1
เอกสารประกอบการสอน • สัปดาหที่ 1 ความหมายของพิพิธภัณฑสถาน พิพิธภัณฑ [พิ-พิด-ทะ-พัน] เปนคําที่มีมาแตโบราณ มีรากศัพทมาจากภาษาบาลี-สันกฤต จากคําวา วิวิธ เปนคําวิเศษณ แปลวา ตาง ๆ กัน สมาสกับคําวา ภัณฑ เปนคํานามแปลวา สิ่งของ เครื่องใช ดังนั้น เมื่อรวมกันจึงไดคําวา วิวิธภัณฑ หรือ ตามสําเนียงไทย คือคําวา พิพิธภัณฑ พิพิธภัณฑสถาน [พิ-พิด-ทะ-พัน-ทะ-สะ-ถาน] ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 กลาวไววา เปนคํานาม หมายถึง "สถาบันถาวรที่เก็บรวบรวมและแสดงสิ่งตาง ๆ ที่มี ความสําคัญดานวัฒนธรรม หรือ ดานวิทยาศาสตร โดยมีความมุงหมายเพื่อใหเปนประโยชนตอ การศึกษาเลาเรียน และกอใหเกิดความเพลิดเพลินใจ” ความคิดพื้นฐานและหลักการของพิพิธภัณฑ แนวความคิดการจัดตั้ง
เพื่อการอนุรักษ (วัตถุเปนศูนยกลาง)
เพื่อการศึกษา (มนุษยเปนศูนยกลาง)
รูปแบบการจัดแสดง
รูปแบบการจัดแสดง
อื่นๆ
ภาพ 1 ความคิดพื้นฐานและหลักการของพิพิธภัณฑ
อื่นๆ
2
บทบาทของพิพิธภัณฑสถาน บทบาท - บทบาทดานสังคมและ วัฒนธรรม
- บทบาทดานเศรษฐกิจ - บทบาทดานการเมือง
รายละเอียด 1. เปนศูนยรวมดานวัฒนธรรมของสังคม 2. เปนองคกรที่สงวนรักษาอนุรักษมรดกดานวัฒนธรรม 3. เปนองคกรที่ใหบริการการศึกษาแกคนในสังคมและตางถิน่ 4. เปนองคกรที่สรางจิตสํานึกและความภาคภูมิใจในการรักษา เอกลักษณดานวัฒนธรรมของสังคม เปนสถานที่พกั ผอนและทองเทีย่ วของคนในสังคมและตางถิน่ 1. ทําใหคนในสังคมรูจักตนเอง รักถิน่ ฐาน อยูรวมกันอยางปกติ 2. ประสานใหคนในทองถิน่ อื่นเขาใจวัฒนธรรมของทองถิ่นตนเอง ตาราง 1 บทบาทของพิพิธภัณฑสถาน
หนาที่ของพิพธิ ภัณฑสถาน โดยสรุปมีองคประกอบหลักอยู 8 ประการ ดังนี้ 1. การรวบรวมวัตถุ (Collecting) โดยมีที่มาจาก 2. ตรวจสอบ จํ า แนกแยกประเภทและศึ ก ษาวิ จั ย (Identifying, classifying, research) 3. การทําบันทึกหลักฐาน (Recording) 4. ซอมสงวนรักษาวัตถุ (Conservation and preservation) 5. รักษาความปลอดภัย (Museum security) 6. การจัดแสดง (Exhibition) 7. หนาที่ใหการศึกษา (Museum education) 8. หนาที่ดานสังคม (Social function) หนาที่ของพิพธิ ภัณฑสถานสามารถแบงเปน 2 สวนหลัก คือ งานหลังฉาก (back of the house ) และงานหนาฉาก (front of the house)
3
ภาพ 2 แผนผังหนาที่ของพิพิธภัณฑสถาน กลุมผูใชงานบริการภายในพิพิธภัณฑสถาน แบงตามระดับความคิด การศึกษาและรสนิยม ดังนี้ 1. นักเรียน (Pupils) เปนกลุมผูใชบริการที่ตองการความเพลิดเพลิน มีความพึงพอใจกับ การจัดแสดงแบบงาย ๆ เพื่อการเรียนรูจดจําคนหาประสบการณ ตื่นเตนตอการเรียนรูและสนใจ ความงามของวัตถุในหองจัดแสดง 2. เขาชมทั่วไป (Adult) เปนผูใหญ เปนกลุมผูใชบริการกลุมใหญที่สุด ผูใชบริการกลุมนี้ ตองการคําแนะนําดานความสําคัญของวัตถุและความประทับใจวัตถุจัดแสดง ตลอดจนตองการ คําอธิบายประกอบและการจัดแสดงที่สัมพันธกับวัตถุจัดแสดง 3. ผูสนใจพิเศษ หรือ ผูเชี่ยวชาญ (Experts of Specialist) เปนกลุมผูใชบริการที่ตองการ ดูวัตถุจัดแสดงอยางละเอียดเพื่อประโยชนการศึกษาหรือการคนควา การแบงตามเกณฑ ของจิ รา จงกล (2537) แบ งกลุมผูใชบริการจากการรวบรวมสถิติ ผูเขาชมซึ่งคลายคลึงกับ UNESCO แบงได 4 กลุมดังนี้ คือ 1. กลุมประชาชนทั่วไป (General public) นิยมเขาชมพิพิธภัณฑสถานในวันสุดสัปดาห หรื อ วั น หยุ ด ประชาชนทั่ ว ไปอาจไม มี ค วามรู เ ป น ภู มิ ห ลั ง เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งราววั ต ถุ จั ด แสดงใน พิพิธภัณฑสถาน การเขาชมไมมีวัตถุประสงคเฉพาะเพียงตองการชมของแปลกที่ไมเคยพบเห็น เปนการหาความเพลิดเพลินโดยทั่วไปมากกวาการหาความรู
4 2. กลุมนักทองเที่ยว (Tourists) ปจจุบันการคมนาคมทั่วโลกสะดวกรวดเร็ว ประชาชน จากประเทศหนึ่งเดินทางไปประเทศอื่น ๆ อยางงายดาย พิพิธภัณฑสถานปจจุบันจึงเปนจุดสนใจ ของนักทองเที่ยวชาวตางประเทศ โดยนักทองเที่ยวสวนมากประกอบไปดวยคนที่มีภูมิหลังแตกตาง กันและตองการเรียนรูเรื่องราวของวัตถุไมเพียงแตเที่ยวดูเพลิน ๆ 3. กลุมนักวิชาการและนักปราชญ (Scholars) ผูใชบริการประเภทนี้มีจํานวนไมมากและ มี ค วามรู พื้ น ฐานเรื่อ งราวของวั ต ถุ จั ด แสดงเปน อย า งดี มี จุ ด ประสงค เ พื่ อการศึ ก ษาหาข อ มู ล ไมสนใจเทคนิคจัดแสดง 4. กลุมสุดทายคือ นักเรียน (School children) เปนกลุมผูใชบริการที่มีจํานวนมากที่สุด และมีความตองการการบริการมากกวาประเภทอื่นจุดมุงหมายสําคัญ คือ ตองการเรียนรูเรื่องราว ตาง ๆ ดังนั้นการจัดแสดงที่มีคําบรรยาย จึงเปนประโยชนมากสําหรับผูใชบริการกลุมนี้ การแบงสวนงานภายในพิพิธภัณฑสถาน (organization ) คณะกรรมการ ผูอํานวยการ ผูชวยผูอํานวยการ เลขานุการ ฝายวิชาการ
ฝายธุรการ
ฝายเทคนิค
- ภัณฑารักษแผนก ตาง ๆ - แผนกการศึกษาและ ประชาสัมพันธ
- ธุรการ สารบรรณ การเงิน - รักษาความปลอดภัย - ดูแลอาคารสถานที่ - ทะเบียนวัตถุ - รานคาของที่ระลึก - หนังสือ
- ปฏิบัติการซอมสงวน รักษาวัตถุ - ออกแบบนิทรรศการ - ชางเทคนิค และชางทุก ประเภท - ชางศิลป - ชางภาพ - ชาง ฯลฯ
ภาพ 3 แผนผังการแบงสวนงานภายในพิพิธภัณฑสถาน (Organization)
5 ชนิด / ประเภทของพิพิธภัณฑ ชนิดของพิพิธภัณฑ แบงได 2 แบบ คือ 1.แบงตามลักษณะการบริหารหรือเปนเจาของ 1.1 พิพิธภัณฑสถานสวนบุคคลขนาดเล็ก 1.2 พิพิธภัณฑสวนบุคคลขนาดใหญ 1.3 พิพิธภัณฑกึ่งบุคคลกึ่งราชการหรือพิพิธภัณฑของมูลนิธิ 1.4 พิพิธภัณฑของรัฐบาล 2.แบงตามลักษณะของสิ่งที่รวบรวมไวหรือตามแขนงวิชา 2.1 พิพิธภัณฑดานศิลปะ (Museum of Arts) 2.2 พิพิธภัณฑศิลปะรวมสมัย (Gallery of Contemporary Arts) 2.3 พิพิธภัณฑดานธรรมชาติวิทยา (Natural History Museum) 2.4 พิพิธภัณฑดานวิทยาศาสตรและเครื่องจักรกล (Museum of Science and Technology) 2.5 พิพิธภัณฑดานมานุษยวิทยาและชาติพันธุว ทิ ยา (Museum of Anthropology and Ethnology) 2.6 พิพิธภัณฑดานประวัติศาสตรและโบราณคดี (Museum of History and Archaeology) 2.7 พิพิธภัณฑประจําเมืองหรือทองถิ่น (Regional Museum – City Museum) 2.8 พิพิธภัณฑแบบพิเศษ (Specialized Museum) 2.9 พิพิธภัณฑของมหาวิทยาลัยและสถาบันศึกษา (University Museum) ประเภทของพิพิธภัณฑในประเทศไทย 1. พิพิธภัณฑประเภททัว่ ไป (General Museum หรือ Encyclopedia Museum) : หรือ ประเภทรวม โดยแบงประเภทงานเปนแผนกตาง ๆ ตามแขนงวิชา 2 .พิพิธภัณฑทางศิลปะ (Museum of Arts) : ที่แบงเปน 5 แบบ 2.1พิพิธภัณฑสถานศิลปะประยุกต (Arts Museum) 2.2 หอศิลป (Arts Gallery) 2.3 ศิลปะสมัยใหม (Modern Arts) 2.4 พิพิธภัณฑสถานศิลปะประเภทการแสดง ( Museum of arts performance) 2.5 พิพิธภัณฑสถานศิลปกรรมแรกเริ่ม
6 3.พิพิธภัณฑสถานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (Museum of Anthropology & Ethnology) 4. พิพิธภัณฑดานธรรมชาติวิทยา (Nature Science Museum) 5.พิพิธภัณฑดานประวัติศาสตรและโบราณคดี (Museum of History & Archaeology) 5.1 พิพิธภัณฑสถาน ที่จัดแสดงหลักฐานประวัติศาสตรแสดงชีวิตความเปนอยู หรือวัฒนธรรมและประเพณีพื้นเมืองอาจแยกเปน พิพิธภัณฑเฉพาะเรื่อง 5.2 พิพิธภัณฑสถานประวัติศาสตร รวบรวมและจัดแสดงหลักฐานประวัติศาสตร เกี่ยวกับการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ สังคม เปนตน 5.3 บานประวัติศาสตร เชน อาคารหรือบานที่มีความสําคัญดานประวัติศาสตร จัดแสดงตามสภาพจริง เชน พิพิธภัณฑบาน ม.ร.ว คึกฤทธิ์ บานดุริยางคศิลปน มนตรี ตราโมท เปนตน 5.4 โบราณสถาน อนุสาวรียและสถานที่สําคัญ ดานวัฒนธรรม เมืองประวัติ ศาสตร พิพิธภัณฑสถานประวัติศาสตรและโบราณคดี 6. พิพิธภัณฑสถานชาติพันธวิทยาและประเพณีพื้นเมือง (Museum of Anthropology & Ethnology)
7 • สัปดาหที่ 2 หลักการของการจัดตั้งพิพิธภัณฑ 1. รวบรวมเก็บรักษามรดกดานวัฒนธรรมทุกประเภทของชาติไวมิใหเสื่อมสูญและจัดแสดง ใหประชาชนศึกษาคนควาหาความรู 2. เป น แหล ง ข อ มู ล ข า วสารทุ ก สาขาของศิ ล ปวิ ท ยา เช น โบราณคดี ศิ ล ปวั ฒ นธรรม ประวั ติ ศ าสตร ทรั พ ยากรธรรมชาติ ชาติ พั น ธุ วิ ท ยา เทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมต า ง ๆ เป น ต น โดยแหลงขอมูลนี้สามารถใหบริการการศึกษาแกประชาชนไดอยางกวางขวางดวย 3. เป น แหล ง การศึ ก ษานอกระบบ สํ า หรั บ ผู ไ ม มี โ อกาสศึ ก ษาในระบบโรงเรี ย นและ เปนแหลงที่สามารถจัดสื่อการเรียนที่มีคุณภาพ เพื่อสนองความตองการของสถานศึกษา นักเรียน นักศึกษาเขามาใชสื่อเหลานี้ไดอยางเสมอภาคกัน 4. เปนที่พักผอนหยอนใจ ใหความเพลิดเพลินแกประชาชนทุกวัย 5. เปนแหลงสงเสริมอุตสาหกรรมการทองเที่ยวของประเทศ สามารถดึงดูดนักทองเที่ยว ทั้งภายในประเทศ และชาวตางชาติ เขามาศึกษาชื่นชมกับมรดกดานวัฒนธรรม ตลอดจน ทรัพยากรธรรมชาติของประเทศ 6. มุงสงเสริมใหเปนสถาบันการศึกษาเปดอยางแทจริงที่ประชาชนทุกเพศ ทุกวัยสามารถ แสวงความรูดวยตนเองไดตลอดเวลาอยางเทาเทียมกัน สวนประกอบของอาคารพิพิธภัณฑ 1. สวนบริการสาธารณะ (Public services) เปนสวนของอาคารพิพิธภัณฑ หรือ หองตาง ๆ ที่จัดไวบริการแกประชาชน ไดแก 1.1 ทางเขา-ออก (Entrance and exit) 1.2 ที่จําหนายบัตรผานประตู (Ticketing) 1.3 หองรับฝากของ (Cloak room) 1.4 ที่ติดตอสอบถาม (Information desk) 1.5 รานพิพิธภัณฑสถาน (Museum shop) 1.6 สถานที่พักผอนและตอนรับผูเขาชม (Lobby) 1.7 ตูโทรศัพทสาธารณะ (Public telephone) 1.8 หองอาหาร (Restaurant/cafeteria) 1.9 หองน้ํา (Rest room) 1.10 ที่จอดรถ (Car parking)
8 2. สวนงานบริการดานการศึกษา (Educational services ) 2.1 หองประชุมหรือหองบรรยาย (Auditorium) 2.2 หองเรียนและหองปฏิบัติงาน (Classroom and studies) 2.3 หองเก็บของใหยืม (Loan collection) 2.4 หองทํางานเจาหนาที่การศึกษา (Staff offices) 2.5 หองสมุด (Museum library) 3. สวนงานบริหาร (Administrative office) สวนงานบริหารนี้ไดแก หองทํางานผูอํานวยการพิพิธภัณฑสถาน หองประชุม เจาหนาที่ หองทํางานเลขานุการและเจาหนาที่ฝายธุรการสารบรรณ การเงิน ฯลฯ สํานักงาน บริหารควรเปนศูนยกลางใกลกับที่ทํางานภัณฑารักษ นายทะเบียน เจาหนาที่ฝายการศึกษาและ หนวยงานอื่น ๆ บางแหงจัดไวชั้นหนึ่งหรือซีกหนึ่งของอาคารโดยมีทางขึ้นจาก lobby บางแหง มีทางเขาตางหาก บางแหงใชขึ้น mezzanines เปนสํานักงานทั้งชั้น 4. สวนงานฝายภัณฑารักษและหนวยปฏิบัติอื่น ๆ (Curatorial offices and service quarters) 4.1 สํานักงานภัณฑารักษ (Curatorial office) : งานบริหารของพิพิธภัณฑ แบงเปน department ตาง ๆ สํานักงานภัณฑารักษแตละ department ประกอบดวยหองทํางาน ภัณฑารักษ หองศึกษาคนควา คลังเก็บของ (workroom, study room, and study collection) 4.2 หองคลัง (Museum storage):ในทางปฏิบัติอาจทําได 2 วิธี คือ 1 วัตถุเหลือ จัดหรือวัตถุที่เก็บรักษาเพื่อการศึกษาคนควาอาจกระจายหองเก็บอยูตาม department ตาง ๆ ของภัณฑารักษ ภัณฑารักษแตละแผนกจะเก็บรักษาคลังเก็บวัตถุเพื่อคนควาและดูแลรักษาวัตถุ เหลือจากจัดแสดง สวนวิธีที่ 2 คือ มีคลังเฉพาะเปนคลังรวม โดยทั่วไปอยูในความดูแลของ นายทะเบียน หรืออาจมีแผนกคลังดูแลโดยเฉพาะ เก็บรักษาและจัดอยางเปนระเบียบ ใหบริการ เขาศึกษาคนควาได 4.3 สํานักงานทะเบียนและงานเทคนิค (Registrar quarters and technical services) : สํานักงานทะเบียน ประกอบดวย หองรับรอง (receiving room) สํานักงาน (office) หองเก็บของ storage) หองถายรูป (photography workroom) หองชางไม (workshop) และ หองปฏิบัติการสงวนรักษา (conservation workshop) 4.4 หองทํางานฝายเทคนิค (technical workshop) 4.5 หองปฏิบัติการชางทั่วไป (general workshop) 4.6 หองปฏิบัติการฝายศิลป (arts workshop)
9 5. สวนงานรักษาความปลอดภัย (Security services) 6. สวนงานการจัดแสดง (Exhibition halls) หองจัดแสดงมีความสําคัญที่สุดสําหรับพิพิธภัณฑสถานหองนิทรรศการเปนงาน หนาฉากของพิพิธภัณฑสถานโดยแบงเปนนิทรรศการถาวร (Permanent exhibition) และ นิทรรศการหมุนเวียน (Temporary exhibition) 6.1 การแบงเนื้อที่หองจัดแสดง (Exhibition space): ตองคํานึงถึงหนาที่และ ความจําเปนของพิพิธภัณฑสถานแตละประเภท แตละแหง เชนตองแบงเนื้อที่ออกตามประเภท ของวัตถุ แบง เป น ห อ งแสดงถาวร หองแสดงชั่วคราว หรืออาจตองแบง เปน หองแสดงสํา หรับ ประชาชน สําหรับนักเรียน นักศึกษา เปนตน ตองมีตามวัตถุประสงคไวให 6.2 ลักษณะหองจัดแสดง (Exhibition room): มีหลายแบบ เชน หองแสดงแบบ ธรรมดา (Simple chamber) หองแสดงภาพภาพเขียนที่ใชแสงธรรมชาติจากหลังคา (Sky lighted gallery) หองแสดงชนิดไมมีหนาตาง (Windowless) หรือการจัดแสดงแบบ Period room และ พิพิธภัณฑธรรมชาติวิทยาจัดแสดง habitat groups ตองการเนื้อที่มากถาเปนสัตวใหญ เชน ชางหรือยีราฟ ตองเตรียมเนื้อที่ไวเปนพิเศษ 6.3 หองจัดแสดงชั่วคราว (Temporary exhibition hall) 6.4 การจัดกลุมหอง (Zoning) : ตองวางแผนสําหรับการเขาชมเปนไปตามแผนที่ กําหนด คือเขาหองหนึ่งตอไปถึงหองหนึ่งเปนลําดับ จนกระทั่งออกทางเดิม 6.5 การกําหนดเสนทางเดิน (Circulations) 7. สวนอื่นๆ ในพิพิธภัณฑสถาน 7.1 หองพักของคนงาน (Staff room) : คนสวน คนทําความสะอาด ตางประเทศ มีหองเปลี่ยนเสื้อผาและ locker room สําหรับเก็บของและมีที่รับประทานอาหารกลางวันที่ทุกคน นําติดตัวมา 7.2 เรือนพักเจาหนาที่ ไดแก เรือนยาม (Living quarters) : เปนที่อยูของ เจาหนาที่รักษาการเฝาพิพิธภัณฑ 7.3 โรงรถ (Garages) : แมไมมีโรงรถสวนตัวสําหรับเจาหนาที่หรือผูชม
10 • สัปดาหที่ 3 ความหมายของนิทรรศการ นิทรรศการ (Exhibition) โดยทั่วไปคือการจัดนําเอาภาพถาย ภาพเขียน สถิติ แผนภูมิหรือ วัสดุกราฟฟคอื่น ๆ ไดแก ของจริง หุนจําลอง โสตทัศนูปกรณบางประเภท เชน ภาพยนตร ภาพนิ่ง (Slide) จัดแสดงพรอมคําบรรยายประกอบ การอภิปรายและการสาธิตเรื่องตาง ๆ ที่นาสนใจหรือ กําลังอยูในความสนใจของกลุมประชาชนที่เลือกมาเปนเปาหมาย ความแตกตางของคําวานิทรรศการกับการจัดดิสเพลย นิทรรศการมีลักษณะเปนสื่อความหมายสองทาง (Two- way communication) ระหวาง สถาบันผูจัดนิทรรศการกับประชาชนหรือกลุมเปาหมายที่มาชม ผูชมสามารถสอบถามเจาหนาที่ ผูจัดถึงเรื่องราวความเปนไปของการจัดแสดง ส ว นดิ ส เพลย เ ป น การสื่ อ ความหมายแบบเอกวิ ถี ห รื อ แบบทางเดี ย ว (One-way communication) มีความหมายเพียงเพื่อชี้แจงแถลงขาว รายงานเรื่องราวเหตุการณหรือชักชวน ใหผูชมเกิดความสนใจเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หลักการออกแบบการจัดแสดง 1. ความสําคัญของการจัดแสดงนิทรรศการ อยูที่วัตถุ นิทรรศการของพิพิธภัณฑสถาน ตางกับนิทรรศการทั่วไปคือ ตองเนนความสําคัญที่วัตถุ สวนคําบรรยายหรือสวนประกอบอยางอื่น เปนเพียงองคประกอบที่ชวยใหวัตถุจัดแสดงมีความหมายสมบูรณ 2. การให เรื่องราว ความรูเ กี่ยวกับวัตถุจัดแสดงนิทรรศการ องคประกอบที่ทําใหวัตถุ มี ค วามหมาย ความสํ า คั ญ ต อ งมี คํ า บรรยายและการให คํ า บรรยาย การใช เ ทคนิ ค อยู ที่ ความเหมาะสมและเรื่ อ งที่ จั ด แสดง พิ พิ ธ ภั ณ ฑ ส ถานประเภทวิ ท ยาศาสตร ธรรมชาติ วิ ท ยา ตองใชองคประกอบ เชน ตัวหนังสือบรรยาย แผนที่ และอื่น ๆ เพื่อใหเรื่องราวเกี่ยวกับวัตถุจัดแสดง 3. การจัดแสดงนิทรรศการมีวัตถุประสงค คือ ตองมีความสัมพันธตอเนื่องกันใหเรื่องราว ขั้นตอนไปตามลําดับจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง ใหผูชมเขาใจเรื่องราวติดตอกัน ดังนั้นการจัดแสดง ตองมีหัวเรื่องเปนหัวเรื่องใหญ หัวเรื่องยอยมีความสัมพันธกันเปนลําดับ 4. ใหความประทับใจ เพลิดเพลิน ความชื่นชม เห็นความสําคัญและคุณคาของวัตถุให ผูชมยอมรับวาพิพิธภัณฑสถานไดรวบรวมสงวนรักษาและจัดแสดงนิทรรศการนั้น มีคุณคาสูงควร แกการคุมครองรักษาใหคงอยูตลอดไป
11 5. การจัดแสดงนิทรรศการตองถือหลักจัดอยางงาย ๆ คือไมจัดแสดงใหดูซับซอน พิสดาร สับสน ตองวางแผนออกแบบใหเหมาะสม ไมมากไมนอย ถาหากจัดเกะกะ รก ไมเปนระเบียบ หรือ ดูซับซอนทําใหขาดความสําคัญ คนดูจะเบื่อหนาย ขาดความสนใจและไมเกิดความประทับใจ การใชหลักการจัดอยางงาย ๆ แตดูมีความสําคัญ ทําใหเกิดความประทับใจ ใหความรูสึกเห็น คุณคาและไมเบื่อหนายแมจะเขาชมอีกหลายครั้งก็ตาม 6. ใหความปลอดภัยแกวัตถุ ใชวิธีการหรือเทคนิคใดตองพิจารณาการจัดแสดงนิทรรศการ ไมทําใหวัตถุเสียหายและปลอดภัยจากโจรกรรม หนาที่ของพิพิธภัณฑสถานตองคุมครองสงวน รักษาวัตถุใหคงอยูตลอดไป ไมใหเกิดความเสื่อมสภาพเสียหายแตกหัก ไมใหถูกโจรกรรม การจัด แสดงนิทรรศการตองระมัดระวังเรื่องอุณหภูมิ ความรอน ความเย็น ฝุนละออง ความชื้น แสงสวาง อาจทําใหวัตถุเสียหาย ความเด น ไดแก ความเด น ของเสน ทิศ ทาง รู ปแบบ รู ปร า ง ขนาด และสี เพื่ อดึ ง ดูด ความสนใจของผูชม ความสมดุล โดยจัดนิทรรศการใหมีความสมดุลดวยวิธีการสองแบบ คือ 1 การจัดสวนสองขางของแบบที่แสดงใหเทากัน 2 การจัดสวนของแบบที่แสดงใหมีความสมดุลทางดานสายตาหรือความรูสึก ลักษณะของหองจัดแสดงที่นิยม ดังนี้คือ ก. ห อ งแสดงแบบธรรมดา คื อ ห อ งแสดงที่ มี ห น า ต า ง ซึ่ ง อาจเป น หน า ต า งสู ง หรื อ มีหนาตางเพียงดานเดียวแลวใชแสงไฟฟาชวยในการจัดแสดง ข. หองแสดงแบบยกพื้นโลง เปนหองแสดงแบบเกา นิยมสรางกันมากในยุโรปและอเมริกา คือ มีหองโถงชั้นลาง ขึ้นบันไดเปนหองโลงที่สามรถมองเห็นชั้นลางไดตลอด ค. หองแสดงแบบหอประชุมใหญ เปนหองขนาดใหญมีหนาตางทั้งสองดาน ง. หองแสดงแบบเฉลียง คือ จัดเฉลียงใหเปนที่แสดงงาน อาจจัดเปนเฉลียงการแสดง เปนบันไดเวียนจากพื้นชั้นลางจนถึงยอดอาคาร โดยใชแสงธรรมชาติและแสงไฟชวย จ. หองแสดงที่ใชแสงจากหลังคา เชน หองแสดงพิพิธภัณฑศิลปะซึ่งในอดีตจะเปนปญหา มากสํ า หรั บ สถาปนิ ก ในการควบคุ ม ความหนั ก เบาของแสง ในป จ จุ บั น สามารถใช แ สงไฟฟ า ประดิษฐทดแทนได ฉ. หองแสดงแบบไมมีหนาตาง นิยมกันมากในประเทศทางตะวันตก โดยปลอยเนื้อที่วาง ไวสําหรับดัดแปลงจัดนิทรรศการไดตามตองการ
12 รูปแบบการจัดแสดง สามารถแบงออกเปน 4 รูปแบบดังตอไปนี้ ก) การจัดแสดงเพื่อความงาม (Aesthetic the Sensation) ข) การจัดแสดงใหความรู (Instruction Present) ค) การจัดแสดงตามสภาพธรรมชาติ (Natural Context Exhibition) ง) การจัดแสดงตามสภาพจริง (Authentic Setting Present) ประเภทของนิทรรศการ โดยการแบงประเภทนิทรรศการตามกําหนดระยะเวลาการจัดแสดง คือ นิทรรศการถาวร (Permanent exhibition) และนิทรรศการชั่วคราว (Temporary exhibition) แบงเปน 3 ประเภท ตามจุดประสงคของการจัด คือ 1. นิทรรศการชั่วคราวที่จัดแสดงเปนเอกเทศ เปนการกําหนดจัดชวงระยะ เวลาหนึ่ง เพื่อแสดงสิ่งใด ๆ โดยไมสัมพันธเกี่ยวของกับการจัดนิทรรศการประเภทอื่น 2. นิทรรศการชั่วคราวที่จัดแสดงเพื่อเสริมนิทรรศการถาวร จัดขึ้นเพื่อเสริมการแสดงที่มีอยู 3. นิทรรศการหมุนเวียน (Traveling exhibition): เปนนิทรรศการที่จัดขึ้นเพื่อแสดงในที่ หลาย ๆ แหงหมุนเวียนไป โดยมุงอํานวยความสะดวกแกผูชมหรือประชาชนอาจแสดงในรูปของ รถเผยแพรเคลื่อนที่ (Mobile units) การแบงประเภทนิทรรศการตามสถานที่จัดแสดง 1. นิทรรศการในรม (Indoor exhibition) 2. นิทรรศการกลางแจง (Outdoor exhibition) 3. การจั ดแสดงกึ่งกลางแจง (Semi-Outdoor Exhibition) สภาพแวดลอมเหมื อน กลางแจ ง มี การจั ดภูมิ ทัศน เชื่ อมโยงกับพื้น ที่กลางแจง (Landscape) การจัดแสดงประเภทนี้ สะดวกแกการควบคุมกวาแบบกลางแจง แตตองควบคุมชิ้นงานและที่วางใหดี เพราะมีผลตอ การชมงาน การแบงประเภทนิทรรศการตามลักษณะผังทางเดินของผูชม 1. แบบควบคุม (Control typed) คือ การจัดแสดงนิทรรศการโดยกําหนดทางเดิน เขาออกเปนการบังคับใหผูชมเดินตามทิศทางที่กําหนดไว 2. แบบไมควบคุม (Un-control typed) คือ การจัดแสดงนิทรรศการที่เปดโอกาสให ผูเขาชมเลือกชมไดอยางอิสระตามความสนใจ
13 แบงตามจุดมุงหมาย 1. นิทรรศการเพื่อการประชาสัมพันธ (Information) กลาวคือ ตองตั้งเปาหมายแนนอนวา ตองการใหผูชม หรือกลุมประชาชนเปาหมายไดรับอะไร จากการมาชมนิทรรศการ 2. นิทรรศการเพื่อการศึกษา (Education): เพื่อใหความรูกับนักเรียน สามารถจัดใน หองเรียน ภายนอกอาคาร ในอาคาร หรือในมหาวิทยาลัย 3. นิทรรศการเพื่อการสงเสริมการขาย (Promotion): การจัดนิทรรศการเพื่อการสงเสริม การขายของบริ ษั ท หรือ ร า นค า มั ก นิ ย มจั ด ในโรงแรมเพราะสะดวก มี สถานที่ ก ว า งขวางและ เปนที่รูจักของคนทั่วไป สื่อการจัดแสดง (Media) วัสดุกราฟฟค (Graphic) : วัสดุกราฟฟค หมายถึงวัสดุลายเสนหรือสื่อลายเสน ประกอบดวยภาพลายเสน ตัวอักษรและสัญลักษณตาง ๆ เพื่อเสนอเรื่องราว ความรูหรือเนื้อหา สาระให รั บ รู แ ละเข า ใจง า ย รวดเร็ ว และถู ก ต อ งหรื อ เสนอสิ่ ง ที่ เ ป น นามธรรมให เ ป น รู ป ธรรม สามารถดึงดูดความสนใจไดเปนอยางดีจากความ หมายที่นักวิชาการกลาวไวขางตนสรุปไดวา วัสดุกราฟฟคเปนสื่อที่ใชนําเสนอเรื่องราว โดยมีการใชลายเสนเปนองคประกอบหลักสําหรับ การสรางภาพ คําตัวอักษรและสัญลักษณตาง ๆ เพื่อใหผูชม เกิดความสนใจและเขาใจเนื้อหา เรื่องราวดีขึ้น นิยมใชกับงานศิลปกรรมและประกอบการจัดนิทรรศการ วัสดุกราฟฟค แบงเปน 6 ประเภท ดังนี้ 1. แผนภูมิ (Chart): ใชอธิบายความหมายดวยลายเสนและภาพ ประกอบดวย 1.1 แผนภูมิแบบตาราง (Tabular chart) แสดงความสัมพันธระหวางเวลากับ เหตุการณ เชน ตารางเรียน ตารางเวลารถไฟ ตารางกําหนดการตาง 1.2 แผนภูมิแบบอธิบายภาพ (Illustrative chart) แสดงรายละเอียดของภาพ เชน แผนภูมิแสดงสวน ประกอบของสิ่งตาง ๆ โดยใชภาพแสดงรายละเอียด 1.3 แผนภูมิแบบตนไมและลําธาร (Tree chart and stream chart) แสดง รายละเอีย ดใหเ ห็นสวนยอย ๆ ที่ แยกจากตนหรือลําธารเดียวกัน ใชสําหรับการวิเ คราะหหรือ จําแนกประเภท เชน อัตถประวัติความเปนมาของฮิตเลอร 1.4 แผนภูมิองคกร (Organization chart) แสดงความสัมพันธของสายงาน ในหนวยงานหรือองค การ เชน แผนภูมิแสดงการแบงสายงาน 1.5 แผนภูมิแบบเปรียบเทียบ (Comparison chart) ใชแสดงการเปรียบเทียบ ความแตกตางของสิ่งตาง ๆ ระหวางขนาด รูปราง ลักษณะ แนวความคิด ฯลฯ
14 1.6 แผนภูมิแบบตอเนื่อง (Flow chart) แสดงขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงจาก จุดเริ่มตนไปจนจุดสุดทายหรือแสดงกิจกรรมเปนขั้นตอนตามลําดับตอเนื่อง 1.7 แผนภูมิแบบวิวัฒนาการ (Development chart) แสดงพัฒนาการของ สิ่ ง ต า ง ๆ ต อ เนื่ อ งเปน ลํ า ดั บ จากจุ ด เริ่ม ต น ไปจุ ดสุ ด ท า ยลัก ษณะคลา ยแผนภูมิ แ บบต อ เนื่ อ ง แตไมยอนไปจุดเริ่มตนอีก 2. แผนสถิติ (Graph) : แสดงขอมูลเพื่อเปรียบเทียบจํานวนหรือปริมาณตัวเลขที่เปลี่ยนไป ตามกาลเวลา นิยมใชจัดนิทรรศการมีดังนี้ 2.1 กราฟเสน (Line graph) แสดงความกาวหนาหรือเปรียบเทียบความสัมพันธ ของขอมูล ถาใชเปรียบเทียบขอมูลตั้งแต 2 เสนขึ้นไปอาจแสดงใหเห็นความแตกตางดวย สี เสนประ หรือเสนเต็ม 2.2 กราฟแทง (Bar graph) แสดงปริมาณหรือจํานวนของขอมูลดวยแทงสี่เหลี่ยม แตละแทงแทนขอมูลแตละขอมูล โดยความสูงของแทงตางกันตามจํานวนหรือปริมาณของขอมูล ใชสําหรับเปรียบเทียบขอมูลจํานวน 2 - 3 ขอมูล 2.3 กราฟวงกลม (Circle or pie graph) แสดงการเปรียบเทียบจํานวนหรือ ปริมาณดวยภาพวงกลม โดยใชจํานวนปริมาณทั้งหมด 100% เทียบกับจํานวนองศาของวงกลม คือ 360 องศาแบงสวนขอมูลยอยเปนสวน ๆ 2.4 กราฟพื้นที่ (Area graph) แสดงขอมูลเพื่อเปรียบเทียบจํานวนหรือปริมาณ ดวยรูปทรงเรขาคณิต เชน สี่เหลี่ยม สามเหลี่ยม วงกลม ฯลฯ 2.5 กราฟรูปภาพ (Pictorial graph) คือ การใชภาพลายเสนแบบงาย ๆ แสดง ความหมายของขอมูลแทนการใชกราฟแทงเพื่อเปนการกระตุนความสนใจ เชน ใชภาพ 1 ภาพ แสดงแทนคนลานคน 3. แผนภาพ (Diagrams) : เปนวัสดุกราฟฟคที่แสดงระบบการทํางานภายในที่ซับซอน ของสิ่งตาง ๆ ที่ไมสามารถมองเห็นดวยตาใหเขาใจงายโดยใชเสนและสัญลักษณ 3.1 ภาพประชาสัมพันธ (Poster) คือแผนปายมีภาพประกอบคําบรรยายสั้น ๆ ใชสื่อความหมายที่ตองการแสดงเรื่องราวใหเขาใจอยางรวดเร็วโดยไมตองแปลความหมาย 3.2 แผนที่ (Map) ใชแสดงทิศทาง อาณาเขต ลักษณะภูมิประเทศ ฯลฯ โดยใชสี เสน สัญลักษณ และการกําหนดมาตราสวน เพื่อยอระยะทางใหสามารถสื่อความหมายในพื้นที่ จํากัด 3.3 การตูน (Cartoon) คือ การใชภาพลายเสนแทนบุคคล สัตว สิ่งของ ฯลฯ ทํานอง ลอเลียนหรืออารมณขัน เพื่อสื่อความหมายใหเขาใจงายและจดจําไดนาน
15 4. วัสดุสามมิติ (3 dimension) : คือ วัสดุที่มีความกวาง ยาว ลึก นิยมใชจัดนิทรรศการ มี 4 ประเภท ดังนี้ 4.1 ของจริง (Real objects): เปนสื่อที่สามารถดึงดูดความสนใจที่ดี เพราะการ เรียนรูดวยสื่อของจริงทําใหเกิดความเขาใจอยางรวดเร็ว เปนการเรียนรูจากประสบการณตรง 4.2 ของตัวอยาง (Specimens หรือ samples): เปนสื่อที่มีลักษณะเหมือนของ จริง แตกตางกันตรงของตัวอยางเปนเพียงสวนหนึ่งของของจริงหรืออาจเปนของจริงที่ประดิษฐ ขึ้นมา เพื่อเปนของตัวอยางไมใชทําเพื่อประโยชนใชสอยโดยเฉพาะ 4.3 หุนจําลองหรือแบบจําลอง (Model): คือ วัสดุที่จําลองมาจากของจริง โดยขยาย หรือยอสวนจากวัสดุของจริง มีหลายประเภท คือ 1. หุนจําลองแสดงรูปรางลักษณะภายนอก (Solid model) 2. หุนจําลองเทาของจริง (Exact model) 3. หุนจําลองแบบขยายหรือยอสวน (Enlarged and reduce model) 4. หุนจําลองแบบผาซีก (Cut away) 5. หุนจําลองแบบแยกสวน (Build up model) 6. หุนจําลองแบบเคลื่อนไหวแสดงการทํางาน (Working model) 5. อันตรทัศน หรือ ไดโอรามา (Diorama) : หรือเวทีจําลอง คือ ภาพสามมิติแสดง เหตุการณ สถานที่เลียนแบบธรรมชาติที่ใกลเคียงของจริงตามสัดสวนที่เหมาะสม สรางความสนใจ เราใจเปนอยางดี อั น ตรทั ศ น เป น สื่ อ จั ด แสดงโดยการนํ า วั ต ถุ ห รื อ หุ น จํ า ลองขนาดเล็ ก มาประกอบกั บ ฉากหลัง เพื่อใชจําลองใหเห็นบรรยากาศโดยมีความลึก เปนธรรมชาติใกลเคียงความจริงมากที่สุด เทาที่จะทําได การจัดแสดงอาจมีขนาดเล็กไดแก จัดแสดงภายในตูไปจนมีขนาดใหญจัดแสดงเปน หองไดบางครั้งอาจใชเทคนิคกลไก เชน การใช แสง สี เสียง รวมจัดแสดง 6. วัสดุประดับตกแตง : ใชสรางบรรยากาศใหนิทรรศการมีความสวยงาม มีชีวิตชีวา และ กระตุนความสนใจไปสูเนื้อหาเรื่องราว แบงเปน 2 ประเภท 1. วัสดุตกแตงเนื้อหา หมายถึงวัสดุที่ใชเสริมหรือประดับเพื่อใหเนื้อหานิทรรศการ มีความเดนสะดุดตา เพราะการนําเสนอเนื้อหาวิชาการแตเพียงอยางเดียว ไมชวยสรางบรรยากาศ ใหเกิดความตื่นตาตื่นใจ 2. วั สดุ ตกแตง เพื่อสร า งบรรยากาศ เปน การนํา วัสดุ เชน ต น ไม ดอกไม ผ า สี กระดาษสีตลอดจนระบบแสงสีเสียงมาจัดประกอบนิทรรศการเพื่อใหไดบรรยากาศที่สอดคลองกับ เนื้อหาเรื่องราวที่จัดแสดงและมีความสวยงามแปลกตานาดูยิ่งขึ้น
16 สื่อกิจกรรม (Activities) หรือวิธีการ (Methods) หมายถึง การนําวัสดุอุปกรณตาง ๆ จัดแสดง รวมกันโดยใชกิจกรรมหรือวิธีการเปนหลัก ทําใหกลุมเปาหมายรับรูสิ่งตาง ๆ จากประสาทสัมผัส ทั้งหา รวมทั้งมีสวนรวมในการแสดงออกของกิจกรรมนั้น ๆ อาจจัดในรูปของกลุมหรือมวลชนทั่วไป ตามลักษณะของกิจกรรม แบงเปน 3 ประเภท ดังนี้ 1. การสาธิต (Demonstration): เปนการแสดงใหเห็นถึงกระบวนการ ขั้นตอน หรือผลของ การปฏิบัติ โดยใชอุปกรณประกอบ เพื่อสื่อใหเห็นถึงการปฏิบัติจริง 2. เกมส (Games) คื อ กิจกรรมที่มีลักษณะของการแขง ขัน เชิง นัน ทนาการ ผู เล นต อง เคารพกฎกติกา บางครั้งตองใชทักษะไหวพริบปฏิภาณหรือความแข็งแกรงดานรางกาย ฯลฯ 3. ประสบการณนาฏการ (Dramatized experience) คือ การแสดงเพื่อใชสื่อความหมาย ให ผู ช มเข า ใจเนื้ อ หาเรื่ อ งราวที่ นํ า เสนอ เช น การแสดงละครหุ น ดนตรี การแสดงบทบาท (role playing) การแสดงพื้นบาน ไดแก ลิเก ลําตัด หมอรํา มโนราห ฯลฯ สื่อนิทรรศการประเภทอื่น ๆ นอกเหนือจากที่กลาวมาแลว มีสื่ออื่น ๆ ดังนี้ 1. ภาพประกอบ (Illustration) : ใชภาพถายจากของจริงหรือภาพวาด เพราะบางครั้ง ภาพถายของจริงไมสามารถเนนสวนที่ตองการแสดงใหชัดเจน ควรเปนภาพที่งายตอการเขาใจ ตรงกั บ จุ ด ประสงค ที่ ต อ งการสื่ อ ควรมี ข นาดใหญ ให ร ายละเอี ย ดของสิ่ ง ที่ ต อ งการได ชั ด เจน ภาพที่ มี ข นาดใหญเ พี ย งจํ า นวนนอย สามารถสื่อ ความหมาย และดึง ดู ด ความสนใจไดดีก ว า ภาพเล็กจํานวนหลาย ๆ ภาพ 2. สไลด (Slide) : หมายถึงการใชภาพโปรงใสบนแผนฟลมหรือแผนกระจก เพื่อสื่อ ความหมายดวยภาพหรือขอความสั้น ๆ 3. ภาพโปรงใส (Transparencies) : หมายถึง ภาพที่แสงสวางทะลุได อาจเปนภาพวาด หรือภาพถายลงบนแผนวัสดุโปรงใส เชน แผนพลาสติก อาซีเตรท กระจก ฯลฯ โสตทัศนูปกรณประเภทเครื่องฉาย เชน เครื่องฉายภาพยนตร เครื่องฉายสไลด เครื่องฉาย ทึบแสง เครื่องฉายภาพโปรงใส ทีวี และวีดีทัศน โสตทัศนูปกรณประเภทเครื่องเสียง แบงเปน 2 ลักษณะ คือ การกระจายเสียงภายใน อาคาร และการกระจายเสี ย งทั่ ว บริ เ วณงาน ใช สํ า หรั บ ประชาสั ม พั น ธ ง าน เช น การแนะนํ า บรรยาย อธิ บ ายหรื อ เชิ ญ ชวนให ผู ช มรั บ รู เ รื่ อ งราวรายละเอี ย ดของงานนิ ท รรศการว า มี ก าร จัดเรื่องใดและที่ใด สื่อคอมพิวเตอร เปนสื่อที่นิยมใชประกอบการจัดนิทรรศการ สามารถใหรายละเอียดขอมูล ครบถวน เลือกดูตามความสนใจโดยไมจํากัดเวลา การใชสื่อนิทรรศการเพียงอยางเดียว อาจมี ขอจํากัดเรื่องของขนาดพื้นที่ทําใหไมสามารถนําเสนอขอมูลอยางละเอียดครบถวน
17 วัสดุครุภัณฑที่ใชจัดนิทรรศการ ตองมีความมั่นคง แข็งแรง สะดวกตอการเคลื่อนยาย ปองกันการโจรกรรม บางครั้งตอง คํานึงถึงความสามารถควบคุมอุณหภูมิ การติดตั้งในระดับสายตาของผูชมโดยทั่วไปการเลือกใช วัสดุและครุภัณฑสําหรับการจัดแสดงแตละครั้ง สิ่งที่ตองพิจารณา คือ วัตถุประสงคของนิทรรศการ เนื้อหาที่ตองการแสดง หองหรือสถานที่จัดแสดง วัสดุและครุภัณฑในการจัดแสดง แตละเรื่องใช อุปกรณตางกันตามความเหมาะสมกับสิ่งแสดงนั้น ๆ ดังนี้ ปาย : อุปกรณอยางหนึง่ ใชสําหรับแสดงรูปภาพ วัสดุอปุ กรณ ตลอดจนผลงานหรือสินคา ที่ใชในนิทรรศการ ในทีน่ ี้รวมถึงปายนิเทศที่ใชในวงการศึกษาดวย แบงไดดังนี้ 1. ปายชนิดถาวร ไมสามารถเคลื่อนที่ได เชน ปายที่ทาํ ติดกับฝาผนังถาวร 2. ปายชนิดเคลื่อนยายได มักทําเปนแผนเล็ก ๆ เบาพอที่จะยกไปติดตั้งตามที่ตาง ๆ 3. ปายพับไดมวนได มีรูปรางแบบเลมหนังสือขนาดใหญ ใชพลิกดูทีละแผน 4. ปายที่ใชเชือกหรือลวดเปนโครงสรางสําหรับจัดแสดงหนังสือ รูปภาพ วัสดุอื่น ๆ ปายนิเทศ: เปนรูปแบบของสื่อประชาสัมพันธชนิดหนึ่งที่ไดรับความนิยมในวงการ การศึกษา ประโยชนของปายนิเทศ 1. ใช อธิ บ ายเหตุก ารณ สํา คัญ โดยใชเ ป น ปา ยประกาศประจํ า วัน เป น แหลง รวบรวม ขาวสารที่เกิดขึ้นในทองถิ่น ในประเทศและกิจกรรมระหวางประเทศ 2. เพื่อเราความสนใจใหมดวยการใชปายนิเทศประชาสัมพันธกิจกรรมตาง ๆ ปายนิเทศ ที่จัดอยางดีจะกระตุนความอยากรูอยากเห็นใหติดตามปญหาหรือขอความพิเศษในโอกาสตอไป เปนการจูงใจใหอยากอาน อยากศึกษาตอไปอีก 3. เป น การรายงานกิ จกรรมพิเ ศษในโรงเรี ย นหรือชุม ชน เชน แจง รายชื่อ หนัง สือใหม ของหองสมุด แจงขาวสารของชุมชนมีสวนใหผูคนสนใจ และเขาชวยกิจกรรมนั้น ๆ หรือใชเปนสื่อ ประกอบการสอน 4. เปนการสรุปสาระสําคัญของโครงการและทบทวนสิ่งที่ไดเรียนไปแลวในชั้นเรียน
18
ระยะดู
ความสูงหรือขนาดของตัวอักษรหรือวัสดุ
64 ฟุต
2 นิ้ว
32 ฟุต
1 นิ้ว
16 ฟุต
½ นิ้ว
8ฟุต
½ นิว้
ตาราง 2 ความสัมพันธระหวางขนาดตัวอักษร วัสดุจัดแสดงกับระยะการมองเห็น ทางสัญจรกับปายนิเทศ : ขอสังเกตการจัดวางวัตถุจัดแสดงรายละเอียดหรือคําบรรยาย วัตถุดังนี้ 1. วางวัตถุขนานกับขอมูล ผลคือผูชมอาจไมเดินผานชองทางที่กําหนดไว ทําใหผูชม มีความเขาใจนอยกวาที่ควร 2. วางวั ต ถุ เ ป น กลุ ม และวางวั ต ถุ ไ วเ ป น ช ว ง ๆ ทํ า ให ผู ช มสับ สน ไมรู ว า คํ า อธิ บ ายใด เปนวัตถุใด 3. วางขอมูลการบรรยายติดกับวัตถุแตละชิ้นทําใหงายตอการทําความเขาใจและงายตอ การเคลื่อนจุดที่ตั้งใหม 4. จัดสวนพิเศษสําหรับใหขอมูลรายละเอียดแกผูชมที่สนใจอยางจริงจัง แตไมเหมาะ สําหรับผูชมที่ไมสนใจเพราะทําใหรูสึกเบื่อ แผงกั้นสวนและแผงติดงานแสดง: การจัดแผงแสดงคํานึงถึงการตกแตงผนัง พื้นและ เพดานต อ งสั ม พั น ธ กั น ใช ป ระโยชน อย า งสมบู ร ณ ทั้ ง ด า นฉาก ค้ํ า ยั น และเนื้ อ ที่ ว า งสํ า หรั บ จัดแสดงแผงแสดงควรเปลี่ยนแปลงและเคลื่อนที่งาย การจัดวางแผงควรเวนเนื้อที่วางใหสมดุล กับเนื้อที่หองแสดง ควรใชแผงแสดงงานที่มีระบบติดตั้งและรื้อถอนไดสะดวก เหมาะกับนิทรรศการ ที่เคลื่อนยายจัดแสดง และนิทรรศการที่จัดในระยะสั้น แผงติดตั้งงานแสดงเหมาะกับงาน 2 มิติ สามารถจําแนกเปน 2 ระบบ ดังนี้คือ 1. ระบบที่ไมมีตัวยึด เชน ระบบแสดงงานเปนทอเหล็กตอกันหลายเฟรมตั้งอยูโดยวาง สลับทิศทางกัน
19 2. ระบบที่ มี ตัว ยึ ด มี ห ลายแบบเหมาะกั บ งานนิท รรศการระยะสั้ น ในเนื้ อที่จํา กัดไมมี สิ่งอํานวยความสะดวกตอการติดตั้ง แตมีการขนยายและรื้อถอนบอย ควรออกแบบใหมีน้ําหนัก เบา ทนทาน ติดตั้งและรื้อถอนงาย รูปแบบที่ใชกันมากในนิทรรศการชั่วคราว คือ แผงขาสลักรู กุญแจ โตะ : เปนสวนหนึ่งของนิทรรศการที่สรางงาย สามารถถอดเก็บ ปรับใชรวมกับสิ่งติดตั้ง อื่น ๆ โดยใชวิธีตอไปนี้ - ใชแผนไมอัดหนา ¼ หรือ ½ นิ้ว ขนาด 4x8 ฟุต เปนพื้นโตะ ใชโลหะขนาด ¾นิ้ว ประกอบเปนขาโตะ ปรับใหสูงหรือต่ําตามตองการ โตะแบบนี้มีลักษณะคลายโตะธรรมดา ปรับขา โตะใหเอียงเปนมุมประมาณ 20 องศา เหมาะสําหรับติดแสดงวัตถุแบบเรียบ หรืองานฝมือที่ตรึง ไวได - ใชแผนไมอัดหนา ¼ หรือ ½ นิ้ว ขนาด 4X8 ฟุต ปรับตั้งเปนแผงเอน ทําให รับแสง สวางในหองมากเหมาะที่ประชิดฝา นิยมใชมากแตไมเหมาะที่ตองออกมาอยูโดด ๆ กลางสถานที่ หรือตั้งหลังชนกันเพราะไมนาดู สิ่งที่นํามาติดแสดงมักเปนจําพวกของแบน ของเล็กและน้ําหนัก เบา ขอเสียคือเมื่อใชแลวตองซอมหรือทาสีใหม ตูจัดแสดง: การเลือกขนาดของตูจัดแสดงในงานนิทรรศการ แตละครั้งอยูที่ลักษณะของ วัตถุจัดแสดง โดยตูสําเร็จรูปสวนมากมีขนาด 4 ฟุต (1.20 ม.) 6 ฟุต (1.80ม.) 8 ฟุต (2.40ม.) ถาตองการใหมีขนาดตางจากนี้อาจสั่งทําใหมเปนกรณีพิเศษ ควรมีความลึกดานในอยางนอย 2 ฟุต 6 นิ้ ว (0.75ม.) กระจกตู ควรสูง 4 ฟุต (1.20ม.) 4 ฟุต 6 นิ้ว (1.35ม.) หรือ 5 ฟุต 6 นิ้ ว (1.65ม.) ติดไฟนีออนภายในชิดดานหนาตู ฐานลางของตูควรสูงไมเกิน 2 ฟุต (0.60ม.) เพื่อให เด็กเล็ก ๆ มองเห็นภายในตู ตูลักษณะตั้งเปนมุมฉาก เปนตูประเภทที่ใชประโยชนมากที่สุดสําหรับแปลนนิทรรศการ ที่แสดงใหเห็นอาณาบริเวณโดยรอบ เพราะสามารถจัดวางตูใหชิดผนัง สวนดานขางหรือดานหลัง ของตูปดทึบดวยไม ตูชนิดนี้สามารถแขวนวัตถุหรือวางวัตถุไวบนพื้นตู ภายในตูสามารถติดชั้น สํ า หรั บ วางวั ต ถุ และติ ด ป า ยคํ า บรรยายโดยไม ทํ า ให ตู เ สี ย หาย กระจกสํ า หรั บ เป ด ป ด หน า ตู มีลักษณะตั้งเปน มุมฉาก ดา นหนาควรเปน บานที่ปดเปดได อาจติดบานพั บหรือใชบานเลื่อน ถาเปนสิ่งแสดงถาวรไมจําเปนตอง ปด - เปด ชนิดของตูจัดแสดง แบงตามขนาดและลักษณะการใชงาน 1. Table showcase เปนแบบที่เหมาะสําหรับจัดแสดงวัตถุขนาดเล็ก สามารถมองเห็น ไดรอบ แมแตดานบนของวัตถุ
20 2. Equipped showcase with panels and drawers ประกอบสวนตาง ๆ มีการออกแบบ เปนอยางดี ตูแบบนี้สามารถใชประโยชนไดมากเพราะใชเนื้อที่สําหรับจัดแสดงนอย สามารถ ควบคุมแสงได 3. Upright showcase - Free standing showcase เปนตูขนาดใหญ สามารถวางวัตถุจัดแสดงได หลากหลาย ภายในตูอาจแบงเปนหลายชั้น ตูชนิดนี้สามารถใชแบงหองแสดงออกเปนสวน ๆ ถาดานหลังปดทึบใชเปนบอรดจัดแสดงได - Wall showcase แตเดิมเปนตูที่ออกแบบสําหรับจัดแสดงวัตถุที่มีความสูง โดยเฉพาะปจจุบันมีการใชตูชนิดนี้สําหรับวางวัตถุแสดงทั่วไป อาจออกแบบใหติดตั้งลอยตัว แขวน หรือฝงอยูในผนัง - Inset showcase เปนลักษณะการจัดวางตูแสดงเปนกลุม อยูระดับพื้นหรือ เหนือระดับพื้น เหมาะสําหรับหองแสดงที่มีผนังเพียงดานเดียว สามารถเคลื่อนยาย ไมตองตกแตง มากนัก เพียงจัดจังหวะใหลงตัวก็สามารถดึงดูดความสนใจของผูชม ที่เก็บของ : ปกติหองจัดแสดงนิทรรศการสวนใหญมีสวนเก็บตูแสดงสํารองที่ยังไมนํา ออกมาใช ต อ งมีก ารบํ า รุง รั ก ษา (Maintenance) เพื่อให อุป กรณส ว นประกอบต า ง ๆ มี ค วาม แข็งแรง ทนทานสามารถหยิบมาใชไดทันทีที่ตองการ แทนจัดแสดง : เปนแทนจัดแสดงที่สามารถมองเห็นวัตถุแสดงไดเพียงดานเดียวจนถึง ชมไดทั้งสี่ดาน การเลือกแทนจัดแสดงตองคํานึงถึงสิ่งจัดแสดงวามีลักษณะอยางไร ติดตั้งหรือ จัดแสดงลักษณะใดจึงเหมาะสม โดยพิจารณาขนาด ปริมาณของวัตถุจัดแสดงและขนาดของ สถานที่ ถากรณีที่จัดนิทรรศการหลายครั้ง ควรคํานึงถึงแทนจัดแสดงที่สามารถดัดแปลงนําไปใช ไดอีก ลักษณะการจัดแทนจัดแสดง ที่นยิ ม 3 แบบ มีดังนี้ 1. จัดแสดงแบบหันออก (Facing out) เปนลักษณะการจัดแสดงที่ดึงดูดผูชมทั่วไปแตให ความสะดวกกับผูชมที่สนใจไมดีเทาที่ควร การจัดแสดงแบบนี้เหมาะกับหองนิทรรศการขนาดเล็ก 2. จัดแสดงแบบหันออกหาผูชม (Facing outward) เปนการจัดแสดงที่ใหความสะดวก แกผูชมที่สนใจไดดีโดยเฉพาะผูชมที่เปนผูใหญ เพราะสามารถนําเสนอเรื่องพรอมทั้งสามารถจัด เจาหนาที่ใหคําแนะนําอยางใกลชิด 3. แบบผูชมเดินเขาหา (Facing inside) ใหความสะดวกแกผูชมที่เปนเปาหมายเฉพาะ รายโดยการชักชวนใหผูชมกลาเดินเขามาถามและมีการปองกันสิ่งรบกวน เพื่อใหผูชมมีสมาธิ กับการศึกษาวัตถุนั้น
21 ระบบการติดตั้งแทนจัดแสดง มี 5 ระบบ ดังนี้ 1. ระบบการติดตั้งบนพื้นหรือติดกับพื้น นิทรรศการสวนใหญใชระบบการติดตั้งบนพื้น เพราะสามารถปรับใชไดหลากหลาย สวนสําคัญคือ ตัวเชื่อมตอสวนตาง ๆ ของแทนจัดแสดง วิธีการยึดแทนจัดแสดงใหมั่นคงมีหลายแบบ 2. ระบบติดผนัง การติดตั้งแทนจัดแสดงในระบบติดผนัง 3. ระบบติดตั้งหอยจากเพดานหองแสดง ระบบหองจากเพดานอาศัยชองในเพดานและ สายสลิ ง เป น ตั ว ยึ ด มี ที่ ยึ ด เคลื่ อ นที่ ไ ด อ ยู ใ นช อ งบนเพดาน ทิ้ ง ระยะห า งจากเพดานลงมาถึ ง แผงแสดงงาน 1 เมตร 4. ระบบขึงระหวางพื้นกับเพดาน ระบบนี้อาศัยแรงกดและแรงดึง ใชลวดขึงเปยโนขึง ใหตึงโดยยึดกับไมที่ยึดติดกับพื้นและเพดาน ลวดติดกับทอนไมดวยขอเกี่ยวและ eyes screw ใช clip ติดกระดาษใสชองที่เจาะไวบนงานและสวมหวง ดานหนาเปนเพียงปุม หรือ clip เทานั้น 5. ระบบขึงระหวางพื้น เพดาน และผนังโดยอาศัยแรงยกและแรงดึง ยึดแนนดวยการ สานกันของสายหรือการใชตัวยึดสามมิติ การติดตั้งงานศิลปะ 1. งานประติมากรรม สวนใหญมั กใชระบบการติดตั้งบนพื้น (วางบนแทนแสดงงาน) เพราะสามารถปรับใชกับที่ตางกันไดหลากหลาย 2. งานภาพเขี ย น การจั ด แสดงต อ งคํ า นึ ง ถึ ง การตกแต ง ผนั ง พื้ น และเพดาน ไปพร อ ม ๆ กั น อี ก ทั้ ง ยั ง ต อ งสั ม พั น ธ กั น และได ใ ช ป ระโยชน อ ย า งสมบู ร ณ ทั้ ง ในด า นที่ เ ป น ฉากค้ํายั น และเนื้ อที่ วางสํ า หรับจั ดแสดง โดยระบบที่ใชนี้จะเปน แบบยึดดา นหลังของตัว งาน เขากับผนัง เทคนิคการจัดทางสัญจร และการจัดแสดง (Circulation & Exhibition): การสัญจรภายในเปน สิ่งที่ตองใหความสําคัญมากในการออกแบบ เพราะหากไมวางแผนการสัญจรใหดี ผูชมจะหมด ความสนใจกอนจะดูนิทรรศการหมด โดยการสัญจรภายในการจัดแสดงงานจะแบงเปน 3 กลุม ตามการใชงาน ก) การสัญจรเพื่อชมนิทรรศการ จัดใหมีทางเขาชัดเจน มองเห็นไดงาย ทางเดินไม สวนกัน เพราะจะทําใหเกิดความวุนวายและแออัด การทําทางเดินไปในทางเดียวอาจทําใหผูชม เกิดความเบื่อหนาย ดังนั้นจึงมีการแบงเปนสวนยอย ๆ ตามเนื้อหาที่ใกลเคียงกัน เพื่อใหสามารถ เลือกชมเฉพาะสวนได
22 ข) การสัญจรของสวนบริการ เปนการติดตอสําหรับขนสงวัสดุสิ่งของไปยังหองที่สํารอง ไวกอนการแสดง การติดตอเพื่อขอรับบริการของหนวยงานตาง ๆ และบุคคลภายนอก มีการเตรียม ไวดานขางหรือดานหลังของอาคารเพื่อไมใหเกิดการปะปนกับผูชม และสามารถนําไปสูหองแสดง หองประกอบ หรือหองเก็บสิ่งแสดงไดโดยงาย อีกทั้งยังมีลิฟตสําหรับขนงานอีกดวย ค) การสัญจรของเจาหนาที่ มีลักษณะเปนการภายใน จึงออกแบบใหงายตอการสื่อสาร ระหวางเจาหนาที่หลังฉากดวยกันเอง หรือหลังฉากกับหนาฉาก โดยคํานึงเรื่องทางสัญจรเฉพาะ ของเจาหนาที่เปนสําคัญ การจัดทางสัญจร (Circulation): ภายในหองแสดงเมื่อพิจารณาตามลักษณะแกนสัญจร หลักสามารถแบงไดเปน 2 ระบบ คือ 1. Centralized System of Access : ขอไดเปรียบคือความสะดวกตอการควบคุมและ การดูแล กลาวคือ ผูชมถูกชักนําไปตามเสนทาง ขอเสียเปรียบคือถาสิ่งของตาง ๆ ที่จัดแสดงกอน ไมเกิดความประทับใจแกผูชมจะมีผลตอสิ่งแสดงที่ตองการชมโดยเฉพาะ การวางผั ง จั ด ตามเส น ทางเลื่ อ นไหลของผู ช ม เดิ น ตามเส น ทางตามแผนที่ ต ายตั ว จากจุดเริ่มตนถึงจุดสุดทาย อาจหยุดดูเปนชวง ๆ ระบบ Centralized System of Access แบงออกเปนแบบยอย ๆ ดังนี้
ภาพ 4 การจัดหองแบบเขาออกทางเดียว (http://www.thapra.lib.su.ac.th/objects/thesis/fulltext/thapra/Nattaphon_Boonutid/Chapter4.pdf)
23 1.1. Rectilinear Circuit คือ การเคลื่อนที่ชมเปนแนวตรง 1.2. Twisting Circuit คือ เสนทางเดินที่เปนวงจร แบบรอบโถงกลางจากบันได กลางเชื่อมตอระหวางขั้นโดยเฉพาะที่จําเปน ใชแสงธรรมชาติหรือมีพื้นที่หลายชั้น 1.3. Weaving Freely Lay out คือ ผังรูปสานไปมาอยางอิสระ ปกติมักใชทาง ลาดเขาชวยและใชองคประกอบที่นาสนใจเปนตัวชักนํา ผังแบบนี้ผูชมอาจหลงทางถาลักษณะ รูปเลขาคณิตเปนแบบตอเนื่องกันหมด 1.4. Comb Type Lay out เปนการจัดวางผังที่มีทางเดินกลางเปนหลัก มีสวน ใหเลือกชมในเวลาเดียวกัน ทางเขาอาจเปนดานทายดานใดดานหนึ่งหรือมีทางเขาอยูตรงกลาง ผูชมสามารถไปทางซายหรือขวาไดทันทีเปนการเพิ่มขอบเขตแกผูชม 1.5. Chain Lay out เปนการวางผังแบบตอเนื่อง จัดโดยนําหนวยที่แตกตางกัน มาเชื่อมตอกัน 1.6. Fan Shape ทางเขาจากกลางผังรูปพัด การจัดแบบนีท้ ําใหมีโอกาสมากตอ การเลือกชมแตผูชมตองตัดสินใจในการชมเร็ว ดานจิตวิทยา ผูชมไมชอบเพราะรูสึกวาเปนการ บังคับเกินไปและที่จุดรวมจะเปนจุดทีว่ ุนวาย 1.7. Star Shape ทางเขาจากศูนยกลางของผังรูปดาวมีลกั ษณะคลายหวี ผูชม ไมสามารถเคลื่อนไหว ไดสะดวก สามารถแยกออกตางหาก ความสมดุลของการจัดแกนทําใหเกิด ปญหาได 1.8. Block Arrangement มีลักษณะการเขาถึง 2 ลักษณะ คือ ก. เลือกความสะดวกในการจัดแสดงจุดทางเขาอยูตรงกลาง ข. ทางเขาจําเปนตองอยูริมเพื่อสามารถใชพื้นที่จัดแสดงอยางเต็มที่ กลาวโดยสรุป Centralized System of Access เปนระบบที่มที างเขา - ออกทางเดียว จากจุดเริ่มตนวกกลับมาที่จดุ เดิมอีกครั้ง ขอดี - ควบคุมและรักษาความปลอดภัยไดอยางมีประสิทธิภาพ - ใชบุคลากรจํานวนนอย และกําหนดทิศทางการเคลื่อนไหวของ ผูชมไดทั่วถึง ขอเสีย - ผูเขาชมอาจรูสึกวาไมมีอิสระการเดินชม ตองชมตามลําดับ ที่จัด
24 2. Decentralized System of Access: มีทางออกและทางเขาสองทางหรือมากกวา ผูชมอาจไมไดไปตามเสนทางที่กําหนด สามารถเดินไปมาอยางอิสระ ลักษณะเปนและทางเดิน ในใจกลางเมือง (พิพิธภัณฑอาจเปนสวนหนึ่งของตัวเมือง) วิธีนี้ผูชมอาจชมไมครบตอการชม ครั้งหนึ่ง ๆ อาจเขาชมครั้งตอไป ปจจุบันประโยชนดานสังคมจิตวิทยาที่พึงได มิอาจทําใหเกิดผล ทางปฏิบั ติ จากการจั ดองค ประกอบอยางสับสน (จิตวิ ท ยาเกี่ยวกับการเขาชม) ข อเสนอแนะ เกี่ยวกับจุดประสงคทางปฏิบัติ ทฤษฎีและการแขงขันยังมีอยู ในทางปฏิบัติมีลักษณะเปนแบบ “ถนนนิทรรศการ” กลาวโดยสรุป Decentralized System of Access หรือระบบที่มที างเขา - ออกมากกวา 2 ทาง มีอิสระตอการเดินชมโดยที่อาจมีการแยกทางเขาออกเปนทางเฉพาะ ขอดี - มีความนาสนใจตอการจัดแสดง - สามารถแบงกั้นหองทําใหเกิดพื้นที่จัดแสดงมากขึน้ - เกิดการกระตุนใหเดินดูการแสดงอยาง รวดเร็วมากขึ้น ขอเสีย - ผูเขาชมอาจไมรูตําแหนง ควรมี Landmark - เกิดมุมบังไมสามารถมองเห็นหองตางๆ ทําใหดูแลไมทวั่ ถึง
ภาพ 5 การจัดหองแบบทางเขาออกหลายทาง เทคนิคการจัดผังหองจัดแสดง (Exhibition planning) ในพิพิธภัณฑสถานเปนสิ่งที่ตอง พิจารณา เนื่องจากเปนขั้นตอนที่นําเสนอหรือถายทอดเรื่องราวสูผูชม เทคนิคการจัดแสดงหลัก ๆ ที่สําคัญคือ ก) ผังหองจัดแสดงและทางสัญจร : ผังหองจัดแสดงมีความสัมพันธกับทางสัญจรของผูชม เปนปจจัยสําคัญตอการนําผูชมไปสูสวนตาง ๆ ที่จัดแสดง เปนการลําดับเรื่องราวตั้งแตเริ่มตนไป จนจบ ผังของหองจัดแสดงแบงไดหลายลักษณะขึ้นอยูกับขนาด โครงสรางของอาคารที่จัดแสดง Mathews (1991) (อางถึงใน อาทิตยา จันทะวงษ, 2540) แบงหองจัดแสดงของหอศิลปะเปน 6 ลักษณะ ดังนี้
25 1. ผังแบบ Open Plan ไดแก ผังที่มีลักษณะเปนหองกวาง ทิศทางการเดินชม แบบอิสระ (Free Circulation) มีทางเขา - ออกเปนทางเดียวกัน เหมาะสําหรับการจัดแสดง ลักษณะทั่วไป
ภาพ 6 ผังหองจัดแสดงนิทรรศการแบบ Open Plan 2. ผังแบบ Core and Satellites / Enfilade ไดแก ผังที่มีหองหลักอยูตรงกลาง และมี ห อ งยอย ๆ หลายห อ งรายลอ มและเชื่อ มตอกับ หอ งหลั ก ทิศทางการเดิ น ชมแบบอิส ระ (Free Circulation) เดินชมจากหองหลักแลวแยกไปหองยอยแตละหอง (Circulation Control Core Specific Satellites) มีทางเขา - ออกเปนทางเดียวกันเหมาะสําหรับการจัดแสดงนิทรรศการ หลักในหองกลางและการจัดนิทรรศการหมุนเวียนหรือนิทรรศการพิเศษในหองยอย
ภาพ 7 หองจัดแสดงนิทรรศการแบบ Core and Satellites / Enfilade
26 3. ผังแบบ Linear Procession ไดแก ผังที่มีหองหลายหองเรียงรายและเชื่อมตอ กันมีทิศทางการเดินชมแบบกําหนดได (Controlled Circulation) คือ การเดินชมจากหองแรก ไปหองสุดทาย มีทางเขา-ออกคนละทางเหมาะสําหรับจัดแสดงผลงานตามลําดับหรือตามหัวขอ เชน ยุคสมัยของศิลปะประเภทตางๆ เปนตน
ภาพ 8 ผังหองจัดแสดงนิทรรศการแบบ Linear Procession 4. ผังแบบ Loop ไดแก ผังที่มีหองเรียงรายตอกันเปนกลุมมีทิศทางการเดินชม จากหองหนึ่งไปอีกหองหนึ่งจนครบ (Circulation Returns to Entrance) มีทางเขา - ออกทาง เดียวกันเหมาะสําหรับการจัดกิจกรรมแบบรวมศูนยและแบบกระจายไปหองตาง ๆ
ภาพ 9 ผังหองจัดแสดงนิทรรศการแบบ Loop
27 5. ผังแบบ Complex ไดแก ผังที่มีหองหลายหองเรียงรายและเชื่อมตอกันหลาย ลักษณะมีทิศทางการเดินชมขึ้นอยูกับความตอเนื่องของหองตาง ๆ มีทางเขา - ออกทางเดียวกัน เหมาะสําหรับจัดแสดงที่ซับซอนหรือมีการจัดแสดงหลายหัวขอ
ภาพ 10 ผังหองจัดแสดงนิทรรศการแบบ Complex 6. ผังแบบ Labyrinth ไดแก ผังที่มีหองเรียงรายตอกันเปนกลุม มีหองอยูตรงกลาง ทิศทางการเดินชมแบบอิสระ (Free Circulation) มีทางเขา-ออกทางเดียวกันเหมาะสําหรับการ จัดแสดงที่เนนความสัมพันธของเรื่องราวกับผลงานทั้งหมด
ภาพ 11 ผังหองจัดแสดงนิทรรศการแบบ Labyrinth
28 ข) ระยะและพื้นที่จัดแสดง : พื้นที่จัดแสดงสามารถจําแนกเปนพื้นที่ใหญ ๆ ไดแก พื้นที่โลง สําหรับทางสัญจรและพื้นที่สําหรับจัดแสดงงาน ค) ขนาดของพื้นที่จัดแสดง : เปนปจจัยสําคัญสําหรับจัดแสดงในแตละพื้นที่มีความ สัมพันธตอการกําหนดขนาดและจํานวนของงานที่จัดแสดง การจัดที่ดีควรคํานึงถึงความเหมาะสม ระหวางพื้นที่จัดแสดง งานศิลปะที่จัดแสดง ระยะพื้นที่สําหรับการดูและการเดินชม ง) เทคนิคการจัดผังแสดงตามหลักจิตวิทยา เพื่อเพิ่มความนาสนใจใหหองจัดแสดง การพิจารณาจัดแนวสัญจรภายใน ตามหลักจิตวิทยาของมนุษย ดังนี้ 1. แบงเนื้อที่ภายในเปนหองเล็ก ๆ โดยกําหนดทางเขา – ออกสูหองแสดง อื่น ๆ ใหผูชมติดตาม 2. แบงพื้นที่จัดแสดงที่กวาง ๆ ใหเปนมุม กั้นดวยแผงกั้นสวน ทําหนาที่เปน การแนะแนวทางการเดินแบบที่ผูชมรูสึกมีอิสระในการชม 3. ชี้แนวทางเดินโดยการจัดเนื้อที่วางใหผูชมรูสึกเองและติดตามดวยความ เพลิดเพลิน 4. ชั ก นํ า ผู ช มดว ยสิ่ ง ที่นา สนใจเปน ระยะ ๆ ตามกํา หนดจนถึ ง ส ว นสํา คั ญ (climax) จ) ขอบเขตการมองเห็น มนุษยมีขอบเขตการมองที่จํากัดแบบไมตองหันศีรษะ ประมาณ 40 องศา แตความจริงแลวมนุษยสามารถมองเห็นไดกวางถึงประมาณ 120 องศา โดยมุมมอง ทางตั้ ง จะมากกว า มุ ม มองทางนอน ฉะนั้น การพิ จ ารณารูป แบบการจัด วางวั ต ถุ ให สอดคล อ ง สัมพันธกับขอบเขตการมองหรือลักษณะการหันศีรษะของมนุษยจึงมีผลการจัดนิทรรศการดวย เชนกัน
ภาพ 12 การเปรียบเทียบระหวางการหันศีรษะและการกลอกตา
29 ซึ่งจะเห็นไดวาการหันศีรษะงายกวาการกรอกตาพิจารณาดูภาพ ๆ หนึ่งหรือภาพที่จัดเปน กลุม อิริยาบถในการเคลื่อนที่ ที่งายที่สุด คือ การหมุนศีรษะหรือหมุนตัวเพื่อดูภาพอื่น ๆ ตอไป (ผังอันนี้แสดงโดย herdert bayer ในป 1937 แสดงใหเห็นวามนุษยมองดูภาพไดทุกทิศทาง ทั้งดานลางและบน)
ภาพ 13 การมองเห็นของคนสายตาปกติ การแสดงขอบเขตของการมองเห็นของคนสายตาปกติ ประมาณ 120 องศา แตมุมมองที่ผูดู สามารถมองเห็นไดโดยไมตองหันศีรษะ ประมาณ 40 องศา
ภาพ 14 ภาพกําหนดมุมมองทางดานตั้ง
30 การกําหนดมุมมองทางดานตั้งของมนุษยไว 27 องศา เหนือระดับสายตา และ 27 องศา ใตระดับสายตา เพราะเปนมุมมองที่สะดวกสบายที่สุดโดยไมตองกมหรือเงยศีรษะ ที่มา : Architect Data
ภาพ 15 ขอบเขตการมองเห็นวัตถุในระดับสายตาคนปกติที่ไมตองกมศีรษะ
ภาพ 16 ระดับสายตามนุษยตามขนาดของอายุในแนวตั้ง
31
ภาพ 17 ระบบการมองวัตถุในแนวนอนและแนวตั้ง ฉ) รูปแบบของการจัดแสดงนิทรรศการ นิทรรศการที่จัดแสดงในพิพิธภัณฑสถานโดยทั่วไป แบงเปน 3 รูปแบบ ตามลักษณะของสื่อจัดแสดง ไดแก การจัดแสดงที่เปน 2 มิติ, 3 มิติ และการ จัดแสดงที่มีบรรยากาศหอหุม
32 รูปแบบและลักษณะของการจัดแสดงนิทรรศการ รูปแบบของการจัดแสดงนิทรรศการ 1) การจัดแสดงที่เปน 2 มิติ
ลักษณะการจัดแสดง -ใช บ อร ด แสดงข อ มู ล เพี ย งอย า งเดี ย วหรื อ ประกอบวั ต ถุ ผู ช มรั บ รู เ รื่ อ งราวด ว ยการอ า น คํ า บรรยายหรื อ ดู ภ าพประกอบ ไม ส ามารถ เดินผานเขาไปในการจัดแสดง เชน การจัดแสดง ที่เนนวัตถุภายในตูจัดแสดง ภาพเขียน เปนตน
2) การจัดแสดงที่เปน 3 มิติ
- ใ ช บ อ ร ด แ ส ด ง ข อ มู ล ห รื อ วั ต ถุ จั ด แ ส ด ง ประกอบขึ้ น ผู ช มรั บ รู เ รื่ อ งราวด ว ยการอ า น คําบรรยายหรือดูภาพประกอบ สามารถเดินผาน เข า ไปในการจั ด แสดง เช น การจั ด แสดง ประติมากรรมลอยตัว
3) การจัดแสดงที่มีบรรยากาศหอหุม
- เป น การจัด แสดงที่ ผู ช มสามารถรับ รู เ รื่อ งราว ด ว ยการเดิ น ผ า นเข า ไปในพื้ น ที่ จัด แสดงที่ สร า ง บรรยากาศและสภาพแวดลอมหอหุม ไดแกการ จําลองสภาพเหมือนจริง เปนตน
ตาราง 3 สรุปรูปแบบของการจัดแสดงนิทรรศการ และลักษณะการจัดแสดง
33 ขั้นตอนและขอพิจารณาออกแบบนิทรรศการ ขั้นตอน 1) รูจักวาผูชมเปนใคร
ขอพิจารณา ต อ งไม ป ระเมิ น ว า ผู ช มมี ค วามรู ต่ํ า หรื อ สู ง กว า ความเปนจริง 2) เขาใจในมุมมองและความรูสึกของผูชม พยายามมองการจัด แสดงจากอี ก ดา นหนึ่ง เป น มุมมองของผูชมวามีความตองการอะไร โดยไม พยายามคิดแทนหรือเขาขางตนวาผูชมเห็นและ เขาใจในสิ่งเดียวกันกับตนทั้งหมด 3) ลํา ดับตอเนื่องในการออกแบบเสน ทาง เนื้ อ หาควรมี ค วามต อ เนื่ อ งและสั ม พั น ธ กั น เดิ น ของผู ช มและความต อ เนื่ อ งของการ ไม ก ระโดดข า มทํ า ให เ กิ ด ความสั บ สน กํ า หนด เสน ทางเดินและการแบง พื้น ที่การจัดแสดงตอง ถายทอดเนื้อหา มีความชัดเจน มีปายบอกทางเปนระยะ 4) นําผูชมจากพื้นที่จุดหนึ่งไปสูจุดหนึ่งดวย เปนการชักจูงถาผูชมเดินจากจุด ก. ไปจุด ข. มีสิ่ง การสรางจุดดึงดูดความสนใจ นาสนใจที่คุมคาตอการเดินรออยู 5) สื่อสารโดยไมตองใชคําพูด สรางบรรยากาศหรือสภาพแวดลอมแบบสามมิติ ในการสื่อความหมาย อาจเปนสี รูปราง รูปทรง รู ป รส กลิ่ น เสี ย ง สั ม ผั ส ต า งๆ โดยไม พึ่ ง คําบรรยาย 6) ไมยัดเยียดขอมูลจนมากเกินไป ไมพยายามใชคําบรรยายที่เปนตัวหนังสือจํานวน มากที่ ต อ งใช เ วลาอ า นหรื อ บอกเล า เนื้ อ หาที่ มากเกินกวาที่ผูชมรับไดภายในครั้งเดียว ควรใช คําบรรยายตามความเหมาะสมโดยจัดเตรียมสื่อ ชนิดอื่นสําหรับผูชมบางคนที่มีความสนใจศึกษา เนื้อหาลึกซึ้ง ตาราง 4 สรุปขั้นตอนการจัดแสดงนิทรรศการ และขอพิจารณา
34 สัปดาหที่ 4 การออกแบบตกแตงภายในพิพิธภัณฑ (Museum Interior Design Process) การออกแบบพิพิธภัณฑประเภทตาง ๆ มีความตางกันมาก เนื่องจากการแบงตามลักษณะ การบริ ห ารหรื อ เป น เจ า ของ และแบ ง ตามลั ก ษณะของสิ่ ง ที่ ร วบรวมไว ห รื อ ตามแขนงวิ ช า วัตถุประสงคของพิพิธภัณฑ ทําเลที่ตั้ง ตลอดจนกลุมเปหมายที่เขาชมที่ตางกัน ซึ่งปจจัยเหลานี้ มีความสําคัญอยางยิ่งในการออกแบบพิพิธภัณฑ จึงตองมีการวิเคราะหรายละเอียดความเปน ไปไดของพิพิธภัณฑกอน เพื่อศึกษาปญหาและอุปสรรค ตลอดจนจุดแข็งของพิพิธภัณฑ แลวนํา ขอมูลที่ได มาใชในการออกแบบ ซึ่งจะมีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. การวิเคราะหโครงการ (Project Analysis) - ความเปนมา ความสําคัญ และ วัตถุประสงค (History and Objective) - การบริหารจัดการองคกร (Organization) - วั ต ถุ จั ด แสดง (Object) การจั ด แสดง (Exhibition) และส ว นสํ า คั ญ (climax) ของโครงการ 2. การวิเคราะห ที่ตั้ง และสภาพแวดลอมโครงการ (Site Analysis) - ที่ตั้งโครงการ (Site Orientation) - สภาพแวดลอมโครงการ (Physical Environmental) - การเขาถึงโครงการ และ ลักษณะภูมิประเทศ (Approaching and Geography) - ลักษณะทางสถาปตยกรรม และโครงสราง (Architecture and Construction) - การวิเคราะหสภาพแวดลอมภายใน (Interior Environmental) 3. การวิเคราะหการจัดพื้นที่ในโครงการ (Space Analysis) - จัดวางผังหองจัดแสดง (Space Planning) - พื้นที่ภายใน และทางสัญจร(Circulation) - การจัดวางวัตถุจัดแสดง (Exhibition) และจุดเดนของโครงการ (Highlight) - พื้นที่ใชสอยและบริการอื่น ๆ (Function & Service) - จัดระบบตาง ๆ ในพิพิธภัณฑ (Interior Environmental System) 4. การวิเคราะหศึกษา พฤติกรรมผูใชโครงการ (User’s Behavior Analysis) - ผูมารับบริการ (Visitor, Guest) - ผูใหบริการ (Staff, officer) 5. การจัดกิจกรรมและเทศกาล (Event & Activity)
35 ผลงานการออกแบบตกแตงภายในพิพิธภัณฑ เพื่อใหเปนแนวทางการศึกษา เผยแพร ขอมูลขาว สาร เหตุการณตาง ๆ และประชาสัมพันธกิจกรรมของพิพิธภัณฑ ใหกลุมเปาหมาย ไดรับรูและกระตุนเรงเรา หรือเปลี่ยนทัศนคติที่มีตอพิพิธภัณฑไปในทางที่พึงประสงค เพื่อสราง ความบันเทิงและความพึงพอใจแกประชาชนกลุมเปาหมาย โดยเปนตามหลักการของการจัดตั้ง พิพิธภัณฑ ดังนี้ 1.เปนที่รวบรวมเก็บรักษามรดกดานวัฒนธรรมทุกประเภทของชาติไวมิใหเสื่อมสูญ 2. เปนแหลงขอมูลขาวสารทุกสาขาของศิลปวิทยา 3. เปนแหลงการศึกษานอกระบบ เพื่อสนองความตองการของสถานศึกษา นักเรียน นักศึกษาเขามาใชสื่อเหลานี้ไดอยางเสมอภาคกัน ทั้งยังสามารถจัด กิจกรรมพัฒนาเยาวชนใน รูปแบบตาง ๆ 4. เปนที่พักผอนหยอนใจ โดยจัดสื่อการเรียนรูใหนาสนใจ เกิดความเพลิดเพลินในการ เรี ย นรู ตลอดจนจั ด สวนและสภาพแวดล อ มให ส วยงามร ม รื่ น และให บ ริ ก ารเพื่ อ การพั ก ผ อ น เชนเดียวกับสวนสาธารณะทั่วไป 5. เปนแหลงสงเสริมอุตสาหกรรมการทองเที่ยวของประเทศ 6. มุงสงเสริมใหเปนสถาบันการศึกษาเปดอยางแทจริงที่ประชาชนทุกเพศ ทุกวัยสามารถ แสวงความรูดวยตนเองไดตลอดเวลาอยางเทาเทียมกัน ขั้ น ตอนในการออกแบบตกแต ง ภายในพิ พิ ธ ภั ณ ฑ ต า ง ๆ ให มี ป ระโยชน ใ ช ส อยตาม วัตถุ ป ระสงค และเป น สรา งอัตลัก ษณข ององคกรและความงามใหเ กิดขึ้น โดยนั กออกแบบมี การดําเนินการออกแบบดังตอไปนี้ 1. การจัดวางพื้นที่โครงการ (Space Planning) - การจัดวางผังบริเวณ (Zoning) - การวางผังสวนหนา (Front of The House) - การวางผังสวนหลัง (Back of The House) 2. การจัดวางผังตกแตงภายใน (Interior Planning) - การวางผังเครื่องเรือน (Lay out Furniture Plan) - การวางผังพื้น (Floor Plan) - การวางผังเพดาน ไฟฟาและงานระบบ (Electrical and Reflected Ceiling Plan) 3. การเขียนแบบรูปดาน รูปตัด และแบบขยาย (Elevation Section and Detail) 4. การกําหนดวัสดุ และอุปกรณ (Material and Equipment Specification) 5. การเขียนทัศนียภาพ (Perspective View)
36 สรุปขั้นตอนการออกแบบตกแตงภายในโครงการพิพิธภัณฑ (Museum Interior Design Process)
ภาพ 18 ความสัมพันธ ระหวางโครงการ ที่ตั้ง และกลุมผูใชงาน การวิ เ คราะห โ ครงการพิ พิธ ภัณ ฑ โดยแบง เป น 3 ส ว นใหญ ๆ ก อนที่จ ะกํ า หนด Programming คือ 1. โครงการ (Project) หรือองคกร (Organization) มีประเด็นที่ควรพิจารณา ดังนี้ รายละเอียดทีค่ วรนํามาพิจารณา /กําหนดใหชัดเจน การเลื อ กหัว ข อ โครงการ หั ว ขอที่เ ลือ กทํา ควร เลื อ กหั ว ข อ ที่ ต นเองชอบ สนใจ หรื อ คุ น เคย คอนขางดีมากกวาเรื่องอื่น ๆ ดูวามีประเด็นที่นาสนใจดานใด มีประโยชนใน วงกวางกับสังคมหรือไม กําหนดประเภทของพิพิธภัณฑ และอยูในสังกัด หนวยงานใดรัฐหรือเอกชนเปนผูดูแล
ประโยชนที่ได
จะทํ า ให การศึก ษาต อไมย ากลํา บากนัก และ เข า ถึง แหลง ขอมู ล ในการศึก ษาเชิ ง ลึก ไดง า ย กวาเนื่องจากมีความสนใจเดิมอยูแลว โครงการจะมี น้ํ า หนั ก เพี ย งพอที่ จ ะทํ า และ คิดตอยอดไดมากกวา เป น ตั ว กํ า หนดถึ ง กิ จ กรรมที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ใน พิพิธภัณฑนี้ วาจะเปนไปในทิศทางใด ตองให ภาพลั ก ษณ ที่ ดี แ ก owner หรื อ หน ว ยงาน ที่จัดการนั้นดวยหรือไม หรือ เนนการทําเพื่อ การกุ ศ ลโดยไม เ น น กํ า ไร หรื อ เป น แบบ เชิงพาณิชยที่ตองการผลกําไร ตาราง 5 แสดงรายละเอียดของโครงการ และการนําไปใชในการออกแบบ
37 ประโยชนที่ได รายละเอียดทีค่ วรนํามาพิจารณา /กําหนดใหชัดเจน กําหนดรายละเอียดองคกร (Organization) เปนขอมูลที่จะใชในการออกแบบสวน back of อยางละเอียด ทั้งโครงสรางองคกร ระบุตําแหนง the house ทั้งหมด ตั้งแตการกําหนดพื้นที่ที่ แผนก จนไปถึงจํานวนคนใหชัดเจน เหมาะสมกับตําแหนงตาง ๆ การวาง planning ที่บงบอกลักษณะการทํางาน และพื้นที่ที่พอดี จํานวนคนทํางาน การกําหนดนิยามของโครงการ เป น การบอกความเป น โครงการอย า งย อ กระชับ ทําใหเขาใจไดงายที่สุดวา เปนโครงการ ที่ตองการสื่อออกมาแบบใด เชน โครงการที่ เนนการใหขอมูล และความเพลิดเพลินในการ เรียนรูเรื่องของชุมชน การกํ า หนดบทบาท หนา ที่ และวั ตถุ ป ระสงค เป น การกํ า หนดให เ ห็ น ความชั ด เจนของ ของโครงการ โครงการ และสามารถบงบอกถึงกิจกรรมที่จะ เกิดขึ้นตอไปได ตาราง 5 แสดงรายละเอียดของโครงการ และการนําไปใชในการออกแบบ (ตอ)
ภาพ 19 ตัวอยางแสดงผังองคกร
38 2. ที่ตั้งของโครงการ (Site) มีประเด็นที่ควรพิจารณา ดังนี้ รายละเอียดทีค่ วรนํามาพิจารณา /กําหนดใหชัดเจน ที่ตั้งโครงการ มีความเหมาะสม เกี่ยวของกับ ตัวเรื่องที่เลือกทํา ทั้งเรื่องของฟงคชั่นภายใน อาคารเดิม และบริบทที่ตองเกี่ยวของโดยตรง เทาที่เปนไปได สําหรับเรื่องที่เลือกทํา
ประโยชนที่ได
ทํ า ให เ กิ ด เหตุ ผ ลเพี ย งพอในการเลื อ กใช พื้ น ที่ ดั ง กลา ว และสามารถใชประโยชนข องพื้ น ที่ ใ น การเชื่อมโยงกิจกรรม ฟงคชั่นที่จะเกิดขึ้นนี้เขากับ ตัวบริบทโดยรอบได ทําใหไดบรรยากาศที่ user สัมผัสไดจริงเชน การทําพิพิธภัณฑที่เนนเรื่องการ ทําเครื่องปนดินเผา ก็ควรเลือกพื้นที่ที่มีบริบทเดิม รองรับตอกิจกรรมในการทําจริงได ซึ่งอาจตองมี โรงงาน เตาเผา อุปกรณตาง ๆ พรอมอยูกอนแลว หรือการทําพิพิธภัณฑเกี่ยวกับธรรมชาติ พืช สัตว ตาง ๆ ก็ควรเลือก site ที่เปนธรรมชาติหรือเปน สวน/ไร หรืออื่น ๆ ที่มีความเกี่ยวของโดยตรงกับ เรื่องที่ทํา เปนตน ขนาดของอาคาร ให มี ค วามเหมาะสมกั บ การเลือกอาคารที่เล็กเกินไปจะไมสามารถรองรับ โครงการ กิจกรรมตามวัตถุประสงคของโครงการไดทั้งหมด หรื อ การเลื อ กอาคารที่ ใ หญ เ กิ น ไป ก็ จํ า เป น จะตองกําหนดฟงคชั่นการใชง านใหครบทุก ชั้น ขอบเขตงานก็จะกวางเกินไปได รู ป แบบสถาป ต ยกรรมเดิ ม เป น อาคารแบบ เพื่อดูความเกี่ยวของกับโครงการ เชน ยุค สไตล อนุ รั ก ษ ห รื อ ไม หรื อ อยู ภ ายใต ก ารดู แ ลของ ของสถาป ต ยกรรมตรงกั บ ยุ ค ของหั ว ขอ ที่ เ ลื อ ก หนวยงานหรือองคกรใด และเพื่อดูขอกฎหมายวาสามารถเปลี่ยนแปลง อาคารไดมากนอยเพียงใด การเขาถึงของโครงการ ดู ค วามสะดวกในการเข า ถึ ง ของกลุ ม user โดยเฉพาะหลัก ข อ มู ล ด า นกายภาพ ภู มิ ศ าสตร ทิ ศ ทางลม ใหเห็นถึงขอดี ขอเสีย ที่จะนํามาใชในการวางโซน แดด และบริบทขางเคียงวามีผลตออาคารแต ใหเกิดประโยชนสูงสุด และจะมีวิธีแกปญหาพื้นที่ ละสวนอยางไร เดิมอยางไร ตาราง 6 แสดงรายละเอียดที่ตั้งโครงการ และการนําไปใชในการออกแบบ
39 ประโยชนที่ได รายละเอียดทีค่ วรนํามาพิจารณา / กําหนดใหชดั เจน ขอมูลดานศิลปะ วัฒนธรรมของชุมชนละแวก ทําใหสามารถพิจารณาไดวาจะทําโครงการใหมี นั้น วาเปนอยางไร ความกลมกลืน หรือชวยสงเสริมความเปนชุมชน นั้นไดอยางไร ตาราง 6 แสดงรายละเอียดที่ตั้งโครงการ และการนําไปใชในการออกแบบ (ตอ) 3. กลุมผูใชงาน (User) มีประเด็นที่ควรพิจารณา ดังนี้ รายละเอียดทีค่ วรนํามาพิจารณา ประโยชนที่ได /กําหนดใหชัดเจน การกําหนดกลุมผูใชงาน แบงเปน 2 กลุม คือ การให ค า น้ํ า หนั ก ออกแบบให ร องรั บ ผู ใ ช ง าน กลุม user หลัก และกลุม user รอง โดยคิดเปน โดยเนนไปที่ user หลักมากกวา ทําใหทํางาน เปอรเซ็นตใหชัดเจน ออกแบบที่ตอบโจทยไดมากกวา ขอมูลพฤติกรรมของ user ทั้งทางกายภาพ เชน อายุ เพศ ความสูง ดานพฤติกรรม เชน วัยรุน ชอบการไปเที่ ย วและกิ จ กรรมแบบหมู ค ณะ มีความสนใจสั้น ชอบความตื่นเตน แปลกใหม เป น ต น จนไปถึ ง ด า นจิ ต วิ ท ยาได แ ก ความ ตองการ ความชอบ รสนิยม การเขาถึงโครงการของ user
เปนตัวการออกแบบพื้นที่ใหรองรับ user ได อยางเฉพาะเจาะจง เชน กลุมวัยรุนมาเปนหมู คณะตองมาพื้นที่ใหนัดรวมตัวกัน หรือ ผูใหญ ตองมีพื้นที่ใหสูบบุหรี่แยกเปนสัดสวน เปนตน และจะเปนตัวกําหนด activity ที่จะเกิดขึ้นตาม ช ว งเวลาต า ง ๆ รวมถึ ง detail ที่ มี ค วาม เกี่ยวของได เ ป น ตั ว กํ า ห น ด ก า ร เ ลื อ ก site ที่ มี ค ว า ม เหมาะสมกับการเขาถึงโครงการของ user และ พื้นที่รองรับตาง ๆ เชน พื้นที่จอดรถทัวรสําหรับ รถทัศนศึกษาหรือกรุปทัวร เปนตน
ตาราง 7 แสดงรายละเอียดกลุมผูใชงาน และการนําไปใชในการออกแบบ
40 แผนภูมิ User ที่เขามาใชงานในโครงการ
ภาพ 20 แผนภูมิ User ที่เขามาใชงานในโครงการ จากการพิจารณา Site, User, Project รวมกันทั้งหมด แลวนํามาวิเคราะหขอมูลจะเปน ตัวกําหนด Programming ซึ่งนําไปสูการออกแบบพื้นที่ใชสอย (Functional) ตอไป
function
ภาพ 21 Site, User, Project เปนตัวกําหนด Programming
41 ความสัมพันธระหวาง programming ที่เปนกิจกรรมที่เกิดขึ้น และจะเปนตัวชวยกําหนด function ซึ่งเปนพื้นที่ที่รองรับกิจกรรมนั้น ฯ ตัวอยางเชน
ภาพ 22 ความสัมพันธระหวาง programming ที่กาํ หนด function โดยทั้งหมดนี้อาจใชการหา Case study ของโครงการ ที่มีความใกลเคียงกับโครงการ ของตนเองในการพิจารณาถึง function ตาง ๆ ที่ควรมีอยูประกอบดวยกันได
42 การกําหนดแนวความคิดในการออกแบบ (Theme and Conceptual Design)
ภาพ 23 Theme และ Conceptual Design ครอบคลุม Programming จากแผนภาพนี้จะเห็นวา สวนที่ครอบคลุม programming ทั้งหมด คือ Theme และ Conceptual Design โดย Theme คือ ภาพรวมของโครงการ หรือแกนของเรื่อง ที่สามารถใชคํา จํากัดความสั้น ๆ ในการเลาไดโดยภาพรวมนี้จะมีผลตอรูปแบบบรรยากาศของโครงการทั้งหมด และควรเปนคําที่เปนนามธรรมมากกวารูปธรรม เนื่องจากสามารถตีความตอไดกวางมากกวา การกําหนดให theme ที่เปนรูปธรรม เปนวัตถุสิ่งเดียว สวน Conceptual Design คือ แนวความคิดที่เฉพาะเจาะจงมากขึ้น เปนหนวยยอยของ theme ที่สามารถเอามาใชออกแบบในแตละสวน (function ตาง ๆ ) ได ซึ่งแตละ concept ควรมี ความสัมพันธกันหรือมีจุดรวมเดียวกัน ที่ link กันได จะทําใหงานออกมาดูมีเรื่องราว และนาสนใจ มากขึ้น เมื่อไดแนวความคิดทั้งหมดแลว ก็จะมีผลกับการทําโครงการตั้งแตการทํา planning ที่จะ สะทอนถึงแนวความคิดไดตั้งแตตน การทํา design การกําหนดรูปแบบการเขาถึงตัวโครงการ การทํา approachโครงการ วิธีการใชงาน space จนไปถึง detail ปลีกยอยตาง ๆ ที่นอกจาก จะตองอิงตามขอมูลที่ไดวิเคราะหมาทั้งหมดแลว ก็จําเปนจะตองมีกรอบของ theme และ concept design ที่จะทําใหตัวงานมีความเปนเอกลักษณเฉพาะตัวมากยิ่งขึ้นดวย โดยการกําหนด Theme และ Concept design ควรพิจารณาจากจุดเดน ความเฉพาะตัว ของตัวโครงการที่นาสนใจ มาสูการออกแบบตกแตงภายใน หรืออาจมาจากความตองการที่จะ แกปญหาที่มีอยูเดิมก็ไดเชนกัน
43 • สัปดาหที่ 5 ตรวจงานปฏิบัติการออกแบบ เปนรายบุคคล ตรวจแบบครั้ งที่ 1 ตรวจแบบแปลนพรอมรูปดานตามแนวความคิ ดในการออกแบบโครงการ พิพิธภัณฑ ชี้แนะใหนักศึกษาไดฝกใชความคิดสรางสรรคในการแกปญหางานออกแบบ โดยใหเริ่ม ออกแบบจากการศึกษา วิเคราะหขอมูลในเบื้องตน (รายบุคคล) กิ จ กรรมการเรี ย นการสอน/ ปฏิ บั ติ ง าน: ปรั บ แก ไ ขแบบ ปรั บ แก รู ป ทั ศ นี ย ภาพ รูปทัศนียภาพลงสีเขียนมือ 1 รูป ขนาด A3 • สัปดาหที่ 6 ตรวจงานปฏิบัติการออกแบบ เปนรายบุคคล ตรวจแบบครั้งที่ 2 ตรวจแบบแปลนพรอมรูปดานตามแนวความคิดในการออกแบบโครงการ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ ชี้ แ นะนํ า ให นั ก ศึ ก ษาได ฝ ก ใช ค วามคิ ด สร า งสรรค ใ นการแก ป ญ หางานออกแบบ ตรวจรูปทัศนียภาพ กิจกรรมการเรียนการสอน/ปฏิบัติงาน : ปรับแกไขแบบ ปรับแกรูปทัศนียภาพ รูป ทัศนียภาพลงสีเขียนมือ1 รูป ขนาด A3 • สัปดาหที่ 7 ตรวจงานปฏิบัติการออกแบบ รายบุคคล การนําเสนองานหนาชั้นเรียนเฉพาะแบบแปลนประกอบทัศนียภาพที่สมบูรณ ฝกการ นําเสนองาน (ทัศนียภาพเนนการนําเสนองานดวยทักษะการลงสีดวยมือใหสมบูรณ) กิจกรรมการเรียนการสอน/ ปฏิบัติงาน: แบบแปลน, แบบงานระบบ, รูปดาน, รูปตัด, แบบ ขยาย, เลือกรูปดานที่สําคัญ ลงสีไมจํากัดเทคนิค 1 ดาน สงรวมในรูปเลมขนาด A1 • สัปดาหที่ 8 สงงานเวลา 9.00 น. สงงานเขียนแบบที่สมบูรณพรอมรูปทัศนียภาพโครงการพิพิธภัณฑ ตามแบบมาตรฐาน วิชาชีพ ฯ ในรูปเลมขนาด A1 มาตราสวนตามความเหมาะสมไมจํากัดเทคนิคในการเขียนแบบ กิจกรรมการเรียนการสอน/ ปฏิบัติงาน : นําเสนอแบบโครงการพิพิธภัณฑ ที่ครบถวนสมบูรณเปน รายบุคคล
44 •
ตัวอยางงานนักศึกษา งานออกแบบตกแตงภายในพิพิธภัณฑแอนิเมชัน่ ไทย โดย นางสาวนันทนัช อมรพันธ (04520023)
ภาพ 24 พิพธิ ภัณฑศิลปะรวมสมัย Thai Cartoon Animation Museum พิพิธภัณฑประเภท : ศิลปะรวมสมัย นิยาม : เปนพิพิธภัณฑที่บอกเลาเรื่องราว ประวัติ ความเปนมาและความสําคัญของ การตูนแอนิเมชั่นไทย รวมทัง้ เปนศูนยรวม (community) ใหมสาํ หรับ ผูสนใจหรือชืน่ ชอบการตูนแอนิเมชัน่ ไทย บริหารจัดการโดย : เอกชน ที่มาและความสําคัญ : ในปจจุบันการตูนแอนิเมชั่นนับเปนสื่อความบันเทิงที่บงบอกถึงความคิดสรางสรรค และความกาวหนาทางเทคโนโลยีที่หลาย ๆ ประเทศใหความสําคัญ เนื่องจากเปนสื่อที่ทุกคน เขาถึงงาย เปนที่นาจดจํา และสามารถถายทอดความเปนชาตินั้น ๆ ผานงานแอนิเมชั่นไดงาย และยั ง เปน อุ ต สาหกรรมเชิง สร างสรรค ที่เ ปน ที่ ส นใจในวงกว า ง แต ห ากมองในแง ข องการตู น แอนิ เมชั่ นที่ ทําโดยคนไทยแลว แม จะมีฝมื อทัดเทียมตางประเทศ แตก็ยังขาดการสนับสนุน ที่ เพียงพอ ทั้งจากภาครัฐที่ไมมีนโยบายสนับสนุนจนไปถึงภาพ ลักษณที่คนไทยเองมีตอวงการ การตูนแอนิเมชั่นไทยดวยกัน วายังคงไมนาสนับสนุนเทาของตางประเทศ
45 ดังนั้นโครงการนี้จึงเกิดขึ้น เพื่อเนนใหเยาวชน คนรุนใหม ผูที่มีความสนใจเรื่องการตูน แตเดิม ไดทราบถึงแงลึกของแอนิเมชั่นโดยเฉพาะประวัติความเปนมาและวิธีการผลิตออกมา ใหม ากขึ้ น เพื่ อ เปน การกระตุ น ความคิ ด สร า งสรรค และทํ า ใหเ ห็น คุณค า ของผลงานคนไทย ตั้ ง แต ใ นอดี ต จนถึ ง ผลงานในป จ จุ บั น มากขึ้ น รวมทั้ ง การให ค วามรู ต อ ยอดสํ า หรั บ ผู ที่ ส นใจ ศึกษาตอ ทั้งนี้เพื่อใหเปนการเสริมสรางความแข็งแรงของวงการแอนิเมชั่นไทยและใหเกิดเปน community ใหมของผูที่รักและตองการสนับสนุนแอนิเมชั่นไทยตอไปอยางยั่งยืน วัตถุประสงค : 1. เพื่อเปนแหลงรวบรวม อนุรักษ เผยแพร การตูนแอนิเมชั่นไทยยุคเกา รวมทั้งเชิดชู ประวัติความเปนมาของบุคคลที่มีผลตอวงการแอนิเมชั่นไทยในอดีตจนถึงปจจุบัน 2. เพื่อเปนแหลงใหความรู ความเขาใจ และใหความเพลิดเพลินดวยแอนิเมชั่นไทย 3. เพื่อเปนแหลงแลกเปลี่ยนความรู ทั้งจากการศึกษาดวยตนเอง ศึกษาแบบกลุม และการ แลกเปลี่ยนความรูดวยการรับชมงานตางประเทศ 4. เพื่อปลูกจิตสํานึกใหเกิดความภูมิใจในผลงานของคนไทย ขอบเขตของโครงการ : 1. จัดแสดงนิทรรศการถาวร รวบรวมประวัติความเปนมาของแอนิเมชั่นไทยตั้งแตอดีต ถึงปจจุบัน การแสดงวิธีการทําแอนิเมชั่นดวยกลไกอยางงาย โดยนําเสนอผานสื่อและเทคโนโลยี ตาง ๆ ที่ทันสมัย 2. จัดนิทรรศการหมุนเวียน 3. บริการดานการศึกษา มีพื้นที่สําหรับทํากิจกรรม workshop การจัดสัมมนา การเปดตัว ภาพยนตร แ อนิ เ มชั่ น ใหม ๆ การชมภาพยนตร แ อนิ เ มชั่ น หมุ น เวี ย นทุ ก สองสั ป ดาห และการ ใหบริการหองสมุดมัลติมิเดีย 4. บริการดานสาธารณะ เชน รานอาหาร เครื่องดื่ม และรานขายของที่ระลึก
46
ภาพ 25 การสรุปเนื้อหา เพือ่ ความเขาใจกอนการทํางาน
ภาพ 26 อาคารสํานักงานบริษัท Imagimax ถนน นราธิวาสราชนครินทร
47 ขอมูลเกี่ยวกับตัวอาคารเดิม: อาคารสํานักงานและสถานศึกษา เกี่ยวกับ Animation ซึ่งเปนอาคาร ค.ส.ล. สูง 3 ชั้น และ 5 ชั้น ทางเจาของโครงการตองการใหอาคารมีลักษณะเรียบงายสงบนิ่ง แตทันสมัยและแสดง Technology ตอบรับงาน Animation อาคารสํานักงาน Animation & Design Studio เปน โครงการที่ตั้งอยูบนถนน นราธิวาสราชนครินทร เนื่องจากพื้นที่ หนาโครงการมีหนากวาง ซึ่งเปน ขอไดเปรียบของพื้นที่ ประกอบกับในพื้นที่โครงการมีตนไมหนาใหญ เสนผาศูนยกลางไมต่ํากวา 30 เมตร จึงเปนโจทยสําคัญในการออกแบบอาคารใหสอดคลองกับสภาพแวดลอม และตอบรับ กับความตองการของเจาของโครงการ โดยสถาปนิกไดออกแบบอาคารใหมีลักษณะที่เรียบงาย แตทันสมัยโดยนําอาคาร Animation Auditorium มาอยูหนาโครงการ ซึ่งอาคารนี้มีแนวความคิด ในการใชกระจก Privacy Glass มาใชในสวนจอดโรงภาพยนตร สําหรับ animation ทําใหสามารถ ชมงานและการแสดงไดทั้งภายในและภายนอก ซึ่งดึงดูดความสนใจและสงเสริม Approach โครงการ สวนอาคารสํานักงานและอาคารเพื่อการศึกษาและ Studio ถูกจัดไวในสวนหลังโครงการ เพื่อความสงบและการเขาถึงไดจากทางดานหลังโครงการ แรงบันดาลใจในการออกแบบไดมาจากที่วางแบบสถาปตยกรรมญี่ปุน ที่มีความเงียบ สงบนิ่ง รูปทรงกรอบและเปลือกของอาคารรวมกับวัสดุในการใชสอยที่ดูเปนธรรมชาติ คอนกรีต เปลือยผิว พื้นไม และผนังหินแกรนิต เปนเสมือนกรอบหลักของอาคาร ที่แสดงสัจจะของธรรมชาติ ในขณะเดียวกันไดหอหุมอาคารสวนแสดง งาน Animation ที่มีพื้นที่เอนกประสงคในการจัด กิจกรรมที่เปลี่ยนไปตามกาลเวลา และสามารถแสดงผลงานที่มีสีสัน โดยใชระบบ Technology ของกระจก Privacy glass มาเปนผนัง screen จอใหญที่ฉายและเปด Approach แกถนน นราธิวาสราชนครินทร ซึ่งดึงดูดความสนใจแกผูผานไปมา รายละเอียดที่ตั้งโครงการ อยูที่ถนนนราธิวาสราชนครินทร ตัดกับถนนพระราม 3 และ ถนนสาธร เขตยานนาวาและตอเนื่องเปนพื้นที่วางเปลาติดกับโครงการ อาณาเขต ทิศเหนือ ติดกับพื้นที่วางเปลาและอาคารพาณิชยเอกชน ทิศใต ติดกับโกดังเก็บสินคาเอกชน ทิศตะวันออก ติดกับถนนนราธิวาสราชนครินทร ทิศตะวันตก อาคารสิทธิผลแมนชั่นและบานพักอาศัย
48 แผนที่แสดงทีต่ ั้งของตัวโครงการ
ภาพ 27 ที่ตั้งของตัวโครงการ การเขาถึงโครงการ สําหรับผูที่ใชรถยนตสวนตัว สามารถเขาถึงไดสะดวกเนื่องจากโครงการอยูติด ทางรถยนต กับถนน นราธิวาสราชนครินทร นอกจากนี้ยังมีรถประจําทางและรถสองแถว สีแดงแลนผาน ทางเทา ดานหนาของโครงการมีทางเทาเลียบติดถนนนราธิวาสราชนครินทรโดยตลอด
ภาพ 28 อาคารและบริเวณขางโครงการ
49 โครงสรางของอาคาร อาคาร imagimax studio โครงสรางเปน ค.ส.ล. คอนกรีตเสริมเหล็กระบบเสาคาน ระดับ พื้นถึงฝาเพดานของอาคาร imagimax มีทงั้ หมด 5 ชัน้ ชั้นที่ 1 floor to floor 3.25 เมตร ชั้นที่ 2 floor to floor 4.50 เมตร ชั้นที่ 3 floor to floor 4.50 เมตร ชั้นที่ 4 floor to floor 6.00 เมตร ชั้นที่ 5 floor to floor 2.90 เมตร ชวงเสาประมาณ 8.40 เมตรและความกวางของอาคารกวาง 100 เมตร ขอดี
ขอเสีย
- อาคารมีทางเขาออก 2 สองทางสะดวกในการเขาและการขนสง - พื้นที่โดยรวมของโครงการสามารถทํากิจกรรมเพื่อสงเสริมภาพลักษณของโครงการ และสามารถพัฒนาตอไปไดในอนาคต - อาคารมีความโดดเดนที่สถานที่ตั้งเนื่องจากมีพื้นที่โลงรอบอาคารสามารถสังเกต ไดงายและทําใหอาคารมีทัศนียภาพที่สวยงาม - ตัวอาคารมี function ที่เหมาะสมกับตัวโครงการที่เลือกทําโดยตรง - ภายในอาคารมีชองโลงเปดจากชั้น 1-5 ทําใหมีแสงผานเขามาในโครงการเพิ่ม ความโปรงใหกับตัวอาคาร - ตัวอาคารมีที่จอดรถชั้นเดียวภายในชั้นที่ทําใหอาจตองทําที่จอดรถเพิ่มเติมตอ ความตองการในภายหนา - สวนดานหลังโครงการติดกับโครงการโกดังเก็บสินคาของเอกชนมีการขนสงดวย รถบรรทุ ก ขนาดใหญ ทํ า ให อ าจเกิ ด ความไม ส ะดวกบ า งกั บ ทางเข า ออกของ โครงการ
50 • USER กลุมผูใชงาน
ภาพ 29 กลุมผูเขาใชพิพธิ ภัณฑ •
Theme & Concept Design
ภาพ 30 Theme & Conceptual Design
51 •
Zoning
ภาพ 31 Zoning ชั้น 1
ภาพ 32 Zoning ชั้น 2
52
ภาพ 33 Zoning ชั้น 3
ภาพ 34 Zoning ชั้น 4
53
Lay-out Furniture Plan
ภาพ 35 Lay-out Furniture First Floor Plan
ภาพ 36 Lay-out Furniture Second Floor Plan
54
ภาพ 37 Lay-out Furniture Third Floor Plan
ภาพ 38 Lay-out Furniture Fourth Floor Plan
55 Perspective view
ภาพ 39 Lobby Hall Perspective View
56
ภาพ 40 Overall Exhibition Perspective View
57 พิพิธภัณฑประวัติศาสตรถนนเยาวราช (HISTORY OF YAOWARAJ ROAD MUSEUM) โดย นางาสาวธาริกา องคสิริมีมงคล รหัส 04520019
ภาพ 41 Overall YAOWARAJ Road พิพิธภัณฑประเภท นิยาม
บริหารจัดการโดย
: ประวัติศาสตรและโบราณคดี : เปนพิพิธภัณฑที่บอกเลาเรื่องราวในอดีต ประวัติความเปนมาและ ถายทอดเนื้อหาความสําคัญของถนนเยาวราชใหผูคนในปจจุบันไดรู รูจักและเขาใจ : เอกชน โดยสมาคมชุมชนยานเยาวราช
58 ที่มาและความสําคัญ : เนื่องจากผูคนในปจจุบันทั้งคนไทยและชาวตางชาติที่มาเที่ยวถนนเยาวราชนั้น ถาถามวา ไปเยาวราชทําไมกัน สวนใหญจะใหคําตอบวาไปเพื่อลองลิ้มชิมรสอาหารรสเด็ดยานเยาราชใน ชวงกลางคืนกัน แตผูคนทั้งหลายนั้นตางไมทราบถึงประวัติสาสตร ความสําคัญ ทีมีคุณคาของ ถนนเยาราชนี้เลย วาถนนเยาวราชนั้นเปนแหลงชุมชนชาวจีนและชาวไทยเชื้อสายจีนเปนจํานวน มาก เปนถนนประวัติศาสตรที่มีประวิติความเปนมาเกาแกรวม 200 กวาปที่รวมประวัติศาสตร มาพรอมกับการสรางกรุงรัตนโกสินทรนี้ ทั้งจัดเปนยานธุรกิจการคา การเงิน การธนาคาร ราน ทอง ภัตตาคาร รานอาหาร รานคา ฯลฯ จนไดชื่อวาเปนถนนสายทองคํา และยังไดรับการกลาง ขานวาเปน “ถนนมังกร“ เปนแหลงเผยแพรศิลปวัฒนธรรมจีน ทั้งยังแสดงถึงความมีสัมพันธอันดี ของชาวจีนและชาวไทย ดังนั้น จึงจัดทําโครงการเสนอแนะในการออกแบบพิพิธภัณฑประวัติศาสตรถนนเยาวราช นี้เพื่อเปนสถานที่ที่ไดบอกเลาเรื่องเลาในอดีตใหผูคนในปจจุบันไดตระหนักถึงคุณคาของชุมชน ยานนี้อยางแทจริง รวมทั้งใหคนที่อาศัยในชุมชนยานเยาวราชนั้นไดภาคภูมิใจในสถานที่และ บรรพบุรุษผูบุกเบิกดวย วัตถุประสงค : 1. เพื่อเผยแพรความรูทางประวัติศาสตร ความสําคัญในอดีตจนถึงปจจุบัน ของยาน เยาวราช 2. เพื่อเปนแหลงใหความรู ความเขาใจ สําหรับการนําไปประยุกตใช 3. เพื่อใหลูกหลานชาวจีนในชุมชนยานเยาวราชไดภาคภูมิใจในสถานที่แหงนี้ และบรรพ บุ รุ ษ ผู บุ ก เบิ ก ความเจริ ญ ทั้ ง ยั ง ให ต ระหนั ก ถึ ง พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ของแผ น ดิ น ไทยและ พระมหากษัตริยไทยทุกพระองค 4. เพื่อสงเสริมการทองเที่ยวยานเยาวราชใหมีความสุข สนุกสนาน พรอมไดความรู ขอบเขตของโครงการ 1. จัดแสดงนิทรรศการถาวร รวบรวมประวัติความเปนมาของถนนเยาวราชในชวงแผนดิน กรุงรัตนโกสินทร ทั้งในรูปแบบเรื่องเลา บันทึก โมเดลจําลอง โมเดลเทาจริง และการจําลอง บรรยากาศความเจริญของถนนเยาราชในอดีต โดยนําเสนอผานสื่อและเทคโนโลยีตางๆดวย 2. จัดนิทรรศการหมุนเวียน กิจกรรมพิเศษตาง ๆ ในชวงเทศกาลพิเศษเชน วันตรุษจีน เทศกาลกินเจ 3. บริการดานสาธารณะ เชน รานคาเฟขายเครื่องดื่มและอาหารวาง รานขายของที่ระลึก
59 User Analysis
ภาพ 42 กลุมผูใชโครงการ User หลัก 1. คนไทยที่มาเที่ยวยานเยาวราช 40 % : คนไทยที่มาเที่ยวยานเยาราชและพื้นที่ ใกลเคียง เชน สําเพ็ง คลองถม สะพานเหล็ก เวิ้งนครเกษม ฯลฯ ทั้งกลางวันกลางคืน ทั้งชวง วันเวลาปกติและชวงเทศกาล 2. คนตางชาติที่มาเที่ยวยานเยาวราช 30 % User รอง 3. กลุมนักเรียน นักศึกษา เด็ก 15 % : ที่เดินทางมาทํารายงานหรือมายานการคา ใกลเคียง รวมทั้งที่มาเที่ยวกับครอบครัว หรือกลุมเพื่อนกันเอง 4. คนในชุมชนยานเยาวราช 15 % : ผูอยูอาศัย คนมาคาขายในยานเยาวราชและพื้นที่ ใกลเคียง .
60 Site Analysis แหลงพืน้ ที่ใกลเคียงยานเยาวราชที่เปนแหลงเศรษฐกิจสําคัญ
ภาพ 43 อาคารและบริเวณโดยรอบโครงการ
61 Site Location Analysis
ภาพ 44 การวิเคราะหที่ตงั้ โครงการ
62 ขอดีของ site – location 1. ตั้งอยูบริเวณหัวถนนเยาวราชเปนเสนทางสัญจรหลักที่เขาสูถนนเยาวราช สามารถเห็น โครงการไดอยางโดดเดนและชัดเจน 2. การเขาถึงโครงการไดอยางสะดวก หลากหลายทาง ดังนี้ - จากรถไฟฟาใตดิน สถานีหัวลําโพง สามารถเดิน หรือ นั่งรถประจําทางสาย 1 , 4 , 25 , 40, 53, 73, 507, 529, 542 ปายรถประจําทาง หรือ รถตุก ๆ รถแทกซี่ - จากปายรถประจําทางถึงตัวโครงการ ระยะทางประมาน 20 เมตร - โดยรถยนตสวนตัว สามารถจอดภายในโครงการได หรือในที่จอดรถตลอดถนนเยาราช - โดยข า มฝาก ที่ ท า น้ํ า ราชวงศ - ท า ดิ น แดง ที่ ป ลายสุ ด ถนนเยาวราชซึ่ ง สามารถ เดินชมบรรยากาศถนนเยาวราชเรื่อยมาจนถึงตัวโครงการ - โดยเรือโดยสาร ที่ทาน้ํากลมเจาทา บริเวณตลาดนอย 3. โครงการตั้งอยูบนถนนเยาวราช สามารถเรียนรูไดในสถานที่จริง สะทอนถึงวิถีชิวิต ของคนในปจจุบัน 4. สภาพแวดลอมนั้น มี สิ่ง อํานวยความสะดวกอย า งครบครัน ทั้งความบั น เทิง ด า น อุปโภค บริโภค เชน ตลาดสด, ตลาดคาขายแหง, โรงพยาบาล, สถานีอนามัย, สถานีตํารวจ, ศาลเจา, วัดวาอาราม, รานคามากมายและหางขายทองเปนตน
ภาพ 45 แผนที่โครงการ
63
ภาพ 46 การบริหารองคกร Organization
64
ภาพ 47 แผนผังองคกร Organization Charts
65 Programming
ภาพ 48 การกําหนด Theme และ Conceptual Design จากนิยามของโครงการ
เปนพิพิธภัณฑที่บอกเลาเรือ่ งราวในอดีต ประวัติความเปนมาและ ถายทอดเนื้อหาความสําคัญของถนนเยาวราชใหผูคนในปจจุบันได รูจักและเขาใจ
66
ภาพ 49 แผนผังการจัดพื้นที่ใชสอย Functional Diagram
67 แนวความคิดในการออกแบบ
ภาพ 50 Mood of Theme and Conceptual Design การจัดวางผังบริเวณ Layout Zoning 1 st floor : office 2 nd floor : information , lobby , souvenir shop , café Temporary exhibition 3 rd floor : permanence exhibition
68 การจัดวางผังบริเวณ Zoning
ภาพ 51 Layout Zoning 1 st Floor Plan
ภาพ 52 Layout Zoning 2 nd Floor Plan
69
ภาพ 53 Layout Zoning 3 rd Floor Plan
ภาพ 54 Layout Zoning 4 th Floor Plan
70 การจัดวางเครื่องเรือน Layout Furniture plan
ภาพ 55 Layout Master Plan
ภาพ 56 Layout Furniture 1 st Floor Plan
71
ภาพ 57 Layout Furniture 2 nd floor plan
ภาพ 58 Layout Furniture 3 rd floor plan
72
ภาพ 59 Plan - space - circulations: Dragon movement วัสดุ (Material)
ภาพ 60 วัสดุที่ใชในโครงการ
73 ทัศนียภาพ Perspective view
ภาพ 61 ทัศนียภาพของ lobby, information, Exhibition
74
ภาพ 62 Interior perspective Views of Permanent Exhibition
75 พิพิธภัณฑวาวไทย (THAI TRADITIONAL KITES MUSEUM) โดย นายธนชัย จัน่ จํารัส รหัส 04520015 พิพิธภัณฑประเภท : ประวัติศาสตรและโบราณคดี นิยาม : เปนพิพธิ ภัณฑที่บอกเลาเรื่องราว ประวัตคิ วามเปนมาและถายทอด เนื้อหาความ สําคัญของวาวไทย บริหารจัดการโดย : รัฐบาล โดยกระทรวงวัฒนธรรม ที่มาและความสําคัญ : ภาพ 63 วาวจุฬา ว า วนั้ น เป น สิ่ ง ที่ ค นไทยคุ น เคยกั น มานาน ตั้ ง แต ส มั ย สุ โ ขทั ย ซึ่ ง มี ป ระวั ติ ศ าสตร อั น ยาวนานกวา 700 ป เปนสิ่ง ที่คนไทยควรภาคภูมิใจ นอกจากนี้ยังเรียกไดว าประเทศไทยเปน ประเทศเดียวที่มีการแขงขันวาวจุฬา-ปกเปา มีกฎ-กติกาที่แนชัด ซึ่งในปจจุบัน เด็กรุนหลังๆ เริ่มไม รูจักกีฬาชนิดนี้กันแลว และเริ่มหาดูไดยาก ดังนั้น จึงจัดทําโครงการเสนอแนะในการออกแบบ พิพิธภัณฑวาวไทยขึ้นเพื่อเปนการอนุรักษศิลปะ การละเลนพื้นบาน และเอกลักษณของชาติใหคง อยูตลอดไป วัตถุประสงค : 1. เพื่อเปนแหลงรวบรวม อนุรักษ เผยแพร วาวไทย รวมทั้งประวัติความเปนมา เรื่องเลา, บันทึกและจดหมายเหตุตาง ๆ 2. เพื่อเปนแหลงใหความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับศิลปะ ภูมิปญญาและคุณคาของวาวไทย 3. เพื่อเปนแหลงอนุรักษเอกลักษณกีฬาวาวจุฬา-ปกเปา ที่มีแหงเดียวในโลก 4. เพื่อปลูกจิตสํานึกใหเกิดความภูมิใจในชาติพันธุ 5. เพื่ อ เสริ ม สร า งความสามั ค คี ปรองดอง ความมี น้ํ า ใจนั ก กี ฬ า เสริ ม สร า งสถาบั น ครอบครัวใหเขมแข็ง ขอบเขตของโครงการ 1. จั ดแสดงนิท รรศการถาวร รวบรวมประวัติค วามเป น มาของว า วไทย ทั้ง ในรูป แบบ เรื่องเลา บันทึก จดหมายเหตุ วาวไทยในภาคตางๆ สมัยโบราณ - ปจจุบัน รวมถึงภาพวาวโดน นําเสนอผานสื่อและเทคโนโลยีตาง ๆ 2. จัดนิทรรศการหมุนเวียน กิจกรรมพิเศษตาง ๆ ในชวงเทศกาลพิเศษ เชน วันเด็ก วันพอ วันแม เปนตน 3. บริการดานการศึกษา มีพื้นที่สําหรับทํากิจกรรมสําหรับเด็กนักเรียน - บุคคลทั่วไป ครอบครัว ผูทุกพลภาพ และผูสูงอายุ กิจกรรมเชน ประดิษฐหรือเพนทวาวเลนเองหรือนําไปตอ ยอดเปนอาชีพ
76 4. บริการดานสาธารณะ เชน รานอาหาร เครื่องดื่ม รานขายของที่ระลึก รวมถึงรานขาย และเชาวาวดวย PROGRAMMING PROJECT : พิพิธภัณฑวา วไทย SITE : สวนลุมพินี อาคารลุมพินีสถาน USER : ประชาชนคนไทยทั่วไป (USER หลัก) ชาวตางชาติ (USER รอง) ความสัมพันธระหวาง PROJECT กับ SITE 1. เนื่องจากการเลนวาวมีขอจํากัดคือตองเลน ในสนาม พื้น ที่ โ ลง ที่ตอ งอาศัย ลมในการเล น จึ ง เลือกอาคารลุมพินีสถานที่อยูใจกลางสวนลุมพินี เพื่อสงเสริมใหการออกแบบสําริดผลมากยิ่งขึ้น 2. จากเดิมที่การเลนวาว คนทั่วไปจะเขาใจผิด ว า สามารถเล น ได เ ฉพาะในหน า ร อ นเท า นั้ น ซึ่ ง แท จ ริ ง แล ว สามารถเล น ในหน า หนาวก็ ไ ด แต เนื่องจากที่สนามหลวง ลมมรสุมตะวันออกเฉียง เหนือจะพัดวาวใหไปติดในเขตพระบรมมหาราชวัง ร.4 จึงสั่งหามไมใหเลน การเลือก SITE นี้ จึง สามารถชวยแกปญหานี้ได และเปนการสงเสริมให คนหันมาเลนวาวกันมากขึ้นดวย 3. อาคารอยู ใ จกลางสวนลุ ม ที่ เ ป น สวน สาธารณะ ทําใหไดบรรยากาศของธรรมชาติ และ เห็นบรรยากาศของคนเลนวาวจริง 4. จากดานโครงสรางภายในของอาคารมีความ เหมาะสมกั บ PROJECT คื อ มี ลั ก ษณะโค ง และ เปน VOID เปดโลงกลางอาคาร อีกทั้งอาคารนี้ยัง เปนอาคารรกราง ใชงานไมเหมาะสมกับศักยภาพ ของอาคาร ภาพ 64 ผังบริเวณและภาพอาคารลุมพินีสถาน
77 ความสัมพันธระหวาง PROJECT กับ USER ดังที่กลาวในขางตนวาวาวเปนสิ่งที่อยูคูคนไทยมาชานาน มีเอกลักษณแหงเดียวใน โลก ดั ง นั้ น ประชาชนคนไทยทุ ก คนควรช ว ยกั น อนุ รั ก ษ ศิ ล ปะ การละเล น พื้ น บ า น และ เอกลักษณของชาติใหคงอยูตลอดไป ในสวนของ USER รอง ที่เปนชาวตางชาติ เพื่อเปนการบอกถึงภูมิปญญาของคนไทย ที่ไมมีชาติใดเสมอเหมือน ใหชาวโลกไดรับรู อีกทั้งเปนการสงเสริมดานการทองเที่ยวของ ประเทศดวย
แผนภูมแิ สดงการ วิเคราะหปริมาณผูค นที่ เขามาใชงานพิพธิ ภัณฑ ประชาชนทัว่ ไป
ผูส นใจเปนพิเศษ ครอบครัว
นักเรียน
นักทองเทีย่ ว
5% 10%
40% 15%
30%
ความสัมพันธระหวาง SITE กับ USER เนื่องจาก USER คือประชาชนคนไทยทัว่ ไป จึงมีความสอดคลองกับสวนลุมพินีดังนี้ 1. มี ลั ก ษณะเป น "สวนอเนกประสงค " โดยรวมไวดวยประโยชนใชสอยเพื่อกิจกรรม นั น ทนาการต า ง ๆ ที่ จั ด เตรี ย มไว บ ริ ก าร ป ร ะ ช า ช น ทั่ ว ไ ป เ ป น ที่ ตั้ ง ข อ ง ศู น ย นัน ทนาการ สมาคม ชมรมต า ง ๆ ภายใต ภาพรวมของพื้นที่สีเขียว 2. เปนสวนสาธารณะที่เกาแก และเปน สวนสาธารณะแหงแรกของไทย มีชื่อเสียง ทํา ใหป ระชาชนคนไทยทั่ วไปรูจัก ถึ ง แหลง ที่ตั้ง 3. อยูใกลแหลงชุมชน แหลงที่อยูอาศัย สถาบันการศึกษา แหลงเศรษฐกิจ เปนตน 4. การคมนาคมสะดวกสบาย ดวยการ เดิ น ทางหลายช อ งทาง มี ท างเข า ถึ ง ตั ว อาคารหลายทาง อยู ใ กล ถ นนสายหลั ก สถานีรถไฟฟา รถไฟใตดิน คิวรถตู และปาย จอดรถประจําทาง
ภาพ 65 แผนภูมิแสดงผูเขาใชโครงการ
78
ภาพ 66 ภาพถายผานดาวเทียม และบรรยากาศภายในสวนลุมพินี
79
ภาพ 67 การวิเคราะหที่ตงั้ โครงการ
80
ภาพ 68 การเขาถึงโครงการ
81 วิเคราะหเรื่องพื้นที่ทับซอนของกิจกรรมระหวางโปรเจคกับสวนลุมพินี เนื่องจากบริเวณที่เปนลานสนามหญา ที่ใชเลนวาวคือบริเวณที่ 2 และ 5 มีขอมูลการใชพื้นที่ดังนี้
ภาพ 69 การใชพื้นทีท่ ับซอน
ภาพ 70 การวิเคราะหการใชพื้นที่ ดั งนั้น จะเห็ น จากข อมู ลข า งตน วา ส ว นพัก ผ อน และสว นลานสนามหญ า ไม เ กิ ด พื้ น ที่ ทับซอนกับการใชงานเดิมของผูที่เขามาใชสวนลุมพินี
82 ขอมูลการใชพนื้ ที่อื่นๆ
ภาพ 71 การแกปญหาขอเสียของ site
ภาพ 72 การวิเคราะหขอดี - ขอเสียของพืน้ ที่
83
ภาพ 73 เสนทางปนจักรยานเขาสูพ ิพิธภัณฑ
ภาพ 68
ภาพ 74 การกําหนดแนวความคิด
84
MASTER PLAN
ภาพ 75 Layout Furniture Master Plan
85 Zoning for Permanent Exhibition
ภาพ 76 Layout Furniture First Floor Plan
ภาพ 77 Layout Furniture Second Floor Plan
86
ภาพ 78 ทัศนียภาพของโถงตอนรับ
87
ภาพ 79 ทัศนียภาพของหองจัดนิทรรศการถาวร
88 รายงานประเมินผลการเรียนการสอน
ภาพ 80 รายงานประเมินผลการเรียนการสอน
89
บรรณานุกรม หนังสือภาษาไทย กชพร หัสดิน, 2543 “นิทรรศการในพิพิธภัณฑสถาน. สถานแหงชาติ 24-27 กรกฎาคม 2543 (อัดสําเนา). กรมศิลปกร. วิวัฒนาการพุทธสถานไทย. เกรซ มอเลย (Grace Morley, 1979 อางถึงใน เปรื่อง กุมุท, 2526เทคนิคการจัดนิทรรศการ, กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน) จันทรา มาศสุพงศ, 2540 หลักนิทรรศการ กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร, จิรา จงกล, 2537 นําชมพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร พิมพครั้งที่ 3 กรุงเทพฯ: โอเดียนสแควร เฉลิมชัย หอนาค, 2540 มติชน 18 พ.ค.40 น.20. ผอ.พิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติ น.ณ.ปากน้ํา, 2508 หลักการใชสี. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช นิคม มุสกิ ะคามะ, 2530 ความหมายของพิพิธภัณฑสถาน Retrieved July 1, 2007, from http://www. kku.ac.th, 2007 ทวีเดช จิ๋วบาง, 2536 เรียนรูทฤษฎีสี, กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร, 2536 พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ.2525 ฟารีดา อาซาดุลลินา, อางใน ทวีเดช จิ๋วบาง, เรียนรูทฤษฎีสี กรุงเทพฯ: สํานักพิมพโอเดียนสโตร, 2536 วัฒนะ จูฑะวิภาต, 2526 การจัดนิทรรศการ.กรุงเทพฯ, สํานักพิมพกลิน่ แกว. วัฒนะ จูฑะวิภาต, 2528 ศิลปะการจัดนิทรรศการ,กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร, วัฒนะ จูฑะวิภาต, 2542 ศิลปะการจัดนิทรรศการ, กรุงเทพฯ: สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย วัฒนาพร เขื่อนสุวรรณ,เอกสารคําสอนหลักการทัศนศิลป. บทเรียนที่ 4.2. ทฤษฎีสีที่เกี่ยวของกับ ทัศนศิลป.เรื่องที่. 4.2.1. ทฤษฎีสีแสง ประเสริฐ ศีลรัตนา, 2546 การออกแบบนิทรรศการ, กรุงเทพฯ: สิปประภา เปรื่อง กุมทุ , 2526 เทคนิคการจัดนิทรรศการ, กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน เปรื่อง กุมทุ , 2529; หลักการและทฤษฎีเทคโนโลยีทางการศึกษา. กรุงเทพฯ :. ศิลปาบรรณาคาร. ธีรศักดิ์ อัครบวร, 2537 นิทรรศการและการจัดการแสดง, กรุงเทพฯ: โรงพิมพไทยวัฒนาพานิช ธีรศักดิ์ อัครบวร, 2542 นิทรรศการและการจัดการแสดง กรุงเทพฯ: โรงพิมพ ก.พลพิมพ สมเกียรติ ตั้งนโม, 2536 ทฤษฎีสี, กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร, 2536.
90
บรรณานุกรม (ตอ) ธีระชัย สุขสด.Universal Design. สื่อทางโปรแกรมสําเร็จรูป วิชา Industrial Design 5 (12 – 411 - 305) หลักสูตรออกแบบอุตสาหกรรม คณะศิปกรรมและสถาปตยกรรม ศาสตร มทร. ลานนา 2552 อัครพงษ เวชยานนท. สํานักงานคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย แบบของผลิตภัณฑที่เหมาะสมกับ ผูบริโภค ปกรณ จริงสูงเนิน. 2540. การจัดการทรัพยากรปาไมโดยชุมชนเพื่ออนุรักษปา ตนน้าํ ลําธาร. (คําบรรยายนําเสนอรางรายงานการศึกษา ตอ คณะกรรมาธิการ การเกษตรและสหกรณวฒ ุ สิ ภา. 2 มีนาคม 2540 ณ โรงแรมเวสทิน จังหวัดเชียงใหม) ปกรณ จริงสูงเนิน,เสมอ ลิ้มชูวงศ และ ชัยรัตน จงกองเกียรติ. 2539. การจัดทําแผนงานพัฒนาปา ชุมชนแนวใหม ภาคเหนือ. (ไมปรากฏสถานที่พมิ พ). 27 น. เนาวรัตน พลายนอย. 2545. ทักษะการทํางานและปจจัยเงื่อนไขในการพัฒนาทักษะการทํางาน ของแรงงานภาคอุตสาหกรรมทองเที่ยวในทองถิน่ : การศึกษาในกลุม ประชาคม (civic groups) ภาคเหนือตอนบน. มหาวิทยาลัยรามคําแหง. 2548. โครงการวิจัยยุทธศาสตรการพัฒนาบริเวณเหนือเขื่อนภูมิพล เพื่อสงเสริมการทองเที่ยวเชิงอนุรักษ. สมชัย เบญจชย. 2539. ทัศนคติของชาวบานตอความสําเร็จของปาชุมชนในจังหวัดเชียงใหม. สํานักงานปาไมจังหวัดเชียงใหม, กรมปาไม 158. สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สํานักงานภาคเหนือ. 2548. การศึกษาและพัฒนา รูปแบบการทองเที่ยวที่เหมาะสมบนดอยหลวงเชียงดาว โดยการมี สวนรวมของชุมชนบริเวณรอบดอยหลวงเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม. อุทิศ กุฎอินทร. 2537. การจัดการทรัพยากรสัตวปา. ภาควิชาชีววิทยาปาไม, คณะวนศาสตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. 47 น. กองอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติและศิลปกรรม และ DANIDA. แผนที่ชุมชนกรุงรัตนโกสินทร (Cultural Heritage Atlas of Rattanakosin). สํานักผังเมือง กรุงเทพมหานคร, 2547. ศิริวัฒน สาระเขตต . การศึกษาภูมิทัศนชุมชนเมืองบริเวณน้ําพุถนนหนาพระลาน. คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2540.
91
บรรณานุกรม (ตอ) ชูวิทย สุจฉายา. การอนุรักษเมือง (Urban Conservation). คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2552 กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย กระทรวงมหาดไทย. มาตรฐาน ทางถนนทางเดินและทางเทา. (เขาถึงเมื่อวันที่ 7 กันยายน 2553)