BalloonWar130201

Page 1

กติกาการแขงขันหุนยนตอัตโนมัติ Balloon War Challenge 2013 ในการแขงขัน Zeer Super Robotic Games 2013 วันที่ 6 ถึง 8 กุมภาพันธ 2556 ที่ ศูนยการคาเซียร รังสิต เปนการแขงขันหุนยนตอัตโนมัติสองทีมเพื่อทําการทําลายลูกโปงที่ติดตั้งไวในจุดตางๆ ของสนาม ทีมที่ทําคะแนนได มากกวาเปนผูชนะ

1. สนามแขง

1.1 ขนาด

ประมาณ 400 x 400 เซนติเมตร มีอิฐบล็อกขนาด 39 x 19 x 7 เซนติเมตร เปนกําแพงกั้นทั้งสนาม รวม 96 กอน ที่จุด ตางๆ ของสนามจะมีลูกโปงวางอยูท ั้งหมด 25 ลูก แตละลูกมีคะแนนไมเทากัน


1.2 ลักษณะโดยรวม

1.2.1 สนามแบงออกเปน 2 สวนที่สมมาตรกัน มีกําแพงจัดเรียงเพื่อสรางเปนเสนทางในการเคลื่อนที่ของหุนยนต 1.2.2 เปนพื้นเรียบ แตอาจมีรอยตอ ที่ทําใหสนามเกิดระดับได 1.2.3.2 ไมมีสิ่งกีดขวางใดบนเสนทางเคลื่อนที่

1.3 ขอกําหนดของลูกโปง

1.3.1 มี 25 ลูก 1.3.2 แบงออกเปน 3 กลุมสี กลุมที่ 1 มี 20 ลูก ลูกละ 10 แตม กลุมที่ 2 มี 4 ลูก ลูกละ 20 แตม กลุมที่ 3 มี 1 ลูก ลูกละ 30 แตม 1.3.3 ขนาดของลูกโปงอาจไมเทากันได แตจะมีขนาดใหญพอที่จะตรวจจับ และแทงใหแตกได 1.3.4 ลูกโปงจะถูกติดเขากับพื้นสนามดวยเทปใสหรือวัสดุติดยึดใดๆ ไมลอย และไมหลุด หากเกิดเหตุการณลูกโปง หลุดหรือแตกจากเกตุใดๆ ที่ไมใชจากการทํางานของหุนยนตที่ลงแขงขัน กรรมการจะนํามาติดใหใหมทันที 1.3.5 สีของลูกโปงอาจเปลี่ยนแปลงไดในการแขงขันแตละนัด โดยไมตองแจงใหทราบลวงหนา แตจะมี 3 กลุมสีและ จํานวนตามที่กําหนดในการแขงขันแตละนัด

1.4 สภาวะของแสงและแมเหล็ก

1.4.1. ทีมตองเตรียมหุนยนตใหพรอมทํางานกับสภาพของแสงภายในสนามแขงขัน 1.4.2. สภาพแสงอาจตางกันไปในการแขงขัน


2. หุนยนต 2.1. ขนาด :

2.1.1. ไมจํากัดขนาดของหุนยนต 2.1.2. ไมจํากัดความสูงของหุนยนต 2.1.3. หามมิใหมีชิ้นสวนใดๆ ของหุนยนตขามกําแพงเด็ดขาดในขณะทําการแขงขัน

2.2. การควบคุม :

2.2.1. หุนยนตตองทํางานแบบอัตโนมัติเทานั้น 2.2.2. การเปดสวิตชใหหุนยนตทํางานตองกระทําโดยบุคคล

2.3. การสรางหุนยนต :

2.3.1 ใชแผงวงจรควบคุมที่ทําขึ้นเองหรือจาก INEX ไมจํากัดจํานวนแผงวงจรควบคุมที่ใชในตัวหุนยนต 2.3.2 สามารถติดตั้งอุปกรณ และกลไกไดอยางไมจํากัด 2.3.3 สามารถติดตั้งตัวตรวจจับไดทุกรูปแบบทั้งจากการทําเอง จากผูผลิตในประเทศ และจากตางประเทศอยางไม จํากัดจํานวน

2.4 จํานวนสมาชิก

2.4.1 แตละทีมมีสมาชิกได 3 คน จะมาจากโรงเรียนเดียวกันหรือตางโรงเรียนก็ได 2.4.2 ตองเปนนักเรียนในระดับประถมศึกษา/มัธยมศึกษาตอนตน หรือมัธยมศึกษาตอนปลายเทานั้น 2.4.3 ไมจํากัดเพศ และอายุ แตตองไมมีคุณสมบัติขัดกับขอ 2.4.2 2.4.4 มี อาจารยที่ปรึกษา 1 ทาน โดยจะตองมาจากโรงเรียนเดียวกับสมาชิกในทีมคนใดคนหนึ่ง

2.5 การตรวจสอบ

2.5.1. หุนยนตจะถูกตรวจสอบโดยคณะกรรมการกอนการแขงขันโดยตองผานหลักเกณฑตามที่กําหนดไว 2.5.2. แตละทีมมีหนาที่รับผิดชอบในการแจงใหมีการตรวจสอบหุนยนตของทีมอีกครั้งหนึ่งหากมีการแกไขปรับเปลี่ยน ระบบการทํางานทุกครั้งระหวางการแขงขัน 2.5.3. ขณะตรวจสอบ หุนยนตจะตองถูกจัดใหอยูในตําแหนงตั้งตรงและแสดงขนาดที่ใหญที่สุด ซึ่งหมายถึง ตองยืด ขยายทุกสวนออกจากตัวหุนยนตใหเต็มที่

2.6 การละเมิด :

2.6.1. หากมีการละเมิดกติกา จะไมอนุญาตใหเขาแขงขัน จนกวาจะมีการแกไขใหถูกตอง 2.6.2. อยางไรก็ตาม การแกไขตองกระทําภายในระยะเวลาที่กําหนดในการแขงขันและไมทําใหการแขงขันลาชาออก

ไป

2.6.3. หากหุนยนตขาดคุณสมบัติและไมผานการตรวจสอบ (แมจะทําการแกไขแลว) หุนยนตนั้นจะถูกปรับแพจาก รอบการแขงขันนั้น แตยังไมถูกคัดออกจากการแขงขัน 2.6.4 หากปรากฏวาผูแขงขันไดรับความชวยเหลือจากอาจารยที่ปรึกษามากเกินควร หรือการสรางหุนยนตนั้นไมใช งานที่มาจากความสามารถของนักศึกษา ทีมนั้นจะถูกตัดออกจากการแขงขัน


3. การแขงขัน 3.1. การเตรียมการกอนแขงขัน: ขัน

3.1.1. ผูแขงขันจะไดรับบัตรผานเขาสนามแขง เพื่อฝกซอม ปรับแตงคา ทดสอบ และปรับแตงหุนยนตตลอดเวลาแขง

3.1.2. ผูจัดงานมีความประสงคและจะพยายามใหเวลาแตละทีมเพื่อเตรียมตัวแขงขันกอนรอบของการแขงขันเปน เวลา 1 นาที

3.2. เวลาการแขงขัน :

มีเวลาทั้งหมด 3 นาที

3.3. การเริ่มแขงขัน :

3.3.1. ในการเริ่มตน ใหหุนยนตทั้งสองทีมประจําอยูที่จุดเริ่มตนของทีมตัวเอง 3.3.2. ลูปโปงทั้งหมดจะถูกวางโดยกรรมการ กอนเริ่มตนการแขงขัน 3.3.3 ทีมที่ไมสามารถเริ่มแขงขันตรงตามเวลาที่กําหนดจะถูกปรับแพในรอบการแขงขันนั้น

3.4. บุคคล/สมาชิกทีม:

3.4.1. ไมอนุญาตใหหุนยนตเคลื่อนไหวโดยการกระทําของบุคคลหรือสมาชิกในทีม 3.4.2. สมาชิกในทีมสามารถเคลื่อนยายหุนยนตได หากไดรับอนุญาตจากกรรมการ 3.4.3. การเริ่มตนการแขงขันในแตละรอบ ทีมที่เขาแขงควรกําหนดบุคคลหนึ่งใหทําหนาที่เปน “กัปตัน” ซึ่งไดรับ อนุญาตใหเคลื่อนยายหุนยนตโดยปฏิบัติตามกติกาที่กําหนดไวและตามที่กรรมการอนุญาต 3.4.4. สมาชิกอื่นๆ ของทีมแขงขันที่อยูภายในสนามแขง ตองยืนหางจากพื้นที่แขงขันอยางนอย 150 ซม. (ประมาณ 60 นิ้ว) ขณะที่หุนยนตของตนอยูในการแขงขัน เวนแตกรรมการจะบอกกลาวเปนอยางอื่น

3.5. การใหคะแนน

3.5.1. หุนยนตตองพยายามเคลื่อนทีเ่ พื่อคนหาลูกโปง และทําใหแตกดวยวิธีการใดก็ได ยกเวนการใชอาวุธในทุกรูป แบบ ไฟ แสงเลเซอร 3.5.2. หุนยนตสามารถชนกําแพงหรือไถลไปตามกําแพงได แตหามปนขามกําแพง 3.5.3 ลูกโปงแตละใบมีคะแนนที่แตกตางกัน 3 กลุม ทีมที่ทําลูกโปงแตก จะไดคะแนนสะสมตามจํานวนและคะแนน ของลูกโปงแตละใบ 3.5.4 ลูกโปงที่มีคา 30 แตม จะมีเพียงใบเดียว ทีมใดทําลูกโปงใบนี้แตก จะได 30 แตมและการแขงขันจะหยุดลงทันที จากนั้นนับคะแนนสะสมที่ทําไดของแตละทีม ทีมที่มีคะแนนมากกวาเปนทีมที่ชนะในการแขงขันนัดนั้น 3.5.5 หากแขงขันครบ 3 นาที แลวไมมีทีมใดทําลูกโปง 30 แตมแตก กรรมการจะนับคะแนนสะสมที่ทําไดเมื่อหมด เวลาของแตละทีม ทีมที่มีคะแนนมากกวาเปนทีมที่ชนะในการแขงขันนัดนั้น หากเทากัน ใหถือวาเสมอกัน 3.5.6 ผูชนะได 3 คะแนน เสมอ 1 คะแนน แพไมไดคะแนน 3.5.7 กรณีทีมใดทีมหนึ่งไมสามารถมาแขงขันไดตามกําหนดเวลา จะใหทีมคูแขงขันที่พรอมแลว ชนะผาน ได 3 คะแนน แตจะตองทําการแขงขันเพื่อสะสมแตมเปนเวลา 3 นาที


3.6. ความไมคืบหนาในการแขงขัน

3.6.1 กรณีตอไปนี้หากเกิดขึ้นนานกวา 20 วินาที ใหถือวา เปนความไมคืบหนาในการแขงขัน 3.6.1.1. หุนยนตไมเคลื่อนที่ 3.6.1.2 หุนยนตหมุนตัวอยูตลอดเวลา 3.6.1.3 หุนยนตติดกับกําแพงจนขยับไมได 3.6.1.4 หุนยนตเคลื่อนที่ซ้ําๆ ในลักษณะเดิม 3.6.2 หากหุนยนตไมคืบหนาในการแขงขันจะถูกบังคับใหรีไทร ตองนําออกจากสนามแขงขันเพื่อเแกไข หรือปรับปรุง แลวนํามาวางเริ่มตนทํางานที่จุดเริ่มตนใหมอีกครั้ง

3.7 การเริ่มตนใหมหรือรีไทร

3.7.1 กรณีตอไปนี้หากเกิดขึ้น ผูแขงขันตองนําหุนยนตออกจากสนาม แลวมาเริ่มตนใหม หรือเปนการบังคับรีไทร 3.7.1.1. หุนยนตเกิดความไมคืบหนาในการแขงขัน 3.7.1.2 หุนยนตเกิดประกายไฟหรือระเบิด 3.7.1.3 หุนยนตมีชิ้นสวนที่ขามกําแพง 3.7.1.4 หุนยนตเคลื่อนที่ออกนอกสนาม 3.7.1.5 หุนยนตเกิดการชนกัน จนไมสามารถเคลื่อนที่ผานไปได 3.7.2 เมื่อเกิดการรีไทร คะแนนที่ทําไดแลว จะไมลบออก และไมนํามาคํานวณซ้ํา

3.8 การปรับแพ

หุนยนตของทีมนั้นๆ เคลื่อนที่เขาชนหุนยนตฝายตรงขาม โดยไมมีการตรวจสอบการชน 2 ครั้ง โดยหากเกิดขึ้นครั้งแรก กรรมการจะใหใบเหลือง เปนการเตือน หากเกิดขึ้นในครั้งที่สอง จะไดรับใบแดง ตองออกจากการแขงขันและถูกปรับแพ ดวย คะแนน 0 ตอ คะแนนที่ฝายตรงขามทําไดในขณะนั้น แตตองไมนอยกวา 0 ตอ 50 แตม


4. รูปแบบการแขงขัน 4.1 การแขงขันรอบแรก

4.1.1 ทุกทีมลงแขงขัน 2 นัด เพื่อเก็บคะแนน 4.1.2 คะแนนที่ไดทั้งหมดจะรวมกันเพื่อจัดอันดับ ทีมที่มีคะแนนดีที่สุดในแตละสายจะไดเขารอบที่ 2 ที่ที่ไดอันดับ 2 ที่ ดีที่สุด 2 ทีมจาก 14 สายการแขงขัน จะไดเขารอบที่ 2 รวมทีมที่เขารอบ 2 ทั้งสิ้น 16 ทีม 4.1.3 กรณีมีทีมที่ไดคะแนนสูงสุดมากกวา 1 ทีม จะพิจารณาจากผลตางจํานวนไดเสียของคะแนนรวมที่ทําไดในทุก นัด ทีมที่ทําไดผลตางคะแนนไดเสียสูงกวา จะไดอันดับที่ดีกวา 4.1.4 จากขอ 4.1.3 หากเทากัน จะพิจารณาจากคะแนนรวมที่ทําได ทีมที่ทําไดมากกวาจะไดอันดับที่ดีกวา 4.1.5 จากขอ 4.1.4 หากเทากัน จะพิจารณาจากจํานวนลูกโปง 30 แตมที่ทําแตกได ทีมที่ทําไดมากกวาจะไดอันดับที่ ดีกวา 4.1.6 จากขอ 4.1.5 หากเทากัน จะพิจารณาจากจํานวนลูกโปง 20 แตมที่ทําแตกได ทีมที่ทําไดมากกวาจะไดอันดับที่ ดีกวา 4.1.7 จากขอ 4.1.6 หากเทากัน จะมีการแขงขันพิเศษ เพื่อเลือกทีมที่เขารอบตอไป

4.2 การแขงขันรอบที่ 2, รอบรองชนะเลิศ, รอบชิงอันดับ 3 และรอบชิงชนะเลิศ

4.2.1 เปนการแขงขันแบบแพคัดออก ใชเวลาแขงขัน 3 นาที มีเวลาเตรียมการ 1 นาที 4.2.2 หากคะแนนเทากันเมื่อหมดเวลา จะตอเวลาพิเศษ 2 นาที ทีมที่ทําคะแนนไดมากกวา จะเปนผูชนะ 4.2.3 จากขอ 4.2.2 หากยังเทากัน จะตอเวลาอีก 1 นาที ทีมที่ทําลูกโปงแตกไดกอน จะเปนผูชนะ

5. ขอขัดแยงในการตัดสิน ระหวางการแขงขันใหถือวาคําตัดสินของกรรมการเปนที่สิ้นสุด


6. จรรยาบรรณ 6.1. การแขงขันอยางเปนธรรม

6.1.1. หุนยนตที่กอใหเกิดความเสียหายหลายตอหลายครั้งตอสนามแขงขันจะถูกคัดออกจากการแขงขัน 6.1.2. บุคคลที่จงใจแทรกแซงการแขงขันของหุนยนต หรือกอความเสียหายใหกับสนามแขงจะถูกตัดออกจากการแขง

ขัน

6.2. ความประพฤติ

6.2.1. ผูเขาแขงขันตองมีความประพฤติดีเรียบรอยตลอดเวลาที่เขารวมการแขงขัน 6.2.2. ผูเขาแขงขันไมสามารถเขาไปในบริเวณเตรียมการของทีมอื่นได เวนไดรับการเชิญชวนจากสมาชิกของทีมนั้นๆ 6.2.3. ผูเขาแขงขันผูมีความประพฤติไมเหมาะสมจะถูกเชิญออกจากสนาม และเสี่ยงตอการถูกคัดออกจากการแขง

ขัน

6.3. ที่ปรึกษา

6.3.1. ไมอนุญาตใหที่ปรึกษา (อาจารย ผูปกครอง พี่เลี้ยงและสมาชิกอาวุโสในทีม) อยูในสนามแขงขัน 6.3.2. ผูจัดงานจะจัดเตรียมบริเวณใหกับที่ปรึกษาอยางพอเพียงเพื่อใหสามารถทําหนาที่ใหคําแนะนํา 6.3.3. ผูใหคําปรึกษาไมไดรับอนุญาตใหชวยซอมแซมหุนยนตหรือมีสวนเกี่ยวของกับการโปรแกรมหุนยนตของผูแขง

ขัน 6.3.4. ผูใหคําปรึกษาที่แทรกแซงกาวกายเกี่ยวกับหุนยนตอาจทําใหทีมถูกพิจารณาใหออกจากการแขงขัน

6.4. การแบงปนความรู

6.4.1. วัตถุประสงคสวนหนึ่งของการจัดการแขงขันหุนยนตนี้คือ การพัฒนาทางเทคโนโลยีและหลักสูตรซึ่งควรไดรับ การแบงปนกันในหมูผูเขาแขงขันภายหลังเสร็จสิ้นการแขงขัน 6.4.2. อาจมีการตีพิมพการพัฒนาใดๆ ก็ตามในเว็บไซตของการแขงขัน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.