สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ Engineering, Procurement and Construction Contract (EPC) for Beginner
เจตณรงค เชาวชูเดช กันยายน 2563
ขอมูลทางบรรณานุกรมของสํานักหอสมุดแหงชาติ เจตณรงค เชาวชูเดช. สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ.-- กรุงเทพฯ : ม.ป.พ., 2563. 310 หนา.-- (-). 1. การกอสราง. I. ชื่อเรื่อง. 690 ISBN 978-616-572-596-5
คําสงวนสิทธิ:์ Disclaimer หนั งสื อ เล ม นี ้ เขี ยนขึ ้ นเพื ่ อ ความรู ความเข าใจใน สั ญญาออกแบบ จั ด หา และ ก อ สร า ง ผู เ ขี ย นได ใ ช ค วามรู ค วามสามารถเท า ที ่ ม ี ใ นการถ า ยทอดอย า งเต็ ม ความสามารถ และดีที่สุดแลว ขอผิดพลาดทั้งปวงอันอาจมี ขอนอมรับไวแกไขใน โอกาสตอไป ลิขสิทธิ์ อันพึงมีในขอเขียนทั้งปวง ยอมเปนสิทธิ์ของเจาของนั้นทั้งสิ้น ผูใชเอกสาร พึงใชวิจารณญาณในการใชดวยตนเอง
ผิด ตก ยกเวน (E&OE)
ความรูมไี วแบงปน!
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
เจตณรงค เชาวชเู ดช กันยายน 2563
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
Engineering, Procurement and Construction Contract (EPC) for Beginner เลขมาตรฐานสากลประจําหนังสืออิเล็กทรอนิกส ISBN (e-book):
978-616-572-596-5
พิมพครั้งแรก กันยายน 2563 จัดทําโดย นายเจตณรงค เชาวชูเดช โทรศัพท 086 107 2303 อีเมล jadenarong@outlook.com หนังสือนี้จัดทําขึ้นเพื่อเปนวิทยาทาน มิไดพิมพจําหนาย ทานสามารถ Download File ไดที่ http://jadenc.com/FINAL_EPC_BOOK.pdf
ทานสามารถแจกจายไฟลเพื่อใชงานไดตามความประสงค หากทานเห็นวาเปนประโยชน จะสนับสนุนคาใชจายแกผูเขียนตามอัธยาศัย ก็จะเปนพระคุณยิ่ง ไดที่หมายเลขบัญชีดังนี้ บัญชีออมทรัพย ธนาคารไทยพาณิชย สาขาเทสโก โลตัส เพชรเกษม 81 หมายเลขบัญชี 419-049124-6 ชื่อบัญชี นายเจตณรงค เชาวชูเดช
สาธารณสมบัติ
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ Engineering, Procument and Construction Contract (EPC) for Beginner
แดพอ
ครูชางคนแรกของผม
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ Engineering, Procurement and Construction Contract (EPC) for Beginner
เรื่องจากปก
ภาพ: Chief Joseph Dam on the Columbia River near Bridgeport, Washington, USA. The dam is operated by the U.S. Army Corps of Engineers.
https://en.wikipedia.org/wiki/Chief_Joseph_Dam https://www.nws.usace.army.mil/Missions/Civil-Works/Locks-and-Dams/Chief-Joseph-Dam/
Chief Joseph Dam เป น เขื ่ อนคอนกรี ตแบบแรงโน มถ ว ง (Concrete Gravity Dam) บนแมน ํ้า โคลั มเบี ย 2.4 กิ โ ลเมตร (1.5 ไมล ) จาก Bridgeport, Washington ตัว เขื่อนตั้งอยูตน แมน ํ้าเปน ระยะทาง 877 กิโลเมตร (545 ไมล) จากปากแมนํ้า Columbia at Astoria, Oregon ดําเนินการโดย USACE Chief Joseph Dam Project Office และจําหนายกระแสไฟฟาโดย Bonneville Power Administration การกอสรางเริ่มขึ้นในป พ.ศ. 2493 โดยเขื่อนหลักและโครงสรางทางนํ้าเขาแลวเสร็จในป พ.ศ. 2498 การติดตั้งโรงผลิตไฟฟาหนวยแรกเริ่มตนในป พ.ศ. 2501 และแลวเสร็จในป พ.ศ. 2504 มีการติดตั้ง กังหันนํ้าเพิ่มอีก 10 เครื่อง ระหวางป พ.ศ. 2516 ถึง พ.ศ. 2522 เปนการเพิ่มกําลังการผลิตเปน 2,620 เมกะวัตต ทําให Chief Joseph Dam เปนผูผลิตไฟฟาจากพลังนํ้ารายใหญ อั นดับสามใน สหรัฐอเมริกา
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ Engineering, Procument and Construction Contract (EPC) for Beginner
กิตติกรรมประกาศ ผูเขียนขอขอบคุณบริษัท กรุงเทพเอ็นยิเนียริ่งคอนซัลแตนท จํากัด 1 บริษัททีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด แมเนจเมนท จํากัด (มหาชน) 2 บริษัท โปรเจค แพลนนิ่ง เซอรวิส จํากัด (มหาชน) 3 บริษัทควอนตัม พีพีพี คอน ซัลติ้ง จํากัด 4 มหาวิทยาลัยชีวิต สําหรับผม ที่ไดใหโอกาสผมทํางาน มีประสบการณ ความรู ความสามารถมา โดยตลอดกวา 40 ป แมบางแหงจะไดมีโอกาสทํางานในชวงเวลาสั้น ๆ ก็ตาม แตประสบการณซึ่งไมสามารถหา เรียนไดจากมหาวิทยาลัย นั้นมีคุณคามหาศาล ควรคูกับคําขอบคุณนี้ยิ่งนัก 0
1
2
3
ผมขอขอบคุณอาจารยชํานาญ พิเชษฐพันธ ผูเขียนหนังสือ สัญญาจางที่ปรึกษาบริหารการกอสราง ผูจุด ประกาย ดวยการเชิญชวนผมใหรวมเขียนหนังสือ ทําใหไดมีโอกาส อาน และเริ่มเขียนหนังสือ ขอขอบคุณเปน อยางสูง ขอขอบคุณ สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแหงประเทศไทย 5 (วปท.) โดยความรวมมือกับ กรมการคาตางประเทศ กระทรวงพาณิชย และศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ที่ไดเปดอบรมหลักสูตรการบริหาร สั ญ ญาโครงการก อ สร า งวิ ศ วกรรมระดั บ สากลของ FIDIC (Train the Trainer) หลั ก สู ต รที่ 1, 2 และ 3 (Module 0, 1 and 4) รุนแรก เมื่อเดือนกุมภาพันธ 2558 ขอขอบคุณเปนอยางสูงมา ณ ที่นี้ 4
ผมขอขอบคุณชมรมนักกฎหมายกอสราง โดยคุณกัมพล กิตติพงษพัฒนา ประธานชมรมฯ และอาจารยชํานาญ พิเชษฐพันธ ที่ปรึกษาชมรมฯ ซึ่งไดกรุณา เชิญชวนใหผม ไดมีโอกาสนําเสนอการสัมมนา เกี่ยวกับเรื่องของ สัญญา หลายครั้ง ทําใหมีโอกาสไดถายทอด และแลกเปลี่ยนความรู ความคิดเห็น เกี่ยวกับสัญญาในการ กอสราง เปดโลกทรรศนแกผมเปนอยางมาก ขอขอบคุณเปนอยางสูง ผมขอขอบคุณคุณวินิจ กลิ่นทอง เพื่อนสนิท ผูชวยตรวจทาน และใหความเห็นที่เปนประโยชน ทําใหหนังสือ เลมนี้มีความสมบูรณมากขึ้น ขอขอบคุณเปนอยางสูงครับ ทายที่สุด กราบขอบพระคุณ พอ แม และครู อาจารย พี่ ๆ เพื่อนรวมงานทุกทาน ที่มอบชีวิต ความรู ประสบการณ และ ความชวยเหลือในทุก ๆ ดาน กราบขอบพระคุณมาดวยความเคารพรักยิ่ง
1
http://www.kecconsultants.com/ https://www.teamgroup.co.th/th/ 3 https://pps.co.th/ 4 https://www.quantumppp.com/ 5 http://www.ceat.or.th/2010/index.php 2
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ Engineering, Procurement and Construction Contract (EPC) for Beginner
สารบัญ เรื่อง
หนา
เรื่องจากปก กิตติกรรมประกาศ สารบัญ คํานํา ภาพรวม ภาคที่ 1 ความรูเรื่องสัญญา ออกแบบ จัดหา และกอสราง 1. บทนํา 1 1.1 รูปแบบของสัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง: อีพีซี 2 1.2 องคประกอบของสัญญาอีพีซี 2 1.3 การปฏิบัติงานในสัญญาอีพีซี 2 1.4 ความแตกตางของการบริหารสัญญา และการจัดการสัญญา (The Difference between Contract Administration and Contract Management) 4 1.5 ความแตกตางของสัญญาอีพีซี และสัญญาออกแบบรวมกอสราง 5 2. สัญญา 7 2.1 สัญญาคืออะไร 7 2.2 สาระสําคัญของสัญญา 9 2.3 ลักษณะของสัญญา 10 2.4 รูปแบบของสัญญา 10 2.5 สัญญากอสราง 11 2.6 ระบบการสงมอบโครงการ 11 2.7 วงจรชีวิตของสัญญาโครงการ 16 2.8 ประเภทของสัญญาการกอสราง 17 3. การบริหารสัญญา 18 3.1 ความแตกตางของการบริหารสัญญา และการจัดการสัญญา 18 3.2 การบริหารสัญญา 18 3.3 แนวทางปฏิบัติในการจัดทําแผนการบริหารสัญญา 18 3.4 หลักการพิจารณาแนวทางปฏิบัติในการเตรียมแผนการบริหารสัญญา 19 3.5 บทบาทโดยทั่วไปของผูบริหารสัญญา 20 3.6 การจัดทําเอกสารประกวดราคา 20 i | iii
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ Engineering, Procurement and Construction Contract (EPC) for Beginner
4. การจัดการสัญญา 4.1 การจัดการสัญญาคืออะไร? 4.2 แนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการสัญญา 4.3 ขั้นตอนในการปรับปรุงการจัดการสัญญา 4.4 กระบวนการจัดการสัญญา 4.5 การจัดซื้อจัดหา 4.6 การจัดการทรัพยากรมนุษย 5. การจัดการการออกแบบ 5.1 ความรับผิดชอบในการออกแบบ 5.2 พันธะทั่วไปในการออกแบบ 5.3 เอกสารของผูรับจาง 5.4 ภาระหนาที่ของผูรับจาง 5.5 มาตรฐานทางเทคนิคและกฏระเบียบ 5.6 การฝกอบรม 5.7 แบบและเอกสารกอสรางจริง 5.8 คูมือการดําเนินการโครงการและการบํารุงรักษา 5.9 ขอผิดพลาดในการออกแบบ 5.10 การจัดการการออกแบบ 6. การจัดการการจัดซื้อจัดหา 6.1 ทั่วไป 6.2 ขอกําหนดของสัญญาเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดหา 6.3 การจัดการการจัดซื้อจัดหาของผูรับจาง EPC 7. การจัดการการกอสราง 7.1 ทั่วไป 7.2 ขอกําหนดสัญญาเกี่ยวกับการกอสราง 7.3 การจัดการการกอสรางผูรับจางของ EPC 8. การจัดการความเสี่ยง 8.1 ความเสี่ยงและการจัดการความเสี่ยง 8.2 วิธีการบริหารความเสี่ยง 8.3 การวิเคราะหความเสี่ยงตามสัญญา
ii | iii
27 27 28 30 30 40 41 42 42 42 43 44 44 44 45 45 45 45 49 49 50 51 52 52 52 54 58 58 59 61
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ Engineering, Procurement and Construction Contract (EPC) for Beginner
9. การจัดการการเรียกรอง 10.การจัดการขอพิพาท บรรณานุกรม
65 65
ภาคที่ 2 ภาคปฏิบัติ คูมือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา ภาคที่ 3 ภาคผนวก 3-1 EPC Template 3-2 เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999 3-3 การปรับปรุง FIDIC 2017 3-4 Engineering, Procurement & Construction (EPC) EPC Construction Management Guide
iii | iii
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ Engineering, Procurement and Construction Contract (EPC) for Beginner
คํานํา ผมมีอาชีพหลักเปนชางเขียนแบบตั้งแตจบ ปวช. กอสราง เมื่อป พ.ศ. 2516 แมจบวิศวกรรมโยธาใน ป พ.ศ. 2522 แลวก็ตาม ก็ยังคงทํางานเขียนแบบควบคูไปกับงานวิศวกรรมโยธาจนถึงป พ.ศ. 2534 ชีวิตจึงหันเห มาเปนวิศวกรประมาณราคา จะเปนชางเขียนแบบก็ไมไดแลวเพราะใช AutoCad ไมเปน จนบัดนี้ พ.ศ. 2563 แลว AutoCad ก็ยังคงใชไมเปนอยูนั่นเอง การทํางานประมาณราคา จําเปนตองทําควบคูกับงานจัดทําเอกสารประกวดราคา ซึ่งประกอบดวยงาน เอกสารประกวดราคา (Tender Documents) และงานจัดทําขอกําหนด (Specifications) งานเอกสารประกวดราคา จะประกอบดวย คําแนะนําผูเขาประกวดราคา เงื่อนไขของสัญญา และ แบบฟอรมตาง ๆ ประกอบการประกวดราคา กอนป 2534 แมจะเคยไดทํามาบาง แตก็มิไดเปนงาน หลักดังเชนเมื่อมาเปนวิศวกรประมาณราคา และผูจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา เอกสารประกวดราคา และเงื่อนไขของสัญญา ในประเทศไทย ในงานราชการจะใชตัวอยางเอกสาร ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี โดยอิงตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ 1 ซึ่งมี พัฒนาการมาหลายรูปแบบ จากแบบยื่นซองประกวดราคาธรรมดา เปนแบบ E-Auction จวบจน ปจจุบัน แมจะใชวิธีการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส (e-bidding) แบบ E-bidding แลวก็ตาม ก็ยังคง ตองยึดถือตามระเบียบของทางราชการดังกลาว ยกเวนงานของภาคเอกชนซึ่งจะใชวิธีการตามความรู ประสบการณของที่ปรึกษา ผูออกแบบ ตามแตจะเห็นสมควรจากเจาของงาน (ผูวาจาง) ในการนี้ก็จะมี การนําหลักการ เงื่อนไขของสัญญาสากลมาใช ไดแก เงื่อนไขของสัญญาของ FIDIC, JCT, NEC, AIA ฯลฯ ตามแตประสบการณของที่ปรึกษา และผูวาจางเห็นสมควรตามคําแนะนําของที่ปรึกษา 0
จากที่กลาวขางตน หนังสือเลมนีจ้ ึงเขียนขึ้นจากประสบการณเปนศูนย ในเรื่องของสัญญา และ EPC ของผม ฉะนั้น ผูอานจะไดรับความรู และประสบการณเริ่มจากศูนย โดยอาจไมทราบอะไรเลยเกี่ยวกับ สัญญา หรือ EPC เหมาะสําหรับผูเริ่มตนที่จะมาทํางานหรือมีสวนรวมในเอกสารสัญญา การจัดทํา เอกสารประกวดราคา ตลอดจนการจัดทําขอกําหนดในงานกอสราง
1
ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ https://www.dsi.go.th/Files/Images/img20160624140819-ระเบียบพัสดุ2535.pdf
1|2
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ Engineering, Procurement and Construction Contract (EPC) for Beginner
หนังสือเลมนี้จะเริ่มตั้งแต สัญญาคืออะไร มีความสําคัญอยางไร สัญญาประเภทตาง ๆ ทําไมตองเปน EPC การ จัดทําเอกสาร EPC เริ่มจากเจาของงาน ผูวาจางเขียน TOR เพื่อหาที่ปรึกษาจัดทําเอกสาร EPC การจัดทํา TOR และเอกสาร EPC เพื่อคัดเลือก และจัดหาผูรับจางกอสราง รวมถึงการจัดทําขอกําหนดในโครงการ EPC หนังสือเลมนี้ ลาชามาจากแผนเดิมเมื่อเดือนธันวาคม 2562 จากเหตุภารกิจงานโครงการที่รับทําไวหลังเกษียณ ไมเสร็จตามแผน แถมมีเรื่องราวมากมายที่จําเปนจะตองทบทวนในงานประมาณราคาที่ทํามาหลายสิบป ซึ่ง หากหาทางปรับปรุงได ก็อาจจะมีหนังสือใหมอีกเลม ฝากใหทุกทานไดอานตอไป โดยที่ตั้งใจจะใหเปนหนังสือฉบับประสบการณ ฉะนั้นการเขียนจะใชภาษางาย ๆ เปนกันเองมีปฏิสัมพันธกับ ผูอาน ไมเนนหนักในเชิงวิชาการใหอานยากมากนัก หวังเปนอยางยิ่งวา ทานผูอานจะไดรับความรู ความเขาใจในสัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับ ประสบการณ (Engineering, Procurement and Construction Contract (EPC) for Beginners) เล ม นี้ บางไมมากก็นอย หากมีคําแนะนํา ติชม ทวงติง โปรดใหความเห็นไดที่ jadenarong@outlook.com หรือ jadenarong@gmail.com ก็จะเปนพระคุณยิ่ง ดวยความนับถือ เจตณรงค เชาวชูเดช
2|2
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
ภาคที่ 1 ความรูทั่วไป สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง
1|
บทนํา
1. บทนํา การดําเนินงานสําหรับโครงการกอสราง (Project Delivery System) หมายถึง วิธีการดําเนินงาน สําหรับโครงการกอสราง อีกนัยหนึ่งก็หมายถึงการสงมอบโครงการ ดวยวิธีการดําเนินงานแบบใด กลาวโดยงายคือจะดําเนินการโครงการโดยใชสัญญาแบบใด สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง (Engineering, procurement and construction: EPC อีพีซี) เปนรูปแบบหนึ่งของ Project Delivery System นอกเหนือจาก สัญญาออกแบบ ประกวดราคา และกอสราง (Design-Bid-Build) ซึ ่ ง เป น วิ ธ ี ด ั ้ ง เดิ ม (Traditional Approach) สั ญ ญาออกแบบรวมก อ สร า ง (Design & Build Approach) ระบบ "บริ ห ารงานก อสร า ง" (Construction Management Approach) และระบบ "กอสราง-ดําเนินการ-สงมอบ" (Build-Operate-Transfer) สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง (Engineering, procurement and construction: EPC อีพีซี) เปนรูปแบบทั่วไปของการจัดทําสัญญาในอุตสาหกรรมการกอสราง ภายใตสัญญาอีพีซี ผูรับจาง กอสรางจะออกแบบ จัดหาอุปกรณที่จําเปนและกอสราง หรือ ติดตั้ง ทั้งโดยตนเองหรือผูรับจางชวง ผูรับจางกอสรางจะดําเนินโครงการดวยความเสี่ยงเอง เพื่อกําหนดคางานเปนงบประมาณในการ กอสราง ซึ่งขึ้นอยูกับขอบเขตงานที่ตกลงกัน สัญญาอีพีซี มีชื่อเรียกอีกหลายแบบเชน Full Turnkey หรือ Lump Sum Turn Key (LSTK) ซึ่งมี ความหมายว า เมื ่ อ ส ง มอบโครงการแล ว พร อ มใช ง านได อ ย า งมี ป ระสิท ธิ ภ าพ นอกจากนี ้ ก ็ ย ั งมี Engineering, Procurement, Construction and Commissioning ( EPCC) แ ล ะ Engineering, Procurement, Construction and Management (EPCM) ซึ ่ ง รวมถึ ง การดํ า เนิ น การ และการ จัดการหลังการกอสรางดวย หนังสือเลมนี้จะแยกออกเปน 3 ภาค คือ ภาคที่ 1 ความรูทั่วไป ภาคที่ 2 ภาคปฏิบัติ ภาคที่ 3 ภาคผนวก ภาคที่ 1 ความรูทั่วไป กลาวถึง สัญญา คืออะไร สัญญาแบบตาง ๆ องคประกอบของสัญญา การ บริหารสัญญา และการจัดการสัญญา ภาคที่ 2 ภาคปฏิบัติ อธิบายถึงวิธีการจัดทําเอกสาร อีพีซี และ ภาคที่ 3 ภาคผนวก เปนตัวอยางเอกสารอีพีซี
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
2|
บทนํา
1.1 รูปแบบของสัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง: อีพีซี สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง เปนรูปแบบทั่วไปของการจัดทําสัญญาในอุตสาหกรรมการ กอสราง ภายใตสัญญาอีพีซี ผูรับจางกอสรางจะออกแบบ จัดหาอุปกรณที่จําเปนและกอสราง หรือ ติดตั้ง ทั้งโดยตนเองหรือผูรับจางชวง ผูรับจางกอสรางจะดําเนินโครงการดวยความเสี่ยงเอง เพื่อ กําหนดคางานเปนงบประมาณในการกอสราง ซึ่งขึ้นอยูกับขอบเขตงานที่ตกลงกัน สัญญาอีพีซี มีชื่อเรียกอีกหลายแบบเชน Full Turnkey หรือ Lump Sum Turn Key (LSTK) ซึ่งมี ความหมายว า เมื ่ อ ส ง มอบโครงการแล ว พร อ มใช งานไดอ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ นอกจากนี ้ ก ็ ย ั งมี Engineering, Procurement, Construction and Commissioning ( EPCC) แ ล ะ Engineering, Procurement, Construction and Management (EPCM) ซึ ่ ง รวมถึ ง การดํ า เนิ น การ และการ จัดการหลังการกอสรางดวย 1.2 องคประกอบของสัญญาอีพีซี 1.2.1 งานออกแบบ (Engineering) ประกอบดวย • การออกแบบรายละเอียด (Detailed Engineering and Design); • การวางแผนงานกอสราง (Programming and Scheduling Works); • การประมาณราคา (Cost Estimating for All Areas of the Project) 1.2.2 งานจัดหา (Procurement) ประกอบดวย • การประกวดราคา (Tenders / Quoting for All Sub-packages of Works Involved); • การจัดซื้อ จัดหา ทําสัญญาจาง (Purchasing, Receipting and Invoicing of Goods); • การจั ด หาผู ร ั บ จ า งช ว งที ่ ม ี ศ ั ก ยภาพ และเหมาะสม (Potential Coordination of Any Subcontracts Involved for Services) 1.2.3 งานกอสราง (Construction) ประกอบดวย • ดําเนินงานกอสรางตามแผนงาน Adherence to Construction Schedule; • ก อสร า งอย า งมี ป ระสิ ทธิ ภ าพ (Performance (Directly or through Sub-contractors) of all Construction Activities); • ทดสอบการทํางานทั้งระบบ เพื่อตรวจสอบใหมั่นใจวาการทํางานของทั้งระบบพรอมกันถูกตองตามที่ กําหนดไวในเอกสารสัญญา (Commissioning and Finalisation of Project); • ปดโครงการ (Closure of Project) 1.3 การปฏิบัติงานในสัญญาอีพีซี • เขาใจ และมีความรูในแตละองคประกอบ และกระบวนการของงาน (KNOW each Engineering Discipline and the Overall Process) สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
3 | บทนํา • เขาใจและตระหนักในแผนงานวิกฤต แงมุมที่สําคัญ (UNDERSTAND the Critical Aspects) • ดําเนินการโครงการอยางมีปะสิทธิภาพ (IMPLEMENT Powerful Methods) 1.3.1 สาระสําคัญในสัญญาอีพีซี • บุคคลากรหลักของผูวาจางคือ ตัวแทนของผูวาจาง (Employer’s Representative) • จะไมมีขอเรียกรองสําหรับปญหาที่คาดไมถึง ยกเวนเหตุสุดวิสัย (No Unforeseeable Difficulties) • จะตองตรวจสอบ / ตีความขอมูลของผูวาจางเอง (Verification/ Interpretation of Employer Data incl. Sub-surface, Hydrological and Employer Requirements) • ผูรับจางจะเปนผูดําเนินการออกแบบ (General Design Obligations, Design Error) • จะไมมีการขยายเวลาในเรื่องดังตอไปนี้ (No Extension of Time for Completion for) * เงื่อนไขตาง ๆ ของสภาพภูมิอากาศ ยกเวนเหตุสุดวิสัย (Exceptionally Adverse Climatic Conditions except FM) * การขาดแคลนแรงงานและวัสดุตาง ๆ (Unforeseeable Shortages in Personnel or Goods by Epidemic or Government Actions) * ขอผิดพลาดของขอกําหนดวัตถุประสงคความตองการของผูวาจาง (Errors in Employer’s Requirements) * สภาพการณ ที่ ไ ม อ าจคาดเดาได จ ากสภาพทางกายภาพ (Unforeseeable Physical Conditions) 1.3.2 สาระสําคัญเกี่ยวกับผูวาจาง: ผูวาจางไมตองรับความเสี่ยงในเรื่องดังตอไปนี้ • การใชงานโดยผูวาจาง • การออกแบบงานโดยบุคลากรของผูวาจาง • เหตุการณที่คาดไมถึงเกี่ยวกับธรรมชาติ • ผูรับจางรับผิดชอบทั้งหมดในการออกแบบ และประสานงานการออกแบบ รวมถึงการออกแบบโดย ผูวาจาง • ผูรับจางรับความเสี่ยงทั้งหมดในสภาพทางธรณีวิทยา • ผูวาจางมีสิทธิ์เต็มที่ในโครงการ • ผูวาจางมีสิทธิ์เปลี่ยนแปลงขอบเขตงาน แตตองรับภาระในคาใชจายที่เพิ่มขึ้นจากขอบเขตงานที่ เพิ่มขึ้น • จํากัดการเรียกรองของผูรับจางในเรื่องของเวลา และคาใชจาย • ผูรับจางจะกําหนดราคาความเสี ่ยงเหล านี้ และดําเนินการตรวจสอบรายละเอียดของโครงการ (ขั้นตอนในการประกวดราคาจึงใชเวลานานกวาสัญญาแบบอื่น)
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
4|
บทนํา
1.4 ความแตกตางของการบริหารสัญญา และการจัดการสัญญา (The Difference between Contract Administration and Contract Management) การบริหารสัญญาและการจัดการสัญญาจะมีความแตกตางกันในชวงของเวลาของสัญญา ระหวาง การจัดเตรียมสัญญาและการลงนามในสัญญาขั้นสุดทาย การบริหารสัญญาจะเปนกระบวนการจัดเตรียมสัญญา ขอตกลง ซึ่งมีความซับซอนและมีความเสี่ยง ผูจัดการโครงการและผูจัดทําสัญญาจะตองมีความเขาใจกระบวนการเหลานี้เปนอยางดี สวนการ จัดการสัญญาจะเปนกระบวนการหลังจากมีการลงนามในสัญญาแลว และเปนการจัดการใหทุกอยาง เปนไปตามสัญญาที่ไดตกลงกันระหวางคูสัญญาทั้งสองฝาย 1.4.1 การบริหารสัญญา: เปนงานจัดเตรียมเอกสารสัญญากอนการลงนาม สัญญาเปนขอตกลงที่มีผลผูกพันทางกฎหมายระหวางสองฝายขึ้นไป การบริหารสัญญามุงเนนไปที่สิ่งที่ เกิดขึ้นกอนลงนามในสัญญา ผูจัดทําสัญญาจะตองควบคุมในวิธีการจัดเตรียม วิเคราะห และขอเจรจา ในสัญญา และจะมุงเนนไปที่การวางแผนและการปฏิบัติตามสัญญา โดยอาจขอขอเสนอ (Request for Proposal: RFP) จากผูขาย/ผูใหบริการ/ผูรับจางที่มีศักยภาพ และเชิญใหเสนอราคา (อาจมีการ จัดทําการคัดเลือกคุณสมบัติเบื้องตน Prequalification กอน) เมื่อเลือกผูขาย/ผูใหบริการแลว ผูจัดทํา สัญญาจะเห็นภาพรวม และสามารถสรุปรายละเอียดในสัญญาเปนขอตกลงที่มีความเปนธรรม 1) เอกสารการประกวดราคาสัญญาอีพีซี • ประกาศเรียกประกวดราคา • รายละเอียดการยื่นขอเสนอ (Request for Proposal: RFP) / รายละเอียดขอบเขตงาน (Terms of Reference) • คําแนะนําผูเขาประกวดราคา • เงื่อนไขของสัญญา • ตัวอยางขอตกลง/สัญญา • แบบฟอรมประกอบการยื่นเสนอ • เอกสารวัตถุประสงค ความตองการของผูวาจาง (Employer’s Requirements) เปนเอกสารที่ ระบุ วัตถุประสงค ตามความตองการของผูวาจางตามที่ระบุไวในสัญญาและรวมถึงการเพิ่มเติม และการปรับเปลี่ยนเอกสารดังกลาวตามสัญญา เอกสารดังกลาวจะระบุวัตถุประสงคขอบเขต และ/หรือการออกแบบ และ/หรือเกณฑทางเทคนิค อื่น ๆ สําหรับงาน 2) ขอดี ของสัญญาอีพีซี • ระยะเวลากอนการกอสรางในชวงประกวดราคาสั้นกวาวิธีอื่น • สะดวกในการวางแผน และการดําเนินงานโครงการโดยรวม ปญหาระหวางการออกแบบและการ กอสราง สามารถแกไขไดอยางมีประสิทธิภาพ ลดความขัดแยงระหวางกัน สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
5 | บทนํา • ขอบเขตการทํางานและความรับผิดชอบชั ดเจน โดยความรับผิ ดชอบและความเสี่ยงในชว ง ระยะเวลาการกอสรางเปนของผูรับจาง • ราคารวม และระยะเวลากอสราง แนนอนและชัดเจน • ผู ว า จ า งเป น อิ ส ระจากการบริ ห ารโครงการทั ่ ว ไป และสามารถบริ ห ารจั ด การในเรื ่ อ งที ่ มี ความสําคัญกวา 3) ขอดอย ของสัญญาอีพีซี • ผูวาจางมีสวนรวม และโอกาสการควบคุมงานในโครงการนอย • เนื่องจากความเสี่ยงทั้งหมดถูกโอนใหอยูในความรับผิดชอบของผูรับจาง ฉะนั้นการคัดเลือกผูรับ จางจึงตองใหความสําคัญเปนพิเศษ • โดยที่ความรับผิดชอบและความเสี่ยงในชวงระยะเวลาการกอสรางเปนของผูรับจาง ฉะนั้นราคา โครงการจะสูงเนื่องจากครอบคลุมเรื่องความเสี่ยง • ผูวาจางที่คุนเคยกับการกอสรางดวยวิธีดั้งเดิมแบบอื่นอาจประสบปญหาในดานความเขาใจใน วิธีการของสัญญาอีพีซี 1.4.2 การจัดการสัญญา (Contract Management): งานภายหลังจากการลงนามในสัญญาแลว การจัดการสัญญาเกิดขึ้นหลังจากสัญญามีผลบังคับใช โดยจะตองมั่นใจวาขอกําหนดและเงื่อนไขที่มีอยู ในสัญญานั้นสามารถปฏิบัติตามได และคูสัญญาทั้งสองฝายพอใจในภาระขอผูกพันตามสัญญาทั้งหมด เชนเดียวกับการจัดการที่จําเปนสําหรับการดําเนินงานดานอื่น ๆ ของ คูสัญญาอยางเหมาะสม แตโดยทั่วไป เรามักไดยินโดยรวมวา การบริหารจัดการสัญญา (Contract Administration and Contract Management) 1.5 ความแตกตางของสัญญาอีพีซี และสัญญาออกแบบรวมกอสราง • สัญญาทั้ง 2 แบบจะออกแบบโดยผูรับจาง • การปดโครงการ สัญญาอีพีซี จะสงมอบโครงการทั้งหมด พรอมใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ขณะที่สัญญาออกแบบรวมกอสรางจะมีการตรวจรับงานเชนเดียวกับสัญญากอสรางทั่วไป ดวย การตรวจสอบงานในแตละจุดหาความบกพรอง • สัญญาอีพีซี มักสงมอบงานให มีประสิ ทธิภาพสูงกวาขอกําหนด ขณะที่สัญญาออกแบบรวม กอสรางจะสงมอบงานที่มีมาตรฐานตามขอกําหนดขั้นตํ่าสุด • สัญญาอีพีซี เจาของงานจะมีสวนรวมในโครงการนอยที่สุด
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
6|
บทนํา
• สัญญาอีพีซี ผูรับจางจะรับความเสี่ยงทั้งหมด ขณะที่สัญญาออกแบบรวมกอสรางยังคงมี การ กระจายความเสี่ยงระหวางผูวาจาง และผูรับจาง ตัวอยางเชนสภาพของภูมิประเทศที่มิอาจ คาดการณได ผูรับจางอาจสามารถเรียกรองขอขยายระยะเวลา และคาใชจายเพิ่มได เปนตน
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
7|
สัญญา
2. สัญญา (Contract) 2.1 สัญญาคืออะไร ประเด็น: ไม ต อ งทํ า เป น หนั ง สื อ ไม ต อ งมี ห ลั ก ฐานเป น หนั ง สื อ ??? (Gentlemen/Verbal Agreement, สัญญาสุภาพบุรุษ/สัญญาปากเปลา) รูปแบบของสัญญาที่ทําเปนหนังสือ (สัญญาเดี่ยวที่ไมไดแยกเปนสวน ๆ และ สัญญาที่ แยกเปนสวน ๆ) สัญญา หมายถึง ขอตกลงระหวางบุคคลสองฝาย (หรือหลายฝาย) วาจะกระทําการหรืองดเวนกระทํา การอยางใดอยางหนึ่ง สัญญามักจะเปนรูปแบบเอกสารลายลักษณอักษร ซึ่งระบุเงื่อนไขและขอตกลง ตาง ๆ ลงทายดวยลายมือชื่อของทั้งสองฝาย และอาจมีของพยานดวยก็ได สัญญากอสราง ถือวาเปนสัญญาจางทําของ ในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมิไดบังคับใหตองทํา เปนหนังสือ ดังนั้นการฟองรองกันจึงไมจําเปนตองมีสัญญาเปนเอกสารหรือเปนหนังสือก็ฟองรองกันได ดังไดกลาวแลววา การทําสัญญาจางทําของไมจําเปนที่จะตองมีรูปแบบหรือแบบฟอรมใดๆ 1 และ บางครั้งก็ไมจําเปนที่จะตองทําเปนลายลักษณอักษรและลงชื่อรับรอง สัญญาสามารถทําดวยปากเปลา หรือสามารถเกิดขึ้นไดในระหวาง การสนทนา และสัญญาเหลานี้ก็เปนสัญญาที่มีผลบังคับใชดวย 0
อีกประการหนึ่ง สัญญา (หรือการรับขอตกลงระหวางกัน) ก็เกิดขึ้นได แมวาจะไมไดมีการยื่นขอเสนอ ขอตกลงอยางชัดเจน แตอาจเปนดวยอาการอากัปกิริยาหรือการกระทํา ที่อาจแสดงใหเห็นเจตจํานงค สัญญาที่เกิดขึ้นในลักษณะนี้ ตัวอยางเชน การขึ้นรถประจําทาง การขายของในราน การบริการใน รานอาหาร เปนตน โดยตางฝายตางมีพันธะผูกพันตอกัน แตบางครั้งสัญญาก็จําเปนตองจัดทําเปนลายลักษณอักษร และมีรูปแบบฟอรมตามกฎหมายกําหนดจึง จะมีผล อันไดแก การทําสัญญาซื้อขายที่ดิน การโอนมอบกรรมสิทธิการถือหุน ซึ่งตองกระทําตอหนา ทนาย รวมทั้งทนายตองลงนามรับรอง สัญญาอีกประเภทหนึ่งที่จะตองทําเปนลายลักษณอักษรเสมอ คือ สัญญาการจางงาน ที่มีการกําหนด ระยะเวลาการจาง 1
https://www.n-t-overseas.de/newsreader-pataya/46.html ขอมูลจาก wikipedia offline http://www.verbraucher.de
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
8|
สัญญา
สําหรับงานกอสรางนั้นเปนงานที่ซับซอนและมีผูเกี่ยวของจํานวนมากจึงควรจําเปนที่จะตองมีการตก ลงไวใหชัดเจนและเปนลายลักษณอักษรไว เพื่อในกรณีที่เกิดปญหาขอเรียกรองหรือขอขัดแยงที่ มี ระหวางคูสัญญาจะไดมาดูกันไดวา ตกลงกันไวแลววาอยางไร โดยสรุป สัญญา เปนขอตกลงที่ผูที่ทําการตกลงจะตองมีพันธะผูกพัน ตองกระทําตามขอตกลงที่ไดตก ลงไว แตก็มีขอยกเวนไววา พันธะผูกพันโดยสัญญาอาจจะยกเลิกได หากวาคูสัญญาไดตกลงที่จะให ยกเลิกได ซึ่งในที่นี้ก็มักจะเปนในกรณีที่ คูสัญญามาทําสัญญายกเลิก หรือเปลี่ยนแปลงเนื้อหาสัญญา นั่นเอง หรือในอีกกรณีหนึ่งก็คือ เมื่อกฎหมายกําหนดวา ฝายใดฝายหนึ่งหรือทั้งสองฝายสามารถที่จะ ยกเลิกได สัญญา มีหลากหลายแงมุม ในเชิงสังคม สัญญาเปนตัวประสาน กําหนดและจัดการพฤติกรรมทาง สังคม โดยผานการที่แตละคนหรือแตละฝายมีพันธหนาที่ตอกันและกัน สัญญาในความหมายนี้ก็คือ การที่ฝายหนึ่งฝายใดจะสัญญากับอีกฝายหนึ่งวา จะทําหรือไมทําอะไรอยางใดอยางหนึ่ง โดยที่อีกฝาย หนึ่งก็จะตองทําหรือไมทําอยางใดอยางหนึ่งเปนการตอบแทนเชนกัน ซึ่งในที่นี้จะตองเปนไปโดยความ สมัครใจ และดวยเหตุนี้ความสัมพันธที่จะเกิดขึ้นระหวางทั้งสองฝายจึงเปนสิ่งที่สามารถคาดการณได ในเชิงกฎหมาย สัญญา ก็จะมีความหมายคลายกัน ซึ่งก็คือขอตกลง หรือเจตจํานงคของอยางนอย ตั้งแตสองฝายขึ้นไป (อาจเปนหลายฝายก็ได) ที่มีรวมกัน ที่จะกระทําหรือไมกระทําอะไรอยางใดอยาง หนึ่ง ซึ่งจะมีพันธะผูกพันตอกันทางกฎหมาย หรือเปนขอตกลงที่อาจใหมีการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไข บังคับทางกฎหมายบางอยาง เชน การทําสัญญาคูสมรส ที่จะไมใหนํากฎระเบียบขอหนึ่งขอใดมาใช หรือขอยกเลิก เปนตน สัญญาจะเกิดขึ้นก็ตอเมื่อ คูสัญญาฝายหนึ่งเปนฝายเริ่มยื่นขอเสนอ ซึ่งก็หมายถึงวา มีความตองการจะ ตกลงเรื่องอะไรกัน หรือมีอะไรมาเสนอ และขอเสนอนี้ก็จะตองมีรายละเอียดเพียงพอ รวมทั้งมีขอ อธิบายชัดเจนถึงขอกฎหมายที่จะนํามามีผลบังคับ เพื่อที่อีกฝายหนึ่งซึ่งจะเปนผูรับขอเสนอ สามารถ เขาใจและตอบรับได แตอยางไรก็ตาม ฝายผูรับขอเสนอก็สามารถที่จะตอรองในสวนของตนเองได ลําดับขั้นตอนก็อาจเปนดังนี้
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
9 | สัญญา ฝายหนึ่งเสนอขอตกลงทีต่ องการ อีกฝายหนึ่งพิจารณาไตรตรอง ชั่งนํ้าหนักความเหมาะสม ยื่นเงื่อนไขตอรอง มองหาจุดประสานหรือเงื่อนไขที่รบั ไดทั้งสองฝาย ตกลงกระทําเปนขอสัญญาระหวางกัน
สัญญาเปนขอตกลงที่มีผลผูกพันทางกฎหมายระหวางสองฝายขึ้นไป การบริหารสัญญามุงเนนไปที่สิ่งที่ เกิดขึ้นกอนลงนามในสัญญา ผูจัดทําสัญญาจะตองควบคุมในวิธีการจัดเตรียม วิเคราะห และขอเจรจา ในสัญญา และจะมุงเนนไปที่การวางแผนและการปฏิบัติตามสัญญา โดยอาจขอขอเสนอ (Request for Proposal: RFP) จากผูขาย/ผูใหบริการที่มีศักยภาพ และเชิญใหเสนอราคา (อาจมีการจัดทําการ คัดเลือกคุณสมบัติเบื้องตน Prequalification กอน) เมื่อเลือกผูขาย/ผูใหบริการแลว ผูจัดทําสัญญา จะเห็นภาพรวม และสามารถสรุปรายละเอียดในสัญญาเปนขอตกลงที่มีความเปนธรรม 2.2 สาระสําคัญของสัญญา สัญญา คือ นิติกรรมซึ่งมีคูกรณีตั้งแตสองฝายขึ้นไปแสดงเจตนาตรงกันเพื่อกอใหเกิดสิทธิหนาที่ ระหวางกันโดยที่คูกรณีฝายหนึ่งเปนผูที่จัดทําคําเสนอและคูกรณีฝายหนึ่งไดทําคําเสนอของรับตรงกัน สัญญามีสาระสําคัญดังนี้ 2.2.1 มีคูสัญญา สัญญาตองมีคูกรณีทั้งตั้งแต 2 ฝายขึ้นไปซึ่งแตละฝายจะมีจํานวนเทาใดก็ได 2.2.2 มีคําเสนอคําสนองสอดคลองตองกัน ฝายหนึ่งแสดงเจตนาออกมาในรูปของขอเสมอ และมีอีกฝายหนึ่งแสดงเจตนาออกมาตกลงตาม คําเสนอคําสนอง โดยที่คําเสนอและคําสนองนั้นตองตรงกัน หากคําเสนอและคําสนองนั้นไมตรงกัน ก็ ไมถือเปนสัญญา 2.2.3 มีวัตถุประสงค กลาวคือมีประโยชนที่จะไดรับเกิดขึ้นจากสัญญาซึ่งอาจเปนทรัพยสินอยางใดอยางหนึ่งการ กระทําหรือการงดเวนกระทําการอยางใดอยางหนึ่งก็ได
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
10 |
สัญญา
2.3 ลักษณะของสัญญา 2.3.1 องคประกอบที่เปนสัญญา สัญญาตองมีองคประกอบที่มีสาระสําคัญดังตอไปนี้ 1. ตองมีบุคคลเปนคูสัญญาตั้งแตสองฝายขึ้นไป บุคคลคนเดียวหรือหลายคนที่ แสดงเจตนาฝาย เดียวไมอาจเปนสัญญาได โดยบุคคลที่เปนคูสัญญาดังกลาวอาจเปนบุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคลก็ได แตคูสัญญาดังกลาวนั้นจะตองมีความสามารถในการใชสิทธิตามกฎหมาย ไมเปน ผูเยาว คนที่ถูกศาล สั่งใหเปนคนไรความสามารถ ในกรณีคูสัญญาที่เปนนิติบุคคลตองทําสัญญาโดย ฝายผูแทนของนิติ บุคคลที่มีอํานาจกระทําตามกฎหมาย และอยูภายในกรอบวัตถุประสงคที่กําหนดไว ในตราสารจัดตั้ง นิติบุคคล อาทิเชน หนังสือบริคณหสนธิ 2. ตองมีการแสดงเจตนาเปนคําเสนอคําสนองถูกตองตรงกัน นิติกรรมฝายเดียว บุคคลแสดง เจตนาฝายเดียวก็สําเร็จเปนนิติกรรม แตในกรณีสัญญานั้นเกิดขึ้นโดยการแสดงเจตนาของ บุคคลตั้งแต สองฝายขึ้นไป ซึ่งคําเสนอและคําสนองถูกตองตรงกันจึงจะเปนสัญญา สวนปญหาเมื่อไรที่ จะถือวาคํา เสนอคําสนองตรงกันจะกลาวในโอกาสตอไป 3. ตองมีวัตถุประสงค วัตถุประสงคดังกลาวยอมหมายถึง เปาหมายหรือประโยชนสุดทายที่ได จากการทําสัญญา สัญญาทุกประเภทยอมจะตองมีวัตถุประสงค ซึ่งอาจมีวัตถุประสงคที่ชัดเจน เชน สัญญาซื้อขาย หรือสัญญาเชา หรืออาจจะเปนวัตถุประสงคโดยปริยายซึ่งอาจแปรเปลี่ยน 2 ไปตาม สัญญา แตอยางไรก็ตาม วัตถุประสงคนั้นตองไมขัดตอกฎหมาย ไมพนวิสัย ไมขัดตอความสงบ เรียบร อย ศีลธรรมอันดีของประชาชน 4. แบบหรือ วิธีการในการแสดงเจตนา อาจเปนวิธีใดก็ไดซึ่งอาจกระทําโดยกิริยา อาการ หรือ ทําเปนลายลักษณอักษร หรือโดยการสันนิษฐานวาเปนการแสดงเจตนาแลว ยกเวนแตวา กรณีดังกล าวกฎหมายบังคับใหทําตามแบบสัญญาก็ตองทําตามแบบ มิฉะนั้นสัญญายอมตกเปนโมฆะ เชน สัญญา เชาซื้อ หรือการซื้อขายอสังหาริมทรัพย นอกจากองคประกอบดังกลาวแลว องคประกอบอื่นที่คูสัญญาจะตองมาพึงพิจารณา ประกอบก็ คือ เงื่อนไข เงื่อนเวลา มัดจํา เบี้ยปรับ หรือเหตุสุดวิสัย ซึ่งจะมีผลใหสภาพของสัญญามี สภาพบังคับที่ แตกตางจากกัน 2.4 รูปแบบของสัญญา รูปแบบของสัญญาจางกอสรางที่เปนมาตรฐานมีอยู 2 รูปแบบ คือ 1. สัญญาเดี่ยว 2. สัญญาแบงสวน
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
11 | สัญญา รูปแบบสัญญาเดี่ยว จะเขียนสัญญาตั้งแตตนจนจบตลอดเรื่อยไป ไมมีการแบงออกเปนสวน ๆ ขึ้นตน ตั้งแตสัญญาฉบับนี้ทําขึ้นที่ไหน เมื่อใด ทําอะไร เปนเงินเทาใด จนจบที่ผูลงนามในสัญญา ตัวอยางของ สัญญาแบบนี้ไดแกสัญญาของทางราชการ สามารถดูตัวอยางไดในภาคที่ 3 ภาคผนวก สัญญาแบบแบงเปนสวน จะแบงออกเปนสวนหลัก ๆ ดังนี้ สวนแรก คือ ขอตกลง (Contract Agreement) สวนที่สอง คือ เงื่อนไขทั่วไป (General Conditions of Contract) สวนที่สาม คือ เงื่อนไขเฉพาะ (Particular Conditions of Contract) สวนที่สี่ ขอมูลของสัญญา (Contract Data) สวนที่หา บัญชีรายการเอกสารที่ถือเปนสวนหนึ่งของสัญญา สัญญาแบบนี้ไดแกสัญญาที่ใชกันเปนสากล เชนสัญญาของ FIDIC, AIA, JCT etc. 2.5 สัญญากอสราง สัญญาการกอสราง 2 หมายถึง ความตกลงรวมกันระหวางสองฝายโดยฝายหนึ่งสัญญาวาจะจัดหา บริการวัสดุ และทรัพยากรที่จําเปนเพื่อสรางสิ่งกอสรางอยางใดอยางหนึ่งตามที่กําหนด และอีกฝาย หนึ่งสัญญาวาจะจายคาตอบแทนใหตามที่ไดดําเนินการดังกลาวแลวเสร็จ สัญญาการกอสรางที่จะมีผลบังคับใชตามกฎหมายไดจะตองประกอบดวยหลักการพื้นฐานเบื้องตนที่ สําคัญของการทําสัญญา ที่สําคัญก็คือคูสัญญาทั้งสองฝายจะตองเปนผูที่กฎหมายใหการรับรองวา สามารถทําสัญญา (Legal Capacity to Sign the Contract) แทนบริษัทของแตละฝายได สัญญาที่ดี จะตองมีเนื้อหาเดนชัด สามารถปฏิบัติได และมีความเปนธรรมตอผูที่เกี่ยวของทุกฝาย 1
2.6 ระบบการสงมอบโครงการ (Project Delivery Systems) สมาคมวิศกรโยธาของอเมริกา (American Society of Civil Engineers: ASCE) ไดอธิบายถึงระบบ การจัดสงโครงการ วาดวยวิธีการจัดระเบียบผูมีสวนรวมในโครงการ เปาหมายและวัตถุประสงค เพื่อ นําไปสูความสําเร็จของโครงการ โดยมีลักษณะพื้นฐานในการจัดการดังนี้ (ก) การพิจารณาขอขัดแยงของสัญญาโครงการกอสรางสากลจะถูกจํากัดโดยกฎหมายและขอกําหนด ตางๆ ในแตละประเทศ (ข) ปจจัยผลกระทบตาง ๆ และความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้น จะไดรับผลกระทบจากเหตุผลทางเศรษฐกิจ และการเมืองมากขึ้นเรื่อย ๆ ดังนั้นในโครงการระหวาง ประเทศ คูสัญญาไมเพียงแตใหความสําคัญกับโครงการเทานั้น แตจําเปนตองใหความสนใจกับประเทศ เจาบานและประเทศใกลเคียงพรอมกับสถานการณของโลก 2 วิวัฒน
แสงเทียน, มนูญ นิจโภค, วิฑูรย เจียสกุล, การจัดการงานกอสราง , สานักพิมพโอเดียนสโตร,กรุงเทพ, 2527. 150 หนา
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
12 |
สัญญา
(ค) ติดตามขอรายการขอสัญญาระหวางประเทศอยางละเอียด โครงการกอสรางระหวางประเทศจําเปนตองปฏิบัติตามแนวสากล และเกณฑขอกําหนด เพื่อที่จะ ดําเนินการไดอยางราบรื่น เจาของโครงการจําเปนตองใสใจในคุณภาพและพฤติกรรมของผูปฏิบัติงาน เชนกัน ในโครงการกอสรางสากล สามารถแบงการจัดสงมอบโครงการไดเปนแบบตาง ๆ ดังตอไปนี้ (1) สัญญาออกแบบ ประกวดราคา และกอสราง (Design-Bid-Build: DBB) (2) สัญญาจัดการงานกอสราง (Management-Contracting-Approach: MCA) (3) สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง (Engineering-Procurement-Construction: EPC) (4) สัญญากอสราง ดําเนินการ และสงมอบ (Build-Operate-Transfer:BOT) 1) สัญญาออกแบบ - ประกวดราคา – กอสราง ระบบนี้มีการใชกันมานานในประเทศตาง ๆ และไดรับการพัฒนาเปนอยางดี ดังนั้นมันจึงถูกเรียกวา วิธีการแบบดั้งเดิม ในขณะเดียวกันโครงการก็อาจแบงออกเปนสวนยอย ๆ (Fragmented Approach) ไดเชนกัน
รูปที่ 2-1 สัญญาออกแบบ - ประกวดราคา – กอสราง ลักษณะเดน ของ DBB คือขั้นตอนการก อสรางโครงการ จะตองทําตามลําดับ ของการออกแบบ ประกวดราคา – กอสราง การดําเนินงานจะตองกระทําการตามขั้นตอน เมื่อกระบวนการหนึ่งเสร็จสิ้น จึงจะดําเนินการในขั้นตอนตอไปได ขอดี มีการแบงความรับผิดชอบอยางชัดเจนของผูวาจาง ผูออกแบบ/สถาปนิก/วิศวกร และผูรับจางกอสราง
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
13 | สัญญา ขอดอย กระบวนการนี้จะเปนแบบเสนตรงและใชเวลานาน การประสานงานระหวางฝายตาง ๆ มีความยุงยาก และซับซอน คาใชจายลงทุนในเบื้องตนจะสูง 2) สัญญาบริหารจัดการ (Management Contracting Approach: MCA) ผูรับจัดการโครงการไมไดทําหนาที่กอสราง แตจะทําหนาที่จัดการองคกร ผูวาจางเลือกระบบนี้ เนื่องจาก (ก) โครงการมีขนาดใหญ (ข) องคกรมีความซับซอน มีการประสานงานหลายประเภทระหวางผูรับจางที่แตกตางกัน (ค) เจาของโครงการไมมีประสบการณ หรือความสามารถในการจัดการองคกร
รูปที่ 2-2 สัญญาบริหารจัดการ ขอดี (ก) ผูรับจางทําหนาที่บริหารทั้งองคกรในลักษณะเปนทีมงานซึ่งเปนประโยชนแกเจาของโครงการ (ข) สะดวกในการเปลี่ยนแปลงจัดการองคกรใหเขากับโครงการ (ค) มีการประสานงานที่ดีระหวางงานวิศวกรรมและการจัดการ ขอดอย (ก) มีคาใชจายเพิ่มมากขึ้นในการจัดการ (ข) อาจมีความคิดเห็นที่แตกตางระหวางผูรับจางจัดการและฝายวิศวกรรม ซึ่งจะสงผลกระทบตอการ ประสานงานของโครงการ 3) สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง (Engineering – Procurement – Construction: EPC) สัญญา EPC เปนรูปแบบทั่วไปของการจัดทําสัญญาในอุตสาหกรรมการกอสราง ภายใตสัญญาอีพีซี ผูรับจางจะออกแบบ จัดหาอุปกรณที่จําเปนและกอสราง หรือ ติดตั้ง ทั้งโดยตนเองหรือ ผูรับจางชวง
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
14 |
สัญญา
ผูรับจางจะดําเนินโครงการดวยความเสี่ยงเอง เพื่อกําหนดคางานเปนงบประมาณในการกอสราง ซึ่ง ขึ้นอยูกับขอบเขตงานที่ตกลงกัน
รูปที่ 2-3 สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ขอดี (ก) ความรับผิดชอบประเภทของงานสามารถแบงไดอยางชัดเจนจากผูมีหนาที่ในแตละดาน (ข) สามารถทําใหแผนงานกระชับ สั้นลงได จากการรวมขั้นตอนการออกแบบ จัดซื้อ จัดหา และ กอสราง ไวในสัญญาเดียว (ค) ลดความยุงยากจากการจัดการงานหลายอยาง (ง) เจาของโครงการทราบราคาทั้งหมดของโครงการ ขอดอย (ก) เนื่องจากการเสนอราคาเกิดขึ้นกอนงานออกแบบทางดานวิศวกรรมจะเสร็จสมบูรณ จึงไมอาจระบุ รายละเอียดของงานไดชัดเจน ยกเวนเฉพาะความสําเร็จของงานที่ตองการเทานั้น (ข) สิทธิในการควบคุมโครงการของเจาของโครงการมีนอย (ค) คาใชจายในขั้นตอนกอนการประกวดราคามีมูลคาสูง (ง) ภารกิจในการออกแบบ จัดหา และกอสราง จําเปนตองมีทักษะ คุณสมบัติและความรับผิดชอบที่ เหมาะสมสําหรับงานแตละประเภท 4) สัญญากอสราง ดําเนินการ และสงมอบคืน (Build - Operate - Transfer: BOT) ในกรณีที่รัฐบาลไมมีเงินลงทุนเพียงพอในการกอสรางโครงการขนาดใหญ อาจมีการเชิญชวนใหนัก ลงทุนในประเทศและตางประเทศเพื่อชวยเหลือโครงการในการรวมลงทุน รัฐบาลในฐานะผูอนุญาต สัมปทานใหสัมปทานแกบริษัทเอกชน ในชวงหมดระยะเวลาสัมปทาน บริษัทที่ดําเนินการโครงการ จะตองสงมอบโครงการกลับคืนแกรัฐบาล
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
15 | สัญญา
รูปที่ 2-4 สัญญากอสราง ดําเนินการ และสงมอบคืน (Build - Operate - Transfer: BOT) ขอดี (ก) รัฐไมตองรับภาระทางดานการเงิน (ข) รัฐสามารถหลีกเลี่ยงความเสี่ยงโครงการไดจํานวนมาก ผูลงทุนจะแบกรับความเสี่ยง (ค) โครงการที่ดําเนินการโดยบริษัทจากตางประเทศจะนําเสนอขอมูล เทคโนโลยีและทักษะในการ จัดการที่ทันสมัย ขอดอย (ก) จะตองใชเวลานานในการปรับสภาพความเขาใจในสัญญาในดานการวิจัย การสื่อสาร การทดสอบ ฯลฯ (ข) ในชวงระยะเวลาสัมปทานรัฐจะสูญเสียสิทธิ์ในการควบคุมโครงการ ระบบการสงมอบโครงการนั้น โดยพื้นฐานมีความสัมพันธกัน บางระบบสามารถใชงานรวมกัน ขอ แตกตางเพียงอยางเดียวคือความสําคัญของโครงการและสัญญา การจําแนกระบบการจัดสงโครงการ เหลานี้ชวยใหเห็นมุมมองเกี่ยวกับกฎระเบียบที่เกี่ยวของในการกอสรางโครงการ และชวยใหสามารถ คนหาวิธีที่จะทําใหโครงการแลวเสร็จสมบูรณไดอยางมีประสิทธิภาพสูง
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
16 |
สัญญา
รูปที่ 2-5 ขั้นตอนของระบบโครงการ 2.7 วงจรชีวิตของสัญญาโครงการ (Project contract life cycle) สําหรับสัญญากอสรางตั้งแตเริ่มสัญญาจนสิ้นสุดสัญญาจะใชเวลานาน บางครั้งอาจเปนป และมี กระบวนการมากมาย การจัดการสัญญาจะตองดําเนินการตลอดชวงเวลาของสัญญา ในขั้นตอนตาง ๆ ของการจัดการสัญญามีงานและลําดับความสําคัญที่แตกตางกัน สําหรับโครงการประกวดราคาทั่วไป มักจะดําเนินการในสองขั้นตอนหลักคือ: ขั้นตอนจัดทําสัญญา และขั้นตอนการปฏิบัติตามสัญญา ดัง แสดงในรูปที่ 2-6 ในขั้นตอนการจัดทําสัญญาจะเปนการประกวดราคา และการตอรอง สวนขั้นตอน การปฏิบัติตามสัญญา จะประกอบดวยการกอสราง และขั้นตอนการบํารุงรักษา
รูปที่ 2-6 วงจรชีวิตของสัญญาโครงการ การจัดทําสัญญา (1) ระยะเวลาการประกวดราคา ระยะเวลาการประกวดราคา ตั้งแตการเตรียมเอกสารการประกวดราคาจนถึงการเปดประกวดราคา เปนการยื่นขอเสนอเบื้องตน และการยอมรับระหวางเจาของงานและผูรับจาง ซึ่งหมายถึงการเริ่มตน ระยะเวลาของสัญญากอสราง (2) การเจรจาตอรอง ชวงเวลานี้เริ่มตนเมื่อมีการประกวดราคาและสิ้นสุดลง มีการลงนามในสัญญา ชวงเวลานี้สามารถแบง ออกเปนสองขั้นตอน: (ก) การประเมินขอเสนอราคาเบื้องตน ทําการวิเคราะหเปรียบเทียบคุณสมบัติระหวางผูเขาประกวด ราคา เพื่อหาผูที่มีคุณสมบัติเหมาะสมและมีความสามารถในการกอสรางโครงการ สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
17 | สัญญา (ข) เจาของงานและผูรับจางหารือรายละเอียดเกี่ยวกับสัญญา และวิธีการที่จะดําเนินการตอไปพรอม ทั้งลงนามตกลงในสัญญา ขั้นตอนการดําเนินการตามสัญญา ชวงนี้เริ่มตั้งแตลงนามในสัญญาจนถึงสิ้นสุดสัญญา ในชวงนี้งานออกแบบ งานจัดซื้อ และงานกอสราง จะตองแลวเสร็จ ผูรับจางตองดําเนินการกอสรางใหแลวเสร็จสมบูรณ และรับผิดชอบงานรับประกัน ตามขอกําหนดในดานปริมาณ คุณภาพ กําหนดการ และเทคนิคที่ระบุไวในสัญญา ซึ่งแนนอนวาผู รับจางจะไดรับผลประโยชนตามที่ตกลงกันไวตามสัญญา 2.8 ประเภทของสัญญาการกอสราง (Type of Construction Contract ) 1. สัญญาประเภทเหมารวม (Lump Sum or Fixed – Priced Contract) 2. สัญญาประเภทราคาตอหนวย (Unit Price Contract) 3. สั ญญาประเภทออกแบบ ก อสร า ง และ/หรือ จัดหาทุน ใหดว ย (Turn Key หรื อ Design and Construct/Build Contract) 4. สั ญ ญาจ า งออกแบบวิ ศ วกรรม จั ด หา และก อ สร า ง (EPC: Engineering, Procurement and Construction Contract) นอกจากนี้ยังมีสัญญาปลีกยอยแบบตาง ๆ ซึ่งจะไมกลาวรายละเอียดในที่นี้ เชน - สัญญาประเภทคิดคาใชจายจริงบวกคาปวยการ (Cost – Plus Fixed Fee Contract) - สัญญาประเภทคิดคาใชจายทั้ งหมดบวกเงิน เพิ่มพิเ ศษ (Cost – Plus with Guaranteed Maximum and Incentive) - สั ญ ญาประเภทมี ร างวั ล ตอบแทนและเสี ย ค า ปรั บ (Bonus/Penalty, Time and Completion) - สัญญาประเภทแบงออกเปนสวนยอยๆหลายๆสวน (Divided Contract )
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
18 |
การบริหารสัญญา
3. การบริหารสัญญา (Contract Administration) 3.1 ความแตกตางของการบริหารสัญญา และการจัดการสัญญา (The Difference between Contract Administration and Contract Management) การบริ หารสั ญ ญาและการจั ด การสั ญญาจะมี ค วามแตกต า งกัน ในช วงของเวลาของสั ญ ญา ระหวางการจัดเตรียมสัญญาและการลงนามในสัญญาขั้นสุดทาย การบริหารสัญญาจะเปนกระบวนการจัดเตรียมสัญญา ขอตกลง ซึ่งมีความซับซอนและมีความ เสี่ยง ผูจัดการโครงการและผูจัดทําสัญญาจะตองมีความเขาใจกระบวนการเหลานี้เปนอยางดี สวนการจัดการสัญญาจะเปนกระบวนการหลังจากมีการลงนามในสัญญาแลว และเปนการจัดการ ใหทุกอยางเปนไปตามสัญญาที่ไดตกลงกันระหวางคูสัญญาทั้งสองฝาย การบริหารสัญญา: เปนงานจัดเตรียมเอกสารสัญญากอนการลงนาม สัญญาเปนขอตกลงที่มีผลผูกพันทางกฎหมายระหวางสองฝายขึ้นไป การบริหารสัญญามุงเนนไปที่สิ่งที่ เกิดขึ้นกอนลงนามในสัญญา ผูจัดทําสัญญาจะตองควบคุมในวิธีการจัดเตรียม วิเคราะห และขอเจรจา ในสัญญา และจะมุงเนนไปที่การวางแผนและการปฏิบัติตามสัญญา โดยอาจขอขอเสนอ (Request for Proposal: RFP) จากผูขาย/ผูใหบริการ/ผูรับจางที่มีศักยภาพ และเชิญใหเสนอราคา (อาจมีการ จัดทําการคัดเลือกคุณสมบัติเบื้องตน Prequalification กอน) เมื่อเลือกผูขาย/ผูใหบริการแลว ผูจัดทํา สัญญาจะเห็นภาพรวม และสามารถสรุปรายละเอียดในสัญญาเปนขอตกลงที่มีความเปนธรรม 3.2 การบริหารสัญญา ผูเชี่ยวชาญในการบริหารสัญญาจะมุงเนนในการวางแผน และการจัดเตรียมสัญญา กระบวนการ วางแผนมักจะรวมถึงการจัดหาคูสัญญา โดยการสงคําขอเพื่อขอขอเสนอ (requests for proposal) นอกจากนี้ผูบริหารสัญญาชวยในการจัดทํารายละเอียดของขอตกลงสัญญาการทํางานกับผูรับจางที่ คาดหวั ง เพื ่ อ เจรจาในเรื ่ อ งสั ญ ญา เช น ราคา ประเภทของสั ญ ญา และความคาดหวั ง ในด า น ประสิทธิภาพ แมวาการบริหารสัญญานี้ เปนหลักทั่วไปในการบริหาร แตก็จําเปนตองมีกลยุทธและเขาใจในธุรกิจ การทําสัญญาที่เปนประโยชนรวมกันเปนสิ่งสําคัญอยางยิ่งตอความสําเร็จทางการเงินของธุรกิจ ดังนั้น จึงจําเปนตองหาคูสัญญาที่เหมาะสม และจัดทําขอตกลงที่เปนธรรม 3.3 แนวทางปฏิบัติในการจัดทําแผนการบริหารสัญญา การปฏิบัติตามแผนการบริหารสัญญาที่เหมาะสม จะทําใหทีมงานอยูในสถานะที่ดี ในการจัดการ สัญญาแตละสัญญาไดอยางสมบูรณตลอดโครงการ เอกสารที่เปนทางการนี้จะอธิบายถึงรายละเอียดสิ่ง ที่คาดหวังของทั้งสองฝายในชวงระยะเวลาของขอตกลงเพื่อจํากัด การละเมิดสัญญาที่อาจเกิดขึ้นหรือ ปญหาอื่น ๆ ที่นําไปสูการไมปฏิบัติตามขอผูกพันของสัญญา สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
19 | การบริหารสัญญา 3.4 หลักการพิจารณาแนวทางปฏิบัติในการเตรียมแผนการบริหารสัญญา 1. กําหนดขอบเขตและสงมอบ ขั้นตอนแรกเพื่อใหมั่นใจวากระบวนการทําสัญญาที่ประสบความสําเร็จ คือการกําหนดความตองการ อยางชัดเจน รวมถึงขอบเขตและสิ่งที่สงมอบ ชองโหวในขอบเขตของสัญญามักทําใหเกิดปญหาได ดังนั้นการเขียนอยางชัดเจนวาสัญญาทําอะไร และไมครอบคลุมอะไร จะชวยในการติดตามสัญญา 2. ระยะเวลาโดยละเอียด แผนการบริหารสัญญาควรมีการบันทึกรายละเอียดระยะเวลาสําหรับทุกเหตุการณสําคัญตลอดชวง อายุของสัญญา รวมถึงวันที่เริ่มตนและสิ้นสุดโครงการ วันครบกําหนดสงมอบและการปรับปรุงความ คืบหนา 3. การจัดระเบียบการเงิน เพื่อหลีกเลี่ยงขอพิพาทเกี่ยวกับสัญญาและรักษาความสัมพันธเชิงบวกระหวางทั้งสองฝาย ผูเกี่ยวของ ในกระบวนการบริห ารสัญญาควรทราบเงื่ อนไขทางการเงินของข อตกลงรวมถึงมูล คาของสั ญญา ชวงเวลาการชําระเงินและกระบวนการเพื่อจัดการกับคาใชจายเพิ่มเติมใด ๆ (ขึ้นอยูกับประเภทของ สัญญา) 4. วางแผนการทํางาน เพื่อใหเกิดความโปรงใสและตรวจสอบได แผนควรมีรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีการดําเนินการสงมอบงาน รวมถึงบุคคลากรที่จะทํางานในแตละสวนของขอตกลง (รวมถึงบุคลากรทั้งภายในและบุคคลที่สามหาก มี) การมีแผนสําหรับการวัดความสําเร็จตลอดอายุของสัญญาจะทําใหทั้งสองฝายมีความเขาใจในระดับ เดียวกัน และหากจําเปนอนุญาตใหมีการแกไขแผนงาน 5. การคาดการณความเสี่ยง สัญญาทุกฉบับมีความเสี่ยง แตการจัดทําแผนเพื่ออธิบายความเสี่ยงเหลานั้นสามารถปองกันไมให สั ญญาล มเหลว สรุ ป ความเสี ่ ย งที ่ เ ป น ไปไดม ากที่ส ุ ดสํ าหรั บ แตล ะข อตกลง และขั้น ตอนที ่ ค วร ดํ า เนิ น การในเหตุ ก ารณ ท ี ่ เ กิ ด ขึ ้ น จริ ง การสร า งความยื ด หยุ น บางอย า งสํ า หรั บ ระยะเวลาและ งบประมาณจะชวยใหเกิดความลาชาเพียงเล็กนอย หรือปญหาที่ไมคาดคิดสามารถปองกันจากความ ผิดพลาดไดอยางมีนัยสําคัญ ในงานกอสราง ผูบริหารสัญญาเปนบุคคลที่รับผิดชอบในการบริหารสัญญาตามมาตรฐานสําหรับงาน กอสราง ผูบริหารสัญญาอาจจะเปนสถาปนิกโครงการ หรืออาจเปนที่ปรึกษา ที่ปรึกษาดานราคาและตนทุน ที่ ปรึกษาพิเศษ ตัวแทนของผูวาจาง ผูจัดการโครงการหรือวิศวกร ในการบริหารสัญญากอสราง บทบาทของผูบริหารสัญญาอาจเปนผูจัดการงานกอสราง และเปนผูดูแล ระบบสัญญา สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
20 |
การบริหารสัญญา
ผูบริหารสัญญาจะไดรับการแตงตั้งโดยผูวาจาง แตเมื่อไดรับการรับรองหรือใหการประเมินหรือ ตัดสินใจ โดยจะทําหนาที่อยางตรงไปตรงมา และมีเหตุผล 3.5 บทบาทโดยทัว่ ไปของผูบริหารสัญญาจะรวมถึง: • เชิญประกวดราคา • เตรียมเอกสารสัญญาเพื่อการดําเนินการ • บริหารขั้นตอนการควบคุมการเปลี่ยนแปลง • จัดทําคําแนะนําในการประกวดราคา • ออกคําแนะนําในการเปลี่ยนแปลงงาน • พิจารณาขอเรียกรอง • ประชุมความกาวหนาการกอสราง • การจัดเตรียมและออกรายงานความกาวหนาการกอสราง • ประสานงานการตรวจสอบงานกอสราง • รวมตรวจสอบการใชงานและทดสอบ • ตรวจรายงานขอบกพรอง • ออกใบรับรองการเสร็จสิ้นการปฏิบัติและใบรับรองระหวางกาล • จัดทําตารางเวลาของขอบกพรอง • ออกใบรับรองการปรับปรุงแกไขขอบกพรอง • ออกใบรับรองสุดทาย 3.6 การจัดทําเอกสารประกวดราคา 1. ขอเสนอ (Request for Proposal: RFP) โครงการจะเริ่มตั้งแตผูวาจาง/เจาของงาน มีความประสงคจะเริ่มโครงการ สิ่งแรกที่ตองดําเนินการคือ หาที่ปรึกษา ผูออกแบบ ศึกษาความเหมาะสมเปนไปไดของโครงการ (Feasibility Study) หาก โครงการมีความเหมาะสมจึงจะดําเนินการสํารวจ ออกแบบ และกอสรางตอไป ขั้นตอนนี้จําเปนตองประกาศหาที่ปรึกษา โดยมีประกาศเชิญชวนใหผูสนใจยื่นขอเสนอ (Request for Proposal: RFP) หนั งสื อเชิ ญ ยื ่ น ข อ เสนอ (Request for Proposal) ระบุถึงความต อ งการและ กระบวนการในการยื่นขอเสนอ ขอบเขตรายละเอียดของงาน และคําแนะนําสําหรับผูยื่นขอเสนอ เปน ตน
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
21 | การบริหารสัญญา ประกาศเปนเอกสารซึ่งเจาของงานประกาศแจงการประกวดราคาโครงการ แสดงรายะเอียด ขอบเขต ของโครงการโดยสังเขป ระบุคุณสมบัติของผูที่สามารถเขาประกวดราคาได กําหนดการประกวดราคา ตาง ๆ สถานที่ติดตอ 2. ขอบเขตรายละเอียดของงาน (Terms of Reference: TOR) ขอบเขตรายละเอียดของงาน อาจเรียกสั้น ๆ วา TOR เปนเอกสารที่ระบุถึงรายละเอียดของโครงการ ขอกําหนดขอบเขตรายละเอียดของงานจะกลาวถึงความเปนมาของโครงการ วัตถุประสงค คุณสมบัติ ของผูประสงคจะเสนอราคา เอกสารหลักฐานตางๆ ประกอบการคัดเลือกผูเสนอราคา แบบฟอรมการ เสนอราคา ข อ มู ล จํ า เพาะทางเทคนิ ค รายละเอี ย ดการยื ่ น ข อ เสนอ รู ป แบบรายการหรื อ คุ ณ ลักษณะเฉพาะ หลักเกณฑการพิจารณาขอเสนอ ระยะเวลาการดําเนินงานและสงมอบงาน สถานที่ ติดตอสอบถามขอมูลเพิ่มเติม 2.1 ความหมายของ TOR 1 ขอบเขตรายละเอียดของงาน Terms of Reference (TOR) เปนเอกสารที่กําหนดขอบเขตของงาน และรายละเอียดของภารกิจที่ผูจัดทํา TOR ตองการใหผูขายหรือผูรับจางดําเนินการ รวมทั้งความ รับผิดชอบอื่น ๆ ของผูขายหรือผูรับจางที่เกี่ยวของกับภารกิจนั้น ซึ่งรายการละเอียดของงานที่ผูซื้อ หรือผูวาจางประสงคจ ะใหผู ขายหรื อผูรั บจางทํ างานให โดยการบอกขอบเขตของงานใหชั ด เจน ระยะเวลาที่ตองการ คุณสมบัติของผูเสนอราคา ซึ่งผูซื้อหรือผูวาจางตองการใหทํางานตามขอบเขตดัง กลาว รวมถึงขอกําหนดที่ผูซื้อหรือผูวาจางตองการใหดําเนินการ จะมีกี่ขั้นตอนแตละขั้นตอน ประกอบ ดวยอะไรบาง ผิดสัญญาจะถูกปรับอยางไร สิ่งตาง ๆ เหลานี้ ผูซื้อหรือผูวาจางจะจัดใหอยูใน TOR ทั้งหมด เพื่อประกาศหาผูขายหรือผูรับจางตามกรรมวิธีตอไป ซึ่งผูที่ประสงคจะเปนผูขายหรือผูรับจาง ไดศึกษาดูกอนวางานตามประกาศสามารถทําไดหรือมีคุณสมบัติ ครบถวนหรือไม เพื่อเปนขอมู ล เบื้องตน ประกอบการพิจารณาในขั้นตอนการดําเนินการจัดหาผูซื้อหรือผูวาจาง ดังนั้น TOR จึงเทียบ ไดกับ ขอกําหนด (Specifications) ของพัสดุที่ผูซื้อหรือผูวาจางทําขึ้นสําหรับการจัดหา แตอยางไรก็ ตาม สําหรับงานราชการ การกําหนด TOR หรือการกําหนดคุณลักษณะเฉพาะ (Specifications) เพื่อ การจัดซื้อจัดจางของหนวยงานที่จะจัดหาพัสดุ ผูที่ไดรับมอบหมายใหดําเนินการจะตองพิจารณาและ คํานึงถึงกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ คําสั่ง มติคณะรัฐมนตรี หรือหนังสือซักซอมความเขาใจที่เกี่ยว ของ ซึ่งคอนขางมีรายละเอียดปลีกยอยมาก 2.2 ความสําคัญของ TOR คุณภาพของผลงานที่จะไดจากผูขายหรือผูรับจาง TOR จะตองมีความชัดเจนที่สามารถจัดหาหรื อ ปฏิบัติไดและกําหนดประเด็นตางๆ ที่ผูขายหรือผูรับจางจะตองดําเนินการไวอยางชัดเจน TOR ยิ่งมี ความชัดเจนเพียงใดยิ่งทําใหการคัดเลือกผูขายหรือผูรับจางไดงายขึ้น โปรงใสมากขึ้น ดังนั้น TOR จึง ตองมีความชัดเจนเพียงพอตอการประเมินปริมาณและคุณภาพงานของผูขายหรือผูรับจาง 1
https://palad.mof.go.th/th/view/attachment/file/34373830/Manual-TOR-04-2556.pdf
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
22 |
การบริหารสัญญา
เปนเอกสารอางอิงที่ใชเปนสวนหนึ่งของสัญญา ดังนั้น TOR ที่ดีจะตองไมเปน TOR ที่กวางเกินไป จน ทําใหไดสิ่งที่ตองการแตไมมีคุณภาพ ดังนั้นการจัดทํา TOR จึงตองมีการวิเคราะหปญหาเบื้องตน หรือ ในระดับแนวคิด โดยการรวมหารือกับกลุมตางๆ เพื่อใหไดมุมมองที่หลากหลายครบถวนครอบคลุมการ จัดทําขอบเขตรายละเอียดของงาน (TOR) 3. คําแนะนําผูเขาประกวดราคา (Instruction to Bidders) คําแนะนําผูเขาประกวดราคาประกอบดวยรายละเอียดของเอกสารโครงการวาประกอบดวยอะไรบาง คุณสมบัติ ของผูย ื่ น ข อเสนอ เอกสารหลักฐานตาง ๆ ขอมูลจําเพาะทางเทคนิค หลักฐานการยื่ น ขอเสนอ รายละเอียดการเสนอราคา หลักประกันการเสนอราคา หลักเกณฑและสิทธิในการพิจารณา การทําสัญญาจางกอสราง คาจางและการจายเงิน อัตราคาปรับ กรณีทํางานไมแลวเสร็จตามสัญญา การรับประกันความชํารุดบกพรอง การจายเงินลวงหนา การหักเงินประกันผลงาน ขอสงวนสิทธิ์ใน การยื่นขอเสนอและอื่นๆ การปรับราคาคางานกอสราง มาตรฐานฝมือชาง การปฏิบัติตามกฎหมาย และระเบียบ การประเมินผลการปฏิบัติงานของผูประกอบการ 4. ตัวอยางสัญญาขอตกลง (Contract Agreement) เจาของโครงการหรือเจาของงานจะตองแนบตัวอยางสัญญา การกอสรางที่จะใชบังคับ ผูกพันผู ท่ี เกี่ยวของไปดวยเพื่อเปนแนวทางใหผูที่จะเขาประกวดราคาไดรูวาเปนสัญญาประเภทใด มีสวนใดที่ยัง สงสัยตองการคําอธิบายเพิ่มเติมเปนตน ซึ่งทั้งสองฝายจะตองเขาใจตรงกัน ประกอบดวยสาระสําคัญ ดังนี้ • วันที่ และสถานที่ทําสัญญา • ชื่อ และ ที่อยูของคูสัญญา • ขอตกลงจางและรับจาง เงื่อนไขที่สําคัญ • สวนสําหรับลงลายมือชื่อของคูสัญญา สรุปสั้น ๆ คือ ทําอะไร ที่ไหน เมื่อไร เสร็จเมื่อไร เปนเงินเทาใด ลงนาม 5. แบบฟอรมการประกวดราคา (Bid Form) ประกอบไปดวยขอความและชื่อผูยื่นซองประกวด ราคา โดยจะระบุขอความ เชน ผูประกวดราคาไดตรวจสอบแบบรายละเอียด ขอกําหนดและสถานที่ กอสรางแลว จํานวนเงินที่ยื่นประกันซองประกวดราคา จํานวนเงินคาปรับจากงานลาชา ขอความที่ ระบุวาผูประกวดราคา ตกลงที่จะทําตามสัญญาหากชนะการประกวดราคา เปนตน ขอความที่ผูชนะการประมูลตกลงที่จะยื่นเงินประกันการทําสัญญาและประกันการกอสราง จํานวนเงิน เพิ่มหรือลดถาปริมาณ งานเปลี่ยนแปลงไปจากสัญญาเดิม เวลาที่ตองทํางานใหแลวเสร็จ เงื่อนไข เพิ ่ ม เติ ม พิ เ ศษ (ถ า มี ) รายละเอี ย ดจํ า นวนงานและเงิ น การประกวดราคา (Bid Breakdown) รายละเอียดของจํานวนงานและเงินจะตองถูกบันทึกลงไว โดยผูประกวดราคาอาจแยกเปนสวน ๆ ใน แตละรายการของโครงการเพื่อเปนแนวทางในการคิดความกาวหนาของผลงานภายหลัง หากการเสนอ ราคานั้นไดรับการยอมรับ สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
23 | การบริหารสัญญา 6. บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา (Bill of Quantities) บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา (Bill of Quantities) เปนเอกสารซึ่งแสดงรายการงาน และปริมาณ วัสดุ เพื่อใหผูเขาประกวดราคากรอกราคา เพื่อประกวดราคางานโครงการนี้ อยางไรก็ตามผูเขา ประกวดราคาจําเปนตองตรวจสอบความถูกตอง และแกไขใหถูกตอง และแจงใหผูวาจางทราบ โดย ดําเนินการแกไขตามเงื่อนไขที่ระบุไวในเอกสารประกวดราคา องคประกอบของบัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา ประกอบดวยสวนตาง ๆ ดังตอไปนี้ คือ - ลําดับที่ของรายการ - รายละเอียดของงานแตละประเภท - ปริมาณงาน (จํานวน) - หนวยในการวัดเพื่อการจายเงิน - อัตราราคาตอหนวย (อาจแยกเปนราคาคาวัสดุ และคาแรงงาน) ของแตละรายการ - ราคารวม - หมายเหตุ (หากจําเปน หรือตองการ) หนาที่และความสําคัญของบัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา ที่ใชในงานกอสราง - แสดงองคประกอบรายละเอียดของงานตาง ๆ - แสดงปริมาณงานและหนวยที่ใชในการวัดและจายเงิน - แสดงราคาของงานแตละประเภท - ใชเพื่อเปรียบเทียบราคาของผูเขาประกวดราคา (Tenderer /Bidder) เพื่อเปนผูรับจางกอสราง (ผูรับเหมา/Contractor) ในโครงการนั้น ๆ - ใชเพื่อเปนราคาฐาน สําหรับงานเพิ่มเติมในโครงการนั้น ๆ - ใชเพื่อการเบิกจายเงิน (Payment) หรือการเบิกจายเงินบางสวนในระหวางการกอสราง (Interim Payment) อนึ่งในสัญญา อีพีซี ราคาโครงการจะยึดถือยอดรวมทั้งหมดที่เสนอราคามาเปนหลัก บัญชีแสดง ปริมาณวัสดุและราคา อาจใชประโยชนในการแบงจายเงิน แตโดยทั่วไปจะมีเอกสารการกระจายเงิน แบงจายเปนงวด ๆ (Disbursement Schedule) อยูแลว และที่สําคัญคือใชในการคิดราคางานเพิ่ม ลด ในโครงการ ในสัญญา อีพีซี จะมีแบบฟอรมสําคัญประกอบโครงการตาง ๆ ดังนี้ • แบบฟอรมรายละเอียดของผูเสนอราคา/ผูรับจาง (Contractor Licenses Permits and Approval) • แบบฟอรมรายละเอียดของผูวาจาง (Employer Licenses Permits and Approval) • บัญชีแสดงรายละเอียดของผูรับจางชวง (List of Sub-Contractors)
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
24 |
การบริหารสัญญา
• แบบฟอรมแสดงรายละเอียดการปรับเรียกคาเสียหายจากความลาชา และคาเสียหายจากการที่ ผลงานไมไดตามสัญญาที่ระบุไวในหนังสือคํ้าประกันการดําเนินการโครงการ (Liquidated Damages for Late Completion of Works and Failure to meet the Guaranteed Performance Levels) • รายละเอียดของสัญญาสัมปทาน (Concession Agreement Pass through Obligations) • แผนที่ตั้งโครงการ • แผนงานกอสราง นอกจากนี้ก็อาจมีขอตกลงพิเศษอื่น ๆ เปนกรณีพิเศษเชนขอตกลงการซื้อขายพลังงาน เปนตน 7. เงื่อนไขของสัญญา (Conditions of Contract) เงื่อนไขของสัญญาประกอบดวย เงื่อนไขทั่วไปของสัญญา และเงื่อนไขเฉพาะ 7.1 เงื่อนไขทั่วไป (General Conditions) เปนเอกสารที่เปนสวนหนึ่งของเอกสารสัญญา เปนสวน ที่ระบุความรับผิดชอบพันธะหนาที่และสิทธิของคูสัญญา ตลอดจนระบุรายละเอียดของเงื่อนไขตาง ๆ ที่บังคับใชในงานตามสัญญา นอกจากนี้ยังตองระบุหนาที่ความรับผิดชอบของวิศวกรที่ปรึกษา (หรือผู ควบคุมงานหรือผูบริหารโครงการแลวแตกรณี) อาจกลาวไดวาเงื่อนไขแหงสัญญาเปนเครื่องมือการ บริหารความเสี่ยงอยางหนึ่งของผูรางสัญญา เงื่อนไขของสัญญาโดยทั่วไปจะประกอบดวย รายละเอียดตาง ๆ 10 เงื่อนไขหลัก ดังตอไปนี้ 10 เงื่อนไขหลักประกอบดวย (1) เงื่อนไขทั่วไป (General Provisions) เชน บทนิยาม การตีความ ภาษา กฎหมายที่ใช ชิ้นงานที่ มอบหมาย สวนที่เปนความลับ ความรับผิดรวม ขอจํากัดความรับผิด เปนตน (2) เงื ่ อนไขว า ด วยผู ว า จ าง วิ ศ วกร ผูร ับจา ง ผูร ับจา งช วง และงานออกแบบ (Employer, Engineer, Contractor, Sub-contractor and Design) ซึ ่ ง จะระบุ ถ ึ ง สิ ท ธิ หน า ที่ และความ รับผิดชอบของผูมีบทบาทหลักในสัญญา ขอตกลงเกี่ยวกับทีมงาน นิติสัมพันธในสัญญา การจัดการทาง การเงินระหวางกัน การเขาไซตงาน การกําหนดตัวผูแทนวิศวกร การเปลี่ยนตัววิศวกรผูรับผิดชอบ ขอ กําหนดการดําเนินงานของวิศวกร การประชุม การรายงานความคืบหนา ความปลอดภัยของไซตงาน การนําขอมูลจากไซตงานไปใช การทําสัญญากับผูรับจางชวง เปนตน (3) เงื่อนไขวาดวยคนงาน แรงงาน โรงงาน เครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ (Staff, Labour, Plant, Materials, and Workmanship) ซึ่งเกี่ยวกับสิทธิ หนาที่ และความรับผิดชอบของผูมีสวน เกี่ยวของในลักษณะดังกลาว คาจาง การวาจาง ชั่วโมงการทํางาน สาธารณูปโภคและสวัสดิการ สถานที่ สุขภาพและความปลอดภัย การบันทึกการเขางาน ความเปนเจาของของวัสดุอุปกรณ การเขา ตรวจสอบงาน เปนตน (4) เงื่อนไขวาดวยการเริ่มงาน ความลาชาของงาน การระงับชั่วคราวหรือยืดระยะเวลาของงาน ข อผิ ด พลาด/ข อบกพร อ ง การทดสอบเมื่อเสร็จ งานและหลั งเสร็จ งาน (Commencement, Delays, Suspension, Defects, and Completion) ซึ ่ ง รวมถึ ง การวางแผนงานโครงการ สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
25 | การบริหารสัญญา ระยะเวลา การเตือน การทํางานลาชา คาเสียหายจากความลาชา คาใชจายอื่นเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ และสถานที่เมื่อเกิดทํางานลาชาหรือการชะลองาน การชะลองานโดยผูวาจาง การทดสอบทั้งเมื่อเสร็จ งานและหลังเสร็จงาน เกณฑการผานหรือตกในการทดสอบ ฯลฯ (5) เงื่อนไขวาดวยการวัดและประเมินผลงาน การปรับเปลี่ยนงาน ราคา และการชําระราคา ( Measurement and Evaluation, Variations and Adjustments, Contract Price and Payment) ซึ่งรวมถึงเนื้องานหรือชิ้นงานที่จะตองงถูกประเมิน วิธีการประเมิน การละเลยหรือทิ้งงาน การปรับเปลี่ยนงาน การกําหนดราคา การชําระเงินลวงหนา ตารางการชําระเงิน การชําระเงินลาชา สกุลเงินที่ใชในการชําระเงิน เปนตน (6) เงื่อนไขวาดวยการเลิกสัญญาโดยผูวาจาง การระงับชั่วคราวหรือการเลิกสัญญาโดยผูรับจาง ช ว ง (Termination by Employer, Suspension and Termination by Contractor) ระบุ ถึงเหตุและสิทธิของผูวาจางและผูรับจางในการดําเนินการดังกลาว ตลอดจนภาระผูกพัน คาใชจาย และการชําระเงินภายหลังการเลิกสัญญา (7) เงื่อนไขวาดวยความเสี่ยงและความรับผิดชอบ (Risk and Responsibility) เปนขอสัญญาที่ ระบุถึงหนาที่และความรับผิดชอบในการดูแลงานตาง ๆ การถือสิทธิในทรัพยสินทางปญญา ความเสี่ยง และการบริหารความเสี่ยง คาสินไหมทดแทน หรือการชดเชยในกรณีตาง ๆ (8) เงื่อนไขวาดวยการประกันสัญญา (Insurance) ซึ่งเปนหลักการตาง ๆ ที่สัญญาฉบับนั้น ๆ กําหนดเงื่อนไขวาจะตองมีการทําประกันอะไรบาง อยางไรบาง ในวงเงินเทาใด โดยบุคคลใด เปนตน (9) เงื่อนไขวาดวยเหตุสุดวิสัย (Force Majeure or Exceptional Events) ระบุถึงเหตุสุดวิสัย ตาง ๆ การบอกกลาวเปนหนังสือเมื่อมีเหตุสุดวิสัยเกิดขึ้น ไปจนถึงหนาที่และความรับผิดชอบของ ผูเกี่ยวของในสัญญาในกรณีเกิดเหตุสุดวิสัย 10 เงื ่ อ นไขว า ด ว ยข อ เรี ย กร อ ง ข อ พิ พ าท และอนุ ญ าโตตุ ล าการ (Claims, Disputes, and Arbitration) ซึ่งเปนขอสัญญาเกี่ยวกับสิทธิเรียกรองตามกฎหมายหรือตามสัญญา การดําเนินการเมื่อ มีขอพิพาทระหวางคูสัญญา การระงับขอพิพาท การตั้งอนุญาโตตุลาการ การวินิจฉัยและการตัดสิน ของอนุญาโตตุลาการ เปนตน 7.2 เงื ่ อ นไขเฉพาะ หรื อ เงื ่ อ นไขพิ เ ศษ (Special Conditions, Conditions of Particular Application, Contract Particulars or Supplementary Conditions) เปนการระบุเ งื่ อนไข เพิ่มเติมเพื่อใชเฉพาะกับงานใดงานหนึ่งเปนการเฉพาะเทานั้น เงื่อนไขเฉพาะโครงการควรมีหัวขอของเงื่อนไขสวนนี้ตรงกับหรือสอดคลองกับหัวขอของเงื่อนไขทั่วไป 8. เอกสารความตองการของเจาของงาน (Employer’s Requirement) โดยที่สัญญา อีพีซี จะกําหนดใหผูรับจางเปนผูออกแบบรายละเอียด ฉะนั้น เจาของงานของตองระบุ ขอบเขตของงาน ขอกําหนดความตองการเฉพาะ เอกสารฉบับนี้จะมีความสําคัญและถือเปนหัวใจของ งานอีพีซี โดยจะประกอบดวยขอมูลดังตอไปนี้ สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
26 |
การบริหารสัญญา
• เอกสารแสดงขอบเขตของงาน • ขอกําหนดความตองการของเจาของงานโดยเฉพาะ • ขอมูลพื้นฐานที่จําเปนในการออกแบบรายละเอียด ไดแก - รายงานสภาพทางภูมิประเทศ - รายงานสภาพทางธรณีวิทยา - รายงานอุทกวิทยา - รายงานสภาพภูมิอากาศ • แบบเคาโครงพื้นฐาน (Basic Design Drawings) • รายงานการออกแบบเคาโครงพื้นฐาน (Basic Design Report) • ขอมูลวัสดุ อุปกรณ เครื่องจักร หรือกระบวนการผลิต เฉพาะเจาะจงที่ตองการเปนพิเศษ 9. ขอกําหนด (Specifications) คือเอกสารซึ่งกลาวถึงความประสงค ความตองการของผูออกแบบ เจาของงาน หรือเจาของโครงการ เพื่อสื่อสารไปยังบุคลากรผูที่เกี่ยวของในงานตาง ๆ เชน งาน กอสราง งานผลิต งานพัฒนาซอฟตแวร ฯลฯ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อกําหนด ขอบเขตงาน อธิบายคํา จํากัดความ นิยามที่ใชในงานนั้น มาตรฐานที่ตองการใหใช ชนิด ขนาด และรายละเอียดของวัสดุ เครื่องจักร เครื่องมือ ตลอดจนถึงวิธีการกอสรางหรือวิธีการดําเนินงาน รวมถึงคุณภาพของฝมือ แรงงาน ความละเอียดและถูกตองในงานนั้น
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
27 |
การจัดการสัญญา
4. การจัดการสัญญา (Contract Management) การจัดการสัญญา (Contract Management): งานภายหลังจากการลงนามในสัญญาแลว การจัดการสัญญาเกิดขึ้นหลังจากสัญญามีผลบังคับใช โดยจะตองมั่นใจวาขอกําหนดและเงื่อนไขที่มีอยู ในสัญญานั้นสามารถปฏิบัติตามได และคูสัญญาทั้งสองฝายพอใจในภาระขอผูกพันตามสัญญาทั้งหมด เชนเดียวกับการจัดการที่จําเปนสําหรับการดําเนินงานดานอื่น ๆ ของคูสัญญาอยางเหมาะสม แตโดยทั่วไป เรามักไดยินโดยรวมวา การบริหารจัดการสัญญา (Contract Administration and Contract Management) 4.1 การจัดการสัญญาคืออะไร? การจัดการสัญญาเกิดขึ้นหลังการที่สัญญามีผลบังคับใช ดังนั้นจะตองแนใจวาไดปฏิบัติตามขอกําหนด และเงื่อนไขที่มีอยูในสัญญา และคูสัญญามีภาระผูกพันตามสัญญาอยางเปนที่นาพอใจ ในระหวางขั้นตอนการจัดการสัญญา เปนไปไดเสมอที่สถานการณจะเปลี่ยนแปลงโดยจําเปนตองแกไข ขอตกลงสัญญา แนนอนวาทีมจัดการสัญญาจะตองทํางานอยางใกลชิดกับคูสัญญา ดังนั้นจึงเปนการดี ที่จะทราบถึงรายละเอียดความสัมพันธในการทํางาน ดังนั้นผูจัดการโครงการและผูจัดการสัญญาจึง ควรมีการติดตอสื่อสารอยางใกลชิด ขั้นตอนของการจัดการสัญญา ขั้นตอนสําคัญเจ็ด ขั้ นตอนของกระบวนการจัด การสัญญาจะเพิ่มความสามารถในการปฏิ บัต ิ ต าม ขอกําหนดของสัญญาซึ่งจะทําใหไดผลลัพธดีที่สุด (1) ขั้นตอนการวางแผนบริหารจัดการสัญญา ในระหวางขั้นตอนการวางแผน จะตองรางรายละเอียดเฉพาะในเรื่องเรงดวนที่สุด เพื่อทราบถึงความ ตองการและเปาหมาย จากนั้นกําหนดประเภทของวิธีการหรือระบบที่จะชวยใหสามารถจัดการกับ ประเด็นเหลานั้นไดดีที่สุด โดยจะตองพิจารณาทรัพยากรที่มีอยูเพื่อจัดสรรใหเขากับกระบวนการ จัดการสัญญา (2) ขั้นตอนการดําเนินการ หลังจากทราบถึงกระบวนการจัดการสัญญาวาควรมีลักษณะอยางไร จะสามารถเริ่มใชเครื่องมือและ ระบบที่จําเปนเพื่อสนับสนุนการจัดการเหลานั้น โดยจะสามารถจัดการติดตามวันครบกําหนดสงมอบ และภาระผูกพันอื่น ๆ อาจดวยวิธีการใชโปรแกรมตารางคํานวณทั่วไป หรือหากเปนโครงการที่มีความ ซับซอนมากขึ้น ก็อาจพิจารณาใชโปรแกรมการจัดการสัญญาโดยเฉพาะเพื่อชวยใหสามารถติดตาม ขอตกลงและวันครบกําหนดที่สําคัญ ดังนั้นในกระบวนการจัดการสัญญาของทีมงาน จึงควรมีการฝกอบรมและฝกฝนการใชโปรแกรม เกี่ยวกับการจัดการสัญญา สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
28 |
การจัดการสัญญา
(3) ขั้นตอนกอนการทําสัญญา ในระหวางขั้นตอนกอนสัญญา จะตองมีการประสานงานอยางใกลชิดกับการบริหารสัญญา เพื่อทํา ความเขาใจรายละเอียดที่สําคัญของสัญญาขอตกลง สิ่งนี้จะชวยเตรียมความพรอมในกระบวนการ จัดการสัญญา รวมถึงแนวทางเฉพาะตาง ๆ ที่จะชวยใหสามารถจัดการสัญญาและสงมอบงานไดอยาง มีประสิทธิภาพ (4) ขั้นตอนการสงมอบ หากบุคคลที่เจรจาขอตกลงมิใชบุคคลเดียวกับผูดําเนินการสงมอบงานตามขอกําหนดของสัญญา จําเปนตองมีกระบวนการสงมอบที่ละเอียด โดยมีการประชุมเฉพาะเพื่อใหมั่นใจวามีการจัดตําแหนง และความเขาใจรวมกันในบทบาทความรับผิดชอบและการสงมอบ (5) ขั้นตอนทําสัญญา ขั้นตอนทําสัญญาคือเมื่อดําเนินการงานที่กําหนดไวในขอตกลงและการสงมอบงานเสร็จสมบูรณ โดย เปนไปตามระยะเวลาและงบประมาณที่ตกลงกันไว โปรแกรมการจัดการสัญญาจะสามารถชว ยให สามารถติดตามและใหขอมูลพื้นฐานที่จําเปนสําหรับการวัดประสิทธิภาพ เชนการแจงเตือนอัตโนมัติ และมีการแจงเตือนกําหนดการสงรายงานที่เกี่ยวของกับการสงมอบงาน รวมถึงกําหนดระยะเวลาวันที่ สําคัญอื่น ๆ (6) ขั้นตอนการตออายุสัญญาลวงหนา โดยทั่วไปเมื่อระยะสัญญาสิ้นสุดลง จะตองพิจารณาวาตองการเจรจาตออายุสัญญาใหม หรือยุติสัญญา บอยครั้งที่มีขอกําหนดใหตอสัญญาโดยไมมีบทลงโทษ ดังนั้นเพื่อประโยชนสูงสุด จะตองวางแผนใน สถานการณเหลานี้กอนวันสิ้นสุดของสัญญา (7) ขั้นตอนหลังสัญญาสิ้นสุดลง เมื่อสัญญาสิ้นสุดลงและไดมีการตกลงกัน กอนที่งานตามสัญญาจะเสร็จสมบูรณ จําเปนตองตรวจทาน ขอกําหนดของสัญญาอยางละเอียด เพื่อยืนยันวาไดปฏิบัติตามเงื่อนไขทั้งหมดแลวและไดชําระเงินตาม ใบแจงหนี้แลว สุดทายการตรวจสอบขั้นสุดทายจะทราบถึงขอมูลที่สําคัญเกี่ยวกับสัญญา และกระบวนการจัดการ สัญญารวมถึงความสําเร็จและขอบกพรองที่จะชวยใหสามารถปรับปรุงสัญญาขอตกลงในอนาคต 4.2 แนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการสัญญา การจัดการสัญญาและวิธีแกไขปญหามีหลายวิธีในการบรรลุเปาหมายของการทําสัญญา แนวทาง ปฏิบัติที่ดีในการจัดการสัญญา มีขอสําคัญที่ใชไดกับทุกสถานการณโดยไมคํานึงถึงขนาดและความ ซับซอนของสัญญา ดังนี้
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
29 | การจัดการสัญญา (1) เก็บรักษาสัญญาทั้งหมดไวในที่เดียว ในการจัดการสัญญาของคุณอยางมีประสิทธิภาพตองทราบวาสัญญาอยูที่ไหน ดวยการรักษาสัญญา ทั้งหมดไวในที่เดียว และตองทราบอยางแมนยําวาจะไปหาขอตกลงหรือติดตามวันที่ตามขอกําหนด และรายละเอียดสัญญาไดที่ใด บทใด ขอใด (2) กําหนดและวัด KPI การจัดการสัญญา การตั ้ งค า และวั ด KPI การจั ดการสั ญ ญาเปน วิธ ี ที่ด ีที ่ส ุดในการพิจ ารณาว าการจัด กานสั ญ ญามี ประสิทธิภาพเชนไร และชวยใหสามารถแบงปนขอมูลนั้นกับผูเกี่ยวของ ภายใน KPI เหลานี้ยังชวยให สามารถระบุสวนที่ไมมีประสิทธิภาพของกระบวนการจัดการสัญญา และพัฒนากลยุทธเพื่อปรับปรุง โดยลดความเสี่ยง ลดคาใชจายที่ไมจําเปน หรือหาโอกาสขอผิดพลาดในสัญญาขอตกลงนี้ (3) ความปลอดภัยในการจัดเก็บขอมูลและการเขาถึง ฝายกฎหมายและผูจัดการสัญญาจะตองหาความสมดุลที่เหมาะสมระหวางความปลอดภัยของสัญญา และการเขาถึง ผูใชโปรแกรมการจัดการสัญญาจะตองมีที่เก็บที่ปลอดภัยสําหรับสัญญาทั้งหมดและ สามารถกําหนดระดับการเขาถึงที่แตกตางกันไดอยางงายดาย ดังนั้นผูใชและกลุมที่เฉพาะเจาะจง เทานั้นจึงสามารถดูขอมูลบางประเภทได สิ่งนี้จะชวยใหทีมกฎหมายแบงปนความรับผิดชอบในการ จัดการสัญญาโดยไมสูญเสียการควบคุมในการเก็บขอมูล (4) การติดตามกําหนดเวลาอนุมัติตามสัญญา สัญญาที่มีประสิทธิภาพจะตองมีการอนุมัติไดเร็วที่สุด เพื่อใหกระบวนการนั้นมีประสิทธิภาพสูงสุด จําเปนตองมีระบบในการตรวจสอบ การติดตามเวลาอนุมัติสัญญาจะชวยใหเขาใจวงจรของสัญญา และสามารถพิจารณาไดวาจําเปนตองมีการปรับปรุงหรือไม (5) การสื่อสารสัญญาอัตโนมัติ เทคโนโลยีการจัดการสัญญาในทุกวันนี้ จะชวยใหทีมกฎหมายสามารถจัดการกระบวนการทําสัญญา อัตโนมัติไดหลายดาน โดยเฉพาะอยางยิ่งการสื่อสาร ตัวอยางเชนที่เก็บบนคลาวดชวยใหผูใชสามารถ กําหนดเวลาและสงการแจงเตือนสัญญาอัตโนมัติเฉพาะบุคคลไดโดยไมตองใชการแจงเตือนดวยตนเอง และอีเมลที่ไมจําเปน และดวยเทคโนโลยีที่ทันสมัยจํานวนมาก ทําใหไมจําเปนตองสงเอกสารแบบเดิม ไปมาเพื่อการลงนาม โดยหันไปใชตัวเลือกลายเซ็นอิเล็กทรอนิกสเพื่อสามารถดําเนินการทันที (6) ดําเนินการทบทวนการปฏิบัติตามปกติ ขอดีอยางหนึ่งของการมีกระบวนการจัดการสัญญาที่มีโครงสรางที่ดี คือความสามารถในการปรับปรุง องค กรให ส อดคล องกับ กฎระเบี ยบทางอุตสาหกรรม โดยการตรวจสอบกฎระเบีย บราชการและ กฎหมายอื่น ๆ อยางสมํ่าเสมอ และทําใหมั่นใจวาสัญญานั้นเปนไปตามกฎหมาย สามารถปองกันธุรกิจ จากการผิดกฎหมายและถูกปรับได จึงจําเปนตองตรวจสอบการปรับปรุงของกฎระเบียบที่เกี่ยวของ เปนประจํา และตรวจสอบสัญญาที่ใชงานอยูเพื่อพิจารณาวาจําเปนตองดําเนินการใดเพื่อใหสอดคลอง ตามกฎหมาย สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
30 |
การจัดการสัญญา
(7) การคาดการณความตองการทางธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงไป ธุรกิจและวัตถุประสงคสวนใหญมีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ดังนั้นจึงเปนสิ่งสําคัญที่จะตอง คาดการณการเปลี่ยนแปลงเหลานั้นและปรับสัญญาใหสอดคลองอยูเสมอ หากธุรกิจเติบโตอยาง รวดเร็ว และทราบถึงความตองการที่จะเปลี่ยนแปลงไปในระยะเวลาอันสั้น มากกวาเพียงแคตออายุ สัญญาสําหรับบริการที่มีอยู จําเปนตองพิจารณาทบทวนอยางใกลชิดเพื่อพิจารณาวาเหมาะสมหรือไม ที่จะปรับเปลี่ยนหรือเจรจาตกลงใหมตามวัตถุประสงคที่เปลี่ยนแปลงไป 4.3 ขั้นตอนในการปรับปรุงการจัดการสัญญา หากกระบวนการจั ด การสั ญ ญาจํ า เป น ต อ งมี ก ารปรั บ ปรุ ง ขั ้ น ตอนต อ ไปนี ้ จ ะสามารถนํ า ไปสู ความสําเร็จในการจัดการสัญญาไดอยางรวดเร็ว (1) ดําเนินการตรวจสอบสัญญาทั้งหมดที่เกี่ยวของ กอนที่จะเริ่มดําเนินการเพื่อแกไขปญหาการจัดการสัญญา สิ่งสําคัญที่สุดคือตองเขาใจวาปญหา เหลานั้นคืออะไร การดําเนินการตรวจสอบการจัดการสัญญาซึ่งรวมถึงผูมีสวนไดสวนเสียในทรัพยากร และกระบวนการทั้งหมดในองคกร ซึ่งจะสงผลตอวิธีการจัดการสัญญาตั้งแตการเจรจาจนถึงการ ดําเนินการและการจัดการ (2) พัฒนากรอบการจัดการสัญญา จากการตรวจสอบสามารถนําวิธีการมาจัดการรายละเอียดของสัญญา กรอบนี้ควรจัดการในทุกสวน ของกระบวนการจัดการสัญญาและกําหนดสิ่งที่ควรเกิดขึ้นในแตละขั้นตอนอยางชัดเจน แผนควร รวมถึงสิ่งตาง ๆ เชนบทบาท และแผนกที่รับผิดชอบงาน รวมถึงกระบวนการตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับ สัญญา วิธีการวัดประสิทธิภาพการจัดการสัญญา เครื่องมือ และระบบตาง ๆ ที่ควรใชในระหวาง กระบวนการจัดการสัญญา (3) ใชเทคโนโลยีชวยเพื่อทําใหงายขึ้น การใชโปรแกรมการจัดการสัญญาโดยเฉพาะสามารถปรับปรุงความสามารถในการจัดการรายละเอียด ของสัญญาที่มีระดับความซับซอนมาก ใหสามารถกําหนดการสงมอบไดตามกําหนดเวลาที่เกี่ยวของใน สัญญา 4.4 กระบวนการจัดการสัญญา ไมวาจะเปนสัญญาธุรกิจขนาดเล็ก หรือใหญ จําเปนที่จะตองทุมเทในการเตรียมการเจรจาต อรอง ดําเนินงานและตรวจสอบสัญญา วงจรการจัดการสัญญา จะมีความทาทายหลายประการ ที่จะทําให งานลาชา หรือสามารถลดคาใชจายของบริษัท ในแงของความลาชาและเสียคาปรับ จึงจําเปนตอง เรียนรูเกี่ยวกับกระบวนการจัดการสัญญาเหลานี้ และผลที่ตามมาในการจัดการสัญญา ซึ่งจะสามารถ ชวยเปนแนวทางในการปฏิบัติงานที่ดี สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
31 | การจัดการสัญญา (1) ขอบเขตของสัญญาที่ไมชัดเจน ปญหาในการจัดการสัญญาเกิดขึ้นเมื่อสัญญามีขอกําหนดและเงื่อนไขที่ไมชัดเจน และไมไดระบุความ รับผิดชอบระหวางคูสัญญาอยางชัดเจน ซึ่งสามารถสรางปญหาแกทั้งสองฝายในอันที่จะไมสามารถ ปฏิบัติตามขอตกลงได ในขณะเดียวกัน ระหวางขั้นตอนการปฏิบัติตามสัญญา ก็สามารถสรางความขัดแยงได ทําใหตองเสีย คาใชจายมากขึ้น และเกิดความลาชาในโครงการ. (2) การจัดการสัญญาในขอที่ไมไดเขียนไว การจัดการวงจรสัญญายังสามารถเกิดปญหาจากขอสัญญาทางวาจา ซึ่งมิไดทําเปนลายลักษณอักษร เมื่อไมมีเอกสารที่สามารถอางถึงขอกําหนดและเงื่อนไขทั้งหมดของสัญญา คูสัญญาอาจมีการตีความที่ แตกตางกัน แมวาโดยทั่วไป สัญญาจะยังคงมีสิทธิ์ในการใช แตความสับสนและความขัดแยงตาง ๆ ความสัมพันธ ระหวางคูสัญญาอาจทําใหเกิดความเสี่ยงมากขึ้น (3) การติดตามและการจัดการตนทุน จะตองแนใจวาโครงการอยูในงบประมาณ ซึ่งเปนอีกปญหาหนึ่งที่ตองเผชิญในการจัดการสัญญา ใน กรณีที่มีสัญญาหลายฉบับ การจัดการอาจเปนเรื่องยากที่จะบันทึกคาใชจาย และดําเนินการเพื่อ ควบคุมงบประมาณ ที่กําหนดไวกับผูรับจางแตละราย ซึ่งทําใหเกิดปญหาทางการเงิน และทําใหไม สามารถดําเนินการโครงการใหแลวเสร็จได (4) กระบวนการเจรจาที่ไมมีประสิทธิภาพ กระบวนการเจรจาตอรองที่ยาวนานสามารถสรางความลาชา และสรางความเสียหายใหกับบริษัทใน ดานการเงินและชะลอผลประโยชนของบริษัท จากจุดเริ่มตนของกระบวนการเจรจาอาจใชเวลานาน เกินไปในการรางสัญญาและไมสามารถสื่อสารกับผูรับจางไดอยางมีประสิทธิภาพในการแกไขหรือขจัด ปญหาที่จําเปน กระบวนการเจรจาอาจใชเวลานานเกินไปเมื่อบริษัทตองรอคําตอบจากผูรับจาง ผลกระทบนี้อาจ เลวรายยิ่งขึ้นหากบริษัท ไมไดใชระบบการจัดการสัญญาอิเล็กทรอนิกส เนื่องจากการจัดการเอกสาร แบบปรกติจะใชเวลาในการติดตอสื่อสารมากกวา (5) กระบวนการตรวจสอบสัญญาที่ไมดี กระบวนการจัดการสัญญา จําเปนตองตรวจสอบสัญญาเปนประจํา เพื่อความชัดเจนและความเสี่ยง ทางกฎหมาย การตรวจสอบสัญญาอยางไมเหมาะสมและไมชัดเจนอาจนําไปสูขอพิพาท เกิดความ ลาชา และอาจกอใหเกิดปญหาทางกฎหมาย นอกจากนี ้ ก ระบวนการตรวจสอบทางกฎหมายอาจทํ า ให ก ระบวนการลงนามในสั ญ ญาล า ช า โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อขาดความระมัดระวัง จึงจําเปนตองตรวจสอบโดยผูเชี่ยวชาญดานกฎหมาย
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
32 |
การจัดการสัญญา
(6) การตออายุสัญญา กอนจะหมดอายุสัญญา จําเปนตองตัดสินใจเรื่องการตออายุสัญญา กรณีที่มีหลายสัญญาอาจมีปญหา ทําใหงานหยุดชะงักเมื่อลืมที่จะตออายุสัญญา การจัดการสัญญาที่หมดอายุและการตออายุที่ไมถูกตอง จะทําใหการเรียกเก็บเงินคาบริการมีปญหา (7) ความลมเหลวเนื่องจากการสื่อสารไมดี ตั้งแตเริ่มสัญญาไปจนถึงขั้นตอนการแลวเสร็จจะตองมีการสื่อสารกับผูรับจางตลอดเวลา สิ่งนี้จะชวย ใหเขาใจในเงื่อนไขของสัญญา จัดการปญหาดานประสิทธิภาพไดทันที และรับทราบขอมูลเกี่ยวกับ โครงการ เมื่อการสื่อสารไมดีพอ จะเกิดความเสี่ยง ซึ่งไมเพียงแตกระบวนการแลวเสร็จของโครงการจะใช เวลานานขึ้นเทานั้น อาจสงผลใหสูญเสียเวลาและเงินจํานวนมากและอาจเปนผลเสียตอธุรกิจ (8) การตรวจสอบการปฏิบัติตามสัญญา ผูจัดการสามารถพบปญหาจากการตรวจสอบการปฏิบัติตามขอตกลงของสัญญา เพราะยากที่จะทราบ ถึงประสิทธิภาพการทํางานของผูรับจางไดตลอดเวลา ในขณะที่โครงการอาจเลือกผูรับจางที่มีชื่อเสียง แตในบางครั้งอาจทํางานมีประสิทธิภาพตํ่าหรือไมปฏิบัติตามขอใดขอหนึ่งในขอในสัญญาอยางถูกตอง สิ ่ งนี ้ อาจทํ า ใหเ กิ ดป ญ หาได ห ากคุ ณไมติดตอกับ ผูรับ จางอยางใกลช ิด และหากไมมีเวลาในการ ตรวจสอบผูรับจาง หรือไมทราบเงื่อนไขทั้งหมดของสัญญาดวยตนเอง อาจทําใหพลาดประเด็นสําคัญที่ ตองจัดการใหทันการณ (9) การใชเทคโนโลยีไมเหมาะสม การใชทรัพยากรทางเทคโนโลยีที่ไมเหมาะสม อาจสรางปญหาในการจัดการสัญญาไดหลายประการ เมื่อตองมีการติดตามการปฏิบัติงาน การติดตามตนทุนและกําหนดเวลาการมีเอกสารที่ตองลงนามและ จัดการบันทึก ตาง ๆ กระบวนการจัดการสัญญาทั้งหมดอาจลาชา เนื่องจากเนื่องจากความไรประสิทธิภาพในการทําทุ ก อยางดวยวิธีปรกติแบบดั้งเดิม ทายที่สุดอาจจะตองสงเอกสารกลับไปกลับมากับผูรับจาง และใชเวลา อย างมี น ัย สํ า คั ญ ในการตรวจสอบด ว ยตนเอง การใชโ ปรแกรมการจัด การสั ญ ญาสามารถทํ า ให กระบวนการเหลานี้เปนไปโดยอัตโนมัติและปองกันขอผิดพลาด (10) ผลที่ตามมาของการจัดการสัญญาที่ไมดี ปญหาการจัดการสัญญาเหลานี้มีผลทําใหโครงการลาชาหรือลมเหลว ผลที่ตามมาของการจัดการ สัญญาที่ไมดีอาจรวมถึงบทลงโทษและการฟองรองสําหรับการไมปฏิบัติตามขอกําหนดของสัญญา อาจ มีการยกเลิกสัญญา การจัดการสัญญาที่ไมดีอาจทําใหเอกสารสําคัญผิดพลาดได เกิดความสับสนทําใหตองมีการทํางานซํ้า จนกระทบตอสัญญาโดยรวม
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
33 | การจัดการสัญญา (11) แนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการสัญญา การพิจารณาขั้นตอนเพื่อจัดการสัญญาอยางมีประสิทธิภาพ และปองกันปญหาที่เกิดจากการไมปฏิบัติ ตามสัญญาดวยการนําโปรแกรมการจัดการสัญญาไปใชจะชวยเพิ่มความรวดเร็วในการเจรจาและลด ขั้นตอนการลงนาม รวมถึงการตรวจสอบและควบคุมสัญญาตั้งแตตนจนจบ การใชเครื่องมือนี้จะชวย ใหทุกฝายสามารถติดตามการเปลี่ยนแปลง ที่รองขอไดงายขึ้น และมีการจัดทําบันทึกอยางละเอียดที่ จะชวยลดขอพิพาทที่อาจเกิดขึ้น ทั้งยังสามารถชวยปรับปรุงความปลอดภัยของเอกสาร โดยไมตอง กังวลเกี่ยวกับความสับสนในการรับสงเอกสาร นอกจากนี้ควรตรวจสอบใหแนใจวามีขอมูลเพียงพอที่จะทําใหสัญญาเปนปจจุบัน และตองแนใจวา แผนงานมี เพื่อใหงายตอการจัดการกับขอพิพาทในอนาคต การพิจารณาเอกสารจากการเรียนรูในสัญญาที่ผานมา จะทําใหมีขอเสนอแนะที่สามารถนํากลับมาอางอิงได ควรจัดใหมีการฝกอบรมวิธีปฏิบัติที่ดีในการ จัดการสัญญา (12) การวิเคราะหกระบวนการจัดการสัญญา วัตถุประสงคในสวนนี้คือการทบทวนกระบวนการโครงการ EPC เพื่อระบุความเสี่ยงระหวางขั้นตอน การดําเนินการตามสัญญา และเพื่อหาวิธีการที่ใชในการจัดการสัญญาการจัดการ การจัดการสัญญาเปนระบบที่ซับซอนและเปนพลวัต เราสามารถสรางโครงสรางสามมิติ เพื่อวิเคราะห (ดูรูปที่ 4-1) (12.1) กระบวนการโครงการ EPC ลักษณะของระบบการสงมอบโครงการ EPC ประกอบดวยสามสวน: การจัดการการออกแบบ การจัดการการจัดซื้อ และการจัดการการกอสราง ทั้งสามสวนจะอธิบายกระบวนการในรูปแบบตางๆ หนึ่งคือเกี่ยวกับบทบัญญัติของการออกแบบ การ จัดซื้อและการกอสราง สวนอื่น ๆ จะเปนเรื่องเฉพาะกลยุทธที่ผูรับจางใชในงานบริหาร (12.2) การจัดการสัญญา การจัดการสัญญาโครงการ EPC จะประกอบดวยรายละเอียด ดังนี้: การจัดการการเงิน การจัดเรื่อง สุขภาพ ความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม การจัดการดานคุณภาพ การจัดการตารางเวลา การจัดการ ดานทรัพยากรมนุษย และการจัดการดานการจัดซื้อ
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
34 |
การจัดการสัญญา
รูปที่ 4-1 โครงสรางการจัดการสัญญากอสราง EPC ระบบการจัดการสัญญาจะตองมีการกําหนดเปาหมายดานความปลอดภัย คุณภาพ กําหนดการ และ ตนทุนซึ่งเปนพื้นฐานหลักของผูรับจางในการควบคุมโครงการ การจัดการสัญญามีบทบาทสําคัญในการจัดการโครงการ สัญญาจะกําหนดเปาหมายในดานความ ปลอดภัย การกําหนดคุณภาพ และตนทุนซึ่งเปนพื้นฐานหลักของผูรับจางในการควบคุมโครงการ (12.3) คุณลักษณะในการจัดการสัญญา: (1) กระบวนการทั ้ งหมด ตลอดอายุ ของสัญ ญาจะยาวนานมาก เนื่องจากโครงการ EPC ต องใช เวลานานกวาโครงการจะแลวเสร็จสมบูรณ ดังนั้นการจัดการสัญญาจะตองดําเนินการอยางตอเนื่อง ตลอดวงจรชีวิตของโครงการ (2) ความสอดคลองของวัตถุประสงค เปาหมายของการจัดการสุขภาพ ความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม การจัดการคุณภาพ การจัดการตนทุน การจัดการตารางเวลา และการจัดการทรัพยากรมนุษยจะตอง เปนไปตามเปาหมายของวัตถุประสงคโดยรวม (3) มีความเปนระบบ โดยที่เงื่อนไขและสถานการณของสัญญา EPC มีความซับซอน ความสัมพันธ ระหวางสวนตาง ๆ จําเปนพิจารณาทุกแงทุกมุม และจําเปนตองมีการเพิ่มประสิทธิภาพของทรัพยากร (4) มีการปฏิบัติอยางเครงครัด มูลคาโดยทั่วไปของโครงการมักจะสูงมาก จึงจําเปนตองมีการจัดการ ปฏิบัติอยางรัดกุม เครงครัด ความผิดพลาดเพียงเล็กนอยอาจทําใหโครงการลมเหลวโดยสิ้นเชิง ซึ่ง นําไปสูการสูญเสียเงินจํานวนมาก
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
35 | การจัดการสัญญา
รูปที่ 4-2 โครงสรางการจัดการความเสี่ยงในสัญญา การจัดการสัญญาโครงการ EPC สามารถพิจารณาไดจากหกขอหลัก ดังตอไปนี้คือ: การจัดการการเงิน, การจั ด การด า นสุ ข ภาพ ความปลอดภัย และสิ ่ ง แวดล อ ม การจั ด การด า นคุ ณ ภาพ การจั ด การ ตารางเวลา การจัดการทรัพยากรมนุษย และการจัดการการจัดซื้อ ความรูทางวิชาชีพก็มีความสําคัญ มาก (13) การจั ด การด า นสุ ข ภาพ ความปลอดภั ย และสิ ่ ง แวดล อ ม (Health, Safety and Environmental: HSE) (13.1) ทั่วไป เปาหมายของการจัดการ สุขภาพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดลอม คือการรับประกันสุขภาพและความ ปลอดภัยของผูคน ปกปองธรรมชาติ ลดมลพิษ และกระตุนใหเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน (13.2) วิธีการ เพื่อใหบรรลุเปาหมาย จําเปนตองปฏิบติดังนี้: (ก) การกําหนดเกณฑในการจัดการ ขอกําหนดดานสุขภาพ ความปลอดภัย และการคุมครองสิ่งแวดลอมมีความแตกต างกัน ในแต ล ะ ประเทศ จําเปนตองปฏิบัติตามขอกําหนดภายในประเทศนั้น ๆ รวมถึงขอกําหนดในแตละทองถิ่น
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
36 |
การจัดการสัญญา
รูปที่ 4-3 การจัดการดานสุขภาพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดลอม ระบบการจัดการ สุขภาพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดลอม มีองคประกอบหลั ก 8 ประการ เปน แนวทาง และขอสัญญา แนวทางและเปาหมายเชิงกลยุทธ การจัดองคกร ทรัพยากรและเอกสาร การ ประมาณการ และการจัดการความเสี่ยง การจัดโปรแกรม การนําไปใชปฏิบัติ การตรวจสอบและการ ประเมิน ทุกองคประกอบเปนเกณฑที่ฝายบริหารจัดการ สุขภาพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดลอม ตอง ดําเนินการใหบรรลุตามเกณฑที่กําหนดไว คําแนะนําและขอสัญญา คือสวนหลักของระบบการจัดการ องคประกอบอื่น ๆ จะหมุนเวียนวนรอบแกนกลาง และเปนดําเนินการอยางเปนระบบเพื่อใหระบบ ดําเนินการอยางสัมฤทธิผลและหลีกเลี่ยงอุบัติเหตุ (ข) กําหนดมาตรฐานการประเมินระบบการจัดการ และตรวจสอบอยางสมํ่าเสมอ การประเมินควร รวมถึงระบบการจัดการ ที่ตรงกับเปาหมาย และระบบการจัดการ ทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ (ค) จัดตั้งแผนกบริหารจัดการดานสุขภาพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดลอม และแตงตั้งบุคคลที่ มี คุณสมบัติเหมาะสมในการดูแลจัดการ หนาที่ของผูจัดการทุกคนจะตองไดรับการอธิบายและนําไป ปฏิบัติอยางชัดเจนตามที่ระบุในเอกสาร และสามารถชี้แจงได (ง) มีการฝกอบรมพนักงาน เพื่อใหแนใจวาพวกคนมีความรูความเขาใจในระบบการจัดการเปนอยางดี (จ) รับผิดชอบการจัดการของผูรับจางชวงดวย
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
37 | การจัดการสัญญา (14) การจัดการตารางแผนงาน (14.1) ทั่วไป การจั ด การตารางแผนงาน จะทํ า ให แ น ใ จว า งานที ่ ก ํ า หนดบางงานจะแล ว เสร็ จ ในเวลาที่ แน น อน ตามลํ า ดั บ การแล ว เสร็ จ ของงานในเวลาที ่ ก ํ า หนดไว การจั ด การตารางแผนงานจะมี ความสําคัญมาก งานตามแผนการจัดการตารางแผนงาน รวมถึงการกําหนดตารางเวลา การติดตาม โครงการ กําหนดการปรับปรุง และรายงาน เปนงานของแผนกควบคุม และรวมอยูในงานของแผนก วิศวกรรม แผนกจัดซื้อ แผนกกอสราง และแผนกควบคุมคุณภาพ ตารางแผนงานในโครงการจะแบง ออกเปนสามระดับ ระดับแรกเปนการจัดการการวางแผน ผูจัดการจะกําหนดเวลาเริ่มงานและแลว เสร็จสําหรับงานหลัก มีการตรวจติดตาม ในกรณีที่ขอบเขตของสัญญาเปลี่ยนแปลง ระดับความสําคัญ ของงานก็จะยั งคงเหมื อนเดิมไมเปลี่ยนแปลง ระดับที่สองคือการวางแผนงานที่สําคั ญ ระดับนี ้มี รายละเอียดมากกวาระดับที่หนึ่ง แผนกควบคุมดูแลการตรวจสอบและควบคุม จะใชวิธีเสนทางวิกฤต ของโครงการ (Critical Path Method: CPM) ในการจัด การวางแผนงาน ระดับที่สามคื อการวาง แผนการควบคุมรายละเอียด ระดับนี้สามารถเรียกวาการวางแผนการกอสราง ซึ่งเปนวิธีที่ละเอียดมาก ที่สุด แผนกกอสรางจะใชเวลาในการควบคุม และมีการวางแผนปรับปรุงบอยที่สุด (14.2) สาเหตุของความเสี่ยงในแผนงานที่กําหนด (ก) ตารางไดรับการออกแบบเกินขีดความสามารถในการทํางาน (ข) เหตุผลธรรมชาติ (ค) ขอผิดพลาดในการจัดการ เชนการขาดการสื่อสารระหวางหนวยงาน (ง) การเปลีย่ นแปลงทางวิศวกรรม (จ) เหตุผลทางการเงิน (ฉ) ความลาชาในการจัดหาวัสดุและอุปกรณ (14.3) วิธีแกไขปญหาเรื่องแผนกําหนดการเวลา (ก) เปลี่ยนลําดับความตอเนื่องการทํางานงานตาง ๆ (ข) เพิ่มทรัพยากรที่ใชในการทํางาน เชนแรงงานและเครื่องจักร (ค) มีการกระจายทรัพยากร (ง) จางแรงงานภายนอก (Outsource) (จ) เพิ่มประสิทธิภาพการทํางานเชนการฝกอบรมและแรงจูงใจ (ฉ) ลดจํานวนการทํางาน หรือยกเลิกการทํางานในบางสวน
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
38 |
การจัดการสัญญา
(15) การจัดการดานคุณภาพ (15.1) ทั่วไป ไมวาคุณภาพของโครงการจะดีหรือไมนั้นขึ้นอยูกับความพึงพอใจของผูวาจาง นอกจากนี้ยังสามารถวัด ไดตามขอกําหนดในสัญญา ขอกําหนดของคุณภาพโครงการควรเปนไปตามเอกสารสัญญาเอกสาร วิศวกรรมและเกณฑขอกําหนดทางเทคนิค (15.2) แบบจําลองกระบวนการจัดการดานคุณภาพ รูปแบบกระบวนการบริหารคุณภาพโครงการแสดงไดดังนี้: - ผูจัดการโครงการควรทําความเขาใจเกี่ยวกับขอกําหนดผานความรับผิดชอบดานการจัดการ - ระบุและใชทรัพยากรที่จําเปนผานการจัดการทรัพยากร - สรางและดําเนินการตามขั้นตอนผานกระบวนการสรางผลิตภัณฑและการใหบริการ - ตรวจวัด วิเคราะห และปรับปรุงผลลัพธ - มีการจัดการ และมีขอเสนอแนะในขอบกพรองของเอกสาร
รูปที่ 4-5 ระบบการจัดการดานคุณภาพ ตามที่แสดงในภาพดานบน โครงการควรทราบถึงความตองการของเจาของงาน หลังจากมีการจัดหา ผลิตภัณฑและบริการ จะตองดูความพึงพอใจของเจาของงาน ซึ่งจะทําใหทราบไดวาโครงการบรรลุ เปาหมายหรือไม เพื่อตั้งคาระบบการจัดการคุณภาพที่เพียงพอและปฏิบัติไดอยางถูกตอง คูมือคุณภาพ แผนคุณภาพ เอกสารขั้นตอนบันทึกคุณภาพจะตองรวมอยูในงานเหลานี้ ตองมีการตรวจสอบระบบ การจัดการคุ ณภาพอยา งสมํ่ าเสมอ ระบบการประเมิน ควรตั้งคาเพื่อตรวจสอบระบบการจัด การ คุณภาพ หากมีขอผิดพลาด ทุกอยางจะตองมีการวางแผน และเริ่มใหมจากจุดเริ่มตน เพราะคาใชจาย และความสูญเสียจะมีขนาดใหญ เนื่องจากขาดการการควบคุม เจาของงานจะปฏิเสธที่จะยอมรับงาน ในโครงการ เนื่องจากคุณภาพของการกอสรางไมเปนไปตามมาตรฐานหลังจากผานการตรวจสอบ ความรับผิดชอบควรมอบหมายใหกับบุคคลใดบุคคลหนึ่งและตองรับผิดชอบ โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อมี สิ่งผิดปกติเกิดขึ้น มีการประเมินผลอยางสมํ่าเสมอ และตองไดรับความใสใจจากพนักงานทุกระดับ สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
39 | การจัดการสัญญา (16) การจัดการทางดานการเงิน (16.1) ทั่วไป ผลประโยชนทางเศรษฐกิจเปนจุดสําคัญในการประเมินวาโครงการคุมคาหรือไมในระยะยาว ในการ วางแผนตนทุนจะมีมาตรการเพื่อแกไขการเบี่ยงเบนที่เกิดขึ้น การจัดการทางการเงินดวยการจัดการที่ หลากหลายด ว ยการจั ดการทรั พยากรมนุษย และการจัดการวัส ดุส ามารถนํามาใชเพื่อชว ยเพิ่ ม ประสิทธิภาพทางการเงินเพื่อผลประโยชนของบริษัท (16.2) วิธีการจัดการดานการเงิน งานหลั ก ของการจั ด การทางด า นการเงิ น ได แ ก การวางแผนทรั พ ยากร การประมาณต น ทุ น การวางแผนต นทุน และการควบคุ มต นทุน ขั้นตอนการจัดการทางการเงิน แสดงไวตามรูป ที่ 4-6 ดานลางนี้:
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
40 |
การจัดการสัญญา
รูปที่ 4-6 วิธีการจัดการดานการเงิน สถานการณพิเศษที่จะตองพิจารณาคือ: - วางแผนดานการเงิน - วางแผนการจัดการดานการเงิน - วางแผนการชําระเงิน - กําหนดการชําระเงิน - วางแผนตารางเวลา กอนการลงนามในสัญญา จะตองนําสิ่งที่เปนไปไดมาพิจารณาเพื่อใหมั่นใจวา ทุกฝายมีความ รับผิดชอบในสวนของตนเองโดยเฉพาะดานการเงิน ภาระผูกพัน กับเจาของงาน บริษัทที่รับผิดชอบ โครงการ การจัดการเพื่อใหมั่นใจวามีการจายเงินลวงหนาหรือจะจายเมื่อไดไดสงใบแจงหนี้ 4.5 การจัดซื้อจัดหา (1) ทั่วไป ในโครงการ EPC บริษัทจากประเทศตาง ๆ มารวมตัวกัน เพื่อทํางานเฉพาะดาน เมื่อพิจารณาถึง มาตรฐานของวัสดุตาง ๆ แหลงกําเนิดของทรัพยากร ความผันผวนของราคาวัสดุ และความเสี่ยงตาง ๆ สภาพแวดลอมของการออกแบบ จัดซื้อจัดหา และการกอสราง จะมีความสอดคลองตองกัน ซึ่งลวน แตจะมีบทบาทสําคัญในการดําเนินโครงการ (2) ความสอดคลองระหวางการจัดหาและวิศวกรรม (ก) ทําการจัดหาและดานวิศวกรรมในเวลาเดียวกัน การจัดซื้อวัสดุลวงหนาจะทําใหระยะเวลาของ โครงการสั้นลง (ข) การปรั บ ปรุ งระบบการสื ่ อสาร ด ว ยซอฟตแวรที่จ ั ดการโครงการอิเล็ กทรอนิ กส จะมี ผ ลต อ ประสิทธิผลโดยรวมของกระบวนการจัดการ (ค) ลดความสูญเสีย ลดกําหนดระยะเวลาในความลาชาที่เกิดจากการจัดหา ขอควรระวัง: (ก) ไมจําเปนตองซื้อวัสดุสําคัญทั้งหมดจากผูจัดจําหนายที่ดีที่สุด ควรมีการจัดซื้อจากทองถิ่นใหมาก ที่สุด ซึ่งจะทําใหตนทุนการจัดซื้อลดลงอยางมาก ฝายจัดซื้อควรแจงแผนกวิศวกรรมเกี่ยวกับตลาดของ อุปกรณและวัสดุ (ข) วิเคราะหประเภทและปริมาณของวัสดุซึ่งจะชวยในการวางแผนมากขึ้น มีความสมเหตุสมผล และ สามารถลดตนทุน (ค) เจาหนาที่เทคนิคและผูผลิตควรสื่อสารอยางสมํ่าเสมอเพื่อใหมั่นใจวาไดวัสดุที่ถูกตอง (3) ความสอดคลองระหวางการจัดหาและการกอสราง (ก) แผนกจัดซื้อควรใหขอมูลแกแผนกกอสรางโดยเร็วที่สุดเพื่อใหแผนกกอสราง เพิ่อสามารถทําการ เปลี่ยนแปลงที่จําเปนไดทันเวลา สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
41 | การจัดการสัญญา (ข) สําหรับอุปกรณขนาดใหญและสําคัญควรแจงแผนกจัดซื้อลวงหนา (ค) แผนกกอสรางควรติดตอกับแผนกจัดซื้อ โดยแจงใหทันเวลากับการใชงาน 4.6 การจัดการทรัพยากรมนุษย (1) ทั่วไป การจัดการทรัพยากรมนุษยโครงการในระดับสากล จะมีลักษณะเฉพาะของแตละประเทศ ตัวอยางคือ วั ฒ นธรรมและภู มิ หลังที ่ แตกต า งกั น บุคลากรจําเปน ตองใชเวลาในการปรับ ตัวเขากับ การเมือง วัฒนธรรมและกฎหมายของประเทศนั้น ๆ ภาษาเปนสิ่งที่มีความทาทายมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อมี ความเขาใจไมตรงกัน (2) ปญหา ความสามารถในการจัดการของผูรับเหมาชวงและความสามารถทางวิชาชีพไมสามารถกําหนดได เพื่อ ตอบสนองความตองการของการจัดการสถานที่กอสราง ในระหวางการดําเนินโครงการ การไมมีทักษะ ที่จําเปนจะสงผลใหเกิดความสับสน ทักษะและคุณภาพของวัสดุกอสรางไมสามารถตอบสนองความ ตองการ บุคคลากรไมสามารถปรับตัวเขากับประเทศที่ทําการกอสรางได กฎหมาย ศาสนา ประเพณี และสภาพแวดลอมทางธรรมชาติที่รุนแรง ผูรับเหมาชวงบางรายไมชําระเงินตรงตามเวลาหรือตาม แผนที่วางไว โดยเฉพาะในวันพิเศษเชนวันปใหมและงานเทศกาลตาง ๆ (3) วิธีการปรับปรุงสถานการณ: จําเปนตองฝกอบรมการจัดการสัญญาเปนประจํา ซึ่งเปนพื้นฐานในการพัฒนาทักษะการจัดการของ ฝายจัดการ และปรับปรุงการรับรูของพนักงานเกี่ยวกับการจัดการสัญญา มีการปรับปรุงการฝกอบรม พนักงานและการศึกษากอนที่จะไปทํางานตางประเทศโดยเฉพาะภาษา กฎหมาย วัฒนธรรม และ ศาสนา รวมถึงตองเขาใจในความแตกตางของสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ รับรูความเสี่ยงที่เกิดจาก ความแตกตางของศาสนาขนบธรรมเนียมประเพณี และอื่น ๆ
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
42 |
การจัดการ EPC
5. การจัดการการออกแบบ (Engineering/Design Management) ในโครงการ อีพีซี ผูรับจางจะดําเนินการออกแบบตามความตองการของผูวาจาง ตามขอกําหนดและมี ประสิทธิภาพ ความนาเชื่อถือ โครงสรางตาง ๆ จะตองดําเนินการออกแบบตามเกณฑการออกแบบที่ กําหนด ดําเนินการจัดซื้อจัดหา และทําการกอสรางทั้งหมดในลักษณะแบบ 'ครบวงจร' โดยผูวาจาง จะไดรับงานที่แลวเสร็จสมบูรณตามวัตถุประสงคความตองการตามแผนงานในเวลาที่กําหนด มีการ ทดสอบเมื่องานแลวเสร็จภายในงบประมาณที่กําหนดไว บุคคลากรหลักฝายผูวาจางจะมีการแตงตั้ง ผูแทนของผูวาจาง (Employer's Representative) ทําหนาที่ในการกํากับดูแลการกอสราง และดําเนินการตามสัญญาแทนผูวาจาง ความรับผิดชอบในการออกแบบ จัดซื้อจัดหา และกอสราง จะมีความเชื่อมโยงเกี่ยวกับเวลาและตนทุน ภายใต ร ู ป แบบสั ญ ญา อี พี ซี ผู ร ั บ จ า งตกลงราคาเหมาจายคงที่ (lump sum fixed price) และมี ขอบเขตที่จํากัดในเรื่องชองการเรียกรองขยายเวลา และเงินเพิ่มเติม แตโครงการอีพีซี จะมีราคาคอนขางสูง เนื่องจากผูรับจางจะกําหนดราคาความเสี่ยงเปนจํานวนเงิน รวมไวดวย เหนืออื่นใด ในสัญญา อีพีซี คือการจัดสรรความเสี่ยงโดยรวมใหกับผูรับจาง รวมถึงความยากของงานที่ คาดเดาไมได เวนแตจะมีการระบุไวเปนอยางอื่นในสัญญา ผูรับจางจะถือวาไดรับขอมูลที่จําเปนทั้งหมดเกี่ยวกับความเสี่ยง ภาระผูกพัน และสถานการณอื่น ๆ ที่ อาจมีอิทธิพลหรือสงผลกระทบตองาน โดยการลงนามในสัญญา ผูรับจางยอมรับความรับผิดชอบ ทั้งหมดในการคาดการณปญหาทั้งหมด และเผื่อรวมคาใชจายทั้งหมดในการทํางานใหแลวเสร็จ และ ราคาตามสัญญาจะไมมีการปรับคางานที่คาดเดาไมได 5.1 ความรับผิดชอบในการออกแบบ (Design Responsibilty) ผูรับจางมีภาระผูกพันในการออกแบบดําเนินการและทํางานใหเสร็จตามสัญญาเพื่อใหงานสมบูรณและ เหมาะสําหรับวัตถุประสงคตามที่กําหนดไวในสัญญา รวมถึงจะแกไขขอบกพรองตาง ๆ ในงาน เมื่อ แลวเสร็จ ผลงานจะตองเหมาะสมกับวัตถุประสงคของงานกอสรางตามที่กําหนดไวในสัญญา 5.2 พันธะทั่วไปในการออกแบบ (General Design Obligations) ผูรับจางจะตองพิจารณาถึงวัตถุประสงค ความตองการของผูวาจาง (รวมถึงเกณฑการออกแบบ และ การคํานวณ) ผูวาจางจะไมรับผิดชอบตอขอผิดพลาดความไมถูกตองหรือการละเวนใด ๆ ตามวัตถุประสงค ความ ตองการของผูวาจาง ตามที่ระบุไวในสัญญา และจะไมถือวาการใหขอมูลที่ไมถูกตองหรือครบถวน หรือ ขอมูลใด ๆ ยกเวนที่ระบุไว ที่ผูรับจางไดรับจากผูวาจาง หรืออื่น ๆ จะไมชวยลดภาระหนาที่ของผู รับจางจากความรับผิดชอบในการออกแบบและการดําเนินงาน สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
43 | การจัดการ
EPC
อยางไรก็ตามผูวาจางจะตองรับผิดชอบตอความถูกตองของสวนตางๆตามวัตถุประสงต ความตองการ ของ ผูวาจาง และขอมูลที่ผูวาจาง (หรือในนามของผูวาจาง) จัดหาใหตอไปนี้ (ก) สวนขอมูลและขอมูลที่ระบุไวในสัญญา ไมสามารถเปลี่ยนแปลงไดถือเปนความรับผิดชอบของผู วาจาง (ข) คําจํากัดความของวัตถุประสงคของงานหรือสวนใดสวนหนึ่งของงาน (ค) เกณฑสําหรับการทดสอบและการปฏิบัติงานที่เสร็จสมบูรณ และ (ง) บางสวนของขอมูลและขอมูลที่ไมสามารถตรวจสอบไดโดยผูรับจาง เวนแตจะระบุไวเปนอยางอื่น ในสัญญา 5.3 เอกสารของผูรับจาง (Contractor’s Document) เอกสารของผูรับจางประกอบดวยเอกสารทางเทคนิคตามที่ระบุในเอกสารวัตถุประสงค ความตองการ ของผูวาจาง เอกสารตองถูกตองและไดรับการอนุมัติเอกสารตามกฏ และระเบียบ เวนแตจะระบุเปน อยางอื่นในเอกสารวัตถุประสงคของผูวาจาง เอกสารของผูรับจางตองเขียนดวยภาษาเพื่อการสื่อสาร ตามที่ไดตกลงกันไว ผูรับจางตองจัดทําเอกสาร และเอกสารอื่น ๆ ที่จําเปนใหผูแทนของผูวาจาง ผูแทนของผูวาจางมีสิทธิ์ที่ จะตรวจเอกสารที่จัดทําขึ้นนั้นดวยทุกครั้งที่มีการจัดทําขึ้น หากเอกสารวัตถุประสงค ความตองการของผูวาจางระบุใหจัดทําเอกสาร ผูรับจางตองจัดทํา และ เสนอมอบใหแกผูวาจางเพื่อการศึกษาทบทวนและพิจารณาเห็นชอบอนุมัติ ผูรับจางจะตองเสนอใหแก ผูวาจาง พรอมดวยบันทึก (ก) ชวงระยะเวลาตรวจทาน (Review Period) ซึ่งหมายถึงชวงระยะเวลาใหผูวาจางทําการตรวจทาน (หากมีการกําหนดไว) และพิจารณาอนุมัติ (ข) เอกสารของผูรับจางซึ่งไมรวมเอกสารอื่นใดตามที่ระบุไว ไมตองเสนอใหทบทวน ตรวจสอบ และ พิจารณาขออนุมัติ ในระยะเวลาการตรวจทาน ผูวาจางอาจมีหนังสือแจงใหผูรับจางวา เอกสารนั้นบกพรอง (ตามที่ระบุ ไว) ไมครบถูกตองกับสัญญา หากเอกสารของผูรับจางบกพรองผิดกับสัญญา ผูรับจางตองปรับปรุง แกไขและสงมอบใหใหมเพื่อการตรวจทาน ดวยคาใชจายของผูรับจางเอง สําหรับสวนงานแตละสวน และยกเวนในกรณีที่คูสัญญาตกลงเปนอยางอื่น: (ก) การดําเนินการของสว นงานดังกลาวจะตองเริ ่มตนกอนระยะเวลาการทบทวนเอกสาร เอกสารโดย ผูวาจาง (ข) การดําเนินการงานดังกลาวจะตองเปนไปตามเอกสารของผูรับจาง ตามที่ยื่นเพื่อพิจารณา และ
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
44 |
การจัดการ EPC
(ค) หากผู ร ั บ จา งประสงค ที ่จ ะแกไขการออกแบบหรือเอกสารใด ๆ ที่เคยยื่น เพื่อทบทวน ตรวจสอบแลว ผูรับจางตองแจงใหผูวาจางทราบทันที หลังจากนั้นผูรับจางจะตองสงเอกสารที่แกไข แลวใหกับผูวาจางตามขั้นตอนขางตน ขอตกลงดังกลาว หรือการทบทวนใด ๆ จะไมทําใหลดภาระหนาที่หรือความรับผิดชอบของผูรับจาง 5.4 ภาระหนาที่ของผูรับจาง (Contractor’s Undertaking) ผูรับจางมีหนาที่ ออกแบบ จัดทําเอกสาร และดําเนินการกอสรางใหงานแลวเสร็จ ตามขอกําหนดดังนี้ (ก) ตามกฎหมายของประเทศนั้น ๆ และ (ข) เอกสารประกอบแนบในสัญญา ตามที่ปรับเปลี่ยนหรือขยายความโดยการเปลี่ยนแปลง 5.5 มาตรฐานทางเทคนิคและกฏระเบียบ (Technical Standards และ Regulations) งานออกแบบและเอกสารของผูรับจางเพื่อการกอสราง และการแลวเสร็จของงานกอสราง ตองปฏิบัติ ตามกฏหมายของประเทศที่โครงการตั้งอยู ซึ่งจะตองถูกตองกับมาตรฐานทางเทคนิค การกอสราง และกฎหมายสิ่งแวดลอม ผลิตภัณฑในโครงการจะตองถูกตองตามกฎหมาย และมาตรฐานอื่น ๆ ตาม วัตถุประสงคที่ระบุไวในเอกสารวัตถุประสงค ความตองการของผูวาจาง ซึ่งถูกตองตามกฎหมาย กฎหมายที่เกี่ยวของกับงานทั้งหมดหรือสวนของงานเหลานี้ ซึ่งเปนงานที่ตองสงมอบใหแกผูวาจาง จะ อางอิงตามสัญญา มาตรฐานฉบับที่ใช ณ วันที่ผูรับจางเสนอราคาเวนแตจะไดระบุเปนอื่น หากมีการเปลี่ยนหรือมีมาตรฐานฉบับใหมออกมาบังคับใชในประเทศนั้นภายหลังวันที่ผูรับจางยื่น ขอเสนอเพื่อใหสอดคลองกับเงื่อนไขดังนี้ (ก) ผูวาจางไดพิจารณาแลววาตองปฏิบัติตามระเบียบ และ (ข) ขอเสนอเพื่อการเปลี่ยนแปลง ผูวาจางจะพิจารณาใหมีการเปลี่ยนแปลงงาน 5.6 การฝกอบรม (Training) ผูรับจางตองดําเนินการฝกอบรมใหแกพนักงานของผูวาจางในการดําเนินงานและการบํารุงรักษา โครงการตามที่ระบุในเอกสารวัตถุประสงคของผูวาจาง หากในสัญญาไดระบุวาการฝกอบรมดังกลาว ตองดําเนินการฝกอบรมกอนการสงมอบงานใหแกผูวาจาง ฉะนั้นงานโครงการจะไมถือวาแลวเสร็จ และไมถือเปนการสงมอบงาน จนกวาการฝกอบรมไดเสร็จสิ้น
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
45 | การจัดการ
EPC
5.7 แบบและเอกสารกอสรางจริง (As-Built Documents) ผูรับจางตองจัดเตรียมและเก็บรักษาขอมูลการดําเนินงานไวอยางครบถวน พรอมทั้งแสดงตําแหนงที่ตั้ง ขนาดและรายละเอียดของงานที่ทําอยางถูกตองตามที่กําหนดไว บันทึกเหลานี้จะถูกเก็บไว ณ สถานที่ กอสราง และจะใชเฉพาะเพื่อวัตถุประสงค และจะตองจัดสงสําเนาใหกับผูวาจางกอนที่จะมีการ ทดสอบเมื่องานแลวเสร็จ นอกจากนี้ผูรับจางตองจัดเตรียมแบบกอสรางจริงใหกับผูวาจาง โดยแสดงงานทั้งหมดที่กอสราง และ สงใหผูวาจางพิจารณา ผูรับจางตองไดรับความยินยอมจากผูวาจางเกี่ยวกับขนาด ระบบการอางอิง และรายละเอียดที่เกี่ยวของอื่น ๆ กอนที่จะมีการออกใบรับรองผลงาน ผูรับจางจะตองจัดหาแบบกอสรางจริง โดยมีจํานวนตามที่กําหนด ในวัตถุประสงค ความตองการของผูวาจาง ใหกับผูวาจาง งานนี้จะไมถือวาแลวเสร็จตามวัตถุประสงค ของงาน จนกวาผูวาจางจะไดรับเอกสารเหลานี้ 5.8 คู ม ื อ การดํ า เนิ น การโครงการและการบํ า รุ ง รั ก ษา (Operation and Maintenance Manuals) กอนเริ่มงานการทดสอบเพื่อการสงมอบงานแลวเสร็จ ผูรับจางตองสงมอบรายละเอียดคูมื อการ ดําเนินการโครงการและการบํารุงรักษาแกผูวาจางเพื่อใชในการดําเนินโครงการ การบํารุงรักษา การ ถอดเครื่อง การประกอบเครื่องคืน การปรับแก และการซอมแซม เมื่อผูวาจางไดรับรายละเอียดคูมือฉบับสุดทายตามรายละเอียดขางตน จึงจะถือวาเปนการสงมอบงาน ครบถวน รวมถึงรายการอื่นตามที่ระบุไวในวัตถุประสงค ความตองการของผูวาจางดวย 5.9 ขอผิดพลาดในการออกแบบ (Design Error) หากมีขอผิดพลาด ตกหลน คลุมเครือ ไมสมํ่าเสมอ ไมเพียงพอ หรือบกพรองอื่น ๆ ซึ่งตรวจพบอยูใน สารบบเอกสารของผูรับจาง ผูรับจางตองทําการปรับปรุงแกไขดวยคาใชจายของผูรับจาง เวนแตจะ ระบุเปนอยางอื่น การแกไขงาน และการสงมอบงานจะอยูภายใตความเสี่ยงและเปนคาใชจายของผูรับจาง 5.10 การจัดการการออกแบบ (Engineering/ Design management) 1) ทั่วไป การออกแบบทางดานวิศวกรรมของโครงการกอสรางมีองคประกอบหลายประการ กอนอื่นจะตอง จัดการรายละเอียดดานเทคนิค เศรษฐศาสตร ทรัพยากร สิ่งแวดลอม ฯลฯ ซึ่งจําเปนสําหรับโครงการ นอกจากนี้จําเปนตองบูรณาการ ซึ่งรวมถึงการวิเคราะห การสาธิต และการรวบรวมรายการการ ออกแบบตามขนาดและความซับซอนของโครงการกอสราง สําหรับโครงการกอสรางงานโยธาจะแบง สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
46 |
การจัดการ EPC
ออกเปนการออกแบบเบื้องตนและการออกแบบรายละเอียดเพื่อการกอสราง สําหรับโครงการดาน อุตสาหกรรมและโครงการโครงสรางพื้นฐานที่ซับซอนบางครั้งก็จะมีขั้นตอน การออกแบบทางเทคนิค เพิ่มจากการออกแบบเบื้องตน 2) ขอกําหนดเกี่ยวกับการออกแบบ (Contract provisions about engineering) ก) ขอบเขตการออกแบบ (Design scope) ขอบเขตของการออกแบบของผูรับจางจะขึ้นอยูกับงานออกแบบเบื้องตน (Preliminary Design/Basic Design) ที่ผูวาจางจัดเตรียมไวให หากขอมูลการออกแบบเบื้องตนมีขอมูลที่เพียงพอ ผูรับจางก็จะ ออกแบบเพียงแบบรายละเอียดเพื่อการกอสราง (construction design) ในสัญญา EPC สามารถจําแนกการออกแบบระหวางผูวาจาง และผูรับจางไดดังนี้: (1) เจาของงานดําเนินการออกแบบตามแนวคิดเบื้องตน (conceptual design) และวางแนวคิดการ ออกแบบใน "ขอกําหนดความตองการของเจาของงาน (Employer’s Requirement)” ซึ่ง เป น ส ว นหนึ ่ งของเอกสารสั ญ ญา เอกสารนี้ จ ะแสดงถึง เป าหมาย วัตถุป ระสงคข องโครงการ ขอกําหนดและมาตรฐานทางเทคนิค งานออกแบบของเจาของงานในสวนนี้อาจประมาณไดวา เปน เนื้องานประมาณ 10% ของปริมาณงานออกแบบทั้งหมด (2) ในชวงการประกวดราคาผูรับจางจะดําเนินการออกแบบเบื้องตนใหเสร็จสมบูรณตามขอกําหนด ของเอกสารประกวดราคา และสงใหเจาของงานเปนสวนหนึ่งของเอกสารการประกวดราคา (3) ในกระบวนการดําเนินโครงการ ผูรับจาง EPC มีหนาที่รับผิดชอบออกแบบขั้นสุดทายใหแลว เสร็จ โดยแบงออกเปนการออกแบบการจัดวางผังทั่วไป (General Arrangement Drawings) และ การออกแบบรายละเอียด (Detailed Design Drawings) 2) การออกแบบพิ้นฐานและมาตรฐานทางเทคนิค (Design Basis and Technical Standards) การออกแบบจะเปนไปตามขอกําหนดการออกแบบของสัญญา EPC รวมถึง: (1) เอกสารงานเตรียมการของเจาของงาน (2) มาตรฐานทางเทคนิคของประเทศที่ตั้งโครงการ (3) มาตรฐานทางเทคนิคที่ตกลงกันไวในสัญญา (4) กฎหมายเกี่ยวกับ การก อสร างและวิ ศวกรรม เชนกฎหมายเกี่ยวกั บการกอสราง สิ่งแวดล อม มาตรฐานผลิตภัณฑ ฯลฯ (5) มาตรฐานการปฏิบัติดานวิศวกรรมที่ดี 3) การตรวจสอบเอกสารการออกแบบและอนุมัติ (Design document inspection and approval) ในกระบวนการดําเนินการตามสัญญา EPC การตรวจสอบเอกสารการออกแบบและการอนุมัติ เปน วิธีการที่เจาของงานควบคุมคุณภาพการออกแบบ โดยมีบทบัญญัติดังตอไปนี้: (1) เจาของงานมีสิทธิ์ตรวจสอบเอกสารใด ๆ ที่เกี่ยวของกับโครงการ สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
47 | การจัดการ
EPC
(2) หากสัญญากําหนดใหเอกสารบางอยางตองไดรับการอนุมัติจากเจาของงาน ผูรับจางตองสงเอกสาร ไปยังเจาของงาน หรือผูรับจางจัดการโครงการ (Project Management Contractor: PMC / Independent Engineer) ซึ่งไดรับมอบหมายจากเจาของงานเพื่อดําเนินการตรวจสอบและอนุมัติ (3) ภายในระยะเวลาที่กําหนด เจาของงานจะตรวจสอบเอกสารการออกแบบ หากมีปญหาเจาของ งานสามารถแกไขได (4) จะไมใชแบบและเอกสารสําหรับโครงการ กอนการตรวจสอบและอนุมัติ (5) หากผูรับจางตองการแกไขเอกสารซึ่งไดรับอนุมัติแลวจากเจาของงาน ผูรับจางจะตองรายงานแจง ตอเจาของงานเพื่อขออนุมัติใหม (6) เอกสารการออกแบบของผูรับจาง จะตองใชภาษาตามที่กําหนดในสัญญา 4) ความรับผิดชอบในการออกแบบ ในสัญญา EPC ผูรับจางจะตองรับผิดชอบในการออกแบบ อยางไรก็ตามเนื่องจากเจ าของงานได ออกแบบเบื ้ อ งต น บางส ว นก อ นลงนามในสั ญ ญา ดั ง นั ้ น เจ า ของงานจะมี ส ว นร ว มในความ รับผิดชอบ ความรับผิดชอบและขอจํากัด ระหวางคูสัญญาทั้งสองมีดังนี้: ความรับผิดชอบและขอจํากัดของเจาของงาน: (1) ไมสามารถเปลี่ยนขอกําหนดของสัญญา (2) กําหนดวัตถุประสงคของโครงการกอสราง (3) การทดสอบเปนไปตามมาตรฐานที่มปี ระสิทธิภาพ (4) ตรวจสอบใหแนใจวารายละเอียดที่ผูรับจางจัดทําสามารถตรวจสอบได (5) ในระหวางการดําเนินการตามสัญญา หากมาตรฐาน หรือกฎหมายในสัญญามีการเปลี่ยนแปลง หรือมีบทบัญญัติ มาตรฐานใหม เจาของงานจะตองแจงการเปลี่ยนแปลง และรับภาระในผลที่ ตามมา ความรับผิดชอบและขอจํากัดของผูรับจาง EPC: (1) ผูรับจางมีหนาที่ตรวจสอบ การดําเนินงานออกแบบเบื้องตนของเจาของงาน (2) ผูรับจางมีหนาที่รับผิดชอบตอความถูกตองของผลลัพธของการออกแบบเบื้องตนจากเจาของงาน (3) การอนุมัติของเจาของงานในเอกสารการออกแบบของผูรับจาง จะไมทําใหผูรับจางพนจากความ รับผิดชอบ (4) หากเอกสารการออกแบบของผูรับจางมีขอผิดพลาด ผูรับจางตองแกไขดวยคาใชจายของผูรับจาง เอง 5) การรวบรวมและจัดสงเอกสารที่สมบูรณ และการดําเนินการและคูมือการบํารุงรักษา (1) ผูรับจางรวบรวมเอกสารที่มีรายละเอียดครบถวนและจัดสงไปยังเจาของงานตามขอกําหนดของ สัญญา (2) ผูรับจางจะตองสงมอบแบบที่เสร็จสมบูรณซึ่งผานการตรวจสอบโดยเจาของงาน สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
48 |
การจัดการ EPC
(3) ขอกําหนดของแบบที่เสร็จสมบูรณจะตองไดรับอนุมัติจากเจาของงาน (4) กอนการแลวเสร็จโครงการ ผูรับจางจะตองสงคูมือการใชงานและบํารุงรักษา 3. การจัดการการออกแบบของผูรับจาง EPC 1) ฝายออกแบบและฝายวางแผนการออกแบบ หากผูรับจางมีความเชี่ยวชาญในงานวิศวกรรมการออกแบบ อาจทําการออกแบบเอง หรืออาจเลือก จากบริษัทผูออกแบบมืออาชีพ หากผูรับจางเองไมมีความสามารถในการออกแบบ จําเปนตองจางชวง บริษัทผูออกแบบมืออาชีพ และตองลงนามในสัญญายอย โดยกิจกรรมทั้งหมดจะตองเปนไปตามความ ตองการในสัญญา EPC ผูรับจางชวงจะตองรับผิดชอบในการออกแบบ อยางไรก็ตามผูรับจางชวงจะอยู ภายใตการกํากับดูแลชองผูจัดการโครงการ EPC 4) ความรับผิดชอบการออกแบบ สําหรับสัญญา EPC ผูรับจางจะรับผิดชอบการออกแบบ ดังนั้นผูรับจางจึงต องรับผิดชอบในการ ออกแบบ อยางไรก็ตามเนื่องจากเจาของงานไดออกแบบเบื้องตนบางสวนไวกอนลงนามในสัญญา และ มักจะใสผลการออกแบบลงในสัญญาเจาของงานยังตองมีสวนรวมในความรับผิดชอบ หมวดความ รับผิดชอบและขอ จํากัด ระหวางทั้งสองฝายมีดังนี้: ความรับผิดชอบและขอจํากัดของเจาของงาน: (1) ไมสามารถเปลี่ยนขอกําหนดของสัญญา (2) กําหนดวัตถุประสงคที่คาดหวังของโครงการกอสราง (3) เสร็จสิ้นการทดสอบและมาตรฐานประสิทธิภาพ (4) ตรวจสอบใหแนใจวาเนื้อหาที่ผูรับจางนําออกสามารถตรวจสอบได (5) ในระหวางการดําเนินการตามสัญญาหากบรรทัดฐานหรือมาตรฐานในสัญญามีการเปลี่ยนแปลง หากกฎหมายมี ก ารเปลี ่ ย นแปลงหรื อ หากบทบั ญ ญั ต ิ ข องเจ า ของมี ม าตรฐานใหม แ ล ว การ เปลี่ยนแปลงควรไดรับการจัดการโดยเจาของ เจาของยังตองแบกรับผลที่ตามมาเชนกัน ความรับผิดชอบและขอจํากัดของผูรับจาง EPC: (1) ผูรับจางมีหนาที่ตรวจสอบผลการดําเนินงานเบื้องตนของผูเปนเจาของงานออกแบบ. (2) ผูรับจางมีหนาที่รับผิดชอบตอความถูกตองของผลลัพธของเจาของงานการออกแบบเบื้องตน (3) การอนุมัติของเจาของงานเอกสารการออกแบบของผูรับจางไมไดยกความรับผิดชอบของผูรับจาง (4) หากเอกสารการออกแบบของผูรับจางมีขอผิดพลาดผูรับจางตองแกไขไดที่คาใชจายของตัวเอง 5) การรวบรวมและสงเอกสารที่สมบูรณและการดําเนินการและคูมือการบํารุงรักษา (1) ผูรับจางรวบรวมเอกสารที่มีรายละเอียดครบถวนแลวสงไปยังเจาของงานในตามขอกําหนดของ สัญญา (2) ผูรับจางจะตองสงภาพวาดที่เสร็จสมบูรณซึ่งผานการตรวจสอบโดยเจาของงาน (3) ขอกําหนดของแบบที่เสร็จสมบูรณจะตองไดรับอนุมัติจากเจาของงาน สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
49 | การจัดการ
EPC
(4) กอนที่จะเสร็จสิ้นโครงการผูรับจางจําเปนตองสงมอบคูมือการใชงานและบํารุงรักษา (5) ก อนที ่ จ ะได ร ั บ ใบรั บ รองการยอมรั บ ผูร ับ จางจะตองสงแบบฟอรมคูมือการใชงานและการ บํารุงรักษาใหกับเจาของงาน แผนการออกแบบ แผนการออกแบบดําเนิน การโดยแผนกวิ ศวกรรมของโครงการ ตามแผนการดําเนิน งานรวมของ โครงการ และ แผนการออกแบบประกอบดวย: (1) การวิจัยและทําความเขาใจขอกําหนดการออกแบบในสัญญา EPC เพื่อพิจารณาขอบเขตของงาน ออกแบบ (2) กําหนดหลักการออกแบบ สวนใหญเกี่ยวของกับหลักความปลอดภัย ความประหยัด หลักการ ประกันคุณภาพเปนตน (3) กําหนดแผนการออกแบบโดยรวมตามระยะเวลาของโครงการ (4) กําหนดอัตรากําลังคน สิ่งอํานวยความสะดวก และอุปกรณตาง ๆ ในขั้นตอนการออกแบบ (5) สํานักงานสําหรับงานออกแบบ (6) มาตรฐาน และเกณฑที่ใชในการออกแบบทางวิศวกรรม (7) กฎหมายและขอบังคับในเรื่องสิ่งแวดลอม (8) พิจารณาสวนที่ตองออกแบบโดยผูรับจางชวง 2) เอกสารควบคุมการออกแบบและผลการออกแบบ งานออกแบบ และการแกไขงานออกแบบ จําเปนตองมีการควบคุมเพื่อมิใหมีการเบี่ยงเบนไปจาก แผนการออกแบบตามขั้นตอนในเอกสารและคูมืองานออกแบบ กระบวนการควบคุมการออกแบบจะ ครอบคลุมถึงแผนงาน คุณภาพ รวมถึงการควบคุมตนทุนดวย ผลการออกแบบ เอกสารตาง ๆ รวมถึงแบบ รายการคํานวณ ตารางขอมูลตาง ๆ คูมือทางเทคนิ ค โปรแกรมซอฟตแวร คําแนะนําในการใชงานและอื่น ๆ จะใชเพื่อเปนแนวทางในการจัดซื้อจัดจาง ใช กอสราง และทดสอบเพื่อใหงานโครงการแลวเสร็จตามสัญญา
6. การจัดการการจัดซื้อจัดหา (Procurement Management) 6.1 ทั่วไป ในโครงการ EPC การจัดซื้อจัดหามีความสําคัญมากในระหวางการดําเนินการโครงการ และเปนสวน หนึ่งในความสําเร็จที่สําคัญของโครงการ โครงการสวนใหญโดยเฉพาะในโครงการอุตสาหกรรม ตนทุน การจัดซื้อรวมของสัญญาจะสูงถึง 40% - 60% ในสัญญา EPC มีขอกําหนดตาง ๆ สําหรับการจัดซื้อ จัดหา การเขามาแทรกแซงของเจาของงานในกระบวนการจัดซื้อไดรับความนิยมมากขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อ พิจารณาถึงบทบาทที่สําคัญของการจัดซื้อจัดหาในชวงดําเนินการตามสัญญา มีความจําเปนสําหรับ
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
50 |
การจัดการ EPC
ฝายจัดซื้อที่จะตองมีความสัมพันธที่ดีกับผูอื่นในหนวยงาน ดังนั้นสิ่งสําคัญคือความรับผิดชอบของ แผนกจัดซื้อและขั้นตอนการทํางานที่ชัดเจน 6.2 ขอกําหนดของสัญญาเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดหา 1) ความรับผิดชอบทั่วไปในการจัดซื้อจัดหา บทบัญญัติสัญญาทั่วไปเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดหา มีประเด็นที่สําคัญตอไปนี้: (1) ผูรับจางควรรับผิดชอบวัสดุทั้งหมดที่จําเปน เชนวัตถุดิบ อุปกรณ และวัสดุสิ้นเปลืองอื่น ๆ (2) ผูรับจางควรมีแผนกจัดซื้อที่รับผิดชอบการจัดซื้อจัดหา และการประสานงานเพื่อใหแนใจวาการ จัดซื้อจัดหามีประสิทธิภาพ (3) ผูรับจางควรเลือกเสนทางการขนสง และจัดทําแผนการจัดสงตามสภาพเสนทางการขนสง (4) หากมีการเรียกรอง สาเหตุจากการขนสงที่ไมดี ผูรับจางจะตองตรวจสอบใหแนใจวาเจาของงานจะ ไมเสียเปรียบในการเจรจา และชําระคาเสียหายกับผูเรียกรอง (5) ผูรับจางควรจัดทําเอกสารกระบวนการจัดซื้อจัดจางตามขอกําหนดของสัญญาและสงใหเจาของ งาน เพื่อตรวจสอบการทํางาน 2) การตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจาง (1) ผูรับจางจะตองจัดทําแผนการจัดซื้อจัดหาโดยรวมและสงใหเจาของงาน แผนการจัดซื้อจัดจางควร สอดคลองกับขอกําหนดของโครงการ และผูรับจางควรใหความสนใจเปนพิเศษกับอุปกรณที่สําคัญ (2) ผูรับจางควรแจงใหเจาของงานทราบถึงกําหนดการใชงาน ทาเรือรับ-สงสินคา การขนถายสินคา การขนสงทางบก และเสนทางไปยังสถานที่กอสราง (3) แหลงที่มาของวัสดุหลักและอุปกรณ จะตองระบุไวในบัญชีรายการในสัญญา และไดรับอนุมัติจาก เจาของงาน (4) ตลอดกระบวนการจัดซื้อจัดหาทั้งหมด ผูรับจางควรดําเนินการกํากับดูแลและจัดการกับผูขาย และ ผูผลิต (5) สําหรับอุปกรณที่สําคัญ ผูรับจางควรควบคุมคุณภาพในการผลิต และติดตามความกาวหนา (6) เจ า ของงานมี ส ิ ท ธิ ์ ต รวจสอบอุ ป กรณ แ ละวั ส ดุ ใ นเวลาที ่ เ หมาะสม รวมถึ ง การตรวจสอบ ความกาวหนาในการผลิต รวมถึงกระบวนการระหวางการทดสอบคุณภาพ (7) อุปกรณใด ๆ ในกระบวนการผลิตสามารถตรวจสอบไดตามที่ระบุไวในสัญญา. (8) เจาของงานมีสิทธิ์ที่จะขอใหผูรับจางจัดหาอุปกรณตาง ๆ สําหรับการตรวจสอบ 3) ความชวยเหลือจากเจาของงาน ตามกระบวนการทางกฎหมาย บอยครั้งที่เจาของงานจําเปนตองใหความชวยเหลือผูรับจางในการขอ อนุญาตจากทางราชการสําหรับวัสดุพิเศษบางอยางเชนวัตถุระเบิดและอื่น ๆ เจาของงานมักจะตอง ไดรับใบอนุญาตในการนําเขาเพื่อใชงานในโครงการ สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
51 | การจัดการ
EPC
4) รายการที่ผูวาจางจัดให รายการที่ผูวาจางจัดหาใหจะเรียกวา วัสดุจัดใหเปลา (Free Issues) ในขอกําหนดสัญญา EPC ที่ เกี่ยวของมีการระบุไวดังนี้: (1) หากเจาของงานจะต องจัด หาวัส ดุจัด ให เปลา ใหกับผูรับจางในสัญญา เจาของงานควรชํ าระ คาใชจายตามความเสี่ยงดวยตนเอง และจัดสงวัสดุไปยังสถานที่ที่กําหนด (2) ผูรับจางควรตรวจสอบวัสดุกอนการตรวจรับ หากมีปญหาดานคุณภาพหรือปริมาณ ผูรับจาง จะตองแจงใหผูวาจางทราบ หลังจากไดรับแจงเจาของงานจะตองปรับปรุงจํานวนปริมาณ และจัดหา วัสดุทดแทนในสวนของวัสดุที่บกพรอง (3) หลังจากการตรวจสอบของผูรับจาง วัสดุจะถูกโอนความรับผิดชอบไปยังผูรับจางผูซึ่งมีหนาที่ใน การดูแลวัสดุ 6.3 การจัดการการจัดซื้อจัดหาของผูรับจาง EPC องคกรและแผนการจัดซื้อจัดหาของผูรับจาง แผนกจัดซื้อจะถูกจัดตั้งขึ้นเพื่องานจัดซื้อจัดหาในโครงการ EPC ผูจัดการฝายจัดซื้อจะไดรับการแตงตั้ง โดย บริษัท จํานวนบุคคลากรในแผนกจะมากนอยขึ้นอยูกับขนาด และความซับซอนของโครงการ แผนการจัดซื้อจัดหา แผนการจัดหาโครงการ EPC สามารถแบงออกเปนสองสวน: แผนทั่วไปและแผนกําหนดการ แผนทัว่ ไปของโครงการเปนเอกสารแนะนําตามโครงการ แผนการดําเนินงาน แผนการจัดซื้อทั่วไปประกอบดวยประเด็นตอไปนี้: (1) การกําหนดขอบเขตของการจัดซื้อจัดหาในโครงการ (2) การกําหนดกฎ การตรวจสอบสําหรับเอกสารการจัดซื้อจัดหา (3) การกําหนดขั้นตอนการประสานงานระหวางผูผลิต / ผูจัดซื้อจัดหา (4) ความแนนอนของตารางการจัดซื้อจัดหาและวัตถุประสงคดานตนทุนทําใหมั่นใจไดวาวัตถุประสงค นี้สอดคลองกับวัตถุประสงคของโครงการ (5) การกํ า หนดหลั กการจั ดซื ้ อจั ดหาทั่วไปรวมถึงหลักการกําหนดเวลาการรับ ประกั น หลั กการ รับประกันคุณภาพ และหลักการรับประกันความปลอดภัย (6) การกําหนดขั้นตอนการทํางานที่ตองปฏิบัติตาม (7) เอกสารของไฟลจัดซื้อจัดหาตาง ๆ และไฟลใบสั่งซื้อ (8) การกําหนดขั้นตอนการจัดซื้อจัดหาสําหรับวัสดุที่สําคัญ และอุปกรณที่สําคัญ ความกาวหนาของการดําเนินการตามแผนการจัดซื้อจัดหาคือเพื่อใหแนใจวาวัสดุหลักทั้งหมด อุปกรณ หลักอุปกรณเสริม และวัสดุสิ้นเปลืองตาง ๆ จะถูกจัดซื้อตรงเวลา ภายใตกรอบของแผนทั่วไป ผูจัดการ สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
52 |
การจัดการ EPC
ฝายจัดซื้อจะเปนผูรับผิดชอบ โดยจัดเจาหนาที่ใหดําเนินการแลวเสร็จตามโครงการกอสรางตาม แผนการใชวัสดุ และงบประมาณการจัดซื้อจัดหาจากแผนกควบคุม
7. การจัดการกอสราง (Construction Management) 7.1 ทั่วไป การกอสรางเปนสวนสําคัญของโครงการ EPC ชวงการกอสรางนั้นเทากับระยะเวลาตั้งแตเริ่มงานไป จนถึ ง การแล ว เสร็ จ ของงาน แนวคิ ด การก อ สร า งในสั ญ ญา EPC นั ้ น กว า งมาก ในสั ญ ญา EPC กําหนดการงานกอสราง วิธีการกอสราง คุณภาพการกอสราง และความปลอดภัยการกอสรางลวนมี ส ว นสํ า คั ญ กั บ การก อ สร า งงานในโครงการ อาจกล า วได ว า ทุ ก นาที ใ นการดํ า เนิ น การโครงการ จําเปนตองมีการจัดการ 7.2 ขอกําหนดสัญญาเกี่ยวกับการกอสราง 1) กฎระเบียบที่เกี่ยวของกับการกอสรางในสัญญา EPC (1) ผูรับจางจะตองปฏิบัติตามผูวาจางหรือรายละเอียดที่ระบุในสัญญา (2) ผูรับจางจะตองจัดหาบุคลากร ผูจัดการโครงการเพื่อรับผิดชอบเต็มเวลาในการจัดการโครงการ (3) บุคลากรในการกอสรางตองมีทักษะที่เหมาะสม มีความเปนมืออาชีพ และมีจรรยาบรรณในวิชาชีพ (4) อุปกรณการกอสรางที่ผูรับจางจัดสง และเมื่อมีการขนยายไปยังสถานที่กอสรางแลว ถือวาเปน อุปกรณการกอสรางในโครงการ ผูรับจางจะไมสามารถเคลื่อนยายออกโดยไมไดรับอนุญาตจากผูวาจาง (5) ในชวงระยะเวลาการกอสราง ผูรับจางจะตองรักษาสถานที่กอสรางใหอยูในสภาพที่ดี เมื่อโครงการ ใกลจะแลวเสร็จสมบูรณ ผูรับจางจะตองทําความสะอาดสถานที่กอสรางใหสะอาดเรียบรอย 2) กฎระเบียบที่เกี่ยวของกับคุณภาพการกอสรางในสัญญา EPC คุณภาพการกอสรางในสัญญา EPC จะครอบคลุมถึงเทคโนโลยีวิศวกรรมการกอสราง วิธีการ และ ขอกําหนดความตองการ ฯลฯ (1) การกอสรางจะตองเปนไปตามสัญญา ขอกําหนดและเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ (2) ในระหวางการกอสราง หากมาตรฐานหลายประเภทไมสอดคลองกัน ใหถือฉบับที่มีมาตรฐานที่ ทันสมัย และเหมาะสม ดีที่สุดได (3) ในระหวางการดําเนินงาน หากมีมาตรฐานฉบับใหม ผูวาจางมีสิทธิ์ที่จะรองขอใหผูรับจางปฏิบัติ ตามมาตรฐานฉบับใหม และผูรับจางจะไดรับการชดเชยตามความเหมาะสม (4) ผูวาจางมีสิทธิ์ที่จะตรวจสอบ ทดลอง และทดสอบผลงานที่ไดรั บเมื ่องานแลวเสร็จ หากงาน บกพรอง ผูวาจางมีสิทธิ์ปฏิเสธการยอมรับและสั่งใหทําใหม หากผูรับจางยืนยันที่จะไมแกไขขอผิดพลาด ผูวาจางมีสิทธิในการยกเลิกสัญญา สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
53 | การจัดการ
EPC
(5) ภายหลังการแลวเสร็จโครงการ จะตองมีการรับประกันประสิทธิภาพของงานตามที่กําหนด (Functional / Performance Guarantees) 3) กฎระเบียบเกี่ยวกับแผนงานตามตารางการกอสราง (Construction Schedule) ในสัญญา EPC (1) ผูรับจางจะตองกอสรางงานใหแลวเสร็จตามเวลาที่กําหนดพรอมกับจัดเตรียมเอกสารตาง ๆ รวมถึงการทดสอบตามสัญญา มิฉะนั้นจะตองเสียคาชดเชย (คาปรับ) ในความลาชา (2) เมื่อผูรับจางไดรับการแจงใหเริ่มงาน จะตองเริ่มงานทันที โดยจะตองทําการออกแบบ จัดซื้อ จัดหา และเริ่มงานกอสรางในเวลาที่เหมาะสม (3) เมื่อเริ่มโครงการ ผูรับจางจะตองจัดเตรียมและสงรายละเอียดแผนการดําเนินการโครงการแกผู วาจาง (4) ถาผูวาจางเห็นวาความกาวหนาในโครงการของผูรับจางลาชาจากความเปนจริง ผูรับจางมีหนาที่ ตองปรับปรุงแผนงาน และวางแผนที่จะเพิ่มความเร็วในการทํางาน (5) ผู ร ั บ จ า งจะต อ งส ง รายงานความก า วหน า ของงานรายเดื อ นแก ผ ู ว า จ า ง รวมถึ ง รายงาน ความกาวหนาประจําสัปดาห และรายงานการกอสรางประจําวันตามที่กําหนดไวในเงื่อนไขของสัญญา 4) ขอกําหนดสัญญา EPC ที่เกี่ยวของกับ สุขภาพ ความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม (HSE: Health, Safety & Environment) ดวยการพัฒนาเศรษฐกิจโลก แนวคิดของสุขภาพ ความปลอดภัยและสิ่งแวดลอมไดรับความสนใจเพิ่ม มากขึ้น (1) ผูรับจางจะตองมีมาตรการปองกันที่เหมาะสมดวยคาใชจายของผูรับจางเองเพื่อความมั่นใจใน ความปลอดภัยของคนงาน (2) ผูรับจางจะแตงตั้งพนักงานเต็มเวลาเพื่อจัดการปญหาดานความปลอดภัยและอุบัติเหตุสวนบุคคล เพื่อสรางมาตรการปองกันเพื่อหลีกเลี่ยงอุบัติเหตุ (3) เมื่อเกิดการติดเชื้อ โรคระบาด ผูรับจางจะตองปฏิบัติตามกฎหมายและคําแนะนําในการจัดการกับ โรคเหลานั้น (4) ผูรับจางจะตองปฏิบัติตามกฎระเบียบดานความปลอดภัยที่เกี่ยวของทั้งหมด (5) ผูรับจางจะตองดูแล และควบคุมสิทธิ์ในการเขาสถานที่กอสรางและความปลอดภัยของบุคคลากร ทุกคน (6) ผูรับจางจะตองพยายามรักษาความสงบเรียบรอยในที่เกิดเหตุ และกําจัดอุปสรรค เพื่อหลีกเลี่ยง ภัยคุกคามตอความปลอดภัยของทุกคน (7) กอนการทดสอบขั้นสุดทายผูรับจางจะตองกอสรางรั้วรอบบริเวณ แสงสวางและความปลอดภัยใน สถานที่กอสราง
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
54 |
การจัดการ EPC
(8) หากการกอสรางมีผลกระทบตอสาธารณะ ผูรับจางจะตองจัดหาสิ่งอํานวยความสะดวกที่จําเปนตอ ความปลอดภัยของสาธารณะ (9) ผูรับจางจะตองใชมาตรการทั้งหมดเพื่อปกปองสิ่งแวดลอมทั้งภายในและภายนอกเพื่อควบคุ ม มลพิษ และมลภาวะทางเสียง ฯลฯ จากการทํางาน เพื่อลดความเสียหายตอทรัพยสินสวนบุคคล (10) ผูรับจางจะตองมั่นใจวามลพิษจากกิจกรรมการกอสราง เชนนํ้าเสีย และมลพิษอื่น ๆ ไมเกินคา มาตรฐานตามที่กฎหมายกําหนดไว (11) ผูรับจางจะตองจัดเตรียมคูมื อสุขอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม สําหรับการ ดําเนินการโครงการ 7.3 การจัดการการกอสรางผูรับจางของ EPC 1) การจัดการตารางเวลาของผูรับจาง (1) ความกาวหนาในการทําจัดทําแผน กําหนดการของโครงการ EPC สามารถแสดงไดดังนี้: กําหนดขอบเขตการทํางานตามสัญญา EPC
จัดทํา WBS ตามขอบเขตที่ไดรับจากขั้นตอนเดิม จัดวางเปาหมายสําหรับแตละกิจกรรมหลัก คนหาคําสั่งของกิจกรรมตาง ๆ ตรวจสอบใหแนใจในแตละกิจกรรมของแตละงานยอย
แกไขและทําการคํานวณ รูปที่ 7-1 ความกาวหนาของการจัดทําแผน สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
55 | การจัดการ
EPC
(2) การติดตามความกาวหนาของโครงการ การติดตาม และการพยากรณ หลังจากทําการวางแผนกําหนดเวลา จําเปนตองสรางเกณฑสําหรับการวัดความกาวหนาและระบบ ของโครงการ ระบบการวัดความกาวหนาควรเปนตามขอกําหนดของสัญญาตามนํ้าหนักชองงานหรือ เปาหมายของความกาวหนาของโครงการ ในปจจุบันโครงการมักใชเทคนิคการควบคุมตนทุนเพื่อ ติดตามความกาวหนาของโครงการ การวางแผนตนทุน การควบคุมตนทุน และการวิเคราะหตนทุนจริง เพื่อเปรียบเทียบความกาวหนาและตนทุน (3) รายงานสถานะความกาวหนา ผูรับจางจะตองสรางระบบรายงานสถานะความกาวหนาของโครงการรวมถึงรายงานความกาวหนา ยอยทั่วไปรายสัปดาหความกาวหนา แสดงรายละเอียดการทํางานตามขอบเขตงานตามสัญญา จัดทํา รายการโครงสร า งงาน (Work Breakdown Structure: WBS) ตามขอบเขตที ่ ไ ด ร ั บ ตามขั ้ น ตอน กําหนดเปาหมายสําหรับแตละกิจกรรมหลัก จัดลําดับของกิจกรรมตางๆ ตรวจสอบการทํางานในแตละ กลุมงานยอย แตละงาน แกไขและทําการคํานวณ เนื้อหาของรายงานครอบคลุมความกาวหนาโดยรวม ของโครงการ ความกาวหนาการออกแบบ ความกาวหนาในการจัดซื้อจัดจาง และความกาวหนาในการ กอสราง รายงานความกาวหนารายเดือนประกอบดวยผลความสําเร็จของงานในแตละเดือน แผนงาน ของเดือนถัดไป ปญหา อุปสรรคตาง ๆ มาตรการแกไข ตลอดจนความกาวหนาของกราฟเสนโคง S Curve พรอมแผนทรัพยากรบุคคล 2) การจัดการคุณภาพของผูรับจาง (1) ขั้นตอนการจัดการการกอสราง งานหลักของขั้นตอนนี้รวมถึง: 1. การกําหนดเกณฑคุณภาพการกอสรางตามสัญญา EPC สําหรับมาตรฐานการทดสอบ คุณภาพ บรรทัดฐานจะตองขียนในเอกสารเปนพื้นฐานสําหรับการควบคุมคุณภาพกอสราง 2. การจัดการทรัพยากรมนุษย ตามลักษณะโครงการและความซับซอนของความตองการประเภทตาง ๆ ในการกอสราง การฝกอบรมสําหรับงานพิเศษตามประเภทของงาน เพื่อใหแนใจวาคุณภาพของการ กอสรางเปนไปตามขอกําหนดในงานกอสราง 3. การจัดการอุปกรณ จะตองเตรียมอุปกรณเครื่องจักรกอสรางตามปริมาณงานและเทคโนโลยีของ การทํางาน 4. การจัดสถานที่กอสราง ทําจุดตรวจสอบที่จําเปนใหพรอมใหสมบูรณ นํ้า ไฟฟา ถนนทางเขา รวมถึง การสื่อสารโทรคมนาคม และการปรับระดับพื้นที่การกอสราง 5. โปรแกรมแผนงานกอสราง รวมถึงการจัดตั้งองคกร วิธีการจัดการการวางแผนการกอสราง และการ จัดการดานเทคนิค ซึ่งตองไดรับการอนุมัติจากผูวาจาง 6. เอกสารการโต ตอบที ่ ส อดคล อ งกั น ของแตล ะส ว น มีการติดตอประสานงานทางเทคนิ ค เพื่ อ หลีกเลี่ยงและขจัดปญหาในดานคุณภาพ สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
56 |
การจัดการ EPC
(2) การจัดการคุณภาพในขัน้ ตอนการกอสราง การควบคุมคุ ณภาพของขั้น ตอนการก อสรางแบ งออกเป นสองระดับ: ระดับแรก ผูวาจางจะเปน ผูดําเนินการควบคุมคุณภาพการกอสราง ณ สถานที่กอสรางตามสัญญา; ระดับที่สองคือการจัดการ ควบคุมคุณภาพการกอสรางภายในโดยผูรับจาง ซึ่งจะรวมถึง: 1. กําหนดเกณฑพื้นฐานของการควบคุมคุณภาพ รวมถึงขอกําหนดทางเทคนิคในสัญญา EPC ขอกําหนด เอกสารการออกแบบ ขอกําหนดการกอสราง และมาตรฐานคุณภาพ 2. การควบคุมคุณภาพประกอบดวยการตรวจสอบภายในดวยการจัดการของผูรับจาง ในการรับฟง ความคิดเห็นรวม และมาตรการการตรวจวัดในสถานที่ หากจําเปนผูวาจางควรมีสวนรวมในการ ประเมินและทดสอบ 3. กระบวนการตรวจสอบการกอสรางและวัสดุ เพื่อระบุปญหาและขอเสนอแนะโดยเฉพาะ เพื่ อ เสริมสรางกระบวนการพิเศษในการควบคุมวัสดุ 4. สงมอบกระบวนการการควบคุมคุณภาพ 5. สถิติการประเมินคุณภาพการกอสราง เปนสิ่งสําคัญมากในดานการควบคุมคุณภาพ (3) การจัดการคุณภาพขั้นตอนสุดทาย ความสําเร็จของโครงการจะรวมถึงการยอมรับขั้นสุดทายของการเดินระบบของเครื่องจักร การยอมรับ การปฏิบัติงาน และการทดสอบ รวมถึงการรับประกันประสิทธิภาพเพื่อใหแนใจวาไดผลงานตรงตาม ขอกําหนด 3) การจัดการเรื่องสุขภาพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดลอมของผูรับจาง ในการกอสรางผูรับจางควรสรางการจัดการในเรื่องระบบสุขภาพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดลอม ทั่วไป ตามขอกําหนดในสัญญา และกฎหมาย รวมถึงลักษณะเฉพาะของโครงการ รวมถึงการพัฒนา บทบัญญัติในเรื่องสุขภาพ ความปลอดภัยและการคุมครองสิ่งแวดลอม และจัดทําคูมือการจัดการเพื่อ ตรวจสอบการบันทึกและประเมินผล ตามขนาดของโครงการ โครงการสามารถกําหนดแผนกสุขภาพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดลอม แยกตางหาก หรือจะรวมอยูในแผนกกอสรางก็ได การจัดการดานสุขภาพ การจัดการดานสุขภาพรวมถึงการปองกัน การตรวจสุขภาพ อุปกรณปองกันตาง ๆ มาตรการการดูแล และโปรแกรมการปฐมพยาบาล การจัดการดานความปลอดภัย การจัดการดานความปลอดภัยรวมถึงความปลอดภัยในการกอสรางและความปลอดภัยของสังคม การ กอสราง โครงการมีความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับความปลอดภัยสวนบุคคลมากกวาโครงการประเภทอื่น
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
57 | การจัดการ
EPC
การจัดการสิ่งแวดลอม การกอสรางจะทําใหเกิดมลพิษในระดับหนึ่ง การใชประโยชนจากธรรมชาติอยางเหมาะสมจะลดหรือ หลีกเลี่ยงมลภาวะ และการกระตุนใหเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน จึงมีความจําเปนในการสรางความสมดุล ระหวางสภาพแวดลอมและธรรมชาติ ผูรับจางควรใหความสําคัญกับการปกปองสิ่งแวดลอมในชวงการ กอสรางตามสัญญาและขอกําหนดของกฎหมาย ความรับผิดชอบของผูรับจางจะรวมถึงการอนุรักษนํ้า และดิน การควบคุมเสียง การควบคุมมลพิษฝุนในบรรยากาศ และการปกปองโรงงาน โรงผลิตรอบ บริเวณกอสราง
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
58 |
การจัดการความเสี่ยง
8. การจัดการความเสี่ยง 8.1 ความเสี่ยงและการจัดการความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยงถูกนําไปใชอยางกวางขวางในดานตาง ๆ เชนเศรษฐศาสตร การประกันภัย อุตสาหกรรมและอื่น ๆ ในขณะที่คําวา "ความเสี่ยง" หมายถึงความไมแนนอนที่สามารถแสดงผ าน ความนาจะเปน การจัดการความเสี่ยงเปนกระบวนการที่มีโครงสรางสําหรับการจัดการของความไม แนนอนผานการประเมินความเสี่ยง ความเสี่ยงของโครงการขึ้นอยูกับสมการอยางงาย ดังนี้: Risk = ความนาจะเปนของเหตุการณ (เหตุการณที่ตามมา) กลาวอีกนัยหนึ่งความเสี่ยงทั้งหมดจะตองไดรับการประเมินในแงขององคประกอบที่แตกตางกันสอง ประการ: โอกาสที่เหตุการณจะเกิดขึ้นเชนเดียวกับผลที่ตามมาหรือผลกระทบของการเกิดขึ้น ความเสี่ยงและโอกาสเปนสิ่งที่ตรงกันขามซึ่งกันและกัน โอกาสเกิดขึ้นจากสถานการณของโครงการที่ เอื้ออํานวย และความเสี่ยงเกิดขึ้นจากเหตุการณที่ไมเอื้ออํานวย การจัดการความเสี่ยงอยางเปนระบบประกอบดวยสี่ขั้นตอนที่แตกตางกัน: 1) การระบุความเสี่ยง – กระบวนการในการพิจารณาปจจัยเสี่ยงเฉพาะที่สามารถทําได ซึ่งคาดวาจะ สงผลกระทบตอโครงการอยางสมเหตุสมผล 2) การวิเคราะหความนาจะเปนและผลที่ตามมา – ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากปจจัยเสี่ยงเหลานี้ พิจารณาจากความเปนไปไดที่จะเกิดขึ้นและผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับโครงการ 3) กลยุทธการลดความเสี่ยง – ขั้นตอนดําเนินการเพื่อลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากปจจัยความเสี่ยง ที่คุกคามตอโครงการ 4) การควบคุมและจัดทําเอกสาร - สรางฐานความรูสําหรับโครงการในอนาคตจากบทเรียนที่ไดเรียนรู การบริหารความเสี่ยงของโครงการประกอบดวยสี่ขั้นตอนและผลตอบรับของระบบ ซึ่งใชเพื่อควบคุม ประสิทธิภาพการบริหารความเสี่ยง ดังรูป การระบุ
การวิ เคราะห์
กลยุทธ์การลด
การควบคุม
ผลการตอบสนอง
กระบวนการจัดการความเสี่ยง รูปที่ 8-1 กระบวนการจัดการความเสี่ยง สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
59 | การจัดการความเสี่ยง 8.2 วิธีการบริหารความเสี่ยง การศึกษาเชิงทฤษฎีเกี่ยวกับความเสี่ยงของโครงการกอสรางทั่วโลกนั้น มีการนําเทคนิคการวิเคราะห ความเสี่ยงมาใชในสาขาวิศวกรรมระบบและการวิจัยการดําเนินงาน การลงทุนในโครงการสาธารณูปโภค พลังงานและการขนสงที่มีขนาดใหญ ทําใหผูจัดการโครงการให ความสําคัญกับการจัดการตนทุนมากขึ้น สภาพแวดลอมของโครงการที่ซับซอนทําใหโครงการตอง เผชิญกับความไมแนนอนมากมาย วิธีการระบุและประเมินความไมแนนอนเกี่ยวกับผลกระทบของ ตนทุนโครงการกลายเปนปญหาใหญของผูจัดการโครงการ นักวิชาการไดพัฒนาเทคนิคการประเมินความเสี่ยงของโครงการ เชน เทคนิคการประเมินและทบทวน โครงการ(PERT: Program Evaluation and Review Technique) วิธีวิเคราะหความออนไหว การ จําลองสถานการณและเทคโนโลยี อื่น ๆ นอกเหนือจากสถิติทางคณิตศาสตรและความนาจะเปนใน การการอธิ บ ายและประเมิ น องค ป ระกอบหนึ ่งมิ ติข องวัตถุป ระสงคข องโครงการ เชน เวลาและ ผลกระทบคาใชจายแบบเดิม ดวยการพัฒนาวิธีการประเมินแบบใหม การจัดการความเสี่ย งของ โครงการจะกลายเปนการบูรณาการบนเครือขายและหลายมิติ วิธีการบริหารความเสี่ยงของโครงการสวนใหญจะเปนเชิงคุณภาพหรือเชิงปริมาณ ตัวอยางของวิธีการ วิเคราะหความเสี่ยงเชิงคุณภาพ ไดแก รายการตรวจสอบความเสี่ยง วงจรชีวิตของโครงการ การ ตัดสินใจแบบกิ่งกานสาขา 1 (Decision Tree) ตารางลิงคภายใน (Intrinsic Link Table: WBS-RBS 2) ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีวิธีการวิเคราะหความเสี่ยงเชิงปริมาณพื้นฐานสามประการ: ทฤษฎีความนา ทฤษฎี การตั้งคาแบบหลายคุณลักษณะ และตรรกศาสตรคลุมเครือ หรือ ฟซซี่ลอจิก (Fuzzy Logic 3) การ บริหารความเสี่ยงของโครงการประกอบดวยสี่ขั้นตอน ไดแก การระบุ การวิเคราะห การตอบสนอง และการควบคุม และขอเสนอแนะของระบบที่ใชในการควบคุมความเสี่ยง ประสิทธิภาพการจัดการ ดังนั้นการจัดการความเสี่ยงของโครงการจึงเปนวิธีจัดการความเสี่ยงอยางมีประสิทธิภาพ จากการวิเคราะหยืนยันวาความเสี่ยงของโครงการมีผลกระทบเชิงลบอยางมีนัยสําคัญตอประสิทธิภาพ ของโครงการ 0
1
การตัดสินใจแบบกิ่งกานสาขา (decision tree) เปนการเสนอขอมูลทั้งทางเลือก สภาวการณ ผลตอบแทนในลักษณะของแผนภาพ แขนงโดยมีสัญลักษณตางๆ ใน บางครั้งนั้นเรื่องที่กําลังพิจารณาจะตองมีการตัดสินใจหลายครั้ง ซึ่งการใชวิธีแมทริกซนั้นไมสามารถทําได ดังนั้นจึงจําเปนตองใชการตัดสินใจแบบกิ่งกานสาขา 2 Risk Breakdown Structure – RBS เปนลําดับชั้นของความเสี่ยง ความเสี่ยงจะถูกแมปจากระดับสูงสุดของการลบออกไปสูระดับที่ตํ่า กวาและมีการกลั่นมากขึ้น โครงสรางนี้คลายคลึงกับโครงสรางของ Work Breakdown Structure (WBS) ในระดับสูงสุด โดยสามารถ แบงความเสี่ยงออกเปนความเสี่ยงดานเทคนิค การบริหารความเสี่ยง การวางแผนความเสี่ยงและความเสี่ยงจากภายนอก (ระดับ 1) จากนั้นจะทํางานในระดับที่ดีขึ้นเชนความเสี่ยงในการออกแบบ ความเสี่ยงดานการเงิน ฯลฯ (ระดับ 2) แมแตระดับลางก็มักจะถูกแบง ออก โดยสามารถลดความเสี่ยงในระดับลึกลงไปเรื่อย ๆ จนกวาจะมีความหมายอีกตอไป 3 Fuzzy logic (FL) คื อ วิ ธ ี ก ารออกแบบให ค อมพิ ว เตอร สามารถใช เ หตุ ผ ลที ่ ค ล า ยคลึ ง กั บ วิ ธ ี ก ารให เ หตุ ผ ลของมนุ ษ ย สํ า หรั บ ประกอบการตัดสินใจ ปกติคอมพิวเตอรจะสงกลับคําตอบที่เปน TRUE กับ FALSE และมนุษยมักจะมีคําตอบที่ชัดเจน คือ YES กับ NO: จาก https://th.wikipedia.org/wiki/ตรรกศาสตรคลุมเครือ
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
60 |
การจัดการความเสี่ยง
ความเสี่ยงสามารถแบงออกเปนหมวดหมูไดแก (1) อุปสงคและอุปทาน ที่เกี่ยวของกับตลาด (2) การแลวเสร็จ: ดานเทคนิคการกอสรางและการดําเนินงาน (3) สถาบัน: ระเบียบขอบังคับการยอมรับทางสังคมและอํานาจ และสามารถแบงออกไดเปนโดย ธรรมชาติและมนุษย รายละเอียดโครงสร างความเสี่ ยง สามารถแบงกลุมความเสี่ย ง การจัดหมวดหมูความเสี ่ยง และ เหตุการณความเสี่ยงในระดับตํ่าสุด ความเสี่ยงของโครงการแบงออกเปนหากลุม คือการจัดการ วิศวกรรม การจัดซื้อจัดจาง การกอสราง และการดําเนินการ ตารางที่ 8-1 รายละเอียดโครงสรางความเสี่ยง (Risk Breakdown Structure) WBS - ระดับ 0
การจัดการ
WBS - ระดับ 1
1- การจัดการโครงการ
2- การขาดความสนใจใน กฎหมายและขอบังคับ
3- เงินเฟอ
4- ความผันผวนของอัตรา แลกเปลี่ยนสกุลเงิน
5- การเพิ่มขึ้นของราคา นํ้ามันดิบระหวางประเทศ
6- ขาดความสนใจใน ขอกําหนดของสัญญา
7- ปญหาการสื่อสารใน องคกร
8- การขาดทักษะของ ลูกคา
9- ความลาชาในการ จายเงินและใบแจงหนี้
1- การเขาถึงระบบการ ออกแบบของที่ปรึกษา ตางชาติ
2- การออกแบบผิดพลาด
3- การเปลี่ยนแปลง ขอกําหนดในโครงการ
การออกแบบ รายละเอียด
4- ผิดพลาดในการ ออกแบบรายละเอียดจาก ขอมูลแบบเบื้องตน
5- ขาดผูเชี่ยวชาญ
6- ขาดคุณภาพในการ ออกแบบ
วัสดุ และอุปกรณ
1- ความสัมพันธระหวาง ประเทศ
2- ความกํากวมใน โครงการ
3- ผูขายที่ไมเหมาะสม
อะไหลในระยะยาว
4- แผนงานระยะยาวไม ถูกตอง
5- การสื่อสารขอมูลแก ผูขายไมถูกตอง
6- ขาดประสบการณใน การตรวจรับ
การเตรียมสถานที่ กอสราง
1- ปญหาทางสภาพธรณี และสถานที่กอสราง
2- สภาพภูมิอากาศที่ไม เหมาะสม
3- การเคลื่อนยายของหนัก
การเตรียมแคมป กอสราง
4- เรื่องสุขอาชีวอนามัย
5- การจราจลของคนงาน
6- ปญกาการสื่อสาร ระหวางสํานักงานและ สถานที่กอสราง
การออกแบบเบื้องตน
การออกแบบ
การจัดหา/จัดซื้อ
การกอสราง
ความเสี่ยงเริ่มตน (The Initial Risks)
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
61 | การจัดการความเสี่ยง WBS - ระดับ 0
WBS - ระดับ 1
ความเสี่ยงเริ่มตน (The Initial Risks)
การกอสรางสถานที่ ทํางาน
7- การเปลี่ยนแปลง ขอบเขตงานกอสราง
8- การขาดแคลนแรงงาน ชางฝมือที่มีประสบการณ
9- โรคติดตอ
การกอสรางโรงงาน
10- อุปสรรคจากผูรับจาง ชวง
11- ความลาชาในการ จายเงินผูรับจางชวง
12- ความบกพรองในการ ตรวจคุณภาพ QA/QC และการตรวจสอบ
2- คุณภาพของวัสดุในการ เดินระบบไมไดคุณภาพ
3- การเดินระบบไมถูกตอง ตามวิธีการ
13- ความลาชาในการสง อุปกรณ
การดําเนินการเดิน ระบบ
การเตรียมการดําเนิน เดินระบบ
1- การเดินระบบไมไดตาม ขอกําหนด
การดําเนินการเดิน ระบบ
8.3 การวิเคราะหความเสี่ยงตามสัญญา
รูปที่ 8-2 ตัวอยางความเสี่ยงของโครงการ ตัวอยางความเสี่ยงของโครงการหนึ่ง โครงการมีความเสี่ยงที่หลากหลาย ตามวงจรชีวิตของสัญญาโดย มีความเสี่ยงในขั้นตอนการจัดทําสัญญาและขั้นตอนการปฏิบัติตามสัญญา ในขั้นตอนของการจัดตั้ง สัญญาความเสี่ยงสามารถแบงออกเปนความเสี่ยงกอนการประกวดราคา และความเสี่ยงในการจัดทํา ขอเสนอ ในขั้นตอนของการดําเนินการตามสัญญาความเสี่ยงดานการออกแบบ/วิศวกรรม ความเสี่ยง ดานการจัดซื้อ และความเสี่ยงดานการกอสราง สําหรับความเสี่ยงในการกอสรางสามารถแบงออกได เปนความเสี่ยงดานคุณภาพ ความเสี่ยงดานตนทุน และความเสี่ยงดานความปลอดภัย 8.3.1 ความเสี่ยงในชวงการจัดทําสัญญา (ก) ความเสี่ยงกอนการประกวดราคา ความเสี่ยงที่เกี่ยวของมีดังนี้
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
62 |
การจัดการความเสี่ยง
- ความเสี่ยงทางการเมืองเชนความสัมพันธระหวางประเทศ อาทิเชนสถานการณทางการเมืองใน ตะวันออกกลาง จะตองระมัดระวังความเปนไปไดของการโจมตีของผูกอการรายและนโยบายความ ตอเนื่องและความมั่นคงในประเทศ - ความเสี่ยงดานกฎหมายเชนพนักงานไมคุนเคยกับกฎหมายทองถิ่นและระบบกฎหมายที่แตกตาง - ขอมูลไมถูกตอง - ตัวแทนไมนาเชื่อถือ - สถานการณในประเทศเจาบานไมชัดเจน - ไมคุนเคยกับตลาด - ไมคุนเคยกับสถานการณของคูแขง - การวิเคราะหความเสี่ยงไมเพียงพอ - ขอผิดพลาดในการตัดสินใจ (ข) ความเสี่ยงในการจัดทําขอเสนอ ความเสี่ยงที่เกี่ยวของมีดังนี้ - งานเบื้องตนไมเพียงพอ - ขอกําหนดการประกวดราคาไมชัดเจน - การขาดแคลนขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับการออกแบบ - การวิเคราะหเกี่ยวกับเอกสารประกวดราคาไมเพียงพอ - ความลมเหลวในการตรวจสอบจุดที่สําคัญ - ความลมเหลวเกี่ยวกับการคาดการณระยะเวลาการดําเนินการ - ความลมเหลวในการเลือกบริษัทรวมทุน หรือผูรับจางชวง - ไมคุนเคยกับภาษีทองถิ่นและคาธรรมเนียมและราคาตลาดของทรัพยากรประเภทตาง ๆ ในประเทศ นั้น ๆ เชนแรงงาน วัสดุ อุปกรณเครื่องจักร ฯลฯ - ความเสี่ยงที่เกิดจากการจัดระเบียบทรัพยากร ไมคุนเคยกับการขนสงทรัพยากรจากแหลงวัสดุ เกี่ยวกับวิธีการ ขั้นตอน วงจรระดับความยาก และคาใชจาย - ความเสี่ยงของการใชทรัพยากรและการเพิ่มขึ้นของราคาที่เกิดจากการลงทุนมากเกินไป - ความเสี่ยงตามธรรมชาติ ความเสี่ยงจากสภาพภูมิอากาศที่ยากลําบาก (อุณหภูมิสูง) การเพิ่มตนทุน แรงงาน - ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน - ประเมินการเสนอราคาตํ่าเกินไป 8.2.2 ความเสี่ยงในชวงการปฏิบัติตามสัญญา (1) ความเสี่ยงดานออกแบบ/วิศวกรรม (ก) ความเสี่ยงที่เกิดจากเจาของงานและบริษัทที่จัดการโครงการ สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
63 | การจัดการความเสี่ยง (ข) ความเสี่ยงที่เกิดจากผูรับจางชวง (ค) ความเสี่ยงที่เกิดจากผูรับจาง (2) ความเสี่ยงดานการจัดซื้อ การวิเคราะหความเสี่ยงดานการจัดซื้อจากแหลงที่มาของความเสี่ยง ความเสี่ยงแบงออกเปนสี่ดาน ดังนี้ (ก) ความเสี่ยงที่เกิดจากเจาของงาน และบริษัทที่จัดการโครงการ (ข) ความเสี่ยงที่เกิดจากผูผลิตวัสดุ (ค) ความเสี่ยงที่เกิดจากกองทุน (ง) ความเสี่ยงที่เกิดจากผูรับจางชวง (3) ความเสี่ยงในการกอสรางโครงการ (ก) ความเสี่ยงที่เกิดจากการออกแบบ/วิศวกรรมและการจัดซื้อ (ข) ความเสี่ยงที่เกิดจากสถานการณการประสานงานของพันธมิตร (ค) ความเสี่ยงที่เกิดจากสถานการณทางธรรมชาติและสังคม (1) ความเสี่ยงดานการออกแบบ/วิศวกรรม (ก) ความเสี่ยงที่เกิดจากเจาของงานและบริษัทที่จัดการโครงการ - เจาของงาน และ บริษัทที่จัดการโครงการพึงพอใจกับโครงการหรือไม มีความตองการพิเศษหรือไม? - มาตรฐานโครงการที่เจาของงานและบริษัทที่จัดการโครงการกําหนด - การขาดการประสานงานของเจาของงานและเจาหนาที่ดานการจัดการโครงการจะมีผลตอความ คืบหนาของโครงการ (ข) ความเสี่ยงที่เกิดจากผูรับจางชวง - ผูรับจางชวงไมคุนเคยกับเงื่อนไข และมาตรฐานของโครงการ - พนักงานของผูรับจางชวงขาดความรู ความเขาใจในดานเทคนิค - มีการใชมาตรฐานการออกแบบในทางที่ผิด - ไมคุนเคยกับสภาพและการปฏิบัติในทองถิ่น (ค) ความเสี่ยงที่เกิดจากผูรับจาง - ความสามารถของผูรับจางในการจัดการดานวิศวกรรม - การใชมาตรฐานการออกแบบในทางที่ผิด - ไมคุนเคยกับสภาพและการปฏิบัติในทองถิ่น (2) ความเสี่ยงดานการจัดซื้อ (ก) ความเสี่ยงที่เกิดจากเจาของงานและบริษัทที่จัดการโครงการ - ผลิตภัณฑที่กําหนดโดยเจาของงานและบริษัทที่จัดการโครงการไมพรอมใชงานในประเทศนั้น ๆ - เจาของงานและบริษัทที่จัดการโครงการไมเห็นดวยกับคุณภาพของวัตถุดิบ สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
64 |
การจัดการความเสี่ยง
- ความพึงพอใจของเจาของงานและบริษัทที่บริหารโครงการตอผูผลิตสินคาจะนําไปสูการขาดแคลน วัตถุดิบและความลาชาในเวลา (ข) ความเสี่ยงที่เกิดจากผูผลิตสินคา - ราคาวัสดุแพง - การขาดแคลนวัส ดุ และแรงงานเนื ่ องจากสภาวะทางด านการตลาดเกิน คาดจะสงผลกระทบต อ ระยะเวลาการผลิต (ค) ความเสี่ยงที่เกิดจากการระดมทุน - ปญหาจากการจายเงินลวงหนาในการซื้อวัสดุ บางครั้งอาจตองชําระเงินเต็มจํานวน - รอบการจัดสงมักจะอยูในชวงสองเดือนถึงสี่เดือนซึ่งหมายถึงผูซื้อจะตองชําระเงินลวงหนา (ง) ความเสี่ยงที่เกิดจากผูรับเหมาชวง - ทัศนคติของผูรับจางชวง หนวยงานกอสราง (บริษัทรับเหมากอสราง) มีทัศนคติเชิงลบตอผูผลิตสินคา ผูผลิตสินคาทองถิ่นจะขอ แผนความตองการลวงหนาหนึ่งสัปดาหและมีการยืนยันลวงหนากอนสองวัน แตบริษัทกอสรางไมไดให แผนความตองการที่แมนยํา และบางครั้งยกเลิกแผนความตองการโดยไมแจงผูผลิตสินคา ทําใหผูผลิต สินคาแสดงความไมเต็มใจที่จะใหความรวมมือ (3) ความเสี่ยงในการกอสรางโครงการ (ก) ความเสี่ยงที่เกิดจากการออกแบบ/วิศวกรรมและการจัดซื้อ - การเปลี่ยนแปลงการออกแบบ - การเลือกวัสดุ (ข) ความเสี่ยงที่เกิดจากสถานการณการประสานงานของหุนสวน - การปฏิบัติงานของงานออกแบบ/วิศวกรรม การจัดซื้อ และการกอสรางไมสัมพันธกัน การขาดการเตรียมการในการออกแบบกอสราง จะเปนไปไดที่จะทําใหงบโครงการเกินจากงบประมาณ ที่ประมาณการไว อยางไรก็ตามเนื่องจากความลาชาของการออกแบบ/วิศวกรรม อาจทําใหเวลาใน การจัดหาถูกเลื่อนออกไป วิศวกรอาจไมคุนเคยกับบรรทัดฐานและมาตรฐานในประเทศนั้น ๆ แมวาจะ คุนเคยกับมาตรฐานสากล เชน API, AMST, ASME, etc ก็ตาม (ค) ความเสี่ยงที่เกิดจากสถานการณทางธรรมชาติและสังคมในประเทศนั้น ๆ - สภาพธรรมชาติ - ประเด็นทางศาสนา
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
65 |
การจัดการขอเรียกรองและขอพิพาท
9. การจัดการขอเรียกรอง ขอเรียกรองที่มักเกิดขึ้นในสัญญากอสราง โดยทั่วไปจะเปนขอเรียกรองดานการเงิน และขอเรียกรอง ดานเวลา แมวาผูรับจางอีพีซี จะตองรับภาระความเสี่ยงในสัญญาเอง แตการเปลี่ยนแปลง และการ เพิ่มเนื้องานโดยผูวาจางนั้น ผูรับจางยอมมีสิทธิไดรับการชดเชยในคาใชจายที่เพิ่มขึ้น รวมทั้งการขยาย ระยะเวลาตามเหตุผลและความเหมาะสมดวยความเปนธรรม
10. การจัดการขอพิพาท เมื่อการเรียกรองขั้นตนไมไดรับการยอมรับจากคูสัญญา ก็มักจะนําไปสูความขัดแยง และเกิดเปนขอ พิพาท แนวทางในการระงับขอพิพาท มีวิธีการระงับไดหลายวิธีดังนี้คือ 1. การเจรจา 2. การไกลเกลี่ย 3. การชี้ขาดโดยผูบริหารงานกอสราง 4. การชี้ขาดโดยองคกรผูชี้ขาด 5. การอนุญาโตตุลาการ 6. ศาล ในสัญญาสากล FIDIC ฉบับลาสุด แนะนําใหระงับขอพิพาทดวยการปองกัน หลีกเลี่ยง ตั้งแตเริ่ม โครงการ จะเรียกวา DAAB DAAB ยอมาจากคําวา Dispute Avoidance/Adjudication Board ใชในสัญญา FIDIC ฉบับปจจุบัน (2017) ไมวาจะเปนสัญญาจางกอสรางอาคารและงานโยธา ออกแบบโดยผูวาจาง (เลมแดง) สัญญา จางออกแบบและกอสราง (Design and Build) (เลมเหลือง) หรือสัญญาจางเหมาเบ็ดเสร็จ (EPC) (เลมสีเงิน) เปนแนวคิดใหคนอื่นที่เชี่ยวชาญในการกอสรางมาชวย "หลีกเลี่ยง" (Avoid) และ "ตัดสิน" (Adjudicate) ปญหาของการกอสราง ระหวางผูวาจาง กับ ผูรับจาง DAAB คณะผูชี้ขาดมีหนาที่หลักคือ (1) ตองมี "ขอพิพาท" (Dispute) ใหหลีกเลี่ยงหรือใหตัดสิน (2) ตองเปนขอพิพาทงานกอสราง พิพาทกันเรื่องอื่นไมเกี่ยว (3) ตองพิพาทกันระหวางคูสัญญานั้น ในประเทศไทยยังไมเปนที่นิยม เนื่องจากคูสัญญามักจะไมยอมเสียคาใชจายตั้งแตยังไมมีกรณีพิพาท อยางไรก็ตาม สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแหงประเทศไทยไดพยายามผลักดันใหมีการใชวิธีการหลีกเลี่ยง ขอพิพาทดวยวิธีการนี้
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
66 |
การจัดการขอเรียกรองและขอพิพาท
ขณะเดียวกันวิธีที่นิยมใชกันเปนสากลคือการไกลเกลี่ย ซึ่งมีขอแนะนําดังตอไปนี้ "Tips to the Mediation & Negotiation" 1 การไกลเกลี่ย คือการยุติ หรือ ระงับขอพิพาทดวยความตกลง ยินยอม ของคูพิพาทเอง โดยมี ผูไกล เกลี่ย เปนคนกลาง ชวยเหลือ แนะนํา เสนอแนะ หาทางออกในการยุติ หรือระงับขอพิพาท ใหแก คูพิพาท 0
กรอบการปฏิบัติหนาที่ และความมุงหวังในการปฏิบัติหนาที่ของผูประนีประนอม 1. ปฏิ บ ั ติ ห น า ที ่ โ ดยได ร ั บ มอบหมายภารกิจ อยา งเปน ทางการจากอธิบ ดีผ ู พิ พากษาฯ ใหเปน ผู ประนีประนอม 2. วางกรอบและกระบวนการในการไกลเกลี่ยตามระเบียบของสํานักงานศาลยุติธรรม และขอกําหนด ของศาลทรัพยสินทางปญญาฯ 3. การวางตนใหคูพิพาทเกิดความศรัทธา เชื่อถือ วางใจในความเที่ยงธรรมและเปนกลาง 4. ใหความเคารพในฐานะของคูพิพาทอยางเทาเทียมกัน 5. ใหโอกาสแกคูพิพาทในการเจรจาไกลเกลี่ยอยางเทาเทียมกัน 6. ศึกษา คนควา หาขอมูลอันเกี่ยวของกับคดีที่ไดรับมอบหมาย เพื่อใชประกอบในการเจรจา 7. ใชความรู ประสบการณ มนุษยสัมพันธ ไหวพริบ ปฏิภาณ และความอดทนในการปฏิบัติห นาที่ ผูประนีประนอม ทั้งการรับฟง ศิลปะในการพูด จิตวิทยา ฯลฯ ใหเกิดประสิทธิภาพและเป น ประโยชนตอการปฏิบัติหนาที่ 8. ชวยเหลือ แนะนํา เสนอแนะหาทางออก ในการยุติหรือระงับขอพิพาทใหแกคูพิพาท 9. มุงมั่นในการปฏิบัติหนาที่ผูประนีประนอม เพื่อใหเกิดผลสําเร็จในการเจรจาประนีประนอม 10. ชวยในการจัดทําขอสรุปผลการเจรจาและทําขอตกลง เมื่อคูพิพาทสามารถเจรจาตกลงกันได เพื่อ นําเรียนเสนอตอทานผูพิพากษาเจาของสํานวนพิจารณาสั่งการ ทําความเขาใจกับคูพิพาท กอนดําเนินกระบวนการไกลเกลี่ย เพื่อใหการเจรจาประนีประนอมเกิด ประสิทธิภาพ (1) การเจรจาประนีประนอมที่เกิดขึ้นนั้น เปนไปตามความประสงคของคูพิพาทเอง มิไดมีผูใดบังคับ (2) หากคูพิพาทฝายใดฝายหนึ่งพิจารณาเห็นวาการเจรจาประนีประนอมตอไปไมกอใหเกิดประโยชน ก็สามารถขอยุติการเจรจาไดทุกเวลา
"Tips to the Mediation & Negotiation" โดย : ปรีชา เศขรฤทธิ์ ดํารงตําแหนง ผูพิพากษาสมทบ ศาลทรัพยสินทางปญญา รุนที่ 1,4,7,10 1
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
67 | การจัดการขอเรียกรองและขอพิพาท (3) ขอมูลในระหวางการเจรจาประนีประนอม จะไมมีการบัน ทึ กไว ในรายงาน เวนแตเปน ความ ประสงคของคูพิพาท ทั้งนี้คูพิพาทไมสามารถนําไปใชอางอิงในขั้นตอนของกระบวนพิจารณาคดี ปกติไดแตอยางใดทั้งสิ้น (4) การยินยอมตกลงอยางใดอยางหนึ่งระหวางขอพิพาท เปนการตัดสินใจโดยความสมัครใจของ คูพิพาทเองทั้งสิ้น (5) ใหคําแนะนําแกคูพิพาท ใหดําเนินการเจรจาประนีประนอมดวยความตั้งใจจริง มุงหวังใหเกิดผล สําเร็จในการเจรจา ดวยความสุภาพ มีไมตรีจิต ใชวาจาสุภาพไมกาวราวตอกัน ละวางทิฐิศักดิ์ศรี ยอมผอนปรนแกกันตามควรแกกรณี (6) การไกลเกลี่ย จะไมกาวลึกลงไปในขอกฏหมายหรือขอเท็จจริง แตจะดําเนินไปบนพื้นฐานของการ หาทางออกรวมกัน เพื่อใหบรรลุสูความตกลงอันเปนประโยชนดวยกันทุกฝาย (7) ในบางกรณี ผู ป ระนี ป ระนอม หรือคูพิพาท อาจขอใหมีการเจรจาแยกฝาย (Caucus) เพื่ อ ประโยชนในการเจรจาก็ได (8) ชี้แจงใหคูพิพาทไดเขาใจถึงประโยชนของการเจรจาประนีประนอม กลาวคือ สะดวก รวดเร็ว ประหยัด รักษาสัมพันธภาพอันดีของคูพิพาทใหมีรวมกันไดตอไป คูพิพาทเกิดความพึงพอใจในผล การเจรจา เนื่องจากเปนไปตามการตัดสินใจและความตองการของผูประนีประนอมเอง โดยไมมี ฝายใดแพ หรือฝายใดชนะ ปจจัยสําคัญที่มีผลตอการเจรจาไกลเกลี่ย (1) ความตั้งใจจริงของคูเจรจา (2) ความรับผิดชอบในการเขารวมเจรจา ตามกําหนดนัดหมาย ของคูเจรจา (3) การใหความรวมมือ เพื่อนําไปสูจุดหมายอันเปนที่ยอมรับรวมกันได ของคูเจรจา (4) การรักษากติกา มารยาท ในการเจรจาของคูเจรจา เชน การแสดงกิริยา วาจา ความสุภาพ (5) การเตรียมตัว เตรียมขอมูลใหพรอมเพื่อการเจรจาของคูเจรจา (6) ความมีไมตรีจิต ถอยทีถอยเจรจา ผอนปรนตอกัน โดยคํานึงถึงผลประโยชนรวมกัน (7) ความคํานึงถึงสัมพันธภาพ และโอกาสที่จะยังคงทําธุรกิจรวมกันตอไปของคูเจรจา (8) การคํานึงถึงผลทางกฎหมาย อันอาจเกิดมีตามมาจากการเจรจา (9) การคํานึงถึงผลตอเนื่อง ในกรณีที่มีคดีความอื่นอยูระหวางการดําเนินคดีของคูเจรจา (10) ความตองการใหไดผลการเจรจาที่จะสามารถนําไปเปนบรรทัดฐานของคูเจรจา ในการดําเนินคดี อื่นที่มีลักษณะเดียวกัน (11) ความสมประสงคในมูลคาการชดใช ผลตอบแทน ประโยชน ทั้งในรูปตัวเงิน และมิใชตัวเงิน ของ คูเจรจา สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
68 |
การจัดการขอเรียกรองและขอพิพาท
(12) ความพรอมดานการเงินของคูเจรจาฝายที่ตองชดใช (13) การติดขัดในปญหาดานกฎหมาย หรือขอกําหนดของคูเจรจา (14) ตัวแทนคูเจรจาไมมีอํานาจตัดสินใจ (15) การมี ความขั ดแยง หรื อป ญ หากั นมากอนของคูเจรจา ทําใหเกิดปญหาตอเนื่อง เชน เรื่อง ความสัมพันธ ความระแวง ทิฐิ ศักดิ์ศรีที่มีตอกัน (16) ความตองการไดขอมูล เพื่อเปนประโยชนของคูเจรจา ในการใชดําเนินคดี (17) ความไดเปรียบดานฐานะทางสังคม การเงิน อํานาจตอรอง ของคูเจรจา (18) ปญหาดานการสื่อสารระหวางคูเจรจา เชน ภาษา วัฒนธรรม ประเพณี (19) ความรวมมือชวยเหลือของทนาย ในการชี้แจงทําความเขาใจกับคูค วาม (20) ความขัดแยงกัน ระหวางทนายของคูเจรจา (21) ฝายบริหารของคูเจรจาฝายใดฝายหนึ่ง หรือหลายฝาย ถูกปกปดขอมูลบางประการ หรือ ไมไดรับ ขอมูลที่ถูกตอง ครบถวน ชัดเจน จากบุคลากรฝายตนเอง อาจมีผลทําใหการตัดสินใจของฝาย บริหารผิดพลาด ใชการพูดโนมนาว จูงใจ ในการเจรจาไกลเกลี่ย (1) พยายามเปลี่ยนความเชื่อ ทัศนคติ คานิยม ของคูเจรจา เขาหากัน ในทางที่จะเปนประโยชนตอ การเจรจา (2) ทําใหคูเจรจาประจักษวา จะไดผลตอบสนองความตองการที่เกิดประโยชนตอคูเจรจาทุกฝาย (3) ทําใหคูเจรจาเกิดการยอมรับ และยอมเปลี่ยนแปลง (4) แสดงใหเห็นดวยเหตุผล ถึงความนาเชื่อถือในตัวบุคคลผูโนมนาวใจ (5) แสดงใหเห็นถึงเหตุผล และคุณคา ในสิ่งที่โนมนาวใจ (6) แสดงใหเห็นถึงความรูสึกและอารมณรวม ในทางที่จะชวยสงเสริมการเจรจา (7) แสดงใหเห็น ทั้งดานดี และดานเสีย ของทางเลือกแตละทาง เพื่อคูเจรจาใชในการพิจารณา ตัดสินใจ (8) พยายามเปลี่ยนบรรยากาศในการเจรจา เพื่อความผอนคลาย ใหพรอมที่จะคลอยตาม เราใหเกิด อารมณคลอยตาม
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ
สัญญาออกแบบ จัดหา และกอสราง ฉบับประสบการณ Engineering, Procurement and Construction Contract (EPC) for Beginner
บรรณานุกรม คณะทํางาน สวนบริหารการพัสดุ สํานักบริหารกลาง สํานักงานปลัดกระทรวงการคลัง (ไมระบุป) แนว ทางการจั ด ทํ า ร า งขอบเขตของงาน (Terms of Reference - TOR) สื บ ค น จาก https:// palad.mof.go.th/th/view/attachment/file/34373830/Manual-TOR-04-2556.pdf FIDIC (1999) EPC/Turnkey Contract 1st Ed (1999 Silver Book) https:// fidic.org/books/ epcturnkey-contract-1st-ed-1999-silver-book Kyle Costa and Cristian Pimentel (2 0 0 9 ) . Contract Management for International EPC Projects (A Major Qualifying Project Report) Degree of Bachelor of Science / Worcester Polytechnic Institute / Retrieved from https://web.wpi.edu/Pubs/E-project/Available/Eproject-082709-221159/unrestricted/ ContractManagementforInternationalEPC Projects.pdf Nicholas Gould (2018) The New 2017 FIDIC Red, Yellow and Silver Books Retrieved from https://www.fenwickelliott.co.uk/sites/default/files/scl_-_the_new_2017_fidic_red_yellow _ and_ silver_books_with_scl_logo-1.pdf Procurement and Materials Management ( 2 0 1 7 ) Engineering, Procurement & Construction (EPC) EPC Construction Management Guide. Retrieved from https://www.hanford.gov/tocpmm/files.cfm/TFC-EPC-CM-D-13_EPC_ Construction_ Management_Guide.pdf World Bank Group (2017) EPC Template Retrieved from https:// ppp.worldbank.org/ public-private-partnership /sites/ ppp.worldbank.org/ files/ documents/ epc_template_EN.doc
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
ภาคที่ 2 ภาคปฏิบัติ สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง
2-1 |
คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา
คู่มือการจ ัดเตรียม เอกสารประกวด ราคา
TENDER DOCUMENTS PREPARATION MANUAL
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-2 |
คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา
1. บทนา เมื่อเริ่มโครงการ ในสัญญาก่อสร้างทั่วไป เจ้าของโครงการจะทาการออกแบบรายละเอียดโครงการ โดยมีแบบ ข้อก าหนด และรายละเอียด แต่ ใ นกรณีสัญญา อีพีซี เจ้า ของโครงการจะก าหนด รายละเอี ย ด ข้ อ ก าหนดความต้ อ งการ และการออกแบบพื ้ น ฐาน ฯลฯ (Employer’s Requirement and Basic Design etc.) เพื่อให้ผู้ร ับจ้า งออกแบบ จากนั้นจะท าการประกวด ราคาเพื่อหาผู้รับจ้างท าการก่อสร้าง ในการประกวดราคาจ าเป็นต้องมีเอกสารเพื่อเป็นข้อมูลให้ผู้ รับจ้างทราบว่ารายละเอียดโครงการเป็นอย่างไร คุณสมบัติของ ผู้เข้าประกวดราคาเป็นอย่างไร มี เงื่อนไขในการจ้าง การจ่ายเงินเป็นอย่างไร กาหนดการต่าง ๆ ในการประกวดราคา ระยะเวลาการ ก่อสร้าง ฉะนั้นเอกสารประกวดราคาจึงมีความส าคัญ โดยต้องระบุรายละเอียดต่าง ๆ ให้ชัดเจน เพื่อให้ผู้ประกวดราคาเสนอราคาได้ถูกต้อง เหมาะสม สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการตาม เวลาที่กาหนด เอกสารประกวดราคาเป็นเอกสารแสดงข้อมูลให้ผู้รับจ้างทราบว่ารายละเอียดโครงการเป็นอย่างไร คุณสมบัติของผู้เข้าประกวดราคาเป็นอย่างไร มีเงื่อนไขในการจ้าง การจ่ายเงินเป็นอย่างไร กาหนดการ ต่าง ๆ ในการประกวดราคา ระยะเวลาการก่อสร้าง ฉะนั้นเอกสารประกวดราคาจึงมีความสาคัญ โดย ต้องระบุรายละเอียดต่าง ๆ ให้ชัดเจน เพื่อให้ผู้ประกวดราคาเสนอราคาได้ถูกต้อง เหมาะสม สอดคล้อง กับวัตถุประสงค์ของโครงการตามเวลาที่กาหนด ขั้นตอนในการจัดทาเอกสารการประกวดราคา • การวางแผน ขั้น ตอนนี้คือการก าหนดคุณสมบัติของผู้เข้าประกวดราคา เพื่อตอบสนองความต้องการของ โครงการ โดยคานึงถึงประสบการณ์ และทรัพยากร รวมถึงภารกิจและวิสัยทัศน์ของผู้เข้าประกวด ราคา • เตรียมการประกวดราคา จัดทาเอกสารประกวดราคา เพื่อตอบสนองวัตถุประสงค์ของโครงการ • การเสนอราคา การประกวดราคาจะค านึงข้อเสนอทางเทคนิคเป็นหลัก และผู้เสนอราคาต ่าสุดมักได้รับการ พิจารณาเป็นรายแรกก่อนเสมอ อย่างไรก็ตามผู้เสนอราคาต่าสุด อาจมิใช่ผู้ประกวดราคาที่มีความ เหมาะสม โดยจะต้ อ งสามารถตอบสนองความต้ อ งการของโครงการ ผ่ า นต้ น ทุ น ที ่ ส ามารถ ตรวจสอบให้แน่ใจว่าถูกต้อง ชัดเจน มีเหตุผลที่ยอมรับได้ และเป็นประโยชน์สาหรับโครงการ
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-3 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา • การยื่นข้อเสนอ การยื่นข้อเสนอประกวดราคา มีหลายวิธี ได้แก่ ❖ การยื่นซองข้อเสนอ ❖ การยื่นข้อเสนอแบบอิเล็คทรอนิกส์ สาหรับงานราชการ E-Auction (ปัจจุบันเลิกใช้แล้ว) E-Bidding • การประกาศผลผู้ชนะการประกวดราคา การประกาศผลผู้ชนะการประกวดราคา มีข้อพิจารณาดังต่อไปนี้ ❖ ทบทวนเอกสาร สัญญา เงื่อนไขต่าง ๆ ❖ ทบทวนระยะเวลาส่งมอบ ❖ การออกหนังสือ Letter of Intent, Letter of Acceptance ฯลฯ 2. องค์ประกอบของเอกสารประกวดราคา เอกสารประกวดราคา ประกอบด้วยเอกสารต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ • จดหมายเชิญ • ประกาศ • ข้อกาหนดรายละเอียดของงาน (Terms of Reference: TOR) • คาแนะนาผู้เข้าประกวดราคา (Instructions to Bidders) • ตัวอย่างสัญญา/ข้อตกลง (Contract/Agrrement) • เงื่อนไขของสัญญา (Conditions of Contract: General and Particular) • ข้อกาหนด (Specifications) • แบบ (Drawings) • ข ้ อ ก า ห น ด ค ว า ม ต ้ อ ง ก า ร ข อ ง เ จ ้ า ข อ ง ง า น / ร า ย ล ะ เ อ ี ย ด เ ฉ พ า ะ ( Employer’s Requirement/Particular Requirement) สาหรับสัญญา EPC • ใบเสนอราคา/บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา (Price Schedule/ Bill of Quantities) • แบบฟอร์มประกอบการเสนอราคาอื่น ๆ • Letter of Intent, Letter of Acceptance/Letter of Award
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-4 |
คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา
2.1 ประกาศ ประกาศเป็นเอกสารซึ่งเจ้าของงานประกาศแจ้งการประกวดราคาโครงการ แสดงรายะเอียด ขอบเขต ของโครงการโดยสังเขป ระบุคุณสมบัติของผู้ที่สามารถเข้าประกวดราคาได้ กาหนดการประกวดราคา ต่าง ๆ สถานที่ติดต่อ 2.2 ข้อกาหนดขอบเขตของงาน (Terms of Reference: TOR) ข้อก าหนดขอบเขตของงานจะกล่าวถึงความเป็นมาของโครงการ วัตถุประสงค์ คุณสมบัติของผู้ ประสงค์จะเสนอราคา เอกสารหลักฐานต่างๆ ประกอบการคัดเลือกผู้เสนอราคา แบบฟอร์มการเสนอ ราคา ข้อมูลจาเพาะทางเทคนิค รายละเอียดการยื่นข้อเสนอ รูปแบบรายการหรือคุณลักษณะเฉพาะ หลักเกณฑ์การพิจารณาข้อเสนอ ระยะเวลาการดาเนินงานและส่งมอบงาน สถานที่ติดต่อสอบถาม ข้อมูลเพิ่มเติม การกาหนด TOR 1) ความหมายของ TOR • TOR ย่อมาจาก Terms of Reference หมายถึง ขอบเขตรายละเอียดของงาน โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อ ประกาศหาผู้ขายหรือผู้รับจ้างตามกรรมวิธีต่าง ๆ ต่อไป • เป็น เอกสารที่ก าหนดขอบเขตของงานและรายละเอียดของภารกิจที่ผ ู้จัดท า TOR ต้องการให้ผู้ขายหรือผู้รับจ้างดาเนินการ รวมทั้งความรับผิดชอบอื่น ๆ ของผู้ขายหรือผู้ รับ จ้างที่เกี่ย วข้องกับ ภารกิจนั้น รวมถึงข้อก าหนดที่ ผ ู้ซื้อหรือผู้ว ่าจ้างต้องการให้ ดาเนินการ ขั้นตอน วิธีการต่าง ๆ ระเบียบวิธีปฏิบัติ 2) ความสาคัญของ TOR • สาคัญต่อคุณภาพของผลงาน • เป็นเอกสารอ้างอิงที่ใช้เป็นส่วนหนึ่งของสัญญา 3) ลักษณะของ TOR ที่ดี • ระบุความจาเป็นและลักษณะที่ต้องการนาไปใช้ประโยชน์ได้อย่างชัดเจน • ระบุข้อความที่ไม่กากวม ตรวจสอบได้ • ไม่ระบุรายการที่เกินความจาเป็น • เป็นข้อกาหนด (Specifications) กลางของหน่วยงาน จะช่วยให้การจัดซื้อ จัดจ้างตรง ตามวัตถุประสงค์การใช้งาน ประหยัด รวดเร็ว 4) หลักการกาหนดขอบเขตของงาน TOR • มีความเปิดเผย โปร่งใส และเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันกันอย่างเป็นธรรม • การก าหนดรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะจะต้องไม่มีลักษณะกีดกันผู้ผลิตหรือ ผู้ขายวัสดุรายอื่น ๆ สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-5 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา • สินค้าและบริการเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม • กาหนดคุณสมบัติของผู้เข้าประกวดราคาอย่างชัดเจน 5) องค์ประกอบของขอบเขตของงาน TOR • ความเป็นมา • วัตถุประสงค์ • คุณสมบัติผู้เสนอราคา • คุณลักษณะเฉพาะของพัสดุ (งานซื้อ) / รายการละเอียดของงาน (งานจ้าง) • ระยะเวลาดาเนินการ และระยะเวลาส่งมอบของงานหรือโครงการ • เงื่อนไขการชาระเงิน และวงเงินในการจัดหา • ผู้รับผิดชอบโครงการ 2.3 คาแนะนาผู้เข้าประกวดราคา (Instructions to Bidders) คาแนะนาผู้เข้าประกวดราคาประกอบด้วยรายละเอียดของเอกสารโครงการว่าประกอบด้วยอะไรบ้าง คุณสมบัติของผู้ย ื่น ข้อเสนอ เอกสารหลักฐานต่าง ๆ ข้อมูลจ าเพาะทางเทคนิค หลักฐานการยื่น ข้อเสนอ รายละเอียดการเสนอราคา หลักประกันการเสนอราคา หลักเกณฑ์และสิทธิในการพิจารณา การทาสัญญาจ้างก่อสร้าง ค่าจ้างและการจ่ายเงิน อัตราค่าปรับ กรณีทางานไม่แล้วเสร็จตามสัญญา การรับประกันความชารุดบกพร่อง การจ่ายเงินล่วงหน้า การหักเงินประกันผลงาน ข้อสงวนสิทธิ์ใน การยื่นข้อเสนอและอื่นๆ การปรับราคาค่างานก่อสร้าง มาตรฐานฝีมือช่าง การปฏิบัติตามกฎหมาย และระเบียบ การประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการ 2.4 ตัวอย่างสัญญาข้อตกลง (Contract Agreement) เจ้าของโครงการหรือเจ้าของงานจะต้องแนบตัวอย่างสัญญาก่อสร้างที่จะใช้บังคับ ผูกพันผู้ที่เกี่ยวข้อง ไปด้วยเพื่อเป็นแนวทางให้ผู้ที่จะเข้าประกวดราคาได้ทราบว่าเป็นสัญญาประเภทใด มีส่วนใดที่ยังสงสัย ต้องการคาอธิบายเพิ่มเติมเป็นต้น ซึ่งทั้งสองฝ่ายจะต้องเข้าใจตรงกัน ประกอบด้วยสาระสาคัญ ดังนี้ วันที่ และสถานที่ทาสัญญา ชื่อ และ ที่อยู่ของคู่สัญญา ข้อตกลงจ้างและรับจ้าง เงื่อนไขที่สาคัญ ส่วนสาหรับลงลายมือชื่อของคู่สัญญา สรุปสั้น ๆ คือ ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไร เสร็จเมื่อไร เป็นเงินเท่าใด และลงนาม
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-6 |
คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา ตัวอย่างสัญญาจ้าง
ทำที่ ....................................... วันที่ ....................................... สัญญำฉบับ นี้ ท ำขึ้ น ระหว่ ำง .......................................... ตั้งส ำนัก งำนอยู่ ที่ ......................................................................................................ซึง่ ต่อไปในสัญญำนี้เริยกว่ำ "ผู้ว่าจ้าง " ฝ่ำยหนึ่ง กับ .......................................................................... ตั้งส ำนักงำนอยู่เลขที่ ……….. ซอย ………………………………………….. ถนน ........................................ แขวง................................................... เขต........................................... จังหวัด................... ซึง่ ต่อไปในสัญญำนี้เริยกว่ำ "ผู้รับจ้ำง" อีกฝ่ำยหนึ่ง โดยมีข้อตกลงกันดังต่อไปนี้:ข้อ 1. ผู้ว่าจ้าง ตกลงจ้ำงผู้รับจ้ำงและผู้รับจ้ำงตกลงรับจ้ำงเพื่อมุ่งควำมสำเร็จในงำน ซึ่งต่อไปในสัญญำนี้เริยกว่ำ "งำน" ให้ถูกต้องตำมแบบรูป และรำยกำรละเอียดที่แนบท้ำยสัญญำ ทุกประกำร รวมเป็นเงินค่ำจ้ำงทั้งสิ้น .................บำท (...................................................................) รำคำนี้ไม่รวมภำษีมลู ค่ำเพิ่ม (ถ้ำมี) ข้อ 2. ผู้ร ับ จ้ำงสัญญำว่ำจะจัดหำสิ่งของชนิดดี ใช้เครื่องมือดี และช่างฝีมือดี เพื่อประกอบกำรทำงำนตำมสัญญำนี้จนแล้วเสร็จ ผู้รับจ้ำง และบุคลำกรของผู้รับจ้ำง ไม่อยู่ภำยใต้กำรบังคับบัญชำของผู้ว่าจ้าง และ ผู ้ ว ่ า จ้ า ง ไม่ ม ี อ ำนำจในกำรลงโทษทำงวิ น ั ย ผู ้ ร ั บ จ้ ำ ง และบุ ค ลำกรของผู ้ ร ั บ จ้ ำ งไม่ ต ้ อ ง อยู่ภำยใต้ระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับกำรท ำงำนของผู้ว่าจ้าง ผู้รับจ้ำงกับ ผู้ว่าจ้าง ไม่มีสถำนภำพ ในกำรเป็น ลูกจ้ำงกับ นำยจ้ำง แต่มีส ถำนภำพเป็นผู้รับจ้ำงกับผู้ว ่ำจ้ำง มีควำมผูกพันในกำรจ้ำง เพื่อมุ่งควำมส ำเร็จ ซึ่ง เป็น กำรจ้ำงท ำของไม่อยู่ภ ำยใต้กำรบังคับตำมกฎหมำยแรงงำนทุกฉบับ เนื่องจำกมิใช่เป็นกำรจ้ำงแรงงำน ข้ อ 3. ในวั น ท ำสั ญ ญำนี ้ ผ ู ้ ร ั บจ้ ำ งได้ น ำหลั ก ประกั น เป็ น .............................. เป็ น จ ำนวนร้ อ ยละ .............ของรำคำค่ ำ จ้ ำ งตำมสั ญ ญำนี ้ มำมอบไว้ แ ก่ ผ ู ้ ว ่ า จ้ า ง เพื ่ อ เป็ น ประกั น กำรปฏิ บ ั ต ิ ต ำมสั ญ ญำ หลั ก ประกั น ดั ง กล่ ำ ว มี อ ำยุ ป ระกั น ................... นับตั้งแต่วันที่สัญญำฉบับนี้มีผลบังคับใช้ หรือตั้งแต่วันที่ผู้รับจ้ำงเริ่มทำงำนไปจนกว่ำผู้รับจ้ำงจะพ้น ควำมรับผิดชอบตำมสัญญำนี้ (กรณีหลักประกันเป็นเงินสด หรือ หลักประกันประเภทอื่นที่ ผู้ว่าจ้าง ก ำหนด) และหรื อ ตำมระยะเวลำที ่ ร ะบุ ใ นหนั ง สื อ สั ญ ญำค ้ ำ ประกั น (กรณี ห ลั ก ประกั น เป็ น หนังสือสัญญำค ้ำประกัน ) และถ้ำก ำหนดเวลำควำมรับผิดชอบของผู้รับจ้ำงตำมสั ญญำต้ อ งยื ด ออกไปด้ ว ยเหตุ ใ ด ๆ ก็ ต ำม ผู ้ ร ั บ จ้ ำ งต้ อ งน ำหลั ก ประกั น มำมอบไว้ แ ก่ ผ ู ้ ว ่ า จ้ า ง ให้ ม ี อ ำยุ กำรประกันให้ครบควำมรับผิดตำมสัญญำต่อไป หลักประกันที่ผู้รับจ้ำงน ำมำมอบไว้ตำมวรรคหนึ่ง ผู้ว่าจ้างจะคืนให้เมื่อผู้รับจ้ำง พ้นจำกข้อผูกพันตำมสัญญำนี้แล้ว โดยไม่มีดอกเบี้ยหรือผลประโยชน์ตอบแทนใด ๆ สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-7 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา ในกรณีที่ผู้รับจ้ำงได้ผิดนัด ผิดสัญญำ และหรือปฏิบัติผิดเงื่อนไขในสัญญำที่ทำไว้กับ ผู้ว่าจ้าง ทำให้ผู้ว่าจ้างมีสิทธิริบหลักประกัน และหรือเรียกค่ำปรับ ดอกเบี้ย ค่ำเสียหำย และหรือ ค่ำทดแทนใด ๆ จำกผู้รับจ้ำง และผู้ค้ำประกันตำมเงื่อนไขที่กำหนดในสัญญำนี้ และสัญญำค้ำประกัน ซึ ่ ง ได้ ว ำงเป็ น ประกั น กำรปฏิ บ ั ต ิ ต ำมสั ญ ญำนี ้ ผู ้ ว ่ า จ้ า งจะมี ห นั ง สื อ แจ้ ง หรื อ บอกกล่ ำ ว ให้ผู้ค้ำประกันทรำบถึงเหตุอันเป็นกำรผิด นัด ผิดสัญญำ และหรือกำรปฏิบัติผิดเงื่อนไข ในสัญญำ กรณี ด ั ง กล่ ำ วของผู ้ ร ั บ จ้ ำ ง ภำยในก ำหนด 60 วั น นั บ แต่ ว ั น ที ่ ผ ู ้ ร ั บ จ้ ำ งได้ ผ ิ ด นั ด ผิ ด สั ญ ญำ และหรือปฏิบัติผ ิดเงื่อนไขในสัญญำที่ท ำไว้กับ ผู้ว ่าจ้าง และนับตั้งแต่วันที่ ผู้ว่าจ้างมีหนังสื อ แจ้ ง หรือบอกกล่ำวไปยังผู้ค ้ำประกันดังกล่ำวแล้ว ผู้ว่าจ้างสงวนสิทธิในกำรใช้สิทธิเรียกร้องและหรือ สิ ท ธิ ร ิ บ หลั ก ประกั น จำกผู ้ ค ้ ำ ประกั น โดยผู ้ ค ้ ำ ประกั น ต้ อ งรั บ ผิ ด ชอบในหนี ้ ท ี ่ เ กิ ด ขึ ้ น ทั ้ ง หมด รวมถึงค่ำปรับ ดอกเบี้ย ค่ำเสียหำยและหรือค่ำสินไหมทดแทน ตลอดจนค่ำภำระติดพัน อันเป็น อุปกรณ์แห่งหนี้ที่ค้ำประกัน ตำมเงื่อนไขในสัญญำค้ำประกันทั้งสิ้น ข้อ 4. ผู้ว่าจ้าง ตกลงจ่ำยค่ำจ้ำงและผู้รับจ้ำงตกลงรับค่ำจ้ำงเป็นเงิน .................... บำท (...........................................................................) เมื่อผู้ว่าจ้างตรวจรับและรับมอบงำนที่ส่งมอบ ไม่ว ่ำจะเป็น งวดเดีย ว หรือหลำยงวด ถูกต้อง ครบถ้ว นตำมสัญญำแล้ว ผู้ว ่าจ้างจะออกใบตรวจ รับงำนให้ผู้รับจ้ำงไว้เป็นหลักฐำน เพื่อผู้รับจ้ำงนำมำเป็นหลักฐำนในกำรขอรับชำระหนี้ กำรรั บ มอบงำนจะมี ผ ลสมบู ร ณ์ ต ำมสั ญ ญำนี ้ ต ่ อ เมื ่ อ ผู ้ ว ่ า จ้ า งได้ ต รวจรั บ และรับมอบงำนแล้ว กำรจ่ำยเงินค่ำจ้ำงดังที่ระบุไว้ข้ำงด้น ผู้ว่าจ้างจะจ่ำยเงินค่ำจ้ำงให้แก่ผู้รับจ้ำง เมื่อ ผู ้ ว ่ า จ้ า ง ได้ ร ั บ มอบงำนในแต่ ล ะงวดหรื อ รั บ มอบงำนทั ้ ง หมดตำมสั ญ ญำ (ในกรณี จ ่ ำ ย ค่ำจ้ำงเป็นงวดเดียว) โดยจ่ำยให้เมื่อครบ 30 วัน นับถัดจำกวันที่ ผู้ว่าจ้างรับมอบงำน (งวดเดียว หรือแต่ล ะงวด) ทั้งนี้ผ ู้ร ับ จ้ำงจะต้องยื่นหลักฐำนกำรขอรับช ำระหนี้ต่อ ผู้ว่าจ้าง ภำยใน 15 วัน นั บ ถั ด จำกวั น ที่ ผ ู ้ ว ่ า จ้ า งรั บ มอบงำน (งวดเดี ย วหรื อ แต่ ล ะงวด) ถ้ า ผู ้ ร ั บ จ้ ำ งยื ่ น หลั ก ฐำน กำรขอรับช ำระหนี้เกินกว่ำที่กำหนดไว้เป็นระยะเวลำเท่ำใด กำหนดวันจ่ำยค่ำจ้ำงยืดออกไปเท่ำกับ วันที่ผู้รับจ้ำงยื่นหลักฐำนกำรขอรับชำระหนี้เกินกำหนดเช่นกัน ในกรณี ท ี ่ ผ ู ้ ร ั บ จ้ ำ งท ำงำนแล้ ว เสร็ จ ก่ อ นหรื อ ส่ ง มอบงำนตำมงวดก่ อ นที่ คูส่ ัญญำทั้งสองฝ่ำยได้ลงนำมในสัญญำนี้ครบถ้วน หรือในกรณีที่สัญญำนี้มีผลบังคับย้อนหลัง ให้บรรดำ ใบแจ้งหนี้ที่ผ ู้ร ับ จ้ำงยื่ น ต่ อ ผู้ว ่าจ้าง เพื่อขอรับช ำระหนี้ มีผ ลบังคับใช้ นับถัด จำกวันที ่คู ่ส ั ญ ญำ ทั ้ ง สองฝ่ำ ยได้ ล งลำยมื อ ชื่ อ ครบถ้ว นในสั ญ ญำนี้ เป็ น เวลำ 15 วั น โดย ผู ้ ว ่ า จ้ างจะจ่ ำยค่ำจ้ำง ให้แก่ผู้รับจ้ำงภำยใน 30 วัน นับถัดจำกวันที่ใบแจ้งหนี้มีผลบังคับใช้ และผู้ว่าจ้างได้รับมอบงำน ถูกต้องสมบูรณ์แล้วไม่ว่ำจะเป็นกำรส่งมอบครั้งเดียวหรือหลำยครั้งก็ตำม ข้อ 5. ผู้ร ับ จ้ำงสัญญำว่ ำจะท ำงำนให้ แล้ว เสร็จ และส่ งมอบงำนให้แ ก่ ผ ู้ว ่า จ้ า ง ณ ............................. ภายใน .......................................... ถ้ า มี เ หตุ ใ ห้ ผ ู ้ ว ่ า จ้ า ง สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-8 |
คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา
เชื่อได้ว่ำผู้รับจ้ำงไม่สำมำรถทำงำนให้แล้วเสร็จบริบูรณ์ภำยในกำหนดเวลำก็ดี หรือล่วงกำหนดเวลำ แล้วเสร็จบริบูรณ์ ไปแล้วก็ดี หรือผู้รับจ้ำงท ำผิดสัญญำข้อ หนึ่งข้อใดก็ดี ผู้ว่าจ้างมีสิทธิจะบอกเลิ ก สัญญำได้และมีสิทธิจ้ำงผู้อื่นทำงำนนี้ต่อจำกผู้รับจ้ำงได้ด้วย กำรที่ผู้ว่าจ้างไม่บอกเลิกสัญญำตำมควำมในวรรคหนึ่งนั้น ไม่เป็นเหตุให้ผู้รับจ้ำง พ้นจำกควำมรับผิดตำมสัญญำนี้ กำรส่งมอบงำนตำมสัญญำนี้ไม่ว่ำจะเป็นกำรส่งมอบเพียงครั้งเดียวหรือส่งมอบหลำย ครั้ง ผู้รับจ้ำงจะต้องแจ้งก ำหนดเวลำส่งมอบแต่ละครั้งโดยท ำเป็นหนังสือน ำไปอื่นต่อ ผู้ว่าจ้าง ณ .......................... ในเวลำรำชกำรก่อนวันส่งมอบไม่น้อยกว่ำ 3 วันทำกำร ข้ อ 6. เมื ่ อ งำนแล้ ว เสร็ จ เรี ย บร้ อ ย และ ผู ้ ว ่ า จ้ า งได้ ร ั บ มอบงำนจำกผู ้ ร ับ จ้ำง หรือจำกผู้รับจ้ำงรายใหม่ (กรณีผู้รับจ้ำงผิดสัญญำและ ผู้ว่าจ้างใช้สิทธิเลิกสัญญำตำมข้อ 5) ถ้า มีเหตุช ำรุดเสียหำยเกิดขึ้นแก่งำนนี้ ภำยในก ำหนด ........................นับตั้งแต่วันที่ได้รับมอบงำน โดยให้ น ั บ วั น ที ่ ไ ด้ ร ั บ มอบงำนเป็ น วั น เริ ่ ม ต้ น ซึ ่ ง เหตุ ช ำรุ ด เสี ย หำยนั ้ น เกิ ด จำกควำมบกพร่ อ ง ของผู้รับจ้ำงจะเป็นโดยท ำไว้ไม่เรียบร้อยหรือใช้สิ่งของที่ไม่ดีหรือท ำไม่ถูกต้องตำมหลักวิชำก็ตำม ผู้รับจ้ำงต้องรีบทำกำรแก้ไขให้เรียบร้อยภำยในระยะเวลำที่ผู้ว่าจ้างจะกำหนดโดยไม่คิดเอำค่ำสิ่งของ ค่ำแรงงำน หรือค่ำใช้จ่ำยอื่นใดจำกผู้ว่าจ้างอีก ถ้าผู้รับจ้ำงบิดพลิ้วไม่แก้ไขซ่อมแซม ภำยในกำหนด ............. วัน นับตั้งแต่วันที่ได้รับแจ้งเป็นหนังสือจำกผู้ว่าจ้าง โดยให้นับวันที่ได้รับแจ้งเป็นวัน เริ่มต้น หรือแก้ไขซ่อมแซมไม่แล้วเสร็จภำยในเวลำที่ ผู้ว่าจ้างกำหนด ผู้ว่าจ้างมีสิทธิจ้ำงผู้อื่น ให้ทำงำนนั้น แทนผู้รับจ้ำงได้ ในกรณีที่ผู้ว่าจ้างใช้สิทธิจ้ำงผู้อื่นทำงำนแทนผู้รับจ้ำงตำมสัญญำข้อ 5 และข้อ 6 วรรคหนึ่ง ผู้รับจ้ำงยอมจ่ำยเงินค่ำจ้ำง ค่ำสิ่งของและค่ำใช้จ่ำยอื่น ใด (ถ้ามี) ตำมจำนวนที่ผู้ว่าจ้าง ต้ อ งเสี ย ไปโดยสิ ้ น เชิ ง ให้ แ ก่ ผ ู ้ ว ่ า จ้ า ง ภำยใน 7 วั น นั บ ตั ้ ง แต่ ผ ู ้ ร ั บ จ้ ำ งได้ ร ั บ แจ้ ง จำกผู ้ ว ่ า จ้ า ง และผู้ร ับ จ้ำงยังคงต้องรับ ผิดชอบตำมสัญญำ ข้อ 10 เสมือนหนึ่ง งำนที่ผ ู้รับจ้ำงรายใหม่ท ำนั้ น เป็นงำนของตน ข้อ 7. สัญญำนี้มีแบบรูปและรำยกำรละเอียดดังต่อไปนี้.7.1 แบบรูป จำนวน ....... แผ่น 7.2 รำยกำรละเอียด จำนวน ...... แผ่น และให้ถือว่ำแบบรูปและรำยกำรละเอียดดังกล่ำวเป็นส่วนหนึ่งของสัญญำนี้ ข้อ 8. ผู้รับจ้ำงสัญญำว่ำจะไม่ท ำงำนนี้โดยไม่มีแบบรูป และรำยกำรละเอียดที่ ถูกต้องเป็นอันขำด ทั้งจะรักษำแบบรูปและรำยกำรละเอียดนี้ไว้ ณ สถำนที่ท ำงำนให้เรียบร้ อย และโดยเปิดเผยเพื่อให้ผู้ว่าจ้าง หรือกรรมกำรตรวจกำรจ้ำงตรวจดูได้ทุกเวลำ ข้ อ 9. ผู ้ ร ั บ จ้ ำ งให้ ส ั ญ ญำว่ ำ จะไม่ ท ำกำรจ ำหน่ ำ ยจ่ ำ ยโอนสิ ท ธิ ซึ ่ ง สั ญ ญำนี้ และหรือสิทธิ และหรือหน้ำที่ใดที่เกี่ยวข้องและหรื อเกิดขึ้นจำกสัญญำนี้ให้กับบุคคลอื่นใดไม่ว่ ำ สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-9 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา โดยวิธีใด ๆ เว้นแต่จะได้รับควำมยินยอมเป็นลำยลักษณ์อักษรจำกผู้ว่าจ้างก่อน ผู ้ ร ั บ จ้ ำ งสั ญ ญำว่ ำ จะไม่ เ อำงำนทั ้ ง หมดหรื อ ส่ ว นใดส่ ว น หนึ ่ ง แห่ ง สั ญ ญำนี้ ไปให้ผ ู้อื่น รับ จ้ำงช่ว งอีกทอดหนึ่ง โดยมิ ได้ รับอนุญำตเป็นหนังสือจำกผู้ว่าจ้าง แต่ทั้งนี้ผ ู้รับจ้ำง ยังต้องรับผิดชอบงำนที่ให้ช่วงไปนั้นทุกประกำร ข้อ 10. ผู้รับจ้ำงจะต้องรับผิดชอบต่ออุ ปัทวเหตุหรือภยันตรำยควำมเสียหำยใด ๆ ที ่ เ กิ ด ขึ ้ น จำกกำรท ำงำน และต้ อ งรั บ ผิ ด ชอบในเหตุ เ สี ย หำยอั น เกิ ด แก่ ท รั พ ย์ ส ิ น ของ ผู ้ ว ่ า จ้ า ง หรือของบุคคลภำยนอกที่ เกิดขึ้นจำกกำรทำงำนของผู้รับจ้ำงเองหรือจำกกำรกระทำของคนงำน ช่ำง หรือบริวำรของผู้รับจ้ำง ข้อ 11. ก่อนหรือระหว่ำงท ำงำนอยู่ ถ้าปรากฏว่าแบบรูป หรือรำยกำรละเอียด แนบท้ำยสัญญำ นี้คลำดเคลื่อนผิดไปอย่ำงหนึ่งอย่ำงใด ผู้รับจ้ำงสัญญำว่ำจะปฏิบัติตำมคำวินิจฉัยของ คณะกรรมการตรวจการจ้ า งและถ้ า ค าวิ น ิ จ ฉั ย นี ้ ถ ู ก ต้ อ งกั บ รายการอั น ใดอั น หนึ ่ ง ที ่ ป รากฏใน แบบรูปแล้ว ผู้รับจ้ำงต้องถือว่ำเป็นอันเด็ดขำด ถ้ำรำยกำรอันหนึ่งอันใดมิได้ระบุไว้ในรำยกำรละเอียด แต่เป็นกำรจำเป็นต้องทำเพื่อให้งำนแล้วเสร็จบริบูรณ์ ถูกต้องตำมแบบรูป ผู้รับจ้ำงสัญญำว่ำจะจัด ทำกำรนั้น ๆ ให้โดยไม่คิดค่ำใช้จ่ำยใด ๆ เพิ่มเติม ทั้งนี้รำยกำรที่คลำดเคลื่อน หรือมิได้ระบุไว้ดังกล่ำว จะต้องมิใช่ส่วนที่เป็นสำระสำคัญ ข้อ 12. ผู้ว่าจ้างมีสิทธิที่จะทำกำรแก้ไข หรือเพิ่มเติม หรือลดงำนจำกแบบรูป และ รำยกำรละเอียดตำมสัญญำได้ทุกอย่ำงโดยไม่ต้องเลิกสัญญำนี้ กำรเพิ่มเติมหรือลดงำน จะต้องตกลง กันใหม่ และถ้ำต้องเพิ่มหรือลดเงินหรือยืดเวลำออกไปอีกก็จะได้ตกลงเป็นแต่ละครั้งไป ข้อ 13. ถ้ำผู้ร ับ จ้ำงส่ ง มอบงำนล่ ำช้ ำกว่ำวั นแล้ว เสร็จตำมสัญ ญำ แต่ ผ ู้ว ่า จ้ า ง ยังมิได้บอกเลิกสัญญำ ผู้รับจ้ำงยอมให้ผู้ว่าจ้างดำเนินกำรดังต่อไปนี้คือ 13.1 ปรับผู้รับจ้ำงเป็นรำยวัน ในอัตรำร้อยละ 0.1 ของรำคำค่ำจ้ำงงำนที่ ผู้ว่าจ้างยังไม่ไต้รับมอบ นับตั้งแต่วันที่ล่วงเลยกำหนดวันแล้วเสร็จตำมสัญญำ จนถึงวันที่ผู้รับจ้ำงส่ง มอบงำนและผู้ว่าจ้างรับมอบงำน แต่หำกงำนรำยกำรที่ส่งล่ำช้ำนั้นต้องใช้ควบคู่หรือเป็นส่วนประกอบ อันจำเป็นซึ่งกันและกันกับงำนในรำยกำรอื่นที่ ผู้ว่าจ้างได้รับมอบไว้แล้ว กำรปรับจะคิดจำกรำคำรวม ของงำนที่ต้องใช้ร่วมกันนั้น 13.2 เรียกค่าเสียหำยอันเกิดขึ้นจำกกำรที่ผู้รับจ้ำงทำงำนล่ำช้ำ (ถ้ำมี) 13.3 เรียกค่ำใช้จ่ำยในกำรควบคุมงำนในเมื่อ ผู้ว่าจ้างต้องจ้ำงผู้ควบคุม งำนนั้นอีกต่อหนึ่ง นับตัง้ แต่วันที่ล่วงเลยกำหนดวันแล้วเสร็จตำมสัญญำ จนถึงวันที่ผู้รับจ้ำงส่งมอบงำน และผู้ว่าจ้างรับมอบงำน โดยคิดเป็นรำยวันตำมที่ผู้ว่าจ้างจ่ำยจริง นอกเหนือจำกกำรปรับแล้ว ในกรณีที่ ผู้ว่าจ้าง มีเหตุเชื่อได้ว่ำผู้รับจ้ำงจะไม่สำมำรถ ปฏิบัติให้ถูกต้องครบถ้วนตำมสัญญำได้ ผู้ว่าจ้างสงวนสิทธิที่จะเลิกสัญญำและใช้สิทธิตำมสัญญำข้อ 13.2 นอกเหนือจำกกำรปรับจนถึงวันบอกเลิกสัญญำด้วย สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-10 |
คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา ข้ อ 14. ถ้ า ผู ้ ว ่ า จ้ า งบอกเลิ ก สั ญ ญำแล้ ว ผู ้ ร ั บ จ้ ำ งยอมให้ ผ ู ้ ว ่ า จ้ า งด ำเนิ น กำร
ดังต่อไปนี้.14.1 ริบหลักประกันสัญญำดังกล่ำวในสัญญำข้อ 3 14.2 ยินยอมให้ ผู้ว่าจ้างเรียกเอำค่ำจ้ำงที่เพิ่มขึ้น เพรำะจ้ำงบุคคลอื่น ทำงำนนี้ต่อไปจนงำนแล้วเสร็จ 14.3 เรียกค่าเสียหำยอันพึงมีจำกผู้รับจ้ำง ข้อ 15. เมื่อผู้ว่าจ้างบอกเลิกสัญญำแล้ว บรรดำงำนที่ผู้รับจ้ำงได้ทำขึ้นโดยเฉพำะ เพื่องำนดังกล่ำว ผู้รับจ้ำงยอมให้ตกเป็นกรรมสิท ธิของผู้ว่าจ้าง โดยผู้รับจ้ำงจะเรียกร้องค่ำตอบแทน และค่ ำ เสี ย หำยใด ๆ ไม่ ไ ด้ เ ลย และผู ้ ร ั บ จ้ ำ งยอมให้ ผ ู้ ว ่ า จ้า งมี ส ิท ธิร ะงั บ กำรจ่ ำ ยค่ำ จ้ ำ งที่ ค ้าง ชำระสำหรับงำนที่ทำไปแล้วเพื่อเป็นประกันกำรชำระหนี้ ในกรณีที่ต้องจ้ำงบุคคลอื่นท ำงำนที่ ค้างอยู่ให้แล้วเสร็จบริบูรณ์ หากปรากฏว่า เงินค่ำงำนที่เหลือจ่ำยไม่พอสำหรับกำรทำงำนรำยนี้เป็นจำนวนเท่ำใด ผู้รับจ้ำงยอมให้ ผู้ว่าจ้างหักเงิน จ ำนวนนั้นจำกค่ำจ้ำงค้างช ำระตำมวรรคหนึ่งและยอมรับผิดชดใช้เงินจ ำนวนที่ยังขำดอยู่นั้น จน ครบถ้วน หำกเงินค่ำจ้ำงตำมสัญญำที่หักไว้จ่ำยเป็นค่ำปรับและค่ำเสียหำยแล้วยังเหลืออยู่ เท่ำใด ผู้ว่าจ้างจะคืนให้แก่ผู้รับจ้ำงทั้งหมด ข้อ 16. ในกรณีที่คู่สัญญำฝ่ำยหนึ่งฝ่ำยใดไม่สำมำรถปฏิบัติตำมสัญญำ อันเนื่องมำ จำกเหตุสุดวิสัย จะถือว่ำคู่สัญญำฝ่ำยนั้นผิดสัญญำไม่ได้ ข้อ 17. สัญญำฉบับนี้ให้มีผลบังคับตั้งแต่วันที่............ เดือน .................... พ.ศ .......... ข้อ 18. ถ้าวัสดุอุปกรณ์หรือสิ่งของใด ๆ ที่ผู้รับจ้ำงน ำมำเพื่อประกอบหรือผลิ ต หรือเป็นของส ำหรับใช้สอย หรืออ ำนวยควำมสะดวกแก่กำรท ำงำนจะต้องสั่ง หรือน ำเข้ำมำจำก ต่ำงประเทศ และสิ่งของต่ำง ๆ ดังกล่ำวข้ำงต้นนั้น ต้องนำเข้ำมำโดยทำงเรือในเส้นทำงที่มีเรือไทย หรือเรือที่มีสิทธิเช่นเดียวกับเรือไทยเดินอยู่และสำมำรถให้บริกำรรับขนได้ตำมที่รัฐมนตรีว่ำกำร กระทรวงคมนำคมประกำศก ำหนด ผู้รับจ้ำงต้องจัดกำรให้ส ิ่งของต่ำง ๆ ดังกล่ำวข้ำงต้นบรรทุ ก โดยเรือไทย หรือเรือที่มีส ิทธิเช่น เดีย วกับเรือไทยจำกต่ำงประเทศมำยังประเทศไทย เว้นแต่จะ ได้รับอนุญำตจำกกรมเจ้ำท่ำก่อนบรรทุกสิ่งของต่ำง ๆ ดังกล่ำวข้ำงต้น ลงเรืออื่นที่มิใช่เรื อ ไทย หรือเรือที่มี ส ิทธิ เช่น เดีย วกับ เรือไทย หรือสิ่งของดังกล่ำวข้ำงต้น ได้ รับกำรยกเว้นโดยประกำศ ของรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงคมนำคม ให้บรรทุกโดยเรืออื่นได้ ทั้งนี้ไม่ว่ำกำรสั่งสิ่งของดังกล่ำวข้ำงต้น จำกต่ำงประเทศจะเป็นแบบเอฟ.โอ.บี., ซี แอนด์ เอฟ หรือซี.ไอ.เอฟ. ข้อ 19. ในกำรส่งมอบงำนให้แก่ผู้ว่าจ้าง ผู้รับจ้ำงจะต้องส่งมอบใบตรำส่ง (Bill of Lading) หรือสำเนำใบตรำส่งสำหรับสิ่งของต่ำง ๆ ดังที่ระบุไว้ในสัญญำข้อ 18 ซึ่งแสดงว่ำได้บรรทุก มำโดยเรือไทย หรือเรือที่มีสิทธิเช่นเดียวกับเรือไทยให้แก่ผู้ว่าจ้างพร้อมกับกำรส่งมอบงำนด้วย สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-11 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา ในกรณีที่สิ่ ง ของดั ง กล่ ำวในสัญ ญำข้ อ 18 ไม่ได้ บรรทุ กจำกต่ำ งประเทศ มำยั ง ประเทศไทยโดยเรือไทย หรือเรือที่มี สิทธิเช่นเดียวกับเรือไทย ผู้รับจ้ำงต้องส่งมอบหลักฐำนแสดงว่ำ ได้รับอนุญำตจำกกรมเจ้ำท่ำให้บรรทุกโดยเรืออื่น ได้หรือหลักฐำนซึ่งแสดงว่ำได้ช ำระค่ำธรรมเนียม พิเศษเนื่องจำกกำรไม่บรรทุกสิ่งของดังกล่ำวโดยเรือไทย หรือเรือที่มีลิทธิเช่นเดียวกับเรือไทยตำม กฎหมำยว่ ำ ด้ ว ยกำรส่ ง เสริ ม กำรพำณิ ช ยนำวี แ ล้ ว อย่ ำ งใดอย่ ำ ง หนึ ่ ง ให้ แ ก่ ผ ู ้ ว ่ า จ้ า งด้ ว ย ในกรณีที่ผู้รับจ้ำงไม่ส่งมอบหลักฐำนอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งดังกล่ำว ในสองวรรคข้ำงต้นให้แก่ ผู้ว่าจ้าง แต่อำจส่งมอบงำนให้ผู้ว่าจ้างก่อนโดยยังไม่รับชำระค่ำจ้ำง ผู้ว่าจ้างมีสิทธิรับมอบงำนดังกล่ำวไว้ก่อน และจะชำระเงินค่ำงำนให้แก่ผู้รับจ้ำงเมื่อผู้รับจ้ำงได้ปฏิบัติถูกต้องครบถ้วนดังกล่ำวแล้ว สัญญำนี้ทำขึ้นสองฉบับ มีข้อความถูกต้องตรงกัน คู่สัญญำได้อ่ำนเข้ำใจข้อควำม โดยละเอียดตลอดแล้ว จึง ได้ลงลำยมือชื่อพร้อมทั้งประทับตรำ (ถ้ามี) ไว้เป็นสำคัญต่อหน้ำพยำนและ เก็บไว้ฝ่ำยละฉบับ …………………………………………. (ผู้ว่าจ้าง)
………………………………………. (ผู้รับจ้าง)
โดย ......................................................
โดย ......................................................
พยาน .................................................
พยาน .................................................
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-12 |
คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา
2.5 เงื่อนไขของสัญญา (Conditions of Contract) เงื่อนไขของสัญญาประกอบด้วย เงื่อนไขทั่วไปของสัญญา และเงื่อนไขเฉพาะ 1) เงื่อนไขทั่วไป (General Conditions) เป็นเอกสารที่เป็นส่วนหนึ่งของเอกสารสัญญา เป็นส่วนที่ ระบุความรับผิดชอบพันธะหน้าที่และสิทธิของคู่สัญญา ตลอดจนระบุรายละเอียดของเงื่อนไขต่าง ๆ ที่ บังคับใช้ในงานตามสัญญา นอกจากนี้ยังต้องระบุหน้าที่ความรับผิดชอบของวิศวกรที่ปรึกษา (หรือผู้ ควบคุมงานหรือผู้บริหารโครงการแล้วแต่กรณี ) อาจกล่าวได้ว่าเงื่อนไขแห่งสัญญาเป็นเครื่องมือการ บริหารความเสี่ยงอย่างหนึ่งของผู้ร่างสัญญา เงื่อนไขของสัญญาโดยทั่วไปจะประกอบด้วย รายละเอียดต่าง ๆ 10 เงื่อนไขหลัก ดังต่อไปนี้ 1. เงื่อนไขว่าด้วยเรื่องทั่วไป (General Provisions) เช่น บทนิยาม การตีความ ภาษา กฎหมายที่ใช้ ชิ้นงานที่มอบหมาย ส่วนที่เป็นความลับ ความรับผิดร่วม ข้อจากัดความรับผิด เป็นต้น 2. เงื ่ อ นไขว่ า ด้ ว ยผู ้ ว ่ า จ้ า ง วิ ศ วกร ผู ้ ร ั บ จ้ า งช่ ว ง และงานออกแบบ ( Employer, Engineer, Contractor, and Design) ซึ่งจะระบุถึงสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบของผู้มีบทบาทหลักใน สัญญา ข้อตกลงเกี่ยวกับทีมงาน นิติสัมพันธ์ในสัญญา การจัดการทางการเงินระหว่างกัน การเข้า ไซต์งาน การกาหนดตัวผู้แทนวิศวกร การเปลี่ยนตัววิศวกรผู้รับผิดชอบ ข้อกาหนดการดาเนินงาน ของวิศวกร การประชุม การรายงานความคืบหน้า ความปลอดภั ยของไซต์งาน การนาข้อมูลจาก ไซต์งานไปใช้ การทาสัญญากับผู้รับจ้างช่วง เป็นต้น 3. เงื่อนไขว่าด้วยคนงาน แรงงาน โรงงาน เครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์ (Staff, Labour, Plant, Materials, and Workmanship) ซึ ่ ง เกี ่ ย วกั บ สิ ท ธิ หน้ า ที ่ และความรั บ ผิ ด ชอบของผู ้ ม ี ส ่ ว น เกี่ยวข้องในลักษณะดังกล่าว ค่าจ้าง การว่าจ้าง ชั่วโมงการทางาน สาธารณูปโภคและสวัสดิการ สถานที่ สุขภาพและความปลอดภัย การบันทึกการเข้างาน ความเป็นเจ้าของของวัสดุอุปกรณ์ การ เข้าตรวจสอบงาน เป็นต้น 4. เงื่อนไขว่าด้วยการเริ่มงาน ความล่าช้าของงาน การระงับชั่วคราวหรือยืดระยะเวลาของงาน ข้ อ ผิ ด พลาด/ข้ อ บกพร่ อ ง การทดสอบเมื ่ อ เสร็ จ งานและหลั งเสร็ จ งาน (Commencement, Delays, Suspension, Defects, and Completion) ซึ ่ ง รวมถึ ง การวางแผนงานโครงการ ระยะเวลา การเตือน การท างานล่าช้า ค่าเสียหายจากความล่าช้า ค่าใช้จ่ายอื่นเกี่ยวกับวัส ดุ อุปกรณ์และสถานที่เมื่อเกิดทางานล่าช้าหรือการชะลองาน การชะลองานโดยผู้ว่าจ้าง การทดสอบ ทั้งเมื่อเสร็จงานและหลังเสร็จงาน เกณฑ์การผ่านหรือตกในการทดสอบ 5. เงื ่ อ นไขว่ า ด้ ว ยการวั ด และประเมิ น ผลงาน การปรั บ เปลี ่ ย นงาน ราคา และการช าระราคา ( Measurement and Evaluation, Variations and Adjustments, Contract Price and Payment) ซึ่งรวมถึงเนื้องานหรือชิ้นงานที่จะต้องงถูกประเมิน วิธีการประเมิน การละเลยหรือทิ้ง
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-13 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา งาน การปรับเปลี่ยนงาน การกาหนดราคา การชาระเงินล่วงหน้า ตารางการชาระเงิน การชาระเงิน ล่าช้า สกุลเงินที่ใช้ในการชาระเงิน เป็นต้น 6. เงื่อนไขว่าด้วยการเลิกสัญญาโดยผู้ว่าจ้าง การระงับชั่วคราวหรือการเลิกสัญญาโดยผู้รับจ้างช่วง (Termination by Employer, Suspension and Termination by Contractor) ระบุ ถ ึ ง เหตุ และสิทธิของผู้ว่าจ้างและผู้รับจ้างช่วงในการดาเนินการดังกล่าว ตลอดจนภาระผูกพัน ค่าใช้จ่าย และการชาระเงินภายหลังการเลิกสัญญาล่วงหน้า ตารางการชาระเงิน การชาระเงินล่าช้า สกุลเงิน ที่ใช้ในการชาระเงิน เป็นต้น 7. เงื่อนไขว่าด้วยความเสี่ยงและความรับผิดชอบ (Risk and Responsibility) เป็นข้อสัญญาที่ระบุถึง หน้าที่และความรับผิดชอบในการดูแลงานต่าง ๆ การถือสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา ความเสี่ยง และการบริหารความเสี่ยง ค่าสินไหมทดแทน หรือการชดเชยในกรณีต่าง ๆ 8. เงื่อนไขว่าด้วยการประกันสัญญา (Insurance) ซึ่งเป็นหลักการต่าง ๆ ที่สัญญาฉบับนั้น ๆ กาหนด เงื่อนไขว่าจะต้องมีการทาประกันอะไรบ้าง อย่างไรบ้าง ในวงเงินเท่าใด โดยบุคคลใด เป็นต้น 9. เงื่อนไขว่าด้วยเหตุสุดวิสัย (Force Majeure or Exceptional Events) ระบุถึงเหตุสุดวิสัยต่าง ๆ การบอกกล่าวเป็น หนังสือเมื่อมีเหตุส ุดวิส ัยเกิดขึ้น ไปจนถึงหน้าที่และความรับผิดชอบของ ผู้เกี่ยวข้องในสัญญาในกรณีเกิดเหตุสุดวิสัย 10. เงื ่ อ นไขว่ า ด้ ว ยข้ อ เรี ย กร้ อ ง ข้ อ พิ พ าท และอนุ ญ าโตตุ ล าการ ( Claims, Disputes, and Arbitration) ซึ่งเป็นข้อสัญญาเกี่ยวกับสิทธิเรียกร้องตามกฎหมายหรือตามสัญญา การดาเนินการ เมื่อมีข้อพิพาทระหว่างคู่สัญญา การระงับข้อพิพาท การตั้งอนุญาโตตุลาการ การวินิจฉัยและการ ตัดสินของอนุญาโตตุลาการ เป็นต้น ตัวอย่างเงื่อนไขของสัญญาทั่วไปประกอบด้วย รายละเอียดต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 1. คาจากัดความและการตีความ (Definitions and Interpretations) 2. หลักประกันสัญญา (Performance Guarantee) 3. การโอนสิทธิหน้าที่และการทาสัญญาจ้างช่วง (Assignment and Subcontracting) 4. แบบรูป (Drawings) 5. ภาระหน้าที่โดยทั่วไป (General Obligations) 6. การดูแลบารุงรักษางาน (Care of Works) 7. การประกันภัยในงาน (Insurance of Works) 8. ความเสียหายต่อบุคคลและทรัพย์สิน (Damage to Persons and Property) 9. การแก้ไขกรณีผู้รับจ้างไม่ทาประกันภัย (Remedy on Contractor’s Failure to Insure) 10. ก า ร ป ฏ ิ บ ั ต ิ ต า ม ก ฎ ห ม า ย แ ล ะ ก ฎ ร ะ เ บ ี ย บ ต ่ า ง ๆ ( Compliance with Laws and Regulations, etc.) สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-14 |
11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26. 27. 28. 29. 30. 31. 32. 33. 34. 35. 36.
คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา
การเข้าพื้นที่ของผู้รับจ้างรายอื่น (Access to other Contractors) การดูแลรักษาหน้างานให้สะอาดและปลอดภัย (Maintaining the Site Clean and Safe) แรงงาน (Labour) วัสดุและฝีมือการทางาน (Materials and Workmanship) การตรวจสอบการปฏิบัติงาน และงานที่มองไม่เห็นจากภายนอก (Inspection of Operations and Examination of Hidden Work) งานและวัสดุที่ไม่ถูกต้อง (Improper Work and Materials) การหยุดงาน (Suspension of Works) หนั ง สื อ แจ้ ง ให้ เ ริ ่ ม งานและการครอบครองพื ้ น ที ่ ห น้ า งาน (Notice to Proceed, and Possession of Site) กาหนดเวลาแล้วเสร็จของงาน (Time for Completion) การขยายกาหนดเวลาแล้วเสร็จของงาน (Extension of Time of Completion) อัตราความก้าวหน้า การทางานกลางคืนหรือวันอาทิตย์ (Rate of Progress, Night or Sunday Work) ความล่าช้าของงาน (Works Delay) หนังสือรับรองการแล้วเสร็จของงาน (Certificate of Completion) งานชารุดบกพร่อง (Defective Works) การแก้ไขเปลี่ยนแปลงงาน งานเพิ่ม และการยกเลิกงาน/งานลด (Alterations, Additions and Omissions) เครื ่ อ งจั ก รก่ อ สร้ า ง อุ ป กรณ์ ข องผู ้ ร ั บ จ้ า ง งานชั ่ ว คราวและวั ส ดุ (Constructional Plant, Contractor’s Equipment, Temporary Works and Materials) การวัดปริมาณงาน (Measurement of Quantities) การปรับมูลค่าสัญญาเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณงาน (Adjustment of Contract Sum Due to Variations in Quantities) เงินสารองเผื่อการใช้จ่าย (Provisional Sums) การจ่ายเงิน และการหักเงินประกันผลงาน (Payment and Retention) การเลิกสัญญาโดยผู้ว่าจ้าง (Termination of Contract by the Employer) เหตุสุดวิสัย (Force Majeure) การระงับข้อพิพาท (Settlement of Disputes) การเลิกสัญญาโดยผู้รับจ้าง (Termination of Contract by the Contractor) ความรับผิดของคู่สัญญา (Liabilities of the Parties) ความช่วยเหลือจากผู้ว่าจ้าง (Assistance by the Employer)
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-15 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา 37. 38. 39. 40. 41. 42. 43. 44. 45. 46. 47. 48. 49. 50. 51 52. 53. 54. 55. 56. 57. 58. 59. 60. 61. 62. 63. 64. 65. 66.
การบอกกล่าว (Notices) ภาษา (Language) กฎหมายที่ใช้บังคับ (Law of Contract) กฎหมายที่ต้องปฏิบัติตาม (Law to be Observed) กฎหมายที่ออกมาภายหลัง การเปลี่ยนแปลงราคา (Changes in Costs) อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา (Rate of Exchange) ภาษีและพิกัดศุลกากร (Taxation and Customs Duties) อากรแสตมป์ (Stamp Duties) การอนุมัติไม่มีผลต่อความรับผิดของผู้รับจ้าง (Liabilities not Affected by Approval) การใช้วัตถุระเบิด (Use of Explosives) การซ่อมแซมเร่งด่วน (Urgent Repairs) เอกสารที่อธิบายความหมายร่วมกัน (Documents Mutually Explanatory) พื้นที่ทางานอยู่นอกบริเวณหน้างาน (Work Areas outside the Site) เงื่อนไขในการปฏิบัติงาน ข้อบังคับพิเศษของเจ้าของงาน การจอดเรือชั่วคราว การทาเครื่องหมาย ทุ่นและแสงสว่าง การสงวนสิทธิ ค่าใช้จ่ายพิเศษ ค่าสิทธิบัตร ผู้รับจ้างช่วง การดู แ ลรั ก ษาการจราจร คนดู แ ลและเฝ้ าระวั งความปลอดภั ย (Maintenance of Traffic, Safety and Lookout Men) การให้สินบน (Bribery) การกระทาการอันรบกวนต่อสาธารณะ (Interference with the Public) สาธารณูปการ (Utilities) ที่พักบริเวณหน้างาน (Site Accommodation) ที่พักอาศัย (Living Accommodations) การบันทึกวีดีทัศน์ (Contract Record) ความสัมพันธ์กันระหว่างเอกสารสัญญา การประสานงานกับส่วนราชการและ/หรือผู้รับจ้างรายอื่น
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-16 |
คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา
2) เงื ่ อ นไขเฉพาะ หรื อ เงื ่ อ นไขพิ เ ศษ (Special Conditions, Conditions of Particular Application, Contract Particulars or Supplementary Conditions) เป็นการระบุเงื่อนไข เพิ่มเติมเพื่อใช้เฉพาะกับงานใดงานหนึ่งเป็นการเฉพาะเท่านั้น อาทิเช่น แผนดาเนินงานก่อสร้างและผัง ของการเชื่อมประสานงานก่อสร้าง (Key Date : KD) และอาจมีการแก้ไขปรับปรุงข้อความในเงื่อนไข ทั่วไป เงื่อนไขเฉพาะโครงการควรมีหัว ข้อของเงื่อนไขส่ว นนี้ ตรงกับหรือสอดคล้องกับหัวข้ อของ เงื่อนไขทั่วไป 2.5 ข้อกาหนด (Specifications) ข้อก าหนด (Specifications) เป็นเอกสารซึ่งกล่าวถึงความประสงค์ ความต้องการของผู้ออกแบบ เจ้าของงาน หรือเจ้าของโครงการ เพื่อสื่อสารไปยังบุคลากรผู้ที่เกี่ยวข้องในงานต่าง ๆ เช่น งาน ก่อสร้าง งานผลิต งานพัฒนาซอฟต์แวร์ ฯลฯ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อกาหนดขอบเขตงาน อธิบายคา จ ากัดความ นิยามที่ใช้ในงานนั้น มาตรฐานที่ต้องการให้ใช้ ชนิด ขนาด และรายละเอียดของวัสดุ เครื่องจักร เครื่องมือ ตลอดจนถึงวิธีการก่อสร้างหรือวิธีการดาเนินงาน รวมถึงคุณภาพของช่างฝีมือ แรงงาน ความละเอียดและถูกต้องในงานนั้น 2.6 บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา (Bill of Quantities) บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา (Bill of Quantities) เป็นเอกสารซึ่งแสดงรายการงาน และปริมาณ วัสดุ เพื่อให้ผู้เข้าประกวดราคากรอกราคา เพื่อประกวดราคางานโครงการนี้ องค์ประกอบของบัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ คือ - ลาดับที่ของรายการ - รายละเอียดของงานแต่ละประเภท - ปริมาณงาน (จานวน) - หน่วยในการวัดเพื่อการจ่ายเงิน - อัตราราคาต่อหน่วย (อาจแยกเป็นราคาค่าวัสดุ และค่าแรงงาน) ของแต่ละรายการ - ราคารวม - หมายเหตุ (หากจาเป็น หรือต้องการ) หน้าที่และความสาคัญของบัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา ที่ใช้ในงานก่อสร้าง - แสดงองค์ประกอบรายละเอียดของงานต่าง ๆ - แสดงปริมาณงานและหน่วยที่ใช้ในการวัดและจ่ายเงิน - แสดงราคาของงานแต่ละประเภท
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-17 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา - ใช้เพื่อเปรียบเทียบราคาของผู้เข้าประกวดราคา (Tenderer /Bidder) เพื่อเป็นผู้รับจ้าง ก่อสร้าง (ผู้รับเหมา/ Contractor) ในโครงการนั้น ๆ - ใช้เพื่อเป็นราคาฐาน สาหรับงานเพิ่มเติมในโครงการนั้น ๆ - ใช้เพื่อการเบิกจ่ายเงิน (Payment) หรือการเบิกจ่ายเงินบางส่วนในระหว่างการก่อสร้าง (Interim Payment) อนึ่งในสัญญา อีพีซี ราคาโครงการจะยึดถือยอดรวมทั้งหมดที่เสนอราคามาเป็นหลัก โดยทั่วไปจะมีเอกสารการกระจายเงินแบ่งจ่ายเป็นงวด ๆ (Disbursement Schedule) แต่ บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา จะใช้ประโยชน์ในการแบ่งจ่ายเงิน ในกรณีการคิดราคางาน เพิ่ม ลด ในโครงการ 2.7 แบบ (Drawings) แบบหมายถึง แบบก่อสร้างของงานโครงการแนบอยู่ในสัญญาและให้รวมถึงแบบก่อสร้างเพิ่มเติม และแก้ไข ซึ่งออกตามเงื่อนไขของสัญญา 2.8ข้ อ ก าหน ดค วามต้ อ งการของเจ้ า ของงาน/รายละเอี ย ดเฉพาะ ( Employer’s Requirement/Particular Requirement) สาหรับสัญญา EPC ในสัญญา อีพีซี จะกาหนดให้ผู้รับจ้างเป็นผู้ออกแบบรายละเอียด ฉะนั้นเจ้าของงานต้องระบุ ขอบเขตของงาน ข้อกาหนดความต้องการเฉพาะ เอกสารฉบับนี้จะมีความสาคัญและถือเป็นหัวใจ ของงานอีพีซี โดยจะประกอบด้วยข้อมูลดังต่อไปนี้ เอกสารแสดงขอบเขตของงาน ข้อกาหนดความต้องการของเจ้าของงานโดยเฉพาะ ข้อมูลพื้นฐานที่จาเป็นในการออกแบบรายละเอียด ได้แก่ - รายงานสภาพทางภูมิประเทศ - รายงานสภาพทางธรณีวิทยา - รายงานอุทกวิทยา - รายงานสภาพภูมิอากาศ - แบบเค้าโครงพื้นฐาน (Basic Design Drawings) - รายงานการออกแบบเค้าโครงพื้นฐาน (Basic Design Report) - ข้อมูลวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องจักร หรือกระบวนการผลิต เฉพาะเจาะจงที่ต้องการเป็นพิเศษ 2.9 แบบฟอร์มประกอบการเสนอราคาอื่น ๆ แบบฟอร์มประกอบการเสนอราคา ประกอบด้วย สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-18 |
คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา
แบบหนังสือค้าประกัน (1) หลักประกันการเสนอราคา (2) หลักประกันสัญญา (3) หลักประกันการรับเงินค่าจ้างล่วงหน้า (4) หลักประกันผลงาน เอกสารหลักฐานประกอบการคัดเลือกผู้เสนอราคา ประกอบด้วย (1) ข้อมูลทั่วไป (2) ข้อมูลเกี่ยวกับกิจการร่วมค้าที่จด/มิได้จดทะเบียน (3) กาหนดการ อัตรา และเงื่อนไข (4) แบบฟอร์มหนังสือการให้ความสนับสนุนด้านการเงินให้แก่ผู้รับจ้าง (5) ประสบการณ์ของผู้ยื่นข้อเสนอ (6) แผนการก่อสร้างหลัก (7) แผนงานด้านคุณภาพ (8) แผนงานด้านความปลอดภัย (9) แผนงานด้านสิ่งแวดล้อม (10) แผนการบูรณการและประสานงานโครงการ (11) ผังแสดงการจัดองค์กรที่เสนอ (12) ตารางแสดงระยะเวลาการปฏิบัติงานของบุคลากรหลัก (13) รายการเครื่องจักร เครื่องมือ ที่สาคัญ (14) ประวัติและประสบการณ์ของบุคลากรหลัก (15) หนังสือรับรองของวิศวกรผู้ควบคุมการก่อสร้าง (16) หนังสือรับรองของวิศวกรผู้วางแผนงานก่อสร้าง (17) รายละเอียดของแผนการก่อสร้างและวิธีการก่อสร้าง (18) การเตรียมการต่าง ๆ และรายละเอียดการก่อสร้าง (19) รายละเอียดวิธีการบารุงรักษางานถนน (20) รายการเอกสารเพิ่มเติมที่ต้องยื่นพร้อมใบแจ้งปริมาณงานและราคา (21) ตารางประมาณการการเบิกเงินค่าจ้าง (22) รายละเอียดของการเสนอราคา อื่น ฯลฯ (ตามความต้องการของหน่วยงาน และโครงการ) 2.10 Letter of Intent, Letter of Acceptance/Letter of Award Letter of Intent หรือ หนังสือแสดงเจตนา เป็นข้อความสั้น ๆ ที่เขียนขึ้นเพื่อแสดงเจตนาจ้าง สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-19 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา Letter of Acceptance หรื อ หนั ง สื อ ตอบยอมรั บ การเสนอราคา บางที ก ็ เ รี ย กว่ า Letter of Award หรือหนังสือตอบตกลงจ้าง บางครั้งก็เขียนเป็นรูปของสัญญาสั้น ๆ เรียกว่า Memorandum of Understanding หรือบันทึกความเข้าใจ ขั้นตอนในการทาสัญญาของทางราชการจะใช้เวลานาน เนื่องจากมีขั้นตอนมากเพื่อให้ผู้ชนะ การประกวดราคา มีความมั่นใจว่าสามารถเริ่มเตรียมการก่อสร้างได้ จึงจาเป็นต้องมีหนังสือ แสดงเจตนาว่าจะได้รับการว่าจ้าง เช่นเดียวกับ Letter of Acceptance ซึ่งเป็นหนังสือตอบ ยอมรับการเสนอราคา หรือ Letter of Award เป็นหนังสือตอบตกลงจ้าง วัตถุประสงค์ของหนังสือดังกล่าว จะให้ผู้รับจ้างมั่นใจว่าสามารถดาเนินการตามที่จาเป็นได้ เช่น การเตรียมงาน วัสดุ บุคคลากร สานักงานชั่วคราว ถนนทางเข้าออก ฯลฯ รายละเอียดของหนังสือดังกล่าวจะระบุว่า ผู้ว่าจ้างมีความยินดีที่จะแจ้งให้ทราบว่า ผู้ว่าจ้างตก ลงว่าจ้างให้ผู้ชนะการประกวดราคาทาการก่อสร้าง งาน ............... โครงการ ......................... โดยมีรายละเอียดและเงื่อนไขการจ้างในสัญญาที่จะได้จัดทาและลงนามกันต่อไป ขอให้ผู้ชนะ การประกวดราคาเริ่มดาเนินการก่อสร้างได้ ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นให้รวมอยู่ในค่าจ้าง ในกรณีที่ไม่สามารถทาสัญญาต่อกันได้ ผู้ว่าจ้างยินดีจะ ชดใช้ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นให้ทั้งหมด หนังสือฉบับนี้ให้มีผลใช้บังคับได้ไปจนกว่าจะได้ทาสัญญากันต่อไป 3. ข้อกาหนดคืออะไร ข้อกาหนด ในประเทศไทยมีคาเรียกหลายคา เช่น รายการประกอบแบบ รายการก่อสร้าง รายการรายละเอียดด้านสถาป้ตยกรรม หรือรายการรายละเอียดด้านวิศวกรรม รายละเอียดและ ข้อกาหนดการก่อสร้าง ข้อกาหนด ข้อกาหนดทางเทคนิค ข้อกาหนดทางเทคนิคในการก่อสร้าง เป็น ต้น ส าหรับคาที่ใช้ในภาษาอังกฤษ จะใช้ คาว่า “Specifications” ซึ่งราชบัณฑิตยสถาน และ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ บัญญัติศัพท์เป็น “ข้อกาหนด” ค าว่ า Specifications ใน ภาษาอั ง กฤษ The American Heritage Dictionary of the English Language, Third Edition ให้ความหมายไว้ดังนี้ 1. The act of specifying. 2. a. Specifications A detailed, exact statement of particulars, especially a statement prescribing materials, dimensions, and quality of work for something to be built, installed, or manufactured, b. A single item or article that has been specified. 3. An exact written description of an invention by an applicant for a patent. สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-20 |
คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของข้อกาหนดไว้ว่า “ข้อความ ที่ระบุเป็นหลักเกณฑ์ หรือวิธีการให้บุคคลที่เกี่ยวข้องต้องปฏิบัติ หรือดาเนินการในเรื่องใด เรื่องหนึ่ง” รายการก่อสร้างคือ “เอกสารที่อธิบายความคิดของผู้ออกแบบต่อบุคคลต่าง ๆ ซึ่งเกี่ยวข้อง กับงานก่อสร้างเพื่อกาหนด ชนิด ขนาด มาตรฐานการทางาน และรายละเอียดของงานก่อสร้าง” จึง ถือว่าเป็นข้อตกลงส่วนหนึ่งของสัญญาจ้างและเป็นเอกสารสาคัญช่วยให้แบบรูปกระจ่างยิ่งขึ้น ทาให้ ผู้รับจ้างทราบได้ว่ามีอะไรบ้างอยู่ในความคาดหมายของเขา ข้อมูลส่วนมากที่ใช้ในการท างาน จะ กาหนดไว้ในแบบรูป ซึ่งเขียนขึ้นในลักษณะต่าง ๆ กัน แต่รายละเอียดเกี่ยวกับฝีมือ และวัสดุ อุปกรณ์ นั้น ไม่สามารถระบุลงไปในงานเขียนแบบได้ (พนม, 2539) ข้อก าหนด (Specifications) บางครั้งอาจเรียกว่า รายการประกอบแบบ หรือ รายการ ก่อสร้าง โดยทั่วไปมักคิดถึงรายละเอียดประกอบแบบด้านเทคนิค เช่นกล่าวถึงรายละเอียด วัสดุ อุปกรณ์ ขั้นตอนและวิธีการก่อสร้าง เป็นต้น (วิสูตร, 2543) รายการประกอบแบบ คือแบบก่อสร้างที่มิใช่เส้น แต่เป็นข้อความ (วิญญู และวิชัย, 2550) ข้อกาหนดทางเทคนิค (Technical Specifications) คือเอกสารซึ่งกล่าวถึงความประสงค์ ความต้องการของผู้ออกแบบ เจ้าของงาน หรือเจ้าของโครงการ เพื่อสื่อสารไปยังบุคลากร ผู้ที่เกี่ยวข้อง ในงานต่าง ๆ เช่น งานก่อสร้าง งานผลิต งานพัฒนาซอฟต์แวร์ ฯลฯ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อกาหนด ขอบเขตงาน อธิบายคาจากัดความ นิยามที่ใช้ในงานนั้น มาตรฐานที่ต้องการให้ใช้ ชนิด ขนาด และ รายละเอียดของวัสดุ เครื่องจักร เครื่องมือ ตลอดจนถึงวิธีการก่อสร้างหรือวิธีการดาเนินงาน รวมถึง คุณภาพของช่างฝีมือ แรงงาน ความละเอียดและถูกต้องในงานนั้น (เจตณรงค์, 2550) สรุ ป ได้ ว ่ า การจั ด ท าข้ อ ก าหนด คื อ กระบวนการระบุ พ รรณนาเพื ่ อ แสดงรายละเอี ย ด เฉพาะเจาะจง โดยเฉพาะรายละเอียดที่แสดงถึงคุณลักษณะของวัสดุ ขนาด ขั้นตอน วิธีการ และ คุณภาพ เพื่อให้ผู้ ที่เกี่ยวข้องใช้ปฏิบัติหรือดาเนินการเพื่อให้ได้งาน สิ่งก่อสร้าง ผลิตกัณฑ์ หรือการ ติดตั้ง และการบริการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการดังที่กาหนดไว้ วัตถุประสงค์และความสาคัญของข้อกาหนดทางเทคนิค วัตถุประสงค์ของข้อกาหนดทางเทคนิคเพื่อ ระบุรายละเอียดต่าง ๆ ที่ไม่สามารถแสดงไว้ใน แบบก่อ สร้าง อาทิเช่น มาตรฐานต่าง ๆ คุณสมบัติของวัสดุ วิธีการก่อสร้างหรือปฏิบัติ วิธีการทดสอบ ความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้ ตลอดจนถึงวิธีการวัดปริมาณงานและการจ่ายเงิน ความสาคัญของ ข้อกาหนด คือเป็นส่วนหนึ่งของสัญญาในโครงการต่าง ๆ เพื่อให้ผู้รับจ้างปฏิบัติงานได้ถู กต้องตาม วัตถุประสงค์และความต้องการของโครงการ การไม่ ปฏิบัติตามข้อกาหนดอาจนามาซึ่งอันตราย และ ความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินได้
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-21 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา 1. ประเภท/ชนิดของข้อกาหนด (1) ประเภทของข้อกาหนดแบ่งตามลักษณะของข้อกาหนด ได้แก่ - ข้อกาหนดมาตรฐาน (Standard specification) ข้อกาหนดประเภทนี้ เป็นข้อกาหนดซึ่งหน่วยงานนั้น ๆ จัดทาขึ้นเพื่อใช้ได้ทั่วไป สาหรับ โครงการต่าง ๆ ซึ่งมีลักษณะงานคล้าย ๆ กัน เป็นงานสามัญทั่ว ๆ ไป (Common) ไม่มี อะไรเป็นพิเศษ เช่นงานปรับพื้นที่ งานขุดดินทั่วไป งานคอนกรีต งาน ไม้ งานประตูหน้าต่าง เป็นต้น - ข้ อ ก า ห น ด เ ฉ พ า ะ ง า น ( Special provision, Particular specification or Supplementary specification) ข้อก าหนดนี้จ ะเป็นส่วนที่เสริมเพิ่มเติ มจากข้อก าหนดมาตรฐาน โดยที่โครงการแต่ล ะ โครงการจะมีความแตกต่างกันบ้างในสภาพของพื้นที่ ลักษณะของโครงสร้าง ความพิเศษ ของโครงการ คุณสมบัติเฉพาะของวัสดุที่ใช้ (2) ประเภทของข้อกาหนดแบ่งตามลักษณะรายละเอียดของเนื้อหา ได้แก่ - ข้อกาหนดแบบละเอียดเชิงพรรณนา (Descriptive specifications) Descriptive Specifications: Materials, Methods & Workmanship เ ป็ น ข้อกาหนดทีร่ ะบุ วิธีการนาวัสดุไปใช้งานจริง วิธีการก่อสร้าง และระดับฝีมือช่างที่ต้องการ ข้อดีของการเขีย นข้ อ ก าหนดแบบ Descriptive Specifications คือ มีการระบุ ค วาม ต้องการได้ชัดเจน ใช้ได้กับทุกงานเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันกันโดยเสรี ข้อด้อยของ Descriptive Specifications คือ อาจไม่ได้ผลเพราะฝีมือช่างไม่ถึงระดับที่ ต้องการหรือ ตรวจสอบระดับฝีมือช่างได้ยาก หรือ ถ้าทาได้ก็จะต้องเสียเวลาและค่าใช้จ่าย มาก จะทาให้การเขียนข้อกาหนดยาว เสียเวลาเขียนนานมาก เพื่อให้สอดคล้องกับระดับ ฝีมือช่างที่มีอยู่ เสียเวลาอ่านทาความเข้าใจมาก อาจจะต้องเพิ่มข้อความบางอย่าง เพื่อให้ ได้ผลตามต้องการ อาจทาให้ราคางานสูงขึ้น - ข้อกาหนดแบบมุ่งผลสาเร็จของงาน (Performance specifications) Performance Specifications รายการก่อสร้างที่ระบุผลสุดท้ายที่ต้องการเท่านั้น ส่วน วัสดุ และแรงงาน วิธีการจัดซื้อ - จัดหา ตลอดจนวิธีการก่อสร้าง ผู้รับจ้างจะต้องเป็น ผู้ดาเนินการจัดหา จัดซื้อ ด้วยตัวเองทั้งหมด ข้อดีของ Performance Specifications คือ ได้ผลตรงตามความต้องการของผู้ออกแบบ ผู้รับจ้างมีอิสระเต็มที่ในการท างาน จะมีการแข่งขันสูง ข้อกาหนดจะสั้น และกะทัดรัด ใช้ได้กับงานทุกประเภท ข้อด้ อยของ Performance Specifications คือ การก าหนดราคาที่แน่นอนท าได้ยาก สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-22 |
คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา
ผู้รับจ้างจะใช้วิธีทางานแตกต่างกันออกไป ควบคุ มงานลาบากต้องทาตามผู้รับจ้างบอก ตลอด ยิ่งถ้าไม่จากัดค่าใช้จ่ายเอาไว้เจ้าของโครงการจะเสียค่าใช้จ่ายมาก - ข้อกาหนดแบบอ้างอิง (Reference specifications) Reference Specifications ข้อก าหนดที่อ้า งอิง มาตรฐานที่ม ีอ ยู่ ที่ใช้อยู่ ที่ทุก คน ยอมรับ เช่น ให้ใช้ปูนซีเมนต์ ประเภท 1 ตาม มอก.ที่ 15 เป็นต้น ข้อดีของ Reference Specifications คือ ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องยอมรับเพราะเป็นที่คุ้นเคย และใช้ทั่วไปไม่จากัดการแข่งขัน รายละเอียดข้อกาหนดสั้น กระชับ กะทัดรัด มีน้า หนัก มากถ้าต้องมีการขึ้นศาลกรณีมีป้ญหาในการทางาน ข้อด้อยของ Reference Specifications คือ วัสดุหรือวิธีการหลายอย่างไม่มีมาตรฐานให้ อ้างอิง มาตรฐานบางอย่างอาจล้าสมัย มาตรฐานบางอย่างเป็นเกณฑ์ขั้นต่า อาจปกป้อง ผลประโยชน์ของคนบางกลุ่มเท่านั้น ผู้รับจ้างต้องขวนขวายหามาตรฐานอ้างอิงเอาเอง ซึ่ง กว่าจะได้รับการยอมรับจากเจ้าของงานจะเสียเวลาและค่าใช้จ่ายมาก - ข้อกาหนดแบบระบุบริษัทผู้ผลิต (Proprietary specifications) อธิบ ายค าเรีย ก Proprietary : ศัพท์ค าว่า Proprietary software ทางด้ า นวิศวกรรม ซอฟแวร์ ในประเทศไทย บางทีจะใช้คาทับศัพท์ว่า "โพรไพรเอทารีซอฟต์แวร์" หรือใช้คา ว่า "ซอฟต์แวร์เอกสิทธิ์เฉพาะ" Proprietary Specifications ข้อกาหนดที่มีการระบุยี่ห้อ รุ่น หมายเลขแคตตาล็อก สี หรือ รายละเอียดต่าง ๆ ให้ชัดเจน ผู้ที่เกี่ยวข้องรู้ได้ทันที ว่าเป็นสิ่งใด เช่น กระเบื้องมุง หลังคาใช้ CPAC MONIER สีแดง เป็นต้น ข้อดีของ Proprietary Specifications คือ ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเข้าใจตรงกันว่าต้องการ อะไร คิดราคาง่าย ทาให้รายละเอียดข้อกาหนดสั้น กะทัดรัดได้คุณภาพงานตรงตามความ ต้องการของผู้ออกแบบ ข้อด้อยของ Proprietary Specifications คือ ใช้กาหนดรายละเอียดได้เฉพาะวัสดุเท่านั้น จะทาให้ไม่มีการแข่งขันในการเสนอราคาทาให้งานมีราคาแพง และถ้าตอนลงมือก่อสร้าง จะมีป้ญหาถ้าหายี่ห้อนั้นไม่ได้ หรือ หาได้แต่เจ้าของผู้ผลิตโก่งราคาขึ้นไปอย่างไม่เป็นธรรม นอกจากนั้นวัสดุบางชนิดที่ใช้กันบ่อย ๆ แต่ไม่มียี่ห้อ เช่น อิฐบล็อก อิฐ ทราย หิน จะไม่ สามารถนามาใช้ในรายการก่อสร้างประเภทนั้นได้ - ข้อกาหนดแบบผสม (Combination Specifications) Combination Specifications ข้อก าหนดแบบผสมตามความต้องการเฉพาะงาน มี ข้อดี และข้อเสียตามแต่ละแบบทีน่ ามาใช้ - มาตรฐานอ้างอิง (Reference standard) มาตรฐานอ้างอิง เป็นเอกสารที่จัดทาโดยหน่วยงานกาหนดมาตรฐาน ใช้ประโยชน์ในการ สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-23 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา กาหนดคุณสมบัติของวัสดุก่อสร้าง วิธีการทดสอบ วิธีการดาเนินงาน รวมถึงวิธีการควบคุม คุ ณ ภาพต่ า ง ๆ เช่ น มาตรฐานอุ ต สาหกรรม (มอก.) มาตรฐาน ISO (International Standard Organization) ม า ต ร ฐ า น ASTM ( American Society for Testing and Materials) มาตรฐาน ACI (American Concrete Institute) เป็นต้น (3) แนวทางและการจัดทาข้อกาหนด/รายการประกอบแบบ การเขียนข้อกาหนด การเขียนข้อกาหนดจัดเป็นงานที่สาคัญ ผู้เขียนข้อกาหนด จะต้องเป็นผู้รอบรู้ในงานนั้น อย่างยิ่ง อีกทั้งต้องรอบคอบละเอีย ดถี่ถ้วน เขียนรายการชัดเจนและปฏิบัติไ ด้ ฉะนั้น การเขียน ข้อกาหนดใด ๆ ย่อมขึ้นอยู่กับ 6 C ดังนี้ - Correct ถูกต้อง เนื้อหาต้องตรงกับวัตถุประสงค์ ถูกต้องตามข้อเท็จจริง ใช้ภาษาได้ ถูกต้อง ทั้งโครงสร้างประโยค สานวน ลีลา เครื่องหมายวรรคตอน ตัวสะกด - Complete สมบูรณ์ มีเนื้อหาครบถ้วน - Clear ชัดเจน ไม่กากวม อ่านเข้าใจง่าย ตรงตามที่ต้องการสื่อ บรรลุวัตถุประสงค์ ไม่ ต้องตีความ - Concise กระชับ กะทัดรัด รัดกุม ไม่ใช้คาฟุ่มเฟือย - Coherence สัมพันธภาพ มีการเชื่อมโยงในข้อความ แต่ละประโยคต้องมีเนื้อความ เกี่ยวเนื่องกัน - Convincing สมเหตุผล มีความเป็นไปได้ การจัดทามาตรฐานข้อกาหนด เมื่อเริ่มงานออกแบบโครงการ ควรจะต้องมีการประชุมปรึกษาหารือระหว่าง วิศวกรสาขาต่าง ๆ สถาปนิก ผู้ประมาณราคาและคานวณปริมาณงาน ผู้จัดเตรียมข้อกาหนด นักวิชาการสิ่งแวดล้อม และ ผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ เพื่อร่วมกันจัดทา เกณฑ์การออกแบบ (Design Criteria) เพื่อให้โครงการ มีประโยชน์ ใช้งานสูงสุดและมีระยะเวลาก่อสร้างตรงตามความต้อ งการของผู้ว่าจ้าง สะดวกต่อการดู แลและ บารุงรักษา เหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศ ทั้งในระยะเวลาก่อสร้าง และระยะเวลาใช้งาน ใช้วัสดุใน ท้องถิ่นให้มากที่สุด เพื่อลดราคาค่าก่อสร้าง มีผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมน้อยที่สุด และสอดคล้องกับ มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Mitigation Plan) ของโครงการ รูปแบบของข้อกาหนดที่เสนอ หนึ่งบทจะครอบคลุมงานหนึ่งงาน และจะประกอบด้วยหัวข้อหลัก 4 หัวข้อ เหมือนกันทุกบทเป็นส่วนใหญ่ คือ - หัวข้อ X.1 ทั่วไป จะประกอบด้วยหัวข้อย่อยตามความจาเป็น คือ ๐ X.1.1 ขอบเขตของงาน ๐ X.1.2 มาตรฐานที่ใช้กับงานในบทนี้ สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-24 |
คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา
๐ X.1.3 นิยาม งานบางงานจาเป็นที่จะต้องให้คานิยามงานย่อยเพื่อบ่งชี้ความแตกต่าง ให้ชัดเจน ๐ X.1.4 การเสนอเอกสารและตัวอย่างวัสดุ - หัวข้อ X.2 วัสดุ/เครื่องจักร/เครื่องมือ - หัวข้อ X.3 วิธีการก่อสร้าง/วิธีการดาเนินงาน - หัวข้อ X.4 การวัดปริมาณงานและการจ่ายเงิน (ไม่ใช้กับงาน อีพีซี) หลักการเขียนข้อกาหนด/รายการก่อสร้าง (Principle of Specifications Writing)1 1. ต้องถามเจ้าของโครงการให้แน่ใจต้องการอะไรแน่ ระดับคุณภาพอยู่ระดับใด สอดคล้องกับ งบประมาณที่มีอยู่หรือไม่ 2. เขียนความต้องการให้สั้น กะทัดรัด ชัดเจน เกี่ยวกับเงื่อนไขทั่วไป ชนิดของงานและคุณภาพของ ช่างฝีมือ 3. แยกแยะหัวข้อทั้งเงื่อนไขเพิ่มเติมทั่วไป (General Provisions) และข้อกาหนดทางด้านเทคนิค (Technical Requirements) ให้ชัดเจนเพื่อสะดวกต่อการเชื่อมโยงหรืออ้างถึงให้ต่ อเนื่องกับ เอกสารประกอบสัญญาอื่น ๆ วิเคราะห์งานแต่ละชนิดและเลือกข้อกาหนดทางด้านเทคนิคให้ตรง กับงานนั้น ๆ โดยอาศัยข้อก าหนดทางด้านเทคนิคของงานประเภทเดียวกันที่ ได้ เคยใช้ห รื อ ก่อสร้างมาก่อนเป็นตัวเปรียบเทียบ 4. จัดล าดับความต้องการที่จ ะน าไปเขียนลงในแต่ล ะส่วนของข้อก าหนดให้สอดคล้องกับแบบ ก่อสร้างและสัญญา ทั้งนี้เพื่อให้ง่ายในการตรวจสอบและปฏิบัติตาม 5. เขียนข้อกาหนดให้กระชับ ครบถ้วนสมบูรณ์ ใช้ประโยคและถ้อยคาที่เป็นที่เข้าใจกันโดยทั่วไป 6. ใช้ศัพท์ที่มีความหมายแน่นอน ไม่กากวม ไม่ต้องตีความ เป็นที่เข้าใจตรงกัน ไม่เข้าใจเป็นอย่าง อื่น 7. ต้องการอะไรให้สั่งลงไปตรง ๆ อย่าใช้คาพูดเชิงแนะนา 8. ไม่จาเป็นต้องระบุเหตุผลหรือให้คาอธิบายเพิ่มเติมในสิ่งที่ต้องการ 9. อย่าระบุให้ทาในสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ หรือ ไม่มีเหตุผล หรือ เสียค่าใช้จ่ายสูงกว่างบประมาณที่มีอยู่ 10. อย่ากาหนดความต้องการให้ขัดแย้งกัน 11. ให้ระบุขนาดมาตรฐาน (Size) หรือ รูปแบบมาตรฐาน (Pattern) ทุกครั้งถ้าทาได้ เพราะจะได้ไม่ มีปญ ั หาในการสั่งของหรือสั่งวัสดุ 12. อย่าเขียนความต้องการซ้า ๆ กัน ให้ใช้การอ้างอิงแทน 13. พยายามลดการอ้างอิงไขว้กันไปไขว้กันมา เช่น กรณีมีข้อสงสัยให้ไปดูข้อ 5.2 และที่ข้อ 5.2 เขียน ว่า ให้ไปดูข้อ 6.8 เป็นต้น 1 http://www.rangson.com/html%20document/ce/ce005001.htm
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-25 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา 14. อย่าปัดความรับผิดชอบไปให้ผู้รับจ้างถ้าเขาได้ทาตามข้อกาหนดครบถ้วน อะไรก็ตามที่ผู้รับจ้าง ได้ทาตามข้อกาหนดแล้วเกิดความเสียหายขึ้น ผู้ออกข้อกาหนดจะต้องรับผิดชอบ 15. มีความยุติธรรม คิดถึงอกเขาอกเรา 16. อย่าปิดบัง ซ่อนเร้น ความยากลาบากของงานหรือที่อาจจะเป็นอันตรายได้ จะต้องบอกผู้รับจ้าง ให้ ท ราบว่ า งานตอนใดมี อ ั น ตราย เช่ น การสร้ า งห้ อ ง X - RAY ในโรงพยาบาล การวาง สายโทรศัพท์ในท่อที่อยู่ใต้ดินลึก ๆ จะมีปัญหาการขาดอากาศหายใจต้องเตรียมอุปกรณ์ทางาน เป็นพิเศษ 17. ความต้องการที่เจ้าของโครงการต้องการจะต้องสามารถวัด ได้ และต้องก าหนดวิธีการวัด ให้ ชัดเจนด้วย อย่ากาหนดวิธีวัดโดยใช้ความรู้สึกเป็นเกณฑ์เพราะจะเป็นจุดเริ่มต้นของความขัดแย้ง การทะเลาะวิวาท การโต้เถียงที่หาข้อยุติไม่ ได้ และจะทาให้เกิดความไม่เป็นธรรมในสัญญาการ ก่อสร้างได้ ตัวอย่างขั้นตอนในการจัดเตรียมข้อกาหนด การจัดเตรียมข้อกาหนดมีขั้นตอนและวิธีการจัดทา ดังต่อไปนี้ คือ (1) รับทราบรูปแบบของสัญญาการออกแบบโครงการ (2) ศึกษาและรับทราบขอบเขตของงานในโครงการ รวมทั้งศึกษาแบบของโครงการ (3) จัดแบ่งหมวดหมู่ของข้อกาหนด (4) รับทราบความต้องการในหมวดงานทั่วไปของโครงการจากผู้แทนของเจ้าของงาน (5) จัดเตรียมร่างข้อกาหนดของโครงการโดยใช้ข้อมูลของข้อกาหนดจากโครงการต่าง ๆ (6) รวบรวมข้อกาหนดงานพิเศษอื่น ๆ จากผู้เชี่ยวชาญ (7) จัดเตรียมข้อกาหนดฉบับร่างพร้อมตรวจสอบเบื้องต้น (8) ตรวจทานโดยผู้จัดการโครงการ (9) ทบทวนโดยคณะกรรมการตรวจการจ้าง (10) จัดเตรียมข้อกาหนดฉบับสมบูรณ์ และตรวจทานขั้นสุดท้ายโดยผู้จัดการโครงการ สรุปประเด็นปัญหาที่พบ (1) ความขัดแย้งระหว่างข้อกาหนดและเอกสารประกวดราคาอื่น (2) การระบุการจ่ายเงินไม่ชัดเจน ไม่รัดกุม หรือไม่ครอบคลุม (3) การกาหนดรายละเอียดในข้อกาหนดชัดเจนและผูกมัดเกินไป (4) การกาหนดรายละเอียดในข้อกาหนดไม่ชัดเจน (5) ข้อกาหนดไม่ทันสมัย (6) ข้อกาหนดไม่ถูกต้อง (7) ข้อกาหนดไม่ครบถ้วน สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-26 |
คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา (8) ขาดผู้เชี่ยวชาญในงานเฉพาะด้าน
การจัดเรียงหมวดหมู่ข้อกาหนด (Specifications) โดยใช้ CSI MASTER FORMAT CSI MASTER FORMAT เปนมาตรฐานการจัดเรียงหมวดหมู่ข้อกาหนด (Specifications) ซึ่งเกิดจาก การพั ฒ นาร วมกั น ระหว าง Construction Specifications Institute (CSI) และ Construction Specifications Canada (CSC) โดยแบงงานกอสรางเปน Division ในครั้งแรกกาหนด 16 Divisions ตอมา ในป ค.ศ. 2004 ไดเพิ่มจานวนเปน 49 Divisions CSI-MASTER LIST OF NUMBERS and TITLES: 2016 PROCUREMENT AND CONTRACTING REQUIREMENTS GROUP Division 00 - Procurement and Contracting Requirements SPECIFICATIONS GROUP GENERAL REQUIREMENTS SUBGROUP Division 01 - General Requirements FACILITY CONSTRUCTION SUBGROUP Division 02 - Existing Conditions Division 03 - Concrete Division 04 - Masonry Division 05 - Metals Division 06 - Woods, Plastics, and Composites Division 07 - Thermal and Moisture Protection Division 08 - Openings Division 09 - Finishes Division 10 - Specialties Division 11 - Equipment Division 12 - Furnishings Division 13 - Special Construction Division 14 - Conveying Equipment FACILITY SERVICES SUBGROUP Division 21 - Fire Suppression Division 22 - Plumbing Division 23 - Heating, Ventilating, and Air-Conditioning (HVAC) สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-27 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา Division 25 - Integrated Automation Division 26 - Electrical Division 27 - Communications Division 28 - Electronic Safety and Security SITE AND INFRASTRUCTURE SUBGROUP Division 31 - Earthwork Division 32 - Exterior Improvements Division 33 - Utilities Division 34 - Transportation Division 35 - Waterway and Marine Construction PROCESS EQUIPMENT SUBGROUP Division 40 - Process Interconnections Division 41 - Material Processing and Handling Equipment Division 42 - Process Heating, Cooling, and Drying Equipment Division 43 - Process Gas and Liquid Handling, Purification, and Storage Equipment Division 44 - Pollution and Waste Control Equipment Division 45 - Industry-Specific Manufacturing Equipment Division 46 - Water and Wastewater Equipment Division 48 - Electrical Power Generation MasterFormat รุ่นปี ค.ศ. 1995 ก่อนการปรับปรุงในรุ่นปี ค.ศ. 2004 มีทั้งหมด 16 หมวด ดังนี้ 1) หมวด 01 - General Requirements – ข้อกาหนด ความต้องการทั่วไปที่ไม่เกี่ยวกับสิ่งก่อสร้าง โดยตรง เช่น การสร้างสานักงาน หรือบ้านพักคนงานชั่วคราว การสร้างรั้วรอบบริเวณสถานที่ก่อสร้าง 2) หมวด 02 - Site Construction - สภาพสถานที ่ ก ่ อ สร้ า ง เช่ น งานถม งานขุ ด ดิ น รื ้ อ ถอน สิ่งก่อสร้างเดิม 3) หมวด 03 - Concrete - งานคอนกรีต รวมถึง เสา คาน พื้น ฐานราก และ สิ่งก่อสร้างคอนกรีต 4) หมวด 04 - Masonry - งานวัสดุก่อ รวมถึง งานก่ออิฐ อิฐบล็อก อิฐแก้ว 5) หมวด 05 - Metals – งานโลหะ 6) หมวด 06 - Wood and Plastics – งานไม้และพลาสติก 7) หมวด 07 - Thermal and Moisture Protection – งานฉนวนป้องกันความร้อน และความชื้น 8) หมวด 08 - Doors and Windows – งานประตูและหน้าต่าง 9) หมวด 09 - Finishes – งานผิวสาเร็จ รวมถึง งานผนังยิปซั่มภายใน งานฝ้าเพดาน งานกระเบื้อง สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-28 |
คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา
วัสดุปูทับ ติดตั้งระบบอะคูสติกกันเสียง และงานทาสี 10) หมวด 10 – Specialties - งานเฉพาะทาง เช่น การติดตั้งพาร์ทิชัน ติดตั้งกระดานดา 11) หมวด 11 - Equipment – อุปกรณ์ เช่น อุปกรณ์กาจัดขยะ 12) หมวด 12 - Furnishings - อุปกรณ์ตกแต่ง เช่น มู่ลี่ ผ้าม่าน เฟอร์นิเจอร์ 13) หมวด 13 - Special Construction - งานก่อสร้างพิเศษ เช่น ห้องซาวน่า สระว่ายน้า 14) หมวด 14 - Conveying Systems - ระบบขนส่งภายในอาคาร เช่น ลิฟท์ บันไดเลื่อน คอนเว เยอร์ 15) หมวด 15 - Mechanical – งานเครื่องกล 16) หมวด 16 - Electrical – งานไฟฟ้า MasterFormat รุ่นปี ค.ศ. 2004 จากความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี ทั้งทางด้านการก่อสร้าง ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต การใช้ฐานข้อมูล ระบบการประกวดราคาออนไลน์ รวมทั้งการแลกเปลี่ย นข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ CSI จึงได้ท าการปรับปรุ งแก้ไข ขยาย เพิ่มเติม รายละเอียดการจัดหมวดหมู่มาตรฐาน ตั้งแต่ เดือน เมษายน ปี ค.ศ. 2001 จนแล้วเสร็จในปี ค.ศ. 2003 และประกาศใช้อย่างเป็นทางการในปี ค.ศ. 2004 โดยได้จัดแบ่งหมวดหมู่ใหม่ ดังนี้ กลุ่มที่ 1: การจัดซื้อจัดหาและสัญญา หมวด 00 ข้อก าหนด ความต้องการของการจัดจ้า งและการท าสัญญาจ้าง (Procurement and Contracting Requirements) กลุ่มที่ 2: ข้อกาหนด ประกอบด้วย กลุ่มย่อย 5 กลุ่ม คือ 1. ข้อกาหนดทั่วไป หมวด 01 ข้ อ ก าหนด ความต้ อ งการทั ่ ว ไป (General Requirements) ขอบเขตการแสดงความ ต้องการที่ถูกเพิ่มขึ้นมาเพื่อช่วยให้สามารถเขียนแสดงความต้องการในแต่ละรายการ ที่มีส่วนคาบ เกี่ยวกับหมวดงานอื่น ๆ (เช่น การก่อสร้างพื้นผิว งานด้านโครงสร้าง เป็นต้น) ซึ่งท าให้สามารถ ผสมผสาน คุณลักษณะจาเพาะได้กว้าง และช่วยให้สามารถกาหนดข้อกาหนดในคู่มือโครงการได้ 2. การก่อสร้างสิ่งอานวยความสะดวก หมวด 02 สภาพสถานที่ก่อสร้างที่เป็นอยู่ (Existing Conditions) โดยหมวดนี้จะจ ากัดไว้ เฉพาะ ‘สภาพที่มีอยู่’ การก่อสร้างที่มีความสัมพันธ์กับรายการต่าง ๆ ของบริเวณก่อสร้าง ตั้งแต่เริ่มต้นการ ทางาน ซึ่งได้แก่ สิ่งที่ต้องเลือกเพื่อทาการรื้อออก และทาลาย การดูแลพื้นผิว งานด้านการสืบเสาะอื่น ๆ การสารวจ การตรวจสอบการปนเปื้อนในบริเวณก่อสร้าง สิ่งที่ต้องทาเพื่อปรับสภาพพื้นที่ รวมทั้งสิ่ง อื่น ๆ นอกเหนือจากที่กล่าวมานี้ หัวข้อเรื่องการดาเนินการก่อสร้างในบริเวณก่ อสร้างทั้งหมด เช่น เรื่องของประชาชน และเรื่องของพื้นที่ใต้อาคาร รวมทั้งสาธารณูปโภคและงานด้านทางเดินเท้า ได้ถูก ย้ายไปไว้ที่กลุ่มของบริเวณก่อสร้างและพื้นที่ใต้อาคาร สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-29 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา หมวด 03 งานคอนกรีต (Concrete) หมวด 04 งานก่ออิฐ (Masonry) หมวด 05 งานโลหะ (Metals) หมวด 06 งานไม้ พลาสติก และ ส่วนประกอบอื่น ๆ (Wood, Plastics, and Composites) หมวด 07 งานฉนวน การป้องกันความร้อน และความชื้น (Thermal and Moisture Protection) หมวด 08 งานช่องเปิด (Openings) บานประตูและหน้าต่าง บานเกล็ด หมวด 09 งานผิวสาเร็จ (Finishes) หมวด 10 งานลักษณะพิเศษ (Specialties) หมวด 11 อุปกรณ์ (Equipment) หมวด 12 เครื่องตกแต่ง (Furnishings) หมวด 13 การก่อสร้างพิเศษ (Special Construction) หมวด 14 เครื่องมือ/ยานพาหนะในการขนส่ง (Conveying Equipment) หมวด 15 สารองไว้สาหรับอนาคต หมวด 16 สารองไว้สาหรับอนาคต หมวด 17 สารองไว้สาหรับอนาคต หมวด 18 สารองไว้สาหรับอนาคต หมวด 19 สารองไว้สาหรับอนาคต 3. งานสิ่งอานวยความสะดวกในด้านบริการ หมวด 20 สารองไว้สาหรับอนาคต หมวด 21 การควบคุมเพลิง หมวด 22 การเดินท่อ หมวด 23 การให้ความร้อน การไหลเวียนของอากาศ และการติดเครื่องปรับอากาศ หมวด 25 การควบคุมระบบอัตโนมัติ หมวด 26 ไฟฟ้า หมวด 27 การสื่อสาร หมวด 28 ความปลอดภัยและการป้องกันในการใช้เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ หมวด 29 สารองไว้สาหรับอนาคต 4. งานสนามและโครงสร้างพื้นฐาน หมวด 30 สารองไว้สาหรับอนาคต หมวด 31 งานดิน หมวด 32 การปรับปรุงภายนอก หมวด 33 สาธารณูปโภค สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-30 |
คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา
หมวด 34 การขนส่ง หมวด 35 การก่อสร้างทางน้าและทะเล หมวด 36 สารองไว้สาหรับอนาคต หมวด 37 สารองไว้สาหรับอนาคต หมวด 38 สารองไว้สาหรับอนาคต หมวด 39 สารองไว้สาหรับอนาคต 5. งานอุปกรณ์ที่ใช้ในกระบวนการ หมวด 40 การรวบรวมปฏิบัติการต่าง ๆ หมวด 41 การปฏิบัติการทางวัสดุและการใช้งานเครื่องมือ หมวด 42 การปฏิบัติการของเครื่องมือที่ให้ความร้อน การทาความเย็น หมวด 43 การปฏิบัติการของเครื่องมือที่ใช้แก๊ส และของเหลว การทาให้บริสุทธิ์ และเครื่องมือที่ใช้ จัดเก็บ หมวด 44 เครื่องมือที่ใช้ควบคุมมลพิษ หมวด 45 เครื่องมือทางการผลิตด้านงานอุตสาหกรรมเฉพาะทาง หมวด 46 อุปกรณ์ปรับปรุงคุณภาพน้า และบาบัดน้าเสีย หมวด 47 สารองไว้สาหรับอนาคต หมวด 48 การจ่ายไฟฟ้า หมวด 49 สารองไว้สาหรับอนาคต หมวดต่าง ๆ ที่ไม่ได้แสดงรายละเอียดไว้ข้างต้นคือกลุ่มที่สารองไว้เป็นพื้นที่ว่าง สาหรับการพัฒนาและ การขยายขอบข่ายในอนาคต รายละเอียด CSI MasterFormat ฉบับปี ค.ศ. 2016 สามารถ Download ได้ที่ https://www.edmca.com/media/35207/masterformat-2016.pdf
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
ภาคที่ 3 ภาคผนวก สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง
ภาคผนวก 3-1: EPC TEMPLATE
3-1 | EPC Template
EPC Template This EPC contract contemplates that a single contractor will be responsible for the entire project -- from design through construction and testing. If the project developer desires to have the same firm also operate the facility in commercial operation, the contractor could be designated the operator and a separate contract executed, although that arrangement is not required by the language of the EPC contract.
Engineering, Procurement and Construction Agreement This Engineering, Procurement and Construction Agreement (the “Agreement”) is made and dated as of [Date] between [Legal name and description of organization of EPC firm] (“Contractor”), and [Legal name and description of organization of Project developer] (“Owner”). Each of Owner and Contractor may be referred to individually as a “Party”, and together they may be referred to as the “Parties”. Recitals A. Owner is [Brief description of Owner and RET project plans] . B. Contractor is [Brief description of Contractor and professional capabilities] . C. Owner desires to construct and operate [Description of RET facility, with particulars as to renewable energy technology, size and intended business use] (“Facility”) and Contractor is willing to perform design, engineering, construction work to bring the Facility to commercial operation, all pursuant to contract with Owner. Contractor is also willing to operate the Facility commercially under separate agreement with Owner. D. Owner intend to finance the development of the Facility through [Brief description of structure of financing arrangement] . E. Contractor is further willing to act on behalf of Owner by coordinating and enforcing the Subcontractor Protections as set forth in this Agreement. F. The Project requires [Brief description of types of regulatory or other governmental approvals required] (“Authorizations”).
3-2 | EPC Template G. Owner desire that Contractor perform on behalf of Owner the duties to act as general contractor for the design, construction, performance of start up and testing of the Facility, and development of the operation manual(s) for the Facility upon the terms and conditions set forth in this Agreement. H. Following completion of the Project, Owner will own the Facility, and Contractor will operate and maintain the Facility pursuant to the O & M Agreement.
NOW, THEREFORE, in consideration of the promises and the mutual covenants and agreements hereinafter set forth, the Parties agree as follows. ARTICLE 1 - DEFINITIONS 1.1 - Definitions. Capitalized terms used herein shall have the meanings set forth in Schedule I. ARTICLE 2 - REPRESENTATIONS 2.1 - Representations by Contractor Contractor represents that: 2.1.1 Organization and Qualification. Contractor is a [Description of legal organization] duly organized and validly existing under the laws of _[Jurisdiction]_. Contractor has all necessary power and authority to carry on its business as presently conducted and to enter into and perform its obligations under this Agreement. 2.1.2 Authorization, approvals, no defaults. The execution, delivery and performance of this Agreement by Contractor (1) has been duly authorized by all requisite company action, (2) to the best of Contractor’s knowledge will not conflict with any provisions of applicable Law, and (3) will not conflict with any legal or contractual obligation to which it is a party or by which it or its property is affected. 2.1.3 Enforceability. This Agreement constitutes the legal, valid and binding obligation of Contractor in accordance with its terms, except as enforceability may be limited by bankruptcy, insolvency, or similar laws affecting creditors’ rights generally. 2.1.4 Legal proceedings. There is no action, suit or proceeding, at law or in equity, or official investigation by or before any governmental authority, arbitral tribunal or any other body pending or, to the knowledge of Contractor threatened, against or affecting Contractor or any of its properties, rights or assets, which could reasonably be expected to result in a material adverse effect on Contractor’s ability to perform its obligations under this Agreement or on the validity or enforceability of this Agreement. 2.1.5 Site Inspection. Contractor and Contractor’s agents and representatives have visited, inspected and are familiar with the Site, its physical condition, roads, access rights, utilities, topographical conditions and air quality conditions, except for unusual or unknown surface or subsurface conditions, or unusual or unknown soil conditions, and have performed all reasonable investigations necessary to determine that the Site is suitable for the construction and installation of the Facility, and are familiar with the local and other conditions which may be material to Contractor’s performance of its obligations under this Agreement (including, but not limited to transportation, seasons and climates, access, the handling and storage of materials and fuel and availability and quality of labor and materials).
3-3 | EPC Template 2.1.6 Necessary Rights. Contractor owns or will obtain the legal right to use all patents, rights to patents, trademarks, copyrights and licenses necessary for the performance by Contractor of this Agreement and the transactions contemplated hereby, without any material conflict with the rights of others. 2.1.7 Approvals. Contractor has obtained and is in compliance with all Governmental Authorizations (other than Governmental Authorizations listed in Schedule XI, which Contractor will obtain as indicated in that schedule) that Contractor is required to obtain hereunder and for the valid execution, delivery and performance by Contractor of this Agreement, and all such legal entitlements are in full force and effect. 2.1.8 Qualification. Contractor (including where applicable, through its relationships with Subcontractors and its Affiliates) possesses the know-how and wherewithal to oversee the design, engineering, procurement and construction work needed to complete construction of the Facility. 2.2 - Representations by Owner. Owner represents that: 2.2.1 Organization and qualification. Owner is a [Description of legal organization] duly organized and validly existing under the laws of __[Jurisdiction]__. It has all necessary power and authority to carry on its business as presently conducted, to own or hold its properties, and to enter into and perform its obligations under this Agreement. 2.2.2 Authorization, approvals, no defaults. The execution, delivery and performance of this Agreement by Owner (1) has been duly authorized by all requisite company action; (2) to the best of Owner’s knowledge will not conflict with any provisions of applicable Law, and (3) will not conflict with any legal or contractual obligation to which it is a party or by which it or its property is affected. 2.2.3 Enforceability. This Agreement constitutes the legal, valid and binding obligation of Owner in accordance with its terms, except as enforceability may be limited by bankruptcy, insolvency, or similar laws affecting creditors’ rights generally. 2.2.4 Legal proceedings. There is no action, suit or proceeding, at law or in equity, or official investigation by or before any governmental authority, arbitral tribunal or any other body pending or, to the knowledge of Owner threatened, against or affecting MGE Power or any of its properties, rights or assets, which could reasonably be expected to result in a material adverse effect on Owner’s ability to perform its obligations under this Agreement or on the validity or enforceability of this Agreement. ARTICLE 3 - THE WORK 3.1 - Scope of Work. Contractor shall provide or perform the Work or cause the Work to be provided or performed, in accordance with the terms of this Agreement. Without limiting the foregoing, the Work shall include conducting, performing, providing or procuring when and as necessary to permit progress of the Work to proceed in accordance with the Project Schedule: 3.1.1 all design and engineering activities and services necessary to conduct the Work and complete the Facility in accordance with this Agreement and Contractor’s obligations under the Facility Lease;
3-4 | EPC Template 3.1.2 all design and engineering activities and services necessary to obtain all required permits for the construction and operation of the Facility; 3.1.3 all construction activities and services necessary to conduct the Work and complete the Facility in accordance with this Agreement (including Site preparation, excavation and grading and proper disposal of all excavated materials if and as required in connection with performance of the Work); 3.1.4 all materials necessary to conduct the Work and complete the Facility in accordance with this Agreement (including all necessary transport thereof); 3.1.5 all work forces necessary to conduct the Work and complete the Facility in accordance with this Agreement (including all skilled and unskilled labor, supervisory, quality assurance and support service personnel); 3.1.6 all documents required to direct Owner’ personnel in the proper start-up, operation and maintenance of the Facility, including, without limitation, the Equipment Instruction Manual and all as-built drawings and as-built wiring diagrams (in CD-ROM format capable of generating reproducible hard copies, stamped by an Architect/Engineer registered in [Jurisdiction of Facility and/or other] 3.1.7 all training of Operator adequate to allow Operator to assume responsibility for dispatch and control of the Facility; 3.1.8 all other activities, services and items, whether or not specifically described above, in Schedule VII or elsewhere in this Agreement, if such performance, provision or procurement is necessary for a complete and operable Facility; provided, that Contractor shall not be responsible for performing, providing or procuring those activities, services and items for which Owner bear express responsibility pursuant to Article 5; 3.1.9 all design, engineering, materials, work forces needed to perform the Acceptance Tests; and 3.1.10 all activity necessary to enable Contractor to achieve the agreed Commercial Operation Date of [Deadline for commercial operation] . ARTICLE 4 - CONTRACTOR’S RIGHTS AND RESPONSIBILITIES 4.1 - Engineering, Procurement and Construction of the Facility; Performance of the Work. Contractor, on behalf of the Owner, shall act as the general contractor for the Project and shall be solely responsible for the engineering, procurement and construction of the Work, including, without limitation, the overall oversight and coordination of construction of the Facility in accordance with: (a) the Specifications; (b) the Authorizations for the Facility; (c) the terms of this Agreement; (d) the Traffic Control Plan, the Safety Plan and the Security Plan; and (e) all applicable Laws. Contractor shall coordinate the activities of Engineer, PM/CM, the Prime Subcontractors, the Safety Director, the QA/QC Director and other persons providing labor and materials to the Project to design, engineer and procure the equipment and materials for and complete the construction of the Facility and act as the interface between the Owner and such persons all in accordance with applicable Law and Good Utility Practice. 4.2 - Retention of Qualified Subcontractors and Suppliers Contractor may subcontract any portion of the Work to one or more Subcontractors and Suppliers. Approved Subcontractors and Suppliers as of the date hereof are set forth in Schedule VIII.
3-5 | EPC Template Contractor shall provide notice to Owner of all proposed Subcontractors and Suppliers for the Project who are not identified on Schedule VIII. Owner shall have the right to present to Contractor, within the time period specified in Section 16.20 of this Agreement, any objections or concerns they have regarding such proposed Subcontractors and Suppliers, which objections and concerns shall be duly considered by Contractor; provided, however, that the final decision and responsibility as to whether to contract with any particular Subcontractor or Supply shall reside with Contractor. 4.2.1 Project Engineer. Contractor shall retain an engineer for the Project (“Engineer”) or perform the duties of the Engineer. Engineer or Contractor shall be retained under a separate Engineer’s Contract. The Engineer’s Contract shall include, among other terms and conditions: (a) the requirement that Engineer dedicate a competent team of professionals to perform the services required under Engineer’s Contract and keep that team available to the Project for the duration of Engineer’s Contract (which shall not end prior to the Commercial Operation Date); and (b) commercially reasonable levels of professional liability insurance protecting against errors and omissions of Engineer and Engineer’s employees and agents. Engineer shall have the primary design responsibilities with respect to the Project. Engineer’s role and responsibilities shall be more particularly set forth in Engineer’s Contract. If Contractor undertakes to perform the duties of the Engineer, Contractor shall have the same obligations defined for inclusion in the Engineer’s Contract. 4.2.2 Project Manager/Construction Manager. Contractor shall retain the project manager/construction manager for the Project (“PM/CM”) or perform the duties of the PM/CM. PM/CM or Contractor shall be retained under a separate PM/CM’s Contract. At a minimum, the PM/CM’s Contract shall obligate the PM/CM to (a) create and update the Project Schedule, subject to Owner’s approval; (b) monitor and oversee the performance of all Subcontractors and suppliers to keep the Project moving towards completion in accordance with the Project Schedule; (c) review and recommend whether to pay of all invoices submitted by Project suppliers and Subcontractors and review the work related thereto, to confirm that the work for which payment is requested has been performed; (d) inspect the Work as completed to confirm that it was constructed in accordance with the Specifications and performed to the required standard of care; (e) comply with the Safety Plan; and (f) inform Contractor and the Owner regarding the progress and quality of the Work, as necessary to enable them to perform their respective functions under this Agreement. PM/CM shall further have the role and responsibilities with respect to the Project, as are more particularly set forth in the PM/CM’s Contract. The PM/CM’s Contract shall make a portion of PM/CM’s compensation subject to achieving certain Project goals, including timely completion of the Work and completion of the Work within the Project budget. The PM/CM’s Contract shall further obligate the PM/CM to carry commercially reasonable amounts of professional liability insurance. 4.2.3 Major Equipment Suppliers. Contractor, with the assistance of PM/CM, will select the persons to supply the major equipment systems for the Project. (collectively, the “Major Equipment Suppliers”). Contractor and PM/CM, after consultation with Owner, will select the Major Equipment Suppliers through a process that evaluates, among other things, the cost, performance specifications, environmental impact, performance history, and demonstrated performance of their installed equipment. Contractor will negotiate commercially reasonable forms of contracts with the Major
3-6 | EPC Template Equipment Suppliers, which forms shall include commercially reasonable terms and conditions, including warranties, performance guarantees and liquidated damages. 4.2.4 Prime Subcontractors. Contractor shall retain the major construction subcontractors (“Prime Subcontractors”) for the Project. Contractor, with the assistance of PM/CM, will select the Prime Subcontractors by an evaluation process that evaluates potential candidates based upon relevant criteria, including experience, reputation, and demonstrated success in relevant construction projects. The contracts between Contractor and the Prime Subcontractors (the “Prime Subcontractor Contracts”) shall provide for payment to the Prime Subcontractors on a cost-plus incentive basis, with the Prime Subcontractors given incentives for completing the Project on time, within budget, and with good safety records. Each Prime Subcontractor Contract shall also give Contractor the right to inspect and review that Prime Subcontractor’s audited financial statements, payroll records and other relevant information related to its invoices to Contractor. 4.2.5 Quality Control/Quality Assurance. Contractor shall retain a qualified person or firm to be responsible for quality control and quality assurance of the completed Work (the “QA/QC Director”), subject to the approval of Owner, not to be unreasonably withheld. The QA/QC Director shall be responsible, among other things, for developing procedures for testing materials, the oversight of materials testing, inspecting field assembled equipment (such as quality control of welding procedures and welding testing), verifying QA/QC of materials used in the manufacture of major equipment and verifying that all equipment and materials delivered to the Site meet the specifications of Engineer. The QA/QC Director shall report to PM/CM, Contractor and the Owner on a biweekly basis, or more frequently as needed. The role and specific responsibilities of QA/QC Director with respect to the Project shall be more particularly set forth in the agreement between Contractor and QA/QC Director (the “QA/QC Contract”). 4.2.6 Safety Director. Contractor shall retain a qualified person or firm to serve as the safety director for the Project (the “Safety Director”), subject to the approval of Owner, not to be unreasonably withheld. If required by either Owner’s or Contractor’s insurance provider, such Safety Director shall have the qualifications and authority necessary to support the issuance of the required insurance for the Project. The Safety Director shall be responsible to observe and enforce safe practices at the Site and related support facilities and shall report to PM/CM, Contractor and the Owner on a biweekly basis. The role and responsibilities of the Safety Director shall be more particularly set forth in the agreement between Contractor and the Safety Director (the “Safety Contract”). 4.3 Sales & Use Tax. Contractor shall pay, and invoice to Owner, as part of the Cost of the Work, all sales, consumer, use, gross receipts, and other similar taxes, special assessments and other fees in accordance with applicable Law. 4.4 Investigation of the Site. 4.4.1 Contractor acknowledges that it has reviewed the Ground Lease and has made reasonable efforts to investigate the physical conditions affecting the Site, consistent with the access that has been to Contractor and its agents. [Limitations, e.g., “Contractor has not been granted access to and has made no investigation or inspection
3-7 | EPC Template of any of the off-Site staging areas, including the Lay Down Areas, the Soil Disposal Area, or the Easement Areas, beyond drawings and other information previously provided by Owner on which Contractor has relied.�] 4.4.2 Contractor shall ascertain the nature of the Site consistent with the access that Owner has granted to Contractor and its agents and the general and local conditions that may affect the Site and the cost of making the Site fit for the construction of the Facility, provided however, that Contractor makes no representation or warranty as to (a) any environmental matters that may exist, including without limitation, any surface or subsurface contamination at the Site, except such surface or subsurface contamination found in soil boring testing and subsurface water testing previously conducted by or on behalf of Contractor; (b) the use or contents of any of the buildings that Contractor has been asked to demolish or remove from the Site, except such use or contents revealed by soil boring testing and subsurface water testing previously conducted by or on behalf of Contractor; (c) any subsurface conditions of the Site; (d) any matters not disclosed in Owner-provided drawings or other information provided to Contractor by Owner on which Contractor has reasonably relied; or (e) any conditions at any off-Site areas or facilities previously provided by Owner with respect to the Facility. 4.4.3 Except for environmental conditions and subsurface or other conditions that could not have reasonably been discovered by a reasonable inspection of the Site within the scope of access afforded Contractor by Owner, Contractor is responsible for accommodating all Site conditions in the Specifications for and construction of the Facility, regardless of when the Site condition is discovered, but shall not be responsible for (a) subsurface or other conditions that could not be discovered by a reasonable inspection of the Site, consistent with the limitations on access provided by Owner; (b) any conditions of the off-Site Lay Down Areas, the Soil Disposal Area, the Easement Areas or other staging areas for the Work provided by Owner, except to the extent that such conditions were disclosed by the drawings and other information provided by Owner to Contractor. Notwithstanding a failure by Contractor to perform its Site investigation due diligence consistent with the access Owner has granted under this Section 4.4, Contractor (except as expressly provided otherwise in Section 7.2.4 of this Agreement) shall be responsible for successfully constructing the Facility without adjustment of the Guaranteed Maximum Price. 4.5 - Hazardous Substances; Erosion. 4.5.1 Contractor shall be responsible for assuring that all Hazardous Substances transported to or from, moved, or used or stored upon, the Site in connection with Contractor’s performance of its obligations under this Agreement are transported, moved, used or stored in accordance with applicable Law. Contractor shall further assure that all Hazardous Substances are disposed of in accordance with applicable Law. Any costs of clean up, transportation, treatment, storage or disposal of Hazardous Substances, other than those Hazardous Substances identified in the soil boring testing and subsurface water testing previously conducted by or on behalf of Contractor, that were on or under the Site prior to the commencement of the Work shall be the sole responsibility and expense of Owner. 4.5.2 Contractor shall be responsible for assuring that all waste generated in the performance of its obligations under this Agreement and all waste transported to or from,
3-8 | EPC Template moved or used or stored upon the Site by Contractor or any other person for whom Contractor is responsible, within the scope of Contractor’s performance of this Agreement, is handled in accordance with applicable Law. Contractor shall cause the affected Subcontractors to manage and dispose of the waste in compliance with applicable Law and Good Utility Practice. 4.5.3 Contractor shall be responsible to see that all sedimentation, erosion control, and siltation within or adjacent to the Site caused by Subcontractors is conducted in accordance with applicable Law. In the event Contractor fails to prevent such sedimentation, erosion or siltation from occurring in violation of applicable Law, Owner shall have the right, after notifying Contractor and providing it an opportunity to cure of not less than three (3) Business Days, to correct such pollution or siltation. All expenses incurred by the Owner in the course of such correction shall be credited against payments owed to Contractor. 4.6 Compliance with Laws In carrying out its duties hereunder, Contractor shall comply with all applicable Laws, including without limitation, all Laws relating to health, safety or the protection of the environment. Owner shall have no responsibility for any costs of environmental compliance or remediation to the extent caused by the negligent acts and omissions or intentional or willful misconduct of Contractor or any of Contractor’s employees or agents, including, without limitation, all Subcontractors and Suppliers. 4.7 Traffic Control Plan. Contractor shall work together with Owner to develop a comprehensive traffic control plan for the Project (“Traffic Control Plan”), to assure all persons supplying the Work prompt and safe access for deliveries to the Site, while minimizing disruption to the surrounding area its regular activities or scheduled events. Without limitation, the Traffic Control Plan shall provide, as required by the surrounding areas and its activities: (a) for off-site parking for construction personnel and transport of such personnel to the Site; (b) a general prohibition on deliveries of Major Equipment to the Site during the hours of [Hours,] ; (c) that Contractor shall use its reasonable efforts to arrange for deliveries of Major Equipment [Days and hours] ; and (d) that it shall be consistent with any traffic control requirements set forth in any Governmental Authorization. Owner shall use good faith efforts to assist Contractor in the development of this plan and to assist in gaining for Contractor access to roads and other transportation facilities necessary for timely and cost-effective completion of the Project. When available, the draft traffic control plan shall be presented to Owner for review and approval. Contractor acknowledges that it has studied the Site, railroads, surrounding streets and highways and Contractor can transport all equipment to the Site and all costs associated with the transportation and unloading of the equipment are included in the Guaranteed Maximum Price, provided that access to the Site is available to Contractor and the Subcontractors at all reasonable times and in accordance with the Traffic Control Plan. Contractor shall provide to Owner its proposed Traffic Control Plan no later than 30 days following the date of this Agreement. The Parties shall use their good faith efforts to finalize the Traffic Control Plan no later than 60 days following the date of this Agreement.
3-9 | EPC Template 4.8 Safety Plan. Contractor, in conjunction with PM/CM, Safety Director and the Prime Subcontractors for the Project shall develop a comprehensive safety plan to establish and maintain appropriate safety rules and procedures in connection with the performance of this Agreement (the “Safety Plan”). Such Safety Plan shall require, among other things that Contractor and Owner satisfy any safety requirements of the insurers for the Project. Contractor shall provide to Owner its proposed Safety Plan no later than 45 days prior to the start of construction, but in any case no later than [Date] . The Parties shall use their good faith efforts to finalize the Safety Plan no later than 15 days prior to the start of construction. 4.9 Security Plan. Contractor shall establish appropriate security measures to maintain the security of the Site and protect the Work in progress (the “Security Plan”). The Security Plan shall comply with all requirements of the insurers for the Project, shall address the reasonable concerns of the University and shall, at a minimum require that Contractor shall cause to be erected (as required by the nature and activities of the surrounding areas) temporary chain link fencing, and temporary security lighting to secure the Site and Lay Down Areas. Contractor shall provide to Owner its proposed Security Plan no later than 30 days following the date of this Agreement. The Parties shall use their good faith efforts to finalize the Security Plan no later than 60 days following the date of this Agreement. 4.10 Construction and Storage Confined to Permitted Areas. Contractor and the Subcontractors and suppliers shall confine construction activities and storage to the Site, to the Lay Down Areas provided by Owner as more particularly depicted on the diagram attached hereto as Schedule V (the “Lay Down Areas”), to the area designated by Owner for soil disposal in the Ground Lease (the “Soil Disposal Area”), to temporary and permanent easements that are reasonably necessary for the construction, operation, maintenance and repair of the Project and support facilities for the Project, that have been provided or are in the future provided by Owner (the “Easement Areas”) and to other areas that may hereafter be provided by Owner or other persons for such purposes. 4.11 Construction Office; Records. Contractor shall maintain a temporary construction office at the Site during the course of construction of the Facility. Contractor shall maintain at such office a copy of the Specifications, together with construction-related drawings that are developed during the course of the Project. Contractor agrees to provide space for the Safety Director in the temporary construction office. Contractor agrees to remove the temporary construction office from the Site within six months after the Commercial Operation Date. Contractor shall further maintain an office off the Site, which during the Term of this Agreement and the 24 months following the Commercial Operation Date shall serve as a repository for all documents relating to the Project. Contractor shall provide Owner full access to such records during regular business hours in accordance with the procedures set forth in Section 5.4.4. 4.12 No Liens. Contractor shall be responsible to see that all equipment and materials incorporated into the Work that are purchased by Contractor or by any Subcontractor to the Project shall not be subject to any chattel mortgage, conditional sales contract, or
3-10 | EPC Template security agreement under which an interest or lien is retained; provided, however, that such equipment and materials may be subject to the security interest of the vendor, to secure the payment of the purchase price of the affected equipment and materials, so long as such security interest is terminable upon payment in full and Contractor causes good title to such equipment and materials, free and clear of such security interest to be conveyed to Owner on or before the date of Final Payment. Contractor shall, as a condition precedent to payment, provide lien waivers to Owner before final payment is required to be made by Owner. 4.13 Compliance with Authorization Requirements. Contractor will familiarize itself with and comply with any applicable requirements of all Government Authorizations for the Facility, including without limitation, requirements pertaining to environmental protection, noise abatement, erosion, traffic control, and parking. 4.14 Patents .Contractor shall, at its sole expense, pay or use reasonable efforts to ensure that its Subcontractors and Suppliers pay all royalties, license fees or other costs incident to their use in the performance of the Work of any invention, design, process, product, or device that is the subject of patent rights or copyrights held by others. 4.15 Inspections; Defective Work. Contractor shall communicate regularly with PM/CM regarding PM/CM’s inspection of completed portions of the Work for conformity with the Specifications and for freedom from defects. Contractor shall accompany PM/CM on such inspections as necessary under the circumstances. In the event that PM/CM notifies Contractor of defective work that: (a) has the potential to have a material impact on the Cost of the Work or the Project Schedule; or(b) indicates a systemic problem (i.e., a persistent, widespread and/or material problem for the Project) with any piece of equipment, any portion of the Work, or the performance of any Major Equipment Supplier or Subcontractor, Contractor shall within 3 Business Days notify and provide relevant information to the Owner. Such information shall include the nature and extent of the problem, the cost and delay associated with the defective Work (if known), and the steps that Contractor and PM/CM are taking to remedy the defective performance, including any remedies that they are pursuing under the applicable contract. 4.16 Contractor Responsibility to Owner. Contractor covenants that in carrying out its duties on behalf of Owner under this Agreement, Contractor will at all times proceed in accordance with Good Utility Practice, will protect the interests of Owner in any dealings with Contractor’s affiliates . 4.17 Facility Start Up and Acceptance Testing. Contractor shall be responsible for coordinating all tasks and responsibilities associated with Acceptance Testing and Facility Start Up. 4.17.1 Testing Methodology. The testing methodology for Acceptance Testing is set forth in Article 11 and in Schedule III. 4.17.2 Acceptance Standards; Consequences of Under-Performance. The Acceptance Tests for the Work and the consequences for the Work falling short of the
3-11 | EPC Template Acceptance Test Capacity Guarantee standards are set forth in Article 11 and Schedule III. 4.18 Other Authorizations. Except for the Governmental Authorizations, Contractor shall be required to obtain all other Authorizations (e.g., street opening permits, plumbing permits, etc.) required for the performance of the Work. 4.19 Confidentiality. Contractor shall make available to Owner any record produced or collected under this Agreement. Owner agrees to treat as confidential materials that Contractor reasonably identified, and clearly designated, as confidential. Owner agrees that if it shall receives an order (in whatever form) compelling it by Law to disclose any such confidential record produced or collected under this Agreement, it shall (to the extent permitted by Law) afford Contractor, and any Subcontractors who were the source of the requested record, notice of such request to afford Contractor or such others an opportunity to contest the order. 4.20 Insurance. Schedule II.
Contractor shall obtain and maintain insurance as set forth in
4.21 Contractor Guarantee. On the Effective Date, Contractor shall obtain and deliver a guarantee from [Name of parent firm or other Guarantor] . (“Parent Guarantee”) of performance for the obligations of Contractor, in the form of Schedule X. The obligations of Owner pursuant to Article 5 hereunder are expressly conditioned upon the receipt of such Parent Guarantee. ARTICLE 5 - OWNER’ RIGHTS AND RESPONSIBILITIES 5.1 Transfer of Control Responsibility to Owner. On the Commercial Operation Date, Owner, through Operator and in accordance with the terms of a separate O & M Agreement, shall assume sole responsibility for the dispatch and control of the Facility. except that Contractor shall have the right and obligation to (a) provide technical, operational and general supervisory guidance, (b) complete any remaining Punch List items on a schedule that is mutually agreeable to the Parties; and (c) otherwise perform its remaining obligations under this Agreement. 5.2 Owner’s Responsibilities During the Project. Owner shall: 5.2.1 Make payment of the Cost of the Work in accordance with Article 9. 5.2.2 Require employees and agents to abide by all rules applicable to the Site and the Facility, including but not limited to rules pertaining to safety, security procedures or requirements, and designated entrances. 5.2.3 Reasonably cooperate with Contractor and provide any other assistance reasonably necessary to enable Contractor to perform the Work as required hereunder. 5.2.4 Provide adequate temporary construction easements and permanent easements for the Facility and any necessary support facilities for the Facility. 5.2.5 At all times promptly respond, including making appropriate representatives available with decision-making authority, to any reasonable requests by any of the Parties
3-12 | EPC Template to this Agreement for meetings, for review and comments regarding relevant documents provided to them for review and comment. 5.2.6 At all times, use commercially reasonable efforts to proceed in a manner that supports the Project Schedule. 5.2.7 Promptly take all actions reasonably requested by Contractor to assist Contractor in obtaining any Authorizations for the Facility. 5.2.8 Not unreasonably withhold their support from other actions reasonably requested by Contractor to promote the timely completion of the Facility or to promote the completion of the Facility within the Project budget. 5.3 Denial of Authorizations. Subject to the specific rights and obligations of the Parties set forth in Section 7.2.4 and Article 14, if Contractor or Owner is denied a required Authorization, or any such Authorization is obtained but contains restrictions, qualifications or conditions that would have a material adverse impact on the benefits or obligations of the Parties under this Agreement, the Parties agree to use commercially reasonable efforts, within 30 days of the denial of the required Authorization or issuance of the unduly restrictive Authorization, to reform this Agreement, or to take other mutually agreeable actions (including, for example and without limitation, one Party indemnifying or making whole the other Party), that provide each Party with economic or other benefits that are substantially equivalent to those set forth in this Agreement. If the Parties are unable to so reform this Agreement or agree upon other mutually acceptable arrangements, Section 13.5 (Force Majeure; Failure of Authorizations) shall apply. 5.4 Owner’s Additional Rights and Responsibilities. In addition to its responsibilities as Owner under Section 5.2 of this Agreement, Owner shall have the following responsibilities with respect to the Project: 5.4.1 Financing. Owner will take all actions necessary to obtain the financing it needs to enable it to satisfy its payment obligations under this Agreement. 5.4.2 Inspection of Contractor’s Records. At any time from the execution of this Agreement to 7 years after the Final Completion Date, Contractor (or an Affiliate of Contractor duly designated as the custodian of Contractor’s books and records) shall, upon reasonable prior notice from Owner with respect to the subject matter and schedule, provide a designated representative of Owner during normal business hours with such reasonable access to Contractor’s books and records as is reasonably necessary to enable the person providing notice to review Contractor’s costs incorporated into the Cost of the Work and Contractor’s calculation thereof. Such review shall be at the cost and expense of the person(s) conducting the review. In conducting such review, the person(s) reviewing such books and records shall follow reasonable security procedures designed to protect against the release of trade secrets and other confidential information. 5.4.4 Owner’s Right to Inspect Work. Owner and its agents and employees shall, upon reasonable prior notice to Contractor and subject to adherence to the safety procedures and other procedures and requirements applicable to the Site (including without limitation, and such procedures and requirements established in connection with any insurance coverage obtained in connection with the Project), have access to inspect all Work; provided, however, that any inspection of the Work shall be conducted at a reasonable time and in a manner that does not delay or increase the Cost of the Work by
3-13 | EPC Template disrupting the Work. Contractor shall have the right to condition such inspection upon the persons conducting the inspection observing procedures to preserve the safety and security of the Site and to comply with any applicable requirements of Project insurers. Notwithstanding any review or inspection by the State of the Work, Contractor shall not be relieved of its responsibility for the design, construction and performance of the Project as expressly set forth in this Agreement solely by virtue of the State’s inspection or review. 5.5 Contractor’s Rights and Responsibilities. 5.5.1 Financing. Contractor will take all actions necessary to obtain the financing it Power needs to enable it to satisfy its payment obligations under this Agreement. 5.5.2 Government Authorizations. Contractor, on behalf of Owner shall apply for and obtain all necessary Authorizations for the construction and operation of the Facility that are identified by Government Authorities as being required for the Facility, based upon the submitted Engineering Plan for the Facility.
ARTICLE 6 - OWNERSHIP OF ASSETS 6.1 Ownership of the Facility; Risk of Loss. Ownership of the Facility, and of each item of material, equipment, machinery, supplies and other items incorporated therein, shall pass from Contractor to Owner in accordance with the percentage Ownership interest obtained with each payment pursuant to Article 9, except as provided below.
ARTICLE 7 - COST OF THE WORK; PROJECT FINANCING 7.1 Guaranteed Maximum Price. The maximum amount the Owner shall be obligated to pay Contractor for completion of the Work shall be the sum of [Fixed Price of Contract] (“Guaranteed Maximum Price”), subject only to the adjustments defined in this Article 7 of this Agreement. Owner’s responsibility for the Guaranteed Maximum Price shall be adjusted only pursuant to (a) Section 7.2 of this Agreement relating to the Guaranteed Maximum Price; (b) the right of the Utility Regulator to affect the Costs of the Work, as set forth in Article 14; and (c) the impact of Change Orders made by the Parties as set forth in Article 8, but excluding increases to the Cost of the Work resulting from Change Orders necessary to remedy errors and omissions by Contractor or its Subcontractors. 7.2 Exclusions from the Guaranteed Maximum Price. The following items (the “Excluded GMP Costs”) are not covered by the Guaranteed Maximum Price and such costs shall be payable by Owner in excess of the Guaranteed Maximum Price, except as expressly provided otherwise below: (a) any incremental Cost of the Work resulting from uninsured Force Majeure, which, at Owner’s election, may be shared equally with Contractor, in which case, termination for a Force Majeure Event because of the shared costs shall not be permitted; (b) any increase or decrease in the Cost of the Work resulting from the imposition of additional requirements or reallocation of the Cost of the Work by the
3-14 | EPC Template Utility Regulator, which shall be handled in accordance with Section 14.l; (c) any increase or decrease in the Cost of the Work resulting from any Change Order made pursuant to Section 8.4, 8.5, or 8.8, which shall be allocated as set forth in such Sections; and (d) any increase in the Cost of the Work resulting from the Owner’s failure to cooperate reasonably with Contractor the other Parties to this Agreement, including without limitation owner’s failure to carry out its duties under Sections 5.2 or 5.4. ARTICLE 8 - ADDENDA AND CHANGE ORDERS 8.1 General. “Addenda” are changes to the Work before construction begins. “Change Orders” are changes to the Work after construction begins. Addenda and Change Orders shall be handled as follows: 8.1.1 Any Party may request an Addendum or Change Order in writing. 8.1.2 Approval or rejection of Addenda and Change Orders that increase or decrease the Cost of the Work or change in schedule that could have the effect of delaying Mechanical Completion must be approved by Owner and Contractor prior to execution of such Addenda or Change Order. 8.1.3 Addenda and Change Orders that increase or decrease the Cost of the Work shall be approved or rejected in accordance with the procedures set forth in Sections 8.2 and 8.3 and in accordance with the time periods provided for the State in Section 16.20. 8.2 Process. Any of the Parties may request in writing an Addendum or a Change Order consisting of additions to, deletions from, or other revisions to the Work, provided that such changes are within the general scope of the Work. All requests for Addenda or Change Orders by an Owner shall be submitted to Contractor, with copies to PM/CM and Engineer (as appropriate). All requests for Addenda or Change Orders by Contractor shall be submitted to Owner, with copies to PM/CM and Engineer. 8.3 Initial Evaluation of Addendum and Change Order Requests; Applicable Standards. Any Addendum or Change Order request from an Owner shall be evaluated by Contractor, with the input and assistance of PM/CM and Engineer. Each Addendum or Change Order request shall initially be evaluated to determine whether it: (a) adds value to the Facility without increasing the Cost of the Work or delaying Mechanical Completion of the Facility; (b) adds value to the Facility without delaying Mechanical Completion of the Facility, but increases the Cost of the Work; or (c) does not add value to the Facility or adds value to the Facility, but will delay Mechanical Completion of the Facility or compromise performance of the Facility; or (d) (in the case of an Addendum only) decreases Cost of Work without delaying Mechanical Completion. All Addenda and Change Orders in category (a) or Addenda in category (d) shall be approved; all Addenda and Change Orders in category (c) shall be rejected (unless mutually agreed otherwise, including the allocation of the cost, by all Parties); and all Addenda and Change Orders in category (b) shall be approved, if and only if the increased Cost of the Work is allocated as set forth below in this Article 8. 8.4 Addenda or Change Orders Requested by Owner. If Owner requests an Addendum or a Change Order to address solely Owner’s needs, including without limitation changes
3-15 | EPC Template to address aesthetic or design requirements, and such Addendum or Change Order is approvable under Section 8.3 above and approved by Contractor, but increases the Cost of the Work, then Owner shall bear the entire incremental Cost of the Work (including costs of delays and rework) resulting from such Addendum or Change Order. 8.5 Addenda and Change Orders Required by Acts of Governmental Authorities. If any action of any Governmental Authority requires an Addendum or a Change Order that increases or decreases the Cost of the Work the Owner shall be responsible for any incremental Cost of the Work. 8.6 Addenda and Change Orders Requested by Contractor. If Contractor requests an Addendum or a Change Order that is approved by the Owner, then Owner and Contractor shall share equally any increase or decrease in the Cost of the Work resulting from such Addendum or Change Order. 8.7 Addenda and Change Orders Resulting from Errors or Omissions of Contractor. Owner shall not be responsible for any increased Cost of the Work resulting from Addenda and Change Orders that are necessary because of errors of Contractor and/or its Subcontractors in coordinating the design, scheduling or construction of the Facility. 8.8 Markup on Addenda and Change Orders. On any Addenda and Change Orders under Sections 8.4, and 8.5, Contractor and its Subcontractors shall be entitled to a markup not to exceed ten percent (10%) in the aggregate of the Cost of the Work covered by the Addendum or Change Order. 8.9 Tracking of Cost Impact of Addenda and Change Orders. Contractor shall institute and maintain a ledger type system to track the impact of all increases and decreases to the Owner’ Allocated Shares of the Cost of the Work resulting from any Addenda or Change Orders approved by Contractor and Owner. Contractor shall monthly, and more frequently upon request, report to the Owner the cumulative impact of such Addenda and Change Orders upon their respective Allocated Shares of the Cost of the Work. If applicable, the Parties shall modify the Project Schedule and Payment Milestones to reflect the impact of Addenda and Change Orders.
ARTICLE 9 - PAYMENT FOR WORK 9.1 Payment Milestones; Payment Schedule. 9.1.1 Progress Report and Invoice. 9.1.1.1 On or about the fifth Business Day of each calendar month, Contractor shall submit to Owner (i) its invoice, and (ii) a progress report covering the previous calendar month (the “Payment Period”) containing at a minimum the following information (“Progress Report”): (1) A description of the Work performed during the Payment Period and all Payment Milestones achieved; (2) A description of the Work not yet performed, if any, necessary to meet the Project Schedule for such Payment Period; (3) A description of the Work and the related Payment Milestones anticipated to be
3-16 | EPC Template performed or achieved during the next month; (4) A statement of the amount due Contractor for Work for which payment was withheld from an earlier payment; (5) A statement of all sums previously paid to Contractor; (6) Partial lien waivers from Contractor covering all the Work through the immediately preceding Payment Period; (7) An updated Project Schedule showing progress to date, any failures to meet the Project Schedule, the current schedule of activities and a forecast of activities remaining to be performed; (8) Information regarding unusual weather conditions or Force Majeure events encountered during the Payment Period that have affected the Work; (9) A discussion of any problems encountered during the period and the remedies effected or planned; (10) Bulk quantities installation curves showing planned versus completed quantities (e.g., concrete, , piping, conduit and wire); (11) Any interim payment by Contractor to the Subcontractors that obligates Owner to pay interest to Contractor as part of the invoiced Milestone Payment, together with the amount of interest that is payable; (12) Any other information reasonably requested in writing by either Owner; (13) Value of Change Orders and Addendums added to the Payment Milestone Schedule; (14) Itemization and allocation of any Excluded GMP Costs; and (15) If requested by Owner: a) the dates of any Payment Milestones for Major Equipment Supplier contract payments coming due before the next monthly Payment Due Date; and b) Contractor’s good faith estimate of all payroll and other Subcontractor and Supplier payments (together with the estimated payment dates) that Owner will need to make, prior to the next monthly Payment Due Date to avoid or minimize interest charges. 9.1.1.2 In the event either Owner reasonably determines that Contractor has not met a Payment Milestone in accordance with the Payment Milestone Schedule during the applicable period, Owner may withhold an amount equal to the value of the Payment Milestone not completed until such Payment Milestone is completed. In the event of any such withholding, the dissatisfied Owner shall deliver to Contractor, not later than the Payment Due Date for the payment from which such withholding is being made, a written Notice specifying the basis for the withholding. Contractor shall be paid such withheld amount, without interest, on succeeding Payment Date(s) when and to the extent Contractor demonstrates and Owner reasonably agrees that the previously unjustified payment has become justified. If the disputing Owner and Contractor agree before the next Payment Due Date that any Payment Milestone payment was wrongly withheld, then the disputing Owner shall pay to Contractor on the next Payment Due Date interest at the Late Payment Rate on any monies that were wrongly withheld. In the event of any withholding dispute that is not resolved by the next Payment Due Date, Contractor shall have the right to have the PM/CM review the dispute and the disputing Owner’s reasons for withholding payment. If the PM/CM concludes the withholding is justified, then Contractor shall not be entitled to be paid the withheld amount unless and until it addresses any reasons for withholding that are confirmed by the PM/CM. If the PM/CM concludes that the withheld payment was wrongly withheld, then the withholding Owner shall immediately pay to Contractor, the wrongly withheld amount, together with interest at the Late Payment Rate on the withheld Payment Milestone payment(s), from the Payment Due Date until the wrongly withheld amount is paid in full. 9.1.1.3 In the event Contractor owes Owner any amounts under this Agreement and such amounts remain unpaid 30 Days after Notice thereof, Owner may offset such amounts from any payment hereunder.
3-17 | EPC Template 9.1.1.4 Contractor shall not cease or reduce the rate of its performance under this Agreement on account of any withholding under this Section 9.1. 9.1.2 Payment. Other than amounts properly withheld pursuant to Sections 9.1 and 9.2, and retainage as described in Section 9.3, Owner shall pay the applicable payment for each Payment Milestone within 30 days after Contractor invoices the applicable Payment Milestone (the “Payment Due Date”). 9.1.3 Interest. Owner will pay actual reasonable interest cost incurred by Contractor to advance funds for payments to Subcontractors. 9.2 Retainage. All amounts paid by Owner to Contractor pursuant to the Payment Milestone schedule for Non-Major Equipment and Services prior to Commercial Operation shall be subject to retainage of ten percent (10%) until the aggregate retainage reaches [Cap amount] , whereupon the State shall not withhold any further retainage. Upon Mechanical Completion, one-half of the retainage withheld, less the Punch List Holdback Amount, shall be released to Contractor. 9.3 Final Payment. Upon (a) Final Completion, (b) the provision by Contractor of lien waivers for all remaining liens on the Project to Owner and (c) acceptance of the Work by Owner in accordance with Section 10.6, Owner shall pay the “Final Payment”.
ARTICLE 10 - COMMENCEMENT AND PERFORMANCE OF WORK 10.1 Commencement; Schedule. Contractor shall commence performance of the Work at the earliest reasonable time (the “Construction Commencement Date”) but no later than 30 days following the last to occur of the following: (a) issuance of any Authorizations required for the Facility; (b) completion of the final foundation drawings for the Project; (c) availability of suitable weather conditions for the commencement of construction; and (d) Owner having in place all insurance policies required of them under this Agreement. 10.2 Mechanical Completion. “Mechanical Completion” shall occur when, except for minor items of the Work that would not affect the performance or operation of the Facility such as painting, landscaping and so forth (a) all materials and equipment for the Facility have been installed substantially in accordance with the Specifications; (b) all systems required to be installed by Contractor have been installed and tested (excluding Acceptance Testing); (c) all the equipment and systems can be operated in a safe and prudent manner and have been installed in a manner that does not void any Subcontractor equipment or system warranties; (d) the Facility is ready to commence start-up, Acceptance Testing, and operations; (e) a Punch List of the uncompleted items is established by Contractor and mutually agreed upon by the Parties, provided that if Contractor and Owner disagree as to whether a particular item shall appear on the Punch List, the Independent Engineer shall promptly decide the dispute; (g) all Work, other than Punch List items and Acceptance Testing and any other Work sequenced after Mechanical Completion, has been completed; and (h) the Independent Engineer certifies each of the foregoing in writing to the Owner.
3-18 | EPC Template 10.3 Commercial Operation. “Commercial Operation” shall be deemed to have occurred as of the first point in time after (i) Mechanical Completion of the Facility has occurred, as determined by the Independent Engineer; (ii) completion of Acceptance Testing pursuant to Section 11.2, or alternatively satisfaction of Contractor’s Acceptance Test related obligations in Section 11.3 (including, if applicable, payment of liquidated damages pursuant to Section 11.3); and (iii) when the Facility is used and useful for the purpose of delivering electric energy to Owner (other than electric energy delivered during Facility Start Up and Acceptance Testing). If the Owner disputes that Commercial Operation has occurred, it shall provide written notice to that effect to Contractor, specifying the basis for disputing Commercial Operation and the Parties in dispute shall thereafter utilize the dispute resolution procedures in Article 12 to resolve the dispute. Failure of the Owner to provide such written notice within ten (10) Business Days after receipt of notice of Commercial Operation shall constitute waiver of the Owner’s right to dispute that Commercial Operation has occurred. 10.4 Punch List. A list of the uncompleted items for the Project shall be established by Contractor prior to Mechanical Completion (the “Punch List”). The Punch List may be amended from time to time, upon written Agreement of the Parties, prior to Final Completion. The Punch List shall include all deliverables through Final Completion. The “Punch List Holdback Amount” shall be two times the aggregate of the value of the Punch List items agreed to by the Parties, or determined by the Independent Engineer, if the Parties cannot agree. The Punch List Holdback Amount shall be withheld from payments due upon Mechanical Completion, and the agreed value of each Punch List item shall be paid to Contractor upon completion of the Punch List item and any remaining Punch List Holdback Amount shall be paid to Contractor upon completion of all Punch List items. 10.5 Final Completion. “Final Completion” occurs after Commercial Operation has occurred and any remaining Punch List items have been finished. Contractor will notify Owner when it considers that Final Completion has occurred. If the Owner disputes that Final Completion has occurred, it shall provide written notice to that effect to Contractor specifying the basis for disputing Final Completion and the Parties in dispute shall thereafter use the dispute resolution procedures in Article 12 to resolve the dispute. Failure of the Owner to provide such written notice within 10 Business Days after the initial notice from Contractor shall constitute waiver of the Owner’s rights to dispute that Final Completion has occurred.
ARTICLE 11 - ACCEPTANCE TESTING; CAPACITY GUARANTEE; COMPLETION GUARANTEE; WARRANTIES; LIMITATION OF LIABILITY 11.1 Acceptance Tests. Contractor will be responsible for coordinating the Acceptance Tests of the Facility as more particularly set forth in Section 11.2 and Schedule III of this Agreement (the “Acceptance Tests”). Such Acceptance Tests shall be conducted by one
3-19 | EPC Template or more qualified independent testing companies approved by the Parties (the “Testing Engineer”). 11.2 Acceptance Testing. 11.2.1 General. Within 60 days following Mechanical Completion, Contractor shall cause the Testing Engineer to conduct the initial Acceptance Test, subject to Section 11.2.3 below. The Acceptance Tests shall be conducted in accordance with Schedule III. 11.2.2 Procedure. 11.2.2.1 The procedures for conduct of the Acceptance Test are set forth in Schedule III. Either Party may propose changes to a test procedure at any time up to 60 days prior to commencement of the initial Acceptance Test, and each Party agrees to cooperate in good faith in evaluating such change. No change shall be effective, however, without written acceptance of Owner and Contractor. 11.2.2.2 Contractor shall give Owner and Engineer 30 days’ advance written notice of the time it expects the qualified independent testing company to conduct the initial Acceptance Test. Owner, Engineer and their representatives may observe any Acceptance Test conducted by the Testing Engineer in order to confirm the Testing Engineer’s compliance with the procedures set forth in Schedule III. 11.2.3 Acceptance Testing Period; Repeat Tests. Contractor, subject to the provisions of this Section 11.2.3 and Schedule III, may repeat an Acceptance Test as Contractor deems appropriate; provided, that all Acceptance Tests must be completed by 60 days after the Facility achieves Mechanical Completion (the “Acceptance Testing Period”), unless: (a) the Parties agree otherwise in writing; or (b) the Acceptance Testing Period is extended by Force Majeure, but not beyond the Delay Default Date. Contractor shall bear the costs of performing the repeat Acceptance Tests. Contractor shall give Owner and Engineer not less than the following advance notice of each Acceptance Test following the initial Acceptance Test: (i) if the Acceptance Test is a prompt retest which merely continues a previously commenced Acceptance Test or promptly follows a failed Acceptance Test, not less than 24 hours advance notice; and (ii) if the Acceptance Test is a new Acceptance Test that follows an interim period of more than 10 Business Days during which no Acceptance Testing has occurred, then not less than 3 Business Days advance notice, unless a shorter period is agreed to by the Parties. 11.2.4 Acceptance Test Results. 11.2.4.1 After the Testing Engineer completes an Acceptance Test, Contractor shall give written notice thereof to Owner and Engineer and shall provide Owner and Engineer with all gross and reduced data for such test in accordance with Schedule III. 11.2.4.2 If the Testing Engineer determines that the Acceptance Test was successfully completed, Contractor shall ensure that the Testing Engineer notifies Owner and Engineer thereof promptly following determination to that effect, including providing them a copy of the written test report. 11.2.5 Contractor to Promptly Commence and Complete Acceptance Testing. Contractor shall promptly commence and complete Acceptance Testing following Mechanical Completion. 11.3 Acceptance Test Capacity Guarantee. At the end of Acceptance Testing Period under Section 11.2.3, the Facility shall have demonstrated the capability to produce
3-20 | EPC Template [Specification of performance standard for production of electricity], based upon the Acceptance Testing results. Contractor hereby guarantees that the Facility shall perform at not less than 97% of the Promised Capacity by the end of the Acceptance Testing Period (the “Acceptance Test Capacity Guarantee”). Contractor and the Testing Engineer shall be entitled to conduct and verify satisfaction of the Acceptance Tests in stages and in such order as may be appropriate given the available testing conditions. In the event that the Facility fails to meet the Acceptance Test Capacity Guarantee, the following shall apply: 11.3.1 If either the actual tested performance is less than 97% but greater than 90% of the Promised Capacity (the “Minimum Required Capacity”), Contractor may, at its sole option, elect to either (i) make (or cause to be made) the modifications, improvements, redesign, repairs or reconstruction (“Remedial Measures”) necessary to cause the Facility to meet the Acceptance Test Capacity Guarantee as evidenced by repeat Acceptance Tests; or (ii) pay liquidated damages to Owner as follows: For each 0.1% below 97% of the Promised Capacity, the liquidated damages shall be [Liquidated damages amount] . Contractor’s obligations under this Section to undertake Remedial Measures and/or pay liquidated damages shall be counted toward and subject to the Damages Cap set forth in Section 11.10. 11.3.2 If the actual tested capacity of the Facility is less than the Minimum Required Capacity, Contractor shall conduct Remedial Measures until the earlier in time to occur of the following: (a) the actual tested capacity of the Facility is at least equal to the Minimum Required Capacity; or (b) Contractor reaches the Damages Cap set forth in Section 11.10. 11.4 Guaranteed Mechanical Completion Date; Delay Default Date. Contractor hereby guarantees (the “Mechanical Completion Date Guarantee”) that the Facility shall have achieved Mechanical Completion on or before the Guaranteed Mechanical Completion Date. In the event that the Facility has not achieved Mechanical Completion on or before the Guaranteed Mechanical Completion Date, then Contractor shall pay to Owner liquidated damages as follows: (a) $5,000/day for each day or a portion thereof for the first 30 days beyond the Guaranteed Mechanical Completion Date that the Project has not achieved Mechanical Completion; (b) $10,000/day for each day in excess of 30 days beyond the Guaranteed Mechanical Completion Date that the Project has not achieved Mechanical Completion. If the Facility fails to achieve Mechanical Completion by the Delay Default Date, then this shall be an Contractor Event of Default as provided in Section 13.1.5. 11.5 Compliance with Standards. In the event the Facility contains any design or construction defects (“Defects”) that cause it to fail to meet any design, construction or Mechanical Completion standard in the Specifications or the Agreement, then Contractor shall, at no expense to Owner (except in the case of omitted equipment and materials, as provided in this Article 11), make (or cause to be made) the Remedial Measures necessary to remedy the Defects. In the event the Remedial Measures include supplying equipment and materials that were necessary to the Facility, but omitted from its construction, Owner shall pay for the costs of such omitted equipment and materials as part of the Cost of the Work if such Remedial Measure is implemented to address Defects
3-21 | EPC Template discovered before the Facility achieves Mechanical Completion. If the Remedial Measure is implemented to address Defects discovered after the Facility achieves Mechanical Completion, Owner shall not be obligated to pay any portion of the cost of the omitted equipment and materials. 11.6 Contractor’s Warranties. Contractor warrants to Owner as follows: 11.6.1 Contractor shall perform the Work, including its design and engineering services hereunder, and will procure all materials hereunder using its best skill and attention, in accordance with Good Utility Practice associated with engineering and procurement of facilities such as the Facility. 11.6.2 Contractor shall perform its construction services hereunder in a good and workmanlike manner and otherwise in accordance with Good Utility Practice associated with constructing facilities such as the Facility. The Facility will, at all times through the Commercial Operation Date, comply with all Laws. Contractor shall have no obligation for breach of warranty under this Section 11.6 to the extent any deficiencies are the result of Force Majeure, normal wear and tear, misuse or negligence by Owner or someone other than Contractor acting on Owner’s behalf. 11.6.3 All materials procured or furnished by Contractor hereunder shall be new (unless otherwise agreed by Owner in writing), of good quality and in accordance with the specifications set forth in this Agreement and the Schedules. 11.7 Repair and Replacement of Defective Work. If any breach arises under Contractor’s warranties in Section 11.6, Contractor shall, at its sole cost and expense and subject to the Damages Cap, promptly correct, replace or repair, at Owner’s selection, any defect in design, engineering, materials, workmanship or operability in the Facility discovered during the Warranty Period. Any such correction, replacement or repair prior to Mechanical Completion shall not be considered a Remedial Measure. Contractor’s correction, replacement, or repair shall be made with due regard to Owner’s operational requirements. 11.8 Subcontractor Warranties; Subcontractor Protections for Owner. Contractor shall use its good faith efforts, in its negotiations with all Subcontractors for the Facility, to see that such Subcontractors provide commercially reasonable remedies, including warranties, performance guarantees, and, where appropriate, liquidated damages. Contractor shall enforce all contractual remedies and enforce any other remedies against the Subcontractors, including, without limitation, those arising from Subcontractors’ negligent acts or omissions (collectively, the “Subcontractor Protections”). Contractor shall enforce, at its sole expense, all warranties contained within the Subcontractor Protections for the Subcontractor warranty periods provided for the specific equipment to which such warranties pertain. The applicable warranty periods that are known as of the date of this Agreement are set forth in Schedule IX. Upon request from any Party, Contractor shall, following the negotiation of all Subcontractor contracts, update Schedule IX to reflect the final negotiated warranty periods. Contractor agrees to assign to Owner on and as of the Commercial Operation Date any warranties, performance guarantees and related liquidated damages provisions contained in any contracts between
3-22 | EPC Template Contractor and Subcontractors to the extent such assignments are permitted under the terms thereof. 11.9 Contractor Enforcement of Subcontractor Protections. Contractor agrees to act on Owner’ behalf, at no additional cost to Owner, to enforce any Subcontractor Protections with respect to Work; provided, however, that Contractor may use its reasonable discretion on how best to approach the resolution of any particular problem, and provided further that such enforcement obligation shall only last for the duration of the Subcontractor Protection in question. In the event that litigation is necessary to enforce any Subcontractor Protection, Contractor shall pursue such litigation at its own expense. 11.10 Limitation of Liability 11.10.1 .Notwithstanding any provision in this Agreement to the contrary, in no event shall the total liability of Contractor or Guarantor to Owner for liquidated damages and Remedial Measures under Section 11.3 and 11.4 exceed in the aggregate [Cap amount] , provided that this limitation shall not apply to direct damages following an Contractor Event of Default pursuant to Article 13, or indemnification obligations pursuant to Section 11.11, and this limitation in no way affects Contractor’s absolute obligation to bring the Facility to Mechanical Completion. In addition to the foregoing liability, Contractor shall deliver to the State [Percent] of any amounts recovered from or received from vendors, design professionals and contractors or from the insurance companies or other indemnitors for errors and omissions, late completion penalties, liquidated damages and performance guarantees (collectively, “Subcontractor Recoveries”). If Owner’s claim relates to the Guaranteed Maximum Price, then the remedy of Contractor paying the excess over $90,000,000 of the State’s Allocated Share of the Cost of the Work as set forth in Section 7.1 shall apply. If the State’s claim arises under any other provision of this Agreement and the [Percent] share of Subcontractor Recoveries fully compensates Owner for its actual direct damages (which actual direct damages, in the case of Sections 11.3 and 11.4 of this Agreement, shall be the amount of liquidated damages calculated using the formulas in those sections), then Owner shall not be entitled to receive any further amounts from Contractor. However, if the amounts received from all Subcontractor Recoveries are not adequate to compensate Owner for its actual direct damages, Owner shall be entitled to demonstrate and recover its actual direct damages from Contractor, subject to (as to claims under Section 11.3 and Section 11.4) the [Amount] liquidated damages liability cap contained in this Section 11.10. The limitation of liability to Owner for liquidated damages and Remedial Measures as described in this Section 11.10 is sometimes referred to herein as the “Damages Cap”. 11.10.2 APART FROM THE GUARANTEES AND OTHER REMEDIES PROVIDED IN THIS AGREEMENT, CONTRACTOR HEREBY DISCLAIMS ANY OTHER WARRANTIES, OR PERFORMANCE GUARANTEES, INCLUDING WITHOUT LIMITATION, WARRANTIES OF MERCHANTABILITY OR FITNESS FOR A PARTICULAR PURPOSE. 11.10.3 Owner shall not be liable for any lost profits or indirect, special, multiple, or punitive damages.
3-23 | EPC Template 11.11 Indemnification. Owner shall assume and retain all liability, including claims, demands, losses, costs, damages and expenses of every kind and description, or damages to persons or property arising out of or in connection with or occurring during the course of this Agreement, where such liability is proximately caused by the acts or omissions of any of the officers, employees or agents of Owner while acting within the scope of their employment. Contractor shall indemnify Owner against any and all loss or damages that Owner may incur as a result of any claim of Persons other than Owner, Contractor, or their respective employees and agents, to the extent same (a) arise out a breach by Contractor of its obligations under this Agreement, or (b) are caused by the negligence or intentional or willful misconduct of Contractor, the Subcontractors or their agents or employees. Contractor shall indemnify and hold harmless Owner from all liabilities, damages, costs or expenses incurred by Owner by reason of any lien filed against the Facility by any Subcontractor of Contractor in connection with the performance of the Work. Any Party entitled to indemnification or other protection under this Section 11.11 shall keep the benefited party apprised of the status of all claims with respect to which it is entitled to such indemnification or protection, and shall not settle any such claim without the consent of the benefited party, such consent not to be unreasonably withheld or unduly delayed.
ARTICLE 12 - DISPUTE RESOLUTION 12.1 In General. The Parties shall attempt to settle every dispute arising out of or in connection with this Agreement (“Dispute”), by following the dispute resolution process set forth below in this Article 12, to the extent permitted by Law. 12.1.1 Mutual Discussions. If any dispute or difference of any kind whatsoever (a "Dispute") arises between the Parties in connection with, or arising out of, this Agreement, the Parties within 30 days shall attempt to settle such Dispute in the first instance by mutual discussions between Owner and Contractor. 12.1.2 Further Procedures. If the Dispute cannot be settled within 30 days by mutual discussions, then the Dispute shall be finally settled under the provisions of this Section 12.1.2 or Section 12.1.3. If the Parties fail to resolve any dispute through discussions within [Number] Business Days, either Party shall have the right to provide written notice of the Dispute to the president or chief executive officer (“Senior Management”) of the other Party. Upon a timely referral, the Senior Management of the Parties shall consider the Dispute, review such relevant information as they may determine and issue their decision (which decision shall be confirmed in writing) within 5 Business Days after receiving the referral. If the Senior Management of the Parties cannot resolve the issue within the five Business Day period, then the Parties shall have the rights set forth below in Section 12.1.3. 12.1.3 Arbitration. Subject as hereinafter provided, any Dispute arising out of. or in connection with, this Agreement and not settled by Section 12.1.1 or Section 12.1.2 of this Agreement may (regardless of the nature of the Dispute) be submitted by either Party to arbitration and finally settled in accordance with UNCITRAL Rules of International Arbitration.
3-24 | EPC Template 12.2 Continued Performance. During the conduct of dispute resolution procedures pursuant to this Article 12, (a) the Parties shall continue to perform their respective obligations under this Agreement, and (b) no Party shall exercise any other remedies hereunder arising by virtue of the matters in dispute.
ARTICLE 13 - DEFAULTS; REMEDIES; TERM; TERMINATION 13.1 Contractor Default. The occurrence of any of the events set forth below shall constitute a “Contractor Event of Default” under this Agreement: 13.1.1 Bankruptcy. Contractor becomes insolvent, or become the subject of any bankruptcy, insolvency or similar proceeding, which, in the case of any such proceeding that a third party brings against either of them, has not been terminated, stayed, or dismissed within 60 Business Days after it was commenced, unless the affected Party provides evidence to Owner of that Party’s ability to perform all of its obligations under this Agreement; or 13.1.2 Failure to Maintain Insurance. Contractor fails to maintain the insurance coverages required under Section 4.20 as set forth in Schedule II hereto; or 13.1.3 Failure to Perform. Contractor shall have defaulted in its performance under any other material provision of this Agreement and shall have failed to cure such default within 30 days following delivery to Contractor of a Notice from Owner to cure such default, or if a cure cannot be effected within such 30 day period, such period shall extend for a reasonable period of time, but not to exceed a total of 60 days, so long as Contractor is proceeding diligently to cure such default throughout such period; or 13.1.4 Representation False. Any material representation made by Contractor herein shall have been false or misleading in any material respect when made; or 13.1.5 Failure to Achieve Mechanical Completion. If Mechanical Completion is not achieved by the Delay Default Date; or 13.1.6 Failure to Obtain Authorization. The Project cannot proceed to completion as the ultimate result of a refusal of Governmental Authority to approve the Project or any other Authorization, which refusal is due solely to the negligence or willful misconduct of Contractor. 13.2 Owner’s Default Remedies Against Contractor. If a Contractor Event of Default shall have occurred and be continuing, either Owner shall have the right to terminate this Agreement by notice to Contractor. In the event of such termination: 13.2.1 If requested by an Owner, Contractor shall withdraw from the Site, shall assign to the Owner (without future recourse to Contractor) such of Contractor’s subcontracts as Owner may request, and shall remove such materials, equipment, tools and instruments used and any debris or waste materials generated by Contractor in the performance of the Work as Owner may direct, and Contractor shall promptly deliver to Owner all designs, drawings, and other documents related to the Project. In the event of such termination, Contractor shall deliver to Owner all materials and data for which title has passed to Owner. To the extent any specific item of the Work is partially complete at the time of termination, at the option of either Owner, Contractor shall complete such partially completed Work. In such event, Owner shall pay Contractor the amount that
3-25 | EPC Template Owner would have otherwise paid to Contractor for such item of Work had such termination not occurred, less any damages payable hereunder. 13.2.2 Owner, without incurring any liability to Contractor, shall have the right to have the Facility brought to Final Completion. In such event, Contractor shall be liable to Owner for the reasonably incurred costs to Owner of achieving Mechanical Completion, including costs of accelerated or expedited construction activities actually performed in an attempt to achieve Mechanical Completion (by the Guaranteed Mechanical Completion Date if not yet past, or otherwise as expeditiously as practicable), and/or to mitigate any delay by Contractor, and actual costs for administering any subcontract and for legal fees associated with the termination. With respect to the costs of performing any of the Work that follows after Mechanical Completion, Contractor’s liability shall be limited to the amounts set forth in Section 11.10. Such costs and fees for which Contractor is liable as set forth above (and for failure to perform as may be requested pursuant to Section 13.2.1 above) may be deducted by Owner out of monies due, or that may at any time thereafter become due, to Contractor. If such costs exceed the sum that would have otherwise been payable to Contractor under this Agreement, then Contractor shall be liable for, and shall promptly, but in any event not more than 10 days after Notice from Owner, pay to Owner the amount of such excess excluding Changes in the Work approved by Owner following such Contractor Event of Default. 13.2.3 Upon termination of the Work pursuant to this Article 13, Contractor shall promptly submit to Owner an accounting of Contractor’s actual costs for the Work performed prior to the date of termination. If Owner exercises its right to have the Work finished, such amounts may be withheld until the Work is completed and shall be used to offset any amounts due Owner pursuant to Section 13.2.2. Notwithstanding the foregoing such amounts may be withheld and applied to any liability hereunder. 13.2.4 Notwithstanding the availability and/or exercise of the foregoing remedies, Owner shall have all such other remedies available under applicable Law. 13.2.5 In exercising any of the foregoing remedies, the Owner shall use reasonable efforts to mitigate its damages. 13.3 Owner’s Event of Default. Each of the following shall constitute an “Owner’s Event of Default” with respect to such Owner: 13.3.1 Failure to Make a Payment to Contractor When Due. The failure of an Owner to make the full amount of the payment to Contractor required under this Agreement within 3 Business Days following notice of failure to pay; or 13.3.2 Bankruptcy. An Owner becomes insolvent, or become the subject of any bankruptcy, insolvency or similar proceeding, which, in the case of any such proceeding that a third party brings against either of them, has not been terminated, stayed, or dismissed within 60 Business Days after it was commenced, unless the affected Party provides evidence to Contractor of that Party’s ability to perform all of its obligations under this Agreement; or 13.3.3 Representation False. Any material representation made by an Owner herein shall have been false or misleading in any material respect when made; or 13.3.4 Failure to Perform. Either Owner’s failure to perform any of its respective non-payment obligations under this Agreement, and such failure is not cured within 30 days after receipt of written notice thereof, or if a cure cannot be effected within such 30
3-26 | EPC Template day period, such period shall extend for a reasonable period of time, but not to exceed a total of 60 days, so long as Owner is proceeding diligently to cure such default throughout such period; or 13.3.5 Failure to Maintain Insurance. If an Owner fails to obtain and maintain in effect through the Commercial Operation Date such insurance as it is required by this Agreement to obtain and maintain; or 13.3.6 Failure to Cooperate or Allow Access. If an Owner fails to cooperate with Contractor in any situation where such cooperation is necessary to enable Contractor to carry out obligations under this Agreement. Such failure to cooperate shall include, without limitation, the failure to assist in obtaining required Authorizations, the failure to afford Contractor the access to the Site, to the Lay Down Areas, to the Soil Disposal Area or to the Easement Areas necessary for Contractor and all persons retained by Contractor in connection with the Project to perform their Project-related duties. An Owner Event of Default shall not include any other default by Owner of any of their obligations under this Agreement. 13.4 Contractor Remedies for Owner Event of Default. Subject to the rights granted in Section 13.5 below, upon the occurrence of an Owner Event of Default, Contractor shall have the right to terminate this Agreement, to order all Subcontractors to stop Work and remove all their tools and equipment from the Site, and/or pursue all such remedies as may be allowed under this Agreement, at law or in equity. In addition, and without limiting the foregoing remedies, Owner shall pay to Contractor the amounts payable upon termination under Section 13.7 of this Agreement. 13.5 Force Majeure; Failure of Authorizations. 13.5.1 Effect. Any delays in or failure of performance by a Party, other than the obligations to pay monies hereunder, shall not constitute a default hereunder if and to the extent such delays or failures of performance are caused by Force Majeure events. 13.5.2 Notice of Occurrence and Effect. 13.5.2.1 Notice of Occurrence. Any Party claiming that a Force Majeure condition has arisen shall immediately notify the other Party of the same, shall act diligently to overcome, remove and/or mitigate the effects of the event of Force Majeure, shall notify the other Party on a continuing basis of its efforts to overcome, remove and/or mitigate the event of Force Majeure and shall notify the other Party immediately when said condition has ceased. 13.5.2.2 Notice of Impact. In addition to its obligations under Section 13.5.2.1, if Contractor claims there is a Force Majeure condition, Contractor shall (i) promptly notify Owner, in writing of the nature, cause and cost of such Force Majeure condition, (ii) state whether and to what extent the condition will delay the Guaranteed Mechanical Completion Date, the Delay Default Date, the Commercial Operation Date or Final Completion Date, (iii) state the date and time the Force Majeure condition commenced; and (iii) state whether Contractor recommends that Owner initiate a Change Order pursuant to Article 8. 13.5.3 Effect of Force Majeure. No failure or delay in performance under this Agreement shall be deemed to be a breach hereof to the extent such failure or delay is occasioned by or due to Force Majeure. With respect to delay in performance, a Force
3-27 | EPC Template Majeure condition shall excuse such delay in performance on a day for day basis for a period of time equal to the duration of the Force Majeure condition or the period needed to remedy its effects, to the extent that such Force Majeure condition causes a delay in the Work. 13.5.4 Termination. In the event that (a) Contractor or Owner are denied any required Authorizations, or such Authorizations are obtained, but are withdrawn, or contain restrictions, qualifications, or conditions that would have a material adverse effect on the benefits or obligations of the Parties, and the Parties are unable to reform this Agreement or agree upon other mutually acceptable arrangements, or (b) if a Force Majeure event continues for more than 180 days after notice of the event of Force Majeure is given under Section 13.5.2, or (c) the Project cannot proceed to completion as the ultimate result of a refusal of a Governmental Authority to approve the Project or to provide any other Authorization, which refusal or failure is not due solely to the negligence or willful misconduct of the terminating Party, then such Party may terminate this Agreement, in its sole discretion, within 60 days after the conditions in (a), (b) or (c), by giving at least 10 Business Days prior written notice to the other Parties. 13.6 Right to Termination . No Party shall have the right to terminate this Agreement for cause or otherwise except as described in Section 13.2, Section 13.4, Section 13.5, Section 14.2 and Section 16.21. 13.7 Effect of Termination Under Sections 13.4, 13.5, 14.2 & 16.21. In the event that this Agreement is terminated by either party pursuant to Sections 13.4 13.5, 14.2 or 16.21, Owner shall pay to Contractor an amount equal to the sum of (1) the Cost of the Work incurred by Contractor in connection with the Work and the Project as of the date of termination, plus (2) to the extent not already reflected in (1), any termination charges incurred by Contractor that are imposed by Subcontractors as a result of the Termination and any other costs reasonably incurred by Contractor solely as a result of the termination to the extent that this sum is not reimbursed pursuant to insurance policies maintained by Contractor pursuant to Schedule II (it being specifically understood that Owner shall be responsible for the payment of all deductible amounts under any said insurance policies to the extent provided in Schedule II). Upon such payment by Owner, Owner shall have exclusive Ownership of the Facility and the Work and Contractor shall have no further obligations with respect thereto. 13.8 Completion; Survival. Unless earlier terminated pursuant to the terms of this Article 13, this Agreement shall be deemed to be completed when both of the following have taken place: (a) the Final Completion Date has occurred, and (b) Owner have paid the Cost of the Work in full pursuant to Article 9. Notwithstanding the foregoing, Contractor’s obligations under Section 5.4.3 shall continue until the date that is 7 years after the Final Completion Date and Contractor’s obligations under Section 11.8 shall continue until the expiration of the applicable Subcontractor warranty periods pursuant to Section 11.8. Notwithstanding anything in this Agreement to the contrary, the provisions of Section 11.11 and Article 12 shall survive the completion or termination of this Agreement and nothing in this Agreement shall be deemed to limit the applicable statute
3-28 | EPC Template of limitations period within which any Party may bring a claim for breach of this Agreement.
ARTICLE 14 - UTILITY REGULATOR MODIFICATIONS 14.1 Utility Regulator Modifications. The Parties have been informed and acknowledge that: (a) this Agreement will require the Parties to make substantial contractual commitments and incur significant costs based upon the terms of this Agreement, including the terms that recognize the possibility that the Utility Regulator may take action that results in the reallocation of costs within the Facility or the reallocation of risks between the Parties; and (b) this Agreement will be executed in advance of the Utility Regulator’s approval of the Project and the contemplated sale of its electricity output. The Parties agree that in the event that the Utility Regulator takes action that results in the reallocation of any costs or any risks relating to the Facility in a manner that materially affects any of the costs or obligations under this Agreement, the costs and/or obligations shall be adjusted accordingly among the Parties to this Agreement to reflect the effect of the Utility Regulator’s action. To the extent that the Utility Regulator or any other Governmental Authority imposes any additional requirements or modifications that increase the overall cost of the Work, the Owner shall bear such cost increase. 14.2 Conditional Right to Terminate Upon Material Reallocation of Costs. In the event that the Utility Regulator reallocates costs within the Facility between the Parties in an amount that is greater than or equal to [maximum risk amount Owner will assume] , then Owner shall thereupon have the right, exercisable upon not less than 3 Business Days advance written notice to Contractor to terminate this Agreement. Notwithstanding the foregoing, in the event that Contractor agrees to assume the excess of the amount of costs reallocated by the Utility Regulator over ]maximum risk amount Owner will assume] , there shall be no right to terminate this Agreement. 14.3 Parties to Defend Cost Allocation. In the event that the Utility Regulator challenges this Agreement or any related agreement, the Parties agree to use their good faith efforts to defend it in proceedings before the Utility Regulator.
ARTICLE 15 - GOVERNING LAW; INTERPRETATION 15.1 Governing Law. This Agreement shall be construed in accordance with the laws of [Agreed jurisdiction] . 15.2 Interpretation. 15.2.1 Schedules are Part of Agreement. This Agreement includes the attached Schedules I through XI. 15.2.2 Entire Agreement. This Agreement, together with the Schedules attached hereto and the Collateral Agreements, constitutes the entire agreement and complete understanding between Contractor and Owner with respect to the subject matter described
3-29 | EPC Template herein and therein and supersedes all other understandings and agreements between the Parties with respect to such subject matter. 15.2.3 Order of Interpretation. In the event of any inconsistencies between the terms and conditions of the body of this Agreement and the Schedules, the provision of the body of this Agreement shall prevail over the terms of any Schedule. 15.2.4 Captions. Captions or headings to Articles, Sections or paragraphs of this Agreement are inserted for convenience of reference only, and shall not affect the interpretation or construction hereof. 15.2.5 Additional Principles of Construction. The Agreement shall be interpreted in a manner as to be consistent with the following principles: 15.2.5.1 Use of Good Utility Practice. It is the intent of the Agreement to require the application of Good Utility Practice to the Work where details of such Work are not included, are incomplete, are not specified, or are not clearly defined in the Specifications. 15.2.5.2 Integration of Project Documents. It is the intent of the Parties that the Specifications for the Facility, this Agreement, and the Schedules hereto (the “Project Documents�) are to be interpreted as an integrated whole. Where work or obligations are referenced in one of the Project Documents but not in another, Contractor shall coordinate the design and installation of the Work as if it were shown on both to the extent required to comply with the Acceptance Tests and Good Utility Practice. 15.3 Drafting Ambiguities. Each Party to the Agreement and its counsel have reviewed and revised the Agreement. The rule of construction that any ambiguities are to be resolved against the drafting parties shall not be employed in the interpretation of the Agreement, or any amendment thereto.
ARTICLE 16 - MISCELLANEOUS 16.1 Third Party Beneficiaries. Except with respect to the provisions of the Agreement pertaining to assignment, the Agreement is not intended to and shall not create rights of any character whatsoever in favor of any person other than the Parties to the Agreement. 16.2 Good Faith and Fair Dealing. Whenever the Agreement grants to any Party the right to take action, exercise discretion, or determine whether to approve a proposal of any other Party, the Party possessing the right shall act in good faith and shall deal fairly with each other. In the event of a Dispute, the Parties shall be obligated to make a reasonable and diligent effort to resolve the Dispute at the appropriate level before invoking the dispute resolution procedures in Article 12. Each of the Parties further expressly agrees that at all times it will exercise its good faith in the administration of this Agreement, and all actions of the Parties shall be designed to facilitate the successful completion of the Work by Contractor and to promote the effective and efficient administration of this Agreement, and to achieve the objective of providing efficient, reliable and economical long term energy production. The Parties further commit to act in a timely fashion, consistent with maintaining the Project Schedule to: (a) review all documents, (b) respond to all requests for information, (c) support all applications for
3-30 | EPC Template Authorizations; (d) respond to requests for access to off site support facilities and other assistance; and (e) resolve all differences and Disputes in a timely fashion. 16.3 Severability. Every part, term or provision of the Agreement is severable from others. Notwithstanding any possible future finding by duly constituted authority that a particular part, term or provision is invalid, void or unenforceable (but subject to the effect of the Parties’ agreements in Section 5.3 and Article 14), the Agreement has been made with the clear intention that the validity and enforceability of the remaining parts, terms and provisions shall not be affected thereby. 16.4 Survival. All representations and warranties, and all agreements by the parties in this Agreement to indemnify each other shall survive the termination of this Agreement. The termination of this Agreement shall not limit or otherwise affect the respective rights and obligations of the Parties which accrued prior to the date of termination, and which continue to exist following the termination of this Agreement. 16.5 Technical or Trade Usage. When words that have a well-known technical or trade meaning are used to describe materials, equipment or services, such words will be interpreted in accordance with such meaning. Reference to such standard specifications, manuals, or codes of any technical society, organization or association, or to the code of any governmental authority, whether such references be specific or by implication, shall mean the latest standard specification, manual or code (whether or not specifically incorporated by reference in the contract documents). Performance shall conform to the standards in effect at the time of performance and may change the duties and responsibilities of Contractor or Owner, or any of their agents, consultants, or employees from those set forth in the Agreement. 16.6 Amendments and Waivers. This Agreement may be amended only by a written instrument signed by a duly authorized representative of each Party. The failure of any Party to insist on one or more occasions upon strict performance of the obligations owed it by the other parties shall not waive or release such party’s right to insist on strict performance of such obligation or any other obligation in the future. 16.7 Notices. Except as expressly provided otherwise in this Agreement, all notices given to any of the Parties pursuant to or in connection with this Agreement shall be in writing, shall be delivered by hand, by certified or registered mail, return receipt requested, by facsimile transmission with confirmation, or by Federal Express, Express Mail, or other nationally recognized overnight carrier. Notices are effective when received. Notice addresses are as follows: If to Contractor: Contractor Address And Street City, State, Country (Postal Code) Attention: Name
3-31 | EPC Template If to Owner: Owner Address And Street City2, State2, Country2 (Postal Code) Attention: Name2 16.8 Change of Address. Any Party may, by written notice to the other Parties given in accordance with the foregoing, change its address for notices. 16.9 Successors; Assignment. This Agreement shall be binding upon the parties and their respective successors and permitted assigns. No party shall make any sale, assignment, mortgage, pledge or other transfer of all or any portion of its rights or obligations under this Agreement, whether voluntarily or involuntarily, by operation of law or otherwise, without the prior written consent of the other Party; provided, however, that: (a) any Party may make a collateral assignment of its interest in this Agreement to a Financing Party; and (b) this Section 16.12 shall not require prior written consent for any voluntary transfer in connection with a change in Ownership, or the merger, restructuring or consolidation of Contractor, so long as the Agreement is transferred to an affiliate and the Parent Guarantee continues to guarantee performance of the Agreement, as so voluntarily transferred. Any successor to Contractor or Owner’ respective interests under this Agreement shall assume in writing all responsibilities of Contractor or Owner, as the case may be under this Agreement. 16.10 Counterparts. This Agreement may be signed in counterparts, each of which when so executed and delivered shall be an original, but all such counterparts shall together constitute the same instrument. 16.11 Further Assurances. Each Party agrees to execute and deliver any such instruments and to perform any such acts as may be necessary or reasonably requested by any other Party in order to give full effect to the terms of this Agreement. 16.12 Interest. Past due payments hereunder not contested in good faith shall bear interest from the due date until paid at the Late Payment Rate. 16.13 Relationship to Other Agreements.. 16.13.1 The Parties recognize that this Agreement and other related agreements relating to the Facility entered into between Owner and Contractor and others (the “Collateral Agreements�) constitute an integrated and comprehensive set of agreements that are intended to facilitate the construction and operation of the Facility to provide efficient, reliable and economic long-term electricity production. To the extent permitted by Law, all of the Collateral Agreements shall be read together to achieve these objectives and the Parties agree to support all such documents, regardless of whether they are a party to a particular Collateral Agreement. 16.13.2 Notwithstanding Section 16.16.1, the Agreement and the Collateral Agreements are separate and independent undertakings by the Parties. Termination of one of these agreements shall not affect or impair the rights or obligation of the Parties
3-32 | EPC Template under the Collateral Agreements, except as otherwise specifically provided herein and in the Collateral Agreements. 16.14 No Partnership; Third Party Beneficiaries. The Parties hereby expressly disclaim any intention to create a joint venture or partnership relation between the Parties. Except as expressly stated in this Agreement, there are no third party beneficiaries to this Agreement. 16.15 Further Documents and Actions. Each Party shall promptly execute and deliver such further documents and assurances for and take such further actions reasonable requested by the other Parties as may be reasonably necessary to carry out the intent and purpose of this Agreement. 16.16 Time of the Essence; Cooperation to Control Costs. The Parties recognize that time is of the essence in designing and completing construction of the Facility. The Parties agree to use their good faith efforts to cooperate with each other and, where applicable, with Subcontractors to keep the Project on schedule, to control Project costs and to refrain from actions that drive up the Project costs or inject delay into the Project Schedule. 16.17 State Right to Approve; Failure to Promptly Respond Deemed Approval. In all instances in this Agreement where Owner has the right to provide feedback or approve of the actions of Contractor with respect to the construction process, including without limitation, the Owner’s feedback and approval rights under Article 4.2 (Subcontractors), Article 4.2.5 (QA/QC Director), and Article 4.2.6 (Safety Director), Owner shall use its best efforts to promptly respond, with due regard to the time sensitivity of the particular situation. Unless expressly provided otherwise in this Agreement, in the event the Owner fails to respond in any such situation within 10 Business Days of the delivery of the information or notice that triggers the Owner’s right to approve or provide feedback, the Parties agree that Owner shall be deemed to have approved the item in question or to have waived its right to provide feedback, as the case may be. 16.18 Contingent On Issuance of CPCN and Other Authorizations. The Parties obligations to continue to proceed in accordance with this Agreement are contingent upon the issuance of the certificate of public convenience and necessity (“CPCN”) and any other required Authorizations for the Facility. If the Utility Regulator has not issued the CPCN for the Project by __[Insert Date]___, then Owner shall have the right to terminate this Agreement by written notice to Contractor.
IN WITNESS WHEREOF, the Parties have caused this Agreement to be executed and delivered by their duly authorized officers as of the date first set forth above.
CONTRACTOR
3-33 | EPC Template By: _______________________________ Its: _______________________________
OWNER By: ________________________________ Its: ________________________________
3-34 | EPC Template
Attached Schedules: Schedule I -- Definitions Schedule II -- Insurance Schedule III -- Acceptance Testing Schedule IV -- Payment Schedule Schedule V -- Lay Down Areas Schedule VI -- GMP Template Schedule VII -- The Work Schedule VIII -- Approved Construction Subcontractors and Major Equipment Suppliers Schedule IX -- Subcontractor Warranties Schedule X -- Form of Parent Guarantee Schedule XI -- Governmental Authorizations to be Obtained for Project
3-35 | EPC Template
Schedule I Definitions “Acceptance Tests/Acceptance Testing” shall mean the performance tests, to be performed on the Facility as more particularly set forth on Schedule III, including any adjustments thereto as provided in this Agreement or as otherwise agreed to by the Parties to address the conditions present at the time the Facility is available for testing. “Acceptance Test Capacity Guarantee” shall have the meaning assigned to it in Section 11.3. “Acceptance Testing Period” shall have the meaning set forth in Section 11.2.3. “Addendum” or “Addenda” shall have the meaning assigned to it in Section 8.1. “Affiliate” shall mean (i) any Person that directly or indirectly, through one or more intermediaries, controls, is controlled by, or is under common control with a Party, and (ii) any Person that, directly or indirectly, is the beneficial owner of five percent (5%) or more of any class of equity securities of, or other Ownership interests in, a Party or of which the Party is directly or indirectly the owner of five percent (5%) or more of any class of equity securities or other Ownership interests. “Agreement” shall have the meaning assigned to it in the first paragraph of this Agreement. “Authorization” shall mean any license, permit, approval, filing, waiver, exemption, variance, clearance, entitlement, allowance, franchise, or other authorization, whether from any Governmental Authority, corporate or otherwise. “Business Day” shall mean any day other than a Saturday, Sunday or a day on which either the state or national banks in the State of Wisconsin are not open for the conduct of normal banking business. “Change Order” shall mean a document issued pursuant to Article 8, which describes changes in or to the Work. “Commercial Operation” shall have the meaning given it in Section 10.3 “Commercial Operation Date” shall mean the date on which the Facility achieves Commercial Operation. “Construction Commencement Date” shall have the meaning assigned to it in Section 10.1. “Contractor” shall have the meaning assigned to it in the first paragraph of this Agreement.
3-36 | EPC Template “Contractor Event of Default” shall have the meaning assigned to it in Section 13.1. “Cost of the Work” shall mean the anticipated actual costs of construction, subject to the Guaranteed Maximum Price, as defined in Section 7.1, including the exceptions and additions permitted therein. “CPCN” shall have the meaning assigned to it in the Recitals to this Agreement. “Damages Cap” shall have the meaning set forth in Section 11.10. “Defects”, individually a “Defect”, shall have the meaning assigned to it in Section 11.5. “Delay Default Date” shall mean __[Insert Date]______, as such date may be extended by any Force Majeure condition, but not later than __[Insert Date]_______. “Dispute” shall have the meaning assigned to it in Section 12.1. “Easement Areas” shall have the meaning assigned to it in Section 4.10. “Effective Date” shall mean the date that this Agreement has been signed by Contractor and Owner. “Engineer” shall have the meaning assigned to it in Section 4.2.2. “Equipment Instruction Manual” shall mean the manual or manuals provided by Contractor to Owner pursuant to Section 3.1.6, including operation requirements, guidelines and manuals established by the manufacturers of the major equipment for the Facility. “Excluded GMP Costs” shall have the meaning given the term in Section 7.2. “Facility” shall mean the [Renewable energy technology] facility, as more particularly described in the Recitals to this Agreement. “Facility Start Up” shall mean the activities following completion of construction of the Facility, but prior to Acceptance Testing, that are necessary to accomplish the initial start up of the equipment within the Facility that generates electricity, steam and chilled water, including, without limitation, the flushing of lines, pressure testing of pipes, filling equipment with oils and other fluids, and the provision of any equipment vendor services relating thereto. “Final Completion” shall have the meaning assigned to it in Section 10.5. “Final Completion Date” shall mean the date Final Completion occurs.
3-37 | EPC Template “Final Payment” shall have the meaning assigned to it in Section 9.3. “Financing Party” shall mean any Person, other than Parties, providing debt or equity financing (including equity contributions or commitments) refinancing of any guarantees, insurance or credit support for or in connection with such a financing or refinancing, in connection with the development, construction, Ownership or leasing operation or maintenance of the Facility, or any part thereof including any trustee or agent acting on any such Person’s behalf. “Force Majeure” shall mean in respect of any Party an event beyond the reasonable control of such Party which prevents or delays such Party from performing its obligations under this Agreement (except for the obligation to pay money) or which materially increases its costs of performing those obligations. Examples include, to the extent they otherwise meet the foregoing definition, the following: war, hostilities, civil disturbances, any kind of local or national emergency, riot, fire, flood, hurricane, storm, earthquake, concealed or subterranean conditions at the Site that could not be discovered by a reasonable inspection of the Site, power failure or power surge, epidemic, explosion, sabotage, act of God, acts or failures to act by Governmental Authorities (including failure to issue, delays in issuing beyond the period provided by law (or if no such period is provided, beyond the customary period), or revocation of Governmental Authorizations, except to the extent any such failure, delay or revocation is due to the negligence or willful misconduct of Contractor or its Affiliates), failure of the Subcontractors or Suppliers to perform or deliver on a timely basis, to the extent such failure is due to a force majeure condition affecting the Subcontractor or Supplier, strike, slowdown or other labor unrest (other than a localized strike against an individual employer), delay of carriers, failure of the usual modes of transportation, embargo, change in any applicable Law from that in effect on the date hereof, any condition at the Site that requires remediation under any applicable Law related to the environment, or expropriation or confiscation of facilities. The effect of Force Majeure upon the Guaranteed Maximum Price and upon the Guaranteed Mechanical Completion Date and the Delay Default Date shall be limited as more particularly set forth in Sections 7.2 and 13.5.3. Force Majeure shall not include breach of contract by Subcontractors or Suppliers. “Good Utility Practice” shall mean, at any particular time, (a) any of the practices, methods and acts engaged in or approved by a significant portion of the United States electric power generating industry (including without limitation cogeneration facilities) prior to such time and by constructors, Owner, operators or maintainers of facilities similar in size and operational characteristics to the Facility, or (b) any of the practices, methods and acts which, in the exercise of reasonable judgment in light of the facts known at the time the decision was made, could have been expected to accomplish the desired result at the lowest reasonable costs consistent with applicable Law and the Authorizations, environmental considerations, good business practices, reliability, safety, expedition and the manufacturer’s maintenance requirements, provided that “Good Utility Practice” is not intended to be limited to the optimum practices, methods or acts to the exclusion of all others, but rather to be a spectrum of the acceptable practices methods
3-38 | EPC Template or acts generally accepted in such industry having due regard for, among other things, the manufacturer’s maintenance requirements, the requirements of Governmental Authorities and any applicable agreements. “Governmental Authority” shall mean the national government, and any regulatory department, body, political subdivision, commission, agency, instrumentality, ministry, court, judicial or administrative body, taxing authority, or other authority thereof (including any corporation or other entity owned or controlled by any of the foregoing) having jurisdiction over either Party, the Facility or the Site, whether acting under actual or assumed authority. Permits, orders or other approvals given by such bodies are “Governmental Authorizations”. “Guaranteed Mechanical Completion Date” described in Section 11.4 shall mean __[Insert Date]_____, as such date may be extended by any Force Majeure condition, but not later than ___[Insert Date]________. “Guaranteed Maximum Price” shall have the meaning assigned to it in Section 7.2. “Hazardous Substances” shall mean, collectively, any petroleum or petroleum product, asbestos in any form that is or could become friable, transformers or other equipment that contain dielectric fluid containing levels of polychlorinated biphenyls (PCBs), hazardous waste, hazardous material, hazardous substance, toxic substance, contaminant or pollutant, as defined or regulated under any federal, state or local law relating to the protection of the environment, including the Resource Conservation and Recovery Act, as amended, 42 U.S.C. § 6901 et seq., the Comprehensive Environmental Response Compensation and Liability Act, as amended, 42 U.S.C. § 9601 et seq., or any similar state statute. “Independent Engineer” shall mean a qualified independent engineering firm mutually agreeable to Contractor and the State, to be selected by them not later than thirty (30) days prior to the commencement of construction. The Parties shall employ the Independent Engineer, whose compensation shall be a part of the Cost of the Work, to verify that Mechanical Completion has occurred and to resolve any disputes among the Parties as to the items that should appear on the Punch List. “Law” shall mean (i) any law, legislation, statute, act, rule, ordinance, decree, treaty, regulation, order, judgment, or other similar legal requirement, or (ii) any legally binding announcement, directive or published practice or interpretation thereof, enacted, issued or promulgated by any Governmental Authority. “Lay Down Areas” shall have the meaning assigned to it in Section 4.10. “Major Equipment Suppliers” shall have the meaning assigned to it in Section 4.2.3. “Mechanical Completion” shall have the meaning set forth in Section 10.2.
3-39 | EPC Template “Mechanical Completion Date Guarantee” shall have the meaning set forth in Section 11.4. “Minimum Required Capacity” shall have the meaning assigned to it in Section 11.3.1. “O & M Agreement” shall mean that certain Operation and Maintenance Agreement of dated [date of separate O&M agreement, if Contractor is to perform as operator] between contractor and Owner. “Operator” shall mean Contractor and its successor(s) as operator of the Facility under the separate O & M Agreement. “Owner” shall mean [Legal name of project developer/owner] . “Owner’s Event of Default” shall have the meaning assigned to it in Section 13.3. “Parent Guarantee” shall have the meaning assigned to it in Section 4.21. “Parties” shall mean Contractor and Owner when referred to collectively and “Party” shall mean any one of the Parties referred to singly. “Payment Due Date” shall have the meaning assigned to it in Section 9.1.2. “Payment Milestones” shall mean those milestones set in Schedule IV. “Payment Milestone Schedule” shall mean Schedule IV. “Payment Period” shall have the meaning assigned to it in Section 9.1.1.1. “Person” shall mean any individual, firm, company, association, general partnership, limited partnership, limited liability company, trust, business trust, corporation, public body, or other legal entity. “PM/CM” shall have the meaning assigned to it in Section 4.2.2. “PM/CM’s Contract” shall have the meaning assigned to it in Section 4.2.2. “Prime Subcontractor” shall have the meaning assigned to it in Section 4.2.4. “Prime Subcontractor Contracts” shall have the meaning assigned to it in Section 4.2.4. “Progress Report” shall have the meaning assigned to it in Section 9.1.1.1. “Project” shall mean the development of the Facility at the Site by the Contractor, and shall include the Work.
3-40 | EPC Template “Project Documents” shall have the meaning assigned to it in Section 15.2.5.2. “Project Schedule” shall mean the schedule of activities (including all amendments or supplements thereto following the Effective Date of this Agreement) during the Project that coordinates all aspects of the Project, including without limitation, permitting, engineering, procurement of equipment and materials, construction, Facility Start Up, Mechanical Completion, Acceptance Testing, completion of the Punch List and Project close out. The Project Schedule will include, without limitation, the Payment Milestone Schedule and sub-Project schedules for each of the major participants in the Project. “Punch List” shall have the meaning assigned to it in Section 10.4. “Punch List Holdback Amount” shall have the meaning assigned to it in Section 10.4. “QA/QC Director” shall have the meaning assigned to it in Section 4.2.5. “QA/QC Contract” shall have the meaning assigned to it in Section 4.2.5. “Remedial Measures” shall have the meaning assigned to it in Section 11.3.1. “Safety Director” shall have the meaning assigned to it in Section 4.2.6. “Safety Contract” shall have the meaning assigned to it in Section 4.2.6. “Safety Plan” shall have the meaning assigned to it in Section 4.8. “Security Plan” shall have the meaning assigned to it in Section 4.9. “Site” shall mean the parcel of land located [location of Facility site] , the legal description of which is [location of legal description of real property] “Soil Disposal Area” shall have the meaning assigned to it in Section 4.10. “Specifications” shall mean the Design Review Manual prepared by Engineer, which is incorporated into this Agreement by this reference, and any supplements or amendments thereto that may be agreed to by the Parties after execution of this Agreement. The Specifications shall further include any Change Orders and other changes to the Work authorized in accordance with Article 8 of this Agreement. “Subcontractor” shall mean every Person (other than employees of Contractor) employed or engaged by Contractor or any Person (other than Owner) directly or indirectly in privity with Contractor (including every sub-subcontractor of whatever tier) to perform any portion of the Work, whether the furnishing of labor, materials, equipment, services or otherwise.
3-41 | EPC Template “Subcontractor Protections” shall have the meaning assigned to it in Section 11.8 “Subcontractor Recoveries” shall have the meaning assigned to it in Section 11.10. “Suppliers” shall mean a manufacturer, fabricator, supplier, distributor, materialman or vendor having a direct contract with Contractor or with any Subcontractor to furnish materials or equipment to be incorporated in the Work by Contractor or any Subcontractor. “Term” shall mean the duration of this Agreement, from the Effective Date until Final Completion. “Testing Engineer” shall have the meaning set forth in Section 11.1. “Traffic Control Plan” shall have the meaning set forth in Section 4.7. “Uninsured Force Majeure” shall mean any event of Force Majeure, or portion thereof, not covered by the insurance required to be carried in connection with the Project. “Utility Regulator” shall mean any Governmental Authority that has specific jurisdiction over the production, sale, or pricing of the provision of electric energy or related services. “Warranty Period” shall mean, with respect to any component, the applicable length of any warranties provided by the related Subcontractor. “Work” shall mean all design, engineering, procurement, construction, erection, installation, training, start-up and testing activities and services necessary to achieve a complete and operable Facility in accordance with the terms of this Agreement, to achieve Mechanical Completion, Commercial Operation, and Final Acceptance, and shall include all activities and services described in Schedule VII and in Section 3.1.
3-42 | EPC Template
Schedule II Insurance
Insurance During Construction The Parties shall maintain insurance during construction as follows: Owner shall use their best efforts to procure and establish an Owner Controlled Insurance Program (“OCIP) to insure against the Project construction risks normally covered by the following types of insurance policies: (a) Subcontractor’s workers compensation insurance; (b) Subcontractor’s comprehensive third party legal liability insurance; and (c) Contractor’s comprehensive third party legal liability. The OCIP shall include completed operations coverage. If such insurance can be obtained at reasonable cost, Owner shall procure such insurance at its expense; provided, however, that such OCIP expenses shall be deemed to be included in the Guaranteed Maximum Price unless the expense of such OCIP, including without limitation premium cost and administration expense, exceeds the amounts budgeted for the corresponding insurance coverages in the estimated Project budget. In the event an OCIP is not available to Owner or in the event Owner determines that an OCIP is prohibitively expensive for the Project, then Contractor shall purchase and maintain and/or cause its Subcontractors (except for subcontracts involving less than $100,000) to purchase the following types and amounts of insurance: Comprehensive third-party legal liability insurance and other such insurance as is appropriate for performance of this Agreement. Such insurance shall include, but not be limited to, protection from the following occurrences: Claims arising from Worker’s Compensation statutes or similar employee benefit acts, or third-party legal liability claims arising from bodily injury, sickness and disease, or death of employees. The minimum limits of such coverage shall be as required by Law. Third-party legal liability claims against Contractor arising from its operations and the operations of Subcontractors with such protection extended to provide comprehensive coverage, including personal injury, completed operations, explosion and collapse hazard, and underground hazard. The minimum combined limit for personal injury and property damage liability shall be [Coverage amount] per occurrence and [Coverage amount] in the aggregate. Third-party legal liability claims arising from bodily injury and/or damage to property of others from the ownership, maintenance or use of any motor vehicle, both on-site and off site. The minimum combined limit for personal injury and property damage liability shall be [Coverage amount] per occurrence. Owner shall purchase and maintain property insurance (Builder’s Risk) covering the Project, including improvements to real property, as well as goods and materials on the Premises which are to be incorporated into the Project. Such property insurance shall be for the full insurable
3-43 | EPC Template value of the property covered and shall be written on an “All Risk� basis covering physical loss and damage including theft, vandalism and malicious mischief, collapse, water damage, and such other perils as may be applicable to a Project. Such insurance shall include the interest of Owner, Contractor, and all Subcontractors as their interests may appear. Contractor shall purchase and maintain excess liability /umbrella liability insurance on an occurrence basis covering claims in excess of, and following the terms of, the insurance set forth in this Schedule with a [Coverage amount] minimum limit per occurrence and [Coverage amount] annual aggregate limit. All insurance required by this Agreement shall be purchased and maintained with a company or companies lawfully authorized to do business in [Jurisdiction] . Such insurance shall be for limits of liability as specified for the Project or legally required, whichever is greater. All required insurance policies shall be endorsed to provide 30 days prior written notice by certified mail, of any material change, cancellation, or non-renewal to Owner. Proof of the required insurance and endorsements shall be made by submission to Owner, prior to commencement of a Project, of certificates of insurance and endorsements satisfactory to Owner. All required insurance shall be maintained until Owner has accepted the Project and Final Payment has been made.
3-44 | EPC Template
Schedule III Acceptance Testing This schedule necessarily varies from project to project. It must be specific to the particular equipment selected for the RET project, the characteristics of the renewable energy technology being utilised, the capabilities and limitations of the project’s design and equipment, the scope of the work to be done as part of this contract, and the nature of the intended use. The illustrative description of work shown below relates to the design and construction of a cogeneration facility are offered to provide an example of the scope and detail of a workable scope of work description. ===== Contractor shall provide Owner at least fourteen (14) days advance notice of the date upon which Contractor intends to start up and have the qualified independent testing company perform the Acceptance Tests upon the Facility. In connection with such Testing, Contractor shall further notify any Governmental Authority to whom such notice is required. Acceptance Tests shall be conducted in accordance with the applicable Acceptance Test protocols, as set forth below:
1. Acceptance Tests for Chilled Water Production Equipment: Factory Tests and Associated Performance Curves (ARI Standard 550/590-98) Certified Field tests of one chiller. If the chiller satisfies such tests, such testing will be deemed complete. If such chiller fails to satisfy these tests, then the Parties will proceed to test all chillers. Cooling tower capacity testing in accordance with Cooling Tower Institute (CTI) test protocols. System Acceptance Testing: (a) Capacity – Demonstrate 20, 000 tons, @ 40 degrees Fahrenheit having a temperature differential of 10 degrees from chilled water return at 50º F, with a 85º F condensing water temperature and maintaining a 32 PSIG pressure increase between campus chilled water return pipe and campus chilled water supply; (b) System Efficiency Test .85kW/ton; and (c) Duration of system tests in accordance with ARI standards. Secondary Chilled Water Pumps – As per factory tests. 2. Acceptance Tests for Steam Generation Equipment Factory Tests, associated performance curves and associated data Field Test of equipment coordinated with acceptance testing of electric system. System Acceptance Testing: (a) Capacity – demonstrate 400,000 lbs/hour @ 175 PSIG with 1 degree Fahrenheit superheat; (b) Steam Quality – USDA Food Grade Water Treatment Chemicals; (d) Duration of system tests – over a period of one hour.
3-45 | EPC Template 3. Acceptance Tests for Electric Generation Equipment Acceptance tests for Electric Generation Equipment shall be as provided in Schedule 3.2 of the Facility Lease..12 Contractor will develop, using a qualified outside testing firm, appropriate additions to the above-referenced testing protocols to allow for testing during conditions that may exist at different times of the year, including less than ideal test conditions. MGE Power and the State shall take all necessary actions, including without limitation, taking delivery of all steam and chilled water output, and the State shall coordinate with the University to ensure that necessary actions are taken, so that the Acceptance Tests can be completed on the dates so scheduled.
3-46 | EPC Template
Schedule IV Payment Milestone Schedule
3-47 | EPC Template
Schedule V Lay Down Areas
See Attached Map
3-48 | EPC Template
Schedule VI GMP Template
3-49 | EPC Template
Schedule VII The Work This schedule necessarily varies from project to project. It must be specific to the particular equipment selected for the RET project, the characteristics of the renewable energy technology being utilised, the capabilities and limitations of the project’s design and equipment, the scope of the work to be done as part of this contract, the nature of the intended use, and relevant regulatory authorizations or constraints. The illustrative description of work shown below relates to the design and construction of a cogeneration facility are offered to provide an example of the scope and detail of a workable scope of work description. ===== The Work shall include all design, engineering, procurement, permitting (to the extent provided in the EPC Contract), construction, erection, installation, training, start-up and testing activities and services necessary to achieve a complete and operable Facility with the following equipment and systems:
Two (2) GE Packaged Power, Inc. LM6000 Gas Turbine Generator Sets with: o GE generator o Dual fuel system o Water injection system for NOx control o Inlet air anti-ice system (heater coil) o Inlet chiller coil _ One (1) General Electric Company Steam Turbine Generator Set with: o GE Design Generator o Mark VI Turbine Control System o Lube and Control Oil System o Gland Sealing System Two (2) Deltak HRSGs, including HRSG modules, inlet and firing duct work, complete ammonia unloading, storage and injection system, SCR and CO catalyst, exhaust stacks with silencers, steam drums, pressure parts, walkways, ladders and stairs and boiler trim.
Steam turbine condensing system consisting of a condenser, circulating water system, and cooling towers
Two (2) York 1700 ton YK Inlet Air chiller unit (CTG IAC) and CTG IAC Chiller Tower Chilled water system consisting of o Four (4) York 5000 ton Titan OM chiller units (Campus chillers) o Marley Cooling Technologies, Inc. Cooling Towers (Campus Chilled Water Tower) o Primary and secondary chilled water pipes and pumping
3-50 | EPC Template Campus steam and steam condensate equipment, piping and metering for 400,000 pounds per hour of continuous steam, connections to campus steam and condensate piping systems, poured in-place concrete box conduit systems.
Lake water piping, lake water pumping equipment, sanitary sewers and pumping, storm sewers.
Continuous Emission Monitoring system Process water systems consisting of an Environmental Dynamics Corp water treatment and condensate polisher system, water storage tank, demineralization units, and a demineralized water storage tanks _ Chemical treatment systems consisting of HRSG feedwater and circulating water treatment systems
Wastewater collection and treatment system Fuel supply systems including natural gas conditioning system and a 500,000 gallon ultra low sulphur storage system _ Fire protection systems
Plant buildings including lighting and HVAC Site Improvements, roads, sidewalks, site lighting, building relocations, fencing Plant electrical systems including step-up transformers and high voltage interties, emergency backup diesel generators, and blackstart capabilities.
One (1) Konecranes, Inc. top running double girder bridge crane _ Signal, data, metering and communications wiring and equipment _ Plant control system _ Removal and relocation of campus buildings to the extent provided in Section 7.2.4.2
City Water Supply.20
3-51 | EPC Template
Schedule VIII Approved Subcontractors and Suppliers Subcontractors Sample CATEGORY Subcontractors
NAME
POSITION/FUNCTION
ABC Group, Inc. CDE International Energy
Project Engineer Construction Manager
East Wind Manufacturing Carib Electric
Wind Turbine Generators Transformers
Major Equipment Suppliers
3-52 | EPC Template
Schedule IX Subcontractor Warranties This schedule is a technical document that necessarily varies from project to project. It is based on the particular renewable energy technology being utilised and the specific manufactured equipment being installed. Expected equipment and workmanship warranties and applicable performance standards should be discussed by Contractor and Owner. The following example of a warranties table relates to a cogeneration project. The format is equally useful for RET projects. =====
3-53 | EPC Template
3-54 | EPC Template
Schedule X Form of Parent Guarantee In the form of guaranty below, the Contractor’s parent firm provides assurance of Contractor’s performance and payment under the EPC contract. This form is easily modified for use as a payment guaranty if such a guaranty is required as a condition of financing by the project finance lender.
===== CORPORATE GUARANTEE AGREEMENT THIS AGREEMENT is made as of ________________, ______, by Owner’s Parent, a [Description of legal entity] (“Guarantor”). RECITALS: A. [Legal name and description of Contractor] (“Obligor”) and [Legal name and description of Owner] are entering into an Engineering, Procurement and Construction Agreement dated [the date hereof] (the “Design and Construction Agreement”) for the development and construction of a [RET description] facility that will produce electric capacity and energy, to be located [Location of facility] in [City, Country] {“Project”). B. Owner has required that the Guarantor guarantee the Obligations (defined below) as a condition to the Owner’s willingness to enter into the Design and Construction Agreement. The Obligor is a wholly-owned subsidiary of the Guarantor. The development and construction of the Project and the transactions contemplated by the Design and Construction Agreement will provide direct benefits to the Obligor and will therefore indirectly benefit the Guarantor. C. The term “Obligations” means all of the obligations of the Obligor to Owner under the Design and Construction Agreement of whatever nature, however arising, whether due or not due, absolute or contingent, liquidated or unliquidated, determined or undetermined, secured or unsecured, and whether the Obligor is liable individually or jointly with others, but subject to the limitations set forth in the Design and Construction Agreement. COVENANTS: IN CONSIDERATION OF these premises and for other good and valuable consideration, the receipt and sufficiency of which are hereby acknowledged, it is agreed that: 1. The Guarantor hereby (a) unconditionally guarantees the full and prompt payment and performance of the Obligations when due, whether by acceleration or otherwise, or (if
3-55 | EPC Template earlier) at the time any Obligor becomes the subject of bankruptcy or other insolvency proceedings; (b) agrees to pay all costs, expenses and reasonable attorneys’ fees incurred by Owner in enforcing this Agreement and the Obligations and realizing on any collateral for either; provided however, that Guarantor shall not be required to pay such amounts incurred by Owner in any attempted enforcement by Owner of this Agreement in which Guarantor ultimately prevails; and (c) agrees to pay to Owner the amount of any payments made to Owner or. another in connection with any of the Obligations which are recovered from Owner by a trustee, receiver, creditor or other party pursuant to applicable law. 2. This is a guarantee of payment and performance of the Obligations, and not of collection. Owner shall not be obligated to: (a) take any steps whatsoever to collect from, or to file any claim of any kind against, any Obligor, any other guarantor, or any other person or entity liable for payment or performance of any of the Obligations; or (b) take any steps whatsoever to protect, accept, obtain, enforce, take possession of, perfect its interest in, foreclose or realize on collateral or security, if any, for the payment or performance of any of the Obligations or any guarantee of any of the Obligations; or (c) in any other respect exercise any diligence whatever in collecting or attempting to collect any of the Obligations by any means. 3. The Guarantor’s liability for payment and performance of the Obligations shall be absolute and unconditional; the Guarantor unconditionally and irrevocably waives each and every defense which, under principles of guarantee or suretyship law, would otherwise operate to impair or diminish such liability; and nothing whatever except actual full payment and performance of the Obligations (and all other debts, obligations and liabilities of the Guarantor under this Agreement) shall operate to discharge the Guarantor’s liability hereunder. Without limiting the generality of the foregoing, Owner shall have the exclusive right, which may be exercised from time to time without diminishing or impairing the liability of the Guarantor in any respect, and without notice of any kind to the Guarantor, to: (a) accept any collateral, security or guarantee for any Obligations or any other credit; (b) determine how, when and what application of payments, credits and collections, if any, shall be made on the Obligations and any other credit and accept partial payments; (c) determine what, if anything, shall at any time be done with respect to any collateral or security; subordinate, sell, transfer, surrender, release or otherwise dispose of all or any of such collateral or security; and purchase or otherwise acquire any such collateral or security at foreclosure or otherwise; and (d) with or without consideration grant, permit or enter into any waiver, amendment, extension, modification, refinancing, indulgence, compromise, settlement, subordination, discharge or release of: (i) any of the Obligations, the Design and Construction Agreement, or any other agreement relating to any of the Obligations, (ii) any obligations of any guarantor or other person or entity liable for payment or performance of any of the Obligations, and any agreement relating to such obligations and (iii) any collateral or security or agreement relating to collateral or security for any of the foregoing. Notwithstanding anything in this Agreement to the contrary, Guarantor shall have the right to assert as defenses and shall have the benefit of all rights of set-off, claims, counter-claims, reduction or diminution as to any obligation of Owner to Obligors and any defenses to
3-56 | EPC Template enforcement of this Agreement (except Bankruptcy and other insolvency-related defenses) that Obligors would be entitled to assert in defense to payment or performance of any of the Obligations. 4. The Guarantor hereby unconditionally waives (a) presentment, notice of dishonor, protest, demand for payment and all notices of any kind, including without limitation: notice of acceptance hereof; notice of the creation of any of the Obligations; notice of nonpayment, nonperformance or other default on any of the Obligations; and notice of any action taken to collect upon or enforce any of the Obligations; (b) any subrogation to the rights of Owner against any Obligor and any other claim against any Obligor which arises as a result of payments made by the Guarantor pursuant to this Agreement, until the Obligations have been paid or. performed in full and such payments are not subject to any right of recovery; and (c) any claim for contribution against any co-guarantor, until the Obligations have been paid or performed in full and such payments are not subject to any right of recovery. 5. The Guarantor represents and warrants that: a. The execution, delivery and performance of this Agreement by the Guarantor are within the corporate powers of the Guarantor, have been duly authorized by all necessary corporate action and do not and will not (i) require any consent or approval of the stockholders (or other governing body) of the Guarantor which has not been obtained, (ii) violate any provision of the articles of incorporation or by-laws (or other governing rules of the enterprise) of the Guarantor or of any law, rule, regulation, order, writ, judgment, injunction, decree, determination or award presently in effect having applicability to the Guarantor or any subsidiary of the Guarantor; (iii) require the consent or approval of, or filing or registration with, any governmental body, agency or authority, or (iv) result in a breach of or constitute a default under, or result in the imposition of any lien, charge or encumbrance upon any property of the Guarantor or any subsidiary of the Guarantor pursuant to, any indenture or other agreement or instrument under which the Guarantor or any subsidiary of the Guarantor is a party or by which it or any of its properties may be bound or affected. b. This Agreement constitutes the legal, valid and binding obligation of the Guarantor enforceable in accordance with its terms, except as such enforceability may be limited by bankruptcy or similar laws affecting the enforceability of creditors’ rights generally. 6. This Agreement shall inure to the benefit of Owner and its successors and assigns, including every holder or owner of any of the Obligations, and shall be binding upon the Guarantor and the Guarantor’s successors and assigns. This is a continuing guarantee and shall continue in effect until all Obligations and all obligations of the Guarantor hereunder shall be paid or performed in full and such payments are not subject to any right of recovery. 7. This Agreement constitutes the entire agreement between Owner and the Guarantor with respect to the subject matter hereof, superseding all previous communications and negotiations, and no representation, understanding, promise or condition concerning the
3-57 | EPC Template subject matter hereof shall be binding upon Owner unless expressed herein. This Agreement shall be governed by the laws of the [Country] without regard to conflicts of law principles. 8. The Guarantor hereby consents to the exclusive jurisdiction of a competent court in [Country] , and waives any objection based on lack of personal jurisdiction, improper venue or forum non conveniens, with regard to any actions, claims, disputes or proceedings relating to this Agreement, or any document delivered hereunder or in connection herewith, or any transaction arising from or connected to any of the foregoing. Nothing herein shall affect the State’s right to serve process in any manner permitted by law, or limit Owner’s right to bring proceedings against the Guarantor or its property or assets in the competent courts of any other jurisdiction or jurisdictions.. 9. The Guarantor hereby waives any and all right to trial by jury in any action or proceeding relating to this Agreement, or any document delivered hereunder or in connection herewith, or any transaction arising from or connected to any of the foregoing. The Guarantor represents that this waiver is knowingly, willingly and voluntarily given.
[Name of Guarantor] BY: _________________________________ TITLE: ATTEST: _____________________________ TITLE:.-
3-58 | EPC Template
Schedule XI Governmental Authorizations to be Obtained
This schedule necessarily varies from project to project. It must take account not only of the characteristics of the renewable energy technology being utilised, and also the capabilities and limitations of the project’s design and equipment, but also the nature of the intended use and relevant regulatory authorizations or constraints. The items shown
below are illustrative to provide an example of the scope and detail of part of such a listing ===== Facility Required Permits and Approvals
Abbreviations and Acronyms [LIST]
ภาคผนวก 3-2: เงื่อนไขของสัญญา FIDIC
EPC/Turnkey Contract Version 1999
3-59 |
เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
Federation Internationale des Ingenieurs-Conseils (FIDIC) เงื่อนไขสัญญาสาหรับงานก่อสร้างแบบเบ็ดเสร็จ (EPC/TURNKEY)1 1. 1.1
1.1.1 1.1.1.1
1.1.1.2 1.1.1.3
1.1.1.4
1.1.1.5
1.1.2 1.1.2.1
1
บททั่วไป (General Provisions) ศัพท์นิยาม (Definitions) ถ้อยคำและถ้อยควำมในเงื่อนไขทั่วไป รวมถึงเงื่อนไขเฉพำะต่อไปนี้ ให้มีควำมหมำยตำมที่ กำหนดไว้ ถ้อยคำของบุคคลหรือคณะบุคคล (Parties) ให้หมำยควำมรวมถึง นิติบุคคล หรือ กลุ่มนิติบุคคลอื่นเว้นจะกำหนดเป็นอื่น สัญญา (The Contract) สัญญา (Contract) หมำยถึงสัญญำข้อตกลง (Contract Agreement) วัตถุประสงค์ ควำม ต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำง (Employer’s Requirements) เอกสำรข้อเสนอกำรประกวดรำคำ (Tender) และเอกสำรที่จะเกิดขึ้นภำยหลัง (ถ้ำมี) ซึ่งจะระบุไว้ในสัญญำข้อตกลงในหนังสือ ตอบข้อตกลง สัญญาข้อตกลง (Contract Agreement) หมำยถึงสัญญำข้อตกลงตำมอ้ำงถึงตำมข้อย่อย 1.6 รวมถึงเอกสำรบันทึกภำคผนวก วั ต ถุ ป ระสงค์ ความต้ อ งการของผู ้ ว ่ า จ้ า ง (Employer’s Requirements) หมำยถึ ง เอกสำรที่ระบุ วัตถุประสงค์ ตำมควำมต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำงตำมที่ระบุไว้ในสัญญำและรวมถึง กำรเพิ่มเติมและกำรปรับเปลี่ยนเอกสำรดังกล่ำวตำมสัญญำ โดยเอกสำรดังกล่ำวจะระบุ วัตถุประสงค์ขอบเขต และ/หรือกำรออกแบบ และ/หรือเกณฑ์ทำงเทคนิคอื่น ๆ สำหรับงำน เอกสารข้อเสนอการประกวดราคา (Tender) หมำยถึงเอกสำรข้อเสนอที่ลงนำมของผู้ รั บ จ้ ำ งงำนก่ อ สร้ ำ งและเอกสำรอื ่ น ๆ ทั ้ ง หมดที ่ ผ ู ้ ร ั บ จ้ ำ งงำนก่ อ สร้ ำ งยื ่ น พร้ อ มกั น (นอกเหนือจำกเงื่อนไขและข้อกำหนดวัตถุประสงค์ ควำมต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำง) ตำมที่ระบุไว้ ในสัญญำหนังสือเสนอรำคำที่ผู้รับจ้ำงจัดทำขึ้นได้ลงนำมแล้วเสนอไว้ให้ผู้ว่ำจ้ำง หนั ง สื อ ประกั น สั ญ ญา และแผนการจ่ า ยเงิ น (Performance Guarantees and Schedule of Payments) หมำยถึงเอกสำรตำมที่มีชื่อเรียกนั้น ซึ่งรวมเป็นส่วนหนึ่งของ สัญญำ คู่สัญญา หรือบุคคล (Parties and Persons) คู่สัญญา (Party) หมำยถึงผู้ว่ำจ้ำงหรือผู้รับจ้ำงก่อสร้ำง (Contractor/ผู้รับเหมำ) ตำม บริบทของตัวสัญญำ
แปลโดย เจตณรงค์ เชาว์ชูเดช อนุกรรมการฝ่ ายวิชาการ วปท. 2560
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-60 |
เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
1.1.2.2 ผู้ว่าจ้าง (Employer) หมำยถึงบุคคลหรือนิติบุคคล ที่เป็นผู้ว่ำจ้ำง ตำมระบุไว้ในเอกสำร แนบผนวกในเอกสำรประกวดรำคำ (Appendix to Tender) และให้รวมถึง ผู้มีอำนำจตำม กฎหมำย 1.1.2.3 ผู้รับจ้าง (Contractor/ผู้รับเหมำ) หมำยถึงบุคคลหรือนิติบุคคล ที่เป็นผู้ว่ำจ้ำง ตำมที่ระบุ ในเอกสำรแนบผนวกในเอกสำรประกวดรำคำ (Appendix to Tender) และให้รวมถึงผู้มี อำนำจตำมกฏหมำย 1.1.2.4 ผู้แทนของผู้ว่าจ้าง (Employer’s Representative) หมำยถึงบุคคลซึ่งได้ได้รับแต่งตั้งจำก ผู้ว่ำจ้ำงตำมสัญญำที่ระบุ หรือได้รับกำรแต่งตั้งเป็นครั้งครำวจำกผู้ว่ำจ้ำง ตำมข้อย่อย 3.1 (The Employer’s Representative) เพื่อปฏิบัติหน้ำที่แทนผู้ว่ำจ้ำง 1.1.2.5 ผู้แทนของผู้รับจ้าง (Contractors Representatives) หมำยถึงบุคคลที่ผู้รับจ้ำงระบุใน สัญญำ หรือบุคคลที่ผ ู้ร ับ จ้ ำงแต่ง ตั้ งเป็น ครั ้งครำว ตำมหัว ข้อย่อย 4.3 (Contractors Representatives) เพื่อปฏิบัติหน้ำที่แทนผู้รับจ้ำง 1.1.2.6 บุคลากรของผู้ว่าจ้าง (Employer Personnel) หมำยถึงผู้ว่ำจ้ำง หรือผู้ช่วยตำมหัวข้อย่อย 3.2 (Delegation by the Engineer) และบุคลำกรอื่น ๆ คนงำนหรือลูกจ้ำงชองผู้ว่ำจ้ำง และ ผู้ว่ำจ้ำงและบุคลำกรอื่น ที่แจ้งให้แก่ผู้รับจ้ำง โดยผู้ว่ำจ้ำงหรือผู้ว่ำจ้ำงว่ำเป็นบุคลำกร ของ ผู้ว่ำจ้ำง 1.1.2.7 บุคลากรของผู้รับจ้าง (Contractors Personnel) หมำยถึงผู้แทนของผู้รับจ้ำงและบุคลำกร ทั้งหมดของผู้รับจ้ำงซึ่งปฏิบัติงำนอยู่ในพื้นที่งำน ซึ่งรวมถึงบุคลำกรคนงำนและลูกจ้ำงอื่น ของผู้รับจ้ำง และบุคลำกรของผู้รับจ้ำงช่วงทุกรำยและผู้อื่นของผู้รับจ้ำงที่ทำงำนก่อสร้ำง ให้แก่ผู้รับจ้ำง 1.1.2.8 ผู้รับจ้างช่วง (Subcontractors) หมำยถึงบุคคลที่ถูกระบุชื่อเป็นผู้รับจ้ำงช่วงสัญญำหรือ เป็นบุคคลอื่นที่ผู้รับจ้ำง แต่งตั้งให้เป็นรับจ้ำงช่วงงำนก่อสร้ำงบำงส่วน ให้รวมถึงผู้ มีอำนำจ เป็น ผู้รับจ้ำงช่วงตำมกฎหมำย 1.1.2.9 คณะกรรมการพิ จ าณาข้ อ พิ พ าท: คณะผู ้ ช ี ้ ข าด: ผู ้ ไ กล่ เ กลี ่ ย ข้ อ พิ พ าท (Dispute Adjudication Board, DAB) หมำยถึงบุคคลหนึ่งหรือบุคคล 3 คนซึ่งระบุอยู่ในสัญญำตำม ข้อย่อย 20.2 (กำรแต่งตั้งคณะผู้ชี้ขำด:DAB) หรือข้อย่อย 20.3 (Failure to Agree DAB) 1.1.2.10 FIDIC หมำยถึ ง สมำพั น ธ์ ผ ู ้ ว ่ ำ จ้ ำ งที ่ ป รึ ก ษำสำกล (Federation International des Ingenieur Conseil หรือ The International Federation of Counselling) 1.1.3 วันที่ ทดสอบ ระยะเวลา และแล้วเสร็จ (Date, Test, Periods and Completion) 1.1.3.1 วันฐาน (Base Date) หมำยถึง 28 วันก่อนวันสุดท้ำยในกำรยื่นซองประกวดรำคำ 1.1.3.2 วั น ที ่ เ ริ ่ ม งาน (Commencement Date) หมำยถึ ง วั น ที ่ ร ะบุ ต ำมข้ อ ย่ อ ย 8.1 (Commencement of Works) สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-61 | เงื่อนไขของสัญญา
FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
1.1.3.3 เวลาของการแล้วเสร็จ (Time of Completion) หมำยถึงเวลำของกำรแล้วเสร็จของงำน หรือส่วนของงำนภำยใต้ข้อย่อย 8.2 (Time of Completion) ซึ่งได้ระบุเอกสำรแนบผนวก ในเอกสำรประกวดรำคำ โดยให้นับจำกวันที่เริ่มงำน 1.1.3.4 ทดสอบเมื่องานแล้วเสร็จ (Test on Completion) หมำยถึงกำรทดสอบตำมที่ระบุไว้ใน สัญญำหรือตำมที่ตกลงกันของคู่สัญญำ หรือตำมคำสั่งกำรเปลี่ยนแปลง 1.1.3.5 การออกรับใบรับรอง (Taking Over Certificate) หมำยถึงกำรออกใบรับรองให้ตำมข้อ 10 (Employer’s Taking Over) 1.1.3.6 ทดสอบภายหลังงานแล้วเสร็จ (Tests after Completion) หมำยถึงกำรทดสอบตำมที่ กำหนดไว้ในสัญญำและได้ดำเนินกำรตำมเงื่อนไขเฉพำะเมื่องำนแล้วเสร็จทั้งหมด หรืองำน แล้วเสร็จเฉพำะบำงส่วน ซึ่งผู้ว่ำจ้ำงได้รับงำนไว้แล้ว 1.1.3.7 ช่วงเวลาการแจ้งข้อบกพร่อง (Defects Notification Period) หมำยถึงช่วงเวลำกำรแจ้ง ข้ อ บกพร่ อ งของงำนหรื อ ส่ ว นของงำน ภำยใต้ ห ั ว ข้ อ ย่ อ ย 11.1 (Completion of Outstanding Work and Remedying Defect) ตำมที่ระบุในเอกสำรแนบผนวกในเอกสำร ประกวดรำคำ ตำมหัวข้อย่อย 11.3 (Extension of Defect Notification Period) โดยให้ นับตั้งแต่วันที่งำนส่วนนั้นแล้วเสร็จ ตำมที่ระบุไว้ในหัวข้อย่อย 10.1 (Taking Over of the Works and Sections) 1.1.3.8 ใบรับรองการปฏิบัติงาน (Performance Certificate) ใบรับรองออกให้ตำมหัวข้อย่อย 11.9 (Performance Certificate) 1.1.3.9 วัน (Day) หมำยถึงวันตำมปฏิทิน และปีหมำยถึง 365 วัน 1.1.4 เงินและการจ่ายค่าจ้าง (Money and Payment) 1.1.4.1 ราคางานตามสัญญา (Contract Price) หมำยถึง จ ำนวนเงินที่ตกลงกันไว้ในข้อตกลง สัญญำส ำหรับ กำรออกแบบ กำรด ำเนินกำร และเพื่อให้งำนแล้ว เสร็จ และกำรแก้ ไ ข ข้อบกพร่องใด ๆ และรวมถึงกำรปรับปรุง (ถ้ำมี) ตำมสัญญำ 1.1.4.2 ค่าใช้จ่าย (Cost) ค่ำใช้จ่ำยทั้งปวงที่เกิดขึ้นอย่ำงมีเหตุผลหรืออำจจะเกิดขึ้นโดยกำรทำงำน ของผู้รับ จ้ำงในหน้ำงำนหรือนอกพื้นที่งำน ให้รวมถึงค่ำด ำเนินกำร (Overhead) หรือ ค่ำใช้จ่ำยอื่นที่คล้ำยกัน แต่ไม่รวมค่ำกำไร 1.1.4.3 งบแจ้งยอดสุดท้าย (Final Statement) หมำยถึงงบแจ้งยอดตำมที่กำหนดไว้ ในหัวข้อย่อย 14.11 (Application for Final Payment Certificate) 1.1.4.4 สกุลเงินต่างประเทศ (Foreign Currency) หมำยถึงสกุลเงินตรำต่ำงประเทศที่จ่ำยเป็นเงิน รำคำค่ำงำนตำมสัญญำ (Contract Price) ของงำนทั้งหมดหรืองำนบำงส่วน 1.1.4.5 สกุลเงินในประเทศ (Local Currency) หมำยถึง สกุลเงินตรำของประเทศผู้เป็นเจ้ำของ โครงกำร สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-62 |
เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
1.1.4.6 รายการเงินจร จานวนเงินเผื่อจ่าย (Provisional Sum) หมำยถึงจำนวนเงิน (ถ้ำมี) ซึ่งระบุ ในสัญญำว่ำเป็นจำนวนเงินเผื่อจ่ำย สำหรับดำเนินกำรส่วนใด ส่วนหนึ่งในกำรจัดหำวัสดุ หรือบริกำรในงำนก่อสร้ำง ตำมข้อย่อย Sub-Clause 13.5 (Provisional Sums) 1.1.4.7 เงินประกันผลงาน (Retention Money) หมำยถึงจำนวนเงินหักสะสม ซึ่งผู้ว่ำจ้ำงหักไว้ ตำมข้อย่อย 14.3 (Application for Interim Payments) และจ่ำยคืนให้ตำมข้อย่อย 14.9 (Payment of Retention Money) 1.1.4.8 งบแจ้งยอด (Statement) เป็นงบแจ้งยอดที่ผู้รับจ้ำงยื่นเสนอตำมหัวข้อ 14 (Contract Price and Payment) เพื่อขอใบรับรองกำรจ่ำยค่ำจ้ำง 1.1.5 งานและพัสดุ (Work and Goods) 1.1.5.1 เครื ่ อ งมื อ ของผู ้ ร ั บ จ้ า ง (Contractor’s Equipment) หมำยถึ ง เครื ่ อ งมื อ ทั ้ ง ปวง เครื่องจักรกล พำหนะ และอื่น ๆ เพื่อใช้ในกำรก่อสร้ำง เพื่อผลสำเร็จของงำนและซ่อมแซม บำรุงส่วนบกพร่องของงำน อย่ำไรก็ดี เครื่องมือของผู้รับจ้ำง ยกเว้นงำนก่อสร้ำงประกอบ ชั่วครำวเครื่องมือของงำนจ้ำง (ถ้ำมี) โรงงำน/โรงผลิตประกอบเพื่อกำรก่อสร้ำงวัตถุก่อสร้ำง และอื่น ๆ ที่มำประกอบเป็นงำนถำวรของผู้ว่ำจ้ำง 1.1.5.2 พัสดุ (Goods) หมำยถึงเครื่องมือ วัตถุ โรงงำน/โรงผลิตประกอบเพื่อกำรก่อสร้ำง หรืออื่น ๆ ที่เป็นสมบัติของผู้รับจ้ำง 1.1.5.3 วัสดุ (Material) หมำยถึงสิ่งของต่ำง ๆ (นอกเหนือจำกโรงงำน/โรงผลิตประกอบเพื่อกำร ก่อสร้ำง) ที่นำมำประกอบกำรก่อสร้ำงเป็นงำนก่อสร้ำงถำวร รวมถึงกำรจัดหำวัสดุ (เฉพำะ วัสดุ/ถ้ำมี) ที่ผู้รับจ้ำงต้องจัดหำตำมสัญญำ 1.1.5.4 งานก่อสร้างถาวร (Permanent Work) หมำยถึง งำนถำวรที่ผู้รับจ้ำงต้องทำกำรก่อสร้ำง ตำมสัญญำ 1.1.5.5 โรงงาน: โรงผลิต (Plant) หมำยถึง เครื่องมือ เครื่องจักรกล และพำหนะที่จะมำประกอบ เป็นส่วนหนึ่งของงำนถำวร 1.1.5.6 ส่วนของงาน (Section) หมำยถึงส่วนหนึ่งส่วนใดของงำนตำมที่กำหนดไว่ในเงื่อนไขเฉพำะ (Particular Conditions) 1.1.5.7 งานชั่วคราว (Temporary Works) หมำยถึงงำนชั่ว ครำวของทุกสิ่งทุกอย่ำง (ยกเว้น เครื่องจักรของผู้รับจ้ำง) ที่มีอยู่ในพื้นที่โครงกำรสำหรับกำรก่อสร้ำงงำนถำวร และเพื่อใช้ใน กำรซ่อมบำรุงสิ่งก่อสร้ำงที่ชำรุดบกพร่อง 1.1.5.8 งาน (Work) หมำยถึง งำนถำวรและงำนชั่วครำว และงำนอื่นที่มีลักษณะเดียวกัน
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-63 | เงื่อนไขของสัญญา
FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
1.1.6 ศัพท์นิยามอื่น ๆ (Other Definition) 1.1.6.1 เอกสารของผู้รับจ้า ง (Contractor’s Documents) หมำยถึงรำยกำรค ำนวนโปรแกรม คอมพิวเตอร์ และ โปรแกรมอื่น ๆ แบบ คู่มือ และเอกสำรทำงเทคนิคอื่นซึ่งผู้รับจ้ำงจัดหำ ตำมสัญญำ ตำมที่ระบุในข้อย่อย 5.2 (Contractor’s Documents) 1.1.6.2 ประเทศ (Country) หมำยถึง ประเทศที่พื้นที่โครงกำรตั้งอยู่ 1.1.6.3 เครื่องมือของผู้ว่าจ้าง (Employer's Equipment) หมำยถึง เครื่องมือ เครื่องจักรกลและ ยำนพำหนะที่ผ ู้ว ่ำจ้ำงจัดหำให้ผู้รับจ้ำง ในกำรด ำเนินกำรก่อสร้ำงตำมที่ก ำหนดไว้ใน ข้อกำหนด (Specification) ยกเว้นโรงงำน/โรงผลิต (Plant) ที่ยังไม่ได้ส่งมอบให้แก่ผู้ว่ำจ้ำง 1.1.6.4 เหตุสุดวิสัย (Force Majeure) หมำยถึงตำมที่ระบุในข้อ 19 (Force Majeure) 1.1.6.5 กฎหมาย (Laws) หมำยถึง กฎหมำยของประเทศ กฤษฎีกำ กฎระเบียบ และกฎหมำยอื่น กฎกระทรวง 1.1.6.6 หลักประกัน การปฏิบัต ิงาน: หลักประกัน สัญญา (Performance Security) หมำยถึง หลักประกันตำมข้อย่อย 4.2 (Performance Security) 1.1.6.7 พื้นที่ก่อสร้าง (Site) หมำยถึงพื้นที่ที่จะทำกำรก่อสร้ำงสิ่งก่อสร้ำงถำวร ซึ่งจะเป็นพื้นที่ที่ เครื่องมือ และวัสดุตำ่ ง ๆ ถูกนำเข้ำมำเพื่อกำรก่อสร้ำง และพื้นที่อื่นที่กำหนดไว้ในสัญญำให้ เป็นพื้นที่ก่อสร้ำง 1.1.6.8 การเปลี่ยนแปลง (Variation) หมำยถึงกำรเปลี่ยนแปลงงำนโดยค ำสั่งและเห็นชอบกำร เปลี่ยนแปลงนั้นตำมข้อ 13 (Variations and Adjustments) 1.2
การตีความ (Interpretation) ในสัญญำนี้ เว้นแต่จะหมำยถึงเป็นอย่ำงอื่น (ก) ค ำ เพศ (Gender) ที่เป็น เพศชำยในไวยำกรณ์ ให้รวมหมำยถึง เพศที่เป็นหญิงใน ไวยำกรณ์ (Genders) ด้วย (ข) คำ เอกพจน์ (Singular) ให้หมำยถึง คำพหูพจน์ด้วย (Plural) ด้วยหรือจะสลับกันก็ได้ (ค) คำ Agee, Agreed หรือ Agreement ให้หมำยถึงกำรตกลงซึ่งต้องจัดทำบันทึกเป็น หนังสือ (ง) คำ written หรือ in Writing ให้หมำยถึงกำรเขียนด้วยลำยมือ พิมพ์ หรือ พิมพ์จำก คอมพิวเตอร์และมีผลเป็นกำรบันทึกถำวร ห้ำมใช้หัวข้อเรื่องในสัญญำนี้ ในกำรพิจำรณำแปลควำมในเงื่อนไขของสัญญำ
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-64 |
เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
1.3
การสื่อสาร (Communications) ในเงื่อนไขสัญญำนี้ ทุก ๆ แห่งที่ระบุว่ำให้หรื อออกหนังสือให้อนุมัติในเรื่องใบรับรองกำร อนุญำต กำรพิจำรณำ กำรวินิจฉัย กำรแจ้งและกำรขอให้ กำรสื่อสำรในเรื่องดังกล่ำว ให้ สื่อสำรเป็นดังนี้ (ก) เขียนแล้วส่งด้วยบุคคล พร้อมใบลงนำมรับเอกสำร ส่งด้วยทำงไปรษณีย์ หรือส่งด้วยทำง ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ตำมที่ทั้ง 2 ฝ่ำย ตกลงไว้ในเอกสำรประกวดรำคำ (ข) นำส่ง ส่งหรือส ำเนำส่งทำงอิเล็กทรอนิกส์ตำมที่อยู่ของผู้รับตำมที่ก ำหนดในเอกสำร ประกวดรำคำ แต่อย่ำงใดก็ดี (1) หำกผู้รับขอเปลี่ยนที่อยู่ใหม่ ผู้ส่งจะต้องส่งตำมที่อยู่ใหม่ (2) หำกผู้รับไม่ได้แจ้งเป็นอื่น เมื่ อมีกำรขอพิจำรณำอนุมัติหรือขออนุญำตให้ผู้ ส่ง คำตอบตำมที่อยู่ที่ปรำกฎอยู่บนหนังสือที่ส่งมำ กำรอนุมัติกำรขอใบรับรองกำรขออนุญำต และกำรขอพิจำรณำวินิจฉัยจะต้องไม่เก็บหนังสือ เฉยไว้หรือทิ้งไว้นำนโดยไม่มีเหตุผล เมื่ อมีกำรส่งใบรับรองให้แก่คู่กรณีหนึ่ง ผู้ให้กำรรับรอง ส ำหรับใบรับรองและส ำเนำใบรับรองให้แก่ผู้เกี่ยวข้องด้วย เมื่อกำรส่งใบสั่งกำรแก่ผู้หนึ่ง ผู้ส่งดังกล่ำวจะต้องส่งใบสำเนำให้แก่ผู้ว่ำจ้ำงหรือผู้เกี่ยวข้องนั้นด้วย
1.4
กฎหมายและภาษา (Law and Language) สัญญำต้องปฏิบัติตำมกฎหมำยของประเทศที่โครงกำรตั้งอยู่ตำมที่ระบุไว้ในเอกสำรประกวด รำคำ หำกบทหนึ่งบทใดของสัญญำเขียนสัญญำมำกกว่ำหนึ่งภำษำ ให้ใช้ภำษำที่กำหนดไว้ ในเอกสำรแนบผนวกในเอกสำรประกวดรำคำเป็นภำษำหลัก ภำษำที่ใช้ในกำรสื่อสำรให้ ใช้ ภำษำที่ร ะบุไว้ในเอกสำรแนบผนวกในเอกสำรประกวดรำคำ หำกไม่มีกำรก ำหนด ใน เอกสำรประกวดรำคำ ก็ให้ใช้ภำษำที่เขียนเป็นตัวสัญญำ
1.5
ลาดับความสาคัญของเอกสาร (Priority of Documents) เอกสำรที่ประกอบเป็นตัวสัญญำ ให้ถือตำมลำดับศักดิ์ในตัวมันเอง เพื่อวัตถุประสงค์ในกำร ตีควำมให้ถือตำมลำดับศักดิ์ ของเอกสำร ดังนี้ (ก) สัญญำข้อตกลง (Contract Agreement) (ข) เงื่อนไขเฉพำะของสัญญำ (Particular Conditions) (ค) เงื่อนไขทั่วไปของสัญญำฉบับนี้ (These General Conditions) (ง) วัตถุประสงค์ ควำมต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำง (Employer’s Requirements) (จ) เอกสำรข้อเสนอกำรประกวดรำคำ และเอกสำรอื่น ๆ ที่รวมเป็นส่วนหนึ่งของสัญญำ
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-65 | เงื่อนไขของสัญญา
FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
1.6
สัญญาข้อตกลง (Contract Agreement) คู่สัญญำต้องลงนำมในสัญญำข้อตกลงภำยใน 28 วันหลังจำกผู้รับจ้ำงได้รับหนังสือตอบ ข้อตกลง (Letter of Acceptance) เว้นแต่คู่สัญญำได้ตกลงเป็นอื่น สัญญำข้อตกลงจะเป็น แบบฟอร์มซึ่งแนบอยู่ในเงื่อนไขเฉพำะ (Particular Conditions) ผู้ว่ำจ้ำงต้องเป็นผู้จ่ำยค่ำ อำกรแสตมป์และค่ำธรรมเนียมตำมกฎหมำยในกำรลงนำมสัญญำข้อตกลง
1.7
การโอนสิทธิ์ (Assignment) ไม่ว่ำคู่สัญญำฝ่ำยใดจะโอนสิทธิ์งำนทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของงำน หรือผลประโยชน์ ใดหรือดอกเบี้ยภำยใต้สัญญำ อย่ำงไรดีคู่สัญญำฝ่ำยหนึ่งฝ่ำยใด (ก) กำรโอนสิทธิ์ ส ัญญำทั้งหมดหรือส่ว นหนึ่งส่ว นใดของสัญญำก่อนลงนำมสัญญำกั บ คู่สัญญำอื่น ทั้งนี้เป็นควำมสมัครใจของคู่สัญญำอื่นนั้น (ข) อำจเป็นหลักประกันให้แก่ธนำคำรผู้สนับสนุนกำรเงินจึงมอบกำรโอนสิทธิกำรรับเงิน ค่ำจ้ำง หรือได้รับเงินค่ำจ้ำงภำยใต้สัญญำนี้
1.8
การรักษาและการแจกจ่ายเอกสาร (Care and Supply of Documents) เอกสำรของผู้รับจ้ำงก่อสร้ำงแต่ละฉบับต้องอยู่ในควำมดูแลและควบคุมรักษำ โดยผู้รับจ้ำง ก่อสร้ำง เว้นไว้และจนกว่ำผู้ว่ำจ้ำงจะได้รับมอบ เว้นแต่จะระบุไว้เป็นอย่ำงอื่นในสัญญำ ผู้รับจ้ำงก่อสร้ำงจะต้องจัดหำให้แก่ผู้ว่ำจ้ำงจำนวน 6 (หก) ชุด ผู้รับจ้ำงจะต้องเก็บรักษำเอกสำร ส ำเนำสัญญำ เอกสำรข้อก ำหนดวัตถุประสงค์ ควำม ต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำง เอกสำรของผู้รับจ้ำง รำยกำรเปลี่ยนแปลงงำน และเอกสำรกำร ติดต่อสื่อสำรอื่น ๆ ภำยใต้สัญญำดังกล่ำว บุคคลำกรของผู้ว่ำจ้ำงจะมีสิทธิเข้ำถึงเอกสำร ดังกล่ำวทั้งหมดได้ตลอดเวลำตำมควำมเหมำะสม หำกคู่สัญญำฝ่ำยใดตระหนักรู้ถึงข้อผิดพลำด หรือข้อบกพร่องทำงเทคนิค ในเอกสำรที่ใช้ใน กำรก่อสร้ำง ฝ่ำยที่พบข้อบกพร่องดังกล่ำว ต้องแจ้งข้อบกพร่องทันทีให้แก่คู่สัญญำ เพื่อกำร แก้ไขต่อไป
1.9
ความลับ (Confidentiality) คู่สัญญำทั้งสองฝ่ำยจะถือว่ำรำยละเอียดของสัญญำเป็นข้อมูลเฉพำะและเป็นควำมลั บ ยกเว้นในขอบเขตที่จำเป็นเพื่อกำรปฏิบัติตำมข้อผูกพันตำมกฎหมำย หรือเพื่อให้เป็นไปตำม กฎหมำยที่บ ังคับ ใช้ ผู้ร ับ จ้ำงก่อสร้ำงต้องไม่เผยแพร่ อนุญำตให้ตีพิมพ์ หรือเปิดเผย รำยละเอียดของงำนในเอกสำรเพื่อกำรค้ำหรือทำงเทคนิคใด ๆ หรือที่อื่น หำกมิได้รับกำร ยินยอมตำมข้อตกลงก่อนหน้ำนี้ของผู้ว่ำจ้ำง
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-66 |
เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
1.10
ผู ้ ว ่ า จ้ า งใช้ ส ารบบเอกสารของผู้ ร ั บ จ้ า ง (Employer’s Use of Contractor’s Documents) ในระหว่ำงคู่สัญญำ ผู้รับจ้ำงต้องสงวนไว้ ซึ่งสิทธิบัตรและลิขสิทธ์ของสำรบบเอกสำรของ ผู้รับจ้ำงและในสำรบบของเอกสำรกำรออกแบบ ผู้รับจ้ำงต้องรับทรำบว่ำ ภำยหลังกำรลงนำมสัญญำกันแล้วต้องส่งมอบสิทธิบัตรและลิขสิทธ์ ที่ช ำระค่ำธรรมเนียมถูกต้องแล้วให้แก่ผู้ว่ำจ้ำงด้วย เพิ่อใช้และเชื่อมต่อกับสำรบบของ เอกสำรของผู ้ ร ั บ จ้ ำ งได้ ทั ้ ง นี ้ ใ ห้ รวมถึ ง กำรจั ด ท ำและควรปรั บปรุ ง ขยำยสิ ท ธิน ั ้น ใน ใบอนุญำตต้องมีรำยละเอียดดังนี้ (ก) สำมำรถใช้งำนได้ไม่น้อยกว่ำอำยุของงำนโครงกำรหรือมำกกว่ำ (ข) แต่งตั้งบุคคลใด ที่เหมำะสมในกำรควบคุมกำรใช้และสื่อสำรในเอกสำรของผู้รับจ้ำง เพื่อ วัตถุประสงค์ในกำรดำเนินกำรบำรุงรักษำ แก้ไข ปรับปรุง ซ่อมแซม และกำรรื้อถอนงำน และ (ค) ในกรณีสำรบบเอกสำรของผู้รับจ้ำงอยู่ในรูปแบบคอมพิวเตอร์โปรแกรม หรือซอฟแวร์ อื่น ๆ ให้สำมำรถใช้งำนได้กับคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในพื้นที่โครงกำรและที่อื่นที่ระบุในสัญญำ ทั้งนี้ให้ผู้รับจ้ำงต้องรับผิดชอบในกำรเปลี่ยนคอมพิวเตอร์ที่ล้ำสมัยหรือชำรุดอีกด้วย เอกสำรของผู้รับจ้ำงและเอกสำรกำรออกแบบอื่น ๆ ที่จัดทำโดย (หรือในนำมของ) ผู้รับจ้ำง ต้องไม่ถูกนำไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญำตจำกผู้รับจ้ำง ในกำรคัดลอกหรือสื่อสำรกับบุคคลที่ สำมโดย (หรือในนำมของ) ผู้ ว่ำจ้ำงเพื่อวัตถุประสงค์อื่น นอกจำกจะได้รับอนุญำต ภำยใต้ หัวข้อย่อยนี้
1.11
ผู้ ร ั บ จ้ า งใช้ ส ารบบเอกสารของผู ้ ว ่ า จ้ า ง ( Contractor’s Use of Employer’s Documents) ระหว่ำงคู่สัญญำต้องสงวนไว้ซง่ึ สิทธิบัตรและลิขสิทธิ์เอกสำรในเรื่องข้อกำหนด วัตถุประสงค์ ควำมต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำง รวมถึงเอกสำรอื่นซึ่งจัดทำโดย (หรือในนำมของ) ผู้ว่ำจ้ำง ผู้รับ จ้ำงอำจสำมำรถคัดลอก ใช้ และเพื่อกำรติดต่อสื่อสำรในเอกสำรเหล่ำนี้ ด้วยค่ำใช้จ่ำยของ ตนเองเพื่อวัตถุประสงค์ตำมสัญญำ
1.12
รายละเอียดความลับ (Confidential Details) ผู้รับจ้ำงจะเปิดเผยควำมลับและข้อมูลตำมคำขอของผู้ว่ำจ้ำงอย่ำงมีเหตุผลเพื่อควำมเข้ำใจ ต่อผู้รับจ้ำงตำมสัญญำ
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-67 | เงื่อนไขของสัญญา
FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
1.13
การปฏิบัติตามข้อกฎหมาย (Compliance with Laws) ในกำรดำเนินงำนตำมสัญญำ ผู้รับจ้ำงต้องปฏิบัติตำมกฎหมำยที่ใช้บังคับเว้นแต่จะกำหนด เป็นอื่น ในเงื่อนไขเฉพำะ (ก) ผู้ว่ำจ้ำงต้องได้รับอนุญำตในเรื่องแผนโครงกำรของพื้นที่และอื่น ๆ เพื่องำนก่อสร้ำง โครงกำร และกำรอนุญำตอื่น ๆ ตำมที่กำหนดไว้ในข้อกำหนดของผู้ว่ำจ้ำง ผู้ว่ำจ้ำงต้อง รับผิดชอบควำมเสียหำยและปกป้องอันตรำยอันจะเกิดขึ้นต่อผู้รับจ้ำง (ข) ผู้รับจ้ำงจะส่งหนังสือแจ้งให้ทรำบเรื่องกำรจ่ำยภำษีทั้งปวง ค่ำธรรมเนียม และกำรขอ ใบอนุญำตและกำรรับอนุมัติตำมที่กฎหมำยบังคับไว้ให้ดำเนินกำรงำนให้แล้วเสร็จ และใน กำรซ่อมบำรุงสิ่งชำรุดบกพร่อง ผู้รับจ้ำงต้องรับผิดชอบควำมเสียหำยและปกป้องอัตรำยอัน เกิดขึ้นต่อผู้ว่ำจ้ำงในเรื่องดังกล่ำว
1.14
การร่วมมือกันและการรับผิดชอบ (Joint and Several Liability) ในกรณีผู้รับจ้ำงเป็นนิติบุคคลร่วมค้ำ (Joint Venture) หรือนิติบุคคลค้ำร่วม (Consortium) ตำมกฎหมำย (ก) สมำชิกกลุ่มนิติบุคคลต้องรับทรำบว่ำ สมำชิกทุกคนต้องร่วมรับผิดชอบต่อผู้ว่ำจ้ำงในกำร ดำเนินงำนตำมสัญญำ (ข) กลุ่มนิติบุคคลต้องมีหนังสือแจ้งให้ผู้ว่ำจ้ำงทรำบถึงผู้ที่เป็นหัวหน้ำกลุ่มนิติบุคคล ซึ่งมี อำนำจทำกำรแทนกลุ่มนิติบุคคล (ค) ผู้รับจ้ำงกลุ่มนิติบุคคล ห้ำมปรับเปลี่ยนสมำชิกกลุ่มและสถำนะกำรจัดตั้งเป็นกลุ่มนิติ บุคคลตำมกฎหมำยโดยไม่ได้รับเห็นชอบจำกผู้ว่ำจ้ำง
2. 2.1
ผู้ว่าจ้าง (The Employer) สิทธิการเข้าออกสถานที่ก่อสร้าง (Right of Access to the Site) ผู้ว่ำจ้ำงจะให้สิทธิแก่ผู้รับจ้ำงในกำรเข้ำออกและครอบครองทุกส่วนของพื้นที่ก่อสร้ำงตำม กำหนด เวลำในเอกสำรแนบผนวกในเอกสำรประกวดรำคำ สิทธิและกำรครอบครองสิทธินั้น ไม่ได้ให้เฉพำะแต่ผู้รับจ้ำง ถ้ำภำยใต้สัญญำ ผู้ว่ำจ้ำงมีวัตถุประสงค์ให้ผู้รับจ้ำงครอบครอง สิทธิโครงสร้ำงฐำนรำก เครื่องมือ เครื่องจักรกลและวิธีกำรเข้ำออกพื้นที่ ผู้ว่ำจ้ำงจะปฏิบัติ ตำมกำหนดเวลำตำมที่ระบุไว้ในข้อกำหนด แต่อย่ำงไรก็ดี ผู้ว่ำจ้ำงอำจจะไม่ให้สิทธิและกำร ครอบครองพื้นที่ก่อสร้ำง จนกว่ำผู้รับจ้ำงได้มอบหลักประกันสัญญำให้แก่ผู้ว่ำจ้ำง หำกไม่กำหนดเวลำในเอกสำรแนบผนวกในเอกสำรประกวดรำคำ ผู้ว่ำจ้ำงจะให้สิทธิและ กำรครอบครองพื้นที่ โดยมีผลตั้งแต่วันที่ได้รับคำสั่งให้เริ่มงำน
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-68 |
เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
หำกผู้รับจ้ำงได้รับควำมยุ่งยำกและล่ำช้ำจนเกิดมีค่ำใช้จ่ำยจำกกำรที่ผู้ว่ำจ้ำงละเลยไม่ให้ สิทธิกำรครอบครองพื้นที่ตำมเวลำที่กำหนดไว้ ผู้รับจ้ำงจะมีหนังสือแจ้งให้ผู้ว่ำจ้ำงตำมหัวข้อ ย่อย 20.1 (Contractor Claims) (ก) ขยำยเวลำตำมควำมล่ำช้ำ ซึ่งหำกควำมล่ำช้ำนั้นอันเนื่องจำกเหตุผลดังกล่ำวตำมหัวข้อ ย่อย 8.4 (Extention of Time for Completion) และ (ข) ค่ำใช้จ่ำยที่เกิดขึ้นบวกกำไรซึ่งจะเป็นค่ำจ้ำงตำมสัญญำ (Contract Price) ภำยหลั ง จำกได้ ร ั บ หนั ง สื อ แจ้ ง ผู ้ ว ่ ำ จ้ ำ งต้ อ งด ำเนิ น กำรตำมหั ว ข้ อ ย่ อ ย 3.5 (Determinations) พิจำรณำอนุมัติหรืออื่น ๆ อย่ำงไรก็ดี หำกพบควำมผิดพลำดของผู้ว่ำจ้ำงอันเนื่องจำกควำมผิดหรือควำมล่ำช้ำของ ผู้รับจ้ำง ให้รวมควำมผิดในเรื่องหรือควำมล่ำช้ำในกำรยื่นเอกสำรหนังสือของผู้รับจ้ำง ผู้รับจ้ำงไม่อำจจะขอขยำยเวลำ ค่ำใช้จ่ำยหรือค่ำกำไร 2.2
การอนุญาต ใบอนุญาต หรือการอนุมัติ (Permit, License, or Approvals) ผู้ว่ำจ้ำง (เมื่ออยู่ในตำแหน่งทีจ่ ะกระทำได้) จะจัดหำให้อย่ำงมีเหตุผลต่อผู้รับจ้ำงในเรื่อง (ก) ขอสำเนำบทกฎหมำยที่เกี่ยวข้องกับงำนโครงกำรซึ่งยังไม่มี (ข) เพื่อให้ผู้รับจ้ำงยื่นขออนุญำต ในอนุญำตหรือกำรอนุมัติ ตำมที่กฎหมำยบังคับใช้ของ ประเทศนั้น (1) ซึ่งผู้รับจ้ำงต้องจัดทำตำมข้อย่อย 1.13 (Compliant with Laws) (2) เพื่อกำรขนส่งพัสดุ รวมถึงพิธีกำรศุลกำกร (3) เพื่อกำรส่งกลับเครื่องมือเมื่อกำรก่อสร้ำงแล้วเสร็จ จำกพื้นที่โครงกำร
2.3
บุคลากรของผู้ว่าจ้าง (Employer’s Personnel) ผู้ว่ำจ้ำงต้องรับผิดชอบต่อบุคลำกรของผู้ว่ำจ้ำง และบุคลำกรของผู้รับจ้ำงอื่นซึ่งว่ำจ้ำงโดย ผู้ว่ำจ้ำงที่ปฏิบัติงำนอยู่ในพื้นที่โครงกำรเดียวกัน (ก) ให้ควำมร่วมมือผู้รับจ้ำงตำมหัวข้อย่อย 4.6 (Co–operation) และ (ข) ดำเนินกำรคล้ำยกับบุคลำกรผู้รับจ้ำงตำมหัวย่อย 4.8 ในหัวข้อ (ก), (ข) (ค) และ (ง) (Safety Procedure) และในหัวข้อย่อย 4.18 (Protection of the Environment)
2.4
ระเบียบการเงินของผู้ว่าจ้าง (Employer’s Financial Arrangements) ผู้ว่ำจ้ำงจะยื่นข้อเสนอภำยใน 28 วันหลังจำกได้รับหนังสือแจ้งใด ๆ พร้อมหลักฐำนจำก ผู้ร ับ จ้ำงในเรื่องกำรเงิน ผู้ว ่ำจ้ำงจะรับไว้ท ำกำรตรวจสอบกำรจ่ำยค่ำงำนตำมสัญญำ (Contract Price) ณ เวลำนั ้ น ตำมข้ อ ย่ อ ย 14 (Contract Price and Payment) หำก สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-69 | เงื่อนไขของสัญญา
FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
ผู้ว่ำจ้ำงมีควำมประสงค์เปลี่ยนรำยละเอียดเอกสำรตำมระเบียบกำรเงินของผู้ว่ำจ้ำง ผู้ว่ำจ้ำง จะต้องมีหนังสือแจ้งให้ผู้รับจ้ำงทรำบพร้อมรำยละเอียดเฉพำะ 2.5
การเรียกร้องค่าชดเชยของผู้ว่าจ้าง (Employer’s Claims) ในกณีที่ผู้ว่ำจ้ำงพิจำรณำแล้วเห็นว่ำกำรจ่ำยค่ำจ้ำงตำมเงื่อนไขสัญญำนี้หรืออื่น ๆ ที่เกี่ยวกับ สัญญำนี้ หรือกรณีใดที่มีหนังสือแจ้งกำรขยำยเวลำกำรรับประกันซ่อมแซมสิ่งชำรุด บกพร่อง ผู้ว่ำจ้ำงจะมีหนังสือแจ้งเฉพำะให้แก่ผู้รับจ้ำง อย่ำงไรก็ดี หนังสือแจ้ง ไม่ต้องจ่ำยตำมหัวข้อ ย่อย 4.19 (Electricity, Water and Gas) ตำมข้อย่อย 4.20 (Employer’s Equipment and Free-Issue Material) หรือกำรบริกำรอื่นตำมที่ผู้รับจ้ำงร้องขอ หนังสือแจ้งต้องส่งให้เร็วที่สุด และสำมำรถจะดำเนินกำรให้ได้ภำยหลังจำกผู้ว่ำจ้ำงเริ่มรับว่ำ เหตุหรือสถำนกำรณ์ที่จะมีกำรเรียกร้องค่ำชดเชย หนังสือแจ้งเตือนเกี่ยวกับกำรขยำยเวลำ กำรรับประกันซ่อมแซมสิ่งช ำรุ ดบกพร่อง จะส่งให้ก่อนที่กำรประกันซ่อมแซมสิ่งช ำรุดจะ หมดอำยุ เงื่อนไขเฉพำะจะระบุเหตุหรือสำเหตุอื่นของกำรเรียกร้องค่ำชดเชย ซึ่งจะรวม จำนวนตำมจริงและกำรขยำยเวลำตำมที่ผู้ว่ำจ้ำงพิจำรณำด้วยตนเอง ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ สัญญำ ดังนั้นผู้ว่ำจ้ำงจะดำเนินกำรตำมหัวข้อย่อ ย 3.5 (Determinations) เพื่ออนุมัติหรือ เพื่อพิจำรณำ (ก) จำนวนค่ำชดเชยที่ผู้ว่ำจ้ำงจะได้รับจำกผู้รับจ้ำง (ข) กำรขยำยเวลำกำรประกั น กำรซ่ อ มแซมสิ ่ ง ช ำรุ ด บกพร่ อ ง ตำมหั ว ข้ อ ย่ อ ย 11.3 (Extension of Defects Notification Period) จ ำนวนค่ำเรียกร้องชดเชยนี้ อำจจะถูกหักรำคำงำนตำมสัญญำ (Contract Price) และ ใบรับรองกำรจ่ำยค่ำจ้ำง ผู้ว่ำจ้ำงมีสิทธิ์จะระบุเก็บค่ำเรียกร้องค่ำชดเชยออกหรือหักจำนวน เงินนี้ออกจำกใบรับรองกำรจ่ำยค่ำจ้ำง หรือมิฉะนั้นจะคิดโดยตรงกับผู้รับจ้ำง ตำมหัวข้อ ย่อยในเงื่อนไขนี้
3. 3.1
การบริหารของผู้ว่าจ้าง (The Employer’s Administration) ผู้แทนของผู้ว่าจ้าง (The Employer's Representative) ผู้ว่ำจ้ำงจะแต่งตั้ งผู้แทนของผู้ว่ำจ้ำง ผู้ซึ่งจะปฏิบัติหน้ำที่ตำมที่ผู้ว่ำจ้ำงมอบหมำยตำม สัญญำ ผู้แทนของผู้ว่ำจ้ำงจะเป็นผู้ที่ถูกระบุ และได้รับกำรมอบหมำยให้มีอำนำจกระทำกำร ในนำมของผู้ว่ำจ้ำง ผู้แทนผู้ว่ำจ้ำงจะทำหน้ำที่ตำมที่ได้รับมอบหมำย และใช้อำนำจตำมที่ผู้ว่ำจ้ำงมอบหมำย เว้นแต่และจนกว่ำผู้ว่ำจ้ำงจะแจ้งให้ผู้รับจ้ำงเป็นอย่ำงอื่น ให้ถือว่ำผู้แทนของผู้ว่ำจ้ำงจ้ำงมี อ ำนำจเต็ ม ตำมข้ อ ผู ก พั น ของผู ้ ว ่ ำ จ้ ำ งจ้ ำ งตำมสั ญ ญำ ยกเว้ น ตำมที ่ ร ะบุ ใ นข้ อ 15 (Termination by Employer)
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-70 |
เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
หำกผู้ว่ำจ้ำงประสงค์จะเปลี่ยนบุคลำกรที่ได้รับกำรแต่งตั้งให้เป็นผู้แทนของผู้ว่ำจ้ำง ผู้ว่ำจ้ำง จะต้องแจ้งให้ผู้รับจ้ำงทรำบล่วงหน้ำไม่น้อยกว่ำ 14 วันโดยระบุ ชื่อ ที่อยู่ หน้ำที่และอำนำจ หน้ำที่ของบุคลำกรนั้น และวันที่ได้รับกำรแต่งตั้ง 3.2
บุคลากรอื่นของผู้ว่าจ้าง (Other Employer’s Personnel) ผู้ว่ำจ้ำง หรือ ผู้แทนของผู้ว่ำจ้ำงอำจมอบหน้ำที่และมอบอำนำจหรือถอดถอนให้ผู้แทนหรือ ผู้ช่วยผู้ว่ำจ้ำง อำนำจหน้ำที่นี้ให้รวมถึงผู้ว่ำจ้ำงสนำมประจำหน้ำงำน (Resident Engineer) และหรือผู้ตรวจงำนอิสระ (Independent Inspector) ซึ่งแต่งตั้งให้ตรวจสอบ กำรทดสอบ อุปกรณ์ เครื่องจัก รกลและวัสดุก่อสร้ำง กำรมอบหมำยตัวแทนและกำรถอดถอน จะต้อง กระทำเป็นหนังสือและจะมีผลบังคับเมื่อคู่สัญญำได้รับหนังสือไว้แล้ว ผู้ช่วยต้องเป็นบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมำะสมและมีควำมสำมำรถ ควำมชำนำญในกำรปฏิบตั ิ หน้ำที่และกำรใช้อำนำจ มีควำมสำมำรถในกำรใช้ภำษำในกำรสื่อสำรตำมข้อย่อย 1.4 (Law and Language)
3.3
บุคลากรที่ได้รับมอบอานาจ (Delegated Persons) บุคลำกรเหล่ำนี้ รวมถึงผู้แทนของผู้ว่ำจ้ำงและผู้ช่วย ซึ่งได้รับมอบอ ำนำจหน้ำที่ หรือมี อำนำจตำมที่ได้รับมอบอำนำจเท่ำนั้นที่จะได้รับอนุญำตให้ออกคำสั่งให้ผู้รับจ้ำงตำมขอบเขต ที่กำหนด กำรอนุมัติ กำรตรวจสอบ รับรอง ยินยอม กำรตรวจสอบกำรออกคำสั่ง คำชี้แจง ข้อเสนอ กำรร้องขอ กำรทดสอบ หรือกำรกระทำที่คล้ำยคลึงกันโดยบุคคลำกรที่ได้รับมอบ อำนำจตำมที่ได้รับมอบอำนำจจะมีผลเช่นเดียวกับกำรกระทำนั้นเป็นกำรกระทำของผู้ว่ำจ้ำง อย่ำงไรก็ตำม: (ก) เว้นแต่จะระบุไว้เป็นอย่ำงอื่นในกำรสื่อสำรของผู้ได้รับมอบอำนำจเกี่ยวกับกำรกระทำ ดังกล่ำวจะไม่เป็นกำรลดภำระหน้ำที่ ของผู้รับจ้ำงตำมสัญญำ รวมทั้งควำมรับผิดชอบใน ข้อผิดพลำดกำรละเว้นกำรคลำดเคลื่อนและกำรไม่ปฏิบัติตำมข้อกำหนด (ข) กำรไม่ยอมรับงำนใด ๆ โรงผลิตหรือวัสดุ ต้องไม่ถือเป็นกำรอนุมัติและจะไม่กระทบต่อ สิทธิของผู้ว่ำจ้ำงในกำรปฏิเสธในงำน โรงผลิตหรือวัสดุ และ (ค) หำกผู้รับจ้ำงมีข้อซักถำมในคำสั่งของบุคลำกรที่ได้รับมอบอำนำจ ผู้รับจ้ำงอำจส่งเรื่อง ไปยังผู้ว่ำจ้ำง ซึ่งจะต้องยืนยัน หรือขัดแย้ง หรือเปลี่ยนแปลงในคำวินิจฉัยตัดสินหรือคำสั่ง นั้น
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-71 | เงื่อนไขของสัญญา
FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
3.4
คาแนะนา: คาสั่งการ (Instruction) ผู้ว่ำจ้ำงอำจออกคำสั่งให้ผู้รับจ้ำงเพื่อปฏิบัติหน้ำที่ตำมสัญญำ คำสั่งแต่ละคำสั่งต้องได้รับ กำรบอกกล่ำวเป็นลำยลักษณ์อักษรและระบุถึงภำระหน้ำที่ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงข้อย่อย (หรือ เงื่อนไขอื่น ๆ ของสัญญำ) ซึ่งระบุภำระหน้ำที่ หำกคำสั่งดังกล่ำวเป็นกำรเปลี่ยนแปลงให้ เป็นไปตำมข้อย่อย 13 (Variations and Adjustments) ผู้รับจ้ำงจะต้องรับคำแนะนำจำกผู้ว่ำจ้ำงหรือตัวแทนผู้ว่ำจ้ำงหรือผู้ช่วยซึ่งได้มอบอำนำจที่ เหมำะสมตำมข้อนี้
3.5
การพิจารณาวินิจฉัย (Determinations) เมื่อใดก็ตำมที่เงื่อนไขเหล่ำนี้ระบุว่ำผู้ว่ำจ้ำงจะดำเนินกำรตำมข้อย่อย 3.5 นี้ เพื่อตกลงหรือ กำหนดเรื่องใด ๆ ผู้ว่ำจ้ำงจะปรึกษำกับผู้รับจ้ำงในควำมพยำยำมที่จะบรรลุข้อตกลง หำก ข้อตกลงไม่บรรลุผล ผู้ว่ำจ้ำงจะต้องมีกำรตัดสินอย่ำงเป็นธรรมตำมสัญญำโดยค ำนึงถึง สถำนกำรณ์ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ผู้ว่ำจ้ำงจะแจ้งให้ผู้รับจ้ำงทรำบถึงข้อตกลง หรือข้อตกลงแต่ละฉบับโดยมีรำยละเอียดกำร สนับสนุน คู่สัญญำแต่ละฝ่ำยจะให้ผลตำมข้อตกลง หรือข้อตกลงแต่ละฉบับเว้นแต่ผู้รับจ้ำง จะแจ้งให้ผู้ว่ำจ้ำงทรำบถึงข้อไม่เห็นด้วยของตนภำยใน 14 วันนับจำกวันที่ได้รับเอกสำร คู่สัญญำฝ่ำยหนึ่งฝ่ำยใดอำจส่งข้อพิพำทไปยัง DAB ตำมข้อย่อย 20.4 (Obtaining Dispute Adjudication Board’s Decision)
4.
ผู้รับจ้าง (The Contractor)
4.1
พันธะทั่วไปของผู้รับจ้าง (Contractor’s General Obligations) ผู้รับจ้ำงต้องออกแบบ และดำเนินกำรงำนให้เสร็จสมบูรณ์ตำมสัญญำ และรวมถึงจะแก้ไข ข้อบกพร่องต่ำง ๆ ในงำน เมื่อแล้วเสร็จ ผลงำนจะต้องเหมำะสมกับวัตถุประสงค์ของงำน ก่อสร้ำงตำมที่กำหนดไว้ในสัญญำ ผู้รับจ้ำงต้องจัดเตรียมเอกสำรของโรงผลิต และเอกสำรของผู้รับจ้ำงที่ระบุไว้ในสัญญำ รวมถึงบุคลำกร สิ่งของ เครื่องอุปโภคบริโภค และสิ่งของและบริกำรอื่น ๆ ทั้งหมดที่มี ลักษณะชั่วครำวหรือถำวรที่จำเป็นสำหรับกำรออกแบบนี้ รวมถึงกำรดำเนินกำรให้แล้วเสร็จ และกำรแก้ไขข้อบกพร่อง งำนนี้จะรวมถึงงำนต่ำง ๆ ที่จำเป็นเพื่อตอบสนองควำมต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำง หรือโดยนัย ตำมสัญญำ และงำนทั้งหมด (แม้ว่ำจะไม่ได้กล่ำวถึงในสัญญำ) แต่เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับควำม มั ่ น คงหรื อ เพื ่ อ ควำมสมบู ร ณ์ ห รื อ กำรด ำเนิ น งำนที ่ ป ลอดภั ย และเหมำะสม
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-72 |
เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
ผู้รับจ้ำงจะต้องรับผิดชอบต่อควำมเหมำะสม เพียงพอ เสถียรภำพและควำมปลอดภัยในกำร ปฏิบัติงำนในสถำนที่ก่อสร้ำง กำรดำเนินงำน และวิธีกำรก่อสร้ำงในงำนทั้งหมด ผู้รับจ้ำงจะต้องส่งรำยละเอียดและวิธีกำรตำมที่ผู้รับจ้ำงเสนอในกำรดำเนินงำนตำมโครงกำร แก่ผู้ว่ำจ้ำง กำรเปลี่ยนแปลงในวิธีกำรเหล่ำนี้จะต้องไม่มีกำรเปลี่ยนแปลงอย่ำงมีนัยสำคัญ โดยมิได้แจ้งให้ผู้ว่ำจ้ำงทรำบล่วงหน้ำ 4.2
หลักประกันการปฎิบัติงาน: หลักประกันสัญญา (Performance Security) ผู้รับจ้ำงต้องส่งหลักประกันสัญญำ เพื่อเป็นหลักประกันกำรปฏิบัติงำน ตำมจำนวนมูลค่ำ หลั ก ประกั น ที ่ ก ำหนดไว้ ใ นเอกสำรแนบผนวกในเอกสำรประกวดรำคำ หำกจ ำนวน หลักประกันนี้ไม่ได้กำหนดในเอกสำรแนบผนวกในเอกสำรประกวดรำคำก็ไม่ต้องบังคับใช้ ผู้รับจ้ำงต้องส่งมอบหลักประกัน สัญญำภำยใน 28 วันภำยหลังวันที่ผู้รับจ้ำงได้รับหนังสือ ตอบตกลง และส่งสำเนำให้ผู้ว่ำจ้ำง 1 ชุด หลักประกันสัญญำต้องออกให้จำกนิติบุคคลของ ประเทศที่โครงกำรตั้งอยู่ ซึ่งผู้ว่ำจ้ำงจะเป็นผู้พิจำรณำเห็นชอบให้ใช้แบบฟอร์มหลักประกัน ตำมที่กำหนดไว้ในภำคผนวก หรือใช้แบบฟอร์มเป็นอื่นก็ได้ แต่ต้องได้รับควำมเห็นชอบจำก ผู้ว่ำจ้ำง ผู้รับจ้ำงต้องแน่ใจว่ำหลักประกันสัญญำ จะต้องมีอำยุผลบังคบใช้จนกว่ำผู้รับจ้ำงทำงำนแล้ว เสร็จและรวมถึงระยะเวลำในกำรซ่อมบำรุงสิ่งชำรุดบกพร่อง เมื่อหลักประกันหมดอำยุก่อน และผู้ว่ำจ้ำงยังไม่ได้ให้ใบรับรองกำรแล้วเสร็จของงำน ผู้รับจ้ ำงต้องต่ออำยุหลักประกันตำม วันที่งำนจะแล้วเสร็จและต้องครอบคลุมกำรประกันซ่อมบำรุงสิ่งบกพร่องชำรุดอีกด้วย ผู้รับจ้ำงจะไม่เรียกร้องค่ำชดเชยให้หลักประกันสัญญำ เว้นแต่กรณีดังต่อไปนี้ (ก) ผู้รับจ้ำงละเลยไม่ต่ออำยุหลักประกันดังกล่ำวข้ำงต้น ผู้ว่ำจ้ำงอำจจะเรีย กร้องค่ำชดเชย เต็มจำนวนเงินของหลักประกัน (ข) ผู้รับจ้ำงละเลยไม่ชำระหนี้ให้แก่ผู้ว่ำจ้ำงตำมที่ผู้รับจ้ำงได้ตกลงไว้หรือตำมผลจำกข้อย่อย 2.5 (Employer’s Claims) หรือข้อ 20 (Claims, Disputes, Arbitration) ภำยใน 42 วัน หลังจำกมีข้อตกลงหรือจำกผลดังกล่ำวข้ำงต้น (ค) ผู้รับจ้ำงละเลยไม่ทำกำรแก้ไขสิ่งบกพร่องภำยหลัง 42 วันจำกวันทีผ่ ู้รับจ้ำงได้รับหนังสือ แจ้งให้ทรำบจำกผู้ว่ำจ้ำงให้ทำกำรแก้ไขสิ่งบกพร่อง (ง) ในสถำนกำรณ์ที่ผ ู้ว่ำจ้ำงที่จะยกเลิกสัญญำภำยใต้ข้อย่อย 15.2 (Termination by Employer) โดยไม่คำนึงถึงว่ำผู้ว่ำจ้ำงต้องออกหนังสือแจ้งให้ทรำบ ผู้ว่ำจ้ำงจะคุ้มครองและปกป้องผู้รับจ้ำงจำกควำมเสียหำย กำรสูญเสียและค่ำใช้จ่ำย (รวมถึง ค่ ำ ธรรมเนี ย มและค่ ำ ใช้ จ ่ ำ ยทำงกฎหมำย) อั น เป็ น ผลจำกกำรเรี ย กค่ ำ เสี ย หำยจำก หลักประกันสัญญำในกรณีที่ผู้ว่ำจ้ำง ไม่เรียกร้องค่ำชดเชย ค่ำเสียหำย
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-73 | เงื่อนไขของสัญญา
FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
ผู้ว่ำจ้ำงจะคืน หลักประกันสัญญำแก่ผู้รับจ้ำงภำยใน 21 วัน ภำยหลัง จำกผู้รับจ้ำงได้รับ หนังสือกำรรับรองผลงำน 4.3
ผู้แทนผู้รับจ้าง (Contractor’s Representative) ผู้รับจ้ำงจะต้องแต่งตั้งตัวแทนผู้รับจ้ำง และมอบอำนำจเท่ำที่จำเป็นให้ผู้แทนกระทำแทน ผู้รับจ้ำงตำมสัญญำนี้ ยกเว้นผู้แทนผู้รับจ้ำงได้ระบุชื่อในสัญญำ ก่อนวันที่ผู้รับจ้ำงเริ่มปฏิบัติงำนตำมสัญญำ ผู้รับ จ้ำงจะต้องเสนอชื่อผู้แทนผู้รับจ้ำงต่อ ผู้ว่ำจ้ำงเพื่อขออนุญำตแต่งตั้งตัวแทนผู้ รับจ้ำง หำก กำรอนุญำตถูกระงับหรือถูกยกเลิกหรือผู้แทนผู้รับจ้ำงไม่ปฏิบัติหน้ำที่ ในฐำนะของผู้แทนผู้ รับจ้ำง ผู้รับจ้ำงจะต้องแต่งตั้งชื่อผู้แทนผู้รับจ้ำงคนใหม่ที่มีควำมเหมำะสม ผู้รับจ้ำงจะไม่แต่งตั้งผู้แทนของผู้รับจ้ำงโดยไม่ได้รับควำมยินยอมจำกผู้ว่ำจ้ำงก่อนได้รับ ควำมเห็นชอบ ผู ้ แ ทนของผู ้ ร ั บ จ้ ำ งในนำมของผู ้ ร ั บ จ้ ำ งจะเป็ น ไปตำมข้ อ ย่ อ ย 3.4 (Instruction) ผู้แทนของผู้รับจ้ำงอำจมอบอำนำจ ให้แก่บุคคลที่มีอำนำจและอำจยกเลิกกำรมอบอำนำจ เมื่อใดก็ได้ กำรมอบอำนำจหรือกำรเพิกถอนจะไม่มีผลจนกว่ำผู้ว่ำจ้ำงจะได้รับหนังสือแจ้ง ล่วงหน้ำจำกผู้แทนของผู้รับมอบอำนำจ โดยตั้งชื่อบุคคลนั้นและกำหนดอำนำจหน้ำที่และ อำนำจที่ได้รับมอบอำนำจหรือเพิกถอน ตัวแทนของผู้รับ จ้ำงและบุคคลเหล่ำนี้จะต้องมีควำมช ำนำญในภำษำเพื่อกำรสื่ อ สำรที่ กำหนดไว้ในข้อย่อย 1.4 (Law and Language)
4.4
ผู้รับจ้างช่วง (Subcontractors) ผู้รับจ้ำงต้องไม่จ้ำงช่วงงำนทั้งหมด ผู้รับจ้ำงต้องรับผิดชอบต่อกำรทำงำนและควำมบกพร่องของผู้รับจ้ำงช่วง หรือลูกจ้ำงหรือ ตัวแทน เสมือนหนึ่งเป็นกำรทำงำนหรือควำมบกพร่องของผู้รับจ้ำงเอง เว้นแต่ระบุเป็นอย่ำง อื่นในเงื่อนไขเฉพำะ ผู้รับจ้ำงจะต้องแจ้งแก่ผู้ว่ำจ้ำงไม่น้อยกว่ำ 28 วันในเรื่องต่อไปนี้ (ก) กำรแต่งตั้งผู้รับจ้ำงช่วงโดยมีรำยละเอียดซึ่งรวมถึงประสบกำรณ์ที่เกี่ยวข้อง (ข) กำรเริ่มงำนของผู้รับจ้ำงช่วงและ (ค) กำรเริ่มงำนของผู้รับจ้ำงช่วงในสถำนที่ก่อสร้ำง
4.5
ผู้รับจ้างช่วงที่ได้รับการแต่งตั้ง (Nominated Subcontractors) ในข้อย่อยนี้ "ผู้รับจ้ำงช่วงที่ได้รับกำรแต่งตั้ง" หมำยถึงผู้รับจ้ำงช่วงที่ผู้ว่ำจ้ำงตำมข้อย่อย 13 (Variations and Adjustments) มอบหมำยให้ผู้รับจ้ำงเป็นผู้รับจ้ำงช่วง ผู้รับจ้ำงต้องไม่มี ภำระผูกพันใด ๆ ในกำรจ้ำงผู้รับจ้ำงช่วงที่ได้รับกำรเสนอชื่อ ซึ่งหำกผู้รั บจ้ำงมีกำรคัดค้ำน
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-74 |
เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
ด้ว ยเหตุและผล จะต้องแจ้งแก่ผู้ว ่ำจ้ำงให้ทรำบโดยเร็วที่ส ุดเท่ำที่จะเป็นไปได้ พร้อม รำยละเอียดสนับสนุน 4.6
การร่วมมือ (Co-operation) ตำมที่กำหนดไว้ในสัญญำหรือตำมคำสั่งของผู้ว่ำจ้ำง ในโอกำสที่สมควรอนุญำตให้ผู้รับจ้ำง ปฏิบัติงำน ดังนี้ (ก) บุคลำกรของผู้ว่ำจ้ำง (ข) ผู้รับจ้ำงรำยอื่นของผู้ว่ำจ้ำง (ค) บุคลำกรอื่นของหน่วยงำนของรัฐ ซึ่งผู้ว่ำจ้ำงได้จ้ำงให้ทำงำนอื่นอยู่ใกล้กับพื้นที่โครงกำรและไม่ได้รวมอยู่ในโครงกำร คำสั่งใด ๆ อันจะเป็นเหตุเป็นกำรเปลี่ยนแปลงงำนและก่อให้เกิดค่ำใช้จ่ำยที่คำดไม่ถึง กำร ช่วยเหลือต่อบุคลำกรเหล่ำนี้และหรือผู้รับจ้ำงรำยอื่น ซึ่งอำจต้องกำรใช้เครื่องมือของผู้ รับจ้ำง งำนชั่วครำว หรือมีกำรต้องจัดทำกำรเข้ำถึงพื้นที่ ซึ่งอยู่ในควำมรับผิดชอบของผู้ รับจ้ำง ผู้รับจ้ำงต้องรับผิดชอบต่อกิจกรรมกำรก่อสร้ำงของตนในสถำนที่ก่อสร้ำงและประสำนงำน กิจกรรมของตนเองกับผู้รับจ้ำงรำยอื่นตำมขอบเขตที่กำหนด (ถ้ำมี) ตำมวัตถุประสงค์ ควำม ต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำง (Employer Requirements) หำกภำยใต้สัญญำ ผู้ว่ำจ้ำงต้องกำรให้ผู้ว่ำจ้ำงก่อสร้ำงฐำนรำก โครงสร้ำง โรงงำน/โรงผลิต หรือทำงเข้ำออกตำมเอกสำรของผู้รับจ้ำง โดยผู้รับจ้ำงจะต้องยื่นเสนอเอกสำรนั้นต่อผู้ ว่ำจ้ำงตำมระยะเวลำทีก่ ำหนดไว้วัตถุประสงค์ ข้อกำหนดของผู้ว่ำจ้ำง
4.7
การเริ่มงาน (Setting Out) ในกำรออกเริ่มงำนก่อสร้ำงผู้รับจ้ำงต้องออกเริ่มงำนก่อสร้ำง จำกหมุดหลักฐำนเริ่มงำน (Original Point) แนวและระดับหรือสิ่งอ้ำงอิงตำมที่ก ำหนดไว้ในสัญญำ ผู้ว ่ำจ้ำงต้อง รับผิดชอบควำมถูกต้องของตำแหน่งที่ตั้งของสิ่งปลูกสร้ำง และผู้รับจ้ำงอำจต้องปรับแก้ ควำมคลำดเคลื่อนตำแหน่งที่ตั้ง ระดับ ขนำดกว้ำงยำวสูง หรือแนวทิศทำงของสิ่งปลูกสร้ำง
4.8
ข้อปฏิบัติความปลอดภัย (Safety Procedures) ผู้รับจ้ำงต้อง (ก) ปฏิบัติตำมข้อระเบียบควำมปลอดภัยทั้งปวง (ข) ป้องกันควำมปลอดภัยให้บุคลำกรทุกคนที่ทำงำนอยู่ในพื้นที่โครงกำร (ค) รักษำพื้นที่โครงกำรและงำนโครงกำรโดยปรำศจำกสิ่งกีดขวำงเป็นอัตรำยต่อผู้ทำงำน สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-75 | เงื่อนไขของสัญญา
FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
(ง) จัดท ำรั้ว แสงสว่ำง เวรยำมงำนโครงกำรจนกว่ำแล้วเสร็จตำมข้อ 10 (Employer’s Taking Over) และ (จ) จัดทำสิ่งก่อสร้ำงสิ่งชั่วครำว (รวมทั้ง ถนน ทำงเท้ำ รั้ว และยำม) ที่จำเป็นในกำรก่อสร้ำง เพื่อกำรใช้งำน และป้องกันสิ่งสำธำรณะและผู้อยู่ใกล้เคียงโครงกำร 4.9
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance) ผู้รับจ้ำงต้องจัดให้มีระบบกำรประกันคุณภำพที่น่ำเชื่อถือตำมวัตถุประสงค์ในสัญญำ ระบบ จะต้องมีรำยละเอียดตำมที่ระบุไว้ในสัญญำ ผู้ว่ำจ้ำงต้องเป็นผู้มีหน้ำที่ตรวจสอบระบบกำร ประกันคุณภำพนั้น รำยละเอียดคู่มือระเบียบนั้น ต้องเสนอให้ผู้ว่ำจ้ำงก่อนกำรออกแบบและ ก่อสร้ำง คู่มือระเบียบใดที่เป็นข้อเทคนิคจะต้องเสนอให้ผู้ว่ำจ้ำง โดยมีหลักฐำนกำรเห็นชอบ ของผู้รับจ้ำงเสียก่อนจัดทำเป็นคู่มือ กำรปฏิบัติตำมระบบกำรประกันคุณภำพนั้นไม่ทำให้ผู้รับจ้ำงพันจำกหน้ำที่ควำมรับผิดชอบ และพันธะผูกพันตำมสัญญำ
4.10
ข้อมูลของพื้นที่โครงการ (Site Data) ผู้ว ่ำจ้ำงต้องจัดข้อมูล ต่ำง ๆ แก่ผ ู้รับจ้ำงให้ทรำบถึง ข้อ มูล ทั้ งหมดที่เกี ่ยวข้ องในกำร ครอบครองของผู้ว่ำจ้ำงเกี่ยวกับสภำพใต้ดิน และทำงอุทกวิทยำในสถำนที่ก่อสร้ำงก่อนวัน ท ำงำน รวมถึ ง ประเด็ น ด้ ำ นสิ่ ง แวดล้ อ ม ผู ้ ว ่ ำ จ้ ำงจะต้อ งจั ดหำข้อ มู ล ทั้ ง หมดที่ เ ป็ น ผู้ ครอบครองให้แก่ผู้รับจ้ำงเช่นเดียวกันในวันที่เริ่มก่อสร้ำง ผู้รับจ้ำงต้องรับผิดชอบในกำรตรวจสอบและตีควำมข้อมูลดังกล่ำวทั้งหมด ผู้ว่ำจ้ำงไม่มีส่วน รับผิดชอบต่อควำมถูกต้อง ควำมเพียงพอ หรือควำมสมบูรณ์ของข้อมูลดังกล่ำวเว้นแต่ที่ระบุ ไว้ในข้อย่อย 5.1 (General Design Responsibilities)
4.11
ความเพี ย งพอและยอมรั บ ได้ ข องค่ า จ้ า งตามสั ญ ญา (Sufficiency of Accepted Contract Amount) ผู ้ ร ั บ จ้ ำ งจะถื อ ว่ ำ พอใจกั บ ควำมถู ก ต้ อ งและควำมเพี ย งพอของรำคำตำมสั ญ ญำ เว้นแต่จะระบุไว้ในสัญญำ ค่ำจ้ำงที่ยอมรับได้รวมพันธะของสัญญำที่ผู้รับจ้ำงต้องปฏิบัติตำม สัญญำ (ซึ่งได้รวมเงินสำรองเผื่อจ่ำยไว้แล้ว) และสิ่งต่ำง ๆ ที่จำเป็นในกำรก่อสร้ำงโครงกำร ให้แล้วเสร็จ รวมถึงกำรซ่อมบำรุงรักษำส่วนบกพร่องที่เกิดขึ้น
4.12
สภาพความยากลาบากที่คาดไม่ถึง (Unforeseenable Difficulties) เว้นแต่ระบุเป็นอย่ำงอื่นในสัญญำ:
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-76 |
เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
(ก) ผู้รับจ้ำงจะถือว่ำได้รับข้อมูลที่จำเป็นทั้งหมดเกี่ยวกับควำมเสี่ยง ควำมไม่แน่นอน และ สถำนกำรณ์อื่น ๆ ที่อำจมีผลต่อหรือส่งผลกระทบต่องำน (ข) โดยกำรลงนำมในสัญญำ ผู้รับจ้ำงยอมรับควำมรับผิดชอบโดยรวมสำหรับกำรคำดกำรณ์ ถึงควำมยำกลำบำกและค่ำใช้จ่ำยในกำรสร้ำงผลงำนเสร็จสมบูรณ์ และ (ค) รำคำของสัญญำจะไม่ได้รับกำรปรับเพื่อพิจำรณำถึงควำมยำกลำบำกหรือค่ำใช้จ่ำยที่ คำดไม่ถึง 4.13
เขตทางและสิ่งอานวยความสะดวก (Right of Way and Facilities) ผู้รับจ้ำงต้องรับ ภำระค่ำใช้จ่ำยทุกอย่ำงส ำหรับ กำรใช้เขตทำง ซึ่งผู้รับจ้ำงต้องใช้ และ ค่ำใช้จ่ำยอื่น ในกำรเข้ำถึงพื้นที่โครงกำร ผู้รับจ้ำงต้องรับภำระต่อควำมเสี่ยงและสิ่งอำนวย ควำมสะดวกอื่นที่อยู่ภำยนอกพื้นที่โครงกำรซึ่งผู้รับจ้ำงมีควำมจำเป็นต้องใช้ในกำรทำงำน ก่อสร้ำง
4.14
การหลีกเลี่ยงอุปสรรคกีดขวาง (Avoidance of Interference) ผู้รับจ้ำงต้องไม่ก่อให้เกิดอุปสรรคอันไม่จำเป็น หรือควำมไม่เหมำะสมดังนี้ (ก) กีดขวำงต่อสำธำรณะ หรือ (ข) กีดขวำงทำงเข้ำออกของถนนหรือทำงเท้ำสำธำรณะ ผู้รับจ้ำงต้องคุ้มครองประกันภัยให้ผู้ว่ำจ้ำงพ้นควำมรับผิดชอบจำกควำมเสียหำย กำร สูญเสียและค่ำใช้จ่ำย (รวมถึงค่ำธรรมเนียมและค่ำใช้จ่ำย) อัน เป็นผลเนื่องจำกอุปสรรคกีด ขวำงอันไม่สมควรดังกล่ำว
4.15
เส้นทางเข้าออก (Access Route) เป็นที่เข้ำใจว่ำผู้รับจ้ำงมีควำมพอใจในควำมเหมำะสมของเส้นทำงเข้ำออกของพื้นที่โครงกำร ผู้รับจ้ำงต้องใช้งำนโดยมีกำรป้องกันถนนหรือสะพำนไม่ให้เกิดควำมเสียหำยอันเกิดจำกกำร ขนส่งวัสดุของผู้รับจ้ำงหรือ กำรกระท ำอื่น ๆ จำกบุคลำกรของผู้รับจ้ำง โดยมีมำตรกำร ป้องกันควำมเสียหำยในกำรใช้รถใช้ถนน เว้นแต่ได้ระบุไว้ในสัญญำ ดังนี้ (ก) ผู้รับจ้ำง (ในฐำนะคู่สัญญำ) ต้องรับผิดชอบกำรบำรุงรักษำใด ๆ ที่จำเป็นอันเนื่องจำกใช้ งำนเส้นทำงเข้ำออก (ข) ผู้รับจ้ำงต้องจัดหำจัดทำป้ำยบอกเส้นทำงกำรเดินรถ และต้องได้รับอนุญำตในกำรใช้ทำง จำกหน่วยงำนที่รับผิดชอบ (ค) ผู้ว่ำจ้ำงไม่ต้องรับผิดชอบต่อกำรเรียกร้องค่ำชดเชยอันเกิดจำกกำรใช้เส้นทำงเข้ำออก (ง) ผู้ว่ำจ้ำงไม่ต้องรับประกันควำมสะดวก เหมำะสม และกำรจัดให้มีเส้นทำงเข้ำออก สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-77 | เงื่อนไขของสัญญา
FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
(จ) ค่ำใช้จ่ำยในกำรจัดให้มีเส้นทำงเข้ำออกนั้น ผู้รับจ้ำงต้องเป็นผู้รับผิดชอบทั้งหมด 4.16
การขนส่งวัสดุ (สินค้า) (Transport of Goods) เว้นแต่จะระบุในเงื่อนไขเฉพำะ (ก) ผู ้ ร ั บ จ้ ำ ง ต้ อ งแจ้ ง ให้ ผ ู ้ ว ่ ำ จ้ ำ งทรำบไม่ น ้ อ ย 21 วั น จำกวั น ที ่ จ ะท ำกำรขนย้ ำ ย เครื่องจักรกลเครื่องมือขนำดใหญ่ หรือวัสดุเข้ำสู่พื้นที่โครงกำร (ข) ผู้รับจ้ำงต้องรับผิดชอบในกำรบรรจุ ยกขึ้นวำง ขนส่ง กำรรับของ ยกลงวำง กำรจัดเก็บ และกำรป้องกันวัสดุและสิ่งที่มีควำมจำเป็นใช้ในกำรก่อสร้ำง (ค) ผู้รับจ้ำงต้องประกันคุ้มกันผู้ว่ำจ้ำงพ้นควำมรับผิดชอบจำกกำรเสียหำย กำรสูญเสีย และ ค่ำใช้จ่ำย (รวมทั้งค่ำธรรมเนียมและค่ำใช้จ่ำย) อันเป็นผลจำกกำรขนส่งและต้องเจรจำ ต่อรองและจ่ำยค่ำชดเชยทั้งหมดอันเกิดจำกกำรขนส่งของผู้ว่ำจ้ำง
4.17
เครื่องมือของผู้รับจ้าง (Contractor’s Equipment) ผู้รับจ้ำงต้องรับผิดชอบอุปกรณ์เครื่องมือ เมื่อนำเข้ำมำอยู่ภำยในพื้นที่โครงกำรให้เข้ำใจว่ำ เครื่องมืออุปกรณ์ที่นำเข้ำมำนั้น ผู้รับจ้ำงมีวัตถุประสงค์นำมำใช้งำนก่อสร้ำง
4.18
การปกป้องสิ่งแวดล้อม (Protection of the Environment) ผู้รับจ้ำงต้องมีมำตรกำรที่เหมำะสมในกำรปกป้องสิ่งแวดล้อม (ทั้งภำยนอก ภำยในพื้นที่ โครงกำร) และลดควำมเสียหำยและลดกำรก่อควำมรำคำญเดือดร้อนต่อสำธำรณชนและ ทรัพย์สินอันเกิดมลภำวะเสียงและผลจำกกำรดำเนินงำนอื่น ๆ ผู้รับจ้ำงต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่ำกำรปล่อยมลสำรลงบนพื้นผิว และสิ่งปฏิกูลจำกกิจกรรม ของผู้รับจ้ำงต้องไม่เกินค่ำที่ระบุไว้ในเอกสำรวัตถุประสงค์ ควำมต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำง และ ต้องไม่เกินค่ำที่กำหนดโดยกฎหมำยที่ใช้บังคับ
4.19
ไฟฟ้า ประปา และแก๊ส (Electricity, Water and Gas) เว้นแต่ระบุไว้ต่อไปนี้ ผู้รับจ้ำงต้องรับผิดชอบจัดให้มีไฟฟ้ำ น ้ำประปำ และบริกำรอื่นที่ จำเป็นต้องมี สำธำรณูปโภคเหล่ำนี้ ผู้รับจ้ำง ต้องมีหน้ำที่ใช้หรือเพื่อประโยชน์ในกำรก่อสร้ำงงำนตำมรำยละเอียดของรำคำที่ กำหนดในข้อกำหนด ผู้รับจ้ำงต้องรับควำมเสี่ยงในค่ำใช้จ่ำย และต้องจัดหำภำชนะและ อุปกรณ์ เพื่อกำรตรวจวัดกำรใช้สำธำรณูปโภคเหล่ำนี้ ปริมำณที่ใช้และค่ำใช้จ่ำยในกำรใช้ต้องได้รับพิจำรณำเห็นชอบจำกผู้ว่ำจ้ำงตำมข้อย่อย 2.5 (Employer’s Clams) และข้อย่อย 3.5 (Determinations) ผู้รับจ้ำงต้องชำระค่ำใช้จ่ำยนี้ ให้แก่ผู้ว่ำจ้ำง
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-78 |
เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
4.20
เครื่องมือของผู้ว่าจ้างและการใช้วัสดุ (Employer’s Equipment and Free-Issue Material) ผู้ว่ำจ้ำงจะจัดให้มีเครื่องมือ (หำกมี) ให้ผู้รับจ้ำงใช้ก่อสร้ำง ตำมรำยละเอียดระบุไว้ในกำร จัดหำและรำคำในเอกสำรวัตถุประสงค์ ควำมต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำง เว้นแต่จะระบุไว้เป็นอื่น ในเอกสำรวัตถุประสงค์ ควำมต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำง ดังนี้ (ก) ผู้ว่ำจ้ำงจะรับผิดชอบแต่เครื่องมือของผู้ว่ำจ้ำงเอง เว้นแต่ว่ำ (ข) ผู้รับจ้ำงจะรับผิดชอบเครื่องมือแต่ละรำยกำรของผู้ว่ำจ้ำงในทุกขณะที่บุคลำกรของ ผู้รับจ้ำงใช้งำน ขับขี่ บังคับ ดำเนินกำร หรือควบคุม ปริมำณและหรือจำนวน (ตำมรำคำที่กำหนดไว้) ในกำรใช้เครื่องมือของผู้ว่ำจ้ำง ตำมที่ตกลง ไว้โดยผู้ว่ำจ้ำงจะเป็นผู้พิจำรณำตำมข้อย่อย 2.5 (Employer’s Claims) และข้อย่อย 3.5 (Determination) แล้วผู้รับจ้ำงต้องจ่ำยค่ำใช้จ่ำยนี้ให้แก่ผู้ว่ำจ้ำง ผู้ว่ำจ้ำงจะจัดหำวัสดุให้ เปล่ำ ตำมที่กำหนดไว้ในข้อกำหนดให้แก่ผู้รับจ้ำง ผู้ว่ำจ้ำงจะรับผิดชอบเรื่องควำมเสี่ยงและ ค่ำวัสดุให้แก่ผู้รับจ้ำงตำมที่กำหนดไว้ในสัญญำ ผู้รับจ้ำงต้องตรวจสอบด้วยตำเปล่ำ และต้อง แจ้งทันทีต่อผู้ว่ำจ้ำง เมื่อวัสดุที่จัดหำให้ไม่ครบจำนวนหรือชำรุดหรือเสียหำย เว้นแต่ทั้ง 2 ฝ่ำยจะตกลงกัน ผู้ว่ำจ้ำงจะดำเนินกำรชดเชยวัสดุที่ชำรุดหรือเสียหำย หลังจำกกำรตรวจวัดด้วยตำเปล่ำ ผู้รับจ้ำงต้องเก็บรักษำ ครอบครองและควบคุมวัสดุนั้น ผู้รับจ้ำงต้องมีพันธะในกำรตรวจสอบ เก็บรักษำครอบครองแล้ว จะไม่เป็นเหตุให้ผู้รับจ้ำง พ้นควำมรับผิดชอบใด ๆ จำกกำรตรวจวัดด้วยตำเปล่ำ
4.21
รายงานความก้าวหน้า (Progress Reports) เว้นแต่จะระบุไว้ในเงื่อนไขเฉพำะ ผู้รับจ้ำงต้องรำยงำนจัดทำควำมก้ำวหน้ำรำยเดือนเสนอ ให้ผู้ว่ำจ้ำงจำนวน 6 ชุด รำยงำนของเดือนแรกจะครอบคลุมช่วงเวลำ 30 วันปฏิทินโดยนับ เริ่มวันที่เริ่มงำนก่อสร้ำงโครงกำร และต่อไป ผู้รับจ้ำงต้ องน ำเสนอรำยงำนทุก ๆ เดือน ภำยใน 7 วัน ภำยหลัง 30 วัน กำรรำยงำนต้องต่อเนื่องกันจนกระทั่งงำนแล้วเสร็จสมบูรณ์ ของโครงกำร และต้องลงวันที่ส่งมอบของงำนแล้วเสร็จด้วย (Taking Over Certificate for the Work) รำยงำนควำมก้ำวหน้ำต้องประกอบด้วย (ก) ภำพแสดงควำมก้ำวหน้ำพร้อมรำยละเอียดอธิบำยกำรด ำเนินงำนของแต่ละขั้นตอน ผู้รับจ้ำงต้องแนบหลักฐำน กำรจัดซื้อจัดหำวัสดุ กำรผลิตชิ้นส่วน ที่ขนส่งเข้ำพื้นที่โครงกำร กำรก่อสร้ำง กำรติดตั้งและกำรทดสอบ ให้รวมกำรทำงำนของผู้รับจ้ำงช่วงของงำนดังกล่ำว ด้วยตำมข้อ 5 (Nominated Subcontractors) (ข) ภำพถ่ำยแสดงสถำนะกำรผลิตชิ้นส่วนและควำมก้ำวหน้ำของงำนก่อสร้ำง สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-79 | เงื่อนไขของสัญญา
FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
(ค) สำหรับกำรผลิตชิ้นส่วนรำยกำรสำคัญต้องระบุนำมผู้ผลิตสถำนที่ผลิต ร้อยละของงำนที่ ผลิต แผนเวลำของกำรผลิต คือ (1) วันที่เริ่มผลิต (2) กำรตรวจสอบของผู้รับจ้ำง (3) กำรทดสอบ (4) วันที่ขนส่งและวันที่ส่งถึงพื้นที่โครงกำร ( ง ) ร ำ ย ก ำ ร ล ะ เ อ ี ย ด ข ้ อ ย ่ อ ย 6. 10 ( Records of Contractor’ s Personnel and Equipment) (จ) สำเนำหนังสือกำรรับรองกำรประกันคุณภำพ ผลกำรทดสอบ และหนังสือรับรองของ วัสดุ (ฉ) หนั ง สื อ โต้ ต อบตำมข้ อ ย่ อ ย 2.5 (Employer’s Claims) และข้ อ ย่ อ ย 20.1 (Contractor’s Claim) (ช) สถิติกำรเกิดเหตุควำมไม่ปลอดภัย ให้รวมถึงอุบัติเหตุอันตรำยและกิจกำรเกี่ยวกับกำร ป้องกันสิ่งแวดล้อมและกำรประชำสัมพันธ์ต่อสำธำรณชน (ญ) เปรียบเทียบควำมก้ำวหน้ำของงำนจริงกับแผนงำนที่กำหนดไว้ พร้อมด้วยเหตุกำรณ์ รำยละเอียดอุปสรรคที่เป็นเหตุทำให้กำรทำงำนล่ำช้ำ และมำตรกำรในกำรเร่งรัดทำงำนให้ ทันกับแผนงำนที่กำหนดไว้ 4.22
การรักษาความปลอดภัยพื้นที่โครงการ (Security of the Site) เว้นแต่ระบุไว้ในเงื่อนไขเฉพำะ (ก) ผู้รับจ้ำงต้องรับผิดชอบไม่อนุญำตบุคคลภำยนอกพักอยู่ในพื้นที่โครงกำร และ (ข) ให้จ ำกัดจ ำนวนบุคลำกรของผู้รับจ้ำงและบุคลำกรของผู้ว่ำจ้ำงและบุคคลอื่นของผู้ รับจ้ำง ผู้รับจ้ำงต้องแจ้งผู้แทนผู้ว่ำจ้ำงหรือผู้ว่ำจ้ำงให้ทรำบถึงจำนวนดังกล่ำว
4.23
การปฏิบัติงานของผู้รับจ้าง (Contractor’s Operatios on Site) ผู้รับจ้ำงต้องทำงำนอยู่ในเขตพื้นที่โครงกำรและพื้นที่เพิ่มเติมที่ผู้รับจ้ำงจัดหำเองซึ่งได้รับ ควำมเห็นชอบจำกผู้ว่ำจ้ำงแล้วเพื่อทำงำนก่อสร้ำง ผู้รับจ้ำงต้องมีมำตรกำรที่จำเป็นในกำร ระมัดระวังกำรป้องกันเครื่องมือและบุคลำกรของผู้รับจ้ำง พื้นที่ ซึ่งผู้รับจ้ำงเช่ำไว้ทำงำนนั้น ต้องไม่ติดกับพื้นที่โครงกำร ในระหว่ำงงำนก่อสร้ำง ผู้รับจ้ำงต้องรักษำพื้นที่โครงกำรให้ปรำศจำกสิ่งกีดขวำงที่ไม่จำเป็น ผู้รับจ้ำงต้องรักษำเครื่องมือและวัสดุส่วนเกิน ผู้รับจ้ำงต้องกำจัดขนไปทิ้ง เศษวัตถุก่อสร้ำง หรือ เศษวัตถุจำกงำนก่อสร้ำงชั่วครำวซึ่งไม่จำเป็นใช้งำนอีกแล้วออกจำกพื้นที่โครงกำร
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-80 |
เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
ในกำรออกหนังสือรับรองผลงำน ผู้รับจ้ำงต้องขนย้ำยทำควำมสะอำดพื้นที่ เช่น เครื่องมือ เศษวัสดุ เศษโครงสร้ำงงำนชั่วครำว ต้องขนย้ำยออกทิ้งเพื่อให้พื้นที่สะอำดและมีควำม ปลอดภัย แต่อย่ำงไรก็ดี ผู้รับจ้ำงอำจจะเก็บพัสดุบำงอย่ำงไว้เพื่อกำรซ่อมบำรุงสิ่งปลูกสร้ำง ในช่วงเวลำกำรประกันกำรชำรุดบกพร่องของงำนก่อสร้ำงนั้นตำมพันธะสัญญำของผู้รับจ้ำง 4.24
วัตถุโบราณใต้ดิน (Fossils) วัตถุโบรำณที่เป็นเหรียญ สิ่งของโบรำณมีค่ำ สิ่งปลูกสร้ำงโบรำณในเชิงธรณีวิทยำ หรือใน เชิงโบรำณวัตถุทำงประวัติศำสตร์ ที่ขุดพบเจอในพื้นที่โครงกำร จะต้องแจ้งให้เจ้ำหน้ำที่ ผู้เกี่ยวข้องและผู้ว่ำจ้ำงรับทรำบ โดยผู้รับจ้ำงต้องไม่เคลื่อนย้ำยวัตถุนั้นและต้องใช้ควำม ระมัดระวังมิให้บุคลำกรของผู้รับจ้ำง หรือผู้อื่นโยกย้ำยหรือทำให้เกิดควำมเสียหำยต่อวัตถุ โบรำณเหล่ำนั้น ทันทีที่ผู้รับจ้ำงขุดพบวัตถุโบรำณ ต้องมี หนังสือแจ้งให้ผู้ว่ำจ้ำง ผู้ว่ำจ้ำงก็จะมีคำสั่งในกำร จัดกำรกับวัตถุโบรำณเหล่ำนั้น หำกผู้รับจ้ำงต้องได้รับงำนเพิ่มดังกล่ำว ทำให้งำนก่อสร้ำง ต้องล่ำช้ำและมีค่ำใช้จ่ำยเพิ่มจำกคำสั่งผู้ว่ำจ้ำง ผู้รับจ้ำงต้องมีหนังสือแจ้งต่อผู้ว่ำจ้ำงในเรื่อง ดังกล่ำวตำมข้อย่อย 20.1 (Contractor’s Claims) ดังนี้ (ก) ขยำยเวลำทดแทนเวลำที ่ ต ้ อ งล่ ำ ช้ ำ ตำมข้ อ ย่ อ ย 8.4 (Extension of Time for Completion) และ (ข) ค่ำใช้จ่ำยของงำนเพิ่มดังกล่ำวเพิ่มในรำคำจ้ำงตำมสัญญำ เมื่อผู้ว่ำจ้ำงได้รับหนังสือแจ้ง ของผู้รับจ้ำงข้ำงต้น ผู้ว่ำจ้ำงต้องดำเนินกำรข้อย่อย 3.5 (Determinations) พิจำรณำต่อไป
5. 5.1
การออกแบบ (Design) พันธะทั่วไปในการออกแบบ (General Design Obligations) ผู้รับจ้ำงจะต้องพิจำรณำก่อนวันฐำน (Base Date) ถึงวัตถุประสงค์ ควำมต้องกำรของผู้ ว่ำจ้ำง (รวมถึงเกณฑ์กำรออกแบบ และกำรคำนวณ หำกมี) ผู้รับจ้ำงต้องรับผิดชอบในกำร ออกแบบสิ่งก่อสร้ำง และควำมถูกต้องของวัตถุประสงค์ ควำมต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำง (รวมถึง เกณฑ์กำรออกแบบและกำรคำนวณ) ยกเว้นตำมที่ระบุไว้ด้ำนล่ำง ผู ้ ว ่ ำ จ้ ำ งจะไม่ ร ั บ ผิ ด ชอบต่ อ ข้ อ ผิ ด พลำดควำมไม่ ถ ู ก ต้ อ งหรื อ กำรละเว้ น ใด ๆ ตำม วัตถุประสงค์ ควำมต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำง ตำมที่ระบุไว้ในสัญญำ และจะไม่ถือว่ำเป็นกำรให้ ควำมถูกต้องหรือครบถ้วนของข้อมูล หรือข้อมูลใด ๆ ยกเว้นตำมที่ระบุไว้ด้ำนล่ำงนี้ ข้อมูล ใด ๆ ที่ผู้รับจ้ำงได้รับจำกผู้ว่ำจ้ำง หรืออื่น ๆ จะไม่ช่วยลดภำระหน้ำที่ของผู้รับจ้ำงจำกควำม รับผิดชอบในกำรออกแบบและกำรดำเนินงำนในโครงกำร
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-81 | เงื่อนไขของสัญญา
FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
อย่ำงไรก็ตำมผู้ว่ำจ้ำงจะต้องรับผิดชอบต่อควำมถูกต้ องของส่วนต่ำง ๆ ตำมวัตถุประสงค์ ควำมต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำง และข้อมูลต่อไปนี้ และข้อมูลที่ผู้ว่ำจ้ำง (หรือในนำมของผู้ว่ำจ้ำง) จัดหำให้ (ก) ส่ว นข้อมูล และข้อมูล ที่ระบุไว้ในสัญญำว่ำไม่ส ำมำรถเปลี่ยนแปลงได้ห รือ ในควำม รับผิดชอบของผู้ว่ำจ้ำง (ข) คำจำกัดควำมของวัตถุประสงค์ของงำนหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของงำน (ค) เกณฑ์สำหรับกำรทดสอบและกำรปฏิบัติงำนที่เสร็จสมบูรณ์ และ (ง) บำงส่วนข้อมูลและข้อมูลที่ไม่สำมำรถตรวจสอบได้โดยผู้รับจ้ำง เว้นแต่จะระบุไว้เป็น อย่ำงอื่นในสัญญำ 5.2
สารบบเอกสารของผู้รับจ้าง (Contractor’s Document) สำรบบเอกสำรของผู้ร ับ จ้ำงประกอบด้ว ยเอกสำรทำงเทคนิ คตำมที่ร ะบุ อยู่ ในเอกสำร วัตถุป ระสงค์ ควำมต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำง เอกสำรต้องถูกต้อง ได้รับกำรอนุมัติตำมกฏ ระเบียบและเอกสำรตำมข้อย่อย 5.6 (As Built Document) และข้อย่อย 5.7 (Operation and Maintenance) เว้นแต่จะระบุเป็นอื่นในเอกสำรวัตถุประสงค์ของผู้ว่ำจ้ำง สำรบบ เอกสำรของผู ้ ร ั บ จ้ ำงต้อ งเขีย นด้ ว ยภำษำเพื ่อ กำรสื ่อ สำรตำมข้ อ ย่ อ ย 1.4 (Law and Language) ผู้รับจ้ำงต้องจัดท ำสำรบบเอกสำรของผู้รับจ้ำง และผู้รับจ้ำงยังต้องท ำเอกสำรอื่นเท่ำที่ จำเป็นให้พนักงำนของผู้รับจ้ำง พนักงำนของผู้ว่ำจ้ำงมีสิทธิ์ที่จะตรวจเอกสำรที่จัดทำขึ้นนั้น ทุกครั้งที่มีกำรจัดทำขึ้น หำกเอกสำรวัตถุประสงค์ ควำมต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำงระบุให้ทำสำรบบเอกสำรของผู้รับจ้ำง ผู้รับจ้ำงต้องเสนอมอบให้แก่ผู้ว่ำจ้ำงเพื่อกำรศึกษำทบทวนและพิจำรณำเห็นชอบอนุมัติ ผู้รับจ้ำงจะต้องเสนอให้แก่ผู้ว่ำจ้ำงตำมนั้น พร้อมด้วยหนังสือดังกล่ำวตำมข้ำงล่ำงนี้ พร้อม ด้วยบันทึกตำมหัวข้อ (1) “ช่วงระยะเวลำตรวจทำน (Review Period) ซึ่งหมำยถึงช่วง ระยะเวลำให้ผู้ว่ำจ้ำงทำกำรตรวจทำน (หำกมีกำรกำหนดไว้) และพิจำรณำอนุมัติ และ (2) สำรบบเอกสำรของผู้รับจ้ำงซึ่งไม่รวมเอกสำรอื่นใดที่ระบุไว้ไม่ต้องเสนอให้ตรวจทำนและ พิจำรณำขออนุมัติ เว้นแต่ได้มีระบุไว้ในเอกสำรวัตถุประสงค์ ควำมต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำง กำรตรวจทำนแต่ละ เรื่องต้องใช้เวลำไม่เกิน 21 วัน นับแต่วันที่ซึ่งผู้ว่ำจ้ำงได้รับเอกสำรจำกผู้รับจ้ำงพร้อมทั้ง หนังสือกำรส่งมอบของ ผู้รับจ้ำง ในหนังสือส่งมอบของผู้รับจ้ำงต้องระบุว่ำได้มีกำรพิจำรณำ แล้วพร้อมส่งมอบให้ผู้ว่ำจ้ำงตรวจทำน และพิจำรณำอนุมัติเห็นชอบตำมข้อย่อย 5.2 นี้เพื่อ
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-82 |
เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
กำรใช้กำรงำนต่อไป หนังสือของผู้รับจ้ำงยังระบุว่ำเอกสำรเหล่ำนี้ปฏิบัติตำมข้อสัญญำหรือ เป็นเอกสำรซึ่งไม่ได้ระบุไว้ในสัญญำ ในระยะเวลำกำรตรวจทำน ผู้ว่ำจ้ำงมีหนังสือแจ้งให้ผู้รับจ้ำงว่ำ เอกสำรนั้นบกพร่อง (ตำมที่ ระบุไว้) ไม่ครบถูกต้องกับสัญญำ หำกเอกสำรของผู้รับจ้ำงบกพร่องผิดกับสัญญำ ผู้ รับจ้ำง ต้องปรับปรุงแก้ไขและส่งมอบให้ใหม่เพื่อกำรตรวจทำน (หำกมีกำรระบุให้พิจำรณำอนุมัติ) ตำมข้อย่อย 5.2 นี้ ด้วยค่ำใช้จ่ำยของผู้รับจ้ำงเอง สำหรับส่วนงำนแต่ละส่วน และยกเว้นในกรณีที่คู่สัญญำตกลงเป็นอย่ำงอื่น: (ก) กำรดำเนินกำรของส่วนงำนดังกล่ำวจะต้องเริ่มต้นก่อนระยะเวลำกำรทบทวนเอกสำร ของผู้รับจ้ำงทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับกำรออกแบบและกำรดำเนินกำรดังกล่ำว (ข) กำรดำเนินกำรของส่วนงำนดังกล่ำวจะต้องเป็นไปตำมเอกสำรของผู้รับจ้ำงเหล่ำนี้ตำมที่ ยื่นเพื่อพิจำรณำ และ (ค) หำกผู้รับจ้ำงประสงค์ที่จะแก้ไขกำรออกแบบหรือเอกสำรใด ๆ ที่เคยยื่นเพื่อตรวจสอบ แล้ว ผู้รับจ้ำงต้องแจ้งให้ผู้ว่ำจ้ำงทรำบทันที หลังจำกนั้นผู้รับจ้ำงจะต้องส่งเอกสำรที่แก้ไข แล้วให้กับผู้ว่ำจ้ำงตำมขั้นตอนข้ำงต้น ข้อตกลงดังกล่ำว (ตำมวรรคก่อน) หรือกำรทบทวนใด ๆ (ภำยใต้ข้อย่อยหรืออื่น ๆ ) จะไม่ทำ ให้ลดภำระหน้ำที่หรือควำมรับผิดชอบของผู้รับจ้ำง 5.3
ภาระหน้าที่ของผู้รับจ้าง (Contractor’s Undertaking) ผู้รับจ้ำงต้องมีหน้ำที่ ออกแบบ สำรบบเอกสำรของผู้รับจ้ำง กำรดำเนินกำรก่อสร้ำงให้งำน แล้วเสร็จ ซึ่งต้องเป็นไปตำมข้อกำหนดดังนี้ (ก) ตำมกฎหมำยของประเทศนั้น และ (ข) เอกสำรประกอบแนบในสัญญำ ตำมที่ปรับเปลี่ยนหรือขยำยควำมโดยกำรเปลี่ยนแปลง
5.4
มาตรฐานทางเทคนิคและกฏระเบียบ (Technical Standard และ Regulations) งำนออกแบบ สำรบบเอกสำรของผู้รับจ้ำง กำรก่อสร้ำง และกำรแล้วเสร็จของงำนก่อสร้ำง ต้องปฏิบัติตำมกฏหมำยของประเทศที่โครงกำรตั้งอยู่ ซึ่งต้องถูกต้องกับมำตรฐำนทำง เทคนิค กำรก่อสร้ำงอำคำร และกฎหมำยสิ่งแวดล้อม ผลิตภัณฑ์จำกโครงกำรที่ถูกต้องตำม กฎหมำย และมำตรฐำนอื่น ๆ ตำมวัตถุประสงค์ระบุไว้ในเอกสำรวัตถุประสงค์ ควำม ต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำง ซึ่งถูกต้องตำมกฎหมำย กฎหมำย และมำตรฐำนที่เกี่ยวข้องกับงำนทั้งหมดหรือส่วนของงำนเหล่ำนี้ ซึ่งใช้ในงำนที่ ต้องส่งมอบให้แก่ผู้ว่ำจ้ำงภำยใต้หัวข้อ 10 (Employer’s Taking Over) อ้ำงอิงตำมสัญญำ จะต้องเป็นฉบับที่ใช้ ณ วันที่ ผู้รับจ้ำงเสนอรำคำเว้นแต่จะได้ระบุเป็นอื่น สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-83 | เงื่อนไขของสัญญา
FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
หำกมีกำรเปลี่ยนหรือมีมำตรฐำนฉบับใหม่ออกมำบังคับใช้ในประเทศนั้นภำยหลังวันที่ผู้ รับจ้ำงยื่นข้อเสนอเพื่อให้สอดคล้องกับเงื่อนไขดังนี้ (ก) ผู้ว่ำจ้ำงได้พิจำรณำแล้วว่ำต้องปฏิบัติตำมระเบียบ และ (ข) ข้อเสนอเพื่อกำรเปลี่ยนแปลง ผู้ว่ำจ้ำงจะพิจำรณำกำรเปลี่ยนแปลงตำมข้อ 13 (Variation and Adjustment) 5.5
การฝึกอบรม (Training) ผู้รับจ้ำงต้องด ำเนินกำรฝึกอบรมให้แก่พนักงำนของผู้ว่ำจ้ำงในกำรด ำเนินกำรและกำร บำรุงรักษำโครงกำรตำมที่ระบุในเอกสำรวัตถุประสงค์ของผู้ว่ำจ้ำง หำกในสัญญำได้ระบุว่ำ กำรฝึกอบรมดังกล่ำว ต้องดำเนินกำรฝึกอบรมก่อนกำรส่งมอบงำนให้แก่ผู้ว่ำจ้ำง ฉะนั้น งำนโครงกำรจะไม่ถือว่ ำแล้วเสร็จ และไม่เป็นกำรส่งมอบงำนตำมข้อย่อย 10.1 (Taking Over the Work and Sections) จนกว่ำกำรฝึกอบรมได้เสร็จสิ้น
5.6
แบบและเอกสารก่อสร้างจริง (As-Built Documents) ผู้รับจ้ำงต้องจัดเตรียมและเก็บรักษำข้อมูลกำรดำเนินกำรของงำนไว้อย่ำงครบถ้วน พร้อมทั้ง แสดงตำแหน่งที่ตั้งขนำดและรำยละเอียดของงำนที่ทำอย่ำงถูกต้องตำมที่กำหนดไว้ บันทึก เหล่ำนี้จะถูกเก็บไว้ ณ สถำนที่ก่อสร้ำง และจะใช้เฉพำะเพื่อวัตถุประสงค์ตำมข้อย่อยนี้ และ จะต้ อ งจั ด ส่ ง ส ำเนำสองชุ ด ให้ ก ั บ ผู ้ ว ่ ำ จ้ ำ งก่ อ นที ่ จ ะมี ก ำรทดสอบเมื ่ อ งำนแล้ ว เสร็ จ นอกจำกนี้ผู้รับจ้ำงต้องจัดเตรียมแบบก่อสร้ำงจริงให้กับผู้ว่ำจ้ำง โดยแสดงงำนทั้งหมดที่ ก่อสร้ำง และส่งให้ผู้ว่ำจ้ำงพิจำรณำตำมข้อย่อย 5.2 (Contractor’s Document) ผู้รับจ้ำง ต้องได้รับควำมยินยอมจำกผู้ว่ำจ้ำงเกี่ยวกับขนำด ระบบกำรอ้ำงอิง และรำยละเอียดที่ เกี่ยวข้องอื่น ๆ ก่อนที่จะมีกำรออกใบรับรองผลงำน ผู้รับจ้ำงจะต้องจัดหำแบบก่อสร้ำงจริง โดยมีจำนวน ตำมที่กำหนดในวัตถุประสงค์ ควำมต้องกำรของผู้ว่ำ จ้ำง ให้กับผู้ว่ำจ้ำง งำนนี้จะไม่ถือว่ำ แล้วเสร็จตำมวัตถุประสงค์ของงำนภำยใต้ข้อย่อยที่ 10.1 (Taking Over of the Works and Sections) จนกว่ำผู้ว่ำจ้ำงจะได้รับเอกสำรเหล่ำนี้
5.7
คู่มือการด าเนิน การโครงการและการบ ารุงรักษา (Operation and Maintenance Manuals) ก่อนเริ่มงำนกำรทดลองเพื่อกำรส่งมอบงำนแล้วเสร็จ ผู้รับจ้ำงต้องส่งมอบรำยละเอียดคู่มือ กำรดำเนินกำรโครงกำรและกำรบำรุงรักษำเพื่อที่จะส่งมอบงำนให้แก่ผู้ว่ำจ้ำงในกำรดำเนิน
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-84 |
เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
โครงกำร กำรบำรุงรักษำ กำรถอดเครื่อง กำรประกอบเครื่องคืน กำรปรับแก้ และกำรซ่ อม โรงงำน ผู้ว่ำจ้ำงจะต้องได้รับรำยละเอียดคู่มือฉบับสุดท้ำยตำมรำยละเอียดข้ำงต้นเสียก่อน จึงจะถือ ว่ำเป็นกำรส่งมอบงำนตำมข้อย่อย 10.1 (Taking Over of Works and Sections) นอกจำกนี้ยังต้องรวมรำยกำรอื่นตำมที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์ ควำมต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำง 5.8
ข้อผิดพลาดในการออกแบบ (Design Error) หำกมีข้อผิด ข้อตกหล่น ควำมคลุมเครือ ควำมไม่สม่ำเสมอ ควำมไม่เพียงพอ หรือบกพร่อง อื่น ซึ่งตรวจพบอยู่ในสำรบบเอกสำรของผู้รับจ้ำง ผู้รับจ้ำงต้องทำกำรปรับปรุงแก้ไขด้วย ค่ำใช้จ่ำยของผู้รับจ้ำง เว้นแต่จะได้รับอนุญำตหรืออนุมัติภำยใต้ข้อย่อย 5.8 นี้
6. 6.1
บุคลากรและคนงาน (Staff and Labour) การจ้างบุคลากรและคนงาน (Engagement of Staff and Labour) เว้นแต่ระบุไว้ในข้อก ำหนด (Specification) ผู้รับจ้ำงต้องจัดให้มีและจ้ำงบุคลำกรและ คนงำนในท้องถิ่นหรือจำกนอกท้องถิ่น โดยจ่ำยค่ำจ้ำง ค่ำที่พัก ค่ำเบี้ยเลี้ยงและค่ำพำหนะ เดินทำง
6.2
อัตราค่าจ้างและเงื่อนไขการจ้างของคนงาน (Rate of Wages and Conditions of Labour) ผู้รับจ้ำงต้องจ่ำยอัตรำค่ำจ้ำงด้วยเงื่อนไขค่ำจ้ำงไม่น้อยกว่ำอัตรำค่ำจ้ำงขั้นต ่ำของงำน พำณิชย์และอุตสำหกรรม หำกไม่มีข้อกำหนดอัตรำค่ำจ้ำงขั้นต่ำและเงื่อนไขกำรจ้ำง ผู้รับ จ้ำงต้องจ่ำยค่ำจ้ำงและเงื่อนไขกำรจ้ำงไม่น้อยกว่ำอัตรำค่ำจ้ำงทั่วไปในท้องตลำด ใน ลักษณะงำนทีใ่ กล้เคียงกับงำนโครงกำร
6.3
บุคลากรของผู้ว่าจ้างที่ปฏิบัติงานในโครงการ (Persons in Service of Employer) ผู้รับจ้ำงต้องไม่หรือพยำยำมคัดเลือกจ้ำงบุคลำกรหรือคนงำนจำกบุคลำกรหรือคนงำนของ ผู้ว่ำจ้ำง
6.4
กฎหมายแรงงาน (Labour Laws) ผู้รับจ้ำงต้องปฏิบัติตำมกฎหมำยแรงงำนต่อบุคลำกรและคนงำนของผู้รับจ้ำงในเรื่องกำรจ้ำง สวัสดิกำร ควำมปลอดภัย สุขอนำมัย กำรเข้ำเมือ ง กำรออกเมืองและกำรให้สิทธิต ำม กฎหมำย ผู้รับจ้ำงต้องกำชับบุคลำกรของตน ให้เคำรพกฎหมำย รวมถึงคำนึงถึงควำมปลอดภัยในงำน
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-85 | เงื่อนไขของสัญญา
FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
6.5
ชั่วโมงการทางาน (Working Hours) ต้องไม่มีกำรทำงำนในวันหยุดของท้องถิ่น หรือนอกเวลำทำงำนปกติ ตำมที่กำหนดไว้ใน เอกสำรแนบผนวกในเอกสำรประกวดรำคำ (Appendix to Tender) เว้นแต่ (ก) ระบุไว้ในสัญญำ (ข) รับอนุญำตจำกผู้ว่ำจ้ำง (ค) งำนที่หลีกเลี่ยงไม่ได้หรือมีควำมจำเป็นเพื่อป้องกันชีวิตและทรัพย์สิน หรือเพื่อควำม ปลอดภัยของงำน ซึ่งผู้รับจ้ำงต้องรีบแจ้งต่อผู้ว่ำจ้ำง
6.6
สิ่งอานวยความสะดวกให้แก่บุคลากรและคนงาน (Facilities for Staff and Labour) เว้นแต่ได้ระบุไว้ในวัตถุประสงค์ ควำมต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำง ผู้รับจ้ำงต้องจัดให้มีและกำร บำรุงรักษำ ที่พัก สวัสดิกำร สิ่งอำนวยควำมสะดวกให้แก่บุคลำกรผู้รับจ้ำงและบุคลำกรของ ผู้ว่ำจ้ำง ตำมที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์ ควำมต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำง ผู้รับจ้ำงต้องไม่ให้บุคลำกรของผู้รับจ้ำงปลูกสร้ำงที่พักอำศัยถำวรในพื้นที่โครงกำร
6.7
สุขอนามัยและความปลอดภัย (Health and Safety) ตลอดเวลำ ผู้รับจ้ำงต้องมีมำตรำกำรป้องกันและบ ำรุงรักษำเรื่องสุขอนำมัยและควำม ปลอดภัยให้แก่พนักงำนโดยกำรร่วมมือกับหน่วยงำนสำธำรณสุขขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น ผู้ร ับ จ้ำงต้องจัดให้มีพยำบำล ชุดปฐมพยำบำล เตียงผู้ป่ว ย และรถยำบำลพร้อมที่จ ะ ให้บ ริกำรตลอดเวลำภำยในพื้ นที่โ ครงกำรให้ แ ก่ พนั ก งำนทุ ก คน ทุกฝ่ำยและเป็ น กำร เหมำะสมที่ต้องจัดเพื่อเป็นสวัสดิกำรและสุขอนำมัย รวมถึงกำรป้องกันโรคระบำด ผู้รับจ้ำงต้องแต่งตั้งพนักงำนควบคุมอุบัติภัยในพื้นที่โครงกำร เพื่อทำหน้ำที่บำรุงรักษำควำม ปลอดภัยและป้องกันอุบัติเหตุ พนักงำนนี้ต้องมีคุณสมบัติและมีอำนำจที่จะออกคำสั่งและมี มำตรกำรกำรป้องกันอุบัติเหตุ ตลอดระยะกำรก่อสร้ำงโครงกำร ผู้รับจ้ำงต้องมีสิ่งป้องกัน ควำมปลอดภัย ตำมที่พนักงำนควำมปลอดภัย ต้ องกำรในกำรปฏิ บติห น้ำ ที่ด ้ำ นควำม ปลอดภัย ผู้รับจ้ำงต้องทำรำยงำนภำพละเอียดเริ่มกำรเกิดอุบัติเหตุทุกครั้งให้แก่ผู้ว่ำจ้ำงโดยเร็วสุด ผู้รับจ้ำงต้องจัดเก็บรำยงำนนี้และจัดเก็บรำยงำนเกี่ยวกับ สุขอนำมัย ควำมปลอดภัย กำรให้ สวัสดิกำรแก่พนักงำน ควำมเสียหำยต่อทรัพย์สิน รำยงำนต้องมีพร้อมและทันเหตุปัจจุบันที่ ผู้ว่ำจ้ำงจะขอตรวจดูได้ตลอดเวลำ
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-86 |
เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
6.8
ผู้กากับควบคุมงานของผู้รับจ้าง (Contractors Superintendence) ตลอดระยะเวลำกำรก่อสร้ำงโครงกำรซึ่งผู้รับจ้ำงต้องทำงำนให้ครบถ้วนตำมพันธะสัญญำ ผู้รับจ้ำงต้องให้มีผู้กำกับควบคุมเท่ำที่จำเป็นเพื่อกำรวำงแผนงำนจัดเตรียม กำกับ บริหำร จัดกำร ตรวจสอบและทดสอบงำนก่อสร้ำง ผู้ก ำกับควบคุมต้องมีจ ำนวนอย่ำงเพียงพอ ซึ่งเป็นผู้มีควำมรู้ มีควำมสำมำรถพูดภำษำ (อังกฤษ – ไทย) ในกำรสื่อสำรตำมข้ อย่ อย 1.4 (Law and Language) ในกำรจั ด กำร ทำงำนเพื่อให้ได้ผลงำนตำมที่ต้องกำรและมีควำมปลอดภัยจำกกำรก่อสร้ำง (ผู้กำกับควบคุม ต้องมีควำมสำมำรถในกำรคิดหำวิธีและเทคนิคและมีควำมปลอดภัยในกำรก่อสร้ำง)
6.9
บุคลากรของผู้รับจ้าง (Contractor’s Personnel) บุคลำกรของผู้รับจ้ำงต้องเป็นผู้มีควำมชำนำญ มีประสบกำรณ์ในสำขำวิชำชีพแห่งตน ผู้ว่ำ จ้ำงอำจขอให้ผู้รับจ้ำงย้ำย (หรือสำเหตุของกำรย้ำย) บุคลำกรที่จ้ำงทำงำนในพื้นที่โครงกำร ทั้งนี้ให้รวมผู้แทนของผู้รับจ้ำง เมื่อผู้นั้น (ก) ทำผิดเป็นเนื่องนิตย์หรือขำดควำมระมัดระวัง (ข) ปฏิบัติหน้ำที่อย่ำงไร้ควำมสำมำรถหรือประมำทเลินเล่อ (ค) บกพร่องไม่ปฏิบัติตำมข้อบังคับของสัญญำ (ง) มี พ ฤติ ก รรมเกี ่ ย วกั บ กระท ำผิ ด ต่ อ ควำมปลอดภั ย สุ ข อนำมั ย และกำรป้ อ งกั น สิ่งแวดล้อม หำกเป็นกำรเหมำะสม ผู้รับจ้ำงต้องแต่งตั้ง (หรือเป็นเหตุต้องแต่งตั้ง) บุคคล ใหม่แทน
6.10
ทะเบียนบุคลากรและเครื่องมือของผู้รับจ้าง (Records of Contractor’s Personnel and Equipment) ผู้รับจ้ำงต้องทำบัญชีทะเบียนรำยละเอียดต่อผู้ว่ำจ้ำงแสดงจำนวนบุคลำกรแต่ละระดับ และ ประเภทของเครื่องมือที่มีอยู่ในพื้นที่โครงกำรในแต่ละเดือน เสนอให้ผู้ว่ำจ้ำงพิจำรณำ เห็นชอบอนุมัติ ก่อนที่ผู้รับจ้ำงก่อสร้ำงโครงกำรจนแล้วเสร็จตำมวันที่ระบุไว้ในหนังสือ รับรองผลงำน
6.11
การประพฤติมิชอบ (Disorderly Conduct) ตลอดเวลำผู้รับจ้ำงต้องใช้ควำมระมัดระวังที่จะป้องกันกำรก่อควำมไม่สงบ ผิดกฎหมำย กำร ประพฤติมิชอบระหว่ำงพนักงำน และต้องรักษำควำมสงบสุขของสำธำรณชนและทรัพย์สินที่ อยู่ใกล้เคียงกับโครงกำร
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-87 | เงื่อนไขของสัญญา
FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
7.
โรงงาน/โรงผลิต วัสดุและฝีมือแรงงาน (Plant, Materials and Workmanship) (ข้อย่อย1.1.5.5 Plant หมำยถึง เครื่องมือ เครื่องจักรกล พำหนะที่จะนำมำประกอบเป็น ส่วนหนึ่งของงำนถำวร)
7.1
ลักษณะวิธีการดาเนินการ (Manner of Execution) ผู้รับจ้ำงจะดำเนินกำรกำรผลิตโรงงำน/โรงผลิต ผลิตภัณฑ์ กำรผลิตวัสดุและอื่น ๆ ของงำน (ก) ตำมรูปลักษณ์ที่กำหนดไว้ในสัญญำ (ข) ตำมฝีมือที่ควรจะเป็นและตำมคุณลักษณะอย่ำงระมัดระวังตำมหลักปฏิบัติที่ดีทั่วไปที่ ยอมรับกัน (ค) ติดตั้งส่วนประกอบสะดวกต่อกำรใช้กำรและไม่มีวัตถุที่เป็นอันตรำยเว้นแต่จะระบุไว้ใน สัญญำ
7.2
ตัวอย่าง (Samples) ผู้รับจ้ำงจะต้องส่งตัวอย่ำงไปยังผู้ว่ำจ้ำงเพื่อตรวจสอบตำมขั้นตอนสำหรับเอกสำรของผู้ รับจ้ำงตำมที่ระบุไว้ในข้อย่อย 5.2 (Contractor’s Documents) ตำมที่ระบุไว้ในสัญญำ และโดยค่ำใช้จ่ำยของผู้รับจ้ำง ตัวอย่ำงแต่ละชิ้นจะต้องมีข้อควำมกำกับแหล่งที่มำและใช้ใน งำน
7.3
การตรวจสอบ (Inspection) บุคลำกรของผู้ว่ำจ้ำงมีสิทธิในทุกขณะเวลำที่มีเหตุผล (ก) มีสิทธิเต็มที่จะเข้ำออกทุกส่วนของพื้นที่โครงกำรและแหล่งที่มำของวัสดุธรรมชำติ (ข) ระหว่ำงกำรผลิตและกำรก่อสร้ำง (ในพื้นที่โครงกำรที่อื่น ๆ ) ที่จะต้องตรวจทำน ตรวจสอบ ตรวจวัด และทดสอบวัสดุ และฝีมือแรงงำน เพื่อตรวจสอบวิธีกำรขบวนกำรผลิต ของโรงงำน/โรงผลิต และวัตถุที่ผลิตได้ ผู้รับจ้ำงต้องให้บุคลำกรของผู้ว่ำจ้ำงมีโอกำสเต็มที่ที่จะดำเนินกำรตำมข้อดังกล่ำวข้ำงต้น รวมทั้งอำนวยกำร เข้ำ – ออก สิ่งอำนวยควำมสะดวก กำรอนุญำตและอุปกรณ์ป้องกันภัย ผู้รับจ้ำงต้องมีหน้ำที่อำนวยควำมสะดวกและรับผิดชอบควำมปลอดภัยในกำรปฏิบัติงำนของ บุคลำกรผู้ว่ำจ้ำง ผู้รับจ้ำงต้องแจ้งเป็นหนังสือให้แก่ผู้ว่ำจ้ำงทุกครั้งเมื่องำนมีควำมพร้อมและก่อนที่จะถูกปิด ทับให้มิดชิดไม่เห็น หุ้มห่อเพื่อกำรเก็บหรือเพื่อกำรขนส่ง ผู้ว่ำจ้ำงจะท ำกำรตรวจทำน ตรวจสอบ ตรวจวัด หรือทดสอบโดยไม่ชักช้ำหรือทันทีในกำรออกหนังสือแก่ผู้ว่ำจ้ำงว่ำ ผู้ว่ำ จ้ำงจะไม่ทำกำรตรวจทำน หำกผู้รับจ้ำงไม่แจ้งเป็นหนังสือ หำกผู้ว่ำจ้ำงมีควำมประสงค์ที่จะ ตรวจสอบ ผู้รับจ้ำงต้องรื้อเปิดของที่ถูกปิดไว้ให้ผู้ว่ำจ้ำงตรวจสอบด้วยค่ำใช้จ่ำยของผู้รับจ้ำง
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-88 |
เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
7.4
การทดสอบ (Testing) ข้อย่อยนี้ใช้บังคับกับกำรทดสอบทุกประเภทตำมที่กำหนดไว้ในสัญญำ และกำรทดสอบอื่นที่ ทดสอบภำยหลังส่งมอบงำนแล้วเสร็จ (หำกมี) ผู้รับจ้ำงต้องจัดให้มีเครื่องมือ ผู้ช่วย เอกสำร และข้อมูลอื่น ไฟฟ้ำ อุปกรณ์ เชื้อเพลิง ของใช้ สิ้นเปลือง เครื่องมือตรวจวัด คนงำน วัตถุ และพนักงำนที่มีควำมรู้ควำมชำนำญดำเนินกำร ทดสอบอย่ำงมีประสิทธิภำพ ผู้รับจ้ำงต้องตกลงกับผู้ว่ำจ้ำงเรื่องเวลำและสถำนที่ที่ใช้ในกำร ทดสอบ เครื่องมือที่ประกอบเป็นงำนถำวร ผู ้ ว ่ ำ จ้ ำ งจะใช้ ข ้ อ 13 (Variations and Adjusments) ในกำรเปลี ่ ย นสถำนที ่ หรื อ รำยละเอียดกำรทดสอบ หรือสั่งให้ผู้รับจ้ำงทำกำรทดสอบเพิ่ม กำรเปลี่ยนแปลงกำรทดสอบ โรงงำน/โรงผลิต วัสดุ และงำนฝีมือไม่ถูกต้องตำมที่กำหนดไว้ในสัญญำ ค่ำใช้จ่ำยอื่น ๆ ที่ เกิดจำกกำรทดสอบเหล่ำนี้ ผู้รับจ้ำงต้องเป็นผู้รับผิดชอบแม้ว่ำไม่ได้กำหนดไว้ในสัญญำ ผู้ว่ำจ้ำงจะแจ้งให้รับทรำบก่อนไม่น้อยกว่ำ 24 ชั่วโมงเมื่อมีควำมประสงค์เข้ำร่วมดูกำร ทดสอบ หำกผู้ว่ำจ้ำงไม่มำร่วมตำมเวลำและสถำนที่นัดหมำย ผู้รับจ้ำงก็จะด ำเนินกำร ทดสอบโดยไม่รอ และกำรทดสอบนั้นถือว่ำเป็นกำรทดสอบเสมือนหนึ่งผู้ว่ำจ้ำงอยู่ร่วมดูกำร ทดสอบนั้น เว้นแต่ผู้ว่ำจ้ำงจะมีคำสั่งเป็นอื่น หำกผู้รับจ้ำงต้องประสบควำมล่ำช้ำและเกิดมีค่ำใช้จ่ำยขึ้นตำมคำสั่งของผู้ว่ำจ้ำง ซึ่งผู้ว่ำจ้ำง ต้องเป็นผู้มีส่วนต้องรับผิดชอบด้วย ดังนั้นผู้รับจ้ำงจะมีหนังสือแจ้งให้ผู้ว่ำจ้ำงตำมข้อย่อย 20.1 (Contractor’s Claims) คือ (ก) ขยำยเวลำกำรก่อสร้ำงด้วยเหตุล่ำช้ำนั้น หำกทำให้กำรก่อสร้ำงต้องล่ำช้ำออกไปตำมข้อ ย่อย 8.4 (Extension of time for Completion) และ (ข) ค่ำใช้จ่ำยพร้อมกำไร ซึ่งจะรวมเพิ่มเป็นค่ำจ้ำงเพิ่มในสัญญำ ภำยหลั ง ผู ้ ว ่ ำ จ้ ำ งได้ ร ั บ หนั ง สื อ ดั ง กล่ ำ ว ผู ้ ว ่ ำ จ้ ำ งต้ อ งด ำเนิ น กำรตำมข้ อ ย่ อ ย 3.5 (Determinations) ตำมที่ตกลงไว้ว่ำต้องพิจำรณำเพื่ออนุมัติ ผู้รับจ้ำงต้องรีบดำเนิกำรทดสอบให้ผู้ว่ำจ้ำงพิจำรณำเห็นชอบรำยงำนกำรทดสอบ เมื่อกำร ทดสอบผ่ำนกำรทดสอบถูกต้อง ผู้ว่ำจ้ำงต้องลงนำมเห็นชอบผลกำรทดสอบหรือออกหนังสือ รับรองผลกำรทดสอบ หำกผู้ว่ำจ้ำงไม่ได้ร่วมดูกำรทดสอบ ผู้ว่ำจ้ำงต้องยอมรับข้อมูล นั้น ถูกต้องตำมกำรทดสอบนั้นด้วย
7.5
การปฏิเสธ (Rejection) หำกเป็นผลจำกตรวจทำน ตรวจสอบ ตรวจวัด เครื่องมือประกอบสิ่งก่อสร้ำง วัสดุและฝีมือ แรงงำน มีควำมบกพร่องหรือชำรุดหรือไม่ถูกต้องตำมสัญญำ ผู้ว่ำจ้ำงอำจปฏิเสธไม่รับกำร ทดสอบข้ำงต้นด้วยกำรออกหนังสือแจ้งให้ผู้รับจ้ำงรับทรำบพร้อมเหตุผลกำรปฏิเสธ ผู้รับ จ้ำงต้องรีบซ่อมข้อบกพร่องนั้น ๆ ตำมที่กำหนดไว้ในสัญญำ สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-89 | เงื่อนไขของสัญญา
FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
หำกผู้ว่ำจ้ำงต้องกำรให้เครื่องมือประกอบสิ่งก่อสร้ำงถำวร วัสดุหรือฝีมือแรงงำนต้องทำกำร ทดสอบซ ้ำใหม่ กำรทดสอบนั้นต้องอยู่ในขอบเขตงำนและมี ส ภำพภำวะเดิม หำกกำร ทดสอบซ ้ำนั้นท ำให้เกิดมีค่ำใช่จ่ำยเพิ่ม ผู้รับจ้ำงต้องท ำตำมข้อย่อย 2.5 (Employer’s Claims) 7.6
การแก้ไขงานชารุดบกพร่อง (Remedial Work) ไม่ว่ำงำนที่ผ่ำนกำรทดสอบแล้วหรือได้รับหนังสือรับรองผลงำนแล้ว ผู้ว่ำจ้ำงอำจจะมีคำสั่ง ให้ผู้รับจ้ำง ดำเนินกำรดังนี้ (ก) ย้ำยออกจำกพื้นที่โครงกำรและทดแทนเปลี่ยนเครื่องมือประกอบสิ่งก่อสร้ำงถำวรหรือ วัสดุซึ่งไม่ถูกต้องตำมสัญญำ (ข) ย้ำยออกและทำกำรก่อสร้ำงใหม่ตำมสัญญำ (ค) ท ำกำรก่อสร้ำงเร่งด่ว นเพื่อเป็นกำรป้องกันควำมปลอดภัยอันเป็นผลจำกกำรเกิด อุบัติเหตุ หรือสิ่งที่ไม่คำดหมำยหรือเหตุอื่น หำกผู้รับจ้ำงไม่ปฏิบัติตำมคำแนะนำดังกล่ำวซึ่งเป็นไปตำมข้อย่อย 3.4 (Instruction) ผู้ว่ำ จ้ำงจะมีสิทธิจ้ำงและจ่ำยเงินให้บุคคลอื่นเพื่อดำเนินกำร ยกเว้นในกรณีที่ผู้รับจ้ำงมีสิทธิ์ ได้รับค่ำจ้ำงในกำรท ำงำน ผู้รับจ้ำงจะต้องปฏิบัติตำมข้อย่อย 2.5 (Employer’s Claim) โดยจ่ำย ค่ำใช้จ่ำยทั้งหมดที่เกิดจำกควำมล้มเหลวนี้ให้ผู้ว่ำจ้ำง
7.7
ความเป็นเจ้าของ เครื่องมือประกอบสิ่งก่อสร้างงานถาวรและวัตถุ (Ownership of Plant and Materials) แต่ละรำยกำรของเครื่องมือประกอบของงำนถำวรและวัตถุต้องถูกต้องตำมกฎหมำยซึ่ง ต่อไปจะเป็นทรัพย์สินของผู้ว่ำจ้ำง ทรัพย์สินเหล่ำนี้ต้องปรำศจำกกำรถูกกล่ำวหำในเรื่อง ลิขสิทธิ์หรือข้อกล่ำวหำใด ๆ (ก) เมื่อรำยกำรนั้นได้ส่งเข้ำมำอยู่ในพื้นที่ก่อสร้ำง (ข) เมื่อผู้รับจ้ำงถูกทวงค่ำใช้จ่ำยทรัพย์สินเหล่ำนั้นตำมข้อย่อย 9.10 (Payment for Plant and Material in Event of Suspension)
7.8
ค่าธรรมเนียม/ค่าภาคหลวง (Royalties) เว้นแต่ได้ระบุไว้ในข้อกำหนดควำมต้องกำรของเจ้ำของงำน (Employer’s Requirements) ผู้รับจ้ำงต้องมีหน้ำที่จ่ำยค่ำธรรมเนียม/ค่ำภำคหลวง ค่ำเช่ำ และค่ำใช้จ่ำย เพื่อ (ก) วัตถุดิบตำมธรรมำชำติที่นำมำใช้งำนในพื้นที่ก่อสร้ำง (ข) กำรนำไปทิ้งกำจัดเศษวัสดุจำกกำรขุดทิ้งหรือกำรรื้อทิ้ง เว้นแต่กำร กำรกำจัดทิ้งของเศษ วัสดุที่มีอยู่ภำยในพื้นที่ก่อสร้ำง
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-90 |
8. 8.1
เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
การเริ ่ ม งาน การล่ า ช้ า และการระงั บ งาน (Commencement, Delays and Suspension) การเริ่มงาน (Commencement of Works) เว้นแต่จะระบุไว้เป็นอย่ำงอื่นในสัญญำ: (ก) ผู้ว่ำจ้ำงจะต้องแจ้งให้ผู้รับจ้ำงทรำบล่วงหน้ำไม่น้อยกว่ำ 7 วัน นับแต่วันที่เริ่มต้น และ (ข) วันเริ่มดำเนินกำร จะต้องไม่เกิน 42 วันนับจำกวันที่สัญญำมีผลบังคับใช้อย่ำงสมบูรณ์ และมีผลภำยใต้ข้อย่อย 1.6 (Contract Agreement) ผู้รับจ้ำงจะเริ่มออกแบบและดำเนินกำรงำนโดยเร็วที่สุดเท่ำที่จะเป็นไปได้ หลังจำกวันที่เริ่ม ดำเนินกำร และจะดำเนินกำรอย่ำงต่อเนื่องโดยไม่ชักช้ำ
8.2
ระยะเวลางานแล้วเสร็จ (Time for Completion) ผู้รับจ้ำงต้องทำงำนก่อสร้ำงทุกส่วนของงำนให้แล้วเสร็จทั้งหมด ซึ่งให้รวมถึง (ก) สำเร็จลุล่วงพร้อมทำกำรทดสอบเมื่องำนแล้วเสร็จ และ (ข) ทำงำนให้แล้วเสร็จตำมที่ระบุไว้ในสัญญำและส่วนของงำนต่ำง ๆ ที่ต้องแล้วเสร็จเพื่อ กำรส่งมอบงำนตำมข้อย่อย 10.1 (Taking Over of Works and Sections)
8.3
แผนงาน (Programme) ผู้รับจ้ำงต้องนำเสนอรำยละเอียดแผนเวลำก่อสร้ำงให้ผู้ว่ำจ้ำงภำยใน 28 วัน ภำยหลังได้รับ หนังสือตำมข้อย่อย 8.1 (Commencement of Works) ผู้รับจ้ำงยังต้องเสนอแผนงำนฉบับ ปรับปรุงแล้วเปรียบเทียบกับแผนงำนฉบับที่ผ่ำนมำเพื่อให้แผนงำนทันตำมผลงำนจริง ปัจจุบันที่ผู้รับจ้ำงมีพันธะตำมสัญญำ ซึ่งต้องครอบคลุมถึง (ก) คำสั่งงำนก่อสร้ำงซึ่งผู้รับจ้ำงมีแผนจะดำเนินงำน ทั้งนี้ให้รวมแผนเวลำกำรออกแบบ (ถ้ำ มี) เอกสำรประกอบกำรก่อสร้ำง กำรจัดซื้อ กำรก่อสร้ำงโรงงำน/โรงผลิต กำรขนส่งชิ้นส่วน เข้ำสู่พื้นที่ กำรก่อสร้ำง กำรติดตั้ง และกำรทดสอบ (ข) แต่ ล ะขั ้ น ตอนของงำนของแต่ ล ะผู ้ ร ั บ จ้ ำ งช่ ว ง ตำมที ่ ก ำหนดข้ อ 5 (Nominated Subcontractors) (ค) ลำดับและเวลำในกำรตรวจสอบและทดสอบตำมสัญญำ และ (ง) รำยงำนกำรสนับสนุนกำรทำงำน (1) บทบรรยำยทั่วไป วิธีกำรที่ผู้รับจ้ำงจะนำมำใช้ และขั้นตอนสำคัญในกำรก่อสร้ำง (2) รำยละเอียดกำรประมำณจำนวนและประเภทพนักงำน และจำนวนและประเภทของ เครื่องจักรกลที่จะนำมำใช้งำนก่อสร้ำง ภำยในเวลำ 21 วัน เมื่อผู้ว่ำจ้ำงได้รับแผนงำนจำกผู้รับจ้ำง ผู้ว่ำจ้ำงจะมีหนังสือแจ้งให้ผู้รับ จ้ำงในกรณีที่แผนงำนไม่สอดคล้องกับสัญญำ เมื่อดำเนินงำนตำมแผนงำนที่เสนอตำมพันธะ สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-91 | เงื่อนไขของสัญญา
FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
ของสัญญำ บุคลำกรของผู้ว่ำจ้ำงจะเป็นผู้มีหน้ำ ที่ในกำรรับทรำบแผนงำน/แผนเวลำกำร ก่อสร้ำงของผู้รับจ้ำง ผู้รับจ้ำงจะมีหนังสือแจ้งให้ผู้ว่ำจ้ำงทรำบทันที่ ในกรณีที่อำจจะมีเหตุร้ำยเกิดต่องำนก่อสร้ำง อันเป็นเหตุต้องเพิ่มค่ำจ้ำงก่อสร้ำงหรือทำให้งำนล่ำช้ำออกไป ผู้ว่ำจ้ำงอำจจะให้ผู้รับจ้ำง คำดกำรณ์ เ หตุ ร ้ ำ ยที ่ จ ะเกิ ด ขึ ้ น และจั ด ท ำข้ อ เสนอ ตำมข้ อ ย่ อ ย 13.3 (Variation Procedure) หำก ณ เวลำใดผู้ว่ำจ้ำงมีหนังสือแจ้งให้ผู้รับจ้ำงว่ำแผนงำนไม่สอดคล้องตำมสัญญำและไม่ สอดคล้องกับควำมก้ำวหน้ำของงำนจริง ผู้รับจ้ำงต้องทำกำรปรับปรุงแผนงำนใหม่เสนอ ให้แก่ผู้ว่ำจ้ำงตำมหัวข้อย่อย 8.3 นี้ 8.4
การขยายเวลาการแล้วเสร็จงาน (Extension of Time for Completion) ผู้รับจ้ำงต้องมีหน้ำที่ปฏิบัติตำมข้อย่อย 20.1 (Contractor’s Claims) เพื่อขอขยำยเวลำ กำรแล้วเสร็จของงำนก่อสร้ำง หำกกำรขยำยเวลำตำมข้อย่อย 10.1 (Taking Over the Works and Sections) หรืองำนล่ำช้ำอันเนื่องด้วยเหตุดังนี้ (ก) มีกำรเปลี่ยนแปลง (เว้นแต่มีกำรปรับระยะเวลำตำมที่ได้ตกลงกันตำมข้อย่อย 13.3) (Variation Procedure) หรือมีกำรเปลี่ยนแปลงอย่ำงมีนัยยะของปริมำณงำนในสัญญำ (ข) เหตุแห่งควำมล่ำช้ำที่ยอมให้ขยำยเวลำตำมข้อย่อยของเงื่อนไขสัญญำนี้ (ค) เว้นแต่เกิดสภำพอำกำศที่เลวร้ำย (ง) กำรคำดไม่ถึงกำรขำดแคลนแรงงำน หรือพัสดุขำดแคลน เหตุจำกโรคระบำดหรือมีกำร ปฎิบัติกำรจำกรัฐ หรือ (จ) กำรล่ำช้ำจำกโรคระบำด หรือกำรป้องกันกำรก่อเหตุ หรือจำกข้ออ้ำงของผู้ว่ำจ้ำง หรือ จำกบุคลำกรผู้ว่ำจ้ำง หรือผู้รับจ้ำงรำยอื่นของผู้ว่ำจ้ำงที่อยู่ในพื้นที่โครงกำร หำกผู้รับจ้ำงเห็นว่ำมีสิทธิ์ขอขยำยเวลำงำนก่อสร้ำงได้ ให้ผู้รับจ้ำงทำหนังสือแจ้งให้ผู้ว่ำจ้ำง ตำมข้อย่อย 20.1 (Contractor Claims) เมื่อผู้ว่ำจ้ำงพิจำรณำว่ำขยำยเวลำก่อสร้ำง
8.5
ความล่าช้าเกิดจากเจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจ (Delays Caused by Authorities) โดยหำกใช้เงื่อนไขดังต่อไปนี้ เช่น (ก) ผู้รับจ้ำงมีควำมพยำยำมเอำใจใส่ปฏิบัติตำมระเบียบของหน่วยงำนรัฐของประเทศนั้น (ข) หน่วยงำนรัฐนี้ทำให้ล่ำช้ำ และเป็นอุปสรรคต่อกำรทำงำนของผู้รับจ้ำง และ (ค) กำรล่ำช้ำและอุปสรรคของเรื่องที่ไม่คำดหมำยไว้ก่อน ฉะนั้น กำรล่ำช้ำและอุปสรรคสำมำรถพิจำรณำ เป็นเหตุให้งำนล่ำช้ำได้ตำมข้อย่อย (ข) และ ข้อย่อย 8.4 (Extension of Time for Completion)
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-92 |
เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
8.6
อัตราความก้าวหน้า (Rate of Progress) หำก ณ เวลำใด (ก) ควำมก้ำวหน้ำจริงของงำน ณ ปัจจุบันล่ำช้ำมำก ซึง่ อำจจะทำให้งำนก่อสร้ำงไม่แล้วเสร็จ (ข) ควำมก้ำวหน้ำของงำนได้ตก (หรือกำลังจะตก) ล้ำหลังแผนงำนปัจจุบันตำมข้อย่อย 8.3 (Programme) ซึ่งจะเป็นผลให้เกิดเหตุ ตำมข้อย่อย 8.4 (Extension of time for completion) ดังนั้นผู้ ว่ำจ้ำงอำจจะสั่งให้ผู้รับจ้ำงที่เสนอตำมข้อย่อย 8.3 (Programme) ปรับปรุงแผนงำนพร้อม ด้วยรำยงำนชี้แจงกำรปรับเปลี่ยนวิธีตำมที่ ผู้รับจ้ำงเสนอเพื่อเร่งกำรทำงำนให้ก้ำวหน้ำและ ทำงำนให้แล้วเสร็จตำมแผน เว้นแต่ผู้ว่ำจ้ำงจะให้ข้อสังเกตในกำรปรับปรุงวิธีกำรก่อสร้ำง ของผู้รับจ้ำง ซึ่งผู้รับจ้ำงต้องเพิ่มเวลำกำรทำงำน เพิ่มจำนวนพนักงำนและคนงำน เพิ่มพัสดุ ซึ่งเป็นควำมเสี่ยงในค่ำใช้จ่ำยของผู้รับจ้ ำงเอง หำกกำรปรับปรุงวิธีกำรก่อสร้ำงแล้วทำให้ ผู้ว่ำจ้ำงมีค่ำใช้จ่ำยเพิ่ม ผู้รับจ้ำงต้องยอมรับข้อย่อย 2.5 (Employer’s Claims) ต้องจ่ำย ค่ำใช้จ่ำยเพิ่มให้แก่ผู้ว่ำจ้ำง ในกำรที่ผู้รับจ้ำงทำให้ผู้ว่ำจ้ำงได้รับควำมเสียหำยจำกทำงำน ล่ำช้ำตำมข้อย่อย 8.7 (Delay Damages)
8.7
ความเสียหายจากทางานล่าช้า: ค่าปรับ (Delay Damages) หำกผู้รับจ้ำงท ำงำนบกพร่องตำมข้อย่อย 8.2 (Time for Completion) ผู้รับจ้ำงต้องท ำ ตำมข้อย่อย 2.5 (Employer’s Claims) จ่ำยค่ำเสียหำยจำกกำรทำงำนล่ำช้ำให้แก่ผู้ว่ำจ้ำง ค่ำควำมเสียหำยนี้ได้ระบุไว้ในเอกสำรแนบผนวกในเอกสำรประกวดรำคำ (Appendix to Tender) ซึ่งจะต้องจ่ำยค่ำเสียหำยทุกวันและจะเหลื่อมล้ำกับเวลำที่กำหนดไว้ในเอกสำรที่ เกี ่ ย วข้ อ ง อย่ ำ งไรก็ ต ำม ค่ ำ ควำมเสี ย หำยนี้ ร วมกั นแล้ว ตำมข้ อ ย่อ ย 8.7 นี ้ จ ะไม่ เ กิน ค่ำเสียหำย ตำมที่ระบุไว้ในเอกสำรแนบผนวกในเอกสำรประกวดรำคำ ค่ำควำมเสียหำยเหล่ำนี้เป็นเพียงควำมเสียหำยอันเนื่องจำกเป็นควำมบกพร่องของผู้รับจ้ำง ไม่ใช่เป็น เหตุ ในกำรยกเลิ กตำมข้ อย่ อย 15.2 (Termination by Employer) ก่อนกำร ก่อสร้ำงงำนแล้วเสร็จ ค่ำเสียหำยเหล่ำนี้ไม่เป็นเหตุให้ผู้รับจ้ำงพ้นจำกพันธะหน้ำที่ในกำร ก่อสร้ำงให้แล้วเสร็จหรือพ้นหน้ำที่อื่น หรือพันธะหน้ำที่เกินควำมรับผิดชอบ ซึ่งผู้รับจ้ำงต้อง ปฏิบัติตำมสัญญำ
8.8
การระงับการทางาน (Suspension of Work) ในทุกเวลำ ผู้ว่ำจ้ำงอำจมีคำสั่งให้ผู้รับจ้ำงระงับกำรทำงำนทั้งหมดหรือบำงส่วน ระหว่ำงกำร ระงับทำงำน ผู้รับจ้ำงต้องป้องกัน เก็บรักษำและคุ้มครองภัยงำนก่อสร้ำงให้พ้นภัยจำกกำร
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-93 | เงื่อนไขของสัญญา
FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
ทำลำย สูญหำยหรือเสียหำย ผู้ว่ำจ้ำงอำจชี้แจงเหตุกำรระงับกำรท ำงำน และเป็นควำม รับผิดชอบของผู้รับจ้ำงที่ไม่ต้องทำตำมข้อย่อย 8.9, 8.10, 8.11 8.9
ผลจากการระงับการทางาน (Consequences of Suspension) หำกผู้รับจ้ำงได้รับเหตุจำกควำมล่ำช้ำและ/หรือทำให้เกิดค่ำใช้จ่ำยเพิ่มในกำรปฏิบัติตำม คำสั่งของผู้ว่ำจ้ำงตำมหัวข้อย่อย 8.8 (Suspension of Work) และหรือจำกทำงำนต่อ ผู้รับ จ้ำงต้องมีหนังสือแจ้งให้ผู้ว่ำจ้ำงและใช้สิทธิข้อย่อย 20.1 (Contractor’s Clams) ต่อกรณี ดังนี้ (ก) กำรขยำยเวลำอันเนื่องจำกควำมล่ำช้ำ หำกกำรแล้วเสร็จนั้นต้องล่ำช้ำออกไปตำมข้อ ย่อย 8.4 (Extension of Time for Completion) และ (ข) ค่ำจ้ำงของค่ำใช้จ่ำย ซึ่งจะผนวกอยู่ในค่ำจ้ำงในสัญญำ ภำยหลังผู้ว่ำจ้ำงได้รับหนังสือ ดังกล่ำว ผู้ว่ำจ้ำงจะทำตำมข้อย่อย 3.5 (Determination) พิจำรณำวินิจฉัยเรื่องดังกล่ำว ผู้รับจ้ำงจะไม่มีสิทธิขอขยำยเวลำก่อสร้ำงหรือเรียกร้องค่ำใช้จ่ำยเพิ่มจำกผลกำรผิดพลำด จำกกำรออกแบบ ฝีมือแรงงำนไม่เรียบร้อย พัสดุไม่ถูกต้อง หรือในกำรที่ผู้รับจ้ำงบกพร่อง ในกำรจัดกำร เก็บรักษำ คุ้มครองภัย ตำมข้อย่อย 8.8 ((Suspension of Work)
8.10
การจ่ายเงินสาหรับ โรงงาน/โรงผลิต และวัสดุในกรณีการระงับการทางาน (Payment for Plant and Materials in Even of Suspension) ผู้รับจ้ำงมีสิทธิ์ที่จะได้รับค่ำจ้ำงจำกมูลค่ำ (ณ วันที่ถูกระงับกำรทำงำน) ของโรงงำน/โรงผลิต และ/หรือวัสดุซึ่งได้ขนย้ำยมำอยู่ในพื้นที่โครงกำร หำกว่ำ (ก) งำนที่เกี่ยวกับโรงงำน/โรงผลิต และวัสดุได้ถูกระงับไว้เกิน 28 วัน และ (ข) ผู้รับจ้ำงได้ระบุให้โรงงำน/โรงผลิต และวัสดุเป็นทรัพย์สินของผู้ว่ำจ้ำงแล้วโดยคำสั่งของ ผู้ว่ำจ้ำง
8.11
การระงับการทางานที่ยืดเยื้อ (Prolonged Suspension) หำกกำรระงับกำรทำงำนตำมข้อย่อย 8.8 (Suspension of Work) ได้ยืดเยื้อนำนกว่ำ 84 วัน ผู้รับจ้ำงอำจร้องขอผู้ว่ำจ้ำงอนุญำตทำงำนต่อ หำกผู้ว่ำจ้ำงไม่อนุญำตภำยใน 28 วัน หลังจำกกำรร้องขอ ผู้รับจ้ำงอำจจะมีหนังสือถึงผู้ว่ำจ้ำงยกเรื่องกำรระงับงำนเป็นเรื่องกำร ละเว้นงำนตำมข้อ 13 (Variations and Adjustments) ซึ่งมีผลกระทบต่อส่วนงำนก่อสร้ำง หำกกำรระงับงำนมีผลกระทบต่องำนก่อสร้ำงทั้งหมด ผู้รับจ้ำงอำจมีหนังสือแจ้งขอเลิก สัญญำตำมข้อย่อย 16.2 (Termination by Contractor)
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-94 |
เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
8.12
การทางานต่อไป (Resumption of Work) ภำยหลังผู้ว่ำจ้ำงอนุญำตให้ท ำงำนต่อไปได้ ผู้รับจ้ำงและผู้ว่ำจ้ำงจะร่วมตรวจสอบงำน ทั้งหมดและโรงงำน/โรงผลิต และวัสดุที่มีผลกระทบจำกกำรระงับทำงำน ผู้รับจ้ำงจะทำกำร ซ่อมแซมส่วนที่ชำรุดสิ่งบกพร่องหรือสิ่งสูญหำยคืนสภำพเดิมของงำนระหว่ำงกำรระงับงำน
9. 9.1
ทดสอบงานเมื่อแล้วเสร็จ (Test on Completion) พันธะหน้าที่ของผู้รับจ้าง (Contractor’s Obligations) ผู้รับจ้ำงต้องดำเนินกำรทดสอบงำนเมื่อแล้วเสร็จตำมข้อย่อย 7.4 (Testing) ภำยหลังได้ส่ง มอบเอกสำรรำยงำนตำมข้อย่อย 5.6 (As-Built Documents) และข้อย่อย 5.7 (Operation and Maintenance Manuals) ผู้รับจ้ำงต้องมีหนังสือแจ้งให้ผู้ว่ำจ้ำงไม่น้อยกว่ำ 21 วัน ก่อนวันที่ที่จะทำกำรทดสอบงำน เมื่อแล้วเสร็จ เว้นแต่จะตกลงกันเป็นอื่น กำรทดสอบงำนเมื่อแล้วเสร็จจะดำเนินกำรทดสอบ ภำยใน 14 วัน หลังจำกวันที่ที่ตกลงกันไว้หรือวันอื่นตำมที่ได้ออกคำสั่งไว้ นอกเหนือจำกที่ระบุในเงื่อนไขเฉพำะ กำรทดสอบเมื่องำนแล้วเสร็จจะต้องดำเนินกำรตำม ขั้นตอนต่อไปนี้ (ก) กำรทดสอบก่อนดำเนินกำรซึ่งจะรวมถึงกำรตรวจสอบที่เหมำะสมและ (ทดสอบ "Dry" หรือ "Cold") เพื่อแสดงให้เห็นว่ำแต่ละรำยกำรของโรงงำนสำมำรถทำขั้นตอนต่อไปได้ อย่ำงปลอดภัย ตำม (ข) (ข) ซึ่งรวมถึงกำรทดสอบกำรปฏิบัติงำนที่ระบุไว้เพื่อแสดงให้เห็นว่ำงำนหรือส่วนของงำน สำมำรถทำงำนได้อย่ำงปลอดภัยและตำมที่ระบุไว้ภำยใต้เงื่อนไขกำรใช้งำนทั้งหมดที่มี อยู่ และ (ค) กำรดำเนินกำรทดสอบ ซึ่งจะต้องแสดงให้เห็นว่ำงำนหรือส่วนของงำนด ำเนินกำรได้ อย่ำงน่ำเชื่อถือและสอดคล้องกับสัญญำ ในระหว่ำงกำรดำเนินกำรทดสอบ เมื่อทำงำนภำยใต้เงื่อนไขที่เสถียร ผู้รับจ้ำงต้องแจ้งให้ ผู้ว่ำจ้ำงทรำบว่ำงำนมีควำมพร้อมส ำหรับกำรทดสอบอื่น ๆ เมื่อแล้วเสร็จ รวมทั้ งกำร ทดสอบประสิทธิภำพเพื่อแสดงให้เห็นว่ำงำนนั้นเป็นไปตำมเกณฑ์ที่ระบุไว้ในข้อกำหนดของ ผู้ว่ำจ้ำงและมีกำรรับประกันผลกำรปฏิบัติงำน กำรดำเนินกำรทดสอบจะต้องไม่เป็นกำรเกี่ยวพันตำมข้อ 10 (Employer’s Taking Over) เว้นแต่จะระบุไว้เป็นอย่ำงอื่นในเงื่อนไขเฉพำะ ผลิต ภัณฑ์ใด ๆ ที่ผลิตโดยโรงงำนระหว่ำง กำรทดสอบต้องเป็นทรัพย์สินของผู้ว่ำจ้ำง ในกำรพิจำรณำผลกำรทดสอบเมื่อแล้วเสร็จ จะต้องมีกำรจัดเตรียมค่ำใช้จ่ำยที่เหมำะสม สำหรับผลกำรใช้โดยผู้ว่ำจ้ำงในผลงำนหรือลักษณะอื่น ๆ ของผลงำน ทันทีที่งำนหรือส่วน
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-95 | เงื่อนไขของสัญญา
FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
ของงำนได้ผ่ำนกำรทดสอบแต่ละรำยกำรตำมที่อธิบำยไว้ในวรรค (ก) (ข) หรือ (ค) ผู้รับจ้ำง ต้องส่งรำยงำนผลกำรทดสอบเหล่ำนี้ไปยังผู้ว่ำจ้ำง 9.2
การทดสอบที่ล่าช้า (Delayed Tests) หำกผู้ว่ำจ้ำงประจำกำรทดสอบงำนเมื่อแล้วเสร็จ สำมำรถนำข้อย่อย 7.4 (Testing) (5th paragraph) และข้อย่อย 10.3 (Interference with Tests on Compilation) มำบังคับใช้ หำกกำรทดสอบงำนเมื่อแล้วเสร็จถูกประวิงให้ล่ำช้ำโดยผู้รับจ้ำง ผู้ว่ำจ้ำงอำจจะออกหนังสือ สั ่ ง ให้ ผ ู ้ ร ั บ จ้ำ งด ำเนิน กำรทดสอบภำยใน 21 วั น เมื ่ อ ผู ้ ร ั บ จ้ ำ งได้ ร ั บ หนั ง สื อ แล้ ว ต้อง ดำเนินกำรทดสอบตำมวันที่ผู้ว่ำจ้ำงกำหนดหรือภำยในวันที่ซึ่งผู้รับจ้ำงเป็นผู้กำหนดโดยแจ้ง เป็นหนังสือ หำกผู้รับจ้ำงไม่อำจทดสอบงำนเมื่อแล้วเสร็จภำยใน 21 วัน บุคลำกรของผู้ ว่ำจ้ำงอำจจะทำกำรทดสอบเองบนควำมเสี่ยงและค่ำใช้จ่ำยของผู้รับจ้ำง และให้ถือว่ำกำร ทดสอบดังกล่ำวเสมือนว่ำผู้รับจ้ำงอยู่ ร่วมในกำรทดสอบนั้นและต้องรับ ควำมละเอียดในผล กำรทดสอบนั้นมีควำมละเอียดด้วย
9.3
การทดสอบซ้า (Retesting) หำกว่ำงำนหรือส่วนของงำนไม่ผ่ำนกำรทดสอบงำนเมื่อแล้วเสร็จ ข้อย่อย 7.5 (Rejection) จะนำมำบังคับใช้ ผู้ว่ำจ้ำงจะถือว่ำผู้รับจ้ำงทดสอบไม่ผ่ำน และกำรทดสอบงำนเมื่อแล้วเสร็จ ในงำนอื่นที่ควำมสัมพันธ์กัน จะต้องทำกำรทดสอบซ้ำในสภำพภำวะและเงื่อนไขเดียวกัน
9.4
การทดสอบเมื่องานแล้วเสร็จไม่ผ่าน (Failure to Pass Tests on Completion) หำกงำนหรือส่วนของงำนไม่ผ่ำนกำรทดสอบเมื่อแล้วเสร็จ ต้องทดสอบซ้ำตำมข้อย่อย 9.3 (Retesting) ผู้ว่ำจ้ำงมีหน้ำที่ ดังนี้ (ก) ออกคำสั่งให้ทำกำรทดสอบซ้ำต่อไปตำมข้อย่อย 9.3 (ข) หำกกำรทดสอบไม่ผ่ำน ผู้ว่ำจ้ำงอำจปฏิเสธไม่รับมอบงำน ผู้ รับจ้ำงต้องทำกำรแก้ไข ดังกล่ำวตำมที่กำหนดใน วรรคข้อ (ค) ข้ำงล่ำงและข้อย่อย 11.4 (Failure to Remedies Defects) หรือ (ค) ออกหนังสือตรวจรับมอบงำน หำกผู้ว่ำจ้ำงต้องกำรดังกล่ำว ในเหตุวรรคข้อ (ค) ผู้รับจ้ำงต้องดำเนินกำรตำมพันธะหน้ำที่ภำยใต้สัญญำนี้ และค่ำจ้ำงตำม สัญญำจะถูกตัดลดตำมควำมเหมำะสม เว้นแต่กำรตัดลดได้ระบุในสัญญำ (ตำมหลักเกณฑ์ กำรคำนวนกำรตัดลดค่ำจ้ำงงำน) ผู้ว่ำจ้ำงอำจตัดลดค่ำจ้ำง (1) คู่สัญญำมีควำมพอใจใน ค่ำจ้ำงตัดลดและจ่ำยให้ก่อนที่ออกหนังสือรับมอบผลงำน (2) พิจำรณำและจ่ำยค่ำเสียหำย ตำมข้อย่อย 2.5 (Employer’s Claims) และข้อย่อย 3.5 (Determinations)
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-96 |
เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
10. 10.1
ผู้ว่าจ้างรับมอบงาน (Employers Taking Over) การรับมอบงานและส่วนของงาน (Taking Over of the Works and Sections) เว้นแต่จะระบุไว้ในข้อย่อย 9.4 (Failure to Pass Tests on Completion) ผู้ว่ำจ้ำงจะรับ มอบงำนเมื่อ (1) งำนนั้น ได้ก่อสร้ำงแล้วเสร็จตำมสัญญำและรำยละเอียดตำมข้อย่อย 8.2 (Time for Completion) และยกเว้นตำมระบุในข้อ (ก) ข้ำงล่ำงนี้ และ (2) เมื่อหรือกำลังจะออกหนังสือรับมอบงำนตำมข้อ (2) นี้ ผู้รับจ้ำงอำจออกหนังสือแจ้งผู้ว่ำ จ้ำงให้ตรวจรับมอบงำนไม่เร็วกกว่ำ 14 วัน ก่อนงำนจะแล้วเสร็จตำมควำมเห็นของผู้รับจ้ำง ว่ำงำนส่งมอบจะแล้วเสร็จ หำกงำนถูกแบ่งออกเป็นส่วน ๆ ผู้รับจ้ำงอำจจะดำเนินกำรได้ เช่นเดียวกันโดยหนังสือส่งมอบงำนเป็นส่วน ๆ ภำยใน 28 วัน เมื่อผู้ว ่ำจ้ำงได้รับหนังสือดังกล่ำวข้ำงต้นจำกผู้ รับ จ้ำงแล้ว ผู้ว ่ำจ้ำงจะ ดำเนินกำรดังนี้ (ก) ออกหนังสือรับ มอบงำนให้แก้ผู้รับจ้ำงโดยระบุวันที่ของงำนหรือส่วนของงำนที ่จ ะ ก่อสร้ำงแล้วเสร็จตำมสัญญำ เว้นแต่เหลืองำนเพียงเล็กน้อย หรืองำนบกพร่องต้องซ่อมซึ่งไม่ มีผลกระทบต่อกำรใช้งำนหลักหรือส่วนของงำน (หรือแล้วแต่จะรอกำรแก้ไขให้เสร็จก็ได้) หรือ (ข) ไม่รับหนังสือดังกล่ำวของผู้รับจ้ำงโดยระบุเหตุผลและกำหนดงำนที่ต้องทำให้แล้วเสร็จ เสีย ก่อนจึงจะออกหนังสือรับมอบงำน ฉะนั้น ผู้รับจ้ำงต้องด ำเนิ นกำรท ำงำนให้เสร็จ เรียบร้อยจึงจะออกหนังสือรับมอบงำนให้ หำกผู้ว่ำจ้ำงไม่ปฏิบัติตำมข้อ (ก) หรือข้อ (ข) ภำยใน 28 วัน และหำกงำนหลักหรือส่วนงำน ได้ก่อสร้ำงแล้วเสร็จเป็นส่วนใหญ่แล้วตำมสัญญำ กำรออกหนังสือรับมอบงำนก็สมควรออก ให้ในวันสุดท้ำยของวันที่กำหนดไว้
10.2
การรับมอบงานบางส่วน (Taking Over of Parts of the Works) บำงส่วนของงำน (นอกเหนือจำกส่วนงำน) จะไม่ถูกนำมำใช้หรือใช้โดยผู้ว่ำจ้ำงเว้นแต่จะ ระบุไว้ในสัญญำหรือตำมที่คู่สัญญำทั้งสองฝ่ำยตกลงกัน
10.3
ก า ร ป ร ะ ว ิ ง ก า ร ท ด ส อ บ เ ม ื ่ อ ง า น แ ล ้ ว เ ส ร ็ จ ( Interference with Tests on Completion) หำกผู้รับจ้ำงถูกสั่งห้ำมมำกกว่ำ 14 วัน จำกกำรไม่ให้ดำเนินกำรทดสอบเมื่องำนแล้วเสร็จ ตำมเหตุซึ่งผู้ว่ำจ้ำงรับผิดชอบ ให้ถือว่ำผู้ว่ำจ้ำงเสมือนหนึ่งยอมรับกำรส่งมอบงำนนั้นแล้ว (ตำมเหตุที่อำจเกิดขึ้น) ในวันที่ที่กำหนดให้มีกำรทดสอบเมื่องำนแล้วเสร็จ ผู้ว่ำจ้ำงจะออก สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-97 | เงื่อนไขของสัญญา
FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
หนังสือรับมอบงำน ผู้รับจ้ำงจะดำเนินกำรทดสอบเมื่องำนแล้วเสร็จโดยเร็วก่อนวันที่กำร ซ่อมบำรุงสิ่งบกพร่องจะหมดอำยุ ผู้ว่ำจ้ำงต้องให้ทำกำรทดสอบเมื่องำนแล้วเสร็จภำยใน เวลำ 14 วันตำมรำยกำรที่กำหนดไว้ในสั ญญำ หำกผู้รับจ้ำงต้องได้รับควำมล่ำช้ำและทำให้ เกิดค่ำใช้จ่ำยจำกกำรดำเนินกำรทดสอบงำนเมื่อแล้วเสร็จ ผู้รับจ้ำงจะมีหนังสือแจ้งผู้ว่ำจ้ำง ตำมข้อย่อย 20.1 (Contractor’s Claims) (ก) ขยำยเวลำชดเชยจำกกำรล่ำช้ำหำกงำนแล้วเสร็จได้เกิดหรือจะเกิดควำมล่ำช้ำตำมข้อ ย่อย 8.4 (Extension of Time for Completion) และ (ข) ค่ำจ้ำงบวกกำไรซึ่งจะเป็นค่ำจ้ำง ในสัญญำจ้ำง เมื่อผู้ว่ำจ้ำงได้รับหนังสือแจ้ง ผู้ว่ำจ้ำง ต้องดำเนินกำรตำมข้อย่อย 3.5 (Determinations) เพื่อเห็นชอบหรือพิจำรณำวินิจฉัย 11. 11.1
การรับผิดชอบสิ่งบกพร่อง/ชารุด (Defects Liability) การแล้ ว เสร็ จ ของงานตกค้ า งและการซ่ อ มแซมสิ ่ ง บกพร่ อ ง ( Completion of Outstanding and Remedying Defects) เพื่อให้งำนนั้นพร้อมเอกสำรรำยงำนของผู้รับจ้ำง และส่วนงำนแต่ละส่วนซึ่งจะต้องมีสภำพดี ตำมสัญญำ (ยกเว้นงำนที่สึกหรอหรือเสียหำยเล็กน้อย) ณ วันหมดอำยุของใบแจ้งรำยกำรสิ่ง บกพร่อง ซึ่งผู้รับจ้ำงต้องดำเนินกำรโดยเร็วดังนี้ (ก) ทำงำนตกค้ำงแล้วเสร็จตำมที่ระบุไว้ในหนังสือรับมอบ ตำมที่ผู้ว่ำจ้ำงสั่งกำรไว้ (ข) และทำกำรซ่อมสิ่งบกพร่องหรือเสียหำย ตำมที่ผู้ว่ำจ้ำงพบก่อนวันหมดอำยุของกำรแจ้ง สิ่งบกพร่อง/บกพร่องของงำนหรือส่วนของงำน (แล้วแต่กรณี) หำกมีกำรพบสิ่งบกพร่องชำรุด ผู้ว่ำจ้ำงจะแจ้งให้ผู้รับจ้ำงซ่อมแซม
11.2
ค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมส่วนชารุดบกพร่อง (Cost of Remedying Defects) อ้ำงถึงข้อย่อย 11.1 (ข) (Completion of Outstanding Work and Remedying Defects ) ผู้รับจ้ำงต้องรับควำมเสี่ยงและค่ำใช้จ่ำย หำกจะต้องดำเนินกำรแก้ไข (ก) ต้องมีกำรออกแบบเพื่อกำรแก้ไขซ่อมแซมโดยผู้รับจ้ำง (ข) โรงงำน/โรงผลิต วัสดุ หรืองำนฝีมือไม่ถูกต้องตำมสัญญำ หรือ (ค) ควำมบกพร่องของผู้รับจ้ำง ไม่ปฏิบัติตำมสัญญำ (คำมข้อย่อย 5.5 ถึง 5.7 หรือ อื่น ๆ ) หรือ หำกกำรดำเนินกำรดังกล่ำวทำให้เกิดผลและเกิดเหตุอื่น ผู้รับจ้ำงต้องแจ้งทันที (เพื่อเป็น ประโยชน์) ต่อผู้ว่ำจ้ำงตำมข้อย่อย 13.3 (Variation Procedure)
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-98 |
เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
11.3
การต่ออายุระยะเวลาการแจ้งข้อบกพร่องชารุด (Extension of Defects Notification Period) ผู้ว่ำจ้ำงมีสิทธิ์ตำมข้อย่อย 2.5 (Employer’s Claims) ในกำรต่ออำยุระยะเวลำกำรแจ้งกำร ซ่อมสิ่งบกพร่องช ำรุดของงำนหรือส่วนของงำน หำกกำรดำเนินกำรงำนนั้น ส่วนของงำน หรือรำยกำรส ำคัญของโรงงำน/โรงผลิต (ในกรณีที่เป็นและภำยหลังกำรรับมอบงำน) ไม่ สำมำรถใช้งำนตำมวัตถุประสงค์อั นเนื่องจำกจำกกำรบกพร่องชำรุด อย่ำงไรก็ดี ระยะเวลำ กำรแจ้งสิ่งบกพร่องชำรุดจะต้องไม่เกินกว่ำ 2 ปี หำกกำรส่งหรือกำรติดตั้งโรงงำน/โรงผลิต หรือวัสดุ ถูกระงับตำมข้อย่อย 8.8 (Suspension of Work) หรือข้อย่อย 16.1 (Contractor’s Entitlement to Suspend Work) ผู้รับจ้ำงมี พันธะหน้ำที่ตำมข้อย่อยนี้จะไม่นำมำบังคับใช้กับสิ่งบกพร่องชำรุดหรือกำรเสียหำยที่เกิดขึ้น มำกกว่ำ 2 ปี เมื่อระยะเวลำกำรแจ้งสิ่งบกพร่องชำรุดสำหรับโรงงำน/โรงผลิต หรือวัสดุ อัน เกิดจำกกำรหมดอำยุระยะเวลำ
11.4
ข้อบกพร่องจากการซ่อมแซมสิ่งบกพร่องชารุด (Failure to Remedy Defects) หำกผู้รับจ้ำงบกพร่องในกำรเยียวยำซ่อมแซมสิ่งบกพร่องชำรุดภำยในเวลำที่เหมำะสม ผู้ว่ำ จ้ำงอำจจะเป็นผู้กำหนดวันที่ต้องซ่อมให้แล้วเสร็จ ผู้รับจ้ำงต้องแจ้งเป็นหนังสือ วันที่กำร ซ่อมแซมแล้วเสร็จ หำกผู้รับจ้ำงบกพร่องในกำรซ่อมแซมตำมวันที่ผู้ว่ำจ้ำงกำหนดให้โดยผู้ รั บ จ้ ำ งต้ อ งรั บ ผิ ด ชอบค่ ำ ใช้ จ ่ ำ ยในกำรซ่ อ มตำมข้ อ ย่ อ ย 11.2 (Cost of Remedying Defects) ผู้ว่ำจ้ำงอำจจะ (ก) ผู้ว่ำจ้ำงซ่อมแซมเองหรือให้ผู้อื่นซ่อม โดยอยู่ในค่ำใช้จ่ำยของผู้รับจ้ำง แต่ผู้รับจ้ำงจะไม่ รับควำมเสี่ยงของงำนซ่อมตำมสิทธิ์ข้อย่อย 2.5 (Employer’s Claims) ซึ่งผู้รับจ้ำงต้องจ่ำย ค่ำซ่อมแซมแก่ผู้ว่ำจ้ำง (ข) ผู้ว่ำจ้ำงต้องให้ควำมเห็นชอบหรือพิจำรณำกำรหักค่ำจ้ำงจำกค่ำจ้ำงตำมสัญญำตำมข้อ ย่อย 3.5 (Determinations) หรือ (ค) หำกสิ่งบกพร่องชำรุดหรือควำมเสียหำยทำให้ผู้ว่ำจ้ำงไม่สำมำรถใช้ประโยชน์จำกผลงำน ก่อสร้ำงงำนทั้งหมดหรืองำนบำงส่วน กำรบอกเลิกสัญญำงำนทั้งหมดหรือบอกเลิกเพียง บำงส่วนโดยไม่ส่งผลกระทบต่อสิทธิอื่นภำยใต้สัญญำนี้ หรือผู้ว่ำจ้ำงมีสิทธิ์เรียกคืนค่ำจ้ำง ทั้งหมดที่ได้จ่ำยเป็นค่ำจ้ำงของงำนส่วนนั้นบวกค่ำใช้จ่ำยทำงกำรเงิน และค่ำใช้ จ่ำยในกำร รื้อถอน กำรทำควำมสะอำดพื้นที่ กำรส่งคืนโรงงำน/โรงผลิต หรือวัสดุให้แก่ผู้รับจ้ำง
11.5
การรื้อถอนสิ่งชารุดบกพร่อง (Renewal of Defective Work) หำกสิ่งช ำรุดบกพร่องหรือควำมเสียหำยไม่สำมำรถซ่อมแซมให้ใช้งำนได้ในพื้นที่โครงกำร และผู้ว่ำจ้ำงอนุญำตให้ผู้รับจ้ำงรื้อย้ำยออกจำกพื้นที่โครงกำรเพื่อทำกำรซ่อมแซมส่วนที่ สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-99 | เงื่อนไขของสัญญา
FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
บกพร่องชำรุด กำรยินยอมนี้อำจทำให้ผู้รับจ้ำง ต้องเพิ่มหลักประกันผลงำนตำมสัญญำให้ เต็มมูลค่ำของรำยกำรนี้หรืออำจใช้หลักประกันอื่นที่เหมำะสม 11.6
การทดสอบเพิ่มเติม (Further Tests) หำกกำรซ่อมสิ่งบกพร่องช ำรุดหรือควำมเสียหำย มีผลกระทบต่อกำรดำเนินงำน ผู้ว่ำจ้ำง อำจให้ผู้รับจ้ำง ทำกำรทดสอบซ้ำตำมที่ระบุไว้ในสัญญำนี้ โดยจะออกหนังสือแจ้งให้ผู้รับจ้ำง ภำยใน 28 วัน หลังจำกสิ่งบกพร่องช ำรุดหรือเสียหำยได้กำรซ่อมแล้ว กำรทดสอบเพิ่ม เหล่ำนี้จะดำเนินกำรตำมขอบเขตงำนกำรทดสอบของครั้งที่แล้ว เว้นแต่กำรทดสอบนั้นอยู่ บนควำมเสี่ยงและค่ำใช้จ่ำยของผู้เกี่ยวข้องตำมหัวข้อย่อย 11.2 (Cost of Remedying Defects)
11.7
สิทธิ์การเข้าออก (Right of Access) จนกว่ำได้ออกหนังสือรับรอง กำรดำเนินงำนได้ (Performance) ผู้รับจ้ำงจึงจะมีสิทธิ์เข้ำ ออกเพื่อปฏิบัติงำนได้ตำมหัวข้อนี้เว้นแต่ต้องปฏิบัติตำมระเบียบกำรรักษำควำมปลอดภัย ของผู้ว่ำจ้ำง
11.8
การตรวจหาของผู้รับจ้าง (Contractor to Search) หำกเป็นควำมประสงค์ของผู้ว่ำจ้ำง ให้ผู้รับจ้ำงตรวจหำสำเหตุสิ่งบกพร่องชำรุดตำมคำสั่งวิธี ของผู้ว่ำจ้ำง นอกจำกสิ่งบกพร่องชำรุดนั้นต้องซ่อมด้วยค่ำใช้จ่ำยของผู้ว่ำจ้ำงตำมข้อย่อย 11.2 (Cost of Remedying Defects) ค่ำใช้จ่ำยในกำรตรวจหำบวกค่ำก ำไรนั้น ผู้ว่ำจ้ำง ต้องเห็นชอบหรือผู้ว่ำจ้ำงพิจำรณำตำมหัวข้อย่อย 3.5 (Determination) ค่ำใช้จ่ำยจะรวม เป็นค่ำจ้ำงตำมสัญญำ
11.9
หนังสือรับรองการดาเนินการ (Performance Certificate) กำรปฏิบัติงำนตำมพันธะหน้ำที่ของผู้รับจ้ำงจะพิจำรณำเป็นงำนแล้วเสร็จได้จนกว่ำผู้ว่ำจ้ำง ได้ออกหนังสือรับรองกำรดำเนินงำนได้ให้แก่ผู้รับจ้ำง ระบุวันที่ซึ่งผู้รับจ้ำงได้ปฏิบัติพันธะ หน้ำที่จนแล้วเสร็จตำมสัญญำ ผู้ว่ำจ้ำงจะออกหนังสือรับรองกำรดำเนินงำนให้ภำยใน 28 วัน ภำยหลังวันที่ครั้งสุดท้ำยของ อำยุกำรแจ้งสิ่งบกพร่องชำรุด หลังจำกนั้นผู้รับจ้ำงต้องส่งมอบเอกสำรรำยงำน และผลกำร ทดสอบเมื่องำนแล้วเสร็จ รวมทั้งกำรซ่อมสิ่งบกพร่องชำรุด กรณีผู้ว่ำจ้ำงไม่ออกใบรับรอง กำรปฏิบัติงำน: (ก) ใบรับรองกำรดำเนินงำนให้ถือว่ำเป็นกำรออกในวันที่ 28 วันหลังจำกวันที่ควรได้รับกำร ออกตำมควำมในข้อย่อยนี้ และ
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-100 |
เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
(ข) ข้อย่อย 11.11 (Clearance of Site) และวรรค (ก) ของข้อย่อย 14.14 (Cessation of Employer’s Liability) จะไม่มีผลใช้บังคับ เฉพำะใบรับรองกำรดำเนินงำนถือว่ำเป็นกำรยอมรับผลงำน 11.10 พันธะหน้าที่ซึ่งยังไม่ได้ดาเนินการ (Unfulfilled Obligations) ภำยหลังได้ออกหนังสือรับรองกำรด ำเนินงำนได้ คู่สัญญำยังคงต้องมีควำมพร้อมในกำร ดำเนินกำรใด ๆ ให้หน้ำที่พันธะที่ยังไม่ได้ดำเนินกำร ณ เวลำนั้นตำมวัตถุประสงค์ของพันธะ หน้ำที่ ให้สัญญำนั้นยังคงใช้บังคับต่อไป 11.11 การทาความสะอาดพื้นที่โครงการ (Clearance of Site) ทันทีที่ได้รับหนังสือรับรองให้ดำเนินงำนได้ ผู้รับจ้ำงต้องทำกำรรื้อถอน เครื่องมือ สิ่งชำรุดผุ พัง มูลฝอย และโครงสร้ำงงำนชั่วครำวออกจำกพื้นที่โครงกำร หำกสิ่งของดังกล่ำวข้ำงต้นยังไม่ได้ขนย้ำยภำยใน 28 วัน นับแต่ผู้รับจ้ำงได้รับหนังสือรับรอง ให้ดำเนินงำนได้ ผู้ว่ำจ้ำงอำจจะจำหน่ำยสิ่งของเหล่ำนั้น ผู้ว่ำจ้ำงมีสิทธิ์เรียกค่ำใช้จ่ำยอั น เนื่องจำกกำรก ำจั ดสิ่งเหลือใช้ดังกล่ำวข้ำงต้นและค่ำใช้จ่ำยในกำรท ำควำมสะอำดพื้นที่ โครงกำร รำยได้จำกกำรขำยสิ่งเหลือใช้ดังกล่ำว ผู้ว่ำจ้ำงจะคืนให้แก่ผู้รับจ้ำง หำกรำยได้ไม่พอกับกำร ขำยสิ่งเหลือใช้ดังกล่ำว ผู้รับจ้ำงต้องจ่ำยชดเชยให้แก่ผู้ว่ำจ้ำง 12. 12.1
การทดสอบเมื่องานแล้วเสร็จ (Tests after Completion) ขั้นตอนวิธีการทดสอบเมื่องานแล้วเสร็จ (Procedure for Tests after Completion) หำกกำรทดสอบหลังจำกงำนเสร็จสิ้น ได้ระบุไว้ในสัญญำให้ใช้รำยละเอียดตำมข้อนี้ เว้นแต่ จะระบุไว้เป็นอย่ำงอื่นในเงื่อนไขเฉพำะ: (ก) ผู้ว่ำจ้ำงจะต้องจัดหำไฟฟ้ำ เชื้อเพลิง และวัสดุทั้งหมดพร้อมทั้งจัดหำบุคลำกรและ โรงงำน/โรงผลิต ของผู้ว่ำจ้ำงให้พร้อม (ข) ผู้รับจ้ำงต้องจัดหำอุปกรณ์เครื่องมือและบุคลำกรที่มีประสบกำรณ์และเหมำะสมตำมที่ จำเป็นเพื่อให้กำรทดสอบเสร็จสิ้นอย่ำงมีประสิทธิภำพ และ (ค) ผู้รับจ้ำงจะต้องทำกำรทดสอบหลังจำกเสร็จสิ้ นในสถำนที่ทำงำนของผู้ว่ำจ้ำงและ/หรือ บุคลำกรของผู้รับจ้ำงดังกล่ำวตำมที่คู่สัญญำฝ่ำยใดฝ่ำยหนึ่งอำจร้องขอ กำรทดสอบภำยหลังเสร็จสิ้น จะต้องดำเนินกำรโดยเร็วที่สุดเท่ำที่จะเป็นไปได้ ในทำงปฏิบัติ หลังจำกที่โรงงำน/โรงผลิต หรือส่วนงำนถูกครอบครองโดยผู้ว่ำจ้ำง ผู้ว่ ำจ้ำงจะต้องแจ้งให้ ผู้รับจ้ำงทรำบล่วงหน้ำ 21 วัน นับจำกวันที่จะดำเนินกำรทดสอบหลังจำกงำนเสร็จสิ้น เว้น
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-101 | เงื่อนไขของสัญญา
FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
แต่จะได้ตกลงกันเป็นอย่ำงอื่น กำรทดสอบเหล่ำนี้จะต้องดำเนินกำรภำยใน 14 วันหลังจำก วันดังกล่ำว หรือวันที่กำหนดโดยผู้ว่ำจ้ำง ผลกำรทดสอบหลังจำกงำนเสร็จสิ้นจะต้องรวบรวมและประเมินผลโดยผู้รับจ้ำงซึ่งจะต้อง จัดทำรำยงำนโดยละเอียด บัญชีที่เหมำะสมจะต้องคำนึงถึงผลกระทบจำกกำรใช้งำนของผู้ ว่ำจ้ำงก่อนหน้ำนี้ 12.2
การทดสอบที่ล่าช้า (Delayed Test) หำกผู้รับจ้ำงต้องเสียค่ำใช้จ่ำยอันเนื่องมำจำกกำรที่ผู้ว่ำจ้ำงไม่สำมำรถดำเนินกำรทดสอบได้ ภำยในเวลำที่กำหนด ผู้รับจ้ำงต้อง (1) แจ้งให้ผู้ว่ำจ้ำงทรำบและ (2) มีสิทธิตำมข้อ 20.1 (Contractor’s Claim) เพื่อกำรชำระเงินดังกล่ำวบวกกำไรที่สมเหตุสมผลซึ่งจะถูกเพิ่มเข้ำ ไปในรำคำตำมสัญญำ หลังจำกได้รับหนังสือแจ้งนี้ ผู้ว่ำจ้ำงจะต้องดำเนินกำรตำมข้อ 3.5 (Determinations) เพื่อ ตกลงหรือกำหนดค่ำใช้จ่ำยและผลกำไรนี้ หำกไม่ได้รับกำรทดสอบหลังจำกเสร็จสิ้นกำรทำงำนหรือส่วนใด ๆ ในช่วงระยะเวลำกำรแจ้ง ควำมบกพร่อง (หรือระยะเวลำอื่นใดที่คู่สัญญำทั้งสองฝ่ำยตกลงกัน) งำนหรือส่วนงำนจะถือ ว่ำผ่ำนกำรทดสอบนี้
12.3
การทดสอบซ้า (Retesting) หำกงำนหรือส่วนงำนไม่ผ่ำนกำรทดสอบหลังจำกเสร็จสิ้น: (ก) ย่ อ หน้ ำ ย่ อ ย (ข) ของข้ อ ย่ อ ย 11.1 (Completion of Outstanding Work and Remedying of Defects) จะใช้บังคับ และ (ข) คู่สัญญำฝ่ำยหนึ่งฝ่ำยใด อำจเรียกร้องให้มีกำรทดสอบซ้ำ สำหรับกำรทดสอบที่ล้มเหลว และกำรทดสอบหลังจำกงำนแล้วเสร็จ ภำยใต้เงื่อนไขนี้ หำกและในส่วนที่ควำมล้มเหลวและกำรทดสอบใหม่นี้ มีสำเหตุมำจำกประเด็นใด ๆ ที่ระบุ ไว้ในอนุวรรค (ก) ถึง (ง) ของข้อย่อย 11.2 (Cost of Remedying Defects) และทำให้ผู้ว่ำ จ้ำงต้องเสียค่ำใช้จ่ำยเพิ่มเติม ผู้รับจ้ำง ภำยใต้ข้อย่อย 2.5 (Employer’s Claim) จะจ่ำย ค่ำใช้จ่ำยเหล่ำนี้ให้กับผู้ว่ำจ้ำง
12.4
ไม่ผ่านการทดสอบหลังจากงานเสร็จสิ้น (Failure to Pass Tests after Completion) หำกมีเงื่อนไขดังต่อไปนี้คือ (ก) งำนหรือส่วนใด ๆ ไม่ผ่ำนกำรทดสอบ หรือกำรทดสอบภำยหลังงำนแล้วเสร็จทั้งหมด
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-102 |
เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
(ข) จะมีกำรระบุจำนวนเงินที่เกี่ยวข้องซึ่งเป็นค่ำเสียหำยที่ไม่เป็นไปตำมข้อกำหนดสำหรับ ข้อผิดพลำดนี้ (หรือวิธีกำรคำนวณที่ระบุไว้) ในสัญญำ และ (ค) ผู้รับจ้ำงจ่ำยเงินค่ำเสียหำยที่เกี่ยวข้องให้กับผู้ว่ำจ้ำงในช่วงระยะเวลำแจ้งควำมบกพร่อง (Defects Notification Period) จำกนั้นงำนหรือส่วนงำนจะถือว่ำผ่ำนกำรทดสอบหลังจำกงำนแล้วเสร็จ หำกงำนหรือส่วนงำนใดไม่ผ่ำนกำรทดสอบหลังจำกงำนแล้วเสร็จ และผู้รับจ้ำงเสนอที่จะทำ กำรปรับเปลี่ยนหรือแก้ไขงำนหรือส่วนงำนดังกล่ำว ผู้รับจ้ำงอำจได้รับคำสั่งจำก (หรือใน นำมของ) ผู้ว่ำจ้ำงถึงสิทธิ์ในกำรเข้ำถึง ไม่สำมำรถกำหนดได้ จนกว่ำจะถึงเวลำที่สะดวกของ ผู้ว่ำจ้ำง จำกนั้นผู้รับจ้ำงจะต้องรับผิดต่อกำรปรับเปลี่ยนหรือแก้ไขและปฏิบัติตำมกำร ทดสอบนี้ ภำยในระยะเวลำอันสมควรที่จะได้รับกำรแจ้งโดยผู้ว่ำจ้ำงหรือในนำมของผู้ว่ำจ้ำง ในเวลำที่เหมำะสม อย่ำงไรก็ตำมหำกผู้รับจ้ำงไม่ได้รับหนังสือบอกกล่ำวในช่วงระยะเวลำแจ้งควำมบกพร่องที่ เกี่ยวข้อง ผู้รับจ้ำงจะได้รับกำรปลดเปลื้องภำระผูกพันจำกงำนหรือส่วนงำน (แล้วแต่ก รณี) และจะถือว่ำผ่ำนกำรทดสอบนี้ หำกผู้รับจ้ำงเสียค่ำใช้จ่ำยเพิ่มเติมอันเป็นผลมำจำกกำรที่ผู้ว่ำจ้ำงไม่อนุญำตให้เข้ำทำงำน โดยไม่แจ้งให้ทรำบล่วงหน้ำ เพื่อตรวจหำสำเหตุของควำมล้มเหลวในกำรทดสอบหลังจำก งำนแล้วเสร็จ หรือเพื่อดำเนินกำรปรับเปลี่ยนหรือแก้ไขใด ๆ ผู้รั บจ้ำงต้อง (1) แจ้งให้ผู้ว่ำ จ้ำงทรำบและ (2) มีสิทธิภำยใต้ข้อย่อย 20.1 (Contractor’s Claims) เพื่อจ่ำยค่ำใช้จ่ำย ดังกล่ำวรวมทั้งผลกำไรที่สมเหตุสมผลซึ่งจะเพิ่มในรำคำตำมสัญญำ หลังจำกได้รับหนังสือแจ้งนี้ผู้ว่ำจ้ำงจะต้องดำเนินกำรตำมข้อ 3.5 (Determinations) เพื่อ ตกลงหรือกำหนดค่ำใช้จ่ำยและผลกำไรนี้ 13. 13.1
การเปลี่ยนแปลงและการปรับแก้ไข (Variations and Adjustments) สิทธิในการเปลี่ยนแปลง (Right to Vary) กำรเปลี่ยนแปลงอำจเริ่มจำกผู้ว่ำจ้ำงได้ตลอดเวลำก่อนจะออกหนังสือกำรรับมอบงำนโดย คำสั่งของผู้ว่ำจ้ำงหรือกำรร้องขอให้ผู้รับจ้ำงจัดทำข้อเสนอ ผู้รับจ้ำงต้องดำเนินกำรและมี หน้ำที่ในทุกรำยกำรของกำรเปลี่ยนแปลง เว้นแต่ผู้รับจ้ำงจะมีหนังสือแจ้งพร้อมรำยงำนให้ ผู้ว่ำจ้ำงว่ำไม่พร้อมจะจัดหำพัสดุเพื่อกำรเปลี่ยนแปลงนั้น ทันทีที่ผู้ว่ำจ้ำงได้รับหนังสือจำก ผู้รับจ้ำง ผู้ว่ำจ้ำงต้องยกเลิกคำสั่งหรือเปลี่ยนแปลงคำสั่งใหม่ (ก) เปลี่ยนปริมำณรำยกำรหนึ่งรำยกำรใดของงำนซึ่งรวมอยู่ในสัญญำ (อย่ำงไรก็ดีกำร เปลี่ยนแปลงนั้นไม่จำเป็นต้องเป็นรำยกำรเปลี่ยนแปลง (Vary)) (ข) เปลี่ยนคุณภำพและคุณลักษณะอื่นของรำยกำรใด ๆ ของงำน สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-103 | เงื่อนไขของสัญญา
FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
(ค) เปลี่ยนระดับ ตำแหน่ง และมิติของส่วนใดของรำยกำรงำน (ง) ส่วนยกเว้นของงำนใด ๆ เว้นแต่เป็นงำนของรำยอื่น (จ) งำนเพิ่มใด ๆ โรงงำน/โรงผลิต หรือวัสดุ และบริกำรที่จำเป็นสำหรับงำนถำวรรวมทั้ง กำรทดสอบที่เกี่ยวข้องเมื่องำนแล้วเสร็จ หลุม เจำะและกำรทดสอบอื่น รวมถึงกำรเจำะ สำรวจ หรือ (ฉ) เปลี่ยนลำดับขั้นตอนหรือช่วงระยะเวลำกำรทำงำนก่อสร้ำง ผู้รับจ้ำงต้องไม่เปลี่ยนแปลงใด ๆ และหรือดัดแปลงส่วนใดของงำนถำวร เว้นแต่ และ จนกว่ำผู้ว่ำจ้ำงจะมีคำสั่งอนุมัติกำรเปลี่ยนแปลงก่อน ผู้ว่ำจ้ำงสำมำรถเปลี่ยนแปลงงำนได้ตลอดเวลำก่อนที่จะมีกำรออกใบรับรองกำรรับงำน โดย คำสั่งหรือโดยกำรขอให้ผู้รับจ้ำงยื่นข้อเสนอ กำรเปลี่ยนแปลงจะต้องไม่รวมถึงกำรละเว้น กำรทำงำนใด ๆ ที่จะต้องดำเนินกำรโดยผู้อื่น ผู้รับจ้ำงจะต้องดำเนินกำร และผูกพันตำมรูปแบบกำรเปลี่ยนแปลง เว้นแต่ผู้รับจ้ำงจะแจ้ง ให้ผู้ว่ำจ้ำงโดยทันที (พร้อมรำยละเอียดที่สนับสนุน) ว่ำ (1) ผู้รับจ้ำงไม่สำมำรถรับสินค้ำที่ จำเป็นสำหรับกำรเปลี่ยนแปลงได้ (2) จะมีผลในกำรลดควำมปลอดภัย หรือควำมเหมำะสม ของผลงำนหรือ (3) มีผลกระทบต่อควำมสำเร็จของกำรรับประกันผลกำรปฏิบัติงำน เมื่อ ได้รับหนังสือแจ้งนี้ผู้ว่ำจ้ำงจะต้องยกเลิกกำรยืนยัน หรือเปลี่ยนแปลงคำสั่ง 13.2
วิศวกรรมคุณค่า (Value Engineering) ตลอดเวลำผู้รับจ้ำงอำจจะจัดท ำรำยงำนข้อเสนอเสนอต่อผู้ว่ำจ้ำง (ตำมควำมเห็นของ ผู้รับจ้ำง) หำกจะยอมรับ (1) เร่งให้งำนแล้วเสร็จเร็วขึ้น (2) ประหยัดค่ำก่อสร้ำง ให้แก่ผู้ว่ำจ้ำงในกำรดำเนินกำร กำรบำรุงรักษำเมื่อเปิดดำเนินกำร กิจกำร (3) เพิ่มประสิทธิภำพหรือคุณค่ำต่อโครงกำรของผู้ว่ำจ้ำง หรือ (iv) เป็นผลประโยชน์ต่อผู้ว่ำจ้ำง ผู้รับจ้ำงต้องเป็นผู้รับผิดชอบค่ำใช้จ่ำยในกำรจัดทำรำยงำนข้อเสนอพร้อมด้ วยรำยกำรตำม ข้อย่อย 13.3 (Variation Procedure)
13.3
วิธีการเปลี่ยนแปลง (Variation Procedure) หำกผู้ว ่ำจ้ำงต้องกำรให้ผ ู้ ร ับจ้ ำงจั ดท ำข้อ เสนอก่อ นที ่ผ ู้ว ่ ำจ้ำ งจะออกค ำสั่ งเรื่ อ งกำร เปลี่ยนแปลง ผู้รับจ้ำงต้องตอบสนองด้วยลำยลักษณ์อักษรโดยเร็วด้วยกำรให้เหตุผลว่ำไม่ สำมำรถดำเนินกำรตำมได้หรือโดยกำรยื่นข้อเสนอ
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-104 |
เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
(ก) คำอธิบำยของงำนที่เสนอที่จะดำเนินกำรพร้อมกับแผนงำนที่จะดำเนินกำร (ข) ข้อเสนอของผู้รับจ้ำงที่จำเป็นต้องปรับปรุงกับแผนงำนตำมข้อย่อย 8.3 (Programme) และระยะเวลำที่แล้วเสร็จ และ (ค) หำกข้อเสนอของผู้รับจ้ำงต้องทำตรวจวิเครำะห์กำรเปลี่ยนแปลงรำคำสัญญำนั้น ผู้ว่ำจ้ำงจะต้องกระทำโดยเร็วที่สุด ภำยหลังได้รับข้อเสนอของผู้รับจ้ำงตำมข้อย่อย 13.2 (Value Engineering) หรืออย่ำงอื่นเพื่อกำรพิจำรณำอนุมัติหรือไม่อนุมัติหรือให้ข้อคิดเห็น ผู้รับจ้ำงต้องไม่ชักช้ำในกำรทำงำนใด ๆ ในระหว่ำงรอกำรพิจำรณำ ทุกคำสั่งในกำรเปลี่ยนแปลงที่มีค่ำใช้จ่ำย จะต้องเป็นคำสั่งจำกผู้ว่ำจ้ำงที่ออกให้แก่ผู้รับจ้ำง และผู้รับจ้ำงต้องออกใบเสร็จให้ เมื่อได้รับค ำแนะน ำหรืออนุมัติกำรเปลี่ยนแปลง ผู้ว่ำจ้ำงจะด ำเนินกำรตำมข้อย่อย 3.5 (Determinations) เพื่อตกลงหรือก ำหนดกำรปรับรำคำสัญญำและก ำหนดกำรช ำระเงิน กำรปรับค่ำใช้จ่ำยเหล่ำนี้จะรวมถึงผลกำไรที่สมเหตุสมผล และจะต้องคำนึงถึงกำรส่งของผู้ รับจ้ำงตำมข้อย่อย 13.2 (Value Engineering) 13.4
ค่าจ้างตามสกุลเงินที่กาหนด (Payment in Applicable Currencies) ถ้ำผู้รับจ้ำงขอเบิกค่ำจ้ำงมำกกว่ำหนึ่งสกุลเงิน เมื่อทั้งสองฝ่ำยได้ปรับจำนวนเงินตำมที่ตกลง ตำมที่ได้พิจำรณำและอนุมัติเห็นชอบแล้วตำมจำนวนเงินและตำมแต่ละรำยกำรจ่ำยของ สกุลเงินแล้ว ตำมวัตถุประสงค์ กำรอ้ำงอิงต้องเป็นไปตำมจริงและตำมที่คำดหมำยไว้ตำม สัดส่วนของงำนและมูลค่ำงำน
13.5
เงินสารองเผื่อจ่าย (Provisional Sum) เงินสำรองเผื่อจ่ำยแต่ละรำยกำร จะใช้ได้ทั้งหมดหรือบำงส่วนนั้นต้องเป็นไปตำมคำสั่งของ ผู้ว่ำจ้ำง และรำคำงำนตำมสัญญำจะต้องถูกปรับตำมนั้น จำนวนทั้งหมดที่จ่ำยให้ผู้รับจ้ำงจะ รวมจำนวนเงินนั้นเท่ำนั้นเพื่องำน วัสดุ หรือค่ำบริกำรที่เกี่ยวข้อง เงินสำรองเผื่อจ่ำย ตำมที่ ผู้ว่ำจ้ำงสั่งกำร เงินสำรองเผื่อจ่ำยแต่ละรำยกำร ผู้ว่ำจ้ำงอำจมีคำสั่งดังนี้ (ก) งำนที่จะดำเนินกำร (รวมอุปกรณ์ประกอบโรงงำน/โรงผลิต วัสดุและบริกำร) โดยผู้รับ จ้ำงและคิดรำคำตำมข้อย่อย 13.3 (Variation Procedure) และหรือ (ข) อุปกรณ์ประกอบโรงงำน/โรงผลิต วั สดุ หรือบริกำรที่ผู้รับจ้ำงจัดซื้อจำกผู้รับจ้ำงช่วงที่ ก ำหนด ตำมข้อ 5 (Nominated Subcontractors) หรือมิฉะนั้น จะรวมอยู่ในรำคำงำน (ค่ำจ้ำง) ในสัญญำ (1) ตำมจำนวนที่จ่ำยจริง (หรือที่ค้ำงจ่ำย) โดยผู้รับจ้ำง และ
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-105 | เงื่อนไขของสัญญา
FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
(2) ค่ำดำเนินกำรและกำไรโดยคำนวนตำมร้อยละของจำนวนจ่ำยจริงตำมจำนวนที่กำหนด ไว้ (ถ้ำมี) ในรำยกำรหนึ่งรำยกำรใด หำกไม่มีกำหนดไว้ให้ใช้อัตรำร้อยละตำมที่กำหนดไว้ใน สัญญำ 13.6
ค่างานรายวัน (Day Work) ส ำหรับ งำนเล็กหรืองำนปกติว ิส ัย ผู้ว ่ำจ้ำงอำจจะสั่งให้ท ำงำนที่มีกำรเปลี่ยนแปลงใน ช่วงเวลำทำงำนของวันท ำงำนปกติ ฉะนั้นผู้รับจ้ำงจะคิดค่ำจ้ำงงำนในอัตรำท ำงำนปกติ วิธีกำรต่อไปนี้จะน ำมำใช้ ในรำยกำรแผนงำนรำยวันตำมสัญญำ หัวข้อย่อย 13.6 นี้จะไม่ นำมำใช้ ก่อนที่จะมีกำรสั่งซื้อสินค้ำเพื่องำนนั้น ๆ ผู้รับจ้ำงต้องแสดงใบเสนอรำคำให้แก่ผู้ว่ำจ้ำง เมื่อ ผู้รับจ้ำงเสนอเบิกค่ำจ้ำง ผู้รับจ้ำงต้องแนบใบแจ้งหนี้ กำรซื้อ รำยกำรซื้อ บัญชีรำยกำรและ ใบเสร็จสินค้ำ เว้นแต่สำหรับหัวข้องำนในแผนงำนรำยวันนั้นไม่มีจ่ำย ผู้รับจ้ำงต้องจัดส่งรำยกำรพร้อมใบ สำเนำให้แก่ผู้ว่ำจ้ำงทุกวันซึ่งต้องรวมทัง้ รำยละเอียดในกำรใช้ทรัพยำกรทั้งปวง ซึ่งไม่รวมกับ กำรใช้ทรัพยำกรของวันอื่น ๆ โดยระบุ (ก) ชื่อ ตำแหน่ง และจำนวนชั่วโมงทำงำนของบุคลำกรของผู้รับจ้ำง (ข) ชื่อเครื่องมือ ประเภทเครื่องมือ และจำนวนชั่วโมงทำงำนของเครื่องมือของผู้รับจ้ำง (ค) ปริมำณ/จำนวน และประเภทอุปกรณ์ประกอบโรงงำน/โรงผลิตและวัสดุที่ผู้รับจ้ำงใช้ ส ำเนำของแต่ละรำยกำรที่มีควำมถูกต้องและได้รับควำมเห็นชอบกันแล้ว ผู้ว่ำจ้ำงต้องลง นำมและส่งคืนให้ผู้รับจ้ำง ผู้รับจ้ำงจึงยื่นใบรำยกำรรำคำให้แก่ผู้ว่ำจ้ำง ก่อนที่ผู้รับจ้ำงยื่น เสนอรำยกำรใหม่ ภำยใต้ ห ั ว ข้ อ ย่ อ ย 14.3 (Application for Interim Payment Certificate)
13.7
การปรับปรุงแก้ไขเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงตามกฎหมาย (Adjustments for Changes in Legislation) รำคำงำน (ค่ ำ จ้ ำ ง) ตำมสั ญ ญำจะถู ก พิ จ ำรณำปรั บ ขึ ้ น หรื อ ปรั บ ลดตำมผลแห่ ง กำร เปลี่ยนแปลงกฎหมำยใหม่ของประเทศนั้น ๆ (รวมถึงกำรเปลี่ยนกฎหมำยใหม่ และกำร ยกเลิก หรือกำรแก้ไขกฎหมำยที่มีอยู่) หรือกำรตีควำมของรัฐบำล กำรปรับปรุงแก้ไขสัญญำ ให้เป็นไปตำมวันที่มีผลตำมกฎหมำยบังคับ ซึ่งสงผลกระทบตอผู รับจ้ำงในกำรปฏิบัติตำม ขอผูกพันภำยใตสัญญำ หำกผู้รับจ้ำงต้องรับภำระ (หรือจะต้องรั บภำระ) และ/หรือต้องเสียค่ำใช้จ่ำยเพิ่มเติม (หรือ จะเพิ่มขึ้น) เนื่องจำกกำรเปลี่ยนแปลงในเรื่องกฎหมำยหรือในกำรตีควำมดังกล่ำว ซึ่งทำขึ้น
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-106 |
เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
หลังจำกวันฐำน ผู้รับจ้ำงจะแจ้งให้ผู้ว่ำจ้ำงทรำบ และจะได้รับสิทธิภำยใต้ข้อย่อย 20.1 (Contractor’s Claim) เพื่อ: (ก) กำรขยำยระยะเวลำกำรล่ำช้ำดังกล่ำว หำกเสร็จสิ้นหรือจะล่ำช้ำภำยใต้หัวข้อย่อยที่ 8.4 (Extension of Time for Completion) และ (ข) กำรชำระเงินค่ำใช้จ่ำยดังกล่ำว ซึ่งจะรวมอยู่ในรำคำตำมสัญญำ หลังจำกได้รับหนังสือแจ้งนี้ ผู้ว่ำจ้ำงจะต้องดำเนินกำรตำมข้อย่อย 3.5 (Determinations) เพื่อตกลงหรือกำหนดเรื่องเหล่ำนี้ 13.8
การปรับราคา (Adjustments for Changes in Cost) หำกรำคำสัญญำมีกำรปรับเพิ่มขึ้นหรือลดลงในต้นทุนแรงงำนสินค้ำและปัจจัยกำรผลิตอื่น ๆ กำรปรับค่ำทดแทนให้คำนวณตำมข้อกำหนดในเงื่อนไขเฉพำะ
14. ค่าจ้างตามสัญญาและการจ่ายเงิน (Contract Price and Payment) 14.1 ค่าจ้างตามสัญญา (The Contract Price) เว้นแต่ได้ระบุในเงื่อนไขพิเศษ (ก) กำรจ่ำยเงินส ำหรับงำนก่อสร้ำงจะจ่ำยบนพื้นฐำนรำคำเหมำรวม โดยอำจมีกำรปรับ รำคำตำมที่ระบุในสัญญำ และ (ข) ผู้รับจ้ำงต้องจ่ำยภำษีทั้งปวง ค่ำธรรมเนียม ภำษีสรรพสำมิต ตำมที่สัญญำระบุไว้ และ ค่ำจ้ำงตำมสัญญำจะถูกปรับเพิ่มลดตำมค่ ำภำษีไม่ได้ เว้นแต่ที่ระบุไว้ในข้อย่อย 13.7 (Adjustments for Change in Ligislation) 14.2
เงินล่วงหน้า (Advance Payment) ผู้ว่ำจ้ำงจะมีกำรจ่ำยเงินล่วงหน้ำเสมือนหนึ่งเป็นเงินกู้ ไม่มีดอกเบี้ย สำหรับกำรเตรียมงำน และออกแบบให้แก่ผู้รับจ้ำง โดยผู้รับจ้ำงต้องวำงหลักค้ำประกันกำรจ่ำยเงินล่วงหน้ำ ตำมที่ ระบุในเงื่อนไขเฉพำะ หำกมิได้ระบุให้ดำเนินกำรตำมนี้: (ก) จำนวนเงินที่ชำระล่วงหน้ำ ตำมข้อย่อยนี้ ไม่มีผลใช้บังคับ (ข) จำนวนและระยะเวลำผ่อนชำระ ให้มีเพียงอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งเท่ำนั้น (ค) สกุลเงินและสัดส่วนที่ใช้บังคับให้เป็นรำคำที่ต้องชำระ และ/หรือ (ง) อัตรำกำรหักส ำหรับ กำรช ำระคืนให้ค ำนวณโดยกำรหำรยอดรวมของกำรช ำระเงิน ล่วงหน้ำตำมรำคำตำมสัญญำที่ระบุไว้ในสัญญำลงหักด้วยยอดเงินสำรองเผื่อจ่ำย ผู้ว ่ำจ้ำงจะต้องจ่ำยเงิน งวดแรกหลังจำกได้รับ (1) Statement (ภำยใต้ ข้อย่อย 14.3 (Application for Interim Payments)) (2) Performance Security ตำมข้ อ ย่ อ ย 4.2 สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-107 | เงื่อนไขของสัญญา
FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
(Performance Security) และ (3) กำรรับประกันในจำนวนและสกุลเงินเท่ำกับกำรช ำระ เงินล่วงหน้ำ กำรรับประกันนี้จะออกโดยนิติบุคคลและจำกภำยในประเทศ (หรือเขตอำนำจ ศำลอื่น ๆ ) ที่ได้รับอนุมัติโดยผู้ว่ำจ้ำง และจะต้องอยู่ในรูปแบบที่แนบมำกับเงื่อนไขเฉพำะ หรือในรูปแบบอื่นที่ได้รับกำรอนุมัติจำกผู้ว่ำจ้ำง เว้นแต่และจนกว่ำผู้ว่ำจ้ำงจะได้รับกำร รับประกัน โดยข้อย่อยนี้ไม่มีผลใช้บังคับ ผู้รับจ้ำงต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่ำกำรรับประกันเป็นไปอย่ำงถูกต้องและสำมำรถบังคับใช้ได้ จนกว่ำจะได้รับกำรช ำระเงินล่วงหน้ำ แต่จำนวนเงินที่ได้รับอำจจะลดลงตำมปริมำณที่ผู้ รับจ้ำงต้องชดใช้ หำกเงื่อนไขของกำรรับประกันระบุวันหมดอำยุและกำรชำระเงินล่วงหน้ำ ยังไม่ได้รับกำรช ำระคืนภำยใน 28 วันก่อนวันหมดอำยุ ผู้รับจ้ำงต้องต่ออำยุของกำรค้ำ ประกันให้ถูกต้องจนกว่ำจะชำระเงินล่วงหน้ำ กำรชำระเงินล่วงหน้ำจะชำระคืนผ่ำนกำรหักเงินตำมสัดส่วนในกำรชำระเงินงวด (หรือหำก ไม่ได้ระบุไว้ตำมที่ระบุไว้ในข้อย่อย (ง) ข้ำงต้น) ซึ่งจะใช้กับยอดเงินที่ครบกำหนด (ไม่รวม กำรชำระเงินล่วงหน้ำ กำรหักเงินและกำรชำระคืนเงินคงค้ำง) จนกว่ำจะถึงเวลำชำระเงิน ล่วงหน้ำ หำกกำรชำระเงินล่วงหน้ำยังไม่ได้รับชำระก่อนที่จะมีกำรออกใบรับรองกำรครอบครองงำน หรือก่อนที่จะเลิกจ้ำงตำมข้อ 15 (Terminate by Employer) ข้อ 16 (Suspension and Termination by Contractor) หรือข้อ 19 (Force Majeure) (แล้วแต่กรณี) ทั้งยอดคง ค้ำงที่ค้ำงชำระจะต้องครบกำหนดและเจ้ำหนี้จะต้องจ่ำยให้กับผู้ว่ำจ้ำง 14.3
การออกหนั ง สื อ รั บ รองการจ่ า ยงวดค่ า จ้ า ง (Application for Interim Payment Certificates) ผู้รับจ้ำงต้องจัดส่งรำยงำนทุกเดือนให้แก่ผู้ว่ำจ้ำงตำมแบบฟอร์มที่กำหนดให้ในรำยงำน โดย แสดงรำยละเอี ย ดจ ำนวนเงิ นค่ ำ จ้ ำงที ่ผ ู้ รั บ จ้ ำ งคำดว่ ำ จะได้ รั บ จ่ ำยพร้อ มกั บ เอกสำร ประกอบกำรขอเบิกจ่ำย เช่น รำยงำนควำมก้ำวหน้ำรำยเดือนตำมข้อย่อย 4.21 (Progress Reports) รำยงำนขอเบิกจ่ำยต้องประกอบด้วยรำยกำรดังนี้ พร้อมด้วยรำยละเอียดแสดงรำยกำรกำร จ่ำยเงินเป็น สกุลเงินต่ำง ๆ ในสัญญำ ตำมลำดับดังนี้ (ก) กำรประมำณกำร ค่ำจ้ำงตำมสัญญำ ซึ่งได้ดำเนินกำรแล้วตำมเอกสำร ณ สิ้นเดือนของ ผู้รับจ้ำง (รวมทั้งงำนที่มีกำรเปลี่ยนแปลง) ตำมข้อ (ข) (ค)…. (ช) ข้ำงล่ำงนี้ (ข) จำนวนเงินเพิ่มหรือเงินลดตำมเงื่อนไขกำรเปลี่ยนแปลงตำมกฎหมำยและกำรปรับรำคำ ค่ำใช้จ ่ำยตำมข้อย่อย 13.7 (Adjustments for Changes in Legislation) และข้อย่อย 13.8 (Adjustments for Changes in Cost)
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-108 |
เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
(ค) จำนวนเงินหัก ณ ที่จ่ำยตำมที่ก ำหนดในเอกสำรแนบผนวกในเอกสำรประกวดรำคำ จนกว่ำจะครบจำนวนหัก ณ ที่จ่ำย (ง) จ ำนวนเงินเพิ่มและหรือเงินลดของเงินล่วงหน้ำหรือเงินจ่ำยคืนตำมข้อย่อย 14.2 (Advanced Payment) (จ) จำนวนเงินเพิ่มและหรือลดสำหรับอุปกรณ์ประกอบโรงงำน/โรงผลิตและวั สดุตำมข้อ ย่อย14.5 (Plant and Materials Intended for Works) (ฉ) จำนวนเงินเพิ่มและเงินลดอื่น ๆ ซึ่งอำจครบงวดกำรจ่ำยตำมสัญญำหรืออื่น ๆ ในข้อ 20 (Claims, Disputes and Arbitration) และ (ช) จำนวนเงินลดที่กำหนดไว้ในหนังสือรับรองผลงำนที่ผ่ำนมำ 14.4
ตารางแผนการจ่ายเงิน (Schedule of Payments) หำกในสัญญำมีตำรำงแผนกำรจ่ำยเงินระบุงวดที่จะมีกำรจ่ำยเงินไว้ เว้นแต่จะระบุไว้เป็น อย่ำงอื่นในตำรำงนี้: (ก) งวดในตำรำงกำรชำระเงินจะ เป็นค่ำประมำณกำรของสัญญำ ตำมวัตถุประสงค์ของวรรค (ก) ของข้อย่อย 14.3 (Application for Interim Payments) ภำยใต้ข้อย่อย 14.5 (Plant and Materials intend for the Works) และ (ข) หำกงำนนั้นยังล่ำช้ำกว่ำแผนงำนจริงของกำรจ่ำยเงินงวด ฉะนั้น ผู้ว่ำจ้ำงต้องพิจำรณำ ตำมข้อย่อย 3.5 (Determinations) ในกำรปรับแก้กำรจ่ำยงวดค่ำจ้ำงให้ส อดคล้ องกับ ควำมก้ำวหน้ำจริงของงำนนั้น หำกสัญญำไม่ได้รวมตำรำงแผนกำรจ่ำยเงิน ไว้ ให้ผู้รับจ้ำงแนบรำยกำรกำรประมำณกำร ค่ำจ้ำงที่ต้องจ่ำยทุก ๆ 4 เดือน โดยต้องยื่นเสนอภำยในเวลำ 42 วันนับแต่วันที่เริ่มงำน ประมำณกำรค่ำจ้ำงที่ได้ปรับแก้แล้วจะต้องส่งทุก 4 เดือน จนกว่ำผู้ว่ำจ้ำงออกใบรับรอง ผลงำนให้
14.5
อุปกรณ์โรงงาน/โรงผลิตและวัสดุเพื่อ การท างาน (Plant and Material Intended for the Works) หำกผู้รับจ้ำงได้รับสิทธิตำมสัญญำในกำรชำระเงินระหว่ำงกำลสำหรับโรงงำน/โรงผลิต และ วัสดุซึ่งยังไม่ได้นำเข้ำในสถำนที่ก่อสร้ำง ผู้รับจ้ำงจะยังคงไม่มีสิทธิ์ได้รับเงินดังกล่ำวเว้นแต่ ว่ำ: (ก) โรงงำน/โรงผลิต และวัสดุที่เกี่ยวข้องอยู่ในประเทศและได้รับกำรทำเครื่ องหมำยว่ำเป็น ทรัพย์สินของผู้ว่ำจ้ำงตำมคำสั่งของนำยจ้ำง หรือ
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-109 | เงื่อนไขของสัญญา
FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
(ข) ผู้รับจ้ำงได้จัดส่งหลักฐำนกำรประกันและกำรรับประกันธนำคำรในรูปแบบและออกโดย ธนำคำรที่ได้รับอนุมัติโดยผู้ว่ำจ้ำง ในจำนวนและสกุลเงินเท่ำกับกำรชำระเงินดังกล่ำว กำร รับประกันนี้อำจอยู่ในรูปแบบเดียวกันกับแบบฟอร์มที่อ้ำงถึงในข้อย่อย 14.2 (Advance Payment) และจะมีผลจนกว่ำโรงงำน/โรงผลิต และวัสดุจะได้รับกำรจัดเก็บอย่ำงถูกต้องใน สถำนที่ก่อสร้ำง และป้องกันกำรสูญเสียควำมเสียหำยหรือกำรเสื่อมสภำพ 14.6
หนังสือรับรองการจ่ายงวดค่าจ้าง (Issue of Interim Payment Certificates) ผู้ว่ำจ้ำงจะไม่จ่ำยเงินค่ำจ้ำงใด ๆ หำกยังไม่ได้รับหลักประกันสัญญำจำกผู้รับจ้ำง ดังนั้น ภำยใน 28 วัน เมื่อผู้ว ่ำจ้ำงได้รับใบแจ้งหนี้พร้อมเอกสำรประกอบเพื่อขอเบิกจ่ำยงวด ก่อสร้ำงจำกผู้ว่ำจ้ำง ผู้ว่ำจ้ำงจะพิจำรณำวินิจฉัยอย่ำงเป็นธรรมจำกเอกสำรต่ำง ๆ ที่รับจำก ผู้รับจ้ำง อย่ำงไรก็ดี ก่อนหนังสือรับรองกำรจ่ำยงวดค่ำจ้ำง ผู้ว่ำจ้ำงจะหักเงิน ณ ที่จ่ำย ตำมที่กำหนด ไว้ ในเอกสำรแนบผนวกในเอกสำรประกวดรำคำ ผู้ว่ำจ้ำงจะบอกกล่ำวให้ผู้รับจ้ำงทรำบ กำรออกหนังสือรับรองกำรจ่ำยงวดค่ำจ้ำง จะไม่มีกำรหน่วงเหนี่ยวไว้ด้วยเหตุผล หรือแม้แต่ ในเรื่องดังนี้ (ก) หำกพัสดุใด ๆ หรืองำนใด ๆ ที่ผู้รับจ้ำงทำไม่เป็นไปตำมสัญญำ ค่ำใช้จ่ำยใดซึ่งเกิด จำกกำรปรับแก้หรือมีกำรเปลี่ยนใหม่ อำจจะเก็บรั้งไว้จนกว่ำงำนที่มีกำรปรับแก้หรือมีกำร เปลี่ยนใหม่ได้ดำเนินกำรเป็นที่เสร็จสมบูรณ์แล้ว (ข) หำกผู้รับจ้ำงบกพร่องในกำรก่อสร้ำงหรือทำงำนผิดจำกสัญญำจ้ำงและได้รับกำรแจ้งจำก ผู้ว่ำจ้ำงแล้ว เงินส่วนนี้ก็จะถูกยับยั้งไว้ จนกว่ำผู้รับจ้ำงได้ปรับแก้ไขเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ผู้ว่ำจ้ำงอำจสั่งให้ทำกำรแก้ไขหรือปรับปรุงงำนใด ๆ ที่ได้ออกหนังสือรับรองผลงำนแล้วใน งวดก่อน ๆ มิได้หมำยควำมว่ำผู้ว่ำจ้ำงยอมรับ อนุมัติ และพอใจกับผลงำน
14.7
การจ่ายค่าจ้าง (Payment) เว้นแต่จะระบุเป็นอย่ำงอื่น ในข้อย่อย 2.5 (Employer’s Claims) ผู้ว่ำจ้ำงจะจ่ำยค่ำจ้ำง ให้แก่ผู้รับจ้ำงดังนี้ (ก) เงินงวดแรกเป็นเงินล่วงหน้ำต้องจ่ำยภำยใน 42 วัน หลังจำกได้ออกหนังสือตอบรับกำร ว่ ำ จ้ ำ ง หรื อ ภำยใน 21 วั น ภำยหลั ง ได้ ร ั บ หนั ง สื อ ตำมข้ อ ย่ อ ย 4.2 (Performance Security) และข้อย่อย 14.2 (Advance Payment) ทั้งนี้แล้วแต่ฉบับใดออกให้ล่ำสุด (ข) หนังสือรับรองกำรจ่ำยงวดค่ำจ้ำงภำยใน 56 วัน หลังจำกผู้ว่ำจ้ำงได้รับรำยงำนและ หลักฐำนรำยกำรเบิกจ่ำย
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-110 |
เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
(ค) หนังสือรับรองกำรจ่ำยงวดก่อสร้ำงสุดท้ำยภำยใน 42 วัน ภำยหลังผู้ว่ำจ้ำงได้รับหนังสือ รับรองกำรจ่ำยเงิน ตำมข้อย่อย 14.11 (Application for Final Payment) และ 14.12 (Discharge) กำรจ่ำยเงินแต่ละสกุลเงิน เมื่อครบกำหนดให้จ่ำยผ่ำนบัญชีธนำคำรที่กำหนดโดยผู้รับจ้ำง ตำมที่ระบุไว้ในสัญญำ 14.8
การจ่ายเงินล่าช้า (Delayed Payment) หำกผู้รับจ้ำงไม่ได้รับค่ำจ้ำงตำมข้อย่อย 14.7 (Timing of Payments) ผู้รับจ้ำงมีสิทธิ์ได้รับ ดอกเบีย้ ของจำนวนเงินค้ำงจ่ำยเป็นรำยเดือน ตำมจำนวนที่ยังไม่ได้ชำระในช่วงเวลำที่ล่ำช้ำ เว้นแต่จะได้กำหนดไว้ในเงื่อนไขเฉพำะ ให้กำหนดอัตรำดอกเบี้ยต่อปีบวก 3% ของอัตรำ ดอกเบี้ยธนำคำรกลำงของประเทศนั้น ผู้รับจ้ำงมีสิทธิ์ได้รับค่ำจ้ำงจำนวนนี้โดยไม่ต้องแจ้งหนังสือเป็นทำงกำรหรือไม่มีผลกระทบ ต่อสิทธิ์ใด ๆ
14.9
การหักเงินประกันผลงาน (Payment of Retention Money) เมื่อมีกำรออกใบรับรองกำรรับมอบงำนและงำนได้ผ่ำนกำรทดสอบตำมที่ระบุไว้ทั้งหมด (รวมถึงกำรทดสอบหลังจำกงำนแล้วเสร็จแล้ว ถ้ำมี) ครึ่งแรกของเงินที่หักจะต้องจ่ำยให้ผู้รับ จ้ำง หำกมีกำรออกใบรับรองกำรรับมอบสำหรับครึ่งแรกของเงินที่เรียกเก็บจะจ่ำยเมื่อส่วน ของงำนผ่ำนกำรทดสอบทั้งหมด ทันทีที่หมดอำยุกำรค ้ำประกันข้อบกพร่องผลงำน กำรหักเงินส่วนที่เหลือต้องได้รับกำร รับรองจำกผู้ว่ำจ้ำงเพื่อจ่ำยให้แก่ผู้รับจ้ำง หำกมีกำรออกหนังสือรับรอง กำรส่งมอบงำน สำหรับงำนส่วนนั้น กำรหักเงินส่วนครึ่งหลังจะต้องมีกำรออกหนังสือรับรองและจ่ำยคืนให้ ผู้รับจ้ำงทันทีเมื่อวันที่สิ้นสุดอำยุกำรค้ำประกันข้อบกพร่องผลงำนส่วนนั้น อย่ำงไรก็ดี งำนที่ต้องท ำต่อตำมข้อ 11 (Deflect Liability) หรือ ข้อ 12 (Tests after Completion) ผู้ว่ำจ้ำงต้องเก็บหนังสือกำรรับมอบจนกว่ำงำนนั้นได้รับกำรแก้ไขเป็นที่ เรียบร้อย ร้อยละที่เกี่ยวข้องสำหรับแต่ละส่วนเป็นร้อยละของส่วนที่ระบุไว้ในสัญญำ หำกไม่ได้ระบุ มูลค่ำร้อยละไว้ในสัญญำ สำหรับงำนในส่วนดังกล่ำวจะไม่มีกำรจ่ำยเงินที่หักไว้ภำยใต้หัวข้อ ย่อยนี้
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-111 | เงื่อนไขของสัญญา
FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
14.10 รายงานเมื่องานแล้วเสร็จ (Statement at Completion) ภำยใน 84 วัน ภำยหลังได้รับรองหนังสือกำรส่งมอบงำน ผู้รับจ้ำงต้องส่งรำยงำนกำรแล้ว เสร็จของงำนจำนวน 6 ชุด ให้แก่ผู้ว่ำจ้ำง ตำมข้อย่อย 14.3 (Application for Interim Payment Certificates) เพื่อแสดงว่ำ (ก) มูลค่ำงำนทั้งหมดตำมสัญญำจนถึงวันที่รับรองส่งมอบงำน (ข) จำนวนเงินที่ค้ำงจ่ำยที่ผู้รับจ้ำงสมควรจะได้รับ (ค) ประมำณกำรจำนวนเงินค้ำงจ่ำยที่ผู้รับจ้ำงจะได้รับต่อไปตำมสัญญำจ้ำง ผู้ว่ำจ้ำงจะแจ้งแก่ผู้รับจ้ำงตำมข้อย่อย 14.6 (Issue of Interim Payment Certificates) และจ่ำยเงินตำมข้อย่อย 14.7 (Timing of Payments) 14.11 การออกหนั ง สื อ การจ่ า ยเงิ น งวดสุ ด ท้ า ย ( Application for Final Payment Certificate) ภำยใน 56 วัน ภำยหลังได้รับหนังสือรับรองกำรปฏิบัติงำน ผู้รับจ้ำงต้องส่งรำยงำนฉบับ สุดท้ำยพร้อมด้วยเอกสำร จำนวน 6 ชุดแสดงรำยละเอียดให้ผู้ว่ำจ้ำงพิจำรณำอนุมัติ (ก) จำนวนเงินค่ำจ้ำงของงำนทั้งหมดตำมสัญญำ และ (ข) จำนวนเงินรวมซึ่งผู้รับจ้ำงสมควรได้รับอีกภำยใต้สัญญำ หำกผู้ว่ำจ้ำงไม่เห็นชอบหรือไม่สำมำรถปรับแก้ส่วนหนึ่งส่วนใดของรำยงำน ผู้รับจ้ำงจะต้อง ส่งข้อมูลเพิ่มเติมให้ผู้ว่ำจ้ำงพิจำรณำเปลี่ยนแก้ในร่ำงรำยงำน ซึ่งจะต้องเห็นชอบทั้ง 2 ฝ่ำย ดังนั้น ผู้รับจ้ำงจะปรับแก้รำยงำนที่ได้ตกลงเห็นชอบตำมเงื่อนไขสัญญำ เรื่อง รำยงำน สุดท้ำย (Final Statement) อย่ำงไรก็ดี ในกำรหำรือระหว่ำงผู้ว่ำจ้ำงและผู้รับจ้ำง กำรปรับแก้ร่ำงรำยงำนตำมที่ตกลงกัน แล้ว หำกเกิดข้อโต้แย้ง ผู้ว่ำจ้ำงจะส่งสำเนำรำยงำนให้แก่ผู้ว่ำจ้ำง (อีกสำเนำให้ผู้รับจ้ำง) ค่ำจ้ำงงวดที่มีกำรรับรองแล้วในรำยงำน หำกภำยหลังข้อโต้แย้งนั้นมีข้อยุติตำมข้อย่อย 20.4 (Obtaining Dispute Adjudication Board’s Decision) หรือข้อย่อย 20.5 (Amicable Settlement) ดังนั้นผู้รับจ้ำงจะจัดทำใหม่แล้วส่งมอบให้แก่ผู้ว่ำจ้ำง (และสำเนำส่งผู้ว่ำจ้ำง) เป็นรำยงำนฉบับสุดท้ำย 14.12 การปฏิบัติตามสัญญา (Discharge) เมื่อส่งรำยงำนฉบับสุดท้ำย ผู้รับจ้ำงจะส่งหนังสือแจ้งกำรปฏิบัติงำนเพื่อยืนยันว่ำในรำยงำน ฉบับสุดท้ำย มีควำมถูกต้องครบสมบูรณ์ของจำนวนเงิน ทั้งยังค้ำงจ่ำยต่อผู้รับจ้ำง ภำยใต้ หรือมีส่วนเกี่ยวข้องกับสัญญำจ้ำง หนังสือ แจ้งกำรปฏิบัติงำนอำจระบุว่ำมีผลบังคับใช้เมื่อ ผู้รับจ้ำงได้หลักประกันผลกำรปฏิบัติงำนและเงินค่ำจ้ำงค้ำงจ่ำย สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-112 |
เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
14.13 การชาระเงินงวดสุดท้าย (Final Payment) ตำมข้อย่อย (ค) ของข้อย่อย 14.7 (Timing of Payments) ผู้ว่ำจ้ำงจะจ่ำยเงินให้ผู้รับจ้ำง ตำมจำนวนที่ครบกำหนดชำระหักล้ำงจำนวนเงินที่ผู้ว่ำจ้ำงจ่ำยให้ก่อนหน้ำนี้ และกำรหัก เงินใด ๆ ตำมข้อย่อย 2.5 (Employer’s Claims) 14.14 การสิ้นสุดภาระความรับผิดของผู้ว่าจ้าง (Cessation of Employer’s Liability) ผู้ว่ำจ้ำงไม่ต้องรับผิดต่อผู้รับจ้ำงเรื่องใด ๆ หรือสิ่งใด ๆ หรือเกี่ยวข้องกับสัญญำหรือทำงำน เว้นแต่ผู้รับจ้ำงได้ระบุไว้ (ก) ในรำยงำนฉบับสุดท้ำย (ข) เว้นแต่เรื่องหรือสิ่งที่เกิดขึ้นภำยหลังได้ออกหนังสือรับมอบผลงำนตำมที่ระบุในรำยงำน ตำมข้อย่อย 14.10 (Statement at Completion) อย่ำงไรก็ดีหัวข้อย่อย 14.14 นี้ไม่จำกัดควำมรับผิดของผู้ว่ำจ้ำง ทำงกฎหมำย กำรฉ้อโกง ขำดควำมรอบคอบ ประมำท ทำผิดจริยธรรมของผู้ว่ำจ้ำง 14.15 สกุลเงินค่าจ้าง (Currencies of Payment) ค่ำจ้ำงตำมสัญญำจ้ำงจะจ่ำยด้วยสกุล เงินค่ำจ้ำงตำมที่ระบุไว้ในเอกสำรแนบผนวกใน เอกสำรประกวดรำคำ เว้นแต่ระบุในเงื่อนไขเฉพำะ หำกมีกำรจ่ำยค่ำจ้ำงมำกกว่ำหนึ่งสกุล เงินให้ดำเนินกำรดังต่อไปนี้ (ก) หำกสัญญำระบุให้จ่ำยค่ำจ้ำงสกุลเงินของท้องถิ่นเท่ำนั้น (i) สัดส่วนของสกุลท้องถิ่นกับสกุลเงินต่ำงประเทศ และกำรใช้อัตรำแลกเปลี่ยนคงที่ ซึ่ง จะต้องระบุ ไว้ในเอกสำรแนบผนวกในเอกสำรประกวดรำคำ หรืออย่ำงอื่นตำมที่เห็นชอบทั้ง 2 ฝ่ำย (2) ค่ ำ จ้ ำ งและกำรหั ก ลดตำมข้ อ ย่ อ ย 13.5 (Provisional Sums) และข้ อ ย่ อ ย 13.7 (Adjustments for Changes in Legislation) ควรกระท ำบนสกุ ล เงิ น ที ่ เ หมำะสมและ สัดส่วนที่เหมำะสม (3) ค่ ำ จ้ ำ งอื ่ น และกำรหั ก ลดอื ่ น ตำมวรรคย่ อ ย (ก) (ข) (ค) (ง) ของข้ อ ย่ อ ย 14.3 (Application for Interim Payment Certificates) จะต้ อ งปฏิ บ ั ต ิ ต ำมสกุ ล เงิ น และ สัดส่วนตำมวรรคย่อย (ก) (1) ข้ำงต้น (ข) ค่ำควำมเสียหำยที่ระบุไว้ในเอกสำรแนบผนวกในเอกสำรประกวดรำคำ จะต้องกระทำ ตำมสกุลเงินและสัดส่วนของสกุลเงิน ตำมที่ระบุไว้ในเอกสำรแนบผนวกในเอกสำรประกวด รำคำ
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-113 | เงื่อนไขของสัญญา
FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
(ค) ค่ำอื่น ๆ ที่ผู้รับจ้ำงต้องจ่ำยให้ผู้ว่ำจ้ำง จะต้องจ่ำยตำมสกุลเงินที่ผู้ว่ำจ้ำงได้จ่ำย ทั้ง 2 ฝ่ำยสำมำรถจ่ำยค่ำหนี้ตำมสกุลเงินที่ได้ตกลงกันไว้ (ง) เมื่อผู้รับจ้ำงจ่ำยหนี้ให้แก่ผู้ว่ำจ้ำงตำมสกุลเงินเฉพำะเกินกว่ำจำนวนที่ผู้ว่ำจ้ำงจ่ำยให้ผู้รับ จ้ำง ผู้ว่ำจ้ำงอำจจะจ่ำยส่วนต่ำงหนี้ให้แก่ผู้รับจ้ำงในสกุลเงินอื่นได้ (จ) หำกไม่มีกำรกำหนดอัตรำแลกเปลี่ยนในเอกสำรแนบผนวกในเอกสำรประกวดรำคำให้ คู่สัญญำใช้อัตรำแลกเปลี่ยนของธนำคำรกลำงทีไ่ ด้กำหนดไว้ 15. 15.1
ผู้ว่าจ้างบอกเลิกสัญญา (Termination by Employer) การแจ้งให้แก้ไข (Notice to Correct) หำกผู้รับจ้ำงบกพร่องไม่ปฏิบัติตำมพันธะสัญญำ ผู้ว่ำจ้ำงอำจมีบันทึกบอกกล่ำวให้ผู้รับจ้ำง ทำกำรแก้ไขให้ถูกต้องตำมสัญญำภำยในกำหนดเวลำที่เหมำะสม
15.2
ผู้ว่าจ้างบอกเลิกสัญญา (Termination by Employer) ผู้ว่ำจ้ำงสำมำรถบอกเลิกสัญญำเมื่อผู้รับจ้ำง (ก) ผู้รับจ้ำงไม่ปฏิบัติตำม ข้อย่อย 4.2 (Performance Security) หรือภำยใต้ข้อย่อย 15.1 (Notice to Correct) (ข) ละทิ้งงำนก่อสร้ำงหรือแสดงออกว่ำไม่ตั้งใจจะทำงำนต่อตำมพันธะหน้ำทีต่ ำมสัญญำ (ค) ปรำศจำกเหตุผลในกำรไม่ปฏิบัติตำม (1) ไม่ดำเนินงำนตำมข้อ 8 (Commencement, Delays and Suspension) (2) ไม่ท ำตำมค ำสั่งตำมข้อย่อย 7.5 (Rejection) หรือข้อย่อย 7.6 (Remedial Work) ภำยใน 28 วัน เมื่อได้รับคำสั่งนั้น (ง) ให้งำนต่อผู้รับจ้ำงช่วงทั้งหมด หรือมอบหมำยงำนในสัญญำโดยไม่มีข้อตกลงจ้ำงตำม ข้อกำหนด (จ) เริ่มจะเป็นผู้ล้มละลำยหรือเป็นผู้ ล้มละลำยหรือเลิกกิจกำร ได้รับเอกสำรหรือรับคำสั่ง ทำงรำชกำรร่วมกับผู้ให้สนับสนุนทำงกำรเงินหรือถูกผู้รับช่วงกิจกำรต่อคณะกรรมกำรบริษัท หรือผู้จัดกำรบริษัทเอื้อประโยชน์ให้แก่ผู้สนับสนุนกำรเงิน หรือกำรกระทำใด ๆ หรือมีเหตุ เกิด (ตำมกฎหมำยที่ใช้บังคับ) ซึ่งมีผลกระทบคล้ำยคลึงกันต่อเหตุข้ำงต้น หรือ (ฉ) ให้หรือเสนอจะให้ (ทำงตรงหรือทำงอ้อม) สินบน ของขวัญ เงินรำงวัล ค่ำป่วยกำร ส่วน ต่ำงหรือสิ่งของมีค่ำแก่บุคคลเพื่อเป็นแรงจูงใจเอื้อประโยชน์ให้บุคลำกรของผู้รับจ้ำง ตัวแทน ผู้รับจ้ำง ผู้รับจ้ำงช่วง ผู้รับจ้ำงให้หรือเสนอจะให้ (ทำงตรงหรือทำงอ้อม) แก่บุคคลใด ๆ ตำมเรื่องดังกล่ำวข้ำงต้นของข้อ (ฉ) แต่อย่ำงไรก็ดี กำรจูงใจในกำรกระทำที่ถูกต้องตำม กฎหมำยของบุคลำกรของผู้รับจ้ำง ไม่สำมำรถจะเลิกสัญญำจ้ำงได้
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-114 |
เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
เรื่องใด ๆ เหล่ำนี้หรือแรงจูงใจใด ๆ เหล่ำนี้ ภำยใน 14 วัน ผู้ว่ำจ้ำงอำจมีหนังสือบอกเลิก สัญญำกับผู้รับจ้ำงและให้ผู้รับจ้ำงพ้นจำกสถำนที่ก่อสร้ำง แต่อย่ำงไรก็ดีตำมข้อควำมย่อย (จ) หรือ (ฉ) ผู้ว่ำจ้ำงอำจมีหนังสือบอกเลิกจ้ำงได้ทันที กำรเลิกสัญญำของผู้ว่ำจ้ำงย่อมไม่มีผลกระทบใด ๆ ต่อสิทธิ์อันชอบของผู้ว่ำจ้ำงภำยใต้ สัญญำนี้เว้นแต่ได้กำหนดเป็นอื่น ดังนั้น ผู้รับจ้ำงต้องพ้นจำกสถำนที่ก่อสร้ำง และต้องส่งมอบพัสดุ เอกสำรต่ำง ๆ และ เอกสำรออกแบบต่ำง ๆ ให้แก่ผู้ว่ำจ้ำง อย่ำงไรก็ดีผู้รับจ้ำงจะใช้ควำมสำมำรถของตนปฏิบัติ ตำมคำสั่งที่มีเหตุผล ในหนังสือคำสั่งข้อควำม (1) ในเรื่องหน้ำที่ขอบเขตงำนของผู้รับจ้ำงช่วงและ (2) เพื่อกำรป้องกันชีวิตและทรัพย์สินหรือเพื่อควำมปลอดภัยของงำน ภำยหลังกำรยกเลิกสัญญำ ผู้ว่ำจ้ำงอำจจะดำเนินงำนให้แล้วเสร็จ และ/หรือมอบหมำยให้ ผู้อื่นดำเนินกำรแทนดังกล่ำว ผู้ว่ำจ้ำงและตัวแทนผู้ว่ำจ้ำงเหล่ำนี้อำจจะใช้วัสดุใด ๆ เอกสำร ใด ๆและเอกสำรงำนออกแบบของผู้รับจ้ำง ดังนั้น ผู้ว่ำจ้ำงจะมีหนังสือบอกกล่ำวให้ผู้รับจ้ำงขนย้ำยเครื่องมือและสิ่งปลูกสร้ำงชั่วครำว ออกจำกพื้นที่โครงกำร โดยผู้รับจ้ำงต้องรับผิดชอบเรื่องควำมเสี่ยงและค่ำใช้จ่ำย อย่ำงไรก็ดี ณ เวลำนี้หำกผู้รับจ้ำงมีหนี้ค้ำงจ่ำยกับผู้ว่ำจ้ำง ผู้ว่ำจ้ำงอำจจะขำยทรัพย์สินเหล่ำนี้เพื่อ ชดเชยจ่ำยหนี้แก่ผู้ว่ำจ้ำง ส่วนผู้รับจ้ำงยังต้องจ่ำยในส่วนที่ขำด 15.3
การประเมินค่า ณ วันที่บอกเลิกสัญญา (Valuation at Date of Termination) โดยเร็ ว ที ่ ส ุ ด เท่ ำ ที ่ จ ะกระท ำได้ ภำยหลั ง มี ห นั ง สื อ บอกเลิ ก สั ญ ญำตำมข้ อ ย่ อ ย 15.2 (Termination by Employer) มี ผ ลบั ง คั บ ใช้ ผู ้ ว ่ ำ จ้ ำ งจะด ำเนิ น กำรตำมข้ อ ย่ อ ย 3.5 (Determinations) เพื่อควำมเห็นชอบหรือพิจำรณำกำรประเมินค่ำงำนก่อสร้ำง พัสดุ และ เอกสำรทั้งปวงของผู้รับจ้ำง และหนี้ค้ำงจ่ำยผู้รับจ้ำงซึ่งเกิดจำกกำรทำงำนของผู้รับจ้ำง
15.4
การจ่ายค่าจ้างหลังเลิกสัญญา (Payment After Termination) ภำยหลังออกหนังสือบอกเลิกสัญญำจ้ำงตำมข้อย่อย 15.2 (Termination by Employer) มีผลบังคับใช้ ผู้ว่ำจ้ำงอำจจะ (ก) ดำเนินกำรตำมข้อย่อย 2.5 (Employer’s Claims) (ข) ชะลอกำรจ่ำยค่ำจ้ำงครั้งต่อไปจนกว่ำค่ำก่อสร้ำงงำนที่แล้วเสร็จและงำนซ่อมบำรุงสิ่ง ชำรุดบกพร่อง ค่ำเสียหำย (ค่ำปรับ) ทำงำนล่ำช้ำ (ถ้ำมี) และค่ำใช้จ่ำยอื่น ๆ ที่ค้ำงจ่ำยกับ ผู้ว่ำจ้ำง ซึ่งเกิดจำกกำรทำงำนและหรือ
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-115 | เงื่อนไขของสัญญา
FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
(ค) คิดค่ำสูญหำย หรือค่ำเสียหำยอันเกิดจำกผู้ว่ำจ้ำงพร้อมทั้งค่ำใช้จ่ำยงำนเพิ่มเติมรวมกัน เป็นหนี้แก่ผู้รับจ้ำง ตำมข้อย่อย 15.3 (Valuation at Date of Termination) ผู้ว่ำจ้ำงต้อง จ่ำยค่ำจ้ำงเหล่ำนี้ให้แก่ผู้รับจ้ำง 15.5
ส ิ ท ธ ิ ์ ข อ ง ผ ู ้ ว ่ า จ ้ า ง ใ น ก า ร บ อ ก เ ล ิ ก ส ั ญ ญ า ( Employer’ s Entitlement to Termination) ผู้ว่ำจ้ำงมีสิทธิ์ที่จะบอกเลิกสัญญำได้ทุก เวลำตำมที่มีควำมเห็นชอบ โดยกำรออกหนังสือ บอกเลิกสัญญำกับผู้รับจ้ำง กำรเลิกสัญญำจะมีผลบังคับใช้ภำยหลัง 28 วัน ซึ่งกำหนดไว้ใน หนังสือบอกเลิกสัญญำหรือเมื่อผู้ว่ำจ้ำงได้คืนหลักประกั นสัญญำ ผู้ว่ำจ้ำงจะไม่บอกเลิก สัญญำตำมข้อย่อย 15.5 นี้เพื่อดำเนินกำรเอง หรือว่ำจ้ำงผู้รับจ้ำงรำยอื่นเข้ำดำเนินกำร ภำยหลังกำรบอกเลิกสัญญำ ผู้รับจ้ำงต้องปฏิบัติตำมหัวข้อย่อย 16.3 (Cessation of Work and Removal of Contractor’s Equipment) และผู้รับจ้ำงจะได้ค่ำจ้ำงตำมข้อย่อย 19.6 (Optional Termination Payment and Release)
16.
การหยุดงานและการบอกเลิกสัญญาโดยผู้รับจ้าง (Suspension and Termination by Contractor) สิทธิ์การหยุดงานของผู้รับจ้าง (Contractor’s Entitlement to Suspend Work) ถ้ำผู้ว่ำจ้ำงไม่ปฏิบัติตำม ตำมข้อย่อย 2.4 (Employer’s Financial Arrangement) หรือ ข้อย่อย 14.7 (Timing for Payment) ผู้รับจ้ำงอำจจะออกหนังสือ สั่งหยุดงำนหรือชะลอ กำรทำงำนให้แก่ผู้ว่ำจ้ำง ไม่น้อยกว่ำ 21 วัน จนกว่ำผู้รับจ้ำงจะได้รับหนังสือรับรองกำรจ่ำย ค่ำจ้ำงหรือมีเหตุผลอันเชื่อได้ตำมหนังสือของผู้รับจ้ำง กำรกระทำของผู้รับจ้ำงจะไม่มีผลกระทบต่อสิทธิ์กำรเปลี่ยนแปลงกำรจ่ำย ภำยใต้ย่อย 14.8 (Delayed Payment) และบอกเลิ ก สั ญ ญำตำมข้ อ ย่ อ ย 16.2 ( Termination by Contractor) หำกผู้รับจ้ำงภำยหลังได้รับหนังสือกำรรับรองกำรจ่ำยค่ำจ้ำง หลักฐำนหรือกำรจ่ำยเงิน ดังกล่ำว (ตำมที่ระบุไว้ในหัวข้อย่อยที่เกี่ยวข้องและในคำบอกกล่ำวข้ำงต้น) ก่อนที่จะได้รับ กำรบอกกล่ำวให้เลิกจ้ำง ผู้รับจ้ำงต้องกลับเข้ำทำงำนตำมปกติโดยเร็วที่สุดเท่ำที่จะเป็นไปได้ ถ้ำผู้รับจ้ำงได้รับควำมล่ำช้ำและ/หรือต้องเสียค่ำใช้จ่ำยจำกกำรถูกระงับงำนชั่วครำว (หรือ ลดอัตรำกำรทำงำน) ตำมข้อย่อยนี้ ผู้รับจ้ำงจะออกหนังสือบอกเลิกสัญญำให้แก่ผู้ว่ำจ้ำง ซึ่ง ผู้รับจ้ำงต้องปฏิบัติตำมข้อย่อย 20.1 (Contractor’s Claims) และ (ก) กำรขยำยเวลำกำรก่อสร้ำงตำมที่ได้หยุดงำน หำกงำนจะแล้วเสร็จ หรือจะต้องล่ำช้ำ ออกไปตำมข้อย่อย 8.4 (Extension of Time for Completion) และ
16.1
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-116 |
เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
(ข) ค่ำจ้ำงบวกค่ำใช้จ่ำยอื่นซึ่งบวกกำไร และต้องรวมเป็นรำคำงำนตำมสัญญำ เมื ่ อ ผู ้ ว ่ ำ จ้ ำ งได้ ร ั บ หนั ง สื อ แจ้ ง ดั ง กล่ ำ ว ผู ้ ว ่ ำ จ้ ำ งต้ อ งด ำเนิ น กำร ตำมข้ อ ย่ อ ย 3.5 (Determination) เพื่อให้ข้อยุติหรือพิจำรณำวินิจฉัยในเรื่องเหล่ำนี้ 16.2
การยกเลิกสัญญาโดยผู้รับจ้าง (Termination by Contractor) ผู้รับจ้ำงมีสิทธิ์บอกเลิกสัญญำ ดังนี้ (ก) ภำยใน 42 วัน ผู้รับจ้ำงไม่ได้รับหนังสือตอบอย่ำงมีเหตุผลล่ำช้ำตำมข้อย่อย 16.1 (Contractor’s Entitlement to Suspend Work) และผู้ว่ำจ้ำงไม่ปฏิบัติตำมข้อย่อย 2.4 (Employer’s Financial Arrangement) (ข) ผู้ว่ำจ้ำงไม่ปฏิบัติตำมภำยในเวลำ 56 วัน หลังจำกได้รับงบแจ้งยอดและเอกสำรประกอบ ในกำรออกหนังสือรับรองกำรจ่ำยงวดค่ำจ้ำง (ค) ผู้รับจ้ำงไม่ได้เงินค่ำจ้ำงตำมหนังสือรับรองกำรจ่ำยงวดค่ำจ้ำง ภำยใน 42 วัน ภำยหลัง วันที่หมดอำยุตำมที่ระบุตำมข้อย่อย 14.7 (Payment) ซึ่งจะต้องจ่ำยให้แก่ผู้รับจ้ำง (เว้นแต่ จะต้องมีกำรหักลดตำมข้อย่อย 2.5 (Employer’s Claims) (ง) ผู้ว่ำจ้ำงกระทำผิดอย่ำงมีนัยยะ ไม่ปฏิบัติตำมนิติพันธะของสัญญำ (จ) ผู ้ ว ่ ำ จ้ ำ งไม่ ป ฏิ บ ั ต ิ ต ำมข้ อ ย่ อ ย 1.6 (Contract Agreement) หรื อ ข้ อ ย่ อ ย 1.7 (Assignment) (ฉ) กำรหยุ ด งำนยื ด เยื ้ อ มี ผ ลกระทบต่ อ งำนทั ้ ง หมดตำมข้ อ ย่ อ ย 8.11 ( Prolonged Suspension) หรือ (ช) ผู้ว่ำจ้ำงเกิดล้มละลำย หรือมีหนี้สินล้นพ้นตัว เข้ำสู่กำรบังคับหนี้ ได้รับคำสั่งข้อกล่ำว หำทำงรำชกำรร่วมกับเจ้ำหนี้ หรือถูกยึดกิจกำร คณะกรรมกำรบริษัทหรือผู้จัดกำรบริษัท ของเจ้ำหนี้ หรือกำรกระทำใด ๆ หรือเหตุอันเกิดขึ้น (ภำยใต้กฏหมำยบังคับ) ซึ่งมีผลกระทบ ต่อกำรกระทำดังกล่ำว จำกเหตุกำรณ์หรือสถำนกำรณ์ใด ๆ เหล่ำนี้ ภำยใน 14 วัน ผู้รับจ้ำงอำจแจ้งด้วยหนังสือต่อ ผู้ว่ำจ้ำงบอกเลิกสัญญำ แต่อย่ำงไรก็ดี ตำมข้อ (ฉ) หรือข้อ (ช) ข้ำงต้ น ผู้รับจ้ำงอำจบอก เลิกสัญญำได้ทันที กำรที่ผู้รับจ้ำงเลือกบอกเลิกสัญญำย่อมไม่ส่งผลกระทบต่อสิทธิ์ของผู้รับจ้ำงตำมสัญญำหรือ เป็นอื่น
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-117 | เงื่อนไขของสัญญา
FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
16.3
การเลิกทางานหรือการขนย้ายเครื่องมือผู้รับจ้าง (Cessation of Work and Remaval of Contractor’s Equipment) หลังจำกออกหนังสือบอกเลิกสัญญำตำมข้อย่อย 15.5 (Employer’s Entitlement to Termination) และข้อย่อย 16.2 (Termination by Contractor) หรือข้อย่อย 19.6 (Option Termination, Payment and Release) มี ผ ลบั ง คั บ ใช้ แ ล้ ว ผู ้ ร ั บ จ้ ำ งจะ ดำเนินกำรทันทีดังนี้ (ก) หยุดทำงำนในขั้นตอนต่อไป เว้นแต่งำนที่ได้รับคำสั่งจำกผู้ว่ำจ้ำงให้จัดทำกำรป้องกัน อันตรำยต่อชีวิตและทรัพย์สิน หรือเพื่อป้องกันควำมปลอดภัยต่องำน (ข) ผู้รับจ้ำงส่งมอบเอกสำร เครื่องมือประกอบโรงงำน/โรงผลิต (Plant) วัตถุและงำนอื่น ๆ ที่ผู้รับจ้ำงได้รับงวดงำนค่ำจ้ำงแล้ว และ (ค) ขนย้ำยพัสดุต่ำง ๆ ของผู้รับจ้ำงออกจำกพื้นที่ก่อสร้ำง เว้นแต่สิ่งที่ป้องกันภัยหรือ อันตรำย
16.4
ค่าจ้างเมื่อเลิกสัญญา (Payment of Termination) หลังกำรออกหนังสือบอกเลิกสัญญำตำมข้อย่อย 16.2 (Termination by Contractor) มี ผลบังคับใช้ ผู้ว่ำจ้ำงจะดำเนินกำรทันทีดังนี้ (ก) คืนหลักประกันสัญญำให้แก่ผู้รับจ้ำง (ข) จ่ำยค่ำจ้ำงตำมข้อย่อย 19.6 (Optional Termination Payment and Release) และ (ค) จ่ำยเงิน (ชดเชย) แก่ผู้รับจ้ำงในเรื่องขำดทุนกำไร หรือกำรสูญหำยอื่น ๆ ค่ำเสียหำยอื่น ๆ อันเกิดจำกผลกำรเลิกสัญญำ
17. 17.1
ความเสี่ยงและความรับผิดชอบ (Risk and Responsibility) การคุ้มครองภัย (Indemnities) ผู้รับจ้ำงต้องคุ้มครองควำมปลอดภัยให้แก่ผู้ว่ำจ้ำง บุคลำกรของผู้ว่ำจ้ำง ตัวแทนผู้ว่ำจ้ำง จำกกำรถูกเรียกร้องค่ำเสียหำย อันตรำย กำรสูญเสียและค่ำใช้จ่ำย (รวมทั้งค่ำธรรมเนียม และค่ำใช้จ่ำย) อันเกี่ยวกับเรื่องดังนี้ (ก) กำรบำดเจ็บทำงร่ำงกำย กำรเจ็บป่วย เชื้อโรค หรื อกำรเสียชีวิต ต่อบุคคลอันเกิดจำก กำรเข้ำ-ออกพื้นที่โครงกำร หรือจำกผลงำนกำรออกแบบของผู้รับจ้ำง กำรก่อสร้ ำง และ ผลสำเร็จของงำนก่อสร้ำงและกำรซ่อมแซมส่วนบกพร่อง เว้นแต่เกิดกำรละเลย กำรกระทำ รุนแรง หรือฝ่ำฝืนสัญญำของผู้ว่ำจ้ำง บุคลำกรของผู้ว่ำจ้ำง ตัวแทนผู้ว่ำจ้ำง และ (ข) เกิ ด ควำมเสี ย หำยหรื อ กำรสู ญ หำยต่ อ ทรั พ ย์ ส ิ น อสั ง หำริ ม ทรั พ ย์ หรื อ บุ ค คล (นอกเหนือจำกงำน) ซึ่งได้เกิดควำมเสียหำยหรือกำรสูญเสีย ดังนี้
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-118 |
เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
(1) เกิดขึ้นจำกกำรเข้ำ ออก หรือจำกเหตุผลกำรออกแบบของผู้รับจ้ำง (ถ้ำมี) หรือจำกกำร ก่อสร้ำงหรือจำกงำนก่อสร้ำงที่แล้วเสร็จ และจำกงำนซ่อมแซมสิ่งบกพร่องชำรุด (2) เกิดจำกกำรละเลย กำรกระทำรุนแรง กำรฝ่ำฝืนสัญญำของผู้รับจ้ำง บุคลำกรผู้รับจ้ำง ตัวแทนผู้รับจ้ำง หรือบุคลำกรจ้ำงอื่น ๆ ของผู้รับจ้ำง ผู้ว่ำจ้ำงจะให้ควำมคุ้มครองและควำมปลอดภัยแก่ผู้รับจ้ำง บุคลำกรของผู้รั บจ้ำง ตัวแทน ของผู้รับจ้ำง จำกกำรถูกเรียกร้องค่ำเสียหำย ควำมเสียหำย ค่ำสูญหำยและค่ำใช้จ่ำย (รวม ค่ำธรรมเนียมและค่ำใช้จ่ำย) เกี่ยวกับ (1) บำดเจ็บทำงร่ำงกำย กำรเจ็บป่วย กำรแพร่เชื่อ หรือกำรเสียชีวิตอันเนื่องจำกกำร ละเลย กำรกระทำรุนแรง หรือกำรฝ่ำฝืนสัญญำของผู้ว่ำจ้ำง บุคลำกรผู้ว่ำจ้ำง ตัวแทนของผู้ ว่ำจ้ำง และ (2) เรื่องที่ไม่ต้องรับผิดจำกกรมธรรม์ประกันภัยหรือไม่ได้ระบุไว้ในข้อควำมย่อย ค (1) ค (2) และ ค (3) ของข้อย่อย 18.3 (Insurance against Injury to Person and Damage to Property) 17.2
การบารุงรักษางานของผู้รับจ้าง (Contractor’s Care of the Works) ผู้รับจ้ำงต้องรับผิดชอบเต็มที่ในกำรบำรุงรักษำงำน พัสดุ นับแต่วันที่เริ่มงำนก่อสร้ำงจนถึง กำรมีหนังสือรับรองส่งมอบงำนก่อสร้ำง หรือเสมือนหนึ่งออกให้ตำมข้อย่อย 10.1 (Taking Over of the Works and Sections) เมื่อกำรบำรุงรักษำงำนส่งมอบผ่ำนแก่ผู้ว่ำจ้ำง หำก มีกำรออกหนังสือรับรองกำรส่งมอบงำน หรือเสมือนหนึ่งจะออกหนังสื อรับรอง ส่งผลงำน บำงส่วน กำรบำรุงรักษำงำนบำงส่วนนั้น ได้ส่งมอบผ่ำนให้แก่ผู้ว่ำจ้ำง เมื่อควำมรับผิดชอบกำรบำรุงรักษำงำนได้ส่งผ่ำนผู้ว่ำจ้ำงแล้ว ผู้รับจ้ำงก็จะรับผิดชอบกำร บำรุงรักษำส่วนงำนที่ยังไม่ได้ส่งมอบ ณ วันที่ระบุไว้ในหนังสือรับรองส่งมอบงำน จนกว่ำจะ มีกำรส่งมอบงำนที่เหลือทั้งหมด หำกมี ก ำรสู ญ หำยหรื อ เกิ ด ควำมเสี ย หำย ต่ อ งำน พั ส ดุ หรื อ เอกสำรของผู ้ ร ั บ จ้ ำ งใน ระยะเวลำที่ผู้รับจ้ำงต้องมีหน้ำที่รับผิดชอบ จำกเหตุใด ๆ ที่มิได้ระบุไว้หัวข้อย่อย 17.3 (Employer’s Risk) ผู้รับจ้ำงต้องทำกำรแก้ไขกำรสูญหำยหรือควำมเสียหำยบนควำมเสี่ยง และค่ำใช้จ่ำยของผู้รับจ้ำง เพื่องำน พัสดุและเอกสำรของผู้รับจ้ำงให้ถูกต้องตำมสัญญำ ผู้รับจ้ำงต้องรับผิด กำรสูญหำยใด ๆ หรือควำมเสียหำยใด ๆ อันเกิดจำกกำรกระท ำของ ผู้รับจ้ำงภำยหลังได้ออกหนังสือรับรองส่งมอบงำน ผู้รับจ้ำงต้องรับผิดต่อกำรสูญหำยหรือ ควำมเสียหำย ซึ่งเกิดขึ้นภำยหลัง แม้ว่ำได้มีกำรออกหนังสือรับมอบงำนแล้ว ซึ่งผู้รับจ้ำงยัง ต้องรับผิดชอบ
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-119 | เงื่อนไขของสัญญา
FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
17.3
ความเสี่ยงของผู้ว่าจ้าง (Employer’s Risk) ควำมเสี่ยงของผู้ว่ำจ้ำงตำมข้อย่อย 17.4 ต่อจำกนี้ มีดังนี้ (ก) สงครำม กำรเป็นศัตรู (เป็นกำรประกำศหรือ มิได้ประกำศสงครำมก็ตำม) กำรรุกรำน กำรปฏิบัติของศัตรูต่ำงชำติ (ข) กำรจรำจล กำรก่อกำรร้ำย กำรปฏิวัติ กำรยึดอ ำนำจของทหำร สงครำมกลำงเมือง ภำยในประเทศ (ค) กำรก่อควำมวุ่นวำยหรือกำรประท้วงภำยในประเทศ โดยประชำชน (ไม่ใช่คนงำนหรือ บุคลำกรของผู้รับจ้ำงหรือผู้รับจ้ำงช่วง) (ง) กำรต่อสู้ด้วยกระสุน ปืน หรือวัตถุระเบิด กำรแผ่รังสีห รือกำรเป็นพิษจำกวัตถุรังสี ภำยในประเทศ เว้นแต่อำจเกิดจำกกำรใช้วัตถุดังกล่ำวของผู้รับจ้ำง (จ) คลื่นควำมดันจำกเครื่องบินหรือจำกอำกำศยำนใกล้เคียงกับเครื่องบินที่มีควำมเร็ว ซุปเปอร์โซนิค
17.4
ผลลัพธ์ความเสี่ยงของผู้ว่าจ้าง (Consequence of Employer’s Risk) สืบเนื่องจำกควำมเสี่ยงตำมข้อย่อย 17.3 (Employer’s Risks) ข้ำงต้น อันมีผลทำให้เกิด กำรสูญเสีย หรือควำมเสี ย หำยต่ องำน พัส ดุ หรือเอกสำรของผู้ รับ จ้ ำง ผู้รับจ้ำงต้ อ ง ด ำเนิน กำรออกหนังสือทัน ที ให้ผ ู้ว ่ำจ้ำง และต้องท ำกำรแก้ไข กำรสูญหำยหรือควำม เสียหำยอันสืบเนื่องตำมควำมต้องกำรของผู้ว่ำจ้ำง หำกผู้รับจ้ำงได้รับผลกระทบจำกกำรแก้ไขกำรสู ญหำย หรือควำมเสียหำย ผู้รับจ้ำงจะแจ้ง ด้วยหนังสืออีกฉบับต่อผู้ว่ำจ้ำงและจะปฏิบัติตำมข้อย่อย 20.1 (Contractor’s Claims) ดังนี้ (ก) ขยำยเวลำชดเชยกับเวลำในกำรแก้ไข หำกเวลำกำรแล้วเสร็จของงำนต้องถูกขยำย ออกไป ตำมข้อย่อย 8.4 (Extension of Time for Completion) และ (ข) ค่ำจ้ำงในกำรซ่อมแก้ไขซึ่งจะเป็นค่ำใช้จ่ำยบวกเพิ่มในสัญญำจ้ำง ตำมวรรค (ฉ) และ (ช) ของข้อย่อย 17.3 (Employer’s Risks) อำจจะบวกเพิ่มค่ำกำไรด้วย เมื่อผู้ว่ำจ้ำงได้รับ หนังสือแจ้งเพิ่ม ผู้ว่ำจ้ำงจะดำเนินกำรตำมข้อย่อย 3.5 (Determinations) ให้มีข้อยุติ
17.5
ทรัพย์สินทางปัญญา และลิขสิทธิ์ (Intellectual and Industrial Property Rights) หัวข้อย่อย 17.5 นี้ กำรละเมิดลิขสิทธิ์ (Infringement) หมำยถึงกำรละเมิดลิขสิทธิ์ของ โปรแกรมกำรออกแบบ กำรลอกเลียนแบบ เครื่องหมำยกำรค้ำ ชื่อกำรค้ำ ควำมลับทำงกำร ค้ำ หรือทรัพย์สินทำงปัญญำ ผลิตภัณฑ์ทำงอุตสำหกรรม ซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้องกับงำน และกำร เรียกร้อง (Claims) หมำยถึงกำรเรียกร้องค่ำเสียหำย กำรละเมิดลิขสิทธิ์
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-120 |
เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
เมื่อใดก็ตำม หำกคู่สัญญำฝ่ำยหนึ่งไม่ได้แจ้งด้วยหนังสือต่อคู่สัญญำอีกฝ่ำยหนึ่งภำยใน 28 วันเมื่อได้รับแจ้งค่ำเรียกร้องกำรละเมิดลิขสิทธิ์ คู่สัญญำฝ่ำยแรกเสมือนว่ำสละสิทธิ์ กำร คุ้มครองภำยใต้ข้อย่อย 17.5 นี้ ผู้ว่ำจ้ำงจะให้ควำมคุมครองแก่ผู้รับจ้ำงจำกกำรละเมิดสิทธิ์ในกรณีดังนี้ (ก) เป็นเหตุสุดวิสัยของผู้รับจ้ำงต้องปฏิบัติตำมสัญญำ หรือ (ข) เป็นผลของงำนใด ๆ ซึ่งผู้ว่ำจ้ำงจำเป็นต้องใช้ (1) เป็นวัตถุประสงค์เกินกว่ำที่ได้ระบุไว้ หรือมีเหตุผลอนุมำนจำกสัญญำ (2) เกี่ยวเนื่องจำกสิ่งที่ผู้รับจ้ำงต้องจัดหำ เว้นแต่ถูกเปิดเผยต่อผู้รับจ้ำงก่อนวันที่ระบุใน สัญญำ ผู้รับจ้ำงจะให้ควำมคุ้มครองต่อผู้ว่ำจ้ำงจำกกำรเรียกค่ำลิขสิทธิ์ ซึ่งเกิดจำกส่วนเกี่ยวข้องจำก (1) กำรผลิต กำรใช้ กำรขำย กำรนำเข้ำพัสดุหรือ (2) กำรออกแบบใด ๆ ซึ่งเป็นงำนรับผิดชอบของผู้รับจ้ำง หำกคู่สัญญำฝ่ำยหนึ่งต้องได้รับกำรคุ้มครองตำมข้อย่อย 17.5 นี้ คู่สัญญำฝ่ำยที่ให้ควำม คุ้มครองอำจ (ในค่ำใช้จ่ำยของตน) จะขอเจรจำเพื่อหำข้อยุติเรียกค่ำเรียกร้องในลิขสิทธิ์และ ข้อพิพำททำงศำลใด ๆ หรือข้อพิพำททำงอนุญำโตตุลำกำรใด ๆ ซึ่งอำจเกิดขึ้น คู่สัญญำอีก ฝ่ำยหนึ่งในกำรร้องขอและค่ำลิขสิทธิ์ เพื่อช่วยเจรจำข้อขัดแย้งของค่ำลิ ขสิทธิ์ คู่สัญญำอีก ฝ่ำยหนึ่งนี้ (และบุคลำกรของฝ่ำยนี้) จะต้องไม่เข้ำมำร่วม ซึ่งอำจจะทำควำมเสียหำยในเรื่อง ฝ่ำยคู่สัญญำให้ควำมคุ้มครอง เว้นแต่ คู่สัญญำฝ่ำยให้ควำมคุ้มครองไม่ปฏิบัติตำมในกำร เจรจำต่อรอง 17.6
การจากัดความรับผิด (Limitation of Liability) ไม่ว่ำคู่สัญญำฝ่ำยใดต้องงรับผิดต่อคู่สัญญำอีกฝ่ำยหนึ่งในเรื่องกำรสูญเสียกำรใช้งำน สูญเสีย ค่ำกำไร สูญเสียสัญญำใด ๆ ทำงอ้อมหรือกำรสูญเสียต่อเนื่องกันหรือค่ำเสียหำย ซึ่งทำให้คู๋ สัญญำอีกฝ่ำยหนึ่งต้องได้รับควำมยุ่งยำกตำมสัญญำมำกกว่ำตำมข้อย่อย 16.4 (Payment on Termination) และข้อย่อย 17.1 (Indemnities) ควำมรับผิดชอบของผู้รับจ้ำงต่อผู้ว่ำจ้ำง ภำยใต้หรือเกี่ยวกับสัญญำนอกเหนือจำกข้อย่อย 4.19 (Electricity, Water and Gas) ข้อย่อย 4.20 (Employer’s Equipment and Free Issue Material) หัวข้อย่อย 17.1 (Indemnities) และหัวข้อย่อย 17.5 (Intellectual and Industrial Property Rights) จะต้องไม่เกินจำนวนทั้งหมดตำมที่ระบุไว้ ในเงื่อนไขเฉพำะ หรือระบุ (จำนวนรวมไว้) จำนวนรำคำงำนในสัญญำ ข้อย่อย 17.6 นี้ ต้องไม่จ ำกัดควำมรับผิดชอบในเรื่องกำรทุจริต หรือเจตนำท ำผิด หรือ ประมำท หรือประพฤติมิชอบของฝ่ำยผู้กระทำผิด สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-121 | เงื่อนไขของสัญญา
18. 18.1
FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
การประกันภัย (Insurance) วัตถุประสงค์ทั่วไปของการประกันภัย (General Requirements for Insurance) ในข้อ 18 นี้ ผู้เอำประกัน (Insuring Party) หมำยถึงกำรประกันแต่ละประเภท ผู้เอำประกัน มีผลบังคับใช้และคงไว้ซง่ึ กำรประกันภัยตำมที่ระบุไว้ในหัวข้อย่อยที่เกี่ยวข้อง กรณีใด ๆ ที่ผู้รับจ้ำงเป็นผู้เอำประกัน แต่ละกรมธรรม์ประกันภัยมีผลกำรคุ้มครองตำม เงื่อนไขประกันซึ่งได้รับกำรเห็นชอบของผู้ว่ำจ้ำง เงื่อนไขกำรประกันภัยนี้ต้องประกอบด้วย เงื่อนไขที่เห็นชอบด้วยทั้งสองฝ่ำย ก่อนออกหนังสือตกลงจ้ำง เงื่อนไขประกันภัยนี้จะมีผล คุ้มครองตำมเงื่อนไขของข้อ 18 นี้ กรณีใดที่ผู้ว่ำจ้ำงเป็นผู้เอำประกัน แต่ละกรมธรรม์มีผลคุ้มครองและที่เงื่อนไขคุ้มครอง สอดคล้องกับ รำยละเอียด ระบุไว้ในเงื่อนไขเฉพำะ ถ้ำกรณีก ำรประกัน ภัย เป็น ผู้ เ อำประกันร่ว มกัน กำรคุ้มครองต้ อ งแยกกั น ของแต่ ล ะ กรมธรรม์ แม้ว่ำจะเป็นแยกกำรคุ้มครองและแยกกรมธรรม์ให้แต่ละฝ่ำยของกำรประกันร่วม หำกกำรเพิ่มค่ำคุ้มครองควำมเสียหำยของผู้เอำประกันร่วม เช่นกำรเพิ่มควำมคุ้มครองตำม ข้อกำหนดของข้อ 18.1 นี้ (1) ภำยใต้กำรคุ้มครองผู้รับจ้ำงจะเป็นทำหน้ำที่ ในฐำนะกำรเพิ่มผู้เอำประกันร่วม เว้น แต่ ผู้ว่ำจ้ำงจะทำหน้ำที่แทนบุคลำกรของผู้ว่ำจ้ำง (2) กำรเพิ่มผู้เอำประกัน จะไม่มีสิทธิ์รับค่ำสินไหมโดยตรงกันกับผู้ให้กำรประกัน หรือมี หน้ำที่ติดต่อโดยตรงกับผู้ให้ประกัน และ (3) ผู้เอำประกันร่วมต้องให้ผู้เอำประกันร่วมปฏิบัติตำมเงื่อนไขของกรมธรรม์ ทุกกรมธรรม์ที่ เอำประกันกำรสูญหำยและกำรเสียหำย ผู้ให้ประกันต้องจ่ำยค่ำประกันตำมสกุลเงินในกำรจ่ำยค่ำเสียหำยของกำรสูญหำยหรื อ เสียหำย กำรชำระเงินที่ได้รับจำก บริษัทประกันจะถูกนำไปใช้ในกำรแก้ไขควำมสูญเสียหรือ ควำมเสียหำย ในระยะเวลำที่ระบุไว้ในเงื่อนไขเฉพำะ (ค ำนวณจำกวันที่เริ่มต้น) ให้ภำคีผู้ประกันตนที่ เกี่ยวข้องยื่นต่อภำคีอีกฝ่ำยหนึ่ง: (ก) มีหลักฐำนแสดงว่ำ กำรประกันภัยที่ระบุไว้ในหัวข้อ 18 นี้มีผลบังคับใช้ (ข) ส ำเนำกรมธรรม์กำรคุ้มครองตำมระบุไว้ในข้อย่อย 18.2 (Insurance of Works and Contractor’s Equipment) และข้อย่อย 18.3 (Insurance Against Injury to Persons and Damage to Property) เมื ่ อ มี ก ำรจ่ ำ ยค่ ำกรมธรรม์ แต่ ล ะกรมธรรม์ ผู ้ เ อำประกั น ต้ อ งแสดงหลัก ฐำนกำรจ่ำย ประกันภัย แก่ผู้เอำประกันอีกฝ่ำยหนึ่ง และผู้เอำประกันแจ้งเป็นหนังสือต่อผู้ว่ำจ้ำงอีกด้วย
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-122 |
เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
คู่สัญญำแต่ละฝ่ำยต้องปฏิบัติตำมเงื่อนไขที่ระบุไว้ในแต่ละกรมธรรม์ ผู้เอำประกันต้องแจ้ง ผู้ให้ประกันทรำบทุกเรื่องที่มีกำรเปลี่ยนแปลงในกำรดำเนินงำนก่อสร้ำง เพื่อให้แน่ใจว่ำ กำร คุ้มครองภัยยังคงเป็นไปตำมเงื่อนไขของหัวข้อ 18 นี้ ไม่ว่ำคู่สัญญำใดต้องกำรเปลี่ยนสำระคุ้มครองในกรมธรรม์ใด ๆ ต้องแจ้งคู่สัญญำอีกฝ่ำยหนึ่ง เห็น ชอบด้ว ย ถ้ำผู้ให้ป ระกันท ำ (หรือจะท ำ) กำรเปลี่ยนแปลงคู่ส ัญญำ ฝ่ำยต้องกำร เปลี่ยนแปลงต้องแจ้งผู้ให้ประกันบอกผู้เอำประกันอีกฝ่ำยให้เห็นชอบด้วย หำกคู่สัญญำผู้เอำประกันภัยไม่ปฏิบัติตำมและมีผลบังคับใช้กับกำรประกันภัยใด ๆ ที่ จ ำเป็นต้องมีผลและรักษำไว้ภำยใต้สัญญำ หรือไม่ให้หลักฐำนที่น่ำพอใจและส ำเนำของ กรมธรรม์ตำมข้อย่อยนี้ คู่สัญญำฝ่ำยหนึ่งอำจ (ในตัวเลือกและปรำศจำกอคติใด ๆ ต่อสิทธิ หรือกำรเยียวยำอื่น ๆ ) ประกันผลกระทบสำหรับควำมคุ้มครองที่เกี่ยวข้องและจ่ำยเบี้ย ประกันเนื่องจำก คู่สัญญำฝ่ำยหนึ่งผู้เอำประกันภัยจะต้องจ่ำยเงินค่ำเบี้ยประกันภัยเหล่ำนี้ ให้แก่อีกฝ่ำยหนึ่งและจะต้องปรับรำคำตำมสัญญำ ไม่มีข้อจำกัดควำมรับผิดชอบหนี้สินหรือควำมรับผิดชอบของผู้รับจ้ำงหรือผู้ว่ำจ้ำงภำยใต้ เงื่อนไขอื่น ๆ ของสัญญำ จำนวนเงินที่ไม่ได้รับกำรประกันหรือไม่ได้รับกำรกู้คืนจำก บริษัท ประกันจะต้องเป็นไปตำมภำระหน้ำที่ควำมรับผิดหรือควำมรับผิดชอบของผู้รับจ้ำง และ/ หรือผู้ว่ำจ้ำง อย่ำงไรก็ตำมหำกคู่สัญญำผู้เอำประกันภัยไม่สำมำรถมีผลบังคับใช้ และมีผล บังคับใช้กำรประกันภัยที่มีอยู่ ซึ่งจำเป็นต้องมีผลและรักษำไว้ภำยใต้สัญญำและอีกฝ่ำยหนึ่ง ไม่อนุมัติ กำรละเลยหรือกำรประกันผลกระทบสำหรับควำมคุ้มครองที่ เกี่ยวข้องกับกำรผิด นัดนี้ เงินที่สำมำรถกู้คืนได้ภำยใต้กรมธรรม์นี้จะต้องชำระโดยคู่สัญญำที่ทำประกันภัย กำรจ่ำยค่ำประกันของฝ่ำยหนึ่งให้แก่อีกฝ่ำยหนึ่งให้ปฏิบัติตำมข้อย่อย 2.5 (Employer’s Claims) หรือหัวข้อย่อย 20.1 (Contractor’s Claims) 18.2 การประกั น งานก่ อ สร้ า งและเครื ่ อ งมื อ ของผู ้ ร ั บ จ้ า ง(Insurance for Works and Contractor’s Equipment) ผู้เอำประกัน ต้องท ำประกันงำนก่อสร้ำง อุปกรณ์ประกอบโรงงำน/โรงผลิต วัสดุ และ เอกสำรของผู้รับจ้ำงต้องไม่น้อยกว่ำค่ำก่อสร้ำงงำนใหม่ ซึ่งต้องรวมค่ำกำรรื้อถอน กำรรื้อ ย้ำย เศษวัสดุ ค่ำวิชำชีพและค่ำกำไร กำรประกันนี้จะมีผลคุ้มครองจำกวันที่ซึ่งหลักฐำนต้อง ส่งมอบให้ภำยใต้ข้อย่อย 18.1 (General Requirement for Insurance) จนถึงวันที่ออก หนังสือรับรองกำรส่งมอบงำน ผู้เอำประกันต้องประกันภัยให้กำรคุ้มครองจนกว่ำวันที่ได้ออกหนังสือรับรองกำรปฏิบัติงำน เสร็จสมบูรณ์ ส ำหรับกำรสูญหำยหรือควำมเสียหำย ซึ่งผู้รับจ้ำงต้องรับผิดอันเกิดจำก เหตุร้ำยก่อนที่จะได้รับหนังสือกำรรับมอบงำนเพื่อกำรสูญหำยหรือควำมเสียหำย อันเป็น สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-123 | เงื่อนไขของสัญญา
FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
เหตุเกิดจำกกำรปฏิบัติงำนอื่น ๆ (ให้รวมถึงข้อ 11 (Deflect Liability) และ ข้อ 12 (Tests after Completion)) ผู้เอำประกันภัยต้องประกันภัยให้คุ้มครองเครื่องมือไม่ให้สูญหำยในมูลค่ำไม่น้อยกว่ำกำรที่ ผู้รับจ้ำงต้องจัดหำมำแทนรวมค่ำขนส่งมำยังพื้นที่โครงกำร เครื่องมือแต่ละชิ้นของผู้ รับจ้ำง ต้องมีผลกำรคุ้มครองในขณะขนส่งเข้ำสู่พื้นที่โครงกำรและหมดอำยุกำรคุ้มครองเมื่อไม่ จำเป็นต้องใช้เครื่องมือในกำรก่อสร้ำง เว้นแต่ได้กำหนดไว้ในเงื่อนไขสัญญำ กำรประกันภัยในหัวข้อนี้ (18.2) ต้องมีองค์ประกอบ ดังนี้ (ก) ต้องมีผลกำรคุ้มครองและมีอำยุกำรคุ้มครอง โดยผู้รับจ้ำงเป็นผู้เอำประกัน (ข) ผู้ว่ำจ้ำงต้องเป็นผู้ได้รับผลประโยชน์จำกผลกำรคุ้มครองของกำรประกันภัย กำรจ่ำย ค่ำจ้ำงก่อสร้ำง จะถูกยึดหน่วงไว้ระหว่ำงผู้ว่ำจ้ำงกับผู้รับจ้ำงเพื่อวัตถุประสงค์ในกำรเจรจำ ตกลงค่ำสูญหำยหรือค่ำเสียหำยซึ่งกันและกัน (ค) มีกำรคุม้ ครองกำรสูญหำยหรือควำมเสียหำยจำกเหตุซึ่งได้ระบุไว้ในรำยกำรบัญชีของข้อ ย่อย17.3 (Employer’s Risks) (ง) ต้องคุ้มครองกำรสูญหำยหรือควำมเสียหำยบำงส่วนของงำนซึ่งผู้ว่ำจ้ำงเข้ำใช้งำนหรือเข้ำ ครอบครองบำงส่วนของงำน แล้วเกิดกำรสูญหำยหรือควำมเสียหำยจำกควำมเสี่ยงตำมที่ ระบุไว้ในข้อ (ค) (ช) และ (ซ) ของข้อย่อย 17.3 (Employer’s Risk) ไม่รวมควำมเสี่ยงแต่ ละกรณีซึ่งไม่สำมำรถเอำประกันในกำรใช้งำนเชิงพำณิชย์ พร้อมด้วยกำรหักเงินต่อครั้งแต่ไม่ เกินจำนวนเงินตำมที่ระบุไว้ ในเอกสำรแนบผนวกในเอกสำรประกวดรำคำ (หำกมิได้ระบุไว้ จะไม่นำวรรค (ง) มำบังคับใช้) และ (จ) อย่ำงไรก็ดี ไม่รวมกำรสูญหำยหรือควำมเสียหำยต่อกำรเข้ำครอบครองของ (1) งำนบำงส่ว นที่อยู่ในสภำพช ำรุดอันเนื่ องจำกเกิดจำกกำรออกแบบหรื อฝีมื อ กำร ก่อสร้ำง (แต่รวมงำนบำงส่วนซึ่งได้เกิดควำมสูญหำยหรือควำมเสียหำยอันเนื่องจำกผล โดยตรงกับสภำพชำรุดและไม่ระบุไว้ในถ้อยควำม (2) ข้ำงล่ำงนี้ (2) งำนบำงส่วนที่อยู่ในสภำพชำรุดอันเนื่องจำกกำรเข้ำครอบครองงำนบำงส่วนอื่น หำก งำนบำงส่วนนี้อยู่ในสภำพชำรุดอันเนื่องจำกกำรชำรุดจำกกำรออกแบบ วัสดุก่อสร้ำงหรือ ฝีมือกำรก่อสร้ำง (3) งำนบำงส่วนซึ่งได้ส่งมอบแก่ผู้ว่ำจ้ำง เว้นแต่ว่ำ ผู้รับจ้ำงยังต้องรับผิดต่อกำรสูญหำย หรือควำมเสียหำย และ (4) พัสดุนั้นไม่อยู่ในประเทศตำมข้อย่อย 14.5 (Plant and Materials intended for the Works)
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-124 |
เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
หำกมำกกว่ำ 1 ปีห ลัง จำกวันฐำน กำรคุ้มครองตำมที่ระบุไว้ในวรรค (ง) ข้ำงต้นจนไม่ สำมำรถจัดหำได้ง่ำยตำมเชิงพำณิชย์ ผู้รับจ้ำงซึ่งเป็นผู้เอำประกันจะมีหนังสือแจ้งให้ผู้ว่ำจ้ำง พร้อมด้วยหลักฐำนเฉพำะ ดังนั้น ผู้ว่ำจ้ำงต้องดำเนินกำร (ก) ใช้ข้อย่อย 2.5 (Employer’s Claims) ให้ผู้รับจ้ำงจ่ำยค่ำเสียหำยตำมจ ำนวนอย่ำง เหมำะสมเทียบเท่ำมูลค่ำที่สมควรตำมที่ผู้รับจ้ำงต้องจ่ำย (ข) ถือเสมือนว่ำ เว้นแต่ผู้รับจ้ำงได้รับค่ำคุ้มครองตำมรำคำท้องตลำดตำมที่เห็นชอบ ตำม ข้อยกเว้นของข้อย่อย 18.1 (General Requirements for Insurance) 18.3
การประกันคุ้มครองการบาดเจ็บต่อบุคคลและค่าเสียหายต่อทรัพย์สิน (Insurance against Injury to Person and Damage to Property) ผู้เอำประกัน ต้องประกันคุ้มครองทุกฝ่ำยในกำรรับผิด ควำมเสียหำย กำรเสียชีวิต หรือกำร บำดเจ็บต่อร่ำงกำยและทรัพย์สิน เว้นแต่กำรประกันทรัพย์สินตำมข้อย่อย 18.2 (Insurance for Works and Contractor’s Equipment) หรือคุ้มครองบุคคลใด ๆ ซึ่งอำจจะเกิดขึ้น จำกงำนก่อสร้ำงของผู้รับจ้ำงตำมสัญญำ และซึ่งเกิดเหตุก่อนออกหนังสือ กำรรับรอง กำร ปฏิบัติงำนของผู้รับจ้ำง กำรประกันจะคุ้มครองจ่ำยค่ำคุ้มครองแบบจ ำกัดต่อครั้งแต่ไม่น้อยกว่ำตำมที่ระบุไว้ใน เอกสำรแนบผนวกในเอกสำรประกวดรำคำ ซึ่งหัวข้อย่อย 18.3 จะไม่นำมำบังคับใช้ เว้นแต่ได้ระบุในเงื่อนไขเฉพำะ กำรประกันภัยต่ำง ๆ กำรคุ้มครองตำมที่ระบุภำยใต้ข้อยย่อย 18.3 นี้ เป็นดังนี้ (ก) ผู้รับจ้ำงต้องเป็นผู้เอำประกัน (ผู้ซื้อประกัน) เป็นผู้รักษำประกันภัย (ข) ต้องมีชื่อทั้ง 2 ฝ่ำยเป็นผู้รับผลประโยชน์จำกกำรประกันภัยร่วมกัน (ค) ต้องมีผลคุ้มครองรับผิดกำรสูญหำยและควำมเสียหำยจนถึงทรัพย์สินของผู้ว่ำจ้ำง (เว้น แต่กำรประกันทรัพย์สินภำยใต้ข้อย่อย 18.2) อันเกิดจำกกำรปฏิบัติงำนของผู้รับจ้ำงตำม สัญญำและ (ง) อย่ำงไรก็ดีอำจจะไม่รวมควำมรับผิดต่อผลอันเกิดจำก (1) สิทธิกำรเป็นเจ้ำของของผู้ว่ำจ้ำงในงำนก่อสร้ำงงำนถำวรทั้งปวง ที่อยู่ เหนือ ข้ำงล่ำง ใน หรือบนพื้นดินและซึ่งเป็นที่ตั้งของสิ่งก่อสร้ำงถำวร (2) ควำมเสียหำยซึ่งไม่สำมำถหลีกเลี่ยงได้ จำกผลที่ผู้รับจ้ำงต้องก่อสร้ำงตำมพันธะกำร ก่อสร้ำง และกำรซ่อมบำรุงที่ชำรุดเสียหำยและ (3) รำยกำรที่ระบุไว้ข้อย่อย 17.3 (Employer’s Risks) เว้นแต่ได้รวมถึงกำรคุ้มครองที่ จัดหำได้ตำมรำคำท้องตลำด
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-125 | เงื่อนไขของสัญญา
FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
18.4
การประกันบุคลากรของผู้รับจ้าง (Insurance for Contractor’s Personnel) ผู้รับจ้ำงมีหน้ำที่จัดซื้อประกันภัยและเป็นผู้รักษำกำรประกันภัย คุ้มครองกำรเรียกร้องควำม เสียหำย กำรสูญเสียและค่ำใช้จ่ำย (รวมค่ำธรรมเนียมและค่ำใช้จ่ำย) ที่เกิดขึ้นต่อกำร บำดเจ็บ กำรเจ็บป่วยกำรเป็นโรค หรือกำรเสียชีวิตของบุคคลใด ๆ ซึ่งจ้ำงโดยผู้รับจ้ำงหรือ บุคคลอื่นของผู้รับจ้ำง ผู้รับจ้ำงและผู้ว่ำจ้ำงต้องได้รับกำรประกันภัยภำยใต้กรมธรรม์ของสัญญำนี้ด้วย เว้นแต่กำร ประกันนี้ ไม่รวมกำรสูญหำยหรือเรียกร้องค่ำเสียหำยจำกกำรกระทำอันเกิดจำกกำรยกเว้น ของผู้ว่ำจ้ำงหรือบุคลำกรของผู้ว่ำจ้ำง ผู้รับจ้ำงต้องรักษำสัญญำกำรประกัน ภัยโดยมีผลบังคับใช้ตลอดเวลำที่บุคลำกรท ำงำน ก่อสร้ำง สำหรับบุคลำกรของผู้รับจ้ำงช่วง ผู้รับจ้ำงช่วงต้องเป็นผู้จัดซื้อเอง แต่ผู้รับจ้ำงต้อง เป็นผู้รับผิดชอบกำรคุ้มครองภัยโดยต้องเป็นไปตำมข้อย่อย 18.4 นี้
19. 19.1
เหตุสุดวิสัย (Force Majeure) คานิยามของเหตุสุดวิสัย (Definition of Force Majeure) ในข้อ 19 นี้ เหตุสุดวิสัย หมำยถึง กำรคำดไม่ถึงของเหตุกำรณ์หรือสถำนกำรณ์ (ก) เป็นเหตุกำรณ์ที่คู่สัญญำไม่สำมำรถควบคุมได้ (ข) เป็นสถำนกำรณ์ที่คู่สัญญำไม่สำมำรถปัองกันก่อนลงนำมสัญญำ (ค) เป็นสถำนกำรณ์ที่คู่สัญญำไม่สำมำรถหลีกเลี่ยงได้หรือเอำชนะได้ (ง) เป็นสถำนกำรณ์อย่ำงมีนัยยะ เกิดผลกระทบต่อบุคคลอื่น เหตุสุดวิสัยอำจรวมแต่ไม่จำกัดต่อประเภทเหตุกำรณ์หรือประเภทสถำนกำรณ์ ซึ่งคำดไม่ถึง ดังนั้น ไม่ว่ำประเภทเหตกำรณ์นั้นจะสอดคล้องกับข้อ (ก) ถึงข้อ (ง) ข้ำงต้น (1) สงครำม กำรปองร้ำย (ไม่ว่ำจะได้ประกำศเป็นสงครำมหรือไม่) กำรรุกรำน กำรกระทำ จำกศัตรูจำกนอกประเทศ (2) กำรต่อต้ำน กำรก่อกำรร้ำย กำรปฏิวัติ กำรกบฏ กำรยึดอำนำจทำงทหำรหรือสงครำม กลำงเมือง (3) กำรจรำจล กำรชุมนุมวุ่นวำย กำรขัดขืน กำรหยุดงำน หรือกำรจับตัวคุมขังอันไม่ใช่ บุคลำกรของผู้รับจ้ำง หรือบุคคลอื่นของผู้รับจ้ำง (4) สงครำมด้ว ยอำวุธ ปืน วัตถุระเบิด กำรแผ่รังสีห รือกำรปนเปื้อนด้วยสำรพิษ กำร ก่อให้เกิดคลื่นวิทยุ ยกเว้นควำมจำเป็น กำรใช้กระสุน วัตถุระเบิด กำรแผ่รังสี กำรก่อเกิด คลื่นวิทยุ และ (5) มหันตภัยธรรมชำติ เช่น แผ่นดินไหว พำยุเฮอริเคน พำยุใต้ฝุ่น ภูเขำไฟระเบิด
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-126 |
เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
19.2
การแจ้งบอกเหตุสุดวิสัย (Notice of Force Majeure) หำกคู่สัญญำฝ่ำยหนึ่งต้องกำรรับกำรปกป้องจำกกำรปฏิบัติงำนตำมพันธะสัญญำในเรื่องเหตุ สุดวิสัย คู่สัญญำฝ่ำยหนึ่ง ต้องมีหนังสือแจ้งให้อีกฝ่ำยหนึ่ง ให้ทรำบถึงสถำนกำรณ์เหตุ สุดวิสัยและอธิบำยมำตรกำรปกป้องเหตุสุดวิสัยนั้นภำยใน 14 วัน เมื่อคู่สัญญำได้ตระหนัก ถึงเหตุสุดวิสัยนั้นแล้ว คู่สัญญำได้รับกำรบอกกล่ำวแล้ว ก็จะได้รับกำรยกเว้นกำรปฏิบัติกำร ตรำบเท่ำทีก่ ำรปกป้องเหตุสุดวิสัยจำกกำรปฏิบัติกำรนั้น ๆ ไม่ว่ำกรณีใด ๆ คู่สัญญำจะนำข้อบังคับนี้มำร้องเรียนค่ำจ้ำงใด ๆ จำกสัญญำย่อมกระทำ ไม่ได้
19.3
หน้าที่การลดผ่อนผันการล่าช้า (Duty of Mininise Delay) ตลอดเวลำ แต่ละฝ่ำยต้องใช้ควำมพยำยำมอย่ำงมีเหตุผล ในกำรลดควำมล่ำช้ำใด ๆ ในกำร ปฏิบัติตำมสัญญำในเรื่องเหตุสุดวิสัย คู่สัญญำต้องแจ้งให้ทรำบซึ่งกันและกัน เมื่อเหตุสุดวิสัยนั้นได้สงบ เข้ำสู่เหตุกำรณ์ปกติ
19.4
ผลตามมาของเหตุสุดวิสัย (Consequence of Force Majeure) หำกผู้รับจ้ำงได้ปฏิบัติตำมพันธะสัญญำในกำรป้องกันอันเกิดจำกเหตุสุดวิสัยและทำหนังสือ แจ้งตำมข้อย่อย 19.2 (Notice to Force Majeure) และผู้รับจ้ำงได้รับผลกระทบ กำร ล่ ำ ช้ ำ ของงำนมี ค ่ ำ ใช้ จ ่ ำ ยจำกกำรเกิ ด เหตุ ส ุ ด วิส ั ย ผู ้ ร ั บ จ้ ำ งมี ส ิ ท ธิ ์ ต ำมข้ อ ย่ อ ย 20.1 (Contractor’s Claims) กำรเรียกร้องค่ำชดเชย คือ (ก) ขยำยเวลำกำรก่อสร้ำงตำมเวลำที่ล่ำช้ำไป หำกควำมล่ำช้ำตำมข้อย่อย 8.4 (Extension of Time for Completion) และ (ข) หำกเหตุกำรณ์หรือสถำนกำรณ์ ตำมที่ระบุไว้ ตำมข้อ (1) ถึง (4) ของข้อย่อย 19.1 (Definition of Force Majeure) และตำมข้อ (2) ถึง (4) เกิดขึ้นในประเทศที่โครงกำรตั้งอยู่ ก็ต้องจ่ำยค่ำชดเชยของเหตุนั้น ๆ หลังจำกได้หนังสือแจ้ง ผู้ว่ำจ้ำงจะต้องดำเนินกำรตำมข้อย่อย 3.5 (Determinations) ให้ ควำมเห็นชอบหรือพิจำรณำวินิจฉัยในเรื่องเหล่ำนี้
19.5
เหตุสุดวิสัยมีผลกระทบต่อผู้รับจ้างช่วง (Force Majeure Affecting Subcontractor) หำกผู้รับจ้ำงช่วงอยู่ภำยใต้สัญญำใด ๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงกำรและมีกำรยกเว้นจำก เหตุสุดวิสัยบนเงื่อนไขเพิ่มเติมหรือขยำยควำมรับผิดชอบกันตำมที่กำหนดของข้อย่อย 19.5 นี้
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-127 | เงื่อนไขของสัญญา
FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
ข้อเพิ่มเติมหรือข้อขยำยควำมเกี่ยวกับเหตุสุดวิสัย ผู้รับจ้ำงหลักจะไม่ได้รับยกเว้นควำม รับผิดชอบจำกหัวข้อ 19.5 นี้ 19.6
ทางเลื อ กการยกเลิ ก การจ่ า ยค่ า จ้ า งและการยกเว้ น (Optional Termination, Payment and Release) หำกกำรก่อสร้ำงมีควำมก้ำวหน้ำไปได้ดี แต่ถูกชะลอมำมำกกว่ำ 84 วัน อันเนื่องจำกเหตุ สุดวิสัย และมีหนังสือแจ้งให้ทรำบตำมข้อย่อย 19.2 (Notice of force Majeure) หรือมี กำรเพิ่ มเวลำหยุดชะงักชั่ว ครำวมำกกว่ำ 140 วัน และมีกำรแจ้งให้ทรำบด้ว ยหนังสือ คู่สัญญำฝ่ำยหนึ่งฝ่ำยใดอำจบอกเลิกสัญญำได้ ในเหตุกำรณ์เช่นนี้ กำรบอกเลิกสัญญำจะมีผลบังคั บภำยหลัง 7 วัน แห่งกำรบอกกล่ำวด้วย หนังสือ และผู้รับจ้ำงจะดำเนินตำมข้อย่อย 16.3 (Cessation of Works and Removal of Contractor’s Equipment) จำกกำรบอกเลิกสัญญำดังกล่ำว ผู้ว่ำจ้ำงจะทำกำรประเมินค่ำของงำนก่อสร้ำงที่ ได้กระทำ แล้ว และออกหนังสือรับรอง กำรจ่ำยค่ำจ้ำงซึ่งจะรวมในเรื่องดังนี้ (ก) จำนวนค่ำจ้ำงที่ต้องจ่ำยของงำนก่อสร้ำงใด ๆ ที่ผู้รับจ้ำงได้กระทำตำมสัญญำ (ข) ค่ำของอุปกรณ์ประกอบโรงงำน/โรงผลิต (Plant) วัสดุที่ได้สั่งซื้อเพื่องำนก่อสร้ ำง ดังกล่ำวซึ่งได้ส่งถึงผู้รับจ้ำงแล้ว หรือวัสดุใดที่ผู้รับจ้ำงต้องรับผิดชอบต่อกำรส่งมอบ อุปกรณ์ ประกอบโรงงำน/โรงผลิต และวัสดุเหล่ำนี้จะกลำยเป็นทรัพย์สินของผู้ว่ำจ้ำง เมื่อผู้ว่ำจ้ำง ต้องจ่ำยและผู้รับจ้ำงจะต้องเปลี่ยนให้ใหม่แก่ผู้ว่ำจ้ำง (ค) ค่ำใช้จ่ำยอื่น ๆ หรือควำมรับผิดซึ่งอยู่ในสถำนกำรณ์ที่เกิดขึ้นอย่ำงมีเหตุผลจำกผู้รับจ้ำง ที่คำดว่ำจะดำเนินงำนก่อสร้ำงให้แล้วเสร็จ (ง) ค่ำใช้จ่ำยกำรรื้อถอนขนย้ำยสิ่งปลูกสร้ำงชั่วครำวของผู้รับจ้ำงและเครื่องมือของผู้รับจ้ำง ออกจำกพื้นที่โครงกำร และกำรคืนพัสดุเหล่ำนี้ให้แก่ผู้รับจ้ำงภำยในประเทศ (หรือที่ใด ๆ ที่ มีค่ำใช้จ่ำยมำกกว่ำนี้) และ (จ) ค่ำใช้จ่ำย กำรส่งคืนบุคลำกรและคนงำนของผู้รับจ้ำงซึ่งทำงำนก่อสร้ำงโครงกำรนี้
19.7
พ้นภาวะการปฏิบัติงานภายใต้กฏหมาย (Release from Performance under the Law) ไม่ว่ำเงื่อนไขอื่นใดของหัวข้อนี้ หำกเหตุกำรณ์ใด ๆ หรือสถำนกำรณ์ใด ๆ นอกเหนือกำร ควบคุมของคู่สัญญำ (รวมถึงแต่ไม่จำกัดเหตุสุดวิสัย) ได้เกิดขึ้นซึ่งเป็นไปไม่ได้หรือไม่ถูก กฏหมำย ท ำให้คู่สัญญำที่จะท ำตำมให้หรือตำมพันธะสัญญำ หรืออยู่ภำยใต้กฏหมำยที่
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-128 |
เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
บังคับใช้ต่อสัญญำ ทำให้คู่สัญญำพ้นภำระในกำรปฏิบัติงำนต่อไปตำมสัญญำ ดังนั้น ฝ่ำย หนึ่งฝ่ำยใดก็ต้องมีหนังสือแจ้งให้อีกฝ่ำยหนึ่งทรำบถึงเหตุอันเกิดขึ้นหรือตำมสถำนกำรณ์นั้น (ก) คู่สัญญำต้องหยุดปฏิบัติงำนต่อไป โดยไม่กระทบต่อสิทธิของฝ่ำยหนึ่งฝ่ำยใดในกำร กระทำผิดสัญญำใด ๆ ที่ผ่ำนมำและ (ข) ค่ำจ้ำงทั้งปวงที่ผู้ว่ำจ้ำงต้องจ่ำยให้แก่ผู้รับจ้ำงยังคงเหมือนเดิมซึ่งจะต้องจ่ำยตำมข้ อย่อย 19.6 (Optional Termination, Payment and Release) หำกมีกำรยกเลิกสัญญำภำยใต้ หัวข้อย่อย 19.6 20. 20.1
การเรียกร้อง ข้อพิพาท และอนุญาโตตุลาการ (Claims, Disputes and Abitration) การเรียกร้องของผู้รับจ้าง (Contractor’s Claims) หำกผู้รับจ้ำงมีควำมเห็นว่ำ อำจจะขอขยำยต่อเวลำกำรก่อสร้ำงและหรือเพิ่มค่ำจ้ำงก่อสร้ำง ภำยใต้สัญญำนี้ ผู้รับจ้ำงต้องมีหนังสือ ด่วนที่สุดแจ้งผู้ว่ำจ้ำงในเหตุกำรณ์หรือสถำนกำรณ์ที่เกิดขึ้นเพื่อกำร เรียกร้องค่ำชดเชยภำยในเวลำไม่มำกกว่ำ 28 วัน นับแต่วันที่ผู้รับจ้ำงรู้เหตุหรือควรจะรู้เหตุ ของสถำนกำรณ์นั้น หำกผู้รับจ้ำงบกพร่องไม่แจ้งกำรเรียกร้องค่ำชดเชยในช่วงเวลำดังกล่ำว ก็จะไม่มีสิทธิ์ขยำย ระยะเวลำก่อสร้ำงออกไปและไม่อำจขอค่ำชดเชยเพิ่มได้ และผู้ว่ำจ้ำงจะตัดขำดไม่รับผิดกำร ชดเชยค่ำใช้จ่ำย เว้นแต่เรื่องต่อนี้ของข้อย่อย 20.1 จะนำมำบังคับใช้ ผู้รับจ้ำงจะต้องแจ้งเป็นหนังสืออื่นตำมที่ระบุไว้ในสัญญำและหลักฐำนในกำรเรียกร้อง ค่ำชดเชย ทั้งหมดนี้จะต้องมีส่วนเกี่ยวกับสถำนกำรณ์ ผู้ร ับ จ้ำงจะต้องเก็บ รักษำบันทึกประวัติเหตุกำรณ์ซึ่งมีส ่วนส ำคัญและจ ำเป็นเพื่อกำร เรียกร้องค่ำชดเชยจำกเหตุกำรณ์ที่เกิดอยู่ในพื้น ที่โครงกำรหรือที่อื่น ซึ่งผู้ว่ำจ้ำงยอมรับ ว่ำ เป็นจริง ปรำศจำกกำรรับผิดของผู้ว่ำจ้ำง ภำยหลังที่ผู้ว่ำจ้ำงได้รับหนังสือแจ้งภำยใต้หัวข้อ 20.1 นี้ เฝ้ำติดตำมกำรเก็บรักษำบันทึกประวัติและสั่งให้ผู้รับจ้ำง เก็บบันทึกประวัติเพิ่มเติม แต่ผู้รับจ้ำงต้องยินยอมให้ผู้ว่ ำจ้ำงเข้ำตรวจสอบบันทึกประวัติได้และอำจส่งสำเนำบันทึก ประวัตินี้ให้แก่ผู้ว่ำจ้ำง ภำยในเวลำ 42 วัน ผู้รับจ้ำงเริ่มตระหนัก (หรือได้ตระหนักแล้ว) กับกำรเกิดเหตุกำรณ์หรือ สถำนกำรณ์นี้ในกำรเรียกร้องค่ำชดเชย หรือภำยในระยะเวลำอื่น ผู้รับจ้ำงอำจจะนำเสนอ และได้รับกำรเห็นชอบจำกผู้ว่ำจ้ำง ผู้รับจ้ำงจะส่งรำยละเอียดพร้อมหลักฐำนกำรเรียกร้องกำรชดเชยให้ผู้ว่ำจ้ำงในกำรขยำย เวลำก่อสร้ำงและค่ำชดเชยเพิ่มเติม หำกเหตุกำรณ์หรือสถำนกำรณ์กำรเรียกร้องนี้เกิดขึ้น อย่ำงต่อเนื่องต่อไป สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-129 | เงื่อนไขของสัญญา
FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
(ก) รำยละเอียดกำรเรียกค่ำชดเชยค่ำจ้ำงนี้ จะถูกพิจำรณำกำรจ่ำยค่ำจ้ำงงวด (ข) ผู้รับจ้ำงยังคงส่งค่ำชดเชยค่ำจ้ำงเพิ่มทบต้นทุกเดือนและระยะขยำยเวลำเพิ่มทบต้นทุก เดือน ตำมที่ผู้ว่ำจ้ำงเรียกขอ (ค) ผู้รับจ้ำงต้องส่งหนังสือฉบับสุดท้ำยในกำรเรียกร้องกำรชดเชย ภำยใน 28 วัน หลังจำก เหตุกำรณ์หรือสถำนกำรณ์สิ้นสุดลง หรือ ภำยในระยะเวลำช่วงอื่นที่ผู้รับจ้ำงเสนอและผู้ว่ำ จ้ำงเห็นชอบในกำรดำเนินกำรดังกล่ำวข้ำงต้น ภำยใน 42 วัน ภำยหลังได้รับกำรเรียกร้องค่ำชดเชยหรือได้รับหลักฐำนเพิ่มเติมสนับสนุน กำรเรียกร้องค่ำชดเชยที่ผ่ำนมำ หรือภำยในระยะเวลำอื่นซึ่งผู้ว่ำจ้ำงนำเสนอและได้รับควำม เห็นชอบจำกผู้รับจ้ำง ผู้ว่ำจ้ำงจะอนุมัติหรือไม่อนุมัติพร้อมด้วยข้อคิดเห็น ผู้ว่ำจ้ำงอำจจะ เรียกร้องหลักฐำนเพิ่ม หนังสือรับรองกำรจ่ำยงวดค่ำจ้ำงแต่ละฉบับจะต้องรวมรำยกำรกำรเรียกร้องค่ำชดเชยที่ค้ำง จ่ำย ซึง่ เกิดขึ้นอย่ำงมีนัยแห่งเหตุผลตำมสัญญำ เว้นแต่จนกว่ำหลักฐำนที่ประกอบกำรเบิกมี ควำมเพียงพอต่อกำรชดเชย ผู้รับจ้ำงมีสิทธิ์ขอเรียกร้องค่ำชดเชยงำนส่วนนั้น ผู้ว่ำจ้ำงจะดำเนินกำรตำมข้อย่อย 3.5 (Determinations) เพื่อตกลงหรือกำหนด (1) กำร ต่ออำยุ (ถ้ำมี) ของระยะเวลำที่ เสร็จสิ้น (ก่อนหรือหลังหมดอำยุ) ตำมข้อย่อยข้อ 8.4 (Extension of Time for Completion) และ/หรือ (2) กำรช ำระเงินเพิ่มเติม (ถ้ำมี) ซึ่ง ผู้รับจ้ำงมีสิทธิตำมสัญญำ ข้อกำหนดของข้อย่อยนอกเหนือจำกข้อย่อยอื่น ๆ ที่อำจใช้กับกำรเรียกร้อง หำกผู้รับจ้ำงไม่ ปฏิบัติตำมข้อกำหนดนี้หรือข้อย่อยอื่นที่เกี่ยวกับกำรเรียกร้องใด ๆ กำรต่อเวลำและ/หรือ กำรช ำระเงินเพิ่มเติมใด ๆ จะคำนึงถึงขอบเขต (ถ้ำมี) ซึ่งควำมล้มเหลวได้ รับกำรป้องกัน หรือมีอคติในกำรตรวจสอบ ยกเว้นกรณีที่ข้อเรียกร้องดังกล่ำวได้รับกำรยกเว้นตำมวรรค สองของข้อย่อยนี้ 20.2
การแต่งตั้งคณะกรรมการตัดสินข้อพิพาท:คณะผู้ชี้ขาด (DAB) (Appointment of the Dispute Adjudication Board, DAB) ข้อพิพำททั้งปวงต้อ งตัดสิน โดย คณะผู้ช ี้ขำด ตำมข้อย่อย 20.4 (Obtaining Dispute Adjudication Board Decision) คู่กรณีต้องแต่งตั้งคณะผู้ชี้ขำดภำยใน 28 วันภำยหลังฝ่ำย หนึ่งฝ่ำยใดได้แจ้งเป็นหนังสือให้อีกฝ่ำยหนึ่งตำมข้อย่อย 20.4 คณะผู้ชี้ขำด จะประกอบด้วยบุคคลตำมเอกสำรแนบผนวกในเอกสำรประกวดรำคำ จำนวน 1 คน หรือ 3 คน จำกบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมำะสม (กรรมกำร) หำกจำนวนกรรมกำรไม่ได้ ระบุไว้หรือคู่กรณีไม่เห็นด้วย ก็ให้คณะผู้ชี้ขำด มีกรรมกำร 3 คน
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-130 |
เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
ถ้ำคณะผู้ชี้ขำด มีกรรมกำร 3 คน ให้คู่กรณีแต่ละฝ่ำยเสนอกรรมกำรฝ่ำยละคน โดยควำม เห็นชอบของคู่กรณี คู่กรณีจะปรึกษำกับกรรมกำรทั้ง 2 นี้ และแต่งตั้งกรรมกำรคนที่ 3 ให้ เป็นประธำนคณะกรรมกำรคณะผู้ชี้ขำด อย่ำงไรก็ดี ถ้ำรำยชื่อกรรมกำรมีกำรระบุไว้ในสัญญำ กรรมกำร 3 คน ของคณะผู้ชี้ขำดต้อง คัดเลือก และแต่งตั้งจำกบัญชีรำยชื่อนี้ เว้น แต่กรรมกำรนั้นไม่สำมำรถหรือไม่เต็มใจที่จะรับ กำรแต่งตั้งเป็นกรรมกำรคณะผู้ชี้ขำด ข้อตกลงของคู่กรณีหรืออย่ำงหนึ่งอย่ำงใดของกรรมกำรทั้งหมดหรืออย่ำงหนึ่งอย่ำงใดของ กรรมกำรแต่ละคน ต้องกระท ำตำมข้อก ำหนดของเงื่อนไขข้อตกลงทั่วไปของข้อพิพ ำท ตำมที่ระบุไว้ในเอกสำรภำคผนวกและได้มีกำรแก้ไขตำมควำมเห็นชอบของทั้ง 2 ฝ่ำยแล้ว ข้ อ ตกลงเรื ่ อ งค่ ำ ตอบแทนของคณะกรรมกำรและตั ว กรรมกำรแต่ ล ะคนและให้ ร วม ค่ำตอบแทนของผู้เชี่ยวชำญผู้ให้คำปรึกษำต่อคณะผู้ชี้ขำด กรณีต้องมีควำมเห็นชอบพร้อม กัน ณ เวลำที่มีกำรแต่งตั้งคณะผู้ชี้ขำด คู่กรณีต้องจ่ำยค่ำตอบแทนคนละครึ่ง ทุกเวลำตำมที่คู่กรณีได้ตกลงกันไว้ คู่กรณีอำจจะขอควำมเห็นรวมในเรื่องพิพำท คู่กรณี ไม่ อำจขอคำปรึกษำจำกคณะผู้ชี้ขำดในเรื่องใด ๆ โดยไม่ได้รับควำมเห็นชอบจำกคู่กรณีอีกฝ่ำย หนึ่ง ทุกเวลำตำมที่คู่กรณีได้ตกลงกันไว้ คู่กรณีอำจแต่งตั้งบุคคลที่มีควำมเหมำะสมหรือเปลี่ยน บุคคล (หรือต ำแหน่งที่ว่ำงลง) แทนกรรมกำรคณะผู้ชี้ขำด เว้นแต่ได้ตกลงเป็นอื่น กำร แต่งตั้งจะมีผลกำรปฏิบัติ หน้ำที่ หำกว่ำกรรมกำรทำงำนหย่อนสมรรถภำพ (แก่) หรือเกิด ตำย พิกำร ลำออกหรือเมื่อหมดหน้ำที่ กำรแต่งตั้งคณะผู้ชี้ขำด คนใหม่ให้เป็นไปตำม ระเบียบเดิมโดยแต่งตั้งจำกบุคคลที่ได้คัดสรรตำมที่ทั้ง 2 ฝ่ำยตกลงยินยอมตำมหัวข้อย่อย 20.2 นี้ กำรแต่งตั้งคณะผู้ชี้ขำดใหม่แทนคณะผู้ชี้ขำดที่ถูกถอดถอนโดยกำรเห็นชอบทั้ง 2 ฝ่ำย เท่ำนั้น ไม่ใช่เป็นฝ่ำยกระทำของฝ่ำยผู้ว่ำจ้ำงหรือผู้รับจ้ำง กำรแต่งตั้งคณะผู้ชี้ขำดใหม่แทน คณะผู้ชี้ขำดที่กำลังจะหมดวำระ จะให้คณะผู้ชี้ขำดผู้ครบวำระได้ให้คำวินิฉัยเสียก่อนตำมข้อ ย่อย 20.4 (Obtaining Dispute Adjudication Board’s Decision) เว้นแต่ข้อพิพำทอื่น ได้อ้ำงถึง กรรมกำรคณะผู้ชี้ขำด ในขณะนั้นตำมข้อย่อย 20.4 ซึ่งข้อพิพำทนั้นได้กำหนด วันที่ให้กรรมกำรคณะผู้ชี้ขำดผู้นั้นต้องให้คำวินิจฉัยนั้นด้วยต่อข้อพิพำทเหล่ำนี้ 20.3
การไม่เห็นด้วยกับคณะกรรมการตัดสินข้อพิพาท (Failure to Agree DAB) เงื่อนไขดังต่อไปนี้จะมีผลกำรบังคับใช้ (ก) คู่กรณีไม่ตกลงในกำรแต่งตั้งคณะกรรมกำรคณะผู้ชี้ขำด ตำมวันที่ระบุไว้ในวรรคแรกของ ข้อย่อย 20.2 สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-131 | เงื่อนไขของสัญญา
FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
(ข) คู่กรณีใดไม่เสนอชื่อกรรมกำรคณะผู้ชี้ขำด (เพื่อกำรแต่งตั้ง) ตำมวันที่กำหนดไว้ (ค) คู่กรณีไม่ตกลงเห็นชอบกำรแต่งตั้งกรรมกำรคนที่ 3 (ประธำนกรรมกำร) ตำมวันที่ระบุ ไว้ (ง) คู่กรณีไม่ตกลงเห็นชอบในกำรแต่งตั้งกรรมกำรคณะผู้ชี้ขำด หรือแทนกรรมกำรที่ว่ำงลง ภำยใน 42 วัน นับแต่วันที่คณะกรรมกำร 3 คน หรือกรรมกำรที่หย่อนสมรรถภำพกำร ทำงำน ตำย พิกำร ลำออกหรือยกเลิกกำรแต่งตั้ง ดังนั้นกำรแต่งบุคคลหรือที่มีนำมระบุไว้ในเอกสำรแนบผนวกในเอกสำรประกวดรำคำ ตำม กำรร้องขอคู่กรณีฝ่ำยหนึ่งฝ่ำยใด หรือทั้ง 2 ฝ่ำย ในกำรแต่งตั้งเป็นกรรมกำรคณะผู้ ชี้ขำด กำรแต่งตั้งครั้งนี้จะเป็นผลสรุปครั้งสุดท้ำย คู่กรณีทั้งคู่ต้องจ่ำยค่ำตอบแทนกันคนละครึ่ง ใน กำรแต่งตั้งกรรมกำรบุคคลหรือกรรมกำรจำกบัญชีรำยชื่อ 20.4
การรับคาวินิจฉัยของคณะผู้ชี้ขาด (Obtaining DAB’s Decision) หำกข้อพิพำทใด ๆ เกิดขึ้นระหว่ำงคู่กรณีจำกข้อสัญญำ หรือจำกปฏิบัติงำนรวมถึงข้อพิพำท จำกกำรรับรองใด ๆ กำรวินิจฉัย คำสั่ง ควำมเห็น หรือกำรประเมินของผู้ว่ำจ้ำง คู่กรณีฝ่ำย หนึ่งฝ่ำยใด อำจอ้ำงถึงข้อพิพำทเป็นหนังสือส่งถึงคณะผู้ชี้ขำดเพื่อกำรวินิฉัย พร้อมสำเนำถึง ผู้ว่ำจ้ำงและคู่กรณีอีกฝ่ำยหนึ่ง กำรดำเนินกำรดังกล่ำวให้ระบุอ้ำงถึงตำมข้อย่อย 20.4 นี้ สำหรับคณะผู้ชี้ขำด มีคณะกรรมกำร 3 คน คณะผู้ชี้ขำดเสมือนหนึ่งได้รับกำรฟ้องร้อง ณ วันที่ประธำนคณะผู้ชี้ขำดได้รับเรื่องกำรฟ้องร้องนั้น คู่กรณีต้องจัดหำข้อมูลเอกสำรส่งให้คณะผู้ชี้ขำดทันที และเข้ำตรวจสอบในสถำนที่โครงกำร และต้องอำนวยควำมสะดวกตำมควำมเหมำะสมตำมที่คณะผู้ชี้ขำดร้องขอ เพื่อวัตถุประสงค์ ในกำรตั ด สิ น ค ำวิ น ิ จ ฉั ย ข้ อ พิ พ ำท คณะผู ้ ช ี ้ ข ำดจะไม่ ก ระท ำตนเสมื อ นหนึ ่ ง ว่ ำ เป็ น อนุญำโตตุลำกำร (Arbitrator) ภำยในเวลำ 84 วัน นับแต่วันได้รับคำฟ้องหรือ ภำยในระยะเวลำอื่นตำมที่คณะผู้ชี้ขำดจะ เห็นชอบตำมคู่กรณี คณะผู้ชี้ขำดจะตัดสินคำวินิจฉัยอย่ำงมีเหตุผลและต้องระบุได้ให้คำ วิน ิจ ฉัย ตำมข้อย่อย 20.4 นี้ ค ำวินิจฉัยจะมีผ ลผูก พันธ์ คู่ กรณี ทัน ที เว้นแต่จะมี ก ำร ประนีประนอมจนได้ข้อยุติหรือมีคำตัดสินเป็นหนังสือตำมข้ำงล่ำงนี้ หรือมีกำรยกเลิกสัญญำ หรือกำรไม่ยอมรับคำวินิจฉัย ผู้รับจ้ำงยังรับผิดชอบก่อสร้ำงต่อไปตำมสัญญำ หำกคู่กรณีฝ่ำยหนึ่งฝ่ำยใดไม่ยอมรับคำวินิ จฉัยของคณะผู้ชี้ขำด ภำยใน 28 วันภำยหลังได้ รับคำวินิจฉัย คู่กรณีจะมีหนังสือแจ้งให้คู่สัญญำอีกฝ่ำยว่ำไม่ยอมรับคำวินิจฉัย หำกคณะผู้ชี้ขำด ไม่มีคำวินิจฉัยภำยใน 84 วัน (หรือตำมจะตกลงกัน เป็นอื่น) ภำยหลังได้ รับค ำฟ้อง กรณี นี้ภำยใน 28 วันของกำรให้ค ำวินิจฉัย ฝ่ำยหนึ่งฝ่ำยใดของคู่กรณีจะมี หนังสือแจ้งให้อีกฝ่ำยหนึ่งว่ำไม่ยอมรับคำวินิจฉัย
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-132 |
เงื่อนไขของสัญญา FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
ในเหตุกำรณ์หนึ่งเหตุกำรณ์ใด หนังสือกำรไม่ยอมรับคำวินิจฉัยต้องอ้ำงถึงข้อย่อย 20.4 นี้ และจะตั้งเรื่องพิพำท เรื่องกำรไม่ยอมรับค ำวินิจฉัยเว้นแต่จะได้ระบุไว้ข้อย่อย 20.7 (Failure to Comply with Dispute Adjudication Board’s Decision) และข้อย่อย 20.8 (Expire of Dispute Adjudication Board’s Appointment) ไม่ว ่ำฝ่ำยหนึ่งฝ่ำยใดมี จะ สิทธิ์ในดำเนินกำรทำงอนุญำโตตุลำกำร เว้นแต่ต้องมีหนังสือกำรไม่ยอมรับคำวินิจฉัยตำมข้อ ย่อย 20.4 นี้ หำกคณะผู้ชี้ขำดได้มีคำวินิจฉัยข้อพิพำทให้แก่คู่กรณี แต่ไม่มีหนังสือแจ้งกำรไม่ยอมรับคำ วินิจฉัยจำกคู่กรณีภำยใน 28 วัน หลังจำกได้รับคำวินิจฉัย ดังนั้นคำวินิจฉัยจะเป็นข้อยุติ และข้อผูกพันต่อคู่กรณี 20.5
ข้อยุติการประนีประนอม (Amicable Settlement) เมื่อใดที่มีหนังสือไม่ยอมรับคำวินิจฉัยตำมข้อย่อย 20.4 คู่กรณีต้องพยำยำมให้มีข้อยุติข้อ พิพำทด้วยกำรเจรจำประนีประนอมก่อนจะมีกำรฟ้องร้องทำงอนุญำโตตุลำกำร แต่อย่ำงไร ก็ดี เว้นแต่คู่กรณียินยอม มิฉะนั้น กำรฟ้องร้องทำงอนุญำโตตุลำกำร จะด ำเนินกำรได้ ภำยหลัง 56 วัน หลังจำกมีหนังสือไม่ยอมรับคำวินิจฉัย ถึงแม้ว่ำจะไม่มีกำรพยำยำมที่จะหำ ข้อยุติด้วยกำรเจรจำประนีประนอม
20.6
อนุญาโตตุลาการ (Arbitration) ข้อพิพำทใด ๆ ที่มีคำวินิจฉัยของคณะผู้ชี้ขำด ยังไม่มีข้อยุติและข้อผูกพันโดยจะมีกำรหำข้อ ยุติด้วยวิธีอนุญำโตตุลำกำรสำกล (ก) ข้อพิพำทจะสรุปข้อยุติด้วยวิธีกำรอนุญำโตตุลำกำรตำมระบบหอกำรค้ำสำกล (ข) ข้อพิพำทจะยุติด้วยวิธีอนุญำโตตุลำกำรแบบ 3 คน ซึ่งกำรแต่งตั้งตำมข้อบังคับเหล่ำนี้ และ (ค) กำรอนุญำโตตุลำกำร จะดำเนินกำรโดยใช้ภำษำตำมที่ระบุไว้ข้อย่อย 1.4 (Law and Language) ตุลำกำรต้องมีอำนำจในกำรเริ่มต้น ตรวจทำนและแก้ไข หนังสือรับรองใด ๆ กำรพิจำรณำ วินิจฉัย คำสั่ง ควำมเห็น หรือกำรประเมินของผู้ว่ำจ้ำง ถ้ำกำรวินิจฉัยของคณะผู้ชี้ขำด ซึ่งมี ส่วนเกี่ยวข้องกับข้อพิพำท จะไม่มีกำรกีดกันผู้ว่ำจ้ำงเมื่อถูกเรียกให้เป็นพยำน และให้ หลักฐำนก่อนมีกำรพิจำรณำอนุญำโตตุลำกำรในเรื่องใด ๆ อันเกี่ยวเรื่องข้อพิพำท ไม่ว่ำคู่กรณีฝ่ำยหนึ่งฝ่ำยใดมีข้อจำกัดในกำรดำเนินกำรอนุญำโตตุลำกำร เพื่อเป็นหลักฐำน ข้อโต้แย้ง ก่อนมีคณะผู้ชี้ขำด เพื่อประกอบพิจำรณำคำวินิจฉัย หรือกำรไม่ยอมรับในหนังสือ
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-133 | เงื่อนไขของสัญญา
FIDIC EPC/Turnkey Contract Ver. 1999
ไม่ยอมรับคำวินิจฉัย คำวินิจฉัยใด ๆ ของคณะผู้ชี้ขำด จะกลำยเป็นหลักฐำนในขบวนกำร อนุญำโตตุลำกำร ขบวนกำรอนุญำโตตุลำกำรอำจจะดำเนินกำรก่อนหรือหลังงำนก่อสร้ำงแล้วเสร็จ พันธะของ คู่กรณี ผู้ว่ำจ้ำง และคณะผู้ชี้ขำด จะต้องไม่เปลี่ยนแปรด้วยเหตุผลในระหว่ำงขบวนกำร อนุญำโตตุลำกำร 20.7
การไม่ปฏิบัติตามค าตัดสินของคณะกรรมการตัดสินข้อพิพาท (Failure to Comply with DAB’s Decision) ในเหตุผลดังต่อไปนี้ (ก) ไม่ว่ำคู่กรณีใดได้มีหนังสือ ไม่ยอมรับคำวินิจฉัย ภำยในระยะเวลำที่ระบุไว้ในข้อย่อย 20.4 (Obtaining Dispute DAB’s Decision) (ข) เรื่องสืบเนื่องซึ่งยุติแล้วกับผลของคณะผู้ชี้ขำดแล้ว และ (ค) คู่สัญญำไม่ปฏิบัติตำมคำวินิจฉัย ดังนั้น คู่กรณีอีกฝ่ำยหนึ่ง โดยไม่กระทบกับสิทธิ์กับคู่กรณีอีกฝ่ำยหนึ่ง หำกไม่ปฏิบัติต่อกำร อนุ ญ ำโตตุ ล ำภำยใต้ ข ้ อ ย่ อ ย 20.6 (Arbitration) ข้ อ ย่ อ ย 20.4 (Obtaining Dispute Adjudication Board’s Decision) และข้อย่อย 20.5 (Amicable Settlement) จะไม่ใช้ บังคับกับกำรอ้ำงอิงนี้
20.8
การหมดอายุการแต่งตั้งกรรมการคณะผู้ชี้ขาด (Expiry of DAB’s Appointment) หำกกำรพิพำทเกิดขึ้นระหว่ำงคู่กรณีซึ่งเกี่ยวข้องกับสัญญำจ้ำงหรือเกิดจำกงำนก่อสร้ำงและ ไม่มีคณะผู้ชี้ขำด ไม่ว่ำจะเป็นเหตุผลจำกกำรหมดอำยุของกำรแต่งตั้งคณะกรรมกำรคณะผู้ชี้ ขำด หรือยกเว้น (ก) ข้ อ ย่ อ ย 20.4 (Obtaining DAB’s Decision) และข้ อ ย่ อ ย 20.5 (Amicable Settlement) จะไม่นำมำบังคับใช้และ (ข) กำรพิพำทอำจจะเป็นผลทำงตรงในกำรฟ้องร้องอนุญำโตตุลำกำร ตำมข้อย่อย 20.6 (Arbitration)
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
ภาคผนวก 3-3: การปรับปรุง FIDIC 2017
3-134 |
การปรับปรุง FIDIC 2017
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-135 | การปรับปรุง
FIDIC 2017
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-136 |
การปรับปรุง FIDIC 2017
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-137 | การปรับปรุง
FIDIC 2017
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-138 |
การปรับปรุง FIDIC 2017
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-139 | การปรับปรุง
FIDIC 2017
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-140 |
การปรับปรุง FIDIC 2017
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-141 | การปรับปรุง
FIDIC 2017
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-142 |
การปรับปรุง FIDIC 2017
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-143 | การปรับปรุง
FIDIC 2017
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-144 |
การปรับปรุง FIDIC 2017
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-145 | การปรับปรุง
FIDIC 2017
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-146 |
การปรับปรุง FIDIC 2017
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-147 | การปรับปรุง
FIDIC 2017
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-148 |
การปรับปรุง FIDIC 2017
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-149 | การปรับปรุง
FIDIC 2017
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-150 |
การปรับปรุง FIDIC 2017
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-151 | การปรับปรุง
FIDIC 2017
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-152 |
การปรับปรุง FIDIC 2017
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-153 | การปรับปรุง
FIDIC 2017
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-154 |
การปรับปรุง FIDIC 2017
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3-155 | การปรับปรุง
FIDIC 2017
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
ภาคผนวก 3-4: Engineering,
Procurement & Construction (EPC) EPC Construction Management Guide
3-156 ENGINEERING, PROCUREMENT & CONSTRUCTION (EPC) EPC CONSTRUCTION MANAGEMENT GUIDE
Manual Document Page Issue Date
EPC TFC-EPC-CM-D-13, REV A 1 of 25 DRAFT January 31, 2017
This guide describes suggested non-mandatory approaches for meeting requirements. Guides are not requirements documents and are not construed as requirements in any audit or appraisal for compliance with the parent policy. TABLE OF CONTENTS 1.0 2.0 3.0 4.0
5.0
6.0 7.0
PURPOSE AND SCOPE ................................................................................................................ 2 IMPLEMENTATION ..................................................................................................................... 2 RESPONSIBILITIES ...................................................................................................................... 2 PROCEDURE ................................................................................................................................. 2 4.1 Process Work Flow Chart ................................................................................................... 2 4.2 Process Work Flow – WRPS acting as PM/Constructor .................................................... 2 4.3 Process Work Flow – WRPS as PM/CMT ......................................................................... 9 DEFINITIONS .............................................................................................................................. 15 5.1 Administrative change ...................................................................................................... 15 5.2 Construction Representative ............................................................................................. 15 5.3 Non-administrative change. .............................................................................................. 15 5.4 Issue Authorization and Maintenance for Use .................................................................. 16 5.5 Project Management/Constructor Team (PM/Constructor) .............................................. 16 5.6 Project Management & Construction Management Team (PM/CMT)............................. 16 RECORDS .................................................................................................................................... 16 SOURCES ..................................................................................................................................... 17 7.1 Requirements .................................................................................................................... 17 7.2 References......................................................................................................................... 17 TABLE OF FIGURES
Figure 1. Process Work Flow Chart. ......................................................................................................... 19 Figure 2. Construction Execution Process Work Flow Chart. ................................................................... 24 Figure 3. Construction Action Log Process Work Flow Chart. ................................................................. 25
3-157 ENGINEERING, PROCUREMENT & CONSTRUCTION (EPC) EPC CONSTRUCTION MANAGEMENT GUIDE
1.0
Manual Document Page Issue Date
EPC TFC-EPC-CM-D-13, REV A 2 of 25 DRAFT January 31, 2017
PURPOSE AND SCOPE The purpose of this procedure is to establish the WRPS construction management requirements for EPC projects. This procedure applies to all EPC construction projects executed by WRPS. Section 4.3 describes the application of this procedure where WRPS EPC has elected to contract out the construction. This procedure shall be implemented on any EPC project where, WRPS, acting as the Project Manager, elects to self-perform as the Constructor to construct the facility. If the Project elects to contract with an outside entity to act as the Constructor, that entity shall be certified to ASME NQA-1 2008, with the 2009 Addenda and perform as Constructor to its own processes and procedures. In that case, this procedure shall be used (in conjunction with other WRPS EPC procedures) to benchmark the Constructor’s procedures. The results of that benchmarking shall be the basis for requiring the Constructor to modify its procedures, as necessary, to provide reasonable assurance that its work products will be of equivalent quality, with sufficient planning to carry out the work safely, efficiently, on schedule, and meeting any other characteristic deemed by the Project to be essential. Furthermore, where WRPS has contracted with an outside entity to act as Constructor, WRPS will provide Construction Management oversight services. Section 4.3 of this procedure, coupled with the Construction Management Plan (TFC-EPC-PLN03) define this service as it applies to this guide.
2.0
IMPLEMENTATION This procedure is released as a Draft for Low Activity Waste Pretreatment System (LAWPS) Project (T5L01) use only. Formal issued date to be determined
3.0
RESPONSIBILITIES Responsibilities are contained within Section 4.0. Individual tasks may be delegated to qualified personnel.
4.0 4.1
PROCEDURE Process Work Flow Chart See Table of Figure Section, Figure 1 – Process Work Flow Chart.
4.2
Process Work Flow – WRPS acting as PM/Constructor Figure 1 illustrates the process flow related to pre-construction activities. A. Acquisition Planning The first step in the construction work process is acquisition planning. Types of decisions made are whether the subcontract will be fixed-price versus cost reimbursable, or competitively bid versus sole source. Issues such as subcontractor experience, personnel qualifications, and program requirements (e.g., Evaluated Supplier) will be discussed to fully understand the
3-158 ENGINEERING, PROCUREMENT & CONSTRUCTION (EPC) EPC CONSTRUCTION MANAGEMENT GUIDE
Manual Document Page Issue Date
EPC TFC-EPC-CM-D-13, REV A 3 of 25 DRAFT January 31, 2017
expectations required of the subcontractor. Acquisition planning requirements and process are defined in TFC-BSM-CP_CPR-C-05. Action by
Action
Project Manager
1. Involve the CM or designee in the Acquisition Planning Process.
Project Manager/BTR Construction Manager
2. Authorize pre-construction and subcontract execution activities. 3. Initiate pre-construction activities.
Project Manager
4. Conduct a meeting with appropriate Team members and Procurement personnel to identify how the work will be subcontracted.
B. Constructability Constructability reviews should be performed for all projects. The goal of the constructability reviews is to optimize benefits to the entire project, not just to a single department or discipline. Action by CM
Action 1.
Ensure Construction participates and performs constructability reviews on projects and the design documents per TFC-EPCCM-D-01.
C. Construction Statement of Work The Construction SOW document is a critical procurement document that defines the work scope, processes and requirements of the subcontractor so completed construction work achieves TOC expectations. TFC-PRJ-CM-C-18 defines the process for developing a SOW and the contents necessary for inclusion in the SOW. Action by
Action
Project Manager/BTR
1.
CM
2.
SOW Coordinator
3.
Provide the definition of the work to be performed by a subcontractor to the CM. With concurrence of the Project Manager, determine who is best suited to be assigned the responsibility of the SOW Coordinator. Develop the SOW and related appendices in accordance with TFC-PRJ-CM-C-18.
D. Request for Proposal Issuance and Subcontract Award The process for procurement of a subcontractor, from SOW entry into Asset Suite, approval process, issuing an RFP, through subcontract award is addressed in TFC-BSM-CP_CPR-C-05. The Team will assist procurement during this process by reviewing technical requirements and providing answers to subcontractor questions during the proposal phase. The Team will also
3-159 ENGINEERING, PROCUREMENT & CONSTRUCTION (EPC) EPC CONSTRUCTION MANAGEMENT GUIDE
Manual Document Page Issue Date
EPC TFC-EPC-CM-D-13, REV A 4 of 25 DRAFT January 31, 2017
provide support for the procurement Construction Pre-Proposal Conference as delineated in TFC-PRJ-CM-C-05. Action by
Action
Procurement Specialist/ BTR/CMT
1.
Schedule and conduct Construction Pre-Proposal Conference in accordance with TFC-PRJ-CM-C-05.
Procurement Specialist
2.
Receive proposal(s) and distribute.
Procurement Specialist/ BTR/SEB
3.
Review and approve the subcontractor technical proposal in accordance with TFC-BSM-CP_CPR-C-05.
4.
Ensure appropriate Team members review the subcontractor proposal(s).
BTR
5.
Fill out and submit the applicable Technical Evaluation form to the Procurement Specialist.
Procurement Specialist
6.
Process the subcontract release and notify the subcontractor.
7.
Perform distribution of the notice of award.
E. Pre-Construction/Mobilization Documentation for various construction documents shall be in accordance with TFC-BSM-IRM_DC-C-07 and TFC-PRJ-CM-D-02. Action by
Action
BTR
1.
Inform the Procurement Specialist of readiness to proceed.
Procurement Specialist
2.
Prepare, issue and distribute Notice to Proceed.
CM/BTR
3.
Prepare a letter to the subcontractor for Pre-Construction (Kick-Off) Meeting with agenda found in TFC-PRJ-CM-C05.
4.
Submit the Pre-Construction (Kick-Off) Meeting letter to C&C Document Control.
C&C Document Control
5.
Perform distribution of the Pre-Construction (Kick-Off) Meeting letter.
CM/BTR
6.
Conduct a Pre-Construction (Kick-Off) Meeting outlining subcontractor requirements for performing work using the “Pre-Construction (Kick-Off) Meeting Minutes,” Form (A6006-174) to record minutes of meeting in accordance with TFC-PRJ-CM-C-05.
3-160 ENGINEERING, PROCUREMENT & CONSTRUCTION (EPC) EPC CONSTRUCTION MANAGEMENT GUIDE
Action by Procurement Specialist/BTR
Manual Document Page Issue Date
EPC TFC-EPC-CM-D-13, REV A 5 of 25 DRAFT January 31, 2017
Action 7.
Obtain necessary clearances and keys for the subcontractor so mobilization can proceed (the subcontractor obtains any badges, clearances, dosimeters, etc.).
F. Contract Execution Figure 2 illustrates the process flow related to construction execution. G. Construction Execution Documentation for various construction documents shall be in accordance with TFC-BSMIRM_DC-C-07. All construction communication documents will be submitted to ^LAWPS VENDOR at LAWPSVENDOR@rl.gov. H. Execution of the SOW Action by
Action
Project Manager
1. Review subcontractor planned work and ensure necessary field support through the CM.
CM and BTR
2. Ensure that all subcontract submittals required prior to start of construction work and baseline construction schedule have been received. 3. Ensure that the Design Document List (DDL) is complete and the Work Breakdown Structure (WBS) authorizations and assignments have been made. 4. The team will have oversight and monitoring responsibility for safety, quality, progress, cost, change control, and compliance with EPC guides.
CM or Designee
5. Assist the subcontractor performing the work in all matters pertaining to the work and ensure the work performed follows the SOW while being in compliance with applicable TOC and EPC procedures. 6. Ensure subcontractor understands what work, if any, will be performed under the work package planning guide TFC-EPCCM-C-03. 7. Assist the Procurement Specialist, BTR and/or Project Engineer in performance of the following: • Track submittals. • Initiate, track, and status subcontractor back-charges per TFC-PRJ-CM-C-12.
3-161 ENGINEERING, PROCUREMENT & CONSTRUCTION (EPC) EPC CONSTRUCTION MANAGEMENT GUIDE
Action by
Manual Document Page Issue Date
EPC TFC-EPC-CM-D-13, REV A 6 of 25 DRAFT January 31, 2017
Action •
•
• • •
Manage subcontractor initiated “Request for Information” (RFI) as per guide TFC-EPC-CM-C-09. Conduct subcontractor progress meetings using the “Project Status Meeting Minutes” Form (A-6004-778) in accordance with TFC-PRJ-CM-C-05. Review of Daily Activity and Manpower Report (DAMR) Assist in preparation of work control documents in accordance with TFC-OPS-MAINT-C-01. Responding to subcontractor correspondence.
I. Subcontractor Submittals
Action by C&C Document Control
Reviewers
Action 1.
Ensure documentation, including logs, for submittals are handled in accordance with TFC-BSM-IRM_DC-C-07.
2.
Distribute submittals to appropriate reviewers for review and comment.
3.
Review submittals for subcontract compliance and comment as necessary. Return the completed submittal to C&C Document Control.
4.
Consolidate submittal comments, generate a master document set, and review disposition with the Project Manager, CM, or Procurement Specialist per TFC-BSMIRM_DC-C-07.
5.
Transmit dispositioned submittals to the subcontractor.
J. Subcontractor Request for Information Subcontractor is required to submit a Request for Information (RFI) using “Request for Information” as per guide TFC-EPC-CM-D-09.
3-162 ENGINEERING, PROCUREMENT & CONSTRUCTION (EPC) EPC CONSTRUCTION MANAGEMENT GUIDE
Manual Document Page Issue Date
EPC TFC-EPC-CM-D-13, REV A 7 of 25 DRAFT January 31, 2017
K. Subcontractor Payments Action by
Action
BTR/CMT
1.
Receive and process subcontractor payment invoice.
2.
Review the subcontractor schedule status information, including the pay item schedule, and concur with estimates, quantities, and percentage complete of subcontractor invoice.
3.
Approve and process subcontractor payment request per TFC-BSM-CP_CPR-C-05.
BTR/Procurement Specialist
L. Revising Contract/Amending the Statement of Work A Contract Action Log (CAL) is established to assure reconciliation of funds and definitions for any type of action required to support added/changed contract scope. See Figure 3 for construction action log process. Any questions concerning if the work can be covered by the CAL process will be reviewed and approved by the Project Manager and Manager of Construction. Any new scope not associated with the original scope of work will be addressed in accordance with the requirements of TFC-EPC-CM-D-12. The construction manager, in concert with other project personnel, will review the subcontractor’s estimate. Once approved, the Construction Manager/BTR will be responsible to increase the base contract in accordance with the direction in the Terms and Conditions of the Contract. When the Project Team directs the subcontractor to perform work for the identified CAL, the Subcontractor will be authorized to invoice all work associated with the issuance of the CAL. Action by Construction Manager/BTR
Action 1. • • • 2.
Enter the description of work assigned in the CAL and notify the following: Project Manager Cost Accounts Manager (CAM) Budget Analyst (BA). Request an estimate from the subcontractor.
3-163 ENGINEERING, PROCUREMENT & CONSTRUCTION (EPC) EPC CONSTRUCTION MANAGEMENT GUIDE
Manual Document Page Issue Date
EPC TFC-EPC-CM-D-13, REV A 8 of 25 DRAFT January 31, 2017
M. Construction Acceptance Testing and Turnover Construction Acceptance Test(s) CAT(s) if required by the Company shall be specified in the subcontractor’s SOW. Action by Commissioning Manager
CM
Action 1. Ensure CAT(s) are developed in accordance with TFC-EPC-CMD-17. 2. Ensure CAT(s) are performed in accordance with TFC-EPC-CM-D-17. 3. After notification from the subcontractor that the work is mechanically complete, notify the following; • Project Manager • Commissioning Manager • Testing Lead • Work Area Construction Manager • BTR • Other entities as deemed appropriate.
N. Construction Completion and Turnover Action by
Action
CM
1. Ensure completion and transfer is performed in accordance with TFC-EPC-CM-D-11, and TFC-PRJ-CM-C-08.
O. Subcontract Closeout Action by
Action
CM
1. Ensure subcontractor closeout is performed in accordance with TFC-PRJ-CM-C-15 and ensure the “Construction Subcontract Closeout Checklist” (CSCC) Form (A-6003-226) is complete.
3-164 ENGINEERING, PROCUREMENT & CONSTRUCTION (EPC) EPC CONSTRUCTION MANAGEMENT GUIDE
Manual Document Page Issue Date
EPC TFC-EPC-CM-D-13, REV A 9 of 25 DRAFT January 31, 2017
P. Construction & Commissioning Document Control Action
Action by C&C Document Control
1.
When identified as records custodian, maintain project field files using the “Project Records Index” Form (A-6002-510) as a guide. NOTE: Certain construction documents will require a document number for tracking purposes. Those requiring a document number will be specified in various Construction procedures and shall be numbered in accordance with TFCBSM-IRM_DC-C-07.
4.3
2.
Control construction documents in accordance with TFCBSM-IRM_DC-C-07.
3.
Perform record management in accordance with TFC-BSMIRM_DC-C-02.
4.
The records custodian identified in the Company Level Records Inventory and Disposition Schedule (RIDS) is responsible for record retention in accordance with TFCBSM-IRM_DC-C-02.
5.
After the system is commissioned convert drawings from Design Agency title block to Hanford (DOE) title block and transfer drawings to Hanford Engineering and Operations.
Process Work Flow – WRPS as PM/CMT The following instructions relate to the process work flow defined in Section 4.1.
A. Acquisition Planning CMT
Action by
Approve Process
Task Project Manager
Oversight
Construction Manager Task Project Manager
Action 1.
Involve the TCM or designee in the Acquisition Planning Process.
2.
Authorize pre-construction and subcontract execution activities.
3.
Initiate pre-construction activities.
4.
Conduct a meeting with appropriate Team members and Procurement personnel to identify how the work will be subcontracted.
3-165 ENGINEERING, PROCUREMENT & CONSTRUCTION (EPC) EPC CONSTRUCTION MANAGEMENT GUIDE
Manual Document Page Issue Date
EPC TFC-EPC-CM-D-13, REV A 10 of 25 DRAFT January 31, 2017
B. Constructability CMT Review
Action by TCM
Action 1.
Ensure Construction participates and performs constructability reviews on projects and the design documents per TFC-EPC-CM-D-01.
C. Construction Statement of Work CMT Review
Review/Approve
Action by
Action
Task Project Manager
1.
Provide the definition of the work to be performed by a subcontractor to the TCM.
TCM
2.
With concurrence of the Task Project Manager and/or the Work Area Project Manager and/or Manager of Construction, determine who is best suited to be assigned the responsibility of the SOW Coordinator.
SOW Coordinator
3.
Develop the SOW and related appendices in accordance with TFC-PRJ-CM-C-18.
D. Request for Proposal Issuance and Subcontract Award CMT Oversight
Review
Action by Procurement Specialist
Action 1.
Schedule and conduct Construction Pre-Proposal Conference in accordance with TFC-PRJ-CM-C05.
2.
Receive proposal(s) and distribute.
3.
Review and approve the subcontractor technical proposal in accordance with TFC-BSM-CP_CPRC-05.
4.
Ensure appropriate Team members review the subcontractor proposal(s).
Project Manager
5.
Fill out and submit the applicable Technical Evaluation form to the Procurement Specialist.
Procurement Specialist
6.
Process the subcontract release and notify the subcontractor.
3-166 ENGINEERING, PROCUREMENT & CONSTRUCTION (EPC) EPC CONSTRUCTION MANAGEMENT GUIDE
CMT
Action by
Manual Document Page Issue Date
EPC TFC-EPC-CM-D-13, REV A 11 of 25 DRAFT January 31, 2017
Action 7.
Perform distribution of the notice of award.
E. Pre-Construction/Mobilization CMT
Action by
Action
Project Manager
1.
Inform the Procurement Specialist of readiness to proceed.
Procurement Specialist CM
2.
Prepare, issue and distribute Notice to Proceed.
3.
Prepare a letter to the subcontractor for PreConstruction (Kick-Off) Meeting with agenda found in TFC-PRJ-CM-C-05.
4.
Submit the Pre-Construction (Kick-Off) Meeting letter to C&C Document Control.
C&C Document Control
5.
Perform distribution of the Pre-Construction (KickOff) Meeting letter.
Oversight
Project Manager
6.
Conduct a Pre-Construction (Kick-Off) Meeting outlining subcontractor requirements for performing work using the “Pre-Construction (Kick-Off) Meeting Minutes,” Form (A-6006-174) to record minutes of meeting in accordance with TFC-PRJCM-C-05.
Assist
Procurement Specialist
7.
Obtain necessary clearances and keys for the subcontractor so mobilization can proceed (the subcontractor obtains any badges, clearances, dosimeters, etc.).
F. Execution of the SOW CMT
Action by
Action
Review
Project Manager
1.
Review subcontractor planned work and ensure necessary field support through the TCM.
CM
2.
Ensure that all subcontract submittals required prior to start of construction work and baseline construction schedule have been received.
3-167 ENGINEERING, PROCUREMENT & CONSTRUCTION (EPC) EPC CONSTRUCTION MANAGEMENT GUIDE
CMT
Action by
Manual Document Page Issue Date
Action
Review/Approve
Oversight
EPC TFC-EPC-CM-D-13, REV A 12 of 25 DRAFT January 31, 2017
CM or Designee
3.
Ensure that the Design Document List (DDL) is complete and the Work Breakdown Structure (WBS) authorizations and assignments have been made.
4.
The team will have oversight and monitoring responsibility for safety, quality, progress, cost, change control, and compliance with EPC procedures.
5.
Assist the subcontractor performing the work in all matters pertaining to the work and ensure the work performed follows the SOW while being in compliance with EPC procedures.
6.
Ensure subcontractor understands that all work is performed under the EPC work control process.
7.
Assist the Procurement Specialist, BTR and/or Project Engineer in performance of the following: Track submittals Initiate, track, and status subcontractor backcharges per TFC-PRJ-CM-C-12. Manage subcontractor initiated “Request for Information” (RFI) Conduct subcontractor progress meetings using the “Project Status Meeting Minutes” Form (A6004-778) in accordance with TFC-PRJ-CM-C05. Review of Daily Activity and Manpower Report (DAMR) Assist in preparation of work control documents in accordance with TFC-OPS-MAINT-C-01. Responding to subcontractor correspondence.
• • • •
• • •
G. Subcontractor Submittals CMT
Action by
Oversight
C&C Document Control
Action 1.
Ensure documentation, including logs, for submittals are handled in accordance with TFCBSM-IRM_DC-C-07.
3-168 ENGINEERING, PROCUREMENT & CONSTRUCTION (EPC) EPC CONSTRUCTION MANAGEMENT GUIDE
CMT
Action by
Manual Document Page Issue Date
EPC TFC-EPC-CM-D-13, REV A 13 of 25 DRAFT January 31, 2017
Action 2.
Distribute submittals to appropriate reviewers for review and comment.
Review
Reviewers
3.
Review submittals for subcontract compliance and comment as necessary. Return the completed submittal to C&C Document Control.
Review
C&C Document Control
4.
Consolidate submittal comments, generate a master document set, and review disposition with the Task Project Manager, TCM, or Procurement Specialist per TFC-BSM-IRM_DC-C-07.
5.
Transmit dispositioned submittals to the subcontractor.
H. Subcontractor Payments CMT
Action by
Action
Project Controls
Approve
BTR/ Procurement Specialist
1.
Receive and process subcontractor payment invoice.
2.
Review the subcontractor schedule status information, including the pay item schedule, and concur with estimates, quantities, and percentage complete of subcontractor invoice.
3.
Approve and process subcontractor payment request per TFC-BSM-CP_CPR-C-05.
I. Required CAL information CMT
Action by
Action
Construction Manager
1.
Enter the description of work assigned in the CAL and notify the following: Task Project Manager Cost Accounts Manager (CAM) Budget Analyst (BA).
2.
Request an estimate from the subcontractor.
• • • Review
3-169 ENGINEERING, PROCUREMENT & CONSTRUCTION (EPC) EPC CONSTRUCTION MANAGEMENT GUIDE
Manual Document Page Issue Date
EPC TFC-EPC-CM-D-13, REV A 14 of 25 DRAFT January 31, 2017
J. Construction Acceptance Testing and Turnover CMT
Action by
Approve
Commissioning Manager
Oversight
CM
Action 1.
Ensure CAT(s) are developed in accordance with TFC-EPC-CM-C-17.
2.
Ensure CAT(s) are performed in accordance with TFC-EPC-CM-C-17.
3.
After notification from the subcontractor that the work is substantially complete, notify the following; Task Project Manager Manager of Construction Commissioning Manager Testing Lead Work Area Construction Manager BTR Other entities as deemed appropriate.
• • • • • • •
K. Construction Completion and Turnover CMT
Action by
Oversight/Approve
CM
Action 1.
Ensure completion and transfer is performed in accordance with TFC-EPC-CM-D-11, and TFCPRJ-CM-C-08.
L. Subcontract Closeout CMT
Action by
Approve
CM
Action 1.
Ensure subcontractor closeout is performed in accordance with TFC-PRJ-CM-C-15 and ensure the “Construction Subcontract Closeout Checklist” (CSCC) Form (A-6003-226) is complete.
3-170 ENGINEERING, PROCUREMENT & CONSTRUCTION (EPC) EPC CONSTRUCTION MANAGEMENT GUIDE
Manual Document Page Issue Date
EPC TFC-EPC-CM-D-13, REV A 15 of 25 DRAFT January 31, 2017
M. Construction & Commissioning Document Control Action by
CMT
C&C Document Control
Action 1.
When identified as records custodian, maintain project field files using the “Project Records Index” Form (A-6002-510) as a guide. NOTE: Certain construction documents will require a document number for tracking purposes. Those requiring a document number will be specified in various Construction procedures and shall be numbered in accordance with TFC-BSMIRM_DC-C-07.
Oversight
5.0
2.
Control construction documents in accordance with TFC-BSM-IRM_DC-C-07.
3.
Perform record management in accordance with TFC-BSM-IRM_DC-C-02.
4.
The records custodian identified in the Company Level Records Inventory and Disposition Schedule (RIDS) is responsible for record retention in accordance with TFC-BSMIRM_DC-C-02.
DEFINITIONS
5.1
Administrative change A change to the contract that may involve schedule or cost, but does not involve scope. • •
5.2
An example of a schedule change would be a schedule extension due to weather delays. An example of a cost change would be overtime to perform previously authorized activities. Construction Representative
A Construction Representative can be the Work Area Construction Manager, Task Construction Manager, Construction Field Lead or Field Work Supervisor. 5.3
Non-administrative change. A change to the contract that adds or removes fabrications, scope, or evolutions of existing scope. •
An example of a fabrication addition would be to build three top hats instead of two top hats.
3-171 ENGINEERING, PROCUREMENT & CONSTRUCTION (EPC) EPC CONSTRUCTION MANAGEMENT GUIDE
• • 5.4
Manual Document Page Issue Date
EPC TFC-EPC-CM-D-13, REV A 16 of 25 DRAFT January 31, 2017
An example of a scope addition would be to install perimeter lighting not included in the original contract. An example of an addition to evolutions of existing scope would be to install additional square footage of a parking lot. Issue Authorization and Maintenance for Use
The EPC Execution Construction Manager is responsible for the maintenance of this procedure and will review the procedure annually to determine any necessary updates. Should an individual employee have a suggestion for improvement or modification to this procedure, he or she may mark-up a copy of the procedure and send it to the EPC Execution Construction Manager for review. The EPC Execution Construction Manager will review the recommended changes and respond back to the employee on plans to address the suggestions. Changes to the procedure will be distributed to other WRPS Functional Leads and other affected EPC Managers for their concurrence. When the reviews are complete, the EPC Execution Construction Manager will consolidate and recommend changes to this procedure to the EPC Project Execution Manager who has the authority to issue revisions to this procedure. 5.5
Project Management/Constructor Team (PM/Constructor) The Owner (WRPS) Project Management Team in place during the Project Execution – Procurement, Construction and Cold Commissioning Phase – (CD-4) that Constructs, provides verification the work effort meets project requirements, and ensures the Client is receiving value for money from both cost and schedule perspectives.
5.6
Project Management & Construction Management Team (PM/CMT) The Owner (WRPS) Project Management team in place during the Project Execution – Procurement, Construction and Cold Commissioning Phase – (CD-4) that provides construction management oversight services for the EPC Project construction works when the Constructor is not WRPS. The PM/CMT provides oversight of the Constructor’s work effort, verification the work effort meets project requirements, and ensures the Client is receiving value for money from both cost and schedule perspectives. Where CMT is referred to in this procedure, it refers to the full Project Management/Construction Management Team (PM/CMT).
6.0
RECORDS The following records may be generated during the performance of this procedure: • • • • • • • • • •
Daily Activity and Manpower Report Form (A-6003-220) Lost Time/Work Delay Form (A-6003-675) Pre-Construction (Kick-Off) Meeting Minutes Form (A-6006-174) Request for Information Form (A-6003-417) Project Status Meeting Minutes Form (A-6006-173) Construction Completion Document Form (A-6003-182) Exception List Form (A-6003-586) Construction Subcontract Closeout Checklist Form (A-6003-226) Project correspondence Project Records Index Form (A-6002-510).
3-172 ENGINEERING, PROCUREMENT & CONSTRUCTION (EPC) EPC CONSTRUCTION MANAGEMENT GUIDE
Manual Document Page Issue Date
EPC TFC-EPC-CM-D-13, REV A 17 of 25 DRAFT January 31, 2017
The records custodian identified in the Company Level Records Inventory and Disposition Schedule (RIDS) is responsible for record retention in accordance with TFC-BSM-IRM_DC-C02. 7.0 7.1
SOURCES Requirements 1. Tank Operations Contract, Contract Number DE-AC27-08RV14800 2. TFC-EPC-PLN-01, Complex Engineering, Procurement and Construction Project Execution 3. RPP-MP-003, “Integrated Environment, Safety, and Health Management System Description for the Tank Operations Contractor.” 4. TFC-PLN-02, “Quality Assurance Program Description.” 5. TFC-PLN-84, “Tank Operations Contractor Project Execution Plan.” 6. TFC-PLN-113, “Construction Management.” 7. TFC-PRJ-PM-C-02, “Project Management.” 8. TFC-EPC-PLN-03 “EPC Construction Management Plan”
7.2
References 1. TFC-BSM-CP_CPR-C-05, “Procurement of Services.” 2. TFC-BSM-IRM_DC-C-02, “Records Management.” 3. TFC-BSM-IRM_DC-C-07, “Vendor Processes.” 4. TFC-PRJ-CM-C-03, “Construction Daily Activity & Manpower Reports.” 5. TFC-PRJ-CM-C-05, “Construction Meetings.” 6. TFC-PRJ-CM-C-08, “Construction Completion and Turnover.” 7. TFC-PRJ-CM-C-12, “Construction Supplier Backcharges.” 8. TFC-PRJ-CM-C-15, “Construction Subcontract Closeout.” 9. TFC-PRJ-CM-C-16, “Construction Acceptance Testing.” 10. TFC-PRJ-CM-C-17, “Constructability Review Process.” 11. TFC-PRJ-CM-C-18, “Development of Technical Requirements for Construction Statements of Work.”
3-173 ENGINEERING, PROCUREMENT & CONSTRUCTION (EPC) EPC CONSTRUCTION MANAGEMENT GUIDE
Manual Document Page Issue Date
EPC TFC-EPC-CM-D-13, REV A 18 of 25 DRAFT January 31, 2017
12. TFC-PRJ-CM-D-02, “Construction & Commissioning Document Control Processes.” 13. TFC-EPC-CM-D-01, “EPC Constructability Guide” 14. TFC-EPC-CM-D-11, “EPC Mechanical Completion and Transfer to Operations Guide” 15. TFC-EPC-CM-D-12, “EPC Field Change Request Guide” 16. TFC-EPC-CM-D-17, “EPC Construction Acceptance Testing Guide”
3-174 ENGINEERING, PROCUREMENT & CONSTRUCTION (EPC) EPC CONSTRUCTION MANAGEMENT
Manual Document Page Issue Date
EPC TFC-EPC-CM-C-13, REV A 19 of 25 DRAFT 6/09/2015
Figure 1. Process Work Flow Chart.
PM/CMT will provid e oversigh t and/or review activities throughout process
A. Acquisition Planning TPM involves the TCM or designee in the Acquisition Planning Process.
TPM authorizes pre-construction and subcontract execution activities.
CM initiates pre-construction activities.
TPM will conduct a meeting with appropriate team members and Procurement personnel to identify how the work will be subcontracted. B. Constructability TCM ensures Construction participates and performs constructability reviews on project and design documents per TFC-EPC-CM-C-01. C. Construction Statement of Work TPM provides the definition of the work to be performed by a subcontractor to the TCM.
TCM with concurrence of the TPM and/or the Work Area Project Manager and/or Manager of Construction, determine who is best suited to be assigned the responsibility of the SOW Coordinator.
SOW Coordinator will develop the SOW and related appendices in accordance with TFC-PRJ-CM-C-18. D. Request For Proposal Issuance and Subcontract Award PS will schedule and conduct Construction Pre-Proposal Conference in accordance with TFC-PRJ-CM-C-05.
3-175 ENGINEERING, PROCUREMENT & CONSTRUCTION (EPC) EPC CONSTRUCTION MANAGEMENT
Manual Document Page Issue Date
EPC TFC-EPC-CM-C-13, REV A 20 of 25 DRAFT 6/09/2015
PS will receive proposal(s) and distribute.
PS will review and approve the subcontractor technical proposal in accordance with TFC-BSM-CP_CPR-C-05.
Ensure appropriate team members review the subcontractor proposal(s).
PM will fill out and submit the applicable Technical Evaluation form to the PS.
PS will process the subcontract release and notify the subcontractor.
Perform distribution of the notice of award. E. Pre-Construction/Mobilization PM will inform the PS of readiness to proceed.
PS will prepare, issue, and distribute Notice to Proceed.
TCM will prepare a letter to the subcontractor for Pre-Construction (Kick-Off) Meeting with agenda found in TFC-PRJ-CM-C-05.
Submit the Pre-Construction (Kick-Off) Meeting letter to C&C Document Control.
C&C Document Control distributes Pre-Construction (Kick-Off) Meeting letter.
3-176 ENGINEERING, PROCUREMENT & CONSTRUCTION (EPC) EPC CONSTRUCTION MANAGEMENT
Manual Document Page Issue Date
EPC TFC-EPC-CM-C-13, REV A 21 of 25 DRAFT 6/09/2015
G. Subcontractor Submittals Ensure documentation, including logs, for submittals are handled in accordance with TFC-BSM-IRM_DC-C-07.
Distribute submittals to appropriate reviewers for review and comment.
Reviewers will review submittals for subcontract compliance and comment as necessary. Return the completed submittal to C&C Document Control.
C&C Document Control will consolidate submittal comments, generate a master document set, and review disposition with the TPM, TCM, or PS per TFC-BSM-IRM_DC-C-07.
Transmit dispositioned submittals to the subcontractor. H. Subcontractor Payments Project Controls will receive and process subcontractor payment invoice.
Review the subcontractor schedule status information, including the pay item schedule, and concur with estimates, quantities, and percentage complete of subcontractor invoice.
Accounts payable will approve and process subcontractor payment request per TFC-BSM-CP_CPR-C-05. I. Required CAL Information Task CM will enter the description of work assigned in the CAL and notify the following:
•
Task Project Manager
•
Cost Accounts Manager (CAM)
•
Budget Analyst (BA)
TCM requests an estimate from the subcontractor.
3-177 ENGINEERING, PROCUREMENT & CONSTRUCTION (EPC) EPC CONSTRUCTION MANAGEMENT
Manual Document Page Issue Date
EPC TFC-EPC-CM-C-13, REV A 22 of 25 DRAFT 6/09/2015
J. Construction Acceptance Testing and Turnover Commissioning Manager ensures CAT(s) are developed in accordance with TFC-EPC-CM-C-17.
TCM ensures CAT(s) are performed in accordance with TFC-EPC-CM-C-17.
After notification from the subcontractor that the work is substantially complete, the TCM will notify the following:
•
Task Project Manager
•
Manager of Construction
•
Commissioning Manager
•
Testing Lead
•
Work Area Construction Manager
•
Other entities as deemed appropriate. K. Construction Completion and Turnover
TCM ensures completion and turnover is performed in accordance with TFC-EPC-CM-C-11. L. Subcontract Closeout TCM ensures subcontractor closeout is performed in accordance with TFC-PRJ-CM-C-15 and ensures the “Construction Subcontract Closeout Checklist” (CSCC) Form (A-6003-226) is complete.
M. Construction & Commissioning Document Control C&C Document Control when identified as records custodian, maintain project field files using the “Project Records Index” Form (A-6002-510) as a guide.
Control construction documents in accordance with TFC-BSM-IRM_DC-C-07.
Perform record management in accordance with TFC-BSM-IRM_DC-C-02.
The records custodian identified in the Company Level Records Inventory and Disposition Schedule (RIDS) is responsible for record retention in accordance with TFC-BSM-IRM_DC-C-02.
3-178 ENGINEERING, PROCUREMENT & CONSTRUCTION (EPC) EPC CONSTRUCTION MANAGEMENT
Manual Document Page Issue Date
EPC TFC-EPC-CM-C-13, REV A 23 of 25 DRAFT 6/09/2015
LEGENDS: WRPS CMT OVERSEEING EPC CONSTRUCTOR: PM/CMT -EPC CONSTRUCTOR ACTIVITIES -WRPS PM/CMT ENGAGEMENT WITH EPC CONSTRUCTOR DA- Design Authority PS-Procurement Specialist TPM-Task Project Manager TCM-Task Construction Manager CAT-Construction Acceptance Testing C&C-Construction and Commissioning CM-Construction Manager SOW-Statement of Work PM-Project Manager WBS-Work Breakdown Structure DDL-Design Document List
WRPS SELF PERFORMING WORK: PM/CONSTRUCTOR -WRPS CONSTRUCTOR TEAM ACTIVITIES -NOT APPLICABLE NOTE: All deliverables are considered to be a record and are processed in accordance with TFC-BSM-IRM_DC-C-01, Document Control, TFC-BSM-IRM_DC-C-02, Records Management, and TFC-ENG-DESIGN-C-25, Technical Document Control.
3-179 ENGINEERING, PROCUREMENT & CONSTRUCTION (EPC) EPC CONSTRUCTION MANAGEMENT
Manual Document Page Issue Date
EPC TFC-EPC-CM-C-13, REV A 24 of 25 DRAFT 6/09/2015
Figure 2. Construction Execution Process Work Flow Chart.
WRPS Construction Setup Execute Work Construction Walk Down & Punch List Construction Completion Document Operation Testing (If Required) Construction Completion Document Closeout & Final Payment Construction Performance Review
Master Submittal Lists Establish Final Construction Schedule Project Document Control Stations Control Design Document List Control WBS Staff Authorization / Assignments Pre-Construction (Kick-Off) Meeting Mobilization Facility & Material Turnover Submittal Tracking / Reporting Notice to Proceed Oversee/Manage Subcontractor Fabrication Oversight / Coordination Status/Progress Reporting Safety Assurance Manage WRPS Support Interface Manage Third Party Interface Quality Control Coordination / Oversight Work Package Prep & Execution Manage RFI Construction Design Configuration Control Contract Change Control Maintain Construction Document Control Manage & Support Accruals, ETC & EAC Manage & Support Construction Baseline Change Request, as needed Construction Completion Documentation Construction Subcontract Closeout Checklist Construction Performance Review
3-180 ENGINEERING, PROCUREMENT & CONSTRUCTION (EPC) EPC CONSTRUCTION MANAGEMENT
Manual Document Page Issue Date
EPC TFC-EPC-CM-C-13, REV A 25 of 25 DRAFT 6/09/2015
Figure 3. Construction Action Log Process Work Flow Chart.
เจตณรงค เชาวชูเดช
สัญญา ออกแบบ จัดหา และกอสราง (อีพีซี) ฉบับประสบการณ Engineering, Procurement and Construction (EPC) Contract For Beginners หนังสือเลมนี้ เขียนขึ้นจากประสบการณเปนศูนย ในเรื่องของสัญญา และ EPC ฉะนั้น ผูอานจะไดรับความรู และประสบการณเริ่มจาก ศู น ย โดยอาจไมทราบอะไรเลยเกี่ยวกับสัญญา หรือ EPC เหมาะ สําหรับผูเริ่มตนที่จะมาทํางานหรือมีสวนรวมในเอกสารสัญญา การ จัดทําเอกสารประกวดราคา ตลอดจนการจัดทําขอกําหนดในงาน กอสราง เริ่มตั้งแต สัญญาคืออะไร มีความสําคัญอยางไร สัญญาประเภทตาง ๆ ทําไมตองเปน EPC การจัดทําเอกสาร EPC เริ่มจากเจาของงาน ผูวา จางเขียน TOR เพื่อหาที่ปรึกษาจัดทําเอกสาร EPC การจัดทํา TOR และเอกสาร EPC เพื่อคัดเลือก และจัดหาผูรับจางกอสราง รวมถึงการ จัดทําขอกําหนดในโครงการ EPC