BreadboardKit130405

Page 1

   Breadboard Kit1

     Breadboard Kit 1. เบรดบอรด : แผงตอวงจรสารพัดนึก ในการเรียนรูและทดลองวงจรหรือโครงงานอิเล็กทรอนิกส การตอวงจรเพื่อทดสอบการทํางาน เปนสิงที ่ ่ จําเปนอยางยิง่ มีวิธีการมากมายในการตอหรือสรางวงจรทางฮารดแวรขึนมา ้ ไมวาจะเปนการตอวงจรโดยใชปาก คีบ การใชสายไฟมาพันทีขาอุ ่ ปกรณ การบัดกรีขาอุปกรณตางๆ เขาดวยกันแบบตรงไปตรงมา การใชแผนวงจรพิมพ อเนกประสงค การทําแผนวงจรพิมพจริงๆ ขึนมา ้ หรือการใชอุปกรณทีเรี่ ยกวา เบรดบอรด (breadboard) หรือเรียก เปนภาษาไทยวา แผงตอวงจร

1.1 ทําไมตองใชเบรดบอรด การตอวงจรแบบชั่วคราวหรือการทดลองวงจรขันต ้ น รวมถึงการทําตนแบบ สิงที ่ ่นักออกแบบหรือนัก ทดลองตองการคือ ความยืดหยุนในการเปลียนอุ ่ ปกรณ การปลดและตอสายสัญญาณที่สะดวกรวดเร็ว ในขณะที่ ยังคงเชื่อถือไดในความแนนหนาของจุดตอสัญญาณตางๆ จากความตองการดังกลาวนั่นเอง ทําใหเบรดบอรดเปน ทางเลือกที่ดีเนื่องจาก 1. รองรับการตอรวมกันของขาอุปกรณ เนืองจากบนเบรดบอร ่ ดมีจุดตอจํานวนมากและมีการจัดเรียงทีเป ่ น ระเบียบทําใหงายตอการตอวงจร และตรวจสอบ 2. การถอดเปลี่ยนอุปกรณทําไดงายโดยอุปกรณมีความเสียหายจากการถอดเปลี่ยนนอยมาก 3. การเปลียนจุ ่ ดตอสัญญาณทําไดงายมาก เพียงดึงสายออกจากจุดตอแลวเปลียนตํ ่ าแหนงไดทันที 4. จุดตอมีความแนนหนาเพียงพอ ไมหลุดงาย ทําใหลดปญหาการเชื่อมตอของสัญญาณได

รูปที่ 1 แสดงหนาตาของเบรดบอรดขนาดตางๆ ทีมี่ จําหนาย (ซายไปขวา : 180 จุด, 390 หรือ 400 จุด และ 800 จุด)


   Breadboard Kit 2

รูปที่ 2 แสดงลักษณะโครงสรางภายในของเบรดบอรด 5. ขยายพืนที ้ ของการต ่ อวงจรไดงาย หากเปนรุนเดี  ยวกันสามารถประกอบตอกันทางดานกวางและดานยาว 6. ในเบรดบอรดทีมี่ ขนาดมากกวา 200 จุดตอ จะมีการพิมพตําแหนงพิกัดของจุดตอตางๆ ทําใหสามารถ กําหนดตําแหนงการตอวงจรไดอยางสะดวก ตรวจสอบงาย ในรูปที่ 1 แสดงหนาตาของเบรดบอรดขนาดตางๆ ที่มีจําหนาย

1.2 โครงสรางของเบรดบอรด เบรดบอรด (breadboard) หรือ แผงตอวงจร เปนแผงพลาสติกที่มีการจัดแบงเปนกลุม โดยภายในแตละ กลุมบรรจุแผงโลหะตัวนําปลอดสนิม แลวทําการเจาะรูบนแผงพลาสติกนั้น เพื่อใหสามารถนําสายไฟขนาดเล็ก เสียบเขาไปสัมผัสกับแผงโลหะ ในขณะเดียวกันแผงโลหะดังกลาวก็จะทําการบีบสายไฟนันให ้ แนนอยูกั บที่ เมื่อ ผูใชงานตองการปลดสายไฟออกก็เพียงออกแรงดึงเล็กนอย หนาสัมผัสของแผงโลหะก็จะคลายออก ทําใหสายไฟ สามารถหลุดออกจากจุดตอนันได ้ ในรูปที่ 2 แสดงลักษณะโครงสรางภายในของเบรดบอรด ในรูปที่ 3 แสดงการเชี่อมตอของจุดตออุปกรณของเบรดบอรด 3 ขนาดที่ไดรับความนิยมในเมืองไทย จะเห็นไดวา แผงตอวงจรแบงออกเปน 2 กลุมใหญ  ๆ คือ กลุมที  ่มีการตอถึงกันในแนวตั้ง ซึงมี ่ ดวยกัน 5 จุดตอใน หนึงกลุ ่ มยอย และกลุมที่ตอถึงกันในแนวนอน (จะมีเฉพาะในเบรดบอรดทีมี่ จํานวนจุดตอมากกวา 200 จุด) กลุม หลังนีจะได ้ รับการจัดวางใหอยูในบริเวณขอบบนและลางของแผงตอวงจร มีดวยกัน 2 แถวยาวตอหนึงด ่ าน รวม 4 แถว ในบางรุนอาจจะมีการแบงเปน 2 สวน ดังนันในการใช ้ งานหากตองการใหแถวยาวแตละแถวตอถึงกันจาก ซายไปขวาตองใชสายไฟเชือมต ่ อระหวางจุดแบงของแตละแถวดวย ซึงเพื ่ อความแน ่ ใจอาจใชมัลติมิเตอรตรวจสอบ การเชื่อมตอของแตละแถวกอนการใชงาน ในเบรดบอรดทีมี่ จํานวนจุดตอมากวา 200 จุด จะมีการพิมพตําแหนงพิกัดในแนวตั้งและนอนดวย โดยใน แนวตัง้ 5 จุดตอทั้งสองฝงมักจะกําหนดพิกัดเปนตัวอักษร A ถึง E ในฝงหนึ่ง และ F ถึง J ในอีกฝงหนึ่ง สวนแนว นอนเปนตัวเลข

2. เกี่ยวกับสายตอวงจร สายไฟหรือสายตอวงจรทีเหมาะกั ่ บเบรดบอรดนัน้ ควรเปนสายทองแดงเดียวที ่ ได ่ รับการชุบดวยนิเกิลหรือ เงิน มีความแข็งแรงพอสมควร สามารถดัดหรือตัดไดงาย มีขนาดเสนผานศูนยกลาง 0.4 มิลลิเมตร หรือใชสายเบอร 22AWG ดังแสดงในรูปที่ 4 ทั้งนีหากใช ้ สายที่มีขนาดใหญกวานีจะทํ ้ าใหแผงโลหะของแผงตอวงจรหลวม ไม สามารถบีบจับสายไฟไดอีก


   Breadboard Kit3

51

52

53

54

55

56

57

58

59

60

53

54

55

56

57

58

59

60

28

27

26

25

24

23

22

A B C D E

F G H I J

50

52

43

49

42

43

51

41

42

50

40

41

48

39

40

47

38

39

49

37

38

46

36

37

48

35

36

47

34

35

45

33

34

44

32

33

46

31

32

45

30

31

44

29

30

28

29

27

26

21 21

25

20 20

24

19 19

23

18 18

22

15

17 17

14

16 16

13

14

15

12

13

8

12

7

8

9

6

7

11

5

6

11

4

5

10

3

4

10

2

3

9

1

2

A B C D E

F G H I J

1

ในบางรุน ไมมกี ารเชื่อมตอระหวางจุดนี้

ในบางรุน ไมมีการเชื่อมตอระหวางจุดนี้

30

29

28

11 12 13 14 15 16 17

6 7 8 9 10

F G H I J A B C D E

F G H I J

เบรดบอรดรุน 400 จุดตอ (บางรุนมี 390 จุด)

27

26

25

24

22 23

20 21

18 19

17

14

15 16

13

12

11

10

7 8 9

5 6

4

3

A B C D E

30

29

28

27

26

25

24

22 23

20 21

18 19

17

14

15 16

13

12

11

10

7 8 9

5 6

4

3

2

F G H I J 2

1

A B C D E

1

1 2 3 4 5

เบรดบอรดรุน 840 จุดตอ (บางยี่หอมีขนาดเทากัน แตจุดตอมีเพียง 800 จุด)

เบรดบอรดรุน 170 จุดตอ (ไมมีพิกดั พิมพบนเบรดบอรด)

รูปที่ 3 แสดงการเชีอมต ่ อของจุดตออุปกรณของเบรดบอรดขนาดตางๆ

รูปที่ 4 สายตอวงจรทีใช ่ กับเบรดบอรด

รูปที่ 5 การเตรียมอุปกรณเพือต ่ อวงจร


   Breadboard Kit 4

ในปจจุบันมีผูผลิ  ตสายสําหรับเสียบตอวงจรบนเบรดบอรดโดยเฉพาะ โดยทําจากสายไฟออน บัดกรีเขากับขาตัวนําทีมี่ ความแข็ง (คลายๆ กับขาคอนเน็กเตอร) แลวหุมจุ  ดเชือมต ่ อดวยทอหดเพือเพิ ่ ม่ ความแข็งแรงและปองกันการหักงอ ไมแนะนําใหใชสายโทรศัพทที่เปนทองแดงลวนๆ เนื่องจากสายเหลานันมี ้ การอาบนํ้ายากัน สนิม หากนํามาใชตอวงจรทันที อาจทําใหวงจรไมทํางาน เพราะนํ้ายาที่เคลือบลวดทองแดงอยูมี คุณสมบัติเปนฉนวนทําใหกระแสไฟฟาไมสามารถไหลผานไปได หากตองนํามาใชจริงๆ ควรใชมีด ขูดนํ้ายาทีเคลื ่ อบอยูออกเสียกอน แตนั่นเทากับวา ไดทําลายฉนวนปองกันสนิมของลวดทองแดงไป แลว หากใชไปสักระยะหนึงก็ ่ จะเกิดสนิมทีสายต ่ อวงจรนัน้ เมือนํ ่ ามาใชงานก็อาจทําใหวงจรทีทํ่ าการ ตอนั้นไมทํางานได

3. การตอวงจรและการวางอุปกรณบนแผงตอวงจร ในรูปที่ 5 เปนการตัวอยางการเตรียมสายตอวงจรและดัดขาอุปกรณเพือเตรี ่ ยมติดตังลงบนเบรด ้ บอรด การตอวงจรทีดี่ ควรจัดใหเปนระเบียบ ตรวจสอบไดงาย ใชสายตอวงจรในปริมาณทีเหมาะสม ่ ควรตอวงจรในลักษณะไลจากซายไปขวา และจากบนลงลาง โดยกําหนดใหอินพุตของวงจรอยูทาง ซายหรือทางตอนลาง สวนเอาตพุตอยูทางขวาหรื  อตอนบน ทั้งนี้เพือให ่ งายตอการตรวจสอบในกรณี ทีต่ อวงจรแลววงจรไมทํางาน และชวยในการแกไขในกรณีทีต่ องดัดแปลงวงจรบางสวน ทําใหไมตอง รือวงจรแล ้ วตอใหมทังหมด ้ ในรูปที่ 6 เปนตัวอยางการตอวงจรบนเบรดบอรดจากวงจรทีต่ องการทดลอง 6.1

6.2

6.4

6.3

รูปที่ 6 ขันตอนการต ้ ออุปกรณบนเบรดบอรดเพือสร ่ างวงจร 6.1 วงจรทีต่ องการตอ 6.2 เสียบตัวตานทาน 510 ลงบนเบรดบอรด 6.3 เสียบ LED ตออนุกรมกับตัวตานทาน 510 ขาสันคื ้ อแคโทด ขายาวคือแอโนด 6.4 ตอสายจากกะบะถานทีติ่ ดตั้งแบตเตอรี่ AA 2 กอน จายไฟ หากทุกอยางถูกตอง LED ตองติดสวาง


   Breadboard Kit5

4. วงจรทดลองเพือใช ่ งานเบรดบอรด หลังจากทีรู่ จั กกับเบรดบอรดหรือแผงตอวงจรแลว เพือให ่ เกิดประโยชนรอบดาน จึงมีตัวอยาง การตอวงจรอิเล็กทรอนิกส เพือให ่ เห็นถึงการใชงานเบรดบอรดหรือแผงตอวงจรในการสรางวงจรเพือ่ ทดสอบการทํางาน

  1. เบรดบอรดหรือแผงตอวงจร ขนาด 390 จุด หรือใหญกวา 2. สายตอวงจรเบอร 22AWG จํานวน 25 เสน คละสี 3. ตัวตานทาน 1/4 W 5% หรือ 1% 220 2 ตัว 510 2 ตัว 1k 2 ตัว 4.7k 2 ตัว 47k 4 ตัว 10k 2 ตัว 100k 2 ตัว 4. ตัวเก็บประจุ 10F 16V อิเล็กทรอไลต 2 ตัว 47F 16V อิเล็กทรอไลต 100F 16V อิเล็กทรอไลต 5. ทรานซิสเตอร BC547 3 ตัว 6. ทรานซิสเตอร BC557 2 ตัว 7. ไดโอดเปลงแสง (LED) สีแดง3 ตัว 8. ไดโอดเปลงแสง (LED) สีแดงแบบกะพริบได 9. ตัวตานทานปรับคาได 10k 10. LDR ตัวตานทานแปรคาตามแสง 11. ไอซี UM66 12. ลําโพงเปยโซ 13. สวิตชกดติดปลอยดับ 2 ขา แบบลงแผนวงจรพิมพ 14. กะบะถาน AA 2 กอน 15. แบตเตอรี่ AA 2 กอน (จัดหาเพิ่มเติม)


   Breadboard Kit 6

    มีวงจรและตัวอยางการตอวงจรบนเบรดบอรดแสดงในรูปที่ A1 ตําแหนงการตออาจเปลียนแปลงได ่ ตาม ตองการ ในวงจรนีเป ้ นการตอวงจรเพื่อขับ LED ใหสวาง ตัวตานทาน R1 ทําหนาทีจํ่ ากัดกระแสใหแก LED การตอ LED ตองระมัดระวังเรื่องขาดวย หากตอกลับขัว้ LED จะไมทํางาน และอาจสงผลใหตัว LED เสียหายได

รูปที่ A1 : วงจรขับ LED

 มีวงจรเหมือนกับวงจรที่ 1 แตเปลี่ยน LED เปนแบบกะพริบได วิธีการสังเกตคือ มองเขาไปที่สวนหัวของ LED จะเห็นจุดเล็กๆ สีดํา นันคื ่ อตัวชิปที่ทําหนาทีเป ่ นตัวควบคุมให LED กะพริบเมื่อไดรับไบแอสตรง

รูปที่ A2 : วงจรขับ LED ชนิดกะพริบได


   Breadboard Kit7

  เปนการตอยอดจากวงจรที่ 1 โดยเพิมตั ่ วตานทานปรับคาได VR1 อนุกรมเขาไปในวงจร ทําใหสามารถปรับ ปริมาณของกระแสไฟฟาทีไหลผ ่ าน LED1 ได ทําให LED1 มีความสวางทีเปลี ่ ยนแปลงตามการปรั ่ บคาของ VR1

รูปที่ A3 : วงจรหรีไฟ ่ LED อยางงาย (มากๆ)


   Breadboard Kit 8

       เปนวงจรหนวงเวลาอยางงาย แสดงวงจรและตัวอยางการตอวงจรบนเบรดบอรดในรูปที่ A4 เมือกดสวิ ่ ตช S1 จะเกิดการประจุแรงดันใหตัวเก็บประจุ C1 เมื่อปลอยสวิตช C1 จะคายประจุไฟฟาออกมา ทําใหเกิดแรงดัน ไบแอสตรงกระตุนใหทรานซิสเตอร Q1 ทํางาน ไดโอดเปลงแสง LED1 จึงติดสวาง และจะติดสวางจนกระทัง่ C1 คายประจุจนแรงดันทีขาเบส-อิ ่ มิตอรของ Q1 ตํ่ากวา 0.6V ทรานซิสเตอร Q1 จะหยุดนํากระแส LED1 ก็จะดับ ดังนั้นระยะเวลาในการทํางานของ LED1 จึงขึ้นกับคาของตัวเก็บประจุ C1 ใหทดลองเปลี่ยนคาจาก 10F เปน 47F และ 100F สังเกตการเปลี่ยนแปลงของระยะเวลาที่ LED1 ทํางานเมื่อเปลี่ยนคาของ C1

รูปที่ A4 : สวิตชหนวงเวลา


   Breadboard Kit9

   เปนวงจรทีต่ อยอดมาจากวงจรสวิตชหนวงเวลาในวงจรที่ 4 แสดงวงจรสมบูรณและแนวทางการตอวงจรบน เบรดบอรดในรูปที่ A5 อุปกรณเริมมี ่ มากขึน้ ดังนันการต ้ อวงจรจะตองคอยๆ ตอ ใจเย็นๆ และระมัดระวังเพิมมากขึ ่ น้ การทํางานของวงจรมีลักษณะทีพิ่ เศษคือ ใชการไมนํากระแสของทรานซิสเตอรมาควบคุมการทํางานของ โหลด ซึงก็ ่ คือ LED1 เมือกดสวิ ่ ตช S1 จะเกิดการประจุแรงดันใหตัวเก็บประจุ C1 เมือปล ่ อยสวิตช C1 จะคายประจุ ออกมา ทําใหเกิดแรงดันไบแอสตรงกระตุนให  ทรานซิสเตอร Q1 นํากระแสไฟฟา มีผลทําใหขาเบสของ Q2 ตอลงกราวด Q2 จึงไมทํางาน ไดโอดเปลงแสง LED1 ติดสวาง เนืองจากมี ่ กระแสไฟฟาไหลผานมาจากตัวตานทาน R3 ไดโอดเปลงแสง LED1 จะติดจนกระทัง่ C1 คายประจุจนแรงดันที่ขาเบส-อิมิตอรของ Q1 ตํ่ากวา 0.6V ทรานซิสเตอร Q1 จะหยุดนํากระแสไฟฟา ทีขาเบสของ ่ Q2 จะไดรับแรงดันไบแอสจากตัวตานทาน R2 ทําให Q2 นํากระแส กระแสไฟฟาจึงไหลผานทางขาคอลเล็กเตอร-อิมิตเตอรของ Q2 แทน LED1 จึงดับ ระยะเวลาในการ ทํางานของ LED1 จึงขึ้นกับคาของตัวเก็บประจุ C1 ใหทดลองเปลี่ยนคาจาก 10F เปน 47F และ 100F

รูปที่ A5 : วงจรตังเวลาอย ้ างงาย


   Breadboard Kit 10

 โดยปกติ LED ทีใช ่ งานทัวไปมี ่ ขาตอใชงาน 2 ขา และให แสงสีเดี่ยว มารูจักกับ LED ทีให ่ แสงสี 2 สีในตัวถังเดียวกัน เพื่อ นําไปใชงานไดอยางถูกตอง ในรูปที่ A6-1 แสดงรูปรางหนาตา การจัดขา และโครงสรางวงจรภายในของ LED 2 สีแบบ 3 ขา ชนิดแคโทดรวม หากตองการให LED ติดสวางเปนสีใด ใหปอนแรง ดันบวกเขาทีขาแอโนดของสี ่ นันๆ ้ สวนขารวมทีเป ่ นแคโทดใหตอลง กราวดหรือตอขั้วลบของแหลงจายไฟ ในรูปที่ A6-2 เปนตัวอยางการทดสอบให LED 2 สีทํางาน ขับสีแดงหรือเขียว จะสังเกตวา ตัวตานทานทีใช ่ ในการจํากัดกระแส ไฟฟาให LED ในแตละสีมีคาไมเทากัน ตัวตานทานของ LED สีแดง ปกติจะมีคามากกวา เนืองจาก ่ LED สีแดงมีประสิทธิภาพในการสอง สวางมากกวา จึงตองการกระแสไฟฟานอยกวาสีเขียวทีความสว ่ าง เทากัน

รูปที่ A6-1 รูปรางหนาตา การจัดขา และโครงสรางวงจรภายในของ LED 2 สีแบบ 3 ขา ชนิดแคโทดรวม

รูปที่ A6-2 วงจรและการตอวงจรเพื่อทดสอบการทํางานของ LED 2 สี 3 ขา แบบแคโทดรวม


   Breadboard Kit11

 แสดงวงจรและตัวอยางการตอวงจรบนเบรดบอรดในรูปที่ A7 เปนวงจรกําเนิดสัญญาณพัลสอยางตอเนือง ่ หรือเรียกวา อะสเตเบิล มัลติไวเบรเตอร (astable multivibrator) ทรานซิสเตอร Q1 และ Q2 จะสลับกันทํางาน ตามการประจุและคายประจุของตัวเก็บประจุ C1 และ C2 ทําให LED1 ไดรับกระแสไฟฟาเขาทีขาแอโนดทั ่ งสอง ้ ขาสลับกัน ทําให LED1 นํากระแสไฟฟาเพื่อขับแสงสีแดงและเขียวสลับกัน เกิดเปนวงจรไฟกะพริบ 2 สี อัตราติด ดับของ LED1 ขึ้นกับคาของ C1-R3 (สีแดง) และ C2-R2 (สีเขียว)

รูปที่ A7 : วงจรไฟกะพริบ 2 สี


   Breadboard Kit 12

   พระเอกของวงจรนีคื้ อ ไอซีเสียงเพลง UM66 ภายในตัวจะบรรจุโนตเพลงสากลสุดคลาสิกของชาวโลก เมือจ ่ ายไฟก็จะมีสัญญาณเสียงออกมาทางขาเอาตพุตทันที สัญญาณเอาตพุตจาก IC1 จะถูกขยายใหแรงขึนและ ้ ขับออกลําโพงเปยโซดวยทรานซิสเตอร Q1 วงจรทีนํ่ ามาแนะนําแสดงในรูปที่ A8 รวมถึงตัวอยางในการตอวงจร สําหรับสวิตช S1 อาจตอตรงหรือใชสวิตชกดติดปลอยดับก็ได โดย IC1 จะขับเสียงตราบเทาทีสวิ ่ ตช S1 ตอวงจร

รูปที่ A8 วงจรและการตอวงจรสําหรับกลองดนตรีอิเล็กทรอนิกส


   Breadboard Kit13

   เปนการนําวงจรที่ 5 มาผสมกับวงจรที่ 8 ทําใหการสงเสียงดนตรีของไอซี UM66 อยูภายใต  การควบคุม ของวงจรตั้งเวลา เมื่อกดสวิตช S1 แลวปลอย จะทําให IC1 ขับเสียงดนตรีเปนระยะเวลาทีขึ่ ้นกับการคายประจุ ไฟฟาของตัวเก็บประจุ C1 หาก C1 มีคามาก เวลาในการคายประจุจะนาน IC1 ก็จะขับเสียงดนตรีไดนาน ดังนั้น จึงนําวงจรนีไปประยุ ้ กตเปนวงจรกริงดนตรี ่ ไดดีกวาวงจรที่ 8

รูปที่ A9 วงจรและการตอวงจรโครงงานสวิตชเสียงดนตรี


   Breadboard Kit 14

   อีกหนึงอุ ่ ปกรณทีน่ าสนใจคือ LDR หรือตัวตานทานแปรคาตามแสง โดยคาความตานทานไฟฟาของมัน จะลดลงเมื่อมีแสงมาตกกระทบ และเพิ่มคามากขึนหากแสงที ้ ่ตกกระทบลดความสวางลง โดยมีคาสูงสุดเมื่อไม ้ ้ขึ้น มีแสงมาตกกระทบ คาความตานทานของ LDR จะอยูในช  วง 1k ถึง 500kในบางรุนอาจสูงถึง 5M ทังนี อยูกั บขนาดและความไวแสงของสารกึงตั ่ วนําทีนํ่ ามาใชผลิต LDR อัตราสวนของความตานทานในชวงมืดตอสวาง จะมีคาประมาณ 10,000 : 1 แตอยางไรก็ตาม สัดสวนนี้ไมแนนอนเสมอไป ทั้งนี้เพราะ LDR เปนอุปกรณทีมี่ การ เปลี่ยนคาในขณะทํางานไมเปนเชิงเสน ในรูปที่ A10-1 แสดงรูปราง, สัญลักษณและกราฟคุณสมบัติการทํางานของ LDR สวนในรูปที่ A10-2 แสดงตัวอยางการทดสอบวัดคาความตานทานของ LDR ทีภาวะแสงต ่ างๆ

รูปที่ A10-1 รูปราง, สัญลักษณ และกราฟคุณสมบัติการทํางานของ LDR ตัวตานทานแปรคาตามแสง

รูปที่ A10-2 การทดสอบบวัดคาความตานทานของ LDR ทีภาวะแสงต ่ างๆ


   Breadboard Kit15

  วงจรนี้เปนตัวอยางในการนํา LDR มาควบคุมการทํางานของ LED โดยในภาวะแสงปกติ LDR จะมีคา ความตานทานไมสูงนัก ทําใหทรานซิสเตอร Q1 ไมทํางาน LED1 จึงยังไมติดสวาง จนกระทัง่ LDR ไมรับแสงเลย (ทดลองดวยการใชมือบังแสงที่สองไปยัง LDR) คาความตานทานของ LDR1 จะเพิ่มขึ้น จนสูงพอที่จะทําให ทรานซิสเตอร Q1 ทํางาน ดังนันในวงจรรู ้ ปที่ A11 ก็คือ วงจรของสวิตชสนธยา ทีจะทํ ่ างานเมือไม ่ มีแสงสองกระทบ ตัวตรวจจับ ตัวอยางทีเห็ ่ นไดชัดคือ ระบบเปดปดไฟถนนแบบอัตโนมัตินันเอง ่ นันคื ่ อ ตอนเชามีแสงสวางพอ ระบบ ไฟจะถูกปด พอตกคํ่าไมมีแสงจากดวงอาทิตย ระบบไฟก็จะทํางาน และปดการทํางานลงเมื่อมีแสงสวางในตอน เชา ในการทดลองคาของ R1 อาจเปลี่ยนเปน 47k หากตองการใหการตรวจจับเร็วขึ้น สวน LED1 ใชไดทัง้ LED ธรรมดา และแบบกะพริบเอง

รูปที่ A11 วงจรสวิตชไฟกลางคืนหรือสวิตชสนธยา


   Breadboard Kit 16

  เปนการตอยอดการทํางานของวงจรที่ 11 โดยเปลี่ยนวงจรเอาตพุตจาก LED มาเปนวงจรขับเสียงดนตรี ดวยไอซี UM66 และปรับการทํางานจากเดิมทีทํ่ างานในภาวะไมมีแสงเปนตรงขามคือ ทํางานเมือมี ่ แสงสองกระทบ ตัว LDR1 ตัวอยางวงจรและการตอวงจรแสดงในรูปที่ A12 ในยามคํ่าคืนหรือภาวะไมมีแสง LDR1 จะมีคาความ ตานทานสูง จนทําใหทรานซิสเตอร Q1 ไมทํางาน เมือมี ่ แสงสองมายัง LDR1 ทําใหคาความตานทานลดลง จึงเกิด กระแสไฟฟาไหลไปยังขาเบสของ Q1 ทําให Q1 ทํางาน ไอซีเสียงเพลง IC1 จึงไดรับไฟเลียง ้ จึงทํางานสงสัญญาณ เสียงไปยังวงจรขยายซึงมี ่ Q2 ทําหนาทีนี่ ้ Q2 จะขับเสียงออกทางลําโพง SP1 การหยุดเสียงดนตรีทําได 2 ทางคือ ปลดการจายไฟเลียง ้ หรือบังแสงทีส่ องไปยัง LDR1

รูปที่ A12 วงจรเสียงปลุกยามเชา

   INNOVATIVE EXPERIMENT

108 ซ.สุขมวิท 101/2 ถ.สุขุมวิท แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท 0-2747-7001-4 โทรสาร 0-2747-7005 www.inex.co.th / email : sale@inex.co.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.