PIR Article (Thai)

Page 1

Proto Knowledge

Sensor ปกรณ ลิ้มพรจิตรวิไล

PIR

โมดูลตรวจจับความเคลื่อนไหว ดวยรังสีอินฟราเรด

หนึ่ง ใน ตัวต รวจจับ ที่ มี การ ใช้งาน อย่าง กว้างขวาง มา รู้จัก กัน ให้ ลึก อีก นิด เพื่อ การ น�าไป ใช้งาน ให้ ได้ ประโยชน์ สูงสุด

“เชื่ อ ว า คุ ณ ๆ คงเคยเข า ไปใช บ ริ ก ารร า นสะดวกซื้อ เมื่อเดินเขาไป จะไดยินเสียงติ๊งตอง แจงการเขามาของคุณๆ ใหพนักงานในรานทราบ และเสียงทักทาย ก็จะดังตามมา ทั้ง ที่พวกเขาอาจไมไดเห็นคุณๆ ดวยซ�้า เคารูไดอยางไร หนาที่นี้ ตกเป น ของตั ว ตรวจจั บ การเคลื่ อ นไหวครั บ แล ว มั น ท� า งานอย า งไร ตามผมมาครับ จะพาไปรูจัก”

ความเคลื่อนไหวตรวจจับไดอย่างไร​?​ สิ่งมีชีวิตไมวาจะเปนมนุษยหรือสัตวเลือดอุนในภาวะ ที่ยังมีชีวิตอยู จะมีการกระจายพลังงานความรอนออกมาจาก ตัวเองในรูปของการแผรังสีอินฟราเรดอยูตลอดเวลา โดยจะมี ปริมาณมากหรือนอยขึ้นอยูกับสภาพของรางกายในขณะนั้น เมื่อมีการเคลื่อนไหวปริมาณของการแผรังสีก็จะเปลี่ยนแปลง รังสีอินฟราเรดจากมนุษยหรือสัตวเลือดอุนที่มีระดับความ เขมสูงสุดจะมีความยาวคลื่นประมาณ 9.4 ไมโครเมตร ตัวตรวจจับความเคลื่อนไหวของสิ่งมีชีวิตหรือที่เรียก วา โมชั่นเซนเซอร​ (motion​ sensor) ที่ไดรับความนิยม และใชงานงายคือ ตัวตรวจจับแบบอินฟราเรด ซึ่งใชหลักการ

52

The Prototype Electronics


เลนสไฟรเนล ตัวกรองแสงอินฟราเรด +Vcc

รังสีอินฟราเรด ที่มาจากพลังงาน ความรอน

วงจรขยาย สัญญาณ โมดูล​PIR

ตรวจจับ ที่ เรียกวา ไพโรอิ เล็ก ตริก (pyro-electric) อัน เปนการ ตรวจจับ การ แผรังสี อินฟราเรด หาก ระดับ ของ การ แผรังสี ไม เปลี่ยนแปลง แสดงวา สิ่งมีชีวิต ที่ ตองการ ตรวจจับ นั้น ไมมี การ เคลื่อนไหว แต ถาหาก มี การ เคลื่อนไหว เกิดขึ้น ระดับ ของ การ แผรังสี อินฟราเรด จะ เปลี่ยนแปลง จึง เรียกตัว ตรวจจับ แบบนี้ วา PIR (Passive InfraRed sensor) ใน รูป ที่ 1 เปน ไดอะแกรม แสดง หลักการ ท�างาน พื้น ฐาน ข อง ตั ว ต รวจจั บ พ ลั ง งาน ค วาม ร  อ น จ าก ม นุ ษ ย ห รื อ สัตว เลือดอุน เมื่อ เกิด การ เคลื่อนไหว ท�าใหเกิด การ แผรังสี อินฟราเรด ขึ้น รังสี จะ ถู กรวม หรือ โฟกัส ไป ยัง ตัว ตรวจ จับหลัก โดย ใช เลนส แบบ พิเศษ ที่ เรียกวา เลนส​ไฟ​รเนล​หรือเฟ​รสนัล​ (Fresnel​lens) จากนั้ น ตั ว ต รวจ จั บ หลั ก จ ะ ท� า การ ข ยาย สัญญาณ แลว สงไปยัง วงจร เปรียบเทียบ เพื่อ สราง สัญญาณ เอาตพุต ตอไป ใน รู ป ที่ 2 แสดง ส ถานการณ ที่ แ หล ง ก� า เนิ ด รั ง สี อิ น ฟราเรด (อาจ เ ป น ม นุ ษ ย ห รื อ สั ต ว เ ลื อ ดอุ  น ) เกิ ด ก าร เคลื่อนไหว ภายใน ระยะ ท�าการ ของ ตัว ตรวจจับ จะ ท�าให โมดูล ตรวจจับ PIR ตรวจจับ พบ การ แผรังสี อินฟราเรด ที่ แตกตา งกัน จึง ใหสัญญาณ เอาตพุต เปน ลอจิก สูง (high) อยู ชั่ว ขณะ เมื่อ ตรวจจับ พบ การ เคลื่อนไหว จากนั้น กลับ มา เปน ลอจิก ต�่า (low) จนกวา จะ ตรวจจับ พบ การ เปลี่ยนแปลง ของ ระดับ รังสี อินฟราเรด อีกครั้ง

เลนสไฟรเนล​พระเอกผูป ดทองหลังพระ เลนส ไฟ รเนล เปน เลนส แบบ พิเศษ ที่ ไดรับ การ คน คิด จาก นัก ฟสิกส ชาว ฝรั่งเศส ชื่อ ออกัสติน ชอง ไฟรเนล (Augustin-Jean Fresnel) โดย แนวคิด ของ เลนส แบบนี้ คือ เปน เลน ส แบบ ขั้นบันได ที่ ยอมให แสง ผาน ได มาก และ จาก ทุกทิศทาง ดัง มี โครงสราง ตาม รูป ที่ 3 ทั้งนี้ เนื่องจาก ตัว เลนส ได ถูก สราง ขึ้น โดย ลด เนื้อ วัสดุ ใน สวน ที่ ไมมีผล กับ การ หักเห ของ แสง ลง ไป ท�าให สามารถ ท�า เลนส ขนาดใหญ ที่ มี น�้าหนัก เบา ได เดิมที

วงจร เปรียบเทียบ

เอาตพุต

รูปที่ 1 ไดอะแกรมการท�างานของตัวตรวจจับการแผ่รังสี อินฟราเรดซึ่งใช้ตรวจจับความเคลื่อนไหว

แหลงกําเนิดรังสีอินฟราเรด (เชน​คน​หรือ​สัตว)​เกิดการเคลื่อนที่ เลนสไฟรเนล สัญญาณเอาตพุต

รูปที่ 2 แสดงการท�างานของโมดูล PIR เมื่อน�ามาใช้ในการ ตรวจจับความเคลื่อนไหว เลนส ไ ฟ ร เนล นี้ ไ ด รั บ ก าร อ อกแบบ เ พื่ อ ให น� า มาใช ใน การ กระจาย ใน ประภาคาร เพื่อให สามารถ มองเห็น ประภาคาร ได จาก ระยะไกล ตอมา ได มี การ พัฒนา ให มี ขนาด เล็กลง แลว น�า มา ครอบ หลอดไฟ เพื่อ ท�าเปน ตะเกียง ท�าให ตะเกียง สามารถ สองแสง ได สวาง และ มองเห็น ได จาก ระยะไกล ดัง รูป ที่ 4 แต​เมือ่ ​นาํ มาใช​ใน​โมดูล​ตรวจจับ​PIR​ตัว​เลนส​ไฟ​ร​ เนล​จะ​ถูก​ใชงาน​ใน​ลักษณะ​กลับกัน คือ ใช เลนส ไฟ รเนล ใน การ รวม แสง เขา มาจาก ทุกทิศทาง เพื่อ โฟกัส ลง ไป ยัง สวน ตรวจ จับ แสง อินฟราเรด ของ โมดูล ตรวจจับ PIR เพื่อ ใหการ ตรวจจับ การ เปลี่ยนแปลง ของ รังสี อินฟราเรด มี ความ ไว สูง ภาพตัดขวางของเลนสไฟรเนล ลักษณะของเลนสไฟรเนลที่มีการสราง เปนโดมเพื่อครอบตัวตรวจจับ​PIR ทําใหสามารถรับแสงไดจากทุกทิศทาง ทั้งดานหนาและดานขาง

รูปที่ 3 โครงสร้างและหน้าตาของเลนส์ไฟรเนลซึ่งน�ามาใช้ในโมดูล PIR The Prototype Electronics

53


Sensor : PIR

รูปที่ 3 โครงสร้างและหน้าตาของเลนส์ไฟรเนลซึ่งน�า มาใช้ในโมดูล PIR

โมดูล ZX-PIR มีขาตอใชงาน 3 ขาดังนี้ ตําแหนง -

ชื่อขา

คําอธิบาย

GND

ใชตอกับกราวด

+

V+

ใชตอกับไฟเลี้ยงในยาน +3.3V ถึง +5V 100uA

OUT

Output

เปนขาเอาตพตุ ของโมดูล ใชตอ กับ ไมโครคอนโทรลเลอรหรืออินพุต ของวงจรขับโหลดใดๆ

ดานหลังของโมดูล ZX-PIR มีจั๊มเปอร 1 ตัวส�าหรับ ก�าหนดโหมดการท�างาน มีรายละเอียดดังนี้

รูปที่ 4 ตัวอย่างตะเกียงที่ใช้เลนส์ไฟรเนลในการเพิ่ม อัตราการส่องสว่าง

ตําแหนง ชื่อขา

คําอธิบาย

H

Retrigger หรือกระตุนซ้�า

เอาตพุต จะ รักษา สถานะ ลอจิก สูง หรือ HIGH ไว อยาง ตอเนื่อง เมื่อ ตรวจจับ พบ การ เคลื่อนไหว อยาง ตอเนื่อง หาก ตรวจจับ ไมได หรือ ไมมี การ เคลื่อนไหว เกิดขึ้น สถานะ ลอจิก ที่ เอาตพุต จะ เปน ลอจิก ต่�า หรือ LOW

L

มาตรฐาน

เอาตพุต เปน ลอจิก สูง หรือ HIGH เมื่อ โมดูล สามารถ ตรวจ จับความ เคลื่อนไหว ได จากนั้น จะ กลับ มา เปน ลอจิก ต่�า หรือ LOW ถาหาก ตรวจจับ พบ ความ เคลื่อนไหว อยาง ตอเนื่อง เอาตพุต จะ มี ลักษณะ เปน เหมือน สัญญาณ พัลส หาก ตรวจจับ ไมได หรือ ไมมี การ เคลื่อนไหว เกิด ขึ้น สถานะ ลอจิก ที่ เอาตพุต จะ เปน ลอจิก ต่�า หรือ LOW.

คุ³สมบัติของโมดูลตรวจจับ​ZX-PIR อุปกรณตรวจจับความเคลื่อนไหวที่น�ามาเสนอเพื่อ เปนตัวอยางในที่นี้คือ โมดูล​ZX-PIR ซึ่งใชตัวตรวจจับที่เรียก วา PIR ซึ่งสามารถตรวจจับการแผรังสีอินฟราเรด โดยท�า งานรวมกับเลนสชนิดพิเศษที่เรียกวา เลนสไฟรเนล ซึ่งท�าหนา ที่รวมรังสีอินฟราเรดที่ตัวตรวจจับไดรับ เพื่อสงผานไปยังตัว ตรวจจับ PIR เพื่อท�าการประมวลผลตอไป ในรูปที่ 5 แสดง ลักษณะทางกายภาพของโมดูล ZX-PIR และขาตอใชงาน

คุ³สมบัติทางเทคนิคที่ควรทราบมีดังนี้ • ระยะการตรวจจับสูงสุด 20 ฟุต • เมื่อตรวจพบความเคลื่อนไหวจะใหแรงดันเอาตพุตที่สภ

าวะสูงที่ขาเอาตพุต

1.27​นิ้ว (32.2​มม.)

ตัวตรวจจับการเปลี่ยนแปลง ของรังสีอินฟราเรดติดตั้งอยูภายใน เลนสเฟรสเนล 0.96​นิ้ว (24.3​มม.) 1​นิ้ว (25.4​มม.)

1.10​นิ้ว (28​มม.) OUT

+

-

จั๊มเปอรเลือกโหมดการทํางาน H​:​โหมดกระตุนซ้ํา L​:​โหมดมาตรฐาน

• ใชเวลาในการปรับตัวเพื่อตรวจจับการเปลี่ยนแปลงชวง 10 ถึง 60 วินาทีหลังจากไดรับไฟเลี้ยง

• ใชไฟเลีย้ งในยาน +3.3 ถึง +5V กระแสไฟฟานอยกวา

100 mA

54

The Prototype Electronics

รูปที่ 5 แสดงขนาด, ส่วนประกอบและการจัดขา และหน้าตาของโมดูล ZX-PIR


การใชงาน ​

เนื่องจาก เอาตพุต ของ โมดูล ZX-PIR เปน สัญญาณ ดิจิตอล ที่ มี สอง สถานะ คือ ลอจิก สูง หรือ “1” และ ลอจิก ต�่า หรือ “0” จึง สามารถ เชื่อม ตอ กับ ขา พอรต ดิจิตอล ของ ไมโคร คอนโทรลเลอร ได ทุก ตระกูล โดย ต  อ ง ก� า หนด ใ ห ข า พ อร ต ที่ เ ชื่ อ ม ต  อ นั้ น เ ป น อิ น พุ ต ดิจิตอล กอน และ ไม ตอง ตอตัว ตานทาน พูลอัป ที่ ขา พอรต ของ ไมโคร คอนโทรลเลอร ซึ่ง น�ามา ตอ กับ โมดูล ZX-PIR ดัง รูป ที่ 6 เนื่องจาก เอาตพุต ของ ZX-PIR ไม สามารถ จาย กระแส ได มาก พอที่จะ ควบคุม ให ขา พอรต เปน ลอจิก “0” ใน ภาวะ ที่ ไม สามารถ ตรวจจับ การ เคลื่อนไหว ได หาก มี การ ตอตัว ตานทาน พูลอัป ที่ ขา พอรต ของ ไมโคร คอนโทรลเลอร +5V ZX-PIR

ไมโครคอนโทรลเลอร

+ OUT

INPUT

รูปที่ 6 ตัวอย่างการเชื่อมต่อโมดูล ZX-PIR กับไมโคร คอนโทรลเลอร์

ที่ไมโครคอนโทรลเลอรตองเขียนโปรแกรมเพื่อตรวจ จับการเปลี่ยนแปลงทางลอจิกของขาพอรตที่ตอกับโมดูล ZXPIR ในกรณีทเี่ ลือกจัม๊ เปอรของ​ZX-PIR​​มาทีต่ าํ แหนง​ L​ จะมีลักษณะการท�างานดังนี้ หากผูใชงานนั่งนิ่งๆ หางจาก โมดูล ZX-PIR ระยะประมาณไมเกิน 1 เมตร โดยไมมีคนหรือ สัตวอยูบริเวณโดยรอบรัศมีประมาณ 8 เมตร โมดูล ZX-PIR จะตรวจจับการเคลื่อนไหวไมได เอาตพุตของ ZX-PIR เปนลอ จิก “0” หากมีการเคลื่อนไหวขึ้น โมดูล ZX-PIR จะตรวจจับ การเคลื่อนไหวได เอาตพุตของ ZX-PIR เปนลอจิก “1” ชั่ว ขณะประมาณ 4 วินาที แลวกลับมาเปนลอจิก “0” หากมีการ ขยับตัวหรือเคลื่อน ไหวอยางตอเนื่อง ที่เอาตพุตของ ZX-PIR จะเปนลอจิก “0” และ “1” สลับกันเปนจังหวะ และเปนลอจิก “0” คางเมื่อหยุดการเคลื่อนไหว

ในกรณีที่เลือกจั๊มเปอรของ​ZX-PIR​มาที่ตําแหนง​ H หากมีการเคลื่อนไหวขึ้น โมดูล ZX-PIR จะตรวจจับการ เคลื่อนไหวได เอาตพุตของ ZX-PIR เปนลอจิก “1” ถาหากมี การขยับตัวหรือเคลื่อนไหวอยางตอเนื่อง ที่เอาตพุตของ ZXPIR จะเปนลอจิก “1” คาง และเปนลอจิก “0” เมื่อหยุดการ เคลื่อนไหว รูปที่ 7 แสดงลักษณะของสัญญาณเอาตพุตที่ไดจาก โมดูล ZX-PIR เมื่อก�าหนดต�าแหนงจั๊มเปอรแตกตางกัน สัญญาณเอาตพุตของโมดูล​ZX-PIR​เมื่อตรวจจับความเคลื่อนไหวได กรณีจั๊มเปอรอยูที่​L​เมื่อตรวจจับความเคลื่อนไหวไดตอเนื่อง ที่เอาตพุตจะเปนลอจิก​"1"​และ​"0"​สลับกัน กรณีจั๊มเปอรอยูที่​H​เมื่อตรวจจับความเคลื่อนไหวไดตอเนื่อง ที่เอาตพุตจะเปนลอจิก​"1"​ตอเนื่อง

รูปที่ 7 แสดงสัญญาณเอาต์พุตของโมดูล ZX-PIR เมื่อก�าหนดการต่อจั๊มเปอร์ในลักษณะต่างๆ จากข อ มู ล ที่ น� า เสนอมาทั้ ง หมดจะเห็ น ได ว  า การ ตรวจจับความเคลื่อนไหวดวยโมดูล PIR นี้ ความไวหรือประ สิ ท ธภาพในการท� า งานจะขึ้ น กั บ เลนส ไ ฟรเนลเป น ส� า คั ญ ทางดานการน�าไปใชงานนั้นจะเห็นไดวางายมาก หากแต ตองใหความใสใจในดานการติดตั้งตัวตรวจจับในต�าแหนงที่ เหมาะสม นาชื่นชมความพยายามของมนุษยเราอยางยิ่ง ที่ พยายามสรางสิ่งประดิษฐที่นํามาใชในการตรวจจับปริมาณ ทางวิ ท ยาศาสตร แม ว  า จะเป น ความเคลื่ อ นไหวของสิ่ ง มี ชีวิต และตองขอบคุณธรรมชาติที่ไดรังสรรคใหเกิดคุณสมบัติ ที่พิเศษแตกต า งในแต ล ะองค ป ระกอบของสิ่ ง มี ชี วิ ต แล ว พบกั น ในโอกาสต อ ไปครั บ กั บ เรื่ อ งราวของตั ว ตรวจจั บ อิเล็กทรอนิกสในแบบอื่นๆ

www.tpemagazine.com

The The Prototype Prototype Electronics Electronics

55


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.