ขัน้ ตอนการผลิตสิ่งพิมพ แบงเปน 3 ขั้นตอนใหญ งานกอนพิมพ (Prepress Work) งานพิมพ (Press Work) งานทําสําเร็จ (Finish or After Press Work)
งานกอนพิมพ (Prepress Work) ประกอบดวย
– การเรียงพิมพ – การพิสูจนอักษร – การทําอารตเวอรค – การถายฟลม – การวางรูปแบบฟลม – การเตรียมแมพิมพ
งานพิมพ (Press Work) ้ ตอนการถายทอดภาพและขอความ ไดแก ขัน
จากแมพิมพลงบนวัสดุพิมพโดยใชเครื่องพิมพ ระบบการพิมพที่ใชในปจจุบัน มี 4 ระบบ คือ – ระบบการพิมพพื้นนูน – ระบบการพิมพพื้นราบ – ระบบการพิมพพื้นลึก – ระบบการพิมพซิซลิ คสกรี สกรีน (พื้นฉลุลายผา)
งานพิมพ (Press Work) ระบบการพิมพพื้นนูน (Relief Printing)
ระบบการพิมพที่แมพิมพมีสว นที่จะใชพิมพเปน ภาพนูนสูงขึ้นมาจากพื้นแมพิมพ สวนที่นูนสูง ขึ้นมาเมื่อไดรับหมึกแลวจะสามารถพิพมลงบน กระดาษไดโดยตรง มี 2 ระบบ – ระบบเลตเตอรเพรส (Letterpress) – ระบบเฟลกโซกราฟฟ (Flexography)
งานพิมพ (Press Work) ระบบเลตเตอรเพรส เพรส (Letterpress)
– แมพิมพจะหลอขึ้นดวยโลหะผสม (alloy) การ เรียงพิมพจัดทําโดยการนําตัวอักษรมาเรียงกันทีละ ตัวจนไดขอความตามตองการ แลวนําไปใชพิมพบน เครื่องพิมพไดโดยตรง – เมื่อคลึงหมึกลงไป หมึกจะสัมผัสเฉพาะสวนที่สูง ขึ้นมาเทานั้น เมื่อกดกระดาษที่จะใชพิมพลงไป หมึก จะติดกับกระดาษพิมพ เกิดเปนภาพพิมพโดยตรง
งานพิมพ (Press Work) ระบบเลตเตอรเพรส เพรส (Letterpress)
– เครื่องพิมพชนิดแทนพลาเทน (Platen press) – เครื่องพิมพชนิดแทนนอน ( Flat-bed cylinder press) – เครื่องพิมพชนิดโรตารี (Web-fed rotary letter press)
Letterpress
A Cylinder Letterpress
A Rotary Letterpress
งานพิมพ (Press Work) ระบบเฟลกโซกราฟฟ (Flexography)
– แมพิมพเปนแผนยางมวนติดโดยรอบกับโมแมพิมพ หมึกที่ใชเปนชนิดใสไมเหนียวขน น้ําหนักเบา สะดวกในการทํางาน พิมพไดจํานวนมากโดยไมตอง เปลี่ยนแมพิมพ ใชไดกับวัสดุพิมพเกือบทุกชนิด
Flexography
งานพิมพ (Press Work) ระบบการพิมพพื้นนูน (Relief Printing)
– เหมาะกับงานพิมพจํานวนนอย – แกไขขอผิดพลาดในการเรียงพิมพไดงาย – ถาตองพิมพจํานวนมากตองเปลี่ยนตัวพิมพโลหะบอย – ไมสามารถใหรายละเอียดไดมาก – การพิมพสอดสีทําไดยากและไมสวยเทาระบบออฟเซต – ใชพิมพงานไดทุกประเภทที่ไมตองการคุณภาพสูงมาก
งานพิมพ (Press Work) ระบบการพิมพพื้นราบ (Planographic Printing)
ระบบการพิมพที่ใชแมพิมพมีลักษณะเปนพื้นผิวราบ คือ สวนที่เปนภาพและไมใชภาพจะอยูใ นระนาบ เดียวกัน โดยทั่วไปนิยมเรียกวา ระบบการพิมพพ ออฟเซต (Offset)
งานพิมพ (Press Work) ระบบการพิมพพื้นราบ (Planographic Printing) หลักการสรางแมพิมพ
1. ใชโลหะทําแมพิมพที่สามารถรับน้ําไดดี 2. สารที่เปนตัวรับภาพตองรับหมึกไดดี รับน้ําไดยาก 3. เคลือบผิวสวนที่ไมใชภาพดวยน้ํา เพื่อไมใหหมึก สามารถจับติดได
งานพิมพ (Press Work) ระบบการพิมพออฟเซต (Offset)
เปนการพิมพที่ตองมีการถายทอดภาพจาก แมพิมพ ไปสูผ า ยางแบลงเก็ต ที่หอหุมรอบโมยาง ( Blanket cylinder) กอน จากนั้นจะถายทอดภาพลง บนกระดาษโดยแรงกดของโมพิมพ (Impression cylinder) ไมใชการพิมพโดยตรงจากแมพิมพสกู ระดาษ เหมือนระบบเลตเตอรเพรส เพรส
Offset Printing
งานพิมพ (Press Work) สิ่งพิมพที่ควรพิมพดวยระบบการพิมพออฟเซต
– งานพิมพที่มีจํานวนมาก (3000 แผนขึ้นไป) – มีภาพประกอบมาก เนื่องจากสามารถวางภาพตามการ ออกแบบไดสะดวกกวา ภาพมีคุณภาพดี – ตองพิมพภาพสี่สี หรือตองพิมพหลาย ๆ สี – มีการจัดทําอารตเวอรคที่ยุงยากและตองการความ ประณีตสูง – งานที่ตองการคุณภาพและความรวดเร็ว
งานพิมพ (Press Work) ระบบการพิมพพื้นลึก (Intaglio Printing)
ระบบการพิมพที่แมพิมพสวนที่เปนภาพ เปนรอง ลึกลงไปจากพื้นผิวของแมพิมพ เชน – ระบบการพิมพกราเวียร (Gravure printing)
งานพิมพ (Press Work) ระบบการพิมพกราเวียร (Gravure printing)
แมพิมพทํทาํ ดวยโลหะทองแดงทรงกระบอก (cylinder) สวนที่เปนภาพที่ตองการพิมพจะถูกกัดโดยน้ํากรดให กรดให เปนบอ หรือเซลลเล็ก ๆ จํานวนมาก สวนที่ไมใชภาพ จะไมถูกกัดลึกลงไป แมพิมพจะแชอยูในอางหมึกที่เปน หมึกเหลวคลายน้ํา เซลลที่เปนสวนของภาพจะรับหมึก ไว และจะมีแผนปาดหมึก (doctor blade) ทําหนาที่ ปาดหมึกสวนเกินออกจากบริเวณที่ไมใชภาพ
งานพิมพ (Press Work) ระบบการพิมพกราเวียร (Gravure printing)
การพิมพ การถายทอดหมึกจะกระทําโดยตรงลง ไปบนวัสดุที่ใชพิมพ โดยใชโมพิมพกดวัสดุที่ใชช พิมพใหแนบกับโมแมพิมพ วัสดุที่ใชพิมพจะปอน อยางตอเนื่องในลักษณะเปนมวน ความเร็วใน การพิมพประมาณ 20000-30000 รอบตอชัว่ โมง ใชไดกับวัสดุการพิมพหลายชนิด
Gravure printing
งานพิมพ (Press Work) ระบบการพิมพกราเวียร (Gravure printing)
– คุณภาพในการพิมพสูงทั้งตัวอักษรและรูปภาพ – เหมาะสําหรับงานพิมพจํานวนมาก ๆ – คาใชจายในการทําแมพิมพคอนขางสูง – นิยมใชพิมพบรรจุภัณฑ – ระบบที่ใชพิมพธนบัตรคืออินทาลโย (Intaglio) ซึ่ง ใชหมึกเหนียวกวาระบบกราเวียรมาก มาก
งานพิมพ (Press Work) ระบบการพิมพซิ ซลิ คสกรี สกรีน (พื้นฉลุลายผา) (Silk
Screen or Screen Printing) ระบบการพิมพที่แมพิมพทําดวยแผนสกรีนที่ทํา จากเสนใยละเอียด เสนใยที่ใชอาจทําดวยสาร พวกไนลอน (nylon) ดาครอน (dacron) หรือ เสนใยเหล็กกลาเล็ก ๆ ซึ่งขึงตึงอยูบนกรอบ สี่เหลี่ยม แผนสกรีนจะถูกฉาบดวยสารไวแสง
งานพิมพ (Press Work) ระบบการพิมพซิ ซลิ คสกรี สกรีน การทําแมพิมพ
1. ถายตนฉบับที่ตกแตงเรียบรอยแลวลงบนฟลม 2. อัดฟลม ลงบนแผนสกรีนที่ฉาบดวยสารไวแสง 3. ฉายแสงอัลตราไวโอเล็ตความเขมสูง 4. ลางแผนสกรีน สวนที่เปนภาพจะเปนรูสกรีนโปรง
งานพิมพ (Press Work) ระบบการพิมพซิ ซลิ คสกรี สกรีน
การพิมพ ใสหมึกลงบนดานบนของแผนสกรีน แลวใชแทงยางปาดหมึกไปตลอดแผนสกรีน หมึก จะไหลทะลุผานรูสกรีนลงไปติดบนวัสดุที่จะใชพมิ พ ที่วางไวดานลาง – พิมพไดกับวัสดุทุกชนิดแตตองเลือกหมึกพิมพใหถูก กับวัสดุ – ใชพิมพงานจํานวนไมมาก เชน โปสเตอร เสื้อยืด ฯลฯ
Screen Printing
งานทําสําเร็จ (Finish or After Press Work) การพับวัสดุพิมพ การเก็บเลม การเขาปก การทําเลม การแปรสภาพงานพิมพ เชน
– การอาบมัน (varnishing) – การเคลือบพลาสติก (laminating) – การเดินทอง (hot stamping) – การพิมพนูน (embossing) ฯลฯ
งานทําสําเร็จ (Finish or After Press Work) เทคนิคการทําเลม
– วิธีไสสันทากาว – วิธีการเย็บลวด – วิธีใสเกลียวลวด – วิธีเย็บกี่
การเก็บเลมแบบเรียงยกพิมพซอนกัน
งานทําสําเร็จ (Finish or After Press Work) วิธไี สสันทากาว (Perfect bookbinding)
ี การ วีธการ 1. ไสสันเพื่อใหเกิดความขรุขระของสันหนังสือ และ เพื่อเพิ่มพื้นผิวในการรับกาว 2. ทากาวในปริมาณที่เหมาะสม 3. นําไปประกบกับปกหนังสือโดยใชแรงอัดเขาชวย
งานทําสําเร็จ (Finish or After Press Work) วิธไี สสันทากาว (Perfect bookbinding) ลักษณะเดน
– สันหนังสือเรียบสวย – เหมาะกับรูปเลมหนังสือที่ไมหนาหรือบาง เกินไป (1.5”) – เหมาะสําหรับการเก็บเลมแบบเรียงยกพิมพพ ตามลําดับเริ่มจากหนาแรกไปหนาสุดทาย
ไสสันทากาว (Perfect bookbinding)
งานทําสําเร็จ (Finish or After Press Work) วิธีการเย็บลวด (Stitching)
– เปนวิธีที่งายและประหยัดที่สุด – เหมาะกับหนังสือขนาดบางที่มีจํานวนหนาไม ไม มากนัก (ไมเกิน 1 “ หรือ 1 ยกพิมพ) : จุลสาร โบรชัวร คาตาล็อก วารสารทั่วไป
งานทําสําเร็จ (Finish or After Press Work) วิธีการเย็บลวด (Stitching) มี 2 วิธี
– การเย็บแบบมุงหลังคาหรือเย็บอก ( Saddle Stitching) – การเย็บสัน (Stabbing) เหมาะกับสิ่งพิมพพ ขนาด 0.55-1.55”
การเย็บแบบมุงหลังคา ( Saddle Stitching)
การเย็บสัน (Stabbing) การเย็บสันดานเดียว
การเย็บสันสองดาน
เครื่องเย็บหัวเดียวและเครื่องเย็บหลายหัว
งานทําสําเร็จ (Finish or After Press Work) วิธีใสเกลียวลวด (Spiral wire binding)
– เปนการทําเลมดวยการเจาะรูที่สันเปนแนว กอนดวยขนาดและความถี่ที่เหมาะสม แลวจึง ใสเกลียวลวดใหพอหลวมที่จะสามารถเปด หนาหนังสือไดอยางคลองตัว
งานทําสําเร็จ (Finish or After Press Work) วิธีใสเกลียวลวด (Spiral wire binding)
– เหมาะกับสิ่งพิมพที่ใชกระดาษหนา ๆ เชน เอกสารประกอบการฝกอบรม สมุดรายงาน สมุดแบบฝกหัดสําหรับเด็กในโรงเรียน
งานทําสําเร็จ (Finish or After Press Work) วิธีเย็บกี่
– ออกแบบมาสําหรับหนังสือที่ตองการความ แข็งแรงทนทานสูง ซึ่งแตละยกจะถูกนํามาเย็บ เรียงซอนกันตามลําดับ มักเขาเลมดวยปก กระดาษแข็ง สันเปนกระดาษแข็ง เคลือ่ นไหว หลวม ๆ ไดดว ยหลักการคลายบานพับประตู สันหนังสือจะไมเกิดรอยยนระหวางใชงาน
วิธีเย็บกี่
งานทําสําเร็จ (Finish or After Press Work) วิธีเย็บกี่ เทคนิคการเย็บ ใชดายในลอน/ฝาย
1. แบบสมิธ (Smyth Sewing) 2. แบบเย็บกีด่ านขาง (Side Sewing) หรือ แบบแมคเคน (Mc. Cain) หรือ แบบซิงเกอร (Singer) 3. แบบเย็บกีม่ ุงหลังคา (Saddle Sewing) 4. แบบเย็บกีล่ ูกผสม (Oversewing)
วิธีเย็บกี่ 1
3
2 1. เย็บกี่แบบสมิธ 2. เย็บกี่ดานขาง 3. เย็บกี่มุงหลังคา
เครื่องเย็บกี่อัตโนมัติตอพวงกับสายพานลําเลียง
ขั้นตอนการผลิตสิ่งพิมพ ตนฉบับ
ออกแบบ
กําหนดรายละเอียด
เรียงพิมพ
สิ่งพิมพสําเร็จ
ตัดเจียน
บรรณาธิการ
พิสูจนอักษร
เขาปก
ภาพ
อารตเวอรค
เก็บเลม/เย็บเลม
ถายฟลม
พับ
วางรูปแบบฟลม
พิมพ
ทําแมพิมพ