พระพุทธศานติธรรม

Page 1




การแกะสลักพระพุทธรูปหยกจาก ก้อนหยก ธรรมชาติ คุณภาพชัน้ เลิศ ขนาดทีใ่ หญ่ทส่ี ดุ ในโลก ในโลกนีม้ พี ระพุทธรูปขนาดใหญ่ทแ่ี กะสลักจากหยก สำหรับ นักจาริกแสวงบุญ ชาวพุทธจำนวนไม่กอ่ี งค์เท่านัน้ ทีม่ ชี อ่ื เสียงคุน้ หูกนั มากทีส่ ดุ ก็คอื พระพุทธรูปหยก (เจดไดท์) ประดิษฐานอยูท่ ่ี พระมหาเจดีย์ ชเวดากอง ย่างกุง้ สหภาพเมียนมาร์ พระแก้วมรกต (เนฟไฟรท์) ประดิษฐานอยูใ่ นพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร และ อีกองค์หนึง่ ก็คอื พระหยกขาว(อาลาบาสเตอร์) ทีเ่ ซีย่ งไฮ้ สาธารณรัฐประชาชนจีน



พระพุทธรูปหยกศานติธรรม เพือ่ สันติสากล จะเป็นหนึง่ ใน พระพุทธรูป ทีแ่ กะสลักจากหยกธรรมชาติขนาดใหญ่ คุณภาพชัน้ เลิศ และ จะเป็นหนึง่ ในสิง่ มหัศจรรย์ของโลก สำหรับนักจาริกแสวงบุญ และ นักท่องเทีย่ วทีจ่ ะต้องหาโอกาส ได้ชน่ื ชมบูชาสักการะสักครัง้ หนึง่ ในชีวติ

พระพุทธเมตตา ทีส่ ถูปพระศรีมหาโพธิ์ พุทธคยา อินเดีย

พระพุทธศานติธรรม ได้จำลองโดยใช้องค์พระพุทธเมตตาเป็น ต้นแบบ เนือ่ งจากพุทธลักษณะทีง่ ดงามและ ได้รบั การยอมรับกราบไหว้ สักการะบูชาจาก พุทธศาสนิกชนทัว่ โลก



ก้อนหินหยกธรรมชาติ คุณภาพชัน้ เลิศ พร้อมขนาด ทีใ่ หญ่ทส่ี ดุ ในโลก “การค้นพบแห่งศตวรรษ”

พระพุทธศานติธรรม ได้คดั เลือกวัตถุดบิ ชัน้ เลิศจากหินหยก ธรรมชาติทใ่ี หญ่ทสี ดุ เท่าทีเ่ คยค้นพบมา ได้รบั การขนานนามว่า “Polar Pride ความภาคภูมใิ จแห่งขัว้ โลก” หินหยกธรรมชาติกอ้ นนีเ้ มือ่ ถูกค้นพบ มีนำ้ หนัก ๑๘ ตันและมีขนาด ความยาวโดยประมาณ ๔ เมตร ความกว้าง อยูร่ ะหว่าง เมตรครึง่ ถึงสองเมตร สถานทีค่ น้ พบอยูใ่ นมณฑล บริตชิ โคลัมเบีย (British Columbia) ประเทศแคนาดา เมือ่ ปี ๒๐๐๐ โดยถูกบันทึกไว้ในหนังสือทีเ่ กีย่ วกับอัญมณี โดย ผูเ้ ชีย่ วชาญทางด้านหยกว่า “ปราศจากจากข้อกังขาเลยว่า หินหยกธรรมชาติกอ้ นนี้ เป็นก้อนหยก ขนาดใหญ่ทส่ี ดุ พร้อมคุณภาพชัน้ เลิศ ทีไ่ ม่คาดคิดว่าจะได้เห็นในชัว่ ชีวติ หรือ ในรอบพันปี โดยไม่ตอ้ งอ้างอิงถึงคุณสมบัตทิ างวิชาการให้ยงุ่ ยาก เป็นโอกาสทีย่ ากมากถึงยากทีส่ ดุ ทีจ่ ะได้พานพบ”



แกะสลักโดยผูช้ ำนาญการ พระพุทธศานติธรรม ดำเนินการแกะสลักจากผูเ้ ชีย่ วชาญ จาก บริษทั หยกทองทวี ทีเ่ ป็นโรงงานแกะสลักและ เจียรนัยหยกทีเ่ ก่าแก่ทส่ี ดุ ในประเทศไทย ภายใต้การดำเนินงานการควบคุมอย่างพิถพิ ถิ นั ในเชิงช่าง ทางด้านพุทธศิลป์นน้ั ได้รบั การออกแบบและควบคุมจาก Jonathon Patridge ปฏิมากรด้านพระพุทธรูปทีม่ ชี อ่ื เสียงชาวออสเตรเลีย และได้รบั การเสนอแนะจาก Lama Zopa Rinposhe



พระพุทธศานติธรรม ในเอเชีย ได้มกี ารวางแผนทีจ่ ะทำการปฐมสมโภช พระพุทธศานติธรรมนี้ ใน กรุงเทพฯ ช่วงเดือนมหามงคล คือเดือนธันวาคม ปี ๒๐๐๘ หลังจากนัน้ จะดำเนินการตระเวนตาม เมืองใหญ่ๆ ในเอเชีย และ คาดหวังว่าจะได้รบั การประชาสัมพันธ์ เผยแผ่ขา่ วสารทีเ่ ป็นสิรมิ งคลนีต้ อ่ พุทธศาสนิกชนทัว่ โลก



พระพุทธศานติธรรม ในออสเตรเลีย หลังจากเสร็จสิน้ การตระเวนทัว่ โลกแล้ว จะนำองค์พระพุทธ ศานติธรรม ประดิษฐาน ณ พระมหาสถูปแห่งเมตตากรุณา ทีเ่ มือง เบนดิงโก (Bendingo) มลรัฐวิคตอเรีย (Victoria) ออสเตรเลีย โดย พระมหาสถูปองค์น้ี จะเป็นสถูปทางพุทธศาสนาทีใ่ หญ่ทส่ี ดุ นอกทวีปเอเชีย



พระมหาสถูปแห่งเมตตากรุณา พระมหาสถูปแห่งเมตตากรุณา มีทำเลทีต่ ง้ั ของการก่อสร้างอยูใ่ กล้ๆ เมืองเบนดิงโก ประเทศออสเตรเลีย พระมหาสถูปฯองค์นไ้ี ด้ทำการจำลอง ต้นแบบมาจาก พระสถูป เกียงเซ (Gyantse) ในประเทศทิเบต ซึง่ มีทง้ั ความกว้าง ความยาว และ ความสูง ใกล้เคียงกันด้านละ ๕๐ ม. โดยประมาณ พระมหาสถูปฯองค์นจ้ี ะเป็นสถูป ทีใ่ หญ่ทส่ี ดุ ของโลกตะวันตก หรือ นอกทวีป เอเชีย โดยจะมีอารามย่อย จำนวนรวม ๕๐ ห้อง ในเนือ้ ทีข่ องพระมหาสถูปฯ จำนวน ๗ ชัน้ และได้ถกู ออกแบบเพือ่ ให้คงอยู่ นับพันปีสบื ไป คาดหวังว่าพระมหาสถูปฯ แห่งนีจ้ ะเป็นแหล่งจาริกแสวงบุญจาก พุทธศาสนิกชน จากทัว่ ทุกมุมโลก ไม่วา่ จะนับถือพุทธศาสนานิกายใดก็ตาม โดยเฉพาะ อย่างยิง่ สำหรับพุทธศาสนิกชนชาวออสเตรเลีย ทีน่ บั วันจะมี จำนวนเพิม่ มากขึน้ เรือ่ ยๆ ในพระมหาสถูปจะมีหอสมุดและหอประชุม สำหรับ ผูร้ ว่ มประชุมได้ถงึ ๕๐๐ คน แต่ละชัน้ ก็จะมีอารามย่อย และทีช่ น้ั ทีห่ กจะทำการประดิษฐานบรรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุ และ ใกล้ๆ กับพระมหา สถูปฯ จะเป็นศูนย์ อะติชา(Atisha) และวัด Thubten Shedrup Ling งานก่อสร้างทัง้ หมด ไม่วา่ จะเป็นงานสถาปัตยกรรมวิศวกรรม ได้ถกู ออกแบบ เพือ่ ให้อยูค่ งทนถาวรนับพันปี โดยงบประมาณก่อสร้างทีท่ ำการ ประเมินไว้คอื ๑๕ ล้าน เหรียญ (กว่า ๔๐๐ ล้านบาท) และค่าใช้จา่ ยทัง้ หมด ได้มาจากการระดมทุนในการบริจาค จากผูม้ จี ติ ศรัทธาทัง้ สิน้



การทีป่ ระเทศไทยเรา ได้มสี ว่ นเกีย่ วข้องกับ โครงการนี้ มาตัง้ แต่ตน้ ในหลายๆด้าน ซึง่ น่าจะ เป็นประโยชน์ตอ่ ไปในภายภาคหน้า พอจะกล่าว สรุปคร่าวๆ ได้ ๘ ประการ




ประการที่ ๑ งานปฐมสมโภช

จะเป็นครัง้ แรกของ พระพุทธศานติธรรม ทีจ่ ะได้ให้สาธารณชนได้ ทำการสักการะบูชา ในประเทศไทยและของโลกด้วยเช่นกัน และจะเป็น ประจักษ์พยานให้กบั ผูค้ นทัง้ โลก ถึงแรงศรัทธาของเราเหล่าชาวไทยต่อ องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า

ประการที่ ๒ การประชาสัมพันธ์ประเทศไทย

คาดหมายว่า งานปฐมสมโภช ในครัง้ นีจ้ ะได้รบั การสนใจจาก สือ่ มวลชน ทัว่ ทัง้ ภูมภิ าค และทัว่ โลก เนือ่ งจากทางคณะกรรมการ มีความ ตัง้ ใจทีจ่ ะนำ องค์พระพุทธศานติธรรม ตระเวนไปประดิษฐานตามเมือง ใหญ่ๆ ทัว่ ทัง้ เอเชีย เพือ่ ให้พทุ ธศาสนิกชนได้มโี อกาสสักการบูชา กราบไหว้ ไม่วา่ จะเป็น ที่ ประเทศ สิงคโปร์ มาเลเซีย สหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะทีอ่ อสเตรเลีย จะนำ ไปประดิษฐาน ที่ บริสเบน, ซิดนีย,์ เพิรธ์ , อะเดเลด และ กรุงแคนเบอร์รา่ ก่อนจะไปสิน้ สุดที่ หอศิลป์ แห่งชาติ ของออสเตรเลีย ในกรุงเมลเบอร์น หลังจากนัน้ จะนำไปประดิษฐาน เป็นการถาวรที่ เบนดิงโก โดยทุกๆเมือง ทีม่ กี ารนำไปประดิษฐาน จะได้รบั การประชาสัมพันธ์ ในรูปแบบต่างๆ ซึง่ เท่ากับประชาสัมพันธ์ ประเทศไทยไปพร้อมๆ กัน



ประการที่ ๓ แสดงถึงความชำนาญ และ ฝีมอื เชิงช่างของชาวไทย

พระพุทธศานติธรรมได้รบั การแกะสลักจากช่างฝีมอื ชาวไทย ตัง้ แต่ เริม่ แรกจนจบขบวนการขัน้ สุดท้าย แสดงให้เห็นถึงความชำนาญ และ ความเชีย่ วชาญด้านฝีมอื ของช่างไทยในแขนงนี้ และจะเป็นทีป่ ระจักษ์ตอ่ สายตาชาวโลก ผ่านองค์พระปฏิมา

ประการที่ ๔ สายสัมพันธ์ระหว่างสองประเทศ

สะท้อนให้เห็นสายสัมพันธ์อนั แนบแน่น ระหว่างสองประเทศ ออสเตรเลียและไทย ทางด้านวัฒนธรรมทีไ่ ด้กอ่ เกิดจากองค์พระพุทธ ศานติธรรม โดยจะเป็นสัญลักษณ์ ของความสัมพันธ์ระหว่าง มณฑล วิคตอเรียกับประชาชนชาวไทย



ประการที่ ๕ ประจักษ์พยานทีย่ นื ยงสถาพร

ผลพวงจากของขวัญทางวัฒนธรรมอันล้ำค่าจากประเทศไทย โดยองค์พระนี้ จะคงอยูค่ กู่ บั พระมหาสถูปแห่งเมตตากรุณา ไปชัว่ กาล เพราะทัง้ องค์พระ และ พระมหาสถูป ได้รบั การออกแบบ เพือ่ ให้คงทน ตลอดระยะเวลาหนึง่ พันปี ผูท้ ม่ี าเยีย่ มชม จะได้รบั การนำเสนอ ประวัติ ความเป็นมา ผ่านวีดที ศั น์ และจะเป็นประจักษ์พยาน ของความสำคัญ ของประเทศไทยต่อสิง่ ล้ำค่าสิง่ นี้

ประการที่ ๖ ด้านรัฐบาล

จะมีการเชิญผูน้ ำของออสเตรเลีย และไทย เข้าร่วมงาน ปฐมสมโภช ใน กรุงเทพฯ และ ปัจฉิมสมโภช ที่ ออสเตรเลีย และเป็นโอกาสอันดีทจ่ี ะมี กิจกรรมทีเ่ กีย่ วเนือ่ ง กับความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรม เพือ่ จะเป็น สัญลักษณ์ ของสัมพันธไมตรีระหว่างสองประเทศ



ประการที่ ๗ ด้านการท่องเทีย่ ว

นักท่องเทีย่ วและผูจ้ าริกแสวงบุญจากทัว่ ทุกมุมโลก ทีเ่ ดินทางมา ท่องเทีย่ ว กรุงเมลเบอร์น และมลรัฐวิคตอเรีย จะได้ใช้โอกาสนีเ้ ข้าสักการ บูชาพระมหาสถูป และ พระพุทธศานติธรรม ตามสถิตขิ องสำนักงาน ท่องเทีย่ ว ของรัฐวิคตอเรียชีใ้ ห้เห็นว่า นักท่องเทีย่ วชาวเอเชีย มีสถิตจิ ำนวน สูงสุดทีม่ าเยีย่ มชมรัฐนี้ และมีแนวโน้ม ทีจ่ ะเพิม่ ขึน้ ทุกปี โดย นักท่องเทีย่ วจำนวนนับพันทีเ่ ดินทางมาเยีย่ มชม ณ สถานทีแ่ ห่งนี้ จะได้รบั รู้ และ เป็นประจักษ์พยานถึงการมีสว่ นร่วมของโครงการสำคัญนี้ ของ ประเทศไทย สัมพันธภาพ ระหว่าง ออสเตรเลียและไทย จะได้รบั การ เฉลิมฉลอง ผ่านองค์พระพุทธศานติธรรม และ เป็นการเชิญชวนให้ชาว ออสเตรเลีย ไปท่องเทีย่ ว ประเทศไทยเพิม่ ขึน้ อีกทางหนึง่ ด้วย

ประการที่ ๘ ศรัทธาของพุทธศาสนิกชนชาวไทย

จะเป็นทีป่ ระจักษ์ไปทัว่ เบนดิงโก จะกลายเป็นแหล่งท่องเทีย่ ว และ ทีจ่ าริกแสวงบุญ จากพุทธศาสนิกชน จากทัว่ ทุกมุมโลก และจะเป็นปรากฏ การณ์ตอ่ เนือ่ งให้ผศู้ รัทธาในพระพุทธศาสนา ได้หาโอกาสมา เยีย่ มชม สถานทีแ่ ละสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ทัง้ หลาย ในประเทศไทยผ่านความสนใจ จากพระมหาสถูปฯ และพระพุทธศานติธรรมนี้




คุณ Ian Green กับพระพุทธศาสนา คุณ Ian นับถือพุทธศาสนา มากว่า ๓๕ ปี โดยได้แรงบันดาลใจ จากการแวะเยีย่ มชม สารนาถ ประเทศอินเดีย ในช่วงปี ๑๙๗๐ หลังจากนัน้ ได้เดินทางกลับไปออสเตรลีย และได้เริม่ ศึกษาธรรมะจากพระภิกษุสงฆ์ หลายรูปและได้ปวารณาตนเป็นพุทธศาสนิกชน ทีเ่ คร่งครัดทัง้ ด้าน การศึกษาและปฏิบตั แิ ต่นน้ั เป็นต้นมา ในปี ๑๙๘๑ บิดาของคุณ Ian ได้ถวายพืน้ ทีโ่ ล่งจำนวน ๕๐ เอเคอร์ ให้แก่ พระลามะเยเช (Lama Yeshe) เพือ่ เปิดดำเนินการเป็น ศูนย์พทุ ธศึกษา ที่ เบนดิงโก รัฐวิคตอเรีย หลังจากนัน้ ได้ขยายพืน้ ทีเ่ ป็น ๑๒๐ เอเคอร์ในปัจจุบนั พระลามะเยเช ได้วางผัง การใช้พน้ื ทีด่ ว้ ยตัวท่านเองระหว่างเยีย่ มชม พืน้ ทีก่ อ่ สร้าง ในเดือนสิงหาคม ปี ๑๙๘๑ และ นับแต่นน้ั เป็นต้นมา ศูนย์พทุ ธศึกษา อติชา (Atisha Centre) วัด Thubten Shedrup Ling และ พระมหาสถูปแห่งเมตตากรุณา ได้กลาย เป็นศูนย์กลางทีส่ ำคัญ ของ พุทธศาสนิกชน ทัง้ หลายของออสเตรเลีย คุณ Ian ได้อทุ ศิ ตนเพือ่ ดำเนินการก่อสร้างพระมหาสถูปแห่งนีใ้ ห้เป็น พระสถูปทีใ่ หญ่ทส่ี ดุ นอกทวีปเอเชีย



สถานะต่างๆ ของคุณ Ian ประธานคณะกรรมการบริหาร โครงการพระมหาสถูปแห่งเมตตากรุณา ประธานกรรมการ โครงการพระพุทธศานติธรรม ประธานกรรมการ องค์กรทะไลลามะ ในออสเตรเลีย สมาชิก สมาคมชาวพุทธใน รัฐวิคตอเรีย สมาชิก สหพันธ์ชาวพุทธ ในออสเตรเลีย คณะกรรมการ มูลนิธิ อนุรกั ษ์มหายานนิยม FPMT (Foundation for Preservation of the Mahayana Tradition)




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.