RoboCIRCLE3S_BlueStickApp

Page 1

 1

         

1. อุปกรณ 1.1 หุนยนต  Robo-CIRLCE3S ที่ประกอบพรอมเคลื่อนที่ 1.2 โมดูล BlueStick 1.3 สายดาวนโหลด UCON-200 1.4 โทรศัพทเคลื่อนที่ระบบปฏิบัติการแอนดรอยดหรือแอนดรอยดโฟน 1.5 สาย IDC1MF 4 เสน (ใชในกรณีตองการตั้งชื่อและรหัสจับคูใหม) อุปกรณในรายการที่ 1.1 ถึง 1.3 และ 1.5 มีใหในชุดหุนยนต  Robo-CIRCLE3S รุน Bluetooth kit และอุปกรณในรายการที่ 1.2 กับ 1.5 มีใหในชุด BlueStick Extension kit


  2  

2. ติดตั้งโมดูล BlueSTick เขากับหุนยนต  Robo-CIRCLE3S โดยปกติกอนการใชงานโมดูล BlueStick ควรมีการตังค ้ าการทํางานหรือตั้งชือของโมดู ่ ลเพือ่ ใหการจับคูกั บโทรศัพทแอนดรอยดทําไดงายขึน้ ซึงขั ่ นตอนการตั ้ งค ้ าจะไดอธิบายในภายหลัง สําหรับ ผูใช  งานที่จัดซื้อ Robo-CIRCLE3S รุน Bluetooth kit หรือ ชุด BlueStick Extension kit ทางผูผลิ  ต ไดตังค ้ าการทํางานมาใหเรียบรอยแลว นํามาใชงานไดทันที การนํามาใชงานกับหุนยนต  Robo-CIRCLE3S ทําไดงายๆ เพียงนําโมดูล BlueStick ติดตังเข ้ า กับแผงวงจร i-BOX3S ที่ซ็อกเก็ต Bluetooth


 3

3. ตัวอยางโปรแกรมสําหรับหุนยนต  Robo-CIRCLE3S (3.1) เมือติ ่ ดตังโมดู ้ ล BlueStick แลว ตอไปเปนการดาวนโหลดโปรแกรมลงในหุนยนต  RoboCIRCLE3 เริ่มตนดวยการตอสาย UCON-200 เขากับหุนยนต Robo-CIRCLE3S และพอรต USB ของคอมพิวเตอร (ตองแนใจวาไดมีการติดตังไดรเวอร ้ ของสายดาวนโหลด UCON-200 เรียบรอยแลว ใหดูเอกสารการใชงาน UCON-200 ประกอบ) (3.2) หลังจากนั้นเปดโปรแกรม LogoBlocks แลวเขียนโปรแกรมตามรูป

  โปรแกรมจะรอรับคาทีถู่ กสงมาจากอุปกรณ สือสารต ่ างๆ ผานทางพอรตอนุกรมไรสายบลูทูธ ในตัวอยาง จะใชกับโทรศัพทเคลื่อนที่แอนดรอยด หลังจากนันโปรแกรมจะนํ ้ าคาทีรั่ บไดมาตรวจสอบวา ตรงกับเงื่อนไขใด บาง ในกรณีนีโปรแกรมจะรอรั ้ บคาของขอมูล 4 คาคือ 56, 50, 52 และ 54 (ฐานสิบ) ซึงตรงกั ่ บคาของคียเลข 8, 2, 4 และ 6 ซึงเป ่ นคียของลูกศรชี้ขึ้น (เลข 8), ชีลง ้ (เลข 2), ชีซ้ าย (เลข 4) และชีขวา ้ (เลข 6) เพื่อใชควบคุม การเคลื่อนทีของหุ ่ นยนต  Robo-CIRCLE3S โดยคาของขอมูลทัง้ 4 คาถูกสงมาจากอุปกรณแอนดรอยดผานบ ลูทูธ หุนยนต  จะเคลื่อนที่ไปขางหนา, ถอยหลัง หมุนซาย และหมุนขวา แตถาเงื่อนไขไมเปนจริง ก็จะควบคุม ใหหุนยนต  หยุดนิ่ง ไมมีการเคลื่อนที่

(3.3) เปดสวิตชจายไฟใหแกหุนยนต  Robo-CIRCLE3S จะเห็น LED ทีโมดู ่ ล BlueStick กะพริบ จากนั้นกดสวิตช RUN ให LED ตําแหนง RUN ดับ แลวคลิกปุม DOWNLOAD ที่ LogoBlocks เพื่อ ดาวนโหลดโปรแกรมลงในหุนยนต  Robo-CIRCLE3S


  4  

4. ติดตั้ง BlueStickControl App สําหรับอุปกรณแอนดรอยด หลังจากดาวนโหลดโปรแกรมทางฝงหุ  นยนต  Robo-CIRCLE3S แลว ตอไปเปนการจัดการทาง ฝงอุ  ปกรณแอนดรอยดบาง แอปพลิเคชันที ่ ่เตรียมไวใหคือ BlueStickControl ดาวนโหลดไฟลติดตัง้ ชื่อ BlueStickControl120214.apk จาก www.inex.co.th หรือจากในแผนซีดีรอมที่มากับชุด RoboCIRCLE3S Bluetooth kit และ BlueStick Extension kit ทําการติดตังไฟล ้ .apk ลงในอุปกรณแอนดร อยด โดยกอนการติดตังจะต ้ องมีขันตอนในการเตรี ้ ยมการดังนี้ (4.1) กดปุมเมนู  สําหรับตังค ้ าโทรศัพท เลือก Settings (หนาตาของการแสดงผลในอุปกรณแอ นดรอยดแตละรุนอาจแตกต  างไปจากรูปตัวอยาง)

(4.2) คลิกเลือก Applications เพื่อตั้งคาการใชงานแอปพลิเคชัน่


 5

(4.3) เลือกที่ Unknow Sources Allow installation of non-Market application จะปรากฏเครืองหมาย ่ ถูก เพือยอมให ่ มีการติดตังโปรแกรมอื ้ นๆ ่ ทีไม ่ ไดมาจาก Android Market ลงในอุปกรณแอนดรอยดได

(4.4) หลังจากนั้นใหทําการดาวนโหลดหรือติดตังไฟล ้ BlueStick Control.apk ลงในอุปกรณ แอนดรอยด ขั้นตอนการติดตังแอปพลิ ้ เคชันหรื ่ อโปรแกรมศึกษาไดจากคูมื อการใชงานอุปกรณแอน ดรอยดรุนนั  นๆ ้ (4.5) เมื่อติดตังแอปพลิ ้ เคชันเรี ่ ยบรอยแลว จะปรากฏหนาตาไอคอนของแอปพลิเคชัน่ Blue StickControl ขึ้นมาดังรูป


  6  

(4.6) เปดแอปพลิเคชัน่ BlueStick Control ขึ้นมาใชงาน จะปรากฏหนาตาของแอปพลิเคชัน่ ดังรูป


 7

5. การใชงาน กอนอืนต ่ องตังค ้ าการเชือมต ่ ออุปกรณบลูทูธบนอุปกรณแอนดรอยดกับโมดูล BlueStick ทีติ่ ด ตังไว ้ แลวบนตัวหุนยนต  (5.1) เปดสวิตชจายไฟเลี้ยงใหหุนยนต  Robo-CiIRCLE3S ที่มีการติดตังโมดู ้ ล BlueStick ไว แลว LED แสดงสถานะที่ BlueStick ติดกระพริบ (5.2) ที่อุปกรณแอนดรอยดใหกดปุมตังค ้ า ซึ่งอยูบริ  เวณดานลางขวาของหนาตางโปรแกรม

สัมผัสที่ปุมนี  ้

(5.3) ในการเชือมต ่ ออุปกรณบลูทูธ จะตองจับคูระหว  างอุปกรณบลูทูธทีต่ องการติดตอกันเสีย กอน สําหรับแอปพลิเคชัน่ BlueStick Control ใหสัมผัสที่ปุม Scan แอปพลิเคชันก็ ่ จะทําการสแกน หรือคนหาอุปกรณบลูทูธที่อยูในระยะทําการ ในที่นี้จะพบ BlueStick ในชือ่ RoboCircle3S หลังจาก นันสั ้ มผัสที่รายชือนี ่ ้เพือทํ ่ าการจับคู


  8  

(5.4) หลังจากนั้นจะปรากฏหนาตางสําหรับใสรหัสจับคู ในที่นี้คือ 1234 (5.5) เมื่อจับคูไดเรียบรอย ทีอุ่ ปกรณแอนดรอยดแสดงขอความ Connected to RoboCircle3S

(5.6) สังเกต LED แสดงสถานะของ BlueStick จะติดสวางคาง เมือการจั ่ บคูสํ าเร็จ หลังจากนัน้ กดปุม RUN ทีหุ่ นยนต  Robo-CIRCLE3S ขณะนีหุ้ นยนต  พรอมรับคําสังจากอุ ่ ปกรณแอนดรอยดแลว (5.7) ในการใชงาน ใหจัดทิศทางของอุปกรณแอนดรอยดในแนวตัง้ ลูกศรทั้ง 4 ตัวแสดงทิศ ทางของหุนยนต  ทีต่ องการใหเคลือนที ่ ไป ่ ลูกศรชีขึ้ น้ : ควบคุมใหหุนยนต  เคลื่อนทีไปข ่ างหนา ลูกศรชีลง ้ : ควบคุมใหหุนยนต  เคลื่อนที่ถอยหลัง ลูกศรชีซ้ าย : ควบคุมใหหุนยนต  หมุนตัวไปทางซาย ลูกศรชีขวา ้ : ควบคุมใหหุนยนต  หมุนตัวไปทางขวา ดังนั้นในการควบคุมใหหุนยนต  เคลื่อนที่ไปในทิศทางหรือเสนทางที่ตองการตองใช การควบคุมผานปุมลุกศรทั้ง 4 ตัวนี้ใหสัมพันธกัน


 9

6. การใชงานในโหมด Tilt หรือเอียงตัวอุปกรณแอนดรอยด เปนทีทราบกั ่ นวา อุปกรณแอนดรอยดสมัยใหมติดตังตั ้ วตรวจจับความเรงหรือ accellerometer sensor ทําใหสามารถตรวจจับการเอียงตัวของอุปกรณแอนดรอยดได ในแอปพลิเคชั่น BlueStick Control ก็นําความสามารถนีมาใช ้ ในการควบคุมหุนยนต  Robo-CIRCLE3S ดวยเชนกัน ทําใหผูใช  งาน สามารถควบคุมการเคลือนที ่ ่ของหุนยนต  ไดดวยการเอียงตัวเครืองของอุ ่ ปกรณแอนดรอยดแทนการ สัมผัสหนาจอ การเลือกโหมดนี้ทําไดงายๆ เพียงสัมผัสที่ชือโหมด ่ หากเดิมเปน Button Mode เมื่อสัมผัสก็ จะเปลี่ยนเปน Tilt Mode ดังรูป

ในการใชงานตองจัดวางอุปกรณแอนดรอยดในแนวนอน (ตรงขามกับโหมด Button ที่ตองจัด วางในแนวตัง) ้


  10  

เมือเอี ่ ยงตัวอุปกรณแอนดรอยดลง ลูกศรชีขึ้ นจะปรากฏขึ ้ น้ : หุนยนต  เคลือนที ่ ไปข ่ างหนา เมือเอี ่ ยงตัวอุปกรณแอนดรอยดขึน้ (เขาหาตัว) ลูกศรชีลงจะปรากฏขึ ้ น้ : หุนยนต  เคลือนที ่ ถอยหลั ่ ง เมือเอี ่ ยงตัวอุปกรณแอนดรอยดไปทางซาย ลูกศรชีซ้ ายจะปรากฏขึน้ : หุนยนต  หมุนตัวไปทางซาย เมือเอี ่ ยงตัวอุปกรณแอนดรอยดไปทางขวา ลูกศรชีขวาจะปรากฏขึ ้ น้ : หุนยนต  หมุนตัวไปทางขวา ดังนันในการควบคุ ้ มใหหุนยนต  เคลือนที ่ ไปในทิ ่ ศทางหรือเสนทางทีต่ องการ ตองใชการเอียง ตัวเครื่องของอุปกรณแอนดรอยดทั้ง 4 ทิศทางใหสัมพันธกัน

7. ตั้งคาการทํางานใหกับ BlueStick โดยใชแผงวงจร i-BOX3S โดยปกติโมดูล BlueStick จากชุดหุนยนต  Robo-CIRCLE3S รุน Bluetooth kit หรือชุด BlueStick Extension kit ทางผูผลิ  ตไดตังค ้ าการทํางานมาใหเรียบรอยแลว นํามาใชงานไดทันที แตถาหากมีการ ใชงานโมดูล BlueStick และหุนยนต Robo-CIRCLE3S หลายชุด และมีความตองการเปลี่ยนชือของ ่ ตัวโมดูลหรือรหัสจับคูก็สามารถทําได โดยมีขันตอนดั ้ งนี้ (7.1) คัดลอกไฟล BlueStickConfigure_Mini.exe อันเปนซอฟตแวรสําหรับตั้งคาการทํางาน ของโมดูล BlueStick โดยใชแผงวงจร i-BOX3S ลงในฮารดดิสกของคอมพิวเตอรทีใช ่ งาน (7.2) ตอสายสัญญาณระหวางโมดูล BlueStick กับจุดตอ Bluetooth บนแผงวงจร i-BOX3S


 11

(7.3) ตอสาย UCON-200 เพื่อเชือมต ่ อแผงวงจร i-BOX3S เขากับคอมพิวเตอรที่พอรต USB (7.4) เปดสวิตชจายไฟใหกับแผงวงจร i-BOX3S สังเกต LED ที่โมดูล BlueStick ติดกะพริบ (7.5) เปดโปรแกรม BlueStick Configure (mini) ซึ่งเปนโปรแกรมที่ใชสําหรับตั้งคาเบื้องตน ใหกับ BlueStick

(7.6) คลิปที่ปุม Auto Search เพื่อคนหาโมดูล BlueStick ที่ตอกับพอรต USB Serial port ของคอมพิวเตอร เมือพบพื ่ นของหน ้ าตางโปรแกรมจะกลายเปนสีเขียว พรอมกับแสดงขอความ Found Hardware on COMx (x คือหมายเลขของพอรตอนุกรมที่ติดตอกับโมดูล BlueStick) และที่ชอง Received แสดงขอความ OK


  12  

(7.7) ตรวจสอบเวอรชันของโมดูล BlueStick ใหกดสวิตช RESET ของแผงวงจร i-BOX3S คางไว แลวคลิกทีปุ่ ม Check Version พืนของหน ้ าตางโปรแกรมจะกลายเปนสีเทาครูหนึ  ง่ แลวเปลียน ่ เปนสีเขียว พรอมกับแสดงขอความ Found BlueStick on COMx (x คือหมายเลขของพอรตอนุกรมที่ ติดตอกับโมดูล BlueStick) และทีช่ อง Received แสดงขอความ OK กับ ชือและหมายเลขเวอร ่ ชันของ โมดูล BlueStick

(7.8) ตังชื ้ ่อของโมดูล BlueStick ใหม โดยกําหนดชือต ่ องการลงในชอง Set Name ตองเปน ภาษาอังกฤษหรือตัวเลขยาวได 16 ตัวอักษร จากนั้นกดสวิตช RESET ของแผงวงจร i-BOX3S คางไว แลวคลิกที่ปุม Set Name พื้นของหนาตางโปรแกรมจะกลายเปนสีเทาครูหนึ  ่ง แลวเปลียนเป ่ นสีเขียว ที่ชอง Received แสดงขอความ OK กับคําสั่ง setname


 13

(7.9) กําหนดรหัสจับคูของโมดูล BlueStick ใหม ใหกําหนดเลขรหัส 4 หลักที่ตองการลงใน ชอง Set PIN Code แนะนําใหใช 0000 หรือ 1234 จะไดงายตอการจดจํา จากนั้นกดสวิตช RESET ของแผงวงจร i-BOX3S คางไว แลวคลิกที่ปุม Set PIN Code พื้นของหนาตางโปรแกรมจะกลายเปน สีเทาครูหนึ่ง แลวเปลี่ยนเปนสีเขียว ที่ชอง Received แสดงขอความ OK กับคําสั่ง setPIN

(7.10) เมื่อตังค ้ าตางๆ เรียบรอยแลว ใหปดสวิตชไฟเลี้ยงของ i-BOX3S ปลดสาย UCON-200 และสาย IDC1MF ทั้ง 4 เสนที่ใชเชื่อมตอกับโมดูล BlueStick (7.11) เสียบโมดูล BlueStick ลงในซ็อกเก็ต Bluetooth ของแผงวงจร i-BOX3S เพียงเทานี้โมดูล BlueStick ก็พรอมใชงานรวมกับแผงวงจร i-BOX3S และหุนยนต  RoboCIRCLE3S แลว

INNOVATIVE EXPERIMENT


  14  

ขอมูลเพิมเติ ่ มเกียวกั ่ บ BlueStick เปนอุปกรณบลูทูธที่ใชโปรไฟลพอรตอนุกรม (Serial port profile : SPP) ในการติดตอเพื่อ ใชงาน จึงเหมาะอยางยิงสํ ่ าหรับใชในสือสารข ่ อมูลอนุกรมแบบไรสายผานคลื่นวิทยุระบบบลูทูธ

คุณสมบัติทางเทคนิค 

ความไวในการทํางาน -80dBm

กําลังสงสูงสุด +4dBm

เปนอุปกรณที่เขากันไดตามมาตรฐานบลูทูธ V2.0 + EDR (Enhanced Data Rate) ถายทอด ขอมูลดวยอัตราเร็ว 3 เมกะบิตตอวินาที 

ความถี่ใชงาน 2.4GHz

เปนอุปกรณบลูทูธที่ทํางานในโหมดสเลฟ และใชโปรไฟลพอรตอนุกรม (SPP)

ระยะทําการสูงสุด 10 เมตร

อัตราบอดตั้งตน 9,600 บิตตอวินาที โดยใชรูปแบบขอมูล 8 บิต, บิตหยุด 1 บิต และไมมีบิต ตรวจสอบพาริตี้ หรือ 8N1 

ตังค ้ าอัตราบอดใหมได ประกอบดวย 1200, 4800, 9600, 19200, 38400, 57600, 115200, 230400, 460800, 921600, 1382400 บิตตอวินาที 

รหัสประจําตัวสําหรับใชในการจับคู ตังได ้ ตังแต ้ 0000 ถึง 9999 (4 หลัก) คาตังต ้ นคือ 1234

ยานไฟเลี้ยง +3.3 ถึง +5.5V

มีวงจรสื่อสารขอมูลอนุกรมหรือ UART ในตัว

มีสายอากาศติดตังภายในตั ้ ว

ขนาด 1.5 ซม. x 4.0 ซม.


 15

ขาตอใชงานหลักของ BlueStick มีขาตอใชงานหลักๆ 4 ขาคือ

+Vcc สําหรับตอไฟเลี้ยง +3.3V ถึง +5.5V GND สําหรับตอกราวด TxD ขาเอาตพุตสงขอมูลอนุกรมออกจากโมดูล BlueStick ไปยังไมโครคอนโทรลเลอร หรืออุปกรณตอรวม RxD ขาอินพุตรับขอมูลอนุกรมเขามาในโมดูล BlueStick จากไมโครคอนโทรลเลอร หรืออุปกรณตอรวม

INNOVATIVE EXPERIMENT



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.