรรมและจงเป็น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงและ การตื่นตัวของโลกอิสลามในปัจจุบัน เราจ�ำเป็นจะต้อง ผู้ช่วยเหลือผู้ถูกอธรรม” (3) ปั จ จุ บั น หากเราได้ ติ ด ตามข่ า วสารในโลก พิจารณาภาพรวมเหล่านี้ควบคู่ไปกับแนวคิดและหลัก อิสลามโดยเฉพาะในตะวันออกกลาง ไม่ว่าจะเป็นใน ค�ำสอนของ ศาสนาอิสลาม เพื่อที่เราจะได้สามารถรับ ปาเลสไตน์ ซีเรีย บาห์เรนและในประเทศอื่น ๆ ที่ก�ำลัง รูแ้ ละเข้าใจถึงสถานการณ์ความเป็นไปของโลกได้ดี ยิง่ เกิดขึ้นอยู่ในขณะนี้ ประหนึ่งว่าค�ำพูดของท่านศาสน ขึ้น เพราะในอิสลาม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในคัมภีร์อัลกุ ทูตแห่งอัลลอฮ์ (ศ.) และท่านอมีรุลมุอ์มินีน (อ.) ได้ดัง รอานและค�ำรายงาน (ริวายะฮ์) ต่าง ๆ ได้ชี้ให้เราเห็น ก้องขึ้นในโสตประสาทของเราอีกครั้งหนึ่ง ที่ท�ำให้เรา ถึงแนวโน้มและวิถีความเป็นไปของโลก เพื่อเราจะได้ จ�ำเป็นจะต้องให้ความส�ำคัญต่อเหตุการณ์ที่ก�ำลังเกิด สามารถแยกแยะและเตรียมพร้อมส�ำหรับการปฏิบตั ติ น ให้สอดคล้องกับ สถานการณ์ต่าง ๆ เหล่านั้น ขึ้นเหล่านี้ เป็นพิเศษ เป้าหมายหลักของการแต่งตั้งบรรดาศาสดา เหตุผล ประการหนึ่งที่ทางมูลนิธิและสถาบัน เป้าหมายหลักของพระผู้เป็นเจ้าในการแต่งตั้ง สงเสริมการศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับอิสลาม ได้จัดให้มี การสัมมนาในเรื่องนี้ขึ้นมาก็เพื่อที่จะขอร่วมเป็นส่วน บรรดาศาสดามายังมนุษยชาตินั้น มีอยู่สองประการ หนึ่งใน กระบอกเสียงที่ท�ำให้พี่น้องมุสลิมของเราได้รับ ด้วยกัน เป้าหมายประการแรกคือ การสถาปนาและ รู้ถึงสถานการณ์ความเป็นไปของ โลก และสภาพการ เสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ถูกต้องระหว่างสิ่งถูกสร้าง ถูกกดขี่ของพี่น้องมุสลิมของเราในต่างแดน และเพื่อ กับพระผู้สร้างของเขา หรือระหว่างบ่าวกับพระผู้เป็น ที่จะน�ำเสนอมุมมองต่างๆ ให้แก่พี่น้องของเราได้รับ เจ้า กล่าวอีกส�ำนวนหนึ่งก็คือ การยังยั้งมนุษยชาติ รู้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคของการครอบง�ำทางด้าน จากการเคารพภักดีสิ่งอื่นใดนอกเหนือจากพระผู้สร้าง สื่อ ถ้าหากเราบริโภคสื่อตะวันตกเพียงด้านเดียวอาจ ของตน เอง ซึ่งถูกสรุปไว้ในถ้อยค�ำอันจ�ำเริญ (กะลิมะ ท�ำให้เรามองเห็นภาพเหตุการณ์ไป อีกลักษณะหนึ่งที่ ตุฏฏ็อยยิบะฮ์) «ُ‫( »ال ال َه َاّال اهلل‬ไม่มีพระเจ้าอื่นใด เบี่ยงเบนไปจากความเป็นจริง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการ (ที่คู่ควรต่อการเคารพภักดี) นอกจากอัลลอฮ์) และป้า

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 45


ศาสดานั้น คือการสถาปนาความยุติธรรมให้เกิดขึ้นใน หมู่มนุษยชาติ ในโองการนี้ได้กล่าวว่า : เราได้ส่งบรรดาศาสน ทูตของเรามาพร้อมด้วยหลักฐานต่างๆ อันชัดเจน และ เราได้ส่งคัมภีร์และค�ำแนะน�ำพร้อมด้วยตราชูมาพร้อม กับพวกเขา กล่าวคือกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ที่ มีความยุติธรรม เพื่ออะไร หมายประการที่สองของการแต่งตั้งบรรดาศาสดาของ พระผู้เป็นเจ้าผู้ทรงสูง ส่ง นั้นก็คือ การสถาปนาความ สัมพันธ์ที่ดีงามและเหมาะสมในระหว่างมวลมนุษย์ ที่พึงมีต่อกัน บนพื้นฐานของความยุติธรรม สันติภาพ ความจริงใจ ความร่วมมือ ความเมตตา ความรักและ การรับใช้บริการซึ่งกันและกัน คัมภีร์ อัลกุรอานได้กล่าวไว้อย่างชัดเจนถึงสอง ประเด็นนีว้ า่ คือสองเป้าหมายและสองภารกิจหลักของ บรรดาศาสดา ในกรณีเกีย่ วกับเป้าหมายแรก พระผูเ้ ป็น เจ้าผู้ทรงสูงส่งได้ทรงตรัสเกี่ยวกับท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ.) ซึ่งเป็นศาสดาท่านสุดท้ายว่า

ِّ ‫بى انّا ارسلناك شاهدا ً و‬ «‫مبشرا ً و‬ ُّ َّ‫يا ايُّها الن‬ ً ‫ و داعي ًا الى اهلل باذنه و سراج ًا منيرا‬.ً‫»نذيرا‬

“โอ้ ผู้เป็นศาสดา แท้จริงเราได้แต่งตั้งเจ้าให้ เป็นศาสนทูต เพื่อเป็นสักขีพยาน เป็นผู้แจ้งข่าวดี เป็น ผู้ตักเตือน เป็นผู้เชิญชวนสู่อัลลอฮ์ด้วยการอนุมัติของ พระองค์ และเป็นประทีปที่ส่องสว่าง” (4) และเกีย่ วกับเป้าหมายทีส่ อง พระองค์ทรงตรัสว่า

«‫لقد ارسلنا رسلنا بالبيِّنات و انزلنا معهم الكتاب‬ ‫»و الميزان ليقوم النّاس بالقسط‬

“แน่นอนยิง่ เราได้แต่งตัง้ บรรดาศาสนทูตของเรา มาพร้อมด้วยหลักฐานต่าง ๆ อันชัดแจ้ง และเราได้ส่ง คัมภีร์และตราชูลงมาพร้อมกับพวกเขา เพื่อมนุษย์จะ ได้ด�ำรงอยู่ด้วยความยุติธรรม” (5) จะ เห็นได้ว่าคัมภีร์อัลกุรอานได้อธิบายไว้อย่าง ชัดเจนเพียงใด ว่าภาระหน้าที่และพันธะกิจของบรรดา 46 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

«‫»ليقوم النّاس بالقسط‬

เพื่ อ ที่ ว ่ า มนุ ษ ย์ ทุ ก คนจะได้ ป ฏิ บั ติ ด ้ ว ยความ ยุ ติ ธ รรม และหลั ก การของความยุ ติ ธ รรมจะได้ ถู ก สถาปนาขึ้นในหมู่มนุษยชาติ ด้วยเหตุนี้เอง ประเด็น ของการสถาปนาความยุติธรรมในหมู่มนุษยชาติ คือ วัตถุประสงค์หลักและเป็นเป้าหมายโดยรวมของศาสดา ทัง้ หมด กล่าวคือ บรรดาศาสดาทีถ่ กู ส่งมานัน้ งานหนึง่ หน้าที่หนึ่ง ภารกิจหนึ่งและพันธะกิจหนึ่งที่พวกท่านมี ตามตัวบทที่ชัดแจ้งของคัมภีร์อัลกุรอานนั้นก็คือ เรื่อง ของความยุติธรรม (6) ระบอบที่ยุติธรรมและเสมอภาคคือสัญญาของ พระผู้เป็นเจ้า ระบอบการปกครองในอุดมคติที่จะสนองตอบ ความยุติธรรมและความเที่ยงธรรมให้แก่ มนุษยชาติ และสังคมได้อย่างสมบูรณ์นั้นถูกน�ำเสนอโดยพระผู้ เป็นเจ้า โดยผ่านบรรดาศาสดาของพระองค์นับจาก ท่านศาสดาอาดัม (อ.) จวบจนถึงท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ.) บรรดาศาสดาเหล่านัน้ ใช้ความอุตสาห์พยายามมา โดยตลอดเพื่อที่จะท�ำให้อุดมคติ ดังกล่าวนี้เป็นจริงขึ้น ในโลกแห่งการด�ำรงอยู่ของมนุษยชาติ บรรดาศาสดา ของพระผู้เป็นเจ้าได้บอกข่าวถึงการบรรลุอุดมคตินี้ไว้ ว่าจะเกิด ขึน้ ในยุคสมัยของท่านศาสดาท่านสุดท้าย คือ ท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ.) ในนามของรัฐบาลโลก และ ในความเชื่อของบรรดามุสลิม รัฐบาลโลกนี้คือค�ำมั่น สัญญาของพระผู้เป็นเจ้าที่ถูกกล่าวไว้โดยคัมภีร์อัล กุรอาน ซึ่งจะบรรลุความเป็นจริงด้วยการมาหรือการ ปรากฏกาย (ซุฮูร) ขึ้นของท่านอิมามมะฮ์ดี (อ.ญ.) ผู้


สืบทอด (วะซีย์) คนสุดท้ายของท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ.) และเนื่องจากพระผู้เป็นเจ้าจะไม่ทรงละเมิดและ บิดพลิ้วในค�ำมั่นสัญญาต่าง ๆ ของพระองค์ ดังนั้นจึง ไม่มีข้อสงสัยใด ๆ เลยว่า ค�ำมั่นสัญญาดังกล่าวนี้จะ บรรลุสู่ความเป็นจริงของมันอย่างแน่นอน ถึงแม้ว่า ช่วงเวลาดังกล่าวจะไม่มีผู้ใดรับรู้ได้อย่างแน่ชัด แม้แต่ ตัวของท่านอิมามมะฮ์ดี (อ.ญ.) เองก็ตาม! ประเด็นดัง กล่าวนี้ มีปรากฏในแหล่งอ้างอิงต่างๆ ที่เกี่ยวกับอัลกุ รอานและค�ำรายงาน (ริวายะฮ์) ทั้งจากชีอะฮ์และซุนนี่ ชัยชนะอย่างเบ็ดเสร็จของอิสลาม ด้วยการปรากฏตัว (ซุฮูร) ของท่านอิมามมะฮ์ดี (อ.ญ.) ผูซ้ งึ่ จะมาเพือ่ ท�ำให้รฐั บาลโลกทีม่ คี วามยุตธิ รรม และความเที่ยงธรรมบรรลุ ความเป็นจริงนั้น มีมิติและ แง่มุมต่างๆ มากมาย แต่ประเด็นที่ส�ำคัญที่สุดนั้นก็คือ การสถาปนาและการจัดตั้งอ�ำนาจการปกครองของ อิสลาม ด้วยเหตุผลดังกล่าวนี้เอง ในคัมภีร์อัลกุรอาน จึงมีการกล่าวถึงชัยชนะอย่างเบ็ดเสร็จของอิสลามที่มี เหนือลัทธิศาสนาและระบอบการปกครองอื่นๆ ทั้งมวล ไว้ ส่วนหนึง่ จากค�ำสัญญาเหล่านัน้ คือสิง่ ทีป่ รากฏอยูใ่ น ซูเราะฮ์อัตเตาบะฮ์ ที่พระผู้เป็นเจ้าทรงตรัสว่า

‫الحق لیُظهره‬ ّ ‫أرسل َرسولَه بالهدی و دین‬ ُ ‫ُهو الذی‬ ‫علی الدین َک َّله و لو کره المشرکون‬ “พระองค์ คือผู้ทรงส่งศาสนทูตของพระองค์ มา พร้อมด้วยทางน�ำและศาสนาแห่งสัจธรรม เพื่อที่ พระองค์จะทรงท�ำให้มนั พิชติ เหนือศาสนาทัง้ หลาย และ แม้ว่าบรรดาผู้ตั้งภาคีจะรังเกียจก็ตาม” (7) ในโองการนี้ พระผู้เป็นเจ้าผู้ทรงสูงส่งได้ทรง สั ญ ญาเกี่ ย วกั บ ชั ย ชนะของอิ ส ลาม และการที่ มั น จะพิชิตเหนือลัทธิศาสนาอื่นๆ ทั้งมวล เมื่อพิจารณา ถึ ง กรณี ต ่ า งๆ ของการใช้ ค� ำ กิ ริ ย า (ฟิ อ ์ ลุ น ) ค� ำ ว่ า َ (อัซฮะร่อฮู อะลัยฮิ) “ท�ำให้มีชัยชนะ «‫»أظ َه َره عليه‬ เหนือ” ใน คัมภีรอ์ ลั กุรอานนัน้ จุดประสงค์ของมันในทีน่ ี้ คือชัยชนะและการพิชติ ทีเ่ ป็นรูปธรรม กล่าวคือ บรรดาผู้ ทีป่ ฏิบตั ติ ามอิสลามจะมีชยั ชนะเหนือบรรดาผูท้ ปี่ ฏิบตั ิ ตามลัทธิ ศาสนาอื่นๆ ชัยชนะในทุกๆ ด้าน เมื่อพิจารณาถึงการพิชิตและชัยชนะที่เป็นรูป ธรรมของอิสลามที่จะเกิดขึ้นนั้น จ�ำเป็นต้องกล่าวว่า จุดประสงค์ของโองการอัลกุรอานข้างต้น มิได้หมาย ถึงชัยชนะทางด้านตรรกะและทางทฤษฎีของหลักค�ำ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 47


สอนของอิสลามที่มีเหนือ หลักความเชื่อของศาสนา และลัทธิการปกครองอื่นๆ เพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ ทว่าจุดประสงค์ของมันคือชัยชนะและการพิชติ ทางด้าน การเมือง สังคม เศรษฐกิจและทุกๆ ด้านของอิสลาม ซึ่งจะเห็นได้ว่ามีการชี้ถึงความพยายามในการจัดตั้ง รัฐบาลโลกของบรรดาผู้ ปฏิเสธ (กุฟฟาร) เพือ่ ต้องการที่ จะดับแสง (รัศมี) แห่งพระผูเ้ ป็นเจ้าและต้องการท�ำลาย รากฐานของอิสลามลงอย่างสมบูรณ์ไว้ ดังเช่นที่คัมภีร์ อัลกุรอานได้กล่าวว่า ‫ریدون أن یُطفئوا نور اهلل بأفواههم و یأبی اهلل إال‬ َ ُ‫ی‬ ‫نوره و لوکره الکافرون‬ َ ‫تم‬ َّ ُ‫أن ی‬ “พวกเขาปรารถนาที่จะดับรัศมีของอัลลอฮ์ด้วย ปากของพวกเขา และอัลลอฮ์ทรงปฏิเสธ (ที่จะให้เกิด สิ่งนั้น) เว้นแต่พระองค์จะทรงท�ำให้รัศมีของพระองค์ สมบูรณ์ และแม้วา่ บรรดาผูป้ ฏิเสธจะรังเกียจก็ตาม” (8) บนพื้นฐานดังกล่าวนี้ ชัยชนะและอ�ำนาจการ ปกครองของรั ฐ บาลโลกอิ ส ลามที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ในยุ ค สุดท้ายของโลก ด้วยกับการปรากฏตัวของท่านอิมาม

48 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

มะฮ์ดี (อ.ญ.) จึงเป็นค�ำ สัญญาของพระผู้เป็นเจ้า ที่ จ ะไม่ ถู ก บิ ด พลิ้ ว อย่ า ง แน่ น อน เพี ย งเนื่ อ งจาก จนถึงขณะนีส้ งิ่ ดังกล่าวยัง มิได้เกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ ดังนั้นการรอคอยรัฐบาล โลกของท่านอิมามมะฮ์ดี (อ.ญ) จึงเป็นการรอคอย ที่ถูกต้องเหมาะสมกับสติ ปัญญา และสอดคล้องกับ โองการต่างๆ ของคัมภีรอ์ ลั กุรอาน อบูบะซีรกับโองการ ที่จะต้องเกิดขึ้นจริงอย่าง แน่นอน ในรายงาน (ริวายะฮ์) ของอบูบะซีร จากท่าน อิมามศอดิก (อ.) ซึง่ เขากล่าวว่า : ฉันได้ถามท่านอิมาม ซอดิก (อ.) เกี่ยวกับพระด�ำรัสของอัลลอฮ์ผู้ทรงสูงส่ง ที่ ทรงตรัสไว้ในคัมภีร์ของพระองค์ว่า ‫الحق لیُظهره‬ ّ ‫أرسل َرسولَه بالهدی و دین‬ ُ ‫ُهو الذی‬ ‫علی الدین َک َّله و لو کره المشرکون‬ “พระองค์ คื อ ผู ้ ท รงส่ ง ศาสนทู ต ของพระองค์ มา พร้อมด้วยทางน�ำและศาสนาแห่งสัจธรรม เพื่อที่ พระองค์จะทรงท�ำให้มันพิชิตเหนือศาสนาทั้งหลาย และแม้ว่าบรรดาผู้ตั้งภาคีจะรังเกียจก็ตาม” ท่านอิมาม (อ.) ตอบว่า ‫واهلل ما أنزل تاویلها‬ “ขอสาบานต่ออัลลอฮ์ การตีความของโองการ นี้ยังมาไม่ถึง” อบูบะซีร จึงถามว่า “แล้วมันจะมาถึงเมื่อใด” ท่านอิมาม (อ.) กล่าวว่า ‫حتی یقوم القائم إن شاء اهلل فإذا خرج القائم لم یبق‬ ّ ‫کافر و مشرک إ‬ ‫ال کره خروجه حتی لوکان کافر أو‬


‫مشرک فی بطن صخرة لقالت الصخرة یا مؤمن فی‬ ‫بطنی کافر أو مشرک فاقتله‬ “จนกว่ า กออิ ม (มะฮ์ ดี ) จะยื น หยั ด ขึ้ น หา กอัลลอฮ์ทรงประสงค์ เมื่อกออิมปรากฏตัวขึ้น จะไม่มี ผู้ปฏิเสธและผู้ตั้งภาคีคนใดหลงเหลืออยู่อีก นอกจาก เขาผู้นั้นจะรังเกียจการปรากฏตัวของเขา จนกระทั่งว่า มาตรแม้นผูป้ ฏิเสธคนหนึง่ หรือผูต้ งั้ ภาคีคนหนึง่ (หลบ) อยูด่ า้ นในของก้อนหินก้อนหนึง่ ก้อนหินนัน้ ก็จะกล่าวว่า โอ้ผศู้ รัทธาเอ๋ย! มีผปู้ ฏิเสธคนหนึง่ หรือผูต้ งั้ ภาคีคนหนึง่ อยู่ด้านในของฉัน จงมาฆ่าเขาเถิด” ท่านอิมาม (อ.) กล่าวต่ออีกว่า ‫فینحیّه اهلل فیقتله‬ “อัลลอฮ์จะทรงท�ำให้เขาออกมา แล้วผู้ศรัทธาก็ จะฆ่าเขา” (9) โองการนี้และโองการอื่นๆ อีกมากมาย ชี้ให้เห็น อย่างชัดเจนเกี่ยวกับการปรากฏตัว (ซุฮูร) ของท่านอิ มามมะฮ์ดี (อ.ญ.) และรัฐบาลโลกของท่าน ค�ำรายงาน (ริวายะฮ์) กับแนวความคิดเกี่ยว กับอิมามมะฮ์ดี (อ.ญ.) นอกเหนือจากการชี้ชัดของอัลกุรอานถึงรัฐบาล โลกของท่านอิมามมะฮ์ดี (อญ.) แล้ว ยังมีค�ำรายงาน (ริวายะฮ์) จ�ำนวนมากมายที่กล่าวถึงประเด็นเกี่ยวกับ ท่านอิมามมะฮ์ดี (อญ.) และการอธิบายถึงมิติต่างๆ ที่ หลากหลายเกีย่ วกับเรือ่ งนี้ ค�ำรายงาน (ริวายะฮ์) เหล่านี้ ไม่ได้จำ� กัดเฉพาะจากแหล่งอ้างอิงต่างๆ ของชีอะฮ์เพียง เท่านัน้ แต่ทว่าในแหล่งอ้างอิงของพีน่ อ้ งอะฮ์ลซิ ซุนนะฮ์ ก็สามารถพบเห็นได้อย่างมาก มายเช่นกัน เมือ่ พิจารณา ถึงภาพรวมของค�ำรายงาน (ริวายะฮ์) เหล่านีช้ ใี้ ห้เห็นว่า มีประเด็นต่างๆ มากมายที่เกี่ยวข้องกับท่านอิมามมะฮ์ ดี (อญ.) ปรากฏอยู่ในค�ำรายงานเหล่านี้ บนพื้นฐาน ของการปรากฏตัว (ซุฮูร) ของท่านอิมามมะฮ์ดี (อญ.) การที่ท่านจะมาจากอะฮ์ลุลบัยติ์ (ครอบครัว) ของท่าน ศาสดา (ศ.) และเป็นหนึง่ ในลูกหลานของท่านอิมามอะ ลี (อ.) และท่านหญิงฟาฏิมะฮ์ (อ.) หรือกรณีทวี่ า่ ท่านคือ

บุตรชั้นที่เก้าของท่านอิมามฮุเซน (อ.) และสืบเชื้อสาย โดยผ่านท่านอิมามซัยนุลอาบิดนี (อ.) ซึง่ ได้ถกู กล่าวถึง โดยตรงในค�ำรายงาน (ริวายะฮ์) ต่างๆ เช่นเดียวกันนี้ ยังมีการชี้ไว้อย่างชัดเจนว่า ท่า นอิมามมะฮ์ดี (อญ.) เป็นบุตรชายของท่านอิมามฮะ ซัน อัซกะรี (อ.) ทั้งในค�ำรายงาน (ริวายะฮ์) จากชีอะฮ์ และซุนนี่ นอกจากนี้ยังมีการกล่าวถึงไว้ในค�ำรายงาน ต่างๆ อย่างมากมายเกี่ยวกับสิ่งที่จะเกิดขึ้นภายหลัง จากการปรากฏตัว (ซุฮูร) ของท่าน การที่ท่านจะท�ำให้ โลกนี้เต็มเปี่ยมไปด้วยความยุติธรรมและความเที่ยง ธรรมหลัง จากการเร้นกาย (ฆ็อยบะฮ์) ที่ยาวนานของ ท่าน และด้วยกับการปรากฏตัว (ซุฮูร) ของท่านนี้เอง ที่อิสลามจะปกคลุมโลกและจะพิชิตเหนือลัทธิศาสนา และระบอบการ ปกครองอื่นๆ ทั้งมวล นอกเหนือจากเรื่องราวทั้งหมดเหล่านี้แล้ว ยังมี ค�ำรายงานอีกจ�ำนวนมากเกีย่ วกับเหตุการณ์ทเี่ กีย่ วข้อง กับการถือก�ำเนิด ของท่านอิมามมะฮ์ดี (อ.ญ.) และ การมีอายุที่ยืนยาวของท่าน ดังนั้นมันจึงเป็นที่ชัดเจน ว่า เรื่องราวและรายละเอียดเกี่ยวกับท่านอิมามมะฮ์ดี (อญ.) มีหลักฐานที่มามากมายจากค�ำรายงานทั้งของ ซุนนีแ่ ละชีอะฮ์ ยิง่ ไปกว่านัน้ บรรดานักวิชาการชาวอะฮ์ ลิซซุนนะฮ์เองยังได้เรียบเรียงหนังสือต่างๆ โดยเฉพาะ เกี่ยวกับเรื่องของท่านอิมามมะฮ์ดี (อญ.) ไว้ ซึ่งสิ่งนี้ โดยตัวมันเองชีใ้ ห้เห็นได้เป็นอย่างดีถงึ ความส�ำคัญของ แนวคิด เกีย่ วกับท่านอิมามมะฮ์ดี (อ.) ทีม่ อี ยูท่ า่ มกลาง มุสลิมทั้งซุนนี่และชีอะฮ์ เนื่องจากความจ�ำกัดของเอกสารนี้จึงขอให้ผู้ อ่านที่สนใจอยากจะรับรู้รายละเอียดใน เรื่องนี้ค้นคว้า เพิม่ เติมจากแหล่งข้อมูลอืน่ ๆ แต่ในทีน่ จี้ ะขอยกตัวอย่าง เพียงบางส่วนจากแหล่งอ้างอิงของพี่น้องอะฮ์ลิซซุน นะฮ์ เพื่อให้สอดคล้องกับเนื้อหา ในซอเฮี๊ยะฮ์บุคอรี รายงานจากอับดุลลอฮ์ อิ บนิมัสอูด ซึ่งกล่าวว่า : ท่านศาสนทูตแห่งอัลลอฮ์ (ศ.) กล่าวว่า

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 49


‫لطول اهلل ذلک الیوم‬ ّ ‫لو لم یبق من الدنیا اِال یوم‬ ‫حتی یبعث رجالً منّی ـ او من اهل بیتی ـ یو ّطئی‬ ‫ یمأل األرض قسط ًا و عدالً کما ملئت‬،‫اسمه اسمی‬ ‫ظلم ًا و جورا‬ “หากไม่มเี วลาเหลืออยูอ่ กี ส�ำหรับโลกนี้ นอกจาก เพียงวันเดียว แน่นอนอัลลอฮ์จะทรงท�ำให้วนั นัน้ ยืดยาว จนกระทัง่ พระองค์จะทรงส่งบุรษุ ผู้ หนึง่ จากฉัน (หรือจา กอะฮ์ลลุ บัยติข์ องฉัน) มา ชือ่ ของเขาเป็นชือ่ เดียวกับฉัน เขาจะท�ำให้แผ่นดินเต็มเปีย่ มด้วยความเทีย่ งธรรมและ ยุติธรรม เช่นเดียวกับที่มันถูกท�ำให้เต็มไปด้วยความ อธรรมและการกดขี่” (10) อิมามอะห์มดั อิบนิฮมั บัล ได้บนั ทึกไว้ในหนังสือ “มุสนัด” ของท่าน โดยอ้างรายงานจากท่านศาสนทูต แห่งอัลลอฮ์ (ศ.) ซึ่งท่านกล่าวว่า ٍ «‫اختالف من‬ ‫ یُبعث فی امتی علی‬،‫ابشرکم بالمهدی‬ ‫ فیمأل األرض قسط ًا و عدالً کما‬،‫الناس و زالزل‬ ً ‫»ملئت ظلم ًا و جورا‬ “ฉัน ขอแจ้งข่าวดีแก่พวกท่านเกีย่ วกับมะฮ์ดี เขา จะถูกส่งลงมาในหมูป่ ระชาชาติของฉันเมือ่ เกิดความขัด แย้งในหมู่ประชาชนและ แผ่นดินไหวมากมาย โดยที่ เขาจะท�ำให้แผ่นดินเต็มเปีย่ มด้วยความเทีย่ งธรรมและ ยุติธรรม เช่นเดียวกับที่มันถูกท�ำให้เต็มไปด้วยความ อธรรมและการกดขี่” (11) อะห์ มั ด บิ น อั บ ดุ ล ฮะลี ม ซึ่ ง ถู ก รู ้ จั ก ในนาม “อิบนุตยั มิยะฮ์” กล่าวไว้ในหนังสือ “มันฮาญุซซุนนะฮ์” ของเขาว่า ‫ان االحادیث التی یُ ْحتَ ُّج بها علی خروج المهدی‬ ‫احادیث صحیحة رواها ابوداود و الترمذی و احمد‬ ‫و غیرهم من حدیث ابن‌مسعود و غیره‬ “บรรดา ฮะดีษที่ถูกใช้เป็นหลักฐานพิสูจน์เกี่ยว กับการยืนหยัดขึ้นของมะฮ์ดีนั้น เป็นฮะดีษซอเฮี๊ยะฮ์ (ถูกต้อง) โดยที่อบูดาวูด ติรมีซี อะห์มัดและบุคคลอื่นๆ ได้รายงานมาจากฮะดีษของอิบนิมสั อูด และของบุคคล อื่นๆ” (12)

50 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

อิบนุ อบิลฮะดีด ได้กล่าวไว้ในหนังสือ “ชัรห์ นะฮ์ญุลบะลาเฆาะฮ์” ว่า ‫قد وقع إتفاق الفرق من المسلمين أجمعين على أن‬ ‫الدنيا والتكليف ال ينقضى إال علي المهدی‬ “บรรดากลุม่ ต่างๆ ทัง้ หมดของมุสลิมมีทศั นะเห็น พร้องตรงกันว่า โลกและภาระหน้าที่จะยังไม่สิ้นสุดลง เว้นแต่ด้วยกับมะฮ์ดี” (13) ด้วยเหตุนี้บรรดานักรายงานฮะดีษและเจ้าของ หนังสือรวบรวมฮะดีษทัง้ หลาย จึงอ้างรายงานฮะดีษบท หนึ่งจากท่านศาสนทูตแห่งอัลลอฮ์ ศ.) ซึ่งท่านกล่าวว่า ‫من انکر خروج المهدی فقد کفر بما أنزل علی محمد‬ “ผูใ้ ดทีป่ ฏิเสธการปรากฏตัวขึน้ ของมะฮ์ดี ดังนัน้ แน่นอนยิ่ง เขาได้ปฏิเสธสิ่งที่ถูกประทานลงมาให้แก่มุ ฮัมมัด (ศ.)” (14) ดังนั้นการมาของท่านอิมามมะฮ์ดี (อ.ญ.) จึง เป็นเรื่องที่ชัดเจนที่ผู้ศรัทธาคนใดไม่อาจปฏิเสธได้ ดัง ที่ชี้ให้เห็นไปแล้วข้างต้นว่า ทั้งชีอะฮ์และซุนนี่มีความ เห็นตรงกันในเรื่องนี้ และแม้แต่บรรดาผู้ที่ไม่ใช่มุสลิม ก็เช่นกัน ซึ่งในคัมภีร์ต่างๆ ของพวกเขาได้แจ้งข่าวดีถึง ผูช้ ว่ ยให้รอดคนหนึง่ แก่ผปู้ ฏิบตั ติ ามของพวกเขา ว่าจะ มาปรากฏตัวในยุคสุดท้ายของโลก ตัวอย่างเช่น : ในคัมภีร์เตารอต (พระคัมภีร์ อิสยาห์) บทที่ 11 ได้กล่าวว่า "ท่านจะพิพากษาคนจนด้วยความยุติธรรม และ ตัดสินเพื่อผู้ที่ถูกกดขี่แห่งพื้นโลกด้วยความเที่ยงตรง... สุนัขป่าจะใช้ชีวิตอยู่กับลูกแกะ เสือดาวจะนอนอยู่กับ ลูกแพะ ลูกวัวกับสิงโตหนุ่มกับสัตว์อ้วนพีจะอยู่ด้วย กัน และเด็กเล็กๆ จะน�ำมันไป... สัตว์เหล่านั้นจะไม่ท�ำ อันตรายหรือก่อความเสียหายในทั่วบริเวณหุบเขาอัน บริสุทธิ์ของเรา เพราะว่าพื้นโลกจะเต็มไปด้วยความรู้ เรื่องของพระเยโฮวาห์" ในพันธสัญญาเดิม หนังสือสวดสดุดี 37 กล่าว ไว้ดังนี้ "… เนื่องจากบรรดาผู้ที่ชั่วร้ายจะถูกท�ำให้สิ้น


สุด แต่บรรดาผู้ที่รอคอยนั้น พระเจ้าจะท�ำให้พวกเขา กลายเป็นผู้สืบทอดมรดกแห่งแผ่นดิน พึงสังวรณ์เถิด! หลังจากช่วงเวลาเพียงเล็กน้อย คนชั่วร้ายจะไม่เหลือ อยู่ เจ้าจะค้นหาในสถานที่ของเขาและเขาจะไม่มีอยู่ แต่บรรดาผู้ที่มีความสุภาพอ่อนโยนจะสืบทอดมรดก แห่งแผ่นดิน... และมรดกของพวกเขาจะคงอยู่ตลอด ชั่วนิรันดร์” ในคัมภีร์อัลกุรอาน ในซูเราะฮ์อัลอันบิยาอ์ อา ยะฮ์ (โองการ) ที่ 105 กล่าวว่า

‫االرض‬ ‫أن‬ َ َّ ‫َو ل َ َق ْد َكتَ ْبنا فِى ال َّزبو ِر ِم ْن ب َ ْع ِد ال ِّذ ْك ِر‬ ‫ون‬ َ ‫الصال ِ ُح‬ َّ ‫يَ ِرثُها ِعبا ِد َى‬

“และ แน่นอนยิ่ง เราได้บัญญัติไว้ในคัมภีร์ซะบูร (ของดาวูด) ภายหลังจากซิกร์ (เตารอต) แท้จริงแผ่น ดินนี้ ปวงบ่าวผู้มีคุณธรรมของข้าจะสืบทอดมรดกมัน” ในอินญีล (คัมภีรไ์ บเบิล) ลูกา บทที่ 12 ได้กล่าว่า ท่ า นทั้ ง หลายจงคาดเอวของท่ า นไว้ และให้ ตะเกียงของท่านจุดอยู่ และพวกท่านเองจงเหมือนคนที่ รอคอยรับนายของตน เมือ่ นายจะกลับมาจากงานสมรส เพือ่ ว่าเมือ่ นายมาเคาะประตูแล้ว พวกเขาจะเปิดให้นาย ได้ทันที ความโชคดีจงมีแด่บรรดาผู้รับใช้ ซึ่งเมื่อนาย ของพวกเขากลับมาก็จะพบพวกเขา (ก�ำลังเฝ้ารอคอย

อยู่)... ดังนั้นท่านทั้งหลายจงเตรียมตัวไว้ให้พร้อมเถิด เพราะบุตรมนุษย์จะมาในช่วงเวลาที่ท่านไม่คิดไม่ฝัน" เป็ น สิ่ ง ชั ด เจนยิ่ ง ว่ า ความหมายของส� ำ นวน ประโยคต่างๆ ของคัมภีร์ไบเบิล ลูกา ก็คือ "อินติซอ รุ้ลฟะญัร" (การรอคอยการคลี่คล้ายความทุกข์ยาก หรือในการตีความ คือการรอคอยอิมามมะฮ์ดี (อญ.) นั่นเอง) ซึ่งในทัศนะของชีอะฮ์ ผู้ที่รอคอยการปรากฏ ตัว (ซุฮูร) ของอิมามมะฮ์ดี (อ.ญ.) ที่แท้จริง ก็เหมือน กับบุคคลที่ก�ำลังรอคอยการมาของแขกผู้มีเกียรติที่จะ ต้องท�ำความสะอาด บ้านเรือนของตนเองเป็นอันดับ แรก และจัดเตรียมอาหารเพือ่ รับรองแขกผูม้ าเยือน ผูร้ อ คอยการมาของท่านอิมามมะฮ์ดี (อญ.) ก็เช่นเดียวกัน จะต้องท�ำความสะอาดบ้านแห่งจิตวิญญาณของตน จากความแปดเปื้อนทางด้านวัตถุ และหลีกเลี่ยงจาก ความชั่วและการละเมิดฝ่าฝืนต่อพระผู้เป็นเจ้า จะ ต้องมีความรักความผูกพันต่อความดีและก�ำชับกันให้ ท�ำความดี รังเกียจความชั่วและมีการห้ามปรามกันใน สิ่งดังกล่าว (ไม่ใช่เฉื่อยชาและไม่ใส่ใจในเรื่องเหล่านี้) เนือ่ งจากเขาคือผูร้ อคอยความพินาศและการถูกท�ำลาย ลงของความอธรรมและการกดขี่ ดังนั้นจึงจ�ำเป็นที่เขา จะต้องยืนหยัดต่อสู้กับสิ่งเหล่านั้นตามขอบเขตความ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 51


สามารถของเขา เขาจะต้องเป็นผูช้ ว่ ยเหลือสัจธรรมและ ความยุติธรรม จะต้องเป็นศัตรูกับความหลงผิด ความ อยุติธรรมและการกดขี่ และนี่คือความหมายของค�ำ ว่า "อินติซอรุ้ลฟะญัร" (การรอคอยการคลี่คล้ายความ ทุกข์ยาก หรือการรอคอยอิมามมะฮ์ดี (อญ.)) ซึ่งในค�ำ รายงานต่างๆ ของอะฮ์ลุลบัยต์ (อ.) ถือว่ามันคือการอิ บาดะฮ์ที่ประเสริฐที่สุด ติรมีซีก็อ้างรายงานนี้มาจากท่านศาสนทูตแห่ง อัลลอฮ์ (ศ.) ซึ่งท่านกล่าวว่า

ของท่านอิมามมะฮ์ดี (อ.ญ) นั้น ท่านจะเรียกร้องเชิญ ชวนประชาชนไปสู่สัจธรรม และโดยการสนับสนุนของ พวกเขาและการช่วยเหลือจากพระผูเ้ ป็นเจ้าผูท้ รงสูงส่ง ท่านจะจัดตั้งขบวนการต่อสู้ที่ยิ่งใหญ่ขึ้น โดยไม่มีศัตรู ใดสามารถท�ำลายมันได้ (17) เกี่ยวกับเรื่องนี้ มีค�ำรายงานจากท่านอิมามมูซา กาซิม (อ.) ที่ได้กล่าวว่า

‫رجل من قم يدعو الناس إلى الحق يجتمع‬ ‫معه قوم قلوبهم كزبر الحديد ال تزلهم الرياح‬ «‫و العواصف ال يملون من الحرب و ال يجبنون »افضل العبادة انتظار الفرج‬ “การอิบาดะฮ์ทปี่ ระเสริฐทีส่ ดุ คือการรอคอยการ ‫و على اهلل يتوكلون و العاقبة للمتقين‬. คลี่คลายความทุกข์ยาก” (16) แต่แน่นอนยิ่งว่า พี่น้องอะฮ์ลิซซุนนะฮ์จะรับรู้ ความหมายของค�ำรายงานนี้ต่างไปจากที่พี่น้องชี อะฮ์ ที่ให้ความหมายว่า มันคือ การรอคอยท่านอิมามมะฮ์ ดี (อ.ญ.) การตื่นตัวและการยืนหยัดต่อสู้ของประชาชาติ มุสลิมก่อนการมาของท่านอิมามมะฮ์ดี (อ.ญ.) ท่ามกลางรายงาน (ริวายะฮ์) ของอิสลามนัน้ เรา จะพบค�ำรายงานจ�ำนวนหนึง่ ทีอ่ ธิบายถึงสภาวะเงือ่ นไข และเหตุการณ์ตา่ งๆ ในยุคของการปรากฏตัว (ซุฮรู ) ของ ท่านอิมามมะฮ์ดี (อ.ญ.) ในฮะดีษบทหนึ่งได้ชี้ให้เห็น ว่า ก่อนการปรากฏตัวของท่านอิมามมะฮ์ดี (อญ.) นั้น ประชาชาติมสุ ลิมในภูมภิ าคตะวันออกกลางจะยืนหยัด ขึน้ ต่อสูเ้ พือ่ เตรียมความ พร้อมส�ำหรับการจัดตัง้ รัฐบาล ของท่าน โดยทีท่ า่ นศาสนทูตแห่งอัลลฮ์ (ศ.) ได้กล่าวว่า

‫يخرج ناس من المشرق فيو ّطئون للمهدى‬ ‫يعنى سلطانه‬

“ประชาชนกลุม่ หนึง่ จากทิศตะวันออกจะยืนหยัด ขึน้ โดยทีพ่ วกเขาจะเตรียมพืน้ ฐานส�ำหรับมะฮ์ดี หมาย ถึงอ�ำนาจการปกครองของเขา” (16) และหนึ่งในเหตุการณ์เหล่านั้นที่ปรากฏให้เรา เห็นแล้ว นั่นก็คือ การยืนหยัดขึ้นของบุรุษผู้หนึ่งจาก เมืองกุม ซึ่งในช่วงของการใกล้การปรากฏตัว (ซุฮูร)

52 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

"บุรุษผู้หนึ่งจากเมืองกุม จะเรียกร้องเชิญชวน ประชาชนไปสูส่ จั ธรรม ชนกลุม่ หนึง่ จะรวมตัวอยูก่ บั เขา หัวใจของพวกเขาประหนึ่งดังชิ้นส่วนของเหล็ก โดยที่ ลมและพายุทั้งหลายจะไม่ท�ำให้พวกเขาพลั้งพลาด พวกเขาจะไม่เหนื่อยหน่ายจากสงคราม พวกเขาจะไม่ หวาดหวั่นและพวกเขาจะมอบหมายต่อพระผู้เป็นเจ้า และผลสุดท้ายจะเป็นของมวลผู้ย�ำเกรง" (18) ดังที่ท่านทั้งหลายได้เห็นแล้วว่าท่านอิมามมู ซา กาซิม (อ.) ได้บอกข่าวเกี่ยวกับการยืนหยัดขึ้นของ บุรษุ ผูห้ นึง่ จากเมืองกุม ซึง่ บุรษุ ผูน้ จี้ ะเรียกร้องเชิญชวน ประชาชนไปสู่สัจธรรม และจะมีประชาชนจ�ำนวนหนึ่ง รวมตัวขึ้นเคียงข้างเขา หัวใจของคนกลุ่มนี้จะมั่นคง แข็งแกร่งประดุจดังชิ้นส่วนของเหล็ก การเผชิญหน้า กับสิ่งเลวร้ายและความทุกข์ยากต่างๆ ที่มาประสบก็ ไม่อาจท�ำให้พวกเขาเหนือ่ ยหน่ายจากการยืนหยัดต่อสู้ และหวาดกลัว ใดๆ และเป็นไปตามค�ำกล่าวของริวา ยะฮ์ (ค�ำรายงาน) นี้ที่ว่า การพึ่งพิงและการมอบหมาย ต่อพระผู้เป็นเจ้าของประชาชนกลุ่มนี้ ที่เป็นสาเหตุ ท�ำให้การยืนหยัดต่อสูข้ องพวกเขาด�ำเนินไปสูบ่ นั้ ปลาย สุดท้ายที่ ดีงามและไปถึงซึ่งชัยชนะ ตามการยืนยันของประวัตศิ าสตร์ บุรษุ ผูม้ เี กียรติ ท่านนี้คือ ท่านอิมามโคมัยนี (รฮ.) และไม่มีใครที่คู่ควร เหมาะสมส�ำหรับคุณลักษณะเช่นนี้ได้นอกจากท่าน


เพียงเท่า นั้น ทั้งนี้เนื่องจากท่านอิมามโคมัยนี (รฮ.) ได้ ใช้ชวี ติ ในการศึกษาและการสอนอยูใ่ นเมืองกุมเป็นเวลา ยาวนานหลายปี และหลังจากทีท่ า่ นได้เห็นถึงการทรยศ ของมุฮมั มัด ริฎอชาห์ (กษัตริยอ์ หิ ร่าน) ท่านได้เรียกร้อง เชิญชวนประชาชนมาสูส่ จั ธรรมความจริง และปลุกพวก เขาให้ลุกขึ้นต่อต้านและจัดการกับความอธรรมของยะ ซีดแห่งยุคสมัย จุดเริ่มต้นของการยืนหยัดต่อสู้อันยิ่งใหญ่นี้เกิด ขึ้นในปี 1342 สืบ เนื่องมาจากการที่ท่านอิมามโคมัยนี (รฮ.) ได้กล่าวโจมตี มุฮัมมัด ริฎอชาห์ ด้วยค�ำพูดต่างๆ ที่รุนแรง เหตุการณ์นี้ท�ำให้ท่านอิมามโคมัยนี (รฮ.) ถูก จับกุมในวันที่ 15 เดือนโครด๊อด ปี 1342 ซึ่งประเด็นดัง กล่าวนี้โดยตัวของมันเองได้กลายเป็นพื้นฐานไปสู่การ ลุกฮือและการนองเลือดของประชาชน ในวันที่ 15 เดือน โครด๊อด ปี 1342 ประชาชน มุสลิมในอิหร่านได้รับความทุกข์ยาก จากความอธรรมและการกดขีข่ องเหล่ากษัตริย์ ชาฮ์มา ช้านาน จึงได้ตอบรับการเรียกร้องเชิญชวนไปสูส่ จั ธรรม ของท่านอิมามโคมัยนี (รฮ.) และพวกเขาท�ำให้การยืน หยัดต่อสู้ของอิสลามและของประชาชนได้เริ่มต้นขึ้น เป็น ครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของอิหร่าน การยืนหยัดต่อสู้ของประชาชนในวันที่ 15 เดือน โครด๊อด ปี 1342 นั้น แม้จะน�ำไปสู่การสูญเสียชีวิต

และการนองเลือด และดูตามรูปการภายนอกแล้วจะไม่ บังเกิดผล แต่ในช่วงเวลา 15 ปีตอ่ มาการยืนหยัดต่อสูน้ ี้ ก็บรรลุผลในที่สุด ท�ำให้รัฐบาลของสาธารณรัฐอิสลาม แห่งอิหร่านกลายเป็นของขวัญส�ำหรับประชาคมโลก รัฐบาลซึ่งตามริวายะฮ์ (ค�ำรายงาน) นั้น จะเป็นส่วน หนึ่งจากปัจจัยพื้นฐานที่ส�ำคัญในการปรากฏตัว (ซุฮูร) ของท่านอิมามมะฮ์ดี (อ.ญ.) อินชาอัลลอฮ์ (หากพระผู้ เป็นเจ้าทรงประสงค์ ประเด็น ส�ำคัญทีส่ ามารถเห็นได้จากริวายะฮ์ (ค�ำ รายงาน) บทนี้ก็คือ บรรดาผู้สนับสนุนและให้การช่วย เหลือบุรุษผู้มีเกียรติท่านนี้ หัวใจของพวกเขามีความ แข็งแกร่งและมัน่ คง พวกเขาจะไม่หวาดกลัวและจะไม่รู้ สึกเหนือ่ ยหน่ายต่อเหตุการณ์ตา่ งๆ ทีย่ ากล�ำบาก ความ ไว้วางใจของผูช้ ว่ ยเหลือเหล่านีอ้ ยูก่ บั พระผูเ้ ป็นเจ้า และ ในที่สุดพวกเขาก็จะได้รับชัยชนะ สิ่ ง ที่ น ่ า พิ ศ วงก็ คื อ ค� ำ อธิ บ ายเหล่ า นี้ มี ค วาม สอดคล้องอย่างสมบูรณ์กับคุณลักษณะต่างๆ ของผู้ สนับสนุนและผูใ้ ห้การช่วยเหลือของอิมามโคมัยนี (รฮ.) ทั้งนี้เนื่องจากบุคคลเหล่านั้นประหนึ่งดังชิ้นสวนต่างๆ ของเหล็กอันแข็งแกร่ง ไม่มีความหวาดกลัวแม้แต่การ ถูกสังหารและการเป็นชะฮีด ด้วยเหตุผลดังกล่าวนี้ เองตลอดระยะเวลา 15 ปี พวกเขาได้ยืนหยัดต่อสู้กับ ระบอบการปกครองที่กดขี่ของกษัตริย์ชาฮ์ด้วยความ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 53


กล้าหาญ เป็นไปตามริวายะฮ์ (ค�ำรายงาน) ข้างต้น ผล สุดท้ายของการยืนหยัดต่อสูข้ องผูช้ ว่ ยเหลือของบุรษุ ผูน้ ี้ คือชัยชนะในการเคลื่อนไหวต่อสู้ของพวกเขา พวกเขา ก็ได้วางรากฐานการปกครองของสาธารณรัฐอิสลาม แห่งอิหร่านขึ้น ตลอดประวั ติศาสตร์จ วบจนถึงขณะนี้ ยัง ไม่ เคยพบว่ามีบุรุษที่ยิ่งใหญ่และเป็นนักวิชาการศาสนา อย่างเช่นท่านอิมา มโคมัยนี (รฮ.) ที่ยืนหยัดต่อสู้ขึ้นใน เมืองนี้ และให้การอบรมขัดเกลาบรรดาผู้ช่วยเหลือที่ มีความเด็ดเดี่ยวและแข็งแกร่งจน ถึงขั้นที่สามารถยืน หยัดเผชิญหน้ากับเหตุการณ์อนั หนักหน่วงแห่งยุคสมัย ได้ ในทีส่ ดุ ด้วยกับการช่วยเหลือของพระผูเ้ ป็นเจ้า พวก เขาได้ทำ� ให้การยืนหยัดต่อสูข้ องพวกเขาบรรลุสชู่ ยั ชนะ แน่นอนในหน้าประวัตศิ าสตร์เรายังไม่เคยพบเห็นบุคคล เช่นนี้ที่สามารถท�ำให้การ ยืนหยัดต่อสู้นี้ได้เกิดขึ้นใน เมืองกุม และหลังจากนี้เราก็คงไม่อาจที่จะคาดหวังสิ่ง ดังกล่าวนีไ้ ด้เช่นเดียวกัน ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากในขณะนีร้ ฐั บาล ของสาธารณรั ฐ อิ สลามแห่งอิหร่าน ในฐานะที่เป็ น รัฐบาลที่ท�ำหน้าที่เตรียมพร้อมพื้นฐานการปรากฏตัว (ซุฮูร) ของท่านอิมามมะฮ์ดี (อญ.) ได้ถูกจัดตั้งขึ้นแล้ว จึงไม่มีปัจจัยที่จะน�ำไปสู่การยืนหยัดต่อสู้เช่นนี้เกิดขึ้น อีกในเมืองกุม เหตุเพราะว่ารัฐบาลอิสลามของอิหร่าน เป็นรัฐบาลที่นักวิชาการศาสนาและบรรดา มัรเญี๊ยะอ์ ตักลีดผู้ยิ่งใหญ่จะไม่คัดค้านต่อต้านมัน และในฮะดีษ (วจนะ) อีกบทหนึ่ง ท่านอัลลา มะฮ์มจั ญ์ลซิ ี ได้อา้ งรายงานจากท่านอิหม่ามบากิร (อ.) ซึ่งท่านศาสดา (ศ.) กล่าวว่า

‫ فقال على عليه‬,‫هم يا رسول اهلل؟ فسكت‬ ‫ هم قوم‬:‫السالم من هم يا رسول اهلل؟ فقال‬ ‫تحابوا بروح اهلل على غير انساب و ال اموال‬ ‫اولئك شيعتك و انت امامهم يا على‬

‫العرش ـ قوما منا على منابر من نور وجوههم‬ ‫ تغشى وجوههم‬,‫ وثيابهم من نور‬,‫من نور‬ ‫ من هم‬:‫ قال إبوبكر‬,‫إبصار الناظرين دونهم‬ ‫ من هم‬:‫ فقال الزبير‬,‫يا رسول اهلل؟ فسكت‬ ‫من‬:‫ فقال عبدالرحمن‬,‫يا رسول اهلل؟ فسكت‬

‫و ان تتولوا يستبدل قوما غيركم ثم ال يكونوا‬ ‫امثالكم‬

“แท้ จ ริ ง ทางด้ า นขวาของอั ล ลอฮ์ ผู ้ ท รงเกริ ก เกียรติ ผู้ทรงเกรียงไกร หรือทางด้านขวาของอะรัช (บัลลังก์) จะมีชนกลุม่ หนึง่ จากเรานัง่ อยูบ่ นมิมบัร (ธรรม มาส) ต่างๆ จากนูร (รัศมี) ใบหน้าของพวกเขาก็เป็นนูร (รัศมี) และเสื้อผ้าของพวกเขาก็เป็นนูร (รัศมี) ใบหน้า ของพวกเขาจะทะลุทะลวงสายตาของผู้มองคนอื่นๆ จากพวกเขา” อบูบักรได้กล่าวขึ้นว่า “โอ้ท่านศาสนทูต แห่งอัลลอฮ์พวกเขาเป็นใครกันหรือ” ท่านศาสนทูต นิ่งเงียบ ดังนั้นซุบัยร์จึงกล่าวขึ้นว่า “โอ้ท่านศาสนทูต แห่งอัลลอฮ์ พวกเขาเป็นใครกันหรือ” ท่านก็ยังคงนิ่ง เงียบ อับดุรเราะฮ์มานก็ได้กล่าวว่า “โอ้ท่านศาสนทูต แห่งอัลลอฮ์พวกเขาเป็นใครกันหรือ” ท่านก็ยังคงนิ่ง เงียบ ดังนั้นท่านอะลี (อ.) จึงกล่าวว่า “โอ้ท่านศาสน ทูตแห่งอัลลอฮ์พวกเขาเป็นใครกันหรือ” ท่านกล่าวตอบ ว่า “พวก เขาคือกลุ่มชนที่ต่างมีความรักใคร่ต่อกันด้วย สื่อของรูฮุลลอฮ์ โดยมิได้มีความเกี่ยวข้องใดๆ ทางเชื้อ สาย และมิได้มีส่วนร่วมใดๆ ทางทรัพย์สิน โอ้ อะลีเอ๋ย! พวกเขาเหล่านัน้ คือชีอะฮ์ของเจ้า และเจ้าคืออิมามของ พวกเขา” (19) ในฮะดีษอีกบทหนึ่งจากหนังสืออ้างอิงหลาย เล่มที่มีความน่าเชื่อถือ (มุอ์ตะบัร) ของชาวอะฮ์ลิซซุน นะฮ์ ได้อ้างรายงานค�ำพูดมาจากท่านศาสดามุฮัมมัด ‫( ان عن يمين اهلل عزوجل ـ او عن يمين‬ซ็อลฯ) ซึ่งท่านได้อ่านโองการนี้คือ

54 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

“และหากพวกเจ้าหันหลังออก (จากศาสนา) พระองค์จะทรงเปลี่ยนชนกลุ่มอื่นจากพวกเจ้า แล้ว พวกเขาจะไม่เป็นเหมือนพวกเจ้า” (ซูเราะฮ์มุฮัมมัด :อายะฮ์ที่ 38)


ผู้ที่อยู่ต่อหน้าท่านศาสนทูตแห่งอัลลอฮ์ (ศ.) ได้ ถามขึ้นว่า

‫يا رسول اهلل من هوالء الذين ان تولينا‬ ‫استبدلوا بنا؟‬

“โอ้ ท่านศาสนทูตแห่งอัลลอฮ์! พวกเขาเหล่านัน้ ซึ่งหากพวกเราหันหลังออก (จากศาสนา) แล้วพวกเขา จะมาแทนที่พวกเรานั้นคือใคร”

‫ ثم‬,‫فضرب رسول اهلل على منكب سلمان‬ ‫ هذا و قومه والذى نفسى بيده لوكان‬:‫قال‬ ‫االيمان منوطا بالثريا لتناوله رجال من فارس‬

ดังนั้นท่านศานทูตแห่งอัลลอฮ์ (ศ.) จึงได้ตบไป ทีไ่ หล่ของซัลมาล ต่อจากนัน้ ท่านกล่าวว่า “คือ บุรษุ ผูน้ ี้ และกลุ่มชนของเขา ขอสาบานต่อพระผู้ซึ่งชีวิตของฉัน อยู่ในพระหัตถ์ของพระองค์ มาตรว่าศาสนาถูกแขวน อยู่ที่ดาวลูกไก่ แน่นอนยิ่ง เหล่าบุรุษจากเปอร์เซียจะ ไขว่คว้าเอามันมาได้” (20) จากค�ำพูดของบรรดานักวิชาการผู้ยิ่งใหญ่ร่วม สมัย ได้วเิ คราะห์และอธิบายถึงช่วงเวลาทีก่ ำ� ลังด�ำเนิน อยู่ในขณะนี้ อย่างเช่น ท่านอิมามโคมัยนี (รฮ.) ผู้วาง รากฐานการปฏิวัติอิสลามแห่งอิหร่าน และท่านอิมา มอะลีคอเมเนอีผู้น�ำสูงสุดของการปฏิวัติอิสลาม ได้ชี้ ให้เห็นว่าสถานการณ์การเปลีย่ นแปลงต่างๆ อันยิง่ ใหญ่ และน่าพิศวงในทุกๆ ด้านของภูมิภาคและของโลก ที่ เริ่มต้นขึ้นจากการปฏิวัติอิสลามในอิหร่านนี้ ก�ำลังน�ำ ไปสู่การปฏิวัติครั้งใหญ่ของท่านอิมามมะฮ์ดี (อญ.) และเราก�ำลังอยูใ่ นยุคใกล้การปรากฏตัวของท่านอิมาม มะฮ์ดี (อญ.) ท่านอิมามโคมัยนี (รฮ.) ได้กล่าวว่า

«‫انقالب اسالمی نقطه شروع انقالب جهانی‬ ‫»حضرت بقیه اهلل گردیده است‬

"การปฏิวัติอิสลามได้กลายเป็นจุดเริ่มต้นการ ปฏิวตั โิ ลกของท่านบะกียะตุลลอฮ์ (อิมามมะฮ์ดี (อญ.)" (21)

ท่านอิมามคอเมเนอี วิลายะตุลฟะกีฮไ์ ด้กล่าวว่า "การบรรลุ ค วามเป็ น จริ ง อย่ า งสมบู ร ณ์ ข อง สัญญาแห่งพระผูเ้ ป็นเจ้า หมายถึงชัยชนะของสัจธรรม เหนือความเท็จ และการสร้างประชาชาติแห่งอัลกุรอาน และอารยะธรรมใหม่แห่งอิสลามก�ำลังเกิดขึ้น แล้ว ..." "เรา จะถูกนับว่าเป็นผู้รอคอยที่แท้จริงได้ก็ต่อ เมื่อเรามีการเตรียมพร้อมพื้นฐาน เพื่อการมาปรากฏ ตัว (ซุฮูร) ของท่านมะฮ์ดีผู้ถูกสัญญา (อัรวาฮุนาละฮุล ฟิดาอ์) ความจ�ำเป็นในการเตรียมพร้อมนั้นได้แก่ การ ปฏิบัติตามบทบัญญัติและอ�ำนาจการปกครองของอัล กุรอานและอิสลาม ก้าวแรกส�ำหรับอ�ำนาจการปกครอง ของอิสลามและการเข้าใกล้ของประชาชาติมสุ ลิมใน ยุค แห่งการปรากฏตัว (ซุฮูร) ของท่านมะฮ์ดีผู้ถูกสัญญา (อัรวาฮุนาละฮุลฟิดาอ์วะอัจญะลัลลอฮุฟะร่อญะฮ์) นัน้ ได้ย่างก้าวไปแล้วโดยประชาชาติอิหร่าน และนั่นก็คือ การสร้างอ�ำนาจการปกครองแห่งอัลกุรอาน" ท่านอายะตุลลอฮ์ ฮาซันซอเดฮ์ ออมูลี "กรณีแวดล้อมและพยานหลักฐานต่างๆ ชี้ให้ เห็นว่า การปฏิวัติอิสลามและระบอบอันศักดิ์สิทธิ์ของ สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่านคือ "ซุฮูรซุฆรอ" (การ ปรากฏกายเล็ก) ของท่านบะกียะตุลลอฮ์ อัลอะซ็อม

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 55


(อิมามมะฮ์ดี (อญ.)" เป็นช่วงเวลาระหว่างสองรุ่งอรุณ ของรัฐบาลโลกของท่านอิมามซะมาน (ดวงวิญาณของ เราขอพลีเพื่อท่าน)" การแจ้งข่าวดีเกี่ยวกับการปรากฏกายของท่า นอิมามมะฮ์ดี (อญ.) จากค�ำพูดของบุคคลส�ำคัญทาง ศาสนาภายหลังจากการเริ่มต้นของกระแสการตื่นตัว ของ อิสลาม ในขณะที่การตื่นตัวของอิสลามเกิดขึ้นมาเกือบ สองปี ซึ่งในตลอดช่วงเวลาสั้นๆ ดังกล่าวนี้ ได้มีการ เปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่ยิ่งใหญ่เกิดขึ้นในตะวันออกกลาง และทั่ ว โลก ตามการยอมรั บ ของทั้ ง มิ ต รและศั ต รู ทัง้ หมดต่างเชือ่ ว่าโลกของมนุษยชาติกำ� ลังย่างก้าวเข้า สู่ขั้นตอนและช่วงเวลา ใหม่แห่งอายุขัยของมัน การตื่น ตัวของมนุษยชาติในทัว่ ทุกมุมโลกจากตะวันออกกลาง และแอฟริกาเหนือจนถึง ยุโรปและอเมริกา การยืนหยัด ต่อสู้และการเคลื่อนไหวอย่างต่อเนื่องของบรรดาผู้ถูก กดขี่ (มุสตัฎอะฟีน) ในการต่อต้านบรรดามหาอ�ำนาจ ผู้กดขี่ ขบวนการเคลื่อนไหวของประชาชนและการ ประท้วงคัดค้านอย่างเป็นประวัตกิ ารในยุค ของระบอบ การครอบง�ำ วิกฤตเศรษฐกิจที่ปกคลุมอยู่ทั่วโลก และ ท้ า ยที่ สุ ด ก็ คื อ การสั่ น คลอนและการล่ ม สลายของ ระบอบต่างๆ ทางวัตถุนิยม ซึ่งแม้แต่ผู้ที่คลางแคลงใจ และเชือ่ อะไรยากก็ได้ไปถึงบทสรุปแล้วว่า สถานการณ์ การเปลี่ยนแปลงอันยิ่งใหญ่ที่ก�ำลังเกิดขึ้นในขณะนี้ อาจจะมีส่วนสัมพันธ์โดยตรงกับค�ำสัญญาต่างๆ ที่ ศาสนาทัง้ หลายได้กล่าวถึงเกีย่ วกับอ�ำนาจการปกครอง ทีย่ ตุ ธิ รรม และสันติภาพทีจ่ ะเป็นตัวขับเคลือ่ นโลกให้มงุ่ ไปสู่ทิศทางดังกล่าว ท่ามกลางสิ่งดังกล่าวนี้ การแจ้ง ข่าวดีของบุคคลส�ำคัญทางศาสนาอิสลามก็เป็นเครื่อง สนับสนุนถึงความถูก ต้องของสิ่งดังกล่าว ในเนื้อหาส่วนนี้ เราจะขอน�ำเสนอตัวอย่างส่วน หนึง่ ของค�ำพูดและการแจ้งข่าวดีของบุคคลส�ำคัญทาง ศาสนาในตลอดช่วงสองปีที่ผ่านมา โดยที่บางส่วนมี ความชัดเจนมากเกี่ยวกับยุคสมัยแห่งการรอคอยของ

56 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

มนุษยชาติ ท่านอิมามอะลี คอเมเนอี วิลายะตุลฟะกีฮ์ กล่าว ว่า “เหตุ ก ารณ์ ต ่ า งๆ ที่ ป ั จ จุ บั น ก� ำ ลั ง เกิ ด ขึ้ น ใน แอฟริกาเหนือ ประเทศอียปิ ต์ ประเทศตูนเิ ซียและประเท ศอืน่ ๆ อีกบางประเทศ ส�ำหรับเราประชาชนชาวอิหร่าน นั้นมีความหมายอีกอย่างหนึ่ง มันมีความหมายที่เป็น พิเศษ นี่ก็คือสิ่งที่ถูกกล่าวถึงอยู่เสมอมาในนามของ การตื่นตัวของอิสลามที่สืบ เนื่องมาจากชัยชนะของ การปฏิวัติอิสลามที่ยิ่งใหญ่ของชาติอิหร่าน วันนี้มัน ก�ำลังแสดงตัวมันเอง ด้วยเหตุนี้ทศวรรษนี้จึงมีความ ส�ำคัญยิ่ง” (22) “การขยายตั ว ของกระแสคลื่ น การตื่ น ตั ว ของ อิสลามในโลกวันนี้ คือข้อเท็จจริงหนึง่ ทีว่ า่ มันก�ำลังแจ้ง ข่าวถึงอนาคตที่ดีส�ำหรับประชาชาติอิสลาม” (23) “ยิง่ ไปกว่านัน้ วันนีโ้ ลกอิสลามและทัว่ ทุกมุมของ โลกก�ำลังเห็นการเปลี่ยนแปลงที่ยิ่งใหญ่ที่ ก�ำลังบอก ข่าวถึงการเปลี่ยนแปลงความสมดุลต่างๆ ของโลก” (24) “ขบวน การการเคลื่อนไหวทีย่ งิ่ ใหญ่ของอิสลาม ในช่วงล่าสุดนัน้ คือจุดเริม่ ต้นของการเปลีย่ นแปลงทีย่ งิ่ ใหญ่กว่าของอ�ำนาจการปกครองของอิสลาม ปัจจุบัน นี้เยาวชนของกลุ่มประเทศอิสลามเพื่อที่จะไปถึงยัง อุดมคติและความมุ่งหวังต่างๆ ของตน พวกเขาได้หัน หน้ามาสู่หลักค�ำสอนของอิสลามแทนส�ำนักคิดทาง วัตถุนิยม ความภาคภูมิใจดังกล่าวนี้เป็นผลพวงมา จากการเคลื่อนไหวของประชาชาติอิหร่าน จุดยืนของ เราคือการสนับสนุนและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กบั ขบวนการเหล่านี้ และเราหวังว่าขบวนการเคลื่อนไหว ของอิสลามเหล่านี้จะเป็นการตัดอิทธิพลของ ศัตรูตัว ส�ำคัญ หมายถึงไซออนิสต์และอเมริกาลงอย่างสมบูรณ์ สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงในโลกอิสลามในขณะนี้ คือการแจ้งข่าวถึงอนาคตอันสดใส และเป็นสัญญาณ ที่บ่งชี้ถึงการเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่ที่ปรากฏชัดเจน แล้ว” (25)


“ปัญหาของอเมริกาเป็นสิง่ ทีส่ ำ� คัญอย่างหนึง่ สิง่ นี้ได้ท�ำให้ประชาชนชาวอเมริกาเกิดการเคลื่อนไหวตื่น ตัวใน นาม "ขบวนการวอลสตรีท" นั้นเป็นเรื่องที่ส�ำคัญ ปัญหาหนึ่งก็คือความเสื่อมทรามของระบอบทุนนิยม ซึ่งเป็นที่กระจ่างชัดแล้ว ส�ำหรับประชาชนเหล่านั้น ปัจจุบันนี้ระบอบทุนนิยมอยู่ในทางตันอย่างสมบูรณ์ แล้ว เป็นไปได้ว่าผลของทางตันนี้อาจจะน�ำไปสู่ผล ต่างๆ ในขั้นสุดท้ายของมันในปีถัดๆ ไป แต่วิกฤติของ ตะวันตกได้เริม่ ต้นขึน้ แล้วอย่างสมบูรณ์ โลกก�ำลังอยูใ่ น ช่วงหัวเลีย้ วหัวต่อหนึง่ ของประวัตศิ าสตร์ ประชาชาติที่ ยิ่งใหญ่แห่งอิสลาม สามารถที่จะแสดงบทบาทได้ ในที่ นี้เองที่อิสลาม หลักค�ำสอนต่างๆ ของอิสลาม แนวทาง ของอิสลามจะถูกน�ำมาใช้สนองตอบความต้องการของ ประชาคมโลก และในที่นี้เองที่ระบอบของสาธารณรัฐ อิสลามจะสามารถพิสูจน์ความเป็นแบบอย่าง ของตัว มันส�ำหรับประชาคมโลกทั้งมวล (26) “ด้วย กับการช่วยเหลือของจิตวิญญาณ (สปิรติ ) ของบรรดาเยาวชน ผู้ศรัทธา อาสาสมัครและผู้มีความ คิดสร้างสรรค์เหล่านี้ อินชาอัลลอฮ์ (หากพระผู้เป็นเจ้า ทรงประสงค์) ชาติอิหร่านจะพิชิตยอดเขาต่างๆ ของ อ�ำนาจแห่งโลก และอินชาอัลลอฮ์ (หากพระผู้เป็นเจ้า ทรงประสงค์) พวกเธอจะได้ปักธงแห่งอิสลามบนยอด เขาเหล่านี้ วันนี้เราก�ำลังเห็นขบวนการต่อสู้ที่ยิ่งใหญ่ แห่งอิสลามในตะวันออกกลางก�ำลัง เติบโตและขยาย ตัวออกไปอย่างต่อเนื่องวันแล้ววันเล่า ศัตรูก�ำลังเข้า

สู่มุมอับ ก�ำลังถอยร่น และขบวนการเคลื่อนไหวแห่ง อิสลาม แม้ว่าจะเป็นขบวนการเคลื่อนไหวที่ศัตรูก�ำลัง พยายามดับมันก็ตาม แต่มันก็อยู่ในสภาพของการ ก้าวไปข้างหน้า ข้าพเจ้าไม่คลางแคลงสงสัยใดๆ เลย ว่า อนาคตก�ำลังจะเป็นของอิสลาม อนาคตจะอยู่ใน อ�ำนาจของอิสลาม และพวกเธอเยาวชนทั้งหลาย อิน ชาอัลลอฮ์ (หากพระผูเ้ ป็นเจ้าทรงประสงค์) ด้วยกับการ ประทานความส�ำเร็จ (เตาฟีก) จากพระผู้เป็นเจ้า พวก เธอจะได้เห็นธงแห่งอิสลามโบกสะบัดอยูใ่ นทุกภูมภิ าค เหล่านี้ และประชาคมแห่งอิสลามทีม่ เี อกภาพมีอำ� นาจ และมีศักดิ์ศรีจะถูกจัดตั้งขึ้น” (27) อย่ า งไรก็ ต าม ท่ า นอิ ม ามคอเมเนอี เ องก็ ไ ด้ ชี้ ถึ ง เรื่ อ งนี้ ม าก่ อ นการตื่ น ตั ว และการปฏิ วั ติ ใ น ตะวันออกกลางแล้ว โดยกล่าวไว้เช่นกันว่า ِ ‫ما به‬ «-‫ارواحنافداه‬- ‫زمان ظهور امام زمان‬

‫این محبوب حقیقی انسان ها نزدیک شده‬ ‫»ایم‬

"เราเข้าใกล้ช่วงเวลาของการปรากฏกายของ ท่านอิมามซะมาน (ดวงวิญญาณของเราขอพลีเพื่อ ท่าน) ผู้เป็นที่รักยิ่งของมวลมนุษย์แล้ว" (28) ท่านอายะตุลลอฮ์นูรี อัมดานี หนึ่งในมัรเญี๊ยะอ์ ตักลีด “เสียงสะท้อนของประชาชนตูนิเซียเป็นเครื่องชี้ ให้เห็นถึงการตื่นตัวและการรู้เท่า ทันของประชาชนต่อ บรรดามหาอ�ำนาจผู้กดขี่ และการปฏิวัติทั้งหลายเหล่า นี้เป็นเครื่องแสดงให้เห็นถึงการตื่นตัวและการมี ความ เข้าใจของประชาชาติทั้งหลายต่อบรรดามหาอ�ำนาจ ผู ้ ก ดขี่ ประชาชนของโลกจะค่ อ ยๆ เอาชนะเหนื อ บรรดามหาอ�ำนาจผู้กดขี่ และสิ่งนี้จะช่วยเตรียมพื้น ฐานส�ำหรับการปรากฏตัว (ซุฮูร) ของท่านอิมามมะฮ์ ดี (อ.ญ.)” (29) ท่านอายะตุลลอฮ์มะฮ์ดะวี กะนี “สถานการณ์ ก ารเปลี่ ย นแปลงในภู มิ ภ าค ตะวันออกกลางและยุโรป และกระแสคลื่นของการ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 57


เรียกร้องหาความยุตธิ รรมของประชาชาติทงั้ หลายของ โลก คือสิ่งที่เป็นพื้นฐานน�ำไปสู่การปรากฏตัว (ซุฮูร) ของท่านอิมามมะฮ์ดี (อ.ญ.)” “วันนี้ ประชาชนทีอ่ ยูใ่ นจุดต่างๆ อันไกลโพ้นของ โลกได้ลกุ ขึน้ แล้ว และก�ำลังเรียกร้องความยุตธิ รรมและ เสรีภาพ และพวกเขาก�ำลังมุง่ แสวงหาสิทธิของพวกเขา” “การ ลุกฮือต่างๆ เหล่านี้ที่ก�ำลังเกิดขึ้นในกลุ่ม ประเทศอิสลาม ด้วยกับค�ำขวัญของอิสลามและศาสนา และด้วยค�ำขวัญต่างๆ ในการเรียกร้องเสรีภาพในหมู่ ประเทศที่ไม่ใช่อิสลาม อินชาอัลลอฮ์ (หากพระผู้เป็น เจ้าทรงประสงค์) ขบวนการเคลื่อนไหวทั้งหมดเหล่านี้ คือพื้นฐานน�ำไปสู่การปรากฏตัว (ซุฮูร) ของท่านอิมาม มะฮ์ดี (อ.ญ.)” (30) ท่านอายะตุลลอฮ์ญะวาดี ออมูลี “เรา หวังว่าพระผูเ้ ป็นเจ้าผูท้ รงมหาบริสทุ ธิย์ งิ่ จะ ทรงท�ำให้ขบวนการต่อสูแ้ ห่ง อิสลามในตะวันออกกลาง บรรลุผลส�ำเร็จ และจะทรงท�ำให้ขบวนการต่อสู้และ การตื่นตัวของประเทศต่างๆ อย่างเช่น ตูนิเซีย อียิปต์ ลิเบีย จอร์แดน เยเมนและทุกประเทศ ที่เสียงกู่ก้องค�ำ ว่า “อัลลอฮุอกั บัร” (อัลลอฮ์ ผูท้ รงยิง่ ใหญ่) การประสิทธิ์ ประสาทพรแด่ทา่ นศาสดาและวงศ์วานของท่านศาสดา (ซ็อลฯ) ได้ดังกึกก้องขึ้นจงบรรลุสู่ความส�ำเร็จด้วย เถิด เพื่อที่ว่าตะวันออกกลางที่ก�ำลังตื่นตัวและมีความ เข้าใจแล้วจะสามารถจัด เตรียมพื้นฐานการปรากฏตัว ของท่านอิมามะฮ์ดี (จิตวิญญาณของพวกเราขอพลีแด่ ท่าน)” (31) ท่านอายะตุลลอฮ์ฮาอิรี ชีราซี “จนถึงขณะนีก้ ารให้หลักประกันต่อพระผูเ้ ป็นเจ้า ส�ำหรับการปรากฏตัวของท่านอิมา มซะมาน (อ.ญ.) ยัง ไม่สมบูรณ์ (เพียงพอ) ทั้งนี้เนื่องจากหลักประกันนี้จะ ต้องคูค่ วรต่อสถานะและต�ำแหน่งของท่านอิมา มมะฮ์ดี (อ.) ด้วย เป็นที่ชัดเจนยิ่งว่า แม้จะด้วยกับการมีอยู่ของ บรรดาชะฮีด (ผู้พลีชีพ) ผู้มีเกียรติทั้งหมดเหล่านี้ก็ตาม แต่จนถึงขณะนีข้ อบเขตทีพ่ อเพียงของหลักประกันแห่ง

58 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

พระผู้เป็นเจ้าส�ำหรับการ จัดตั้งรัฐบาลโลกของท่านอิ มามซะมาน (อ.ญ.) นั้นยังไม่ถูกเตรียมพร้อม ชัยชนะ ของเลบานอนที่มีเหนือศัตรูในสงคราม 30 วัน และใน ช่วงล่าสุดนี้ การหลบหนีของจอมเผด็จของอียิปต์ และ (ชัยชนะ) ที่ค่อยๆ ปกคลุมไปทั่วกลุ่มประเทศอาหรับ ทัง้ หมดนัน้ โดยตัวของมันคืออีกหลักประกันหนึง่ ส�ำหรับ การปรากฏตัวของท่านอิมามซะมาน (อ.ญ.) แต่อย่างไร ก็ตาม จนกว่าจะถึงจุดของการปรากฏตัว (ซุฮูร) นั้น จ�ำเป็นจะต้องมีการยืนหยัดและมีวิสัยทัศน์ที่ลึกซึ้ง” (32) ฮุ จ ญะตุ ้ ล อิ ส ลามซะอี ดี ผู ้ แ ทนของท่ า นผู ้ น� ำ สูงสุดในกองก�ำลังพิทักษ์การปฏิวัติแห่งอิหร่าน “เราเชื่อว่าการปฏิวัติ (ของอิหร่าน) คือการเตรี ยมพืน้ ฐานของรัฐบาลโลกของท่านอิมามมะฮ์ดี (อ.ญ.) ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากมีปรากฏในค�ำรายงาน (ริวายะฮ์) จ�ำนวน มากว่า ก่อนการปรากฏตัว (ซุฮูร) จะมีรัฐบาลหนึ่งเกิด ขึน้ ซึง่ จะเตรียมพืน้ ฐานการยืนหยัดต่อสูข้ องท่านอิมาม ซะ มาน (อ.ญ.)” “สัญญาณ (อะลาอิม) ส่วนใหญ่ของการปรากฏ ตัว (ซุฮูร) ได้เกิดขึ้นแล้ว แต่ระหว่างสัญญาณ (อะลา อิม) กับเงือ่ นไข (ชะรออิฏ) ต่างๆ นัน้ มีความแตกต่างกัน และเป็นไปได้ว่าสัญญาณ (อะลาอิม) ของการปรากฏ ตัว (ซุฮูร) ทั้งหมดได้เกิดขึ้นแล้ว แต่เงื่อนไข (ชะรออิฏ) ต่างๆ ของการปรากฏตัว (ซุฮูร) นั้นยังไม่พร้อม” “ความพร้อมของแต่ละบุคคลและวิธีการของ ระบบการปกครอง คือส่วนหนึ่งจากกรณีต่างๆ ของ บรรดาเงื่อนไขของการปรากฏตัว (ซุฮูร) ซึ่งในทิศทาง นี้ แบบอย่างหนึ่งส�ำหรับการปกครอง (รัฐ) จะต้องถูก น�ำเสนอขึ้นมาเพื่อเตรียมพื้นฐานของการปรากฏกาย (ซุฮูร)” “ความ พร้อมระดับภูมิภาคโดยปราศจากการ เปลี่ยนแปลงของตะวันออกกลางนั้นย่อมเป็นไป ไม่ได้ ซึ่งมีปรากฏในค�ำรายงาน (ริวายะฮ์) ว่า ประเทศต่างๆ อย่างเช่น อิรัก เลบานอน ซีเรียและอียิปต์จะมีบทบาท ส�ำคัญในการปรากฏตัว (ซุฮูร)”


“ความพร้อมในระดับนานาชาติ (สากล) ก็เช่น เดียวกัน จะต้องถูกจัดเตรียมขึ้นในโลก ซึ่งปัจจุบันนี้ทั้ง สี่กรณีดังกล่าวนี้ก�ำลังก่อรูปขึ้นพร้อมกันในเวลาเดียว กัน” (33) ท่านอายุตุลลอฮ์กุลามอะลี ซ่อฟาอี ตัวแทนของ ท่านผู้น�ำสูงสุดและอิมามญุมอะฮ์ของจังหวัดบูชะฮัร “ประเทศ อิ ส ลามในขณะนี้ ก� ำ ลั ง ได้ เ ห็ น การ เปลี่ยนแปลงขนานใหญ่ และการตะโกนกู่ก้องของ ประชาชาติมุสลิมในการต่อต้านอเมริกา อิสราเอลและ อังกฤษ ที่ก�ำลังดังขึ้นในดินแดนอิสลามทั้งหลาย” “การลุกฮือเหล่านี้จะน�ำไปสู่ของประเทศมุสลิม จะน�ำไปสู่การยกระดับของประชาชาติ มุสลิม และนี่ คือการแจ้งข่าวดีที่ยิ่งใหญ่ส�ำหรับการการปรากฏกาย (ซุฮูร) ของผู้ช่วยให้รอดของมนุษยชาติ” (34) ท่านฮุจญะตุ้ลอิสลามซัยยิดมุฮัมมัด ฮุซัยนี ก็อซ วีนี ผู้อ�ำนวยการสถาบันวิจัยวะลียุ้ลอัศร์ (อ.) “ความกลั ว ต่ อ การปรากฏตั ว (ซุ ฮู ร ) ของท่ า นอิมามมะฮ์ดี (อญ.) ได้กลายเป็นเหตุท�ำให้บรรดา มหาอ�ำนาจได้เข้ามาปรากฏตัวอยูใ่ นภูมภิ าคตะวันออก กลางอย่างจริงจัง” “วันนี้ มุมมองของเราเกีย่ วกับอิมามมะฮ์ดี (อญ.) จะต้องไม่ใช่เป็นแค่เพียงมุมมองทางด้านมัซฮับ (นิกาย) และด้านศาสนาเท่านั้น แต่ทว่าจะต้องครอบคลุมทุก ประเด็นทัง้ ทางด้านการเมือง สังคม วัฒนธรรมและด้าน ความเชื่อของประชาคม” “แนว คิดเกี่ยวกับ (อิมามมะฮ์ดี) ผู้ถูกรอคอยได้ ถูกหยิบยกขึ้นมากล่าวถึงในเวทีทางการเมืองของโลก ด้วยวิธีการ อันเป็นเฉพาะในช่วงครึ่งศตวรรษที่ผ่าน มานี้ แม้กระทั่งบรรดานักพรตชาวอินเดีย (ฮินดู) ก็ได้ พยากรณ์ไว้เช่นกันว่า ในอนาคตอันใกล้นี้จะมีบุรุษผู้ หนึ่งจากประเทศซาอุดิอาระเบียปรากฏตัวขึ้น โดยที่ เขาจะติดอาวุธทางทหารที่ทันสมัยที่สุดในโลก และ จะท�ำลายล้างบรรดามหาอ�ำนาจของตะวันออกและ ตะวันตก”

“ค�ำท�ำนายเหล่านี้เองที่ปัจจุบันได้ท�ำให้บรรดา มหาอ� ำ นาจตั ด สิ น ใจเข้ า มาปรากฏตั ว ทางทหาร และการเมื อ งในตะวั น ออกกลางอย่ า งจริ ง จั ง และ แรงบันดาลใจหลักในการปรากฏตัวของมหาอ�ำนาจ ในภูมิภาคก็เนื่องมาจากมีความ หวาดกลัวต่อการ ปรากฏตัว (ซุฮูร) ของท่านอิมามมะฮ์ดี (อ.ญ.) ใน ตะวันออกกลาง” (35) ฮุจญะตุ้ลอิสลามพะนอฮียอน “สามารถกล่าวได้ว่านี่คือโอกาสที่ดีที่สุดที่จะ พิ สู จ น์ ค วามถู ก ต้ อ งชอบธรรมของขบวน การการ เคลื่อนไหวแห่งอิสลามในโลก นี่คือโอกาสดีที่สุดที่จะ สามารถจัดเตรียมความพร้อมขั้นพื้นฐานส�ำหรับการ ปรากฏตัว (ซุฮูร) ของท่านอิมามมะฮ์ดี (อ.ญ.) เรื่องราว ของบาห์เรนเพียงประเทศเดียวก็เพียงพอแล้วส�ำหรับ แนวโน้มความเป็น เอกราชของบรรดารัฐต่างๆ ของ อเมริกา และการล่มสลายของจักรวรรดิที่เป็นหุ่นเชิดนี้ จะบรรลุสู่ความเป็นจริง” (36) ท่านอายะตุลลอฮ์อับบาส วาอิซ ฏอบะซี ผู้ดูแล ฮะรัมของท่านอิมามริฎอ (อ.) ในวันแรกของปีใหม่ (90/01/01) เคียงข้างสถานฝังศพของท่านอิมามริฎอ (อ.) ในเมืองมัชฮัด ก่อนการปราศรัยของท่านผูน้ ำ� สูงสุด ท่านได้กล่าวว่า “เสี ย งกู ่ ก ้ อ งเรี ย กร้ อ งอิ ส ลามในภู มิ ภ าค (ตะวันออกกลาง) จะเป็นการเตรียมพื้นฐานส�ำหรับ การปรากฏตัว (ซุฮูร) ของท่านอิมามมะฮ์ดี (อ.)” (37) ดร.มะฮ์มูด อะฮ์มะดีนิจาด อดีตประธานาธิบดี

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 59


สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน “ระเบียบที่เป็นอยู่ในโลกขณะนี้ได้ม าถึงทาง ตันแล้ว และไม่สามารถที่จะด�ำรงอยู่ได้อีกต่อไป ทั้งนี้ เนื่องจากมันได้ออกห่างจากสัญชาติญาณของมนุษย์ อันเป็นธรรมชาติแห่ง การสร้างของพระผูเ้ ป็นเจ้า โลกมี ความต้องการการจัดระเบียบใหม่ และมันถึงเวลาแล้วที่ เราจะแนะน�ำแบบอย่างซึง่ ออกนอกขอบข่ายของความ มีอคติและ ความขัดแย้งต่างๆ ในระหว่างประชาชาติทงั้ หลาย และทุกๆ ประชาชาติจะมีความรูส้ กึ ถึงความใกล้ ชิดและการมีส่วนร่วม และแบบอย่างนี้ก็คือรัฐบาลโลก ของมะฮ์ดี (อ.ญ.)” “แนวคิดระเบียบโลกของมะฮ์ดี (อ.ญ.) ก�ำลัง แพร่กระจายออกไป ซึ่งสามารถวิเคราะห์และแนะน�ำ สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เป็นอยู่ในขณะนี้ ไปในทิศทางดังกล่าวนี้ได้” (38) การเตรียมพร้อมตนเองส�ำหรับการมาของท่านอิ มามมะฮ์ดี (อ.) ในสภาวการณ์ ห รื อ สถานการณ์ เ ช่ น นี้ เ ราจะ ท�ำอย่างไร เมื่อพิจารณาถึงแนวโน้มและกระแสการ เปลี่ ย นแปลงต่ า งๆ ที่ ก� ำ ลั ง เกิ ด ขึ้ น อยู ่ ใ นขณะนี้ เ รา จะเตรียมพร้อมตนเองอย่างไร เพื่อที่จะเตรียมพร้อม ตนเองส�ำหรับการปรากฏตัว (ซุฮูร) ของท่านอิมาม มะฮ์ดี (อ.ญ.) นั้นเราจะต้องมีความรอบรู้และเข้าใจถึง คุณลักษณะเฉพาะต่างๆ ของบรรดาผูช้ ว่ ยเหลือของท่า นอิมาม (อ.) เพื่อเป็นการเสริมสร้างคุณลักษณะเหล่า นั้นให้เกิดขึ้นกับตัวเอง เราจะได้มีความพร้อมส�ำหรับ การปรากฏตัว (ซุฮูร) ของท่าน บรรดาผู้ที่รอคอยท่านอิ มามมะฮ์ดี (อญ.) มีภาระหน้าที่ต่างๆ ที่หนักอึ้ง และ เพื่อที่จะไปให้ถึงสิ่งที่เป็นความมุ่งหวังอันสูงส่งในการ รอคอย จึงจ�ำเป็นจะต้องปฏิบัติสิ่งเหล่านี้อย่างจริงจัง ในรายงาน (ริวายะฮ์) จากท่านศาสนทูตแห่ งอัลลอฮ์ (ศ.) ที่ได้กล่าวไปแล้วข้างต้น และในค�ำ รายงานจากบรรดาอิมามมะอ์ซูม (อ.) ถือว่าการรอ คอยการคลี่คลายความทุกข์ยาก (อินติซอรุ้ลฟะญัร)

60 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

หรือการรอคอยท่านอิมามมะฮ์ดี (อ.ญ.) ผู้ที่จะมาท�ำ หน้าที่ช่วยเหลือมนุษยชาติในโลกให้รอดพ้นจากความ ทุกข์ยาก การกดขี่ ความอธรรมของบรรดาผู้ปกครองที่ เผด็จการและมหาอ�ำนาจของโลกนั้น คือการอิบาดะฮ์ (การเคารพภักดีพระเจ้า) ที่ประเสริฐยิ่ง ซึ่งภาระหน้าที่ ของผู้รอคอย (มุนตะซิร) นั้นมีหลายประการ แต่ด้วย ความจ�ำกัดจึงขอกล่าวถึงในที่เพียงบางส่วนคือ 1. การรู้จักพระผู้เป็นเจ้าและการพัฒนาระดับ ความศรัทธา บรรดาผู้ช่วยเหลือท่านอิมามมะฮ์ดี (อ.ญ.) คือ ส่วนหนึง่ จากผูท้ มี่ คี วามรูจ้ กั พระผูเ้ ป็นเจ้าอย่างถูกต้อง แท้จริง ท่านอิมามอะะลี (อ.) ได้อธิบายถึงคุณลักษณะ อันสูงส่งของบุคคลเหล่านี้ในด้านของการรู้จัก (มะอ์ ริฟะฮ์) ต่อพระผู้เป็นเจ้าไว้เช่นนี้ว่า

«‫رجال مومنون عرفوا اهلل حق معرفته و هم‬ ‫»انصارالمهدی فی آخر الزمان‬

"ปวงบุรุษผู้ศรัทธากลุ่มหนึ่ง พวกเขารู้จักพระผู้ เป็นเจ้าอย่างแท้จริง พวกเขาคือผู้ช่วยเหลือของมะฮ์ดี ในยุคสุดท้ายของโลก" (39) ท่านศาสทูตแห่งอัลลอฮ์ (ศ.) กล่าวว่า َ ‫اس إِیمان ًا َو‬ ِ ّ‫عج َب الن‬ ‫اعظ َم ُهم‬ َ َ ‫یا علی! َو اع َل ُم ا َ َّن ا‬ ِ ‫کون فِی‬ ِ ‫آخ ِر ال َّز‬ ‫لح ُقوا النَّبی َو‬ ُ َ‫قوم ی‬ ٌ ‫یَقین ًا‬ َ َ‫مان لَم ی‬ ٍ ‫بیاض‬ ‫فآمنوا ب ِ َسوا ٍد َعلی‬ ُ ‫َح َج َب َعن ُه ُم‬ َ ‫الح َّج ُه‬ “โอ้ อะลี พึงรูเ้ ถิดว่า มนุษย์ทมี่ คี วามศรัทธาอย่าง น่ามหัศจรรย์ที่สุด และมีความเชื่อมั่นที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือกลุ่มชนที่จะปรากฏขึ้นในยุคสุดท้ายของโลก พวก เขามิได้พบเห็นศาสดา และข้อพิสูจน์ (ฮุจญะฮ์) ก็หาย ลับไปจากพวกเขา แต่พวกเขามีความศรัทธาด้วยสีด�ำ ที่อยู่บนสีขาว” (หมายถึงศรัทธาอันเกิดจากฮะดีษและ สิ่งที่ถูกบันทึกไว้) (40) 2. การรู้จักท่านอิมามมะฮ์ดี (อญ.) ผู้น�ำแห่งยุค สมัยของตน ท่านอิมามศอดิก (อ.) กล่าวว่า «... ‫اعرف امامك فاذا عرفته لم یضرك؛ تقدم هذا‬


เข้าสู่พระผู้เป็นเจ้า บุคคลเหล่านั้นคือมิตรสหายของ ฉัน และเป็นผู้ที่มีเกียรติที่สุดในหมู่ประชาชาติของฉัน ในทัศนะของฉัน” (42) ท่านญาบิร บินอับดุลลอฮ์ อัล-อันซอรี เล่าว่า : ญันดัล บินญุนาดะฮ์ ชาวยิวจากค็อยบัร ได้เข้าพบ ท่านศาสนทูตแห่งอัลลอฮ์ (ซ็อลฯ) และมีการสนทนา กันอย่างยืดยาว จนกระทั่งญันดัลได้กล่าวว่า

‫ و‬، ‫یا رسول اهلل قد وجدنا ذكركم فی التوارة‬ ‫بشرنا موسی بن عمران بك و باألوصیا ِء‬ َّ ‫قد‬ ‫بعدك من ذریتك‬

“โอ้ ท่านศาสนทูตแห่งอัลลอฮ์! เราได้พบการ กล่าวถึงพวกท่านในคัมภีรเ์ ตาร๊อต และมูซา บินอิมรอน (อ.) ได้แจ้งข่าวดีแก่เราเกี่ยวกับท่านและผู้สืบทอด (วะ ‫ فمن عرف امامه كان كمن هو فی‬...‫ االمر ام تاخر‬ซีย์) ภายหลังจากท่านจากเชื้อสายของท่าน” ‫)فسطاط القائم (ع‬.» ต่อจากนั้นท่านศาสนทูตแห่งอัลลอฮ์ (ศ.) จึงได้ "... จงรู้จักอิมามของท่าน เมื่อท่านรู้จักเขาแล้ว อ่านโองการว่า การมาเร็วหรือการล่าช้าออกไปในเรือ่ งนี้ (หมายถึงการ ‫وعداهلل الّذین آمنوا منكم و عملوا الصالحات‬ ปรากฏตัว) ก็จะไม่กอ่ ให้เกิดโทษภัยใดๆ ส�ำหรับท่าน... َ ‫لیستخلفنَّهم فی‬ ‫األرض كما استخلف الّذین‬ ดังนั้นผู้ใดที่รู้จักอิมามของตนเอง เขาก็เปรียบเสมือน ّ ‫ولیمكننٍّ لهم دینهم الَّذی ارتضی‬ ‫من قبلهم‬ บุคคลที่อยู่ในเต็นท์ของกออิม (อ.)" (41) ‫لهم‬ ّ 3. การเชือ่ ฟังพระผูเ้ ป็นเจ้าและบรรดาผูป้ กครอง ‫ولیبدلنَّهم من بعد خوفهم أمنا یعبدوننی‬ ของพระองค์ ً‫الیشركون بی شیئا‬ ท่านศาสนทูตแห่งอัลลอฮ์ (ศ.) ได้กล่าวเกี่ยวกับ “อั ล ลอฮ์ ท รงสั ญ ญาแก่ บ รรดาผู ้ ศ รั ท ธาและ เรื่องนี้ว่า ประพฤติแต่ความดีจากพวกเจ้าว่า แท้จริงพระองค์จะ ‫ طوبی لمن أدرك قائم أهل بیتی و هو مقتد‬ทรงสืบทอดอ�ำนาจการปกครองในหน้าแผ่นดินแก่พวก เขา เช่นเดียวกับที่พระองค์ได้ทรงให้การสืบทอดมัน ‫یأتم به و بأئ ِ ّمه الهدی من قبله‬ ّ ‫ به قبل قیامه‬แก่บุคคลในยุคก่อนหน้าพวกเขา และพระองค์จะทรง ‫و یبرأ إلی اهلل من عد ِّوهم اولئِك رفقائی و‬ บันดาลศาสนาของพวกเขาให้เป็นที่มั่นคงแก่พวกเขา ‫علی‬ َّ ‫ أكرم ّامتی‬ซึ่งจะเป็นสิ่งที่พึงพอใจส�ำหรับพวกเขา และพระองค์ “ความโชคดีจงมีแด่ผู้ที่สัมผัส (ยุคสมัย) ของก จะทรงแทนที่พวกเขาด้วยความปลอดภัยภายหลังจาก ออิมแห่งอะฮ์ลุลบัยต์ของเรา โดยที่เขาจะเป็นผู้เชื่อฟัง ความหวาดกลัวของพวก เขา พวกเขาจะเคารพภักดีตอ่ และปฏิบัติตามกออิมตั้งแต่ก่อนการยืนหยัดขึ้นของ ข้า และจะไม่ตั้งสิ่งใดเป็นภาคีต่อข้า” (ซูเราะฮ์อันนูร : เขา และปฏิบัติตามบรรดาอิมามแห่งทางน�ำก่อนหน้า อายะฮ์ที่ 55) เขา เขาจะเอาตัวออกห่างจากศัตรูของพวกเขาโดยหัน ญันดัล ได้ถามว่า

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 61


‫افضل اعمال امتی انتظار الفرج من اهلل عز یا رسول اهلل فما خوفهم؟‬ “โอ้ท่านศาสนทูตแห่งอัลลอฮ์! อะไรคือความ ‫وجل‬

หวาดกลัวของพวกเขากระนั้นหรือ” ท่านกล่าวว่า

ّ ‫یا جندل فی زمن‬ ‫كل واحد منهم جبّار‬ ‫عجل اهلل خروج قائمنا‬ َّ ‫یعتریه و یوذیه فاذا‬ ‫یمال األرض قسط ًا و عدالً كما ملئَت ظلم ًا‬ ً ‫ و جورا‬. “โอ้ ญันดัล ในทุกช่วงสมัยของแต่ละคนจากพวก เขา จะมีทรราชไล่ล่าและท�ำร้ายเขา แต่เมื่อพระผู้เป็น เจ้าทรงรีบเร่งการยืนหยัดต่อสู้ของกออิมของเรา เขา จะท�ำให้แผ่นดินเต็มเปี่ยมไปด้วยความเที่ยงธรรมและ ความยุติธรรม ดังที่มันได้ถูกท�ำให้เต็มไปด้วยความ อธรรมและการกดขี่” จากนั้นท่าน (ศ.) กล่าวต่อว่า

‫ طوبی للمقیمین‬، ‫طوبی للطابرین فی غیبته‬ ‫ اولئك وصفهم اهلل فی كتابه و‬، ‫علی محبّتهم‬ ‫ « اُولئك‬: ‫ « الّذین یؤمنون بالغیب و قال‬: ‫قال‬ ‫حزب اهلل اال ان حزب اهلل هم المفلحون‬

"อะมั้ล (หน้าที่) ที่ประเสริฐที่สุดของประชาชาติ ของฉัน คือการรอคอยการคลีค่ ลายความทุกข์ยากจาก พระผู้เป็นเจ้าผู้ทรงเกริกเกียรติ ผู้ทรงเกรียงไกร” (44) ท่านอิมามโคมัยนี (รฮ.) ได้ชี้ถึงความหมายของ การรอคอยที่แท้จริงและการให้ความส�ำคัญต่อภารกิจ หน้าที่ ทางศาสนบัญญัติของบรรดาผู้รอคอยที่แท้จริง โดยกล่าวว่า “เราทุกคนรอคอยการมาของท่านอิมาม (อ.) แต่ การรอคอยเพียงอย่างเดียวนัน้ เป็นไปไม่ได้ ยิง่ ไปกว่านัน้ ด้วยกับสภาพที่คนส่วนใหญ่ก�ำลังเป็นอยู่นั้น ไม่ใช่การ รอคอย เราจ�ำเป็นทีจ่ ะต้องให้ความส�ำคัญต่อหน้าทีท่ าง ศาสนบัญญัตขิ องเราในขณะนีด้ ว้ ย และจะต้องไม่หวาด กลัวต่อสิง่ ใดทัง้ สิน้ บุคคลทีก่ ำ� ลังปฏิบตั หิ น้าทีเ่ พือ่ ความ พึงพอพระทัยของพระผู้เป็นเจ้านั้น อินชาอัลลอฮ์ (หาก พระผู้เป็นเจ้าทรงประสงค์) เขาจะต้องไม่คาดหวังว่า (การกระท�ำของเขา) จะเป็นทีย่ อมรับของทุกคน ไม่มสี งิ่ ใดที่เป็นที่ยอมรับของทุกคน ภารกิจของบรรดาศาสดา ก็ใช่ว่าจะเป็นที่ยอมรับของทุกคน แต่บรรดาศาสดาก็ ปฏิบัติตามหน้าที่ต่างๆ ของตน พวกท่านไม่บกพร่อง ต่อภาระหน้าทีท่ ไี่ ด้รบั มอบหมาย แม้ประชาชนส่วนมาก จะไม่ฟังค�ำพูดของบรรดาศาสดาก็ตาม เราเองก็เช่น กัน จะต้องปฏิบัติในสิ่งที่เป็นหน้าที่ของเรา เราจ�ำเป็น จะต้องกระท�ำแม้ว่าคนส่วนใหญ่จะไม่พอใจต่อการก ระท�ำนี้ หรือแม้ว่าคนส่วนใหญ่พยายามที่จะขัดขวาง ท�ำลายก็ตาม” (45) 5. การเตรียมพร้อมตนเองและสังคมส�ำหรับกา รับใช้ท่านอิมามมะฮ์ดี (อ.ญ.) ท่านอิมามศอดิก (อ.) ได้กล่าวว่า

“ความโชคดีจงมีแด่ผู้ที่อดทนในยุคแห่งการเร้น กายของเขา ความโชคดีจงมีแด่ผทู้ ยี่ นื หยัดในความรักที่ มีตอ่ พวกเขา พวกเขาเหล่านัน้ พระผูเ้ ป็นเจ้าได้ทรงกล่าว ถึงคุณลักษณะของพวกเขาไว้ใน คัมภีร์ของพระองค์ โดยที่พระองค์ทรงตรัสว่า “บรรดาผู้ที่ศรัทธามั่นต่อสิ่ง เร้นลับ” (ซูเราะฮ์อัลบะกอเราะฮ์ : อายะฮ์ที่ 3) และทรง ตรัสว่า “พวกเหล่านัน้ คือพรรคของอัลลอฮ์ พึงสังวรเถิด แท้จริงพรรคของอัลลอฮ์นนั้ พวกเขาคือผูท้ ปี่ ระสบความ ส�ำเร็จ” (ซูเราะฮ์อัลมุญาดะละฮ์ : อายะฮ์ที่ 22) (43) 4. การรอคอยทีแ่ ท้จริงและการปฏิบตั ติ ามหน้าที่ «‫لو ادركته لخمدته ایام حیاتی‬.» ทางศาสนบัญญัติ "… ถ้าหากฉันได้พบกับเขาในช่วงสมัยแห่งการ ท่านศาสทูตแห่งอัลลอฮ์ (ศ.) ได้กล่าวไว้ในเรื่อง มีชีวิตอยู่ของฉัน ฉันจะรับใช้เขา" (46) นี้ว่า ส่วนหนึ่งจากค�ำพูดของท่านฮุจญะตุ้ลอิสลาม 62 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556


พะนอฮียอน ที่ปราศรัยในค�่ำคืนอาชูรอ ณ ฮุซัยนียะฮ์ ของท่านอิมามโคมัยนี (รฮ.) ซึ่งท่านอายะตุลลอฮ์คอเม เนอีได้รว่ มอยูใ่ นทีน่ ดี้ ว้ ย ใจความตอนหนึง่ ท่านกล่าวว่า “ในหนังสือกะมาลุดดีน ของท่านเชคซุดกู (รฮ.) มี ค�ำพูดหนึง่ จากท่านอิมามฮุเซน (อ.) เกีย่ วกับการปรากฏ กาย (ซุฮูร) ของท่านอิมามะฮ์ดี (อญ.) ซึ่งท่านกล่าวว่า

َّ‫یُ ْصلِ ُح ُه‬ «‫ار َك َو تَ َعالَى أَ ْم َر ُه فِی ل َ ْی َل ٍة‬ َ َ‫الل تَب‬ ِ ‫»و‬ ‫اح َدة‬ َ

“พระผู้เป็นเจ้าผู้ทรงจ�ำเริญ ผู้ทรงสูงส่ง จะทรง แก้ไขปรับปรุงกิจการ (การปรากฏตัว) ของเขา ภายใน คืนเดียว” (47) ดังนัน้ มันจะเกิดขึน้ เมือ่ ใด ใช่ แล้ว! ผมก�ำลังรูส้ กึ ว่าการปรากฏตัว (ซุฮรู ) นัน้ มันเข้มข้นขึน้ มากแล้ว ความ รู้สึกถึงความใกล้มากแล้วของการปรากฏตัว (ซุฮูร) บนพื้นฐานการคิดค�ำนวณทางด้านสติปัญญา... ผู้รอ คอยควรจะต้องเตรียมพร้อมตนทางด้านจิตวิญญาณ ได้แล้ว เพื่อที่จะได้ปฏิบัติภารกิจเคียงบ่าเคียงไหล่กับ ท่านอิมาม (อญ.)... ไม่ใช่ว่าเมื่อท่านอิมามมาปรากฏ ตัวอย่างฉับพลัน เรายังมิได้เตรียมพร้อมตนเองที่จะ เผชิญหน้ากับท่านอิมาม และเมื่อถึงเวลานั้นเราจะหัน หลังให้แล้วจะกล่าวว่า บุคคลผู้นี้ (อิมาม) ท�ำไมถึงได้ เข่นฆ่าถึงขนาดนี้!” (48) ในค�ำพูดส่วนหนึ่งของท่านอิมาม โคมัยนี (รฮ.) ท่านได้ชถี้ งึ ความจ�ำเป็นในการยืนหยัดต่อต้านการกดขี่ และเผด็จการ และการยับยั้งการแผ่ขยายของความ อธรรม พร้อมกันนั้นท่านได้ชี้ถึงหน้าที่ประการหนึ่งของ บรรดาผู้รอคอยการปรากฏตัว (ซุฮูร) ของท่านอิมาม มะฮ์ดี (อญ.) และถือว่าการเตรียมพื้นฐานการมาของ ท่านอิมาม (อญ.) และการให้ความส�ำคัญในการสร้าง ความสามัคคีในหมูม่ สุ ลิมนัน้ เป็นหน้าทีข่ องทุก คน โดย ท่านกล่าวว่า “เป็นสิง่ ทีม่ คี ณ ุ ค่าทีบ่ คุ คลหนึง่ จะยืนหยัด ขึน้ เผชิญหน้ากับการกดขี่ ยืนหยัดต่อสูก้ บั ผูอ้ ธรรม และ ก�ำหมัดของตนเองทิ่มไปที่ปากของพวกเขา และอย่า ปล่อยให้ความอธรรมนั้นแพร่ขยายออกไป นี่เป็นสิ่งที่

มีคุณค่า” นอกจากนี้ท่านยังได้กล่าวอีกว่า “เรามีหน้าที่ ไม่ใช่ว่าขณะนี้ที่เราก�ำลังรอคอยการปรากฏตัว (ซุฮูร) ของท่านอิมามซะมาน (อญ.) แต่แล้วเรากลับนั่งอยู่ใน บ้านของเรา ถือตัซเบี๊ยะห์ (ลูกประค�ำ) ในมือ และเราก็ กล่าวว่า ‫عجل علی فرجه‬ ّ (โอ้ อัลลอฮ์ได้โปรดรีบเร่ง การคลี่คลายความทุกข์ยาก (หมายถึงการปรากฏตัว ของท่านอิมาม) การเร่งการปรากฏตัว (ซุฮูร) นั้น พวก ท่านจะต้องเตรียมพร้อมการกระท�ำของพวกท่าน พวก ท่านจะต้องเตรียมพื้นฐานส�ำหรับการมาของท่าน (อิ มาม) การเตรียมพื้นฐาน ก็คือ พวกท่านจะต้องท�ำให้ บรรดามุสลิมรวมตัวกัน พวกท่านจะต้องอยู่ร่วมกัน อินชาอัลลอฮ์ (หากพระผู้เป็นเจ้าทรงประสงค์) ท่าน (อิมาม) จึงจะปรากฏตัว (ซุฮูร)” (49) 6. การขัดเกลาตน หนึง่ ในภาระหน้าทีท่ สี่ ำ� คัญของบรรดาผูร้ อคอย ท่านอิมามมะฮ์ดี (อ.ญ.) คือ การเสริมสร้างความย�ำเกรง ต่อพระผูเ้ ป็นเจ้า (ตักวา) การประดับประดาตนเองด้วย มารยาทที่ดีงามและจริยธรรมอันสูงส่ง ท่านอิมามศอ ดิก (อ.) ได้กล่าวว่า

‫ فلینتظر‬،‫من سره ان یکون من اصحاب القائم‬ ‫ و هو‬،‫ولیعمل بالورع و محاسن االخالق‬ ‫منتظر‬

“ใครที่ปรารถนาที่จะเป็นส่วนหนึ่งจากบรรดาผู้ ช่วยเหลือกออิม ดังนั้นเขาจงรอคอย และจงปฏิบัติตน

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 63


อย่างเคร่งครัด และมีจริยธรรมทีง่ ดงาม เขาคือผูร้ อคอย หน้าที่ 18, อ้างจากแหล่งอ้างอิงต่างๆ ของชาวอะฮ์ลิซซุนนะฮ์ และค้นคว้าเพิ่มเติมได้จาก ยะนาบีอุลมะวัดดะฮ์, กุนดูซี เล่ม (ที่แท้จริง)” (50) เช่นเดียวกันนี้ ท่านอิมามศอดิก (อ.) ได้กล่าวว่า ที่ 3 หน้าที่ 295 ; บิฮารุลอันวาร, อัลลามะฮ์มัจญ์ลิซี, เล่มที่ 51

‫ان لصاحب هذا االمر غیبة فلیتق اهلل عبده‬ ‫ولیتمسک بدینه‬ “แท้จริงส�ำหรับเจ้าของกิจการนี้ (อิมามมะฮ์ ดี) จะมีการเร้นกาย ดังนั้นบ่าวของอัลลอฮ์จงย�ำเกรง พระองค์ และจงยึดมั่นต่อศาสนาของพระองค์” (51)

เชิงอรรถ : (1) อุซูลลุลกาฟี เล่มที่ 2 หน้าที่ 166 (2) บิฮารุลอันวาร เล่มที่ 71 หน้าที่ 339 (3) นะฮ์ญุลบะลาเฆาะฮ์ จดหมายอันดับที่ 470 (4) ซูเราะฮ์อัลอะห์ซาบ : อายะฮ์ที่ 45, 46 (5) ซูเราะฮ์อัลหะดีด : อายะฮ์ที่ 25 (6) หนังสือมัจญ์มอู ะฮ์ อาซาร ชะฮีดมุเฏาะฮ์ฮะรี, เล่มที่ 18, ซีรี ดัร ซีเร่เย่ อะอิมเมฮ์ อัฏฮาร (อ.),ชะฮีดมุเฏาะฮ์ฮะรี (ร.ฮ.) (7) ซูเราะฮ์อัตเตาบะฮ์ : อายะฮ์ที่ 33 (8) ซูเราะฮ์อัตเตาบะฮ์ : อายะฮ์ที่ 32 (9) บิฮารุลอันวาร เล่มที่ 51 หน้าที่ 60 ฮะดีษที่ 58 (10) ซอเฮี๊ยะฮ์บุคคอรี, มุฮัมมัด บินอิสมาอีล บุคคอรี, ส�ำนักพิมพ์, ดารุ้ลมะอ์ริฟะฮ์, เบรุต (11) ตาญุลอุรูซ, ญะวาฮิรุลกอมูซ, มุฮัมมัด มุรตะฎอ ซุบัยดี, ดารุ มักตะบะติลฮะญาต, เบรุต, พิมพ์ครั้งที่ 2 (12) มันฮาญุซซุนะตุนนะบะวียะฮ์ เล่มที่ 8 หน้าที่ 183 (13) ชัรห์นะฮ์ญุลบะลาเฆาะฮ์, อิบนุ อบิลฮะดีด เล่ม ที่ 10 หน้าที่ 96 (14) มุอ์ญะมุ อะฮาดีษิลอะมามิลมะฮ์ดี, เล่มที่ 2

64 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

หน้าที่ 73 ; มุนตะค่อบุลอะซัร, ซอฟี กุลพัยกานี, หน้าที่ 199 และ 625 และอื่นๆ (15) ซุนันติรมิซี เล่มที่ 5 หน้าที่ 528 ฮะดีษที่ 116 (16) ซุนัน อิบนุมายะฮ์ เล่มที่ 2 หน้าที่ 1368 ฮะดีษ ที่ 4088 ; อัลฮาวี ลิลฟะตาวา, ญะลาลุดดีน อัซซุยูฏี, เล่มที่ 2 หน้าที่ 60 ; บิฮารุลอันวาร เล่มที่ 51 หน้าที่ 87 (17) หนังสือ “อัศรุซซุฮูร” เขียนโดย อะลี กูรอนี อัลอามิ ลี, แปลเป็นฟาริซีโดย มะฮ์ดี ฮักกี, ส�ำนักพิมพ์อะมีร กะบีร, ตี พิมพ์ครั้งที่สี่, ปี 1385, หน้า 222 และ 223 (18) หนังสือ “อัศรุซซุฮูร” เขียนโดย อะลี กูรอนี อัลอามิ ลี, แปลเป็นฟาริซีโดย มะฮ์ดี ฮักกี, ส�ำนักพิมพ์อะมีร กะบีร, ตี พิมพ์ครั้งที่สี่, ปี 1385, หน้า 222 (19) บิฮารุลอันวาร, อัลลามะฮ์มจั ญ์ลซิ ,ี เล่มที่ 65 หน้าที่ 139, ส�ำนักพิมพ์ มุอัซซะซะฮ์ อัลวะฟาอ์, เบรุต (20) หนังสือ “ตัฟซีรอัลมีซาน” เล่มที่ 18 หน้า 250, อ้าง จาก หนังสือ “ตัฟซีร อัดดุรรุลมันซูร” (21) ซอฮีเฟเย่ นูร, เล่มที่ 21 หน้าที่ 108 (22) คุฏบะฮ์วันศุกร์ในกรุงเตหะราน, เนื่องในวันคล้าย วันชะฮาดัตของท่านอิมามริฎอ (อ.), วันที่ 30 ซอฟัร ฮ.ศ. 1432 (23) สาส์นถึงบรรดาฮุจญาจ ในนครมักกะฮ์, วันที่ 1 ซุล ฮิจญะฮ์ ฮ.ศ. 1431 (24) คุฏบะฮ์นมาซวันศุกร์, เตหะราน, ฮะรัมท่านอิมาม โคมัยนี (ร.ฮ.), เนือ่ งในโอกาสครบรอบ 21 ปีการอสัญกรรมของ ท่านอิมามโคมัยนี (ร.ฮ.), วันที่ 21 ญะมาดุษษานี ฮ.ศ. 1431 (25) ค�ำปราศรัยเนื่องในโอกาสการเข้าพบของบรรดา


นักวิชาการและปัญญาชนที่เข้าร่วมในการประชุมนานาชา ติอะฮ์ลุลบัยติ์ (อ.), (23/ 06 /1390 ปีอิหร่าน) (26) ค�ำปราศรัยในท่ามกลางฝูงชนขนาดใหญ่ของเมือง เกรมอนชา (20 / 07 / 1390 ปีอิหร่าน) (27) การปราศรัยในท่ามกลางฝูงชนของเมืองกีลาน ตะวันตก ( 23 / 07 / 1390) (28) ค�ำปราศรัยในท่ามกลางบรรดากองก�ำลังอาสา สมัคร (บาซีจญ์) ในกรุงเตหะราน กลางเดือนชะอ์บาน ปี 1387 (ปีของอิหร่าน) (29) http://www.farsnews.com/newstext. phpnn=8911070303 (30) http://www.jahannews.com/vdca0on6i49niy1. k5k4.html (31)http://www.mehrnews.com/fa/NewsDetail.asp xpr=s&query=%D8%AC%D9%88%D8%A7%D8%AF%D B%8C%E2%80%8C%D8%A2%D9%85%D9%84%DB% 8C%20&NewsID=1274593 (32) http://www.irna.ir/NewsShow. aspxNID=30245913 (33) http://www.mehrnews.com/fa/newsdetail. aspxNewsID=1406422 (34) http://www.irna.ir/NewsShow. aspxNID=30278573 (35) http://www.mehrnews.com/fa/newsdetail. aspxNewsID=1359391 (36) http://rajanews.com/Detail.aspid=84667 (37) http://www.farsnews.com/newstext. phpnn=9001010183 (38) http://rajanews.com/detail.aspid=111957 (39) บิฮารุ้ลอันวาร, มุฮัมมัด บากิร อัลมัจญ์ลิซี เล่มที่ 57 หน้าที่ 229 (40) กะมาลุดดีน เล่มที่ 1 บาบที่ 25 ฮะดีษที่ 8 ; อัลฆ็อยบะฮ์, อัลนุอ์มานี เล่มที่ 1 หน้าที่ 288 ฮะดีษที่ 8 (41) อัล-ฆ็อยบะฮ์, อัลนุอ์มานี หน้าที่ 331 (42) อัล-ฆ็อยบะฮ์, เชคฏูซี หน้าที่ 275 (บางส�ำนักพิมพ์ หน้าที่ 456) ; กะมาลุดดีน, เชคซอดูก เล่มที่ 1 หน้าที่ 286 (43) นิตยสาร “มิชกาฮ์, ฉบับที่ 22 ปี 68 (ปีอิหร่าน) บทความเรื่อง “คูชอ เบฮ์ ฮาล มุนตะซิรอน” (ความโชคดีจงมี แด่บรรดาผู้รอคอย)

(44) กะมาลุดดีน หน้าที่ 644 (45) ซอฮีเฟเย่อิมาม เล่มที่ 19 หน้าที่ 247 (46) อัลฆ็อยบะฮ์, อัลนุอ์มานี หน้าที่ 45 (47) กะมาลุดดีน, เชคซุดูก เล่มที่ 1 หน้าที่ 317 (48) มุฮัรร็อม ปี ฮ.ศ. 1434 (49) ซอฮีเฟเย่อิมาม เล่มที่ 18 หน้าที่ 269 (50) อัลฆ็อยบะฮ์, นุอ์มานี หน้าที่ 200 ฮะดีษที่ 16 (51) อัลกาฟี เล่มที่ 2 หน้าที่ 132

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 65


แปลและเรียบเรียงโดย เชคอิมรอน พิชัยรัตน์

กุรอานวิทยา ความหมายของวะฮ์ยู

เนื่ อ งจากอั ล กุรอานมีความสัม พันธ์กับ วะฮ์ ยู อย่างแนบแน่น จึงท�ำให้นักค้นคว้าด้านประวัติอัลกุ รอานจึงเริ่มค้นคว้าเรื่องวะฮ์ยูก่อนเป็นอันดับแรก 1. ความหมายตามพจนานุกรม อิบนุมันซูร กล่าวไว้ใน ลิซานุลอะร็อบ ว่า : วะฮ์ยูหมายถึง การชี้ การเขียน จดหมาย การ ดลจิต ค�ำกล่าวทีเ่ ร้นลับ และทุกสิง่ ทุกอย่างทีไ่ ด้สอื่ กับผู้ อืน่ ประโยคทีว่ ่า “วะฮาอิลยั ฮิวะเอาฮา” หมายถึง กล่าว กับเขาในลักษณะที่เร้นลับกับผู้อื่น ตามทัศนะของท่าน รอฆิบ อิศฟะฮานี รากศัพท์ ของค�ำว่า “วะฮ์ย”ู ให้ความหมายของการชีอ้ ย่างรวดเร็ว ด้วยเหตุนี้จึงเรียกทุกๆ การงานที่กระท�ำอย่างรวดเร็ว ว่า “วะฮ์ยู” ซึ่งอาจเป็นไปได้ที่อาจจะเป็นค�ำพูดที่มีรหัส และเป็นค�ำพูดทีเ่ ป็นการสือ่ ถึงอะไรบางอย่าง ซึง่ อาจจะ เป็นเพียงเสียงทีป่ ราศจากค�ำหรืออาจจะเป็นการชีด้ ว้ ย อวัยวะบางส่วนหรืออาจจะด้วยการเขียน บางครั้งจะมีการเพิ่มคุณสมบัติพิเศษของ “การ เร้นลับ”เข้าไปในความหมายด้วย นัน่ ก็เนือ่ งจากว่าโดย ปกติแล้วการชีท้ รี่ วดเร็วนัน้ จะเป็นสิง่ ทีป่ กปิดและเร้นลับ ส�ำหรับผู้ที่ถูกชี้ อัลลามะฮ์ ฏอบาฏอบาอี เชื่อว่าสามารถเข้าใจ ความหมายจากกรณีการใช้คำ� ว่า “วะฮ์ย”ู ได้วา่ การสือ่ 66 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

ความหมายทีป่ กปิดและเร้นลับส�ำหรับผูอ้ นื่ นัน้ คือ “วะฮ์ ยู” ด้วยเหตุนี้ การเข้าใจความหมายต่าง ๆของพวกสัตว์ ด้วยสัญชาตญาณและการเข้าใจความหมายในความ ฝันของมนุษย์ (โองการที่ 7 ซูเราะฮ์ กอศ็อศ) การกระ ซิบกระซาบ หรือการชี้ ทั้งหมดนี้คือ “วะฮ์ยู” อย่างไร ก็ตามถึงแม้วา่ ไม่สามารถทีจ่ ะปฏิเสธการใช้คำ� ว่า “วะฮ์ ยู”ในความหมายของการสื่อความหมายที่ควบคู่กับ ความรวดเร็วและการปกปิด แต่กไ็ ม่อาจทีจ่ ะยอมรับได้ ว่าจ�ำเป็นต้องใช้คุณสมบัติพิเศษต่าง ๆ นี้ในทุกๆ กรณี ซึ่งอัลกุรอานเองก็ใช้ในกรณีต่าง ๆ ที่ไม่มีคุณสมบัติทั้ง สองนั้นเลยเช่นกัน ความหมายในเชิงวิชาการ วะฮ์ยใู นความหมายเชิงวิชาการ หมายถึง ความ สัมพันธ์ทางจิตวิญญาณและเร้นลับระหว่างพระผู้เป็น เจ้ากับบรรดาศาสดาของพระองค์ ศาสดาคือผูร้ บั สาส์น ของพระผู้เป็นเจ้าจากผู้ที่ส่งสาส์นนั้นมาด้วยสื่อของ ความสัมพันธ์อันนี้ และไม่มีใครที่เหมาะสมที่จะได้รับ สาส์นอันนี้ได้เลยนอกจากท่านเท่านั้น การใช้ค�ำว่า “วะฮ์ยู” ในอัลกุรอาน วะฮ์ยูในอัลกุรอาน ใช้เกี่ยวกับมะลาอิกะฮ์ ชัย ฏอน มนุษย์ สัตว์และผืนดิน 1. การดลจิตจากพระผู้อภิบาลยังบรรดามะลา อิกะฮ์ :


ِ ُ‫إِ ْذ ي‬ َ ُّ ‫وحي َرب‬ ‫ك إِلَى ال ْ َمالئ ِ َك ِة أَن ِّي َم َع ُك ْم‬ “จงร�ำลึกขณะที่พระผู้อภิบาลของเจ้าประทาน โองการแก่มะลาอิกะฮ์ว่า แท้จริงข้านั้นร่วมอยู่กับพวก เจ้าด้วย” 2. การดลจิตจากพระผู้อภิบาลยังมนุษย์: ُ َ ‫وسى أَ ْن أَ ْر ِض ِعي ِه‬ َ ‫َوأ ْو َح ْينَا إِلَى أ ِّم ُم‬ “และเราได้ดลใจแก่มารดาของมูซาจงให้นมแก่ เขา” 3. การดลจิตจากพระผู้อภิบาลยังบรรดาสรรพ สิ่ง : َ َ َّ ‫)ب ِ َأ َّن َرب‬٤( ‫ار َها‬ ‫ك أَ ْو َحى ل َ َها‬ َ َ‫يَ ْو َمئِ ٍذ تُ َح ِّد ُث أ ْخب‬ “ในวั น นั้ น มั น จะบอกข่ า วของมั น ว่ า แท้ จ ริ ง พระเจ้าได้มีบัญชาแก่มัน” 4. การกระซิบกระซาบของชัยฏอน : ِ ُ‫س َوال ْ ِج ّنِ ي‬ ِ ْ‫ين اإلن‬ ‫وحي‬ َ ‫َج َع ْلنَا ل ِ ُك ِّل نَبِ ٍّي َع ُد ًّوا َشيَا ِط‬ ٍ ‫ب َ ْع ُض ُه ْم إِلَى ب َ ْع‬ ‫ض‬ “และเช่นนั้น เราได้ให้มีศัตรูขึ้นแก่ทุกๆศาสดา คือ บรรดาชัยฏอนที่เป็นมนุษย์ และญินโดยที่บางส่วน ของพวกเขาจะกระซิบกระซาบแก่อีกบางส่วน” ‫ون إِلَى أَ ْولِيَائ ِ ِه ْم لِيُ َجا ِدلُو ُك ْم‬ َّ ‫َوإِ َّن‬ َ ‫وح‬ َ ‫الشيَا ِط‬ ُ ُ‫ين لَي‬ “และแท้จริงบรรดาชัยฏอนนัน้ จะกระซิบกระซาบ แก่บรรดาสหายของมัน เพื่อพวกเขาจะได้โต้เถียงกับ พวกเจ้า” 5. การชี้

ِ ‫فَ َخ َر َج َع َلى قَ ْو ِم ِه ِم َن ال ْ ِم ْح َر‬ ‫اب فَ َأ ْو َحى إِل َ ْي ِه ْم أَ ْن‬ ‫َسبِّ ُحوا ب ُ ْك َر ًة َو َع ِش ًّيا‬ “แล้วเขาได้ออกจากแท่นสวดมายังหมู่ชนของ เขา และเขาได้ชี้ใบ้แก่พวกของเขาว่าพวกท่านจงกล่าว สดุดีในยามเช้าและยามเย็น” 6. การชี้น�ำด้วยสัญชาตญาณ َ ُّ ‫َوأَ ْو َحى َرب‬ ِ‫ك إِلَى النَّ ْحل‬ “และพระผู้อภิบาลของเจ้า ทรงดลใจแก่ผึ้ง...” มีรายงานทีน่ า่ สนใจหนึง่ ซึง่ รายงานจากท่านอิมา มอะลี (อ.) โดยได้แบ่งการใช้คำ� ว่าวะฮ์ยใู นอัลกุรอานไว้ ในหลายกรณี เช่น นุบูวัต การดลจิต การชี้ การก�ำหนด (ตักดีร) การบัญชา วะฮ์ยทู เี่ ป็นเท็จ (ในกรณีของบรรดา ชัยฏอน) วะฮ์ยทู ใี่ ห้ความหมายของการแจ้งข่าว เป็นต้น และแต่ละกรณีทา่ นได้ยกโองการอัลกุรอานมาก�ำกับไว้ ด้วยเช่นกัน วะฮ์ยูแห่งศาสดาและประเภทต่าง ๆ วะฮ์ ยู ที่ ถู ก ใช้ ม ากที่ สุ ด คื อ วะฮ์ ยู ข องบรรดา ศาสดา ซึ่งอัลกุรอานใช้ค�ำนี้และค�ำที่แตกออกจากมัน เกีย่ วกับบรรดาศาสดาเป็นการเฉพาะกว่า 70 ครัง้ โดยที่ ใช้ในกรณีและความหมายอืน่ น้อยมากเมือ่ เปรียบเทียบ กับการใช้ในความหมายนี้ การครอบคลุมค�ำนี้เฉพาะ ส�ำหรับบรรดาศาสดานั้นมันกลายเป็นสิ่งที่ถูกก�ำหนด ไปแล้ว ด้วยเหตุนี้จึงพบว่าในศาสนาอิสลามเราจะไม่ ใช้คำ� นีใ้ นความหมายอืน่ ทีน่ อกเหนือจากการใช้สำ� หรับ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 67


บรรดาศาสดา วะฮ์ยู คือปรากฏการณ์หนึ่งที่อยู่เหนือความคิด และปัญญาของมนุษย์ มันเป็นปรากฏการณ์ที่เร้นลับ และเป็นปรากฏการณ์ที่สัมพันธ์กับอีกโลกหนึ่ง เพื่อให้ มนุษย์ผู้หนึ่งที่ถูกเลือกสรรแล้วเป็นผู้ที่ได้รับสาส์นอัน เร้นลับทีส่ งู ส่งทีส่ ดุ ด้วยการรับรูท้ ปี่ ราศจากการเรียนรู้ (อิ ลมุลฮุฎรู )ี เฉพาะเขาผูน้ นั้ เท่านัน้ ทีจ่ ะเข้าถึงแก่นแท้ของ วะฮ์ยู ส่วนส�ำหรับผู้อื่นเป็นเพียงการรับรู้ที่อยู่ภายใต้ แก่นแท้นนั้ ทีไ่ ด้รบั มาจากร่องรอยและสัญลักษณ์ตา่ ง ๆ ของวะฮ์ยูเท่านั้น เป็นการรับรู้ที่อยู่ภายใต้วะฮ์ยูส�ำหรับ ศาสดา สรุปโดยรวมแล้วเป็นการรับรูท้ แี่ ตกต่างอย่างสิน้ เชิงจากประสบการณ์ การใช้ปัญญาด้วยเหตุและผล หรือด้วยการบรรลุถึงขั้นเห็นแจ้งของอิรฟาน การรับรู้ นี้ของบรรดาศาสดาแตกต่างอย่างสิ้นเชิงจากการรับรู้ ด้วยวิธีต่าง ๆ ของมนุษย์ ซึ่งเป็นการรับรู้ที่เฉพาะและ พิเศษหนึ่งส�ำหรับบรรดาศาสดาเท่านั้น ความหมายที่ให้ไว้ส�ำหรับค�ำว่า “วะฮ์ยู” คือ วะฮ์ยู คือ วจนะแห่งชั้นฟ้า (ที่ไม่ใช่โลกแห่งวัตถุ) ซึ่งไม่สามารถที่จะเข้าถึงได้ด้วยประสาทสัมผัสและ ปัญญา แต่ทว่าเป็นการรับรู้อีกประเภทหนึ่ง ซึ่งมีเพียง บางคนเท่านั้นที่พระผู้เป็นเจ้าประสงค์ให้ได้รับสาส์น อันเร้นลับ (ที่ประสาทสัมผัสและปัญญามิอาจจะเข้า ถึงได้) ด้วยหนทางของวะฮ์ยแู ละการสอนจากพระผูเ้ ป็น เจ้า ปรากฏการณ์ทเี่ หนือปัญญา เป็นสภานภาพหนึง่ ที่ สูงส่งทีส่ ดุ ทีเ่ ป็นจุดต่างของบรรดาศาสดาออกจากผูอ้ นื่ นอกจากอัลกุรอานจะตอกย�ำ้ ถึงเรือ่ งทีว่ า่ บรรดาศาสดา ก็เป็นมนุษย์ปุถุชน พระองค์ทรงอธิบายถึงการปฏิเสธ ท่านศาสดาของพวกปฏิเสธศรัทธาว่า : َ ‫فَ َق‬ ‫ين َك َف ُروا ِم ْن قَ ْو ِم ِه َما َه َذا إِال ب َ َش ٌر ِم ْث ُل ُك ْم‬ َ ‫ال ال ْ َمأل ال َّ ِذ‬ َ ُ ‫ير‬ ‫اء اللهَّ ُ ألنْ َز َل َمالئ ِ َك ًة‬ ُ َ ‫ِيد أ ْن يَتَ َفضَّ َل َع َل ْي ُك ْم َول َ ْو َش‬ “แล้วหัวหน้าของบรรดาผู้ปฏิเสธศรัทธาในหมู่ ชนของเขาได้กล่าวขึ้นว่า “เขาผู้ที่มิใช่ใครอื่นนอกจาก เป็นปุถุชนคนธรรมดาเช่นเดียวกับพวกท่าน เพียงแต่ เขาต้องการที่จะท�ำตัวให้ดีเด่นเหนือพวกท่าน และหา

68 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

กอัลลอฮ์ ทรงประสงค์แล้ว แน่นอนพระองค์จะทรงส่ง มะลาอิกะฮ์ลงมา” เนื่องจากเป็นการยากที่จะเชื่อต่อสิ่งที่เหนือ ปัญญา พวกเขาจึงใส่ไคล้ท่านศาสดา (ศ.) ว่าเป็นผู้ วิกลจริต : ٍ‫إ ِْن ُه َو إِال َر ُج ٌل ب ِ ِه ِجنَّ ٌة فَتَ َرب َّ ُصوا ب ِ ِه َحتَّى ِحين‬ “เขามิได้เป็นอะไรนอกจากเป็นคนวิกลจริต ดัง นั้นพวกท่านจงอดทนคอยเขาสักระยะเวลาหนึ่ง” ‫فَ َقالُوا أَب َ َش ٌر يَ ْه ُدونَنَا فَ َك َف ُروا َوتَ َول َّ ْوا‬ “แต่พวกเขาได้กล่าวว่ามนุษย์สามัญชนเช่นนี้ นะหรือจะชี้น�ำทางให้แก่เรา พวกเขาได้ปฏิเสธศรัทธา และผินหลังให้” หลังจากอัลกุรอานประกาศการเป็นมนุษย์ปถุ ชุ น ของบรรดาศาสดาทั้งหมด ซึ่งย่อมไม่มีความแตกต่าง ระหว่างพวกท่านกับผู้อื่น แต่พระองค์ตรัสถึงความ แตกต่างระหว่างทั้งสองกลุ่มนี้ไว้ในการได้รับวะฮ์ยูของ บรรดาศาสนทูตแห่งพระผู้เป็นเจ้าว่า : َ ‫وحى إِل َ َّي‬ َ ُ‫قُ ْل إِن َ​َّما أنَا ب َ َش ٌر ِم ْث ُل ُك ْم ي‬ “จงกล่าวเถิด(มุฮัมหมัด) “แท้จริง ฉันเป็นเพียง มนุษย์สามัญชนคนหนึ่งเหมือนพวกท่าน นอกจากมี วะฮ์ยูแก่ฉัน” โดยพื้นฐานแล้วศาสนาของบรรดาศาสดาวาง อยูบ่ นรากฐานแห่งวะฮ์ยู ซึง่ ไม่ได้วางอยูบ่ นบรรทัดฐาน ของปัญญา ศาสนาไม่ใช่เป็นสิ่งที่ได้รับมาจากปัญญา ของมนุษย์ แต่เป็นสิ่งที่มีแหล่งที่มาจากวะฮ์ยู โองการที่ 4-5 ของซูเราะฮ์นัจม์ ซึ่งเป็นที่มาของ ความเชือ่ มัน่ ได้อธิบายถึงความสูงส่ง ความบริสทุ ธิข์ อง สถานภาพแห่งวะฮ์ยูไว้ว่าแม้แต่เสี้ยวหนึ่งของอารมณ์ ใฝ่ต�่ำและความผิดพลาดก็มิอาจมาจับต้องมันได้เลย ‫وحى‬ َ ُ‫)إ ِْن ُه َو إِال َو ْح ٌي ي‬٣( ‫َو َما يَ ْن ِط ُق َعنِ ال ْ َه َوى‬ “และเขามิได้พูดตามอารมณ์ อัลกุรอานมิใช่อื่น ใดนอกจากเป็นวะฮ์ยูที่ถูกประทานลงมา” วะฮ์ยูส�ำหรับบรรดาศาสดาในอัลกุรอานก็ยังใช้ ค�ำอื่นเช่นกัน อาทิ “ตักลีม” และ “อิลกออ์”


วะฮ์ยูแห่งศาสดาประเภทต่าง ๆ เราเรียกความสัมพันธ์อันเร้นลับระหว่างบรรดา ศาสดากับพระผู้เป็นเจ้าว่า “วะฮ์ยู” ตามตัวบทของอัล กุรอานวะฮ์ยูสามารถเกิดขึ้นได้ใน 3 ลักษณะ ดังนี้ : ‫ان لِبَ َش ٍر أَ ْن يُ َك ّلِ َم ُه اللهَّ ُ إِال َو ْحيًا أَ ْو ِم ْن َو َرا ِء‬ َ ‫َو َما َك‬ ٍ ‫ِح َج‬ ‫اب أَ ْو يُ ْر ِس َل َر ُسوال‬ “และไม่เป็นการบังควรแก่มนุษย์คนใดที่จะให้ อัลลอฮ์ตรัสแก่เขาเว้นแต่โดยทางวะฮ์ยู หรือโดยทาง เบื้องหลังม่าน หรือโดยที่พระองค์จะส่งทูตมา” โองการนีไ้ ด้อธิบายถึงการสนทนาของพระผูเ้ ป็น เจ้ากับมนุษย์ไว้ใน 3 ลักษณะเท่านั้น คือ ประเภทที่ หนึ่งเป็นวะฮ์ยูที่ไม่ต้องผ่านสื่อใดๆ ทั้งสิ้นแต่เป็นวะฮ์ยู โดยตรง ประเภทที่สองและที่สามเป็นการสนทนาที่มี เงื่อนไขของม่านกั้นหรือทูต ความแตกต่างระหว่างสอง ประเภทหลังนีค้ อื “ทูต” (มะลาอิกะฮ์) เป็นผูน้ ำ� สาส์นมา ด้วยตนเอง แต่ “ม่านกั้น” เป็นสื่อกลางหนึ่งที่วะฮ์ยูเกิด ขึ้นเบื้องหลังของสิ่งนั้น ในโองการนี้บ่งชี้ว่าวะฮ์ยูเป็นการสนทนาที่ไม่มี สื่อกั้น แต่วะฮ์ยูที่ให้ความหมายกว้างนั้นครอบคลุมทั้ง สามประเภท กล่าวอีกอย่างได้วา่ วะฮ์ยู ทัง้ สามประเภท ได้แก่ : 1. วจนะของพระผู้เป็นเจ้า ที่ไม่มีสื่อกั้นระหว่าง พระผู้เป็นเจ้ากับสรรพสิ่งที่ถูกสร้าง 2. วจนะของพระผู้เป็นเจ้าที่ได้ยินจากเบื้องหลัง

ม่านกั้น เช่น ต้นฏูรที่ท่านศาสดามูซา (อ.) ได้ยิน วจนะของพระผู้เป็นเจ้า ซึ่งเป็นวจนะที่มาจาก พระองค์ 3. วจนะของพระผู้เป็นเจ้าที่ทูตผู้หนึ่งเป็นผู้น�ำ มาให้แก่มนุษย์ โองการต่ อ มาได้ ชี้ เ ฉพาะประเภทของวะฮ์ ยู ส�ำหรับท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ.) ไว้ว่า : َ ‫ك أَ ْو َح ْينَا إِل َ ْي‬ َ ِ ‫َو َك َذل‬ ‫وحا ِم ْن أَ ْم ِرنَا َما ُك ْن َت تَ ْد ِري‬ ً ‫ك ُر‬ ‫ان‬ ُ ‫اإليم‬ ُ َ‫َما ال ْ ِكت‬ َ ‫اب َوال‬ “และเช่นนั้น เราได้วะฮ์ยูรูห์หนึ่งจากพระบัญชา ของเราแก่เจ้าโดยที่เจ้าไม่เคยรู้มาก่อนเลยว่าอะไรคือ คัมภีร์ และอะไรคือการศรัทธา” “รูห์” ในโองการข้างต้นคือ รูหุลอะมีน (รูห์ผู้ ซื่อสัตย์) ดังที่มีปรากฏในโองการที่193 - 194 ของซู เราะฮ์ชุอะเราะอ์ว่า “อัรรูห์ ผู้ซื่อสัตย์ ได้น�ำมันลงมา ยังจิตใจของเจ้าเพื่อเจ้าจักได้เป็นผู้ตักเตือนคนหนึ่ง” รูหุลอะมีน เป็นผู้น�ำอัลกุรอานสู่จิตใจของเจ้า ด้วยเห ตุนี้อัลกุรอานทั้งหมดหรือเพียงบางส่วน ญิบรออีลและ รูหุลอะมีน เป็นสื่อกลางที่น�ำวะฮ์ยูลงมา ( ซึ่งจัดอยู่ใน ประเภททีส่ ามของการวะฮ์ย)ู ส่วนประเภทแรกของวะฮ์ ยูนั้นเฉพาะส�ำหรับโลกที่อยู่เหนือวัตถุและการรู้แจ้ง ซึ่ง โลกทีเ่ ข้าใจสรรพสิง่ ต่าง ๆ ด้วยสือ่ ของความหมายและ ความรูท้ ไี่ ด้มาด้วยการต้องศึกษามิอาจทีจ่ ะเข้าถึงได้ ไม่ ว่าจะเป็นค�ำที่เป็นอาหรับหรือไม่ใช่อาหรับ ในความ หมายของการปราศจากซึ่งสื่อกลาง ไม่ใช่เพียงแต่การ ไม่ตระหนักถึงสื่อกลางเท่านั้น แต่ทว่าแท้ที่จริงแล้วสิ่ง แปลกปลอมอื่น ๆ มิอาจมาเป็นสื่อกลางได้เลย วะฮ์ยูแบบโดยตรง วะฮ์ ยู ที่ ย ากล� ำ บากมากที่ สุ ด คื อ วะฮ์ ยู แ บบ โดยตรง กล่าวคือ ขณะเมือ่ ท่านศาสดา (ศ.) ต้องสือ่ สาร กับปฐมเหตุของทุกสรรพสิ่งด้วยตัวของท่านเองโดย ไม่มีสื่อกลางใด ๆ ทั้งสิ้น ถึงแม้ว่าเราไม่สามารถที่จะ เข้าถึงแก่นแท้ของเรื่องนี้ได้ แต่ก็ไม่ใช่เรื่องยากในการ ที่จะมโนภาพและยืนยันถึงความหนักอึ้งของวะฮ์ยูนั้น

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 69


ได้ หลังจากทีอ่ ลั กุรอานได้อธิบายไว้ และรายงานต่างๆ มากมายทั้งจากสายชีอะฮ์และซุนนะฮ์ จะเข้าใจถึงความยิง่ ใหญ่ของวะฮ์ยแู บบโดยตรง ได้ก็ต่อเมื่อเรารู้ว่าท่านศาสดา (ศ.) มีจิตวิญญาณที่มี พลังอย่างน่าอัศจรรย์ โดยพื้นฐานแล้วเมื่อผู้ที่มีความ รักผู้หนึ่งมีศักยภาพพร้อม ก็ใช่ว่าทุกคนจะสามารถ ให้ตนเองอยู่ในห้วงรัศมีแห่งวะฮ์ยูและอยู่ภายใต้พระ บัญชาที่ยิ่งใหญ่นี้ได้ ทั้ง ๆ ที่ท่านมีสิ่งนี้ แต่ความหนัก อึ้งของวะฮ์ยูก็ท�ำให้ท่านศาสดา (ศ.) รับมันเอาไว้อย่าง ยากยิ่ง ต่อไปนี้คือตัวอย่างจากรายงานต่าง ๆ : 1. ท่านฏอบริซี ได้รายงานหนึ่งไว้ใต้โองการที่ 5 ของซูเราะฮ์มุซซัมมิลว่า ท่านฮาริษ บินฮิชามได้ถาม ท่านศาสดา (ศ็อลฯ) ว่า : วะฮ์ยูถูกประทานลงมายัง ท่านอย่างไร ท่านด�ำรัสว่า บางครั้งมีเสียงดังมาซึ่งเป็น สภาพของวะฮ์ยูที่รุนแรงที่สุดส�ำหรับฉัน จนท�ำให้ฉัน อ่อนเพลียและเหน็ดเหนือ่ ย ในขณะทีฉ่ นั ก็จดจ�ำถ้อยค�ำ ทั้งหมด และบางครั้งก็มีเทวทูตท่านหนึ่งในรูปร่างของ มนุษย์ลงมาและฉันก็จดจ�ำในสิ่งที่เขากล่าว 2. อับดุลลอฮ์ บิน อุมัรกล่าวว่า : ฉันได้ถามท่าน ศาสดา(ศ็อลฯ)ถึงความรู้สึกในการได้รับวะฮ์ยู ท่าน ด�ำรัสว่า : ฉันจะได้ยินเสียง ในขณะนั้นฉันจะนิ่งเงียบ วะฮ์ยูจะไม่ถูกประทานลงมาให้แก่ฉันเลยนอกจากฉัน คิดว่าชีวิตฉันก�ำลังออกจากร่าง เชคศอดูกได้รายงานจากท่านซุรอเราะฮ์ไว้ใน หนังสือของท่านว่า ซุรอเราะฮ์กล่าวแก่อิมามซอดิก (อ.)ว่า ฉันขอมอบชีวิตให้แก่ท่าน การหมดสติของท่าน ศาสดา(ศ็อลฯ)ในขณะทีว่ ะฮ์ยถู กู ประทานลงมานัน้ เป็น เช่นไร ? ท่านกล่าวว่า : วะฮ์ยูในลักษณะเช่นนี้เป็นช่วง ที่ไม่มีใครเป็นสื่อกลางระหว่างเขากับอัลลอฮ์ (ซบ.) ใน ขณะนั้นพระผู้เป็นเจ้าจะทรงส�ำแดงถึงความยิ่งใหญ่ และความสูงส่งของพระองค์แก่เขา 3.มีรายงานหนึ่งจากอาอิชะฮ์ว่า ในวันที่อากาศ

70 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

หนาวเหน็บวันหนึ่ง วะฮ์ยูได้ถูกประทานลงมายังท่าน ศาสดา (ศ.) หลังจากที่จบสิ้นการประทานวะฮ์ยู เหงื่อ ได้ไหลออกมาจากหน้าผากของท่าน สภาพเช่นนี้ของการวะฮ์ยูแบบโดยตรงเป็นสิ่ง ที่หนักอึ้งยิ่งส�ำหรับท่านศาสดา (ศ.) จนกระทั่งในบาง รายงานได้ใช้ประโยคทีว่ า่ “ความรุนแรงของอาการเป็น ไข้แห่งวะฮ์ยู” ในช่วงท้ายของหมวดนี้ เราจะขอกล่าวถึงสภาพ ต่าง ๆ ของวะฮ์ยูตามพื้นฐานของรายงานต่างๆ จาก หนังสือ ตารีเคอัลกุรอาน ซึ่งเป็นผลงานอันทรงคุณค่า ของ ดร. มะห์หมูดรอมยอร : 1. ได้ยินเสียงคล้ายเสียงระฆัง หรือคล้ายเสียงที่ โลหะสองชิ้นมากระทบกัน หรือคล้ายเสียงของผึ้ง 2. มีอาการปวดแสบปวดร้อน เหล่าสาวกจะน�ำ น�้ำมาลูบตัวท่านเพื่อให้หายจากอาการดังกล่าว 3. รู้สึกร้อนอย่างรุนแรงในขณะที่อากาศหนาว โดยมีเหงื่อไหลออกมาทั่วใบหน้าของท่าน 4. มีสีหน้าแดงก�่ำ 5. หมดสติ 6. มีอาการอดทนต่อความทรมานอย่างหนักและ มีอาการปวดหัว 7. บางครั้งท่านศาสดา (ศ.) มีอาการที่หนักอึ้ง จนท�ำให้สัตว์ที่ท่านขี่อยู่นั้นไม่สามารถเดินทางต่อไป รายงานต่าง ๆ ที่ได้อธิบายถึงสภาพต่างๆ ใน การได้รับวะฮ์ยู ต่างก็ยืนยันว่า การรับวะฮ์ยูนั้นเป็นไป อย่างผู้ที่รับรู้และรู้สึก ความหนักอึ้งของวะฮ์ยู ไม่อาจมี อิทธิพลเหนือพลังทางปัญญาของท่านศาสดา(ศ็อลฯ) ได้เลย แต่ทว่าท่านรับสาส์นของอัลลอฮ์ (ซ.บ.) อย่าง ผู้ที่มีปัญญาและการรับรู้ที่สมบูรณ์ที่สุด


แปลและเรียบเรียงโดย เชคชะรีฟ ฮาดีย์

รหัสยวิทยา อิรฟาน

จุ

ดมุ ่ ง หมายและเป้ า หมายสู ง สุ ด ของ ศาสตร์ด้านรหัสยวิทยา อิบนิ สินากล่าวว่า”อาริฟคือผู้แสวงหาอัลลอฮ์ เท่ า นั้ น เขาไม่ส นใจเกี่ยวข้องกับ สิ่งใดๆอี ก เลย ใน สายตาเขาไม่มีสิ่งใดส�ำ คัญมากไปกว่า และไม่ มีสิ่ง ใดๆมีคุณค่ามากไปกว่า การรู้แจ้งในอิรฟาน เขาภักดี อัลลอฮ์ เพราะว่าการภักดีเป็นสิทธิที่จะต้องปฏิบัติ ต่อพระองค์และเพราะว่ามันเป็นการเหมาะสม และ เป็นการแสดงออกที่ดีงามในความสัมพันธ์ของมนุษย์ ต่อพระองค์ การอิบาดะห์ของอาริฟจึงอิสระจากพืน้ ฐาน ใดๆของความกลัวหรือความหวังทีจ่ ะได้รบั รางวัล”กล่าว อีกนัยหนึ่งว่า อาริฟ เป็นผู้ที่เชื่อมั่นในพระเจ้าองค์เดียว อย่างสมบูรณ์ในวัตถุประสงค์แห่งเป้าหมายของเขา เขา แสวงหาอัลลอฮเท่านัน้ เขามิได้แสวงหาพระองค์เพือ่ เห็น แก่การได้รับประโยชน์ใดๆในโลกนี้หรือโลกหน้า เพราะ ว่าถ้าเขากระท�ำเช่นนีก้ เ็ ท่ากับว่า เป้าหมายทีส่ ำ� คัญของ

อิสลาม

เขาจะเป็นประโยชน์ต่างๆเหล่านี้ และเขาจะแสวงหา อัลลอฮก็เพียงหมดของพวกเขา ในกรณีนี้พระเจ้าที่แท้ จริงของเขาจะต้องพบได้ กล่าวคือตัวตนระดับต�่ำของ เขา จะต้องได้รับความพึงพอใจ และจะต้องปีติยินดี ในสิ่งที่เขาต้องการ เหนือสิ่งใดทั้งมวล นั่นก็คือ ความ โปรดปรานและความพึงพอใจผู้ที่ไม่ใช่อิรฟานแสวงหา อัลลอฮก็เพือ่ ทีจ่ ะต้องการความโปรดปรานทัง้ หลายของ พระองค์ และผูท้ เี่ ป็นอาริฟแสวงกาความโปรดปรานทัง้ หลายของพระองค์กเ็ พือ่ พระองค์เองในทีน่ ี้ ค�ำถามก็เกิด ขีน้ ว่า ถ้ามันเป็นความจริงทีว่ า่ อาริฟมิได้แสวงหาสิง่ อืน่ ใดนอกจากอัลลอฮ์แล้ว ท�ำไมเขาจึงอิบาดะห์พระองค์ เขาจะต้องมีวตั ถุประสงค์บางอย่าง ในการตอบค�ำถาม นี้ อะบู อะลี สินา กล่าวว่า อาริฟอิบาดัตอัลลอฮ์ เพื่อ เหตุผลสองประการ ประการแรก เพราะอัลลอฮ์สมควร ที่จะได้รับการอิบาดัตมันเป็นการปฏิบัติกันโดยทั่วไป ว่ าเมื่อบุคคลหนึ่งพบเห็นคุณสมบัติที่ดีเด่น เห็นได้

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 71


ชัดเจนอย่างหนึ่งอย่างใดในบุคคลอื่นหรือสิ่งอื่นๆเขา ก็จะยกย่องเชิดชูบุคคลหรือสิ่งนั้นๆอย่างอัตโนมัติมิใช่ หวังที่จะได้รับผลประโยชน์ใดๆแต่เพราะว่าสิ่งนั้นหรือ บุคคคลนั้นสมวรที่จะได้รับการยกย่องกฎนี้สามารถ น�ำมาใช้กับบุคคลที่วรได้รับการยกย่องทั้งหมดในชีวิต ประจ�ำวันของเราอีกเหตุผลหนึง่ ส�ำหรับการอิบาดัตของ อาริฟก็คอื ว่า การอิบาดัตในตัวมันเองนัน้ เป็นสิง่ ทีด่ งี าม เพราะมันส�ำแดงออกซึ่งความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ กับอัลลอฮ์ มันเป็นงานที่กระท�ำอย่างมีคุณค่า เพราะ ฉะนั้นมันไม่จ�ำเป็นที่ว่าจะต้องหวังรางวัลใดๆหรือกลัว การลงโทษใดๆที่จะมาเป็นแรงกระตุ้นให้เกิดการอิบา ดะห์ต่ออัลลอฮ์ ท่านอิมามอะลี)ได้กล่าวว่า”โอ้ อัลลอฮ์ ข้าพระองค์มิได้อิบาดะห์พระองค์เพราะว่าข้าพระองค์ หวาดกลัวนรกของพระองค์ คือเพราะว่าข้าพระองค์ หวังที่จะได้สวรรค์ของพระองค์ข้าพระองค์อิบาดะห์ต่อ พระองค์เพราว่าข้าพระองค์ได้พบแล้วว่า พระองค์เป็น ผู้ทรงด�ำรงที่ควรค่าแก่การอิบาดะห์” ในถ้อยค�ำนี้ ความมีคุณค่าของการที่ถูกอิบาดั ตนั้นได้ถูกอ้างถึงในฐานะที่เป็นเหตุผลของการภักดี อิบาดะห์ บรรดาอิรฟานได้เน้นประเด็จที่ว่า ถ้าจุดมุ่ง หมาย ในชีวิตของมนุษย์โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการ ปฏิบัติอิบาดะห์เป็นสิ่งอื่นนอกจากอัลลอฮ์แล้ว เขาก็ จะเกิดความรู้สึกผิดเกี่ยวกับสองภาวะ บรรดาอิรฟาน ได้กล่าวถึงประเด็นนี้ในลักษณะที่น่าประหลาดอย่าง ยิ่ง และได้แจกแจงมันโดยการยกเรื่องราวต่างๆที่น่า ประทับใจ ขึ้นมาอ้างอิง เราจะให้เพียงตัวอย่างเยวใน ทีน่ คี้ อื เรือ่ งราวของมะหมูดกับอายาซซึง่ ได้ถกู น�ำมาเล่า โดย เชคซะอ์ดีในบทกวี บูสตานของเขา บทกวีซะอ์ดีได้กล่าวว่า ครั้งหนึ่งมีคนบางคน ก�ำลังวิพากษ์วิจารณ์สุลต่านมะหมูด แห่งก็อซนี ด้วย การกล่าวว่า อายาซ เป็นคนไม่หล่อเลยแต่น่าแปลก ที่สุลต่านยังคงรักเขามีความหมายใดในการที่ดอดไม้ ดอดหนึ่งทั้งสีก็ไม่สวยและกลิ่นก็ไม่หอมยังได้รับการ ยกย่องเชิดชูอยู่ มีบางคนได้รายงานนี้ แก่สุลต่านมะ

72 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

หมูด พระองค์ทรงตรัสว่า “ข้ารักเขา เพราะว่ากิริยา มารยาทที่ดีงามและนิสัยที่น่ารักของเขาไม่ใช่เพราะ รูปร่างงามของเขา”ซะอ์ดีกล่าวว่า ครั้งหนึ่งนานมาแล้ว ฉันได้ยินมาว่า อูฐตัวหนึ่งก�ำลังเดินผ่านทางแคบๆแห่ง หนึ่งจนท�ำให้มันเสียการทรงตัวและล้มลง หีบใบหนึ่ง ที่เต็มไปด้วยทองค�ำและเพชรนิน จินดา ซึ่งวางอยุ่บน หลังของมันก็ได้ตกลงมากระแทกพื้นและแตกกระจาย ออก สุลต่านมิได้ทรงสนพระทัย ต่อทรัพย์สินต่างๆอัน มีค่าเหล่านั้นเลย และได้ทรงเดินทางต่อไปอย่างรวด เร็วโดยท้งสถานที่นั้นเอาไว้ ข้าราชบริพารของพระองค์ ได้สาละวนยุ่งอยู่กับการรวบรวมทองค�ำและเพชรนิล จินดา เหล่านั้นที่กระจัดกระจายอยู่ไม่มีผู้ใดเว้นแต่ อา ยาซเท่านั้น ที่ได้เดินทางไปกับสุลต่าน สุลต่านทรงพอ พระทัยที่ได้เห็นเขา และถามเขาว่า เขาได้เก็บอะไรมา ได้บ้างจากทรัพย์สินเหล่านั้น อายาซได้ทูลตอบว่า”ข้า พระองค์ก�ำลังตามเสด็จพระองค์ ข้าพระองค์ เป็นผู้รับ ใช้พระองค์ทา่ น ข้าพระองค์จงึ ไม่สนใจใยดีตอ่ ทรัพย์สนิ อันมีค่าเหล่านั้นเลย” หลังจากเล่าเรื่องนี้แล้ว ซะอ์ดี จึงได้หันมาสู่ ประเด็นหลักของเขาและได้กล่าวว่าตบท้ายว่า”ท่าน เป็นคนเห็นแก่ตัวอย่างแท้จริง ท่านมีตาหนึ่งที่เห็นแต่ ความใจกว้างของมิตรของท่าน มิได้เห็นแก่ตัวมิตร ของท่านเองเลย ”ส�ำหรับนักบุญทั้งหลายของอัลลอฮ์ แล้วมันเป็นการขัดต่อกฎแห่งวิถีทางจิตวิญญาณ ที่ จะปรารถนาให้อัลลอฮ์ทรงอนุมัติสิ่งต่างๆแก่พวกเขา นอกจากพระองค์เท่านั้น ขั้นแรกการจาริก ขัน้ แรกของการจาริกทางจิตวิญญาณทีเ่ รียกโดย บรรดาอิรฟานว่า( อิรอดะห์(ความตัง้ ใจ อิรอดะห์หมาย ถึงสิ่งที่ปรากฏอย่างชัดแจ้งถึงความปรารถนา อย่าง แข็งกล้าที่ยึดมั่นในวิถีทางที่จะน�ำไปสู่สัจธรรมและ เร่งเร้าจิตวิญญาณให้บรรลุถึงเป้าหมายที่แท้จริงของ มันความปรารถนานี้อาจจะสร้างขึ้นโดยการใช้เหตุผล หรือโดยศรัทธา


ขั้ น แรกของการจาริ ก ทางด้ า นจิ ต วิ ญ ญาณนี้ ซึ่งเป็นกุญแจหลักของโครงสร้างทั้งมหมดของอาริฟ ที่ ต ้ อ งการอธิบ ายบางอย่างบรรดาอาริ ฟได้ ก� ำหนด ไว้อย่างแน่นอนสูงสุดว่า บั้นปลายคือการกลับสู่การ เริ่มต้น เป็นที่ชัดเจนแล้วว่า มีเพียงสองทางเท่านั้นซึ่ง ภายในนั้นจุดสุดท้ายสามารถเป็นจุดเริ่มต้นได้อย่าง แม่นย�ำ ในกรณีหนึ่งการเคลื่อนไหวจะต้องด�ำเนินไป ตามเส้นตรงและสิ่งที่ก�ำลังเคลื่อนก็จะบรรลุถึงจุดที่ แน่นอน ก็จะเปลีย่ นทิศทางของมัน แล้วกลับมายังจุดซึง่ จากจุดนี้ที่มันได้เริ่มต้น มันได้ถูกพิสูจน์ในทางปรัชญา แล้วว่า การเปลี่ยนทิศทางจะต้องเกี่ยวข้องกับจุดหยุด เสมอ แม้ว่ามันอาจจะเป็นจุดที่เล็กน้อยมากและไม่ อาจจะรับรู้ได้ ยิ่งกว่านั้นการเคลื่อนไหวทั้งสองนี้ จะอยู่ ในทิศทางตรงกันข้ามตามสมมุตฐิ านอีกอย่างหนึง่ การ เคลือ่ นไหวจะต้องด�ำเนินไปตามเส้นโค้งทีม่ รี ะยะเท่ากัน ทั้งหมดที่เกิดขึ้นจากจุดที่แน่นอนกล่าวอีกนัยหนึ่ง การ เคลื่อนไหวควรจะเป็วงกลม เป็นทีช่ ดั เจนว่าการเคลือ่ นไหวของวงกลมจะต้อง สิน้ สุดลงทีจ่ ดุ เดียวกัน ซึง่ จากจุดนัน้ มันได้เริม่ ต้น สิง่ ใด ทีก่ ำ� ลังเคลือ่ นไปตามเส้นวงกลมแล้วมันก็จะเคลือ่ นไป จากจุดเริ่มต้นของมันและในที่สุดก็จะถึงจุดที่ไกลสุด จากจุดเริ่มต้นจุดนี้จะเป็นจุดที่เส้นรอบวงถูกลากจาก จุดเริ่มต้นซึ่งจะสิ้นสุดหลังจากถึงจุดนี้สิ่งที่เคลื่อนก็ เริ่มกลับมาสู่จุดเริ่มต้นของมันโดยปราศจากการหยุด บรรดาอาริฟเรียกเส้นแห่งการเคลื่อไหวซึ่งไปจากจุด เริม่ ต้นยังจุดทีไ่ กลทีส่ ดุ ว่า ความโค้งลง และเส้นของการ เคลือ่ นซึง่ มากจากจุดทีไ่ กลทีส่ ดุ ไปยังจุดเริม่ ต้นเรียกว่า ความโค้งขึน้ มีปรัชญาพิเศษของการเคลือ่ นไหวของสิง่ ต่างๆจากจุดเริม่ ต้นไปยังจุดไกลทีส่ ดุ บรรดานักปรัชญา เรียกมันว่า หลักการแห่งเหตุและผลและบรรดาอาริฟ เรียกมันว่า หลัการแห่งการปรากฏอย่างชัดแจ้ง เมื่อสิ่ง ต่างๆเคลือ่ นไปตามความโค้งลงมันปรากฏราวกับว่า สิง่ เหล่านัน้ ก�ำลังถูกผลักดันจากเบือ้ งหลังปรัชญานีว้ างอยู่ บนหลังการทีว่ า่ ทุกสิง่ ทุกอย่างต้องการกลับคืนสูแ่ หล่ง

เดิมของมันกล่าวอีกนัยหนึ่งทุกสิ่งทุกอย่างที่จากบ้าน ของมันมาก็ต้องการที่จะกลับคืนสู่บ้านเดิม บรรดาอา ริฟยืนยันว่าแนวโน้มนี้มีอยู่ในทุกๆอนุภาคของจักรวาล รวมทั้งความเป็นมนุษย์ด้วย แม้ว่าในมนุษย์เหล่านั้น บางครัง้ แนวโน้ม นีไ้ ม่เป็นทีป่ รากฏให้เห็นได้ชดั เจนมาก นัก เพราะส่า มันถูกรวมตัวเข้ากับสิ่งอื่นๆอยู่บ่อยๆซึ่ง หันเหความสนใจของพวกเขาไปจากมันในมนุษย์แนว โน้มซึง่ นอนนิง่ อยูน่ ปี้ กติแล้วจะถูกท�ำให้ตนื่ ขึน้ ก็แต่เพียง ความสนใจของเขาถูกดึงไปยังมันซ�ำ้ แล้วซ�ำ้ เล่า การตืน่ ของแนวโน้มนี้คือสิ่งที่ถูกเรียกว่าความตั้งใจ ในบทความของเขาชื่อ”อิสติลาฮาต”ซึ่งได้ถูก จัดพิมพ์ไว้บนริมขอบของหนังสือ”ชาร์ฮุ มะนา ซิลิซซา อิรีน”อับดุร รอชัก กาชานี ได้ให้ค�ำนิยามความตั้งใจไว้ ดังนี้ “ความตั้งใจคือแปลวไฟหนึ่งแห่งความรัก เมื่อ มันถูกจุดขึ้นในจิตใจของเขาแล้ว มนุษย์ก็เริ่มตอบต่อ เสียงเรียกร้องของสัจธรรม” ในหนังสือของเขา”มะนาซิลุส ซาอิลีน” คอญะฮ์ อับดุลลอฮ์ อันศอรี ให้ค�ำนิยามความตั้งจไว้ ดังนี้ “ ความตัง้ ใจ หมายถึงความตอบสนองแก่เสียง เรียกร้องแห่งสัจธรรมของหัวใจของบุคคลคนหนึ่ง” นับว่าจ�ำเป็นที่จะชี้ให้เห็นว่า แม้ว่าความ ตัง้ ใจได้ถกู อธิบายในฐานะทีเ่ ป็นขัน้ แรกสุดในความเป็น จริงแล้วมันเป็นขั้นแรกๆ ที่ติดตามด้วยขั้นพื้นฐานแห่ง การเคลื่อนไหวอีกเล็กน้อยที่รู้จักกันว่า”บิดายาต”(การ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 73


เริ่มต้น), อับว๊าบ (ประตูทั้งหลาย), มุอามะลาต, (ความ เกี่ยวข้องด้านต่างๆ)และ อัคลาก (คุณสมบัติต่างๆที่ดี งามดานศีลธรรม) หลังจากการเริม่ ต้นของสภาพแห่งอา ริฟที่แท้จริง ขั้นแรกก็คือ ความตั้งใจ บรรดาอาริฟเรียก มันเช่นนั้น และขั้นต่างๆ แห่งหลักการก็จะติดตามมา เมาลาวี อธิบายถ้อยค�ำสุภาษิตนีว้ า่ “สุดท้ายคือ การคืนสู่การเริ่มต้น”ด้วยถ้อยค�ำดังต่อไปนี้ “ส่วนต่างๆคืนสู่ส่วนทั้งหมด ดุจนกไนติงเกล ถวิลหาบุปผาหนึ่งสิ่งใดก็ตามที่ออกมาจากท้องทะเล แล้วก็จะกลับคืนสู่มัน คืนสู่แหล่งที่มาของมันนั่นเทียว” เมาลาวี ในค�ำน�ำ ของมัษนาวีของเขาได้สรุปบท กวีสั้นๆ ไว้ด้วยหัวเรื่องว่า “การอุทธรณ์ทุกข์ของขลุ่ย อ้อ”กวีบทนี้ได้เสนอให้เห็นถึงความปวดร้าวของความ ถวิลหา และความรู้สึกถึงความหลังที่วาดภาพให้เห็น ความตั้งใจในการที่มนุษย์จะกลับคืนสู่ผู้สร้าง ขั้นแรก ของอาริฟในภาษาที่อาริฟน�ำมาใช้ จะเห็นได้ที่เมาลา วีได้กล่าวว่า “จงสดับในสิ่งที่ขลุ่ยจ�ำนรรจา มันก�ำลังอุทธรณ์ ทุ ก ข์ ข องการจ� ำ พรากมั น กล่ า วว่ า นั บ ตั้ ง แต่ มั น ถู ก ตัดขาดออกมาจากพงอ้อและถูกน�ำมาอยูท่ นี่ ี่ ประชาชน ก็พากันเหนื่อยหน่ายกับเสียงคร�่ำครวญอันดังของมัน มันต้องการให้ทรวงอกของมันระเบิดออกเพื่อว่ามันจะ ได้แสดงให้เห็นถึงความปวดร้าว ในการคิดถึงบ้านของ มัน สิ่งใดก็ตามที่ถูกจ�ำพรากจากแหล่งเดิมของมัน มัน ก็อยู่ในการแสวงหาเสมอถึงกาลเวลาแห่งการพบกัน” 74 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

อิบนิ สินา ได้ให้ค�ำจ�ำกัดความ ความตั้งใจไว้ ว่า “ความตั้งใจคือสิ่งที่ถวิลาหา ซึ่งมนุษย์รู้สึกเมื่อเขา พบตัวเขาเองว่าโดดเดี่ยว และช่วยเหลืออะไรตนเอง มิได้ และต้องการที่จะถูกรวมเข้ากับสัจธรรมเพื่อว่า เขาจะไม่ต้องมีความรู้สึกโดดเดี่ยวอ้างว้าง หรือ รู้สึกไร้ ที่พึ่งพาอีกต่อไป การปฏิบตั ฝิ กึ ฝนอบรม ทางด้านจิตวิญญาณ อิบนิสนิ ากล่าวว่า ถัดไปจากความตัง้ ใจ ริยาซาต เป็นสิ่งจ�ำเป็นส�ำหรับอาริฟ ริยาซาต มีจุดมุ่งหมาย 3 ประการ คือ 1) ขจั ด ทุ ก สิ่ ง ออกไปจากวิ ถี ท างนั้ น นอกจา กอัลลอฮ. 2) ท�ำให้จิตวิญญาณขั้นความอยากความใคร่ ยอมจ�ำนนต่อจิตวิญญาณขั้นความปีติพึงพอใจ 3) ท�ำให้ตัวตนภายในดูอ่อนละมุนละไมลง เพื่อ ที่จะท�ำให้มันเหมาะส�ำหรับการรับความรู้แจ้งเห็นจริง ฉะนัน้ ขัน้ ตอนแรกคือ ความตัง้ ใจ ซึง่ เป็นการเริม่ ต้นการ จาริกทางจิตวิญญาณ ขั้นที่สอง คือ การตระเตรียมที่ เรียกว่า ริยาซาต ตามส�ำนักแนวความคิดที่แน่นอนนั้น ริยาซาต หมายถึง การปฏิบตั ติ อ่ ตนเอง อย่างแข็งกล่าว หรือ ก่อให้เกิดความเจ็บปวดทางด้านร่างกายแก่ตนเอง เหมือนอย่างการปฏิบัติทรมานของพวกโยคีในอินเดีย แต่ อิบนิ สินา ใช้ค�ำนั้นในความหมายที่แท้จริงของมัน ในภาษาอาหรับค�ำว่า “ริยาซาต”มีรากศัพท์ที่ หมายถึง การท�ำให้แตก และการฝึกม้าหนุ่ม หลังจาก นั้นค�ำนี้ถูกใช้และยังคงถูกใช้ในภาษาอาหรับในความ หมายของการฝึกหัดบริหารด้านร่างกาย และการกีฬา บรรดาอิรฟาน ได้ใช้ค�ำนี้มาแทนการฝึกฝนอบรมจิต วิญญาณเพื่อเป็นการตระเตรียมจิตวิญญาณที่จะน�ำ ไปสู่สภาพความรู้แจ้งเห็นจริงในด้านอิรฟาน อย่างไรก็ตาม ริยาซาต ในที่นี้ หมายถึงการ ฝึกฝนอบรมจิตใจซึ่งมีจุดมุ่งหมาย 3 ประการ : จุดมุ่ง หมายประการแรกเพื่อที่จะขจัดสาเหตุทั้งหลายที่เขา มาท�ำการเบี่ยงเบนความตั้งใจให้หันเหไปจากอัลลอฮ์.


จุดมุ่งหมายประการที่สองคือ วางการท�ำงานอย่างมี ประสิทธิภาพทางด้านจิตวิญญาณหรือภายในตัวตน ให้อยู่ในสภาพที่เป็นระเบียบเรียบร้อยเหมาะสมกับ เรื่องที่จะได้รับความสงบภายใน นี้คือกระบวนซึ่งถูก เรียกกันว่า การท�ำให้จิตวิญญาณขั้นความอยากความ ใคร่สยบอยู่ภายใต้วิญญาณขั้นปีติยินดีจุดมุ่งหมาย ประการที่สาม คือ การเปลี่ยนแปลงสภาพภายในของ จิตวิญญาณ ซึง่ ได้อธิบายในฐานะทีเ่ ป็นพืน้ ฐานภายใน จิตใจถูกท�ำให้ละเอียดอ่อนละมุน อิ บ นิ สิ น า กล่ า วว่ า ประเภทที่ ถู ก ต้ อ งของ การบ� ำ เพ็ ญ ตนแบบละวางโลก ช่ ว ยในการบรรลุ วัตถุประสงค์ขั้นแรก มันจะขจัดสิ่งขวางกั้นทั้งหลาย และการกันเหจิตใจให้เบี่ยงเบนออกไป มีองค์ประกอบ หลายอย่างซึ่งก่อให้เกิดการบรรลุในวัตถุประสงค์ขั้น ที่สอง นั่งก็คือ การท�ำให้จิตวิญญาณ ขั้นความอยาก ความใคร่ต้องยอมจ�ำนนต่อจิตวิญญาณขั้นปีติความ พึงพอใจ หนึ่งในองค์ประกอบเหล่านั้นคือการปฏิบัติอิ บาดะห์ ซึง่ การประกอบเหล่านัน้ กระท�ำลงไปด้วยความ เต็มใจของบุคคลนัน้ เป็นการทุม่ เทด้วยชีวติ จิตใจในการ ประกอบอิบาดัตทัง้ หลาย อีกองค์ประกอบหนึง่ คือ เสียง ที่ไพเราะ ดีงามใช้ส�ำหรับกล่าวถ้อยคทางจิตวิญญาณ ที่ให้ความอบอุ่นในจิตใจอย่างเช่น โองการอัลกุรอาน บทดุอาอ์ต่างๆ หรือสุภาษิต หรือ บทกวีของบรรดาอา ริฟ องค์ประกอบที่สาม คือการสั่งสอน และการให้ค�ำ ปรึกษาซึ่งท�ำให้ผู้สอนหรือผู้ให้ค�ำแนะน�ำมีวิญญาณ บริสุทธิ์ขึ้น เสียงที่มีประสิทธิภาพ และแสดงออกอย่าง ไพเราะก็สามารถที่จะน�ำมนุษย์ไปสู่ความถูกต้องได้ ความคิดที่บริสุทธิ์ และความรักที่ดีงามสูงส่ง ที่ เรียกว่าความรักแบบ เพลโทนิก ก็จะเป็นสิ่งที่จะช่วย ในการบรรลุถึงจุดมุ่งหมายขั้นที่สาม นั่นก็คือท�ำให้จิต วิญญาณภายในตัวตนละมุนละไมขึ้น และช�ำระล้าง มลทินต่างๆ ออกไปจากจิตวิญญาณ ความรักจะต้อง เป็นเรื่องทางจิตวิญญาณ และเป็นเรื่องสติปัญญา ซึ่ง ถูกเร่งเร้าโดยคุณสมบัติที่ดีงามทางด้านศีลธรรมแก่ผู้

เป็นที่รักไม่ใช่โดยความใคร่ ราคะ และความรักแบบ เพศสัมพันธ์ อิบนิ สินากล่าวว่าต่อไปอีกว่า เมื่อความตั้งใจ และริยาซาต ของอาริฟได้กา้ วหน้าไปจนถึงขัน้ ตอนหนึง่ แล้ว บุคคลนั้นจะเห็นประกายแสงอันเป็นทิพย์ และ รู้สึกเป็นแสงสะท้อนของความเกรียงไกรของอัลลอฮ ในจิตใจของเขา ซึ่งท�ำให้เขาเกิดความปีติอย่างยิ่ง แต่ ปรากฏการณ์นี้เกิดขึ้นและผ่านไปอย่างรวดเร็วมาก เหมือนกับประกายสายฟ้าแลบ ขั้นนี้เรียกว่า “เอาก๊อต” กาลเวลาต่างๆ โดย บรรดาอาริฟยิ่งปฏิบัติริยาซาตมากขึ้นเท่าไหร่ เขาก็จะ ได้รับสภาพดังกล่าวนี้บ่อยมากขึ้นเท่านั้น เมื่อเขาได้ ปฏิบัติให้ก้าวหน้าขึ้นไปอีกสภาพนี้ก็จะครอบคลุมเขา ให้เป็นทีป่ ระจักษ์แจ้ง แม้ปราศจากกริยาซาตใดๆก็ตาม เมื่อใดก็ตามที่เขาคิดถึง โลกอันเป็นทิพย์สูงส่ง เขาก็จะ ถูกครอบครองด้วยภาวะนี้ ซึ่งภายนั้น เขาเห็นปรากฏ อย่างชัดแจ้ง ถึงความเกรียงไกลของอัลลอฮในทุกสรรพ สิ่ง ในขั้นนี้บางครั้งอาริฟรู้สึกไม่สงบจากภายในจิตใจ และความไม่สงบของเขาก็จะเป็นที่รู้สึกโดยบุคคลที่ ก�ำลังอยู่ใกล้ๆเขา หลังจากนั้นด้วยการริยาซาตต่อไป ซึง่ เป็นสภาพตามโอกาสก็จะถูกเปลีย่ นแปลงไปสูค่ วาม สงบ อาริฟซึง่ เคยกับภาวะเฃ่นนีข้ องเขา และเขาก็จะไม่รู้ สึกกระวนกระวายหรือไม่สงบ เขารูส้ กึ ราวกับว่าเขาอยู่ ร่วมอย่างถาวรกับอัลลอฮอาริฟจะรู้สึกปิติชื่นชมอย่าง เต็มที่ในสภาพนี้และเมือ่สภาพนี้ในบางครั้งหายไปเขา จะรูส้ กึ ไม่สบายใจและโศกเสร้า บางทีเมือ่ ขีน้ มาสูข่ นั้ นีผ้ ู้ อืน่ ทีอ่ ยูร่ อบตัวเขาก็จะอาจจะรูถ้ งึ ความรูส้ กึ ภายในของ เขาได้ ไม่วา่ จะเป็นความสุขหรือความโศกเศร้าก็เช่นกัน อาริฟยิ่งคุ้นเคยกับภาวะนี้มากเท่าใดความรู้สึกภายใน ของเขายิ่งสังเกตเห็นได้ง่ายมากขึ้นเท่านั้นในที่สุดเมื่อ ถึงขั้นหนึ่งที่ประชาชนเห็นเขาอยู่ในท่ามกลางพวกเขา แต่ตัวเองจริงๆแล้วเสมือนอยู่ในที่อื่นวิญญาณของเขา ในเวลานั้นอยู๋ในโลกอื่น ประโยคสุดท้ายเตือนใจเราในสิง่ ทีท่ า่ นอิมามอะ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 75


ลี((อฺ)ได้กล่าวแก่กุเมล บิน ซิยาด นานคาอี เกี่ยวกับ บรรดาวะลี นักบุญมุสลิมหรือบรรดาสหายแห่งอัลลอฮ์ อิมามอะลี (อ.) ได้กล่าวว่า “น�้ำพุแห่งความรู้และวิทยปัญญาพุ่งออกมา จากจิตใจของพวกเขาสิ่งซึ่งปรากฏว่าเป็นความยาก แก่บุคคลเหล่านั้นผู้มีชีวิตอยู่อย่างสบายและฟุ่มเฟือย ดูเหมือนเป็นความง่ายส�ำหรับเขา พวกเขาคุ้นเคยกับ สิ่งซึ่งคนโง่ตื่นตระหนก ร่า งกายของพวกเขาอยู่กับ ประชาชนเหล่านั้นแต่วิญญาณของพวกเขาอยู่ในโลก ที่สูงส่งกว่า” อิบนิ สินากล่าวว่า ตราบเท่าที่อาริฟอยู่ในขั้นนี้ บางภาวะนี้เข้าครอบคลุมตัวเขาเป็นบางเวลา แต่เขา ค่อยๆ สามารถที่จะน�ำมันให้เข้ามาปรากฏตามความ ต้องการของเขาได้ ไม่วา่ เมือ่ ใดทีเ่ ขาต้องการเมือ่ เขาก้าว ไปสู่ขั้นที่สูงกว่า เขาไม่จ�ำเป็นต้องน�ำภาวะนี้ให้ปรากฏ แก่เขาอีกต่อไปในขณะที่เขาเริ่มเห็นการปรากฏอย่าง ชัดแจ้งถึงความเกรียงไกรของอัลลอฮในทุกทีท่ กุ หนแห่ง และในทุกสรรพสิ่ง ภาวะเช่นนี้ จะกลายเป็นลักษณะที่ ถาวรส�ำหรับเขา แม้ว่าประชาชนที่อยู่รอบตัวเขา ยังคง ไม่รู้อยู่อย่างสมบูรณ์เกี่ยวกับเรื่องนี้ และไม่สังเกตเห็น ถึงความแปลกประหลาดใดๆที่จะดึงให้พวกเขาหันมา สนใจ ตราบเท่าที่ภาวะเช่นนี้ของอาริฟขึ้นอยู่ทั้งหมด กั บ การฝึ ก ฝนทางจิ ต วิ ญ ญาณอี ก ทั้ ง การปฏิ บั ติ ที่ เป็นการเข้มงวดกับตัวตนอย่างเคร่งครัดแต่หลังจาก ผ่านขั้นนี้ไปแล้ว แม้ว่าจะปฏิบัติเข้มงวดกวดขันกับ

76 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

ตนเองเหมือนอย่างการทรมานตน เขาก็พบว่าจิตใจ ของเขาก็เปล่งแสงเหมือนกับกระจกที่ได้รับการเช็ดให้ สะอาด ซึ่งภายในนั้นเขาได้ประจักษ์แจ้งถึงการปรากฏ อย่างชัดเจนของรัศมีอันเกรียงไกรของอัลลอฮ์ในทุกๆ การเคลื่อนไหว เขาปีติชื่นชมกับฐานะขั้นนี้ และรู้สึก เป็ น สุ ข เกิ ด ความปี ติ ยิ น ดี อ ย่ า ง ท้ ว มท้ น ที่ ไ ด้ ถึ ง ขั้ น สถาปนาความสัมพันธ์ของเขากับอัลลอฮในขั้นนี้เขามี ตาหนึ่งที่มุ่งสู่อัลลอฮ และอีกตาหนึ่งแก่ตัวของเขาเอง เหมือนคนๆหนึง่ กับกระจกเงา ซึง่ บางทีมองไปทีก่ ระจก นั้นและบางทีมองไปที่ภาพสะท้อนตัวเขาเอง ในขั้นต่อ ไปแม้แต่การมีชีวิตอยู่ของเขา ก็อยู่นอกสายตาของเขา เขามีตาหนึ่งมุ่งสู่อัลลอฮเท่านั้น ถ้าเขาเห็นตัวเขาเอง ในเวลาเดียวกัน เขาเห็นในทิศทางนั้น เหมือนอย่างคน ที่มองเข้าไปในกระจกเห็นกระจกนั้น ในขณะที่ความ ตั้งใจของเขายังคงเพ่งอยู่อยู่ที่เขาสะท้อนนั้นในเวลานี้ เขาก็ไม่คาดหวังที่จะให้ความสนใจแก่ความงามของ กระจกนัน้ ในขัน้ นีอ้ าริฟบรรลุถงึ จุดสูงสุดยังอัลลอฮ์ และ ฉะนัน้ การเดินทางของเขาจากการสร้างสรรค์ไปยังพระ ผู้สร้างก็สิ้นสุดลง นีค่ อื บทสรุปของส่วนหนึง่ ของบทที่ 9 ของหนังสือ อัล-อิชารอต”อาจจะกล่าวไว้ในทีน่ ดี้ ว้ ยว่า บรรดาอาริฟ มุสลิมที่แท้จริงเชื่อใน การจาริก 4 แบบ 1) การจาริกจากสภาพสิ่งถูกสร้างไปยังพระผู้ สร้าง 2) การจาริกกับพระผู้สร้างในพระผู้สร้าง 3) การจาริกจากพระผู้สร้างสู่สิ่งถูกสร้าง 4) การจาริกในสิ่งถูกสร้างกับพระผู้สร้าง ในการจาริกแบบที่สอง อาริฟ หรือ ผู้ฝึกหัดใหม่ จะได้คนุ้ เคยกับพระนามของทัง้ หลายของของพระผูเ้ ป็น เจ้าและบรรดาคุณานุภาพ (ซิฟาตของพระองค์) และตัว เขาเอง ก็ได้ครอบครอง หรือ หล่อหลอมกับบรรดาคุณา นุภาพเหล่านี้ ในการจาริกแบบทีส่ าม เขากลับมาสูภ่ าวะ แห่งการสร้างสรรค์อนั เป็นสภาพทีถ่ กู ยังเกิดส�ำหรับทาง น�ำเหล่านี้ แต่ไม่ถกู แยกจากอัลลอฮ ส่วนการจาริกแบบ


แปลและเรียบเรียงโดย

เชคมุฮัมมัดนาอีม ประดับญาติ

รัในแนวคิ ฐบาล ด

และการปฏิบัติของ

อิมามอะลี

อิบนิอบีฏอลิบ โครงสร้างโดยรวมรัฐบาล ของอิมามอะลี (อ.)

เพื่อที่จะตรวจสอบโครงสร้างรัฐบาลของท่านอิ มามอะลี (อ.) การพิจารณาถึงสมัยการปกครองที่เกิด ขึน้ จากการพิชติ ต่างๆ ของอิสลาม นับว่ามีความส�ำคัญ อย่างมากทีเดียว ด้วยแหตุผลดังกล่าวนี้ ช่วงเวลาที่เรา จะศึกษาตรวจสอบเพื่อการวิจัยนี้จึงแบ่งออกเป็นสอง ส่วน คือยุคก่อนการพิชิตและยุคหลังการพิชิต ยุคแรก เริ่มจากช่วงการจัดตั้งรัฐอิสลามของท่านศาสดามุฮัม มัด (ศ.) และด�ำเนินต่อเนือ่ งไปจนถึงสิน้ สุดการปกครอง (คิลาฟะฮ์) ของอบูบักร์ ในช่วงเวลานี้ระบอบอิสลาม จ�ำกัดอยู่เฉพาะกับมุสลิมอาหรับ โดยมีศูนย์กลางอยู่ ในนครมะดีนะฮ์ และศูนย์รวมของการบริหารปกครอง รัฐอยูภ่ ายใต้การเป็นผูน้ ำ� ของท่านศาสดา (ศ.) หลังจาก นั้นก็คือคอลีฟะฮ์ (ผู้ปกครอง) คนที่หนึ่ง แต่หลังจาก การพิชิต ซึ่งเริ่มต้นจากยุคสมัยของคอลีฟะฮ์คนที่สอง ประชาชนจ�ำนวนมากได้เข้ามาสูเ่ มืองหลวงของอิสลาม

(ดารุ้ลอิสลาม) ในช่วงเวลานั้นเองรัฐบาลที่รวมศูนย์ อ�ำนาจอยู่ในนครมะดีนะฮ์ ต้องเผชิญกับความท้าทาย ที่ส�ำคัญสองประการคือ ประการแรกก็คือ ขอบเขตอ�ำนาจของรัฐมีความ กว้างขวางมาก โดยมีศูนย์กลางของการปกครองซึ่ง นับว่าเป็นส่วนที่เล็กมาก ทางด้านภูมิศาสตร์โดยรวม ทั้งหมดของอาณาเขตของรัฐอิสลาม ด้วยเหตุนี้เอง การบริหารปกครองรัฐในลักษณะที่เรียบง่ายเหมือนใน อดีตจึงเป็นเรื่องที่ไม่อาจเป็นไปได้ จึงจ�ำเป็นต้องมีการ บริหารจัดการในรูปแบบใหม่ และมีหน่วยงานที่กว้าง ขวาง เพือ่ ทีจ่ ะบริหารจัดการกิจการต่างๆ ได้อย่างทัว่ ถึง ประการทีส่ องก็คอื ประประชาชาติในส่วนทีเ่ ป็น มุสลิมใหม่ อย่างเช่น ชาวเปอร์เซีย ชาวอียปิ ต์ ประชาชน ทีอ่ าศัยอยูใ่ นแถบเมโสโปเตเมียและแผ่นดินชาม (ซีเรีย จอร์แดน เลบานอนและปาเลสไตน์ปัจจุบัน) แต่ละหมู่ ชนต่างมีภูมิหลังทางวัฒนธรรม และอารยธรรมอันเก่า แก่ทางประวัติศาสตร์ของตน การยอมรับอิสลามไม่

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 77


จักรวรรดิขนาดใหญ่ การพึ่งพาเชื้อชาติอาหรับที่เป็น ศูนย์กลางของอ�ำนาจจึงไม่ใช่เรื่องง่ายอีกต่อไป ศูนย์ รวมของอ�ำนาจทีอ่ ยูใ่ นมือของคอลีฟะฮ์ (ผูป้ กครอง) จึง ต้องกระจายไปตามส่วนต่างๆ ของรัฐ การบริหารจัดการ ทางด้านนโยบาย การด�ำเนินการในภูมภิ าคต่างๆ อย่าง เช่น อียิปต์ มะดาอิน อิหร่านและอาเซอร์ไบจาน จึงถูก มอบให้เป็นหน้าทีข่ องผูป้ กครองหัวเมืองและเจ้าหน้าที่ ชุดใหม่ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจึงกลายเป็นสาเหตุ ท�ำให้โครงสร้างอ�ำนาจ ปรากฏออกมาเป็นสองรูปแบบ แห่งประวัติศาสตร์คือ ได้หมายความว่าจะต้องละทิ้งองค์ประกอบต่างๆ ทาง วัฒนธรรมและการเมืองไปทั้งหมด แนวทางการปฏิบัติ อันเป็นประวัตศิ าสตร์ของการบริหารปกครองและก�ำกับ ดูแลก็มิได้หมดไป แต่มันจะยังคงด�ำเนินอยู่ในดินแดน ของภูมิภาคเหล่านั้นต่อไป และองค์ประกอบต่างๆ ก็ เข้ามามีส่วนร่วมอยู่ในรัฐอิสลามด้วยเช่นกัน โดยใน ช่วงเริ่มต้นของคอลีฟะฮ์ (ผู้ปกครอง) คนที่สองซึ่งรู้สึก ถึงอันตรายจากสิ่งนี้ จึงพยายามที่จะสกัดกั้นการผสม ผสานระหว่างผู้ที่ไม่ใช่อาหรับกับผู้ที่เป็นอาหรับ และ ยึดนโยบายการเมืองแบบชาตินิยมอาหรับ สิ่งนี้เองจึง กลายเป็นสาเหตุท�ำให้หมู่ชนต่างๆ ที่เป็นมุสลิมใหม่ ซึ่งก่อนหน้านั้นพวกเขามีระบอบของตนเอง ต้องอยู่ ในสภาพไม่มีภาระความรับผิดชอบใดๆ การแต่งตั้งผู้ ปกครองหัวเมืองที่เป็นเชื้อชาติอาหรับของคอลีฟะฮ์ (ผู้ ปกครองสูงสุด) โดยที่โครงสร้างทางด้านอ�ำนาจและ การปกครองของเขาไม่มีความชัดเจน จึงเป็นเหตุท�ำให้ วัฒนธรรมทางการเมืองของชนพื้นเมืองค่อยๆ ถูกพิชิต ด้วยสีสันใหม่ของอิสลาม ในพื้นที่ที่ไกลออกไปจาก ศูนย์กลางของอ�ำนาจการปกครอง (คิลาฟะฮ์) การ ติดต่อสื่อสารต่างๆ เป็นไปอย่างล่าช้า ปัญหาดังกล่าว นี้ปรากฏให้เห็นอย่างชัดเจนกว่า ในสภาพเงื่อนไขเช่น นี้ ที่ท�ำให้รัฐบาลอิสลามปรากฏภาพออกมาในรูปของ

78 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

1. รัฐบาลที่รวมศูนย์อ�ำนาจอยู่ในนครมะดีนะฮ์ และต่อเนือ่ งมาจนถึงยุคของการพิชติ ดินแดน (ฟุตฮู าต) ในสมัยการปกครองของคอลีฟะฮ์ที่สอง 2. รัฐบาลทีไ่ ม่รวมศูนย์อำ� นาจซึง่ บริหารปกครอง ในลักษณะของรัฐบาลกลาง และกระจายครอบคลุม ประชาชาติมสุ ลิมทัง้ หมดทีอ่ ยูใ่ นเขต “ดารุสลาม” (แผ่น ดินอิสลาม) รัฐบาลนีใ้ นความเป็นจริงแล้วนับได้ว่าเป็น อาณาจักรที่ยิ่งใหญ่ การศึกษาวิเคราะห์ เกี่ยวกับรูปแบบรัฐบาลของ ท่านอิมามอะลี (อ.) ชี้ให้เห็นว่ารัฐบาลของท่านอิมาม นั้นเป็นรูปแบบที่สอง ท่านได้จัดตั้งหน่วยงานในพื้นที่ ต่างๆ และแต่งตั้งเจ้าหน้าที่หลายสิบคน ด้วยความ เหมาะสม และสอดคล้องกับสถานการณ์ตามขอบเขต และความส�ำคัญของพื้นที่ต่างๆ โดยพิจารณาถึงความ เป็นที่ยอมรับ และความน่าเชื่อถือของเจ้าหน้าที่แต่ละ คน บางคนก็ถูกแต่งตั้งในฐานะ “ผู้ปกครองหัวเมือง” (ฮากิม) บางคนถูกแต่งตั้งในฐานะ "ตัวแทน" (อามิ้ล) ความแตกต่างระหว่างทั้งสองประเภทนี้ก็คือ "ตัวแทน" (อามิ้ล) ไม่มีอิสระในขอบข่ายของการปฏิบัติภารกิจ ของตน และการปฏิบัติภารกิจเป็นไปตามระเบียบข้อ ก�ำหนดต่างๆ ของผูท้ มี่ อี ำ� นาจเหนือกว่า แต่ “ผูป้ กครอง หัวเมือง” (ฮากิม) จะมีอิสระในการตัดสินใจและการ บริหารปกครองในระดับหนึ่ง


ท่านอิมามอะลี (อ.) ได้แต่งตั้งกุเมล บินซิยาด นะคะอี เป็นตัวแทน (อามิ้ล) ในแคว้น “ฮิยัต” อบูมู ซา อัชอะรี เป็นตัวแทน (อามิ้ล) ในเมืองกูฟะฮ์ อับดุล ลอฮ์ อิบนุอับบาส เป็นตัวแทน (อามิ้ล) ในเมืองบัศ เราะฮ์ และซะฮัล บินฮะนีฟ อันซอรี เป็นตัวแทน (อา มิ้ล) ในนครมะดีนะฮ์ ส่วนฮุซัยฟะฮ์ บินยะมาน ให้คง เป็นผู้ปกครอง (ฮากิม) ในแคว้นมะดาอิน มาลิก อัชตัร เป็นผู้ปกครอง (ฮากิม) ในอียิปต์ และยังมีอีกหลายสิบ คนที่ท่านอิมามอะลี (อ.) ออกค�ำสั่งแต่งตั้งพวกเขาให้ เป็นเจ้าหน้าที่และตัวแทนในด้านต่างๆ อย่างเช่น การ ตัดสินคดีความ การจัดเก็บภาษีอากร การดูแลจัดการ ในเรื่องของกองทัพและอาลักษณ์ ในรัฐบาลกลางก็ เช่นเดียวกัน อ�ำนาจตุลาการจะปฏิบัติหน้าที่อย่างเป็น อิสระ จากอ�ำนาจบริหาร ณ ที่นี้บางครั้งอาจมีการออก ค�ำตัดสินที่เป็นโทษกับผู้ปกครอง (คอลีฟะฮ์) แน่นอน ในสภาพเงื่อนไขเช่นนี้จึงกล่าวได้ว่า รัฐบาลของท่านอิ มามอะลี (อ.) มิได้เป็นแบบเอกบุคคล ที่หมายความ ว่าเป็นการปกครองแบบราชาธิปไตยและแบบเผด็จการ และมิใช่เป็นรัฐบาลแบบหมู่คณะ ที่ออกมาในรูปของ สภา และคณะกรรมการบริหาร หรือแบบขุนนางและ เผ่าชน แต่สามารถกล่าวได้ว่าเป็นการปกครองแบบ ผสม ถึงแม้ คอลีฟะฮ์ (ผู้ปกครองสูงสุด) จะมีอ�ำนาจ ทางจิตวิญญาณและอ�ำนาจรัฐก็ตาม แต่อำ� นาจบริหาร และอ�ำนาจตุลาการ ก็ถูกกระจายออกไปในส่วนต่างๆ ในลักษณะที่แม้แต่ในรัฐและแคว้นต่างๆ ของท้องถิ่น ก็มีการกระจายอ�ำนาจด้วยเช่นกัน ในข้อบัญญัติเกี่ยว กับการแต่งตั้งผู้ปกครอง อย่างเช่น ค�ำสั่งแต่งตั้งมาลิก อัชตัร การกระจายอ�ำนาจการบริหาร อ�ำนาจตุลาการ กองทัพและข้าราชการ ถูกอธิบายไว้อย่างดีเยีย่ มในการ ปกครองดินแดนอียิปต์ อีกประเด็นหนึ่ง เกี่ยวกับโครงสร้างทางอ�ำนาจ และการปกครองของท่านอิมามอะลี (อ.) นั้น คือมี การกระจายอ�ำนาจตามล�ำดับชั้น และในแต่ละส่วนจะ ต้องรับผิดชอบ และถูกตรวจสอบจากส่วนที่อยู่เหนือ

กว่า ในโครงสร้างนี้เจ้าหน้าที่ในชั้นแรกของรัฐบาลจะ รับผิดชอบในขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ของพวกเขา และ ท่านอิมามอะลี (อ.) จะท�ำหน้าที่แต่งตั้งและตรวจสอบ พวกเขา ท่านจะไม่เข้าไปแทรกแซงในการคัดเลือกเจ้า หน้าที่ในระดับรองลงไป ท่านเพียงแต่ให้ค�ำแนะน�ำแก่ ผู้ปกครองและผู้ครองแคว้นต่างๆ หนังสือเวียนทั่วไปที่ เกี่ยวกับเงื่อนไขการคัดเลือกเจ้าหน้าที่รัฐบาล ตุลาการ และข้าราชการ ในความเป็นจริงแล้วหน่วยงานของผู้ ปกครองในส่วนกลางมีหน้าที่สอดส่อง และก�ำกับดูแล ภาพรวมในกิจการทั้งหลาย ที่ก�ำลังด�ำเนินอยู่ในราช อาณาจักร ความเปลี่ยนแปลงทีเ่ กิดขึน้ ในสมัยการปกครอง ของท่านอิมามอะลี (อ.) คือการย้ายศูนย์กลางการ ปกครอง (คิลาฟะฮ์) จากนครมะดีนะฮ์ไปยังเมืองกูฟะฮ์ เนื่องจากสถานะทางยุทธศาสตร์ของเมืองกูฟะฮ์ตั้งอยู่ ในจุดกึง่ กลางของอาณาเขตการปกครอง ท�ำให้มคี วาม ง่ายดายมากยิง่ ขึน้ ส�ำหรับรัฐบาลกลางในการสอดส่อง ดูแลพื้นที่การปกครองของตนเอง (1) ประเด็นทีส่ าม เกีย่ วกับรูปแบบรัฐบาลของท่านอิ มามอะลี (อ.) คือการก�ำหนดแบบอย่างทีถ่ กู ต้องเหมาะ สมของอ�ำนาจการปกครอง ในทัศนะของท่านอิมามอะลี (อ.) และชีอะฮ์นั้น อ�ำนาจการปกครองที่ถูกต้องเหมาะ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 79


สมภายหลังจากท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ.) เจาะจงไปที่ ท่านอิมามอะลี (อ.) ด้วยหลักฐานต่างๆ ทางเหตุผลและ สติปญ ั ญาจากคัมภีรอ์ ลั กุรอานและฮะดีษ ท่านคือผูท้ ไี่ ด้ รับการแต่งตัง้ โดยตรงจากพระผูเ้ ป็นเจ้าและท่านศาสดา (ศ.) พระผูเ้ ป็นเจ้าจะไม่ทรงปล่อยให้กจิ การอันส�ำคัญยิง่ เกีย่ วกับผูน้ ำ� ทางศาสนา และต้นกล้าของรัฐบาลอิสลาม อยู่ในอ�ำนาจการเลือก และการตัดสินใจของประชาชน และสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ในต�ำบล “สะกีฟะฮ์” คือความเบีย่ งเบน ออกจากเส้นทางของริซาละฮ์ (สาส์นแห่งพระผูเ้ ป็นเจ้า) และไม่มคี วามชอบธรรมทางศาสนา แม้วา่ ประชาชนจะ ยึดมั่นต่อการให้สัตยาบัน (บัยอะฮ์) การปรึกษาหารือ (ชูรอ) และการประกาศความพึงพอใจและการยอมรับ ต่อสิ่งนั้นก็ตาม กล่าวอีกส�ำนวนหนึ่งก็คือ หลังจากการ เสียชีวติ (วะฟาต) ของท่านศาสดามุฮมั มัด (ศ.) แนวคิด และการปฏิบตั ขิ องมุสลิมท�ำให้รปู แบบการปกครองของ อิสลามเกิดขึ้นเป็นสองรูปแบบ และประสบการณ์ครั้ง แรกในการปกครองต้องเผชิญกับความท้าทายทีร่ นุ แรง รูปแบบแรก การปกครองทีช่ อบธรรมทีพ่ ระผูเ้ ป็น เจ้าทรงก�ำหนด และได้รับการแต่งตั้งโดยท่านศาสดา มุฮัมมัด (ศ.) การปกครองรูปแบบนี้ เนื่องจากกระแส ของการโฆษณาชวนเชือ่ ต่างๆ ของคูต่ อ่ สู้ จึงไม่สามารถ

80 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

สร้างฐานทางสังคมในหมูป่ ระชาชนได้ และต้อง ถูกโดดเดี่ยวเป็นเวลาถึง 25 ปี และใน ช่วงเวลาสั้นๆ ที่ประสบความส�ำเร็จ แต่ก็ต้อง เผชิญกับวิกฤตต่างๆ นานัปการ รู ป แ บ บ ที่ ส อ ง ก า ร ปกครองอิสลามได้รบั การเลือก ตั้ ง โดยอาศั ย การชู ร อ (การ ปรึ ก ษาหารื อ และการแต่ ง ตั้ง ของคนกลุ่มหนึ่ง) การให้ สัตยาบัน (บัยอัต) ต่อแกนน�ำ ของการปกครอง ในรู ป แบบ นี้ สามารถดึงดูดความคิดเห็น ของประชาชนได้ส�ำเร็จ และครอบครองอ�ำนาจการ เป็นผู้น�ำ ของประชาชาติอิสลามไว้ได้เป็นเวลา 25 ปี แต่ในที่สุดนโยบายต่างๆ ที่ไม่ถูกต้องของคอลีฟะฮ์ (ผู้ ปกครอง) คนที่สาม ก็น�ำไปสู่กระแสการต่อต้าน หน่วย งานการปกครอง (คิลาฟะฮ์) ขึน้ ในทุกทิศของอาณาจักร อิสลาม และการลุกฮือของสาธารณชนกลายเป็นสาเหตุ ท�ำให้คอลีฟะฮ์ (ผู้ปกครองถูกสังหาร) สังคมที่ออกห่าง จากอ�ำนาจการปกครองในอุดมคติแห่งอิสลาม ก็ได้รับ ความสนใจอีกครั้ง หลังจากเว้นวรรคไปหลายปี ท่านอิมามอะลี (อ.) ในขณะที่ชี้ให้เห็นถึงมรดก ในการปกครองของท่านที่ถูกแย่งชิงไป (2) แต่ท่านก็ ยอมรั บ อ� ำ นาจการปกครอง และการเป็ น ผู ้ น� ำ ของ ประชาชาติ เนื่องด้วยเหตุผลสองประการคือ ประการ แรก ความรับผิดชอบแห่งพระผูเ้ ป็นเจ้าในการเป็นผู้นำ� สังคมมุสลิม ในช่วงเวลาที่เจาะจงมาที่ท่านโดยตรง และอีกประการหนึ่งคือ การที่ประชาชนทั้งหมดหันมา หาท่าน และการร้องขอของพวกเขาเพือ่ ให้ทา่ นยอมรับ ต�ำแหน่งหน้าที่การเป็นผู้ปกครอง (คิลาฟะฮ์) ด้วยการ ยอมรับต�ำแหน่งหน้าที่ของท่าน ท�ำให้การปกครองใน รูปแบบแรกภายหลังจากท่านศาสดา (ศ.) จึงประสบ ผลส�ำเร็จในทางปฏิบตั ิ ด้วยเวลายาวนานมากกว่าสอง


ทศวรรษที่การเบี่ยงเบนทางการเมืองกลายเป็นสาเหตุ ท�ำให้สังคมอิสลามออกห่างจากเรื่องของจิตวิญญาณ และวัฒนธรรมอิสลาม ถึงขัน้ ทีว่ า่ แผนงานต่างๆ ในการ ปฏิรปู การปกครองของท่านอิมาม (อ.) ท�ำให้เกิดแนวคิด ทางการปกครองใหม่ที่เรียกว่า "การปกครองที่ยุติธรรม ของท่านอะลี (อ.)” ขึ้นในสังคมอิสลาม

หน่วยงานหลักในรัฐบาล ของท่านอิมามอะลี (อ.)

ปัจจุบันอ�ำนาจทางการเมืองแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ “อ�ำนาจบริหาร” “อ�ำนาจนิติบัญญัติ” และ “อ�ำนาจตุลาการ” ซึ่งแต่ละส่วนจะมีอ�ำนาจทางการ เงินของตนเองโดยเฉพาะ และการกระจายอ�ำนาจนี้จะ กระท�ำเพื่อสร้างความสมดุล และการถ่วงดุลระหว่าง หน่วยงานต่างๆ ทางการปกครอง และเป็นการปฏิเสธ การรวมศูนย์อ�ำนาจ ในสมัยของผู้ป กครองทั้งสี่ (คุอละฟาอ์ อั ร รอ ชิดนี ) รัฐบาลยังไม่สมบูรณ์เหมือนในปัจจุบนั หน่วยงาน หลักของรัฐบาลมีลกั ษณะทีเ่ รียบง่าย เนือ่ งด้วยเหตุผลที่ ว่ายังอยูใ่ นช่วงเวลาทีใ่ กล้กบั ยุคของการประทานวะฮ์ยู (วิวรณ์) และบทบัญญัติของศาสนา (ชะรีอะฮ์) บรรดา ซอฮาบะฮ์ (สาวกของท่านศาสดา) ก็มคี วามคุน้ เคยและ เข้าใจเกี่ยวกับแบบแผนของการตรากฎหมาย ซึ่งโดย ทัว่ ไปแล้วรัฐบาลจะปฏิบตั ไิ ปบนพืน้ ฐานบทบัญญัตขิ อง ศาสนา ในช่วงสมัยดังกล่าวนี้ รัฐบาลจะมีสองหน่วย งานหลักคือ 1) อ�ำนาจบริหาร และ 2) อ�ำนาจตุลาการ

ซึ่งเราจะอธิบายเกี่ยวกับทั้งสองหน่วยงานหลักนี้ดังต่อ ไปนี้คือ 1. สถาบันคอลีฟะฮ์ ในยุ ค สมั ย ของผู ้ ป กครองทั้ ง สี่ หน่ ว ยงานที่ ส�ำคัญที่มีอ�ำนาจสูงสุดในรัฐอิสลาม ก็คือสถาบันของ คอลีฟะฮ์ สถาบันนี้อยู่ในต�ำแหน่งเจ้าของบทบัญญัติ และเป็นตัวแทนของบทบัญญัติแห่งพระผู้เป็นเจ้า ท�ำ หน้าที่ทางการเมืองโดยการพิทักษ์ศาสนา และบรรดา มุสลิม (3) ผู้ที่รับผิดชอบต�ำแหน่งนี้เรียกว่า “คอลีฟะฮ์” (ผู้สืบทอดอ�ำนาจการปกครองแทนท่านศาสดา) และ “อิ มาม” (ผู ้ น� ำ) (4) เกี่ ย วกั บรากฐานการมี อ ยู ่ ข องคิ ลาฟะฮ์ (ต�ำแหน่งผู้ปกครอง) และความจ�ำเป็นภาย หลังจากท่านศาสนทูตแห่งอัลลอฮ์ (ศ.) ในหมู่มุสลิมมี ความเห็นตรงกันเป็นเอกฉันท์ และทุกมัซฮับ (นิกาย) ของอิสลาม ต่างยอมรับด้วยหลักฐานเหตุผลทางสติ ปัญญาและตัวบทหลักฐานที่ว่า การสืบสานภารกิจ ของท่านศาสดา (ศ.) นั้นขึ้นอยู่กับสถาบันคอลีฟะอ์ ความขัดแย้งทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับกรณีนี้ ท�ำให้ มุสลิมแบ่งออกเป็นนิกายชีอะฮ์และซุนนี ในประเด็น ที่มาของความชอบธรรมของคอลีฟะฮ์ (ผู้ปกครอง) มุสลิมส่วนใหญ่ปฏิเสธตัวบทหลักฐาน อันเป็นเฉพาะ เกี่ยวกับกรณีของผู้สืบทอดอ�ำนาจการปกครองต่อจาก ท่านศาสดา (ศ.) ให้มีการผ่อนปรนด้วยวิธีการคัดเลือก คอลีฟะฮ์ พวกเขาถือว่าผู้น�ำของสถาบันนี้คืออบูบักร อุมัร อุสมานและท่านอะลี (อ.) ตามล�ำดับ (5) ในขณะ ที่บุคคลเหล่านี้ได้รับอ�ำนาจการเป็นคอลีฟะฮ์ ด้วยวิธี การเฉพาะที่แตกต่างกันออกไป อบูบักรถูกคัดเลือก โดยคณะชูรอแห่งสะกีฟะฮ์ ซึ่งเสียงส่วนใหญ่คือชาว มุฮาญิรนี และชาวอันซอรทีอ่ ยูใ่ นมะดีนะฮ์ และคอลีฟะฮ์ ทีส่ องถูกแต่งตัง้ โดยอบูบกั ร คอลีฟะฮ์ทสี่ ามถูกคัดเลือก โดยชูรอ (คณะผู้ปรึกษาหารือ) จ�ำนวนหกคนของอุมัร และคอลีฟะฮ์ที่สี่ ถูกคัดเลือกโดยการรวมตัวชุมนุมที่ ยิ่งใหญ่ของประชาชนชาวมะดีนะฮ์ และตัวแทนหลาย พันคนจากชาวเมืองต่างๆ เช่นอียิปต์ กูฟะฮ์ บัศเราะฮ์

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 81


ยะมันและอื่นๆ อย่างไรก็ตาม คอลีฟะฮ์ทั้งหมดตั้งแต่ ชุดแรกภายหลังจากการเลือกตั้ง จะต้องเอาสัตยาบัน จากประชาชน ในความเชื่ อ ของชี อ ะฮ์ จะใช้ ส� ำ นวนค� ำ ว่ า “อิมาม” (ผู้น�ำ) และ “อิมามะฮ์” (ความเป็นผู้น�ำ) แทนส�ำนวนค�ำว่า “คอลีฟะฮ์” (ผู้สืบทอดอ�ำนาจการ ปกครอง) และ “คิลาฟะฮ์” (การสืบทอดอ�ำนาจการ ปกครอง) ด้วยเหตุผลของการเบี่ยงเบนที่เกิดขึ้นใน ซะกีฟะฮ์ พวกเขาถือว่ามีความแตกต่างกันระหว่างค�ำ ว่า “อิมาม” กับ “คอลีฟะฮ์” กล่าวคือ พวกเขาจะใช้คำ� ว่า “อิมาม” เป็นต�ำแหน่งของผูท้ มี่ สี ทิ ธิต์ ามบทบัญญัตขิ อง ศาสนา และมีความความชอบธรรมตามเจตนารมณ์ แห่งพระผู้เป็นเจ้า แม้ในปัจจุบัน (หรือในทางปฏิบัติ) จะยังไม่ได้เป็นผู้ปกครองก็ตาม ในทัศนะของชีอะฮ์นั้น จวบจนถึงสมัยการปกครองของท่านอิมามอะลี (อ.) ค�ำ ว่า “คอลีฟะฮ์” จะถูกใช้ในความหมายของผู้ปกครองที่ ปราศจากความชอบธรรมและเป็นผู้ที่แย่งชิงสิทธิ์ แต่ การขึ้นสู่อ�ำนาจการปกครองของท่านอิมามอะลี (อ.) ค�ำว่า “คอลีฟะฮ์” (สืบทอดอ�ำนาจการปกครอง) จะ ใช้เรียกแทนท่านพร้อมกับค�ำพ่วงท้ายว่า “บิลาฟัฎล์” (ในทันทีหลังจากท่านศาสดา) โดยการข้ามผ่านความ ขัดแย้งต่างๆ ทางความเชื่อแล้ว ต�ำแหน่งคอลีฟะฮ์ถือ ได้ว่าเป็นอ�ำนาจสูงสุดในรัฐบาลอิสลามภายหลังจาก

82 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

ท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ.) ท่านอัลลามะฮ์ฮิลลี่ ได้กล่าว ถึงต�ำแหน่งนีใ้ นฐานะ “ผูน้ ำ� ทัว่ ไปในกิจการทางศาสนา และทางโลก” (6) และมาวัรดีได้ให้คำ� จ�ำกัดความค�ำนีว้ า่ “ผู้พิทักษ์รักษาศาสนาและนโยบายบริหารทางโลก” (7) การวาดภาพให้เห็นถึงสถานะของอ�ำนาจ ใน ต�ำแหน่งคอลีฟะฮ์นั้น ท่านอิมามอะลี (อ.) ได้เปรียบ เทียบมันว่าเป็น “ขั้ว” และ “แกนหลัก” ในคุฏบะฮ์ “อัชชักชะกียะฮ์” (ธรรมเทศนาบทที่ 3) ท่านถือว่า ต�ำแหน่งคอลีฟะฮ์ของท่าน คือแกนหลักของโม่หิน โดย ท่านกล่าวว่า ‫ َوِإ َّن ُه َل َي ْع َل ُم‬،‫الن‬ ٌ ‫َما َواهلل َل َق ْد َت َق َّم َصها ُف‬ َ‫أ‬ ‫الر َحا‬ ُ ‫نها َم َح ُّل‬ َّ ‫أ‬، َ ‫َن َم َح ِّل َي ِم‬ َّ ‫الق ْط ِب ِم َن‬ “พึงสังวรเถิด ฉันขอสาบานต่ออัลลอฮ์วา่ แน่นอน ยิ่งชายผู้นั้น (อบูบักร) สวมต�ำแหน่งการเป็นผู้ปกครอง (คิลาฟะฮ์) ในขณะที่เขาเองรู้ดีว่าสถานะของฉันที่มีต่อ ต�ำแหน่งนี้ ประดุจดังแกนหลักของโม่หินที่หมุนไปรอบ ตัวของมัน” (8) ในเหตุการณ์ทอี่ มุ รั คอลีฟะฮ์ทสี่ องขอค�ำปรึกษา หารือจากท่านท่านอิมามอะลี (อ.) ในกรณีการบุกโจมตี อิหร่าน ท่านกล่าวกับเขาว่า َ ْ‫ِم ب أ‬ ‫ام ِم َن‬ ُ ‫ِال ْم ِر َم َك‬ ُ ‫َو َم َك‬ ِ ‫ان ال ِّن َظ‬ ِ ‫ان ا ْل َق ّي‬ ‫ َفِإ ِن ا ْن َق َط َع‬:‫ا ْل َخ َر ِز َي ْج َم ُع ُه َو َي ُض ُّم ُه‬ ‫ث َّم َل ْم َي ْج َت ِم ُع‬،ُ ‫ام َت َف َّر َق َو َذ َه َب‬ ُ ‫ال ِّن َظ‬ ِ ‫ِح َذ ِاف‬ ً‫ير ِه أ َ​َبدا‬ َ‫ب‬ “สถานะของต�ำแหน่งผู้ปกครอง (คิลาฟะฮ์) นั้น ประดุจดังสถานะของสายร้อยลูกประค�ำ ที่เชื่อมต่อลูก ประค�ำเข้าไว้ด้วยกัน หากสายร้อยนั้นขาดสะบั้นลงมัน ก็จะแตกกระจายและสูญหายไป และไม่อาจรวมมัน ทั้งหมดเข้าด้วยกันได้อีกตลอดไป” ต่อจากนั้นท่านแนะน�ำเขาว่า ‫الر َحا بِا ْل َع َر ِب‬ ْ ‫ َو‬،ً‫ف ُك ْن ُق ْطبا‬،َ َّ ‫اس َت ِد ِر‬ “ท่านควรจะเป็นเหมือนแกนหลักของโม่ (ไม่ตอ้ ง ออกไปสูส่ งครามด้วยตัวเอง) และจงท�ำให้โม่นนั้ หมุนไป


ด้วยการช่วยเหลือของชาว อาหรับ” (9) ในการที่ รวบรวม รายงานต่างๆ ทาง ประวัติศาสตร์ ซึ่งโดยตัว ของมั น ถู ก ใช้ เ ป็ น หนึ่ ง จากแหล่งอ้างอิงทางด้าน ฟิกฮ์ (นิติศาสตร์อิสลาม) ในยุ ค สมั ย ถั ด มา นั่ น ก็ คื อ สถาบั น คอลี ฟ ะฮ์ (ผู ้ ปกครอง) สถาบั น คอ ลี ฟ ะฮ์ คื อ สถาบั น ทาง ศาสนาประเภทหนึ่ง ของ รัฐบาลอิสลาม คอลีฟะฮ์ (ผู้ปกครอง) เป็นผู้ที่มีอ�ำนาจ สูงสุด และอ�ำนาจทางการเมือง จะหมุนไปบนแกน หลักของมัน คอลีฟะฮ์สามารถแต่งตั้งตัวแทนได้ โดย ปราศจากการวิพากษ์วิจารณ์จากประชาชน แม้เพียง เล็กน้อยก็ตาม (10) และจะมอบอ�ำนาจการปกครอง อิ ส ลามให้ แ ก่ ตั ว แทนผู ้ นั้ น และประชาชนก็ จ ะให้ สัตยาบันต่อเขา จะให้การสนับสนุนเขาด้วยชีวิตและ ทรัพย์สิ น ด้ ว ยเหตุ ผ ลของสถานะทางจิตวิญญาณ และต�ำแหน่งอันสูงส่ง ของความเป็นตัวแทนของท่าน ศาสดา น้อยมากที่การตัดสินใจต่างๆ ของคอลีฟะฮ์จะ ถูกประท้วงหรือคัดค้านจากประชาชน แม้กระทั่งว่าจะ มีความพยายามในการปกป้องกิจการต่างๆ ทีด่ ำ� เนินอยู่ ในหน่วยงาน ของค่อลีฟะฮ์ ด้วยการอรรถาธิบาย ต่างๆ นานา อย่างไรก็ตาม เนื่องจากสังคมของอิสลามมิได้ ทิ้งช่วงเวลาห่างจากยุคสมัย ของการประทานวะห์ ยู (วิวรณ์) เท่าใดนัก ส่วนใหญ่ประชาชนได้สัมผัสกับ ช่วงสมัยของท่านศาสดา (ศ.) และรับรู้ถึงวิถีชีวิตและ แบบฉบับ (ซุนนะฮ์) ของท่าน บรรดาค่อลีฟะฮ์ อัรรอ ชิดีนทุกคนเป็นส่วนหนึ่งจากบรรดาสาวก (ซอฮาบะฮ์) ชั้นแรก จากจุดนี้เอง ทั้งตัวผู้ปกครองก็ไม่พึงประสงค์

ที่จะกระท�ำในสิ่งที่เป็นการขัดแย้ง กับแบบฉบับของ ท่านศาสดา และประชาชนเองก็ไม่คาดหวังในสิ่งนั้น ด้วยเหตุผลดังกล่าวนี้ สังคมมีความพึงพอใจอย่าง สมบูรณ์ที่จะมอบอ�ำนาจทั้งหมดให้แก่หน่วยงานของค่ อลีฟะฮ์ และค่อลีฟะฮ์จะได้รับความรัก และแรงดึงดูด ใจในท่ามกลางประชาชน จะมีเพียงก็ในช่วงสมัยของค่อ ลีฟะฮ์ทสี่ าม ทีก่ ารวิพากษ์วจิ ารณ์ตอ่ ค่อลีฟะฮ์ได้เริม่ ต้น ขึน้ และในช่วงเวลานัน้ เองทีป่ ระชาชนเริม่ รูส้ กึ ว่าทิศทาง การด�ำเนินไปของกิจการต่างๆ เป็นสิง่ ทีข่ ดั แย้งกับแบบ ฉบับของท่านศาสดา (ศ.)

เงื่อนไขของค่อลีฟะฮ์ (ผู้ปกครอง)

ตรงข้ามกับซุนนี่ส่วนใหญ่ที่เชื่อว่า ตนเองคือ ทายาทของข้อเท็จจริงต่างๆ ทางประวัติศาสตร์ และ การรับรู้ของพวกเขา ที่เกิดจากอ�ำนาจที่เกิดขึ้นจริง (11) ชีอะฮ์เป็นชนกลุ่มน้อยกว่าที่รับรู้ในเรื่องนี้มาจากระบบ ความคิดและความรู้ในเชิงทฤษฎี มากกว่าข้อเท็จจริง ภายนอก รายงานต่างๆ จ�ำนวนมากจากท่านศาสดา ที่มีปรากฏ ในแหล่งอ้างอิงทั้งหลายของชีอะฮ์ ชี้ให้เห็น ถึงประเด็นที่ว่า ข้อเท็จจริง ที่เกิดขึ้นภายนอกนั้น บีบ บังคับ เหนือบรรดาชีอะฮ์ ในทัศนะของพวกเขา การเป็น ตัวแทน หรือผูส้ บื ทอด ของท่านศาสดา เป็นส่วนของ กฎ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 83


แห่งความกรุณา (กออิดะฮ์อัลลุฏฟุ์) ของพระผู้เป็นเจ้า ซึง่ ถือเป็นหนึง่ จากประเด็นทีม่ คี วามจ�ำเป็นทีส่ ดุ ทีพ่ ระผู้ เป็นเจ้าจะต้องก�ำหนดภารกิจนี้ ให้เกิดความชัดเจนภาย หลังจากท่านศาสดา (ศ.) และด้วยกับหลักฐานต่างๆ ที่จะพิสูจน์ว่า ท่านศาสดาได้ปฏิบัติตามภารกิจหน้าที่ นี้แล้ว (12) ท�ำนองเดียวกัน การด�ำเนินสืบเนื่องอย่างถูก ต้องของสาส์น (ริซาละฮ์) ของท่านศาสนทูตแห่งอัลลอฮ์ (ศ.) และการพิทักษ์รักษาศาสนาและการเมืองทางโลก ของประชาชนได้เป็นตัวก�ำหนดถึงความจ�ำเป็นนีท้ วี่ า่ ผู้ สืบทอดต่อจากท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ.) จะต้องเป็นผู้ สะอาดบริสุทธิ์ และได้รับการพิทักษ์ปกป้องจากความ ผิดบาป (อิศมะฮ์) ในด้านของวิชาการ ความรูแ้ ละความ ประเสริฐนัน้ จะต้องเหนือกว่าประชาชนทัง้ มวล โดยรวม แล้วในท้ศนะของชีอะฮ์ ค่อลีฟะฮ์ (ผูป้ กครอง) จะต้องมี คุณลักษณะต่างๆ ดังต่อไปนี้คือ 1. ค่อลีฟะฮ์จะต้องเป็นมะอ์ซูม (ผู้บริสุทธิ์จาก ความผิดบาป) เมื่อพิสูจน์ด้วยเหตุผลทางสติปัญญา โดยกฎแห่งความกรุณาของพระผู้เป็นเจ้าแล้ว การ แต่งตั้งค่อลีฟะฮ์และผู้น�ำ (อิมาม) ถือเป็นสิ่งจ�ำเป็น (วาญิบ) และความจ�ำเป็นในการมีอยู่ของเขาก็จะเป็น ตัวก�ำหนดถึงความจ�ำเป็นของความบริสุทธิ์จากความ ผิดบาป (อิศมะฮ์) ด้วยเช่นกัน ทั้งนี้เนื่องจากว่าหาก ค่อลีฟะฮ์ ไม่ได้รับการพิทักษ์ให้บริสุทธิ์จากความผิด บาปแล้ว ประโยชน์ของการแต่งตั้งเขาก็จะหมดไป เขา ก็จะไม่สามารถพิทักษ์รักษาบทบัญญัติเอาไว้ได้ 2. ค่อลีฟะฮ์จะต้องถูกแต่งตั้งโดยตรงจากตัวบท ของศาสนา (มันซูซ) : เนื่องจากความบริสุทธิ์จากบาป (อิศมะฮ์) คือเงื่อนไขหลักของค่อลีฟะฮ์และการจ�ำแนก แยกแยะในเรื่องนี้จะไม่สามารถกระท�ำได้ นอกจาก โดยวิวรณ์เพียงเท่านั้น ด้วยเหตุนี้การแต่งตั้งและการ ก�ำหนดตัวค่อลีฟะฮ์ (ผู้ปกครอง) จะต้องอาศัยตัวบทที่ ชัดเจนจากพระผู้เป็นเจ้าและศาสนทูต (ศ.) (13) 3. ค่อลีฟะฮ์จะต้องมีความประเสริฐ (อัฟฎ้อล) กว่าประชาชนทุกคนในยุคสมัยของตนเอง ตรงข้าม

84 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

กับความเชื่อของชามุอ์ตะซีละฮ์ ที่อนุญาตให้ผู้ที่มี ความประเสริฐน้อยกว่า (มัฟฎูล) เป็นผู้น�ำผู้ที่ประเสริฐ มากกว่า (ฟาฎิล) (14) แต่ชอี ะฮ์เชือ่ ว่าอิมามและค่อลีฟะฮ์ ตามการตัดสินของสติปญ ั ญาและตัวบทศาสนานัน้ จะ ต้องเป็นบุคคลทีป่ ระเสริฐทีส่ ดุ ในยุคสมัยของตน เพราะ การให้ความส�ำคัญและเลือกคนทีม่ คี วามประเสริฐน้อย กว่าทัง้ โดยสติปญ ั ญาและโดยบทบัญญัตแิ ล้วถือว่าเป็น เรื่องที่น่าเกลียด 4. ค่อลีฟะฮ์ต้องเป็นผู้มีความยุติธรรม (อาดิล) : ในทัศนะของชีอะฮ์ ความยุติธรรม (อะดาละฮ์) คือ ส่วนที่ไม่อาจแยกได้จากความบริสุทธิ์ จากความผิด บาป (อิศมะฮ์) แม้ในทัศนะของอะฮ์ลิซซุนนะฮ์ซึ่งไม่ เชื่อในเรื่องของความบริสุทธิ์จากความผิดบาป ของ ค่อลีฟะฮ์ แต่พวกเขาถือว่าเงื่อนไขของความยุติธรรม (อะดาละฮ์) เป็นสิ่งจ�ำเป็นส�ำหรับผู้สืบทอดของท่าน ศาสดา (ศ.) พวกเขาได้รบั รองเงือ่ นไขข้อนีด้ ว้ ยกฎทัว่ ไป ประการหนึง่ นัน่ ก็คอื “ความยุตธิ รรมของสาวก” (อะดา ละตุซซ่อฮาบะฮ์) (15) ในทัศนะของอะฮ์ลซิ ซุนนะฮ์ บรรดา ซอฮาบะฮ์และผูท้ อี่ ยูร่ อบตัวท่านศาสดา (ศ.) ทัง้ มวลนัน้ เป็นผู้ที่มีความยุติธรรมแม้จะมีความขัดแย้งต่างๆ ทาง ด้านการวินิจฉัย (อิจญ์ติฮาด) และรสนิยม 5. ความสามารถในการเป็นผู้น�ำ : ค่อลีฟะฮ์ จะต้องมีเงื่อนไขต่างๆ ทางด้านร่างกายและด้านจิต วิญญาณที่สมบูรณ์ ส�ำหรับการเป็นผู้น�ำของสังคม อิสลาม เงื่อนไขข้อนี้มีปรากฏอยู่ในแหล่งอ้างอิงของ


อะฮ์ลิซซุนะฮ์เช่นกัน (16) 6. จะต้องมีสายเลือดเป็นชาวกุเรช : บนพื้นฐาน การอ้างเหตุผลของอบูบกั รในเหตุการณ์ตำ� บลซะกีฟะฮ์ โดยใช้รายงาน บทหนึ่งจากท่านศาสดา (ศ.) ที่กล่าวว่า “บรรดาผู้น�ำ (อิมาม) นั้นมาจากชาวกุเรช” ดั ง นั้ น อะฮ์ ลิ ซ ซุ น นะฮ์ จึ ง เชื่ อ มั่ น ว่ า ค่ อ ลี ฟ ะฮ์ จะต้องมาจากชาวกุเรชเท่านั้น (17) ยกเว้นนักวิชาการ (อุละมาอ์) ซุนนีจ�ำนวนเพียงเล็กน้อย อย่างเช่น กอฎี อบูบกั ร บากิลานี อัชอะรี และอิบนุคอ็ ลดูน ส่วนคนอืน่ ๆ ยอมรับเงื่อนไขข้อนี้ ในทัศนะของชีอะฮ์ เนื่องจากการ แต่งตั้งอิมาม เป็นตัวบทโดยตรงที่มาจากพระผู้เป็นเจ้า ดังนั้นการคัดเลือกของประชาชนจึงถูกปฏิเสธ และบน พื้นฐานของตัวบทนั้น บรรดาค่อลีฟะฮ์ของท่านศาสดา (ศ.) ได้ถกู เจาะจงไว้วา่ มีจำ� นวน 12 คน จากเชือ้ สายของ ท่านหญิงฟาฏิมะฮ์ อัซซะฮ์รอ (อ.) ซึง่ ความเป็นกุเรชของ บุคคลทั้ง 12 คน จึงเป็นที่ชัดเจนยิ่ง

(7) อัลอะห์กามัซซุลฏอนียะฮ์, อบุลฮะซัน มาวัรดี หน้าที่ 19 – 28 (8) นะฮ์ญุลบะลาเฆาะฮ์ คุฏบะฮ์ที่ 3 (9) นะฮ์ญุลบะลาเฆาะฮ์ คุฏบะฮ์ที่ 146 (10) ตารีค ฟัครี, อบนุ ฏ็อกฏอกี หน้าที่ 102 – 103 (11) กุดรัต ดอนิช วะมัชรูอียัต ดัรอิสลาม, ดาวูด ฟีรฮี (12) อัรร่อวาชิห์, มุฮัมมัด บากิร มีรดามาด หน้าที่ 12 (13) หนังสืออ้างอิงเล่มเดิม, หมวด ชัรห์ ตะก็อดุมิฮี ตัก วีมุลอีมาน, หน้าที่ 50 ; และหมวด อัชชาเรี๊ยะอ์ อันนะญาต, หน้าที่ 73 – 74 (14) อัลบาบุลฮาดี อะชัร, ฮะซัน บินยูซุฟ หน้าที่ 69-76 ; อะกออิดุลอิมามิยะฮ์, มุฮัมมัดริฎอ มุซ็อฟฟัร หน้าที่ 49-67 (15) พิจารณาดูในหนังสือ นะซอรียะฮ์ อะดาละตุซซ่อ ฮาบะฮ์, อะห์มัดฮุเซน ยะกูบ อัลมะฮามี (16) อัลมุก็อดดิมะฮ์, อิบนุค็อลดูน หน้าที่ 193 (17) หนังสืออ้างอิงเดิม

อ้างอิง

(1) อับกอรียะฮ์ อัลอิมาม อะลี (อ.), อับบาส มะห์มูด อัลอักก๊อด หน้าที่ 128 (2) นะฮ์ญุลบะลาเฆาะฮ์ คุฏบะฮ์ที่ 3 (3) อัลมุก็อดดิมะฮ์, อิบนุค็อลดูน เล่มที่ 1 หน้าที่ 191 (4) ในช่วงเริ่มต้นอบูบักรถูกเรียกว่า “ค่อลีฟะฮ์ ร่อซู ลุลลอฮ์” (ผู้ท�ำหน้าที่ปกครองแทนท่านศาสดา) ภายหลังจาก เขา อุมัรในช่วงเริ่มต้นก็ถูกเรียกว่า “ค่อลีฟะฮ์ ร่อซูลุลลอฮ์” แต่ ต่อมาเรียกว่า “ค่อลีฟะฮ์” เพียงเท่านัน้ และเขาเองได้เลือกฉายา นามส�ำหับตัวเองว่า “อะมีรุลมุอ์มินีน” (ผู้น�ำของศรัทธาชน) ใน ทัศนะของชีอะฮ์นั้น บนพื้นฐานของฮะดีษ (วจนะ) ของท่าน ศาสดา และริวายะฮ์ (ค�ำรายงาน) ต่างๆ ของชีอะฮ์ ต�ำแหน่งนี้ ใช้เรียกเฉพาะท่านอิมามอะลี (อ.) เท่านั้น (5) ชีอะฮ์ทั้งหมดและอะฮ์ลิซซุนนะฮ์จ�ำนวนมากถือว่า ท่านอิมามฮะซัน มุจญ์ตะบา (อ.)เป็นส่วนหนึ่งจาก คุละฟาอ์ อัรรอชิดีน (ดูได้จากหนังสือมุรูญุซะฮับ, อะลี มัซอูดี, เล่มที่ 2 หน้าที่ 3 ; ตารีค อัลคุละฟาอ์, อับดุรเราะห์มาน ซุญูฏี, หน้าที่ 9 ; ตารีค ยะอ์กูบี, อะห์มัด บินอบียะอ์กูบ, เล่มที่ 2 หน้าที่ 141) (6) อัลบาบุ อัลฮาดี อะชัร, ฮะซัน บินยูซฟุ ฮิลลี่ หน้าที่ 69

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 85


ถอดความโดย

เชคอิมรอน พิชัยรัตน์

ค�ำตอบจาก

ปราชญ์แห่ง อัลกุรอาน อายะตุลลอฮ์ ญาวาดี ถาม :การอ่านอัลกุรอานโดยไม่รถู้ งึ ความหมาย มีประโยชน์หรือไม่ ตอบ : หากเราได้รถู้ งึ ความประเสริฐอย่างแท้จริง ของอัลกุรอานพร้อมกับรู้ถึงความส�ำคัญในการอ่านอัล กุรอาน และรู้ว่าอัลกุรอานคือบทสนทนาระหว่างพระผู้ เป็นเจ้ากับมนุษย์แล้วเราได้ดื่มด�่ำกับอรรถรสของการ อ่านอัลกุรอานด้วยจิตใจที่บริสุทธิ์ตลอดจนมีความผูก พันกับอัลกุรอานแล้วไซรื เราก็จะไม่ยอมอออกห่างจา กอัลกุรอานและจไม่ยอมสูญเสียโอกาสอันยิง่ ใหญ่ทเี่ รา จะต้องอ่านอัลกุรอาน ให้ดได้อย่างวันละ 50 โองการ พระองค์อัลลอฮ์ (ซ.บ.) ได้แจ้งให้ทราบว่าท่าน ศาสดามุฮัมมัด (ศ.) อยู่ภายใต้ความคุ้มครองของ พระองค์โดยตรง โดยได้กล่าวไว้ในอัลกุรอานว่า “แท้จริงผู้คุ้มครองของฉันนั้นคือ อัลลอฮ์ ผู้ทรง ประทานคัมภีร์ลงมาและในขณะเดียวกันพระองค์ก็ ทรงคุ้มครองบรรดาผู้ประพฤติดี” (อัลอะอ์รอฟ โองการ ที่ 196) ในโองการนี้ได้ชี้ให้เห็นถึงหลายประเด็นด้วยกัน 86 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

ออมูลี

คือ (ศ.)

1. พระองค์อัลลอฮ์คือ ผู้คุ้มครองท่านศาสนทูต

2. ผู้คุ้มคาองท่านศาสนทูต (ศ.) เป็นผู้ประทา นอัลกุรอาน 3. พระองค์อัลลอฮ์ ทรงเป็นผู้คุ้มครองบรรดาผู้ ประพฤติดี เมื่อพิจารณาถึงสามประเด็นดังกล่าวนี้ท�ำให้ เราเข้าใจได้ว่า พระองค์จะทรงเป็นผู้คุ้มครองมนุษย์ ก็ ต่อเมื่อมนุษย์ผู้นั้นต้องประพฤติดี คือ ตราบใดก็ตาม ที่มนุษยืยังประพฤติดีไม่ได้ เขาผู้นั้นก็ยังไม่อยู่ภาย ใต้การคุ้มครองจากพระองค์อัลลอฮ์อย่างแน่นอน ซึ่ง แนวทางที่ดีที่สุดที่จะท�ำให้เราเป็นผู้ประพฤติดีได้ก็คือ เขาผูน้ นั้ จะต้องมีความผูกพันกับอัลกุรอาน ความหมาย ของโองการข้างต้น ชี้ให้เห็นว่าผู้ที่คุ้มครองท่านศาสน ทูต (ศ.) ก็คือพระผู้เป็นเจ้าที่ทรงประทานอัลกุรอาน ฉะนั้นหากพิจารณาให้ดีจากความหมายดังกล่าว ย่อม แสดงให้เห็นถึงสาเหตุของการคุ้มครอง ที่ว่าใครก็ตาม


ที่ปฏิบัติตามอัลกุรอาน เขาย่อมจะเป็นผู้ประพฤติดี และพระองค์ก็ย่อมจะคุ้มครองผู้ที่อยู่ในหนทางของอัล กุรอาน ด้วยเหตุนี้เอง อัลกุรอานจึงกล่าวว่า “พวกเจ้าจง อ่านอัลกุรอาน ตามแต่สะดวก (เท่าทีจ่ ะอ่านได้) เถิด (ซู เราะฮ์ มุซซัมมิล โองการที่ 20) หมายความว่า พวกเจ้า จงอ่านอัลกุรอานเท่าที่พวกเจ้าสามารถจะอ่านได้ ถึง แม้จะไม่เข้าใจถึงความหมายของซูเราะฮ์ หรือความ หมายของโองการนั้น ๆ ที่มีอยู่ในอัลกุรอานก็ตาม แต่ อย่ากล่าวว่า การอ่านทีไ่ ม่รคู้ วามหมายนัน้ ย่อมไม่มผี ล อันใด ที่ไม่ให้กล่าวเช่นนี้ก็เพราะว่า อัลกุรอานมิใช่ค�ำ กล่าวของมนุษย์ในความหมายที่ว่า หากเราไม่รู้ความ หมายก็จะไม่เกิดผลอันใด ทว่าอัลกุรอานเป็นรัศมีแห่ง ผู้เป็นเจ้า เพียงแค่อ่านอย่างเดียว แม้จะไม่รู้ถึงความ หมายก็ถือว่าเป็นการท�ำอิบาดะฮ์แล้ว ถาม : วิ ธี ที่ ดี ที่ สุ ด ส� ำ หรั บ การอ่ า นและการ ท�ำความเข้าใจกับอัลกุรอานคืออะไร ? ตอบ : วิธีที่ดีที่สุดส�ำหรับการอ่านอัลกุรอานพร้ อมกับเข้าใจในความหมายก็คือ อ่านอัลกุรอานพร้อม กับไตร่ตรองความหมายของโองการนั้นๆว่ามีความ หมายอย่างไร แล้วพยายามให้โองการต่างๆที่อ่านนั้น สนทนากับจิตของเรา ซึ่งถ้าเป็นโองการที่เกี่ยวกับการ ลงโทษของพระองค์ ก็ให้อ่านพร้อมกับกล่าวขออภัย โทษต่อพระองค์ แต่ถ้าเป็นโองการที่เกี่ยวกับความ เมตตาก็ให้วอนขอต่อพระองค์ และพยายามดึงประเด็น ทางวิชาการจากโองการที่ได้อ่านไปด้วย เวลาที่อ่านอัลกุรอานด้วยการออกเสียง เราก็จะ

ได้ยินค�ำเหล่านี้เข้าสู่โสตประสาทหูของเรา แต่ในขณะ เดียวกันต้องให้ความหมายซึมซับเข้าสู่จิตใจของเรา ด้วย แต่ถา้ หัวใจปิดสนิท ความหมายของอัลกุรอานก็ไม่ สามารถซึมซับเข้าสูจ่ ติ ใจได้ อัลกุรอานกล่าวถึงประเด็น นี้ไว้ว่า “พวกเขามิได้ใคร่ครวญอัลกุรอานหรอกหรือ ? หรือว่าบนหัวใจของพวกเขามีกุญแจหลายดอกลั่นอยู่” (ซูเราะฮ์มุฮัมหมัด โองการที่ 24) และมีกล่าวไว้ในอีกโองการหนึ่งว่า “มิใช่เช่นนั้น ทว่าสิ่งที่พวกเขาได้ขวนขวายไว้ ได้เป็นสนิมบนหัวใจ ของพวกเขา” (ซูเราะฮ์ อัลมุฏอฟฟิฟีน โองการที่ 14) ความบาป ความละเมิดและการหลงใหลต่อ ดุนยาจะท�ำให้หัวใจถูกปิดกั้นมิให้วิทยาการแห่งอัลกุ รอานซึมซับเข้าไปภายในจิตใจได้ มนุษย์จะต้องขจัดสิง่ สกปรกโสมมเหล่านี้ และเปิดหัวใจของเขาให้ได้ พร้อม ทัง้ ปูทางไปสูก่ ารซึมซับความหมายของอัลกุรอาน ซึง่ ถ้า หากท�ำเช่นนีไ้ ด้ เขาย่อมจะอ่านอัลกุรอานได้อย่างดืม่ ด�ำ่ เขาจะเรียกร้องและแสวงหาในสิง่ ทีด่ งี าม เมือ่ เขาได้อา่ น โองการทีเ่ กีย่ วกับความดีงาม ความรู้ และวิทยาการ เขา จะขออภัยโทษต่อพระองค์ พร้อมทั้งขอให้ตนเองรอด ปลอดภัยจากการลงโทษ หากได้อา่ นโองการทีเ่ กีย่ วกับ การลงโทษจากพระองค์ ถาม : มีบางคนกล่าวว่าอัลกุรอานเล่มนี้ถูก บิดเบือน ขอให้ท่านช่วยชี้แจงเรื่องนี้ด้วย ตอบ: อัลกุรอานเล่มนีเ้ ป็นคัมภีรท์ บี่ นั ทึกจากค�ำ บอกกล่าวทีอ่ อกจากปากของท่านศาสนทูต (ศ.) และค�ำ บอกกล่าวทีอ่ อกมาจากปากของท่านศาสนทูต (ศ็อลฯ) ก็ตรงกันทุกประการกับสิง่ ทีถ่ กู ประทานลงมายังจิตของ ท่าน และสิง่ ทีถ่ กู ประทานให้แก่ทา่ นศาสนทูต (ศ็อลฯ) ก็ คือสิง่ เดียวกันกับทีส่ งิ่ ทีพ่ ระผูเ้ ป็นเจ้าทรงประทานมาให้ ซึ่งเราสามารถพิสูจน์ได้ด้วยเหตุผลทางสติปัญญาและ เหตุผลจากการบันทึกที่สามารถใช้เป็นหลักฐานยืนยัน เหตุ ผ ลทางสติ ป ั ญ ญาก็ คื อ พระองค์ อั ล อฮ์ (ซ.บ.) ไม่เคยทีจ่ ะปล่อยให้บรรดาปวงบ่าวของพระองค์ ปราศจากสิ่งชี้น�ำอย่างเด็ดขาด

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 87


“และเพี ย งพอส� ำ หรั บ องค์ อ ภิ บ าลของเจ้ า ที่ จะเป็นผู้น�ำทางและผู้ช่วยเหลือ” (ซูเราะฮ์อัลฟุรกอน โองการที่ 31) หากว่าศาสนานี้เป็นศาสนาสุดท้ายและศาสน ทูตของศาสนาเป็นศาสนทูตท่านสุดท้ายแล้ว ศาสนานี้ ก็ยังที่จะถูกบิดเบือนได้อีก ก็เท่ากับว่าพระองค์อัลลอฮ์ (ซ.บ.)ทรงเลิกทีจ่ ะสนใจการชีน้ ำ� มนุษยชาติ ด้วยเหตุผล ที่ว่า พระองค์ได้ทรงประทานคัมภีร์และศาสนามาให้ แก่มนุษย์โดยสามารถเพิ่มเติมหรือตัดทอนไปได้ตาม สถานการณ์ที่เกิดขึ้น ซึ่งท�ำให้ความสมบูรณ์และความ ถูกต้องของอัลกุรอานสูญหายไป ดังนั้นศาสนานี้ย่อม ต้องเป็นศาสนาที่ใช้ไม่ได้ หมายความว่า พระองค์ทรง ปล่อยมนุษย์ให้ดำ� เนินชีวติ ไปตามยถากรรม ซึง่ แน่นอน ที่สุด สิ่งนี้ย่อมขัดแย้งกับความเป็นพระเจ้าที่ทรงไว้ซึ่ง วิทยปัญญา (หมายถึงพระองค์ยอ่ มไม่ทำ� ในสิง่ ทีไ่ ร้สาระ อย่างแน่นอน) ส่วนเหตุผลจากการบันทึกทีส่ ามารถใช้เป็นหลัก 88 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

ฐานยืนยันได้ก็คือ ตัวบทอัล กุรอาน พระองค์ได้ตรัสไว้ใน ซูเราะฮ์อัลฮิจร์ โองการที่ 9 ว่า “แท้จริงเราได้ประทานข้อ ตักเตือน (อัลกุรอาน) ลงมา และแท้จริงเราเป็นผู้พิทักษ์ รักษามันไว้อย่างแน่นอน และพระองค์ ยั ง ได้ ตรั ส ไว้ ใ นซู เ ราะฮ์ ฟุ ศ ศิ ลั ต ตอนท้ายของโองการที่ 41 และโองการที่ 42 ว่า “แท้ จริ ง อั ล กุ ร อเนเป็ น คั ม ภี ร ์ ที่ ทรงอ�ำนาจยิง่ ความเท็จจาก ด้านหน้า และด้านหลังจะไม่ คืบคลานเข้าสู่อัลกุรอานได้ (เพราะ) ถูกประทานลงมา จากพระผู ้ ท รงปรี ช าญาณ ผู้ทรงได้รับการสรรเสริญ” หากอั ล กุ ร อานสามารถที่ จ ะถู ก บิ ด เบื อ นได้ หมายความว่า อาจมีการเพิ่มเติมหรือตัดทอน ซึ่งก็ เท่ากับว่า อัลกุรอานเล่มนี้สามารถที่จะรับความเท็จ เข้ามาได้ ในขณะที่อัลกุรอานกล่าวไว้อย่างชัดเจนว่า “ความเท็จไม่อาจที่จะคืบคลานเข้าสู่อัลกุรอานได้ ไม่ ว่าจากทางด้านหน้าหรือด้านหลัง” ซึ่งหมายถึงไม่มีสิ่งที่เป็นเท็จใด ๆ จะเข้าสู่อัลกุ รอานได้ ไม่วา่ ในช่วงเวลาทีอ่ ลั กุรอานถูกประทานลงมา ให้แก่ท่านศาสนทูต (ศ็อลฯ) หรือหลังจากท่อัลกุรอาน ได้ถูกประทานมาแล้ว หรือภายหลังจากที่ท่านศาสน ทูต (ศ็อลฯ) เสียชีวิตลง สรุปก็คือ ความเป็นเท็จมิอาจ คืบคลานเข้าสู่อัลกาอานได้เลยเป็นอันขาด ถาม : ท�ำไมอัลกุรอานจึงใช้รูปประโยคสนทนา กับบุรุษเท่านั้น ? ตอบ : ในวัฒนธรรมของการสนทนา ค�ำว่า ประชาชนนั้นไม่ได้ถูกจ�ำกัดไว้เพียงแค่บุรุษเท่านั้น


บางครั้งก็ใช้ค�ำว่า สุภาพบุรุษ และสุภาพสตรี และบาง ครั้งก็กล่าวโดยรวมว่า ประชาชน ประชาชน หมายถึง บุคคลทุกคนในสังคมไม่ว่าจะเป็นบุรุษหรือสตรี หาก กล่าวว่าสุภาพบุรุษก็แสดงให้เห็นว่าตรงข้ามกับสุภาพ สตรี และหากกล่าวว่าสุภาพสตรีก็ชี้ให้เห็นว่าตรงข้าม กับสุภาพบุรุษ ในวัฒนธรรมการสนทนาทัง้ ในโลกตะวันตกและ ในโลกตะวันออกต่างก็กล่าวกันว่า ประชาชนเป็นอย่าง นั้น ประชาชนเป็นอย่างนี้ ประชาชนได้ท�ำการปฏิวัติ ได้ท�ำการต่อสู้ ฯลฯ เมื่อเขากล่าวว่า ประชาชน นั่นก็ หมายความไม่ได้จำ� กัดเฉพาะบุรษุ เพศเท่านัน้ อัลกุรอา นก็กล่าวไว้ใน 3 ลักษณะ คือ บางครั้งกล่าวสนทนากับ สังคมโดยรวม แต่ใช้สรรพนามของบุรุษ เช่น (อัลละซี นะ) (อัลมุอ์มินูนะ) บางครั้งก็ใช้ค�ำที่กล่าวถึงบุรุษเพศ โดยกล่าวเน้นถึงภาระหน้าที่เฉพาะส�ำหรับบุรุษ และ บางครั้งก็ใช้ค�ำที่กล่าวถึงสตรีเพศ โดยกล่าวเน้นถึง ภาระหน้าที่เฉพาะส�ำหรับสตรี วัฒนธรรมในการสนทนา คือวัฒนธรรมทั่วไป ของประชาชน ไม่ใช่เฉพาะเจาะจงส�ำหรับบุรุษเท่านั้น ซึ่งอัลกุรอานก็ใช้ค�ำตามพื้นฐานของวัฒนธรรมการ สนทนานี้ บางครั้งพระผู้เป็นเจ้าตรัสถึงท่านหญิงมัรยัม ว่าเป็นแบบอย่างทีด่ สี ำ� หรับผูค้ น หรือท่านหญิงอาซียะฮ์ คือแบบอย่างที่ดีส�ำหรับผู้คน ดังที่กล่าวว่า : ‫آمنُوا ا ِ ْم َرأَ َة فِ ْر َع ْو َن‬ َ ‫َو َض َر َب اللهَّ ُ َمثَال لِلَّ ِذ‬ َ ‫ين‬ “และอัลลอฮ์ทรงยกอุทาหรณ์แก่บรรดาผูศ้ รัทธา ถึงภรรยาของฟิรอูน” (ซูเราะฮ์ตะห์รีม โองการที่ 11) หรือโองการทีก่ ล่าวถึงภรรยาของศาสดานูห์ (อ.) และศาสดาลูฏ (อ.) ว่าพวกนางคือแบบอย่างที่ไม่ดี ส�ำหรับผู้คน ดังโองการ : ٍ ُ ‫وح َو ْام َرأَ َة ل‬ ‫وط‬ ٍ ُ ‫ين َك َف ُروا ا ِ ْم َرأَ َة ن‬ َ ‫َض َر َب اللهَّ ُ َمثَال لِلَّ ِذ‬ “อัลลอฮ์ทรงยกอุทาหรณ์แก่บรรดาผู้ปฏิเสธถึง ภรรยาของนูห์ และภรรยาของลูฏ” (ซูเราะฮ์ตะห์รีม โองการที่ 10) บรรดาอิมาม (อ.) ก็เป็นแบบอย่างที่ดีส�ำหรับ

ประชาชนทุกคนในสังคม ซึ่งไม่ว่าจะเป็นบุราหรือสตรี ต้องยึดมั่นและปฏิบัติตาม ท่านหญิงฟาติมะฮ์ (อ.) ก็ เช่นกันเป็นแบบอย่างทีด่ สี ำ� หรับผูค้ นทัว่ ไป ไม่ใช่เฉพาะ ส�ำหรับสตรีเท่านัน้ พระผูเ้ ป็นเจ้าไม่ได้ตรัสว่า แบบอย่าง ของสตรีทดี่ คี อื ภรรยาของฟิรอูน และไม่ได้ตรัสว่า แบบ อย่างที่ดีของสตรี คือท่านหญิงมัรยัม (อ.) แต่พระองค์ ตรัสว่า ท่านหญิงมัรยัมและท่านอาซียะฮ์ คือแบบอย่าง ที่ดีส�ำหรับผู้คนทั่วไป สรุปก็คือ มนุษย์ที่ดี คือแบบอย่างส�ำหรับผู้อื่น ไม่ว่าเขาผู้นั้นจะเป็นบุรุษหรือสตรีก็ตาม พระผู้เป็นเจ้า ตรัสไว้ในซูเราะฮ์นะห์ลิ โองการที่ 97ว่า : ‫َم ْن َع ِم َل َصال ِ ًحا ِم ْن َذ َك ٍر أَ ْو أُنْثَى َو ُه َو ُم ْؤ ِم ٌن فَ َلنُ ْحيِيَنَّ ُه‬ ‫َحيَا ًة َطيِّبَ ًة‬ “ผูใ้ ดปฏิบตั ติ ามความดีไม่วา่ จะเป็นเพศชายหรือ เพศหญิงก็ตาม โดยเขาเป็นผูศ้ รัทธา ดังนัน้ เราจะให้เขา ด�ำรงชีวิตที่ดี” และในท้ายซูเราะฮ์อาลิอิมรอนว่า ُ َ ‫يع َع َم َل َعا ِملٍ ِم ْن ُك ْم‬ َ ‫استَ َج‬ ُ ‫اب ل َ ُه ْم َرب ُّ ُه ْم أن ِّي ال أ ِض‬ ْ َ‫ف‬ ٍ ‫ِم ْن َذ َك ٍر أَ ْو أُنْثَى ب َ ْع ُض ُك ْم ِم ْن ب َ ْع‬ ‫ض‬ “แล้วพระผูอ้ ภิบาลของพวกเขาก็ตอบรับพวกเขา ว่า แท้จริงข้าจะไม่ท�ำให้การงานของผู้หนึ่งผู้ใดในหมู่

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 89


สูเจ้าสูญเสียไปไม่ว่าจะเป็นชายหรือหญิงก็ตาม โดยที่ บางส่วนของพวกเจ้านั้นมาจากอีกบางส่วน” (ซูเราะฮ์ อาลิอิมรอน โองการที่ 195) ในซูเราะฮ์อะห์ซาบก็กล่าวถึงบุรษุ และสตรีควบคู่ กันไปอย่างละเอียดว่า ِ َ‫ين َوال ْ ُم ْؤ ِمن‬ ِ ‫ين َوال ْ ُم ْسلِ َم‬ ‫ات‬ َ ِ‫ات َوال ْ ُم ْؤ ِمن‬ َ ‫إِ َّن ال ْ ُم ْسلِ ِم‬ ِ َ‫ين َوال ْ َقانِت‬ ‫ات‬ َ ِ‫َوال ْ َقانِت‬ “แท้จริง บรรดาผู้นอบน้อมชายและหญิง บรรดา ผู้ศรัทธาชายและหญิง บรรดาผู้ภักดีชายและหญิง บรรดาผูอ้ ดทนชายและหญิง” (ซูเราะฮ์อะห์ซาบ โองการ ที่ 35) ดังนั้น สรุปก็คือ อัลกุรอานไม่ได้กล่าวสนทนา กับบุรุษเพศเท่านั้น แต่สนทนากับผู้คนทั้งหมด ไม่ว่า เป็นหญิงหรือชาย ถาม : ตามค�ำสอนของอิสลามอัลกุรอานถูก ประทานลงมาเพื่อมนุษยชาติทั้งหมด รวมทั้งยังเป็น เครื่องชี้น�ำให้กับมนุษย์ทุกยุคทุกสมัยอีกด้วย หาก ค�ำนึงถึงประเด็นดังกล่าวปัญหาหรือเหตุการณ์ที่เกิด ขึ้นในปัจจุบันซึ่งถือเป็นเรื่องใหม่ที่ไม่ได้ถูกกล่าวไว้ใน

90 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

อัลกุรอาน เราจะหาค�ำตอบของสิ่งเหล่านั้นจากกุรอาน ได้อย่างไร ตอบ : อัลกุรอานคือคัมภีรแ์ ห่งชีวติ และเป็นสาส์น อันเป็นนิรันดร์ อัลกุรอานจะให้แนวทางหลัก ในการ ด�ำเนินชีวิตให้กับมนุษย์ส่วนรายละเอียดปลีกย่อย นั้น บรรดาตัวแทนของพระเจ้ามีหน้าที่เป็นผู้อรรถาธิบาย อัลลอฮ์(ซ.บ)ได้ทรงประทานกุรอานมาในฐานะเป็น รัฐธรรมนูญแห่งการด�ำเนินชีวติ ของมนุษย์ และหลังจาก นั้นพระองค์ทรงตรัสกับท่านศาสดาว่า : “และเราได้ให้อัลกุรอานแก่เจ้าเพื่อเจ้าจะได้ ชี้แจง (ให้กระจ่าง) แก่มนุษย์ซึ่งสิ่งที่ได้ถูกประทานมา แก่พวกเขา” (ซูเราะฮ์นะฮ์ลิ 44) พระองค์ได้ทรงแต่ง ตั้งให้ท่านศาสดาเป็นผู้อรรถาธิบายรายละเอียดต่าง ๆของอัลกุรอาน หมายถึงอัลลอฮ์ทรงสอนบทเรียนใน อัล - กุรอานแก่ท่านศาสดา และท่านศาสดาก็สอนสิ่ง ดังกล่าวให้แก่บรรดาอะฮ์ลุลบัยต์รวมทั้งประชาชนทั้ง หลายด้วย และกล่าวกับประชาชนทัว่ ไปว่า ส่วนส�ำคัญ ของความรูใ้ นอัลกุรอานอยูก่ บั บรรดาอะฮ์ลลุ บัยต์ ท่าน ศาสดาก็กล่าวว่า : “แท้จริงฉันได้มอบสิง่ ทีม่ คี ณ ุ ค่ายิง่ สองสิง่ ไว้ให้แก่ พวกท่าน คือคัมภีร์ของพระเจ้าและลูกหลานของฉัน” จากโองการกุรอานและวจนะของท่านศาสดา ที่กล่าวมาข้างต้น ท�ำให้เราสามารถหาค�ำตอบให้กับ ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันได้จากสองแหล่งที่ กล่าวมาแล้ว แต่ในอีกด้านหนึ่งจากค�ำสอนของอัล กุรอานและบรรดาอะห์ลุลบัยต์เองสิ่งที่สามารถให้ค�ำ ตอบกับเราได้อีกทางหนึ่งก็คือ สติปัญญาของมนุษย์ นั่นเอง ท่านศาสดากล่าวเกี่ยวกับเรื่องนี้ว่า : “แท้จริงอัลลอฮ์ (ซ.บ) ทรงส่งหลักฐานที่มนุษย์ สามารถใช้ยนื ยันด้วยสองสิง่ ด้วยกัน (สิง่ แรกคือบรรดา ศาสดา อีกสิ่งคือสติปัญญาของมนุษย์นั่นเอง)” ดังนัน้ ถ้าหากสติปญ ั ญาตัดสินสิง่ ใดเป็นสิง่ ทีเ่ ป็น โทษต่อมนุษย์ทั้งด้านร่างกายหรือจิตวิญญาน สิ่งนั้น อิสลามถือเป็นสิง่ ต้องห้าม และถ้าหากสติปญ ั ญาตัดสิน


ว่าสิ่งใดเป็นประโยชน์ต่อมนุษย์ อิสลามก็ถือว่าสิ่งนั้น เป็นสิ่งจ�ำเป็น ที่ต้องท�ำหรือควรจะท�ำ หมายความว่า เมื่อสติปัญญายืนยันอย่างแน่แท้ว่าการกระท�ำนั้นเป็น คุณหรือเป็นโทษ การกระท�ำนั้นก็กลายเป็นการกระท�ำ ที่สอดคล้องกับชะรีอะฮ์ ดั ง นั้ น หากค� ำ นึ ง ถึ ง สิ่ ง ที่ ก ล่ า วมาข้ า งต้ น อั ล กุรอานคือธรรมนูญที่กล่าวถึงแนวทางหลัก ในการ ด�ำเนินชีวติ ของมนุษย์สว่ นวจนะและแบบฉบับของท่าน ศาสดาและบรรดาอะฮ์ลลุ บัยต์เป็นการอรรถาธิบายราย ละเอียดของอัลกุรอานรวมทั้งสติปัญญาที่เป็นอีกหนึ่ง ในสิ่งที่อัลลอฮ์ทรงประทานให้แก่มามนุษย์ จากสาม สิ่งนี้ฉะนั้นมนุษย์สามารถใช้ประโยชน์ในการด�ำเนินได้ ชีวิตจนถึงวันกิยามะห์ ถาม : อัลกุรอานจะเป็นคัมภีร์ที่ใช้ชี้น�ำมนุษย์ ทั้งโลกได้อย่างไร ในเมื่อมนุษย์ที่อยู่บนโลกนี้ใช้ภาษา ที่แตกต่างกัน ตอบ : ประเด็ น อยู ่ ที่ ว ่ า ภาษาอั ล กุ ร อานคื อ ภาษาสากล ฉะนั้นในการเข้าถึงวิทยาการแห่งอัลกุ รอานจึ ง ไม่ มี เ งื่ อ นไขว่ า จะต้ อ งได้ รั บ ประโยชน์ จ าก วัฒนธรรมหนึ่งวัฒนธรรมใดเท่านั้น โดยที่ว่าหากไม่ เข้าใจวัฒนธรรมนัน้ ก็ไม่สามารถทีจ่ ะเข้าถึงเนือ้ หาทีแ่ ท้ จริงของอัลกุรอานได้ และไม่มีที่ขวางกั้นมนุษย์ไม่ให้ เข้าถึงอรรถรสอันลึกซึ้งของอัลกุรอานได้ ก็เพราะว่ามี ภาษาเดียวเท่านั้นที่เป็นภาษาสากลที่มนุษย์สามารถ ใช้ร่วมกันทั่วโลก ได้ก็คือ ภาษาธรรมชาติดั้งเดิม (ฟิต เราะฮ์) ซึ่งเป็นวัฒนธรรมร่วมกันระหว่างมนุษย์ในทุก ยุคทุกสมัย และมนุษย์ทกุ คนก็รจู้ กั และคุน้ เคยกับภาษา นี้เป็นอย่างดีจนมิอาจมีใครหาข้ออ้างได้ว่าเป็นคนต่าง ถิน่ จากภาษานี้ ไม่มสี งิ่ ใดในประวัตศิ าสตร์อนั ยาวนาน ที่พระองค์จะทรงพิทักษ์รักษาให้มั่นคงและปลอดภัย เท่ากับความเป็นธรรมชาติดั้งเดิม َّ‫لله‬ َ ‫فَ َأقِ ْم َو ْج َه‬ ‫اس‬ َ َّ‫ك لِل ِّدينِ َحنِي ًفا فِ ْط َر َة ا ِ الَّتِي فَ َط َر الن‬ َ ِ ‫يل ل ِ َخلْقِ اللهَّ ِ َذل‬ َ ‫َع َل ْي َها ال تَ ْب ِد‬ ‫ين ال ْ َقيِّ ُم‬ ُ ‫ك ال ِّد‬ “ดังนั้น เจ้าจงผินหน้าของเจ้าสู่ศาสนาที่เที่ยง

แท้ (โดยเป็น) ธรรมชาติของอัลลอฮ์ ซึ่งพระองค์ทรง สร้างมนุษย์ขึ้นมา ไม่มีการเปลี่ยนแปลงในการสร้าง ของอัลลอฮ์ นั่นคือศาสนาอันเที่ยงตรง”(ซูเราะฮ์โรม โองการที่ 30) “ภาษาอัลกุรอาน” ที่เราหมายถึงในที่นี้ ไม่ใช่ ภาษาในพจนานุกรมหรือในด้านอักษรศาสตร์ เพราะ เป็ น สิ่ ง ที่ ชั ด เจนอยู ่ แ ล้ ว ว่ า วิ ท ยาการแห่ ง กุ ร อานถู ก ประทานลงมาในรูปแบบของภาษาอาหรับ ฉะนั้นผู้ที่ ไม่ใช่ชาวอาหรับหากไม่ได้ศึกษาเล่าเรียนก็ย่อมที่จะ ไม่เข้าใจค�ำต่าง ๆ ในอัลกุรอานได้ แต่เป้าหมายของ เราจาก “ภาษาของอัลกุรอาน” ในที่นี้คือภาษาส�ำหรับ มนุ ษ ยชาติ เป็ น ภาษาที่ พู ด กั บ วั ฒ นธรรมร่ ว มของ มนุษยชาติ แม้นว่ามนุษย์ที่อยู่บนโลกนี้จะใช้ภาษาที่ แตกต่างกัน มีวัฒนธรรมที่ต่างกัน แต่มนุษย์มีจุดร่วม เหมือนกันก็คือ วัฒนธรรมของความเป็นมนุษย์ ซึ่งนั่น ก็คือวัฒนธรรมแห่งธรรมชาติดั้งเดิมที่มั่นคงและไม่มี การเปลีย่ นแปลง และอัลกุรอานได้ใช้ภาษานีก้ บั มนุษย์ คูส่ นทนาของอัลกุรอานคือ ธรรมชาติดงั้ เดิมของมนุษย์ และสาส์นของคัมภีรก์ ค็ อื การท�ำให้ธรรมชาติดงั้ เดิมของ มนุษย์เบ่งบาน ดังนั้นภาษานี้จึงเป็นภาษาที่มนุษย์ทุก คนรู้จักและสามารถเข้าใจได้ ภาษาอั ล กุ ร อานเป็ น ภาษาสากลและเป็ น วัฒนธรรมร่วมของมนุษยชาติ จนเป็นเหตุจูงใจให้ท่าน ซัลมาน แห่งเปอร์เซีย ท่านศุไฮบ์ แห่งโรม ท่านบิลาล แห่งเอธิโอเปีย ท่านอัมมารและท่านอะบูษัรแห่งฮิญาซ ยอมรับในความเป็นสากลของท่านศาสดามุฮมั มัด (ศ.) เพราะวะฮ์ยคู อื สิง่ ทีเ่ ผยปรากฏให้เห็นถึงความเป็นเอกา นุภาพของพระผู้เป็นเจ้า ความหลากหลายของภาพ ลักษณ์ภายนอก ถูกสลายไปด้วย ความเป็นหนึ่งเดียว ของแนวทาง และความหลากหลายทางภาษา สีผิว ประเพณีและอืน่ ๆ ทีเ่ ป็นเพียงภาพลักษณ์ภายนอกย่อม สลายไปในธรรมชาติดั้งเดิม ความเป็นสากลในการเข้าใจอัลกุรอานและการ เข้าถึงวิทยาการอันล�้ำลึก ได้ถูกอธิบายไว้ในหลาย ๆ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 91


โองการ เช่น ِ َ‫يَا أَ ْه َل ال ْ ِكت‬ 1. ‫يرا‬ َ ‫اب قَ ْد َج‬ ً ِ‫اء ُك ْم َر ُسولُنَا يُبَيِّ ُن ل َ ُك ْم َكث‬ ِ َ‫ون ِم َن ال ْ ِكت‬ ‫اء ُك ْم‬ َ ‫ِم َّما ُك ْنتُ ْم تُ ْخ ُف‬ َ ‫اب َويَ ْع ُفو َع ْن َكثِي ٍر قَ ْد َج‬ ‫ين‬ ٌ ِ‫اب ُمب‬ ٌ َ‫ور َو ِكت‬ ٌ ُ ‫ِم َن اللهَّ ِ ن‬ “โอ้ชาวคัมภีร์ทั้งหลาย ! แท้จริงศาสนทูตของ เราได้มายังพวกเจ้าแล้ว โดยที่เขาจะแจกแจงสิ่งที่พวก เจ้าปกปิดไว้มากมายจากคัมภีร์แก่พวกเจ้า และเขา จะระงับไว้มากมาย แท้จริงแสงสว่างจากอัลลอฮ์และ คัมภีร์อันชัดแจ้งนั้นได้มายังพวกเจ้าแล้ว”(ซูเราะฮ์มา อิดะฮ์ โองการที่ 15) َ ‫ان ِم ْن َرب ِّ ُك ْم َوأَنْ َزلْنَا‬ ٌ ‫اء ُك ْم ب ُ ْر َه‬ َ ‫اس قَ ْد َج‬ ُ َّ‫يَا أيُّ َها الن‬ 2.‫ورا ُمبِينًا‬ ً ُ ‫إِل َ ْي ُك ْم ن‬ “มนุษยชาติทงั้ หลาย! แน่นอนได้มหี ลักฐาน จาก พระผูอ้ ภิบาลของพวกเจ้ามายังพวกเจ้าแล้ว และเราได้ ให้แสงสว่าง อันแจ่มแจ้งลงมาแก่พวกเจ้าด้วย” (ซูเราะ ฮ์นิสาอ์ โองการที่ 174) ‫ون‬ َ ‫فَآ ِمنُوا بِاللهَّ ِ َو َر ُسول ِ ِه َوال ُّنو ِر ال َّ ِذي أَنْ َزلْنَا َواللهَّ ُ ب ِ َما تَ ْع َم ُل‬ 3.‫ير‬ ٌ ِ‫َخب‬ “ดังนั้นจงศรัทธาต่ออัลลอฮ์และศาสนทูตของ พระองค์ และแสงสว่าง (อัลกุรอาน) ซึ่งเราได้ประทาน ลงมาและอัลลอฮ์ทรงรอบรู้ในสิ่งที่พวกเจ้ากระท�ำ” (ซู เราะฮ์ตะฆอบุน โองการที่ 8) ‫ور ال َّ ِذي‬ َ ‫فَال َّ ِذ‬ ُ ‫وه َون َ َص ُر‬ ُ ‫آمنُوا ب ِ ِه َو َع َّز ُر‬ َ ‫ين‬ َ ‫وه َواتَّبَ ُعوا ال ُّن‬ َ ِ‫أُنْز َِل َم َع ُه أُولَئ‬ 4.‫ون‬ َ ‫ك ُه ُم ال ْ ُم ْفلِ ُح‬ “ดังนั้นบรรดาผู้ที่ศรัทธาต่อเขา ให้ความส�ำคัญ แก่เขา ช่วยเหลือเขา และปฏิบัติตามแสงสว่างที่ถูก ประทานลงมาแก่เขาแล้วไซร้ ชนเหล่านีแ้ หละคือบรรดา ผู้ที่ประสบความส�ำเร็จ”(ซูเราะฮ์อะอ์รอฟ โองการที่ 157) ในโองการเหล่านี้ อัลกุรอาน ถูกน�ำเสนอว่า คือ รัศมี และ หลักฐานอันชัดแจ้ง ถึงแม้ว่า รัศมีและแสง สว่างนั้นจะมีระดับความสว่างที่แตกต่างกัน ซึ่งบาง ครั้งสว่างจ้าจนกระทั่งดวงตาของบางคนไม่สามารถ มองแสงนั้นได้ แต่ไม่มีใครสามารถจะกล่าวได้ว่าเขา

92 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

มองไม่เห็นการมีอยู่ของแสงสว่างเลย พระองค์อัลลอฮ์ ถือเป็นรัศมีแห่งฟากฟ้าและแผ่นดิน ตามที่อัลกุรอาน ได้กล่าวว่า – ‫اهلل نور السماوات واألرض‬ “อั ล ลอฮ์ คื อ รั ศ มี แ ห่ ง ฟากฟ้ า และแผ่ น ดิ น ” (ซูเราะฮ์อันนูร โองการ 35) และเพื่อที่จะชี้น�ำมนุษยชาติพระองค์ทรงสร้าง ตะเกียงแห่งทางน�ำขี้นมา ที่ตัวมันเองมีเต็มไปด้วย แสงสว่างและไร้ข้อบกพร่อง พร้อมทั้งยังเป็นแสงสว่าง น�ำทางให้แก่มนุษย์ทั้งในด้านความเชื่อและด้านการ ปฏบัติอีกด้วย คุณสมบัตอิ กี ประการหนึง่ ของแสงก็คอื นอกจาก จะให้ความสว่างกับตัวมันเองแล้วยังให้ความสว่างกับ สิ่งอื่นด้วย อีกทั้งตัวมันเองก็ไม่ต้องได้รับแสงจากที่อื่น เพราะสิ่งต่างๆ ทั้งหลายจะถูกมองเห็นได้ด้วยแสง แต่ ตัวแสงไม่ต้องการสิ่งอื่นมาช่วยเพื่อให้มองเห็นมัน อัล กุรอานก็เช่นกันไม่มีเนือ้ หาใดที่มีข้อสงสัยอยู่ในนั้นเลย และในเรื่องการชี้น�ำมนุษย์ก็ไม่มีความคลุมเครือใดๆ หรือพึ่งพาไปยังสิ่งอื่นเลย 5- อัลกุรอานกล่าวว่า – ‫ونزلنا عليك الكتاب تبيانا لكل شيء وهدى ورحمة‬ ‫وبشرى للمسلمين‬ “และเราได้ให้คัมภีร์แก่เจ้าเพื่อชี้แจงแก่ทุกสิ่ง และเพือ่ เป็นทางน�ำและเป็นความเมตตา และเป็นข่าวดี แก่บรรดามุสลิม” (ซูเราะฮ์ นะฮ์ลิ โองการ 89) ในโองการนีก้ ล่าวว่าอัลกุรอานคือสิง่ อรรถาธิบาย สารธรรมค�ำสอนทีเ่ ป็นประโยชน์สำ� หรับมนุษย์ทงั้ หลาย และแน่นอนคัมภีรท์ นี่ ำ� เสนอตัวเองว่าเป็นสิง่ ชีน้ ำ� มนุษย์ แน่นอนจะต้องไม่เป็นสิ่งที่มีข้อสงสัยใดๆ อยู่ในนั้น เพราะถ้าหากตัวเองมีข้อบกพร่องและข้อสงสัยแล้ว ก็ไม่สามารถที่จะชี้น�ำและน�ำทางไปสู่ความผาสุขได้ อย่างแน่นอน 6- อัลกุรอานกล่าวว่า – ‫افال يتدبرون القران ام على قلوب اقفالها‬


“พวกเขามิได้พจิ ารณาใคร่ครวญอัลกุรอานดอก หรือ? หรือว่าบนหัวใจของพวกเขามีกุญแจหลายดอก ลั่นอยู่” (ซูเราะฮ์มุฮัมมัด โองการ 24 ) อั ล กุ ร อานเชิ ญ ชวนให้ ม นุ ษ ย์ ทั้ ง หลายสู ่ ก าร ใคร่ครวญในโองการกุรอาน การเชิญชวนดังกล่าวนีเ้ ป็น สิง่ ทีแ่ สดงให้เห็นว่ากุรอานมีความเป็นสากลทีส่ ามารถ ชี้น�ำมนุษย์ทั้งหลายได้ เพราะถ้าหากกุอัลกุรอานถูก ประทานลงมาเพื่อชนเผ่าบางกลุ่ม การเชิญชวนสู่การ คิดใคร่ครวญในโองการกุรอานคงไม่มีประโยชน์ใดเลย 7 อัลกุรอานกล่าวว่า – ‫قل لئن اجتمعت االنس والجن على ان ياتوا بمثل هذا‬ ‫القران ال ياتون بمثله ولو كان بعضهم لبعض ظهيرا‬ “จงกล่าวเถิดมุฮัมมัด แน่นอนหากมนุษย์และ ญินรวมกันที่จะน�ำมาเช่นอัลกุรอานนี้ พวกเขาไม่อาจ จะน�ำมาเช่นนั้นได้ และแม้ว่าบางคนในหมู่พวกเขา เป็นผู้ช่วยเหลือแก่อีกบางคนก็ตาม” (ซูเราะฮ์อิสรออ์ โองการ 88 ) การท้าทายของอัลกุรอานต่อมนุษยชาติก็แสดง ให้เห็นถึงความเป็นสากลของกุรอานอีกเช่นกัน อีก ทั้งยังแสดงถึงความเป็นอมตะของอัลกุรอานอีกด้วย สิ่งส�ำคัญที่แสดงให้เห็นอย่างเด่นชัดในค�ำท้าทายนี้ก็ คือ อัลกุรอานจะต้องเป็นสิ่งที่มนุษย์ทั้งหลายเข้าใจได้ เพราะค�ำท้าทายดังกล่าวนั้นไม่ได้ท้าทายในเรื่องของ ภาษาที่ท้าทายเฉพาะส�ำหรับชาวอาหรับ แต่เป็นเรื่อง เนือ้ หาและวัฒนธรรมเฉพาะทีม่ อี ยูต่ า่ งหากทีท่ า้ ทายให้ มนุษย์น�ำมาเสนอให้เหมือนกับอัลกุรอานเล่มนี้

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 93


เชคชะรีฟ ฮาดีย์

ส�ำนักคิดปรัชญา ปรีชาญาณสูงส่ง

อัลฮิกมะตุล มุตะอาลียะฮ์ การวิวฒ ั นาการทางศาสตร์ปรัชญาอิสลามได้ เข้าสูย่ คุ ฟืน้ ฟูหลังจากทีป่ รัชญาอิสลามได้รบั กระแสการ ต่อต้านมาช้านาน และเกือบที่จะสาบสูญหรือสูญหาย ไปจากโลกของอิสลามไปทีเดียว จนกระทั้งท่านมุล ลาศ็อดรอได้ลุกขึ้นและน�ำเนื้อหาทางปรัชญาอิสลาม มาวิเคราะห์และพิเคราะห์จนเกิดความสัมพันธภาพ ระหว่างปรัชญาแบบเหตุผลนิยามจัด(มัชชาอียะฮ์)และ ปรัชญาแบบการหยั่งรู้ชั่วคณะจิต (อิชรอกียะฮ์) อีกทั้ง ได้ประสานความกลมคลืนให้เข้ากับแนวคิดแบบรหัส ยวิทยา (อีรฟานียะฮ์) ในที่สุดความขัดแย้งและการต่อ ต้านจากนักนิติศาสตร์หรือจากนักเทววิทยาได้ลดน้อย ลงไป อีกทั้งยังท�ำให้นักเทววิทยาหันมาศึกษาปรัชญา อย่างเอาจริงเอาจังมากขึ้น และแล้วปรัชญาอิสลาม ได้ฟน้ื ฟูขนึ้ มาเป็นปรัชญาในอัตลักษณ์ใหม่และรูปแบบ ใหม่ คือไม่เป็นศัตรูกับศาสตร์ใดๆ และศาสตร์ต่างๆยัง เกือ้ กูลต่อปรัชญาและปรัชญายังเกือ้ กูลต่อศาสตร์ตา่ งๆ

94 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

และนัน่ คือปรัชญาในส�ำนักฮิกมะตุลมุตะอาลียะฮ์ หรือ เรียกว่า ปรัชญาปรีชาญาณสูงส่ง ส� ำ นั ก ปรั ช ญาปรี ช าญาณสู ง ส่ ง หรื อ ส� ำ นั ก ฮิ กมะตุลมุตะอาลียะฮ์ได้รับการยอมรับโดยทั่งไปจาก ผู้รู้และนักปรัชญาในยุคปัจจุบันเพราะนั่นคือความ ส�ำเร็จและเป็นการบรรลุความส�ำเร็จระดับสูงสุดในการ สังเคราะห์ความรู้ของมนุษย์โดยการเพ่งพินิจและการ ไตร่ตรองทางการะบวนการทางความคิดปรัชญาโดย สามารถรวมพลังและประสานความกลมกลืนระหว่าง ความรู้จากวิวรณ์และการประจักษ์แจ้งจากการถูกเปิด เผยทางจิตวิญญาณขั้นสูงและทฤษฎีทางปรัชญาและ อภิปรัชญาอันล�้ำลึกจนปรากฏเป็นหลักปรัชญาแนว ฮิกมะตุลมุตะอาลียะฮ์หรือปรัชญาส�ำนักปรีชาญาณ สูงส่ง ในโลกอิสลามการวิวฒ ั นาการทางความคิดและ การพัฒนาทางกระบวนทัศน์นนั้ แบ่งออกได้ ๔ กระบวน


ทัศน์คือ ก.กระบวนทัศน์แบบปรัชญาเหตุผลนิยมจัด(คือ การก�ำเนิดปรัชญาส�ำนักมัชชาอียะฮ์) ข.กระบวนทัศน์แบบปรัชญาประจักษ์แจ้งชั่ว คณะจิต(การก�ำเนิดส�ำนักปรัชญาอิชรอกียะฮ์) ค.กระบวนทัศน์แบบอัชฌัติกญาณ คือการเกิด ส�ำนักซูฟีและส�ำนักรหัสยนิยม ง.กระบวนทัศน์แบบเทววิทยา ของแต่ละส�ำนัก คิด ก่ อ นสมั ย ของท่ า นมุ ล ลาศ็ อ ดรอบริ บ ททาง ศาสนาและวั ฒ นธรรมได้ มี ค วามขั ด แย้ ง และไม่ ล ง รอยต่อกันในระหว่างส�ำนักทางความคิดเหล่านั้นที่ มี ก ระบวนทั ศ น์ แ ตกต่ า งจนกระทั้ ง มุ ล ลาศ็ อ ดรอได้ พยายามและใช้การเพ่งพินิจต่อองค์ความรู้ของศาสตร์ ต่างๆทั้งสี่ จนหาจุดร่วมระหว่างกระบวนทัศน์ทั้งสี่นั้น และสามารถเข้าด้วยกันได้และยังเกื้อกูลต่อกันและกัน มุลลาศ็อดรอได้น�ำประเด็นปัญหาทางปรัชญา ของส�ำนักก่อนๆทีม่ คี วามขัดแย้งหรือมีทศั นะทีแ่ ตกต่าง กันมากล่าวและแก้ไขหาค�ำตอบได้อย่างลงตัว อีกทั้ง ยังได้สร้างความเข้าใจที่ดีระหว่างนักเทววิทยากับนัก ปรัชญา โดยการน�ำทฤษฎีทางปรัชญามาแก้ปญ ั หาทาง เทววิทยา จนได้ผลเกินคาดทีเดียว มุลลาศ็อดรอยังได้น�ำองค์ความรู้หรือสารัตถะ จากคัมภีร์อัลกรุอานหรือจากวจนะของศาสดาอีกทั้ง เนือ้ หาด้านอภิปรัชญาจากค�ำสอนของบรรดาอิมามแห่ งอะลุลบัยต์ศาสดาโดยเฉพาะการน�ำบทวิเคราะห์จาก หนังสือนะฮ์ญุลบะลาเฆาะฮ์ซึ่งเป็นสุนทโรวาทของอิ มามอะลี บิน อะบีฏอลิบ (อ.) และจุดเด่นของปรัชญา มุลลาศ็อดรอ คือการน�ำปรัชญาเข้ามาใกล้ชิดศาสนา มากยิ่งขึ้นและสามารถน�ำปรัชญามาตีความศาสนา และแสดงให้เห็นถึงการเกือ้ กูลปรัชญาต่อศาสนาอย่าง มีบทบาทสูงทีเดียว อีกเรือ่ งหนึง่ ทีเ่ ป็นจุดเด่นทางปรัชญาปรีชาญาณ สูงส่งคือการน�ำองค์ความรูด้ า้ นรหัสยวิทยาหรือการเปิด

เผยองค์ความรูท้ างจิตวิญญาณ(กัชฟ์)โดยการประจักษ์ ทีเ่ กิดขิน้ จากจิตขัน้ สูงแล้วน�ำมาเปิดเผยและอธิบายเป็น หลักปรัชญาเป็นทฤษฎีทางปรัชญาอย่างน่าสนใจนั่น หมายความว่าท่านมุลลาศอ็ดรอได้นำ� เอากระบวนทัศน์ ทางรหัสยวิทยาซึง่ เป็นพืน้ ฐานจากการประจักษ์แจ้งทาง จิตวิญญาณและเปิดเผยออกมาโดยผ่านการพิสจู น์และ การอธิบายเชิงปรัชญาที่ลงตัวและน่าทึ่งทีเดียวกล่าว คือการส�ำแดงให้เห็นว่ารหัสยวิทยาขั้นสูงได้สนับสนุน ปรัชญาเชิงลึกและทัง้ สองศาสตร์นนั้ ต่างเกือ้ กูลกันและ กันไม่ได้เป็นปรปักษ์กนั เหมือนกับนักปราชญ์ในยุคต้นๆ อิสลามเชื่อกันและดังที่กล่าวผ่านมาแล้วว่ามุลลาศอ็ ดรอยังได้นำ� หลักค�ำสอนจากวิวรณ์วะฮ์ยจู ากพระคัมภีร์ อัลกุรอานมาตีความเนื้อหาปรัชญาอย่างชนิดที่ไม่เคย เกิดขึ้นมาก่อนและเขาพยายามจะชี้ให้เห็นว่าปรัชญา และศาสนาและรหัสยวิทยานัน้ เป็นเนือ้ หาเดียวกันและ ต่างก็เกือ้ กูลกันและกันเพียงแต่ระดับความถีข่ องแต่ละ ศาสตร์ต่างกันเท่านั้น ต่างก็สนับสนุนกันและกันไม่ได้ เป็นปรปักษ์หรือขัดแย้งใดๆ ปรัชญาปรีชาญาณสูงส่งหรือฮิกมะตุลมุตะอา ลียะฮ์ เป็นส�ำนักปรัชญาที่ได้เปิดเผยหลักการต่างๆ ระดับสูงขององค์ความรูท้ ถี่ กู ปกปิดไว้หรือเปิดเผยความ ลี้ลับต่างๆของความจริงสูงสุด และยังได้แสดงออกถึง การน�ำเอาเหตุผลและการหยั่งรู้ทางด้านปัญญา และ การแสดงออกถึงความสว่างที่เกิดขึ้นจากการเพ่งพินิจ การใคร่ครวญและยังได้รวบรวมแนวคิดทางปรัชญาที่ เกี่ยวข้องกันและสร้างความสัมพันธภาพเกิดข้นต่อกัน และกัน ซึง่ เป็นผลในทางบวกทีส่ ร้างความแจ่มแจ้งส่อง สว่างขึ้นในจิตใจอันเป็นเรื่องราวตามหลักการพื้นฐาน ซึ่งเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์และเป็นโครงสร้างของความ เป็นจริง จนสามารถเข้าถึงธรรมชาติดงั้ เดิมแก่นแท้ของ มนุษย์และเข้าถึงพระเจ้าโดยธรรมชาติแห่งความเป็น พระเจ้า ตลอดถึงการเข้าใจต่อจุดหมายปลายทางของ การสร้างสรรค์หรือการสังสรรค์ทั้งหลายของพระเจ้า หรือเรือ่ งการแต่งตัง้ ศาสดาและเรือ่ งชีวติ อย่างละเอียด

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 95


อ่อนมาก ปรัชญาของมุลลาศอ็ดรอเน้นนักในเรื่องจิตและ พระเจ้าเป็นอย่างยิง่ ถ้าเราพินจิ ในต�ำราทางด้านปรัชญา ของมุลลาศอ็ดรอ เช่น หนังสือ อัลฮิกมะตุลมุตะอาลี ยะฮ์ หรือรู้จักในนามของอัลอัสฟาร อัลอัรบะอะฮ์ หรือ หนังสือ ชะวาฮิดุลรุบูวียะฮ์กิตาบมับดะวัลมะอาดและ อืน่ ๆในต�ำราเหล่านัน้ ได้กล่าวถึงจุดหมายปลายทางของ จิตวิญญาณและการจาริกของจิตวิญญาณสู่จุดสูงสุด และการประจักษ์แจ้งต่อมันอีกทั้งกล่าวถึงการเข้าถึง ความจริงสูงสุด ชีวประวัติของมุลลา ศอ็ดรอ ชื่อเต็ม ศ็อดรุดดีน มุฮัมมัด บิน อิบรอฮีม ชีรอซีย์ รู้จักกันในนามของ”มุลลา ศ็อดรอ” หรือ “ศ็อดรุลมุตะ อัลลีฮีน” ได้ถือก�ำเนิดปี 979 แห่งฮิจเราะฮ์เมืองชีรอซ ประเทศอิหร่านท่านมุลลาศ็อดรอมาจากตระกูลของ ขุนนาง เพราะว่าบิดาของท่านนั้นเป็นผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง ทางการเมืองในสมัยการปกครองราชวงศ์ซอฟาวีย์ มุ ลลาศอ็ดรอได้เรียนรู้วิชาการอิสลามจากปวงปราชญ์ จากส�ำนักคิดชีอะฮ์ และได้อยู่ในเมืองชีรอซจนอายุได้ 21 ปี ต่อมาได้เดินทางมายังเมือง กัซวีน(อยู่ทางตอน เหนือของกรุงเตหราน) และในปี ฮิจเราะฮ์ที่ 1000 นั้น ได้พ�ำนักอยู่ ณ เมืองกาชานอยู่ระยะหนึ่งและได้เรียน วิชาการทางศาสนากับท่านชาร์ มุรตะฎอ เป็นบิดาของ

96 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

ท่านไฟด์ กาชานีย์ มุลลาศ็อดรอ ได้เป็นศิษย์ของปราชญ์ยิ่งใหญ่ แห่งยุค คือท่าน เชคบะฮาอุดดีน อามิลี หรือรู้จักใน นามของ”เชคบะฮาอีย์”และเป็นศิษย์ของท่าน”มีรดา มอด”ซึ่งบุคคลทั้งสองเป็นปราชญ์เรืองนามของส�ำนัก ชีอะฮ์ โดยที่มุลลาศอ็ดรอได้รับองค์ความรู้ด้านศาสน วิทยากับท่านเชคบะฮาอีย์ ส่วนวิทยาการด้านปรัชญา นั้นได้ร�่ำเรียนกับท่านมีรดามอดและต่อมาได้เดินทาง มายังเมืองอิศฟาฮานกับทางเชคบะฮาอีและท่านมีรดา มอด ต่อมาได้เดินทางไปยังเมืองกุม และได้ปฎิบตั ธิ รรม จาริกทางจิตวิญญาณ เน้นทางด้านรหัสยะเพื่อบรรลุ ธรรมขัน้ สูง และถือว่าเป็นช่วงชีวติ ทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ของมุล ลาศ็อดรอก็วา่ ได้ เพราะว่าท่านได้เขียนหนังสือ”อัสฟาร อัลอัรบะอะฮ์”(คือการจาริกสีข่ นั้ สูค่ วามจริงสูงสุด) และ ต่อมาท่านมุลลาศ็อดรอ ได้เดินทางกลับเมืองชีรอซอีก ครั้ง และได้เปิดสถาบันการศึกษาขึ้น และเป็นสถาบัน ที่ลือชื่อและถูกรู้จักไปทั่ว เพราะมีสานุศิษย์มาเรียน กับท่านอย่างมากมาย หนึ่งจากสานุศิษย์ชื่อดังของ ท่านมุลลาศ็อดรอ คือท่าน ไฟฎ์ กาชานีย์ และท่านมุล ลา อับดุลรอซัก ลาฮีญีย์ ซึ่งต่อมาบุคคลทั้งสองเป็นนัก ปรัชญาทีน่ ำ� แนวทางปรัชญาฮิกมะตุลมุตะอาลียะฮ์มา เผยแพร่ หลังจากนัน้ มุลลา ศ็อดรอได้เดินทางไปประกอ บพิธีฮัจญ์และในปี อ.ศ.1050 เดินทางกลับ และได้เสีย ชีวิต ณ เมืองบัศเราะฮ์ ประเทศอิรัก ผลงานทางวิชาการ ก.อัลฮิกมะตุลมุตะอาลียะฮ์ หรือรู้จักในนาม ของ”อัสฟาร อัลอัรบะอะอ์” เป็นหนังสือที่โด่งดังที่สุด ของมุลลาศอ็ดรอ เป็นหนังสือปรัชญาในส�ำนักของเขา มีทั้งหมด 9 เล่ม จะกล่าวถึง การจาริกทางจิตวิญญาณ สี่ระดับขั้น ข.อัชชะวาฮีดลุ รุบบู ยี ะฮ์ เป็นหนังสือปรัชญาเชิง ลึกที่เป็นทัศนะเฉพาะของมุลลาศ็อดรอ โดยการได้รับ องค์ความรู้จากการเปิดเผยทางด้านจิตวิญญาณ ค.อัลมับดะวัลมะอาด เกี่วกับพระเจ้าและชีวิต


โลกหน้า ง. ตะลีกอต อัชชีฟาห์ อิบนิสีน่า เป็นหนังสือที่ อรรถาธิบายหนังสือของอิบนุสีน่า จ. ชัรฮุ อุศูลิลกาฟีย์ เป็นหนังสืออรรถาธิบาย หนังสืออัลกาฟีย์ เอกลักษณ์ปรัชญาส�ำนักปรีชาญาณสูงส่ง จากบริบททางประวัติปรัชญาอิสลามชี้ให้เห็น ว่าความเปลี่ยนแปลงต่างๆและการเกิดส�ำนักปรัชญา อิสลาม บ่งบอกถึงความพัฒนาทางปัญญาและการ เข้าถึงความจริงสูงสุดมากขึ้นทุกวินาที นั่นเป็นการส่ง สัญญาณที่ดีว่าศาสตร์ปรัชญาไม่ได้หยุดอยู่กับที่ ดัง นั้นท่านมุลลาศ็อดรอได้เริ่มบริบทใหม่ทางปรัชญาอีก ครั้ง ด้วยการพัฒนาศาสตร์ปรัชญาถึงขั้นสูงสุด นั่น หมายความว่ามุลลาศ็อดรอ พยายามจะน�ำทฤษฎีและ แนวคิดทางปรัชญาทั้งปรัชญาของนักคิดต่างชาติ ไม่ ว่าจะมาจากซีกตะวันตกอย่างเช่น ปรัชญาส�ำนักกรีก โบราณ เช่น แนวคิดทางปรัชญาหรือทางอภิปรัชญาของ เพลโต หรือ อริสโตเติล และท่านอื่นๆที่มีอิทธิพลในโลก ปรัชญา หรือแม้แต่ในซีกโลกตะวันออก ท่านมุลลาศ็อด รอก็ได้น�ำมาศึกษาและเปรียบเทียบ หาจุดอ่อนและจุด แข็งของแต่ละส�ำนัก ไม่ว่าจะเป็นปรัชญาของศาสนา ฮินดู ปรัชญาของศาสนาพุทธ ปรัชญาศาสนาเต๋า มุ ล ลาศ็ อ ดรอได้ ชื่ น ชมและนิ ย มในตั ว ของ

อริสโตเติลอย่างมาก และได้เขียนค�ำนิยมในต�ำราของ ท่านเองเกี่ยวกับความปรีชาสามารถทางสติปัญญา ของอริสโตเติลที่น่าพิศวงที่เดียว เป็นบุคคลที่อัจริยะ มีพรสวรรค์ทางด้านการเสนอความคิดและทฤษฎีทาง ปรัชญาอย่างล�้ำลึก นั่นเป็นการชี้ให้เห็นว่า ปรัชญา ส�ำนักปรีชาญาณสูงส่งของมุลลาศ็อดรอไม่ได้ปฏิเสธ หลักคิดเชิงลึกทางอภิปรัชญา และยังสื่อให้เห็นว่า เขา นัน้ เห็นด้วยกับนักปรัชญามุสลิมในยุคต้นๆ ไม่วา่ อัลกิน ดีย์ ท่านฟารอบีย์ ท่านอิบนุสีน่า เพราะว่านักปรัชญา มุสลิมในยุคต้นๆนัน้ ได้นยิ มปรัชญาแบบฝัง่ ซึกตะวันตก คือนิยมในอภิปรัชญาของอริสโตเติลหรืออภิปรัชญา ของเพลโต แต่ทว่ามุลลา ศ็อดรอก็ได้วพิ ากษ์ปรัชญาอิสลาม ในยุคต้นๆ โดยเฉพาะปรัชญาส�ำนักมัชชาอียะฮ์ ที่อยู่ ในปรัชญาเหตุผลนิยมชัด ว่า แท้จริงแล้วจุดอ่อนของ ปรัชญาส�ำนักนี้ยังต้องพึ่งพาและผ่านการพัฒนาไปอีก ระดับหนึง่ อีก ถึงจะสามารถบรรลุขนั้ สูงทางอภิปรัชญา ที่แท้จริง นั่นคือการ การให้ความส�ำคัญด้านการจาริก ทางจิตวิญญาณและการแสวงหาความจริงด้วยการ ประจักษ์แจ้งทางจิต โดยผ่านการปฎิบัติธรรมและนั่ง สมาธิตามวิถแี ห่งส�ำนักรหัสยนิยม เพราะว่าการเข้าหา ด้านรหัสยนิยมนั้นเป็น�ำการประจักษ์แจ้งที่ไม่มีวันจะ ผิดพลาด ส่วนการผ่านกระบวนการคิดและการเพ่ง

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 97


พินิจทางปรัชญาอาจจะตั้งสมมติฐานที่ผิดพลาด และผลสุดท้ายก็จะ ได้ผลลัพท์ที่ผิดพลาดตามไปด้วย และนั่นคือจุดอ่อนของส�ำนักปรัชญา อิสลามมัชชาอียะฮ์ มุลลา ศ็อดรอได้กล่าวชื่นชมอิบนุสีน่า ว่าเป็นความภาคภูมิและ เป็นเกียรติอย่างสูงส�ำหรับโลกอิสลามทีมนี กั ปรัชญาอย่างอิบนุ สีนา่ และ มุลลา ศ็อดรอชีใ้ ห้เห็นว่า แม้แต่บนั้ ปลายชีวติ ของอิบนุ สีนา่ ก็ยงั ได้กล่าว ถึงต�ำแหน่งและระดับขัน้ ของนักรหัสยนิยมไว้ในหนังสือ”อัลอิชารอต วัต ตัลบีฮาต” อย่างน่าสนใจทีเดียว และในขณะเดียวกันก็ได้แสดงความ ชื่นชมต่อส�ำนักปรัชญาอิชรอกียะฮ์ของเชคอิชรอ็ก และยอมรับว่าเชคอิ ชร็อกได้พยายามจะสร้างความสมดุลย์ระหว่างปรัชญากับรหัสยวิทยา แต่ก็ยังไม่บรรลุเป้าหมาย เพราะหลายเหตุผลและหลายปัจจัย มุลลาศ็ อดรอได้ชื่นชม อิบนุอารอบีย์เป็นอย่างยิ่งและถือว่าเป็นบิดาแห่งนักซูฟี ทั้งหลาย แต่ท่านก็ได้วิพากษ์ว่า ส�ำนักอิชรอกียะฮ์หรือส�ำนักซูฟีแบบอิ บนิอารอบีย์ ยังขาความเชือ่ มัน่ ต่อนักเทววิทยา เพราะท�ำให้นกั เทววิทยา และนักนิตศิ าสตร์อสิ ลามได้ถล่มและต่อต้านอย่างหนัก เนือ่ งจากเนือ้ หา หรือค�ำสอนนัน้ ในภาพภายนอกเป็นทีต่ งั้ ข้อสังเกตของนักเทววิทยาและ ดูจะออกนอกลู่นอกทาง ดังนั้นมุลลา ศ็อดรอได้พยายามจะหาจุดอ่อนและจุดแข็งของแต่ ส�ำนักปรัชญา อีกทัง้ หาจุดร่วมกันและกัน และในอีกมุมหนึง่ พยายามจะ สร้างความเข้าใจระหว่างนักเทววิทยาและนักนิตศิ าสตร์อสิ ลาม ด้วยการ หยิบยกค�ำอ้างอิงทีเ่ ป็นตัวบทจากคัมภีรอ์ ลั กุรอานและฮะดีษของศาสดา และจุดเด่นหนึ่งของมุลลา ศ็อดรอคือการน�ำอัลกุรอานและฮะดีษจาก บรรดาอิมามแห่งอะลุลบัยต์ศาสดามาตีความปรัชญาแนวปรีชาญาณ สูงส่ง จนปรากฏเป็นพยานหลักฐานว่า อัลกุรอานกับปรัชญามิได้ขัด แย้งต่อกัน และท�ำความเข้าใจว่าอัลกุรอานและปรัชญาต่างเกื้อกุลต่อ กันและกัน และนั่นเป็นที่มาของการเปลี่ยนแปลงโลกปรัชญาอิสลาม ครั้งส�ำคัญและครั้งยิ่งใหญ่ทีเดียว จุดเด่นของส�ำนักปรัชญาปรีชาญาณสูงส่ง ส�ำนักปรัชญาปรีชาญาณสูงส่งได้สืบค้นและประจักษ์ความจริง แท้บางประการที่ส�ำนักอื่นค้นไม่พบ ซึ่งเราจะกล่าวดังต่อไปนี้ ก. ก�ำหนดทฤษฎีหลักเอกภาพในพหุภาพของภวันต์ ส�ำนักปรัชญาฮิกมะตุลมุตะอาลียะฮนี้ ได้สร้างความสัมพันธ์ อั น ดี ร ะหว่างวิธีทั้ง สามเข้าด้วยกัน อย่างไม่เคยปรากฏมาก่อ น ซึ่ง ประวัติศาสตร์ทางปรัชญาได้จารึกไว้ว่า เป็นเวลานับพันปีที่ไม่สามารถ

98 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556


แก้ปัญหาในเรื่องดังกล่าวได้ ถึงกับนักปรัชญาต้องถูก นักนิตศิ าสตร์ออกค�ำวินจิ ฉัยว่าเป็นพวกนอกรีตและถูก จองจ�ำมาตลอด และประวัติปรัชญาเก่าแก่ทั้งปรัชญา ตะวันตกและปรัชญาตะวันออก ไม่ว่าในอียิปต์โบราณ หรือในนครรัฐกรีก ก็ไม่สามารถจะสร้างความสัมพันธ์ให้ เกิดขึน้ เช่นนีไ้ ด้เหมือนกับทีส่ ำ� นักปรัชญาฮิกมะตุลมุตะ อาลียะฮได้น�ำเสนอ สรุปผลก็คือ 1. เนื้อหาทางปรัชญาและปัญหาทางปรัชญา จากต�ำราปรัชญายุคก่อนๆหรือต�ำราที่ได้ถูกแปลเป็น ภาษาอาหรับ หรือต�ำราที่นักปรัชญามุสลิมได้ประพันธ์ ขึ้นมาในช่วงแรกๆมีเพียง๒๐๐เรื่องเท่านั้น แต่ปัญหา ทางปรัชญาของส�ำนักฮิกมะตุลมุตะอาลียะฮนั้น มีถึง ๗๐๐ เรื่อง 2. ปั ญ หาทางปรั ช ญาของส� ำ นั ก มั ช ชาอี ยะฮ(ส�ำนักเหตุผลนิยมจัด) ทีไ่ ด้นยิ มในปรัชญากรีกแนว ของอริสโตเติล และได้รับอิทธิทางแนวคิดจากปรัชญา กรีกจะโดยตรงหรือโดยอ้อมก็ตาม การเรียบเรียงเนือ้ หา ทางปรัชญานั้น ไม่เป็นระบบอีกทั้งไม่ความสัมพันธ์กัน ทางเนื้อหาเลย แต่ส�ำนักดังกล่าวนี้มีเอกลักษณ์ที่เป็น แนวคณิตศาสตร์ วิธีคิดเชิงตรรกะ และได้สร้างความ สัมพันธ์ระหว่างสองวิชาดังกล่าวอย่างลึกซึ้ง ถึงกับ การแก้ปัญหาบางข้อของปัญหาทางคณิตศาสตร์ ด้วย หลักทฤษฎีทางปรัชญา และปัญหาทางปรัชญาใช้หลัก ทฤษฎีทางคณิตศาสตร์และตรรกะ ดังนัน้ จะเห็นจุดเด่น ของปรัชญของส�ำนักนี้ คือความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา กับธรรมชาติวิทยาแบบแนวดั้งเดิม 3. ปรัชญาที่เคยเป็นวิชาที่ยากและกระด้าง ไม่ เป็นทีน่ า่ สนใจ ได้ถกู เปลีย่ นอัตลักษณ์นนั้ ไปอย่างสิน้ เชิง โดยการมาของส�ำนักฮิกมะตุลมุตะอาลียะฮ(ปรัชญา สูงส่ง) โดยสร้างความสนใจแก่นักนิติศาสตร์ นักคิดผู้ มีปัญญาขั้นสูง และนักรหัสยะ โดยที่ปรัชญาดังกล่าว ยังได้สร้างความน่าสนใจตรงทีว่ า่ ศาสตร์ตา่ งๆทีเ่ กิดขึน้ มาใหม่ในโลกปัจจุบนั ทีบ่ างปัญหายังแก้ไม่ได้หรือยังไม่ สามารถหาข้อสรุปได้ และมีความหวังทีจ่ ะได้รบั การไข

ปริศนานั้นและคลี่คลาย ก็ด้วยกับหลักปรัชญาแนวดัง กล่าวนั้นเป็นผู้แก้ไขและไขปริศนานั้นให้ได้อย่างลงตัว หรือยังน�ำมาเป็นเครือ่ งมือในการแก้ปญ ั หาเหล่านัน้ เช่น ทฤษฎีการเคลื่อนของแก่นสสาร(ฮะรอกัตญูฮารียะฮ) เป็นทฤษฎีทีได้น�ำมาแก้ปัญหาทางปรัชญาและทาง ด้านวิทยาการอืน่ ๆ ซึง่ ได้น�ำมาใช้ได้ผลมาแล้วก่อนสาม ร้อยปีทแี่ ล้วโน้น(แต่บางส�ำนักปรัชญายังแก้ไม่ตก) และ ปัญหาขององค์ประกอบทัง้ สีข่ องสสารและอืนๆ ทีไ่ ด้นำ� ทฤษฎีเหล่านั้นมาไขปัญหา จนส�ำเร็จเกิดขาดทีเดียว ปรัชญาอิสลามกับทฤษฎีหลักเอกภาพในพหุ ภาพ ในปรัชญาอิสลามมีเนือ้ หาหนึง่ เป็นเนือ้ หาส�ำคัญ และถือว่าเป็นอัตลักษณ์ของส�ำนักปรัชญาอิสลาม คือ เรือ่ ง” หลักเอกภาพในพหุภาพ” เป็นหลักคิดทีม่ มี มุ มอง ต่อเอกภพในองค์รวมดังนี้ ก.ตามหลักปรัชญาและทฤษฎีทางปรัชญาเชื่อ ว่าโลกใบนี้และเอกภพมีความหลากหลายและความ ต่าง และความต่างนั้นแบ่งออกได้ ๓ ประเภทกลุ่มดังนี้ 1) ความหลากหลายทางกายภาพ ได้แก่ สิง่ ไม่มี ชีวิต เช่น แร่ธาตุ ดิน น�้ำ อากาศ ทะเลทราย ภูเขา ป่า ไม้ แม่น�้ำ ล�ำคลอง เป็นต้น 2) ความหลากหลายทางชีวภาพ ได้แก่ สิ่งที่มี ชีวิต เช่น ต้นไม้ สัตว์ เชื้อโรค สิ่งเหล่านี้มีความสัมพันธ์ กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ 3) ความหลากหลายทางสังคม เป็นสิ่งแวดล้อม ที่เกิดขึ้นจากมนุษย์ เช่น ประชากร เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง การศึกษา วัฒนธรรม พิธกี รรมทางศาสนา และเทคโนโลยี เป็นต้น ในระบบองค์รวม สิ่งแวดล้อมทั้งสามชนิดของ มนุ ษ ย์ จ ะต้ อ งด� ำ รงอยู ่ ใ นลั ก ษณะประสานสั ม พั น ธ์ สอดคล้องกลมกลืนกัน เพื่อให้เกิดภาวะดุลยภาพ สิ่ง ที่เกิดขึ้นในระยะเวลาที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน และจาก ยุควัตถุนิยมที่ส่งเสริมให้มนุษย์บริโภคเกินขอบเขต ท�ำให้มนุษย์สร้างปรัชญาในการด�ำเนินชีวิต ระบบ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 99


เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง ระบบการศึกษา รวม ทั้งเทคโนโลยีต่าง ๆ ในลักษณะที่เป็นการท�ำลายสิ่ง แวดล้อมทางกายภาพ สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพและสิ่ง แวดล้อมทางสังคมอย่างมากมายในลักษณะที่ไม่เคย ปรากฏมาก่อน ข.ทุกๆความต่างนัน้ มีความเหมือน นัน่ คือ ความ มีอยู่ หรือสถานะของความมีอยู่ ความเป็นภวันต์ กล่าวคือถ้าเราได้สงั เคราะห์แยกเนือ้ หาย่อยของ กระบวนการคิดแล้วมาวิเคราะห์และแจกแจงมัน จะ พบว่าในเอกภพและสิ่งต่างๆที่อยู่บนโลกใบนี้มีความ เหมือนกัน และมีสถานะอันเดียวกัน นัน่ คือ ความมีหรือ ความเป็นภวันต์เพราะว่าทุกๆสิ่งปรากฏและด�ำรงอยู่ ถ้าสิ่งเหล่านั้นเป็นมายา ไม่มีอยู่จริง เราคงไม่สามารถ ให้เนื้อหาแก่มันได้ว่า เป็นนก เป็นนายแดง เป็นผักบุ้ง และอื่น ค. ในความเหมือนนั้นย่อมมีความต่าง กล่าวคือ ทฤษฎีทางปรัชญาได้กล่าวว่าเมื่อมีสิ่ง สองสิ่งเกิดขึ้นย่อมมีความเหมือนและความต่าง และ ในความต่างนั้นย่อมมีความเหมือนซึ่งทั้งสองมิตินั้น จะอยู่ร่วมกันและเกื้อกูลต่อกันและจะเป็นไปไม่ได้ที่จะ มีความเหมือนกันหมดแต่ไม่มีความต่างอยู่เลยซึ่งเป็น หลักธรรมชาติของโลกสสารและโลกวัตถุทจี่ ะต้องธ�ำรง อยู่ในสภาพเช่นนี้ .ง.ระหว่างความเหมือนกับความต่างของสรรพ สิ่ง มีอยู่ประการหนึ่งเป็นแก่นแท้ กล่าวคือจากความหลายหลายที่เราประจักษ์ ด้วยสายตามหรือจากความต่างที่เรารับรู้ด้วยผัสสะ ของเราหลักปรัชญาอิสลามได้นำ� มาวิเคราะห์วา่ แท้จริง แล้วในความต่างและความเหมือนนัน้ มีโครงสร้างอยู่ ๒ อย่าง และหนึ่งจากสองโครงสร้างเป็นแก่นแท้ เป็นเนื้อ แท้ของสรรพสิ่งนั้น และโครงสร้าง ๒ อย่างคือ 1. ภวันตภาพ คือความมีและการเป็นอาตมัน เช่น ความมีอยู่ของตัวเสือ ความมีอยู่ของตัวแมว 2. คุณานุภาพ คือ ลักษณะเฉพาะหรือความเป็น

100 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

อกลักษณะของตัวตน เช่น ความเป็นแมว ความเป็น เสือ หลักปรัชญาอิสลามเชื่อว่า ภวันตภาพนั้นคือตัว แท้ของสรรพสิง่ ส่วนความเป็นแมว ความเป็นเสือ เรียก ว่า คุณานุภาพ เป็นผลผลิตของภวันตภาพ จากทฤษฎีปรัชญาอิสลามเรื่องของการเอกภพ และโลกท�ำให้เราเข้าใจได้ว่าแท้จริงสรรพสิ่งทั้งหมด ซึ่ ง มนุ ษ ย์ เ ป็ น ส่ ว นย่ อ ยหนึ่ ง ของเอกภพนั้ น มี ค วาม สัมพันธภาพกันอย่างลึกและอย่างแนบแน่นท�ำให้เข้าใจ ได้ว่าความต่างและความเหมือนคือกฏธรรมชาติหนึ่ง ของเอกภพดังนั้นการจะสร้างความสมดุลภาพของ เอกภพคือการสร้างเอกภาพในพาหุภาพซึง่ เป็นแนวคิด หนึ่งของนักปรัชญามุสลิม และเป็นเอกลักษณ์ของ ส�ำนักปรัชญาฮิกมะตุลมุตะอาลียะฮ์ จนสามารถน�ำมา เป็นทฤษฎีทางสังคมวิทยาและศาสนสัมพันธ์ในการใช้ ชีวิตของมนุษยชาติบนความหลากหลาย และผ่านมุม มองที่ถูกต้องและอยู่บนความเป็นจริงหนึ่งว่า มนุษย์ นั้นเป็นส่วนย่อยหนึ่งของเอกภพและมนุษย์สามารถ สร้างสัมพันธภาพกับสรรพสิ่งต่างๆได้ทั้งหมด โดย เฉพาะความสัมพันธภาพระหว่างมนุษย์ด้วยกัน และ หากพิจารณาจากยุคสมัยต้นๆของการก�ำเนิดปรัชญา อิสลาม และประวัตปิ รัชญามุสลิม จะพบว่านักปรัชญา มุสลิมเปิดความคิดและยอมรับกระบวนการทางความ คิดของต่างชาติและเห็นว่าการน�ำเสนอแนวคิดทาง ปรัชญาไม่ใช่เป็นเรื่องของชาติพันธุ์หรือเชื้อชาติและ ศาสนาและนักปรัชญามุสลิมพยายามจะหลีกเลี่ยง ความเป็นชาตินยิ มทางความคิดโดยทีพ่ วกเขาพยายาม หาโอกาสในการสนทนาแลกเปลี่ยนวิชาการพร้อมกับ พูดคุยถึงแนวคิดทางปรัชญาของกันและกัน เช่นท่า นอบูอิสฮากอัลกินดีย์(Abu-Ishakh Al-Kindi)เป็นนัก ปรั ช ญามุ ส ลิ ม ที่ นิ ย มในปรั ช ญาของอริ ส โตเติ ล เป็ น อย่างมาก หรือท่าน อัลฟาอรอบีย์(Al-Farabi) ท่านอ เวน สีน่า (Aven cina) และถ้าสืบค้นไปสมัยก่อนหน้า นั้นที่ปรัชญาอิสลามเริ่มก่อตัวในสมัยการปกครองของ


ราชวงศ์บะนีอับบาส (Abbasid) ชาวมุสลิมยินดีที่จะ รับแนวคิดปรัชญาแบบกรีกโบราณหรือแบบตะวันออก โดยปราศจากการปิดกัน้ ไม่วา่ จะเป็นแนวคิดของเพลโต อริสโตเติล หรือนักปรัชญาคนอืน่ ๆ ตลอดจนท�ำให้ความ ความสนอกสนใจต่อศาสตร์ปรัชญาได้ทวีคูณมากยิ่ง ขึ้นในสมัยนั้น หรือแม้แต่ศาสตร์อื่นๆที่มาจากจีนหรือ อินเดีย ก็ได้รับการขานรับจากปราชญ์มุสลิมเป็นอย่าง ดี และจนถึงปัจจุบันนี้การศึกษาด้านปรัชญาในแวดวง ของมุสลิมยังได้ศกึ ษาแนวคิดต่างๆทางปรัชญามีสาขา ปรัชญาตะวันตกสาขาปรัชญาตะวันออกหรือปรัชญา เปรียบเทียบในมหาวิทยาลัยอิสลามและการสนทนา หรือการเสวนาทางความคิดของนักปรัชญามุสลิมกับ นักปรัชญาที่ไม่ใช่มุสลิมมีมาทุกยุคทุกสมัยและจาก บริบทดังกล่าวนี้ชี้ให้เห็นว่าปรัชญาอิสลามได้บูรณา การจากองค์ความรู้ด้านปรัชญาและแนวทางของนัก ปรัชญาที่เป็นค�ำสอนของอิสลามให้รู้จักการให้เกียรติ ผู้อื่นไม่ยึดมั่นถือมั่นพร้อมที่จะสรรสร้างความถูกต้อง และความสันติภาพให้เกิดขึ้นจริงบนโลกใบนี้ อิ ส ลามวั น นี้ ที่ ถู ก โฆษณาชวนเชื่ อ ให้ ช าวโลก มองแนวคิดอิสลามหรือโลกทัศน์อิสลามในเชิงลบหรือ มองว่าศาสนาอิสลามเป็นศาสนาแห่งชาตินิยมหรือ เป็นศาสนาที่นิยมในความรุนแรงหรือกล่าวหาที่ร้าย แรงกว่านั้นคือเป็นศาสนาแห่งการก่อการร้ายทั้งนี้ทั้ง นั้นข้าพเจ้าอยากจะให้ท่านผู้อ่านที่เคารพได้เปลี่ยน มุมมองใหม่ว่าแท้จริงปรัชญาอิสลามและวิถีของนัก ปรัชญามุสลิมจากอดีตสมัยจนถึงปัจจุบันมีกระบวน ทัศน์หา้ นัน่ คือการยอมรับในความต่างและความหลาก หลายของวิธีคิดและรูปแบบของการคิดและยังไม่ปฎิ เสธกระบวนการคิดต่างๆของนักปรัชญาไม่ว่าจะเป็น นักปรัชญาจากซีกฝัง่ ตะวันตกหรือซีกฝัง่ ตะวันออกและ ปรัชญาอิสลามสอนในเรื่องของความเป็นเอกภาพใน ความหลากหลายและความหลากหลายอยู่ในความ เป็นเอกภาพนั่นหมายความว่าแก่นแท้ของมนุษย์ทุก คนไม่วา่ อยูใ่ นศาสนาใดหรือในลัทธิไหนมีความเหมือน

กันแม้ว่าจะแตกต่างในเชื้อชาติหรือชาติพันธุ์และหลัก คิดทางปรัชญาอิสลามในข้อนี้ส่งผลบวกต่อการอยู่ ร่วมกันของมนุษยชาติอย่างมากทีเดียวเพราะว่าท�ำให้ มนุษย์มีความรักใคร่และมีความใกล้ชิดกันและกันอีก ทั้งสร้างความสมานฉันท์ปลองดองในการอยู่ร่วมกัน และนั่นคือการเกิดสังคมแห่งอารยะขึ้น เป็นสังคมแห่ง สันติและสงบสุขนั่นเอง บรรณานุกรม : ‫ مولف‬: ‫ايران‬- ‫ طهران‬1387‫فخری ما جد‬ ‫ اسالم درجهان سير فلسفه‬: ‫ عبد الحسین خسروپناه‬: ‫فلسفه فلسفه اسالمی‬ 1392 ‫ ايران‬-‫قم‬ -‫ آیه اهلل مصباح یزدی قم‬: ‫آموزش فلسفه‬ 1387 ‫ايران‬ ‫ شهید مطهری‬: ‫کالم عرفان وحکمت عملی‬ -1382‫ ايران‬-‫قم‬ -‫ هانری کوربن قم‬: ‫تاریخ فلسفه اسالمی‬ 1388‫ايران‬ ‫ مصباح یزدی‬: ‫در جستجوی عرفان اسالمی‬ 1391 ‫ ايران‬-‫قم‬ - ‫ مصبا ح یز د ی قم‬: ‫فلسفه ا خال ق‬ 1389‫ ايران‬ : 1390‫ ايران‬-‫عبد الحسین خسرو قم‬ ‫دین فلسفه‬

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 101


เรียบเรียงโดย

กองบรรราธิการ

งานสัมมนาวิชาการ

50 ปีกับการพัฒนา ทางจิตวิญญาณของ อิมามโคมัยนี (รฮ.) งานสัมมนาวิชาการ

“50 ปี การพัฒนาจิตวิญญาณของอิมามโคมัยนี (รฮ.) สู่การตื่นตัวของโลกอิสลาม” ณ โรงแรมชาลีนา ซอยมหาไทย ถนนรามค�ำแหง กรุงเทพมหานคร วันอาทิตย์ที่ 2 มิถุนายน 2556 ศูนย์วฒ ั นธรรม สถานเอกอัครราชทูต สาธารณรัฐ อิ ส ลามแห่ ง อิ ห ร่ า น ประจ� ำ กรุ ง เทพฯ ร่ ว มมื อ กั บ มหาวิทยาลัยนานาชาติ ญามิอะตุลมุศฏอฟา อัลอา ละมียะฮ์และสถาบันส่งเสริมการศึกษาและวิจัยเกี่ยว กับอิสลาม จัดงานครบรอบ 25 ปีแห่งการอสัญกรรม ของท่านอิมาม โคมัยนี (รฮ.) ขึ้น ในงานดังกล่าวจัด ให้มีการสัมมนาวิชาการ ภายใต้หัวข้อเรื่อง “50 ปี การ พัฒนาจิตวิญญาณของอิมามโคมัยนี (รฮ.) สูก่ ารตืน่ ตัว ของโลกอิสลาม” ในการจัดสัมมนาวิชาการครั้งนี้ ได้รับ เกียรติจาก ฯพณฯ ฮุเซน กะมาลิยอน เอกอัครราชทูต สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ประจ�ำประเทศไทย , ท่านอายะตุลลอฮ์มุฮัมมัด บากิร ตะฮ์รีรีย์ อาจารย์

102 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

ด้านจริยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนานาชาติอิมามโคมัยนี (รฮ.) , ท่านมุศฏอฟา นัจญาริยอน ซอเดะห์ ที่ปรึกษา ฝ่ายวัฒนธรรม ศูนย์วัฒนธรรม สถานเอกอัคคราช ทูตสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ประจ�ำกรุงเทพฯ , ฮุจญะตุลอิสลาม เชคกะรีมีย์ ตัวแทน มหาวิทยาลัย นานาชาติ ญามิอะตุลมุศฏอฟา อัลอาละมียะฮ์ , ซัยยิด สุไลมาน ฮุซัยนี ผู้อ�ำนวยการสถาบันมะฮ์ดี , เชคศอ ลิฮ์ ภู่มีสุข อิมามญะมาอัต ฮุซัยนียะห์ บากิลิลอุลูม , อาจารย์อับดุลลอฮ์ มานะจิตต์ นักวิชาการอิสระและ นักเขียนหนังสือ รศ. ดร. จรัญ มะลูลีม หัวหน้าคณะ วิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และแขกผู้ มีเกียรติจากพี่น้องมุสลิมชีอะห์ และสุนนี่เข้าร่วมงาน สัมมนาวิชาการดังกล่าว


ค�ำปราศรัยของทีปรึกษา ฝ่ายวัฒนธรรม ศูนย์วัฒนธรรม สถานเอกอัครราชทูต สาธารณรัฐอิสลาม แห่งอิหร่าน กรุงเทพฯ

ด้วยพระนามของอัลลอฮ์ พระผู้ทรงเมตตา พระ ผู้ทรงกรุณาปรานีเสมอ พระองค์อัลลอฮ์ ทรงมีพระด�ำรัสตรัสในพระ มหาคัมภีร์อัลกุรอาน ซูเราะห์นูร โองการที่ 37-38 ดัง มีใจความว่า “บรรดาบุรุษผู้ที่การค้าและการขายมิได้ ท�ำให้พวกเขาหันห่างออกจากการร�ำลึกถึงอัลลอฮ์และ การด�ำรงการนมาซ และการจ่ายซะกาต เพราะพวกเขา กลัววันที่หัวใจและสายตาจะเหลือกลานในวันนั้น เพื่อ อัลลอฮ์จะทรงตอบแทนพวกเขาอย่างดีเยีย่ ม ตามทีพ่ วก เขาได้กระท�ำไว้ ล�ำระองค์จะทรงเพิม่ ให้พวกเขาอีกจาก ความโปรดปรานของพระองค์ และอัลลอฮ์ทรงประทาน ปัจจัยยังชีพที่พระองค์ทรงประสงค์ โดยปราศจากการ ค�ำนาณ” ขอความสันติ จงมีแด่ทา่ น โอ้รฮู ลุ ลอฮ์ ผูเ้ ป็นบ่าว ที่ดี เป็นผู้ปฏิบัติเชื่อฟังตอ่พระองค์อัลลอฮ์ และศาสนะ ทูตของพระองค์ และบรรดาอะอิมะห์ของเหล่าผูศ้ รัทธา ขอความสันติ แด่บรรดาผู้พลีชีพใหหนทางของอัลลอฮ์ และผู้ประพฤติคุณงามความดี ขอความสันติ จงมีแด่ ดวงวิญญาณอันสูงส่ง ที่ท�ำให้ความจริงปรากฎตลอด กาลจากอดีตศุ่การตื่นตัวของโลกอิสลาม ซึ่งระยะเวลา ครึ่งศตวรรษ ที่ประวัติศาสตร์ได้กล่าวจารึกในเรื่องราว ควาเป็นอิสระเสรีภาพ และการตื่นตัวของโลกอิสลาม ด้วยการบันทึกจารึกชื่อเสียงอันมีเกียรติของท่าน อีทั้ง ได้ให้การยกย่อง ที่ท่านได้ท�ำให้ประชาชาติทั้งหลาย ได้รับอิสรภาพ จนกระทั่งปัจจุบันนี้นามอันมีเกียรติ ของท่านได้ถูกกล่าวขานว่า ท่านนั้นเป็นผู้น�ำ ทีทท�ำให้ ศรัทธาของเหล่าบรรดานกัต่อสู้ ได้มีก�ำลังใจ ที่จะก้าว เดินตามแนวทางของท่าน ขอความสันติจงมีแด่ตวั แทน

ของท่าน คือท่านอิมาม คอมาเนอี ขอพระผูเ้ ป็น เจ้ า ทรงปกป้ อ งรั ก ษา ท่านด้วยเถิด เดื อ นคุ ้ ร ด้ อ ด (เดือนที่สามของสุริยะ คติของอิหร่าน) ของ ทุ ก ๆ ปี จะเป็ น เดื อ น แ ห ่ ง ก า ร ร� ำ ลึ ก จ ก า การอสั ญ กรรมของ ท่ า นรู ฮุ ล ลอฮ์ ท่ า นผู ้ เป็นมัรญิอ์ที่สูงส่ง เป็น นักรบ ในช่วงปีทงั้ หลาย ที่ผ่านมา ท่านคือผู้น�ำ สูงสุดทางจิตวิญญาณ จากฮุซัยนียะฮ์ญะมารอน ด้วย วามเชือ่ มัน่ ยังพระผูอ้ ภิบาลแห่งสากลโลก พระผูท้ รงอยู่ มีอยู่นิจนิรัตร์ ท่านเป็นผู้จุดประกายด้วยศรัทธา ภักดี ต่อพระผู้เป็นเจ้า และทิ้งไว้ซึ่งแนวทางการตื่นตัวของ โลกอิสลาม ท่ า นอิ ม ามโคมั ย นี (รฮ.) ท่ า นคื อ แสงสว่ า ง แห่งดวงอาทิตย์ ที่น�ำทาง การตื่นตัวของโลกอิสลาม โดยใช้หนทางการเป็นผู้ปกครอง ซึ่งบทบันทึกทาง ประวัติศาสตร์นั้น ได้จดบันทึก เกี่ยรติประวัติของท่าน ไว้อย่างถูกต้อง ว่าท่านเป็นผู้ปกครอง เป็นอิมามอัน เป็นสุดที่รัก เป็นแบบอย่างในการแสดงออกซึ่งศรัทธา และความย�ำเกรง ซึ่งท่านไม่กลังเกรงอ�ำนาจใด เว้นแต่ อ�ำนาจของพระองค์อัลลอฮ์ (ซ.บ.) ท่านเป็นผู้ยืนหยัด ด้วยความเข้มแข็งต่อสู้กับการทุจริต การเบี่ยงเบนจาก ความสัตย์จริง และด้วยเหตุนี้ ที่ท�ำให้จิตใจของเหล่า บรรดามนุษยชาตินับล้านๆ ดวง ต่างก็จดจ�ำบันทึก ในหน้าประวัติศาสตร์ว่า แท้จริงยังมีบุรุษหนึ่งที่ตลอด กาลนั้นเกียรติยศ ชื่อเสียงยังคงมีชีวิตเป็นแบบอย่าง อันดีงามอยู่ การยืนหยัดต่อสูข้ องท่านอิมาม อ. ตัง้ แต่เริม่ แรก

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 103


คือแบบอย่างของแนวทาง การตืน่ ตัวส�ำหรับบรรดาผู้ ถูกกดขี่ และประชาชาติที่ ถู ก กดขี่ ทั้ ง หลาย ค� ำ พู ด ของท่ า นอิ ม ามโคมั ย นี (รฮ.) คือค�ำพูดที่ถูกฝังอยู่ ในจิ ต ใจของประชาชน และยังเป็นก�ำลังใจให้แก่ ประชาชนอยู่เสมอว่า ท่า นอิมาม (รฮ.) ได้กล่าวว่า “ชื่ อ เสี ย งเกี ย รติ ย ศของ บุคคลนั้น ซึ่งเขาเป็นผู้ที่ พยายามอย่างยิ่งในการ รั ก ษาแบบอย่ า งที่ ดี ง าม ด้วยความถูกต้อง” และนี่คือแนวความคิดของท่านอิ มามผู้ล่วงลับ ท่านอิมามผู้ซึ่งไม่เคบก้มศรีษะของท่าน ให้แก่ผู้กดขี่คนใดในโลก เว้นเสียการเคารพภักดีตอง องค์พระผู้อภิบาล เพียงพระงอค์เดียวเท่านั้น ท่านอิ มามมุง่ หวังและสัญญามัน่ ต่อ พระผูเ้ ป็นเจ้าว่า ชัยชนะ นั้นจะต้องเกิดจากศรัทธามั่นตอ่พระผู้เป็นเจ้าเพียง พระองค์เดียว ท่านอิมามโคมัยนี (รฮ.) ได้รบั การยอมรับ ให้เป้นผู้น�ำตอ่ประชาชาติ ผู้ยากไร้ในโลกนี้ และเป็นผู้ จุดประกายความถูกต้อง ด้วยการน�ำเสนอแนวทางของ การตื่นตัว ในความเป็นผู้น�ำทางและท่านยังเป็นความ หวังของเหล่าบรรดาผู้ยากไร้ อีกทั้งยังเป็นแสงสว่าง ทางน�ำแห่งศรัทธาในดวงจิตของบรรดามุสลิมอีกด้วย ท่ า นอิ ม ามโคมั ย นี (รฮ.) ท่ า นยั ง เป็ น แบบ อย่างในเรื่องวัฒนธรรม ท่านคือแบบอย่างของบ่าวที่ อ่อนน้อมถ่อมตนและเคารพภักดีต่อพระผู้เป็นเจ้า การ ยืนหยัดต่อบรรดาฏอกูต ผูก้ ดขี่ ก็เพือ่ พระผูอ้ ภิบาลเพียง พระองค์เดียวเท่านั้น และหลังจากระยะเวลาที่ผ่านมา ถึง 50 ปี ตั้งแต่เริ่มต้นของการยืนหยัดต่อสู้ มาจนถึง การตื่นตัวของโลกอิสลาม ก็คือแนวทางที่ท่านอิมามผู้ เป็นสุดทีร่ กั ยิง่ ปฏิบตั ไิ ว้ ดังจะพบว่า แนวทางการปฏิบตั ิ

104 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

ตัวและแนวความคิดของท่านอิมามผู้ล่วงลับเป็นแบบ อย่างของการด�ำเนินชีวิตที่เรียบง่าย ที่มนุษยชาติ ผู้รัก สันติจะได้เรียนรูว้ า่ ในสถานทีต่ า่ งๆ ของโลกนี้ มีอะไรที่ เกิดการเปลีย่ นแปลงไปบ้าง โดยเฉพาะสิง่ ทีท่ า่ นอิมามผู้ ล่วงลับกระท�ำไว้ รวมทัง้ มรดกอันล�ำ้ ค่ายิง่ คือท่านอิมาม คอมาเนอี (ขออัลลอฮ์ทรงปกป้องคุม้ ครองท่าน) มาเป็น ผู้น�ำการปฏิวัติอิสลาม และท่านอิมาม คือผู้สถาปนาที่ ยิ่งใหญ่ของสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่านที่นามของ ท่านอิมามโคมัยนี (รฮ.) จะคงอยู่ตลอดไป เราขอวิงวอนขอพรจากพระผู้เป็นเจ้า ขอให้ แนวทางการเรียกร้องสิทธิเสรีภาพตามแนวทางของท่า นอิมามแห่งยุคสมัย มะห์ดี อัรวาฮุนา วะอัรวาฮุลอาละ มีน ขอให้ท่านผู้น�ำสูงสุดทางจิตวิญญาณในปัจจุบัน หลังจากการจากไปของท่าอนอิมามผูล้ ว่ งลับ ได้รบั การ ปกป้อง ขอให้แนวทางการตื่นตัวของโลกอิสลามได้รับ ชัยชนะ ภายใต้การชี้น�ำของผู้ที่เป็นฟะกีฮ์ของโลก ผู้ ทที่มีความเป็นธรรม เข้มแข็ง ผู้ที่มีความย�ำเกรง และ เป็นผู้ปกครองบรรดามุสลิมโลก คือท่านอายะตุลลอฮ์ อัลอุซมา อิมาม อะลี คอมาเนอี ผู้เป็นวิลายัตผู้น�ำของ ประชาชาติมสุ ลิมของโลกอิสลาม ได้รบั การปกป้องจกา องค์พระผู้อภิบาลแห่งสากลโลกด้วยเถิด “ข้าฯ แต่พระองค์อัลลอฮ์ ขอได้ทรงเร่งรีบการ มาปรากฎ ผู้ปกครองของพระองค์ท่านด้วยเถิด และ ขอให้พวกเราได้เป็นผูเ้ ตาม และเป็นชีอะห์ เป็นผูร้ ว่ มใน ภารกิจหน้าที่กับท่านอิมามแห่งยุคสมัยด้วยเถิด” วัสลามุอะลา อิบาดิลลาฮิศศอลิฮีน ค�ำปราศรัยเปิดงานของ ฯพณฯ ฮูเซน กะมาลิยอน เอกอัครราชทูตสาธาณรัฐอิสลาม แห่งอิหร่าน ประจ�ำประเทศไทย ด้วยพระนามของพระผู้เป็นเจ้าผู้กรุณาปรานี ผู้ทรงเมตตายิ่งเสมอ


อัสสลามุอะลัยกุมฯ มวลการสรรเสริญเป็นสิทธิแด่เอกองค์อัลลอฮ (ซ.บ.) และขอความสั น ติ จ งมแด่ ท ่ า นศาสดามุ ฮั ม มัด (ศ.) ผู้ประเสริฐและวงศ์วานอะลุลบัยต์ (อ.) ส่วน ข้ า พเจ้ า นั้ น ต้ อ งขอขอบคุ ณ เป็ น อย่ า งยิ่ ง ต่ อ ท่ า นที่ ปรึกษาฝ่ายวัฒนธรรมสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ประจ�ำกรุงเทพมหานคร และขอขอบคุณบรรดาแขกผู้ มีความศรัทธาและผู้มีเกียรติที่ได้ร่วมกันจัดงานร�ำลึก ครบรอบอสัญกรรมของท่านอิมามโคมัยนี (รฮ.) ใน หัวข้อสัมมนา “50 ปี การพัฒนาจิตวิญญาณของอิมาม โคมัยนี (ร.ฮ.) สู่การตื่นตัวของโลกอิสลาม” ประการแรกข้าพเจ้าขอเรียนต่อบรรดาสุภาพ สตรีและสุภาพบุรุษที่เคารพรัก ณ ห้องประชุมแห่งนี้ และเรียนต่อบรรดาอุลามะอ์ นักวิชาการ วิทยากรผูท้ รง คุณวุฒทิ งั้ หลาย วันนีเ้ รามาเริม่ ต้นด้วยคุณลักษณะอัน ประเสริฐยิ่งดีเลิศของบุรุษผู้หนึ่งที่เราก�ำลังกล่าวถึง ว่า 50 ปีที่ผ่านมา บุรุษท่านผู้นี้ท�ำอะไรไว้เกี่ยวกับโลกของ อิสลาม ในแง่อีกมุมหนึ่ง สิ่งที่ท่านอิมามโคมัยนีได้ต่อสู้ เพือ่ ทีจ่ ะเป็นแบบอย่างให้มสุ ลิมในยุคหลังได้เรียนรูแ้ ละ น�ำมาปฏิบัติ ขอให้เรามาพิจารณาดูกันว่าการเป็นผู้น�ำนั้น ควรจะมีคณ ุ ลักษณะเช่นไ เพือ่ ทีจ่ ะน�ำพวกเราไปสูก่ าร ความมีเอกภาพของพระผู้เป็นเจ้า ผู้น�ำจะต้องยืนหยัด เคียงข้างกับบรรดาผู้ถูกกดขี่ทั้งหลาย ผู้น�ำในทัศนะ ของเราก็คือจะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถที่ จะตอบปัญหาของพวกเรา และมีความสามารถที่จะ แก้ไขสถานการณ์ต่างๆ ในโลกปัจจุบันและในโลกของ อนาคตได้ ในมุมมองของเรา ผู้ที่ท�ำหน้าที่เป็นผู้น�ำก็คือผู้ ที่สามารถที่จะน�ำประชาชนไปสู่แนวทางของอัลลอฮ (ซ.บ.) เป็นผู้ช่วยเหลือและปลดปล่อยให้ประชาชนทั้ง หลายให้ได้รับเสรีภาพ ท่านอิมามโคมัยในทัศนะของเรา ท่านเป็นทั้ง ผู้น�ำและเป็นผู้ปกครอง ดังจะเห็นได้ว่า ประชาชน

ชาวอิ ห ร่ า นก็ ดี บรรดา มุสลิมทั่วโลกในปัจจุบัน หรือในอดีตต่างมุง่ ศึกษา หาความรู้จากชีวประวัติ และการด�ำเนินชีวิตของ ท่าน เพื่อที่จะน�ำมาเป็น แบบอย่าง ดังจะเห็นได้ ว่า ในการปฏิวัติอิสลาม แห่งอิหร่าน ท่านอิมาม พูดกล่าวอยู่เสมอว่า การ ปฏิวัติอิสลามของท่านที่ น�ำมาไม่ใช่สำ� หรับเฉพาะ ชาวอิหร่าน แต่การปฏิวตั ิ อิ ส ลามถู ก น� ำ มาเพื่ อ มุสลิมผู้ศรัทธาและมนุษยชาติ ชัยชนะแห่งการปฏิวัติ อิสลามก็เพือ่ ให้มสุ ลิมและมนายชาตินรอดพ้นจากการ กดขี่ข่มเหงของผู้ที่กดขี่ทั้งหลายที่ปรากฏขึ้นในโลก เป้าหมายของท่านอิมามโคมัยนี (รฮ.) ของการ ปฏิวตั ขิ องอิสลามเพือ่ ทีจ่ ะน�ำพาชัยชนะเสรีภาพ ไม่ใช่ เพียงประชาชนชาวอิหร่านเพียงเท่านั้น แต่สิ่งที่ท่า นอิมามโคมัยนี (รฮ.) มุ่งหวังก็คือ การน�ำพาอิสรภาพ เสรีภาพ เอกภาพ เพือ่ ทีจ่ ะให้แนวทางอันนีเ้ ป็นแนวทาง แห่งสากล พี่น้องมุสลิมที่รัก หากเราย้อนกลับไปดูในหน้า ประวัติศาสตร์เมื่อประมาณ 100 ปีที่ผ่านมา เราจะ พบว่ามีนักการศาสนา บรรดาผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ยืนหยัด ต่อสู้และรับใช้อิสลามและสังคมมุสลิม ไม่ว่าจะเป็น ท่านซัยยิดญะมาลุดดีน เชคมุฮมั มัดมัด อับดุฮ์ และคน อื่นๆ ซึ่งล้วนถูกกล่าวขานมาในอดีต บุคคลเหล่านี้ ยืน หยัดต่อสู้และถูกผู้ปกครองในสมัยนั้นสังหาร บางท่าน ถูกน�ำไปคุมขังและได้รับการทรมาน ฯลฯ การยืนหยัดของท่านอิมามโคมัยนี (รฮ.) และการ เคลื่อนไหวต่อสู้ของท่าน ก็ไม่แตกต่างจากบุคคลเหล่า นี้เลย แต่เป้าหมายของท่านก็เพื่อให้โลกอิสลามรับรู้

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 105


และมีการตื่นตัวอย่างต่อ เนื่อง อย่างไรก็ตามความ มุ ม านะรั บ ใช้ ข บวนการ การเคลื่ อ นไหวอิ ส ลามที่ ท่ า นอิ ม ามโคมั ย นี (รฮ.) กระท�ำไว้ แม้จะล่วงเลย มาจนถึงปัจจุบัน ก็จะพบ ว่ า ขบวนการของท่ า น ยังไม่ส�ำเร็จลุล่วง เพราะ ท่านต้องการให้ขบวนการ เสรีภาพนี้ก้าวขึ้นสู่สู่ความ เป็นสากลของโลก แต่ จ ากเหตุ ก ารณ์ ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลง ที่เกิดขึ้นทุกภูมิภาค ไม่ว่าในประเทศตูนีเซีย บาห์เรน ลิเบียหรือประเทศต่างๆ เรามีความเชื่อมั่นว่าการ ตื่ น ตั ว หรื อ การใช้ ชื่ อ เรี ย กการเปลี่ ย นแปลในแต่ ล ะ ประเทศ ถึงแม้จะใช้ชอื่ ในแบบใดก็แล้วแต่ แต่มนั คือการ เปลีย่ นแปลงทีบ่ รรดาผูย้ ากไร้ทถี่ กู กดขีย่ นื หยัดต่อสูก้ บั ผูป้ กครองผูก้ ดขี่ และนัน่ คือสิง่ ทีท่ า่ นอิมามโคมัยนี (รฮ.) จุดประกายไว้เป็นแบบอย่าง การเมืองในยุคปัจจุบนั มีความร้อนแรงมากยิง่ ขึน้ ถึงแม้ว่าสหประชาชาติและบรรดาผู้น�ำที่จัดตั้งองค์กร นี้ขึ้นมา ต่างมีความวิตกว่าการเปลี่ยนแปลงการตื่น ตัวที่เกิดขึ้นในโลกปัจจุบัน โดยเฉพาะโลกมุสลิมมีการ เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง ท่ามกลางบรรดาศัตรูของ มุสลิมและมหาอ�ำนาจทีพ่ ยายามท�ำลายระบอบอิสลาม พวกเขาพยายามสร้างสถานการณ์รูปแบบใหม่ๆ ขึ้น เพื่อสร้างความอ่อนแอให้การตื่นตัวของดลกอิสลาม เราจึงหน้าที่ต้องสานต่อขบวนการปฏิวัติอิสลามของอิ มามโคมัยนี รฮ. เช่นกัน ท่านอิมามโคมัยนี (รฮ.) ได้น�ำอิสลามที่แท้จริง มาสู่มวลมุสลิม และสอนให้ผู้ศรัทธารู้จักแนวทางแห่ง สัจธรรม ซึ่งเป็นแนวทางที่ให้ความเคารพรักซึ่งกันและ

106 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

กัน เป็นแนวทางที่จะสร้างความสันติภาพและความ เป็นมิตร ในการปฏิวตั อิ สิ ลามครัง้ นี้ ท่านมีความเชือ่ มัน่ ต่อ องค์ผู้อภิบาลอย่างยิ่ง ท่านอิมามกล่าวอยู่เสมอว่า ฉัน มอบความไว้วางใจยังแด่องค์อภิบาล ดังนัน้ พวกเราทัง้ หลายทีม่ อบความรักต่อท่าน ก็ควรทีจ่ ะปฏิบตั ติ ามท่าน วัสลามมุอะลัยกุมฯ

ค�ำปราศรัยของ ท่านอะยาตุลลอฮ์ ตะฮ์รีรีย์ อาจารย์สอนวิชาจริศาสตร์ มหาวิทยาลัยอิมามโคมัยนี เมืองกุม

ด้วยพระนามของพระผู้เป็นเจ้าผู้กรุณา ปรานี ผู้ทรงเมตตายิ่งเสมอ อัสสลามุอะลัยกุมฯ มวลการสรรเสริญเป็นสิทธิของอัลลอฮ (ซ.บ.) ขอ ความสันติจงมีแด่ท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ.) และตลอด บรรดาลูกหลานทีบ่ ริสทุ ธิข์ องท่าน และในขณะนีเ้ ราได้ อยู่ในช่วงวันเวลาของการแต่งตั้งท่านศาสดา (ศ.) และ พร้อมกับการจัดงานร�ำลึกอสัญกรรมของท่านอิมาม โคมัยนี (รฮ.) ผู้ที่แสดงออกและได้เรียกร้อง พร้อมทั้ง น�ำพาค�ำสั่งสอนของท่านศาสดา (ศ.) มาปฏิบัติ และ ได้แสดงให้เห็นถึงปรัชญาอันแท้จริงของการแต่งตั้ง ท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ.) และให้ทั่วโลกได้เห็นในสิ่งนี้ และคุณสมบัติของท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ.) ก็คือเป็น ศาสดาแห่งความเมตตาทีใ่ นอัลกุรอานได้ระบุไว้นนั้ คือ “ เราไม่ได้ส่งเจ้ามาเพื่อสิ่งอื่นใดนอกจากความเมตตา แห่งสากลโลก” ซึ่งโองการนี้ที่ข้าพเจ้าได้น�ำเสนอนั้น เพราะเป็นการแสดงออกถึงความผูกพันธ์อันลึกซึ้ง ไม่ ว่าจะเป็นในเรื่องของส่วนตัวบุคคล สังคม การเมือง ระหว่างท่านอิมามโคมัยนี (รฮ.) และการแต่งตั้งของ ท่านศาสดา (ศ.) ในการแต่งตั้งท่านศาสดา (ศ.) มาสู่ประชาชาติ จากเอกองค์อลั ลอฮ (ซ.บ.) นัน้ ก็ไม่ใช่ทเี่ ป็นสิง่ ทีพ่ ระองค์


จะแต่งตั้งใครมาก็ได้ พระองค์ได้ทรงคัดเลือกและคัด สรรค์ และเช่นเดียวกัน เช่นเดียวกันกับประเด็นของท่า นอิมามโคมัยนี (รฮ.) กับการรับรู้ท่านอย่างแท้จริงนั้น ในฐานะที่ท่านนั้นเป็นแบบอย่างในการขับเคลื่อนเพื่อ ปล่อยมนุษยชาติ แต่ก็ไม่ใช่เป็นงานของคนทุกคนจะ สามารถที่จะกระท�ำได้ การทีข่ า้ พเจ้าจะเปรียบเทียบกับท่านนบี และท่า นอิมามโคมัยนีนั้น ในอันที่จริงแล้วข้าพเจ้าพยายามที่ จะไม่เปรียบเทียบในลักษณะที่ท่านอิมามและท่านนบี ในแนวตั้งก็คือเพื่อที่จะสื่อให้เห็นในบางสิ่งบางอย่าง เพราะท่านอิมามโคมัยนีก็ได้กล่าวย�้ำเสมอว่า “ความ ยิ่งใหญ่ของท่านศาสดานั้นก็ไม่มีเคยเสมอเหมือนท่าน ศาสดาได้” เพื่อที่จะให้เราได้เห็นและรู้จักท่านอิมาม โคมัยนี (รฮ.) มากขึ้น เราก็จะเห็นคุณลักษณะของท่าน นบี (ศ็อล) ชัดเจนมากยิ่งขึ้นมากเท่านั้นเอง เราจะขอกล่ า วถึ ง คุ ณ ลั ก ษณะของท่ า นอิ มามโคมัยนี (รฮ.) ก่อน หลังจากนั้นเราก็จะมามอง คุณลักษณะเฉพาะของท่านศาสดาเกี่ยวกับการปฏิวัติ อิสลาม ในความประเสริฐหรือเฉพาะที่ท่านอิมามมี นั้น อยากจะให้นักวิชาการค้นคว้าและวิจัยและท�ำการ ศึกษาเพื่อจะได้น�ำไปเป็นแบบอย่างในการปฏิบัติไม่ ว่าจะเป็นในส่วนของบุคคลและสังคม หรือในทุกส่วน ของการเมือง คุณสมบัติแรกของท่านอิมามโคมัยนี (รฮ.) นั้นก็ คือความสมบูรณ์แบบของการเป็นปราชญ์และความรู้ ด้านในแขนงต่างๆ ของอิสลาม ซึ่งในแต่ละวิชาความ รู้นั้นได้ท�ำให้มีผลงานอันยิ่งใหญ่ได้ปรากฏบนโลกของ เรา คุณสมบัติของท่านที่มีก็คือ ท่านเป็นผู้ที่มีความ เชี่ยวชาญในทางด้านวิชาการ ซึ่งสามารถที่จะส่งผล ให้ท่านได้รับรู้แก่นแท้ของศาสนา และเมื่อท่านมีความ รู้อิสลามที่แท้จริงแล้ว ท่านก็จะสามารถขับเคลื่อน ไม่ ว่าในทางด้านความคิด จริยธรรม การปฏิบัติ การเมือง การปกครอง ฯลฯ โดยที่ท่านจะพยายามให้สอดคล้อง กับการด�ำเนินชีวิตให้อยู่ในโลกดุนยาและอาคิเราะห์

ในแง่ มุ ม ของการรู ้ จั ก เอ กองค์อลั ลอฮ (ซ.บ.) อย่าง แท้จริง และการมีอีมาน (ศรัทธา) ต่อพระผูเ้ ป็นเจ้า ท่ า นก็ มี ค วามรู ้ ท างด้ า น อารีฟ และเชี่ยวชาญทา งด้านอิรฟาน โดยเฉพาะ ท่านก็เป็นมนุษย์คนหนึง่ ที่ จะเสนอความคิดเห็นออก มาและได้ท�ำออกมาเป็น ต� ำ รั บ ต� ำ รา ในเรื่ อ งของ การใช้ ห ลั ก เหตุ ผ ลหรื อ หลักทางของทางด้านสติ ปั ญ ญา และท่ า นก็ เ ป็ น อาจารย์ผู้เชี่ยวชาญและนักปรัชญาที่เฉลียวฉลาดและ มีวิธีแนวคิดที่ลุ่มลึก ลึกซึ้ง หนังสือที่เป็นหลักปรัชญา บางเล่มที่มีความยาก และเป็นหนังสือหลักๆ แต่ท่า นอิมามโคมัยนี (รฮ.) ได้ท�ำการค้นคว้าวิจัยด้วยตัวของ ท่านเอง และได้นำ� มาอรรถาธิบายให้แก่บรรดาลูกศิษย์ ทั้งหลายได้ท�ำการศึกษา ในเรือ่ งของวิชาจริยศาสตร์ หรือในเรือ่ งมารยาท ของท่านนัน้ ท่านก็ได้แสดงออกอย่างเห็นได้เด่นชัด โดย การน�ำเสนอในรูปแบบของแนวคิดทางด้านจริยศาสตร์ พร้ อ มกั บ ได้ ท� ำ การสอนและยั ง ได้ เ ขี ย นต� ำ รั บ ต� ำ รา ถือว่าเป็นแนวทางเฉพาะทางทีท่ า่ นได้นำ� เสนอมา ก็คอื อัคลาสหรือจริยศาสตร์ ที่ปะปนไปด้วยอิรฟาน ในด้านวิชานิติศาสตร์อิสลาม (ฟิกฮ์) ในอิสลาม เกีย่ วกับกฏหมายอิสลามท่านก็เป็นผูท้ เี่ ชีย่ วชาญอย่าง สูง จนบรรดาอุลามาอ์ใหญ่ๆได้ให้การยอมรับว่า ท่าน เป็นผู้ที่มีความรู้มากที่สุดในด้านของวิชาของฟิกส์ ซึ่ง เป็นเวลาหลายๆ สิบปี บรรดาอุลามาอ์ใหญ่ๆ ของเราได้ ให้การยอมรับว่า ท่านอิมามโคมัยนี (รฮ.) อยู่ในฐานะ ภาพของผู้ที่มีความรู้ขั้นสูงสุด ต�ำราที่ท่านได้เขียนนั้น ได้ท�ำการสอนและวินิจฉัยให้กับนักการศาสนาต่างๆ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 107


ได้เรียนรู้ คุ ณ สมบั ติ ที่ ส อง ของท่านที่ได้มีความโดด เด่นก็คือ ในเรื่องเกี่ยวกับ ทางด้านจิตวิญญาณ การ ปฏิบัติ จริยธรรม สิ่งเหล่า นี้ เ ราจะเห็ น ได้ จ ากการ ปฏิบัติ และการแสดงออก ของท่ า นอิ ม ามโคมั ย นี (รฮ.) ที่ ไ ด้ ม อบความไว้ วางใจแด่เอกองค์อัลลอฮ (ซ.บ.) อย่ า งเห็ น ได้ ชั ด พร้ อ มกั บ ได้ น� ำ หลั ก การ ศาสนามาปฏิ บั ติ บ นพื้ น แผ่นดินของประเทศอิสลาม และคุณสมบัตทิ สี่ าม ก็คอื ความกล้าหาญ ความเด็ดเดี่ยวในการน�ำเสนอแนวคิด ต่างๆ ทางศาสนาที่ท่านเข้าใจและได้ท�ำการสื่อให้กับ สังคมของอิสลาม อย่างเช่น ความอดทน อดกั้น และ ปัญหาที่มีมาอย่างมากมายในสมัยของท่าน คุณสมบัติที่สี่ของท่านอิมามโคมัยนี (รฮ.) ก็คือ ผสมผสานอย่างลงตัวในเรื่องของศาสนาโดยน�ำหลัก การของศาสนาไม่ว่าจะเป็นทางด้านจิตวิญญาณเพื่อ เข้าไปสู่กระบวนการด�ำเนินชีวิต หมายความว่า ความ สูงส่งในการที่อิมามโคมัยนีได้เข้าไปถึงทางสถานภา พด้านอิรฟาน และในฐานะที่ท่านเป็นอะรีฟ ท�ำให้ท่าน นั้นมองไปยังมิติต่างๆ สู่การปฏิบัติจริงในสังคม ต�ำรา ของท่านนัน้ ไม่ได้ถกู เขียนขึน้ มาอ่านและเข้าใจได้งา่ ยๆ แต่จำ� เป็นต้องมีการสอนโดยจะต้องเป็นผูท้ มี่ คี ณ ุ วุฒิ ถึง จะเข้าใจได้ เพราะฉะนัน้ ในสิง่ ทีท่ า่ นศึกษาถึงในเรือ่ งขอ งอิรฟาน เลยท�ำให้ท่านได้มองผ่านมิติเข้าสู่การด�ำเนิน ชีวิตในความเป็นจริงและก็จะผ่านการขับเคลื่อนไปสู่ แห่งหนทางนั้นๆ ส่วนมุมมองของท่านอิมามโคมัยนี ต้องการที่ จะปลดปล่อยมนุษยชาติและปัญหาต่างๆที่มีอยู่ ณ

108 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

บนโลกใบนี้กับการพัฒนาของมนุษย์นั้นท่านมองว่า หนทางที่มนุษย์จะถูกปลดปล่อยได้จริงนั้นก็คือ มนุษย์ จะต้องรู้จักศาสนาของพระผู้เป็นเจ้า และจะต้องยึด มั่นปฏิบัติหลักในศาสนาของพระองค์โดยยึดมั่นในค�ำ สอนของท่านศาสดา (ศ.) ดังที่ท่านนบีได้กล่าวไว้ ในคัมภีร์อัลกุรอาน “พระองค์อัลลอฮ์ (ซ.บ.) ได้ทรงส่ง ศาสดามาเป็นทางน�ำและศาสนาอันสัจธรรมเพื่อที่จะ ให้ศาสนาอิสลามอยู่เหนือกว่าศาสนาอื่นๆ” ดังนัน้ สิง่ นีท้ ที่ า่ นได้รบั จากโองการและค�ำสอนจา กอัลกุรอาน มันก็เป็นปราการอันส�ำคัญและในแนวคิด และน�ำเสนอในการที่ท่านนั้นจะได้เข้าใจในมุมมอง ต่างๆ เพื่อที่จะน�ำเข้าสู่ สังคม การเมือง การปกครอง และก็จะให้เป็นตัวอย่างแก่ประชาชาติต่อไป ตามที่อัลกุรอาน ได้กล่าวแก่ท่านศาสดา (ศ.) ไว้ ว่า แท้จริงเราได้สง่ เจ้ามาก็เพือ่ แจ้งข่าวดีและเป็นผูท้ ตี่ กั เตือนในสิ่งที่ดีและไม่ดี ตักเตือนมนุษย์ให้ออกห่างจาก ความตกต�่ำที่จะน�ำพาไปสู่ความหายนะของมนุษย์เอง ในขณะเดียวกันท่านอิมามโคมัยนี (รฮ.) ก็ได้ท�ำการตัก เตือนและปฏิบัติอย่างที่ท่านศาสดา (ศ.) ได้ปฏิบัติเป็น แบบอย่างเอาไว้ทั้งหมด ในประเด็นสุดท้าย พวกเราสามารถเรียนรู้ได้ จากท่านอิมามโคมัยนี (รฮ.) นั้นมนุษย์เราสามารถที่ จะปฏิบัติตามค�ำสั่งของเอกองค์อัลลอฮ (ซ.บ.) ปฏิบัติ ตามเงือ่ นไข กฎระเบียบ บทบัญญัตติ า่ งๆ การทีเ่ ราจะ ปฏิบัติสิ่งเหล่านี้ซึ่งท�ำให้เราสามารถที่จะน�ำพามนุษย์ ไปสูค่ วามผาสุกทีแ่ ท้จริง และไม่วา่ จะเป็นโลกนีห้ รือโลก หน้า และในโลกนีส้ ามารถทีจ่ ะปกครองด้วยบทบัญญัติ ของพระผูเ้ ป็นเจ้า นีเ่ ป็นสิง่ ทีแ่ สดงออกเห็นอย่างเด่นชัด ของท่านอิมามโคมัยนี (รฮ.) ซึ่งการปกครองของพระผู้ เป็นเจ้านั้นก็คือ การปฏิบัติตามกฏของพระผู้เป็นเจ้า บนหน้าแผ่นดินนี้ นั่นก็คือ การยึดมั่นในหนทางแห่งอิ มามอัลเมะห์ดี (อฺ) ท่านอิมามโคมัยนี ต้องการที่จะมุ่งเน้นถึงเรื่อง ความเป็ น เอกภาพของชนชาติ อิ สลามไม่ ว่ าจะเป็ น


มั ซ ฮั บ ต่ า งๆ ซึ่ ง ถื อ ว่ า มี ค วามส� ำคั ญ จากการปฏิ วั ติ อิสลามที่ได้ยืนหยัดและให้การสนับสนุนในแนวคิด เช่นนี้ และในสิง่ สุดท้ายทีเ่ ราได้เห็นกันบ่อยในขณะนี้ ก็ คือ ประชาชาติอิสลามต่างๆ ต่างได้มีการตื่นตัวและได้ ล้มล้างบรรดาผูป้ กครองทีอ่ ธรรม และสิง่ ทีแ่ น่นอนทีส่ ดุ เหล่าบรรดาศัตรูของอิสลามพยายามที่จะดับรัศมีอันนี้ ให้โลกอิสลามไม่ให้ตื่นตัว และต้องการที่จะก�ำจัดการ ตื่นตัวของบรรดามุสลิมต่างๆ บนโลก การตืน่ ตัวของประชาชาติของอิสลามในยุคสมัย นี้ถือว่าเป็นสิ่งที่ส�ำคัญอย่างยิ่งในการที่บรรดามุสลิม จ�ำเป็นต้องรู้ถึงความส�ำคัญในการเสแสร้งของบรรดา ผู้ปกครอง และก็แน่นอน บรรดาเหล่าศัตรูไม่ต้องการ ให้อิสลามได้มีบทบาทในสังคมของพวกเขา และมวล มุสลิมส่วนใหญ่ในตอนนี้ต่างก็รู้ว่าผู้ปกครองนั้นเป็น เพียงแค่ตุ๊กตาที่มหาอ�ำนาจน�ำมาใช้ในการปกครอง ของพวกเขา ดังนัน้ มันเป็นความเจ็บปวดของมวลมุสลิมเองที่ จะต้องออกมาเคลือ่ นไหว ฉะนัน้ บรรดามุสลิมจะต้องมี ความเป็นเอกภาพสามัคคี และต้องออกมาเคลื่อนไหว ด้วยตัวของพวกเขาเอง และต้องอยูภ่ ายใต้การชีน้ ำ� ของ คัมภีร์อัลกุรอาน และท่านศาสดา (ศ.) และอะลุลบัยต์ (อ.) เพราะสิง่ เหล่านีม้ นั จะท�ำให้พวกเรานัน้ มีเกียรติยศ และศักดิ์ศรีของความเป็นมุสลิมที่แท้จริง วัสลามุอะลัยกุมฯ ค�ำอภิปรายของ ซัยยิดสุไลมาน ฮุซัยนี ผู้อ�ำนวยการสถาบันอัลมะห์ดี (อ.) ข้ า พเจ้ า จะชี้ ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง ความส� ำ คั ญ ของการ ปฏิวัติ ว่ารากฐานของการปฏิวัตินี้มาอย่างไร และท่า นอิมามโคมัยนี เป็นใคร?และมีความสัมพันธ์อันใดที่ เป็นความสัมพันธ์ที่พิเศษที่เกี่ยวข้องกับศาสนา การ

ปฏิวัตินี้เป็นการปฏิวัติที่ ได้ ถู ก ก� ำ หนดมาแล้ ว โด ยอัลลอฮ์ รอซูล กุรอาน และหะดี ษ ไม่ ใ ช่ นั ก คิ ด คนหนึ่ง นักปฏิวัติคนหนึ่ง ประสพกั บ สถานการณ์ หนึ่ ง แล้ ว จ� ำ เป็ น ต้ อ งยิ น หยัดลุกขึ้นต่อสู้ รากฐาน ส� ำ คั ญ ที่ จ ะ ท� ำ ค ว า ม เข้าใจว่าการปฏิวัตินี้ คือ การปฏิ วั ติ ใ นตั ว ตนของ อิ ส ลามอย่ า งแท้ จ ริ ง มี หะดี ษ อยู ่ ห มวดหนึ่ ง ที่ เข้ า มาเกี่ ย วข้ อ งกั บ การ ปฏิวัติ และหะดีษนี้มีรายงานทั้งสองสายรายงาน นั้น คือรายงานจากอะห์ลสิ นุ นะห์กม็ รี ายงานอยูจ่ ำ� นวนหนึง่ ที่เพียงพอในการที่จะน�ำไปพิสูจน์สัจธรรม และเช่นกัน รายงานของชีอะห์นั้นก็มีมากที่จะพิสูจน์รายละเอียด ของการฏิวัติครั้งนี้ รากฐานของการปฏิวัตินี้มาจากหะดีษบทหนึ่ง จากท่านรอซูลลุ ลอฮ์ (ศ.) โดยตรง คือหะดีษทีเ่ กีย่ วข้อง กับธงด�ำ ถ้าเราจะใช้ค�ำพูดแบบทั่วๆไปในปัจจุบันอาจ จะใช้ค�ำพูดที่ว่า การปฏิวัติที่ตรงตามค�ำพยากรณ์ของ ท่านศาสดา และทั้งนี้ อาจจะดูว่าไม่ค่อยเหมาะสม เท่าไรนัก แต่การปฏิวัตินี้เป็เสมือนดังค�ำสั่งเสียของ ท่านศาสดา (ศ.) เราก็มาดูว่ารากฐานของการปฏิวัติ นี้มาจากไหน มีหะดีษที่ตรงกันจะหยิบยกมาสองสาม หะดีษ ท่านรอซูลลุ ลอฮ์ (ศ.) ได้กล่าวไว้ในลักษณะหนึง่ ว่า “เมือ่ พวกเจ้าเห็นธงด�ำ” หะดีษแบบนีม้ มี ากกว่าร้อย หะดีษ ไม่ใช่เพียงสองสามหะดีษ โดยเฉพาะในต�ำรา ของชีอะห์ และต�ำราของสุนนี่ก็กล่าวถึงธงด�ำ ซึ่งบาง ครั้งก็กล่าวว่าปรากฎที่ทางทิศตะวันตก บางหะดีษ บอกว่ามาจากทิศตะวันออก ณ โครอซาน ซึ่งเบื้องต้น บอกว่าปรากฎจากทิศตะวันออก จากนั้นกลัวว่าพวก

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 109


เราจะไม่รู้ว่าจากทิศตะวัน ออกจะเอาจากทางใดกัน แน่ ก็เลยอถาธิบายว่าทิศ ตะวันออกนั้นคือ ที่โครอ ซาน เมื่อธงด�ำขึ้นที่โคอรอ ซาน ข้าพเจ้าได้รวมเอา สองสามหะดี ษ มากล่ า ว เป็นบทเดียวกันว่า เมื่อธง ด�ำปรากฎขึ้นที่โครอซาน ท่านรอซูลลุลลอฮ์ (ศ.) ได้ กล่าวว่า “เมือ่ ธงด�ำปรากฎ ขึน้ ทีโ่ ครอซาน จงให้เกียรติ แก่ชาวเปอร์เซีย” เราก็มา อธิบายว่า “จงให้เกียรติแก่ ช่วเปอร์เซีย” นั้นหมายความว่าอย่างไร เบื้องต้นท�ำใม ต้องให้เกียรติแก่ชาวเปอร์เซีย ท่านศาสดา (ศ.) ได้กล่าว อีกว่า “เพราะรัฐบาลของเราอิสลามอันบริสุทธิ์จะอยู่ กับพวกเขา” และมีอีกหะดีษหนึ่งกล่าวว่า “เมื่อธงด�ำ ปรากฎขึ้นที่โครอซาน พวกเจ้า (หมายถึงพวกเรา ซึ่งไม่ ได้หมายถึงพวกเศาะฮาบะห์ในวันที่ท่านรอซูลลุลลอฮ์ (ศ.) ได้กล่าว เพราะว่าเหล่าบรรดาเศาะฮาบะห์เหล่า นั้นไม่มีโอกาสที่จะได้เห็นธงด�ำแห่งการปฏิวัติของชาว โครอซาน ชาวโครอซานก็คือชาวอิหร่านหรือเปอร์เซีย ที่บอกไว้อย่างชัดแจง) จงให้เกียรติกับชาวเปอร์เซีย รัฐบาลของเราอะห์ลุลบัยต์อยู่ในพวกเขา” นี่คือหะดีษ บทหนึ่งที่กล่าวถึงการปฏิวัติที่จะเกิดขึ้นในอนาคตใน แผ่นดินอิหร่าน วันนี้ค�ำว่าโครอซานได้ถูกเปลี่ยนชื่อ เป็นแผ่นดินอิหร่าน หลังจากนั้นจึงอธิบายรายละเอียด เข้าไปอีก ทีจ่ ะชีใ้ ห้เห็นถึงความส�ำคัญของธงด�ำทีป่ ราก ฎขึน้ ทีแ่ ผ่ยดินโครอซาน ท่านรอซุลลุ ลออฮ์ (ศ.) ได้กล่าว ว่า “จงไปยังมัน จงไปให้ถงึ ธงด�ำนัน้ จงไปท�ำการบัยอัต ให้กบั พวกเขา” ท่านรอซูลลุ ลอฮ์ (ศ.) ได้บอกล่าวไว้ลว่ ง หน้า ถือว่าเป็นการสั่งเสีย ไม่ใช่ค�ำพยากรณ์ ถือว่าเป็น ภารกิจของอุมมัตประชาชาติของท่าน วันที่ท่านรอซูล

110 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

ลุลลอฮ์ (ศ.) พูดนั้นไม่ได้พูดกับชีอะห์ ไม่ได้พูดกับสุนนี่ เพราะยังไม่เกิดชีอะห์ และสุนนี่ในวันนั้น ท่านได้กล่าว กับอุมมัตประชาชาติทกุ คนว่า “ทีว่ นั นัน้ มาถึง ใครก็ตาม ที่ได้ประสพกับเหตุการณ์ที่ธงด�ำถูกชูขึ้นที่โครอซาน จง ไปยังทีน่ นั้ จงไปท�ำการบัยอัต และก็บอกสาเหตุดว้ ยว่า ท�ำไมต้องบัยอัต ก็เพราะว่า รัฐบาลของเราเกิดขึ้นที่นั้น ดังนัน้ การปฏิวตั อิ นั นีไ้ ม่ใช่เป็นการปฏิวตั ทิ ไี่ ม่มที ไี่ ปทีม่ า การปฏิวัติที่เกิดขึ้น ก็เพราะในยุคสมัยนั้นเกิดการกดขี่ จ�ำเป็นที่จะต้องลุกขึ้นต่อสู้ การปฏิวัตินี้ได้ถูกก�ำหนด มาแล้วในศาสนาอิสลาม ซึ่งอันที่จริงแล้วยังมีโองการ ของอัล-กุรอานที่ชี้ให้เห็นถึงการปฏิวัติของประชาชาติ นี้ ดังนั้นค�ำว่าจงตรงไปที่นั้น ไปท�ำอะไร คิอไปท�ำกา รบัยอัต จงให้การสัตยาบันกับการปฏิวัติอันนั้น ไม่ใช่ ว่าพวกเราไม่มีหน้าที่ แต่ท่านศาสดา มุฮัมมัด (ศ.) ไม่ ได้สงั่ เสียให้เราเป็นผูน้ งั่ ชมการปฏิวตั ิ แต่ได้สงั่ เสียให้เรา เป็นส่วนหนึ่งของการปฏิวัติ ดังนั้การบัยอัตถือว่าเป็น ค�ำสั่งที่ยิ่งใหญ่หนึ่งในอิสลาม และไม่มีข้ออ้างใดๆ ค�ำ ว่าไปนั้นไม่จ�ำเป็นต้องไปด้วยตัวตน แต่เป็นการแสดง ตนให้มีส่วนร่วมกับการปฏิวัติอันนั้น และไม่มีข้อใดๆ ที่พวกท่านจะไม่ไป หรือจะมไยอมรับในการปฏิวัติอัน นี้ เพราะท่านรอซูลลุลลอฮ์ (ศ.) ได้กล่าวไว้แล้วว่า จง ไปให้ถงึ มัน แม้แต่ทา่ นจะต้องคลานไปบนน�ำ้ แข็ง ก็ตอ้ ง คลานไป เพือ่ ให้สตั ยาบันกับบุคคลหนึง่ ทีเ่ ป็นสาวกของ การปฏิวัติในครั้งนี้ ดังนั้นหะดีษนี้ได้ชี้ให้เห็นถึงภารกิจ ของประชาชาติอิสลามที่จะต้องปฏิบัติตามค�ำสั่งของ ท่านรอซุลลุลลอฮ์ (ศ.) ประชาชาติอิสลามไม่สามารถ ที่จะยืนเป็นผู้ชมกับการปฏิวัติอิสลามในครั้งนี้ ประชา ติอิสลามมีหน้าที่ที่จะต้องมีส่วนร่วมต่อการปฏิวัติอันนี้ หะดีษในลักษณะนีม้ เี ป็นจ�ำนวนมากว่าร้อยหะดีษ และ ได้ชอี้ ย่างชัดเจนว่า ดังนัน้ จงให้เกียรติกบั ชาวเปอร์เซีย นี่ คือหะดีษบทหนึ่งที่หมายถึงหะดีษธงด�ำ หลังจากที่ท่า นรอซุลลุลลอฮ์ (ศ.) ได้กล่าวเรือ่ งราวเหล่านี้ ไม่เคยการ ปฏิวตั ใิ นแผ่นดินโครอซาน 1,400 ปี ไม่มกี ารปฏิวติ ิ ไม่มี การต่อสู้ทางการเมือง ที่จะสร้างความชอบธรรม หรือ


ที่อิสลามให้ความชอบธรรมในการต่อสู้ครั้งนั้น จนกระ ทัง้ ท�ำให้มวลบรรดามุสลิมต้องไปท�ำการบัยอัต ราชวงศ์ ในอิหร่านมีการช่วงชิงอ�ำนาจกัน ตั้งท่านรอซูลลุลลอฮ์ (ศ.) กล่าวถึงนั้นไม่ได้หมายถึงการต่อสู้ของราชวงศ์ ต่างๆเหล่านั้น ไม่เคยมีการปฏิวัติในแผ่นดินอิหร่าน การปฏิวตั อิ สิ ลามนอกจากการปฏิวตั อิ สิ ลามของท่านอิ มาม โคมัยนี (รฮ.) นี้คือรากฐานของการปฏิวัติ ได้มีนัก วิชการจ�ำนวนหนึ่งพยายามที่จะบิดเบือน เอาทิศตะวัน ออกไปอยู่ทางอื่น แต่ว่าหะดีษที่กล่าวเยวกับโครอซาน นั้น มันเอาออกไปจากทางอื่นไม่ได้ โครอซาน อิหร่าน หรือเปอร์เซีย คือสิ่งเดียวกันที่ถูกเรียกในชื่อที่แตกต่าง กัน นี้คือหะดีษชึดที่หนึ่งที่ต้องการจะบอกว่าการปฏิวัติ นี้ นี่คือการปฏิวัติของอุมมัตประชาชาติ ดังที่หะดีษได้ บอก ส่วนรายละเอียดนั้นเรามีมากกว่า การปฏิวัตินี้จะ มาในรูปแบบไหน และจ�ำมีรายละเอียดอืน่ ใดอีกไหม มี รายละเอียดจากหะดีษอีกบทหนึง่ ซึง่ เป็นหะดีบรายงาน โดยท่านอิมาม มูซากาซิม (อ.) หะดีษบรราดอุลามาอ์ นักรายงานหะดีษได้ท�ำการรับรองหะดีษกลุ่มนี้ แต่ไม่ ใช่เพีงหะดีษเดียว ซึ่งหะดีษชุดนี้ที่ก�ำลังจะน�ำเสนอต่อ ไปนี้ เป็นหะดีษที่เกี่ยวกับนูรแห่งเมืองกุม ท่านอิมาม มูซา กาซิม (อ.) ได้กล่าวว่า “จะมีบุรุษหนึ่งปรากฎตัว ขึ้นจากเมืองกุม เรียกร้องมนุษยชาติไปสู่ความดี หรือ ไปสู่ความยุติธรรม จะมีคนจ�ำนวนหนึ่งร่วมอยู่กับเขา และบุคคลเหล่านี้มีความเข้มแข็งดุจเหล็กกล้า พายุ โหมกระหน�่ำซัดขนาดไหน ไม่สามารถที่จะสั่นไหวพวก เขาได้ และบุคคลพวกนี้ ไม่กลัวการต่อสู้ ไม่กลัวการ สงคราม และพวกเขาไม่มีความหวาดกลัว ไม่เหนื่อย หล้า พวกเขาเหล่านี้มีการตะวักัลยังหลักศิฟัตที่ส�ำคัญ ศิฟัตหลักส�ำคัญของนักปฏิวัติเหล่านี้คือ การต่อสู้ของ เขาได้ตะวักกัลไปสู่อัลลอฮ์ (ซ.บ.)” ดังนั้นคุณลักษณะ ทีพ่ เิ ศษทีท่ า่ นอิมาม โคมัยนี (รฮ.) คือคุณลักษณะทีพ่ ระ องค์อัลลอฮ์ (ซ.บ.) ประทานให้ และเป็นคุณลักษณะที่ พิเศษทีน่ �ำสูช่ ยั ชนะของการปฏิวตั ิ คือการตะวักกัลของ ท่านอิมามโคมัยนี (รฮ.) มีความตะวักกัลที่สูงสุด ท่าน

ได้ตะวักกัลว่าการปฏิวัติ อิ ส ลามในครั้ ง นี้ จ ะต้ อ ง ประสพความส�ำเร็จ การ ปฏิวตั คิ รัง้ นีจ้ ะต้องประสพ กับชัยชนะ และเป็นการ ปฏิวัติที่จะคงอยู่ยางนาน ถึงการปรากฎตัวของท่า นอิมามมะห์ดี (อ.) เราก็ ยั ง มี ห ะดี ษ อี ก บทหนึ่ ง ที่ บอกว่า การปฏิวัตอิสลาม ครั้งนี้จะสานต่อไปจนถึง การปรากฎตัวของท่านอิ มาม มะห์ดี (อ.) เรามีราย ละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ เรื่ อ งนี้ นับเป็นพันหะดีษ ไม่ใช่เป็นการปฏิวัติอย่างแปลกใหม่ หรือไม่มีรากฐาน หรือไม่มีข่าวฐานข้อมูลจากอิสลาม เลย มันไม่ใช่ ท่านอิมาม โคมัยนี (รฮ.) ปฏิวตั ดิ ว้ ยความ มั่นใจ ปฏิวัติเหมือนกับบุคคลที่รู้แจ้งเห็นจริง การต่อสู้ อย่างมีความชัดแจ้ง รู้ที่ไปรู้ที่มา รู้จุดจบ รู้อนาคตของ การปฏิวัติ ไม่ใช่เป็นการปฏิวัติของนักปฏิวัตินักต่อสู้ เพื่อต่อสู้กับการกดขี่ หรือต่อสู้กับทรราชญ์เพียงอย่าง เดียว นักปฏิวัติ นักต่อสู้ที่ได้ยืนหยัดอยู่บนพื้นฐานที่รู้ แจ้งเห็นจริง รู้ในทุกๆสถานการณ์ที่จะเกิดขึ้น ข้าพเจ้า ขออยุญาตที่จะน�ำเกล็ดที่เกี่ยวกับไวหข้องของการ สัมมนา “50ปีแห่งการพัฒนาจิตวิญญาณของท่านอิ มาม โคมัยนี สู่การตื่นตัวของโลกอิสลาม” ค�ำอภิปรายของ อาจารย์อับดุลลอฮ์ มานะจิตต์ นักวิชาการอิสระ ดั ง ที่ ท ่ า นซั ย ยิ ด สุ ไ ลมาน ฮุ ซั ย นี ก ล่ า ว ผมก็ ขอกล่าวว่าต่างคนก็ไม่ได้เตรียมอะไรทั้งสิ้น เว้นเสีย แต่ ว ่ า ทุ ก คนพู ด จากประสบการณ์ ที่ ผ ่ า นมาเกี่ ย ว

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 111


กับการปฏิวิติอิสลาม จาก การที่เป็นเอกภาพของการ ปฏิวัติอิสลามในอิหร่าน จึง สร้างสรรความคิดถึงความ รู้สึกถึงปรัชญา หรืออะไร ก็ตามทีเ่ ราจะเรียกเป็นหนึง่ เดี ย วกั น เพราะฉะนั้ น สิ่ ง ที่ท่านซัยยิดฯ ได้น�ำเสนอ ในเรื่องของตัวบทหะดีษ ก็ แน่ น อนที สุ ด เมื่ อ มั น เกิ ด ขึ้นจริง ในสมัยของท่านอิ มาม โคมัยนี (รฮ.) ซึ่งเรา ขอบคุณต่ออัลลอฮ์ ตะอา ลา ที่ พ ระองค์ ท รงให้ เ รา เป็นบุคคลหนึ่งที่ร่วมอยู่ในเหตุการณ์อันยิ่งใหญ่ ดัง นั้นดังที่นักประวัติศาสตร์ทั้งโลกยอมรับว่า ท่านอิมาม โคมัยนี (รฮ.) เป็นผู้ผลิกประวัติศาสตร์โลก ก็ยอมรับ ว่าท่านอิมาม โคมัยนี (รฮ.) เป็นผู้ผลิกประวัติศาสตร์ โลก อย่างน้อยก็ผลิกประวัติศาสตร์ของชาวเปอร์เซีย อันนี้ชัดเจนมาก และก็ผลิกประวัติศาสตร์โลก ก็คงไม่ ไกลเกินเอื้อม ดังที่เราได้เห็นกันตามความเป็นจริงใน ทุกวันนี้ ดังที่ตัวบทหะดีษบอกว่า สิ่งเหล่านี้ต้องเกิด ขึน้ เพราะเป็นพระประสงค์ของอัลลอฮ์ (ซ.บ.) และท่าน ศาสดา (ศ.) ได้น�ำมาประกาศให้มวลมนุษยชาติได้รับ ร็ ในทุกยุคทุกสมัยจนกระทั้งมาถึงพวกเรา ซึ่งอาจจะ ถึง 1,400 ปี และก็เป็นจริงเช่นนั้น อิมามโคมัยนี (รฮ.) ของเรานั้น นับตั้งแต่แรกเกิดที่เราไม่มีเวลาจะพูดกัน ว่า ท่านเติบโตขึ้นมาอย่างไร ท่านด�ำรงชีวิตอย่างไร พี่ น้องคงต้องไปหาหนังสือที่เป็นภาษาไทยก็มากมาย ว่าเป็นเช่นนั้นไหมที่ว่า ท่านอิมาม โคมัยนี (รฮ.) ท่าน เตรียมการที่จะท�ำการปฏิวัติอิสลาม เพื่อจะน�ำเอาการ ปฏิวัติอิสลามมาสู่ความส�ำเร็จ และหลังจากนั้นก็น�ำสู่ การจัดตั้งสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน และหลังจาก นั้นท่านก็น�ำรัฐอิสลามนี้ให้แก่ประชาชาติทั้งโลก เป็น

112 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

เวลา 10 ปีเต็ม ถ้ า เราจะพู ด ตรงนี้ โดยไม่ มี ห ลั ก ฐานปราก ฎ และท่านอิมาม (รฮ.) เตรียมตัวอย่างไรสู่การปฏิวัติ อิสลาม ในขณะที่พวกเราอายุ 27 ปี ผมยังไม่ทราบว่า หัวท้ายจะเป็นอย่างไร จะเป็นชาวนรกหรือชาวสวรรค์ ก็ ยั ง ไท่ ท ราบ ตรงนี้ ผ มพู ด โดยส่ ว นตั ว เพราะเป็ น ประสบการณ์สว่ นตัว ซึง่ อันทีจ่ ริงแล้ว ท่านอิมาม โคมัย นี (รฮ.) ขณะทีท่ า่ นอายุ 27 ปี ในขณะทีเ่ ราเองยังไม่เกิด เมือ่ ท่านอิมาม (รฮ.) อายุ 27 ปีทา่ นได้เขียนหนังสือตาม การรวบรวมหนังสือทีท่ า่ นได้เขียนไว้ ก็ยอมรับตรงกันว่า ท่านอิมาม (รฮ.) ได้เขียนหนังสือเล่มแรกคือ “คิลาฟะห์ และวิลายะห์” นี่ก็เป็นหนังสือเล่มแรกที่ท่านได้เขียน เพื่อจะบอกให้ประชาชาติได้รับรู้ ถ้าเราน�ำหนังสือเล่ม นี้มากพูดกันค�ำว่าคิลาฟะห์และวิลายะห์ก็ยังเป็นที่ๆ ยังไม่เข้าใจ เวลาเราพูดถึงคอลิฟะห์ เราก็อาจจะหมาย ถึง 4 คอลิฟะห์ แต่ส�ำหรับวิลายะห์ เป็นเรื่องที่แปลก ใหม่มาก แม้แต่ในหมู่นักวิชาการในสายของชีอะห์ใน อิหร่านและอิรัก หรือที่ไหนก็ตาม ก็ยังมีข้อขัดแยงกัน อยู่ แต่ท่านอิมาม (รฮ.) ก็ได้เขียนหนังสือเล่มนี้ขึ้นเป็น เล่มแรก และก็บอกไว้เลยว่า ในหนังสือของท่านนั้น บอกไว้อย่างชัดแจง ถึงทางน�ำสู่การสืบทอดการเป็นผู้ พิทักษ์ ท่านบอกว่า แน่แท้หน้าที่อันแท้จริง และความ สมบูรณ์ของศาสนาชี้ให้เห็นว่า ท่านศ่าสดา (ศ.) ควร จะเปิดเผยและกล่าวถึงเรือ่ งของรพะผูเ้ ป็นเจ้าบางเรือ่ ง ที่เกี่ยวกับพระองค์เอง แต่อยู่ในสิ่งที่มองไม่เห็น แต่ะ เรือ่ งเป็นการแสดงถึงคุณลักษณะบางอย่างแห่งพระเจ้า และสอดคล้องกลมกลืนกับความส�ำนึกของแต่ละบุคคล ดังนั้นความเป็นศาสดา จึงเป็นการแสดงให้ปรากฎ ถึง การสืบทอดต�ำแหน่งอันศักดิ์สิทธิ์ของพระเจ้า และใน ทางกลับกัน สองอย่างนี้คือ คอลิฟะห์ผู้ปกครอง และ สืบทอดต�ำแหน่งวิลายะห์ คืออ�ำนาจของการปกครอง สูงสุด หรือเป็นผู้พิทักษ์นั้น จึงเป็นแก่นแท้ของภาระ หน้าที่ของท่านศาสดา (ศ.) นีคือสิ่งที่ท่านอิมาม โคมัย นี (รฮ.) มาบอกว่าภาระหน้าที่ที่แท้จริงของท่านศาสดา


(ศ.) ว่าท่านมีหน้าทีใ่ นการทีจ่ ะแต่งตัง้ ผูส้ บื ทอดของท่าน อย่างไม่มีทางหลีกเลี่ยงเป็นอื่นได้ สิ่งนี้ก็เป็นหลักฐานยืนยันว่า ท่านอิมาม (รฮ.) มายืนยันหลังจากนัน้ 1,400 ปี ท่านเป็นผูห้ นึง่ ทีม่ ารือ้ ฟืน้ บรรดาผู้พิทักษ์ที่ท่านศาสดา (ศ.) ได้แต่งตั้งไว้ ในขณะ นั้นพี่น้องก็ทราบว่าการปฏิวิติอิสลามโลกมุสลิมที่แตก ออกเป็นประเทศต่างๆนั้น จากสงครามโลกครั้งที่สอง ถ้าไล่เรือ่ ยมาเอาเฉพาะในตะวันออกลาง เราก็จะเห็นว่า เริ่มที่ประเทศอียิปต์ ก็ยังมีการปกครองที่เป็นเผด็จการ ตกอยู่ในสภาพที่ย�้ำแย่ที่สุด ขากการศึกษา อาหารจะ กินแต่ละมือ้ ก็ไม่มี ผูค้ นเกิดมาไร้เสรีภาพ ไร้สมรรถภาพ ในขณะที่เกิดการปฏิวัติอิสลามในอิหร่าน ผู้น�ำอียิปต์ก็ ยังกดขี่ประชาชนของเขาอยู่ ซึ่งเป็นมุสลิม พี่น้องลอง หันมาดูในประเทศอิรกั ในขณะทีเ่ กิดการปฏิวตั อิ สิ ลาม ในอิหร่านนัน้ สัดดามได้ตงั้ ตนเป็นใหญ่ในแผ่นดิน และ กดขีข่ ม่ เหงผูค้ นทีเ่ ป็นมุสลิมในอิรกั อย่างเหลือคณา จน กระทั้งต้องหลบหนีออกจากบ้านเรือนของตน ในขณะ ที่ปากรปฏิวัติอิสลามในอิหร่านเกิดขึ้น แผ่นดินใหญ่ สองแผ่นดินที่เป็นอู่อารยธรรมของโลก อู่อารยธรรม ของมนุษย์ เรายังพบผู้ปกครองที่เป็นเผด็จการที่สุด ถึง แม้กระทังผู้ปกครองยุโรปก็ไม่ท�ำเยี่ยงนั้น นี่คือความ เจ็บปวดของประชาชาติอิสลาม พี่น้องลองยกตัวอย่าง เช่นประเทศตุรกีกป็ กครองแบบกดขีป่ ระชาชน โดยบอก ว่ารัฐธรรมนูญของตุรกีไม่ต้องพูดเรื่องศาสนาเท่านั้น ไม่มีศาสนาประจ�ำชาติ เป็นไปได้อย่างไร เจ็บปวด ไหม เอาสามประเทศนี้จ�ำนวนประชากรมุสลิมก็ค่อน โลกอิสลามแล้ว ในขณะนั้นท่านอิมาม โคมัยนี (รฮ.) ประกาศการปฏิวัติอิสลามว่า เมื่อการปฏิวัตอิสลาม ส�ำเร็จท่านจะจัดตั้งรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐอิสลามขึ้น ต่อหน้าประชากรโลก ประเทศปากีสถานถึงแม้วา่ จะตัง้ ชื่อประเทศว่าสาธารณรัฐอิสลามปากีสถานก็ตาม แต่ เราก็เห็นว่า การปกครองนั้นจะไม่รู้ว่าจะเอาแบบไหน เอาแบบประชาธิปไตยหรือเอาแบบเผด็จการ แต่จะเป็น เผด็จการทางทหารเสียมากกว่า นั้นก็มีประชากรถึง 80

ล้ า นคน นี่ คื อ การปฏิ วั ติ อิ ส ลามในอิ ห ร่ า นที ไ ม่ มี แบบอย่างใดมาก่อนเลย ไม่มีในโลกนี้เลยก็ว่าได้ ที่ ท่านอิมาม โคมัยนี (รฮ.) ได้ ท� ำ การปฏิ วั ติ อิ ส ลาม ไม่มีแบบอย่างของใครมา ก่อน และพี่น้องลองมาดู ว่า หลังจากทีท่านอิมาม โคมัยนี (รฮ.) ท�ำการปฏิวตั ิ อิสามในอิหร่านส�ำเร็จในปี ค.ศ. 1979 จนกระทั้งมา เกิ ด การเปลี่ ย นแปลงถึ ง การลุกต่อสูข้ องประชาชน ในตุรกี แลลจีเลีย อียิปต์ ห่างกันกี่ปี ห่างกันไม่ต�่ำกว่า 30 ปี เราก็มาถามตัวเราเองว่า เป็นไปได้อย่างไร ที่ว่า ประชาชนเหล่านั้น จึงทิ้งช่วงเวลาห่างถึง 30 ปี แต่ค�ำ ตอบมันก็ออกมาว่า ประชาชนอยากปฏิวัติ ประชาชน ต้องการความเปลีย่ นแปลง หรือได้เห็นการเปลีย่ นแปลง ในอิหร่านแล้ว พวกเขามีความกระหายมาก อยากจะ เปลีย่ นแปลง แต่พวกเขาถูกบังคับกดขี่ ข่มเหงด้วยก�ำลัง ทางทหาร พีน่ อ้ งเห็นใช่ไหมครับว่า ในอียปิ ต์ หรือในตูนี เซียประชาชนตายเท่าไร แต่ประชาชนก็ลกุ ขึน้ มาจากมือ เปล่าๆ หรือในอียปิ ต์ประชาชนค่อนประเทศลุกขึน้ เพือ่ โค่นล้มอ�ำนาจทางทหารทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในตะวันออกกลาง นั้นก็คือกองก�ำลังของนายออสซี มุบารัก ซึ่งก็ไม่น้อยห น้าไปกว่านายสัดดาม แต่เราจะไม่พูดถึงอิรัก เพราะ ประชาชนนั้นไม่ได้ลุกขึ้นมาต่อสู้ แต่เป็นการโค่นล้ม สัดดาม เพื่อผลประโยชน์ของอเมริกาเอง แต่ผลกระ ทบมันเกิดเป็นผลประโยชน์ของพี่น้องมุสลิมในอิรัก แต่ในอียิปต์ ตูนีเซีย เป็นผลประโยชน์โดยตรงแก่พี่ น้องที่ลุกขึ้นต่อสู้ของสองประเทศที่ยิ่งใหญ่ หรือเราจะ บอกว่าเป็นการตื่นตัวของโลกอาหรับ หรือโลกอิสลาม ก็ต้องดูเนื้อหาสาระของประเทศที่มีการเปลี่ยนแปลง

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 113


ประชาชนลุกขึ้นมาต่อสู้แต่ อย่างน้อยที่สุด ถ้าหามีผู้ ปกครองที่อยุติธรรม ที่กดขี่ ข่มเหงนั้น แต่การญิฮาดที่ ยิ่งใหญ่ คือการพูดต่อหน้า ผู้ปกครอง และพวกเขาก็ ท�ำเช่นนั้น พกวเขาลุกขึ้น มาต่อสู้ ผู้หญิงตัวเล็กๆ ที่ นัง่ อยูท่ างซ้ายมือของเราใน วีดที ศั น์ ถูกต�ำรวจตีตายอยู่ บนถนน นีแ่ หละในอียปิ ต์ ที่ เป็นเหตุให้เกิดการลุกฮือขึน้ ในอียิปต์ เพราะฉะนั้นเมื่อ ความชั่วร้ายมันเกิดขึ้นใน ตะวันออกกลาง และก็เอา ประชาชนเป็นเครื่องมือของเขา รัฐบาลชั่วร้ายเหล่า นั้นก็ต้องถูกท�ำลาย แต่ว่าการปฏิวัติอิสลามในอิหร่าน มีผู้น�ำที่แน่ชัด การเตรียมการตั้งแต่ต้น ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1963 ถึง ปี ค.ศ. 2013 ราว 50ปี แต่ 50 ปี ของท่านอิ มาม (รฮ.) คือ 50 ปีหลังนั้น 50 ปีแรก คือการเขียน หนังสือของท่านอิมาม การแสดงออกทางจิตวิญญาณ อันยิ่งใหญ่ จริงๆ แล้วผมก็พูดถึงจิตวิญญาณของท่า นอิมาม โคมัยนี (รฮ.) มีผู้คนถามท่านอิมาม (รฮ.) ว่า เดือนรอญับมีความส�ำคัฐอย่างไร ท่านอิมาม (รฮ.) ตอบ ว่า เดือนรอญับ เป็นเดือนของอัลลอฮ์ (ซ.บ.) และรอ ซูลของพระองค์ (ศ.) เป็นเดือนที่อัลลอฮุ ตะอาลา ทรง มอบประทานความเมตตา ฉะนั้นความลี้ลับของเดือน รอญับนั้น ไม่มีปากกาด้ามใด หรือไม่มีค�ำพูดใด ที่จะ อรรถาธิบายความยิง่ ใหญ่ของเดือนรอญับได้ ฉะนัน้ เรา เป็นใครทีจ่ ะพูดถึงความยิง่ ใหญ่ในจิตวิญญาณของท่า นอิมาม โคมัยนี (รฮ.) แต่ส�ำหรับผมแล้วคิดว่า ผมเป็น เก็กตัวเล็กๆ ที่พูดต่อหน้าพ่อ พูดต่อหน้าปู่ โดยพูดเก่ง นะ นั้นคือสิ่งที่เราพอรับได้ ต้องยืนยันต่อความยิ่งใหญ่ ของท่านอิมาม โคมัยนี (รฮ.) เราขอบคุณอัลลอฮุ ตะ

114 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

อาลาว่าเราเป็นกลุ่มแรกที่ว่ายอมรับเสียงเรียกร้องของ ท่านอิมาม (รฮ). ถ้าจะตอบว่าเป็นเพราะเหตุใด เป็น อย่างไรนั้น ผมว่าพูดเหตุผลไปก็ไร้ประโยชน์ เป็นว่า อัลลอฮุ ตะอาลา ทรงประสงค์ทจี่ ะให้เราอยูเ่ ช่นกัน อาจ จะมองที่หัวใจว่าเรามีความรักในตัวท่านศาสดา (ศ.) และลูกลานของท่าน ก็ให้เรามาอยู่ในแนวทางนี้ และก็ มาเป็นผู้รับใช้ หลังจากการปฏิวัติอิสลามมาจนถึงวัน นี้ก็ 33 ปี ถึงจะครบรอบ 25 ปีของการอสัญกรรมของ ท่านอิมาม โคมัยนี (รฮ.) 30 ปีที่อัลลอฮุ ตะอาลาให้ลม หายใจอยู่ ก็ยังจะพูดกันต่อไป ยังกระท�ำกันต่อไป บอก ท่านซัยยิด สุไลมานว่า สิง่ ทีท่ า่ นพูดไม่มวี นั เก่า ทีม่ าพูด ในวันนี้ มันใหม่เหทมือนกับท่านศาสดา (ศ.) พึ่งจะพูด ใช่มนั เป็นเช่นนัน้ และการปฏิวตั อิสลามเป็นของใหม่อยู่ เสมอ และไม่มีวันตาย ดังนั้น เมื่อเราอยู่กับของใหม่อยู่ เสมอ เราก็ไม่ตายด้วย จิตวิญญาณของเราไม่ตาย พี่ น้องทราบหรือไม่วา่ เมือ่ โลกมุสลิม เมือ่ ผูป้ กครองทีเ่ ป็น ผูเ้ ผด็จการได้นำ� วัฒนธรรมตะวันตกใส่ให้ประชาชนของ เขา ที่ท่านซัยยิดสุไลมาน ได้กล่าวว่าสุนัขของอเมริกา มีค่ามากยิ่งกว่าคนอิหร่าน ในยุคของชาห์ปาเลวี มัน เจ็บปวดรวดร้าวมาก เรายังไม่เคยประสบกับเหตุกาณ์ เช่นนี้มาก่อน แต่คนอิหร่านที่ท�ำให้สุนัขหรือหมาอเริ กาตายตัวหนึ่ง คนออิหร่านต้องถูกประหารชีวิต แต่คน อิหร่านเขาเจ็บปวด คนที่เจ็บปวดที่สุด ไม่มีใครเกินไป กว่าท่านอิมาม โคมัยนี (รฮ.) ท่านอยู่ตรงนั้น และก็เน้น การกระท�ำทารุณกรรม การกดขีข่ ม่ เหง บูดรีดเอาทรัพย การของประชาชาติอิหร่านไป เรื่องการเปลี่ยนแปลง วัฒนธรรม การท�ำลายล้างผู้คนจนกระทั้งในสมัยนั้นมี คนบอกว่า ถ้านั่งเครื่องบินไปลงที่เตหะรานของอิหร่าน คนที่ไม่รู้จักอิร่านมาก่อน ก็จะบอกว่ามายุโรป หรือ ประเทศเปอร์เซีย ก็คิดว่าเป็นประเทศยุโรป เป็นไปได้ อย่างไรที่ท่านอิมาม โคมัยนี (รฮ.) ได้น�ำเอาผู้คนที่ถูก กดขี่ยอมเป็นยุโรปไปแล้วนั้น กลับมานี่ก็เป็นผลผลิต ของท่านอิมาม (รฮ.)


ค�ำอภิปรายของ รศ. ดร. จรัญ มะลูลีม หัวหน้าภาควิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 20 นาทีของการพูดถึงมหาบุรษุ ทีย่ งิ่ ใหญ่ของโลก เป็นเพียงเศษเสี้ยวที่อยู่ในความทรงจ�ำที่อยู่ชั่วนิรันดร์ สมัย ส�ำหรับผมเองในฐานะอาจารย์รัฐศาสตร์ ขณะนี้ เป็นหัวหน้าภาคสาขาการระหว่างประเทศและการทูต จะพยายามเอาการปฏิวัติผ่านแง่มุมของรัฐศาสตร์ว่า การปฏิวัติอิสลามให้อะไรกับบุคคลบ้าง วิทยากรของ เราได้กล่าวไปแล้วเช่นท่านซัยยิดสุไลมาน ได้กล่าวมา แล้วว่า ในโลกของเรามีประเทศที่ใช้สาธารณรัฐที่รู้จัก กันดี สาธารณรัฐอิสลามแห่งปากีสถาน สาธารณรัฐ อิ ส ลามแห่ ง บั ง กลาเทศ และในโลกอิ ส ลามก็ มี ก าร ปกครองหลายรูปแบบเช่นกัน แต่วา่ สิง่ ทีย่ งั คงเป็นความ ยิง่ ใหญ่ และอยูใ่ นความทรงจ�ำ และเป็นแรงดลใจให้กบั ขบวนการปฏิวตั ิ ขบวนการลุกขึน้ สูก้ บั การกดขี่ ไม่มใี คร ปฏิเสธได้ว่า มีแรงบันดาลใจจากท่านอิมามโคมัยนี (รฮ.) และยังเปิดแนวรบ เปิดการสนับสนุนให้กับการ ปลดปล่อยบรรดาผู้ถูกกดขี่ และเชื้อร้ายที่ตามมาหลัง จากการปฏิวัติ ซี่งสื่อของตะวันตกให้การยกย่องมาก อย่างเช่นกรณีชัยชนะที่มีต่ออิสราเอล อย่างกรณีของ ขบวนการเฮสบุลลอฮ์ ตอนนั้นหนังสือพิมพ์บอกว่า นัศ รุลลอฮ์ชนะสงคราม ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่ไม่ครุ่นเคย ของคนอาหรับ ยัสเซอร์อาระฟัต ยัสเซอร์แห่งอียปิ ต์ และ อีกหลายๆคน ทีป่ ระกาศจะขับไล่อสิ ราเอล หรือว่าต่อสู้ แต่ชยั ชนะกลับมีอยูก่ บั ขบวนการทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ โดย รัฐบาลของอิหร่านให้การสนับสนุน นี่เป็นประจักษ์ พยานทีย่ งิ่ ใหญ่ การท�ำสงครามขับไล่อสิ ราเอลได้นนั้ ใน ปี ค.ศ. 2000 และในระยะเวลาต่อมา เช่นปี ค.ศ. 2006 ขบวนการฮามาสอิ ค วานสมั ย ใหม่ ทั้ ง หมดนี้ มี แ รง บันดาลใจมาจากการปฏิวัติในทางใดทางหนึ่ง หากไม่

โดยตรงก็ โ ดยทางอ้ อ ม ฉะนัน้ ถ้ามองจากมุมมอง ที่ วิ ท ยากรทุ ก ท่ า นที่ ไ ด้ กล่าวมาแล้วนั้น จะพบ ว่าเสน่ห์ของการปฏิวัตินี้ ยั ง คงมี ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ ก า ร ด� ำ เ นิ น น โ ย บ า ย การเมื อ งของประเทศ อิ ห ร่ า นเป็ น อย่ า งมาก โดยบเฉพาะอย่างยิ่งกับ การต่อสู้กับมหาอ�ำนาจ ภายนอก ซึง่ มีทงั้ กงก�ำลัง อาวุธ มีทั้งความข้มแข็ง ทางด้านวัตถุ แต่อาจจะ ไม่มีความเข้มแข็งทางด้านจิตวิญญาณเทียบเท่ากับ แรงบันดาลใจทีก่ อ่ ให้เกิดการปฏิวตั ใิ นอิหร่าน บรรดาผู้ ประกอบการไม่ว่าใครจะมองอิหร่านอย่างไรก็ตาม แต่ ขบวนการให้ประชาชนมีสิทธิในการเลือกตั้ง ถือว่า ตัง้ แต่มกี ารปฏิวตั ปิ ี ค.ศ. 1979 จนถึงปัจจุบนั การเลือก ตั้งหลายปีในอิหร่านมีมาอย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะมี เหตุการณ์อะไรเกิดขึ้น ฉะนั้นทางตะวันตกเองก็ให้การ ยอมรับว่า การให้สิทธิเสียงตอ่ประชาชนนั้น อิหร่านมี อยู่เหนือกว่าประเทศอื่นๆ ในโลกมุสลิม อย่างเช่นการ ให้สิทธิในการเลือกผู้บริหารประเทศเป็นต้น นี่คือสิ่งที่ เกิดขึน้ การปฏิวตั ขิ องท่านอิมาม โคมัยนี (รฮ.) เป็นแบบ อย่างทีด่ ใี นหลายๆด้าน ถ้ามาดูชวี ประวัตสิ ว่ นหนึง่ ของ ท่านอิมาม (รฮ.) นัน้ เราจะเห็นว่า ในด้านการศึกษา ท่า นอิมาม (รฮ.) เป็นนักเรียนซึ่งไม่เคยมาเรียนสายแม้ต่ เพียงครัง้ เดียว สิง่ นีเ้ ป็นการปฏิบตั ทิ นี่ า่ ยกย่อง ใครเป็น ครูบาอาจารย์ก็คงประทับใจที่ลูกศิษย์ที่ให้ความสนใจ และตั้งใจเล่าเรียน ท่านอิมาม (รฮ.) กระท�ำทุกอย่างที่ ตัวเองสามารถกระท�ำได้ ฉะนั้นชีวิตที่เรียบง่าย โดย เฉพาะอย่างยิง่ ในวาระสุดท้ายแห่งลมหายใจของท่านอิ มาม (รฮ.) ท่านเตรียมตัวพบกับความเมตตาของพระ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 115


องค์อัลลอฮ์ ตะอาลา ด้วย จิตใจที่สงบ ล่ะทิ้งทุกอย่าง ไว้ ใ ห้ อ ยู ่ ใ นอ้ อ มกอดของ พระผู้เป็นเจ้า ฉะนั้นแบบ อย่ า งหรื อ บุ ค ลิ ก ของผู ้ น� ำ เหล่านี้ เป็นผู้น�ำที่คงไม่เกิด ขึ้นง่ายๆ ในโลกของเรานี้ เราอาจจะพูดถึงบุคคลอื่น บ้ า ง ที่ มิ ใ ช่ นั ก การเมื อ ง มุสลิม เช่นมิเชนคูโกที่โลก ให้ ก ารยอย่ อ งเป็ น นั ก ปรั ช ญาชาวฝรั่ ง เศส พู ด ว่าการปฏิวัติของอิหร่าน ก็ คื อ การแตกออกของดวง วิญญาณใหม่ หลังจากนัน้ เราไม่เคยเห็นลักษณะเช่นนี้ เราอาจยกกรณีของโรมันก็ได้ที่นักการเมืองมีบทบาท แต่หลังจากนั้นเราไม่เคยพบนักปฏิวัติซึ่งโคล่นบันลังก์ มยุราจากชาห์ผู้ยิ่งใหญ่ ที่เรียกว่ากษัตริย์เหนือกษัตริย์ หรือเรายังไม่เคยเห็น บุรุษขึ้นอยู่กับความสะมะถะ ความเรียง่ายของชีวิต แต่สามารถโล่นบันลังก์อันยิ่ง ใหญ่ ซึ่งอ้างว่ามีอายุมากว่า 2,500 ปีของราชวงศ์ปาห์ เลวี ที่เป็นราชวงศ์ที่เก่าแก่ ฉะนั้นในทางการเมือง เรา อาจจะรู ้ สึ ก สะเทื อ นใจประเทศที่ ยิ่ ง ใหญ่ เ ป็ น มหา อาณาจักรของโลกมากกว่า 600 ปีเช่นอาณาจักรออโต มาน และในตุรกีเมือ่ ประมาณ 10 กล่าปีกอ่ นในรายงาน ของประเทศตุรกี ถ้าใครเป็นมุสลิมก็จะเจ็บช�ำ้ ใจ รายได้ สูงสุดในช่วงหนึง่ มีรายได้จากโสเภณีทมี่ อี ยูใ่ นประเทศ จะหาดูได้จากหลักฐานต่างๆ นีค่ อื วิถชี วี ติ แบบโลกวิสยั ซึ่ ง เป็ น ความภาคภู มิ ใ จ แต่ ว ่ า ตอนนี้ ตุ ร กี ก็ มี ก าร เปลี่ ย นแปลงพอสมควร นั ก การศาสนาก็ เ ข้ า มามี บทบาทพอสมควร ถึงแม้ว่ายังไม่ฉายชัดเหมือนกับ อิหร่านก็ตาม แต่กม็ บี างคนทีพ่ ยายามทีจ่ ะท�ำให้วนั ศุกร์ นัน้ เป็นวันหยุดราชการเพือ่ ปฏิบตั นิ มาซญุมอะห์ ดังนัน้ เหตุการณ์ล่าสุดที่คนไทยแจจะเรียกว่าอาหรับสปริง

116 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

หรือการตื่นตัวของโลกอิสลาม แน่นอนเป็นสิ่งที่มาจาก บทเรี ย น มาจากความใค่ ร ครวญ และแนวทางที่ มี อิทธิพลมาจากอิหร่านอยู่พอสมควร ตลอดระยะเวลา ของการปฏิวัติที่ยาวนานถึงปัจจุบัน พบว่าในตอนต้นๆ นั้นใครก็คิดว่า อิหร่านจะไม่มีทางหลีกหนีสิ่งที่เรียกว่า สงครามกลาง เมืองไปได้ บทน�ำของนักวิเคราะห์ข่าว หลายคนบอกว่า ไม่มีทางที่อิหร่านจะหนีสภาพที่เรียก ว่า สภาพสงครามการเมืองแบบเลบานอนไปได้ ระยะ แรกบุคคลส�ำคัญของอิหร่านถูกทดสอบอย่างยิ่งใหญ่ จากพลั ง การต่ อ ต้ า นของฝ่ า ยต่ อ ต้ า ร้ ฐ บาลรวมทั้ ง ประเทศภายนอก จึงสูญเสียทัง้ ประธานาธิบดี ทัง้ นายก รัฐมนตรี และหลายๆ ฝ่ายคิดว่าอิหร่านคงไม่พ้นการโค ล่นสลาย แต่ว่าขณะนี้เป็นที่ประจักษ์ว่า พลังแห่งการ ปฏิวตั ิ แห่งการปฏิวตั ิ เชือ้ เพลิงทีถ่ กู จุดขึน้ บนหัวใจของ ทุกคนนั้น การปฏิวัติยังฉายโชว์อยู่ ถึงแม้ว่าระยะเวลา จะผ่านเลยมากว่าสามทศวรรษก็ตาม ปัจจุบันนี้สิ่งที่ เป็นประจักษ์พยายอย่างหนึง่ ก็คอื กรณีของซีเรีย ซึง่ เรา จะเห็ น การผนึ ก ก� ำ ลั ง ที่ สั ม พั น ธ์ ข องกองก� ำ ลั ง จาก ภายนอกที่ ไ ม่ ย อมเข้ า มาบทบั ง ความสั ม พั น ธ์ แ ละ อุดมการณ์ตา่ งๆ ทีจ่ ะท�ำให้รฐั บาลของเซีเรียถึงแก่การอ วสาร แต่ว่าการผนึกก�ำลังของอิหร่าน , ฮามาส , เฮ สบุลลอฮ์ และอืน่ ๆ ทีมคี วามสัพนั ธ์ตอ้ งไม่ทำ� ให้ซเี รียตก อยูส่ ภาพเดียวกับลิเบีย โดยกองก�ำลังนาโต้มกี องก�ำลัง ที่พยายามอย่างยิ่งที่จะเข้ามาและท�ำลายล้าง ฉะนั้น เอาเข้าจริงแล้วอิหร่านต้องยื่นหยัดอย่างยิ่งกับการถูก รุมล้อมจากหลายฝ่าย ถ้ามิใช่พลังแห่งการปฏิวัติ หรือ ว่าการสสุกงอมของบทเรียนในอดีต อิหร่านก็ต้องพบ เจอกับแรงกดดันหลายด้าน แต่ที่ยื่นหยัดอยู่ได้ก็พราะ ว่าอุดมการณ์ของการปิวัติที่ยั่งยืนนั้นเอง นักรัฐศาสตร์ เรียกอิหร่านแบ่งออกเป็น 2 ยุคๆ แรกเรียนว่าสาธารณรัฐ แรก นั้นคือในช่วงปีการปกครองภายใต้ท่านอิมาม โค มัยน (รฮ.) ซึ่งเป็นระยะเวลา 10 ปีแห่งการถูกทดสอบ ทางด้านความมั่นคง ทางด้านจิตใจ การถูกหล่อหลอม ภายใต้จิตวิญญาณอันสุงส่งของอุดมการณ์ของการ


ปฏิวตั ิ ท�ำให้ปี ค.ศ. 1979 – ค.ศ. 1989 เป็นช่วงทีอ่ หิ ร่าน ยืนหยัดอยู่ได้ท่ามกลางสงคราม 8 ปี ที่โหดเหี้ยมที่สุด ซึ่งผู้คนจ�ำนวนนับล้านสูญเสียชีวิตไปนั้นคือทหารฝ่าย สามแสนคน ทีเ่ หลือเป้นฝ่ายประชาชน เป็นการสูญเสีย มากทีส่ ดุ ในทุกสงครามเมือ่ มารวมกัน แต่วา่ สาธาณรัฐ แรกก็สามารถด�ำรงอยูไ่ ด้ ดังนัน้ หลังจากการอสัญกรรม ของท่านอิมาม ดคมัยนี (รฮ.) สาธารณรัฐอิสลามล�ำดับ ทีส่ องเกิดขึน้ ภายใต้การเปลีย่ นแปลงผูป้ กครอง อย่างไร ก็ตามจนกระทั้งถึงปัจจุบัน อิหร่านความอดทนขึ้นมา กับประเทศทีมคี วามสัมพันธ์ในภูมภิ าค อิหร่านเป็นแรง บันดาลใจส�ำคัญต่อการปฏิวตั เิ ปลีย่ นแปลงในตุรกี และ เป็นครั้งแรกที่สตรีหมายเลขหนึ่งของตุรกี เป็นสตรีที่ คลุมฮิญาบ ซึ่งกอ่นหน้านั้นมาไม่มีภริยาของผู้น�ำท่าน ใด ดังนั้จะเห็นได้ว่าอิหร่านเป็นประเทศที่ปกครองโดย คนที่เป็นมุสลิม ยกตัวอย่างที่ใกล้ชิดอย่างเช่นประเทศ มาเลเซีย เราก็ไม่เคยเห็นภริยาของผู้น�ำแตจ่งกายตาม หลักการของอิสลาม มิหน�ำซ�้ำเมื่อหลายปีก่อน ถ้าเรา ไปร่วมงานเลี้ยงฉลองวันชาติของมาเลเซีย จะมีการ เสริฟเหล้าด้วย อย่างไรก็ตามสิ่งเหล่านี้ มันค่อยๆเป็น สถิตลิ า่ สุดทีก่ ระแสร์ทเี่ ป็นต่อต้านอิสลามท�ำให้อสิ ลาม ขึน้ มาเป็นอันดับหนึง่ ของโลก ซึง่ เรือ่ งนีเ้ ป็นเรือ่ งจริงทีไ่ ด้ มาจากชาวพุทธทีไ่ ด้รวบรวมสถิตขิ องโลกจากทุกแหล่ง ข้อมูลนั้นหมายถึงมากว่า 150 % ของประชากรโลกใน ปัจจุบันนี้เป็นผู้ที่นับถือสษสนาอิสลามที่น่าตกใจที่สุด คือ 121 %ของประชากรโลกเป็นคนที่ไม่มีศาสนาและ นอกนั้นก็มีศาสนาพุทธประมาณ 5 % ดังนั้นการตื่นตัว ของศาสนานั้น ศาสนาอิสลามการใช้การปกครองผสม ผสานระหว่างกุอาน และการปกครองที่มีเนื้อหาเกี่ยว กับกฏหมายอิสลามเข้ามาประสานกัน และยังจะเป็นที่ ถูกจับตามอง ซึ่งในขณะที่การตื่นตัวของกลุ่มประเทศ อาหรับ ประจักษ์พยานก็มาจากหลักการณ์เดียวกัน เพราะว่าการลุกฮือในตูนีเซีย , อียิปต์ และอื่นๆนั้น ถูก โยนให้ไปสู่การเปลี่ยนแปลงแบบประชาธิปไตย แต่ผล การเลือกตัง้ ทีป่ รากฏอยูใ่ นตูนเี ซีย อีกหลายประเทศรวม

ทั้ ง ในประเทศอี ยิ ป ต์ ตั้ ง แ ต ่ ร� ำ ดั บ ประธานาธิบดี สว. และ สส. นัน้ ปรากฎว่าพรรคที่ มี บ ท บ า ท คื อ พ ร ร ค อิสลามเข้ามาได้รับการ เลือกตัง้ ทัง้ สิน้ ชัยชนะขอ งอิ ค วาน ชั ย ชนะของ นักการเมืองต่างๆ ที่ ค ล้ า ยคลึ ง กั น นี้ เ ป็ น พลังที่ยิ่งใหญ่ ซึ่งตะวัน ตกไม่อาจจะมองข้ามได้ เลย นี้คือการลกับมาสู่ ความยิ่ ง ใหญ่ แต่ จ ะ ประคองให้ไปสูค่ วามส�ำเร็จได้ยางนานแคร่ไหนนัน้ ก็ขนึ้ อยูก่ บั ผูน้ ำ� ทีจ่ ะน�ำเอาหลักการของศาสนานัน้ เข้ามาอยู่ ด้วย นี่ก็คือสิ่งที่เรียกว่า เสน่ห์ของการปฏิวัติ ซึ่งมีต่อ อุดมการณ์อื่น และไม่อาจจะหยุดนิ่งได้อียิปต์ยอมรับ อิ ห ร่ า นมากขึ้ น ในประเทศอิ ห ร่ า นเราได้ เ ห็ น การ ท�ำความเข้าใจในเนื้อหาของการปฏิวัติ การพูดถึงนัก ปฏิวตั ใิ นอดีตจนถึงปัจจุบนั แท้จริงนักการศาสนาเหล่า นี้มาตั้งแต่เริ่ม ในกรณีของมัชรูเฏาะห์ หรือเราเรียก ว่าการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงเปอร์เซีย จนกระทั้งมีการ เรียกร้องรัฐธรรม มาในปี ค.ศ. 1979 ชัยชนะก็เกดิขึ้น กับการปฏิวัติ ค�ำอภิปรายของ เชคศอและห์ ภู่มีสุข อิมามญะมาอัต ฮุซัยนียะห์ บากิลุลอุลูม อัสสลามุอะลัยกุมฯ ผมขอสรุปว่า อะไรคือปัจจัย ที่ส�ำคัญที่สุดใน การปฏิวัติอิสลามในอิหร่าน ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่ ท�ำให้ในสังคมของประชาชาตินี้ได้ตกตะลึง เพราะ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 117


ว่า มันเกิดขึ้นในศตวรรษ ที่ 20 ท่ามกลางของสังคม ในยุคที่ตกต�่ำที่สุดในหน้า ประวั ติ ศ าสตร์ และที่ ต ก ตลึ ง กั น มากที่ สุ ด ก็ คื อ ผู ้ นั ก ปฏิ วั ติ ผู ้ นี้ คื อ ชายชรา และเป็นนักการศาสนา ที่มี ความสมรรณถะ และกอง ก�ำลังที่มีมือเปล่า ที่มีความ รั ก ยั ง มหาบุ รุ ษ ผู ้ ยิ่ ง ใหญ่ ท่านผู้นี้ และยังสามารถ ท� ำ การโค่ น ล้ ม กษั ต ริ ย ์ พระเจ้าชาห์ ผู้อธรรม และ กดขี่ข่มเหงประชาชน ซึ่งใน ขณะนั้นเอง กองก�ำลังของเขานั้นมีแสนยานุภาพเป็น อันดับที่ 5 ของโลก และยังได้ท�ำสงครามกับอีก 60 กว่าประเทศ อะไรคือปัจจัยอันส�ำคัญที่สุดที่ผลักดัน ของขบวนการปฏิวัติอิสลามของท่านอิมามโคมัยนี ได้ ประสบความส�ำเร็จและได้แพร่อิทธิพล และซึ่งน�ำการ เปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้นของโลกใบนี้อย่างที่เราได้เห็น เกิดขึ้นในปัจจุบันนี้ ผมมีความเชื่อว่าพลังและปัจจัยที่ส�ำคัญที่สุดที่ ท�ำให้การปฏิวัติอิสลามประสบความส�ำเร็จ ก็คือการ ขัดเกลาจิตวิญญาณของท่านอิมามโคมัยนี สิ่งนี้มัน ได้ส่งผลให้ขบวนการของการปฏิวัติอิสลาม และมัน ได้ส่งผลส่งอิทธิต่อจิตใจของชาวโลก และเราได้เห็น อย่างชัดเจนว่า หลังจากการปฏิวัติอิสลามในอิหร่าน เราได้เห็นกระบวนการต่างๆ ได้ลุกฮือขึ้น และในตอน นี้เราจะเห็นถึงขบวนการต่างๆในโลก ที่ได้ยืนหยัดต่อสู้ ของประเทศต่างๆที่เกิดขึ้น อีกมากมาย อย่างเช่น ฮิ สบุลลอฮ และอีกหลายๆ ประเทศที่จะติดตามมา สิง่ ทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ของการเป็นผูน้ ำ� นัน้ จะต้องมีการ ขัดเกลาทางด้านจิตวิญญาณมาก่อน และเราจะเห็น ได้ว่า หากพวกเรามาพิจารณาตามอัลกุรอานที่ได้ลง

118 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

วะฮีย์ ท่านพีน่ อ้ งจะสังเกตในการขัดเกลาและการสร้าง ผู้น�ำในการปฏิวัติลงมาตามล�ำดับในการขัดเกลาจิต วิญญาณ ทีส่ ร้างผูน้ ำ� ในการปฏิวตั ใิ นขณะนัน้ ก็คอื ท่าน ศาสดามุฮัมมัด (ศ.) ได้อย่างสมบูรณ์ ซึ่ง ห้า โองการ แรกของซูเราะห์ อิกเราะห์ ที่พระผู้เป็นเจ้าได้ส่งลงมา แต่งตั้งท่านศาสดาหรืออีกมุมหนึ่งก็คือให้ท่านศาสดา ได้ท�ำการปฏิวัติสังคมและวัฒนธรรมในสังคมสมัยนั้น ท่านศาสดาได้กล่าวถึงเหตุผลที่พระผู้เป็นเจ้าได้ทรง แต่งตั้งศาสดามาและท�ำอัคลากของท่านนั้นสมบูรณ์ จากปรัชญา หรือ เป้าหมาย ที่ท่านศาสดาได้ถ่ายถอด ให้เห็น ซึ่งชี้ให้เห็นอย่างชัดเจนถึงความส�ำคัญในการ ขัดเกลาจิตวิญญาณบนวิถีชีวิตของท่าน และหลังจาก นั้นซูเราะฮ์ต่อมาก็คือการสร้างการปฏิวัติของท่านผู้น�ำ ในโองการทีส่ ี่ เราจะเห็นถึงขัน้ ตอนทีม่ คี วามงดงามมาก "แท้จริงเจ้ามุฮัมมัด นั้นอยู่บนอารยะธรรมที่สูงส่ง อัลกุ รอานได้บอกว่า แท้จริงเจ้ามีจริยธรรมที่สูงส่ง หมายถึง ท่านศาสดานั้นเป็นผู้ควบคุมจริยธรรมอันสูงส่ง ท่าน เป็นผู้ควบคุม ก�ำเนิดของอารยธรรมอันสูงส่ง ความ คิด ค�ำพูดและการกระท�ำ ฯลฯ ของท่านศาสดานั้นถูก ส�ำแดงและเป็นต้นแบบจริยธรรม อันสูงส่ง ซึ่งมันเกิด จากการสร้างและพัฒนาทางด้านจิตวิญญาณ และ หลังจากนั้นซูเราะฮ์ ต่อมาก็คือ "อัลลอฮได้สั่งให้ผู้น�ำ การปฏิวตั ิ ได้ทำ� การรุกขึน้ ในยามค�ำ่ คืน และฝึกฝนทาง ด้านจิตวิญญาณเพื่อที่จะได้มีจิตใจอันเข้มแข็งในการ ต่อสู้ และอ่านกุรอานเพือ่ ทีจ่ ะท�ำให้มวี สิ ยั ทัศน์ทถี่ กู ต้อง เพราะอะไรที่ เอกองค์ อั ลลอฮ (ซ.บ.) ทรงสั่ ง เพราะภาระกิจอันหนักหน่วยซึ่งก�ำลังรอท่านอยู่ หลัง จากนั้น "หลังจากสร้างตนเองพร้อมแล้ว จึงออกไปเพื่อ เผยแพร่ ออกไปเชิญชวนกับผูค้ นให้สรรเสริญแด่อลั ลอฮ แต่เพียงผูเ้ ดียว แม้แต่สรรพสิง่ ใดๆ นัน้ มันไม่มคี า่ อันใด นอกเหนือจากพระองค์อลั ลอฮเพียงองค์เดียว นีค่ อื สิง่ ที่ อัลกุรอาน บอก และท�ำให้เสือ้ ผ้าของท่านให้สะอาด นัน่ คือการท�ำให้สะอาดทั้งด้านกายและจิตวิญญาณ และ จงห่างไกลจาก สิ่งโสมมทั้งหลาย และนี่คือ ขบวนการ


การขัดเกลาทางด้านจิตวิญญาณ และหลังจากนั้น อัล กุรอานได้กล่าวว่า " และจงอย่าก�ำเลิบบุญคุณ และจง อดทนต่ออุปสรรคปัญหาต่างๆ อัลกุรอานนั้นท�ำการ แจกแจงแต่สิ่งที่จ�ำเป็น ในการมีอัคลากและจริยธรรม ของผู้น�ำ หลังจากนั้น โองการที่เหลือทั้งหมดหมดของ ซูเราะฮ์อิกเราะห์ ก็ได้ถูกประทานลงมา ก็คือ "มนุษย์ นั้นจะเริ่มอหังการเมื่อเห็นตนเริ่มพอเพียง ไม่จ�ำเป็น ต้องพึ่งพาพระผู้เป็นเจ้า ท่านอิมามโคมัยนี ได้บอกว่า มนุษย์นั้นจะก�ำเริบตัวเองและเพียงพอ และอัลกุรอาน จะชี้ให้เห็นถึงสองด้านก็คือ ด้านหนึ่ง ศัตรูผู้ที่น�ำการ ปฏิวตั ทิ จี่ ะต้องเผชิญหน้าก็คอื จะเห็นว่าตนนัน้ พอเพียง ไม่ต้องพึ่งพิงพระผู้เป็นเจ้า ในอีกมุมหนึ่งก็คือ การ ก�ำชับเมื่อตนเองมีอ�ำนาจ กองก�ำลัง และมีประชาชน อย่าได้เห็นหลงตนเองเพียงพอเป็นอันขาด เพราะผล ของมันก็คอื การผยศ และการอหังการต่อพระผูเ้ ป็นเจ้า สิง่ หนึง่ ทีเ่ ราเห็นในอัลกุรอาน และมีอทิ ธิพลอย่าง มาก ในกระบวนการปฏิวัติของท่านศาสดา (ศ.) ก็คือ สาส์นที่ท่านศาสดาได้เชิญชวนผู้คนไปสู่สิ่งนั้น ศาสดา เองนั้นได้เชื่อในสาส์นนั้น และจากการศรัทธามั่นท�ำให้ ส่งผลทางด้านจิตวิญญาณให้ผู้คนนั้นได้ท�ำตามท่าน ศาสดา และศรัทธาต่อสิ่งที่อัลลอฮทรงประทานมาให้ และศรัทธาต่อบรรดามะลาอิกะห์ และเป็นชัยชนะของ การปฏิวตั อิ สิ ลาม และหลังจากนัน้ เมือ่ ได้เผยแพร่สาส์น ใดๆ ออกไป และนี่คือท�ำให้การเรียกร้องเชิญชวนของ ประชาชนมาสู่หนทางแห่งอิสลาม

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 119


งานความสัมพันธ์

กุม (อิหร่าน) และอยุธยา (ไทย) 17-21 พฤษภาคม 2556 ณ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา การจัดงานสัปดาห์วฒ ั นธรรมจัดขึน้ เพือ่ เป็นการเรียนรูแ้ ลกเปลีย่ นด้านวัฒนธรรม การเมือง และเศรษฐกิจ ระหว่างสองประเทศที่มีความใกล้ชิดและความสัมพันธ์มาช้านาน ในโอกาสที่ประชากรของสองประเทศได้เดิน ทางไปหาสู่กัน ได้น�ำวัฒนธรรมของตนเองมาเผยแพร่ โดยเฉพาะการเดินทางเยือนประเทศไทยของท่านนายก เทศมนตรีเมืองกุม พร้อมคณะของประเทศสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน และได้มีโอกาสเดินทางเยือนจังหวัด พระนครศรีอยุธยา เมืองแห่งประวัติศาสตร์ และเป็นเมืองมรดกโลก ในการเดินทางเยือนครั้งนั้น เป็นการเสริม สร้างสายสัมพันธ์ดา้ นวัฒนธรรม ทีท่ งั้ สองจังหวัดระหว่างจังหวัดกุม และจังหวัดพระนครสณีอยุธยาต่างก็มคี วาม สัมพันธ์มาช้านานกว่า 420 ปี ในฐานะที่จังหวัดกุม ซึ่งเป็นจังหวัดหนึ่งของสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน เป็น จังหวัดที่เป็นศูนย์กลางของศาสนา และวัฒนธรรม ผู้บริหารของจังหวัดกุม จึงได้มีนโยบายสืบสานสายสัมพันธ์ ระหว่างประเทศ คือสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน และราชอาณาจักรไทย โดยก�ำหนดให้มีการจัดงานสัปดาห์ วัฒนธรรมอิหร่าน – อยุธยาขึ้น และเช่นเดียวกันก็จะจัดให้มีการจัดงานสัมปดาห์อยุธยา–กุม (อิหร่าน) ขึ้นใน จังหวัดกุม ซึ่งศูนย์วัฒนธรรม สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ประจ�ำกรุงเทพฯ เป็นหน่าวย ในการในการประสานความร่วมมือระหว่างผู้บริหารของจังหวัดกุม และจังหวัดพระนครศรีอยุธา จัดให้มีการจัด งานสัปดาห์วัฒนธรรม กุม (อิหร่น) – อยุธยา ขึ้นในวันที่ 17 -20 พฤษภาคม 2556 ณ. จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยการจัดแบ่งงานด้านวิชาการ จัดที่มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา และงานการแสดงพร้อมจ�ำหน่าย สินค้าของสองประเทศ จัดที่ลานหน้าตึกศูนย์ประวัติศาสตร์ (ศาลากลางหลังเก่า)

120 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556


วันศุกร์ที่ 17 พฤษภาคม 2556 นายมุฮัมมัด ดิ ลบะรี นายกเทศมนตรีจังหวัดกุม ซัยยิดมุรตะฏอ อิส มาอีล ผูอ้ ำ� นวยการวัฒนธรรมและเผยแพร่อสิ ลาม นาย ซัยยิดมะฮ์ดี ฮุซัยนี ผู้อ�ำนวยการมรดกวัฒนธรรมและ การท่องเที่ยวจังหวัดกุม มาดามมะอ์ศูมะห์ เซาะห์ฮิรี ผู้อ�ำนวยการฝ่ายกิจกรรมสตรีส�ำนักเทศมนตรีจังหวัด กุมนายมุห์ซิน นะศีรี รองนายกเทศมนตรีจังหวัดกุม ฝ่ ายกิ จ กรรม พร้อมคณะนักแสดง และพ่ อ ค้ าจาก จั ง หวั ด กุ ม เดิ น ทางถึ ง ประเทศไทยและเข้ า พบ ดร. วิทยา ผิวผ่อง ผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ดร. บูรพาทิศ พลอยสุวรรณ อธิการบดีมหาวิทยาลัย ราชภัฎพระนครศรีอยุธยา พร้อมคณะผู้บริหารของ มหาวิทยาลัยฯ ณ ห้องประชุมของมหาวิทยาลัยราชภัฎ พระนครศรีอยุธยา ในการเข้าพบปะครัง้ นี้ ดร. วิทยา ผิว ผ่อง ผูว้ า่ ราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยากล่าวให้การ ต้อนรับ โดยกล่าวว่า ท่านนายกเทศมนตรีจังหวัดกุม ท่านที่ปรึกษา ฝ่ายวัฒนธรรม ศูนย์วัฒนธรรม สถานเอกอัครราชทูต สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ประจ�ำกรุงเทพฯ และ คณะผู้บริหารจังหวัดกุม เมื่อราวสองเดืนอที่ผ่านมา จากการเรียนเชิญของท่านนายกเทศมนตรีจังหวัดกุม ข้าพเจ้า พร้อมคณะได้มีโอกาสเดินทางเยือนจังหวัด กุม ประเทศสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ในการเดิน ทางเยือนครั้งนั้น ข้าพเจ้าพร้อมคณะต้องขอขอบคุณท่านนายก เทศมนตรี จั ง หวั ด กุ ม ที่ ใ ห้ ก ารต้ อ นรั บ เป็ น อย่ า งดี และเช่ น เดี ย วกั น ก็ ต ้ อ งขอขอบคุ ณ ท่ า นนายกเทศ มนตรี ฯ พร้ อ มคณะที่ ต อบรั บ การเชิ ญ ของจั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา ในการเดินทางเยือนจังหวัดกุมของ ข้าพเจ้า และคณะ ทางเราได้ตัดสินใจร่วมกันว่าจะจัด งานสืบสานความสัมพันธ์ระหว่างจังหวัดพระนครศณี อยุธยาและจังหวัดกุม เพื่อที่จะร�ำลึกถึงความดีที่ท่าน เจ้าพระยาบวรราชนายก เฉกอะห์มัด กุมมีกระท�ำไว้ ในกรุงศรีอยุธยา

ในฐานะที่ท่านเฉกอะห์มัด กุมมีมีบุญคุณอย่าง มากมายต่อสยามประเทศและชาวอยุธยาในยุคที่ท่าน เดินทางมาตั้งหลักปักถิ่นฐานในกรุงศรีอยุธยา ถ้าใน ช่วงนั้นท่านเฉกอะห์มัด กุมมีและพวกพ้องของท่านไม่ ได้ช่วยเหลือกรุงศรีอยุธยา เราก็คงจะกล่าวได้ว่า วัน นี้ก็คงไม่มีสยามประเทศ หรือประเทศไทย แม้แต่บุตร หลานของท่านตั้งแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบันต่างก็รับใช้ ประเทศชาติมาโดยตลอด เฉกอะห์มัด กุมมี ยังด�ำรง ต�ำแหน่งปฐมจุฬาราชมนตรีคนแรกของประเทศไทย และยังด�ำรงต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรีในยุคของท่านอีก ด้วย แต่ที่ส�ำคัญยิ่ง เฉกอะห์มัด กุมมีถือว่าเป็นปัจเจก ชนทีเ่ ป็นมรดกวัฒนธรรมร่วมระหว่างสองประเทศ ด้วย เหตุนี้การจัดสัปดาห์วัฒนธรรมอยุธยา – กุม (อิหร่าน) ในปีนี้ ก็เพื่อการร�ำลึกถึงคุณงามความดีที่เฉกอะห์มัด กุมมีกระท�ำไว้ และหวังเป็นอย่างยิง่ ว่าสายสัมพันธ์ของ ทั้งสองประเทศจะได้มีความแน่นแฟ้นยิ่งขึ้นต่อไป และเช่นกันระหว่างจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และจังหวัดกุม เราทั้งสองมีความเห็นต้องพร้องกัน ในการลงนามบันทึกความเข้าใจ (MOU) ในการแลก เปลีย่ นงานด้านวัฒนธรรม เศรษฐกิจและการศึกษา ทาง มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยาได้จดั เตรียมเปิด ห้องอิหร่านศึกษา และกิจกรรมอื่นๆ ไว้อย่างมากมาย ด้วยเหตุนี้ข้าพเจ้า ขอเรียนเชิญท่านนายกเทศมนตรี จังหวัดกุมลงนามในบันทึกความเข้าใจพร้อมกัน จากนั้นนายมุฮัมมัด ดิลบะรี นายกเทศมนตรี จังหวัดกุม กล่าวตอบว่า ข้าพเจ้า ต้องขอขอบคุณท่านผูว้ า่ ราชการจังหวัด พระนครศรีอยุธยา ท่านอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฎ พระนครศรีอยุธยา ศูนย์วฒ ั นธรรม สถานเอกอัครราชทูต สาธารณรับอิสลามแห่งอิหร่าน ประจ�ำกรุงเทพฯ และผูท้ ี่ มีสว่ นร่วมในการจัดงานสัปดาห์วฒ ั นธรรมกุม (อิหร่าน) – อยุธยา เพือ่ เป็นการร�ำลึกถึงท่านเฉกอะห์มดั กุมมี ขึน้ ในครัง้ นี้ และต้องขอขอบคุณต่อท่านผูว้ า่ ราชการจังหวัด พระนครศรีอยุธยาอีกครัง้ ทีใ่ ห้การต้อนรับข้าพเจ้า และ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 121


คณะทีไ่ ด้เคยเดินทางมาเยือนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในครัง้ ก่อนหน้านีแ้ ละครัง้ นี้ ในขณะทีท่ า่ นผูว้ า่ ราชการ จังวหวดัพระนครศรีอยธยา และคณะเป็นแขกรับเชิญ ของข้าพเจ้าในจังหวัดกุมที่ผ่านมานั้น ข้าพเจ้าก็ต้อง ขออภัยเป็นอย่างยิ่ง ถ้าการต้อนรับในครั้งนั้นมีอะไร ขาดตกบกพร่องไปบ้าง และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าใน อนาคตอันใกล้นี้ ข้าพเจ้าจะได้มีโอกาสต้อนรับท่านผู้ ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอพระยา และคณะติดตาม อีกครั้งหนึ่งในจังหวัดกุม การลงนามในบันทึกความ เข้าใจระหว่างกุมกับพระนครศรีอยุธยา เป็นสิ่งที่ชี้ให้ เห็นถึงสายสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศ แลประชาชน ของสองประเทศทีจ่ ะได้เรียนรูจ้ กั ซึง่ กันและกันอย่างใกล้ ชิด และก็หวังว่าประชาชนชาวพระนครศรีอยุธยาจะได้ มีโอกาสเดินทางไปเยือนจังหวัดกุม เป็นแขกรับเชิญของ ข้าพเจ้าทุกท่านด้วย จากนั้นท่านผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศณี อยุธยา และท่านนายกเทศมนตรีจังหวัดกุม ได้ลงนาม บันทึกความเข้าใจ พร้อมกับท่านผู้ว่าราชการจังหวัด พระนครศรีอยุธยาได้ฝากมอบหนังสือคัมภีร์พระไต ปิฎกฉบับใบลานที่อายุนานกว่า 200 ปี ให้กับท่าน นายกเทศมนตรีจงั หวัดกุม ส่งมอบยังห้องสมุดหัซรัตอา ยุตุลลอฮ์ นาญะฟี มัรอะชี ในจังหวัดกุม เพื่อเป็นหลัก ฐานขอ้มูลการเรียนรู้พระพุทธศาสนาต่อไป จากนั้น ดร. บูราพาทิศ พลอยสุวรรณ อธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา ได้เรียนเชิญ นายกเทศมนตรีจงั หวัดกุม ท�ำพิธเี ปิดห้องอิหร่านศึกษา และชักธงประจ�ำชาติของสองประเทศขึ้นสู่ยอดเสา ซึ่งธงของสองประเทศจะคงอยู่ต่อไปหน้าห้องอิหร่าน ศึกษา จากนั้นก็ท�ำการปลูกต้นไม้มิตรภาพลานด้าน หน้าที่ฝังศพของเจ้าพระยาบวรราชนายก เฉกอะห์มัด กุมมี ในบริเวณมหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา

122 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

การเดินทางร่วมนมาซ ญุมอะห์ (นมาซวันศุกร์) หลังจากเสร็จสิ้นพิธีการเปิดห้องอิหร่านศึกษา ของมหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา อย่างเป็น ทางการ ท่านผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา , ท่านอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา และคณะกรรมการอิ ส ลามประจ� ำ จั ง หวั ด พระนคร ศรีอยุธยา เรียนเชิญท่านนายกเทศมนตรีจงั หวัดกุม และ คณะผ้รว่ มทาง เดินทางไปร่วมนมาซญุมอะห์ (นมาซวัน ศุกร์) ทีม่ สั ยิดอัลฟุรกู รุ รอบีอะห์ อุมรั บิน ค็อฏฏอบ โดย มีท่านฮัจยีประดิษฐ์ อิมามญะมาอัตของมัสยิดให้การ ต้อนรับ หลังจากการปฏิบัตินมาซญุมอะห์ เสร็จสิ้น ลงท่านฮัจยีประดิษฐ์ อิมามญะมาอัตของมัสยิดกล่าว รายงานเกี่ยวกับความเป็นมาของมัสยิดและกิจกรรม ต่างๆ ที่มัสยิดกระท�ำในรอบปีให้ทราบ จากนั้นนาย มุฮัมมัด ดิลบะรี นายกเทศมนตรีจังหวัดกุม ได้กล่าว ขอบคุณต่อบรรดาสัปปบุรษุ ของมัสยิดทีใ่ ห้การต้อนรับ และกล่าวเชิญร่วมงานสัปดาห์วฒ ั นธรรมกุม (อิหร่าน) – อยุธยา ที่จะจัดให้มีขึ้นในช่วงเย็นของวันศุกร์นั้น จากนัน้ คณะของนายกเทศมนตรีจงั หวัดกุม เดิน ทางไปสถาบันเทคโนโลยีแห่งอโยธยา เพือ่ ร่วมกิจกรรม ในการวางศิลาฤกษ์อาคารมัสยิดรุ รอซูลลุ อะอ์ซอ็ ม (ศ.) ที่ทางสถาบันเทคนโนโลยีแห่งอโยธยามอบที่ดินด้าน หน้าอาคารคณะศิลปะศาสตร์ อิสลามศึกษา ไว้ให้ สร้างมัสยิดฯ เมือ่ คณะของท่านนายกเทศมนตรีจงั หวัด กุม นายมุศฏอฟา นัจญาริยอนซอเดะห์ ที่ปรึกษาฝ่าย วัฒนธรรม ศูนย์วฒ ั นธรรมฯ พร้อมคณะผูบ้ ริหารจังหวัด กุม เดินทางถึงสถาบันเทคโนโลยีแห่งอโยธยา โดยมี ดร. มัฆวาร เรืองสุวรรณ อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยี แห่งอโธยา ดร. ประสริฐ สุขศาสนกวิน คณบดีคณะ ศิลปะศาสตร์ อิสลามศึกษา และคณาจารย์ พร้อมนิสติ นักศึกษาให้การต้อนรับ ท่าน ดร. มัฆวาฬ สุวรรณเรือง


กล่าวรายงานเกีย่ วกับการด�ำเนินการเรียนการสอนของ สถาบันเทคโนโลยีแห่งอโยธยา และชีวิประวัติโดยย่อ ของท่านเฉกอะห์มดั กุมมี ทีท่ า่ นได้สร้างคุณงามความดี รับใช้แผ่นดินสยามประเทศ โดยเฉพาะแผ่นดินแห่งกรุง ศรีอยธยา จากนัน้ นายมุฮมั มัด ดิลบะรี นายกเทศมนตรี จังหวัดกุม กล่าวขอบคุณต่อท่านอธิการบดี สถาบัน เทคโนโลยีแห่งอโยธยา ที่ได้จัดสรรที่ดินในการสร้าง อาคารมัสยิดุรรอซูลุลอะอ์ซ็อม (ศ.) ขึ้น และยังกล่าว ขอบคุณต่อที่ปรึกษาฝ่ายวัฒนธรรม ศูนย์วัฒนธรรม สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ประจ�ำกรุงเทพฯ ที่ได้ ประสานงานจนกระทั้งทางสถาบันเทคโนโลยีแห่งอ โยธยา สามารถที่จะบรรจุหลักศูตรอิสลามศึกษา และ อิหร่านศึกษาเข้าในคณะศิลปะศาสตร์ส�ำเร็จ หวังว่า ในอนาคตอันใกล้นี้อาคารมันยิดุรรอซูลุลอะอ์ซ็อม (ศ.) ที่วางศิลาฤกษ์ในวันนี้ จะเปิดอย่างเป็นทางการ และ ข้าพเจ้าจะมีโอกาสมาร่วมเปิดอาคารมัสยิดดังกล่าว ต่อไป จากนั้นทั้งสองฝ่ายแลกเปลี่ยนมอบของที่ระลึก แก่กัน ต่ อ มาในเวลา 18.00 น. ของวั น ศุ ก ร์ ที่ 17 พฤษภาคม 2556 คณะของนายกเทศมนตรีจังหวัดกุม เดินทางเข้าเยี่ยมชมศูนย์ศิลปะวัฒนธรรม ที่ตั้งอยู่ด้าน ข้างของมหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา ก่อนที่ จะเดินทางไปเปิดงานสัปดาห์วฒ ั นธรรมกุม (อิหร่าน) – อยุธยา ที่จัดให้มีขึ้นที่ลานด้านหน้าศูนย์ประวัติศาสตร์ (ศาลากลางหลังเก่า)

ที่ทางจังหวัดพระนครศรีอยุธยาได้จัดขึ้นลานด้านหน้า อาคารศูนย์ประวัติศาสตร์ (ศาลากลางจังหวัดหลัง เก่า) โดยมีท่านผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประธานกรรมอิสลามประจ�ำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ท่านอธิกาบดีมหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา และผู้บริหารของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา พร้อมกับ ประชาชนชาวจังหวัดพระนครศรีอยุธยาให้การต้อนรับ กิจกรรมเริ่มต้นโดย ดร. บุรพาทิศ พลอยสุวรรณ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา กล่าว วัตถุประสงค์การจัดงานสัปดาห์วฒ ั นธรรมกุม (อิหร่าน) - อยุธยา โดยท่านกล่าวว่า กราบเรียนท่านนายกเทศมนตรีเมืองกุม และ คณะ ท่านผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ท่าน วิทยา ผิวผ่อง และแขกผู้มีเกียรติทุกท่านกระผมนาย บูรพาทิศ พลอยสุวรรณ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฎ พระนครศรีอยุธยา คณะผูจ้ ดั งานศิลปะวัฒนธรรม และ ความสัมพันธ์อยุธยา – อิหร่าน ซึ่งจัดขึ้นระหว่างวันที่ 17 – 20 พฤษภาคม 2556 มีความยินดีและรู้สึกเป็น เกียรติอย่างยิ่ง ที่ท่านให้เกียรติมาร่วมพิธีเปิดงานใน ครั้งนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งนายกเทศมนตรีเมืองกุม และ ผูว้ า่ ราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึง่ ท่านจะมาเป็น ประธานเปิดงานสัปาดห์ศลิ ปะวัฒนธรรม ความสัมพันธ์ อุยุธยา – อิหร่านในวันนี้ ตามที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติ ให้การท่องเทีย่ วเป็นวาระแห่งชาติ เพือ่ สามารถปรับตัว เข้ากลับสถานการณ์เกิดการเติบโตอย่างมีคณ ุ ภาพและ สามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน เรื่องของการท่องเที่ยว กิจกรรมการเปิดงาน ทางคณะรั ฐ มนตรี ไ ด้ ม อบหมายให้ ก ระทรวง การท่องเที่ยวแลละกีฬา จัดท�ำแผนพัฒนาการท่อง สัปดาห์วัฒนธรรม วแห่งชาติ พุทธศักราช 2555 ถึง 2559 โดยก�ำหนด กุม (อิหร่าน) – อยุธยา (ไทย) เทียุท่ยธศาสตร์ ประการที่หนึ่งว่าให้มีโครงสร้างการพัฒนา ขั้นพื้นฐาน เพื่ออ�ำนวยความสะดวกของการท่องเที่ยว เวลา 19.00 น. ของวันศุกร์ที่ 17 พฤษภาคม ยุทธศาตร์ถดั มาให้สร้างความเชือ่ มัน่ ของการท่องเทีย่ ว 2556 นายกเทศมนตรีจังหวัดกุม พร้อมคณะได้เดิน ตามนโยบายของรัฐ ซึ่งก�ำหนดให้มีการพัฒนาการ ไปเปิดงานสัปดาห์วัฒนธรรมกุม (อิหร่าน) – อยุธยา

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 123


บริการการท่องเที่ยว การสร้างรายได้ และนโยบาย การท�ำนุบำ� รุง รักษาศิลปะวัฒนธรรมไทยรวมทัง้ ศิลปะ วัฒนธรรมท้องถิ่น ร่วมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่นให้มีความ เจริญก้าวหน้า และการฟื้นฟู และส่งเสริมการพัฒนา ประชาชนให้ตรงกับแผนการพัฒนาท่องเที่ยวแห่งชาติ ให้ก้าวหน้า และพัฒนาให้ยิ่งขึ้นต่อไปนั้น อยุธยาเป็น เมืองหลวงเก่า เป็นเมืองท่าทางการค้าและศูนย์กลาง วัฒนธรรมนานาชาติ ที่ได้ด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ อัน แสดงออกซึ่งเอกลักษณ์ของความเป็นไทย และความ เป็นเมืองหลวงเก่ามาไม่น้อยกว่า 500 ปีที่ผ่านมา และยังได้รับขึ้นทะเบียนให้เป็นมรดกโลก โดยอยุธยา เป็นเอกลักษณ์และอัตลักษณ์วัฒนธรรมไทยตั้งแต่ อดีตจนถึงปัจจุบัน ที่คนอยุธยาและคนไทยต้องด�ำรง พัฒนาสร้างสรรค์ให้สมบูรณ์และยั่งยืน บทบาทความ ส�ำคัญของมรดกโลกในพระนครศรีอยุธยา ในฐานะ เมืองท่าการค้าในอดีตนั้น จ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมี การธ�ำรงรักษาให้มีการพัฒนาก้าวหน้าสืบไป จังหวัด พระนครศรี อ ยุ ธ ยาจึ ง มอบหมายให้ ม หาวิ ท ยาลั ย ราชภัฎพระนครศรีอยุธยา จัดท�ำโครงการส่งเสริมศิลปะ วัฒนธรรมนานาชาติขนึ้ โดยในปีนมี้ หาวิทยาลัยราชภัฎ พระนครศรีอยุธยาก�ำหนดการจัดงานศิลปะวัฒนธรรม นานาชาติ ขึ้ น ภายใต้ ค� ำ ขวั ญ ที่ ว ่ า ย้ อ นรายความ สัมพันธ์ในอดีต เชื่อมมิตรไมตรีในปัจจุบัน และสร้าง สรรมิตรภาพในอนาคต โดยเฉพาะอย่างยิ่งงานสัปดาห์ความสัพมันธ์ อยุธยา – อิหร่านในครั้งนี้ เราใช้ค�ำขวัญหลักด้วยกัน คือ เราจะห้าวไปสู่อนาคตด้วยกัน นอกจากนี้ความ สัมพันธ์ระหว่างอยุธยาเปอร์เซียหรืออิหร่านได้จัดให้มี ขึน้ นอกเหนือจากศิลปะวัฒนธรรมแล้ว ยังได้มคี วามร่ม มือกันในเรือ่ งอืน่ ๆ ในฐานะทีเ่ ป็นบ้านพีน่ เมืองน้อง โดย ได้มีการลงนามความร่วมมือระหว่างท่านผู้ว่าราชการ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และท่านนายกเทศมนตรี เมืองกุม ในการที่ได้ตกลงกันว่าเราจะมีความร่วมมือ กันทางด้านศิลปะวัฒนธรรม ด้านการศึกษา ด้านการ

124 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

ศาสนาและการท่องเที่ยว ในด้านเศรษฐกิจอาจจะมี การแลกเปลี่ยนสินค้าเป็นต้น ซึ่งเรื่องการด�ำเนินการ ดังกล่าวนี้ ถือว่าเป็นการสืบสานวัฒนธรรมตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบนั และหวังเป็นอย่างยิง่ ว่าการท�ำกิจกรรมใน คราวนี้ จะเป็นการสร้างสรรค์ความสัมพันธ์ในอนาคต ด้วย ผลลั พ ธ์ ส� ำ คั ญ ที่ ค าดว่ า จะได้ รั บ จากการจั ด กิจกรรมในครั้งนี้ คือจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจะเป็น จุดหลักของชาวเปอร์เซียหรือชาวอิหร่านที่จะมาท่อง เที่ยวหรือมาท�ำธุรกิจและแลกเปลี่ยนความรู้ความคิด ทางด้านวิชาการอันเป็นสถานที่ส�ำคัญที่สืบเนื่องมา จากอดีตกาล ดังนั้นในการจัดงานในวันนี้ ก็มุ่งหวังที่ จะความสัมพันธ์ระหว่างชนชาวอิหร่าน และชนชาว ไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งชาวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ของเรา ในการจัดงานครั้งนี้ได้รับความอนุเคราะห์ร่วม มืออย่างดียงิ่ จากศูนย์วฒ ั นธรรม สถานเอกอัครราชทูต สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ประจ�ำประเทศไทย จังหวัดและองค์กรพัฒนาท้องถิ่น โดยเฉพาะได้รับ ความกรุณาอย่างยิง่ จากท่านนายกเทศมนตรีเมืองกุมที่ อนุเคราะห์เครือ่ งไม้เครือ่ งมือต่างๆ ในการจัดงานครัง้ นี้ สิง่ ของทีจ่ ดั มาแสดงบรรทุกเครือ่ งบินมามีนำ�้ หนักหลาย ตัน บางท่านอาจจะได้เห็นจากการแสดงแล้ว นีเ่ ป็นส่วน หนึ่ง หวังว่าการจัดงานในครั้งจะท�ำให้ท่านได้เห็นถึง ศิลปะวัฒนธรรม และวิถีชีวิตของชาวอิหร่านเป็นแบบ อย่างส่วนหนึ่งด้วย สุดท้ายนี้ กระผมผู้เป็นหน่วยงานหลักในการรับ ผิดชอบการจัดงานครั้งนี้ ขอกราบเรียนว่าการจัดงาน ในครั้งนี้ตามพิธีกรได้เรียนแล้วว่า เรามีการจัดงานอยู่ สามส่วนๆ ทีห่ นึง่ คือด้านวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฎ พระนครศรีอยุธยาได้จัดตั้งห้องอิหร่านศึกษาขึ้น โดย ได้รับความอนุเคราะห์ในเรื่องต�ำรับต�ำราหรือข้อมูล ข่าวสารจากอิหร่าน และจัดแสดงเป้นนิทรรศการถาวร ที่มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา ดังนั้นก็เรียน


เชิญทุกท่านเข้าเยี่ยมชมและหาความรู้ในเรื่องต่างๆ ที่ เป็นเรื่องที่น่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง กิจกรรมส�ำหรับในวัน เสาร์ที่ 18 จะมีการจัดการเคารพศพท่านเจ้าพระยาบวร ราชนายก เฉกอะห์มัด กุมมี โดยมีกลุ่มตระกูลบุนนาค และสายตระกูลเฉกอะห์มัด กุมมีจะเป็นผู้มาจัด ส่วน ที่สามก็จะเป็นการจัดสัมมนาวิชาการซึ่งจะมีสองหัว ข้อใหญ่ๆ หัวข้อที่หนึ่งคือการสัมมนาในหัวข้อเรื่อง เฉกอะห์มัด กุมมี จะเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้เรื่อง ความเป็นมา และข้อมูลต่างๆของท่านเฉกอะห์มัด กุม มี ข้อที่สองจะเป็นการสัมมนาเรื่องเมืองกุมและอิหร่าน โดยจะมีการสอนเทคนิคต่างๆของการด�ำเนินชีวิตของ ชาวอิหร่าน ดังนั้นท่านใดที่มีความสนใจก็ขอเรียนเชิญ เข้าร่วมในกิจกรรมดังกล่าว นี่คือการจัดกิจกรรมด้าน วิชาการ ส่วนทีส่ องคือการจัดแสดงศิลปะวัฒนธรรมนภา คค�่ำจะมีตั้งวันที่ 17 – 19 พฤษภาคม รวมเวลาสาม วัน อีกทั้งยังมีความส�ำคัญในบันทึกความร่วมมือทาง ด้านการศึกษา วัฒนธรรม และเศรษฐกิจ และวันนี้เช่น เดียวกันท่านนายกเทศมนตรีเมืองกุม และคณะได้เดิน ทางไปวางศิลาฤกษ์ในการสร้างมัสยิดที่สถาบันเทค ไนโลยีแห่งอโยธยาสิ่งต่างเหล่านี้เป็นกิจกรรมในปีนี้ และหวังว่าในปีต่อๆไป งานความสัมพันธ์ระหว่างไทย – อิหร่าน หรือไทย – เปอร์เซียจะมีการพัฒนาก้าวหน้า ยิ่งขึ้นต่อไป ผมในนามของผู้จัดงาน ต้องขอขอบคุณ ท่านอีกครั้งหนึ่งที่ได้มาร่วมในงานนี้ และเช่นกันท่านก็ มีสว่ นร่วมในการพัฒนาความสัมพันธ์ของสองประเทศ ให้เจริญก้าวหน้าต่อไป ขอขอบคุณ จากนั้นนายมุฮัมมัด ดิลบะรี นายกเทศมนตรี จังหวัดกุมกล่าวปราศรัยเปิดงานสัปดาห์ความสัมพันธ์ อยุธยา – กุม (อิหร่าน) โดยท่านกล่าวว่า ขอความสันติสุขจงมีแด่ประชาชนชาวจังหวัด พระนครศรีอยุธยา ข้าพเจ้านายกเทศมนตรีจังหวัดกุม สาธารณรัฐ อิ ส ลามแห่ ง อิ ห ร่ า น ต้ อ งขอขอบคุ ณ เป็ น อย่ า ง

ยิ่ ง ในการต้ อ นรั บ อย่ า งอบอุ ่ น ของประชาชนชาว พระนครศรี อ ยุ ธ ยา และต้ อ งขอขอบคุ ณ เป็ น อย่ า ง ยิ่งต่อ ฯพณฯ ดร. วิทยา ผิวผ่อง ผู้ว่าราชการจังหวัด พระนครศรีอยุธยา ทีใ่ ห้การต้อนรับข้าพเจ้าอย่างอบอุน่ จั ง หวั ด กุ ม เป็ น จั ง หวั ด หนึ่ ง ที่ ตั้ ง อยู ่ ใ น ภูมิประเทศของอิหร่านที่เป็นแหล่งท่องเที่ยว และเป็น ศู น ย์ ก ลางทางศาสนาที่ ส�ำ คั ญ ยิ่ ง ที่ มีผู้ คนเดิ น ทาง มาเยือนอย่างมากมาย จังหวัดยังเป็นศูนย์กลางด้าน วัฒนธรรมศาสนา เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้และแลก เปลีย่ นในวิชาการทางศาสนาอันส�ำคัญยิง่ มีบรรดานัก วิชาการในสาขาต่างๆ ทีไ่ ด้เดินทางมาศึกษา ณ จังหวัด นี้ และหนึ่งในนักวิชาการก็คือเฉกอะห์มัด กุมมี ที่ท่าน เคยกล่าวว่า จั ง หวั ด ที่ ข ้ า พเจ้ า เคยอยู ่ อ าศั ย เป็ น จั ง หวั ด ศูนย์กลางทางศาสนา ประกอบด้วยความเป็นธรรมชาติ ประวัตศิ าสตร์ทเี่ ต็มไปด้วยศาสนาอันหลากหลายส�ำนัก คิด และยังเป็นจังหวัดทีม่ นี กั วิชาการได้เดินทางมาแลก เปลี่ยนแนวความคิดกันอยู่เสมอ ด้วยเหตุนี้ จังหวัดกุมนับว่าเป็นศูนย์กลางจังหวัด หนึ่งของประเทศที่ตั้งอยู่ มีทะเลทรายในการดึงดูด นักท่องเที่ยว ผู้มาเยือนได้ชื่นชมความงดงาม มีสวน สาธารณะที่ประกอบไปด้วยมรดกร่องรอยทางด้าน วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์อันยาวนาน มีทรัพยากร พืชนานาชนิด และมีสัตว์นานาชนิดที่อาศัยอยู่รอบๆ จังหวัดกุม ภูมิประเทศที่เป็นธรรมชาติ ที่ปกคลุมด้วยพืช นานาชนิด เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่บนที่ราบสูง มีเทือกเขา สลับซับซ้อน มีทะเลทราย เป็นจังหวัดที่มีศักยภาพใน การต้อนรับนักท่องเที่ยว มีทะเลสาปเกลือธรรมชาติ ที่ ถูกขนานนามว่า ทะเลสาปน�้ำของพระราชา จังหวัดกุม เป็นจังหวัดบ้านเกิดเมืองนอนของ ท่านเฉกอะห์มัด กุมมี บุคคลที่น�ำหลักการแห่งศาสนา อิสลามในนิกายชีอะห์ และธุรกิจการค้าขายเข้ามาสู่ กรุงศรีอยุธยา เมืองหลวงราชธานีของสยามประเทศ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 125


จนกระทั่งได้รับการยกย่องจากพระมากษัตริย์แห่ง กรุงสยามในแผ่นดินของพระบามสมเด็จพระนเรศวร มหาราช และในครึ่งทศวรรษที่ท่านเฉกอะห์มัด กุมมี ได้ใช้ชีวิตของท่านในการรับใช้แผ่นดินสยามในกรุง ศรีอยุธยา ด้วยการเผยแพร่แนวทางแห่งอิสลามใน นิกายชีอะห์ และการค้าขายท่านได้สร้างคุณงามความ ดีคุณาประการแก่พระนครศณีอยุธยามาโดยตลอด มี นั ก วิ ช าการ ผู ้ ที่ มี ค วามสนใจในสาขาวิ ช า ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นสาขาวิชาดาราศาสตร์ นิตศาสตร์ และอื่นๆ จ�ำวนมากว่าร้อยกว่าประเทศที่ได้เดินทาง มาศึกษาวิชาการต่างๆ ในจังหวัดกุม ดังนั้นจังหวัด กุมถือว่าเป็นจังหวัดที่มีความสงบ เป็นจังหวัดที่มีกา รพัฯฃฒนาอย่างต่อเนื่อง และเป็นจังหวัดที่เต็มไปด้วย วัฒนธรรมอันเก่าแก่ที่มีคุณค่ายิ่ง ท�ำให้นานาชาตินั้น มีความหลงไหล ประวัตศิ าสตร์ความเป็นมาของจังหวัด กุมซึ่งมีอายุยาวนานกว่าพันปี ที่นักวิชาการทางด้าน การเมือง ศาสนา ต่างก็มุ่งหน้ามาศึกษาวิชาอันหลาก หลายจากจังหวัดนี้ ในการเดินทางเยือนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ของข้าพเจ้าเมือ่ หลายเดือนทีผ่ า่ นมา ข้าพเจ้ารูส้ กึ ปลืม้ ปิตยิ นิ ดีเป็นอย่างยิง่ ทีส่ ามารถท�ำให้ประชาชนของสอง จังหวัด คือจังหวัดกุมและจังหวัดพระนครศรีอยุธยานัน้ ได้มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ซึ่งสายสัมพันธ์ที่เคยมี มาช้านานกว่าสี่ร้อยปีที่ผ่านมาโดยสืบสานจากท่านเฉ กอะห์มดั กุมมี และจะคงสืบสานสายสัมพันธ์อนั เหนียว แน่นนี้สืบต่อไป ในการเดินทางเยือนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในครั้งนั้นข้าพเจ้าได้รับการต้อนรับอย่างอบอุ่นจาก ฯพณฯ ผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และ ประชาชนชาวพระนครศรีอยุธยาเป็นอย่างดี จนมาถึง ปัจจุบันนี้ทั้งสองจังหวัดได้ลงนามบันทึกความเข้าใจ เป็นเสมือนเมืองพี่เมืองน้อง คือจังหวัดกุม และจังหวัด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา และหวั ง ว่ า ในอนาคตอั น ใกล้ ประชาชนของทั้งสองจังหวัดจะได้มีโอกาสไปมาหาสู่

126 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

กันอย่างใกล้ชิด ในการจัดงานสัปดาห์วัฒนธรรมจังหวัดกุม ซึ่ง ปัจจุบนั ได้จดั ให้มขี นึ้ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เราได้ น�ำพาการแสดง และร่องรอยประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ศาสนา และธุรกิจการค้าของประชาชนชาวจังหวัดกุม มาร่วมจัดแสดงในงานดังกล่าว เพื่อว่าประชาชนของ จังหวัดขพระนครศรีอยุธยา และจังหวัดกุม จะได้เรียน รู้จักกันมากยิ่งขึ้น สุ ด ท้ า ยนี้ ข้ า พเจ้ า หวั ง เป็ น อย่ า งยิ่ ง ว่ า ในอี ก ไม่ช้า ทางจังหวัดกุมจะได้รับเกียรติในการต้อนรับ ครอบครัวแต่ละครอบครัวของประชาชนชาวจังหวัด พระนครศรีอยุธยาในจังหวัดกุมของเรา เพื่อเราจะได้มี ความใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น และจะมีโอกาสในการท่อง เที่ยวเชิงศาสนา อีกทั้งได้พบปะกับบรรดาญาติพี่น้อง ของท่านเฉกอะห์มัด กุมมีที่จังหวัดกุม จากนัน้ ดร. วิทยา ผิวผ่อง ผูว้ า่ ราชการจังหวัดพระ นครศรีอยุธา กล่าวเปิดงาน โดยท่านกล่าวว่า ท่านนายกเทศมนตรีเมืองกุมและคณะที่เคารพ รักอย่างยิ่ง พี่น้องชาวจังหวัดพระนครศรีอยุธยาที่รัก ทุก ท่ านครั บ วั น นี้ เรามาร่ วมกั น ประกาศความเป็ น กรุงศรีอยุธยาให้ประชาคมโลกได้รู้จัก ได้รู้เรื่องราย ประวั ติ ศ าสตร์ ข องอยุ ธ ยา ซึ่ ง เป็ น เมื อ งหลวงของ ประเทศไทย เมืองที่มีพี่น้องประชาชนต่างชาติต่าง ภาษาต่างศาสนาอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ตั้งอดีตสี่ ร้อยห้าร้อยปีที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน วันนี้เราได้ร�ำลึก ถึงความสัมพันธ์ระหว่างชาวเปอร์เซียและชาวไทยที่ ได้ไปมาหาสู่กันเมื่อสี่ร้อยกว่าปีที่ผ่านมา วันนี้เท่ากับ เราได้พบเพือ่ นเก่า ทีไ่ ด้เคยรูจ้ กั กันมาเมือ่ สีร่ อ้ ยกว่าปีที่ แล้ว เราหวังว่าเราจะสามารถน�ำเสนอความเป็นอยุธยา เมืองแห่งการอยูร่ ว่ มกันอย่างมีความสุขของคนทุกชาติ ทุกศาสนา เมืองที่ต้อนรับคนต่างชาติ ถึงแม้นว่าจะมี วิถีชีวิต มีความเชื่อที่ต่างกัน แต่เราสามารถอยู่ร่วมกัน ได้ ณ พื้นแผ่นดินแห่งนี้ ผมหวังว่าการจัดงานอยุธยา เทศกาลความสัมพันธ์อยุธยากับนานาชาตินนั้ จะน�ำให้


เรากลับไปสู่อยุธยา เมืองแห่งความเจริญรุ่งเรือง เมือง แห่งศูนย์กลางการค้า และศาสนาของประเทศไทย ขอ เปิดงานเทศกาลความสัมพันธ์อยุธยา – อิหร่าน ณ บัดนี้ครับ จากนั้นเป็นการแสดงบนเวทีเริ่ม ต้ น ด้ วยการ แสดงการออกก� ำ ลั ง กายโบราณของอิ ห ร่ า น (สู ซ คอเนะห์) และการแสดงโขน การแสดงการขับร้อง ประสานเสียงจากอิหร่าน การแสดง ศิลปะมวยไทย และ การแสดงคนตรีพื้นเมืองอิหร่าน

การพบปะคณะกรรมการ อิสลามประจ�ำจังหวัด พระนครศรีอยุธยา วันเสาร์ที่ 18 พฤษภาคม 2556 นายมุฮัมมัด ดิ ล บะรี นายกเทศมนตรี จั ง หวั ด กุ ม นายมุ ศ ฏอฟา นัจญาริยอน ซอเดะห์ ที่ปรึกษาฝ่ายวัฒนธรรม ศูนย์ วัฒนธรรม สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ประจ�ำ กรุงเทพฯ และคณะผู้บริหารส่วนราชการจังวหัดกุม ได้เดินทางพบปะคณะกรรมการอิสลามประจ�ำจังหวัด พระนครศรีอยุธยา ณ ห้องประชุมของมหาวิทยาลัย ราชภัฎพระนครศรีอยุธยา ในการพบปะครั้งนี้มีนายชา ลี เส้นขาว ตัวแทนของนายประดิษฐ์ รัตนโกมล ประธาน กรรมการอิสลามประจ�ำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา น�ำ คณะกรรมการอิสลามประจ�ำจังหวัดฯ เข้าพบประกับ นายกเทศมนตรี จั ง หวั ด กุ ม โดยนายชาลี เส้ น ขาว ให้การต้อนรับ และกล่าวรายงานการท�ำงานของคณะ กรรมการอิสลามประจ�ำจังหวัดพระนครศรีอยุธยาว่า จังหวัดพระนครศรีอยุธยามีมัสยิดอยู่ประมาณ 60 แห่ ง โดยแบ่งเขตการปกครองออกเป็ น 8 เขต ภารกิจหน้าที่ของคณะกรรมการอิสลามประจ�ำจังหวัด พระนครศรี อ ยุ ธ ยาคื อ การดู แ ลกิ จ กรรมของมั ส ยิ ด ต่างๆ ที่ตั้งอยู่ในจังหวัด ในด้านงบประมาณนั้นทาง

คณะกรรมการอิสลามประจ�ำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ติ ด ต่ อ ประสานกั บ ส่ ว นราชการจั ด สรรงบประมาณ มาให้ เพราะบรรดามุสลิมที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในจังหวัด พระนครศรีอยุธยามาจากกลุ่มชนหลายกลุ่ม เช่นจาก อิหร่าน อาหรับ จามกัมพูชา มาเลเซียและอินโดนีเซีย ในทุ ก ๆ ปี ผู ้ บ ริ ห ารส่ ว นราชการของจั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา ได้จดั สรรงบประมาณปีละประมาณ ยี่สิบล้านบาทให้คณะกรรมอิสลามประจ�ำจังหวัด เพื่อ น�ำไปพัฒนาองค์กรมัสยิด และพี่น้องชาวมุสลิมที่ตั้ง ถิ่นฐานอยู่ในจังหวัดพระนครศรีสอยุธยา ดังนั้นคณะ กรรมอิสลามจึงมีหน้าที่ในการจัดการเรียนการสอนใน หลักการของศาสนาอิสลามตามมัสยิดต่างๆ และจัดให้ มีการงานสัมมนาด้านวิชาการศาสนาอิสลาม จากนั้นนายมุฮัมมัด ดิลบะรี นายกเทศมนตรี จังหวัดกุม กล่าวตอบว่า เราในฐานะมุ ส ลิ ม จากจั ง หวั ด กุ ม และเป็ น ตัวแทนของพี่น้องมุสลิมอิหร่าน ต้องขอขอบคุณต่อพี่ น้องมุสลิมชาวอยุธยาเป็นอย่างยิ่ง และต้องขอบคุณ คณะกรรมการอิสลามประจ�ำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่ได้ให้การช่วยเหลือ ท�ำนุบ�ำรุงองค์กรมัสยิด เราหวัง เป็นอย่างยิ่งว่าเราจะได้เป็นเจ้าบ้านในการต้อนรับ คระกรรมการอิสลาม และพี่น้องมุสลิมชาวอยุธยาใน ประเทศสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน เราขอเรียน เชิญพวกท่านคณะกรรมอิสลามประจ�ำจังหวัดอยุธยา ได้เดินทางเยือนจังหวัดกุม เมืองบ้านเกิดของปฐม จุฬาราชมนตรี เฉกอะห์มัด กุมมี

กิจกรรมงานอุทิศส่วนกุศล เฉกอะห์มัด กุมมี และพิธีมอบรางวัลเกียรติยศ เฉกอะห์มัด กุมมี ประจ�ำปี ค.ศ. 2013

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 127


วันเสาร์ที่ 18 พฤษภาคม 2556 หลังจากพบปะกับ คณะกรรมการอิสลามประจ�ำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา นายมุ ฮั ม มั ด ดิ ล บะรี นายกเทศมนตรี จั ง หวั ด กุ ม นายมุศฏอฟา นัจญาริยอนซอเดะห์ ที่ปรึกษาฝ่าย วัฒนธรรม ดร. วิทยา ผิวผ่อง ผู้ว่าราชการการจังหวัด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ดร. บู ร พาทิ ศ พลอยสุ ว รรณ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา ศ. ดร. อักขราทร จุฬารัตน์ อดีตประธานศาลปกครอง สูงสุด พลเอกสนธิ บุญรัตกลิน อดีตรองนายกรัฐมนตรี ฝ่ายความมัน่ คง และเครือญาติในสายสกุลเฉกอะห์มดั กุมมี เข้าร่วมกิจกรรมงานอุทิศส่วนกุศลเจ้าพระยาบวร ราชนายก เฉกอะห์มัด กุมมี ณ มหาวิทยาลัยราชภัฎ พระนครศรีอยุธยา กิจกรรมเริ่มต้นด้วยการอันเชิญ พระมหาคัมภีร์อัลกุรอาน พร้อมความหมายภาษา ไทย โดยฮัจยีอดุลย์ อหะหมัดจุฬา คอเต็บมัสยิดผดุง ธรรมอิสลาม จากนั้นเป็นการวางพวงมาลาเหนือหลุม ฝังศพเฉกอะห์มัด กุมมีและการร่วมอ่านซูเราะห์ยาซีน อุทิศส่วนกุศลแด่ท่านเฉกอะห์มัด กุมมีและทายาทผู้ วายชน โดยการน�ำของเชคอับดุลก็อยยูม (เสนีย์) อา กาหยี่ อิ ม ามญะมาอั ต อิ ม าบาระห์ กุ ฎี เ จริ ญ พาศน์ จากนั้นนายมุศฏอฟา นัจญาริยอน ซอเดะห์ ที่ปรึกษา ฝ่ายวัฒนธรรม ศูนย์วัฒนธรรมสถานเอกอัครราชทูต สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ประจ�ำกรุงเทพฯ ใน ฐานะตัวแทนเอกอัครราชทูตอิหร่าน กล่าวปราศรัย โดยกล่าวว่า ด้วยพระนามของอัลลอฮ์ ผู้ทรงเมตตา ผู้ทรง กรุณาปรานีเสมอ เรียนท่าน ดร. วิทยา ผิวผ่อง ผู้ว่าราชการจังหวัด พระนครศรีอยุธยา ท่านวิศวกรมุฮัมมัด ดิลบะรี นายก เทศมนตรีจังหวัดกุม ท่าน ศ. ดร. อักราทร จุฬารัตน์ อดีตศาลปกครองสูงสุดในฐานะตัวแทนประธานมูลนิธิ เจ้าพระยาบวรราชนายก เฉกอะห์มัด พลเอกสนธิ บุญ รัตกลิน อดีตรองนายกรัฐมนตรีฝ่ายความมั่นคง ท่าน สุภาพบุรุษและท่านสุภาพสตรี ที่เคารพ

128 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

ในทุกยุคสมัยนั้น ย่อมมีประวัติศาตร์ที่น่าจดจ�ำ โดยเฉพาะบุคคลที่ได้สรรสร้างคุณงามความดี และได้ เชือ่ มสายสัมพันธ์ระหว่างประชาชนของสองประเทศ ซึง่ ชือ่ เสียงเกียรติยศของบุคคลต่างๆ เหล่านัน้ ถูกบันทึกอยู่ ในหน้าประวัติศาสตร์ ที่ท�ำให้บุคคลรุ่นหลังต่างก็สนใจ ที่จะศึกษาเกี่ยวกับบุคคลเหล่านั้น บุคคลหนึ่งที่หน้าประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ จารึกไว้ ท่านเป็นนักวิชาการชาวอิหร่าน ชื่อของท่าน คือเฉกอะห์มดั กุมมี ซึง่ ในช่วงบัน้ ปลายฃีวติ ของท่านได้ มาตั้งถิ่ฐานพ�ำนักอยู่ที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมือง หลวงเก่าของสยามประเทศ (ประเทศไทยปัจจุบนั ) ท่าน เฉกอะห์มัด กุมมีได้แสดงบทบาทของท่านในการรับใช้ ชาติบ้านเมือง จนเป็นโปรปรานของพระมหาษัตริย์ใน ยุคนัน้ จากการเชือ่ มโยงสายสัมพันธ์อนั ดีทที า่ นเฉกอะห์ มัด กุมมีกระท�ำให้สองประเทศคือสาธารณรัฐอิสลาม แห่งอิหร่านกับราชอาณาจักรไทยมีความสัมพันธ์อันดี ต่อกัน และท่านยังเป็นบุคคลทีส่ ร้างเอกภาพในระหว่าง ศาสนาอิสลาม พุทธศาสนาและศาสนาคริสต์ วันนีพ้ วก เรามาอยู่ร่วมกันที่เมืองแห่งประวัติศาตร์ เพื่อร�ำลึก ถึงวีรบุรุษท่านนี้ โดยก�ำหนดให้มีการจัดงานสัปดาห์ วัฒนธรรมกุม (อิหร่าน) – อยุธยาขึน้ โดยเราใช้สโลแกน ของงานว่า มุง่ สูอ่ นาคตทีด่ กี ว่า เพือ่ ทีพ่ วกเราจะได้รอ้ ย จิตใจสร้างเอกฉันท์ความสามัคคี และแลกเปลีย่ นเรียน รู้จักศิลปะวัฒนธรรม ในการน�ำไปสู่ความสัมพันธ์อันดี ระหว่างสองประเทศให้เจริญก้าวหน้าต่อไป ในการจัดงานครั้งนี้ เพื่อที่จะได้รับการเรียนรู้ สืบสานงานด้านวัฒนธรรม อารยะธรรม ศาสนาของ สองประเทศ ดังที่ประวัติศาสตร์ได้ถูกจารึกบันทึกไว้ แล้ว ให้คืนมาอีกครั้งหนึ่ง ข้าพเจ้าขออวยพรสันติจงมี แด่ผู้ปกครองของสองประเทศ คือสาธารณรัฐอิสลาม แห่ ง อิ ห ร่ า น และราชอาณาจั ก รไทย และขอความ จ�ำเริญสันติสุขจงมีแด่พี่น้องชาวไทยและชาวอิหร่าน ทุกท่าน สุดท้ายนี้ขอมอบคุณงามดีในงานนี้จงมีแด่ ดวงวิญญาณของท่านเฉกอะห์มัด กุมมี ด้วยการอ่าน


ซูเราะห์ฟาติฮะห์..... จากนั้นนายมุฮัมมัด ดิลบะรี นายกเทศมนตรี จังหวัดกุม ได้กล่าวปราศรัยว่า : เรียน ท่านผูว้ า่ ราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ท่านอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา ท่ า นประธานมู ล นิ ธิ เ จ้ า พระยาบวรราชนายก เฉก อะห์มัด ท่านสุภาพบุรุษ และท่านสุภาพสตรีที่เคารพ ข้าพเจ้าในฐานะผู้บริหารจังหวัดกุม สาธารณรัฐ อิสลามแห่งอิหร่าน จังหวัดกุมเป็นจังหวัดบ้านเกิดของ ท่านเฉกอะห์มัด กุมมี ท่าพ�ำนักอยู่ในจังหวัดนี้ จน กระทั่งอายุ 52 ปี ท่านกับน้องชายของท่านจึงออกเดิน ทางมาสู่กรุงศรีอยุธยา สยามประเทศ และสร้างสาย สัมพันธ์อันดีระหว่างประชาชนของสองประเทศ ท่าน เฉกอะห์มดั มิใช่เพียงพ่อค้า แต่ทา่ นยังเป็นอุลามาอ์นกั วิชาการทางศาสนาอิสลาม ในการรับใช้ประเทศชาติราชอาณาจักรไทยของ ท่านในยุคนัน้ ท่านพร้อมกับพวกพ้องของท่านสามารถ ปกป้องรักษากรุงศรีอยุธยาให้รอดพ้นจากการก่อกบฎ ของศั ต รู จนได้ รั บ พระราชทานยศศั ก ดิ น าจากพระ มหากษัตริย์แห่งกุรงสยาม ให้ท่านด�ำนงต�ำแหน่งปฐม จุฬาราชมนตรี และเจ้ากรมทางกขวาดูแลกิจการค้า ระหว่างประเทศ เกียรติประวัตินี้ตกทอดมาถึงชนรุ่น ทายาทของท่านทีน่ งั่ ณ ทีน่ กี้ เ็ จริญรอยตามแนวทางของ ท่านในการรับใช้ประเทศชาติมาโดยตลอด ดังนั้นดวง วิญญาณของท่านเฉกอะห์มดั กุมมี ได้รบั รูแ้ ละปลืม้ ปิติ ยินดีทบี่ ตุ รหลานทายาทของท่านนัน้ มาอยูร่ ว่ มกัน และ ข้าพเจ้าขอให้คำ� มัน่ สัญญาว่า ข้าพเจ้าจะน�ำสัญลักษณ์ หลุมฝังศพของท่านเฉกอะห์มดั กุมมีนไี้ ปสร้างจ�ำลองไว้ ที่หมู่บ้านเกิดของท่านในจังหวัดกุม และขอเรียนเชิญ ท่านทั้งหลายเป็นแขกรับเชิญของข้าพเจ้าในจังหวัด กุม หวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะได้พบพวกท่านในจังหวัดกุม สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่านต่อไป จากนั้นเป็นค�ำปราศรัยของท่าน ศาสตราจารย์ ดร. อักราทร จุฬารัตน์ อดีตศาลปกคตรองสูงสุด ใน

ฐานะตัวแทนของประธานมูลนิธิเจ้าพระยบาบวรราช นายก เฉกอะห์มัด ท่านกล่าวว่า เรียนท่านนายกเทศมนตรีจงั หวัดกุม พร้อมคณะ ท่านผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และแขก ผู่มีเกียรติทุกท่าน การจัดงานอุทิศส่วนกุศลแด่ท่าน เฉกอะห์มัดในปีนี้นั้น ทุกคนได้มามเป็นสักขีพยาน ต่อเกียรติประวัติของท่านเฉกอะห์มัด ในฐานะมรดก ทางวัฒนธรรมและการเมืองร่วมระหว่างอิหร่านและ ประเทศไทย เกียรติประวัติที่ท่านเฉกอะห์มัด ได้สร้าง ไว้จนเป็นเหตุให้พระกษัตริย์แห่งกรงศรีอยุธยาในยุค นัน้ ได้ทรงพระราชทานต�ำแหน่งอันสูงศักดิแ์ ด่ทา่ น ด้วย เหตุนี้พวกเราในฐานะทายาทของท่านเฉกอะห์มัด ควร จะยึดถือการกระท�ำเสมอเหมือนค�ำสัง่ เสียของท่านทีใ่ ห้ พวกเราปฏิบัติตามแนวทางของท่านในการรับใช้บ้าน เมือง และประเทศชาติ วันเวลาที่ผ่านมาได้ก่อสาย สัมพันธ์อนั ดีระหว่างสองประเทศ คือราชอาณาจักรไทย และสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ซึ่งความสัมพันธ์ นี้จะมีความแน่นแฟ้นยิ่งขึ้นต่อไป ข้าพเจ้าในฐานะ ตัวแทนของประธานมูลนิธิเจ้าพระยาบวรราชนายก เฉกอะห์มัดต้องขอขอบคุณต่อทุกท่าน โดยเฉพาะท่าน นายกเทศมนตรีจงั หวัดกุม ท่านทีป่ รึกษาฝ่ายวัฒนธรรม อิหร่าน และคณะผู้ติดตามทุกท่านที่ให้เกียรติมาร่วม งานในครั้งนี้ จ า ก นั้ น เ ป ็ น ก า ร ม อ บ ทุ น ก า ร ศึ ก ษ า แ ก ่ นั ก ศึ ก ษาที่ ย ากจน โดยมอบให้ ท างมหาวิ ท ยาลั ย ราชภัฎพระนครศรีอยุธยา ต่อมาเป็นกิจกรรมมอบ รางวั ล เกี ย รติ ย ศเฉกอะห์ มั ด กุ ม มี ประจ� ำ ปี ค.ศ. 2013 โดยรางวัลดังกล่าวทางศูนย์วัฒนธรรม สถาน เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ได้จดั ขึน้ มาตัง้ แต่ ปี ค.ศ.2010 รางวัลเกียรตยศเฉกอะห์มดั กุมมี เป้นรางวัลทีจ่ ะมอบให้บคุ คลทีม่ ผี ลงานในการสร้างสรร ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คือสาธารณรัฐอิสลาม แห่งอิหร่าน กับราชอาณาจักรไทย โดยทางศูนย์วัฒน ธรรมฯ ได้เรียนเชิญองค์กรมหาวิทยาลัย และมูลนิธิ

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 129


เจ้าพระยาบวราชนายก เฉกอะห์มัดเป็นผู้พิจารณา ร่วมว่ารางวัลเฉกอะห์มัด กุมมีในแต่ละปีนั้นสมควรที่ จะมอบแก่ท่านผู้ใด ซึ่งในปีแรกที่ประชุมได้มีมติให้ทูล เกล้าถวายรางวัลเกียรติยศเฉกอะห์มัด กุมมี ประจ�ำ ปี ค.ศ. 2010 แด่สมเด็จพระเทพรัตรราชสุดา สยาม บรมราชกุมารี ในฐานะที่พระองค์ท่านได้เสด็จแทน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเยือนอิหร่านอย่างเป็น ทางการ ในการเชื่อมสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ส่วนใน ปี ค.ศ. 2011 ที่ประชุมได้มีมติว่ารางวัลเกียรติยศเฉก อะห์มัด กุมมี ควรจะมอบแก่บุคคลที่มีผลงานด้านวิจัย และเขียนหนังสือชีวประวัตทิ า่ นเฉกอะห์มดั กุมมี ซึง่ ใน ปี ค.ศ. 2011 ที่ประชุมได้ลงมติมอบรางวัลเกียรติยศ เฉกอะห์มัด กุมมี แก่ ดร. จุฬิศพงศ์ จุฬารัตน อาจารย์ ประวัติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และท่านสิริ ตั้งตรงจิตร อดีตเลขานุการมูลนิธิเจ้าพระยาบวรราช นายก เฉกอะห์มัด ส่วนในปี ค.ศ. 2012 ที่ประชุมมีมติ ให้มอบรางวัลเกียรติยศเฉกอะห์มดั กุมมีแก่ทา่ นพลเอก บรรจบ บุนนาค ประธานมูลนิธเิ จ้าพระยาบวรราชนายก เฉกอะห์มดั และส�ำหรับรางวัลเกียรติยศเฉกอะห์มดั กุม มีในปี ค.ศ. 2013 นี้ ทีป่ ระชุมเห็นควรให้มอบรางวัลเกีย ตรยศนี้แก่ท่าน ดร. วิทยา ผิวผ่อง ผู้ว่าราชาการจังหวัด พระนครศรีอยุธยา และท่าน ดร. บูรพาทิศ พลอยสุวรรณ อธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา จากนั้นนายมุศฏอฟา นัจญาริยอน ซอเดะห์ได้ เรียนเชิญแขกผู้มีเกียรติเข้าเยียมชมห้องอิหร่านศึกษา ที่ทางมหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยาได้เปิดไว้ ให้บริการ

130 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

กิจกรรมอ�ำลาระหว่าง นายกเทศมนตรีจังหวัดกุม กับผู้ว่าราชการจังหวัด พระนครศรีอยุธยา และท่านอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฎ พระนครศรีอยุธยา วันเสาร์ที่ 18 พฤษภาคม 2556 หลังจากงาน อุทิศส่วนกุศลเฉกอะห์มัด กุมมี และงานมอบรางวัล เกียรติยศเฉกอะห์มัด กุมมีประจ�ำปี ค.ศ. 2013 นาย มุฮัมมัด ดิลบะรี นายกเทศมนตรีจังหวัดกุม กล่าวค�ำ อ�ำลาท่านผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และ ท่านอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา โดย ท่าน ดร. บูรพาทิศ พลอยสุวรรณ อธิการบดีมหา วิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยากล่าวว่า จากการเดิ น ทางเยื อ นมหาวิ ท ยาลั ร าชภั ฎ พระนครศรีอยุธยาของท่านนายกเทศมนตรีจังหวัด กุม พร้อมคณะ ทางมหาวิทยาลัยฯ ต้องขออภัย หาก มีสิ่งใดขาดตกบกพร่อง ซึ่งทางมหาวิทยาลัยราชภัฎ พระนครศรีอยุธยา มีโครงการในอนาคตที่จะเปิดห้อง และเปลี่ยนสินค้าระหว่างจังหวัดกุม กับสินค้าพื้นเมือง ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อว่าประชาชนชาว อยุธยา หรือท่านผู้ใดที่ได้เดินทางมาเคารพศพท่าน เฉกอะห์มัด กุมมี จะได้แวะมาชมและหาซื้อสินนั้นได้ แต่ในการเปิดห้องแลกเปลี่ยนสินค้านั้นจ�ำเป็นอย่าง ยิ่งที่จะต้องใช้งบประมาณในการจัดเตรียม ด้วยเหตุ นี้ทางมหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยามีความ ปรารถนาที่จะให้ทางนายกเทศมนตรีจังหวัดกุม ช่วย ในเรื่องงบประมาณการจัดเตรียมห้องดังกล่าว และ


ส่วนโครงการในการจัดเตรียมห้องแลกเปลีย่ นสินค้าพืน้ เมืองนัน้ ทางมหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยาจะ ร่างโครงการดังกล่าวผ่านไปยังศูนย์วัฒนธรรม สถาน เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ประจ�ำ กรุงเทพฯ เพื่อรายงานให้ท่านนายกเทศมนตรีจังหวัด ทราบต่อไป จากนั้นนายมุฮัมมัด ดิลบะรี นายกเทศมนตรี จังหวัดกุมกล่าวว่า จ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้การ ช่วยเหลือและรับใช้ท่านผู้ว่าราชการจังหวัดพระนคร ศรีอยุธยา และท่านอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฎ พระนครศรีอยุธยาเป็นอย่างยิง่ จากการจัดงานสัปดาห์ ความสัมพันธ์กุม (อิหร่าน) – อยุธยา เป็นที่ยืนยันถึง ความตั้งใจอันดี และของให้ทางมหาวิทยาลัยราชภัฎ พระนครศรีอยุธยาประสานงานผ่านศูนย์วัฒนธรรม สถาเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ประจ�ำกรุงเทพฯ ในส่วนของงบประมาณนัน้ ทางจังหวัด กุมยินดีที่จะช่วยเหลือให้ร่างโครงการส่งมายังเรา และ อีกในไม่ชา้ หวังว่าเราคงจะได้มีโอกาสพบกันในจังหวัด กุม พร้อมกับประธานมูลนิธเิ จ้าพระยาบวรราชนายก เฉ กอะห์มัด หรือตัวแทนมูลนิธิฯ ต่อมา ดร. วิทยา ผิวผ่อง ผู้ว่าราชการจังหวัด พระนครศรีอยุธยากล่าวว่า ขอขอบคุณเป็นอย่างยิง่ ต่อ ท่านนายกเทศมนตรีจงั หวัดกุม และคณะทีไ่ ด้ตอบรับค�ำ เชิญของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเข้าร่วมงานสัปดาห์ ความสัมพันธ์อยุธยา –กุม (อิหร่าน) ในครั้งนี้ และต้อง ขอขอบคุณอีกครัง้ ทีท่ า่ นได้เรียนเชิญพวกเราให้เดินทาง ไปเยือนสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน โดยเฉพาะร่วม กิจกรรมในงานความสัมพันธ์กุม – อุยธา และกิจกรรม ในการเปิดห้องไทยศึกษาที่จังหงัดกุม ทางจังหวัดรอ ที่จะได้รับหนังสอืเชิญอย่างเป็นทางการจากท่าน และ จะประสานงานอย่างใกล้ชิดกับศูนย์วัฒนธรรม สถาน เอกอัครราชทูต สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ประจ�ำ กรุงเทพฯ และท้ายนี้หวังเป็นอย่างยิ่งว่า จะได้กับท่าน นายกเทศมนตรี และคณะผู้บริหารอีกคครั้งในจังหวัด

กุม สาธาณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน

การพบปะสนทนาระหว่าง นายกเทศมนตรีจังหวัดกุม และคณะ กับ ฯพณฯ จุฬาราชมนตรี วันเสาร์ที่ 18 พฤษภาคม 2556 เวลา 15.00 น. นายมุฮัมมัด ดิลบะรี นายกเทศมนตรีจังหวัดกุม นายมุศฏอฟา นัจญาริยอน ซอเดะห์ที่ปรึกษาฝ่าย วั ฒ นธรรม ศู น ย์ วั ฒ นธรรม สถานเอกอั ค รราชทู ต สาธารณรั บ อิ ส ลามแห่ ง อิ ห ร่ า น ประจ� ำ กรุ ง เทพฯ และคณะผู้บริหารจังหวัดกุม ได้เดินทางเข้าพบประ สนทนากับ ฯพณฯ อาศิส พิทักษ์คุมพล จุฬาราชมนตรี ณ ที่ ท� ำ การส� ำ นั ก จุ ฬ าราชมนตรี คลองเก้ า เขต หนองจอก กรุ ง เทพมหานครฯ ในการเข้ า พบครั้ ง นี้ ฯพณฯ จุฬาราชมนตรี ให้การต้อนรับ โดยท่านกล่าวว่า : ข้ า พเจ้ า ขอขอบคุ ณ ต่ อ ท่ า นายกเทศมนตรี จังหวัดกุมและคณะที่ได้เดินทางมาเยือนส�ำนักงาน จุฬาราชมนตรี สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่านที่เต็ม เปี่ยมไปด้วยอารยธรรมและวัฒนธรรมหลายพันปีอัน สวยงามและอารยธรรม วัฒนธรรมอิหร่านบางอย่างนัน้ เข้าสูป้ ระเทศไทย ระหว่างท่านกับเรามีความแตกต่างก็ เพียงในส่วนของมัซฮับเท่านั้น แต่อย่างไรก็ตามศรัทธา ของเรากับท่านก็เป็นศรัทธาในอิสลามเดียวกัน ดังนั้น เราเองก็ให้พวกท่านช่วยกันวิงวอนขอดุอาอ์ให้ข้าพเจ้า มีสุขภาพลานามัยสมบูรณ์กว่าที่เป็นอยู่ เพื่อว่าจะมี โอกาสเดินทางไปเยือนสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน หลายปีที่ผ่านมาข้าพเจ้ามีความหวังที่จะเดิน ทางไปเยือนสาธาณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน แต่ด้วย สภาพของร่างกายที่เจ็บป่วยอยู่ จึงไม่สามารถจะเดิน ทางไปได้ ข้าพเจ้าชอบและรักอารยธรรม และวัฒนธรรม

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 131


ของอิหร่าน เพราะเป็นวัฒนธรรมอิสลาม ดังนั้นขอ ให้ท่านนายกเทศมนตรี กรุณาแนะน�ำคณะของท่าน ให้ข้าพเจ้าได้รู้จัก หลังจากที่ท่านนายกเทศมนตรีได้ แนะน�ำคณะผู้บริหารให้ ฯพณฯ จุฬาราชมนตรีทราบ แล้ว นายมุฮัมมัด ดิลบะรี นายกเทศมนตรีกล่าวว่า ข้าพเจ้ากับคณะเดินทางมายังประเทศไทย เพือ่ เข้าร่วมงานสัปดาห์ความสัมพันธ์กมุ (อิหร่าน) – อยุธยา ที่จัดขึ้นโดยท่านผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และมหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฎ พระนครศรี อ ยุ ธ ยา จึ ง ถื อ โอกาสน� ำ คณะเดิ น ทางเข้ า เยี่ ย มคารวะ ฯพณฯ จุฬาราชมนตรี ซึง่ ภารกิจของข้าพเจ้ากับคณะทีเ่ ดินทาง มาครัง้ นีย้ งั ไม่สมบูรณ์ ถ้าไม่มโี อกาสได้เข้าเยีย่ มคารวะ กับ ฯพณฯ จุฬาราชมนตรี ประมุขของบรรดามุสลิมของ ประเทศไทย ดังที่ ฯพณฯ จุฬาราชมนตรีกล่าวว่า เรามี ศรัทธาต่ออิสลามทีเ่ หมือนกันคือการศรัทธาต่ออัลลอฮ์ (ซ.บ.) ศาสนทูตของพระองค์ (ศ.) และอัลกุรอาน เรา จ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องปกป้องรักษาหลักการศรัทธา ของเรา เพราะบรรดาศัตรูของอิสลามพยายามอย่าง ยิ่งที่จะใช้ช่องหว่างระหว่างเรา เป็นเครื่องมือในการที่ จะท�ำลายอิสลาม ด้วยเหตุนหี้ น้าทีข่ องเราคือการรักษา ไว้ซึ่งเอกภาพ และความเป็นภราดรภาพ ข้ า พเจ้ า ในฐานะตั ว แทนด้ า นการเมื อ งของ สาธารณรั ฐ อิ ส ลามแห่ ง อิ ห ร่ า น ขอน� ำ สั น ติ ม ายั ง พี่ น้ อ งชาวไทยมุ ส ลิ ม ทั้ ง สุ ภ าพบุ รุ ษ และสุ ภ าพสตรี โดยผ่ า นมายั ง ฯพณฯ จุ ฬ าราชมนตรี และเช่ น กั น เราเองได้วิงวอนขอดุอาอ์จกาองค์พระผู้อภิบาลแห่ง สากลโลกทรงประทานความเมตตากรุณา ให้ ฯพณฯ จุฬาราชมนตรี มีพลานามัยสมบูรณ์ เพื่อจะได้เป็น แขกรับเชิญของเราในประเทศสาธารณรัฐอิสลามแห่ง อิหร่าน โดยเฉพาะพีน่ อ้ งมุสลิมชาวไทยทุกท่านทีไ่ ด้เดิน ทางเยือนสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ขอให้เป็นแขก ของข้าพเจ้าในจังหวัดกุม จากนั้นนักกอรีอิหร่านอันเชิญบางโองการของ อัลกุรอาน เพื่อเป็นสิริมงคลแด่ ฯพณฯ จุฬาราชมนตรี

132 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

และคณะตะวาชีฮ์ของอิหร่าน ขับร้องประสานเสียง กล่าวสดุดี สรรเสริญต่อพระองค์อลั ลอฮ์ (ซ.บ.) จากนัน้ ฯพณฯ จุฬราชมนตรีได้มอบของที่ระลึกต่อท่านนายก เทศมนตรีจังหวัดกุม

รายงานการจัดสัมมนา เฉกอะห์มัดกุมมี ณ หอประชุมมหาวิทยาลัย ราชภัฎพระนครศรีอยุธยา วันอาทิตย์ที่ 19 พฤษภาคม 2556 กิจกรรมการจัดสัมมนาเฉกอะห์มัด กุมมี เป็น กิ จ กรรมงานด้ า นวิ ช าการของกิ จ กรรมการจั ด งาน สัปดาห์วัฒนธรรมกุม (อิหร่าน) – อยุธยา ที่จัดขึ้น ตั้งแต่วันที่ 17 – 20 พฤษาภาคม 2556 กิจกรรมการจัด สัมมนาเฉกอะห์มัด กุมมีโดยมีนายมุศฏอฟา นัจญารอ ยอนซอเดะห์ ที่ปรึกษาฝ่ายวัฒนธรรม ศูนย์วัฒนธรรม สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ประจ�ำกรุงเทพฯ , นาย ซัยยิดมุรตะฏอ อิสมาอีล ฏอบาผู้อ�ำนวยการส�ำนัก วัฒนธรรมและเผยแพร่อิสลาม จังหวัดกุม นายซัยยิด มะห์ดี ฮูซัยนี ผู้อ�ำนวยการส�ำนักมรดกวัฒนธรรมและ การท่องเที่ยวจังหวัดกุม มาดามมะอ์ศูมะห์ เซาะฮีรี ผู้ อ�ำนวยการส�ำนักกิจกรรมสตรี ส�ำนักงานนายเทศมนตรี จั ง หวั ด กุ ม ดร. มุ ฮั ม มั ด อิ บ รอฮี ม ฟะกี ฮ ์ ซ อเดะห์ ประธานสภามหาวิทยาลัยจังหวัดกุม มุหซ์ นิ นะศีรี รอง นายกเทศมนตรีจงั หวัดกุม ฝ่ายกิจกรรม และคณะกลุม่ ขับร้องประสานเสียง บะกียะตุลลอฮ์ จังหวัดกุม เริ่ม ต้นด้วยการอันเชิญบางโองการของพระมาหคัมภีร์อัล กุรอาน โดยนายมะห์ดี ฟุรูฆี ผู้อ�ำนวยการสถาบันกอรี และะท่องจ�ำอัลกุรอาน จังหวัดกุม จากนั้น ดร.บูรพาทิศ พลอยสุวรรณ อธิการบดี


มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธาได้กล่าวให้การ ต้อนรับนักวิชาการ คณะผูบ้ ริหารจังหวัดกุม คณาจารย์ และนิสิตนักศึกษา โดยท่านกล่าวว่า เรียน ท่านมุศฏอฟา นัจญาริยอน ซอเดะห์ ที่ ปรึกษาฝ่ายวัฒนธรรม สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ประจ� ำ ประเทศไทยและคณะ ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา และแขกผู้มีเกียรตทุกท่าน ก่อนอื่นต้องขอขอบคุณท่าน มูสฏอฟา นัจญา ริยอน ซอเดะห์ ที่ปรึกษาฝ่ายวัฒนธรรม สาธารณรัฐ อิสลามแห่งอิหร่าน ประจ�ำประเทศไทย และคณะ ผู้ว่า ราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และแขกผู้มีเกียรติ ทุกท่าน ที่เข้าร่วมสัมมนา ผมรู้สึกยินดีและเป็นเกียรติ ที่ได้ต้อนรับทุกท่านสู่งานสัมมนาวิชาการเฉกอะห์มัด กุมมี ในวันนี้ ตามทีมหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา มี ความร่วมมือกับศูนย์วัฒนธรรม สถานเอกอัคคราชทูต สาธาณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ประจ�ำประเทศไทย ทาง ด้านวัฒนธรรม ภาษา ศาสนาอิสลาม นอกจกานี้มหา วิทยาลัยราชภีภัฎพระนครีอยุธยา เป็นพื้นที่ฝังศพเจ้า พระยาบวราชนายก (เฉกอะห์มัด ) ซึ่งเป็นมุสลิมจาก เมืองกุม ประเทศอิหร่าน ท่านรับราชการตั้งแต่ปลาย แผ่ น ดิ น สมเด็ จ พระเทรงธรรมจนถึ ง แผ่ น ดิ น สมเด็ จ พระเจ้าประสาททอง ท่านเป็นบุคคลที่มีความส�ำคัญ ต่อประเทศไทยอย่างยิ่ง ซึ่งได้รับผิดชอบงานด้านการ ค้า และการต่างประเทศด้วยความสามารถและซือ่ สัตย์ จงรักภักดี มีคุณธรรม จนกระทั่งได้เลื่อนบรรดาศักดิ์ และต�ำแหน่งเรื่อยมาจนเป็นออกญา เจ้าพระยาบวร ราชนายก จางวางกรมมหาดไทย และท่านยังเป็นต้น สกุลของไทยมุสลิมหลายสกุลและสกุลบุนนาค ถือได้ ว่าทายาทสืบทอดการรับราชการต่อมา ดังนั้น มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา จึงเล็งเห็นว่า ควรมีการจัดสัมมนาวิชาการเฉกอะห์มัด กุมมี เพือ่ แสดงถึงความสัมพันธ์อนั ดีและเป็นเกียรติแก่ ท่านเฉกอะห์มัด กุมมี ตั้งแต่อดีตจนกึงปัจจุบันระหว่าง

จังหวัดพระนครศรีอยุธยาและเปอร์เซีย (อิหร่าน) โอกาสนี้ กระผมใคร่ ข อเรี ย นเรี ย นเชิ ญ ท่ า น มุศฏอฟา นัจญรอยอน ซอเดะห์ ทีป่ รึกษาฝ่ายวัฒนธรรม สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ประจ�ำประเทศไทย กล่ า วรายงานวั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการจั ด งานสั ม มนา วิชาการเฉกอะห์มัด กุมมี ในวันนี้ ขอเรียนเชิญครับ จากนั้นนายมุศฏอฟา นัจญาริยอน ซอเดะห์ ที่ ป รึ ก ษาฝ่ า ยวั ฒ นธรรม ศู น ย์ วั ฒ นธรรม สถาน เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ประจ�ำ กรุงเทพฯ กล่าวรายงานวัตถุประสงค์การจัดงานสัมมนา วิชาการเฉกอะห์มัด กุมมี โดยกล่าวว่า เรียน ท่าน ดร. บูรพาทิศ พลอยสุวรรณ อธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา สุภาพบุรุษ สุภาพสตรี และแขกผู้มีเกียรติที่เคารพทุกท่าน ประการ แรกต้องขอขอบคุณต่อท่านอธิการบดี คณาจารย์ ผู้ บริหารมหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา และผูท้ ี่ มีสว่ นร่วมในการจัดกิจกรรมด้านวิชการในงานสัปดาห์ วัฒนธรรมกุม (อิหร่าน) – อยุธยา และเรียนเชิญคณะผู้ บริหารระดับสูงของจังหวัดกุม สาธารณรัฐอิสลามแห่ง อิหร่าน เข้าร่วมในกิจกรรมงานดังกล่าว ท่านเฉกอะห์มัด กุมมีเป็นมรดกด้านวัฒนธรรม ร่วมของสองประเทศคือสาธารรรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน และราชอาณาจักรไทย จากภารหน้าที่ที่ท่านเฉกอะห์ มัด กุมมีกระท�ำไว้ ท่านมิได้เป็นเพียงพ่อค้าวานิช เฉ กอะห์มัด กุมมีเป็นนักวิชาการ เป็นอุลามะอ์ ซึ่งน�ำหลัก การอิสลามเข้ามาสู่ในแผ่นดินสยาม จนกระทั่งได้รับ การโปรดเกล้าจากพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา แต่งตั้งท่านเฉกอะห์มัด กุมมี เป็นปฐมจุฬาราชมนตรี และวันนี้หลังจากค�ำกล่าวของข้าพเจ้า สาธารณรัฐ อิ ส ลามแห่ ง อิ ห ร่ า นจะแสดงหนั ง สื อ ชี ว ประวั ติ ข อง ท่านเฉกอะห์มัด กุมมีและการแสดงแสตป์มท่านเฉก อะห์มัด กุมมี เพื่อเป็นสิ่งยืนยันถึงความสัมพันธ์ของ ทั้งอสงประเทศระหว่างสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน กับราชอาณาจักรไทย และเช่นกันเมื่อวานที่ผ่านมา

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 133


ก็มีกิจกรรมการมอบรางวัลเกียรติยศเฉกอะห์มัด กุม มี ประจ�ำปี ค.ศ. 2013 ที่ปีนี้ได้มอบรางวัลเกียรติยศ เฉกอะห์มัด กุมมี แก่ผู้ที่ท�ำคุณประโยชน์ในการเชื่อ สายสัมพันธ์ระหว่างสองประเทศได้เป็นอย่างดี ดังนั้น รางวัลเกียรติยศเฉกอะห์มัด กุมมี ประจ�ำปี ค.ศ. 2013 ได้มอบแก่ท่าน ดร. วิทยา ผิวผ่อง ผู้ว่าราชการจังหวัด พระนครศรีอยุธยา และท่าน ดร. บูรพาทิศ พลอยสุวรรณ อธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา ซึ่ง รางวัลเกียรติยศเฉกอะห์มัด กุมมี จะจัดให้มีขึ้นทุกๆ ปี ในช่ วงของการจัดงานสัป ดาห์วัฒนธรรมฯ ด้ วย เหตุนี้การจัดงานสัปดาห์วัฒนธรรมความสัมพันธ์กุม (อิหร่าน) – อยุธยา และจัดให้มีกิจกรรมในการจัด สัมมนาวิชาการเฉกอะห์มัด กุมมี เพื่อที่จะให้บรรดา นักวิชาการ นักค้นคว้า วิจัย ในเรื่องประวัติศาสตร์ ได้รับรู้ถึงเกียรติประวัติของท่านเฉกอะห์มัด กุมมี ว่า เกียรติประวัติของท่านมีความส�ำคัญอย่างไรต่อความ สัมพันธ์ของอิหร่านกับราชอาณาจักรไทย ที่มีนานกว่า 420 ปี ตั้งแต่กรุงศรีอยุธยาจนถึงปัจจุบัน จากนั้นเป็นค�ำปราศรัยของท่านซัยยิด มุรตะฎอ อิสมาอีล ฏอบา ผู้อ�ำนวยการส�ำนักวัฒนธรรมและการ เผยแพร่อิสลาม จังหวัดกุม สาธารณรัฐอิสลามแห่ง อิหร่านกล่าวบรรยายปราศรัยดังนี้ เมื่อมนุษย์ต้องการที่จะเรียนรู้จักซึ่งกันและกัน จ�ำเป็นทีจ่ ะต้องศึกษาผ่านจากหน้าประวัตศิ าสตร์ หรือ จากชีวประวัติของบุคคลที่ต้องการที่จะรู้จัก ว่าเขาเป็น ใคร มีความส�ำคัญอย่างไร และเขานั้นมาจากไหน เพื่อ ที่จะท�ำให้ผู้ที่สนใจในชีวประวัติบุคคลที่ตนเองก�ำลัง ศึกษาเรียนรู้อยู่นั้นได้กระจ่างขึ้น ด้วยเหตุนี้ ถ้าเรามอง เข้ายังประวัติศาสตร์ว่า มีประวัติตอนใด เล่มใดที่ได้ กล่าวถึงสื่อแห่งการสร้างสายสัมพันธ์ของมนุษย์ ที่อยู่ กันไกลแสนไกล แต่น�ำมาให้ใกล้ชิดและรู้จักกันได้ ซึ่ง บุคคลนั้นจะต้องเต็มเปี่ยมไปด้วยวิชการความรู้ความ สามารถ เช่นท่านผู้นี้ที่เป็นชาวอิหร่านนามเฉกอะห์มัด กุมมี ในขณะที่อยุไขของท่าน 52 ปีเศษ ท่านได้ร่วมเดิน

134 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

ทางมากับน้องชายของท่านที่มีนามว่ามุฮัมมัด สะอีด และตัดสินใจตั้งรกรากถิ่นฐานที่กรุงศรีอยุธยา เมือง หลวงของสยามประเทศ ด้วยความมุ่งมั่น ความขยัน มั่นเพียร และความซื่อสัตย์ จงรักภักดี ต่อแผ่นดินที่ ให้อาหารและที่พักอาศัยอย่างเป็นสุข จนกระทั้งคุณ งามความดีดังกล่าว ถูกกล่าวขานเป็นที่โปรดปราน ของกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาในยุคนั้น จึงโปรดเกล้า พระราชทานต� ำ แหน่ ง อั น ทรงเกี ย รติ์ ใ ห้ ใ นต� ำ แหน่ ง ทางการเมื อ งคื อ เจ้ า พระยาราชเศรษฐี แ ละเลื่ อ น บรรดาศักดิส์ งู ขึน้ เป็นออกญาเจ้าพระยาบวรราชนายก เฉกอะห์มัด กุมมี ส่วนในด้านการศาสนา ที่ดูแลสร้าง สันติ ความเป็นเอกภาพของศาสนาต่างที่มีอยู่ในกรุง ศรีอยุธยา โปรดเกล้าแต่งตั้งให้เป็นปฐมจุฬาราชมนตรี ประมุขคนแรกในศาสนาอิสลาม ที่ปรึกษาใกล้ชิดของ องค์พระมหากษัตริยแ์ ห่งกรุงสยาม ด้วยคุณงามความดี ของบุรษุ ผูน้ ี้ ทีท่ า่ นเป็นผูท้ สี่ ร้างสายสัมพันธ์ของชนสอง เผ่า สองประเทศให้มาอยูใ่ กล้ชดิ กัน เรียนรูจ้ กั วัฒนธรรม อารยะธรรมของกันและกัน อีกทั้งยังได้สอนบุตรหลาน ของท่านให้มคี วามจงรักภักดีตอ่ แผ่นดินทีใ่ ห้อขู่ า้ ว อูน่ ำ�้ ที่อยู่อาศัยอย่างอบอุ่น ประวัติศาสตร์บุคคลได้ยกย่อง ท่านเฉกอะห์มัด กุมมี ว่าเป็นมรดกร่วมทางวัฒนธรรม ของสองประเทศ คือสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่านกับ ราชอาณาจักรไทย การทีเ่ รามานัง่ สนทนาบรรยาย และ น�ำชีวประวัติที่น่ายกย่องของท่านเฉกอะห์มัด กุมมี มา กล่าวแลกมุมมองทัศนะแก่กันนั้น จะเป็นประโยชน์ อย่ า งยิ่ ง ต่ อ นั ก ประวั ติ ศ าสตร์ ที่ ก� ำ ลั ง เรี ย นค้ น คว้ า ประวัติศาสตร์บุคคลที่ได้ท�ำคุณประโยชน์ต่อประเทศ ชาตินนั้ มีใครบ้าง ดังนัน้ จากการจัดงานสัปดาห์สมั พันธ์ วัฒนธรรมอิหร่าน –อยุธยา ทีไ่ ด้จดั ขึใ้ นปีนี้ และปีตอ่ ๆไป นั้น จึงมีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องน�ำประวัติอันน่า ยกย่องของท่านเฉกอะห์มัด กุมมีกล่าวขานว่าท่านนั้น คือผูท้ ไี่ ด้สร้างสายสัมพันธ์อนั ดีตงั้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั และอนาคตของสองประเทศ และของสองเผ่าชน และ การจัดสัมมนาวิชาการในครั้งนี้ก็ถือว่าเป็นอีกบทบาท


หนึ่งที่จะท�ำให้ความสัมพันธ์ด้านวัฒนธรรม การเมือง การเศรษฐกิจของสองประเทศนัน้ มีความเจริญก้าวหน้า และมัน่ คงต่อไป ดังทีท่ า่ นเฉกอะห์มดั กุมมี ได้ถอื ปฏิบตั ิ เป็นแบบอย่างไว้ และสอนบุตรหลานสายสกุลของท่าน อยู่ตลอดเวลาว่า ให้มีความซื่อสัตย์ สร้างเอกภาพ และ สันติแก่ญาติพี่น้อง และเพื่อนบ้าน จากนั้นเป็นค�ำปราศรัยของท่านซัยยิด มะห์ดี ฮุซยั นี ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักมรดกทางวัฒนธรรมและการ ท่องเทีย่ วของจังหวัดกุม สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ได้กล่าวปราศรัยดังนี้ว่า เรียน ท่านนัจญาริยอน ซอเดะห์ ที่ปรึกษาฝ่าย วั ฒ นธรรม ศู น ย์ วั ฒ นธรรม สถานเอกอั ค รราชทู ต สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ประจ�ำประเทศไทย ท่าน ดร. บูรพาทิศ พลอยสุวรรณ อธิการบดี มหาวิทยาลัย ราชภัฎพระนครศรีอยุธยา ผู้บริหาร คณาจารย์ และ นิสิตนักศึกษา ที่ร่วมนั่งอยู่ในที่ประชุมสัมมนาวิชาการ เฉกอะห์ มั ด กุ ม มี ทุ ก ท่ า น เป็ น ความถู ก ต้ อ งที่ ว ่ า ท่านเฉกอ์มัด กุมมี ท่านนี้เป็นบุคคลที่ได้สร้างความ สัมพันธ์ระหว่างสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน กับราช อาณาจักรไทย ตั้งแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งความ สัมพันธ์ระหว่างสองประเทศที่ท่านได้กระท�ำไว้นั้น ไม่ ใช่แครเพียงความสัมพันธ์ในด้านวัฒนธรรมอย่างเดียง แต่ยังเป็นความสัมพันธ์ด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจ และการท่องเที่ยว ดังจะพบเห็นได้ในปัจจุบันการท่อง เที่ยวระหว่างประเทศทั้งสอง สาธารณรัฐอิสลามแห่ง อิหร่าน กับราชอาณาจักรไทย มีการเดินทางไปมาหาสู่ กันของผู้คนจ�ำนวนมาก และในอนาคตอันใกล้ก็หวัง เป็นอย่างยิง่ ว่า การท่องเทีย่ วของประชาชนทัง้ สองประ ทเศ จะได้มีการลงนามในบันทึกความเข้าใจ และขอ เรียนเชิญพีน่ อ้ งชาวไทยทุกๆท่าน ได้เดินทางเป็นแขกรับ เชิญของสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ดังทีข่ า้ พเจ้า ได้ สนทนากับท่านผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และท่านอธิการบดี มหาวิทยาลัยพระนครศรีอยุธยา ว่า ศิลปะทีถ่ กู ถ่ายทอดออกมาเป็นผลงานในหัตถกรรมของ

อิหร่านทุกชิ้นนั้น จะถูกจัดส่งมายังพระนครศรีอยุธยา และเช่นกันสินค้าหัตถกรรมของพระนครศณีอยุธยา และของไทยนั้นจะส่งไปยังสาธารณรัฐอิสลามแห่ง อิหร่าน แต่ประการแรกนั้น ทางเราปรารถนาที่เรียน เชิญท่านผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยาท่าน อธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา พร้อมคณะ เดินทางไปเยือนจังหวัดกุม และเราจัด เตรียมก�ำหนดการที่จะพาคณะของท่านเยี่ยมชมเมือง ทางด้านประวัติศาสตร์ของอิหร่าน เช่น จังหวัดกุม อิส ฟาฮาน เตหะราน ชีราซและมัชฮัด แต่ขอให้ท่านได้พา ผู้ว่าการท่องเที่ยวของประเทศไทยร่วมเดินทางไปด้วย เพื่อว่าเราจะลงนามความร่มมมือในบันทึกข้อตกลง ร่วมกัน และเช่นกันในราวเดือนตุลาคม – พฤศจิกายน 2556 ทางเราจะจัดงานสัปดาห์วฒ ั นธรรมกุม – อยุธยา ขึน้ ทีจ่ งั หวัดกุม และในงานดังกล่าวเราจะมีกจิ กรรมเปิด ห้องไทยศึกษา จึงขอเรียนเชิญทุกท่านเป็นแขกรับเชิญ ของเรา ซึ่งเราจะส่งหนังสือเชิญอย่างเป็นทางการมีอีก ครั้งหนึ่ง สุดท้ายหวังเป็นอย่างยิ่งความสัมพันธ์อันดี งาม ในฐามนะที่ท่านเฉกอะห์มัด กุมมี ท่านเป็นมรดก ทางวัฒนธรรมร่วมของสองประเทศ เราจะได้มีความ ใกล้ชิดกันยิ่งขึ้น จากนัน้ มาดามมะอ์ศมู ะห์ เซษะฮีรี ผูอ้ ำ� นวยการ ผู้อ�ำนวยการกิจกรรมสตรี ส�ำนักงานนายเทศมนตรี จังหวัดกุม สาธาณรัฐอิสลามแห่งอิหร่านกล่าวบรรยาย ว่า ประการแรกต้องขอขอบคุณท่านผู้ว่าราชการ จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา แลท่ า นอธิ ก ารบดี มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา และท่านที่ ปรึกษาฝ่ายวัฒนธรรม สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ประจ�ำประเทศไทย ทีใ่ ห้การประสานงานความร่อมมือ ในการจัดกิจกรรมอันมีคา่ ยิง่ นีข้ นึ้ มา ดังทีไ่ ด้มโี อกาสเข้า ร่วมงานสัปดาห์วัฒนธรรมความสัพันธ์กุม (อิหร่าน) – อยุธยา สามารถที่จะกล่าวได้ว่า ท่านเฉกอะห์มัด กุม มี บุคคลดีเด่นแห่งหน้าประวัติศาสตร์ ท่านเป็นนัก

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 135


วิชาการ และยังเป็นมรดกทางวัฒนธรรม การเมือง ร่วม ระหว่างสาธาณรัฐอิสลามแห่งอิหร่านกับราชอาณาจักร ไทย และท่านยังเป็นที่รักของประชาชนทั้งสองประเทศ ข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างยิ่งว่า การเปิดชั้นเรียนในวิชา อิสลามศึกษา และอิหร่านศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฎ พระนครศรีอยุธยา ดังที่ท่านอธิการบดี มหาวิทยาลัย ราชภัฎพระนครศรีอยุธยากล่าวมา เราก็พร้อมที่จะให้ ความร่วมมือ ทีจะจัดส่งอาจารย์ นักวิชาการมาช่วยใน การจักการเรียนการสอน และเช่นเดียวกัน นักศึกษา สนตรีท่านใดมีความประสงค์จะเดินทางไปศึกษาต่อที่ สาธาณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน เราก็มีมหาวิทยาลัยญา มิอะตุซซะห์รอ (อ.) ที่สามารถจะศึกษาในสาขาวิชา ต่างๆ ได้ ดังนัน้ เราหวังเป็นอย่างยิง่ ว่า ในอนาคตอันใกล้ จะได้พบพวกท่านเป็นแขกรับเชิญของเราในจังหวัดกุม สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน จากนัน้ ท่าน ดร. มุฮมั มัด อิบรอฮีม ฟะกีฮ์ ซอเดะห์ ประธานสภามหาวิ ท ยาลั ย จั ง หวั ด กุ ม สาธารณรั ฐ อิสลามแห่งอิหร่านกล่าวว่า : พระผู้เป็นเจ้าทรงตรัสว่า “รางวัลส�ำหรับผู้ที่ แสวงการกระท�ำที่ดีงาม รางวัลจากการปฏิบัติของเขา นั้นจะได้รับการตอบแทน” เป็นความสัจจริงต่อพระ ด�ำรัสของพระผู้เป็นเจ้า เพราะจากหน้าประวัติศาสตร์ ส�ำหรับบุคคลที่ได้สร้างคุณงามความดี จนกระทั่งชื่อ เสียงเกียรตยศของเขาถูกจารึกในหน้าประวัติศาสตร์ นั้น ท่านเฉกอะห์มัด กุมมี ก็ถือเป็นบุคคลหนึ่งจกาหน้า ประวัตศิ าสตร์ทไี่ ด้จารึกเกียรติประวัตอิ นั ดีงามของท่าน ในฐานะที่ท่านเป็นทั้งพ่อค้า นักวิชาการ และยังเป็นผู้รู้ ทางศาสนา ผลงานที่ท่านได้สร้างวีรกรรมบนแผ่นดิน สยาม โดยเฉพาะในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมือง หลวงของสยามประเทศ เมื่อคราวที่ท่านได้เดินทาง มาตั้งรกรากปักถิ่นฐานอยู่ที่นี่ ตราบจนอายุขัยสุดท้าย ของท่านก็ได้รับใช้แผ่นดินด้วยความกตัญญูรู้คุณ อีก ทั้งยังเผยแพร่แนวทางแห่งสัจจธรรมของอิสลาม จน กระทั้งอิสลบามเป็นศาสนาหนึ่งของประเทศนี้ ด้วย

136 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556

เหตุนรี้ างวัลจากการกระท�ำของท่านนัน้ ดังทีอ่ ลั กุรอาน ได้กล่าวไว้แล้วว่า รางวัลส�ำหรับผู้ที่แสวงการกระท�ำ ที่ดีงามรางวัลจากการปฏิบัติของเขานั้นจะได้รับการ ตอบแทน ดังนั้นดังที่ท่านเฉกได้สั่งเสียไว้ให้เราทุกท่าน ได้ช่วยกันสร้างสันติภาพ และสายสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศ และสายสัมพันธ์ระหว่างประชาชนทั้งสอง ประเทศนั้นให้มีความแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น เราจ�ำเป็นที่จะ ต้องปฏิบตั ติ าม เพือ่ ความสันติสขุ ความสงบ และน�ำพา ให้ประชาชนทั้งสองประเทศได้เรียนรู้จักอารยะธรรม และวัฒนธรรมแก่กัน


PHOTO GALLORY SEMINAR IMAM KHOMEINI (RH.)

MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 137


138 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556


MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 139


RELATIONSHIP IRAN - THAI

140 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556


MESSAGE OF ISLAM : Vol. 35 No. 1 July- September 2013 141


142 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - กันยายน 2556


MESSAGE OF ISLAM http://Bangkok.icro.ir

176 สาส์นอิสลาม : ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 มกราคม - เมษายน 2556


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.