Drucker Bookclub in Thai

Page 1

Drucker Society of Thailand

ชมรมหนังสือ ดรักเกอร: (Drucker Book Club)

ทําไมเราจึงตองการผูบริหารที่มีประสิทธิผล (Why we need Effective Executives)

สิงหาคม ๒๕๕๓ (August 2010)

แปลและเรียงเรียงโดย ดร. กิติกร ดาวพิเศษ คณบดี คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเซนตจอหน

บทนํา การทําใหงานที่ดําเนินการมีประสิทธิผล ถือเปนหนาที่ของผูบริหาร (Executive) คําวา “เกิดผล” หรือ “to effect” และ คําวา “ปฏิบัติการ” หรือ “to execute” มีความหมายใกลเคียงกันมาก ไมวา ทานจะทํางานในองคการใดหรือหนวยธุรกิจใดก็ตาม สิ่งหนึ่งที่ผูบริหารคาดหวังคือ ทําสิ่งที่ควรทํา ใหบรรลุผล หรือ “to get the right things done” แมวาองคการยังตองอาศัยทรัพยากรสําคัญอื่น เชน ขอมูลเชิงลึกทางธุรกิจ (Intelligence) ความคิด สรางสรรค (Imagination) และ ความรู (Knowledge) ในการสรางสรรค สินคา หรือบริการ หากแต วา การทําใหทรัพยากรตาง ๆ ถูกนํามาใช เพื่อให องคกรบรรลุถึงประสิทธิผลจึงนับเปนสิ่งสําคัญสิ่ง เดียวที่ ทําใหเกิดการแปรเปลี่ยนทรัพยากรดังกลาว ใหเกิด ผลสําเร็จตอองคการได Why we need Effective Executives “ทําไมเราจึงตองการผูบริหารที่มีประสิทธิผล (Why we need Effective Executives” จาก คําถามนี้ ดูเหมือนเปนสิ่งที่ยอมรับโดยทั่วไปอยูแลววา ตองเปนแบบนี้ หากแตวา ทําไมหลายครั้ง เรา (ในฐานะผูบริหาร) ใหความสําคัญกับ การสรางประสิทธิผล นอยลง เหตุผลหนึ่งคือ คํานี้ มักถูก กําหนดเปนเหมือนเครื่องมือตัวหนึ่งของ knowledge worker หรือ “ผูที่ทํางานโดยอาศัยฐานความรู เพื่อประมวลผลความรู และขอมูลเดิมใหอยูในรูปที่สามารถนําไปใชงานไดจริง” ขณะเดียวกันผูที่ ทํางานตามกระบวนการ (การผลิต) หรือที่เรียกวา Manual work บุคคลเหลานั้นตองการเพียงแค ประสิทธิภาพ (efficiency) ซึ่งคือ ระดับความสามารถในการทําใหสิ่งที่ทําอยูเสร็จไปในเวลาที่ กําหนด (to do thing right) มากกวา ระดับความสามารถในการทํางาน เพื่อ กระทํา สิ่งที่ควร ดําเนินการ ใหบรรลุผล (to get the right things done) ในเวลาเดียวกัน ผูที่ปฏิบัติหนาที่ในการ กระบวนการทํางาน หรือ manual workers มักตัดสินความสามารถดวยจํานวนสินคาที่ผลิตเสร็จ --------------------------Source: Drucker Peter F. (1967) Effectiveness Can be Learned in The effective executive (reprinted 1995) page 1-6), Butterworth-Heinemann, Oxford, UK.

1


Drucker Society of Thailand

หรือ คุณภาพที่มองเห็นจากผลผลิต เชน จํานวนของรองเทาที่ผลิตเสร็จและถูกตองตามมาตรฐาน คุณภาพ เปนตน Knowledge Worker ผูที่ตองคํานึงถึง ประสิทธิผลเปนเรื่องสําคัญเรื่องแรกแรก คือผูบริหาร เพราะเปนผูที่ กําหนดคําสั่งใหผูปฏิบัติงาน ดําเนินงาน อันกอใหเกิดผลตามที่กําหนดไว ซึ่งคนกลุมนี้ถือเปน Knowledge workers โดยทั่วไปแลวบุคคลเหลานี้ ลวนเปนบุคคลที่สรางสรรคงาน โดยใชสิ่งที่ศึกษา องคความรู หลักคิดทฤษฎี และแนวคิด มากกวา สรางผลิตผลดวยแรงงานฝมือ ในองคกร และ ประสิทธิผลการทํางานของบุคคลเหลานี้ เกิดขึ้น จากการที่ไดนํา สิ่งเหลานั้น มาใชประโยชนใน องคกรอยางเกิดผลสําเร็จ การประเมินผลการทํางานของ Knowledge Worker ระบบที่มีการจัดทําขึ้นเพื่อประเมินผลการทํางานของ manual workers ซึ่งมีทั้งการ ประเมินในในดานวิศวกรรมอุตสาหการ หรือ การควบคุมคุณภาพ ไมเพียงพอสําหรับการ ประเมินผลการปฏิบัติงาน สําหรับ การทํางานแบบ knowledge work เพราะเปนการทํางานที่ มุงไปยัง “งานที่ควรทํา (right things) คือการสรางใหงานแบบ knowledge work มี ประสิทธิผล เนื่องจารบทบาทของบุคคลที่เรียกวา knowledge workers จะไมเนนการให แนะนําการทํางานอยางละเอียดกับ พนักงานมากนัก พวกเขาเพียงคอยสนับสนุนชวยเหลือเทานั้น สิ่งที่กลุมคนที่เปน knowledge workers ควรเนนคือ การกําหนดทิศทางของตนเอง เพื่อสราง ผลผลิตที่ดี และการอุทิศตน เพื่อกอใหเกิด ประสิทธิภาพที่สูงขึ้น ความกระตือรือรน หรือ การสรางแรงจูงใจกับกลุมคนที่เปน knowledge workers ขึ้นกับวา งานที่รับผิดชอบมีประสิทธิผลอยางไร และ ความสามารถของตนในการทําใหบรรลุสิ่งที่ ตั้งเปาหมายไว มากกวา เพราะเนื่องจากกลุมคนที่เปน knowledge workers เปนกลุมคนที่ สราง องคความรู ความคิด สารสนเทศ ไมใช สรางผลผลิต ที่เห็นเปนสินคา เชน การผลิตรองเทา ออกมากหนึ่งคู อยางไรก็ตาม องคการจะประสบความเสร็จไดตองอาศัยกลุมคนที่เปน knowledge workers เปนอยางมาก ถากลาวโดยรวมแลวจะพบวา สิ่งที่กลุมคนที่เปน knowledge workers บริหารจัดการคือ การเลือกทําสิ่งที่ถูกตองให เสร็จสิ้น เพื่อสราง ประสิทธิผลนั่นเอง --------------------------Source: Drucker Peter F. (1967) Effectiveness Can be Learned in The effective executive (reprinted 1995) page 1-6), Butterworth-Heinemann, Oxford, UK.

2


Drucker Society of Thailand

ใครคือผูบริหาร (Who is an Executive?) โดยความจริง Knowledge Workers ทุกคน ในองคกรสมัยใหม คือ ผูบริหาร เนื่องจากทุกทาน เพราะโดยตําแหนงงาน พวกทานตองสละเวลา เพื่อแปรสภาพ ทรัยพากร ให เกิดผลบวกตอระดับความสามารถขององคกร เพื่อ ใหทั้งองคการปฏิบัติงานตามที่ควรเปนได และ ปฏิบัติงานไดอยางเกิดผลสําเร็จ เชน การสรางความสามารถใหโรงพยาบาล ใหสามารถดูแลรักษา คนปวยไดเปนอยางดี ดังนั้น การตัดสินใจของผูบริหารแตละคน มิใชแคตองพยายามดําเนินการให เปนไปตามคําสั่งของเขา แตพวกเขาตองรับผิดชอบในสิ่งที่เขาได contribute ใหกับองคกรดวย โดยการสนับสนับ อยางเต็มที่ดวยความรูเทาที่มี พรอมทั้งจัดเตรียมทรพัยากรที่จําเปน เพื่อใหสิ่งที่ ตัดสินใจนั้นเปนการตัดสินใจที่ถูกตอง และมีผลตอเนื่องจนเสร็จสิ้นงาน ผูจัดการ (Manager) โดยสวนมาก คือ ผูที่บริหาร (Executive) แตไมทั้งหมด และ บางคนที่แมไมไดเปนผูจัดการ ก็สามารถเปนผูที่ทําการบริหารได ในองคกรสมัยใหม โดยเฉพะใน knowledge organization เราตองการทั้ง ผูจัดการ และ บุคคลที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะที่มี การสรางประโยชนใหเกิดขึ้นแบบไมหวังผล (individual professional contributors) โดยมีการกําหนดสิ่งนี้ไวในตําแหนงงาน ทั้งในดาน ความรับผิดชอบ การตัดสินใจ และอํานาจ หนาที่ พรอมกันนั้น ก็มีผูจัดการหลายคน ที่ไมเปน ผูที่บริหารงาน คนเหลานั้นมักถูกกําหนดให ทําหนาที่ เปน หัวหนางาน ที่ดูแลพนักงานหลายคน และพวกเขามักไมใสใจกับความสามารของ องคกรในการปฏิบัติงาน พวกเขามักมองความเปน “ผูจัดการ” ในมุมมองวา หมายถึงการทํางาน เพื่อจัดการงานของคนอื่น แตไมตองรับผิดชอบ ไมตองใชอํานาจ เพื่อกําหนดทิศทางการทํางาน กรอบการทํางาน หรือคุณภาพของงาน หรือแมกระทั่งวิธีการในการสรางผลผลิตในงานดังกลาว โดยมากแลว พวกเขามักประเมินงานที่พัฒนา ในคําวา “ประสิทธิภาพ” และ “คุณภาพ” โดย พัฒนามาตรฐานการวัดผลสําหรับงานที่ กระทํา โดยพนักงาน ประเภท manual worker มากกวา ในทางกลับกัน คนที่ทํางานแบบ knowledge worker สามารถบริหารงานได โดยไม ขึ้นกับจํานวนของคนที่เขาบริหาร เชน ในแผนก วิจัยตลาด แหงหนึ่ง ผูจัดการแผนก อาจมีพนักงาน อยูถึง 200 คน ขณะที่แผนกวิจัยตลาดของคูแขงมีเพียง สองคน คือ ผูจัดการ กับเลขานุการ ทั้งสอง --------------------------Source: Drucker Peter F. (1967) Effectiveness Can be Learned in The effective executive (reprinted 1995) page 1-6), Butterworth-Heinemann, Oxford, UK.

3


Drucker Society of Thailand

แหงนี้ อาจมีผลงานแตกตางกันนอยมากได เนื่องจาก แผนกวิจัยที่มีพนักงานมากถึง 200 คน อาจ ตองวุนวายอยูกับปญหาการประสานงานของคนทั้ง 200 คน ทําใหใชเวลานอยมาก กับการกําหนด ทิศทางในวิจัยตลาดที่กอใหเกิดผลสําเร็จตองานขององคการ ขณะที่แผนกวิจัยของอีกบริษัท อาจ ทํางานไดผลงานวิจัยที่รวดเร็วและใชงานใหเกิดผลสําเร็จไดมากกวา เพราะ สามารถทุมเทเวลา ทั้งหมดกับการ แสวงหาวิธีการใหม ใหม ในการทําวิจัยตลาดที่ดีได ดวยเหตุนี้ สรุปไดวา ความสําเร็จของ knowledge worker ไมสามารถวัดไดจาก จํานวนของพนักงานที่ทํางาน หรือ คาใชจายที่เกิดขึ้น แตวัดไดจากผลสําเร็จในสิ่งที่อุทิศใหกับหนวยงาน

--------------------------Source: Drucker Peter F. (1967) Effectiveness Can be Learned in The effective executive (reprinted 1995) page 1-6), Butterworth-Heinemann, Oxford, UK.

4


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.