Work hard, Lazy harder

Page 1




2



4


5


6


เราอยู่ในยุคที่ห้ามท�ำตัวขี้เกียจ แน่นอนว่าร้อยทั้งร้อย สังคมต้องการคน ที่ท�ำงานมากกว่าคนที่สุขภาพดี ความขี้เกียจเป็นเรื่องที่เราต้องสู้รบปรบมือกับมัน เพราะมันยากเหลือเกินในการจะเริ่มท�ำสิ่งที่เราเรียกว่างาน บิล เกตส์ กล่าวว่า “ผมเลือกคนขี้เกียจมาท�ำงานยากๆ เพราะเขาจะหา ทางที่ง่ายที่สุดในการจัดการมัน” บิล เกตส์ เบิกทางให้เห็นมุมมองความคิดที่ว่า สิง่ ทีเ่ ราหลบเลีย่ งและไม่อยากเป็นอย่างความขีเ้ กียจสามารถน�ำมาใช้เป็นอาวุธทีส่ ง่ เสริมการท�ำงานได้เสียอย่างนั้น แล้วเราจะท�ำอย่างไรกับยุคที่ทุกๆอย่างขับเคลื่อนไปอย่างรวดเร็วแต่ร่างกายเริ่มส่ง เสียงประท้วงหาค�ำตอบของชีวิต ยุคที่มีความกดดันสูงจนเกิดความเครียดและ โรคต่างๆมากมาย จนเกิดความสุดโต่งทางสังคมและจิตใจ แน่นอนว่าคนเราไม่อยาก ถูกมองว่า “ขี้เกียจตัวเป็นขน” แล้วก็ไม่อยากโหมท�ำงาน “ขยันตัวเป็นเกลียว” น่าสงสัยทีเ่ รามีตวั แปรทีค่ อยจ�ำ้ จีจ้ ำ�้ ไชให้เราไปท�ำงานมีอยูเ่ สมอ แต่จะมีใครมาคอย จีค้ อยเตือนให้เราพักดูแลตัวเองบ้าง เรามีสทิ ธิจ์ ะหยุดได้แค่ตอนป่วยอย่างนัน้ หรือ? ท�ำไมเราไม่ลองฟังเสียงของความขี้เกียจดู “ขี้เกียจตัวเป็นเกลียว” จะช่วยจับเข่า คุยกับความขี้เกียจที่เป็นต้นเหตุหลักของปัญหานี้ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้ตัวเอง ใช้ความขี้เกียจให้เกิดประโยชน์และไม่ดื้อมุทะมุจนไม่ฟังเสียงเตือนของร่างกาย มาเริ่มหาวิธีขี้เกียจให้รุ่งโรจน์ในแบบฉบับของตัวเองกันเถอะ!

7


8


9


10


11


หากพูดถึงความขี้เกียจ แต่ไหนแต่ไรความขี้เกียจไม่ใช่สิ่งคนเราต้องการ ให้มีอยู่ในคุณสมบัติของตัวเองอยู่แล้ว เพราะมันเป็นต้นเหตุของปัญหามากมาย อย่างการนั่งเล่นเรื่อยเปื่อยจนไม่ท�ำงานของตัวเอง ผัดวันประกันพรุ่งจนสะสมงาน เป็นกองใหญ่ๆ และท�ำให้เราต้องมาปั่นท�ำเอาช่วงโค้งสุดท้ายก่อนส่งงานเสมอ ความขีเ้ กียจจึงเป็นตัวขัดขวางความส�ำเร็จขนานแท้ มันคือพฤติกรรมของการอยาก สบายโดยไม่ต้องท�ำอะไรเลยและเราส่วนใหญ่ก็อยากเป็นแบบนั้นเสียด้วย การที่จะ ควบคุมตัวเองจากความขี้เกียจ เราต้องยอมรับก่อนว่า มนุษย์เป็นตัวขี้เกียจเดินได้ เรามีความขี้เกียจฝังลึกอยู่ในข้างใน ลงลึกไปถึงดีเอ็นเอ มันแฝงอยู่ในเลือดเนื้อ สัญชาตญาณเราจนเป็นส่วนหนึ่งของเรามานานแล้วล่ะ สัญชาตญาณของมนุษย์ถูกบรรจุอยู่ในดีเอ็นเอซึ่งเป็นรหัสพันธุกรรมที่ส่ง กันรุน่ ต่อรุน่ รูปร่างของดีเอ็นเอเป็นเส้นทีม่ รี หัสเข้าคูก่ นั สองเส้นบิดเป็นเกลียวเข้าหา กัน ภายในนั้นบรรจุยีนที่บันทึกพฤติกรรมของมนุษย์ต้ังแต่ยุคแรกแล้วสะสมส่งต่อ มาสู่ลูกหลาน เป็นแนวทางการการด�ำเนินชีวิตส�ำเร็จรูปที่เปิดใช้ได้เลยตั้งแต่เกิด เราไม่ต้องเรียนรู้จากที่ไหนก็สามารถแสดงพฤติกรรมการเอาตัวรอดตามธรรมชาติ ได้เองโดยอัตโนมัติ ดังนั้นยีนซึ่งอยู่ในดีเอ็นเอที่เป็นตัวควบคุมพฤติกรรมของเราจึง มีส่วนที่ท�ำให้เรายังหลงเหลือพฤติกรรมของบรรพบุรุษอยู่ไม่ว่าจะเป็นรุ่นทวดปู่ย่า ตายายที่เก่าแก่แค่ไหนก็ตาม 12


ถ้าจะดูที่มาของความขี้เกียจก็ต้องย้อนกลับไปดูในสมัยดึกด�ำบรรพ์ สมัยนั้นมนุษย์เราแทบไม่มีบทบาทในโลกใบนี้เลย มนุษย์ใช้ชีวิตหลบซ่อนจากสัตว์ นักล่าและภัยธรรมชาติที่เราไม่รู้จัก ใช้ชีวิตอยู่ในความกลัว ความกลัวกับโชคนี่เอง ทีท่ ำ� ให้บรรพบุรษุ เรารอดมาได้เรือ่ ยๆ ส่วนพวกทีก่ ล้าบ้าบิน่ หรือดวงกุดก็ตายไปเป็น กรณีศึกษา ความกลัวส่วนใหญ่ท�ำให้ต้องอดทนและไม่ท�ำอะไรเลยจนกว่าจะเห็น ความคุ้มค่าในการลงแรงท�ำ มนุษย์ต้องสงวนพลังงานเอาไว้ คือถ้าไม่หิวจนจะขาด สารอาหารตายก็จะไม่พยายามออกไปไหนจากที่ปลอดภัยเลยทีเดียว ความหวาด กลัวเหล่านัน้ เกาะกุมเข้าไปในสัญชาตญาณ บรรจุสะสมส่งมาเป็นรุน่ ๆจนถึงปัจจุบนั การประวิงเวลาแห่งความปลอดภัยในสมัยก่อน บัดนีถ้ กู เรียกว่าความขีเ้ กียจนัน่ เอง ปกติมนุษย์นั้นสามารถปรับตัวให้เข้ากับธรรมชาติได้เสมอ แต่จะบอกว่า ความขี้เกียจเป็นพฤติกรรมหลงยุคเสียทีเดียวก็ไม่ถูกเพราะมันอยู่กับเรามาตลอด แค่มันขัดกับสภาวะการใช้ชีวิตในปัจจุบันเท่านั้น คนเรารักสบายยังไงก็อยากจะ สบายอย่างนัน้ อารยธรรมทีพ่ วกเราสร้างขึน้ กลายเป็นกรอบก�ำหนดให้มนุษย์ใช้ชวี ติ ฝืนธรรมชาติตวั เองมากขึน้ เรือ่ ยๆ แม้อารยธรรมเหล่านัน้ เป็นตัวก�ำหนดให้เราใช้ชวี ติ อย่างเป็นระเบียบและสะดวกสบาย แต่ในทางกลับกัน เราก็ยงิ่ ต้องปรับตัวหลายด้าน มากขึ้น ท�ำงานเร็วขึ้นและออกแรงเยอะขึ้นเพื่อตอบสนองและตามกระแสสังคมให้ ทันบรรทัดฐานของความขี้เกียจของมนุษย์เราไม่ได้เปลี่ยนไป แต่บรรทัดฐานของ ปัจจัยในการใช้ชีวิตมีเพิ่มขึ้นเท่านั่นเอง ความขี้เกียจจึงไม่ใช่อะไรที่ตัดออกไปได้ เพราะมันกลายเป็นส่วนหนึง่ ของเราเสียแล้ว การน�ำส่วนดีของความขีเ้ กียจในตัวมา ปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ต่างหาก คือการปรับตัวให้เข้ากับสภาพสังคมในปัจจุบัน อย่าลืมว่ามนุษย์ปรับตัวตาม “ธรรมชาติ” ได้เสมอ

13


จากการวิวัฒนาการของมนุษย์ มีการเปลี่ยนทางด้านกายภาพและด้าน กระบวนการคิดที่พัฒนามาก ขึ้ น ส่ ง เสริ ม ให้ เ ราสามารถ สร้างสิ่งต่างๆขึ้นมาอ�ำนวย ความสะดวกให้แก่ตัวเองได้ ทุกๆอย่างที่มีการพัฒนาต้องมีการเปลี่ยนแปลง รวมไปถึงความขี้เกียจด้วย แม้ว่าความขี้เกียจกลายเป็นสัญชาตญาณที่ฝังลึกอยู่ใน ตัวเรา ยากที่จะเอาออก และใครๆก็ขี้เกียจทั้งนั้น แต่ความขี้เกียจก็ต้องพ่ายแพ้ให้ แก่อารยธรรมทีเ่ จริญก้าวหน้า เราไม่สามารถอยูส่ บายๆท�ำตามใจตัวเองได้ตลอดไป เพราะปัจจัยในการใช้ชีวิตขึ้นอยู่กับการต้องท�ำงานซึ่งมีอิทธิพลและส่งผลต่อ ความอยู่รอดของเรามากขึ้นเรื่อยๆ ท�ำให้ความขี้เกียจในตัวเราเริ่มสั่นคลอนจนเรา อยู่เฉยๆแบบเดิมไม่ได้แล้ว มนุษย์เรากลัวความตายเป็นที่สุด มันเป็นกฎของธรรมชาติ ถึงแม้ว่า วันหนึ่งเราก็ต้องตายอยู่ดี แต่การตายก่อนโดยที่ยังไม่ได้สัมผัสโลกที่น่าตื่นตาตื่นใจ ใบนี้อย่างเต็มที่ไม่ใช่เรื่องที่เราต้องการ บางคนเกิดมายังไม่เคยมีแฟนด้วยซ�้ำ พวกเขาควรดื่มด�่ำกับความรักบนโลกให้มากกว่านี้ ถ้าตายแล้วไม่ทรมานหรือตาย แล้วมีความสุขคนเราคงตายกันไปเยอะแล้ว เพราะฉะนั้นไม่ว่าเมื่อไหร่ก็ตามที่เป็น เรื่องเกี่ยวกับชีวิตและปากท้องหรือการขยายพันธุ์(?) การโดนแรงกดดันหนักๆและ เฉียบพลันที่มีผลถึงชีวิตจึงจะท�ำให้การตัดสินใจของมนุษย์เกิดขึ้นเร็วขึ้น มันช่วย กระตุน้ ให้เราลงมือท�ำอะไรบางอย่างเพือ่ ความอยูร่ อดของทัง้ ตัวเองและของเผ่าพันธุ์

14


แมลงบางชนิดอดทนต่อสู้มาทั้งชีวิตเพื่อให้ได้แค่ผสมพันธุ์ เมื่อจั๊บจึ่งจั๊บ เสร็จมันก็ตายไป ทิง้ ให้ลกู หลานรอวันเผชิญโลกและใช้ชวี ติ เพียงเพือ่ ผสมพันธุเ์ หมือน ที่รุ่นปู่ย่าเคยท�ำ ในสภาพแวดล้อมที่มีทรัพยากรที่มีจ�ำกัดการเกิดและตายจึงเป็น วงจรเกือ้ กูล การดิน้ รนเอาชีวติ รอดนีเ้ องทีเ่ ป็นสาเหตุให้เราถีบตัวและพัฒนาสิง่ ต่างๆ และปรับตัวให้ดีขึ้น

ยืดอกภูมิใจในตัวเองได้เลยว่า ในยุคดึกด�ำบรรพ์มีแค่มนุษย์เราเท่านั้นที่ คิดประดิษฐ์วสั ดุรอบตัวขึน้ มาใช้ทำ� อาวุธ ถึงจะเคยเป็นลิงมาก่อนและไม่ได้เกิดมามี เขี้ยวเล็บเท่ๆไว้ต่อสู้เหมือนอย่างช้างแมมอธหรือเสือเขี้ยวดาบ แต่โชคดีที่สมองเรา ที่ฉลาดสุดๆ เหมือนได้สูตรโกงจากธรรมชาติและน่าประทับใจตรงที่เราค้นพบว่า สมองของเรามีค วามคิ ด สร้ า งสรรค์ ที่ ไ ร้ ขี ด จ� ำ กั ด บวกกั บ เป็ น สั ต ว์ สั ง คมที่ รอบรู ้ ช่ า งสั ง เกต เราใช้สมองเป็น “อาวุธ” จนเรากลายเป็นผู้ล่าที่ครองโลกในปัจจุบัน ซึ่ง ณ ตอนนีไ้ ม่มีสิ่งใดในโลกที่น่ากลัวอีกต่อไป ปริศนาทุกอย่างกลายเป็นเรื่องท้าทาย ให้ค้นหา การเริ่มเรียนรู้วิธีเอาชนะธรรมชาติดูเหมือนจะท�ำให้ความอยากรู้อยาก เห็นและท�ำให้เราติดใจรสชาติของการเป็นสิง่ มีชวี ติ ทีย่ งิ่ ใหญ่ ความรูส้ กึ อันหอมหวาน นั้นเริ่มท�ำหน้าที่กลบการท�ำงานของยีนขี้เกียจในตัวได้มิดขึ้นเรื่อยๆ มนุษย์ไม่ได้แค่ อยากเอาตัวรอดไปวันๆเสียแล้ว พวกเขาอยากอยู่อย่างสบายมากขึ้นและความ ต้องการก็ขยายกว้างมากขึน้ ตามไปด้วย เราทัง้ หมดต้องลงมือท�ำงานและหากิจกรรม ต่างๆมาท�ำเพื่อปกป้องและไขว่คว้าหาผลประโยชน์ที่มั่นคงของตัวเอง

15


16


เราถีบตัวเองขึ้นมาจากสัตว์ป่าเป็นสัตว์ สังคมทีม่ อี ารยะ เรายับยัง้ ความเถือ่ นดิบไร้เหตุผลด้วยศีลธรรมและสร้างวัฒนธรรม ที่ยกย่องความสวยงามมากขึ้น นั่นหมายความว่าเราเรียนรู้ที่จะไม่ท�ำตามใจตัวเอง มนุษย์เริม่ มีเหตุผลในการใช้ชวี ติ เพือ่ ท�ำอย่างอืน่ นอกจากการกิน นอน ผลิตลูกหลาน และอยู่ไปวันๆ การมีมนุษยธรรมมากขึ้นช่วยให้สังคมเป็นระเบียบและมีการ สร้างสรรค์ มีความหวังในการพัฒนาอนาคตให้มั่นคง ถึงตอนนีเ้ รามองเริม่ จะมองไม่เห็นความขีเ้ กียจเพราะมันเริม่ โดนกลบด้วย ความหวังและความกระตือรือร้นที่จะมองโลกในมุมใหม่ๆ แต่ความขี้เกียจก็ยัง ท�ำงานอยูใ่ นการเคลือ่ นทีช่ า้ ๆของเรา มันช่วยรักษาสมดุลร่างกายให้เรา ซึง่ ไม่มใี คร ทันสังเกตมันจนกระทั่งกระแสโลกหมุนเร็วขึ้น เราออกเดิน จากเดินกลายเป็นวิ่ง จากวิ่งเป็นใช้พาหนะ ความขี้เกียจเริ่มมองเห็นได้ชัดเจนขึ้น เพราะใครก็ตามที่ช้า กว่ากระแสโลกนัน้ จะแตกออกมาจากกลุม่ และเริม่ แปลกแยกจนเห็นได้ชดั สิง่ ทีเ่ ป็น ตัวเสริมให้กระแสขยายความขยันเป็นวงกว้างได้และเข้าซึมลึกลงไปสู่จิตใจผู้คนใน ยุคแรกๆยังไม่ใช่กระแสของเศรษฐกิจเหมือนในปัจจุบัน มันเริ่มจากสิ่งยึดเหนี่ยว ของจิตใจคน “ศาสนา” นั่นเอง

17


18

*สล็อธเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่ เชื่องช้า ที่สุดทุกการกระท�ำในช่วงชีวิตของมันส่วน ใหญ่อาศัยอยูบ่ นต้นไม้ ทัง้ กิน นอน ขับถ่าย รวมทั้งเล่นจ�้ำจี้ไปจนถึงเลี้ยงลูก ทุกอย่าง ล้วนเล่นหวาดเสียวท�ำบนต้นไม้ทั้งหมด อาหารหลั ก คื อ ใบไม้ ซึ่ ง ให้ พ ลั ง งานน้ อ ย มันจึงเคลือ่ นไหวเร็วสุดได้ 4.5 เมตรต่อนาที นัน่ คือการใช้พลังงานทีเ่ ยอะทีส่ ดุ ชือ่ สล็อธจึง ถูกมอบให้แก่พวกมัน


เราคงเคยทราบมาว่า หนึง่ ในบาปต้น 7 ประการมีบาปเกียจคร้านอยูใ่ นนัน้ แต่จุดเริ่มต้นของบาปต้น 7 ประการไม่ได้มีบาปความขี้เกียจอยู่แต่แรก มันเพิ่งจะ ถูกเพิ่มเข้าเป็นน้องใหม่สดๆซิงๆในศตวรรษที่ 17 โดยนักบุญโทมัส อไควนัส เขาได้ ก� ำ หนด “ความเกี ย จคร้ า น (Sloth)” เป็ น บาปเข้ า มาแทนบาปความเศร้ า โดยให้เหตุผลว่า “ความเกียจคร้านคือการไม่ยินดียินร้ายในสิ่งใดๆ ถือเป็นการเพิก เฉยต่อพระเจ้าและเพิกเฉยต่อทุกสรรพสิ่งซึ่งเป็นการกระท�ำที่ไร้ความเป็นมนุษย์” อีกทั้งความเศร้าที่เคยถูกบรรจุเป็นบาปก่อนหน้าเป็นเวลานานหลายศตวรรษ ก็ ค ลุ ม เครื อ และไม่ มี น�้ ำ หนั ก มากพอจะเป็ น บาป นั ก บุ ญ โทมั ส ยั ง ก� ำ หนด ความร้ายแรงของบาปทั้ง 7 ให้มีโทษเท่าเทียมกัน กล่าวคือ เราสามารถตกนรก ได้เหมือนคนคบชู้ บ้ากาม ถ้าเราแค่ขี้เกียจ ในศาสนาพุทธกล่าวถึงความเกียจคร้านไว้วา่ พระพุทธเจ้าทรงตรัสไว้ในหลัก ธรรมนิวรณ์ 5 ในข้อถีนมิทธะ ว่าด้วยความง่วงเหงาหาวนอน จะท�ำให้เกิดความ เกียจคร้านที่เป็นตัวขัดขวางหนทางสู่ความเจริญ ไม่ให้บรรลุถึงความดี ท้อถอยและ ไม่มีความเพียรพยายาม ศาสนาเป็นหลักยึดเหนี่ยวจิตใจของเรามาช้านาน ส่งผลอย่างมากต่อการ ก�ำหนดค่านิยมความเชื่อของมนุษย์ ค�ำสอนเรื่องเล่าสามารถแทรกซึมเข้าสู่ความ นึกคิดด่านแรกได้อย่างง่ายดาย หากไม่มองลงลึกสูร่ ายละเอียดทีแ่ ฝงเข้ามาเพือ่ สอน ใจและเตื อ นสติ มั น จะกลายเป็ น ความเชื่ อ ที่ ง มงายและฝั ง หั ว จนแกะไม่ อ อก ซึ่งนอกจากไม่เป็นผลดีมันยังท�ำให้เราปิดกั้นการท�ำความเข้าใจเองมากที่สุด เมื่อความขี้เกียจกลายเป็นบาปหรือข้อห้าม ไม่ ช ่ ว ยให้ เ ข้ า ถึ ง ความดี ความขยันจึงได้รับการส่งเสริมและถูกยกระดับขึ้นเรื่อยๆ กลายเป็นว่าการท�ำตัว ช้าๆจนความเร็วตกลงไปอยู่ต�่ำกว่ามาตรฐานท�ำให้คุณเป็นคนบาปและขี้เกียจได้ ในทันที เราสามารถเชื่อและศรัทธาต่อการนับถือของเราได้ แต่การเกิดความ เพียรอย่างไม่พนิ จิ พิจารณาก็ไม่อาจช่วยแก้ไขหรือช่วยส่งเสริมให้เราไปสูท่ างทีส่ ำ� เร็จ ได้เหมือนกับที่เราท�ำตัวขี้เกียจเช่นกัน 19


20


21


สิง่ ทีไ่ ม่เปลีย่ นไปจากเดิมตัง้ แต่กอ่ นก็ยงั เป็นความกลัว นอกจาก เราจะกลัวความตายแล้ว เรายังกลัวในสิ่งที่เราไม่รู้จักอีกด้วย คนเรามัก กังวลกับสิ่งที่ไม่รู้จักเสมอ แต่ก็ยังมีความสนใจใคร่รู้ในความไม่รู้นั้นโดย การคาดการณ์และคาดเดาไปต่างๆนานา ในสมัยก่อนสิง่ ทีค่ นกลัวมากๆคือภัยธรรมชาติ มนุษย์หาค�ำตอบ ให้กับเหตุการณ์ประหลาดเหล่านั้นไม่ได้จึงจินตนาการว่ามีเทพท�ำให้ เหตุการณ์เหล่านั้นเกิดขึ้นมา ไม่แปลกที่ศาสนาและความเชื่อกลายเป็น ประเด็นอ่อนไหวของมนุษย์มาจนถึงปัจจุบัน เพราะจิตใจของคนเรา ต้องการการยึดเหนี่ยวเพื่อรองรับเหตุผลที่จับต้องได้บางประการและมี น�้ำหนักมากพอจะท�ำให้ปักใจเชื่อ เมือ่ ความขยันแทรกซึมลึกลงไปในจิตใจของคนเราผ่านค�ำสอน ของศาสนาทีเ่ ป็นหลักยึดเหนีย่ วจิตใจของคน ด้วยความเชือ่ อันละเอียดอ่อนนี้ การมองเห็นข้อเสียส่วนใหญ่ของความขีเ้ กียจทีก่ อ่ ให้เกิดความเสียหายต่อ การท�ำงานและการประสบความส�ำเร็จมีเด่นชัดมากๆ การหลีกเลีย่ งความ ขี้เกียจจึงกลายเป็นความหวาดกลัวเกินกว่าจะที่ท�ำให้คนเราพยายาม ท�ำความเข้าใจมันจริงๆ

22


สิ่งที่ท�ำให้เรากลัวและไม่อยากขี้เกียจใน ปัจจุบันก็คือ การมีอนาคตที่ดี ตามค�ำบอกเล่าของ คนทั่วไปเราต้องขยันไว้เพื่อให้ได้ดีในวันข้างหน้า การกลัวอนาคตที่ยังมาไม่ถึง ท�ำให้กังวลว่าชีวิตข้าง หน้าอาจจะไม่มั่นคงและถ้าหากเรายังขี้เกียจมันจะ มีผลต่อความเป็นอยู่หรือความเป็นความตายของ เราในอนาคต วิธสี กัดความกลัวคือการหาบางอย่าง ในการยึดเหนีย่ ว สิง่ เรายึดเหนีย่ วไว้กค็ อื ค่านิยมของ ความขยันจนในปัจจุบันเราแทบไม่สังเกตกันเลยว่า จริงๆท�ำไมเราจึงขี้เกียจไม่ได้? เราเริ่มกลัวการหยุด พัก มีการตัดสินสิ่งต่างๆอย่างชัดเจนว่าสิ่งไหนมี สาระ และสิง่ ไหนไร้สาระ ซึง่ ท�ำให้คนเรามองค่าของ ความขยันต่างกัน ค�ำถามก็คือ เราเต็มใจที่จะขยัน ท�ำสิง่ ทีเ่ ขาว่ากันว่าจะท�ำให้เราสบายในอนาคตจริงๆ หรือไม่? เพราะเมื่อเราเจอสิ่งที่เราอยากท�ำและเรา อยากรู้จักมัน ไม่ว่าจะเจออุปสรรคแคไหน ความ อยากของเราจะส่งให้เราเดินหน้าต่อไป สิง่ นัน้ คือสิง่ ที่เราพร้อมจะขยันต่างหาก แต่ถ้าเจอสิ่งที่เราไม่ อยากท�ำเราก็ยังขี้เกียจอยู่ดี ในโลกที่ยังเพิ่มความเร็วในการหมุนให้ เปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆนี้ มนุษย์ตาด�ำๆที่ยังกลัว อนาคตอี ก หลายคนยั ง ต้ อ งถกเถี ย งและดิ้ น รน เอาชนะความขีเ้ กียจของตัวเองไปพร้อมกับค�ำถามที่ ยังสับสนในใจถึงความหมายของสิง่ ทีต่ วั เองก�ำลังท�ำ อยู่ ยังคงมุ่งหน้าหาค�ำตอบต่อไปเพราะมันจะเป็น สิ่งที่จะยืนยันเหตุผลการมีชีวิตอยู่ของเราก็เป็นได้ 23


24


25


เราอยูใ่ นโลกทีว่ ดั ค่าความขยันไม่เท่ากัน โลกทีถ่ กู ก�ำหนดให้เดินตามเวลา โลกที่การมีเครื่องมืออ�ำนวยความสะดวกเพื่อให้เราท�ำงานได้เร็วขึ้น ในสมัยยุค อุตสาหกรรม นักประดิษฐ์ตื่นเต้นและฝักใฝ่ในการคิดค้นสิ่งประดิษฐ์เพื่อมุ่งค้นคว้า สร้างเครือ่ งมือทุน่ แรงงานให้คนและสัตว์ ท�ำให้ชวี ติ ของมนุษย์สะดวกสบายขึน้ เรือ่ ยๆ เป็นเรื่องดีที่พวกเขาประสบความส�ำเร็จในด้านการสร้างความสะดวกสบายเพราะ งานบางอย่างก็อันตรายเกินที่จะใช้มนุษย์เข้าไปท�ำ อย่างเช่นการส�ำรวจพื้นที่ อันตรายๆ ดูเหมือนการว่าการน�ำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยอ�ำนวยความสะดวกจะมี ประโยชน์อย่างมาก แต่ในปัจจุบนั เทคโนโลยีเริม่ กลายเป็นเครือ่ งอ�ำนวยความสะดวก ที่สร้างนิสัยเสียให้กับเรา กลายเป็นว่าเทคโนโลยีที่น�ำเข้ามาช่วยทุ่นแรงให้เรานั้น แท้จริงแล้วน�ำมาเพือ่ ทุน่ เวลาเพือ่ ตอบสนองกับตลาดทีโ่ ตขึน้ และเสริมให้เราไขว่คว้า หาสิ่งที่ท�ำให้เราสะดวกสบายมากขึ้นเรื่อยๆ จะเห็นได้วา่ ตอนนีค้ วามขยันแปรผันตรงกับความขีเ้ กียจ ยิง่ เราอยากสบาย เราก็ตอ้ งยิง่ ขยันมากขึน้ และสิง่ ทีส่ วนทางกันคือยิง่ เรามีความต้องการมากขึน้ เวลา ยิ่งถูกหารให้เหลือน้อยลงเพื่อแบ่งไปสนองต่อสิ่งเหล่านั้น ศัตรูธรรมชาติที่เราต้อง ต่อสู้ในยุคนี้ไม่ใช่สัตว์ร้ายที่มีเขี้ยวเล็บ สิ่งที่เราหวาดกลัวในยุคนี้ไม่ใช่ฟ้าผ่าฟ้าร้อง แต่เป็นการต้องสู้กับนาฬิกาปลุกเพื่อตื่นไปเจอสังคมแล้วพยายามวิ่งเอาชนะ เอาจริงๆต้องเรียกว่าเอาตัวรอดจากสิ่งน่ากลัวที่สุดนั่นก็คือ “เดดไลน์” นั่นเอง

26


27


ถ้าสังเกตตั้งแต่เด็กๆ เรามีเดดไลน์อย่างเป็นทางการครั้งแรกในชีวิตคือ ตอนเข้าโรงเรียน เราต้องตืน่ นอน ใส่ชดุ นักเรียนเหมือนคนอืน่ ไปขึน้ รถแล้วนัง่ เรียน กับเพื่อนในห้อง เป็นการอยู่ในกรอบเวลาที่สังคมก�ำหนดเป็นครั้งแรก แต่เราคงจะ ไม่รู้สึกถึงการกดดันของเดดไลน์สักเท่าไหร่ เพราะตอนเด็กๆเราสนุกสนานกับ การท�ำกิจกรรม เรียนรู้การปรับตัว มีเพื่อนใหม่ๆ แหม่ มันสนุกจะตาย เรื่องเครียด สุดๆในตอนนั้นคือ ไม่กล้าขอครูไปห้องน�้ำกลางคาบเท่านั้นเอง บางคนกว่าจะรู้ตัว ว่ า ชี วิ ต เริ่ ม กดดั น มากขึ้ น ก็ ต อนขึ้ น ม.ปลาย ชี วิ ต ที่ เ ดิ น ทางมาถึ ง จุ ด ที่ ต ้ อ งท� ำ ความเข้าใจบทเรียนยากๆ การส่งงานอย่างสม�่ำเสมอ และการสะสมความรู้เพื่อน�ำ ไปสอบต่อเข้ามหาวิทยาลัย เรียกได้ว่ายิ่งโตขึ้นการโดนปล่อยสู่สนามสังคมอันกว้าง ใหญ่นั้น ชีวิตยิ่งผูกติดเข้ากับเดดไลน์มากขึ้นเรื่อยๆเช่นกัน พูดง่ายๆก็คือเดดไลน์ เป็นกรอบเวลาที่ก�ำหนดขึ้นมาเพื่อสร้างระบบระเบียบให้แก่สังคมที่เมื่อยิ่งโตขึ้น เรื่ อยๆเราก็ ยิ่ ง เจอมัน บ่อยขึ้น เท่านั้น ปั ญ หาของการมี เ ดดไลน์ มี อ ย่ า งเดี ย วคื อ เราเป็นกระต่ายที่ชะล่าใจ ตอนวิง่ แข่งกับเต่าและหยามมันมากเกินไป ถึงแม้วา่ เดดไลน์จะมีระดับการวิ่งที่คงที่ และเราที่เป็นกระต่ายที่คุมอัตราเร็วในการวิ่งได้ แต่การแอบนอนระหว่างแข่งก็ พลาดพ่ายแพ้ให้กบั เดดไลน์มานักต่อนัก ใครจะไปคิดว่ายุคนี้เต่าเดดไลน์มันเร็วติด จรวดแล้วด้วย แถมการพลาดในยุคนี้คือการตัดสินความเป็นความตาย ต้องทน อับอายต่อความอัปยศของการพ่ายแพ้ยิ่งกว่ากระต่ายในนิทานเสียอีก

28


29


ในฐานะการเป็นมนุษย์ เราถูกมอบหมายให้มี ความขยันเป็นหน้าที่ที่ต้องท�ำอีกอย่างหนึ่ง เพราะเมื่อเรา ได้ เ ริ่ ม ลงมื อ ท� ำ สิ่ ง ต่ า งๆจนส� ำ เร็ จ เราได้ ค ้ น พบความ สามารถของสมองและร่างกายของเราว่ามันมีศักยภาพ มหาศาลในการสร้างสรรค์ได้นา่ ทึง่ แค่ไหน และรสชาติของ ความส�ำเร็จหอมหวานเสมอ จริงๆแล้วความขยันจ�ำเป็น ในการช่วยหนุนหลัง ผลักดันให้เราก้าวไปสู่จุดที่สูงขึ้น ถ้าไม่มีมันเราคงไม่ได้รู้ถึงศักยภาพและคุณค่าของตัวเอง มนุษยชาติเราสามารถพัฒนาวงการแพทย์จน สามารถป้องกันและรักษาโรคร้ายต่างๆได้ เราบินบน ท้องฟ้าและไปถึงอวกาศได้ เราเชื่อมโยงทั้งโลกให้เข้าใกล้ กันในระยะ 1 ฟุตได้ด้วยอินเตอร์เน็ต การเติบโตขึ้นของ มนุษย์จำ� เป็นต้องผ่านเรือ่ งราวทัง้ ดีและร้ายเพือ่ ไปส่งผลต่อ การเป็นผูใ้ หญ่ทดี่ ใี นวันหน้า แต่การที่มันส�ำเร็จได้ ก็มา จากพลั ง ของความใฝ่ ฝ ั น ที่ ม าจากก้ น บึ้ ง จิ ต ใจของเรา

30


ถ้าเราอยากได้เชือกทีด่ แี ละแข็งแรงสักมัด เราต้องน�ำวัสดุมาท�ำเป็นให้เป็น เชือกเส้นเล็กๆหลายๆเส้น เพือ่ ให้เชือกใช้งานง่ายขึน้ และเหนียวขึน้ เราต้องฟัน่ หรือ บิดเส้นเชือกเล็กๆทั้งหมดให้เป็นเกลียวเข้าด้วยกัน รวมให้เชือกเส้นเล็กๆเหล่านั้น เกาะกันอย่างเหนียวแน่น มันจะแข็งแรงและทนต่อแรงดึงเยอะๆได้ ตามหลักของฟิสิกส์แล้ว การบิดเชือกคือ “ความเค้น” เหมือนกับความ ขยันทีเ่ ราลงมือท�ำงาน ซึง่ มันจะเป็นแรงทีม่ ากระท�ำกับเชือก ท�ำให้ตวั เชือกบิดแน่น และแข็งแรงขึ้น ส่วนประสบการณ์ที่เราได้รับจากการลงมือท�ำจะเป็นเหมือนเชือก เส้นเล็กๆที่คอยเต็มให้เชือกหนาขึ้นเรื่อยๆ เชือกเส้นนั้นก็คือตัวเราเอง แต่ทุกๆใน แรงเค้นที่เกิดจากการลงมือกระท�ำของเราจะส่งผลต่อร่างกายและจิตใจให้ออกมา ในรูปของ “ความเครียด” ซึ่งผลของความเครียดจะมากจะน้อย ขึ้นอยู่กับค่าแรง เค้นและความทนทานของเส้นเชือกนั่นเอง แม้วา่ เราจ�ำเป็นต้องใช้ความค้นเพือ่ ผลักดันตัวเองไปสูค่ วามส�ำเร็จ ยิง่ เป้า หมายไปยากมากเท่าไหร่ เรายิง่ ต้องพยายามมากขึน้ นัน่ ยิง่ ท�ำให้เราเติบโตได้เร็วขึน้ เท่านั้น แต่ปัญหาคือบางครั้งเราคาดการไม่ได้ว่าเราจะทนรับผลความเครียดที่เกิด ขึน้ ได้มากน้อยแค่ไหน ค่าของความเครียดแปรเปลีย่ นไปตามความเค้นซึง่ เป็นปัจจัย ภายนอกที่เราควบคุมไม่ได้ แทบเดาไม่ได้ว่าตอนไหนที่มันจะกดดันเราในระดับที่ พอดีแล้วผลั ก ให้ เ ราประสบความส� ำ เร็ จ หรื อ ตอนไหนที่ มั น จะกดดั น เรามาก เกิ น ไปจนทนไม่ไหว ความเครียดในระดับที่เหมาะสมและการตั้งเป้าหมายเป็น เรื่ อ งส� ำ คั ญ จิ ต ใจที่ ห นั ก แน่ น และร่ า งกายที่ แ ข็ ง แรงที่ ผ ่ า นการสะสม ประสบการณ์มาอย่างเหมาะสมจึงเหมือนพรจากฟ้าที่จะช่วยเป็นตัวพาเราไป สู่ความส�ำเร็จได้อย่างปลอดภัย โดยที่สามารถทนรับแรงเค้นได้โดยที่เชือกไม่ขาด ไปเสียก่อน

31


32


ทุกคนมีความฝันทีอ่ ยากจะยิง่ ใหญ่ อยากเป็นทีย่ อมรับในวงกว้างของสังคม ความฝันท�ำให้เราอยากทุ่มเทท�ำอะไรบางอย่างขึ้นมาให้ส�ำเร็จ การวางเป้าหมายที่ ดีเป็นบ่อเกิดพลังมหาศาลที่จะไปสู่ความส�ำเร็จได้ แต่การกดดันตัวเองยังมีแรงเค้น ไม่มากพอ ต้องหาอะไรกระตุ้นบ่อพลังงานของความอยากเอาชนะให้ปะทุออกมา ความเครียดอีกประเภทหนึง่ ทีเ่ กิดจากความเค้นสามารถดึงพลังนีอ้ อกมาได้ เป็นการเค้นแบบเจาะจง การเค้นที่ต้องการมากเกินความจ�ำเป็นเพื่อเร่งความ สามารถ เราจะเรียกมันว่า “การเค้นแบบพี่ว๊าก” ว่ากันว่าความเค้นแบบนี้เป็นการฝึกคนด้วยการกดดันเพื่อให้ปลดปล่อย สัญชาตญาณและความสามารถออกมาในช่วงสภาวะคับขัน คล้ายๆการปลดปล่อย หรือระเบิดพลังไม้ตายเฮือกสุดท้ายแบบตัวเอกในการ์ตนู ลูกผูช้ ายทัง้ หลายทีเ่ มือ่ ถึง คราวคับขันจะแสดงศักยภาพที่แท้จริงออกมาได้ ที่นี้ย้อนกลับไปเรื่องการกลัวตาย ของมนุษย์ การว๊ากเป็นการจ�ำลองสถานการณ์บีบบังคับเพื่อให้มนุษย์ปลดปล่อย ความสามารถที่แฝงอยู่ในตัวออกมา (แต่ต้องเป็นพฤติกรรมต้องอยู่ภายใต้ค�ำสั่งที่พี่ ว๊ากต้องการเท่านั้น) เป็นสิ่งจ�ำเป็นส�ำหรับคนที่กระหายความส�ำเร็จเท่านั้นถึงจะ อยากได้ความกดดันแบบนี้ เพราะถ้าเป็นคนที่ไม่มีใจในการจะสู้ด้วย มันคือการเอา ตัวเองไปทรมานดีๆนี่เอง

33


ท�ำไมคนเราบางคนถึงต้องการกดดันแบบนี้ หนังทีแ่ สดงความสุดโต่งของ การเป็นนักกดดันและเค้นความสามารถ นั่นคือเรื่อง Whiplash เป็นเรื่องของ “แอนดรูว” นักศึกษาปี 1 สถาบันดนตรีชื่อดัง เขาเป็นนักเรียนกลอง มีความใฝ่ฝัน จะเป็นมือกลองอันดับต้นๆของวงการ เขาฝึกซ้อมอย่างหนักจนมีโอกาสได้เล่นในวง ที่คุมโดยวาทยกรจอมเฮี๊ยบฝีมือเยี่ยม “เฟลทเชอร์” เขาคุมวงและก�ำกับดนตรีออก มาได้นา่ ประทับใจแต่การคุมนักดนตรีกลับต่างกันราวฟ้ากับเหว เขาโหดดิบประหนึง่ พีว่ า๊ กตะโกนด่าเฟรชชี่ ความโหดของเฟลทเชอร์เป็นแรงผลักดันและเป็นแรงกดดัน อันมหาศาลที่เหมือนจะดีแต่กลับเป็นดาบสองคมที่น่าสะพรึงกลัว ประโยคหนึ่งที่เฟลทเชอร์กล่าวกับแอนดรูวว่า “หลายๆคนคงไม่เข้าใจใน สิ่งที่ฉันไปท�ำไป ฉันไม่ได้ท�ำแค่คอนดักท์ ไอ้โง่ที่ไหนก็แกว่งแขนก�ำกับจังหวะเพลง ได้ ฉันต้องการผลักดันผู้คนให้เป็นได้มากกว่าที่พวกเขาท�ำได้ ฉันเชื่อว่า นี่คือสิ่งที่ ส�ำคัญที่สุดเพราะไม่อย่างนั้นเราจะพลาดโอกาสในการสร้าง หลุย อาร์มสตรอง* คนใหม่ หรือชาร์ลี ปาร์กเกอร์**อีกคน” นั่นคือเขาเชื่อว่าถ้าเขาท�ำตัวเป็นมารร้าย ที่คอยรังควานด่าทอนักดนตรีให้เจ็บใจ เขาจะสามารถสร้างดาวเด่นได้จากแรง กระตุ้นอันหนักหน่วงที่หยาบคายของเขาได้ หลั ก การท้ า ทายและท� ำ ลายศั ต รู ใ ช้ ไ ด้ ผ ลเสมอต่ อ คนที่ กั ด ไม่ ป ล่ อ ย การพัฒนาจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อศัตรูน�ำหน้าเราอยู่ก้าวหนึ่ง การสร้างคู่แข่งหรือรับ ค�ำท้าจากสิง่ ทีท่ า้ ทายเราอาจจะท�ำให้เราสนใจมันมากขึน้ แต่ประโยชน์ของความเค้น จะได้ผล ถ้าเราพร้อมจะสู้ แต่มันไม่ใช่การกดดันที่จ�ำเป็น และให้ประโยชน์อย่าง จ�ำเพาะ การกดดันแบบนีค้ ่อนข้างท�ำร้ายจิตใจ แม้ว่าจะดึงแรงผลักดันของความ อยากเอาชนะออกมาได้จริง แต่อย่าลืมว่าโลกใบนี้ยังมีสิ่งที่เรียกว่าโรคซึมเศร้าอยู่ จิตใจของคนเราทนรับแรงกดดันหนักหน่วงแบบนี้ไม่ได้ทุกคน และถ้าหากมาก ไปมันไม่มีค่าพอจะแลกด้วย ถ้าคุณอยากเป็นหลุย อาร์มสตรอง หรือชาร์ลี ปาร์ก เกอร์ สิ่งที่คุณควรมีคือการไม่ย่อท้อต่อความฝันของคุณ การเค้นแบบพี่ว๊ากเป็นแค่ ออปชั่ น เสริ ม เท่ า นั้ น มั น ไม่ ใ ช่ ท างลั ด ที่ จ ะท� ำ ให้ คุ ณ ประสบความส� ำ เร็ จ แบบ สมประกอบนอกจากจะยอมใช้ด้านมืดแลกกับมัน 34

*หลุยส์ อารม์สตรองและ**ชาร์ลี ปาร์กเกอร์คือนักดนตรีผู้มีชื่อเสียงในระดับต้นๆของวงการดนตรีแจ๊ส


35


เคยอยู่โต้รุ่งกันไหม? ลองนึกถึงครั้งแรกที่คุณโต้รุ่ง เพราะต้องท�ำงานหรืออ่านหนังสือสอบ ดูสิ เสียงนกร้องตอนออกจากรังมาอย่าง ร่าเริงเพื่อยินดีกับการข้ามผ่านค�่ำคืนสู่รุ่ง เช้าของคุณ แสงแดดที่ค่อยๆส่องเข้ามาทางหน้าต่างโดยไม่รู้ตัว หลังจากผ่านค�่ำคืน อันมืดมิดที่ยากล�ำบาก คุณจะรู้สึกได้ถึงความเป็นผู้ใหญ่ในตัวขึ้น สัมผัสความ แข็งแกร่งในตัวเองทีม่ ากขึน้ ความขมขืน่ ของเมือ่ คืนทีค่ ณ ุ ฝ่าฟันมามันหล่อหลอมให้ คุณมัน่ ใจว่าต่อจากนีไ้ ม่มอี ะไรในโลกทีน่ า่ กลัวอีกต่อไปแล้ว ฉันคนใหม่นไี่ ร้เทียมทาน จริงๆ ยิ่งถ้าต้องเอางานไปส่ง ออกไปเรียน ออกไปสอบ หรืออกไปท�ำงานต่อได้ สบายๆ คุณจะคิดว่าเรื่องแค่นี้ไม่คณามือคุณเลยแม้ว่ามันจะง่วงมากแค่ไหนก็ตาม ความรู้สึกของการโตเป็นผู้ใหญ่คือการรู้ว่าตัวเองเริ่มท�ำอะไรด้วยตัวเองได้มากขึ้น การท�ำลายสถิตทิ เี่ ราเคยท�ำมาเป็นเรือ่ งทีท่ า้ ทายและเป็นสิง่ ทีเ่ ราภาคภูมใิ จในตัวเอง ตัววัดประสิทธิภาพที่เห็นภาพชัดเจนที่สุดในสังคมมนุษย์คือการท�ำงาน มนุษย์ทุก คนมีเวลาที่เท่ากัน ยิ่งเราท�ำงานได้มากขึ้นเท่าไหร่หมายความว่าเราท�ำผลผลิตได้ มากกว่าคนอื่นเท่านั้น การมีประสบการณ์ที่ท�ำแล้วส�ำเร็จโดยตรงคือสิ่งที่เติมเต็ม ความมั่นใจ ท�ำให้เรารู้สึกมีเกียรติ ส่งผลให้เรายกระดับไปสู่ที่เป้าหมายที่สูงขึ้นและ สูงขึ้นไปอีก และเราจะร้องขอและรับค�ำท้าทายประสบการณ์ในการท�ำงานเพื่อ ท�ำลายสถิติที่ตัวเองเคยท�ำไปแล้ว

36


37


เรื่องของสถิตินอกจากเป็นสิ่งที่ต้องท�ำลายให้ดีขึ้นเรื่อยๆและยังเป็นสิ่งที่ ต้องรักษามาตรฐานอีกด้วย ยิ่งสถิติที่เราเคยท�ำได้สูงขนาดไหนก็ยิ่งต้องรักษามันไว้ ไม่ให้ตก เดิมพันด้วยเกียรติของตัวเอง การจะตกจากระดับที่เราเคยไปเยือนเป็น เรื่องที่น่าอับอายมาก มันเหมือนกับคุณไม่ได้เก๋าจริง ทางเลือกของคุณมีแค่ต้องปีน ให้สงู ขึน้ ไป สถิตใิ นเรือ่ งของค่านิยมในการเรียนก็เช่นกัน มันมีตรรกะทีค่ อ่ นข้างแปลก แต่ก็ถือเป็นเรื่องปกติของสังคมไทย คือการส่งเสริมให้ลูกเรียนมากขึ้นเพราะอยาก ให้ลูกเก่ง แม้จะไม่น่าแปลกตรงไหน ใครๆก็อยากให้ลูกเก่งทั้งนั้น ดังนั้นค่านิยมการ ประโคมให้ลกู เรียนเกรดดีๆมีมากขึน้ เรือ่ ยๆ พบเห็นได้ตามสถาบันกวดวิชา ซึง่ ไม่ได้ มีเอาไว้เพิ่มและปรับความรู้ให้เข้าใจง่าย แต่บางคนถึงขั้นเรียนกวดวิชาแบบจริงจัง เพื่อจ�ำไปท�ำข้อสอบเพราะอยากได้เกรดสวยๆเท่านั้น จากบทความของนายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์กล่าวไว้ว่า การที่จะให้ ลูกเรียนเก่ง สูใ้ ห้เขาเรียนอย่างมีความสุขไม่ดกี ว่าหรือ? พ่อแม่บางคนวัดผลการเรียน ของลูกจากเกรด เมือ่ เห็นว่าผลการเรียนตกก็คดิ เหตุผลได้แค่วา่ ลูกไม่ใส่ใจการเรียน เหมือนเดิม แล้วแก้ปัญหาโดยการให้พวกเขาเรียนมากขึ้น ทั้งที่จริงๆอาจมีปัจจัย อื่นๆที่ท�ำให้พวกเขาได้ผลการเรียนที่ตกลง ส่งผลให้เด็กบางคนพอเกรดตกแล้วจะ เป็นจะตาย เพราะพวกเขาไม่เคยเรียนรู้และสัมผัสความรู้สึกของการล้มเหลว ยิ่งถ้าพ่อแม่คาดหวังสูงๆ ยิ่งท�ำให้เด็กกดดัน ไม่มีแรงในการสู้ต่อ พวกเขาจะขาด ความมั่นใจจนขาดภูมิคุ้มกันตัวเองไปในที่สุด พ่อแม่บางคนกลัวลูกจะพึ่งพาตัวเอง ไม่ได้ หวังว่าถ้าลูกเรียนเก่ง จบไปมีงานท�ำ มีเงินใช้ จะสบาย แต่ถ้าตอนเด็กเขา เอาแต่ เ รี ย นจนขาดประสบการณ์ในการปรับ ตัว เข้ากั บคนรอบข้ า งและสั ง คม นั่นจะเป็นตัวที่วัดว่าต่อให้เขามีความรู้มากมายแค่ไหน เขาจะไม่สามารถถ่ายทอด ความคิดของตัวเองได้ ดังนัน้ ถ้าเราให้ความส�ำคัญกับความสุขในการเรียนแทนทีจ่ ะ เน้นไปทีต่ วั เลขของเกรดสวยๆ จะท�ำให้เด็กมีแรงจูงใจในการพัฒนาตัวเอง ท�ำให้เขา รักตัวเองและเมื่องานของเขาออกมาส�ำเร็จ เขาจะเกิดความภูมิใจ สามารถปรับตัว ให้เข้ากับสังคมและเติบโตอย่างมีความสุขได้ นี่คือสิ่งที่เราควรต้องรักษาสถิตินี้ไว้

38


39


การผ่อนคลายในปัจจุบนั กลายเป็นเรือ่ งทีค่ นอยากท�ำใจจะขาด แต่หวาดกลัวกันเหลือเกิน หนึ่งคือพวกเขาเสียดายเวลา สองคือพวกเขา จินตนาการสิ่งที่เกิดขึ้นในอนาคตไม่ได้ อย่างที่กล่าวไปว่าสิ่งที่เรากลัว และกังวลมากกว่าการดูแลตัวเองคือเรื่องของอนาคตและสายตาสังคม นั่นเอง การโดนตัดสินคนให้กลายเป็นคนขี้เกียจจากการผ่อนคลายหรือ การลดระดับการท�ำงานให้ต�่ำลงกว่าเดิม แม้แต่องศาสดาที่บรรลุธรรม อย่างพระพุทธเจ้าเองก็เคยประสบมาแล้ว ครั้งหนึ่งตอนพระพุทธเจ้าบ�ำเพ็ญทุกขกิริยา คือการทรมานร่างกาย สารพัดด้วยการอดพระกระยา การกลั้นลมหายใจ ท�ำให้พระวรกาย ผ่ายผอมลงทุกวัน หลังจากท�ำมานาน 6 ปี พระพุทธเจ้าพบว่าหนทาง แห่งความเพียรนีเ้ ป็นทางทีต่ งึ ไป ไม่ใช่ทที่ างจะน�ำไปสูค่ วามส�ำเร็จเป็นแน่ พระพุทธเจ้าจึงผ่อนคลายพระองค์ลง เข้าหาทางที่ไม่ตึงไปมากกว่านี้ พระองค์เสวยพระกระยาหารตามปกติ และปรับการบ�ำเพ็ญเพียรเป็น การก�ำหนดลมหายแทนการทรมานตัวเอง เหล่าสาวกปัญจวัคคีย์ทั้ง 5 ได้ เ ห็ น ดั ง นั้ น จึงผิด หวังเป็น อย่างมาก พวกเขาสู ญสิ้ น ศรั ท ธาในตั ว พระพุทธเจ้าทันที เพราะนึกว่าพระพุทธเจ้าละความเพียรเสียแล้ว นี่อาจจะเป็นแง่มุมของคนที่มองว่าการหยุดพักคือการหยุดขยันและ เท่ากับกลายเป็นคนขี้เกียจทันทีนั่นเอง

40


41


แม้วา่ ความขยันจะเป็นสิง่ ดี แต่ผลข้างเคียงทีไ่ ด้มาส่งผลให้เกิดความเครียด ซึง่ สมองและร่างกายของเรามีขดี จ�ำกัดในการท�ำงาน มันไม่ได้ถกู สร้างขึน้ มาให้รบั มือ กับความเครียดซ�้ำซ้อนแบบสังคมเมืองที่ไม่มีการหยุดพักเหมือนทุกวันนี้ได้ตลอด แม้ความสามารถของคนเรายังหาจุดสิ้นสุดไม่ได้ แต่เหตุผลนั้นใช่ไม่ได้กับร่างกาย ร่างกายจ�ำเป็นต้องพักและท�ำงานเป็นช่วงๆ สลับกันไป การที่เราได้แรงกดดันใน ระดับต่างๆ ร่างกายจะตอบสนองกับมัน ดังนี้ - ความเครียดในระดับต�ำ ่ เป็นความเครียดทีไ่ ม่คกุ คามต่อการด�ำเนินชีวติ อาจเป็นสาเหตุเล็กน้อยทีพ่ บในชีวติ ประจ�ำวันทีเ่ ราสามารถรับมือได้ เป็นตัวผลักดัน ให้เรากระตือรือร้น ท�ำให้เราสามารถปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมใหม่ๆได้เร็วขึ้น และเกิ ด การพั ฒนา อย่างที่บ อกไปว่าร่างกายเราปรับไปตามธรรมชาติ เ สมอ ถ้าเคยชินแล้วจะมีประโยชน์มากๆ - ความเครียดในระดับปานกลาง เป็ น ความเครี ย ดที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น กว่ า ขั้นแรกและได้รับในระยะเวลาที่นานกว่า เป็นความเครียดที่เรายังจัดการกับมัน ไม่ได้ เนือ่ งจากเราอยูร่ ะหว่างความส�ำเร็จและความล้มเหลว สิง่ ทีเ่ ราจะแสดงอาการ ออกมา เช่น ซึม หงุดหงิด ก้าวร้าว หรืออาจจะสงบนิ่งคิดเรื่องอื่นเพื่อพยายาม กดความเครียดนั้นไว้ แต่อารมณ์ยังคงครุกรุ่นอยู่ข้างในอยู่ และร่างกายจะล้า เนื่องจากอาการเครียดหลบใน - ความเครียดในระดับสูง คือการสะสมความเครียดมาในจุดที่ท�ำให้เกิด ความล้มเหลวทางด้านการปรับตัว คือ ทนไม่ไหวแล้ววว!! จะเกิดการแสดงความผิด ปกติทางร่างกายคือเกิดอาการเจ็บป่วย หรือทางจิตใจคือหมดก�ำลังใจ ท้อแท้ เบื่อหน่ายและอาจส่งผลให้เป็นโรคซึมเศร้าที่ส่งผลทั้งทางจิตใจและร่างกายได้ 42


43


เมื่อเราต้องเจอกับความเครียด ซึ่งถือเป็นสิ่งแปลกปลอมที่เริ่มท�ำให้ ร่างกายเสียสมดุล ร่างกายจะพยายามจัดการต่อความเครียด โดยเปิดกลไกการ ปกป้องตัวเองเพื่อไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยทั้งทางกายและทางใจ คนเราจะตอบสนอง ต่อการลดความตึงเครียดโดยใช้การแก้ปัญหาดังต่อไปนี้ 1. การมุ่งลดอารมณ์ หรือหนี เป็นการน�ำเอากลไกการป้องกันทางจิตมาใช้ คือ เอาตัวเองออกมาจากปัญหาเพื่อลดอารมณ์ความเครียด ถอยกลับมาเตรียมตัวก่อน กลับไปเผชิญปัญหาอีกครั้ง การหนีเป็นการกระท�ำที่ท�ำให้รู้สึกว่าอันตรายจาก สถานการณ์นั้นลดลง แต่ความจริงแล้วอันตรายไม่ได้หายไป และนั่นเป็นสาเหตุว่า ท�ำไมน้อยคนไม่อยากจะกลับไปเผชิญหน้ากับปัญหาอีกครั้ง ท�ำให้เกิดการละทิ้ง หน้าที่หรือการหาช่องโหว่เพื่ออยู่กับปัญหาน้อยลง แต่กลายเป็นว่ายิ่งเราขี้เกียจอู้ งานมากเท่าไหร่กย็ งิ่ สร้างความเครียดการจากเผางานโค้งสุดท้ายตามมามากเท่านัน้ 2. การมุ่งแก้ปัญหา หรือสู้ คือการพยายามจัดการกับสิ่งที่เข้ามากระตุ้นให้เกิด ความเครียดโดยตรง เป็นการเผชิญหน้ากับเหตุการณ์ที่เป็นความเครียดตามสภาพ ความเป็นจริง วิธีนี้จะไม่เป็นปัญหาถ้ามีการจัดการดี แต่ถ้าปัญหานั้นยากเกินแก้ คนเราจะกลับไปตอบสนองในแบบการมุง่ ลดอารมณ์ทนั ที เมือ่ เราเผชิญความเครียด ต้องใช้แรงผลักดันมากกว่าเดิมในการแก้ปญ ั หานัน้ การระเบิดพลังงานในช่วงภาวะ คับขันก็อาจส่งผลกระทบต่อร่างกายได้เช่นกัน ไม่วา่ เราจะต้องสนองต่อความเครียด อย่างไรมันก็คือสิ่งที่ท�ำให้เราเหนื่อยจนขี้เกียจจะยุ่งด้วยทั้งหมด

44


การตอบสนองต่อความเครียดไม่ว ่าจะด้ ว ยการท� ำ งานที่ มากเกิ น ไป ใช้รา่ งกายอย่างหนัก และการคิดงานทีใ่ ช้กระบวนการคิดเยอะๆ ไม่วา่ เราจะสูห้ รือหนี เมื่อเกิดก้อนความเครียดที่เป็นปัญหาที่ไม่สามารถก�ำจัดทิ้งได้ สมองจะไม่ได้รับการ หยุดพัก เมื่อความกังวลเกิดจะส่งผลให้กิจวัตรประจ�ำวันรวน เวลาการนอนรวน นอนเช้า ตื่นเย็น นอนเย็นตื่นกลางดึก และจะส่งผลกระทบต่อไปเรื่อยๆแบบล้ม โดมิโน่ ท�ำให้การรับประทานอาหารรวน เมื่อการกินและการนอนเสียศูนย์ และผิด จากตารางเวลาธรรมชาติเท่าไหร่ยิ่งส่งผลให้ภูมิคุ้มกันในร่างกายลดต�่ำลงเท่านั้น แน่นอนว่าเมือ่ ร่างกายอ่อนแอมันจะกระทบการท�ำงาน ถ้ายิง่ ได้รบั ความเครียดและ ความกดดันจากการฝืนท�ำเข้าไปเพิม่ เราต้องเลือกว่าจะรักษาร่างกายหรือความรับ ผิดชอบที่เริ่มอ่อนแอลงไปทั้งสองฝ่าย เมือ่ ร่างกายอ่อนแอเจ็บป่วย เราเลีย่ งไม่ได้ทจี่ ะต้องหยุดพักรักษาตัว สิง่ ที่ ตามมาคือความกังวลในเรื่องของการคาดเดาไม่ได้ว่าเราจะหายเป็นปกติเมื่อใด หลายคนพยายามฝืนท�ำงานต่อทัง้ ๆทีย่ งั ไม่หายดีเพราะกังวลว่าเมือ่ หยุดการท�ำงาน นานๆก็ยิ่งมีผลกระทบต่อเราในอนาคตมากเท่านั้น ความกังวลนั้นจึงกลายเป็น ความเครียดซ�ำ้ ซ้อนลงไปอีก เพราะนอกจากปัญหามันจะยากด้วยตัวมันเองแล้วมัน ยังตอกย�้ำให้เห็นว่าศักยภาพของเรายังไม่ถึงขั้นอีกด้วย

45


46


47


48


49


ในยุคที่เวลาเป็นเงินเป็นทอง ผู้คนต้องวิ่งตามความปรารถนาที่ไม่สิ้นสุด ของตัวเองจนส่งผลให้เราต้องวิ่งและหยุดไม่ได้ แรงเหล่านั้นยิ่งผลักดันให้โลกหมุน เร็วขึ้น เหมือนสายพานที่ไหลไปเรื่อยๆ ซึ่งขัดกับร่างกายของเราที่ต้องการรักษา ตัวเองให้อยู่ในสภาพปกติที่สุด เรามีสัญชาตญาณของความขี้เกียจอยู่ในตัวเพื่อ การรักษาสภาพนี้ไว้ ความเครียดจึงเป็นสิ่งที่เราเลี่ยงไม่ได้ตอนนี้มันอยู่กับเราตั้งแต่ ตืน่ นอน ยันเข้านอน อยูต่ ดิ แน่นจนแทรกเป็นเนือ้ เดียวกับความขีเ้ กียจแล้ว ไม่แปลก ที่คนสมัยนี้จะมีอาการสับสนและไม่เข้าใจในตัวเอง เพราะการกระท�ำจากจิตใจกับ การกระท�ำทางสังคมมันขัดแย้งกันมากๆ ถ้าความขีเ้ กียจมีความแข็งแกร่งอย่างมากในการจูงใจให้เราไม่เผชิญหน้า กับปัญหา ในทางกลับกันการหลีกเลีย่ งปัญหาคือวิธกี ารทีด่ ที สี่ ดุ รูเ้ ขารูเ้ รายังคงเป็น วิธีหลบเลี่ยงการปะทะที่รุนแรงได้เสมอ บางทีการพยายามแก้ไขโดยตรงสามารถ สร้างความเสียหายได้มากกว่า ความขี้เกียจเป็นการรักษาสมดุลของร่างกายและ จิตใจ ลองเปิดใจรับรูใ้ ห้เท่าทันความขีเ้ กียจของตัวเอง และใช้มนั ในปริมาณทีพ่ อควร ว่ากันว่าศัตรูที่แข็งแกร่งจะเป็นมิตรที่แข็งแกร่งเช่นกัน ถ้าพลิกพฤติกรรมเหล่านั้น มาใช้ให้เป็นประโยชน์กบั ตัวเราได้ การได้รทู้ มี่ าของกระบวนการในร่างกายและความ คิดของตัวเองที่ส่งผลให้เกิดความขี้เกียจ อาจหมายความว่าเราได้ค้นพบหนทางสู่ การรับมือกับสิ่งที่จะเข้ามากระตุ้นเราให้เกิดความเครียดได้ดีขึ้นก็เป็นได้

50


พันธุกรรมของเราเหมือนการสะสมพฤติกรรมของ มนุษย์ตั้งแต่รุ่นดึกด�ำบรรพ์ ในสมัยก่อนเรามีแค่ดีเอ็นเอกับตัว เปล่าๆ พอสั่งสมประสบการณ์และเริ่มคิดได้ก็เอาเถาวัลย์มาใช้ ประโยชน์เป็นเชือก พอคิดค้นเชือกที่แข็งแรงขึ้นก็สร้างเป็น เครือ่ งทุน่ แรงจนกลายมาเป็นเครือ่ งจักร เห็นได้วา่ เกลียวของเรา มีความเปลี่ยนแปลง มันแข็งแรงขึ้นแต่ก็ไร้ความเป็นธรรมชาติ มากขึน้ เช่นกัน ยิง่ มีการพัฒนาของเราและสังคมให้เปลีย่ นแปลง ไปมากเท่าไหร่ เราก็ยิ่งมีความเครียดที่ผลักดันเราห่างออกจาก ธรรมชาติของตัวเองมากเท่านั้น หรือนั่นอาจจะกลายมาเป็น ธรรมชาติใหม่ของเราก็ได้ เราไม่จ�ำเป็นต้องคงอยู่ในสภาพใด สภาพหนึง่ เสมอไป ยิง่ เราเก็บเกีย่ วสถานะต่างๆมากเท่าไหร่ เรา ยิง่ มีโหมดในการรับมือความเครียดและใช้ในการผ่อนคลายมาก เท่านั้น ในเมื่อรหัสพันธุกรรมถูกบรรจุในร่างกายของเราหมด แล้ว การปล่อยให้สัญชาตญาณเก่าๆอย่างความขี้เกียจท�ำงาน สลับกับโหมดต่างๆกันบ้างก็ไม่ใช่เรื่องที่น่าอายอะไร เพราะ สัญชาตญาณก็ท�ำงานเพื่อรักษาสภาพความอยู่รอดของชีวิตเรา อยู่แล้ว ทั้งหมดมันถูกบรรจุอยูในตัวเรารอให้พร้อมใช้เสมอ

51


52


53


การนอนคือการ วางตัวเองขนานไป กับพื้นโลก เป็นท่าที่ใช้แรง ในการทรงตัวน้อยทีส่ ดุ แล้ว คนขีเ้ กียจก็มกั ชอบทีจ่ ะเอนตัวลงนอนกัน และการนอน ก็เป็นกิจวัตรประจ�ำวันทีเ่ ราต้องท�ำมาตัง้ แต่เกิด ว่ากันว่าการนอนกินเวลาไปถึง 36% ของชีวิตคนเรา เรานอนเป็นเรื่องปกติจนแทบไม่สังเกตว่าท�ำไมเราต้องนอน เรา ปล่อยให้ชวี ติ ท�ำหน้าทีข่ องมันไปตามธรรมชาติ จนกระทัง่ วันหนึง่ คุณเกิดยังไม่อยาก จะหลับตาตอนกลางคืน คุณฝืนลืมตาและไม่ลม้ ตัวลงนอนเพือ่ รออะไรบางอย่าง อาจ จะเพราะอยากดูดาว มีฟตุ บอลรอบดึก อ่านหนังสือสอบ หรืออะไรก็ตามทีค่ ณ ุ อยาก ใช้เวลาในการตื่นให้มากขึ้น การนอนจึงถูกลดความส�ำคัญลง เราเริ่มปฏิเสธที่จะ นอนเพราะว่ามันดันกลายเป็นตัวขัดขวางกิจกรรมทีเ่ ราอยากท�ำ ทัง้ ๆทีเ่ มือ่ ก่อนเรา แทบไม่มีปัญหาอะไรกับมันเลย เห็นได้ชัดเจนจากค�ำกล่าวของโทมัส เอดิสัน ช่วง ต้นยุค ศตวรรษที่ 20 ทีว่ า่ "การนอนหลับเป็นอาชญากรผูผ้ ลาญเวลา และเป็นมรดก ทีเ่ ราได้มาแต่ยคุ ถ�ำ้ " นีเ่ ป็นส่วนหนึง่ ของแง่มมุ ความคิดต่อการนอนทีไ่ ปขัดขวางการ ท�ำงาน และคือการเริ่มฝืนระบบร่างกายในระยะต้นๆ

54


ย้อนกลับไปสมัยก่อน เราใช้ชวี ติ ตามแสงของดวงอาทิตย์เท่านัน้ เมือ่ ความ มืดยามค�ำ่ คืนมาเยือน เรามีเพียงแสงไฟจากเทียนไข ตะเกียงหรือคบเพลิง ไฟร้อนๆ เหล่านีช้ ว่ ยจุดแสงสว่างให้มนุษย์พอมองเห็นทีท่ างในความมืดได้ แต่ความมืดก็ยงั มี พลังมากกว่า เมื่อแสงหมดความมืดก็เข้ามาปิดตา ผลักให้คนหมดโอกาสในการท�ำ กิจกรรมและเข้านอน แต่อย่างไรมนุษย์ก็เติบโตเข้าหาแสงเสมอ โทมัส เอดิสันเพิ่ม โอกาสการเติบโตนั้นด้วยการประดิษฐ์ดวงอาทิตย์ยามค�่ำคืนหรือก็คือหลอดไฟฟ้า เขาจุดกลางคืนให้กลายเป็นกลางวันได้ มารูต้ วั อีกทีโลกทัง้ โลกก็ตนื่ เกือบตลอดเวลา เมืองใหญ่ๆไม่เคยหลับใหล ในเมือ่ เรามีแสงสว่างให้ใช้ตลอดเวลา หน้าที่ ในการนอนของเราโดนเหมารวมว่าเป็นสิ่งไม่จ�ำเป็นทันที การเข้าสู่ยุค ปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมและทุนนิยมพาลเอาทุกอย่างทีข่ ดั ขวางการเพิม่ ขึน้ ของ งานให้กลายเป็นศัตรูของมนุษยชาติ เมื่อโลกแปลงเวลาให้กลายเป็นผลประโยชน์ การนอนผลาญเวลาเป็นเงินเป็นทองของเรา ผลาญเวลาแห่งโอกาส คนเรานอนน้อย ลงและดืม่ ด�ำ่ กับแสงสว่างยามราตรีทยี่ าวนาน เพือ่ สิง่ ตอบแทนทีม่ ากขึน้ เพราะพวก เขาไม่รู้ถึงผลของสิ่งที่แลกไปกับการบ่ายเบี่ยงที่จะนอนหลับนั้นจะเป็นอย่างไร การนอนเป็นสัญชาตญาณทีถ่ กู ส่งต่อทางพันธุกรรมเช่นเดียว กับความขี้เกียจ เอดิสันกล่าวไม่ผิด มันมีความใกล้เคียงประหนึ่งญาติกันเลย ทีเดียว หน้าที่ของมันคือการช่วยสงวนพลังงาน สังเกตว่าคนขี้เกียจชอบ นอน เนือ่ งจากบรรพบุรษุ เราควรเคลือ่ นไหวในตอนกลางคืนทีม่ องไม่เห็น อะไรเลยให้นอ้ ยทีส่ ดุ เพือ่ ป้องกันอันตราย การเดินดุม่ ๆในทีโ่ ล่งๆมืดๆมักโดนจับกิน เสมอและมันก็นา่ กลัว การนอนจึงได้ประโยชน์สองต่อคือ เป็นระบบทีช่ ว่ ยให้มนุษย์ มีชีวิตรอดได้ยืนยาวมากขึ้นและยังสงวนพลังงานไว้ใช้พรุ่งนี้ได้อีก

55


เมื่อเราหลับ แน่นอนว่าเราจะขยับตัวน้อยลง อวัยวะในร่างกายท�ำงาน ช้าลงและสะดวกมากขึ้น ยีนจะเปิดการท�ำงานเพื่อฟื้นฟูระบบภายใน หรือตอนป.4 เราคงเคยได้ยินค�ำว่า การซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ การซ่อมแซมนี้คือการแบ่งเซลล์ เพื่อเสริมสร้างเนื้อเยื่อในร่างกายที่อาจเสียหายขณะที่เราใช้ในชีวิตประจ�ำวัน เป็ น กระบวนเตรี ย มพร้ อ มให้ ร ่ า งกายพร้ อ มเผชิ ญ สิ่ ง เร้ า ต่ า งๆในวั น ต่ อ ไปได้ อย่างในช่วงที่เป็นเด็กทารกจ�ำเป็นจะต้องใช้เวลาในการนอนหลับมากกว่าวัยอื่นๆ เนื่องจากจะมีการหลั่ง Growth hormone ในช่วงที่เริ่มหลับซึ่งกระตุ้นการเจริญ เติบโตของร่างกาย ส่วนวัยทีโ่ ตขึน้ ความส�ำคัญในการนอนหลับจะมุง่ ไปทีก่ ารท�ำงาน ของสมองและระบบประมวลความจ�ำ จะมีการปรับสมดุลของประสาทในสมอง เพราะตอนนอนเซลล์ประสาทจะได้รับการฟื้นฟูเพราะไม่มีข้อมูลวิ่งไปมาในหัว มากเท่าตอนเราตื่น สมองจึงสงบและเกิดการเรียบเรียงข้อมูลซึ่งจะมีผลในด้าน ความจ�ำ การรับข้อมูลเมือ่ เราตืน่ ขึน้ มาจะมีสมาธิ รับข้อมูลได้มากขึน้ มันจะช่วยเพิ่ ม สมาธิ ความสนอกสนใจ มี ก ารตั ด สิ น ใจในการแก้ ไ ขปั ญ หาได้ แ ม่ น ย� ำ ขึ้ น ลดความแปรปรวนของอารมณ์ซึ่งท�ำให้เกิดความเครียด ภูมิคุ้มกันให้ร่างกาย แข็งแรงขึน้ ท�ำให้มคี วามคิดสร้างสรรค์พร้อมต่อการท�ำงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ รัสเซล ฟอสเตอร์ นักประสาทวิทยา กล่าวว่าคือการนอนหลับคือกระบวน ซับซ้อนทีช่ ว่ ยในด้านการฟืน้ ฟูของสมองและการรวบรวมความทรงจ�ำ การเชือ่ มโยง ของเซลล์ ป ระสาทจะถู ก เชื่ อ มโยงถึ ง กั น และท� ำ ให้ เ ข้ ม แข็ ง ขึ้ น ซึ่ ง จะส่ ง ให้ ประสิทธิภาพในการท�ำงานของเราเพิม่ มากขึน้ ในขณะทีก่ ารนอนไม่พอ ท�ำให้สมอง รับรู้ข้อมูลได้ยากขึ้น สิ่งหนึ่งที่สมองท�ำก็คือ ยอมผ่อนผันให้เกิดการนอนช่วงสั้นๆ หรือก็คือการผล็อยหลับโดยไม่รู้ตัว นอกจากเป็นเรื่องน่าอายแล้วมันส่งผลต่อให้ เราท�ำงานได้อย่างไม่เต็มที่อีกด้วย ถ้าเราผลัดการนอนไปเรื่อยๆ ร่างกายจะทดความเหนื่อยล้าไว้ เรียกว่า “หนี้การหลับ” มันจะเหมือนกับคุณขอยืมพลังงานของวันพรุ่งนี้มาใช้ก่อน และถ้า ยังยืมต่อไปอีกโดยทีค่ ณ ุ ไม่นอนหรือไม่จา่ ยหนี้ คุณจะสะสมหนี้ และหนีน้ สี้ ร้างภาระ หนักให้ร่างกายเลยทีเดียว ความเหนื่อยล้า ง่วงเหงาหาวนอนและเตียงกับหมอนก็ 56


จะกวักมือเรียก จนอยากจะบอดีส้ แลมตัวเองลงไปนอน แต่ทำ� ยังไงได้ คุณยังจ�ำเป็น ต้ องตื่ น อยู่ คุ ณต้องการสิ่งที่ท�ำให้ตัว เองตื่น ต่อไป คุ ณ ต้ อ งขอยื มพลั งงานจาก บางอย่ าง นั่ น คือต้องพึ่งคาเฟอีน คาเฟอีน ในกาแฟและเครื่ อ งดื่ มชู ก� ำ ลั ง เป็ น ทางเดียวในการท�ำให้เราตื่นตัวต่อไป แต่การยืมพลังจากคาเฟอีนก็เหมือนไป กู้เงินเถื่อน มันช่วยต่อเวลาให้คุณแต่อย่าลืมว่าหนี้ไม่ได้ลดลงเลย มันเพิ่มมากขึ้น เพราะคาเฟอีนจะคิดดอกเบี้ยจากพลังงานที่เราได้มา กลายเป็นว่าตอนนี้คุณจะ เหนื่อยล้ากว่าเดิมและต้องใช้หนี้การหลับเป็น 2 เท่า เมือ่ ไม่ได้นอนมากๆคุณคงรูว้ า่ มันจะทรมานยังไง หากเราไม่นอนติดต่อกัน เป็นเวลา 5 วัน มีโอกาสในการเสียชีวิตสูง หรือในคนที่นอนไม่พอคือนอนน้อยกว่า 4 ชั่วโมงต่อวัน เสี่ยงต่อการเสียชีวิตเร็วขึ้นใน 6 ปี ถ้าหากไม่นอนประสิทธิภาพใน การคิดและตัดสินใจของคุณลดลง อารมณ์ฉุนเฉียวขึ้น การท�ำงานแย่ลง สติแตก ตารางชีวติ รวนเวลาตืน่ กับเข้านอนจะสลับกัน จังหวะของชีวภาพร่างกายจะผิดเพีย้ น เกิดความเครียดสะสม หัวใจเต้นเร็วขึ้นจนความดันโลหิตสูง จ�ำนวนเม็ดเลือดขาว ลดลงซึ่งท�ำระบบภูมิคุ้มกันต�่ำและเริ่มบกพร่อง เมื่อถึงขีดสุดความเจ็บป่วยก็จะมา เยือน ยิ่งถ้าความเครียดนั่นเกิดที่จิตใจ การตั้งต้นที่จะกลับไปปรับการนอนใหม่ยิ่ง ท�ำได้ยากมาก เพราะการป่วยทางจิตจะยิง่ ท�ำให้สมองไม่ได้รบั การพักผ่อนเนือ่ งจาก ความกังวล ระบบการนอนและกิจวัตรประจ�ำวันจะพังพินาศไปเลย สิ่งที่เราท�ำได้คือการเริ่มใส่ใจและเอาจริงเอาจังในการจัดการเวลาในการ นอนให้เพียงพอมากขึ้น เพราะการได้พักผ่อนจะท�ำให้ร่างกายเราพร้อมที่ท�ำงาน กระบวนการคิดของเราจะสดใหม่เสมอ ซึ่งมันส่งผลดีต่อประสิทธิภาพงานของเรา ด้วย กระบวนการของสิ่งที่เราคิดว่ามันคือความขี้เกียจและเริ่มเลี่ยงท�ำมันน้อยลด แท้จริงไม่เป็นผลดีเลยที่จะฝืนมัน ถ้าจะยกเรื่องความขี้เกียจที่ไม่ควรท�ำ ขอให้ละ เรือ่ งการนอนไว้เพราะมันส�ำคัญส�ำหรับระบบร่างกายมากจริงๆ ถ้าถามว่าอะไรทีห่ า ยากและมีค่ากว่าคะแนนสวยๆก็คือเวลานอนที่เต็มอิ่มและสุขภาพร่างกายที่ดี

57


58


ใช่ว่าการดื่มกาแฟจะกลายเป็นสิ่งไม่ดี กาแฟช่วยให้เราตื่น ตัวและรู้สึกสดชื่น แต่การดื่มกาแฟให้ได้ผลดี ต้องดื่มให้ถูกช่วงเวลา เพราะร่างการของเรามีฮอร์โมนที่ช่วยกระตุ้นการตื่นตัวอยู่แล้ว นั่นคือ “ฮอร์โมนคอร์ติซอล” ฮอร์โมนคอร์ตซิ อลคือฮอร์โมนทีผ่ ลิตมาจากต่อมหมวกไต และจะถูกหลัง่ ออกมามากในตอนเช้าเพือ่ ช่วยให้รา่ งกายตืน่ ตัว ให้หวั ใจบีบตัวแรงขึน้ และส่งเลือด ไปเลี้ยงสมอง คอร์ติซอลจะหลั่งออกมาเพื่อให้เราพร้อมที่จะสู้กับความเครียด มันช่วยเพิ่มระดับน�้ำตาลในกระแสเลือดและจะค่อยๆลดลงตาม ความเครียด แต่ถ้าอดนอนคอร์ติซอลจะยิ่งหลั่งออกมาเพราะ เรายังเครียดอยู่เรื่อยๆ ถ้าระดับของคอร์ติซอลไม่ลดและเพิ่ม ขึน้ เรือ่ ยๆ เราจะยิง่ อ่อนแอเพราะกระบวนการต้านความเครียด ของคอร์ติซอลต้องใช้พลังงานสูง ภูมิคุ้มกันจะลดลง และอาจเป็นสาเหตุของโรค เรื้อรัง ดังนั้นการดื่มกาแฟเพื่อช่วยให้ตื่นนานมากขึ้น ก็เท่ากับว่าเพิ่มความเครียด ท�ำให้ยง่ิ หลัง่ คอร์ตซิ อลจนร่างกายอ่อนแอมากขึน้ เพราะฉะนัน้ ควรเลีย่ งการอดนอน และดื่มกาแฟในช่วงที่ไม่มีการหลั่งคอร์ติซอลจะดีที่สุด

59


เราพูดเรื่องการนอนกลางคืนไปแล้ว ซึ่งก็คือการพักผ่อนที่จ�ำเป็นและ ไม่ควรหลีกเลีย่ ง ถ้านอนกลางคืนพอแล้ว ท�ำไมประเทศแถบยุโรปต้องนอนกลางวัน กันด้วย มันชักจะขี้เกียจเกินไปแล้วนะ แม้แต่ประเทศลาวเพื่อนบ้านของยังได้รับ อิทธิพลการนอนกลางวันมาจากประเทศฝรัง่ เศส ประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล้วท�ำไมถึงท�ำตัว เอื่อยเฉื่อยแบบนี้กันได้ ขอแนะน�ำให้รจู้ กั วัฒนธรรมการนอนกลางวันหรือการงีบหลับตอนตะวัน โด่งเหนือหัวซึ่งมีต้นก�ำเนิดมาจากประเทศสเปน ที่เรียกว่า “Siesta” เป็นภาษา สเปนมีรากศัพท์มาจากภาษาละตินว่า Hora sixth หรือ Six hour โดยถือว่า 6 ชัว่ โมง หลังจากพระอาทิตย์ขึ้นจะอยู่ในช่วงเที่ยงๆบ่ายๆพอดี เหตุผลที่เขาอ้างในงีบหลับก็ คืออากาศในตอนกลางวันนีม่ นั ร้อนเหลือทน ท�ำงานไม่ได้เลย ทัง้ ๆทีป่ ระเทศในแถบ ยุโรปอย่าง สเปน อิตาลี ฝรั่งเศส โปรตุเกต โรมาเนีย ก็ยังร้อนสู้บ้านเราไม่ได้ แต่เอาเป็นว่าทุกที่ที่มีวัฒนธรรมนี้ล้วนเคยตกเป็นอาณานิคมของสเปนมาก่อน ไม่วา่ ข้ออ้างนัน้ จะจริงหรือไม่แต่ Siesta ก็ไม่ใช่กจิ กรรมทีท่ ำ� กันขีเ้ กียจเล่นๆ มันดัน มีประโยชน์เสียด้วย มีวิจัยว่าการงีบหลับในตอนกลางวันว่ามีส่วนให้สมองประมวล ผลในช่ ว งวั น ได้ ดี ยิ่ ง ขึ้ น ในสเปนมี ก ารรณรงค์ ก ารนอน Siesta อย่ า งจริ ง จั ง บางคนถึงขัน้ ต้องใส่ชดุ นอนก่อนงีบ ขนาดในญีป่ นุ่ ยังน�ำแนวคิดนีไ้ ปปรับให้พนักงาน งีบในช่วงพักกลางวันเพื่อเพิ่มประสิทธิในการท�ำงานด้วย

60


ข้อสันนิษฐานของการเกิด Siesta อาจจะมาจากพฤติกรรมหนังท้องตึง หนังตาหย่อน เคยสังเกตไหมว่าท�ำไมหลังจากที่รับประทานอาหารอิ่มๆ ยิ่งมื้อเที่ยง ทีเ่ รากินเป็นอาหารหนักๆ เราจะยิง่ ง่วงนอน เพราะเมือ่ เรารับประทานอาหารเข้าไป ร่างกายจะมุ่งความสนใจไปที่กระเพาะอาหารเพื่อท�ำการย่อย เลือดจึงไปไหลเวียน ไปที่บริเวณท้องของเรามากกว่าส่วนอื่น ส่วนอื่นๆในร่างกายจึงได้พลังงานน้อยลง เพราะเลือดไหลไปอยู่ที่ท้องหมดแล้ว สมองของเราก็ได้เลือดน้อยลงเช่นกัน มันจึง เกิดอาการเฉื่อย และท�ำให้เราง่วงนอน การ Siesta จึงเกิดขึ้น วิธีที่จะ Siesta ให้ได้ผลดีที่สุดคืองีบ 10-20 นาที ไม่ควรมากกว่านั้น ในช่วงเวลา 13.00 -16.00 น. ถ้าช้ากว่านี้จะมีผลกระทบต่อการนอนตอนกลางคืน หลังจากการงีบจะท�ำให้สมองตื่นตัวได้ดี มันจะช่วยในการประมวลผลความจ�ำใน ระยะสัน้ สมองจะจัดเรียงข้อมูลใหม่ให้เป็นระเบียบ ท�ำให้จดจ�ำสิง่ ส�ำคัญๆทีผ่ า่ นเข้า มาได้มากขึน้ อีกทัง้ ยังเหลือพืน้ ทีว่ า่ งทีร่ บั จะข้อมูลเพิม่ ได้อกี ด้วย ซึง่ กระบวนการงีบ จะช่วยส่งเสริมให้หลังจากเมื่ออาหารย่อยเสร็จแล้ว เลือดก็เริ่มหมุนเวียนไปยัง ส่วนต่างๆน�ำพาพลังงานอย่างน�้ำตาลกลูโคสไปกระตุ้นให้เราตื่นตัวและสดชื่นพอดี แต่ต้องตั้งปลุกเพื่อไม่ให้นอนเกิน เนื่องจากถ้านอนมากไปจะท�ำให้งัวเงียเพราะเข้า สู่สภาวะหลับลึกแล้ว การ Siesta สามารถท�ำได้เพื่อช่วยในสภาวะหลังจากที่เรา อดนอนมาได้ เหมือนเป็นก่อนผ่อนผันหนีก้ ารหลับและช่วยปรับเวลาให้คณ ุ สามารถ ค่อยๆกลับไปนอนในช่วงกลางคืนได้ตามปกติ

61


62


63


นีเ่ ป็นอีกปัญหาหนึง่ ทีต่ อ้ งใช้แรงจูงใจอย่างมากในการท�ำพอๆกับจูงใจตัว เองไปท�ำงาน นั่นคือ การออกก�ำลังกาย เรารู้ว่าการออกก�ำลังกายมีประโยชน์ต่อ ร่างกายอย่างมากมาย มันช่วยเสริมสร้างกล้ามเนือ้ ปรับเรือ่ งกายหายใจ ท�ำให้ปอด และหัวใจแข็งแรง ช่วยเผาผลาญไขมันทีเ่ สีย่ งต่อภาวะความอ้วนและทีส่ ำ� คัญคือช่วย ลดสภาวะความเครียดได้ด้วย แต่ยังต้องมีการรณรงค์อย่างต่อเนื่องเพื่อให้คนออก มาออกก�ำลังกัน เพราะถึงการออกก�ำลังกายจะดียงั ไง ข้อเสียของการออกก�ำลังกาย คือท�ำให้เราเหนื่อย การขยับร่างกายให้หอบแฮ่กๆเป็นเรื่องทรมานน่าดู อย่างลืมว่ามนุษย์มียีนขี้เกียจที่ท�ำหน้าที่สงวนพลังงาน แต่อาหาร ในปัจจุบันให้พลังงานเกินจ�ำเป็น มันควรถูกเผาผลาญทิ้งไม่ อย่ า งนั้ น มั น จะสะสม ยิ่ ง ถ้ า ท� ำ งานนั่ ง โต๊ ะ ยิ่ ง เสี่ ย ง อันตรายต่อการเป็นโรคต่างๆ เพราะกล้ามเนื้อ ไม่ได้ออกแรงเลย อาจจะมีการรับน�้ำหนักของ ร่างกายบางส่วนเป็นเวลานานมากเกินไป ท�ำให้ กล้ามเนื้ออักเสบ เมื่ออัตราการเผาผลาญใน ร่างกายต�่ำลง น�้ำตาลในเลือดจะสูงขึ้นเพราะ ไม่ถูกน�ำไปใช้ ถ้าบวกกับภาวะเครียดจะยิ่งท�ำให้ ระดับน�้ำตาลสูงขึ้นไปอีกซึ่งเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและ โรคอ้วน และส่งผลต่อให้เป็นโรคหัวใจและมะเร็งต่อไปได้ 64


ผลของการออกก�ำลังกายทีอ่ ยากจะเน้นมากกว่าการมีรา่ งกายแข็งแรงคือ การมีสุขภาพจิตที่ดี เนื่องจากขณะออกก�ำลังกายร่างกายจะหลั่งสารเอนโดร์ฟินส์ (Endorphins) ซึ่งเป็นสารระงับคามเจ็บปวดในสมองที่ท�ำให้คนรู้สึกดี มีความสุข และผ่ อ นคลาย การออกก� ำ ลั ง กายยั ง ให้ ผ ลเป็ น เหมื อ นกั บ การท� ำ สมาธิ แ บบ เคลือ่ นไหว (Meditation in motion) เพราะเวลาออกก�ำลังกายไม่วา่ จะเป็นวิธไี หน จิตเรามีสมาธิจดจ่ออยูก่ บั การเคลือ่ นไหวตามส่วนของร่างกายเป็นจุดๆไป เมือ่ ออก ก�ำลังกายแล้วร่างกายแข็งแรงมากขึ้น สมองปลอดโปร่งมากขึ้น น�ำไปสู่การนอน หลับที่ดี ร่างกายก็ได้พักผ่อนเต็มที่และต้องรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ด้วย ดังนั้นการออกก�ำลังกายจึงเป็นวิธีการผ่อนคลายความเครียดที่ลงทุนน้อยที่สุดและ มีประสิทธิภาพที่สุด การฝึกร่างกายให้ออกก�ำลังกายมากขึน้ คือเลือกการออกก�ำลังทีช่ อบทีส่ ดุ อย่างเช่น กระโดดตบ วิ่งระยะสั้น พาหมาไปเดินเล่น ท�ำงานบ้าน ซึ่งได้ประโยชน์ 2 in 1 หรือหาแรงจูงใจร่วมคือ ชวนเพื่อน พ่อแม่ พี่น้อง แฟน หรือสโมสรแถวบ้าน ยิ่งเป็นการรวมกลุ่มออกก�ำลังจะเป็นการส่งเสริมก�ำลังใจในการออกก�ำลังและสนุก อีกด้วย ทางการแพทย์แนะน�ำให้ ออกก�ำลังกายนานประมาณ 10 – 30 นาทีต่อวัน สัปดาห์ละ 3 วัน หรือ วันเว้นวัน หากรูส้ กึ เหนือ่ ยก็ให้หยุดพักก่อน แล้วจึงออกก�ำลัง กายต่ออีก จนครบเวลา 30 นาที ก็ได้ ถ้าไม่มีเวลา การออกก�ำลังกายเล็กน้อยก็ยงั ดีกว่าไม่ออกเลย อาจใช้ทบี่ บี มือหรือยกน�ำ้ หนักเล็กๆ ออกก�ำลังมือก�ำลังแขน หรืออาจปั่นจักรยานอากาศเพื่อเปลี่ยนอิริยาบถให้ร่างกาย ปรับกล้ามเนื้อไปอยู่ในท่าอื่นๆบ้าง ร่างกายของเราไม่ เพียงแต่ต้องการความเครียดในการผลักดันไปสู่เป้า หมาย แต่การมีสุขภาพกายและสุขภาพใจที่ดีเป็น พื้นฐานของการก้าวไปสู่จุดหมายได้อย่างมั่นคง และมีความสุข ที่นี้คุณก็มีร่างกายดีๆเอาไว้ขี้เกียจ ได้นานขึ้นอีกหลายสิบปีเลยทีเดียว

65


66


67


มนุ ษ ย์ มี ค วามเป็ น เอกลั ก ษณ์ ไม่ มี ใ ครที่ เ หมื อ นกั น เป๊ ะ ๆเลย ดังนัน้ การรับรูข้ อ้ มูลของแต่ละคนก็มไี ม่เท่ากัน บางคนรับรูไ้ ด้เร็ว บางคนรับรู้ ได้ช้าหรืออาจรับข้อมูลที่ซับซ้อนได้ยาก ส่งผลให้การเข้าใจในแต่ละเรื่องของ คนเราไม่เท่ากัน ปัจจัยที่เป็นตัวตัดสินพฤติกรรม ไม่มีแค่ยีนหรือพันธุกรรม จากพ่อแม่เท่านั้น มันยังมาจากการเติบโตในช่วง 3 ขวบแรกของเราด้วย นี่คือสาเหตุว่าท�ำไมคนเราต้องใช้ความขยันและพยายามไม่เท่ากัน ท�ำไมช่วง 3ขวบแรกของเราถึงเป็นตัวตัดสินพฤติกรรม? เพราะยีน ที่ออกค�ำสั่งถูกบรรจุอยู่ในดีเอ็นเอและดีเอ็นเอกระจายอยู่ในเซลล์สมอง การสร้างเซลล์สมองในมนุษย์เกิดขึน้ ได้อย่างเต็มทีต่ งั้ แต่ทเี่ ราเริม่ ปฏิสนธิเป็น ตัวในครรภ์ของแม่ไปจนถึงอายุ 2 ขวบ เซลล์สมองจะเริ่มแบ่งตัวเพิ่มขึ้น เรือ่ ยๆอย่างไร้ขดี จ�ำกัดตามตัวกระตุน้ เช่น อาหารทีแ่ ม่ทานระหว่างตัง้ ครรภ์ การดื่มนมแม่หลังคลอด ของเล่นพัฒนาการ ความรักความอบอุ่น หรือก็คือ ช่วง 1,000 วันหลังจากปฏิสนธิและออกมาเป็นเด็กน้อยจะเป็นช่วงทีร่ า่ งกาย ก�ำลังสร้างและเตรียมหน่วยความจ�ำในสมองทีจ่ ะมีผลต่อตัวเด็กไปตลอดชีวติ เมื่อเรามีเซลล์สมองจ�ำนวนมากแล้ว สิ่งที่ส�ำคัญกว่าจ�ำนวนเซลล์ สมองคือจ�ำนวนไซแนปส์หรือจุดเชื่อมประสาท มันจะเป็นสะพานเชื่อม ประสาทเข้าหากัน ยิง่ แต่ละเซลล์มที างแยกสะพานให้จบั มากกันเท่าไหร่กย็ งิ่ ส่งข้อมูลกระแสประสาทได้เร็วและมีประสิทธิภาพมากขึน้ ท�ำให้สมองรับส่ง ข้อมูลได้ดี ซึ่งส่งผลดีต่อการพัฒนาการเรียนรู้ของเด็ก โดยไซแนปส์จะสร้าง ขึ้นในช่วงอายุ 2-5 ขวบ หลังจากสร้างเซลล์สมองเสร็จนั่นเอง 68


การแตกตัวของไซแนปส์สร้างได้จากกระบวนการคิดของเด็กๆโดยการได้ ปลดปล่อยจินตนาการและการเรียนรู้โดยสังเกตสิ่งรอบตัว ยิ่งถ้าได้ประสบการณ์ การเรียนรูท้ อี่ าศัยความคิดสร้างสรรค์มากๆก็จะยิง่ ส่งเสริมการสร้างไซแนปส์ในสมอง สังเกตได้วา่ เด็กในวัย 2-5 ขวบจะอยูใ่ นช่วงอนุบาล ทีเ่ ป็นวัยทีไ่ ด้เล่นและฝึกการลงมือท�ำ เช่น การวาดภาพระบายสี ก่อกองทราย ปั้นดินน�้ำมัน ยิ่งได้เล่นของที่มีรูปร่างอิสระ หรือ Free from ก็จะยิง่ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ได้มากขึน้ และยังเป็นการฝึกสมาธิ ให้เด็กรู้จักการจดจ่อเพื่อรับประสบการณ์โดยตรงกับการสังเกตสิ่งแวดล้อมได้ด้วย เด็กที่ถูกปิดกั้นหรือไม่ได้รับการส่งเสริมจะมีไซแนปส์ที่น้อยกว่า ถึงแม้ว่าเด็กคนนั้น จะถูกบ�ำรุงจนมีเซลล์สมองที่เยอะ แต่การรับส่งของกระแสประสาทจะฝืดกว่าเด็ก ที่มีไซแนปส์มากกว่า

สาเหตุของการมีไซแนปส์นอ้ ยอาจมาจากการไม่ได้รบั การส่งเสริม แต่การ ที่ได้รับการส่งเสริมที่ผิดวิธีก็ท�ำให้มีไซแนปส์น้อยได้เช่นกัน คือ หากเด็กได้รับข้อมูล เชิงวิชาการ อย่างการฝึกคิดเลข การสะกดค�ำ เร็วเกินไป มากกว่าเสริมความคิดด้าน จินตนาการ การไม่ปล่อยให้ทดลองด้วยตนเอง จะท�ำให้เมื่อโตขึ้น เวลาพวกเขาได้ รับข้อมูลมากๆ การจัดเรียงข้อมูลจะไม่เป็นระเบียบ เหมือนอัดรถเข้าไปในทางคอ ขวด ล�ำเลียงรถยากจนจราจรติดขัด เมื่อรับข้อมูลเข้าไปมากเกิน หน่วยความจ�ำจะ เริ่มตันและท�ำให้สมองจะตื้อนั่นเอง เมื่อพื้นที่การรับรู้เต็มก็ไม่สามารถรับข้อมูลได้ เพิ่มขึ้น การท�ำความเข้าใจในเรื่องยากๆหรือต้องอาศัยข้อมูลเยอะจึงท�ำได้ยากมาก ขึ้นเรื่อยๆ รวมไปถึงการส่งกระแสประสาทที่เกี่ยวข้องกับอารมณ์ เช่น การส่งสาร 69


สื่อประสาทอย่างกรดอะมิโนที่จ�ำเป็น อย่างอะดรีนาลีนที่ช่วยให้มีความสุข รู้สึก ผ่อนคลาย ก็ทำ� ได้ยากเช่นกัน ดังนัน้ นีเ่ ป็นปัจจัยทีส่ ง่ ผลต้องกระบวนการเรียนรูแ้ ละ การปรับอารมณ์ของเรา อีกอย่างหนึ่งคือ การท�ำงานของเซลล์ประสาทจ�ำเป็นจะ ต้องใช้พลังงานสูงมาก อย่างสมองของผูใ้ หญ่โตเต็มวัยเฉลีย่ หนัก 1.4 กิโลกรัม จ�ำเป็น ต้องใช้พลังงานถึง 20% ของพลังงานทัง้ หมด นัน่ คือเหตุผลว่าท�ำไมคนเราถึงขีเ้ กียจ คิดเพราะมันเปลืองพลังงานไปมากโข ยิ่งถ้าอยู่ในสภาวะสมองตื้อนั่นยิ่งบั่นทอน การท�ำงานได้เร็วกว่าสภาวะปกตินั่นเอง การเรี ย นเป็น การใช้ม าตรฐานเดียวในการวั ด ผลซึ่ ง วั ด ออกมาได้ แค่ ภาพรวมเท่านั้น ถ้ามีเรื่องไหนที่เราท�ำได้ไม่ดีไม่ได้ตัดสินว่าเราเป็นคนไม่มีสามารถ หรือด้อยกว่าคนอืน่ แต่มนั ก็เป็นข้อดีของการวัดผลเพราะมันท�ำให้รวู้ า่ ส่วนไหนของ เราที่ดีอยู่แล้วและมีจุดไหนที่ควรต้องเสริมให้ดีข้ึน ถึงแม้ว่าเราจะไม่สามารถเพิ่ม จ�ำนวนเซลล์สมองได้แล้ว แต่เราสามารถรับสิง่ ๆดีเพือ่ ให้ฟน้ื ฟูเซลล์ให้มปี ระสิทธิภาพ เต็มที่ได้ทุกวัน โดยการกินอาหารดีๆ เสริมวิตามิน บี ซึ่งช่วยในการเพิ่มการเปลี่ยน สารอาหารให้เป็นพลังงานแก่สมองได้มากขึ้น ลดความเครียด บ�ำรุงร่างกายให้ แข็งแรง และหมัน่ ฝึกควบคุมอารมณ์เพือ่ ลดภาวะความเครียดให้ลดน้อยลง เราก็จะ สามารถท�ำงานได้เต็มประสิทธิภาพของเรา การเร่งรีบของสังคมปัจจุบนั ก็ไม่ตา่ งกับการอัดข้อมูลมากมายเข้ามาในหัว การทีส่ งั เกตตัวเองจึงเป็นสิง่ ทีเ่ ราเท่านัน้ ทีร่ วู้ า่ เราควรจะเพิม่ ประสิทธิภาพส่วนไหน ให้ตัวเองเพื่อพัฒนาไปให้ถึงเป้าหมาย อย่ายึดติดอยู่กับมาตรฐานเดียว เราต่างมี ความพิเศษเป็นของตัวเอง ขึน้ อยูก่ บั ว่าเราต้องหาวิธที เี่ หมาะสมในการดึงความพิเศษ นั้นออกมา การดูแลตัวเองเพื่อให้สามารถเรียนรู้ได้เรื่อยๆต่างหากเป็นการพัฒนา ตัวเองที่ยั่งยืน

70


71


72


อาการเบือ่ เป็นสิง่ ทีค่ นขีเ้ กียจเป็นบ่อยๆ แน่นอนว่ายิง่ เป็นเรือ่ งงานเพราะ ถ้ามีงานที่ไม่ชอบคุณจะไม่แค่เบื่อมันเฉยๆ คุณจะหน่ า ยมั น อย่ า งแรง แต่ เ อา จริงๆมนุษย์ทนอยู่กับอาการเบื่อนานๆไม่ไหวหรอก พวกเขาจะต้องหาอะไรบาง อย่างท�ำเพือ่ การพักผ่อนของจิต ใจ แน่น อนว่าต้องเป็ น สิ่ ง ที่ เ ขาอยากท� ำ และมั น ต้ อ งไม่ ไร้ ส าระเกินไป เราจึงมีสิ่งที่เรียกว่างานอดิเรก งานอันเป็นมิตรของเรา เราให้ความส�ำคัญกับงานอดิเรกเพราะมันเป็นการเปิดโลกเรียนรูส้ งิ่ ใหม่ๆ แบบที่ไม่ได้บังคับเราแถมยังสร้างสรรค์ด้วย มันสร้างความสุขให้แก่เราเพราะมัน ไม่ได้กดดันเรา ไม่มีการวางแผน มีแค่เราเท่านั้นที่แข่งกับตัวเอง และเมื่อเราสนใจ สิ่งใหม่ๆมากขึ้น เราจะได้ทักษะใหม่ติดตัว ซึ่งมาจากการฝึกฝนจากความอยากของ เราเอง ผลพลอยได้ก็คือคุณได้ความสนุกแถมความรู้มาเสริมสร้างพื้นฐานของคุณ ฟรีๆ งานอดิเรกจึงเป็นทางเลือกในการฝึกฝนหาประสบการณ์ใหม่ทใี่ ห้ความสุขและ ได้ทกั ษะทีค่ ณ ุ อาจน�ำไปประยุกต์ให้เข้ากับงานทีค่ ณ ุ ต้องรับผิดชอบให้นา่ สนใจยิง่ ขึน้ เท่ากับยิงปืนนัดเดียวได้นกสองตัว

73


การพักผ่อนหย่อนใจเป็นช่วงที่จ�ำเป็นของคนเราและสร้างความคิด สร้างสรรค์ สังเกตได้ในชีวิตประจ�ำวัน ความคิดของเราโลดแล่นมากเมื่อเราท�ำ กิจกรรม 3B หรือก็คือ Bus, Bed, Bath ความคิดสุดบรรเจิดจะออกมาตอนที่เรา อยูส่ งบๆและหลุดออกมาจากความเครียด อย่างตอนทีก่ ำ� ลังจะเข้านอน ตอนนัง่ บน รถไปเรื่อยๆ และตอนอาบน�้ำ ซึ่งเป็นช่วงสุนทรีย์และสมองปลอดโปร่งที่สุด นักวิทยาศาสตร์หลายคนค้นพบแนวคิดที่ยิ่งใหญ่ก็ตอนที่สมองของพวก เขาก�ำลังว่างเช่นกัน อย่างเซอร์ไอแซก นิวตัน ค้นพบแรงโน้มถ่วงเพราะไปนัง่ เล่นใต้ ต้นแอปเปิ้ล อาร์คิมิดิสค้นพบวิธีการหาปริมาตรของวัสถุ หลังจากถูกขอร้องให้ช่วย ตรวจสอบว่ามงกุฎทองค�ำแท้นนั้ มีการปลอมปนของโลหะอืน่ หรือไม่ ขณะอาบน�ำ้ ใน อ่างเมือ่ ก้าวขาลงในอ่างและมีนำ�้ ล้นออก เขาจึงคิดวิธใี นการหาปริมาตรของวัตถุเพือ่ ที่จะน�ำไปค�ำนวณหาค่าความหนาแน่นของทองในมงกุฎได้ จนร้องว่า “ยูเรก้า!!” มาแล้ว การให้เวลากับตัวเองอาจเป็นเริ่มต้นของการต่อยอดเป็นสิ่งที่ยิ่งใหญ่ได้

นั ก เขี ย นการ์ ตู น นั ก สื บ โจ หั ว ปลาหมึ ก เคยกล่าว ว่าการวาดรูปเล่นหรือสเกตช์ภาพขณะที่ เราวาดเล่น เป็นช่วงขณะทีเ่ ราไม่จดจ่อกับมันมาก เราวาดไปเรื่อยๆไม่มีแรงกดดัน เราปลดปล่อย ตั ว เองออกมาแบบไม่ ไ ด้ ตั้ ง ใจ การวาดเล่ น อาจสามารถแสดงศักยภาพของความสร้างสรรค์ได้ ดีกว่าตอนทีเ่ ราตัง้ ใจวาด เพราะเมือ่ เราตัง้ ใจวาดเราจะมี ค วามคาดหวั ง ให้ มั น ออกมาดี ที่ สุ ด เราจะกลั ว ความผิ ด พลาด การวาดเล่ น ไปเรื่ อ ยๆ สามารถแสดงไอเดียหรือลายเส้นที่เรานึกไม่ถึง 74


นักคิดและ Visualizer กล่าวในเทวี TED Talk ว่าด้วยข้อดีการ Doodle (การวาดเล่น) กลุ่มคนที่วาดดูเดิลเล่นเรื่อยเปื่อยในขณะที่ก�ำลังฟังข้อมูลค�ำพูด จะ จดจ�ำข้อมูลได้มากกว่า คนอีกกลุ่มที่ไม่ได้วาด เรามักคิดว่าการวาดเล่นเป็นการ กระท�ำเมือ่ เราสูญเสียความสนใจจดจ่อในสิง่ ต่างๆ แต่ทจี่ ริง มันเป็นมาตรการส�ำรอง พื้นที่ในสมอง เพื่อไม่ให้เราหลุดจากการจดจ่อในสิ่งนั้น นอกจากนั้น มันยังมีผลกระ ทบอย่างลึกซึ้ง ต่อการคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ และต่อกระบวนการการ ประมวลผลข้อมูลภายใน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในสถานการณ์ทตี่ อ้ งมีการเรียนรูข้ อ้ มูล จ�ำนวนมากๆ และจ�ำเป็นต้องใช้ความคิดอย่างมากในการประมวลข้อมูลนัน้ การท�ำ Mind Maping ก็เป็นอีกช่องทางหนึง่ ในการมองภาพรวมของข้อมูลทั้งหมด ซึ่งนั่น ก็อาศัยการลงมือวาดเขียนลงกระดาษเช่นกัน ถ้ามีการวาดภาพเพิ่มขึ้นจะยิ่งสามารถใช้เป็นการสรุปข้อมูลได้อย่าง รวดเร็วด้วยการมอง ยิ่งเราเห็นภาพได้มากเท่าไหร่ ก็ยิ่งย่นเวลาในการอธิบายมาก ขึน้ ซึง่ การอธิบายด้วยค�ำพูดหรือตัวอักษรอาจท�ำให้ไม่เห็นภาพทีต่ รงกัน ด้วยค่านิยม หรือการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นข้อมูลพวกเราจึงจับดินสอวาดรูปน้อยลงและการวาดรูป กลายเป็นเรือ่ งทีม่ แี ค่ศลิ ปินเท่านัน้ ทีท่ ำ� ได้ ซึง่ มันไม่จริงเลย การปลดปล่อยความคิด สร้างสรรค์ผ่านสื่อบางอย่างจะช่วยพัฒนาด้านการรับส่งข้อมูลของเราให้ดีขึ้น เรื่องเล็กๆที่ถูกมองว่าท�ำเล่นๆนั้น แท้จริงมาจากความตั้งใจและจริงจัง กว่างานที่ต้องรับผิดชอบเสียอีก การผ่อนคลายความตึงเครียดและยืดหยุ่นกับสิ่ง รอบตัวมากขึ้นอาจเป็นการเปิดรับโลกทัศน์ใหม่ๆให้กับชีวิตเพื่อให้เราค้นหาความ สุขได้มากขึ้นก็ได้ 75


76


77


78


79


เพราะทุกสิ่งทุกอย่างที่เกิดขึ้นภายในร่างกายของเราคือปฏิกิริยาทางเคมี ที่ ส มองสั่ ง ออกมาเป็น ค�ำสั่งในรูป แบบของเอนไซม์ มั น เป็ น สารที่ ก ระตุ ้ น การ แสดงออกพฤติกรรมของเรา แต่แม้ว่าเอนไซม์เป็นตัวกระตุ้นพฤติกรรมของเรา แต่อย่าลืมว่าตัวควบคุมพฤติกรรมของเราจริงๆก็คือยีน จึงมองได้ว่า ยีนจะปลุก เอนไซม์ขึ้นมาท�ำงานและส่งผลกระตุ้นต่อร่างกายให้ท�ำการกระท�ำต่างๆ เป็นไปได้ ว่าการที่คนเรามีระดับขี้เกียจและขยันต่างกันเป็นผลมาจากยีน จากผลงานวิจัยล่าสุดของทีมศึกษาวิจัยจาก College of Veterinary Medicine แห่งมหาวิทยาลัยมิสซูรี สหรัฐอเมริกาซึ่งทดลองในหนู ว่ามียีนมากถึง 36 ตัว ทีเ่ ชือ่ ว่าเป็นตัวก�ำหนดแรงกระจูงใจในการท�ำกิจกรรมของร่างกายไว้ลว่ งหน้า นัน่ ก็คอื พันธุกรรมมีผลต่อความขีเ้ กียจทีต่ า่ งกันด้วย ผลการวิจยั ดังกล่าวนีส้ อดคล้อง กับงานวิจัยของ ดร.เกรกอรี สไตน์เบิร์ก ของมหาวิทยาลัยแม็คมาสเตอร์ ซึ่งค้นพบ ยีน 2 ตัวในหนูทดลอง ที่เมื่อปิดการท�ำงานของมันไป หนูที่กระตือรือร้นจะกลาย เป็นหนูขี้เกียจไปในทันที นักวิจัยเชื่อว่าในร่างกายของมนุษย์เองก็น่าจะมียีนที่เป็น ตัวก�ำหนดแรงจูงใจล่วงหน้าเช่นกัน แต่ถงึ อย่างไรยีนก็ทำ� งานตามอารมณ์ของเราทีเ่ กิดจากการกระตุน้ ของสิง่ แวดล้อม ดูได้จากการอิทธิพลของจิตใจที่น่าเหลือเชื่อ มันบอกให้คุณไม่ท�ำในสิ่งที่ ควรท� ำ และพาคุ ณ บุ ก น�้ ำ ลุ ย ไฟไปหาสิ่ ง ที่ คุ ณ ต้ อ งการมากๆ ดั ง นั้ น ตั ว แม่ ใ น การก�ำหนดพฤติกรรม แม้แต่ยีนยังแพ้ก็ยังคง เป็นจิตใจนั่นเอง 80


81


การท�ำงานของร่างกายมีอยู่ 2 แบบคือ ท�ำงานตามปกติ คือ ควบคุมให้ ร่างกายท�ำงานไปอย่างสม�ำ่ เสมอเพือ่ คงสภาพการอยูร่ อดตามสภาพของสิง่ เร้าทีเ่ จอ ปกติ อีกอย่างคือ ท�ำงานในสภาวะคับขันหรือภายใต้แรงกดดันที่เราไม่เคยเจอมา ก่อน แรงกระตุน้ นีต้ อ้ งรุนแรงมากพอทีจ่ ะปลุกสัญชาตญาณทีย่ งั ไม่เคยใช้งานให้ตนื่ ขึ้นมา แรงกระตุ้นนี้เหมือนกับคนที่ขนตู้เย็นหนีไฟไหม้ มันคือการระเบิดพลังงาน ของความสามารถทีเ่ ราไม่เคยใช้เพราะเราไม่เคยเจอเรือ่ งตกใจร้ายแรงขนาดนีม้ าก่อน ความเครียดเฉียบพลันแบบนีเ้ องทีเ่ ราจ�ำเป็นต้องใช้เพือ่ ค้นหาความสามารถของตัว เอง นั่นคือเหตุผลว่าท�ำไมบางคนถึงท�ำงานได้อย่างบ้าพลังในช่วงเวลาใกล้เส้นตาย แต่การผัดวันประกันพรุ่งของคนเราก็เป็นเรื่องที่แก้ไขได้ยากอยู่ดี นอกจากปัจจัยการถูกกระตุ้นอย่างเฉียบพลันแล้ว มีอีกระบบหนึ่งที่ คล้ายๆกัน การใช้ประโยชน์จากสัญชาตญาณก็มีส่วนช่วยในการพัฒนาเราได้ เรียกว่า“ภาวะความหิวกระหาย” มันเป็นผลจากการทดลองดูการตอบสนองของ จุลนิ ทรียใ์ นล�ำไส้ใหญ่ทปี่ กติมนั จะย่อยแค่นำ�้ ตาลกลูโคสเท่านัน้ ต่อให้ผสมแล็กโทส เข้าไปมันก็จะเลือกย่อยแค่กลูโคส ที่นี้นักวิจัยจึงลองให้แค่แล็กโทสกับมัน และพบ ว่ามันไม่แตะแล็กโทสเลยจนกระทั่งปล่อยไปสักพักมันก็ยอมแพ้ยอมย่อยแล็กโทส และแบ่งตัวในที่สุด นักวิจัยจึงสรุปได้ว่าจุลินทรีย์ในล�ำไส้ใหญ่มีความสามารถใน การย่อยแล็กโทสเมื่อมันอยู่ใน ภาวะหิวกระหาย

82


ถ้าเราปรับตัวเองเป็นแบบจุลินทรีย์ล�ำไส้ใหญ่ เราสามารถสร้างแรงจูงใจ ในการพัฒนาตัวเองหรือเปิดศักยภาพใหม่โดยการท�ำให้ตวั เองอยูใ่ นภาวะหิวกระหาย ควบคู่ไปกับการจัดตารางเวลา คือ การเอาตัวเองให้อยู่ห่างกับสิ่งที่ตัวเองชอบและ ลองอยู่กับงานสองต่อสอง การตีกรอบให้ตัวเองท�ำให้คุณมองหาแนวทางการแก้ปัญหาในมุมมอง ใหม่ๆ สร้างข้อจ�ำกัดเพื่อสร้างแรงจูงใจจากการโหยหาบางอย่าง อีกทั้งถ้าจัดการ ตารางไว้เนิน่ ๆก็จะมีเวลาเหลือใช้ในการลองท�ำงานในวิธที แี่ ปลกใหม่เพือ่ ขยายความ รอบรู้และทดลองสิ่งใหม่ๆ แรกๆคุณจะทรมาน แต่เหมือนกับที่จุลินทรีย์ล�ำไส้ใหญ่ ได้ลิ้มลองแล็กโทสเป็นครั้งแรก มันอาจจะไม่อร่อยแบบกลูโคสของโปรดแต่นั่นคือ การเปิดประสบการณ์ใหม่ๆให้กับเราได้ ขอให้เชื่อว่าเราจะท�ำได้แบบจุลินทรีย์ ล�ำไส้ใหญ่ นั่นจะเปิดโอกาสแสดงความสามารถให้แก่ตัวเอง การสร้างกรอบใหม่ๆ ที่ เ หมาะสมกั บ เรานอกจากจะช่ ว ยรั ก ษาความเร็ ว ของงานแล้ ว ยั ง ช่ ว ยเปิ ด ประสบการณ์ใหม่ๆให้เราได้อีกด้วย

83


84


สภาวะการหิวกระหายอาจจะยังเป็นวิธีฝึกจิตใจที่ต้องใช้ความพยายาม อย่างมากเมื่อเทียบกับยุคที่สิ่งยั่วยวนมีเยอะเหลือเกิน ทุกครั้งที่มองงานแล้วเกิด ค�ำถามว่า “นี่ฉันท�ำไปท�ำไมนะ” มันเป็นสัญญาณที่ท�ำให้รู้ว่าคุณไม่อยากจะใส่ใจ มันแล้ว แรงกดดันหรือควบคุมจิตใจไม่ให้วอกแวกออกนอกลู่นอกทางแวะเล่น กว่าจะกลับมาท�ำงานเวลาก็หายไปหมดแล้ว คุณจะเริ่มหลีกห่างออกมาจากมัน ด้วยการไปท�ำกิจกรรมอะไรสักอย่างทีค่ ณ ุ อยากท�ำทัง้ ๆทีร่ อู้ ยูแ่ ก่ใจว่าไม่ควรท�ำ และ ดูเหมือนจะปฏิเสธไม่เคยส�ำเร็จสักทีเสียด้วย จริ ง ๆการเลี่ยงออกมาจากสิ่งที่ท�ำให้เราเครี ย ดเป็ น การตั ด สิ น ใจที่ ดี มันช่วยให้เราผ่อนคลายลง คุณออกมาเจอกับสถานการณ์ที่ดีกว่า สบายใจกว่า เรื่องอะไรจะกลับไปจมปลักกับงานปวดหัวน่าเบื่ออันนั้นเล่า นี่คือธรรมชาติของ ร่างกายเรา มันจะพยายามปรับสมดุลให้คงที่เสมอ การไม่เครียดคือสภาพปกติของ เรา การทีค่ ณ ุ อยากหนีไปเปิดยูทปู เล่นโซเชียลเน็ตเวิรก์ ตอนท�ำงานยากๆไม่ใช่เรือ่ ง แปลกแต่ปัญหาจริงๆ คือ เรามักจะเลี่ยงมันจนเลยเถิด แล้วมันก็เลยเถิดจริงๆเสีย ด้วย การพักนัน้ จะไม่วนั สิน้ สุด ซึง่ ผลของมันเราก็รๆู้ กันอยูว่ า่ หายนะเรียกหากันเลย ทีเดียว ถ้าคุณเป็นถึงขั้นนั้น คุณจะประวิงเวลาจนกว่าจะมีอะไรบางอย่างที่น่ากลัว มากๆมาบังคับให้คุณท�ำ จนถึงตอนนั้น ตู้ม! ปั่นงานไฟลุกเหมือนเดิม

85


สิ่งที่คุณต้องท�ำคือฝึกควบคุมจิตใจของคุณและหาวิธีสร้างข้อจ�ำกัดและ แรงจูงใจเพื่อให้คุณอยากท�ำงานแบบยุติธรรมต่อทั้งร่างกายและจิตใจ นี่ไม่ใช่การ เข้าข้างตัวเอง แต่แน่นอนการฝึกจิตใจตัวเองให้เชื่องเป็นแมวเหมียวยากกว่าไป แข่งต่อยกับคนอื่น เพราะเราใช้ใจคุมใจตัวเองไม่ได้ มันรู้ทันกันตลอด ถ้ามีข้อแลก เปลี่ยนที่เป็นตัวต่อรองเพื่อไม่ให้เราหลุดจากเป้าหมายได้ โดยเราจะเสียสิทธิ์หรือ เสียของบางอย่าง

ค�ำพูดเท่ๆในการ์ตนู บอกว่า ถ้าคุณอยากได้แรงในการท�ำงาน คุณต้องเสีย่ ง เสียของหรือสิทธิ์บางอย่างของคุณเพื่อจะได้รักษามันไว้ มันไม่ค่อยมีวิธีจูงใจแบบ ละมุนละม่อมในการท�ำสิ่งที่ไม่ชอบสักเท่าไหร่ กัปตันทีมบาสต้องฝึกชู๊ตลูกให้แม่นย�ำมากขึ้น โดยถ้าหากเขาท�ำพลาด หนึง่ ลูก เขาจะต้องท�ำลายตุก๊ ตานักรบสุดทีร่ กั หนึง่ ตัวเป็นข้อแลกเปลีย่ น จากนัน้ มา ลูกชู๊ตของเขาก็ไม่พลาดอีกเลย ต้องเป็นเรื่องคอขาดบาดตายระดับนั้นที่ท�ำให้ ศักยภาพของคนเราแสดงออกมา การอยากปกป้องสิ่งอันเป็นที่รักก็เป็นการจ�ำกัด ทางเลือกหนึ่งที่เป็นแรงจูงใจที่ดี มันให้ผลออกมาน่าประทับใจเสมอ นี่แทบไม่ต่าง อะไรไปจากการทีเ่ ด็กมัธยมเสียเงินเข้าไปเรียนโรงเรียนกวดวิชาเป็นข้อผูกมัดเพือ่ จะ ได้ผลการเรียนทีด่ ขี นึ้ หรือการซือ้ เทรนเนอร์ในฟิตเนสเพือ่ ให้มาเฆีย่ นโบยให้เราออก ก�ำลังกาย มนุษย์เรากลัวการสูญเสียสิทธิข์ องตัวเองเสมอ อย่างน้อยการป้องกันสิทธิ์ ของตัวเองก็ผกู มัดและเป็นแรงจูงใจในการท�ำบางอย่างให้สำ� เร็จลุลว่ ง แม้วา่ ร่างกาย ก�ำลังจะแดดิ้นและจิตใจจะเกี่ยงงอนก็ตาม ลองเอาของทีค่ ณ ุ รักมากๆไปเป็นตัวประกันในการท�ำงานดูสิ แล้วเราจะรู้ ว่าท�ำไมเราจ�ำเป็นจะต้องมีกรอบเวลาหรือเดดไลน์ในการท�ำงาน

86


จากการทดลองของ แดน แอลเรียลลี และ เคล้ า ส์ เวอร์ เ ทนบรอค เพื่อศึกษาต้นเหตุของการผัดวันประกันพรุ่งหรือการที่คนเราไม่สามารถเอาชนะใจ ตัวให้หลงไปกับความสุขตรงหน้ามากกว่าเป้าหมายระยะยาว พวกเขาพบว่าความ เข้มงวดและความชัดเจนของเส้นตายที่ก�ำหนดส่งงานมีความส�ำคัญอย่างมากและ ส่งผลต่อประสิทธิภาพของงาน โดยทดลองกับนักศึกษาในชั้นเรียนของพวกเขาเอง พวกเขาแบ่งกลุ่มทดลองออกเป็น 3 กลุ่ม ให้นักศึกษาส่งรายงาน 3 ฉบับ ในก�ำหนดเวลาต่างๆ กลุม่ แรกคือกลุม่ ทีไ่ ม่มเี ดดไลน์ใดๆทัง้ สิน้ เป็นกลุม่ ทีไ่ ด้รบั ความ ยืดหยุ่นและมีอิสระมากที่สุด พวกเขาสามารถส่งงานวันไหนก็ได้ขอแค่ส่งก่อนวัน สุดท้ายคือวันปิดภาคเรียน ต่อมาคือกลุ่มที่ 2 คือพวกนักศึกษาสามารถส่งงานได้ใน วันไหนก็ได้ก่อนวันสุดท้ายของการจบปลายภาคเช่นกัน แต่แดนให้พวกนักศึกษา เขียนก�ำหนดเดดไลน์ของรายงานแต่ละฉบับเอง โดยเมื่อเขียนก�ำหนดเดดไลน์แล้ว จะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้และรายงานที่ส่งช้ากว่าก�ำหนดจะถูกคะแนนไป 1% ทุกๆวันทีเ่ กินก�ำหนด นัน่ คือพวกเขามีโอกาสทีจ่ ะเลือ่ นวันส่งรายงานทัง้ หมดให้เป็น วันสุดท้ายเหมือนกลุ่มแรกเพื่อที่จะเพิ่มโอกาสไม่ให้โดนหักคะแนน หรืออาจจะตั้ง กรอบเพื่อให้ตัวเองทยอยท�ำงานให้เสร็จตั้งแต่ต้นเทอมได้ และกลุ่มที่ 3 เป็นกลุ่มที่ โดนใช้นโยบายเผด็จการ คือแดนก�ำหนดเดดไลน์ให้นกั ศึกษาให้สง่ รายงานในสัปดาห์ ที่ 4 ,8 และ 12 ตามล�ำดับ ไม่เปิดโอกาสให้เปลี่ยนหรือยืดหยุ่นเลย หลังจากจบปลายภาค เมื่อเปรียบเกรดของนักศึกษาทั้ง 3 กลุ่ม ผลที่ได้ก็ คือกลุ่มที่แดนก�ำหนดเดดไลน์แบบเผด็จการได้เกรดดีที่สุด ส่วนกลุ่มที่ก�ำหนดเวลา ส่งเองได้ผลเกรดออกมาเป็นอันดับกลางๆ และกลุ่มที่ได้รับอิสระให้สามารถส่งงาน ตอนไหนก็ได้ก่อนวันสุดท้ายของภาคเรียนได้เกรดแย่ที่สุด นี่คือข้อบ่งชี้ได้ว่าการ ท�ำงานที่ได้ประสิทธิภาพจ�ำเป็นต้องมีกรอบหรือข้อจ�ำกัดเพื่อเป็นตัวกระตุ้นให้เรา ลงมือท�ำงาน จะเห็นได้วา่ คนเราไม่สามารถต่อต้านความรูส้ กึ อยากของตัวเองได้เลย เรามีนสิ ยั ผัดวันประกันพรุง่ กันทุกคน แต่ใครก็ตามทีม่ องเห็นจุดอ่อนข้อนีข้ องตัวเอง และยอมรับมัน ย่อมอยู่ในสถานการณ์ที่ดีกว่าในการใช้ประโยชน์จากข้อผูกมัดที่ เหมาะสมกับตัวเองได้

87


88


89


ความเครียดในระดับต่างๆส่งผลต่ออารมณ์ของเรา ซึ่งอารมณ์ก็ ส่งผลต่อไปที่เนื้องานที่เราท�ำ ถ้าเราใจเย็นมีสมาธิต่อให้มีความเครียดจาก ความเหนื่อยล้า เนื้องานก็ยังออกมามีประสิทธิภาพกว่าตอนเราอารมณ์ ฉุนเฉียว การพยายามฝึกการปรับอารมณ์ให้กลับมาคงที่นอกจากไม่ต้องมี เรื่องกระทบกระทั่งกับคนรอบข้าง ยังช่วยให้กลับจดจ่อกับงานได้ดีมากขึ้น อีกด้วย แต่เราจะรู้ทันอารมณ์ตัวเองได้อย่างไร? หมูบ่ า้ นพลัม ก่อตัง้ โดย หลวงปูต่ ชิ นัท ฮันห์ พระภิกษุชาวเวียดนาม ผู้เน้นแนวคิดการน�ำพุทธธรรมเข้ามาปรับใช้ในชีวิตประจ�ำวันของคนในยุค ปัจจุบนั มีนโยบายปิดในวันจันทร์ซงึ่ ตัง้ ให้เป็น “วันขีเ้ กียจ” ของคนในหมูบ่ า้ น เป็ น วั น ที่ ผู ้ ป ฏิ บัติธ รรมสามารถปล่อยทุก อย่างให้เ ป็ น ไปตามธรรมชาติ เป็นวันที่เราเลือกที่จะท�ำในสิ่งที่อยากท�ำ อะไรก็ได้เพื่อผ่อนคลายตัวเอง แต่ยังระลึกให้ตัวเองมีสติอยู่เสมอ อาจเลือกเดินเล่น อ่านหนังสือ พูดคุยกับ เพื่อนฝูงหรือเพียงแค่พักผ่อน จะอยู่เฉยๆไม่ท�ำอะไรเลยก็ได้ สังเกตการไหล ไปของสติในวิถีของตัวเอง เพื่อพยายามท�ำความเข้าใจถึงแก่นและธรรมชาติ ของตัวเอง คนเราไม่ชอบการอยู่ในห้วงความคิดนี้ เนื่องจากมันสงบเกินไป และท�ำให้เราฟุ้งซ่านนึกถึงเรื่องนามธรรมที่จับต้องยาก แต่หากสังเกตดีๆ นั่นคืออารมณ์ความรู้สึกของตัวเรา 90


แนวคิดเกีย่ วกับวันขีเ้ กียจเป็นเรือ่ งทีน่ า่ สนใจและน่าแปลกใจมากในยุคนี้ ยุคที่ค�ำว่าขี้เกียจเป็นสิ่งไม่ควรพูดออกมา การเสนอให้มีวันขี้เกียจช่วยให้เราฉุกคิด ในเรื่องของการกลับมาสนใจในการมีตัวตนอยู่ของเรา การวิ่งตามกรอบของกระแส สังคมมากท�ำให้เรางุนงงกับโลก และงุนงงกับตัวเอง การหยุดเพื่อรับฟังหรือสังเกต พฤติกรรมของตัวเองเพือ่ ดูวา่ ตอนนีอ้ ยากท�ำอะไร ชอบไม่ชอบอะไร ท�ำไมชอบไม่ชอบ มีเพียงเราเท่านั้นที่สามารถหาค�ำตอบของร่างกายและจิตใจของเราได้รู้ว่าช่วงไหน ที่ต้องปรับอะไรให้เข้ากับตัวเอง อีกนัยหนึ่งหากหาค�ำตอบไม่เจอ การหยุดพักเพื่อ พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดกับผู้อื่นก็สามารถช่วยให้เราค้นหาตัวตนของเราและมี ประสบการณ์ ก ารรั บ ความคิ ด เห็ น หรื อ ดู พ ฤติ ก รรมเพื่ อ เข้ า ใจผู ้ อื่ น มากขึ้ น การมีวันขี้เกียจเป็นของตัวเองท�ำให้จิตใจสงบลง อาจเป็นช่วงสั้นๆระหว่างวัน เป็ น การฝึ ก ความคิ ด ให้ ยื ด หยุ ่ น เมื่ อ มี ค วามคิ ด ยื ด หยุ ่ น เราจะสามารถฝึ ก คิ ด เชิงบวกได้และปล่อยวางความเครียดได้ดีมากขึ้นอีกด้วย สิง่ ทีส่ ามารถช่วยในการฝึกสังเกตตัวเองนอกจากการท�ำสิง่ ทีอ่ ยากท�ำแล้วมีวธิ ที คี่ นใช้ กันทั่วไป คือ การฝึกหายใจ ในปัจจุบันจิตแพทย์นิยมน�ำการท�ำสมาธิมาประยุกต์ใช้ ในการรักษาคนไข้ สมาธิถกู น�ำไปใช้ในการท�ำให้จติ ใจสงบซึง่ ส่งเสริมการปรับเปลีย่ น อารมณ์และทัศนคติและน�ำไปสู่การมีสุขภาพร่างกายที่ดี สามารถควบคุมอารมณ์ ความดีได้ดขี นึ้ หรือก็คอื การช่วยให้สามารถรับมือกับความเครียดได้ดขี นึ้ การหายใจ มีความส�ำคัญมาก เพราะแนวโน้มของคนที่โกรธหรือเครียดจะหายใจถี่เร็ว ซึ่งท�ำให้ หัวใจเต้นเร็วขึน้ มีแนวโน้มเป็นโรคความดันสูงและเสีย่ งเป็นโรคหัวใจ การฝึกหายใจ อาจพัฒนาไปถึงการท�ำสมาธิแบบต่างๆได้ นอกจากช่วยลดความเครียดแล้วยังปรับ ให้สุขภาพกายและใจดีขึ้นตามไปด้วย

91


เทคนิคการฝึกหายใจเพื่อบรรเทาความตึงเครียดของร่างกายจากส�ำนัก พัฒนาสุขภาพจิตกล่าวว่า ตามปกติคนทัว่ ไปจะหายใจตืน้ ๆ โดยใช้กล้ามเนือ้ หน้าอก เป็นหลัก ท�ำให้ได้ออกซิเจนไปเลี้ยงร่างกายน้อยกว่าที่ควร โดยเฉพาะอย่างยิ่งเวลา เครียด เราจะยิ่งหายใจถี่และตื้นมากขึ้นกว่าเดิม ท�ำให้เกิดอาการถอนหายใจเป็น ระยะๆ เพื่อให้ได้ออกซิเจนมากขึ้น การฝึกหายใจช้าๆ ลึกๆ โดยใช้กล้ามเนื้อกระบัง ลมบริเวณท้องจะช่วยให้ร่างกายได้อากาศเข้าสู่ปอดมากขึ้น เพิ่มปริมาณออกซิเจน ในเลือด และยังช่วยเพิ่มความแข็งแรงแก่กล้ามเนื้อหน้าท้องและล�ำไส้ด้วย การฝึก หายใจอย่างถูกวิธีจะท�ำให้หัวใจเต้นช้าลง สมองแจ่มใสเพราะได้ออกซิเจนมากขึ้น และการหายใจออก อย่างช้าๆ จะท�ำให้รสู้ กึ ว่าได้ปลดปล่อยความเครียดออกไปจาก ตัวจนหมดสิ้น การรับรู้ลมหายใจเข้า-ออก อย่างรู้ตัวทุกขณะ การหายใจเข้า-ออกอย่างถูกต้องและผ่อนคลาย : หายใจเข้าท้องพอง หายใจออกท้องแฟบกว่าหายใจเข้า การฝึกการหายใจ ควรท�ำติดต่อกันประมาณ 4 – 5 ครั้ง ควรฝึกทุกครัง้ ทีร่ สู้ กึ เครียด รูส้ กึ โกรธ รูส้ กึ ไม่สบายใจหรือฝึกทุกครัง้ ทีน่ กึ ได้ ทุกครัง้ ทีห่ ายใจออก ให้รสู้ กึ ว่าได้ผลักดันความเครียดออกมาด้วยจนหมด เหลือไว้แต่ความรู้สึกโล่งสบายเท่านั้น ในแต่ละวัน ควรฝึกการหายใจทีถ่ กู วิธใี ห้ได้ประมาณ 40 ครัง้ แต่ไม่จำ� เป็น ต้องท�ำติดต่อในคราวเดียวกัน 92


93


สูตรที่ได้ยินทั่วไปเกี่ยวกับการประสบความส�ำเร็จคือ ถ้าฉันท�ำงานหนักมากขึน้ ฉันก็จะประสบความส�ำเร็จมากขึน้ และ ถ้าฉันประสบความส�ำเร็จมากขึ้น ฉันก็จะมีความสุขมากขึ้น นี่คือ รากฐานของการอบรมเลีย้ งดูสว่ นใหญ่สงั คม เป็นวิธบี ริหารจัดการ และกระตุน้ พฤติกรรมพวกเราไม่ให้ขเี้ กียจเพือ่ มุง่ สูค่ วามก้าวหน้า ของชีวิต ซึ่งมันท�ำลายหลักชีวภาพ หนึ่งคือ ทุกครั้งที่เรารู้สึก ประสบความส�ำเร็จ เราจะเปลีย่ นบรรทัดฐานของค�ำว่าส�ำเร็จเพิม่ ไปอีกขัน้ หนึง่ เราต้องตัง้ เป้าหมายใหม่เพิม่ ขึน้ และถ้าความสุขอยู่ ตรงข้ามกับความส�ำเร็จ เราจะไม่เคยสัมผัสถึงความสุขที่แท้จริง เลยเพราะมันจะโดนผลักให้ไปไกลขึ้นเรื่อยๆ คุณไม่รู้ว่าตัวเองจะ หยุดตรงไหน และสองคือ สมองเราท�ำงานในทางตรงกันข้ามกับ ร่างกาย คือเมือ่ เราเริม่ เมือ่ ยล้าจากการท�ำงานเราจะเริม่ รูส้ กึ ว่าตัว เองอยากพักทันที แต่เราต้องถีบตัวเองให้สูงขึ้นไปเรื่อยๆเพราะ ด้วยการอยากสัมผัสความส�ำเร็จครั้งใหม่ที่ใหญ่กว่าเดิม ท�ำให้เรา เกรงต่อสายตาของสังคม ขีห่ ลังเสือแล้วลงไม่ได้ฉนั ใด โอกาสท�ำตัว ขี้เกียจของเราก็น้อยลงฉันนั้น บางคนเป็นหนักถึงขั้นที่เรียกว่า “เป็นเศรษฐีแล้วยังเริม่ ทีจ่ ะอิจฉามหาเศรษฐี” เลยเสียด้วย บางที การหาความสุขควรเริ่มที่จิตใจก่อนไม่ใช่ของรอบๆตัว

94


การหาช่วงทีเ่ ราท�ำงานได้ดที สี่ ดุ หรือช่วงเวลาทีเ่ รามีความสุขในการท�ำงาน ของเราให้เจอนัน้ ต้องใช้การสังเกตตัวเอง การเขียนรายการของสิง่ ทีช่ อบและไม่ชอบ สะสมไปเรื่อยๆ เพื่อที่จะท�ำความเข้าใจตัวเอง คนเรามีช่วงในการท�ำงานได้ดี ไม่เหมือนขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมและอารมณ์ การจดบันทึกเหมือนเป็นเก็บ ประสบการณ์ไปในตัว เวลากลับมาอ่าน อาจช่วยท�ำให้เราสามารถวางแผนปรับตัว ท�ำงานตามสถานการณ์ต่างๆได้มากขึ้น การท�ำงานโดยที่มีภาวะความเครียดต�่ำจะยิ่งส่งเสริมให้เรามีพลังในการ ท�ำงานและมีความสุขมากขึน้ โดยสามารถสังเกตได้ตอนทีเ่ ราท�ำสิง่ เราอยากท�ำ เรา จะมีแรงในการบรรจงท�ำอยู่อย่างนั้นเรื่อยๆ ชอน เอเคอร์ นักเขียนหนังสือ Before Happiness กล่าวว่า “เราค้นพบว่า มีวิธีที่คุณสามารถฝึกสมอง ให้สามารถคิดเชิง บวกมากขึ้น เพียงแค่สองนาที ท�ำติดต่อกัน 21วัน เราจัดระบบสมองของคุณใหม่ได้ จริง ให้สมองคุณสามารถท�ำงานในแง่ดๆี ได้มากขึน้ และประสบความส�ำเร็จมากขึน้ ” เขาขอให้พนักงานบริษัทที่ท�ำการทดสอบเขียนบันทึกสิ่งใหม่ๆ 3 อย่างที่ พวกเขารูส้ กึ ดีดว้ ยเป็นเวลา 21 วันติดต่อกัน ซึง่ ในท้ายทีส่ ดุ สมองของพวกเขาก็เริม่ เก็บรูปแบบการมองหาสิง่ ดีๆก่อน แทนทีจ่ ะหาสิง่ ไม่ดี ถ้าให้คนเขียนบันทึกเกีย่ วกับ ว่าวันนี้เขาไปเจออะไรมาบ้างมีแนวโน้มว่าเขาเขียนถึงแต่เรื่องแย่ๆ และนั่นจะ เป็นการตีตราให้สมองเขาคิดแต่เรื่องแย่ๆ

95


การฝึกสมองให้เริ่มมองสิ่งที่ดีก่อนเริ่มได้จากการได้จดบันทึกสิ่งที่ดีๆที่ คุณได้ประสบมาในช่วง 24 ชั่วโมงจะท�ำให้สมองคุณได้จดจ�ำและระลึกถึงสิ่งๆนั้น อีกครั้ง หรือมองปัญหาในแง่มุมใหม่ๆท�ำให้เริ่มปล่อยวางและแก้ปัญหาได้ง่ายขึ้น ต้องอาศัยการฝึกฝนสอนให้สมองรู้ถึงความส�ำคัญของพฤติกรรมจะสามารถช่วย ให้คณ ุ มีความคิดทีเ่ ป็นเชิงบวกต่อโลกมาขึน้ ซึง่ นัน่ ส่งผลให้ความเครียดคุกคามคุณ ได้ยากขึ้นเช่นกัน การเพิ่มระดับความคิดเชิงบวก ในขณะเผชิญกับความเครียดได้ สมอง จะรู้สึกถึงสิ่งที่เรียกว่าผลประโยชน์ของความสุขได้ทันที ขณะที่สมองเราก�ำลังคิด เชิงบวกมันมีประสิทธิภาพมากขึ้น 31เปอร์เซ็นต์ เมื่อเทียบกับ ตอนที่เราที่คิดลบ เป็นกลาง หรือเครียด นั่นก็คือเราสามารถกลับค่าความสุขได้ จากที่แต่เดิมเรายึด ติดอยู่กับความสุขตามธรรมชาติซึ่งก็คือต้องส�ำเร็จก่อนจะจึงมีความสุข ให้กลาย เป็นเราสามารถมีความสุขและคิดถึงสิ่งดีๆได้ในระหว่างทางสู่ความส�ำเร็จ

96


97


98


99


ตามที่กวีชาวฝรั่งเศส จูลส์ เรอนาร์ด กล่าวว่า

คนเราเหนือ่ ยก็พกั ได้และเป็นสิง่ พึงควรกระท�ำ แต่การอูง้ านแล้วผลักภาระ ให้คนอื่นเป็นประเภทของความขี้เกียจที่ไม่น่าให้อภัย ต้องยอมรับจริงๆว่าระดับนี้ แย่อย่างมาก ว่ากันว่าความขี้เกียจมีความรับผิดชอบในตัวมันเอง ไม่มีใครมาขี้เกียจ แทนกันได้และไม่มีใครสามารถเบียดเบียนไม่ให้คนอื่นขี้เกียจได้ด้วย เราก็ไม่มีสิทธิ์ เบียดเบียนคนอื่นจากความขี้เกียจของเราเช่นกัน เราขี้เกียจได้แต่ต้องมีมารยาท ร่างกายของมนุษย์มรี ะดับการรับความเครียดในระดับต่างๆ ไม่วา่ อย่างไร ความเครียดก็ก่อให้เกิดความเหนื่อยล้าและการท�ำงานให้เสร็จในกรอบเวลาที่ ก�ำหนดเป็นสิง่ ทีเ่ ลีย่ งไม่ได้เช่นกัน ดังนัน้ เพือ่ ไม่ให้เกิดผลกระทบต่อร่างกายและงาน ในด้านใดด้านหนึง่ มากเกินไป เราต้องรักษาความเร็วระหว่างการท�ำและหยุดพัก คือ ท�ำและพักเป็นช่วงๆไปเหมือนดูกฬี าแล้วมีชว่ งพักให้ทงั้ นักกีฬาและคนดูไปผ่อนคลาย ความเหนื่อยล้าและความตื่นเต้นในการเชียร์ เพื่อให้ท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีเทคนิคของการจับเวลาท�ำงานที่ ช่วยแบ่งเวลาในการท�ำงานให้เราท�ำงานได้ในอัตราเร็วที่ค่อนข้างคงที่ คิดค้นและ พัฒนาโดย ฟรานซิส ซิริลโล เทคนิคนี้คือ Pomodoro

100


วิธกี ารคือให้เราแบ่งช่วงเวลาในการท�ำงาน โดยเพ่ ง สมาธิ ไ ปที่ ง านอย่ า งเดี ย วเป็ น เวลา 25 นาทีโดยประมาณ เมื่อครบแล้วสามารถ หยุดพักสายตา กินขนม เดินเล่น เข้าห้องน�้ำ ชงกาแฟได้ประมาณ 3-5 นาที จะเรียกว่า 1 ช่วงโพโมโดริ แล้วเริ่มรอบโพโมโดริใหม่ เมื่อท�ำครบ 4 รอบโพโมโดริ สามารถพักเบรก ยาวได้ตั้งแต่ 15-30 นาที หรือจนกว่าจะหายล้า เป็น ช่วงที่อยากท�ำอะไรก็ท�ำสามารถให้รางวัลตัวเองได้ สรุปคือ ช่วง 4 โพโมโดริ จะกิน เวลาราวๆ 1 ชั่วโมงครึ่งโดยประมาณ การใช้เทคนิคนี้ไม่จ�ำเป็นต้องท�ำให้ตรงกับเวลาที่ก�ำหนดเป๊ะๆ สามารถ ยืดหยุน่ ได้หากงานต้องการความต่อเนือ่ งหรือร่างกายล้ามากๆก็สามารถท�ำต่อหรือ หยุดพักได้ทนั ที แต่ให้พงึ ระลึกเสมอว่าควรมีสมาธิกบั งานให้มากทีส่ ดุ ถ้ารักษาระดับ ความเร็วจะท�ำให้ทยอยท�ำงานได้มากขึ้น แล้วมันจะเสร็จเร็วตามก�ำหนด อาจตั้ง นาฬิกาเป็นช่วงๆหรือจดเวลาเริ่มต้นท�ำในแต่ละช่วงเพื่อค�ำนวณเวลาที่ใช้ไปในแต่ ช่วงโพโมโดริ เมื่อเราเริ่มจดจ่อกับงานจะช่วยให้คาดการณ์และวางแผนล่วงหน้าได้ แม่นย�ำขึน้ เป็นการควบคุมแบบเกราะหลวมๆเพือ่ ให้สามารถท�ำงานได้อย่างยืดหยุน่ ที่มาของชื่อเทคนิค Pomodoro มาจากขณะที่ฟรานซิสต้องการอะไร สักอย่างมาเป็นตัวช่วยวัดเวลาในการท�ำงาน เขาเดินผ่านห้องครัว บังเอิญเหลือบไปเห็น เครืองจับเวลาท�ำอาหารของแม่ ซึ่งมันเป็นรูป มะเขือเทศ เขาจึงตั้งชื่อเทคนิคตามเจ้าเครื่องจับเวลานี้ว่า Pomodoro แปลว่า มะเขือเทศ ในภาษาอิตาลีนั่นเอง

101


102


103


เรามีงานก้อนใหญ่ทตี่ อ้ งท�ำให้เสร็จตามก�ำหนด ถ้ายังจัดตารางเวลาไม่ได้ สุดท้ายช่วงใกล้วันส่งก็จะกดดันหนักมากขึ้นเรื่อยๆ เราคงไม่อยากท�ำงานไปเรื่อยๆ แล้วพบว่าอีก 2 วันก่อนส่ง เหลืองานที่ยังไม่ได้จัดการอีกบานเบอะ ถึงแม้ว่ามันจะ เป็นความผิดของเราเองก็เถอะ เอาจริงๆคงไม่มีใครอยากมาจ�้ำจี้จ�้ำไชให้เราท�ำงาน ตลอดเวลาหรอก การวางแผนจัดการงานล่วงหน้าขึน้ มา ต้องการอาศัยการมองภาพ รวม เราจึงต้องท�ำการย่อยงานก้อนนั้นให้เป็นชิ้นเล็กๆ หั่นออกให้เห็นว่ามีจ�ำนวน ยิบย่อยมากเท่าใด เทคนิคนี้มาจาก ออสติน คลีออน จากหนังสือขโมยให้ได้อย่าง ศิลปิน เขาเรียกมันว่า “ปฏิทินงาน” ซึ่งเราเมื่อเราเห็นภาพรวม เราจะได้สามารถ วางแผนคร่าวๆและสร้างเดดไลน์คร่าวๆขึน้ มา เป็นการบังคับให้เราทยอยท�ำงานเพือ่ ป้องกันการเกิดสภาวะงานร่นไปกองกันช่วยใกล้เดดไลน์ เทคนิคปฏิทินงานจะคล้ายกับ To do list หรือ ข้อก�ำหนดการที่เราต้อง ท�ำ ให้เป็นการหารแยกงานแทนออกเป็นชิ้นๆแทน วิธีการหั่นงานออกเป็นชิ้นๆคือ แยกประเภทของงานคล้ายกันให้อยู่ด้วยกัน จากนั้นล�ำดับความส�ำคัญจากมากไป น้อยเพื่อดูความเชื่อมโยงของแต่ละประเภท จากนั้นหั่นแต่ละประเภทเป็นชิ้นเล็กๆ แล้วจับมันใส่เข้าในช่องชองแต่ละวัน อาจใช้ ส มุ ด แพลนเนอร์ ห รื อ ปฏิ ทิ น ทั่วไป ตั้งเป้าหมายว่าแต่ละวันเราจะ ท�ำมันให้ได้กชี่ นิ้ โดยควรค�ำนึงเผือ่ เวลา 104


ในการพักอย่างในเทคนิค Pomodoro ด้วย การจัดชิน้ งานทีถ่ กู หัน่ แล้วลงไปเหมือน กับเป้าหมายในแต่ละวันให้กับคุณ การท�ำให้ส�ำเร็จเป็นวันๆจะท�ำให้คุณรู้สึกไม่ท้อ เพราะคุณสามารถแตะความส�ำเร็จนั้นได้ทุกๆวัน เหมือนมีกรอบของเดดไลน์ที่ไม่ กดดันหนักหนาสาหัสเกินไปช่วยประคองให้เราท�ำงานอย่างคงที่ เมื่อเราท�ำเสร็จ หนึ่งชิ้น เราก็แค่กากบาทหรือระบายสีทับลงไปในก้อนงานเล็กๆชิ้นนั้น พอช่องทุก ช่องถูกขีดหรือระบายทับจนเต็ม มันจะให้ความรู้สึกถึงความส�ำเร็จที่น่าภูมิใจ เหมือนกับการเก็บแต้มตราปั๊มสะสมแลกชานมไข่มุกจนเต็มแล้วได้รางวัลแลกกลับ มาฟรี 1 แก้ว สิ่งที่ต้องท�ำคือรักษาความเร็วให้คงที่ เก็บแต้มไปเรื่อยๆ ให้ร่างกาย ค่อยๆชินกับตารางงาน พอถึงตอนนั้นคุณจะสามารถแยกเวลาได้เป็นสัดส่วน คือมี ช่วงท�ำงานและช่วงที่ได้พักอย่างชัดเจน

105


106


107


108


109


110


111


ถ้ า มีทางเลือก 2 ทางให้เลือก เราจะเลื อ กทางไหน ? เราต้องคิดใคร่ครวญว่าทางนั้นต้องไม่น�ำไปสู่ความล้มเหลว หรือถ้า ทางเลือกมันแย่หรือดีพอๆกันจนท�ำให้ตัดสินใจไม่ได้ ถ้าเลือกทาง แรก แล้วทางที่สองจะเป็นยังไงนะ ความกระหายใคร่รู้ตรงนี้เองที่ ท�ำให้เราลังเล ตราบใดที่ยังเลือกไม่ได้ก็ไม่ต่างกับการนั่งตรงนั้นไม่ เลือกไปทางไหนเลยและเราจะไม่มีทางหาค�ำตอบให้ตัวเองได้ว่า ผลลัพธ์ของแต่ละทางจะมีอะไร นอกจากต้องหลับตาสุ่มไปสักทาง อลั น เคย์ นั ก วิ ท ยาศาสตร์ ค อมพิ ว เตอร์ กล่ า วไว้ ว ่ า “วิธีที่ดีที่สุดในการพยากรณ์อนาคต ก็คือการสร้างมันขึ้นมา” คนบางอาจเกลียดการที่ตัว เองเป็น เป็ด บิน ก็ แค่ ล อยเหนื อ พื้ น ว่ายน�้ำก็แค่ลอยเหนือน�้ำ มันท�ำได้ทุกอย่างแต่ไม่ดีสักอย่าง แต่ข้อดี ของการรู้กว้างๆท�ำให้เราสามารถตกผลึกของความต้องการของตัว เองเพือ่ สามารถลงลึกไปในทิศทางทีเ่ ราชอบมากทีส่ ดุ และมีแรงจูงใจ ในการอยากจะฝึกฝน ความรอบรู้ของคนควรจะเป็นรูปตัว T คือรู้ กว้างแบบส่วนหัวของตัว T และรู้ลึกในบางเรื่องเหมือนหางของตัว T การได้ลองลงมือท�ำ ท�ำดะมันไปทุกอย่างทีเ่ ราอยากรู้ ถ้าใจเรากัด ไม่ปล่อย สักวันหนึ่งเราจะเป็นได้แบบที่เราอยากเป็น 112


ในหนังสือเรือ่ งขุมทรัพย์ทปี่ ลายฝัน มีเรือ่ งเล่าว่า เด็กหนุม่ คนหนึง่ ต้องการ ทราบวิธีในการมีความสุข เขาจึงเดินทางไปหาชายผู้ชาญฉลาดซึ่งเป็นปรมาจารย์ผู้ รอบรู้ในเรื่องของการมีความสุข เขาบอกให้เด็กหนุ่มเดินดูรอบปราสาทอันสวยงาม ของเขาได้ แต่ขอให้ถือช้อนที่มีน�้ำมันสองหยดอยู่ในนั้น และบอกว่าระวังอย่าท�ำ น�้ำมันหกเสียล่ะ เด็กหนุ่มเดินวนไปทั่วปราสาทเป็นเวลาสองชั่วโมงคอยระวังไม่ให้ น�้ำมันหก เขากลับมายังห้องที่ชายผู้ชาญฉลาดอยู่ ชายผู้ชาญฉลาดถามเด็กหนุ่มว่า สังเกตเห็นความสวยงามของผ้าทอเปอร์เซียในห้องอาหารหรือไม่ เด็กหนุม่ รูส้ กึ อาย และสารภาพว่าเขาไม่ได้มองอะไรเลยเพราะพะวงอยู่กับน�้ำมันในช้อน ชายผู้ชาญ ฉลาดจึงให้เขากลับไปดูความงดงามทัง้ หมดได้อกี ครัง้ เด็กหนุม่ รูส้ กึ สบายใจ เขาหยิบ ช้อนแล้วเดินไปชื่นชมความสวยงามพร้อมกับกลับมาเล่ารายละเอียดได้เป็นอย่างดี ชายผูช้ าญฉลาดจึงถามถึงน�ำ้ มันทีใ่ นช้อนทีม่ อบหมายให้เด็กหนุม่ ดูแล เด็กหนุม่ มอง ดูในช้อนและพบว่ามันหายไปแล้ว “สิ่งที่ฉันอยากบอกเธอมีอย่างเดียว” ชายผู้ชาญฉลาดที่สุดในโลกกล่าว “เคล็ดลับของความสุขคือการมองเห็นความมหัศจรรย์ทั้งปวงในโลก ในขณะเดียวกันก็ต้องไม่ลืมหยดน�้ำมันในช้อน” การดูเดินดูปราสาทอันสวยงามพร้อมกับถือช้อนทีม่ นี ำ�้ มัน อาจหมายความ ได้วา่ เราสามารถปล่อยตัวปล่อยใจให้เพลิดเพลินไปกับการเรียนรูส้ งิ่ ต่างๆรอบตัวได้ มากมาย นั่นรวมไปถึงการพักผ่อนด้วย แต่เราก็สามารถเก็บรักษาสิ่งที่เราอยากจะ เป็นซึ่งก็คือเป้าหมายของเราไว้ เหมือนกับการดูแลรักษาน�้ำมันสองหยอดที่อยู่ใน ช้อน ถ้ายังเรายังประคับประคองมันไว้ได้ ประสบการณ์หลายๆอย่างจะค่อยๆ หล่อหลอมตัวเราที่แกร่งขึ้น จงมีศรัทธาในคุณค่าของตัวเอง

113


ถ้าทางเลือกของการเร่งรีบไม่ตอบโจทย์ชีวิต ก็ใช่ว่าเราจะ ต้องฝืนใช้ชวี ติ เร่งรีบ ความมัน่ คงของชีวติ ไม่ได้สร้างได้แค่ในเมืองใหญ่ เท่านั้น ประเทศญี่ปุ่นเป็นประเทศแห่งวัฒนธรรมชั้นสูง ละเอียดอ่อน ลุม่ ลึกและมีระเบียบหลักการอย่างมาก ความกดดันในสังคมจึงสูงกว่า ประเทศอื่นๆ เนื่องด้วยสภาพของความวินัยสูงนี่เองที่ท�ำให้ทุกอย่าง ในประเทศถูกควบคุมด้วยเวลาอย่างชัดเจน เกิดเป็นความเครียดทีผ่ ลัก ดันให้ทุกอย่างเคลื่อนที่ไปอย่างรวดเร็ว แต่ญี่ปุ่นยังตระหนักถึงวิถีเก่า ของตนเองดี นั่ น คื อ ความละเอี ย ดอ่ อ นและความสงบประณี ต วัฒนธรรมอันแข็งแกร่งของญีป่ นุ่ ยังให้ความส�ำคัญกับรายละเอียดของ ธรรมชาติอยู่ จะเห็นได้วา่ คนญีป่ นุ่ จริงจังกับทุกเรือ่ ง แม้วา่ เรือ่ งนัน้ จะ เป็นเรือ่ งเล่นๆในสายตาของเราก็ตาม จึงเกิดนโยบายเป็นทางเลือกให้ ประชาชน โดยญี่ปุ่นพยายามให้ประชาชนหันกลับมาสู่วิถีของความ เป็นญีป่ นุ่ ทีเ่ รียบง่าย ทีเ่ มืองคาเกะกาว่า จังหวัด ชิซโู อกะโดยประกาศ ตัวเองเป็น “Slow Life City” มีข้อปฏิบัติให้ประชาชน 8 ประการ

114


Slow Pace การเดินทางที่ไม่เร่งรีบ รณรงค์ให้ประชาชนเดินแทนการใช้ รถยนต์ เพื่อช่วยลดอุบัติเหตุทางการจราจรและเสริมสร้างการออกก�ำลังกาย Slow Wear รณรงค์ให้ประชาชนสวมใส่ผ้าชุดพื้นเมืองเพื่อคงเอกลักษณ์ และวิถีชีวิตของญี่ปุ่น Slow Food ลดการรับประทานอาหารจานด่วนที่เป็นผลเสียต่อสุขภาพ Slow House อยู่บ้านแบบญี่ปุ่นโบราณที่ใกล้ชิดกับธรรมชาติ Slow Industry จดั การรณรงค์ให้ประชาชนดูแลเรือ่ งทรัพยากรธรรมชาติ เน้นอุตสากรรมที่เป็นมิตรต่อสภาพแวดล้อม Slow Education คือการให้ความส�ำคัญกับกระบวนการเรียนรู้เกี่ยวกับ ศิลปะ วิถีแห่งชีวิตและวัฒนธรรมของญี่ปุ่น เน้นความสัมพันธ์ระหว่างผู้คนในสังคม มากกว่าความเป็นเลิศทางการศึกษา Slow Aging เน้นการใช้ชีวิตบั้นปลายที่มียืนยาวตามวิถีธรรมชาติ Slow Life หากทุกคนด�ำเนินชีวิตได้ตามนี้ สังคมก็ยั่งยืนและมีคุณภาพ การใช้ชวี ติ แบบ Slow life เริม่ เป็นทีส่ นใจและแพร่หลายไปในอีกหลายๆ ประเทศ ไม่รู้ว่าเป็นเพราะความขี้เกียจในตัวเรามันเรียกร้องให้ช้าลงหรือเพราะว่า จริงๆแล้วโลกหมุนเร็วขึน้ แต่ถา้ มองในมุมของทรัพยากรบนโลกทีเ่ ริม่ ร่อยหรอลงไป เรือ่ ยๆก็เป็นตัวเน้นย�ำ้ ให้เห็นว่าการพัฒนาเทคโนโลยีแม้จะช่วยให้ชวี ติ ของเราสะดวก สบายแต่ความต้องการที่เกินจ�ำเป็นก็เป็นการท�ำลายธรรมชาติมากขึ้นเช่นกัน หมายความว่าเราก�ำลังท�ำร้ายตัวเองทางอ้อม ทุนนิยมเป็นตัวขับเคลือ่ นโลกให้พฒ ั นา แต่เราสามารถพัฒนาไปพร้อมๆกับการอนุรกั ษ์ได้ถา้ เราค่อยๆเติบโตช้าๆ ให้สามารถ ยืนหยัดได้อย่างมั่นคง

115


มี ตั ว อย่ างของการรณรงค์แ ละเผยแพร่ข้อมูลด้านการใช้ ชี วิ ต แบบ Slow life ในแบบฉบับของญี่ปุ่นผ่านสื่อใหญ่อย่างการ์ตูน ในการ์ตูนเรื่อง Barakamon (เกาะมีฮา คนมีเฮ) สอดคล้องกันกับนโยบายนีม้ าก เป็นเรือ่ งของนักเขียนพูก่ นั หนุม่ อนาคตไกล ซึง่ ต้องตกอับเพราะเขาเขียนตัวอักษรตามหลักการมากเกินไปท�ำให้ชวด ที่หนึ่งในการประกวด แถมไปต่อยกรรมการวิจารณ์งานท�ำให้เขาต้องระเห็จไปอยู่ เกาะบ้านนอกเพื่อสงบสติอารมณ์ การปรับตัวเข้ากับคนเมืองกับชนบทดูเหมือนจะ เป็นเรื่องวุ่นวาย แต่ความเกื้อกูลของธรรมชาติและคนบนเกาะคือสิ่งที่หาไม่ได้ใน เมืองใหญ่ นักเขียนหนุ่มเริ่มเห็นหนทางงานเขียนของตัวเองและเป็นอิสระมากขึ้น อี ก เรื่ อ งหนึ่ ง คื อ Gin no saji เกี่ ย วกั บ เด็กม.ปลายหัวดีแต่ผลการเรียนก็ดธู รรมดาใน ระดับของเด็กเมืองใหญ่ เขาจึงเลือกเข้าเรียน ในโรงเรียนการเกษตรบ้านนอกในฮอกไกโด ในทีๆ่ ทุกคนในโรงเรียนมีเป้าหมายของตัวเอง มาเรียนที่นี่เพราะส่วนใหญ่เป็นลูกเกษตรกร แต่เขาเข้ามาแค่เพราะอยากเอาชนะเรื่องผล การเรียนเท่านัน้ เขาไม่สามารถเอาชนะได้ทงั้ ในเมืองและบ้านนอกได้ การอยู่แบบไร้ซึ่ง ความฝันและเป้าหมายในชีวิต ท�ำให้เขาห่อ เหี่ยวอย่างมาก แต่ประสบการณ์ใหม่ๆใน โรงเรียนเกษตรแห่งนี้มีมากกว่าในหนังสือ การลงมือเรียนด้านการเกษตรสอนให้เขาเห็น ด้านของคุณค่าของทุกชีวติ ในธรรมชาติ ซึง่ ใน สังคมปัจจุบันเรามักจะมองข้ามไป

116

ญี่ปุ่น ใช้อิทธิพลของ การ์ตูนให้เข้าถึงวิถีชีวิต ชนบท สามารถให้ขอ้ มูลกับคน รุ ่ น ใหม่ ไ ด้ ว ่ า ชี วิ ต ที่ มุ ่ ง มั่ น จะ ประสบความส�ำเร็จและไม่จำ� เป็น จะต้องวิ่งเข้าหาเมืองหลวงเสมอ ไป หลักการของนโยบายนี้ คือ การสร้างความยั่งยืนให้แก่ชีวิต และสังคม เป็นการพัฒนาที่ กระจายตัวและส่งเสริม การใช้ชีวิตที่ยั้งยืน


ตามหลักการของการใช้ชีวิตแบบ Slow life คือการค่อยๆเติบโตและยืนหยัดอย่าง มั่นคง บ้านเราเองก็พูดถึงหลักการนี้มาช้านาน นั่นก็คือแนวปรัชญาแบบเศรษฐกิจ พอเพียงในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งเน้นหนักไปที่การพึ่งพาตัวเองและมี ภูมคิ มุ้ กันเพือ่ ทีจ่ ะได้เติบโตอย่างมีความรูแ้ ละมีคณ ุ ธรรม สังคมเมืองในตอนนีค้ อื การ เอาตัวรอดแบบตัวคนเดียวตามความสามารถ หายากที่จะกลมเกลียว ท�ำให้เกิด ชนชั้นทางสังคมและการหาช่องโหว่เพื่อฉวยโอกาส ลองนึกย้อนกลับหลายสิบปีที่ประเทศไทยโดนวิกฤตเศรษฐกิจโจมตี เราได้ ป รั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งนี้ ใ นการช่ ว ยให้ ป ระเทศผ่ า นพ้ น วิ ก ฤตมาได้ ซึ่งถือได้ว่าหลักปรัชญานี้เกิดมาเพื่อปัญหาทุนนิยมในยุคปัจจุบันเลยก็ว่าได้ หากเราใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเน้นแก้ไขปัญหาจากพื้นฐานของคน คือเน้นให้พงึ่ พาตนเอง เมือ่ ยืนด้วยตัวเองได้กม็ แี รงในการศึกษาหาความรู้ มีภมู คิ มุ้ กัน ให้แก่ชีวิตไม่ไปเบียดเบียนใครและน�ำไปสู่การเกื้อกูลซึ่งกันและกัน ความตึงเครียด ในสังคมอาจจะลดน้อยลง ดังพระราชด�ำรัสว่า “คนเราเมื่อมีความสามารถที่ดีเป็นทุนรอนอยู่ ก็จะไม่มีวันอับจน ย่อมหาทางสร้างตัวสร้างฐานะให้ก้าวหน้าได้เสมอ ข้อส�ำคัญในการสร้างตัวฐานะนั้น จะต้องถือหลักค่อยเป็นค่อยไปด้วยความรอบคอบ ระมัดระวังและความพอเหมาะพอดี ไม่ท�ำเกินฐานะและก�ำลัง หรือท�ำด้วยความเร่งรีบ” พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยขอนแก่น 18 ธันวาคม 2540

117


แม้ว่าคนเราจ�ำเป็นจะต้องใช้ความเครียดในการเติบโตแบบก้าว กระโดดเพือ่ ขึน้ ไปสูจ่ ดุ ทีย่ งิ่ ใหญ่ การมีจดุ มุง่ หมายหรือความฝันในชีวติ เป็น เรื่องที่ดีและดึงให้เราไปสู่ความส�ำเร็จ แต่ถ้าเราค่อยๆเพิ่มความต้องการ ของเราตามความสารถ ค่าของความเครียดก็จะมีนอ้ ยลง แม้วา่ การด�ำเนิน ชีวิตด้วยวิถีที่ช้าลงจะเห็นผลของความส�ำเร็จได้ช้า แต่ไม่ได้แปลว่าเราจะ ไม่สามารถทุ่มเทและพัฒนาตนเองให้ก้าวหน้าได้ การใช้ความเครียดใน ปริมาณที่พอดีดีกว่าน�ำมันมากดดันตัวเองจนบั่นทอนสภาพร่างกายและ จิตใจให้ย�่ำแย่เป็นไหนๆ ค�ำนวณหาความเครียดได้ตามสมการ ดังนี้

สิ่งที่ส�ำคัญที่สุดคือการดูแลตัวเองให้แข็งแรงเพื่อที่จะสามารถดูแลผู้อื่น และพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน เราขอบคุณในการลงแรงท�ำงานให้เราได้แกร่งขึ้น เราก็สามารถขอบคุณการพักผ่อนที่ช่วยให้เราฟื้นฟูร่างกายให้เต็มที่เพื่อที่จะไปรับ ประสบการณ์มาเสริมให้ชีวิตของเราแข็งแกร่งขึ้นกว่าเดิม การจะใช้ชีวิตให้สมดุล อาจท�ำได้ยาก แต่ทกุ อย่างล้วนขึน้ อยูก่ บั การฝึกฝนร่างกายและจิตใจให้แข็งแรงเสมอ ท�ำให้เราสามารถผ่านอุปสรรคทุกอย่างไปได้ทีละขั้นทีละขั้น ถ้าความสุขคือการใช้ ชีวิตที่ส�ำเร็จ การสร้างความสุขระหว่างที่จะส�ำเร็จได้นั้นคือการใช้ชีวิตที่คุ้มค่าที่สุด

118


119


120


121


เมื่อมองโลกในมุมมองที่กว้างขึ้น เราจะเห็น โลกเป็ น แค่ ด าวเคราะห์ ก ลมๆลอยอย่ า งสงบในห้ ว ง อวกาศอันเวิง้ ว้าง ทีท่ กี่ ระแสเวลาไม่มผี ลกระทบอะไรกับ มันเลย เรามองไม่เห็นความวุ่นวายขวักไขว่ที่อยู่บนพื้น โลกซึ่งเวลากลายเป็นสิ่งที่ต้องวิ่งตาม แต่ในค�ำว่า TIME ยังมีค�ำว่า ME ตัวเราก็เช่นกัน เราเป็นส่วนหนึ่งของ กระแสเวลานั้น การเกิดเวลาคือสิ่งยืนยันถึงการมีตัวตน ของเรา โลกอันวุ่นวายใบนี้มีสิ่งต่างๆมากมายที่รอให้เรา ไปค้นหาเต็มไปหมด ไม่แปลกที่เราจะปล่อยใจให้ไหลไป กับสิง่ เหล่านัน้ แต่มองเห็นภาพรวมทีเ่ กิดขึน้ กับตัวเองว่า ตอนนี้ ยั ง สั ง เกตเห็ น ค� ำ ว่ า ME ใน TIME อยู ่ ห รื อ ไม่ ถ้า ME เริ่มหายไปหรือโดนลดความส�ำคัญลงไปเรื่อยๆ ก็อาจหมายถึงว่า TIME ของชีวิตคุณอาจอยู่ในขั้นวิกฤติ และเราก�ำลังจะหายไป แต่ TIME โลกแทบไม่กระเทือน เลย ลองย้อนกลับมาดู ME ใน TIME ของตัวเองบ้างเพื่อ ที่จะได้มีเวลาในการใช้ชีวิตที่ยืนยาวและสัมผัสโลกใน หลายๆด้านได้มากขึ้น “เมื่อมีงาน จึงมีค�ำว่าหยุดพัก และเมื่อได้หยุดพักจึงยังท�ำงานได้” ถึงเวลาที่เราจะเอา ME ใน TIME ของโลกหรือจะลองแบ่งมาใส่ใน TIME ของ ตัวเองบ้าง อนาคตมีอะไรที่แปลกใหม่และน่าตื่นเต้น เสมอ ยิ่ ง อยากสั ม ผั ส ความอั ศ จรรย์ ข องโลกได้ น าน เท่าไหร่ เรายิ่งควรหันกลับมาใส่ใจตัวเองมากเท่านั้น 122


สุดท้ายนี้ แม้ว่าความขี้เกียจจะมีอย่างอยู่คงกระพันกับเราไปตลอด และ ดูเหมือนวิธใี นหนังสือเล่มนีจ้ ะเน้นเรือ่ งของหลักวิทยาศาสตร์และการผลการทดลอง แต่นี่คือก้าวแรกของแนวทางในการได้จับเข่าคุยกับความขี้เกียจและท�ำความเข้าใจ นิสยั ของตัวเองแบบจริงจังๆ ตัวเราทุกคนมีความพิเศษอยู่ ในเปลือกของความขีเ้ กียจ ที่หุ้มอยู่นั้นมีเอกลักษณ์ที่ไม่ซ�้ำใครซ่อนอยู่ เมื่อเราเข้าใจความขี้เกียจในตัวเราและ สิง่ แวดล้อมทีส่ ง่ ผลต่อพฤติกรรมเราแล้ว เราอาจเปลีย่ นเป็นความสามารถทีส่ ง่ เสริม ให้เราดึงส่วนพิเศษนั้นออกมาให้โลกเห็นได้ ใช้ความขี้เกียจให้เป็นไปตามธรรมชาติ ของร่างกายมากที่สุด และใช้ประโยชน์ของความขยันในช่วงสภาวะที่เหมาะสม นั่นคือเราสามารถขี้เกียจตัวเป็นเกลียวได้ มองหามันและเก็บสะสม มีแค่คุณเท่านั้น ที่จะเข้าใจและหาจุดสมดุลของตัวเองได้อย่างถ่องแท้ ขอให้ความ “ขี้เกียจตัวเป็นเกลียว” จงอยู่กับทุกคน ด้วยรักและขี้เกียจ

123


124


Kazuo Murakami ข้ามขีดจ�ำกัด ปลุกพลังยีน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์ส.ส.ท, 2554. ชัชพล เกียรติขจรธาดา. เรื่องเล่าจากร่างกาย. พิมพ์ครั้งที่ 9. นนทบุรี: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง, 2555. ปรั ช ญา สิ ง ห์ โ ต. SLOTH MACHINE. พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 1. กรุงเทพฯ: แซลมอนเฮ้าส์, 2557. Tina Seeling. วิชาความคิดที่คุ้มค่าหน่วยกิตที่สุดในโลก. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ. ส�ำนักพิมพ์วีเลิร์น, 2557. Dan Ariely. พฤติกรรมพยากรณ์. พิมพ์ครั้งที่ 1. นนทบุรี: ส�ำนักพิมพ์วีเลิร์น, 2553. Dan Ariely. เหตุผลทีไ่ ม่ควรมีเหตุผล. พิมพ์ครัง้ ที่ 1. นนทบุร:ี ส�ำนักพิมพ์วีเลิร์น, 2553. เปาโล โคเอโย. ขุมทรัพย์ทปี่ ลายฝัน. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์คบไฟ, 2542. Wendy Wasserstein. เกียจคร้าน:บาปต้นเจ็ดประการ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์คบไฟ, 2550. Austin Kleon. ขโมยให้ได้อย่างศิลปิน. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์วีเลิร์น, 2555. ลีลาภรณ์ บัวสาย. เศรษฐกิจพอเพียง:ร่วมเรียนรู้ สานข่าย ขยายผล. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการ วิจัย(สกว.), 2549.

125


เทอดศั ก ดิ์ เดชคง. ตั ด สิ น ใจเลื อ กที่ จ ะมี ค วามสุ ข . พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: มติชน, 2549. ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์. เคล็ดลับบ�ำบัดเครียด (ฉบับ ใช้ได้ในชีวติ จริง). พิมพ์ครัง้ ที่ 1. กรุงเทพฯ: อมรินทร์สขุ ภาพ,2555. ประเสริ ฐ ผลิ ต ผลการพิ ม พ์ . รู ้ จั ก ตั ว เองก่ อ นดี ไ หม. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: มติชน, 2547. Douglas Fox. "The Limits of intelligance" Scientifi American. July 2011. "ผลวิจัยชี้ความขี้เกียจอยู่ในยีน" หน้า 9, มติชนรายวัน, 11 เมษายน 2556 วัลลภ พรเรืองวงศ์ สงวนลิขสิทธิ์. "Nap 'Boosts' brain learning power" AAAS conference in San Diego. 21 February 2010. Adam Phillips. "จิตแพทย์ในนิวยอร์คผสานผสม จิตวิทยาสมัยใหม่กับการนั่งสมาธิเพื่อช่วยบ�ำบัดคนไข้" Voice of America. 2 August 2012. รายการวั ฒ นธรรมชุ บ แป้ ง ทอด ตอนเรามี สิ ท ธิ์ ที่ จ ะ ขี้เกียจ. [เทปโทรทัศน์] สถานีไทยพีบีเอส. 10 กรกฎาคม 2556. Dan Gilbert. "The surprising science of happiness". TED TALKs. เข้าถึงได้จาก: http://www.ted.com/talks/ dan_gilbert_asks_why_are_we_happy

126


Sunni Brown. "Doodlers, unite!". TED TALKs. เข้าถึงได้จาก: http://www.ted.com/talks/sunni_brown Shawn Achor. "The happy secret to better work". TED TALKs. เข้าถึงได้จาก: http://www.ted.com/talks/shawn_ achor_the_happy_secret_to_better_work/ Russell Foster. "Why do we sleep?". TED TALKs. เข้าถึงได้จาก: https://www.ted.com/talks/russell_foster_why_ do_we_sleep Korn4D. “มะเขือเทศวิเศษ” 24 ตุลาคม 2556 [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก: http://korn4d.com/2013/10/24/ ฮอร์โมนคอร์ตซิ อล. เข้าถึงได้จาก: http://www.il.mahidol. ac.th/e-media/hormone หมูบ่ า้ นพลัม. เข้าถึงได้จาก: http://www.thaiplumvillage.org/ ข้อมูลการคลายความเครียด จากส�ำนักพัฒนาสุขภาพจิต

127


แพทเทิร์น

128




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.