unicon_driverInstallation

Page 1

 1

    ในบทนี้จะอธิบายถึงการติดตั้งซอฟตแวร Arduino1.0 ที่ใชในการเขียนโปรแกรม คอมไพลโปรแกรม และอั ปโหลดโปรแกรมไปยังบอรด Unicon รวมทั้งการติดตั้งไดรเวอร USB สําหรับบอรด Unicon ดวย โดย ซอฟตแวร Arduino1.0 สามารถรันบนระบบปฏิบัติการไดทุกแบบ ไมวาจะเปนวินโดวสทีรองรั ่ บตั้งแตวินโดวส XP ขึ้นไป, MAC OS และ Linux

1. การติดตังซอฟต ้ แวร Arduino (1.1) ดาวน โหลดซอฟตแวรจาก www.uniconboard.com ทําการแตกไฟลและดับเบิ้ลคลิกที่ไฟล Arduino1.0xSetup.exe จะปรากฎหนาตางตอนรับสูการติ  ดตัง้ ใหคลิก Next หนาตางติดตังจะสอบถามตํ ้ าแหนงการ ติดตังโปรแกรมให ้ กด Next ขามขันตอนนี ้ ไป ้


2

(1.2) หนาตางติดตั้งจะสอบถามชือที ่ จะใช ่ สรางที่ Start Menu ใหคลิก Next ตอไป หนาตางติดตังจะแสดง ้ ขอสรุปมาให ใหกด Install เพือเริ ่ ่มขั้นตอนการติดตั้ง โปรแกรมติดตั้งจะใชเวลาสักครูก็จะติดตั้งเรียบรอย


 3

(1.3) จากนั้นจะเขาสูหนาตางของการติดตั้งไดรเวอร USB ขันต ้ นของบอรด Unicon ดังรูป คลิกปุม Next

(1.4) ระบบจะแจงวา วินโดวสไมเคยทดสอบไดรเวอรตัวนี้ และสอบถามวาตองการใหยกเลิกการติดตั้ง หรือดําเนินการติดตั้งตอไป คลิกเลือกที่ Install this driver software anyway อันเปนการเลือกใหทําการติดตั้ง ไดรเวอรตอไป (จะไมพบหนาตางนี้ในวินโดวส XP)


4

(1.5) จากนั้นการติดตั้งไดรเวอรขันต ้ นจะเกิดขึ้น รอจนกระทังติ ่ ดตั้งเสร็จ จะปรากฏหนาตางแจงการติด ตั้งไดรเวอรเสร็จสมบูรณและแสดงชื่อของไดรเวอรทีติ่ ดตั้งลงไป ในที่นี้คือ Arduino LLC คลิกปุม Finish ตอบ รับการติดตั้งเสร็จสิ้น

(1.6) โปรแกรมจะสรางชือ่ Arduino1.0 ไวที่ Start Menu ทําการทดสอบวา โปรแกรมติดตังเรี ้ ยบรอยหรือไม ดวยการใหเขาไปที่ Start Menu และเลือกเปดโปรแกรม Arduino ขึ้นมา

หนาตางของโปรแกรม Arduino 1.0 จะเปดขึ้นมา เปนการยืนยันวา การติดตั้งโปรแกรมเปนไปอยาง ถูกตอง


 5

2. ติดตังไดรเวอร ้ ของบอรด Unicon สําหรับวินโดวส 7 (2.1) จายไฟใหแกบอรด Unicon (+6 ถึง +12V) LED สีนํ้าเงินจะกะพริบ รอจนติดคาง จึงตอสาย USBminiB เขาทีบอร ่ ดและพอรต USB ของคอมพิวเตอร

(2.2) ระบบจะตรวจสอบฮารดแวรครูหนึ  ง่ จากนันทํ ้ าการตรวจสอบการเชือมต ่ อโดยไปที่ My Computer คลิกเมาสปุมขวาเลื  อกหัวขอ Properties


6

(2.3) จะเขาสูหนาตาง Control panel จากนันเลื ้ อกรายการ Device Manager

(2.4) ดูทีหั่ วขอ Ports จะพบรายการ Unicon@POP-XT (COMxx) โดยหมายเลขของ COM อาจเปลียน ่ ไปไดในคอมพิวเตอรแตละเครือง ่ ใหจําหมายเลขพอรต COM นี้ไว เพือใช ่ เลือกพอรตในการติดตอกับแผงวงจร POP-XT ในซอฟตแวร Arduino1.0


 7

(2.5) ในกรณีทีผู่ ใช  งานตอสาย USB-miniB จากคอมพิวเตอรเขากับบอรด Unicon กอนเปดสวิตช หรือกอน LED สีนําเงิ ้ นติดคาง มีโอกาสทีระบบจะตรวจพบว ่ า มีอุปกรณทีไม ่ มีไดรเวอรติดตังอยู ้  หรือติดตังไดรเวอร ้ ไมสมบูรณ ดังรูป

ไมตองตกใจ ใหคลิกตอบไปที่ Click here for details ระบบจะแจงใหทราบถึงอุปกรณทีไม ่ มีไดรเวอร รองรับหรือไดรเวอรไมสมบูรณ ซึงก็ ่ คือ อุปกรณทีชื่ ่อวา POP-XT Bootloader ซึงไม ่ สําคัญ เพราะไดรเวอรทีถู่ กตอง และใชงานจริงคือ Unicon Board & POP-XT (COMxx) หากทีรายการนี ่ ้มีขอความแจงสถานะตอทายวา Ready to use ถือวา ใชได ใหกลับไปตรวจสอบตําแหนงพอรต COM อีกครั้งที่ Device Manager ตามขันตอนที ้ ่ (2.2) ถึง (2.4)


8

3. ติดตังไดรเวอร ้ ใหกับบอรด Unicon สําหรับวินโดวส 7 ในกรณีที่ไมสามารถติด ตั้งตามขั้นตอนในหัวขอที่ 2 ได สําหรับผูใช  งานทีใช ่ ระบบปฏิบัติการวินโดวส 7 รุน 64 บิต มีโอกาสทีการติ ่ ดตั้งไดรเวอรจากขันตอนใน ้ หัวขอที่ 2 ไมสามารถดําเนินการไดอยางสมบูรณ ขอใหดําเนินการติดตั้งไดรเวอรในอีกวิธีหนึ่ง ดังนี้ (3.1) จายไฟใหแกบอรด Unicon (+6 ถึง +12V) LED สีนํ้าเงินจะกะพริบ รอจนติดคาง จึงตอสาย USBminiB เขาทีบอร ่ ดและพอรต USB ของคอมพิวเตอร

้ นติดคางกอนตอสาย ขันตอนนี ้ สํ้ าคัญมาก จะตองเปดสวิตชจายไฟ และรอให LED สีนําเงิ USB เขากับบอรดและคอมพิวเตอร นี่คือคุณสมบัติปกติของอุปกรณ USB ที่จะตองมีการ เตรียมความพรอมของฮารดแวรใหเรียบรอยกอนติดตอกับคอมพิวเตอร (3.2) ทีมุ่ มขวาลางของคอมพิวเตอรจะแจงวา ตรวจพบฮารดแวรตัวใหมและพยายามติดตังไดรเวอร ้ ลงใน เครืองคอมพิ ่ วเตอร โดยในขันต ้ นจะแจงวาการติดตั้งไดรเวอรไมสมบูรณดังรูป

(3.3) เพื่อติดตังไดรเวอร ้ ใหสมบูรณ ทําการคลิกเมาสปุมขวาที  หน ่ าตาง My Computer > Properties เลือก หัวขอ Device Manager ดังแสดงตําแหนงตามรูป


 9

(3.4) ทีหน ่ าตาง Device Manager จะพบอุปกรณ Arduino Leonardo ที่มีเครืองหมาย ่ ! ปรากฎอยู ซึ่ง หมายถึงการติดไดรเวอรของอุปกรณตัวนี้ยังไมสมบูรณ ใหคลิกเมาสปุมขวาที  ่อุปกรณตัวนี้ แลวเลือก Update Driver Software..

(3.5) จะปรากฎหนาตางตัวเลือกคนหาไดรเวอรแบบอัตโนมัติหรือหาดวยตนเองภายในคอมพิวเตอร ให เลือก Browse my computer for driver software อันเปนการเลือกคนหาไดรเวอรดวยตนเอง


10

(3.6) ระบุตําแหนงของไดรเวอรไปที่ C:\Arduino\Drivers จากนันกด ้ Next

(3.7) โปรแกรมจะแจงเตือนเรืองความปลอดภั ่ ยของไดรเวอรทีเราติ ่ ดตังลงไป ้ ใหเลือกหัวขอ Install this driver software anyway เพือยื ่ นยันการติดตั้ง


 11

(3.8) ระบบจะใชเวลาสักครูเพือติ ่ ดตั้งไดรเวอร จากนั้นที่หนาตาง Device Manager จะแสดงชื่ออุปกรณ Unicon Board & POP-XT (COMxx) โดยหมายเลขของ COM นั้นขึนอยู ้ กั บการลงทะเบียนของคอมพิวเตอรแต ละเครือง ่ ซึ่งอาจแตกตางกัน โดยปกติจะมีหมายเลขตําแหนงตังแต ้ COM2 ขึนไป ้

(3.9) ขั้นตอนสุดทายจะตองจดจําตําแหนงพอรต COM ทีเกิ ่ ดขึ้นจากการติดตั้งไดรเวอรในขอ (3.8) เพื่อ นําไปใชในซอฟตแวร Arduino1.0 ในการเลือกชองติดตอกับฮารดแวรไดถูกตอง (จากตัวอยางตําแหนงพอรต ทีใช ่ งานคือ COM2) การติดตังไดรเวอร ้ อาจมีขันตอนพอสมควร ้ ดังนันจึ ้ งขอใหผูใช  งานปฏิบัติตาม เพือลดความผิ ่ ดพลาดทีอาจ ่ เกิดขึ้นได เมื่ อติดตั้งไดรเวอร ไดเรียบรอย นับจากนี้ บอรด Unicon ก็พรอมสําหรับการอัปโหลดโปรแกรมจาก คอมพิวเตอรเพือทํ ่ าการทดสอบและเริมต ่ นการเรียนรูเพื  อพั ่ ฒนาโปรแกรมควบคุมในลําดับตอไป


12

4. ติดตังไดรเวอร ้ ใหกับบอรด Unicon สําหรับวินโดวส XP สําหรับวินโดวส XP จะมีขันตอนและหน ้ าตางของการติดตั้งไดรเวอรทีแตกต ่ างไปจากวินโดวส 7 ดังนี้ (4.1) จายไฟใหแกบอรด Unicon (+6 ถึง +12V) LED สีนํ้าเงินจะกะพริบ รอจนติดคาง จึงตอสาย USBminiB เขาทีบอร ่ ดและพอรต USB ของคอมพิวเตอร ขันตอนนี ้ สํ้ าคัญมาก จะตองเปดสวิตชจายไฟ และรอให LED สีนําเงิ ้ นติดคางกอนตอสาย

USB เขากับบอรดและคอมพิวเตอร นี่คือคุณสมบัติปกติของอุปกรณ USB ที่จะตองมีการ เตรียมความพรอมของฮารดแวรใหเรียบรอยกอนติดตอกับคอมพิวเตอร

(4.2) หลังจากตอสาย ทีมุ่ มขวาลางของคอมพิวเตอรจะแจงวา ตรวจพบฮารดแวรตัวใหมเปนอุปกรณ USB คอม โพสิต และสอบถามถึงตําแหนงของไฟลไดรเวอรทีต่ องการติดตัง้ ใหคลิกเลือกทีช่ อง Install from a list or specific location (Advanced) จากนันคลิ ้ กทีปุ่ ม Next เพือผ ่ านขันตอนนี ้ ไป ้


 13

(4.3) เลือกตําแหนงของไดรเวอรไปที่ C:\Arduino\Drivers ตามรูป แลวคลิกปุม Next

(4.4) จากนั้นกระบวนการติดตั้งไดรเวอรจะเริมขึ ่ ้น รอจนกระทังเสร็ ่ จ คลิกปุม Finish เพือจบการติ ่ ดตั้ง


14

(4.5) ตรวจสอบตําแหนงของพรอตอนุกรมของบอรด POP-XT ทีเกิ ่ ดขึ้นไดที่ Control Panel > System > Hardware > Device Manager แลวดูทีรายการ ่ Ports จะพบชื่อ Unicon Board & POP-XT (COM xx) จากตัวอยาง คือ COM104

เปนการยืนยันวา การติดตังไดรเวอร ้ ของบอรด Unicon เสร็จสมบูรณ เมือติ ่ ดตังไดรเวอร ้ ไดเรียบรอย บอรด Unicon ก็ พร อมสําหรับการอัปโหลดโปรแกรมจากคอมพิวเตอรเพือทดสอบและเริ ่ ่มตนการเรียนรูเพื่อพัฒนา โปรแกรมควบคุมในลําดับตอไป


 15

5. การติดตังซอฟต ้ แวร Arduino1.0 บนคอมพิวเตอร Macintosh ที่ใชระบบ ปฏิบัติการ OSX 10.6 ขึ้นไป การติดตังซอฟต ้ แวร Arduino1.0 บนคอมพิวเตอร Macintosh มีขันตอนที ้ ไม ่ ซับซอน เนืองจากไฟล ่ ทังหมด ้ ไดรับการบรรจุรวมอยูในไฟล  .ZIP เพียงไฟลเดียว มีขันตอนดั ้ งนี้ (5.1) ดาวนโหลดไฟลติดตั้งสําหรับ MAC OSX จาก www.uniconboard.com เก็บไวทีหน ่ า Desktop (5.2) ทําการแตกไฟล โดยเลือกคําสั่ง Open With > Archive Utility หรือใชซอฟตแวรทีทํ่ าหนาทีใน ่ การแตกไฟล .zip

(5.3) จากการแตกไฟล จะไดเปนไฟล Arduino มีไอคอนดังรูป

(5.4) เปดหนาตาง Finder ลากไอคอน Arduino ไปไวรวมใน Applications


16

(5.5) ดับเบิลคลิ ้ กเพื่อเปดซอฟตแวร Arduino จากนันไปที ้ เมนู ่ Tools เลือก Board เปนรุน POP-XT

(5.6) เปดสวิตชจายไฟแกบอรด Unicon รอจนกระทัง่ LED สีนํ้าเงินติดคาง จากนั้นจึงตอสาย USB เขาที่ บอรด Unicon และพอรต USB ของคอมพิวเตอร Macintosh (5.7) ไปที่เมนู Tools เลือก Serial Port จะพบอุปกรณทีชื่ ่อ /dev/tty.usbmodemxxxx โดย xxxx ทีตาม ่ มาขางหลังอาจจะมีชื่อใด ๆ อยูก็ ได ใหเลือกใชการสื่อสารอนุกรมจากอุปรณตัวนี้

หากไดตามนีแสดงว ้ า การติดตังไดรเวอร ้ ของบอรด Unicon เสร็จสมบูรณ พรอมสําหรับการนําไปใชงาน ตอไป


 17

6. สวนประกอบของหนาจอโปรแกรม Arduino1.0 เมื่อเรียกใหโปรแกรมทํางาน จะมีหนาตาดังรูปที่ 1 ตัวโปรแกรมประกอบดวยสวนตางๆ ดังนี้  เมนู (Menu) ใชเลือกคําสั่งตางๆ ในการใชงานโปรแกรม  แถบเครื่องมือ (Toolbar) เปนการนําคําสั่งที่ใชงานบอยๆ มาสรางเปนปุมเพื่อใหเรียกใชคําสั่งได รวดเร็วขึน้  แถบเลือกโปรแกรม (Tabs) เปนแถบทีใช ่ เลือกไฟลโปรแกรมแตละตัว (กรณีทีเขี ่ ยนโปรแกรมขนาด ใหญประกอบดวยไฟลหลายตัว)  พื้นที่เขียนโปรแกรม (Text editor) เปนพื้นที่สําหรับเขียนโปรแกรมภาษา C/C++  พื้ นทีแสดงสถานะการทํ ่ างาน (Message area) เปนพื้นที่โปรแกรมใชแจงสถานะการทํางานของ โปรแกรม เชน ผลการคอมไพลโปรแกรม

เมนู (Menu) แถบเครืองมื ่ อ (Tools bar) แถบเลือกโปรแกรม (Tab)

พืนที ้ ่สําหรับเขียนโปรแกรม (Text Editor)

พืนที ้ แสดงสถานะการทํ ่ างาน (Message area)

รูปที่ 1 แสดงสวนประกอบของโปรแกรม Arduino1.0

Serial Monitor คลิกเพื่อเปดหนาตาง สําหรับรับและสงขอมูล อนุกรมระหวางฮารดแวร Arduino กับคอมพิวเตอร


18

่ านการคอมไพลแลวมีขนาดกี่ไบต  พื้นที่แสดงขอมูล (Text area) ใชแจงวาโปรแกรมทีผ  ้จะอยูทางมุ  มบนดานขวามือ  ปุ มสําหรับเปดหนาตาง Serial Monitor ปุมนี

คลิกปุมนี  ้เมื่อตองการ เปดหนาตางสื่อสารและแสดงขอมูลอนุกรม โดยตองมีการตอฮารดแวร Arduino และเลือกพอรตการเชื่อมตอให ถูกตองกอน

หนาตาง Serial Monitor มีบทบาทคอนขางมากในการใชแสดงผลการทํางานของโปรแกรมแทน การใชอุปกรณแสดงผลอื่นๆ เนื่องจาก Arduino ไดเตรียมคําสั่งสําหรับใชแสดงคาของตัวแปรทีต่ องการดูผลการ ทํางานไวแลว นั่นคือ Serial.print สวนการสงขอมูลจากคอมพิวเตอรไปยังฮารดแวร Arduino หรือแผงวงจรควบ คุมใหพิมพขอความและคลิกปุม Send ในการรับสงขอมูลตองกําหนดอัตราเร็วในการถายทอดขอมูลหรือบอดเรต (baud rate) ใหกับโปรแกรมในคําสั่ง Serial.begin กรณีทีใช ่ งานกับคอมพิวเตอร Mcintosh หรือคอมพิวเตอรทีติ่ ด ตังระบบปฏิ ้ บัติการ Linux ตัวฮารดแวรของ Arduino จะรีเซ็ตเมื่อเริ่มเปดใชงาน Serial monitor

6.1 เมนูบาร เปนสวนที่แสดงรายการ (เมนู) ของคําสั่งตางๆ ของโปรแกรม ประกอบดวย

6.1.1 เมนู File ใน Arduino จะเรียกโปรแกรมทีพั่ ฒนาขึนว ้ า สเก็ตช (Sketch) และในโปรแกรมของผูใชงานอาจมีไฟล โปรแกรมหลายตัว จึงเรียกรวมวาเปน สเก็ตชบุก (Sketchbook) ในเมนูนีจะเกี ้ ยวข ่ องกับการเปด-บันทึก-ปดไฟลดงนี ั ้  New : ใชสรางไฟลสเก็ตชตัวใหม เพือเริ ่ ่มเขียนโปรแกรมใหม  Open ใชเปดสเก็ตชทีบั ่ นทึกไวกอนหนานี้  Sketchbook : ใชเปดไฟลสเก็ตชลาสุดที่เปดใชงานเสมอ  Example : ใชในการเลือกเปดไฟลสเก็ตชตัวอยางทีบรรจุ ่ และรวบรวมไวในโฟลเดอรของโปรแกรม Arduino1.0


 19  Save : ใชในการบันทึกไฟลสเก็ตชปจจุบัน

่ ่อไฟล  Save as : ใชบันทึกไฟลสเก็ตชโดยเปลียนชื  POP-BOT XT  Upload to I/O board : ใชอัปโหลดโปรแกรมไปยังแผงวงจร POP-XT ในหุนยนต หรือฮารดแวรของ Arduino Leonardo  Page setup : ตั้งคาหนากระดาษของไฟลสเก็ตชปจจุบัน  Print : สั่งพิมพโคดของไฟลสเก็ตชปจจุบันออกทางเครืองพิ ่ มพ  Preference : ใชกําหนดคาการทํางานของโปรแกรม  Quit : ใชจบการทํางานและออกจากโปรแกรม

6.1.2 เมนู Edit ในขณะทีพิ่ มพโปรแกรม สามารถใชคําสังในเมนู ่ นีในการสั ้ งยกเลิ ่ กคําสังที ่ แล ่ ว ทําซํา้ ฯลฯ มีเมนูตางๆ ดังนี้ ้ ดทาย  Undo : ยกเลิกคําสั่งหรือการพิมพครังสุ ้ ดทาย  Redo : ทําซํ้าคําสั่งหรือการพิมพครังสุ  Cut : ตัดขอความที่เลือกไวไปเก็บในคลิปบอรดของโปรแกรม  Copy : คัดลอกขอความที่เลือกไวมาเก็บในคลิปบอรด  Paste : นําขอความที่อยูในคลิ  ปบอรดมาแปะลงในตําแหนงที่เคอรเซอรชี้อยู  Select All : เลือกขอความทั้งหมด  Comment/Uncomment : ใชเติมเครืองหมาย ่ // เพือสร ่ างหมายเหตุหรือคําอธิบายลงในโปรแกรม หรือยกเลิกหมายเหตุดวยการนําเครืองหมาย ่ // ออก  Find : คนหาขอความ  Find Next : คนหาขอความถัดไป

6.1.3 เมนู Sketch เปนเมนูทีบรรจุ ่ คําสั่งที่ใชในการคอมไพลโปรแกรม เพิมไฟล ่ ไลบรารี ฯลฯ โดยมีเมนูยอยดังนี้  Verify/Compile : ใชคอมไพลแปลโปรแกรมภาษาซีใหเปนภาษาเครือง ่  Stop : หยุดการคอมไพลโปรแกรม ่ ใหกับสเก็ตชบุกป  จจุบัน เมื่อใชคําสั่งนี้โปรแกรม Arduino จะทําการคัดลอก  Add file : เพิมไฟล ไฟลทีเลื ่ อกไวมาเก็บไวในโฟลเดอรเดียวกันกับโปรแกรมทีกํ่ าลังพัฒนา  Import Library : เปนคําสังเรี ่ ยกใชไลบรารีเพิมเติ ่ ม เมือคลิ ่ กเลือกคําสังนี ่ แล ้ ว โปรแกรม Arduino IDE จะแสดงไลบรารีใหเลือก เมือเลื ่ อกแลว โปรแกรมจะแทรกบรรทัดคําสัง่ #include ลงในสวนตนของไฟล  Show Sketch folder : สังเป ่ ดโฟลเดอรทีเก็ ่ บโปรแกรมของผูใช 


20

6.1.4 เมนู Tools ใชจัดรูปแบบของโคดโปรแกรม, เลือกรุนของฮาร  ดแวรไมโครคอนโทรลเลอร Arduino หรือเลือกพอรต อนุกรม เมนูทีใช ่ งานกับบอรด Unicon มีดังนี้ ้ าเยืองขวา ้ จัดตําแหนงวงเล็บ  Auto Format : จัดรูปแบบของโคดโปรแกรมใหสวยงาม เชน กันหน ปกกาปดใหตรงกับปกกาเปด ถาเปนคําสังที ่ อยู ่ ภายในวงเล็  บปกกาเปดและปดจะถูกกันหน ้ าเยืองไปทางขวามากขึ ้ น้  Archive Sketch : สั่งบี บอัดไฟลโปรแกรมทั้งโฟลเดอรหลักและโฟลเดอรยอยของไฟลสเก็ตช ปจจุบัน ไฟลทีสร ่ างใหมจะมีชือเดี ่ ยวกับไฟลสเก็ตชปจจุบันตอทายดวย -510123.zip ่ บสเก็ตชบุกป  จจุบัน  Export Folder : สั่งเปดโฟลเดอรทีเก็ ่ คื้ อ Unicon Board ทีพั่ ฒนา  Board : เลือกฮารดแวรของบอรดไมโครคอนโทรลเลอร Arduino ในทีนี ขึนโดยบริ ้ ษัท อินโนเวตีฟ เอ็กเพอริเมนต จํากัด หรือ inex ซึ่งเขากันไดกับฮารดแวร Arduini Leomardo  Serial Port : เลือกหมายเลขพอรตอนุกรมของคอมพิวเตอรทีใช ่ ติดตอกับฮารดแวร Arduino รวม ถึงบอรด Unicon

6.1.5 เมนู Help เมื่อตองการความชวยเหลือ หรือขอมูลเกียวกั ่ บโปรแกรมใหเลือกเมนูนี้ เมื่อเลือกเมนูยอย ตัวโปรแกรม จะเปดไฟล เว็ บเพจ (ไฟลนามสกุล .html) ทีเกี ่ ่ยวของกับหัวขอนั้นๆ โดยไฟลจะเก็บในเครืองของผู ่ ใชภายใน โฟลเดอรทีเก็ ่ บ Arduino IDE

6.2 แถบเครื่องมือ (ทูลบาร : Tools bar) สําหรับคําสั่งที่มีการใชบอยๆ ตัวโปรแกรม Arduino1.0 จะนํามาสรางเปนปุมบนแถบเครืองมื ่ อ เพือให ่ สามารถคลิกเลือกไดทันที ปุมต  างๆ บนแถบเครืองมื ่ อมีดังนี้ Verfy/Compile ใชตรวจสอบการเขียนคําสั่งในโปรแกรมวา มีถูกตองตามหลักไวยกรณหรือ ไม และคอมไพลโปรแกรม Upload to I/O Board ใชอัปโหลดโปรแกรมทีเขี ่ ยนขึนไปยั ้ งบอรดหรือฮารดแวร Arduino กอนจะอัปโหลดไฟล ตองแนใจวาไดบันทึกไฟลและคอมไพลไฟลสเก็ตชเรียบรอยแลว New ใชสรางสเก็ตไฟล (ไฟลโปรแกรม) ตัวใหม Open ใชแทนเมนู File > Sketchbook เพือเป ่ ดสเก็ตช (ไฟลโปรแกรม) ทีมี่ ในเครือง ่ Save ใชบันทึกไฟลสเก็ตชบุกที  เขี ่ ยนขึน้


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.