แบบพุทธสถาปัตยกรรมวิหารล้านนา บนพื้นที่แห่งความต้องการที่ทบั ซ้อน กรณี ศึกษา : วิหารหลวงพ่อขาว วัดอินทขิลสะดือเมือง ต.ศรี ภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ เจษฎา สุ ภาศรี* * อาจารย์ สาขาสถาปัตยกรรม คณะศิลปกรรมและสถาปั ตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา จ.เชียงใหม่ ประเทศไทย
Abstract บทความนี้มุ่ ง น าเสนอกรณี ศึก ษา การก่อ รูป ของตั วแบบสถาปั ต ยกรรมวิห ารหลวงพ่ อ ขาว วัดอิ น ทขิ ล สะดื อเมื อง ต.ศรี ภูมิ อ.เมือ ง จ.เชีย งใหม่ พุ ท ธ สถาปั ตยกรรมล้า นนาแบบประเพณี ที่ ก่อรู ปบนพื้ นที่ ซึ่ง มี ความต้อ งการที่ ทับ ซ้อ นระหว่ า ง พื้น ที่อั นแสดงออ กซึ่ง ความเป็น โบราณสถานที่ มีคุณ ค่ า ในมิ ติท างด้า น ประวัติศาสตร์ กับวิถีความต้องการใช้พื้นที่เพื่อเป็นทางสัญจรเดินรถของผู้คนในบริบทปัจจุบัน ด้วยเทคนิคการก่อสร้างที่ประยุกต์จากเอกลักษณ์ทางโครงสร้างของวิหาร แบบล้านนา หนึ่งในองค์ประกอบสาคัญในแผนผังของวัดอินทขิลสะดื อเมือง คือโบราณสถานวิหารหลวงพ่อขาว ที่บางส่วนอยู่ลึกลงไปประมาณ 1 เมตร จากระดับดิน และ มีส่วนที่อยู่พ้นเหนือระดับดินขึ้นมาคือแท่นแก้ว ซึ่งประดิษฐานพระพุทธรูปสาคัญ เป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า หลวงพ่อขาว และด้วยเหตุจาเป็นให้มีการสร้างอาคารวิหาร หลวงพ่อขาวหลัง ใหม่คร่อมทับลงบนตาแหน่งโบราณสถานดังกล่า วขึ้น โดยกาหนดให้หลวงพ่อขาวเป็นพระประธานของวิหาร จึงนามาซึ่ง ข้อจากัดด้า นการออกแบบ สถาปัตยกรรมดังนี้ 1. ขนาดพื้นที่ใช้สอยอาคารวิหารหลวงพ่อขาวหลังใหม่ ต้องคานึงถึง การเปิดใช้ช่องทางสัญจรเดินรถได้ 1 ช่องทางจราจร (จากเดิม 2 ช่ องทางจราจร) 2. โครงสร้างฐานรากอาคารวิหาร ต้องไม่กระทบกับโบราณสถานที่อยู่ลึกลงไปใต้ระดับดิน 3. ตาแหน่งของการตั้งเสาหลวง ต้องพ้นจากแท่นแก้วหลวงพ่อขาว โดยผลการออกแบบสถาปัตยกรรมวิหารหลวงพ่อขาวหลังใหม่ นั้นได้ประสานประโยน์แห่งความต้องการใช้พื้นที่ของผู้คนซึ่งทับซ้อนกั นอยู่ ได้ในเชิงประจักษ์ ตลอดจนเทคนิควิธีการก่อสร้างอาคารนั้นได้สะท้อนถึง การนาเอาเอกลักษณ์ทางโครงสร้างของวิหารแบบล้านนามาปรับประยุกต์ใช้ ได้อย่างน่าสนใจ กรณีศึกษาข้างต้นเป็น ตัวอย่างของ หนึ่ง ในพื้นที่อันมีความต้องการใช้สอยที่ทับซ้อนกันในหลายมิติของเมืองเชี ยงใหม่ ซึ่ง อดีตนั้นเป็นศูนย์กลางแห่งอาณาจักรล้านนา โดยปัจจุบันยังพบอีกหลาย พื้นที่ ที่ตกอยู่ในสถานการณ์ความต้องการเช่นเดียวกันนี้และอาจไม่สามารถต่อรองกันได้เพียงแค่การใช้การออกแบบงานสถาปัตยกรรมเป็นเครื่ องมือ เป็นต้น Keywords: Viharn Luang Pho Khao, Viharn Luang Lanna, Wat Inthakin, Sadue Mueang, archaeological site.
1. บทนำ (Introduction)
วัดอินทขิลสะดือเมืองตั้งอยู่ใจกลางเมืองเชียงใหม่มีเนื้อที่ประมาณ 3 ไร่ เศษ แต่เดิมเป็นวัดร้างและเคยเป็นที่ตั้ง เสาอินทขิล (เสาหลักเมือง) ของเมือง เชียงใหม่ ซึ่ง ตามตานานพื้นเมืองเหนือ กล่าวถึง การบูชาเสาอินทขิลไว้ว่า พระ อินทร์ได้ประทานให้ลัวะในสมัยการสร้างเวียงนพบุรี โดย เศรษฐีลัวะ 9 ตระกูล พระฤาษีให้กุมภัณฑ์ 2 ตน เอาเสาอินทขิล ใส่สาแหรกหามนาไปตั้งไว้ ณ แท่น กลางเมืองหรือสะดือเมืองนพบุรี ให้ช าวเมืองลัวะสักการะบูช า กระทั่งต่อมา กลายเป็นเมืองร้าง ต่อ มาพญามั ง รายได้ สร้ างเมือ งนพบุ รี ศ รีน ครพิ ง ค์เชี ย งใหม่ ขึ้ นในปี พ.ศ.1839 จึงโปรดให้ยกรูปกุมภัณฑ์และเสาอินทขิล ขึ้นมาเพื่อให้คนสักการะ กราบไหว้ตามคาแนะนาของพญาลัวะ และได้สร้างวัดขึ้น ชื่อว่าวัดอินทขิลซึ่ง ชาวบ้านเรียกว่าวัดสะดือเมือง โดยวัดแห่งนี้ใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีกรรม สาคัญ ต่างๆ ของกษัตริย์และประชาชนชาวล้านนาเรื่อยมา ในตลอดรัช สมั ย ของกษั ต ริย์ แห่ ง ราชวงศ์มั ง ราย ก่อ นที่ จะกลายเป็ น วัด ร้า ง เมื่ ออาณาจั ก ร ล้านนาถูกพม่าเข้าปกครอง (พ.ศ.2101-2317 เป็นเวลา 216 ปี) จนถึงปี พ.ศ. 2343 พระเจ้ ากาวิ ล ะ ปฐมกษั ต ริ ย์ แ ห่ ง ราชวงศ์ เจ้ า เจ็ ด ตน ได้ ฟื้ น ฟู เมื อ ง เชี ยงใหม่ ขึ้น และได้ ย้า ยเสาอิน ทขิล จากวัด อิน ทขิล มาไว้ยั ง วัด เจดีย์ หลวง พร้อมกับบูรณะฟื้นฟูวัดอินทขิล โดยได้สร้างวิหารคล่อ มฐานเดิมและอัญเชิญ พระอุ่นเมือง หรือหลวงพ่อขาว มาประดิษฐาน เป็นพระประธานภายในวิหาร วัดอิน ทขิลมี ความเจริญ รุ่ง เรืองและมีพ ระสงฆ์จ าพรรษาเรื่อ ยมาและ สันนิษฐานว่าได้กลายเป็น วัดร้างในสมัยพระเจ้าอินทวิชยานนท์ เจ้าผู้ครองนคร
เชียงใหม่องค์ที่ 7 (พ.ศ.2416-2439) ซึ่งเป็นยุค เริ่มต้นของการรวมศูนย์เข้ากับ ส่วนกลางให้เป็นส่ว นหนึ่งของสยามประเทศ เจ้านายฝ่ายเหนือถูกลด บทบาท ลงอย่างมาก โดยต้องแบ่งเงินภาษีอากรส่งไปส่วนกลาง วัดจึงขาดการทานุบารุง พระสงฆ์ก็ ขาดการอุปถัมภ์ วัดอินทขิลหรือวัด สะดือเมืองจึงตกอยู่ในสภาพรก ร้างตั้งแต่นั้นมา จนมาสมัยหนึ่งทางราชการจึงสร้างถนนผ่าน (ปัจจุบันคือ ถนน อินทรวโรรส) ทับซ้อนกับบริเวณที่เป็นโบราณสถาน วัดอินทขิลสะดือ เมือง ซึ่ง ก็คือตาแหน่งที่เป็นแนวอาคารวิหารหลวงพ่อขาวทีอ่ ยู่ลึงลงไปใต้ผิวดินประมาณ 1 เมตร (ปัจจุบันจะสังเกตเห็นว่าวิหารหลวงพ่อขาวนั้นสร้างออกไปกลางถนน เล็กน้อย) ก่อนที่ในเวลาต่อมา มูลนิธิวัดพระธาตุดอยสุเทพฯ และคณะสงฆ์ได้ทา เรื่องขอยกวัดร้างอินทขิล (ร้าง) ให้ เป็นวัดที่มีพระสงฆ์จาพรรษา (รวมถึง วัด ร้างอื่นๆ ในเขตเมืองเชียงใหม่ ที่ได้ดาเนิน การไปแล้วคือ วัดโลกโมฬี วัดหนอง เจ็ดลินและวัดเจดีย์ป่อง เป็นต้น) โดยปรากฏหลักฐานเป็นโบราณสถานได้แก่ เจดีย์ประธานทรงระฆัง วิหารหลวงพ่อขาว และเจดีย์รายทรงมณฑป 8 เหลี่ยม (ในกาแพงรั้ว หอศิลปวัฒนธรรมเมืองเชียงใหม่) ซึ่งจากหลักฐาน “แผนที่เมือง นครเชี ยงใหม่ ” พบว่ ายั ง ไม่ มีถ นนอิ น ทวโรรส เพี ยงแต่ มีเส้ น ทางเข้ ามาถึ ง ด้านหน้าวัดเท่านั้น
*
Contact Author: Jadsada Supasri, Rajamangala University of technology Lanna, Address: 128 Huay Kaew rd, Chiang Mai 50300, Thailand Tel: +66 0846142893 E-mail: jade030626@hotmail.com : jade030626@gmail.com
ภาพที่ 1 โบราณสถานวัดอินทขิลสะดือเมือง ก่อนที่จะมีการสร้างวิหารหลังใหม่ ขึ้นมา โดยกาหนดให้หลวงพ่อขาวเป็นพระประธาน ที่มา : https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/595936
2nd International Symposium on Architecture and Urban Planning/ November 2019/xx
1
วิธีกำรศึกษำ 1. เก็ บ รวบรวมข้ อ มูล ส ารวจพื้ น ที่ สารวจรัง วั ด งานสถาปั ต ยกรรม อาคารวิหารหลวงพ่อขาว (Data Collecting) 2. วิเคราะห์และนาเสนอข้อมูล แบบสถาปัตยกรรม วิหารหลวงพ่อขาว ในมิติของประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้อง (Analysis) 3. สรุปประเด็นที่ค้นพบ (Conclusion) ภาพที่ 2 โบราณสถานวัดอินทขิลสะดือเมือง เจดีย์สะดือเมือง (แปดเหลี่ยม) และแนวผังวิหารที่อยู่ลึกลงไปจากระดับผิวดิน ที่มา : จากการสารวจ ประเด็นที่นำไปสู่กำรออกแบบ ประเด็นปัญหา ของการพัฒนาโดยยกวัดอินทขิล (สะดือเมือง) ขึ้นเป็น วัดมี พ ระสงฆ์ อยู่ จาพรรษานั้น เนื่อ งจากสภาพโดยทั่ ว ไปของวั ด ได้ ปรากฏ หลัก ฐาน โบราณสถานสิ่ง ก่อสร้างเดิมเฉพาะส่วนองค์พระเจดีย์ประธาน วิหาร หลวงพ่อขาว และเจดีย์ ๘ เหลี่ยม อีกทั้งมีการก่อสร้างของใหม่แปลกปลอม อย่า งค่อ นข้ างหนาแน่ นในเขตวั ด เช่น ตึก แถวอาคารพานิ ช ย์ด้ านหน้า และ ด้านหลัง วั ด ก าแพงรั้ว และอาคารพิพิ ธภัณ ฑ์ท้อ งถิ่นบางส่ ว น รวมถึง อาคาร ประกอบแวดล้อมอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ถนนอินทวโรรสที่มีแนวผ่าทับวิหาร ประมาณครึ่งซีก ด้านทิศเหนือ เพราะเหตุที่วัดแต่เดิมมีระดับพื้นดินใช้งานลึกลง ไปเฉลี่ย 1 เมตร และเรื่องกรรมสิทธิ์ที่ดินของวัดที่หดลดลงเหลือเพียง 2 ไร่ 2 งาน 16 ตารางวา
ภาพที่ 3 ตึกแถวอาคารพาณิชย์ด้านหน้าและหลังวัด เป็นสิ่งก่อสร้างของใหม่ แปลกปลอมในเขตวัด ที่มา : จากการสารวจ
ภาพที่ 4 แผนที่เมืองนครเชียงใหม่ พ.ศ.2466 ของมิชชันนารีอเมริกัน คณะเพรสไบทีเรียน ที่มา : https://www.silpa-mag.com/history/article_27005
และด้ว ยเหตุจาเป็นที่ ปัจจุบันผู้คนยังคงมีความต้องการใช้ถนน อินทว โรรสเป็ น เส้ น ทางในการสั ญ จรภายในเมื อ ง ความต้ อ งการเก็ บ รั ก ษ า โบราณสถานเอาไว้ของหน่ว ยงานภาครัฐ ประกอบกับการที่วัดซึ่ง มีพระสงฆ์ อยู่จาพรรษานั้ น มี ความต้องการพื้ นที่ ใช้สอยเพื่อ การประกอบพิธีกรรมทาง ศาสนา และอีกหลายความต้องการที่ทับซ้อนกันอยู่บนพื้นที่เดียวกัน ท้ายสุดจึง เป็ น เหตุ ให้ มี ก ารสร้ า งอาคารวิ ห ารหลวงพ่ อ ขาวหลั ง ใหม่ ค ร่ อ มทั บ ลงบน ตาแหน่งโบราณสถานดังกล่าวขึ้น โดยกาหนดให้หลวงพ่อขาวเป็นพระประธาน ของวิหาร และนามาซึ่งข้อจากัดด้านการออกแบบสถาปัตยกรรมดังนี้ 1. ขนาดพื้ นที่ใช้ส อยอาคารวิหารหลวงพ่อขาวหลัง ใหม่ ต้อ งคานึง ถึ ง การเปิด ใช้ช่ องทางสัญจรเดินรถได้ 1 ช่องทางจราจร (จากเดิมที่ มี ความกว้างเป็น 2 ช่องทางจราจร) 2. โครงสร้างฐานรากอาคารวิหาร ต้องไม่กระทบกับโบราณสถานที่อยู่ ลึกลงไปใต้ระดับดิน 3. ตาแหน่งของการตั้งเสาหลวง ต้องพ้นจากแท่นแก้วหลวงพ่อขาว วัตถุประสงค์ของกำรนำเสนอบทควำม 1. เพื่อต้องการศึก ษาแบบสถาปัตยกรรมวิหารหลวงพ่อขาว (หลวงพ่อ อุ่นเมือง) วัดอินทขิลสะดือเมือง ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 2. เพื่อนาเสนอตัว แบบ การก่อรูปงานสถาปัตยกรรม วิหารล้านนา บน เงื่อนไขและข้อจากัดของความต้องการใช้สอยพื้นที่ ที่มีความทับซ้อน
2
CHORFAR vol.(II) No.(1) November 2019
ภาพที่ 5 แผนที่เมืองนครเชียงใหม่ พ.ศ.2436 แสดงที่ตงั้ เวียงแก้วและพื้นที่ หอพระแก้วร้าง ตลอดจนพบว่ายังไม่มีถนนอินทวโรรส เพียงแต่มี เส้นทางเข้ามาถึงหน้าวัดเท่านั้น ที่มา : https://www.silpa-mag.com/history/article_5445
Jadsada Supasri
2. ผลกำรศึกษำ (Study results)
ด้า นประวัติ ก ารอนุ รั กษ์ โบราณสถานวั ด อิ นทขิ ล สะดื อ เมือ งนั้ น กรม ศิลปากรได้ดาเนิน การขุดแต่ง และบูรณะองค์พระเจดีย์ทรงระฆั ง ที่ด้านหลัง วิหารหลวงพ่อขาวและเจดีย์ทรงมณฑปแปดเหลี่ยมมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2526 พบ หลักฐานเจดีย์ทรงมณฑปองค์เดิม อยู่ภายในเจดีย์ทรง ระฆัง ที่สร้างครอบทับ นั้น ต่อมา พ.ศ. 2541 กรมศิลปากร ได้ขุดแต่ง วิหารหลวงพ่อขาวเฉพาะ พื้นที่ ภายในเขตกาแพงรั้ว หอประชุมติโลกราช หลักฐานโบราณวัตถุที่พบคือ เศษ ภาชนะดินเผา แบบหริภุญไชย หอยเบี้ย เบ้าดินเผา กล้องยาสูบดินเผา ตะคัน ดิน เผา (ผางประที ป ) พระพิ ม พ์ เนื้อ ชิ น แบบปรกโพธิ์ (เชี ยงแสน) ชิ้น ส่ ว น พระพุทธรูปสาริด เหรียญสมัยรัชการที่ 5 ฯลฯ สาหรับการขุดแต่งส่วนฐานวิหารหลวงพ่อขาวนั้นกระทาได้เพียงเฉพาะ ส่ว นแนวฐานด้านทิ ศใต้เพราะส่ว นฐานวิหารด้ านทิศเหนือ นั้น เป็นแนวถนน อิ น ทวโรรส แต่ จ ากรู ป แบบส่ ว นฐานที่ ขุ ด พบด้ า นทิ ศ ใต้ นั้ น เป็ น ฐานปั ท ม์ ตอนล่างเป็นชั้นบัว คว่า - บัว หงาย ตอนบนเป็นชั้น หน้ากระดานย่อยๆ ซ้อน กันขึ้นไป รอบๆฐานพบการปูอิฐแบบไม่เป็นระเบียบ ส่วนระดับพื้นดิน เดิมของ วัดนั้น ลึกจากผิวดินปัจจุบันเฉลี่ย 1 เมตร ขนาดความกว้างของวิหารเฉลี่ยราว 8 เมตร โดยวัดจากกึ่ง กลางองค์พระประธานหลวงพ่อขาวมาทางทิศใต้ถึงขอบ ฐานที่ที่ขุดพบ รวมกับระยะ ทางสันนิษฐานจานวนเท่ากัน สาหรับวิหารด้านทิศ เหนือ ขนาดความกว้างนี้ น่ าจะเป็น ส่ว นกว้ าง เฉพาะห้อ งประดิษ ฐานพระ ประธานตอนหลั ง (ที่มั กพบว่ามี ค วามกว้ างน้ อยกว่ า ส่ว นตอนกลาง วิ หาร เพราะมีการย่อเก็จลดขนาดพื้นที่ลงมาประดิษฐานพระประธานและแท่นแก้ว ฐานชุกชี) ส่ว น ขนาดความยาวของวิหาร อาจอนุมานได้จาก การขุดแต่งที่ยัง ไม่ครอบคลุมมาถึงด้านหน้าว่ามี ขนาดราว 30 เมตร (ไม่รวมบันได)
ภาพที่ 6 ตาแหน่งที่ตั้งของบริเวณวัดอินทขิลสะดือเมืองและสถานที่สาคัญ บริเวณใกล้เคียง (เวียงแก้วและวัดต่างๆ) ภายในเขตคูเมืองเชียงใหม่ ที่มา : จากการศึกษา ภาพที่ 8 (01) ช่างกรมศิลปากรระบุขอบเขตแนวโบราณสถานที่อยู่ใต้ดิน (02) สัญลักษณ์บนถนนอินทวโรรส แสดงแนวเขตโบราณสถานที่เลย กึ่งกลางถนนอินทวโรรส ที่มา : จากการสารวจ
ภาพที่ 7 ตำแหน่งที่ตั้งของโบรำณสถำนและองค์ประกอบโดยรอบ ที่มา : จากการศึกษา
จากภาพที่ 7 สามารถจาแนกองค์ประกอบสาคัญต่างๆ ในแผนผังได้ดังนี้ 1. หอศิลปวัฒ นธรรมหรือพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น (ศาลากลางจังหวัดเชียงใหม่หลัง เดิม) 2. อนุสาวรีย์สามกษัตริย์ 3. หอประชุมติโลกราช 4. อาคารพาณิช ย์ 5. เจดี ย์ ส ะดื อเมื อ ง 6. วิ หารหลวงและเจดี ย์ อิ น ทขี ล 7. บ่ อน้ าเลี้ ย ง 8. ถนน พระปกเกล้า 9. ถนนอินทวโรรส 10. ถนนจ่าบ้าน 11. ถนนราชวิถี 12. ถนน ราชดาเนิน 13. สี่แยกกลางเวียง 14. หอพญามังราย
CHORFAR vol.(II) No.(1) November 2019
ภาพที่ 9 (03) แนวเขตโบราณสถานเมื่อเทียบกับตาแหน่งเจดีย์กบั หลวงพ่อขาว โดยมีรถจอด รอบบริเวณ (04) เครื่องหมายบนถนนอินทวโรรสแสดงขอบเขตโบราณสถานที่อยู่ ใต้ผิวดินบริเวณ ส่วนยกเก็จของวิหาร ที่มา : จากการสารวจ ก่อนการออกแบบก่อสร้างอาคารวิหารหลวงพ่อขาวหลังใหม่ หน่วยงาน ที่เกี่ย วข้ องท าหน้า ที่ ส ารวจรัง วั ดตลอดจนท าสัญ ลั กษณ์ บ นผิ ว จารจร ถนน อินทวโรรส เพื่อกาหนดแนวเขตโบราณสถานโดยสัง เขป (6/12/2007) ซึ่งจาก ภาพที่ 8 (02) จะสั ง เกตได้ ว่ า มี ข อบเขตเลยเส้ น แบ่ ง กึ่ ง กลางของถนนมา พอสมควร จากการสารวจพบว่าเป็นวิหารที่มี พื้นที่ใช้สอยขนาด 375 ตาราง เมตร โดยประมาณ
Main Author Name
3
ภาพที่ 10 (01) แสดงแนวโบราณสถานวัดอินทขิลสะดือเมือง ที่อยู่ลกึ ลงไปจาก ระดับผิวดินประมาณ 1 เมตร (02) แสดงการทับซ้อนของพื้นที่ถนนอินทวโรรส ซึ่งเป็นความต้องการ ของผู้คนทีใ่ ช้เป็นทางสัญจร ทางเดินรถ 2 ช่องทางที่มีมาภายหลัง ที่มา : จากการสารวจ
ภาพที่ 11 แสดงภาพฉายมุมมองด้านทิศตะวันออก ซึง่ สามารถสังเกตเห็น แท่นแก้วพระประธานหลวงพ่อขาว, เจดียท์ ั้ง 2 องค์ และระดับผิวดิน ที่มา : จากการสารวจ
(โครงสร้ างพื้ น ) เป็ น ค.ส.ล. เป็ น วิหารแบบทึ บ คือ มี ผ นั ง อาคาร (ป๋ างเอก) โดยรอบทุกห้องเสา โดยจะแบ่ง เป็น 2 ส่วนคือ ส่วนยอดจะเป็นฝาย้อยแบบฝา ตาผ้า ส่ว นตี นฝาเป็ นช่ องลูก กรงปากแล และกรอบลู กฟั ก หลัง คาทรงคฤห์ (ทรงแบบสกุลช่างเชียงใหม่ ) แบบมีมุขลด หน้า 2 ซด หลัง 2 ซด แต่ละซดมี หลังคาซ้อน 2 ตับ มุงด้วยกระเบื้องดินขอเคลือบ ผังพื้นอาคารยกเก็จ หน้า 1 หลัง 1(คล้ายแบบแผน ผังพื้นโบราณสภาน วิหารเดิม) ผังด้านสกัดแบ่งเป็น 3 ห้องเสา ส่ว นด้านยาวแบ่ง เป็น 5 ห้องเสา มี ช่องเปิดประตูท างเข้ า 2 แห่ ง (ด้านทิศตะวันออกและด้านทิ ศใต้) ด้านหน้ า อาคาร (หน้าแหนบ) ประดับตกแต่งด้วยไม้แกะสลักลงรักปิดทองและประดับ กระจกสีลวดลายสวยงาม ทางเข้ามี ด้านทิศตะวันออก มีกรอบซุ้ มประตูโขง และบันใดทางขึ้นมีราวกันตกแบบพญานาคปูนปั้น
ภาพที่ 13 ผังพื้นอาคาร ที่มา : จากการสารวจ
ภาพที่ 14 (01) รูปด้านอาคารทิศตะวันออก (02) รูปด้านอาคารทิศใต้ ที่มา : จากการสารวจ
ภาพที่ 12 แสดงแนวผังแนววิหารจากการสารวจรังวัดทีท่ ับซ้อนกับพื้นที่ถนน (วิหารมีพื้นที่ใช้สอย 375 ตารางเมตรโดยประมาณ) และภาพฉาย โบราณสถาน มุมมองด้านทิศใต้ ที่มา : จากการสารวจ แบบสถำปัตยกรรมวิหำรหลวงพ่อขำว (พระอุ่นเมือง) ในปัจจุบัน วิหารหลวงพ่อขาว (หลวงพ่ออุ่นเมือง) ในปัจจุบันที่ได้ทาการออกแบบ และก่อสร้างขึ้นมาใหม่นั้น มีลักษณะเป็นวิหารแบบล้านนา ขนาดพื้นที่ใช้สอย 155 ตารางเมตรโดยประมาณ (สูงจากระกับพื้นดิน 70 เซนติเมตร) เป็นวิหาร ที่มีลัก ษณะเตี้ยแจ้ ฐานต่า ตัวอาคารเป็นโครงสร้างไม้เนื้อแข็ง ส่วนฐานอาคาร
4
CHORFAR vol.(II) No.(1) November 2019
ภาพที่ 15 รูปตัดอาคารตามแนวยาว ที่มา : จากการสารวจ
Jadsada Supasri
อาคารมุขหน้า เฉพาะด้านหน้าอาคารมีความกว้างลดลงจากความกว้างซดหลัง แต่ ไม่เป็ น สัด ส่ว นใดๆ ต่อ กัน มี ความยาวใกล้เคี ยงกั บ หลั ง ซดหรื อยาวกว่ า เล็กน้อย และสุดท้าย (05) ติดตั้งบันไดทางขึ้นเฉพาะด้านหน้า บางหลังมีบันได เล็กๆด้านข้าง แต่ไม่ให้ความสาคัญมากนักไม่มีการ ตกแต่งราวบันได
ภาพที่ 19 การก่อรูปขึ้นทรงของวิหารล้านนา ที่มา : สืบพงศ์ จรรย์สืบศรี จากการศึกษาและเก็บข้อมูล แบบสถาปัตยกรรมวิหารหลวงพ่อขาว นามาพิจารณาร่วมกับข้อจากัดด้านการการออกแบบและลาดับของการก่อรูป ขึ้นทรงของวิหารล้านนา สามารถวิเคราะห์และพิจารณาแนวทางการก่อรูปของ วิหารหลวงพ่อขาวได้ดงั นี้ (ดูภาพที่ 20 ประกอบ) ภาพที่ 16 (03) รูปด้านอาคารทิศตะวันตก (04) ที่มา : จากการสารวจ
ภาพที่ 20 ขอบเขต ข้อจากัดด้านการก่อรูปขึ้นทรงวิหาร ที่มา : จากการสารวจ ภาพที่ 17 รูปตัดอาคารตามแนวขวาง ที่มา : จากการสารวจ
(01) การคานึงถึง การเปิดใช้ช่องทางสัญจรเดินรถได้ 1 ช่องทางจราจร (จากเดิม 2 ช่องทางจราจร) นั้น จากการวิเคราะห์ตัว แบบพบว่า แบบแผนผัง อาคารวิหารหลวงพ่อขาวหลังใหม่ มีรูปแบบที่คานึงถึงรูปแบบโบราณสถานเดิม แบบผังยกเก็จหน้า 1 หลัง 1 แต่ย่อขนาดพื้นที่ใช้สอยให้มีขนาดเล็กลง และมี ขอบเขตไม่ เลยเส้ น แบ่ งกึ่ งกลางถนน โดยก าหนดให้ ต าแหน่ ง แท่ น แก้ ว ที่ ประดิษฐานหลวงพ่อขาวอยู่ในตาแหน่ งห้องท้ายวิหาร เป็นพระประธานของ วิหารหลังใหม่นี้
ภาพที่ 18 ISOMETRIC ผังอาคารวิหาร ที่มา : จากการสารวจ วิเครำะห์ตวั แบบสถำปัตยกรรม วิหารล้านนานั้นสามารถจัดอยู่ในกลุ่มงานสถาปัตยกรรมแบบประเพณี ประเภทหนึ่ง ถึ งแม้ ว่าสถานภาพของการศึกษาจากเอกสารตาราต่างๆ และ การสัมภาษณ์ผู้รู้ ที่ผ่านมาจะพบว่า มิได้มีการกาหนดค่าสัดส่วน (proportion) ที่สัมพันธ์กับ ความงามของรูปร่างรูปทรงของวิหารที่ตายตัว แต่ลักษณะของ การก่อรูปขึ้นทรงของวิหารล้านนา (ดูภาพที่ 19 ประกอบ) โดยทั่ว ไป อาจมี ระเบียบวิธีตามลาดับดัง ต่อไปนี้ (01) ขึ้นฐานที่มีความสูง เท่ากันทั้ง หลัง (02) ขึ้นอาคารหลังหลวงที่ส่วนใหญ่มีผังเกือบเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัส (03) ขึ้นอาคารซด หน้า-หลัง ที่มีขนาดเท่ากันมีความกว้างลดลงจากความกว้างหลังหลวงแต่ไม่ เป็นสัดส่ว นใดๆ ต่อกัน แต่มีความยาวกึ่งหนึ่งของความยาวหลังหลวง (04) ขึ้น
CHORFAR vol.(II) No.(1) November 2019
ภาพที่ 21 การเปิดใช้ช่องทางสัญจรเดินรถได้ 1 ช่องทางจราจร ที่มา : จากการสารวจ Main Author Name
5
(02) การคานึ ง ถึง โครงสร้างฐานรากอาคารวิหาร ต้ องไม่กระทบกั บ โบราณสถานที่ อยู่ ลึ ก ลงไปใต้ ระดั บ ดิ น นั้น จากการวิ เคราะห์ ตั ว แบบพบว่ า โครงสร้างตัวอาคารวิ ห ารหลวงพ่อ ขาวเป็ นโครงสร้างไม้ มีน้ าหนัก เบา การ ถ่ายน้าหนักจากโครงสร้างหลังคา ลงสู่ตาแหน่ง เสาอาคารตามตาแหน่งต่างๆ ทั้งเสาหลวงและเสาระเบียง ที่ตั้งวางอยู่บนตอม่อและพื้นคอนกรีตโดยไม่ต้อง ฝังดิน ทั้งนี้ลักษณะโดยทั่วไปของชุดโครงสร้างเหนือส่วนพื้นอาคารขึ้นไป เป็น แบบคล้ายอย่างโครงข้อแข็ง (rigid structure) ยึดโยงกันด้วยแป และชุดโครง ม้าต่างไหม ประกอบกับความเป็นอาคารชุมนุมคนจานวนมากชั้นเดียวฐานเตี้ย ลักษณะโครงสร้างพื้น สามารถทาอย่าง แบบถ่ายน้าหนักลงสู่พื้นดิน (slab on ground) ด้วยเหตุนี้จึงไม่มีตุจาเป็นต้องขุดทาฐานรากให้ลึกลงไปจากระดับผิว ดิน ให้ ก ระทบกั บ โบราณสถาน และต่อ เมื่ อภายหลั งตั้ งการขุ ดส ารวจก็อ าจ สามารถรื้อประกอบอาคารวิหารที่เป็นลักษณะโครงสร้างเบาออกได้
ภาพที่ 22 ตัวอย่างวิหารแห่งหนึ่งในเชียงตุง ใช้โครงสร้างเสารับน้าหนักเป็น ไม้เนื้อแข็ง ตั้งวางอยู่บนตอม่อโดยไม่มีการยึด ที่มา : สืบพงศ์ จรรย์สืบศรี (03) การคานึงถึง ตาแหน่ง ของการตั้ง เสาหลวง ต้องพ้นจากแท่นแก้ว หลวงพ่อขาว ซึ่ง จากการวิเคราะห์ตัวแบบพบว่า ณ ตาแหน่งห้องเสาที่ตั้งพระ ประทางหลวงพ่อขาว มีการแก้ปัญหาเชิงช่างที่น่าสนใจ คือ มีการย้ายตาแหน่ง เสาหลวงออกไปด้านข้างให้ชิดเสาระเบียง แล้วใช้ขื่อแทงลอด เพื่ อรับน้าหนัก โครงสร้างหลังคา ซึ่งการแก้ปัญหาในเชิงช่างในลักษณะแบบนี้ ไม่สามารถพบ เห็นได้บ่อยนัก และเป็นไวยกรณ์ ที่ไม่คุ้นเคยนักของแบบแผนโครงสร้างวิหาร ล้านนา
ภาพที่ 25 โครงสร้างหลังคาม้าต่างไหม วิหารหลวงพ่อขาว ที่มา : จากการสารวจ ลักษณะโครงสร้างส่วนหลัง คาจั่ว (ตับที่1 หรือตับบน) และหลัง คาปีก นกหรือหลังคากันสาด (ตับที่ 2 หรือตับล่าง) ใช้การถ่ายน้าหนักด้วยระบบ ขื่อ เอก (ขื่อหลวง) ขื่อโท (ขื่อยี่ และ ขื่อม้าสาม) ซึ่งล้านนา เรียกเป็นแบบ “โครง ม้าต่างไหม” ในลักษณะขื่อหลวงพาดอยู่กับเสาหลวง (เสาร่วมใน) บริเวณหัว เสา ส่วนหลังคาปีกนกเป็นโครงสร้างเป็นเครื่องประดุเช่นเดียวกับส่วนหลังคาจั่ว โดยมี ขื่อ หลวงปี ก นก (ขื่ อ ร่ว มนอก) พาดอยู่กั บ เสาระเบี ย ง บริเวณหั ว เสา เช่นกันและมีองค์ป ระกอบ “เสาสะโก๋น” ที่ตั้งอยู่บนหลวงปีกนกนี้และตั้งแนบ ไปกับเสาหลวงแล้วยึดเข้าไว้กับปลายขื่อหลวง ทาหน้าที่ยึดโยงชุดโครงม้าต่าง ไหมส่วนหลังคาหน้าจั่วและส่วนหลังคาปีกนกเข้าไว้ด้วยกันไม่บิดตัว นอกจากนี้ เสาสะโก๋น ยัง ทาหน้ าที่ยึดขื่อ ยี่และขื่อ ม้าสามของชุ ดโครงม้าต่างไหมในส่ว น หลัง คาปีกนกเอาไว้แทนที่เสาหลวง (ทาให้เสาหลวงเป็นอิสระ) และเป็นที่ตั้ง ขององค์ประกอบแผงคอสอง เช่นกัน
ภาพที่ 23 ทัศนียภาพภายในวิหารหลวงพ่อขาว ที่มา : จากการสารวจ
ภาพที่ 24 ทัศนียภาพภายในวิหารหลวงพ่อขาว และเสาหลวงที่ย้ายตาแหน่ง ให้พ้นแท่นแก้ว ซึ่งเป็นโบราณสถาน ที่มา : จากการสารวจ
6
CHORFAR vol.(II) No.(1) November 2019
ภาพที่ 26 (01) แสดงแบบแผนตามอย่างประเพณี ของการวางตาแหน่ง เสาหลวง ที่ต้องกระทบกับแท่นแก้ว และการวางฐานรากแผ่ ที่ต้อง ขุดลึกลงไปใต้ระดับดิน (02) ย้ายตาแหน่งเสาหลวงออกไปด้านข้างให้ชิดเสาระเบียง ไม่ให้ โดนแท่นแก้ว และฐานรากใช้ระบบไม่จาเป็นต้องขุดลึกลงไปใต้ ระดับผิวดินให้กระทบโบราณสถาน ที่มา : จากการสารวจ
Jadsada Supasri
ภาพที่ 27 เปรียบเทียบแนวเสาหลวง (01) ตามแบบแผนประเพณี กับ (02) แนวเสาหลวงแบบย้ายตาแหน่ง ที่มา : จากการสารวจ
ภาพที่ 29 ISOMETRIC แสดงแนวเสาหลวงที่ย้ายตาแหน่งไปชิดกับเสาระเบียง บริเวณห้องพระประธาน ที่มา : จากการสารวจ
โดยระบบการถ่ายน้าหนัก (Flow of Load) ของโครงหลังคา แบบม้า ต่างไหมนั้น (เครื่องประดุ แท้ ) มีก ารถ่ายน้าหนัก จะส่ ง ผ่านกัน มาเป็ นทอดๆ น้าหนั ก จากกระเบื้ องดิน ขอ (เครื่องมุ ง ) ไม้ก้ านฝ้า (ระแนง) กลอน แปจ๋อ ง (อกไก่) เสาดั้ง แป ขื่อม้าสาม (ขื่อโท) เสาตุ๊กตา (ต่างไหม) แล้ว ถ่ายน้าหนักลง มายั ง ขื่ อหลวง (ขื่ อ เอกหรือ ขื่ อประธาน) ก่ อนที่ จะกระจายน้ าหนัก ลงสู่เสา หลวงและเสาระเบียง ตามลาดับ หรือ เป็นลักษณะคล้ายคลึงกับแบบเครื่อง ประดุ แท้ ที่ นิ ย มใช้ เป็ น ระบบโครงสร้า งหลั ง คา ของอาคาร อุ โบสถ วิ หาร นับ ตั้ง แต่ สมั ย สุ โขทั ย ถึง อยุ ธยา (การเชื่ อ มต่ อหรื อ การเข้า ไม้ แ ต่ ละจุ ด ของ โครงสร้า งนั้ น มี ทั้ ง การบาก การเพลาะการเจาะ และการท าเดื อ ย เพื่ อ ให้ โครงสร้างแต่ละชิ้นยึดติดกันด้ว ยการสับ การวางทับและการสอดเดือย ทาให้ โครงสร้างแต่ละจุดเหลือเนื้อไม้เพียงเล็กน้อย)
ภาพที่ 30 แบบชุดโครงสร้างม้าต่างไหมแนวเสาที่ 1 มีองค์ประกอบ นาคทันใหญ่ ทาหน้าที่เป็นค้ายันให้ขื่อหลวงภายในวิหาร ที่มา : จากการสารวจ
ภาพที่ 28 ISOMETRIC แสดงแนวเสาหลวงที่ย้ายตาแหน่งไปชิดกับเสาระเบียง บริเวณห้องพระประธาน ที่มา : จากการสารวจ ภาพที่ 31 แบบชุดโครงสร้างม้าต่างไหมแนวเสาที่ 2 มีองค์ประกอบ เสาตุ๊ตา ทาหน้าที่เป็นต่างไหมให้ขื่อหลวงภายในวิหาร ที่มา : จากการสารวจ
CHORFAR vol.(II) No.(1) November 2019
Main Author Name
7
3.
สรุปประเด็นที่ค้นพบ (Conclusion)
กิตติกรรมประกำศ (Acknowledgement) -
ขอบคุณพ่อแม่ครู อาจารย์ ขอบคุณคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุภาณุวงศ์ หลวงพระบาง สปป.ลาว ที่พิจารณารับบทความ และเชิญให้มาร่วม นาเสนอในงานประชุมสัมมนาวิชาการสถาปัตยกรรม ขอบคุณคณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร. ล้านนา ขอบคุณวัดอินทขิลสะดือเมือง ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
References:
1. 2. ภาพที่ 32 วิหารหลวงพ่อขาว วัดอินทขิลสะดือเมือง ในปัจจุบัน ที่มา : สื่อวัดบ้าน รักษาวัฒนธรรม www.intakin.org
3. 4. 5. 6. 7.
จิรศักดิ์ เดชวงศ์ญา, วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ และ ยุวนาฎ วรมิศร์. หอไตร วัดพระสิงห์ ประวัติ ลักษณะ ศิลปกรรมและแนวทางการอนุรักษ์. เชียงใหม่ : ธนบรรณการพิมพ์, 2539. สืบพงศ์ จรรย์สืบศรี. หอประวัติศาสตร์ล้านนา. วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัญฑิต สาขาวิชา สถาปัตยกรรมไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศิลปากร, 2549. วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์. วิหารล้านนา. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, 2544. http://www.klongdigital.com/webboard3/26034.html https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/595936 https://www.silpa-mag.com/history/article_27005 สื่อวัดบ้าน รักษาวัฒนธรรม www.intakin.org
ภาพที่ 33 วิหารหลวงพ่อขาว วัดอินทขิลสะดือเมือง ในปัจจุบัน ที่ ม า : https://www.thaihrhub.com/chiang-mai/วั ด อิ น ทขี ล สะดื อ เมื อ ง/ attachment/วัดอินทขีลสะดือเมือง-พ-2/ ผลการออกแบบสถาปั ต ยกรรมวิ หารหลวงพ่ อ ขาวหลั ง ใหม่ นั้ น ได้ ประสานประโยน์แห่ง ความต้องการใช้พื้นที่ของผู้คนซึ่ง ทับซ้อ นกันอยู่ ได้ใน เชิ ง ประจั ก ษ์ ตลอดจนเทคนิ ควิ ธีก ารก่อ สร้า งอาคารนั้ น ได้ สะท้อ นถึ ง การ นาเอาเอกลัก ษณ์ทางโครงสร้างของวิหารแบบล้านนามาปรับประยุกต์ใช้ ได้ อย่างน่าสนใจ กรณี ศึก ษาข้ างต้น เป็น ตัว อย่างของ หนึ่ง ในพื้น ที่อั นมี ความ ต้องการใช้สอยที่ทั บซ้อนกันในหลายมิติ ของเมืองเชียงใหม่ ซึ่ง อดีตนั้ นเป็ น ศู น ย์ ก ลางแห่ ง อาณาจั ก รล้ า นนา โดยปั จ จุ บั น ยั ง พบอี ก หลายพื้ น ที่ (เช่ น โบราณสถานวัดเชียงของ (กู่พม่า) บริเวณประตูเชียงใหม่ ต.หายยา อ.เมือง จ. เชี ย งใหม่) ที่ ตกอยู่ ในสถานการณ์ ค วามต้ องการเช่น เดีย วกั น นี้ และอาจไม่ สามารถต่อ รองกั น ได้ เพี ยงแค่ ก ารใช้ ก ารออกแบบงานสถาปั ต ยกรรมเป็ น เครื่องมือ เป็นต้น
ภาพที่ 34 โบราณสถาน วัดเชียงของ (กู่พม่ำ) บริเวณประตูเชียงใหม่ ต.หำยยำ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ ที่มำ : http://www.klongdigital.com/webboard3/26034.html
2nd International Symposium on Architecture and Urban Planning/ November 2019/xx
8