สุนทรียสนทนา ฉบับครอบครัว
ชุดกระบวนทัศน์ใหม่
สุนทรียสนทนาฉบับครอบครัว
สิบวันเปลี่ยนชีวิต ๒ ลิขสิทธิ์ฉบับภาษาไทย © เรือรบ
และสำนักพิมพ์สวนเงินมีมา ๒๕๕๓ ISBN 978-616-90054-8-5 พิมพ์ครั้งที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ เขียน เรือรบ ออกแบบปก สุชา สนิทวงศ์ฯ รูปเล่ม แกะการเลย์ พิสูจน์อักษร วุฐิศานติ์ จันทร์วิบูล บรรณาธิการบริหาร วัลลภา แวน วิลเลียนส์วาร์ด, ฮันส์ แวน วิลเลียนส์วาร์ด กองบรรณาธิการ วรนุช ชูเรืองสุข, ยุคลนี กังศศิเทียม
ฝ่ายสำนักงาน พันธิพา คงถาวร, ปรียานุช พุทธมา ติดต่อฝ่ายขาย พันธิพา คงถาวร โทรศัพท์ ๐-๒๖๒๒-๐๙๕๕,
๐-๒๖๒๒-๐๙๖๖ โทรสาร ๐-๒๖๒๒-๓๒๒๘
สำนักงาน บริษัท สวนเงินมีมา จำกัด ๗๗, ๓๙ ถนนเฟื่องนคร
แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐
อีเมล: publishers@suan-spirit.com เว็บไซต์: www.suan-spirit.com พิมพ์ที่ โรงพิมพ์ภาพพิมพ์ โทรศัพท์ ๐-๒๔๓๓-๐๐๒๖-๗
จัดจำหน่าย สายส่งศึกษิต บริษัท เคล็ดไทย จำกัด ราคา ๑๕๐ บาท
สุนทรียสนทนา ฉบับครอบครัว สิบวันเปลี่ยนชีวิต ๒
เรือรบ
คณะกรรมการสำนักพิมพ์สวนเงินมีมา
๑. นายสุลักษณ์ ศิวรักษ์ ประธานกิตติมศักดิ์ ๒. นายปรีดา เตียสุวรรณ์ ประธานกรรมการ ๓. นายประวิทย์ เยี่ยมแสนสุข ประธานกรรมการ ๔. นายณัฐฬส วังวิญญู กรรมการ ๕. นายธีรพล นิยม กรรมการ ๖. นายนิพนธ์ แจ่มดวง กรรมการ ๗. นายบารมี ชัยรัตน์ กรรมการ ๘. นายปรีดา เรืองวิชาธร กรรมการ ๙. นางสาวปารีณา ประยุกต์วงศ์ กรรมการ ๑๐. นายมาซากิ ซาโต้ กรรมการ ๑๑. นายเลิศ ตันติสุกฤต กรรมการ ๑๒. นางสาววรรณา ประยุกต์วงศ์ กรรมการ ๑๓. นายวินัย ชาติอนันต์ กรรมการ ๑๔. นายวิศิษฐ์ วังวิญญู กรรมการ ๑๕. นายศิโรช อังสุวัฒนะ กรรมการ ๑๖. นายสมเกียรติ์ อภิญญาชน กรรมการ ๑๗. นายสมบูรณ์ จึงเปรมปรีดิ์ กรรมการ ๑๘. นายสัจจา รัตนโฉมศรี กรรมการ ๑๙. นายสุทธิชัย เอี่ยมเจริญยิ่ง กรรมการ ๒๐. นายเสถียร เศรษฐสิทธิ์ กรรมการ ๒๑. นายอนันต์ วิริยะพินิจ กรรมการ ๒๒. นางอภิสิรี จรัลชวนะเพท กรรมการ ๒๓. นางวัลลภา แวน วิลเลียนส์วาร์ด กรรมการผู้จัดการ ๒๔. นายฮันส์ แวน วิลเลียนส์วาร์ด ฝ่ายต่างประเทศ สำนักพิมพ์สวนเงินมีมา เป็นส่วนหนึ่งของ บริษัท สวนเงินมีมา จำกัด อันเป็นองค์กรธุรกิจอย่าง ใหม่ ป ระกอบด้ ว ยองค์ ก รพั ฒ นาสั ง คม และนั ก ธุ ร กิ จ ที่ ต ระหนั ก ถึ ง ปั ญ หาสั ง คม ชุ ม ชน
สิ่งแวดล้อม และศักยภาพด้านในของมนุษย์ ตั้งขึ้นเพื่อดำเนินงานทั้งด้านธุรกิจและสังคมไป พร้อมกันด้วยค่านิยมอย่างใหม่ ที่มิได้มุ่งหวังกำไรเป็นที่ตั้ง และผลกำไรที่มีขึ้นจะนำกลับไปส่ง เสริมสนับสนุนองค์กรพัฒนาสังคมและชุมชนเป็นหลัก
จ า ก ส ำ นั ก พิ ม พ์
“ครอบครัว” เป็นกลุ่มสังคมระดับเล็กสุดของโครงสร้าง ทางสังคม แต่ถอื เป็นระดับทีม่ คี วามสำคัญสูงสุดในการขับเคลือ่ น และกำหนดรูปแบบทางสังคม ปัญหาเรือ้ รังทัง้ ทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองตั้งแต่เล็กสุดไปจนถึงปัญหาระดับประเทศ หาก
สืบสาวอย่างถีถ่ ว้ นล้วนก่อตัวมาจากปัญหาครอบครัวแทบทัง้ สิน้ ซึง่ ปัญหาเหล่านีม้ กั ซับซ้อนและฝังลึก เมือ่ รอยร้าวเริม่ ก่อเกิด สัง่ สม จนทีส่ ดุ ก็ยากเกินเยียวยา การจะนำความรัก ความเข้าใจ ความสัมพันธ์อันอบอุ่นกลับมาสู่สมาชิกครอบครัวอีกครั้งนั้น สำหรับบางคนช่างยากเย็นแสนเข็ญ แต่สำหรับบางคน ความ หวังไม่เคยจางหายไปจากใจ “เรือรบ” เป็นหนึง่ ในคนกลุม่ นีท้ ี่ พยายามรือ้ ฟืน้ สายสัมพันธ์อนั อบอุน่ ซึง่ ครัง้ หนึง่ ในวัยเยาว์เขา และน้องๆ ในครอบครัวเคยสัมผัส แต่คอ่ ยๆ เลือนหายไปเมือ่ / /
ทุกคนเริม่ เติบใหญ่ขนึ้ ความเครียด ภาวะการแข่งขัน แรงกดดันที่มาพร้อมกับ การสร้างฐานะทางสังคม และเวลาส่วนตัวทีถ่ กู เบียดบัง ต่างกดดัน ให้เกิดรอยร้าวใหญ่โดยไม่รตู้ วั ผูเ้ ขียนพยายามมองหาต้นตอของ ปัญหา และใช้กระบวนการสุนทรียสนทนา (Dialogue) มาปรับ แก้ โดยทุกขัน้ ตอนของการทดลองถูกบันทึกไว้อย่างซือ่ สัตย์ ตรง ไปตรงมา ภายในระยะเวลาเพียง ๑ ปีครึง่ เขาก็สามารถสร้าง สายสัมพันธ์เส้นใหม่ทแี่ ข็งแกร่งกว่าเดิมให้กบั สมาชิกในครอบครัว ความรัก ความอบอุน่ และความเอือ้ อาทรทีเ่ คยสูญหายไประหว่าง ทางได้หวนคืนมาอีกครัง้ เป็นการนำเสนอทางออกอย่างเรียบง่าย แต่ปฏิบตั ไิ ด้จริงให้ผอู้ า่ นได้นำไปปรับใช้ และทดลองกับตนเอง
/ /
ความในใจ
จากสถานการณ์บา้ นเมืองในปัจจุบนั ผูค้ นได้รบั ผลกระทบ จากระบบเศรษฐกิจ การเมือง และภาวะการแข่งขันของผู้คน ในสังคมทุนนิยมอันเชี่ยวกราก เราต่างมีความเครียด ความ ขัดแย้ง การแก่งแย่ง การเอาชีวิตรอด หลายคนเริ่มมองหาวิธี ที่จะมีความสุขในภาวะแบบนี้ บางคนเลือกที่จะถีบตัวเองให้สูง ที่สุดแต่อาจต้องทำร้ายใครบางคน บางคนเลือกที่จะละทิ้งบาง สิง่ เพือ่ มองหาความสมถะ สมดุล และพอเพียง แต่สงิ่ ทีท่ กุ คน ต้องการร่วมกันก็คอื “สันติสขุ ” ทัง้ ในชีวติ ของตนและในสังคม รอบตัว หลังจากทีผ่ มได้เรียนรูห้ ลายสิง่ ในชีวติ ซึง่ ทำให้ผมพัฒนา ตนเองมากขึน้ ไม่วา่ จะเป็นการศึกษาทีด่ ี การงานทีม่ นั่ คง แม้ ผมจะดูเป็นคนทีน่ า่ อิจฉาในหมูเ่ พือ่ นฝูง หรือน่าจะเป็นคนทีม่ ี / /
“ความสุข” มากในสังคมสักเพียงใด ผมกลับพบว่า “ครอบครัว” เป็นสิ่งที่ส่งผลกระทบอย่างมากต่อชีวิตของผม คนไทยเรามัก มีครอบครัวขนาดใหญ่ เมือ่ มีคนมาก ก็มกั จะมีเรือ่ งหรือปัญหา มากตามไปด้วย ยังไม่ต้องมองไกลไปถึงระดับสังคม แค่ความ ขัดแย้งเล็กๆ ในครอบครัว ก็มีผลกับเราอย่างมากแล้ว และ ถ้าสมาชิกในครอบครัวไม่มี “สันติสขุ ” ระหว่างกัน เราก็มอิ าจ มีสันติสุขในจิตใจได้เลย “สันติสุข” ที่กล่าวถึงในที่นี้ ผมหมายถึง เราสามารถ
ใช้ชีวิตตามที่เราต้องการอย่างมีความสุข และยังมีสันติหรือ ความสงบสุขในจิตใจได้ ดังนั้น ครอบครัวที่มีสันติสุขน่าจะ หมายถึง ครอบครัวทีส่ มาชิกทุกคนสามารถใช้ชวี ติ ตามวิถที าง ที่ตนเลือกเดิน และเป็นตัวของตัวเองได้เต็มที่อย่างมีความสุข อีกทัง้ ยังอยูร่ ว่ มกันได้อย่างสันติ คือไม่เบียดเบียนแม้ความรูส้ กึ ซึ่งกันและกัน ฟังดูอาจเป็นเรื่องเหลือเชื่อสำหรับบางคน หรือ แม้แต่ตัวผมเองก็ตามที บทพิสูจน์หรือผลวิจัยใดก็มิอาจมีค่าเทียบเท่ากับการที่ เราได้เผชิญมันด้วยตนเอง ด้วยประสบการณ์ตรง ดังนั้นเมื่อ / /
ผมและน้องๆ ค้นพบว่า อาจมีหนทางที่ทำให้เกิดสันติสุขใน ครอบครัวทีแ่ สนวุน่ วายเหมือนบ้านทรายทองของเราได้ พวกเรา ก็เลือกเผชิญกับมัน “กระบวนการสุนทรียสนทนา” จะเป็น กระบวนการที่วิเศษเพียงใด ส่งผลกระทบต่อครอบครัวของเรา แค่ไหน จะมีผลกับครอบครัวของท่านผู้อ่านบ้างหรือไม่ ผมกับ น้องๆ ได้เปิดเผยทุกอย่างลงในบันทึกเล่มนี้ ทั้งด้านดีด้านเลว เอาชีวิตส่วนตัวของพวกเราเข้าแลก เพียงหวังว่า เรื่องราว เหล่านี้จะมีประโยชน์กับครอบครัวใดครอบครัวหนึ่ง แม้เพียง ครอบครัวเดียวก็เกินคุ้มค่าแล้ว ความหวังเดียวของเรา คือสร้างสันติสุขบนจุดเล็กๆ ใน แผนที่ เริ่มจากห้องนอนเล็กๆ ของพวกเรา ขยายเป็นสันติสุข ในบ้าน เมื่อรวมเข้ากับบ้านของท่านผู้อ่านอีกหลายๆ จุด มัน อาจส่งผลกระทบต่อไปยังสังคมของเรา ประเทศชาติ และเกิด เป็นสันติสุขของโลกในที่สุด ถ้าอ่านมาถึงตรงนี้แล้ว รู้สึกสนใจ หรือสงสัยใคร่รู้ ผมคงต้องขอเชื้อเชิญให้ท่านนำหนังสือเล่มนี้ กลับบ้านไปด้วยกันแล้วล่ะครับ / /
เกริ่น ก่ อ น
เรือ่ งราวต่อไปนีเ้ ป็นบันทึกจากชีวติ จริงของครอบครัวหนึง่ ประกอบด้วยพีน่ อ้ งในครอบครัวเดียวกัน ๖ คน อันได้แก่ เรือรบ หนุม่ นักศึกษาปริญญาโทด้านบริหารธุรกิจ ผูเ้ ติบโตอยูใ่ นกระแส ทุนนิยมอันเชี่ยวกราก เชื่อว่าคนที่ประสบความสำเร็จในชีวิต คือคนรวย หมอโอเปิน้ จิตแพทย์หนุม่ ผูส้ มถะ รักสงบ ใช้เวลา ยามว่างศึกษาปฏิบัติธรรม และเป็นอาสาสมัครสอนหนังสือ
คนตาบอด ผู้กองกบ นักบินลูกทัพฟ้า ประจำเครื่องบินขับไล่ ไอพ่น ผู้มีความรุกรบ ใจแกร่ง ทรหดอดทน เห็นประโยชน์ ของชาติเป็นที่ตั้ง ปอ นักศึกษาปวส. ปี ๓ วิทยาลัยเทคนิค เซนต์จอห์น ถูกตราหน้าว่าโง่ ใช้เวลาหลังเลิกเรียนออกเที่ยว เตร่ กินเหล้ากับแก๊ง กิ๊บก๊าบ นิสิตปี ๓ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ สาวน้อยผู้นิยมแบรนด์เนม ชอบเดินสยาม ขี้เหงาและอารมณ์ / 10 /
แปรปรวน น้องณัฐ น้องเล็กคนสุดท้าย อยู่ ม. ๑ โรงเรียนเอกชน เงียบ เก็บตัว และมีความคิดเป็นของตนเอง อันว่ามนุษย์ปถุ ชุ นนัน้ ความแตกต่างทีเ่ กิดจากการเลีย้ งดู อายุ การศึกษา ความเชื่อ อาชีพ ล้วนก่อให้เกิดทิฐิมานะ เกิด ช่องว่างขนาดใหญ่ระหว่างกัน เมือ่ ผูใ้ หญ่ในครอบครัวไม่เข้าใจ กัน ก็ส่งผลมาถึงลูกๆ อย่างง่ายดาย ความสัมพันธ์ที่ห่างเหิน และความไม่เข้าใจกัน ก่อให้เกิดปัญหาในบ้านมากมาย เมื่อ เด็กๆ เรียนจบและต้องกลับมาอยู่ร่วมกันอีกครั้งในบ้านหลัง เดียวกัน จะเกิดอะไรขึ้น จะมีกระบวนการอันใด ที่จะเชื่อม ความสัมพันธ์อันดีในอดีตของพวกเขา ให้กลับมาเป็นดังเดิม อีกครั้ง เหมือนเช่นยามเยาว์วัยที่เคยเล่นซนมาด้วยกัน เรื่องราวเล่าขานที่เป็นตำนานในห้องนอนก็เกิดขึ้น เมื่อ พวกเด็กๆ ได้คน้ พบ “กระบวนการสุนทรียสนทนา” การล้อมวง พูดคุยกันภายในห้องนอน ซึง่ เป็นพืน้ ทีป่ ลอดภัยส่วนตัวห่างไกล ผู้ใหญ่และคำตัดสิน การกล้าเปิดเผยความรู้สึกภายในของ ตนเอง การแบ่งปันความทุกข์และสุขร่วมกันระหว่างพี่น้อง การรับฟังซึง่ กันและกันอย่างเกือ้ กูลก็ถกู ถ่ายทอดออกมา บันทึก / 11 /
การพูดคุยในวงสุนทรียสนทนาครั้งนี้ นำโดยเรือรบ พี่ใหญ่ซึ่ง ใช้เวลาเขียนถึง ๑ ปี ๓ เดือน เป็นกรณีศึกษาและบันทึก ฉบับที่สมบูรณ์ที่สุดของการทำกระบวนการเรียนรู้นี้ แต่เรื่อง ราวจะทุกข์สุขหรือสนุกอย่างไรนั้น ผู้อ่านทุกท่านคงต้องเป็น
ผู้ตัดสิน และเป็นผู้ตอบคำถามว่า กระบวนการนี้จะทำให้เกิด สันติสุขในครอบครัวที่ทุกคนแสวงหาได้หรือไม่
/ 12 /
ส า ร บั ญ จากสำนักพิมพ์
๕
ความในใจ
๗
เกริ่นก่อน
๑๐
ภาคหนึ่ง แรกเริ่มเดิมที
๑๖
ตอนที่ ๑ ปัญหาที่มองไม่เห็น
๒๐
ตอนที่ ๒ รักแรกพบกับสุนทรียสนทนา
๒๔
ตอนที่ ๓ ล้มลุกคลุกคลานกับไดอะล็อกในห้องนอน ๓๒
ตอนที่ ๔ ก้าวย่างอย่างมั่นคง
๓๖
ตอนที่ ๕ เปิดตัวเพื่อนร่วมวง
๔๒
ตอนที่ ๖ ถักทออย่างกลมกลืน บรรสานอย่างลื่นไหล ๕๐ สายใยในครอบครัว
ตอนที่ ๗ ไม่มีจุดเริ่มต้น ไม่มีจุดสิ้นสุด
๕๘
ภาคสอง บันทึกลับกับความหลากหลาย
๖๒
ตอนที่ ๘ สุนทรียสนทนาในสวนหลังบ้าน
๖๖
ตอนที่ ๙ สุนทรียสนทนากับเกิร์ลสทอล์ค
๗๐
ตอนที่ ๑๐ สุนทรียสนทนากับลูกทัพฟ้า
๗๖
ตอนที่ ๑๑ สุนทรียสนทนากับมรณานุสติ
๘๒
ตอนที่ ๑๒ สุนทรียสนทนากับความขัดแย้ง
๙๒
ตอนที่ ๑๓ สุนทรียสนทนากับเด็กแนว
๑๐๔
บทส่งท้าย สุนทรียสนทนากับสันติสุขในครอบครัว ๑๒๐
ภ า ค ห นึ่ ง แ ร ก เ ริ ่ มเดิ ม ที
เกริ่นกันสักนิดหนึ่ง สำหรับท่านผู้อ่านที่ยังไม่เคยรับรู้มา
ก่อนว่า กระบวนการสุนทรียสนทนา (Dialogue) คืออะไรและ ทำไมท่านจึงต้องสนใจด้วย คำตอบโดยคร่าวๆ สุนทรียสนทนา ก็คือการจับกลุ่มล้อมวงกันเพื่อสนทนาในหัวข้อใดๆ ก็ได้ โดย เน้นที่การฟังเป็นหลักมากกว่าการพูด สิ่งแตกต่างที่เห็นได้ชัด จากการพูดคุยโดยทั่วไปก็คือ บรรยากาศในวงนี้จะไม่มีการ ตัดสินและหาคำตอบในทันที กระทัง่ การคัดค้าน หรือสนับสนุน คำพูดของใครคนใดคนหนึง่ ก็แทบไม่ปรากฏในวงสุนทรียสนทนา เป็นรูปแบบการสนทนามิติใหม่เพื่อกลั่นกรอง และย่อยแยกเอา ความรู้ความคิดและประสบการณ์ของคนในวงออกมา โดยที่ หลังจากจบการสนทนาครั้งนั้นแล้ว แต่ละคนก็จะได้คำตอบ เฉพาะตน สำหรับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตตัวเอง โดยไม่จำเป็น จะต้องได้คำตอบที่เหมือนกัน ส่วนเหตุผลที่ว่า กระบวนการนี้น่าสนใจอย่างไร ก็อาจ เล่าได้จากประสบการณ์ที่ผ่านและพบมาว่า ถ้าทำได้ดีและ
เป็นเวลานานพอ จะพบว่าสุนทรียสนทนาเป็นการพูดคุยที่
ผ่อนคลาย ได้ประโยชน์หลากหลาย ได้พบประสบการณ์ทลี่ กึ ซึง้ แรกเริ่มเดิมที / 17
ได้รู้จักตัวตนที่แท้ของสมาชิกในวง อีกทั้งยังสร้างสัมพันธภาพ ที่แน่นแฟ้น และใช้เวลาเพียงสั้นๆ แต่กลับมีคุณภาพได้อย่าง ไม่น่าเชื่อ นับเป็นอีกทางเลือกหนึ่งของกิจกรรมสำหรับกลุ่มก๊วน เพื่อนร่วมแก๊ง และอาจรวมถึงสมาชิกในครอบครัวด้วยก็ได้ เราอาจสร้างพืน้ ทีค่ วามสุขร่วมกัน โดยทีไ่ ม่จำเป็นต้องจับกลุม่ กันไปทำกิจกรรมยามว่าง เช่น ช็อปปิง้ เดินห้างฯ ดูหนัง เทีย่ ว ผับ เทีย่ วทะเล เดินป่า และอืน่ ๆ ซึง่ บางทีอาจไม่ได้ประโยชน์ อะไรเลยนอกจากได้ใช้เงินกับใช้เวลาให้หมดไป บางครั้งไป เที่ยวด้วยกันดีๆ แต่กลับทะเลาะกันระหว่างทางก็มีไม่น้อย และสำหรับท่านผู้อ่านที่เคยได้รับข้อมูลความรู้มาหลาย ร้อยหน้าเกี่ยวกับไดอะล็อก และมีความเชื่อมั่นในกระบวนการ นี้อย่างเต็มเปี่ยมอยู่แล้ว ผมก็อยากเรียนถามท่านอย่างตรงไป ตรงมาว่า ท่านแน่ใจจริงๆ หรือว่า กระบวนการนี้เป็นยาวิเศษ ดังที่ใครๆ กล่าวขวัญถึง และนำมาซึ่งความสุข สันติสุข ความรู้อันก้าวพ้นตัวบุคคล การพัฒนาตัวตนภายใน และ
ผลประโยชน์อื่นๆ ดังคำกล่าวอ้างนั้น แม้กระทั่งคนที่ศึกษาทฤษฎีมาแล้วเป็นอย่างดี ก็อาจตั้ง คำถามอยู่ลึกๆ ว่า ถ้าตัวเองทำไปแล้วมันจะได้ผลดีจริงหรือ ไม่ ต้องไปอบรมเรียนรู้ที่ไหนก่อนไหม ถ้าจะจัดให้มีขึ้นที่บ้าน 18 / สุนทรียสนทนาฉบับครอบครัว
หรือทีท่ ำงาน ต้องเริม่ ต้นอย่างไร แล้วผูเ้ ข้าร่วมในวงสนทนาล่ะ จะต้องมีพื้นฐานสักแค่ไหน พวกเขาจะสามารถนำไปใช้ได้มาก น้อยเท่าใดในชีวิตประจำวัน ที่สุดแล้วเราก็มิอาจแน่ใจได้เลย ถ้าไม่เคยได้นำไปทดลองในชีวิตจริงกับคนรอบๆ ตัวเรา เรื่องราวต่อไปนี้เป็นเรื่องราวที่เกิดขึ้นจริงในครอบครัว ของผม ซึ่งได้นำสุนทรียสนทนาเข้ามาเป็นวาระพิเศษในบ้าน สมาชิกในวงอันประกอบไปด้วยพี่น้องหกคนเห็นพ้องว่า อยาก ร่วมแบ่งปันบางแง่มมุ ของพวกเรา ทีเ่ กิดขึน้ ในบ้านเล็กๆ หลังนี้ นับตั้งแต่วันที่เริ่มรู้จักไดอะล็อก ล้มลุกคลุกคลานผ่านมาปีเศษ จนไดอะล็อกเข้ามาอยู่ในเนื้อในตัวพวกเรา และเป็นสิ่งที่ขาด ไม่ได้ไปเสียแล้วในปัจจุบัน พวกเราจึงช่วยกันเขียนเรื่องราวเหล่านี้ขึ้นมา บางที พัฒนาการในวงไดอะล็อกของพวกเรา อาจตอบคำถามบาง อย่างของท่านผู้อ่านที่มีมาข้างต้นได้มากขึ้น พร้อมกับไขข้อ ข้องใจให้กระจ่างขึ้นในประเด็นที่ว่า “ไดอะล็อก จะเป็น หนทางทีน่ ำมาซึง่ สันติสขุ ในครอบครัวได้หรือไม่” มีความเป็น ไปได้มากน้อยเพียงใด
แรกเริ่มเดิมที / 19