เตรียมสอบ
ราชการ ก.พ. ตามหลักเกณฑ์ใหม่
ฉบับสมบูรณ์
สําหรับเตรียมสอบ เข้าราชการ (ภาค ก.) ในสังกัด ก.พ. ทุกกระทรวง ทุกกรม
รวมพื้ นฐาน อัพเทคนิค เก็งโจทย์แม่น + เฉลยละเอียด
สอบผ่านใน เล่มเดียว
โดย รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร
หนังสือเตรียมสอบ
ราชการ ก.พ. ตามหลักเกณฑ์ใหม่
ฉบับสมบูรณ์
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะ การเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ ผู้แต่ง : รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร ร่วมกับ ทีมวิชาการไอเรียน บรรณาธิการ : ธันญ์ชกร กัปโก ศิลปกรรม : วริยา ธงแก้ว พิสูจน์อักษร : นัฐพงษ์ ปุตติสังคะ เทคนิคการผลิต : นัทมน แก้วประภา ผู้รับผิดชอบจัดพิมพ์ : นัฐพงษ์ ปุตติสังคะ สานักพิมพ์ : ไอเรียน อคาเดมี่ เลขที่ 202 ถนน สุรวงศ์ แขวง สี่พระยา เขต บางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ 02 668 0199 , อีเมล์ irearn@dhas.com และ เว็บไซต์ www.irearn.com บริษัท ดีเอชเอเอส เอ็ดดูเคชั่น จากัด
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
202 ถนน สุรวงศ์ แขวง สี่พระยา เขต บางรัก
ข้อมูลทางบรรณานุกรม
กรุงเทพมหานคร 10500
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และ ลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์.— กรุงเทพฯ : ไอเรียนฯ, 2564. 121 หน้า
โทรศัพท์ 02 668 0199 ร้านค้าและตัวแทนจาหน่าย ติดต่อ โทรศัพท์ 02 668 0123 ต่อ 5212 หรือ อีเมล์ irearn@dhas.com
ISBN 978-616-93809-0-0
คานา วิชาความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี หรือ ที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า วิชา กฏหมาย เป็นหนึ่งวิชา สาหรับการเข้ารับการทดสอบวัดผลเข้ารับราชการ ก.พ. ภาค ก. ที่ผู้ที่ต้องการเข้ารับ ปฏิบัติงานราชการ ทุกตาแหน่ง จาเป็นต้องทาคะแนนให้ผ่านตามเกณฑ์ที่กาหนด ก่อนไปสู่สนาม สอบ ภาค ข. ตามหน่วยงานราชการที่ตนใฝ่ฝันต่อไป โดยวิชาความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดีนั้น ได้มีการปรับเปลี่ยนหัวข้อ และเรื่อง ที่จะออกทดสอบอยู่เสมอ เพื่อให้ผู้ต้องการเป็นข้าราชการต้องทราบและพึ่งปฏิบัติ พร้อมทั้งทราบ ถึงหลักเกณฑ์ใหม่ๆที่มีการแก้ไข ในพระราชบัญญัติและพระราชกฤษฏีกา ที่ออกมาใบในแต่ละฉบับ ทั้งแบบดั่งเดิมและแบบฉบับที่มีการแก้ไข ซึ่งต้องศึกษาทาความเข้าใจและจารายละเอียด ค่อนข้างมาก ส่งผลให้ข้อสอบวิชานี้ ยาก และมีสัดส่วนจานวนผู้สอบผ่านในแต่ละปีไม่ถึงจานวนที่ เปิดรับจริง ทางทีมงานวิชาการ จึงจัดทาขึ้นมา เพื่อให้หนังสือตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และ ลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ เป็นหนังสือที่รวบรวมหัวข้อ และ เกณฑ์ข้อสอบที่ทันสมัยและครบถ้วนสมบูรณ์ที่สุด ณ ปัจจุบัน ครอบคลุมการสอบทุกตาแหน่ง รวมถึง กฏหมายที่เกี่ยวข้องที่ควรทราบ เสริมภูมิต้านทาน พิชิตสนามสอบ ให้ท่านสอบผ่านดั่งที่ มุ่งหวังไว้
ทีมงานวิชาการไอเรียน
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
บทที่ 8
สารบัญ บทที่ 1 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พุทธศักราช 2534 ………………………... 1 บทที่ 2 พ.ร.ฎ. หลักเกณฑ์และวิธีการการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
พ.ศ. 2546 ……………….
22
บทที่ 3 พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ……………………………………. 31 บทที่ 4 พระราชบัญญัติมาตราฐานจริยธรรม พ.ศ. 2562 …………………………………………………. 53 บทที่ 5 ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 …………………………………………………. 72 บทที่ 6 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ……………………………………………………………………………………… 77 บทที่ 7 แผนปฏิรูปประเทศ ………………………………………………………………………………………….. 91 บทที่ 8 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ………………………………………………………………………………… 100 แบบทดสอบท้ายเล่ม …………………………………………………………………………………………….. 112
ระเบียบการบริหารราชการแผ่นดิน
บทที่ 1
บทที่ 1 พระราชบัญญัติระเบียบบริหาร
ราชการแผ่นดิน พุทธศักราช 2534 (แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 8 พ.ศ. 2553)
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
0
บทที่ 1
ระเบียบการบริหารราชการแผ่นดิน
ระเบียบการบริหารราชการแผ่นดิน
1
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
ระเบียบการบริหารราชการแผ่นดิน
บทที่ 1
เหตุผลของการมี กฎหมาย • กาหนด ขอบเขตอานาจหน้าที่ของส่วนราชการต่าง ๆ ให้ชัดเจน • เพือ่ มิให้มีการปฏิบัติงานซ้าซ้อนกันระหว่าง ส่วนราชการต่าง ๆ • เพือ่ ให้การบริหารงานในระดับกระทรวงมีเอกภาพสามารถดาเนินการให้เป็นไปตามนโยบาย ที่รัฐมนตรีกาหนดได้ • สมควรเพิ่มบทบัญญัติเกี่ยวกับการมอบอานาจให้ปฏิบัติ ราชการแทนให้ครบถ้วนชัดเจนเพื่อไม่ให้ เป็นอุปสรรคในการปฏิบัติราชการ • ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ ๒๑๘ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๕ ซึ่งเป็นกฎหมาย หลักในการบริหารราชการแผ่นดินได้ประกาศใช้บังคับมาเป็นเวลานาน แล้ว สมควรแก้ไข ปรับปรุงเป็นพระราชบัญญัติ
พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
2
บทที่ 1
ระเบียบการบริหารราชการแผ่นดิน
การบริหารราชการแผ่นดิน
ส่วนกลาง
3
การเปลี่ยนแปลง
กฎหมายที่ใช้ในการดาเนินการ
จัดตั้ง / รวม /โอน กระทรวง กรม
พระราชบัญญัติ
รวม / โอน กระทรวง กรม (กรณีไม่เพิ่มตาแหน่ง)
พระราชกฤษฎีกา
เปลี่ยนชื่อ / ยุบกระทรวง /กรม
พระราชกฤษฎีกา
แบ่งส่วนราชการภายใน กรม
กฎกระทรวง
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
ระเบียบการบริหารราชการแผ่นดิน
บทที่ 1
ทาความเข้าใจลาดับของกฎหมาย รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ - ออกโดย รัฐสภา พระราชบัญญัติ - ออกโดย รัฐสภา พระราชกาหนด - ออกโดย ครม. กรณี ฉุกเฉิน เมื่อรัฐสภาเปิดต้องรีบเสนอเข้าสภา พระราชกฤษฎีกา - ออกโดย คณะรัฐมนตรี กฎกระทรวง - ออกโดย รมต.
สานักนายกรัฐมนตรี สานักปลัด นายกรัฐมนตรี • ราชการประจา • ปลัดสานัก นายกรัฐมนตรี • รองปลัดฯ • ผู้ช่วยปลัดฯ • ทั้งหมดเป็นพ เรือนสามัญ
สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี • ราชการการเมือง • เลขาธิการนายกรัฐมนตรี (ข.การเมือง) • รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายการเมือง (ข การเมือง) • รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายบริหาร(ข.พลเรือนสามัญ) • ผู้ช่วยเลขาธิการนายรัฐมนตรี (ข.พลเรือนสามัญ)
สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี • ราชการของ ครม. รัฐสภา ในพระองค์ • เลขาธิการคณะรัฐมนตรี • รองเลขาธิการฯ • ผู้ช่วยเลขาธิการ • ทั้งหมดเป็นข้าราชการพล เรือนสามัญ
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
4
บทที่ 1
ระเบียบการบริหารราชการแผ่นดิน
ประเภทข้าราชการ ข้าราชการการเมือง
ข้าราชการพลเรือนสามัญ
เลขาธิการนายกรัฐมนตรี
เลขาธิการคณะรัฐมนตรี รองเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง
รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายบริหาร ผู้ช่วยเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ผู้ช่วยเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
สานักปลัดสานัก
สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
อานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการ
อานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการทาง
อานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการของ
ประจาทั่วไป
การเมือง ในการปฏิบัติราชการขึ้น
คณะรัฐมนตรี รัฐสภา และราชการใน
กากับ เร่งรัด นโยบาย แผน
ตรงต่อนายกรัฐมนตรี
พระองค์
นายกรัฐมนตรี
- คลัง กจ. กลาง กฎหมาย - ข้อมูลข่าวสาร - กระจายอานาจ - เอกลักษณ์แห่งชาติ - ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ พอเพียง
5
- กองงานนายก
- การประชุมคณะรัฐมนตรี
- งานพิธี
- การแจ้งมติคณะรัฐมนตรี
- งานโฆษก
- การประสานกับรัฐสภา
- ประสานงานการเมือง
- การขอพระราชทาน
- งานต่างประเทศ - ยานพาหนะ รักษาความ ปลอดภัย
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ - การตราพระราชกฤษฎีกายุบสภา - การเปิดปิดสมัยประชุมรัฐสภา
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
ระเบียบการบริหารราชการแผ่นดิน
บทที่ 1
การจัดระเบียบราชการใน กระทรวง 1. สานักงานรัฐมนตรี (เลขานุการรัฐมนตรี) 2. สานักงานปลัดกระทรวง (ปลัดกระทรวง) 3. กรม (หรือเรียกชื่ออื่น) (อธิบดี) ***2 และ 3 เทียบเท่ากรม*** ❖ ปลัดกระทรวง ❖ รองปลัดกระทรวง ❖ กลุ่มภารกิจ (ออกโดยกฎกระทรวง รวม 2 กรมขึ้นไป) ดูแลโดย รองปลัดกระทรวง ❖ อธิบดี (การแต่งตั้งให้ รมต.เจ้าสังกัดเสนอ ครม.เพื่อพิจารณาอนุมัติ) ❖ เลขานุการรัฐมนตรี เป็นข้าราชการการเมือง บังคับบัญชา สานักงานรัฐมนตรี
การจัดระเบียบราชการใน กรม ❖ แบ่งส่วนราชการ เป็น สานักงานเลขานุการกรม และ กอง ❖ กรม อาจแบ่งท้องที่ออกเป็นเขตได้ (ตราโดยพระราชกฤษฎีกา) ❖ กระทรวง หรือ กรมใด มีสภาพและปริมาณงานเหมาะสมก็ให้มีผู้ตรวจราชการกระทรวง กรม ได้
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
6
บทที่ 1
ระเบียบการบริหารราชการแผ่นดิน
❖ ส่วนราชการที่เรียกชื่ออื่นและมีฐานะเป็นกรม อาจมีตาแหน่งบริหาร เป็น เลขาธิการ ผู้อานวยการ หรือ เรียกชื่ออื่น เทียบเท่า ปลัดกระทรวงหรือ อธิบดีได้
ตาแหน่งหัวหน้าส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกรม แต่มีหัวหน้าส่วนเทียบเท่า ปลัดกระทรวง • เลขาธิการคณะรัฐมนตรี • เลขาธิการสานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน • เลขาธิการสานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ • ผู้อานวยการสานักงบประมาณ • เลขาธิการสานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
หน่วยบริการรูปแบบพิเศษ • SDU. Service Delivery Unit • เป็นหน่วยงานให้บริการภายในของระบบราชการ โดยมีลักษณะกึ่งอิสระ แต่ไม่มีสถานะเป็น นิติบุคคล • เพื่อการส่งเสริมประสิทธิภาพการพัฒนาระบบราชการ
7
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
ระเบียบการบริหารราชการแผ่นดิน
บทที่ 1
• มีลักษณะงานเป็นการให้บริการ รายได้ไม่ต้องนาส่งคลัง • ปัจจุบันมี 2 หน่วยงาน คือ สถาบันส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี สังกัดสานักงาน คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ และ สานักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจา นุเบกษา สังกัดสานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
การปฏิบัติราชการแทน
การปฏิบัติราชการ
ความหมาย การที่ผู้บังคับบัญชามอบอานาจในการบริหารราชการให้แก่ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติ
การปฏิบัตริ าชการแทน
ราชการแทน โดยทีผ่ ู้รับมอบอานาจให้ปฏิบัติราชการแทนมีอานาจเช่นเดียวกับผู้ทรง อานาจที่ดารงตาแหน่ง ซึ่งเป็นผู้มอบอานาจให้ปฏิบัติราชการแทนนัน้ ทุกประการ กรณีที่ไม่มผี ู้ดารงตาแหน่งหรือมีแต่ไม่สามารถปฏิบตั ิราชการได้ ผู้บงั คับบัญชาซึ่งมี
การรักษาราชการแทน
อานาจ ได้มีการแต่งตั้งให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งตามที่กฎหมายกาหนดเข้าไปรักษา ราชการแทนในตาแหน่งนั้น
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
8
บทที่ 1
ระเบียบการบริหารราชการแผ่นดิน
การรักษาราชการแทน ผู้ครองตาแหน่ง
นายกรัฐมนตรี
รัฐมนตรี
เลขานุการรัฐมนตรี
รองนายกรัฐมนตรี มอบหมายให้
(กรณีมีหลายรองฯ ให้ ครม.
รัฐมนตรีช่วย
ผู้ช่วยเลขานุการ รัฐมนตรี
มอบให้รองคนใดคนหนึ่ง)
กรณีผู้รับมอบไม่มี
9
ครม.มอบให้ รัฐมนตรีคนใด คนหนึ่ง
ครม.มอบหมาย
รัฐมนตรี แต่งตั้ง
ให้รัฐมนตรีคนใด
ข้าราชการคนใดคน
คนหนึ่ง
หนึ่ง
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
ระเบียบการบริหารราชการแผ่นดิน
บทที่ 1
ส่วนภูมิภาค การเปลี่ยนแปลง
กฎหมายที่ใช้ในการดาเนินการ
ตั้ง / ยุบ / เปลี่ยนแปลงเขต จังหวัด
พระราชบัญญัติ
ตั้ง / ยุบ / เปลี่ยนเขต อาเภอ
พระราชกฤษฎีกา
การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค ❖ แบ่งเป็น จังหวัด อาเภอ ❖ กลุ่มจังหวัด (cluster) ❖ จังหวัดและกลุ่มจังหวัด ให้ถือเป็นส่วนราชการ ตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ สามารถยื่นคาของบประมาณได้
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
10
บทที่ 1
ระเบียบการบริหารราชการแผ่นดิน
กลุ่มจังหวัดในการบริหารราชการไทย
11
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
ระเบียบการบริหารราชการแผ่นดิน
บทที่ 1
ภาคที่ 1 ภาคกลาง • กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน ประกอบด้วย จังหวัดชัยนาท จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัด ลพบุรี จังหวัดสิงห์บุรี จังหวัดสระบุรี และจังหวัดอ่างทอง โดยให้จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นศูนย์ ปฏิบัติการของกลุม่ จังหวัด • กลุ่มจังหวัดภาคกลางปริมณฑล ประกอบด้วย จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานีจังหวัดนครปฐม และ จังหวัดสมุทรปราการโดยให้จังหวัดนครปฐมเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด • กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1 ประกอบด้วย จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดราชบุรี และจังหวัด สุพรรณบุรี โดยให้จังหวัดราชบุรเี ป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด • กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 2 ประกอบด้วย จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ จังหวัดเพชรบุรี จังหวัด สมุทรสงคราม และจังหวัดสมุทรสาคร โดยให้จังหวัดเพชรบุรีเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด
ภาคใต้ • กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย ประกอบด้วย จังหวัดชุมพร จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดพัทลุง จังหวัด สุราษฎร์ธานี และจังหวัดสงขลาโดยให้จังหวัดสุราษฎร์ธานีเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุม่ จังหวัด • กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน ประกอบด้วย จังหวัดกระบี่ จังหวัดตรัง จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต จังหวัด ระนอง และจังหวัดสตูล โดยให้จังหวัดภูเก็ตเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด
ภาคใต้ชายแดน • กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน ประกอบด้วย จังหวัดนราธิวาส จังหวัด ปัตตานี และจังหวัดยะลา โดยให้ จังหวัดยะลาเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
12
บทที่ 1
ระเบียบการบริหารราชการแผ่นดิน
ภาคตะวันออก • กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก 1 ประกอบด้วย จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี และจังหวัดระยอง โดยให้ จังหวัดชลบุรเี ป็นศูนย์ปฏิบตั ิการของกลุ่มจังหวัด • กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก2 ประกอบด้วย จังหวัดจันทบุรี จังหวัดตราด จังหวัดนครนายก จังหวัด ปราจีนบุรี และจังหวัดสระแก้ว โดยให้จังหวัดปราจีนบุรีเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ • กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 ประกอบด้วย จังหวัดเลย จังหวัดหนองคาย จังหวัดบึงกาฬ จังหวัดหนองบัวลาภู และจังหวัดอุดรธานี โดยให้จังหวัดอุดรธานีเป็นศูนย์ ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด • กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2 ประกอบด้วย จังหวัดนครพนม จังหวัด มุกดาหาร และจังหวัดสกลนคร โดยให้จังหวัดสกลนครเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด • กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง ประกอบด้วย จังหวัดกาฬสินธุ์ จังหวัด ขอนแก่น จังหวัดมหาสารคาม และจังหวัดร้อยเอ็ด โดยให้จังหวัดขอนแก่นเป็นศูนย์ ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด • กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1 ประกอบด้วย จังหวัดนครราชสีมา จังหวัด ชัยภูมิ จังหวัดบุรีรัมย์ และจังหวัดสุรินทร์ โดยให้จังหวัดนครราชสีมาเป็นศูนย์ปฏิบัติการของ กลุ่มจังหวัด • กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2 ประกอบด้วย จังหวัดยโสธร จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดอานาจเจริญ และจังหวัดอุบลราชธานี โดยให้จังหวัดอุบลราชธานีเป็นศูนย์ ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด
13
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
ระเบียบการบริหารราชการแผ่นดิน
บทที่ 1
ภาคเหนือ • กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 ประกอบด้วย จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดแม่ฮ่องสอน จังหวัด ลาปาง และจังหวัดลาพูน โดยให้จังหวัดเชียงใหม่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด • กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 ประกอบด้วย จังหวัดเชียงราย จังหวัดน่าน จังหวัดพะเยา และจังหวัดแพร่ โดยให้จังหวัดเชียงรายเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด • กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ประกอบด้วย จังหวัดตาก จังหวัดพิษณุโลก จังหวัด เพชรบูรณ์ จังหวัดสุโขทัย และจังหวัดอุตรดิตถ์ โดยให้จังหวัดพิษณุโลกเป็นศูนย์ปฏิบัติการ ของกลุ่มจังหวัด • กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 2 ประกอบด้วย จังหวัดกาแพงเพชร จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดพิจิตร และจังหวัดอุทัยธานี โดยให้จังหวัดนครสวรรค์เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่ม จังหวัด
คณะกรมการจังหวัด ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการจังหวัด ❖ ผู้ว่า ❖ รองผู้ว่า 1 คน ที่ได้รับมอบหมาย ❖ ปลัดจังหวัด ❖ อัยการจังหวัด ❖ ผู้บังคับการตารวจภูธรจังหวัด ❖ หัวหน้าส่วนราชการประจาจังหวัด ❖ หัวหน้าสานักงานจังหวัดเป็นกรรมการและเลขานุการ
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
14
บทที่ 1
ระเบียบการบริหารราชการแผ่นดิน
คณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด (ก.ธ.จ.) มีทกุ จังหวัด ยกเว้น กทม. ❖ ผู้ตรวจราชการ สานักนายกรัฐมนตรี ประธาน ❖ ผู้แทนภาคประชาสังคม ❖ ผู้แทนสมาชิกสภาท้องถิ่น ❖ ผู้แทนภาคเอกชน
สอดส่องและเสนอแนะ การปฏิบัติภารกิจของหน่วยราชการ ให้เป็นไปตามหลักการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี พบ > แจ้งผู้ว่า แจ้งหัวหน้าส่วนส่วนราชการ
15
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
ระเบียบการบริหารราชการแผ่นดิน
บทที่ 1
การรักษาราชการแทน ใน จังหวัด
การแบ่งส่วนราชการของจังหวัด หน่วยงาน
หน้าที่
ผู้บังคับบัญชา
สานักงานจังหวัด
ราชการทั่วไป วางแผนพัฒนาจังหวัด
หัวหน้าสานักงานจังหวัด
ส่วนต่างๆของ
ตามหน้าที่ของ กระทรวง ทบวง กรม
หัวหน้าส่วนราชการ
กระทรวง ทบวง กรม
ประจาจังหวัด
อาเภอ • หน่วยบริหารรองจากจังหวัด • ตั้ง ยุบ เปลี่ยนเขต ตราเป็น พระราชกฤษฎีกา • นอกจากอานาจและหน้าที่ เหมือนจังหวัดแล้ว ยังมีเรื่อง ศูนย์บริการร่วม ประสาน อปท.ทา แผนชุมชุน และการไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาท
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
16
บทที่ 1
ระเบียบการบริหารราชการแผ่นดิน
ศูนย์บริการร่วม • Service Link รวมการบริการของหลายหน่วยราชการไว้ในที่เดียว โดยเป็นการบริการอีเล็กทรอนิกส์เชื่อมโยงผ่านระบบอินเตอร์เน็ต • One stop service รวมขั้นตอนการบริการหลายขั้นตอนของหน่วย ราชการหนึ่งให้จบเบ็ดเสร็จในขั้นตอนเดียว
แผนชุมชน • แผนชุมชนเป็นเครื่องมือสาหรับหมู่บ้าน/ชุมชน ในการพัฒนาตนเองและเป็นเครื่องมือ สาหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาชนบทใช้ในการส่งเสริมการพัฒนาที่มีหมู่บ้าน/ ชุมชนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา(community-based development) ซึ่งเป็นการ พัฒนาที่จะตอบสนองต่อปัญญาและความต้องการของชุมชนได้ตรงตามความต้องการของ คนในหมู่บ้าน/ชุมชนอย่างแท้จริง
คณะบุคคลผู้ทาหน้าที่ไกล่เกลี่ย และประนอมข้อพิพาทของประชาชน (ระดับอาเภอ) ❖ เฉพาะเรื่องพิพาททางแพ่ง ไม่เกิน 200,000 บาท ❖ นายอาเภอ โดยเห็นชอบจากกรมการจังหวัด จัดทาบัญชีรายชื่อ คัดจากคนที่มีความรู้ / ประสบการณ์ ❖ คู่พิพาทเลือกชื่อผู้ไกล่เกลี่ยจากบัญชี ฝ่ายละ 1 คน มี นายอาเภอ / อัยการจังหวัดหรือปลัดอาเภอเป็นประธาน ❖ รวมความผิดทางอาญา ที่ยอมความได้ และไม่ใช่ความผิดทางเพศ
17
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
ระเบียบการบริหารราชการแผ่นดิน
บทที่ 1
การรักษาราชการแทน ใน อาเภอ นายอาเภอ > ปลัดอาเภอ หรือ หน.ส่วนราชการประจาอาเภอผู้มีอาวุโส
การแบ่งส่วนราชการของอาเภอ หน่วยงาน
หน้าที่
ผู้บังคับบัญชา
สานักงานอาเภอ
ราชการทั่วไป
นายอาเภอ
ส่วนต่างๆของ กระทรวง
ตามหน้าที่ของ กระทรวง
หัวหน้าส่วนราชการประจา
ทบวง กรม ในอาเภอ
ทบวง กรม
อาเภอ
ส่วนท้องถิ่น
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
18
บทที่ 1
ระเบียบการบริหารราชการแผ่นดิน
ข้อมูล ณ วันที่ ๙ กันยายน ๒๕๖๓ รวบรวมโดย : กลุม่ งานกฎหมายและระเบียบท้องถิ่น ๒ กองกฎหมายและระเบียบท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.)
19
•
นายกรัฐมนตรี / รองนายกที่ได้รับมอบหมาย : ประธาน
•
รมต. ที่นายกฯกาหนด : รองประธาน
•
ผู้แทน คณะกรรมการกระจายอานาจ
•
ผู้ทรงคุณวุฒิ ไม่เกิน 10 คน
•
เลขาธิการ ก.พ.ร. เป็นกรรมการและเลขานุการ
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
ระเบียบการบริหารราชการแผ่นดิน
บทที่ 1
อำนาจ หน้าที่ ก.พ.ร. ❖ เสนอแนะ / ให้คาปรึกษา ครม. เกี่ยวกับการพัฒนา ระบบราชการ ❖ โครงสร้าง ❖ ระบบงบประมาณ ❖ ระบบบุคลากร ❖ มาตรฐานจริยธรรม ❖ เสนอแนะ ครม. ในเรื่อง จัดตั้ง รวมโอน ยุบเลิก แบ่งส่วนราชการ ❖ ติดตามประเมินผล ❖ คารับรองการปฏิบัติราชการ ❖ ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติราชการ (KPI.) (Key Performance Indicators) ❖ การประเมินผล โดยบุคคลภายนอก (Third Party) ❖ บริษัท TRIS (Thai Rating and Information Service) ❖ SAR (Self Assessment Report)
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
20
ระเบียบการบริหารราชการแผ่นดิน
แผนผังสรุป ระเบียบการบริการราชการแผ่นดิน พุทธศักราช 2534
บทที่ 1
21
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
พ.ร.ฎ. หลักเกณฑ์และวิธีการการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 , 2562
บทที่ 2
บทที่ 2 พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และ
วิธีการการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 และ พ.ศ. 2562
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
22
บทที่ 2
พ.ร.ฎ. หลักเกณฑ์และวิธีการการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 , 2562
The Worldwide Governance Indicators (WGI) (เฉพาะ ประเทศไทย)
หลัก 10 ประการของ Good Governance
23 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
พ.ร.ฎ. หลักเกณฑ์และวิธีการการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 , 2562
บทที่ 2
TIMELINE การแก้ไขเพิ่มเติม พรฎ. การบริหารกิจการบ้านเมืองทีดี
กรอบแนวคิดในการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี 1. เพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของประชาชน 2. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ 3. มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ 4. ไม่มีขั้นตอนในการปฏิบัติงานเกินความจาเป็น 5. มีการปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อสถานการณ์ 6. ประชาชนได้รับความอานวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองต่อความต้องการ 7. มีการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างสม่าเสมอ
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
24
บทที่ 2
พ.ร.ฎ. หลักเกณฑ์และวิธีการการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 , 2562
การบริหารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน -
ประชาชนเป็นศูนย์กลาง (people center) กาหนดภารกิจ ที่สอดคล้องนโยบายรัฐ และ นโยบาย ครม. วิเคราะห์ผลดีผลเสียให้ครบถ้วนทุกด้าน โปร่งใส ตรวจสอบได้ (transparency) รับฟังความเห็นจากประชาชน ปรับปรุงปัญหาอุปสรรคจากการดาเนินการ
การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิต์ ่อภารกิจของรัฐ - การจัดทาแผนปฏิบัติราชการ - รายละเอียดขั้นตอน - ระยะเวลา และ งบประมาณ - เป้าหมายภารกิจ - ผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ - ตัวชี้วัดความสาเร็จของภารกิจ - มีระบบการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติราชการ
25 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
พ.ร.ฎ. หลักเกณฑ์และวิธีการการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 , 2562
บทที่ 2
การบริหารที่มุ่งผลสัมฤทธิ์
Key Performance Indicators (KPIs.) ตัวชี้วัดความสาเร็จของภารกิจ ยึดตามหลัก Balanced Scorecard โดยจาแนกเป็น 4 มิติ มิติภายนอก • การประเมินประสิทธิผล • การประเมินคุณภาพ มิติภายใน • การประเมินประสิทธิภาพ • การประเมินการพัฒนาองค์การ ประสิทธิผล คุณภาพ ประสิทธิภาพ
-
ความสาเร็จในการทางานตามยุทธศาสตร์แผนและพันธกิจ ความพึงพอใจของผู้รับบริการ การเบิกจ่ายงบประมาณ การประหยัดพลังงาน การประหยัดน้า การพัฒนาประสิทธิภาพระบบสารสนเทศภาครัฐ
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
26
บทที่ 2
พ.ร.ฎ. หลักเกณฑ์และวิธีการการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 , 2562
การพัฒนาองค์การ
- การพัฒนาสมรรถนะองค์การ ระดับคุณธรรมและความโปร่งใส การ ดาเนินงานของหน่วยงาน
กรอบในการประเมิน ปี 62-63 Function Base ประสิทธิภาพตามหลักภารกิจ Agenda Base ประสิทธิภาพตามยุทธศาสตร์ นโยบาย Area Base ประสิทธิภาพตามหลักพื้นที่ Innovation Base ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการนวัตกรรม Potential Base ศักยภาพการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
การบริหารราชการเพื่อ ให้เกิดผลสัมฤทธิต์ ่อภารกิจของรัฐ - การบูรณาการร่วมกันของหน่วยราชการ ▪ กลุ่มจังหวัด ▪ กลุ่มภารกิจ - การสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) - การสร้างคารับรองการปฏิบัติราชการ - ในกรณีที่ส่วนราชการใด ไม่เสนอแผนปฏิบัติราชการมิให้ สานักงบประมาณจัดสรร งบประมาณให้
KM Knowledge Management การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กร ซึ่งกระจัดกระจายมาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึง ความรู้ได้โดยง่าย 27 23
LO Learning Organization องค์การที่มีศักยภาพความพร้อมรับการ เปลี่ยนแปลง บนพื้นฐาน การใฝ่รู้ และ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของสมาชิกใน องค์การ
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
พ.ร.ฎ. หลักเกณฑ์และวิธีการการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 , 2562
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
บทที่ 2
28
บทที่ 2
พ.ร.ฎ. หลักเกณฑ์และวิธีการการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 , 2562
การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพและความคุ้มค่า -
การจัดทาบัญชีต้นทุนในงานบริการสาธารณะ (Unit Cost) ทาแผนการลดรายจ่าย ให้มีการประเมินความคุ้มค่า ในการปฏิบัติงาน ให้มีการจัดซื้อ จัดจ้าง โดยเปิดเผยและเที่ยงธรรม การขออนุญาต อนุมัติ ของส่วนราชการควรแจ้งผลให้ทราบได้ภายใน 15 วัน
การลดขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน -
การกระจายอานาจการตัดสินใจ การใช้เทคโนโลยีเพื่อลดขั้นตอน การจัดทาแผนภูมิขั้นตอนการปฏิบัติงาน การให้มีศูนย์บริการร่วม (Service Linked)
การปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ - การทบทวนภารกิจของหน่วยราชการ - การยกเลิก ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงภารกิจ - การสารวจ ตรวจสอบ และทบทวนกฎหมายระเบียบ ข้อบังคับ
การอานวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน -
การประกาศ กาหนดระยะเวลาแล้วเสร็จ ในการบริการประชาชน ตอบคาถามประชาชน / ส่วนราชการ ภายใน 15 วัน เครือข่าย สารสนเทศ เพื่ออานวยความสะดวกประชาชน การเปิดเผยข้อมูลงบประมาณ รายจ่ายประจาปีและรายการจัดซื้อจัดจ้าง
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ -
29 23
ให้มีคณะผู้ประเมินอิสระ
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
พ.ร.ฎ. หลักเกณฑ์และวิธีการการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 , 2562 -
-
บทที่ 2
ประเมิน ผลสัมฤทธิ์ คุณภาพการให้บริการ ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการ ความคุ้มค่าในภารกิจ มีเงินเพิ่มพิเศษเป็นบาเหน็จ หรือรางวัล แก่หน่วยงานราชการที่บรรลุเป้าหมาย
พรฎ. ฉบับที่ 2 (26 เมษายน 2562) • • • •
• • •
•
ให้ทาแผนปฏิบัติราชการเป็นแผน 5 ปี ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บท แผนปฏิรูป แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ยกเลิกแผนนิติบัญญัติ ยกเลิกแผนบริหารราชการแผ่นดิน การบริการประชาชนและการติดต่อประสานงาน ต้องใช้แพลตฟอร์มดิจิทัลกลาง ที่ สานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล กาหนด กรณียุบเลิก โอน รวมส่วนราชการ ห้ามจัดตั้งใหม่ที่คล้ายคลึง ในวาระเริ่มแรก ให้ทาแผนปฏิบัติราชการ เป็นแผนสามปี (2563-2565) สานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์กรมหาชน) จัดให้มีแพลตฟอร์มดิจิทัลกลาง ใน 90 วัน ส่วนราชการ บริการประชาชน และการติดต่อประสานงานกันโดยใช้แพลตฟอร์ม ดิจิทัลกลาง ภายใน 2 ปี
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
30
บทที่ 3
31 23
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
บทที่ 3
บทที่ 3 พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติ
ราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 (แก้ไขเพิ่มเติม ถึง พ.ศ. 2562)
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
32
บทที่ 3
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
พรบ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
คาสั่งปกครอง 1. ต้องเป็น “ การใช้อานาจตามกฎหมาย ” 2. ต้องเป็นการใช้อานาจของ “ เจ้าหน้าที่ ” เท่านั้น 3. มีผลเป็นการสร้างนิติสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ซึ่งผลนั้นเป็นการก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน
ระงับ หรือกระทบต่อสถานภาพของสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคล ไม่ว่าจะเป็นการชั่วคราว หรือ ถาวร 4. มีผลกระทบต่อบุคคลใดโดยเฉพาะ ไม่เป็นการทั่วไป
33 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
บทที่ 3
ตัวอย่างคาสั่งปกครอง • • • • •
•
การสั่งรับหรือไม่รับคาเสนอขายรับจ้างแลกเปลี่ยน ให้เช่าซื้อเช่า หรือให้สิทธิประโยชน์ การอนุมัติสั่งซื้อจ้างแลกเปลี่ยน เช่าขายให้เช่า หรือให้สิทธิประโยชน์ การสั่งยกเลิกกระบวนการพิจารณาคาเสนอ หรือการดาเนินการอื่นใดในลักษณะเดียวกัน การสั่งให้เป็นผู้ทิ้งงาน กรมบัญชีกลางคานวณบานาญของข้าราชการ เป็นการใช้อานาจตามกฎหมาย ที่มีผลกระทบ ต่อ สถานภาพสิทธิของข้าราชการ การให้หรือไม่ให้ทุนการศึกษา
ตัวอย่างของ “ไม่ใช่” คาสั่งปกครอง •
•
• • •
คาาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวินัย เป็นขั้นตอนการดาเนินการภายในของ เจ้าหน้าที่เพื่อให้ได้ ข้อเท็จจริง การดาเนินการของคณะกรรมการพิจารณาผลการปกระกวดราคา เพื่อเสนอผู้มีอานาจลงนาม ประกาศ หนังสือแจ้งให้ผู้รับเหมามาชาระค่าปรับในกรณีก่อสร้างล่าช้า ผิดสัญญา ความเห็นของคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริง การวินิจฉัยคดีเลือกตั้งของ กกต.
คาสั่งปกครอง แตกต่าง จาก กฎอย่างไร •
คาสั่งปกครอง หมายถึง การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัยอุทธรณ์ การ รับรอง การรับจดทะเบียน ไม่รวมถึงการออกกฎ ➢ เฉพาะคน เฉพาะกรณี
•
กฎ หมายถึง พรฎ. กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ข้อบัญญัติท้องถิ่น ระเบียบ ข้อบังคับ บทญัตติ
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
34
บทที่ 3
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ➢
มีผลบังคับทั่วไป ไม่เฉพาะคน ไม่เฉพาะกรณี
ใครใช้อานาจในการออกคาสั่งปกครอง • เจ้าหน้าที่ ที่ใช้อานาจตามกฎหมาย ที่มีผลในการสร้างนิติสัมพันธ์ระหว่างบุคคล • เจ้าหน้าที่ จะเป็นบุคคล กลุ่มบุคคล หรือ นิติบุคคลก็ได้ • เป็นผู้ใช้อานาจเอง หรือ รับมอบให้ใช้อานาจก็ได้
เจ้าหน้าที่ - บุคคล ➢ นายกรัฐมนตรี หรือ รัฐมนตรี ➢ ปลัดกระทรวง หรือ อธิบดี ➢ ผู้ว่าราชการจังหวัด หรือ นายอาเภอ ➢ ขนส่งจังหวัด หรือ ที่ดินจังหวัด ➢ ฯลฯ - คณะบุคคล ➢ คณะรัฐมนตรี (ค.ร.ม.) ➢ คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) ➢ คณะกรรมการข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา (ก.ค.ศ.) ➢ สภามหาวิทยาลัย ➢ ฯลฯ - นิติบุคคล ➢ กระทรวง ➢ กรม
35 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ➢ ➢ ➢ ➢
บทที่ 3
จังหวัด รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน ฯลฯ
- นิติบุคคลที่ได้รับมอบอานาจตาม กม. ➢ แพทยสภา ➢ สภาทนายความ ➢ มหาวิทยาลัยเอกชน ➢ ฯลฯ
คู่กรณี หมายถึงใคร • ผู้ยื่นคาขอ • ผู้คัดค้านคาขอ • ผูอ้ ยู่ในบังคับของคาสั่งปกครอง • ผู้จะอยู่ในบังคับของคาสั่งปกครอง • ผูซ้ ึ่งเข้ามาในกระบวนการพิจารณาทางปกครอง เนื่องจาก สิทธิถูกกระทบกระเทือน
ไม่บังคับใช้แก่ใคร 1. รัฐสภา และ ครม. 2. องค์กรที่ใช้อานาจตามรัฐธรรมนูญโดยเฉพาะ 3. การพิจารณาของนายกฯ หรือ รมต. ในงานนโยบาย 4. การพิพากษา คดีของศาล การบังคับคดีของ จนท. 5. การวินิจฉัยเรื่องร้องทุกข์ ของกฤษฎีกา 6. เรื่องต่างประเทศ เรื่องทหาร เรื่องอาญา เรื่องศาสนา
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
36
บทที่ 3
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
องค์กรที่ใช้อานาจตามรัฐธรรมนูญโดยเฉพาะ - ศาล ศาลปกครอง ศาลทหาร - ศาลรัฐธรรมนูญ - องค์กรอิสระ • กกต. • ผู้ตรวจการแผ่นดิน • ปปช. • คตง. • คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ - องค์กรอัยการ
ผู้รักษาการตาม พรบ. • ให้นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รักษาการ ตาม พรบ. • มีอานาจ ออก กฎกระทรวง และประกาศ เพื่อปฏิบัติการตาม พรบ.
ความหมาย วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง • การเตรียมการและการดาเนินการของ เจ้าหน้าที่ เพื่อจัดให้มีคาสั่งปกครอง หรือ กฎ และ รวมถึงการดาเนินการใดๆ ในทางปกครอง
37 23
ความหมาย การพิจารณาทางปกครอง • การเตรียมการและการดาเนินการ ของเจ้าหน้าที่ เพื่อจัดให้มีคาสั่ง ปกครอง
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
บทที่ 3
คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง จานวน 11-15 คน • ประธาน วาระ 3 ปี • 2 ปลัด ปลัดสานักนายก ปลัดมหาดไทย • 3 เลขาธิการ เลขาฯครม. ก.พ. กฤษฎีกา • ผู้ทรงคุณวุฒิ 5-9 คน วาระ 3 ปี • สานักงาน กฤษฎีกา เป็นสานักงานเลขานุการ • เลขา กฤษฎีกาแต่งตั้ง ข้าราชการในกฤษฎีกา เป็นเลขาและผู้ช่วย ประธาน : กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ :
1. นายบวรศักดิ์ อุวรรณโณ 2. นายนันทวัฒน์ บรมานันท์ 3. นายนิพนธ์ ฮะกีมี 4. นายบุญอนันต์ วรรณพานิชย์ 5. นายประสงค์ วินัยแพทย์ 6. นายภัทรศักดิ์ วรรณแสง 7. นายฤทัย หงส์สิริ 8. นายวรเจตน์ ภาคีรัตน์ 9. นายอธิคม อินทุภูติ 10. นายเอกบุญ วงศ์สวัสดิ์กุล
อานาจหน้าที่ คณะกรรมการฯ • สอดส่องดูแล ให้คาแนะนา • ให้คาปรึกษาเจ้าหน้าที่ • มีหนังสือเรียก เจ้าหน้าที่ บุคคล มาชี้แจง • เสนอแนะ ตรา พรฎ. กฎกระทรวง ประกาศ
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
38
บทที่ 3
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
• จัดทารายงาน เสนอ ครม. อย่างน้อยปีละครั้ง • เรื่องอื่น ตาม ครม. /นายก มอบหมาย
พระราชบัญญัติมาตรฐานจริยธรรม พ.ศ. 2562
หากเป็นคัดค้านได้ ห้าม จนท.ใดบ้าง ออกคาสั่งปกครองไม่ได้ (ม.13) • เป็นคู่กรณีเอง • เป็นคู่หมั้นหรือคู่สมรสของคู่กรณี • เป็นญาติของคู่กรณี
39 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
บทที่ 3
• เป็น เคยเป็น ผู้แทนอันชอบธรรมของคู่กรณี • เป็นเจ้าหนี้ ลูกหนี้ หรือ นายจ้าง
กระบวนการคัดค้าน จนท.
กระบวนการคัดค้าน กรรมการ
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
40
บทที่ 3
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
คู่กรณีหมายถึงใคร แต่งตั้งบุคคลบรรลุนิติภาวะกระทาการแทนได้ มีสิทธินาทนายหรือที่ปรึกษา เข้ามาในการพิจารณาทาง ปกครองได้
ตัวแทนร่วม กรณี คู่กรณีเกิน 50 คน ยื่นคาขอให้มีคาสั่งปกครองในเรื่องเดียวกัน
41 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
บทที่ 3
การพิจารณา • • •
•
เอกสารที่ยื่นต้องเป็นภาษาไทย ถ้าเป็นภาษาต่างประเทศแปล ต้องมีคารับรองความถูกต้อง การพิจารณาของเจ้าหน้าที่ สามารถแสวงหาข้อเท็จจริง ขอให้ส่งเอกสาร หรือออกไปดู สถานที่ได้ ต้องให้คู่กรณี ได้ทราบข้อเท็จจริงที่เพียงพอ มีโอกาสโต้แย้งและแสดงหลักฐานฝ่ายตน
คู่กรณีต้องมีโอกาสได้รับทราบข้อเท็จจริง และ โอกาสโต้แย้ง ยกเว้นกรณีดังนี้ •
จาเป็นเร่งด่วน ช้าเสียหายร้ายแรง
•
ผล ทาให้คาสั่งปกครองล่าช้าออกไป
•
เป็นข้อเท็จจริงที่คู่กรณีให้ไว้ในคาขอแล้ว
•
โอกาสไม่สามารถกระทาได้
•
เป็นมาตรการบังคับทางปกครอง
•
ให้โอกาสแล้ว เกิดเสียหายร้ายแรงต่อสาธารณะ
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
42
บทที่ 3
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
สิทธิในการขอดูเอกสารของคู่กรณี
รูปแบบของคาสั่งปกครอง
43 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
บทที่ 3
การกาหนดเงื่อนไขในคาสั่งปกครอง •
การเริ่มต้น และสิ้นสุดของ คาสั่ง
•
การเริ่ม หรือ สิ้นสุดที่ต้องขึ้นอยู่กับอนาคตที่ไม่แน่นอน
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
44
บทที่ 3
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
• ข้อสงวนสิทธิที่จะยกเลิกคาสั่งปกครอง • กาหนดผู้ได้ประโยชน์ ต้องทา หรือ ต้องงดเว้นทา • การกาหนดข้อความในการเปลี่ยนแปลง หรือ เพิ่มข้อกาหนด
การอุทธรณ์ คาสั่งปกครอง • ยื่นต่อเจ้าหน้าที่ผู้ทาคาสั่ง ภายใน 15 วัน นับแต่ได้รับคาสั่ง • ต้องทาเป็นหนังสือ ระบุ ข้อโต้แย้ง และข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายที่อ้างอิง • การอุทธรณ์ไม่เป็นเหตุให้ทุเลาการบังคับตามคาสั่งปกครอง (เว้นแต่ จนท.เห็นชอบเอง : แก้ไขจาก พรบ.ฉ.3 ,2562) • จนท.ต้องพิจารณา ไม่เกิน 30 วัน นับแต่ได้รับคาอุทธรณ์
45 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
บทที่ 3
การเพิกถอนคาสั่งปกครอง • ผู้เพิกถอน : เจ้าหน้าที่ หรือ ผู้บังคับบัญชาของเจ้าหน้าที่ • สาเหตุ : พบว่า เป็นคาสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย • วิธีการ : สามารถเพิกถอนทั้งหมด หรือ เพิกถอนบางส่วนได้ • ผล : ย้อนหลัง ไม่ย้อนหลัง หรือมีผลไปในอนาคตถึงเมื่อใดก็ได้
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
46
บทที่ 3
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
การขอให้พิจารณาใหม่ (หลังพ้นกาหนดอุทธรณ์) •
ทาได้เมื่อคู่กรณีมีคาขอ และ จนท. เห็นว่า
•
มีพยานหลักฐานใหม่
•
คู่กรณีที่แท้ มิได้เข้ามาในกระบวนการพิจารณาครั้งก่อน
•
เจ้าหน้าที่ไม่มีอานาจทาคาสั่งปกครอง
•
มีการเปลี่ยนแปลงข้อเท็จจริงหรือ ข้อกฎหมายที่เป็นสาระสาคัญ อุทธรณ์
เพิกถอน
ขอให้พิจารณาใหม่
ทาโดย
คู่กรณี
เจ้าหน้าที่ หรือ ผู้บังคับบัญชา
คู่กรณี หรือ เจ้าหน้าที่
สาเหตุ
ไม่เห็นด้วยกับคาสั่งปกครอง เนื่องด้วยมีข้อเท็จจริงหรือข้อ โต้แย้ง
พบว่า เป็นคาสั่งที่ไม่ชอบด้วย กฎหมาย
พบว่าเป็นคาสั่งที่ไม่ชอบด้วย กม. /มี พยานใหม่ / คู่กรณีจริงไม่อยู่ / เจ้าหน้าที่ไม่มีอานาจ / ข้อเท็จจริง เปลี่ยน
กรอบเวลา
อุทธรณ์ภายใน 15 วันนับแต่ ได้คาสั่ง พิจารณาใน 30 วัน
ที่ให้ประโยชน์ต้องทาใน 90 วัน หลังพ้นอุทธรณ์ หลังจากทราบ
47 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
บทที่ 3
การบังคับทางปกครอง (ใช้ พรบ.ฉ.3 แทนทั้งหมด) •
ไม่ใช้บังคับหน่วยงานรัฐด้วยกัน ยกเว้น มี กม.กาหนดให้เป็นอย่างอื่น
•
จนท. มีอานาจพิจารณาใช้มาตรการบังคับทางปกครอง มอบอานาจได้ ใช้เท่าที่จาเป็น ให้กระทบกระเทือนน้อยที่สุด
•
หากมีกฎหมายอื่นบังคับน้อยกว่า จนท.สามารถใช้อานาจบังคับตามหมวดนี้ได้
•
หากคนที่ถูกบังคับตาย มีทายาท หรือผู้รับมรดก บังคับต่อได้
การบังคับ ที่กาหนดให้ชาระเงิน โดย จนท.ของหน่วยงาน •
เตือนให้ชาระ ไม่น้อยกว่า 7 วัน ไม่ทา ยึดหรืออายัดทรัพย์สิน ขายทอดตลาดได้
•
ต้องยึด อายัด ภายใน 10 ปี นับแต่มีคาสั่งปกครอง พ้นกาหนด จะยึดหรืออายัดไม่ได้
•
การสืบหาทรัพย์สิน ขอให้อัยการสูงสุด หรือหน่วยงานอื่นช่วยได้
•
มูลค่า 2 ล้านขึ้น ให้เอกชน ช่วยสืบหาได้ (ค่าตอบแทนไม่เกินร้อยละ 2.5 สูงสุดไม่เกิน 1 ล้าน)
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
48
บทที่ 3
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
การบังคับ โดย เจ้าพนักงานบังคับคดี
การบังคับให้กระทาหรืองดเว้นกระทา
49 23
•
ค่าปรับบังคับการ หมายถึง ค่าปรับผู้ฝ่าฝืนคาสั่งปกครองให้กระทาหรือไม่กระทา ชาระ เป็นรายวัน จนกว่าจะยุติฝ่าฝืน
•
อัตราร้อยละ 25 ต่อปี
•
ไม่เกิน 50,000 บาท ต่อวัน
•
กาหนดมาตรการบังคับต้องชัดเจน มากกว่าหนึ่งมาตรการไม่ได้
•
หากต่อสูข้ ัดขวาง เจ้าหน้าที่ใช้กาลังเข้าดาเนินการโดยสมควรแก่เหตุได้
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
บทที่ 3
ระยะเวลาและอายุความ •
ไม่นับวันแรก
•
นับรวมวันสิ้นสุด
•
กรณีวันสิ้นสุดเป็นวันหยุดทางานของเจ้าหน้าที่ •
เจ้าหน้าที่ นับแค่วันสิ้นสุด
•
บุคคลอื่น นับถึงวันทางานถัดจากวันหยุด
การแจ้งคาสั่งทางปกครอง •
แจ้งวาจาได้ แจ้งหนังสือได้
•
ส่งที่อยู่ตามภูมิลาเนา หรือที่อยู่ที่แจ้ง
•
มีผล เมื่อได้แจ้ง
•
ไม่พบให้ปิดหนังสือไว้ในที่พบเห็นได้โดยง่าย ถือว่าแจ้งแล้ว
•
แจ้งทางไปรษณีย์ ในประเทศนับ 7 วัน ต่างประเทศนับ 15 วัน
•
ผู้รับเกิน 100 คน ลง นสพ. นับ 15 วัน
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
50
บทที่ 3
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
บทส่งท้าย พรบ. (ฉบับที่ 3)
51 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
บทที่ 3
52
บทที่ 4
53 23
พระราชบัญญัติมาตราฐานจริยธรรม พ.ศ. 2562
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
พระราชบัญญัติมาตราฐานจริยธรรม พ.ศ. 2562
บทที่ 4
บทที่ 4 พระราชบัญญัติ
มาตราฐานจริยธรรม พ.ศ. 2562
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
54
บทที่ 4
พระราชบัญญัติมาตราฐานจริยธรรม พ.ศ. 2562
ความหมายของ “จริยธรรม” (Ethics) “จริยธรรม” หมายความว่า กรอบหรือแนวทางอันดีงามที่พึงปฏิบัติซึ่งกาหนดไว้สาหรับสังคม เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยงดงาม ความสงบร่มเย็นเป็นสุข ความรักสามัคคีความอบอุ่น มั่นคงและปลอดภัยในการดารงชีวิต
มาตรฐานทางจริยธรรม • ประมวลจริยธรรม หน่วยงาน ก. • ประมวลจริยธรรม หน่วยงาน ข. • ประมวลจริยธรรม หน่วยงาน ค.
55 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
พระราชบัญญัติมาตราฐานจริยธรรม พ.ศ. 2562
บทที่ 4
• ประมวลจริยธรรม หน่วยงาน ง.
นิยาม “หน่วยงานของรัฐ” ในมาตรา 3 หน่วยงานของรัฐ กระทรวง ทบวง กรม หน่วยงานที่มีฐานะเป็นกรม ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ องค์กรมหาชน หน่วยงานอื่นของรัฐในฝ่ายบริหาร
แต่ไม่รวม หน่วยงานธุรการของรัฐสภา องค์กรอิสระ ศาล องค์กรอัยการ
เหตุที่ไม่รวม เนื่องจากองค์กรเหล่านี้มีมาตรฐาน และประมวลจริยธรรมที่เป็นของหน่วยงานตนเอง และมีผลบังคับใช้ กับหน่วยงานธุรการของตนด้วย
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
56
บทที่ 4
พระราชบัญญัติมาตราฐานจริยธรรม พ.ศ. 2562
หลักการจาแนกประเภทหน่วยงานของรัฐในกากับของฝ่ายบริหาร ๑) รายชื่อหน่วยงานของรัฐประเภทส่วนราชการ ซึ่งมีฐานะเป็นกรม/เทียบเท่ากรมจานวน ๑๔๗ แห่ง ๒) รายชื่อหน่วยงานของรัฐประเภทรัฐวิสาหกิจ จานวน ๕๕ แห่ง ๓) รายชื่อหน่วยงานของรัฐประเภทองค์การมหาชนที่จัดตั้งตาพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. ๒๕๔๒ จานวน ๓๙ แห่ง ๔) รายชื่อหน่วยงานของรัฐประเภทองค์การมหาชนที่จัดตั้งตาพระราชบัญญัติเฉพาะ (หน่วยงานในกากับ) จานวน ๑๖ แห่ง ๕) รายชื่อหน่วยงานของรัฐประเภทหน่วยธุรการขององค์การของรัฐที่เป็นอิสระจานวน ๗ แห่ง ๖) รายชื่อมหาวิทยาลัยของรัฐ จานวน ๖๓ แห่ง ๗) รายชื่อมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ จานวน ๒๐ แห่ง ๘) รายชื่อหน่วยบริการรูปแบบพิเศษ จานวน ๒ แห่ง ๙) รายชื่อสถาบันภายใต้มลู นิธิ ซึ่งเป็นกลไกของส่วนราชการ จานวน ๑๓ แห่ง
57 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
พระราชบัญญัติมาตราฐานจริยธรรม พ.ศ. 2562
บทที่ 4
มาตรฐานจริยธรรม 7 ข้อ (มาตรา 5) 1. ยึดมั่นในสถาบันหลักของประเทศ 2. 3. 4. 5. 6. 7.
ซื่อสัตย์ สุจริต มีจิตสานึกที่ดี รับผิดชอบหน้าที่ กล้าตัดสินใจ กระทาในสิ่งที่ถูกต้องชอบธรรม คิดถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตัว และมีจิตสาธารณะ มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน ปฏิบัติหน้าที่อย่างเป็นธรรม และไม่เลือกปฏิบัติ ดารงตนเป็นแบบอย่างที่ดี รักษาภาพลักษณ์ราชการ
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
58
บทที่ 4
พระราชบัญญัติมาตราฐานจริยธรรม พ.ศ. 2562
กรณีมีปัญหาว่าหน่วยงานใดเป็นผู้จัดทาประมวลฯ สาหรับเจ้าหน้าที่รัฐ ประเภทใด ให้ ก.ม.จ. เป็นผู้วินิจฉัย
แต่ไม่รวม หน่วยงานธุรการของรัฐสภา องค์กรอิสระ ศาล องค์กรอัยการ
ให้ทาประมวลจริยธรรม โดยใช้มาตรฐานทางจริยธรรม 7 ข้อ ไปใช้ประกอบในการจัดทาประมวลฯ ของ จนท. ที่อยู่ในความ รับผิดชอบด้วย
คณะกรรมการมาตรฐานจริยธรรม (ก.ม.จ.) ❖ นายกรัฐมนตรี หรือ รองนายกฯที่ได้รับมอบหมาย เป็นประธาน ❖ ผู้แทน ก.พ. เป็นรองประธาน ❖ กรรมการโดยตำแหน่งจาก 5 ส่วน ก.ม. , ก.ค. , ก.ตร. , ก.ถ. และ สภากลาโหม ❖ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ นายกแต่งตั้ง ไม่เกิน 5 คน (วาระ 3 ปี) ❖ เลขา ก.พ. เป็นกรรมการและเลขานุการ
59 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
พระราชบัญญัติมาตราฐานจริยธรรม พ.ศ. 2562
บทที่ 4
หน้าที่ ก.ม.จ. ❖ ❖ ❖ ❖ ❖ ❖ ❖
เสนอให้ ให้คาปรึกษา กาหนดแนวทางมาตรการขับเคลื่อน ส่งเสริมพัฒนา กากับ ติดตาม ประเมินผล ตรวจสอบรายงานประจาปี ตีความ วินิจฉัย ทบทวนมาตรฐานจริยธรรม ทุก 5 ปี
การรักษาจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ 1. กาหนดให้มีผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการรักษาจริยธรรมประจาหน่วยงานของรัฐ 2. ดาเนินกิจกรรม ส่งเสริม สนับสนุน ให้ความรู้ 3. ทารายงานประจาปี เสนอ ก.ม.จ. 4. ให้องค์กรกลางบริหารงานบุคคล กากับดูแล และประเมินผลการปฏิบัติงาน
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
60
บทที่ 4
พระราชบัญญัติมาตราฐานจริยธรรม พ.ศ. 2562
สิ่งที่องค์กรกลางบริหารบุคคล ต้องทา 1. จัดทาประมวลจริยธรรม และกระบวนการรักษาจริยธรรม 2. กากับดูแลการดาเนินการตามประมวลจริยธรรม 3. กาหนดแนวทางการนาไปใช้ มาตรการจูงใจ มาตรการบังคับ 4. ปฏิบัติงานอื่น ตามที่ ก.ม.จ. มอบหมาย
สิ่งที่หน่วยงานรัฐต้องทา 1. ให้มีผู้บริหารที่รับผิดชอบ การรักษาจริยธรรมของ จนท.หน่วยงาน 2. กาหนด กรอบอัตรากาลัง และ งบประมาณ ดาเนินการด้านจริยธรรมที่เหมาะสม 3. จัดทารายงานประจาปี เสนอ ก.ม.จ.
สิ่งที่หัวหน้าหน่วยงานรัฐต้องทา 1. กาหนดนโยบายด้านจริยธรรม 2. กากับดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐานจริยธรรม 3. ให้มีการประเมินพฤติกรรม 4. เป็นแบบอย่างที่ดีทางจริยธรรม 5. ส่งเสริม สนับสนุน ให้ความรู้ 6. ให้มีมาตรการและกลไกที่มีประสิทธิภาพ 7. สร้างเครือข่ายและประสานความร่วมมือ 8. รายงานและเปิดเผยข้อมูลการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม
สิ่งที่องค์กรกลางฯ อาจทา • ให้มีคณะกรรมการ ทาหน้าที่ให้คาปรึกษา แนะนาเกี่ยวกับนโยบายการส่งเสริมจริยธรรม สอดส่องดูแล รณรงค์ส่งเสริม ประเมินผลการขับเคลื่อน
61 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
พระราชบัญญัติมาตราฐานจริยธรรม พ.ศ. 2562
บทที่ 4
• มีประธาน เป็นผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอก มีหัวหน้าหน่วยงานหรือรองหัวหน้าที่ได้รับ มอบหมาย และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอก • กรรมการควรมีวาระอย่างน้อย คราวละ 3 ปี
กลุ่มงานจริยธรรม ต้องดาเนินการ 1. พัฒนาระบบ เครื่องมือ กลไก สนับสนุนส่งเสริมจริยธรรม 2. ส่งเสริม สนับสนุน ให้ความรู้ ฝึกอบรม 3. จัดทาข้อกาหนดจริยธรรม พฤติกรรมที่พึงประสงค์ 4. ให้คาปรึกษาแนะนา 5. รณรงค์ ส่งเสริม ประชาสัมพันธ์ 6. รับเรื่องร้องเรียน 7. ติดตามประเมินผล
ประมวลและมาตรฐานจริยธรรมต่างๆในประเทศไทย ❖ ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2552 ❖ มาตรฐานจริยธรรม ของ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ และผู้ดารงตาแหน่งในองค์กรอิสระ รวมทั้งผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน และหัวหน้าหน่วยงานธุรการของศาลรัฐธรรมนูญและ องค์กรอิสระ พศ. 2561
ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน 2552 ❖ อ้างถึง รัฐธรรมนูญ 2550 มาตรา 279 กาหนดให้ข้าราชการ เจ้าหน้าที่รัฐ ต้องมีการกาหนด เรื่องจริยธรรม ❖ มาตรา 280 ให้ผู้ตรวจการแผ่นดิน เสนอแนะ การจัดทาประมวลจริยธรรมและได้จัดทา ค่านิยมหลัก 9 ประการ
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
62
บทที่ 4
พระราชบัญญัติมาตราฐานจริยธรรม พ.ศ. 2562
❖ ก.พ. โดยความเห็นชอบ ครม. จึงกาหนดมาตรฐานทางจริยธรรมในรูปประมวลจริยธรรม ข้าราชการพลเรือน ❖ บังคับใช้ กับ ข้าราชการพลเรือน พนักงานราชการ และลูกจ้างในสังกัดข้าราชการพลเรือน ❖ ในตัวประมวล ยังครอบคลุม ไปถึง รัฐวิสาหกิจ องค์กรมหาชน หน่วยงานของรัฐ
จริยธรรมข้าราชการพลเรือน 1. ยึดมั่นในจริยธรรม ยืนหยัดกระทาในสิ่งที่ถูกต้องและเป็นธรรม
❖ ทาตามประมวลจริยธรรมตรงไปตรงมา ❖ พบเห็นการฝ่าฝืน ให้รายงานต่อหัวหน้าส่วนราชการ ❖ ไปดารงตาแหน่งที่อื่น ทั้งได้ค่าตอบแทน หรือไม่ได้ ต้องรายงาน หัวหน้าส่วนราชการ และคณะกรรมการจริยธรรม ❖ ไปร่วมประชุม พบการกระทาฝ่าฝืนจริยธรรม ให้ทาบันทึกคัดค้านในรายงานการประชุม 2. มีจิตสานึกที่ดีและรับผิดชอบต่อหน้าที่ เสียสละ ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรวดเร็ว โปร่งใส ตรวจสอบได้ ❖ ทางานด้วยความรอบคอบระมัดระวัง เต็มกาลังความสามารถ ❖ ละเว้น การก่อความเสียหาย ไม่ก้าวก่ายแทรกแซง ❖ ทางานด้วยความรู้ความสามารถ ปราศจากอคติ ❖ ผิดพลาดให้รีบแก้ไข ❖ ไม่ขัดขวางการตรวจสอบ ❖ ไม่สั่งราชการด้วยวาจาที่อาจก่อให้เกิดความเสียหาย 3. แยกเรื่องส่วนตัวออกจากหน้าที่ ยึดถือประโยชน์ส่วนรวม เหนือประโยชน์ตน ❖ ไม่นาความสัมพันธ์ส่วนตัว มาเป็นดุลพินิจ ให้คุณให้โทษ ❖ ไม่ใช้เวลา ทรัพย์สิน ราชการใช้ประโยชน์ส่วนตัว ❖ ไม่กระทาการที่ก่อให้เกิดความเคลือบแคลงสงสัยว่าจะขัดประโยชน์ส่วนรวม
63 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
พระราชบัญญัติมาตราฐานจริยธรรม พ.ศ. 2562
บทที่ 4
❖ แม้ไปทางานที่อื่น ก็ต้องยึดถือประโยชน์ราชการเป็นหลัก 4. ละเว้นการแสวงหาผลประโยชน์ที่มิชอบโดยอาศัยตาแหน่งหน้าที่ ❖ ไม่เรียกรับ ของขวัญ ก่อนหรือหลัง ดารงตาแหน่ง เว้นการให้โดยธรรมจรรยา หรือ
ประเพณี ❖ ไม่ใช้ตาแหน่ง หรือการกระทา เป็นคุณ เป็นโทษ ต่อผู้ใดโดยอคติ ❖ ไม่เสนอ อนุมัติ โครงการ สัญญา ที่ตนเองหรือผู้อื่นได้ประโยชน์อันมิควร 5. เคารพและปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญ กฎหมาย อย่างตรงไปตรงมา ❖ ไม่ละเมิด รัฐธรรมนูญ กฎหมาย กฎ ข้อบังคับ มติ ครม. ที่ชอบด้วยกฎหมาย ❖ หากเห็นคาสั่งผู้บังคับบัญชา ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ กฎหมาย ต้องทักท้วงเป็นลายลักษณ์ อักษร ❖ เห็นมติ ครม. ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ต้องทาเรื่องส่ง หัวหน้าส่วนราชการ ส่งให้สานักงาน เลขาธิการครม. ❖ ไม่เลี่ยง ไม่อาศัยช่องว่างกฎหมาย เพื่อประโยชน์ตน ผู้อื่น ❖ ไม่ให้ผู้อื่นอาศัยชื่อ ไม่อาศัยชื่อผู้อื่น ครอบครองทรัพย์สินเพื่อเลี่ยงกฎหมาย ❖ ผู้เป็น หัวหน้าส่วนราชการ ต้องดาเนินการ เมื่อมีการละเมิด หรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ❖ หัวหน้าส่วนราชการ ต้องทบทวน แก้ไข กฎหมาย กฎข้อบังคับ เมื่อมีคาร้อง คา เสนอแนะ จากผู้ตรวจการแผ่นดิน ว่า กม.ดังกล่าว สร้างภาระเกินควร หรือไม่เป็นธรรม ต่อประชาชน 6. ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเที่ยงธรรม เป็นกลางทางการเมือง ❖ ไม่หลีกเลี่ยง ละเลย ละเว้น การใช้อานาจเกินกว่าที่มีอยู่ตามกฎหมาย ❖ คานึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิเสรีภาพส่วนบุคคล ❖ บริการและอานวยความสะดวกแก่ประชาชนโดยมีอัธยาศัยดี ไม่เลือกปฏิบัติ ❖ ละเว้นสัมภาษณ์ อภิปราย ที่กระทบต่อความเป็นกลางทางการเมือง เว้นแต่เป็น ความเห็นทางวิชาการ ❖ ไม่เอื้อประโยชน์เป็นพิเศษให้แก่ญาติพี่น้อง พรรคพวก เพื่อนฝูง
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
64
บทที่ 4
พระราชบัญญัติมาตราฐานจริยธรรม พ.ศ. 2562 ❖ ไม่ลอกผลงานผู้อื่น
7. ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของทางราชการอย่างเคร่งครัด ❖ ไม่ถ่วงเวลา ❖ ให้ข้อมูลแก่ประชาชน ครบถ้วน ถูกต้อง ทันการณ์ ❖ ไม่บิดเบือน ❖ ไม่ใช้ข้อมูลที่ได้มาจากการดำเนินงาน เพื่อประโยชน์ตนเอง ผู้อื่น ❖ ชี้แจงแสดงเหตุผลให้ครบถ้วน กรณีปฏิเสธ โดยต้องดำเนินการภายใน 15 วัน นับแต่ได้คำขอ 8. มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน รักษาคุณภาพและมาตรฐานของวิชาชีพ ❖ ปฏิบัติงานโดยมุ่งประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ❖ ใช้งบประมาณ ทรัพย์สินของราชการ ด้วยความประหยัด คุ้มค่า ไม่ฟุ่มเฟือย ❖ ระมัดระวังในการปฏิบัติหน้า ตามคุณภาพและมาตรฐานวิชาชีพโดยเคร่งครัด 9. ยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ❖ ไม่ต่อต้านการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ❖ จงรักภักดี ไม่ละเมิด องค์พระมหากษัตริย์ พระราชินี และพระรัชทายาท ทั้ง กาย วาจา 10. เป็นแบบอย่างที่ดีในการดารงตน รักษาชื่อเสียงและภาพลักษณ์ของราชการ ❖ ไม่ละเมิดหลักศีลธรรม ศาสนา ประเพณี ❖ ปกครองผู้ใต้บังคับบัญชาด้วยความเที่ยงธรรม ❖ สนับสนุนยกย่องผู้ใต้บังคับบัญชาที่ซื่อสัตย์ ผลงานดีเด่น ยึดมั่นคุณธรรม ❖ ไม่กระทาการที่เสื่อมเสีย ไม่ให้เกิดความไว้วางใจแก่ราชการ
กลไกและระบบการบังคับใช้ประมวลจริยธรรม ❖ ก.พ. มีหน้าที่ ควบคุม กากับ วางระเบียบ คุ้มครอง เผยแพร่ ปลูกฝัง ยกย่อง ประสานงาน ประเมินผล ตีความ แก้ไข ทบทวน ❖ ก.พ. แต่งตั้ง คณะกรรมการจริยธรรมประจาส่วนราชการ (โดยข้อเสนอหัวหน้าส่วนราชการ)
65 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
พระราชบัญญัติมาตราฐานจริยธรรม พ.ศ. 2562
บทที่ 4
คณะกรรมการจริยธรรม (ประจาส่วนราชการ) ❖ ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก เป็นประธาน ❖ ผู้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารหรือ อานวยการ เลือกกันเองให้เหลือ 2 คน ❖ คัดเลือกจากข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง 2 คน ❖ ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก 2 คน ❖ หัวหน้า กลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม เป็นเลขานุการ
หน้าที่ คณะกรรมการจริยธรรม ❖ ควบคุม กากับ ส่งเสริม ให้คาแนะนา ❖ สอดส่องดูแล ❖ วินิจฉัยชี้ขาด ❖ ส่งเรื่องให้ ก.พ. ❖ เสนอผลการประเมินการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม
กลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม ❖ ขึ้นตรงต่อหัวหน้าส่วนราชการ ❖ ข้าราชการ ดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับต้น เป็น หน.กลุ่ม ❖ เผยแพร่ ปลูกฝัง ส่งเสริม ยกย่อง ติดตาม สอดส่อง ❖ สืบสวนข้อเท็จจริง ❖ ช่วยเหลือ ไม่ให้ถูกกลั่นแกล้ง
การบังคับใช้ ❖ ฝ่าฝืนจริยธรรม เป็นความผิดวินัย ❖ ว่ากล่าว ตักเตือน ทาทัณฑ์บน หรือ สั่งให้ได้รับการพัฒนา
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
66
บทที่ 4
พระราชบัญญัติมาตราฐานจริยธรรม พ.ศ. 2562
มาตรฐานทางจริยธรรมองค์กรอิสระ พ.ศ. 2561 ❖ บังคับใช้กับ ❖ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู้ดารงตาแหน่งในองค์กรอิสระ ❖ ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน ❖ หัวหน้างานธุรการของศาลและองค์กรอิสระ ❖ ส.ส. ❖ ส.ว. ❖ คณะรัฐมนตรี
มาตรฐานทางจริยธรรม องค์กรอิสระ 1. มาตรฐานทางจริยธรรมอันเป็นอุดมการณ์ 2. มาตรฐานทางจริยธรรมอันเป็นค่านิยมหลัก 3. จริยธรรมทั่วไป
67 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
พระราชบัญญัติมาตราฐานจริยธรรม พ.ศ. 2562
บทที่ 4
มาตรฐานทางจริยธรรมอันเป็นอุดมการณ์ 1. ยึดมั่น ปชต. อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2. พิทักษ์รักษาสถาบันกษัตริย์ เอกราช อธิปไตย ความมั่นคงรัฐ ความสงบ ปชช. 3. ถือ ประโยชน์ ประเทศชาติ เหนือ ประโยชน์ส่วนตน 4. ปฏิบัติหน้าที่ซื่อสัตย์สุจริต ไม่แสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ 5. ไม่ขอ ไม่รับ ไม่เรียก หรือยอมจะรับทรัพย์สิน 6. ไม่รับของกานัล ทรัพย์สิน ประโยชน์อื่นใด ยกเว้นการให้โดยธรรมจรรยา
มาตรฐานทางจริยธรรมอันเป็นค่านิยมหลัก
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
68
บทที่ 4
พระราชบัญญัติมาตราฐานจริยธรรม พ.ศ. 2562
มาตรฐานทางจริยธรรมอันเป็นค่านิยมหลัก
69 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
พระราชบัญญัติมาตราฐานจริยธรรม พ.ศ. 2562
บทที่ 4
จริยธรรมทั่วไป
การฝ่าฝืนและไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานจริยธรรม หมวด 1
หมวด 2
หมวด 3
ให้ถือว่า มีลักษณะร้ายแรง
จะถือว่ามีลักษณะร้ายแรงหรือไม่ ให้พิจารณาถึงพฤติกรรมของการฝ่ า ฝื นหรือไม่ปฏิบัติ เจตนาและความ ร้ายแรงของความเสียหายทีเ่ กิดขึน้
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
70
บทที่ 4
พระราชบัญญัติมาตราฐานจริยธรรม พ.ศ. 2562
กรณีฝ่าฝืนจริยธรรมร้ายแรง ดาเนินการตามรัฐธรรมนูญ
71 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
บทที่ 5
บทที่ 5 ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
พ.ศ. 2539
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
72
บทที่ 5
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 ข้อมูลทั่วไป • ออกในสมัยรัฐบาล นายบรรหาร ศิลปอาชา (พ.ศ.2539) • มี 15 มาตรา • บังคับใช้ วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจาฯ • เหตุผล เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมต่อเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงาน และเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการ ปฏิบัติงานของรัฐ
ความหมาย “ละเมิด” •
ล่วงเกิน หรือฝ่าฝืนจารีตประเพณี หรือกฎหมายที่มีบัญญัติไว้.
•
จงใจ หรือประมาทเลินเล่อทาต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิต ร่างกาย อนามัย เสรีภาพ ทรัพย์สิน หรือสิทธิ
ฟ้องละเมิดเจ้าหน้าที่ มาตรา ๕ หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดชอบต่อผู้เสียหายในผลแห่งละเมิดที่เจ้าหน้าที่ของตน ได้กระทาในการปฏิบัติหน้าที่ ในกรณีนี้ผู้เสียหายอาจฟ้องหน่วยงานของรัฐดังกล่าวได้โดยตรง แต่จะ ฟ้องเจ้าหน้าที่ไม่ได้ ถ้าการละเมิดเกิดจากเจ้าหน้าที่ซึ่งไม่ได้สังกัดหน่วยงานของรัฐแห่งใดกระทรวงการคลังเป็น หน่วยงานของรัฐบาลที่ต้องรับผิดชอบ • ได้ : กระทาโดยประมาท หรือ จงใจ ที่ มิใช่ การกระทาในการปฏิบัติหน้าที่ราชการ • ไม่ได้ : หากการกระทา ทาในขณะปฏิบัติหน้าที่ราชการ
ต้องฟ้องหน่วยราชการแทน
• หาก จนท. ไม่สังกัดหน่วยงานราชการ กระทรวงการคลังรับแทน
73 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
บทที่ 5
คาจากัดความ ใครคือเจ้าหน้าที่ ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง ผู้ปฏิบัติงานประเภทอื่น กรรมการ หรือ ฐานะอื่น ใด ใครคือหน่วยงานของรัฐ กระทรวง ทบวง กรม ท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานที่ตั้งขึ้นโดยพระราช กฤษฎีกา มาตรา ๖ ถ้าการกระทาละเมิดของเจ้าหน้าที่มิใช่การกระทาในการปฏิบัติหน้าที่เจ้าหน้าที่ต้อง รับผิดชอบวนการนั้นเป็นการเฉพาะตัว ในกรณีนี้ผู้เสียหายอาจฟ้องเจ้าหน้าที่ได้โดยตรงแต่จะฟ้อง หน่วยงานของรับไม่ได้ 1) นาย ก. ขับรถหลวงในงานราชการ เฉี่ยวชนกับ รถบ้าน 2) นาย ก. เอารถหลวงไปใช้ส่วนตัวนอกเวลาราชการ เฉี่ยวชนกับ รถบ้าน 3) นาย ก. เอารถหลวงไปใช้ในงานราชการ แต่ขับรถโดยประมาท เฉี่ยวชนกับรถบ้าน มาตรา ๗ ในคดีที่ผู้เสียหายฟ้องหน่อยงานของรัฐ ถ้าหน่วยงานของรัฐเห็นว่าเป็นเรื่องที่เจ้าหน้าที่ต้อง รับผิดหรือร่วมรับผิด หรือในคดีที่ผู้เสียหายฟ้องเจ้าหน้าที่ถ้าเจ้าหน้าที่เห็นว่าเป็นเรื่องที่หน่วยงานของ รัฐต้องรับผิดหรือรวมรับผิด หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมีสิทธิขอให้ศาลพิจารณาคดีนั้นอยู่ เรียกเจ้าหน้าที่ หรือ หน่วยงานของรัฐ แล้วแต่กรณี เข้ามาเป็นคู่ความในคดี
กรณีอาจมีผู้ร่วมรับผิด • ฟ้อง หน่วยงานรัฐ หาก หน่วยงานเห็นว่า จนท. ต้องร่วมรับผิด • หรือ ฟ้อง จนท. แต่ จนท. เห็นว่า หน่วยงานต้องร่วมรับผิด • ขอให้ศาล เรียก มาร่วมเป็นคู่ความในคดีได้ • หากศาลยกฟ้อง ฝ่ายหนึ่ง ให้ขยายอายุความฟ้อง ผู้ที่ไม่ถูกเรียกมาในคดี ได้อีก 6 เดือน หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
74
บทที่ 5
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
มาตรา ๘ ในกรณีที่หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้เสียหาย เพื่อการละเมิดของ เจ้าหน้าที่ ให้หน่วยงานของรัฐมีสิทธิเรียกให้เจ้าหน้าที่ผู้ทาละเมิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนดังกล่าวแก่หน่วยงานของรัฐ ได้ ถ้าเจ้าหน้าที่ได้กระทาการนั้นไปด้วยความจงใจหรือประมาท เลินเล่ออย่างร้ายแรง สิทธิเรียกให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามวรรคหนึ่งจะมีได้เพียงใดให้คานึงงถึงระดับ ความร้ายแรงแห่งการ กระทาและความเป็นธรรมในแต่ละกรณีเป็นเกณฑ์โดยมิต้องให้ใช้เต็มจานวนของความเสียหายก็ได้ ถ้าการละเมิดเกิดจากความผิดหรือความบกพร่องของหน่วยงานของรัฐหรือ ระบบ การดาเนินงานส่วนรวม ให้หักส่วนแห่งความรับผิดดังกล่าวออกด้วย ในกรณีที่การละเมิดเกิดจากเจ้าหน้าที่หลายคน มิให้นาหลักเรื่องลูกหนี้ร่วมมาใช้ บังคับและเจ้าหน้าที่แต่ละ คนต้องรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนเฉพาะส่วนของตนเท่านั้น
การเรียกสินไหมทดแทนแก่ผู้เสียหาย • กรณีหน่วยงานรัฐต้องรับผิด สามารถเรียกให้ จนท. ชดใช้แทนได้ หาก จงใจ หรือ ประมาท เลินเล่ออย่างร้ายแรง • ชดใช้ ตามระดับความร้ายแรง และความเป็นธรรม • ไม่จาเป็นต้องเต็มจานวนของความเสียหาย • หากหน่วยงานบกพร่องด้วย อาจหักส่วนแห่งความรับผิดชอบออก • หาก จนท. หลายคน แบ่งเฉพาะส่วนตนได้
อายุความ และ กรอบเวลาต่างๆ • • • •
75 23
1 ปี : สิทธิที่จะเรียกให้อีกฝ่ายชดใช้ค่าสินไหมทดแทน 2 ปี : หน่วยงานเรียกสินไหมทดแทนจาก จนท. ถ้าเป็นการกระทาในการปฏิบัตหิ น้าที่ 1 ปี : กรณีหน่วยงานตรวจสอบว่าไม่ผดิ แต่ กระทรวงการคลังชี้ว่าผิด 90 วัน : สิทธิอุทธรณ์ร้องทุกข์ ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ (ปัจจุบนั เป็นสิทธิฟ้องคดีต่อศาล ปกครอง)
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
บทที่ 5
ปัจจุบนั ฟ้องศาลปกครองแทน มาตรา ๑๑ ในกรณีที่ผู้เสียหายเห็นว่า หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดตามมาตรา ๕ ผู้เสียหายจะ ยื่นคาขอต่อหน่วยงานของรัฐให้พิจารณาชดใช้ค่าสินไหมทดแทนสาหรับความเสียหายที่ เกิดแก่ตนก็ได้ ในการนี้หน่วยงานของรัฐต้องออกใบรับคาขอให้ไว้เป็นหลักฐานและพิจารณาคาขอนั้น โดยไม่ชักช้า เมื่อหน่วยงานของรัฐมีคาสั่งเช่นใดแล้วหากผู้เสียหายยังไม่พอใจในผลการวินิจฉัยของหน่วยงานของรัฐก็ ให้มีสิทธิร้องทุกข์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ตามกฎหมายว่าด้วย คณะกรรมการกฤษฎีกาได้ ภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่ตนได้รับแจ้งผลการวินิจฉัย ให้หน่วยงานของรัฐพิจารณาคาขอที่ได้รับตามวรรคหนึ่งให้ แล้วเสร็จภายในหนึ่งร้อย แปดสิบ วัน หากเรื่องใดไม่อาจพิจารณาได้ทันในกาหนดนั้นจะต้องรายงานปัญหาและอุปสรรคให้ รัฐมนตรีเจ้า สังกัดหรือกากับหรือควบคุมดูแลหน่วยงานของรัฐแห่งนั้นทราบและขออนุมัติขยาย ระยะเวลาออกไป ได้ แต่รัฐมนตรีดังกล่าวจะพิจารณาอนุมัติให้ขยายระยะเวลาให้อีกได้ไม่เกินหนึ่งร้อย แปดสิบวัน
การชาระค่าสินไหมทดแทน มาตรา ๑๓ ให้คณะรัฐมนตรีจัดให้มีระเบียบเพื่อให้เจ้าหน้าที่ซึ่งต้องรับผิดตาม มาตรา ๘ และมาตรา ๑๐ สามารถผ่อนชาระเงินที่จะต้องรับผิดนั้นได้โดยคานึงถึงรายได้ ฐานะ ครอบครัวและความ รับผิดชอบ และพฤติการณ์แห่งกรณีประกอบด้วย
• • •
ชาระภายในเวลาที่กาหนด ผ่อนชาระได้ คานึงถึงรายได้ ฐานะครอบครัวและความรับผิดชอบและพฤติการณ์แห่งกรณีประกอบ
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
76
บทที่ 6
77 23
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
บทที่ 6
บทที่ 6 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
78
บทที่ 6
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
79 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
บทที่ 6
80
บทที่ 6
81 23
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
บทที่ 6
82
บทที่ 6
83 23
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
บทที่ 6
ที่มา ของยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี •
• •
รัฐธรรมนูญ มาตรา 65 กาหนดให้รัฐ พึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติ เป็นเป้าหมายการพัฒนาที่ ยั่งยืน การตราพระราชบัญญัติการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560 การแต่งตั้งคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ รับผิดชอบในการจัดทาร่างยุทธศาสตร์ชาติ
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
84
บทที่ 6
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ • • • • • • • • •
• •
นายกรัฐมนตรี เป็นประธานกรรมการ ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นรองประธาน คนที่หนึ่ง ประธานวุฒิสภา เป็นรองประธาน คนที่สอง รองนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย เป็นรองประธานคนที่สาม ปลัดกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารเรือ ผู้บัญชาการทหารอากาศ ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ ประธานกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ประธานสภาเกษตรกรแห่งชาติ ประธานสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ประธานสภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และประธานสมาคมธนาคารไทย เป็น กรรมการ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จานวนไม่เกินสิบเจ็ดคน เลขาธิการ สภาพัฒน์ เป็นกรรมการและเลขานุการ
สาระของ พรบ. การจัดทายุทธศาสตร์ชาติ • • • •
•
•
85 23
การประกาศใช้ยุทธศาสตร์ชาติให้ทาเป็นประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อได้ประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับได้ และหน่วยงานของรัฐ ทุกหน่วยมีหน้าที่ดาเนินการเพื่อให้บรรลุ เป้าหมายตามที่กาหนดไว้ในยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์ชาติอย่างน้อยต้องประกอบด้วย 1. วิสัยทัศน์การพัฒนาประเทศ 2. เป้าหมายการพัฒนาประเทศในระยะยาว กาหนดระยะเวลาที่ต้องดาเนินการเพื่อให้ บรรลุ เป้าหมาย และตัวชี้วัดการบรรลุเป้าหมาย 3. ยุทธศาสตร์ด้านต่าง ๆ จัดให้มีการทบทวนยุทธศาสตร์ชาติทุกห้าปีหรือในกรณีที่ สถานการณ์ของโลกหรือ สถานการณ์ของประเทศเปลี่ยนแปลงไปจนไม่สามารถหรือไม่เหมาะสมที่จะดาเนินการ ตามเป้าหมายหรือยุทธศาสตร์ด้านหนึ่งด้านใดได้
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
บทที่ 6
1. ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง • • • • •
การรักษาความสงบภายในประเทศ การป้องกันและแก้ไขปัญหาที่มีผลกระทบต่อความมั่นคง การพัฒนาศักยภาพของประเทศให้พร้อมเผชิญภัยคุกคามที่กระทบต่อ ความมั่นคงของชาติ การบูรณาการความร่วมมือด้านความมั่นคงกับอาเซียนและนานาชาติ การพัฒนากลไกการบริหารจัดการความมั่นคงแบบองค์รวม
2. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน • •
•
ตั้งอยู่บนพื้นฐานแนวคิด “ต่อยอดอดีต ปรับปัจจุบัน สร้างคุณค่าใหม่ในอนาคต” การเกษตรสร้างมูลค่า ได้แก่ (1) เกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น (2) เกษตรปลอดภัย (3) เกษตร ชีวภาพ (4) เกษตรแปรรูป และ (5) เกษตรอัจฉริยะ อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต ได้แก่ (1) อุตสาหกรรมชีวภาพ (2) อุตสาหกรรมและ บริการการแพทย์ครบวงจร (3) อุตสาหกรรมและบริการดิจิทัล ข้อมูล และปัญญาประดิษฐ์ (4) อุตสาหกรรมและบริการขนส่งและโลจิสติกส์และ (5) อุตสาหกรรมความมั่นคงของ ประเทศ
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
86
บทที่ 6 •
•
•
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี สร้างความหลากหลายด้านการท่องเที่ยว (1) ท่องเที่ยวเชิง สร้างสรรค์และวัฒนธรรม (2) ท่องเที่ยวเชิงธุรกิจ (3) ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทย (4) ท่องเที่ยวส่า ราญทางน้า และ (5) ท่องเที่ยวเชื่อมโยงภูมิภาค โครงสร้างพื้นฐาน เชื่อมไทย เชื่อมโลก (1) เชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคมไร้รอยต่อ (2) สร้าง และพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ (3) เพิ่มพื้นที่และเมืองเศรษฐกิจ (4) พัฒนาโครงสร้าง พื้นฐาน เทคโนโลยีสมัยใหม่ และ (5) รักษาและเสริมสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจมหภาค พัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานผู้ประกอบการยุคใหม่ สร้างและพัฒนา ผู้ประกอบการยุคใหม่ (1) สร้างผู้ประกอบการอัจฉริยะ (2) สร้างโอกาสเข้าถึงบริการทางการเงิน (3) สร้างโอกาส เข้าถึงตลาด (4) สร้างโอกาส เข้าถึงข้อมูล และ (5) ปรับบทบาทและโอกาสการเข้าถึงบริการ ภาครัฐ
3. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ • • •
• • • •
การปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต มุ่งเน้นการพัฒนาคนเชิงคุณภาพในทุกช่วงวัย ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงใน ศตวรรษที่ 21 วางพื้นฐาน ระบบรองรับการเรียนรู้โดยใช้ดิจิทัลแพลตฟอร์ม การตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย การเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี ครอบคลุมทั้งด้านกาย ใจ สติปัญญา และสังคม การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ การเสริมสร้างศักยภาพการกีฬาในการสร้างคุณค่าทางสังคมและ พัฒนาประเทศ
4. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม •
•
87 23
การลดความเหลื่อมล้า สร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ ปรับ โครงสร้างเศรษฐกิจฐาน ราก ปฏิรูประบบภาษีกระจายการถือครองที่ดินและการเข้าถึงทรัพยากร การกระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยี ไปภูมิภาค และกลุ่ม จังหวัด
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี • •
บทที่ 6
การเสริมสร้างพลังทางสังคม พลังภาคส่วนต่างๆ ผู้สูงวัย เอกชน วิชาการ ประชาสังคม สตรี การเพิ่มขีดความสามารถของชุมชนท้องถิ่นในการพัฒนา การพึ่ง ตนเองและการจัดการ ตนเอง
5. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อ สิง่ แวดล้อม • • •
•
•
•
•
สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจสีเขียว เศรษฐกิจฐานชีวภาพ รักษาและเพิ่ม พื้นที่สีเขียวที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม ส่งเสริมการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจภาคทะเล เพิ่มมูลค่าของเศรษฐกิจฐานชีวภาพ ทางทะเล สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมที่เป็นมิตรต่อสภาพภูมิอากาศ ลดการปล่อยก๊าซเรือน กระจก พัฒนาพื้นที่เมือง ชนบท เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ มุ่งเน้น ความเป็นเมืองที่ เติบโตอย่างต่อเนื่อง ท่าแผนผังภูมินิเวศเพื่อการพัฒนา เมือง ชนบท พื้นที่เกษตรกรรมและ อุตสาหกรรม พัฒนาความมั่นคงน้า พลังงาน และเกษตรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม พัฒนาการจัดการน้าเชิง ลุ่มน้าทั้งระบบ ยกระดับกระบวนทัศน์เพื่อกาหนดอนาคตประเทศ บนหลักของการมีส่วนร่วม และธรรมาภิบาล
6. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ • •
•
ยึดหลัก “ภาครัฐของประชาชน เพื่อประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม” ภาครัฐที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ตอบสนองความต้องการ และ ให้บริการอย่างสะดวก รวดเร็ว โปร่งใสมาตรฐานสากล น่าเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ ภาครัฐมีขนาดเล็กลง เหมาะสมกับภารกิจ ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการพัฒนา ประเทศมีความทันสมัย
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
88
บทที่ 6 •
• • •
89 23
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี บุคลากรภาครัฐเป็นคนดีและเก่ง ยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม มีความสามารถสูง มุ่งมั่น และ เป็นมืออาชีพ ภาครัฐมีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ กฎหมายมีความสอดคล้องเหมาะสมกับบริบทต่าง ๆ และมีเท่าที่จาเป็น กระบวนการยุติธรรมเคารพสิทธิมนุษยชนและปฏิบัติต่อประชาชน โดยเสมอภาค
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
บทที่ 6
แผนผังสรุป ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
90
บทที่ 7
91 23
แผนปฏิรูปประเทศ
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
แผนปฏิรูปประเทศ
บทที่ 7
บทที่ 7 แผนปฏิรูปประเทศ
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
92
บทที่ 7
แผนปฏิรูปประเทศ
การปฏิรูปประเทศของรัฐบาล พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา มาตรา 258 ของรัฐธรรมนูญ 2560 กาหนดหัวข้อในการปฏิรูปไว้ทั้งหมด 7 ด้าน คือ 1. ด้านการเมือง 2. ด้านบริหารราชการแผ่นดิน 3. ด้านกฎหมาย 4. ด้านกระบวนการยุติธรรม 5. ด้านการศึกษา 6. ด้านเศรษฐกิจ และ 7. ด้านอื่นๆ
เป้าหมาย มีเป้าหมายว่าการปฏิรูปในแต่ละด้านนั้นต้องมีการเริ่มต้นและมีผลสัมฤทธิ์ที่มองเห็นเป็นรูปธรรม ภายใน 5 ปี นับแต่การประกาศใช้รัฐธรรมนูญ ซึ่งหากนับวันว่า รัฐธรรมนูญ ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 วันครบห้าปีคือวันที่ 5 เมษายน 2565
93 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
แผนปฏิรูปประเทศ
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
บทที่ 7
94
บทที่ 7
แผนปฏิรูปประเทศ
ระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ (eMENSCR) ย่อมาจาก Electronic Monitoring and Evaluation System of National Strategy and Country Reform เป็นเครื่องมือให้หน่วยงานของรัฐใช้รายงานผลการดาเนินการตามแผนระดับต่างๆ ของประเทศ รายงานสรุปผลการดาเนินการตามแผนปฏิรูปประเทศ ประจาปี 2562 ดาเนินการได้ครบถ้วน เพียงแค่ร้อยละ 6 (10 เรื่องจาก 173 เรื่อง)
95 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
แผนปฏิรูปประเทศ
บทที่ 7
รายงานสรุปผลการดาเนินการตามแผนปฏิรูปประเทศ ประจาปี 2563 เขียว 16 เรื่อง ร้อยละ 9.25 เหลือง 78 เรื่อง ร้อยละ 45.09 ส้ม 66 เรื่อง ร้อยละ 37.57 แดง 14 เรื่อง ร้อยละ 8.09
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
96
บทที่ 7
แผนปฏิรูปประเทศ
การปฏิรูปประเทศด้านการบริหารราชการแผ่นดิน 6 ด้าน 1. 2. 3. 4. 5. 6.
97 23
บริการภาครัฐ สะดวก รวดเร็ว และตอบโจทย์ชีวิตประชาชน ระบบข้อมูลภาครัฐมีมาตรฐาน ทันสมัยและเชื่อมโยงกัน ก้าวสู่รัฐบาลดิจิตอล โครงสร้างภาครัฐกะทัดรัด ปรับตัวได้เร็ว และระบบงานมีผลสัมฤทธิ์สูง กาลังคนภาครัฐมีขนาดที่เหมาะสมและมีสมรรถนะสูงพร้อมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ ระบบบริหารงานบุคคลที่สามารถดึงดูด สร้าง และรักษาคนดีคนเก่งไว้ในภาครัฐ การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ คล่องตัว โปร่งใส และมีกลไกป้องกันการทุจริตทุกขั้นตอน
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
แผนปฏิรูปประเทศ
บทที่ 7
QR Code รายงานสรุป ปี 2563 จานวน 594 หน้า
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
98
บทที่ 7
แผนปฏิรูปประเทศ
เกิดคาศัพท์ใหม่ Big Rock • •
ตัดกิจกรรมที่ไม่เป็นประโยชน์ ไม่จาเป็นออก คัดเลือกเฉพาะที่จะส่งผลต่อ ประชาชนอย่างมีนัยยะสาคัญ (Big Rock)
QR Code ร่างแผนปฏิรูปฉบับ ปรับปรุง 357 หน้า 99 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
บทที่ 8
บทที่ 8 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
100
บทที่ 8
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง SDGs. เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนประเทศไทยและ ระบบราชการ 4.0
101 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
บทที่ 8
3 ห่วง •
•
•
ห่วง 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่ เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ห่วง 2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้นจะต้องเป็นไป อย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น จาก การกระทานั้น ๆ อย่างรอบคอบ ห่วง 3. การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี หมายถึงการเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการ เปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ ที่คาด ว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล
2 เงื่อนไข 1. เงื่อนไข ความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ 2. เงื่อนไข คุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความชื่อ สัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความพากเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต
4 มิติ เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม สังคม วัฒนธรรม เกิดความสมดุล พัฒนาไปพร้อมกันทั้ง 4 มิติ ไม่ทิ้งเรื่องใดเรื่องหนึ่งไว้ข้างหลัง พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง ทันกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วทั้งภายในและภายนอก ประเทศ
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
102
บทที่ 8
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์หลักเศรษฐกิจพอเพียง กับการบริหารราชการ
การประยุกต์หลักเศรษฐกิจพอเพียง กับ ภาคธุรกิจ
103 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
บทที่ 8
การจัดการพื้นที่ซึ่งเหมาะกับพื้นที่การเกษตร ซึ่งเป็นผสมผสาน เกษตรทฤษฎีใหม่ เข้ากับภูมิปัญญา พื้นบ้านที่อยู่อย่างสอดคล้องกับธรรมชาติในพื้นที่นั้น ๆ โคก-หนอง-นา โมเดล เป็นการที่ให้ธรรมชาติ จัดการตัวมันเองโดยมี มนุษย์เป็นส่วนส่งเสริม ให้มันสาเร็จเร็วขึ้น อย่างเป็นระบบ
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
104
บทที่ 8
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาที่ยั่งยืน เป็นทิศทางการพัฒนาตั้งแต่ปี 2558 - 2573 (15 ปี) 5 กลุ่มเรื่อง • People • Prosperity • Peace • Partnership • Planet •
•
•
•
•
105 23
People : ประชาชน ยุติความยากจนละความหิวโหย สร้างความมั่นใจในเรื่องศักดิ์ศรีและความเท่าเทียมของ มนุษย์ Prosperity : ความมั่งคั่ง สร้างหลักความมั่นใจในความมั่งคั่งและเติมเต็มชีวิตที่กลมกลืนกับธรรมชาติ Peace : สันติภาพ ส่งเสริมสนับสนุนสันติภาพและสังคมที่เป็นหนึ่งเดียว Partnership : การเป็นหุ้นส่วน ผลักดันให้เกิดการปฎิบัติตามสิ่งที่ตั้งใจผ่านการเป็นหุ้นส่วนของประเทศต่างๆทั่วโลกอย่าง เข้มแข็ง Planet : โลก ปกป้องคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติและบรรยากาศของโลกเพื่อคนรุ่นต่อไปในอนาคต
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
บทที่ 8
Thailand 4.0 กับ ระบบราชการ 4.0
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
106
บทที่ 8
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
3 กับดัก ใน Thailand 3.0
กลไกการขับเคลื่อน ไทยแลนด์ 4.0 การสร้างความเข้มแข็งจากภายใน (Strength from within) • การยกระดับนวัตกรรม • สร้างจิตวิญญาณนักประกอบการ • สร้างความเข้มแข็งชุมชน • และเครือข่าย เชื่อมโยงกับภายนอก (Connect to the world) • เศรษฐกิจภายในประเทศ • เศรษฐกิจภูมิภาค • เศรษฐกิจโลก การพัฒนาที่สมดุลตามหลักคิดเศรษฐกิจพอเพียง สร้างความเข้มแข็งจากภายใน
107 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
บทที่ 8
การพัฒนาที่สมดุลตามหลักคิดเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมไทยสู่ประชาคมโลก
การเปลี่ยนผ่าน จาก Thailand 3.0 สู่ Thailand 4.0
•
Competitive Growth Engine ระบบเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม (Innovation-driven economy) ยกระดับ Digital Skill วิจัยพัฒนาสิ่งใหม่
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
108
บทที่ 8 •
•
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง Inclusive Growth Engine สร้างสังคมที่ไม่ทอดทิ้งใครไว้ข้างหลัง สร้างระบบเศรษฐกิจที่กระจายแบบถ้วนทั่ว (Distributive economy) การสร้างเศรษฐกิจรากฐานระดับชุมชน Green Growth Engine การอนุรักษ์ และใช้ทรัพยากรอย่างชาญฉลาด การใช้เทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การ ใช้พลังงานทดแทน เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy)
Future Economy Bio Economy : เกษตรอุตสาหกรรม สุขภาพ
Thailand New Economy Sharing Economy เศรษฐกิจแบ่งปัน Circular Economy เศรษฐกิจหมุนเวียน Green Economy เศรษฐกิจสีเขียว Local Economy เศรษฐกิจฐานราก
109 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
บทที่ 8
คุณลักษณะ ของราชการไทย 4.0 รัฐที่เปิดกว้าง เชื่อมโยงกับทุกฝ่าย (Open & Connected Government) • เปิดเผยโปร่งใส ตรวจสอบได้ • ถ่ายโอนภารกิจให้เอกชน • ประสาน ร่วมมือทุกภาคส่วน รับผิดชอบร่วมกัน มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง (Citizen-centric Government) • อานวยความสะดวก สนองความต้องการ • Tailored services • Proactive public service บริการเชิงรุก • ใช้เทคโนโลยี เพื่อความสะดวก รวดเร็ว รัฐที่เท่าทันและมีความคิดริเริ่ม (Smart & Innovative Government) • ทันโลก ทันการเปลี่ยนแปลง • ลดการกากับที่ไม่เกิดประโยชน์ (Smart regulation) 7 วาระการปรับเปลี่ยนกลไกขับเคลื่อนรัฐ
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
110
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
แผนผังสรุป ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
บทที่ 8
111 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
แบบทดสอบ
แบบทดสอบท้ายเล่ม 100 โจทย์ กฏหมาย
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
112
แบบทดสอบ
1. ผู้รักษาการตาม พรบ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 คือใคร ก. นายกรัฐมนตรี ข. ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ค. รัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรี ง. คณะรัฐมนตรี 2. ข้อใดมิใช่การจัดระเบียบการบริหารราชการส่วนกลาง ก. กรม ข. กระทรวง ค. กอง ง. สานักนายกรัฐมนตรี 3. การดาเนินการในเรื่องใดต้องตราเป็นพระราชบัญญัติ ก. การเปลี่ยนชื่อกระทรวง ข. การจัดตั้งกรม ค. การเปลี่ยนชื่อกรม ง. การรวมกระทรวง โดยไม่เพิ่มตาแหน่งหรืออัตรากาลัง 4. การดาเนินการในข้อใดต้องตราเป็นพระราชกฤษฎีกา ก. การโอนกรมไปสังกัดกระทรวงใหม่ ข. การยุบกระทรวง ค. การรวมกรม ง. การรวมกระทรวง
113 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
แบบทดสอบ
5. การตั้งคณะใหม่ในมหาวิทยาลัยต้องทาเป็น ก. คาสั่ง รัฐมนตรี ข. ประกาศมหาวิทยาลัย ค. เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยมหาวิทยาลัยนั้น ง. กฎกระทรวง 6. ข้อใดมิใช่ อานาจของ นายกรัฐมนตรี ก. สั่งให้ ปลัดกระทรวง มาประจาสานักนายกรัฐมนตรี ข. แต่งตั้งที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ค. วางระเบียบปฏิบัติราชการ ที่ไม่ขัดหรือแย้งกับ กฎหมาย ง. รับผิดชอบควบคุมราชการประจาในสานักนายกรัฐมนตรี 7. ตาแหน่งใดเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ ก. รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ข. รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายบริหาร ค. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี ง. โฆษกรัฐบาล 8. การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เป็นหน้าที่ของหน่วยงานใด ก. สานักพระราชวัง ข. สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ค. สานักงานปลัด สานักนายกรัฐมนตรี ง. สานักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี 9. ผู้บังคับบัญชาข้าราชการ ในสานักงานรัฐมนตรี คือ ก. เลขานุการสานักงานรัฐมนตรี ข. เลขาธิการสานักงานรัฐมนตรี ค. เลขานุการรัฐมนตรี ง. บุคคลที่รัฐมนตรีมอบหมาย
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
114
แบบทดสอบ
10. ข้อใดเป็น “การปฏิบัติราชการแทน” ก. อธิบดีไปราชการต่างประเทศ ให้ รองอธิบดีทางานแทน ข. อธิบดีมอบอานาจให้ รองอธิบดี ลงนามแทน ค. อธิบดีลาออกจากราชการ รองอธิบดีทางานแทนช่วงที่ยังไม่มีคนใหม่ ง. ถูกทุกข้อ 11. เรื่องใดที่ไม่สามารถมอบให้ปฏิบัติราชการแทนได้ ก. การอนุญาต ข. การอนุมัติ ค. การฟ้อง ดาเนินคดี ง. ทุกเรื่องสามารถมอบให้ปฏิบัติราชการแทนได้ 12. ในกรณีที่รัฐมนตรีไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ และกระทรวงนั้นไม่มีรัฐมนตรีช่วยว่าการ กระทรวง ผู้ที่ทาหน้าที่รักษาราชการแทน คือ ก. รัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งที่ ครม.มอบหมาย ข. รองนายกรัฐมนตรี ที่ นายกรัฐมนตรีมอบหมาย ค. นายกรัฐมนตรี หรือ รัฐมนตรีที่ นายกฯมอบหมาย ง. นายกรัฐมนตรี 13. การเปลี่ยนแปลงเขตจังหวัด ให้กระทาโดย ก. พระราชกฤษฎีกา ข. พระราชกาหนด ค. พระราชบัญญัติ ง. ประกาศกระทรวงมหาดไทย
115 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
แบบทดสอบ
14. การเปลี่ยนแปลงเขตอาเภอ ให้ทาเป็น ก. พระราชกฤษฎีกา ข. พระราชกาหนด ค. พระราชบัญญัติ ง. ประกาศกระทรวงมหาดไทย 15. ข้อใด ถูกต้อง ก. กลุ่มจังหวัด (Cluster) เป็นราชการส่วนภูมิภาค ข. กลุ่มจังหวัดมีฐานะเป็นส่วนราชการ ตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ ค. ผู้ว่าราชการจังหวัดที่เป็นหัวหน้ากลุ่มจังหวัดมาจากการเลือกตั้งกันเองระหว่างผู้ว่าใน กลุ่มจังหวัด ง. งบประมาณของกลุ่มจังหวัดมาจากการแบ่งงบประมาณของแต่ละจังหวัด 16. ในปัจจุบัน การบริหารราชการไทย แบ่งออกเป็นกี่กลุ่มจังหวัด ก. 17 ข. 18 ค. 19 ง. 20 17. ตาแหน่งใด ไม่อยู่ ในคณะกรมการจังหวัด ก. รองผู้ว่าราชการจังหวัด ข. ปลัดจังหวัด ค. อัยการจังหวัด ง. ผู้บังคับการตารวจภูธรจังหวัด
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
116
แบบทดสอบ
18. การจัดทาแผนพัฒนาจังหวัด ไม่เกี่ยวข้องกับ เรื่องใด ก. ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ข. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ค. แผนพัฒนาภาค ง. ผิดทุกข้อ 19. แผนพัฒนาจังหวัด มีระยะเวลาใช้กี่ปี ก. 5 ปี ข. 4 ปี ค. 3 ปี ง. 6 ปี 20. ใครทาหน้าที่เป็นประธานคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด ก. ผู้ว่าราชการจังหวัด ข. รองผู้ว่าราชการจังหวัดที่ได้รับมอบหมาย ค. มาจากการเลือกของที่ประชุมคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด ง. ผู้ตรวจราชการ สานักนายกรัฐมนตรี 21. หน้าที่ของคณะบุคคลผู้ทาหน้าที่ไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาทของประชาชนระดับ อาเภอ คือ ก. ไกล่เกลี่ยข้อขัดแย้งทั่วไปที่เกิดขึ้นในเขตพื้นที่ ข. ไกล่เกลี่ยคดีพิพาทที่เกิดขึ้นในพื้นที่ ค. ไกล่เกลี่ยข้อพิพาททางแพ่ง ไม่เกิน 200,000 บาท ง. ไกล่เกลี่ยความขัดแย้งในคดีแรงงานระหว่างนายจ้างและลูกจ้างในพื้นที่
117 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
แบบทดสอบ
22. ข้อใด มิใช่ การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ก. ตาบล ข. หมู่บ้าน ค. อาเภอ ง. ถูกทุกข้อ 23. ข้อใด มิใช่ การบริหารราชการส่วนภูมิภาค ก. ตาบล ข. อาเภอ ค. จังหวัด ง. ผิดทุกข้อ 24. ข้อใดมิใช่ หน้าที่ ของ ก.พ.ร. ก. เสนอต่อ ครม. เพื่อกาหนดหลักเกณฑ์ การจัดตั้ง โอน ยุบเลิก กระทรวง กรม ข. ติดตาม ประเมินผล ให้คาแนะนา ให้มีการปฏิบัติตาม พรบ.บริหาราชการแผ่นดิน ค. เสนอแนะและให้คาปรึกษาแก่ ครม. ในเรื่อง ระบบงบประมาณ ง. พัฒนาและวางระบบบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลเพื่อขับเคลื่อนการบริหารกาลังคน ภาครัฐให้มีประสิทธิภาพ 25. เลขาธิการ ก.พ.ร. คนปัจจุบัน คือ ก. นายทศพร ศิริสัมพันธ์ ข. นายปกรณ์ นิลประพันธ์ ค. นางสาวอ้อนฟ้า เวชชาชีวะ ง. หม่อมหลวงพัชรภากร เทวกุล
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
118
แบบทดสอบ
26. ส่วนราชการใด ที่มิได้นา พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี มาบังคับใช้ทั้งฉบับ ก. การรถไฟแห่งประเทศไทย ข. โรงพยาบาลบ้านแพ้ว ค. เมืองพัทยา ง. การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 27. ข้อใด มิใช่ เป้าหมายของ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ที่ระบุใน พรฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ก. ประสิทธิภาพและความคุ้มค่า ข. ความเป็นประชาธิปไตย ค. ผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ง. ความสะดวกของประชาชน 28. Output ต่างจาก Outcome อย่างไร ก. Output เกิดหลัง Outcome ข. ตัวแรกคือ ผลลัพธ์ ตัวที่สองคือ ผลผลิต ค. Outcome เป็นผลที่ตามมาหลังจากเกิด Output ง. Output มักจะวัดในเชิงคุณภาพมากกว่าปริมาณ 29. ข้อใด ถือว่าเป็น ผลลัพธ์ ของการปฏิบัติราชการ ก. ประชาชนอยู่ดีมีสุข ข. การจัดฝึกอบรมมีผู้ผ่านการประเมินเป็นไปตามเกณฑ์ ค. กรมพัฒนาชุมชน สามารถสร้างกลุ่มพัฒนาอาชีพได้ครบถ้วนตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ประจาปี ง. การก่อสร้างทางหลวงชนบท เสร็จก่อนก่อนกาหนดที่ระบุไว้ในแผน
119 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
แบบทดสอบ
30. ข้อใดเป็นผลสัมฤทธิ์ตามภารกิจในการทางาน ก. การทางานสาเร็จตามแผนปฏิบัติราชการประจาปี ข. ความสามารถในการลดขั้นตอนการทางานให้สั้นลง ค. การใช้งบประมาณโดยประหยัด ง. ข้าราชการในหน่วยราชการได้การพัฒนาความรู้ความสามารถอย่างเหมาะสม 31. ข้อใดเป็นตัวชี้วัดในการปฏิบัติราชการ ก. ประเทศมั่นคง ประชาชนมั่งคั่ง ยั่งยืน ข. บ้านเมืองมีความสงบเรียบร้อย ค. ร้อยละของโครงการที่สามารถปฏิบัติได้ตรงตามแผนประจาปี ง. ประชาชนในชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 10 32. ข้อใด มิได้อยู่ในหลักของ Balanced Scorecard ก. Learning and Growth ข. Effectiveness ค. Efficiency ง. Good Governance 33. อะไรคือความหมายขององค์การแห่งการเรียนรู้ (Learning organization) ก. การปรับเปลี่ยนวิสัยทัศน์ของผู้บริหารในองค์การให้ทันสมัย ข. คนในหน่วยงานมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ค. การจัดการศึกษาอบรมอย่างต่อเนื่องให้แก่คนในหน่วยงาน ง. การให้ทุนสนับสนุนการศึกษาต่อ หรือ การฝึกอบรม แก่พนักงาน
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
120
แบบทดสอบ
34. ข้อตกลงการปฏิบัติราชการ คือ ก. หนังสือยินยอมที่ผู้เป็นข้าราชการต้องทาสัญญากับหน่วยงานเมื่อแรกเข้า ข. ข้อตกลงที่หน่วยงานราชการร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกในรูปแบบบันทึกความเข้าใจ (MOU.) ค. หนังสือที่ระบุถึงหน้าที่และพันธกิจของหน่วยงานราชการที่ต้องดาเนินการตาม วัตถุประสงค์แห่งการก่อตั้ง ง. หนังสือที่ผู้บริหารในหน่วยราชการรับปากว่าเป็นผลงานจะดาเนินการให้แล้วเสร็จพร้อม ตัวชี้วัดที่ชัดเจน 35. การทา SAR ในหน่วยราชการ คือ ก. Sufficiency Assessment Report รายงานการประเมินตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ข. Self Assessment Report รายงานการประเมินผลการทางานที่จัดทาโดยหน่วยงาน เอง ค. System Assessment Report รายงานการประเมินการทางานอย่างเป็นระบบ ง. Scenario Assessment Report รายงานการประเมินภาพอนาคตเพื่อการวางแผนที่ สอดคล้อง 36. ในกรณีที่หน่วยราชการใดมิได้ เสนอแผนปฏิบัติราชการ ก. ให้ยุบหน่วยงานดังกล่าว ข. ให้รายงานต่อ รมต.ถึงเหตุผลความจาเป็น ค. มิให้สานักงบประมาณจัดสรรงบประมาณให้ ง. ถือเป็นการผิดวินัยของผู้บริหารหน่วยงาน ให้มีการสอบสวนโดยเร่งด่วน 37. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต้องหลักเกณฑ์อย่างน้อยในเรื่องใด ก. การลดขั้นตอนการการปฏิบัติงาน ข. การอานวยความสะดวกประชาชน ค. การตอบสนองความต้องการของประชาชน ง. ถูกทุกข้อ
121 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
แบบทดสอบ
38. แผนใด ให้จัดทาเป็นแผน 5 ปี ก. แผนบริหารราชการแผ่นดิน ข. แผนปฏิบัติราชการ ค. แผนนิติบัญญัติ ง. ถูกทุกข้อ 39. ตาม พรฎ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการการบริหารกิจการบ้านเมือง (ฉบับที่ 2) การ จัดทาแผนชนิดใดได้ถูกยกเลิกไป ก. แผนนิติบัญญัติ ข. แผนยุทธศาสตร์ชาติ ค. แผนปฏิบัติราชการ ง. แผนการปฏิรูปประเทศ 40. แพลตฟอร์มดิจิทัลกลาง หมายถึง ก. การให้ส่วนราชการทุกแห่งต้องยึดถือรูปแบบการพัฒนาเทคโนโลยีกลางในการบริการ สาธารณะเพื่อประโยชน์ในการบริการประชาชนและการติดต่อประสานงาน ข. การกาหนดให้ส่วนราชการต้องจัดหาซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์ที่มาจากผู้พัฒนาราย เดียวกันเพื่อประโยชน์ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลและการติดต่อสื่อสาร ค. การกาหนดให้ส่วนราชการต้องรวมศูนย์การจัดหาเครื่องมือและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อประโยชน์ในการเชื่อมโยงสื่อสาร ง. การให้มีหน่วยงานกลาง ทาหน้าที่เพียงผู้เดียวในการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ภาครัฐทั้ง ในด้านฮาร์ทแวร์และซอฟท์แวร์
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
122
แบบทดสอบ
41. ส่วนราชการต้องดาเนินการในเรื่อง การพัฒนาเทคโนโลยี โดยใช้แพลตฟอร์มดิจิทัลกลาง ให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาเท่าใด หลังจากที่ กม.มีผลใช้บังคับ ก. หนึ่งปี ข. สองปี ค. สามปี ง. สี่ปี 42. หน่วยงานใด ทาหน้าที่จัดทาแพลตฟอร์มดิจิทัลกลาง สาหรับการบริการประชาชนและการ ติดต่อประสานงานระหว่างส่วนราชการด้วยกัน ก. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ข. สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ค. ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ง. สานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) 43. ประสิทธิภาพ หมายถึง ก. การทางานให้สาเร็จ ข. การทางานให้คุ้มค่า ค. การทางานให้เป็นที่พึงพอใจของผู้รับบริการ ง. การทางานให้มีความสุข 44. ข้อใด มิใช่ การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพ ก. การจัดทาแผนการลดรายจ่ายของหน่วยงาน ข. การจัดซื้อจัดจ้างโดยเปิดเผยและเที่ยงธรรม ค. การทาบัญชีต้นทุนในงานบริการสาธารณะ ง. การให้ประชาชนเป็นศูนย์กลาง (citizen centered) ในการบริการสาธารณะ
123 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
แบบทดสอบ
45. ตาม พรฎ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีฯ หากส่วน ราชการ จาเป็นต้องขออนุมัติ ขออนุญาตจากส่วนราชการด้วยกัน จะต้องดาเนินการและ แจ้งผลให้เสร็จภายในกี่วัน นับตั้งแต่ได้รับคาขอ ก. 7 วัน ข. 15 วัน ค. 30 วัน ง. 45 วัน 46. ข้อใดเป็นการลดขั้นตอนการปฏิบัติงานในระบบราชการ ก. การกระจายอานาจการตัดสินใจ ข. การให้มีระบบรับฟังความคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ ค. การจัดทาบัญชีต้นทุนในงานบริการสาธารณะ ง. ถูกทุกข้อ 47. ข้อใดเป็นความหมายของ ศูนย์บริการร่วม (Service link) ก. ติดต่อที่เดียว ได้หลายหน่วยราชการ ข. ติดต่อบริการเบ็ดเสร็จจุดเดียว ในหนึ่งหน่วยราชการ (One stop service) ค. รวมข้าราชการธุรการและงานบริการต่างๆไว้ที่เดียวกันเพื่อการประหยัดงบประมาณ (Pooled service) ง. ผิดทุกข้อ 48. ตาม พรฎ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีฯ หากหน่วย ราชการได้รับการสอบถามเป็นหนังสือจากประชาชนหรือหน่วยราชการด้วยกัน จะต้อง ตอบภายในระยะเวลาเท่าใด ก. 3 วัน ข. 7 วัน ค. 15 วัน ง. 30 วัน
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
124
แบบทดสอบ
49. ข้อใดเป็นข้อมูลที่ หน่วยราชการ ต้องเปิดเผย ต่อ สาธารณะ ก. งบประมาณรายจ่ายประจาปี ข. รายการการจัดซื้อจัดจ้างที่จะดาเนินการในปีงบประมาณ ค. สัญญาการจัดซื้อจัดจ้างที่ได้มีการอนุมัติแล้ว ง. ถูกทุกข้อ 50. การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ให้คานึงถึงเรื่องใด ก. ผลสัมฤทธิ์ตามภารกิจ ข. ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการ ค. ความคุ้มค่าในภารกิจ ง. ถูกทุกข้อ 51. หน่วยงานใดที่ พรบ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง ไม่สามารถใช้บังคับได้ ก. ศาลเยาวชน ข. คณะกรรมการการเลือกตั้ง ค. จุฬาราชมนตรี ง. ถูกทุกข้อ 52. ข้อใดมิใช่ “คาสั่งปกครอง” ก. การออกกฎ ข. การสั่งการ ค. การอนุญาต ง. การวินิจฉัยอุทธรณ์ 53. ข้อใด มิใช่ สาระสาคัญของคาสั่งปกครอง ก. เป็นการใช้อานาจรัฐ ข. บังคับใช้เป็นกรณีทั่วไป ค. เป็นกระทาโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐ ง. เกิดผลในทางสภาพบังคับทางกฎหมาย
125 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
แบบทดสอบ
54. คาว่า “กฎ” ในนิยามของ พรบ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง หมายถึงข้อใด ก. กฎกระทรวง ข. พระราชกฤษฎีกา ค. ประกาศกระทรวง ง. ถูกทุกข้อ 55. ผู้รักษาการตาม พรบ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง คือ ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ข. ตุลาการศาลปกครองสูงสุด ค. นายกรัฐมนตรี ง. เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา 56. ผู้ที่ทาหน้าที่เป็น ประธาน ของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองคือ ก. นายกรัฐมนตรี ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ค. ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ง. ผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากคณะรัฐมนตรี 57. หน่วยงานที่ทาหน้าที่สานักงานเลขานุการ คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง คือ ก. ข. ค. ง.
สานักนายกรัฐมนตรี สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน สานักงานปลัด กระทรวงมหาดไทย
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
126
แบบทดสอบ
58. ข้อใด “มิใช่” อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง ก. เสนอแนะในการตรากฎหมายต่างๆตามพระราชบัญญัติ ข. สอดส่องดูแลให้คาแนะนาเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ ค. ออกคาสั่งทางปกครองเพื่อให้มีผลในทางปฏิบัติ ง. เรียกเจ้าหน้าที่หรือบุคคลอื่นมาชี้แจงแสดงความเห็นประกอบการพิจารณา 59. กรณีใดที่สามารถยื่นคัดค้านการพิจารณาของเจ้าหน้าที่ว่าเป็นการออกคาสั่งปกครองโดยมิ ชอบได้ ก. กกต. ตัดสิทธิผู้สมัครรับเลือกตั้ง ทั้งๆที่คุณสมบัติยังคลุมเครือ ข. นายกเทศมนตรีลงนามอนุมัติการจัดซื้อจัดจ้างจากบริษัทที่ญาติของตนเป็นเจ้าของ ค. อัยการใช้อานาจสั่งฟ้องผู้ต้องหาคดีลักทรัพย์ทั้งๆที่หลักฐานยังไม่ชัดเจนนัก ง. สภาผู้แทนราษฎรใช้เสียงข้างมากลากไปในลงมติรับหลักการ พรบ.งบประมาณประจาปี 60. การออกคาสั่งปกครอง เจ้าหน้าที่ต้องให้คู่กรณีได้ทราบข้อเท็จจริงอย่างเพียงพอและมี โอกาสแสดงพยานหลักฐานของตน เว้นแต่ในกรณีใด ก. เป็นเรื่องที่โดยสภาพเห็นชัดเจนว่า โอกาสดังกล่าวไม่สามารถกระทาได้ ข. เป็นเรื่องที่ผู้ออกคาสั่งมีดุลยพินิจเห็นว่าไม่จาเป็นต้องดาเนินการ ค. เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับนโยบายของรัฐ ง. ถูกทุกข้อ 61. เอกสารชนิดใด ที่คู่กรณี สามารถขอดูจากเจ้าหน้าที่ผู้ออกคาสั่งปกครองได้ ก. เอกสารทุกชนิด ข. เอกสารที่จาเป็นต้องรู้เพื่อการโต้แย้งหรือป้องกันสิทธิของตน ค. ต้นร่างคาวินิจฉัยของเจ้าหน้าที่ที่ออกคาสั่งทางปกครอง ง. เอกสารที่มิใช่เอกสารสาคัญของทางราชการ
127 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
แบบทดสอบ
62. ข้อใด ถูกต้อง ก. คาสั่งปกครองต้องทาเป็นหนังสือเท่านั้น ข. คาสั่งปกครองสามารถใช้ตาแหน่งของผู้ออกคาสั่ง โดยไม่จาเป็นต้องระบุชื่อผู้ทาคาสั่ง ค. การลงลายชื่อของเจ้าหน้าที่ผู้ทาคาสั่ง จะกระทาเมื่อมีการร้องขอจากคู่กรณี ง. คาสั่งปกครองไม่จาเป็นต้องประกาศในราชกิจจานุเบกษา 63. หนังสือคาสั่งปกครอง ต้องแสดงเหตุผลของคาสั่ง โดยอย่างน้อยต้องมีสาระสาคัญในเรื่อง ใด ก. มูลเหตุแห่งคาสั่งปกครอง ข. ข้อกฎหมายที่อ้างอิง ค. ระยะเวลาของการบังคับใช้ ง. ถูกทุกข้อ 64. หนังสือคาสั่งปกครอง อาจไม่จาเป็นต้องแสดงเหตุผลในกรณีใด ก. มีความคล้ายคลึงกับคาสั่งปกครองที่เคยออกก่อนหน้า ข. ผู้ออกคาสั่ง มีตาแหน่งเป็นผู้บริหารระดับสูง ค. เหตุผลเป็นที่รู้กันอยู่แล้ว ง. คู่กรณีไม่ติดใจกับการไม่แสดงเหตุผล 65. ข้อใดเป็นคาสั่งปกครองที่มีกาหนดเงื่อนไขเพื่อให้เกิดการปฏิบัติ ก. คาสั่งให้คู่กรณีชาระเงินค่าปรับภายใน 7 วัน ข. คาสั่งให้เวลาแก่คู่กรณีในการรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างให้เรียบร้อย ค. คาสั่งเพิกถอนใบอนุญาตการประกอบการค้าที่คู่กรณีกระทาผิดกฎหมาย ง. การออกใบอนุญาตโรงงานอุตสาหกรรมให้ประกอบการได้ตามวัตถุประสงค์การจด ทะเบียน
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
128
แบบทดสอบ
66. การอุทธรณ์คาสั่งปกครอง กรณีใดที่ไม่สามารถทาได้ ก. การอุทธรณ์เลยระยะเวลา 15 วันนับตั้งแต่วันได้รับคาสั่ง ข. การอุทธรณ์คาสั่งปกครองที่ออกโดยรัฐมนตรีและไม่มีกฎหมายกาหนดขั้นตอนการ อุทธรณ์ ค. การอุทธรณ์ด้วยวาจา ง. ถูกทุกข้อ 67. การอุทธรณ์ คาสั่งปกครอง ให้อุทธรณ์ต่อใคร ก. เจ้าหน้าที่ผู้ทาคาสั่งทางปกครอง ข. ผู้บังคับบัญชาถัดจากเจ้าหน้าที่ผู้ทาคาสั่งทางปกครอง ค. ผู้บังคับบัญชาสูงสุดของหน่วยงานที่ผู้ทาคาสั่งทางปกครองสังกัด ง. ศาลปกครอง 68. กรอบเวลาที่ต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จในการพิจารณาคาอุทธรณ์และแจ้งผลกลับยังผู้ อุทธรณ์ คือ ก. 15 วัน ข. 30 วัน ค. 45 วัน ง. 60 วัน 69. ในกรณีที่ไม่สามารถพิจารณาคาอุทธรณ์ให้แล้วเสร็จตามกาหนด สามารถเสนอผู้มีอานาจ ในหน่วยงานขยายเวลาดาเนินการได้ ไม่เกินระยะเวลาเท่าใด ก. 15 วัน ข. 30 วัน ค. 45 วัน ง. 60 วัน
129 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
แบบทดสอบ
70. ผู้ใด เป็นผู้มีอานาจเพิกถอน คาสั่งปกครอง ก. ศาลปกครอง ข. คณะกรรมการวินิจฉัยคาอุทธรณ์ร้องทุกข์ ค. ผู้บังคับบัญชาของเจ้าหน้าที่ที่ออกคาสั่งทางปกครอง ง. ผู้ไกล่เกลี่ย หรือ อนุญาโตตุลาการที่สองฝ่ายเห็นชอบ 71. กรณีใดคือ ความเข้าใจที่ถูกต้องของ การขอให้พิจารณาคาสั่งปกครองใหม่ ก. ทาได้ภายในกาหนดเวลา 90 วันหลังจากมีผลการพิจารณาอุทธรณ์ ข. ทาได้ในกรณีคู่กรณีไม่พอใจต่อคาสั่งปกครองหรือผลการพิจารณาอุทธรณ์ ค. ทาได้ในกรณีมีพยานหลักฐานใหม่ ที่เปลี่ยนแปลงในสาระสาคัญ ง. ทาได้ในกรณีที่ผ่านขั้นตอนการอุทธรณ์แล้วเท่านั้น 72. ข้อใดเป็นมาตรการบังคับทางปกครอง ก. การยึด อายัดทรัพย์สิน ข. การเข้ากระทาการแทน ค. การใช้ชาระค่าปรับ ง. ถูกทุกข้อ 73. การนับอายุความ นับอย่างไร ก. นับวันแรก จนถึงวันสุดท้าย แม้ว่าจะเป็นวันหยุดราชการ ข. นับวันแรก จนถึงวันสุดท้าย หากวันสุดท้ายเป็นวันหยุด ให้ถือวันทางานแรกถัดไป ค. ไม่นับวันแรก แต่นับรวมวันสุดท้าย แม้ว่าจะเป็นวันหยุดราชการ ง. ไม่นับวันแรก แต่นับรวมวันสุดท้าย หากวันสุดท้ายเป็นวันหยุดให้ถือวันทางานแรกถัดไป 74. คู่กรณีสามารถนาเรื่องฟ้องต่อศาลปกครองได้ในกรณีใด ก. กระทาคู่ขนานไปกับการอุทธรณ์คาสั่งปกครอง ข. ต้องดาเนินการอุทธรณ์ก่อน หากผลเป็นที่ไม่พอใจ จึงฟ้องศาลปกครองได้ ค. ทาได้ตลอดเวลา โดยเป็นทางเลือกของคู่กรณีว่าจะดาเนินการทางใด ง. กระทาได้หลังจากมีคาวินิจฉัยของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
130
แบบทดสอบ
75. ประธานคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง คนปัจจุบัน คือ ก. นายวิษณุ เครืองาม ข. นายบวรศักดิ์ อุวรรณโณ ค. พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ง. พลเอกอนุพงษ์ เผ่าจินดา 76. ข้อใด มิใช่ ความผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ ก. นาย ก. เป็นข้าราชการ ขับรถในงานราชการโดยประมาท ไปเฉี่ยวชนทรัพย์สินของบุคคล อื่นจนเสียหาย ข. บ้านของนาย ข. ที่เป็นปลัดอาเภอ ปลูกรุกล้าที่ของบุคคลอื่น ค. นาย ค. ประมาทเลินเล่อในการตรวจรับพัสดุ จนราชการเสียหาย ง. นาย ง. ร่วมกับ นาย จ. ที่เป็นข้าราชการ ลักทรัพย์ของราชการไปใช้ประโยชน์ส่วนตน แล้วเกิดความเสียหายต่อราชการ 77. ข้อใด มิใช่ องค์ประกอบของ “การละเมิด” ก. เป็นความผิดทางอาญา ข. การกระทาที่ไม่จงใจ ค. เกิดผลเสียหายต่อผู้อื่น ง. เป็นสิ่งที่ผิดกฎหมาย 78. หน่วยงานของรัฐ ใน พรบ. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ ไม่รวมหน่วยงานใด ก. เมืองพัทยา ข. การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ค. โรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) ง. ทุกข้อ เป็นหน่วยงานของรัฐ
131 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
แบบทดสอบ
79. นาย ก. เป็นพนักงานขับรถของกระทรวงสาธารณสุข ขณะที่ไปส่งยาให้กับโรงพยาบาล ขับรถเฉี่ยวชน กับรถยนต์ผู้อื่น ก. นาย ก. ต้องรับผิดในการชดใช้ค่าเสียหาย ข. กระทรวงสาธารณสุข เป็นผู้รับผิดชอบชดใช้ค่าเสียหาย ค. กระทรวงการคลัง เป็นผู้รับผิดชอบ ชดใช้ค่าเสียหาย ง. แบ่งความรับผิดคนละครึ่งระหว่างเจ้าหน้าที่และหน่วยงานต้นสังกัด 80. น.ส. ข. ได้รับมอบหมายงานด่วนจากผู้บังคับบัญชาให้จัดทางบประมาณของหน่วยงาน ราชการ จึงนาโน้ตบุ้คของหน่วยงานกลับไปทางานที่บ้าน โชคร้ายมีขโมยขึ้นบ้าน ขโมย โน้ตบุ๊คของราชการไป ก. น.ส. ข. ต้องรับผิดในการชดใช้โน้ตบุ๊คให้แก่หน่วยงาน ข. ผู้บังคับบัญชาที่สั่งงานต้องรับผิดชดใช้โน้ตบุ๊คแก่หน่วยงาน ค. น.ส. ข. และ ผู้บังคับบัญชา แบ่งส่วนกันรับผิดชอบคนละครึ่ง ง. หน่วยงานราชการ เป็นผู้รับผิดชอบ เนื่องจากถือว่าเป็นความเสียหายในขณะปฏิบัติ ราชการ 81. โรงพยาบาลของรัฐแห่งหนึ่ง ถูกคนไข้เรียกค่าเสียหายเนื่องจาก เจ้าหน้าที่จ่ายยาผิด หากโรงพยาบาลเห็นว่า เป็นความบกพร่องที่เจ้าหน้าที่ไม่ปฏิบัติตามคู่มือการปฏิบัติงาน ก. โรงพยาบาล สามารถเรียกค่าเสียหายจากเจ้าหน้าที่ได้ ข. โรงพยาบาล สามารถร้องต่อศาลเพื่อเรียกเจ้าหน้าที่มาเป็นคู่ความในคดีได้ ค. โรงพยาบาล ต้องรับผิดทางละเมิดแทนเจ้าหน้าที่เท่านั้น ง. โรงพยาบาล ให้ผู้เสียหาย ไปฟ้องต่อเจ้าหน้าที่โดยตรง
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
132
แบบทดสอบ
82. หน่วยงานที่ถูกประชาชนฟ้องเรียกสินไหมทดแทน สามารถไล่เบี้ยต่อยังเจ้าหน้าที่ของ หน่วยงานที่กระทาผิดได้ในกรณีใด ก. ทุกกรณีที่เห็นสมควร ข. เป็นกรณีประมาทเลินล่อ ค. กรณีจงใจกระทาความผิด ง. กรณีที่สามารถระบุตัวเจ้าหน้าที่ที่กระทาผิดได้อย่างชัดเจน 83. คาว่า “ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง” หมายถึงกรณีใด ก. ทาผิดซ้าๆในกรณีเดียวกัน ข. ปฏิบัติผิดมาตรฐานวิชาชีพ ค. ฝ่าฝืน กฎหมาย หรือ ระเบียบปฏิบัติ ง. ถูกทุกข้อ 84. กรณี เจ้าหน้าที่เป็นผู้กระทาละเมิด ต่อหน่วยงานของรัฐ สิทธิในการเรียกสินไหมทดแทนมี อายุความอย่างไร ก. สองปี นับแต่หน่วยงานทราบเรื่อง ข. หนึ่งปี นับแต่หน่วยงานทราบเรื่อง ค. หกเดือน นับแต่หน่วยงานทราบเรื่อง ง. เก้าสิบวัน นับแต่หน่วยงานทราบเรื่อง 85. หากประชาชนฟ้องละเมิดหน่วยงานของรัฐ แล้วยังไม่พอใจในคาวินิจฉัย สามารถร้อง ทุกข์ต่อได้ที่ใด ก. ศาลปกครอง ข. คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม ค. คณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ ง. คณะกรรมการร้องทุกข์แห่งชาติ
133 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
แบบทดสอบ
86. นาย ก. เป็นข้าราชการ นารถยนต์ของหน่วยงานราชการไปใช้ส่วนตัว เมื่อเกิดอุบัติเหตุ ต้องเสียค่าซ่อมรถจานวนมาก หน่วยงานสามารถให้ผ่อนชาระได้ ในกรณีใด ก. นาย ก. มีเงินเดือนน้อย ไม่สามารถใช้ทั้งหมดในคราวเดียว ข. นาย ก. มีบุพการีที่ต้องดูแล และมีค่าใช้จ่ายที่จาเป็นรายเดือน ค. นาย ก. มีตาแหน่งงานที่รับราชการมานาน และมีความรับผิดชอบสูง ง. ถูกทุกข้อ 87. ผู้รักษาการ ตาม พรบ. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ คือ ผู้ใด ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ข. นายกรัฐมนตรี ค. ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ง. รัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรี 88. นาย ก. และ เพื่อนข้าราชการ รวม 10 คน ชุมนุมหยุดงานเพื่อขับไล่รัฐบาล และปิดกั้น ไม่ให้หน่วยราชการสามารถบริการประชาชนได้ ถือเป็นความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ ราชการ มีโทษอย่างไร ก. จาคุกไม่เกิน 10 ปี และปรับไม่เกิน 200,000 บาท ข. จาคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ ค. จาคุกไม่เกิน 7 ปี หรือปรับไม่เกิน 140,000 บาท ง. จาคุกตั้งแต่ 5-10 ปี หรือ ปรับตั้งแต่ 100,000-200,000 บาท 89. การกระทาใดที่เป็นความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการ ที่อาจมีโทษจาคุกตลอดชีวิต ก. เบียดบังทรัพย์ของราชการที่ตนเองเป็นผู้ดูแลไปเป็นของตน ข. เรียกรับ ทรัพย์สิน หรือประโยชน์เพื่อกระทาการโดยอาศัยตาแหน่งตน ค. ทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้าง ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ราชการ ง. ถูกทุกข้อ
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
134
แบบทดสอบ
90. การกระทาใดที่เป็นความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการ ที่อาจมีโทษถึงประหารชีวิต ก. ตารวจให้ใช้อานาจตาแหน่งข่มขู่เรียกเงินประชาชน ข. เจ้าพนักงาน ปฏิบัติหรือละเว้นปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ ค. ข้าราชการนาความลับของราชการไปเปิดเผย ง. เจ้าหน้าที่รับเงินจากผู้รับเหมาเพื่อให้ตรวจรับการก่อสร้างที่ไม่สมบูรณ์ 91. โทษของการรับรองเอกสารที่เป็นเท็จ คือ ก. จาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท ข. จาคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท ค. จาคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท ง. จาคุกไม่เกิน 7 ปี หรือปรับไม่เกิน 140,000 บาท 92. พรบ. มาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 ไม่ใช้บังคับกับหน่วยงานใด ก. ศาล ข. องค์กรอิสระ ค. องค์การมหาชน ง. ผิดทุกข้อ 93. ข้อใด มิใช่ มาตรฐานทางจริยธรรม ที่ใช้เป็นหลักในการจัดทาประมวลจริยธรรมของ หน่วยงานรัฐ ก. มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน ข. มีความเป็นกลางทางการเมือง ค. มีจิตสาธารณะ ง. ปฏิบัติหน้าที่อย่างเป็นธรรม
135 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
แบบทดสอบ
94. ผู้ทาหน้าที่ เป็นประธาน คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม คือ ก. นายกรัฐมนตรี ข. รองนายกรัฐมนตรี ค. นายกรัฐมนตรี หรือ รองนายกรัฐมนตรีซึ่งนายกฯมอบหมาย ง. เลขาธิการ ก.พ. 95. การทบทวนมาตรฐานทางจริยธรรม ให้กระทาเมื่อใด ก. ทุก 5 ปี ข. ทุก 4 ปี ค. ทุก 3 ปี ง. ทุก 2 ปี 96. ตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน สิ่งที่ข้าราชการต้องดาเนินการเมื่อรู้หรือพบ เห็นการกระทาที่ฝ่าฝืนประมวลจริยธรรม คือ ก. แสดงความคิดเห็นต่อผู้ฝ่าฝืนเพื่อให้เกิดการแก้ไขโดยฉับพลัน ข. แจ้งความดาเนินคดี ต่อเจ้าพนักงานในท้องที่ ค. รายงานต่อหัวหน้าส่วนราชการ ง. รายงานต่อคณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม 97. กรณี ข้าราชการพบว่า คาสั่งของผู้บังคับบัญชานั้น ไม่ชอบด้วยกฎหมาย กฎ หรือ ข้อบังคับ สมควรดาเนินการอย่างไร ก. ปฏิบัติตามไปก่อน เนื่องจากเป็นคาสั่งของผู้บังคับบัญชา ข. ไม่สามารถปฏิบัติตามได้ เนื่องจากผิดกฎหมาย ค. ปฏิบัติตาม แต่ให้ทักท้วง เป็นลายลักษณ์อักษร ง. ไม่ต้องปฏิบัติตาม และให้ทักท้วง เป็นลายลักษณ์อักษร
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
136
แบบทดสอบ
98. ข้าราชการ ควรวางตัวอย่างไร กับการให้สัมภาษณ์สื่อมวลชนในประเด็นการเมือง ก. ไม่ควรให้สัมภาษณ์ใดๆ ข. ควรให้ความเห็นทางวิชาการตามหลักวิชา ค. ควรขออนุญาตจากผู้บังคับบัญชาก่อนการให้สัมภาษณ์ ง. ควรแสดงความเห็นด้วยเจตนาบริสุทธิ์ 99. ข้อใดถือเป็น จรรยาบรรณต่อประชาชนและสังคม ก. การให้บริการต่อประชาชนอย่างเต็มกาลังความสามารถ ข. ละเว้นต่อการนาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน ค. ตรงต่อเวลาและใช้เวลาราชการให้เป็นประโยชน์อย่างเต็มที่ ง. ถูกทุกข้อ 100. การไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานจริยธรรมเรื่องใดของผู้ดารงตาแหน่งในศาลรัฐธรรมนูญและ องค์กรอิสระ ถือว่าเป็นเรื่องร้ายแรง ก. มาตรฐานทางจริยธรรมอันเป็นค่านิยมหลัก ข. มาตรฐานทางจริยธรรมทั่วไป ค. มาตรฐานทางจริยธรรมทางวิชาชีพ ง. มาตรฐานทางจริยธรรมอันเป็นอุดมการณ์
137 23
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
แบบทดสอบ
เฉลย แนวข้อสอบวัดความรู้ ภาค ก. สอบ ก.พ. วิชา กฏหมาย 1. ก.
16. ข.
31. ค.
46. ก.
61. ข.
76. ข.
91. ง.
2. ค.
17. ก.
32. ง.
47. ก.
62. ง.
77. ก.
92. ง.
3. ข.
18. ง.
33. ข.
48. ค.
63. ง.
78. ง.
93. ข.
4. ข.
19. ก.
34. ง.
49. ง.
64. ค.
79. ข.
94. ค.
5. ค.
20. ง.
35. ข.
50. ง.
65. ก.
80. ง.
95. ก.
6. ง.
21. ค.
36. ค.
51. ง.
66. ง.
81. ข.
96. ค.
7. ข.
22. ง.
37. ง.
52. ก.
67. ก.
82. ค.
97. ค.
8. ง.
23. ก.
38. ข.
53. ข.
68. ข.
83. ง.
98. ข.
9. ค.
24. ง.
39. ก.
54. ง.
69. ข.
84. ก.
99. ก.
10. ข.
25. ค.
40. ก.
55. ค.
70. ค.
85. ก.
100. ง.
11. ง.
26. ค.
41. ข.
56. ง.
71. ค.
86. ง.
12. ก.
27. ข.
42. ง.
57. ข.
72. ง.
87. ข.
13. ค.
28. ค.
43. ข.
58. ค.
73. ง.
88. ก.
14. ก.
29. ก.
44. ง.
59. ข.
74. ข.
89. ง.
15. ข.
30. ก.
45. ข.
60. ก.
75. ข.
90. ก.
หนังสือเตรียมสอบราชการ ก.พ. วิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ฉบับสมบูรณ์ รศ. สมชัย ศรีสุทธิยากร และทีมวิชาการ ไอเรียน
138
“เพราะการเรียนรู คือการปูทางสูอนาคต” ... ที่ไอเรียน เราเซียนทุกวิชา ...
เราขอเปนกําลังใจใหกับผูใฝรู ทุกทาน สานฝนราชการ ขอใหทานประสบความสําเร็จตามที่มุงหวังไวทุกประการ และถาหากตองกาเสนอความคิดเห็นอันใดเพิ่มเติม ทานสามารถสงคําแนะนําของทานมาไดที่ บริษัท ดีเอชเอเอส เอ็ดดูเคชั่น จํากัด irearn@dhas.com หรือ โทรศัพท 02-668-0199 [ จ.-ศ. 9.00 - 17.00 น.]
้ หาการสอบ ภาค ก. และเก็งแนวข้อสอบตามหลักเกณฑ์ใหม่ เตรียมสอบข้าราชการ ก.พ. ครอบคลุมเนือ ในวิชา ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ซึ่งเป็นวิชาที่สําคัญยิ่งในการสอบ หนังสือเล่มนี้จึงเรียบเรียงจากประสบการณ์ตรงของผู้สอน ่ี องการเข้ารับการทดสอบรับราชการ ก.พ. ภาค ก. สําหรับผู้ท้ต้ เนื้อหาในเล่มจึงมากไปด้วยเทคนิคการจดจํารายละเอียดและวิธีการหาคําตอบในรูปแบบทางลัด เพื่ อความเร็วและเป็นประโยชน์ในการสอบ ก.พ. ภาค ก. ตามหลักเกณฑ์การสอบ ปี 2564
เนื้อหาและแนวข้อสอบภายในเล่ม ระเบียบการบริหารราชการแผ่นดิน หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง เจตคติและจริยธรรมสําหรับข้าราชการ หน้าที่และความรับผิดชอบในการปฏิบต ั ิหน้าที่ราชการ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนปฏิรูปประเทศ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพี ยง
สนใจสั่งซื้อหนังสือออนไลน์ ได้ท่ี
หนังสือคู่มือเตรียมสอบ ISBN 978-616-93809-0-0
สนใจ www.irearn.com
เพราะที่ไอเรียน เราเซียนทุกวิชา
9 786169 380900
ราคา 175 บาท