กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ การขออนุญาตผลิต (ปลูก) และครอบครอง ซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ (กัญชา) นายสุวพัต สุขทัศน์ กองควบคุมวัตถุเสพติด สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ๑๕ กันยายน ๒๕๖๓
กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ การขออนุญาตผลิต (ปลูก) และครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ (กัญชา)
Outlines • รูปแบบการปลูกกัญชาทางการแพทย์ในต่างประเทศ • การขอรับอนุญาตที่เกี่ยวข้องกับกัญชา • ตัวอย่างของการปลูกกัญชา และแนวทางการจัดเตรียมสถานที่ เพื่อขอรับอนุญาตฯ • การติดตามเฝ้าระวังการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชากับผู้ป่วย
กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ การขออนุญาตผลิต (ปลูก) และครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ (กัญชา)
กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ การขออนุญาตผลิต (ปลูก) และครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ (กัญชา)
Thailand : 0.94% (ONCB 2018)
กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ การขออนุญาตผลิต (ปลูก) และครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ (กัญชา) ข่าว
กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ การขออนุญาตผลิต (ปลูก) และครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ (กัญชา)
กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ การขออนุญาตผลิต (ปลูก) และครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ (กัญชา)
การควบคุมการปลูกกัญชาในต่างประเทศ
กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ การขออนุญาตผลิต (ปลูก) และครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ (กัญชา)
•Aurora™ : Aurora Sky, Edmonton, Canada Licence Classs by Health Canada • Standard Cultivation • Standard Processing • Sell for Medical Purpose
Cultivation Site • 400,000 sq.m. • 100,000 kgs/year
GAP
GMP/PICS Clinical Research Institute
กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ การขออนุญาตผลิต (ปลูก) และครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ (กัญชา)
Cultivation Process Seed/Cloning Mother Cannabis Flowering Harvest Drying Manufacturing
Sell
กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ การขออนุญาตผลิต (ปลูก) และครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ (กัญชา)
•Cultivation Process : Seed/Clonning
กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ การขออนุญาตผลิต (ปลูก) และครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ (กัญชา)
•Cultivation Process : Mother cannabis
กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ การขออนุญาตผลิต (ปลูก) และครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ (กัญชา)
•Cultivation Process : Flowering
กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ การขออนุญาตผลิต (ปลูก) และครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ (กัญชา)
•Cultivation Process : Harvest
กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ การขออนุญาตผลิต (ปลูก) และครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ (กัญชา)
•Cultivation Process : Drying
กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ การขออนุญาตผลิต (ปลูก) และครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ (กัญชา)
•Cultivation Process : Manufacturing
การขอรับอนุญาต ที่เกี่ยวข้องกับ กัญชา
การควบคุมกัญชาในอดีต
พรบ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 • กัญชาจัดเป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 • ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต จาหน่าย นาเข้า ส่งออก หรือมีไว้ในครอบครอง เว้นแต่รัฐมนตรีจะได้อนุญาตโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการเป็นรายๆ ไป • ห้ามมิให้ผู้ใดเสพยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 การควบคุมกัญชาในปัจจุบัน
พรบ.ยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 • กัญชา ยังคงเป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 • สามารถนากัญชามาใช้ประโยชน์ได้ ตามวัตถุประสงค์เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์และการศึกษาวิจัย • ห้ามมิให้ผู้ใดเสพ ยส.5 เว้นแต่เสพเพื่อรักษาโรคตามคาสั่งของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือเป็นการเสพเพื่อศึกษาวิจัย • ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต นาเข้า ส่งออก เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยาโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ • ห้ามมิให้ผู้ใดจาหน่าย หรือมีไว้ในครอบครอง เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา
การดาเนินงานเกี่ยวกับกัญชาทางการแพทย์ของ อย. ๑.การปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย ๒. การอนุญาตเกี่ยวกับกัญชา ๓. ข้อมูลการอนุญาตและ Model การขออนุญาต ๔. พัฒนาระบบสารสนเทศรองรับการติดตาม การตรวจสอบย้อนกลับ รวมถึงระบบสืบค้นข้อมูล กัญชา ๕. พัฒนารูปแบบการเข้าถึงยา และระบบการรายงาน ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของการใช้ยากัญชา
สรุปข้อมูลกฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์ และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ การดาเนินการเรื่องกัญชา (มีผลใช้บังคับอยู่ในปัจจุบัน) รวมทั้งสิ้น ๒๕ ฉบับ
(ร่าง) กฎกระทรวง สธ. จานวน ๒ ฉบับ
ประกาศกระทรวงสธ. จานวน ๙ ฉบับ
ที่ออกตามตาม พ.ร.บ.ยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๖๒
ประกาศ คกก. ยส. จานวน ๔ ฉบับ
แนวทาง/หลักเกณฑ์ การอนุญาต จานวน ๑๐ ฉบับ
การปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย อนุบัญญัติที่สาคัญที่ออกตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง กาหนดตารับ ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ ที่มีกัญชา ปรุงผสมอยู่ที่ให้เสพเพื่อรักษาโรคหรือการศึกษาวิจัยได้ พ.ศ. ๒๕๖๒ (ฉบับที่ ๑ ฉบับที่ ๒ และฉบับที่ ๓) (เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงยากัญชาได้หลายช่องทาง)
เม.ย. / ส.ค. ๖๒
เม.ย. / ส.ค. ๖๒
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง กาหนดผู้ประกอบวิชาชีพ การแพทย์แผนไทยและหมอพื้นบ้านตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพ การแพทย์แผนไทย ที่จะสามารถปรุงหรือสั่งจ่าย ตารับยาที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ได้ พ.ศ. ๒๕๖๒ (ฉบับที่ ๑ และฉบับที่ ๒) (เพื่อให้การรักษาด้วยยากัญชามีประสิทธิภาพเป็นไปตาม มาตรฐานวิชาชีพและเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยที่ใช้ยากัญชา)
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ระบุชื่อยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒ เพื่อยกเว้นให้ส่วนของกัญชา/กัญชง ดังต่อไปนี้ ไม่จัดเป็นยาเสพติดในประเภท ๕ ๑. CBD ที่สกัดจากกัญชง ซึ่งมีความบริสุทธิ์ ≥ ๙๙% โดยมี THC < ๐.๐๑ % โดยน้าหนัก ๒. สารสกัดหรือผลิตภัณฑ์จากสารสกัดที่มี CBD เป็นส่วนประกอบหลัก และมี THC < ๐.๒ % โดย น้าหนัก ซึ่งเป็นยาหรือผลิตภัณฑ์สมุนไพร ๓. เมล็ดกัญชง (hemp seed) หรือน้ามันจากเมล็ดกัญชง (hemp seed oil) ซึ่งเป็นอาหาร ๔. น้ามันจากเมล็ดกัญชง (hemp seed oil) หรือสารสกัดจากเมล็ดกัญชง ซึ่งเป็นเครื่องสาอาง ๕. เปลือกแห้ง แกนลาต้นแห้ง เส้นใยแห้ง และผลิตภัณฑ์
ก.ค. ๖๒
ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ เรื่อง กาหนดฉลากและเอกสารกากับยาเสพติดให้โทษ ในประเภท ๕ หรือคาเตือนหรือข้อควรระวังการใช้ ที่ภาชนะบรรจุหรือหีบห่อบรรจุยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ ที่ผลิต นาเข้า หรือส่งออก สาหรับยาแผนปัจจุบันซึ่งมีกัญชา ปรุงผสมอยู่ พ.ศ. ๒๕๖๒ (เพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยที่ใช้ยากัญชา)
ส.ค. ๖๒
การปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย อนุบัญญัติที่สาคัญที่ออกตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ เรื่อง กาหนดฉลากและเอกสารกากับยาเสพติดให้โทษ หรือคาเตือน หรือข้อควรระวังการใช้ที่ภาชนะบรรจุ หรือหีบห่อบรรจุ ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ ที่ผลิต นาเข้า หรือส่งออก สาหรับยาแผนไทย ซึ่งมีกัญชาปรุงผสมอยู่ พ.ศ. ๒๕๖๒ (เพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยที่ใช้ยากัญชา)
ต.ค. ๖๒
ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ เรื่อง กาหนดลักษณะกัญชง (Hemp) พ.ศ. ๒๕๖๒
กาหนดให้กัญชง และเมล็ดพันธุ์รับรอง มีปริมาณสาร THC ในใบและช่อดอก ไม่เกินร้อยละ ๑.๐ ต่อน้าหนักแห้ง
ต.ค. ๖๒
การออกกฎหมายระดับรองของ ยา ผลิตภัณฑ์สมุนไพร อาหาร และเครื่องสาอาง (เพื่อรองรับการนาส่วนของกัญชา/กัญชง ซึ่งได้รับการ ยกเว้นไม่จัดเป็นยาเสพติดในประเภท ๕ ไปใช้ประโยชน์ ในด้านต่างๆ) อยู่ระหว่างการ พิจารณาของกฤษฎีกา
อยู่ระหว่างดาเนินการ
(ร่าง) กฎกระทรวงฯ กัญชา (คาดว่าจะมีผลบังคับใช้ประมาณ ธ.ค. ๖๓)
(ร่าง) กฎกระทรวงฯ กัญชง (คาดว่าจะมีผลบังคับใช้ประมาณ ต.ค. ๖๓) (เพื่อกาหนดหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขการอนุญาต)
สรุปข้อมูลกฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์ และแนวปฏิบัติ
แนวทาง/หลักเกณฑ์การอนุญาต (จานวน 10 ฉบับ) แนวทางการพิจารณาอนุญาตให้ปลูกกัญชา พ.ศ. ๒๕๖๒ แนวทางการปฏิบัติ ด้านการจัดเตรียมสถานที่ การเก็บรักษาและการควบคุมการใช้ สาหรับผู้ขอรับอนุญาตปลูกกัญชา แนวทางการปฏิบัติ ด้านการจัดเตรียมสถานที่ การเก็บรักษาและการควบคุมการใช้ สาหรับผู้ขอรับ อนุญาตประเภทอื่นๆ ที่ไม่ใช่ปลูก นาเข้า ส่งออก กัญชา แนวทางการขออนุญาต ผลิต นาเข้าหรือครอบครองกัญชา เพื่อการศึกษาวิจัยทางคลินิก แนวทางการขออนุญาตและการอนุญาตให้ผลิตกัญชา เพื่อการจาหน่ายภายใต้วัตถุประสงค์การ บริหารยส. ๕ ที่ใช้ในทางการแพทย์ในประเทศ แนวทางการขออนุญาตและการอนุญาตให้ผลิต ยส. ๕ โดยการปรุงตารับยาแผนไทยที่มีกัญชาปรุง ผสมอยู่ เพื่อจาหน่ายเฉพาะผู้ป่วยของตน แนวทางการขออนุญาตจาหน่าย ยส. ๕ เฉพาะกัญชาเพื่อการรักษาผู้ป่วย (กรณีการแพทย์แผนปัจจุบัน) แนวทางการขออนุญาตจาหน่าย ยส. ๕ เฉพาะกัญชาเพื่อการรักษาผู้ป่วย (กรณีการแพทย์แผนไทย) แนวทางการขออนุญาตจาหน่าย ยส. ๕ เฉพาะกัญชาเพื่อการรักษาผู้ป่วย (กรณีหมอพื้นบ้าน) แนวทางการขออนุญาตจาหน่าย ยส. ๕ เฉพาะกัญชาเพื่อการรักษาผู้ป่วยของตน (กรณีการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน)
การดาเนินการ
การควบคุมยาเสพติดให้โทษ /การอนุญาต ยส.1
ยส.2
ยส.3
ยส.4
ยส.5
การผลิต นาเข้า ส่งออก
รมว.สธ. อนุญาต
เลขาธิการ อย. อนุญาต
เลขาธิการ อย. อนุญาต
รมว.สธ. อนุญาต
เลขาธิการ อย. อนุญาต (คกก. ยส. เห็นชอบ)
การจาหน่าย มีไว้ในครอบครอง
รมว.สธ. อนุญาต
เลขาธิการ อย. อนุญาต
เลขาธิการ อย. อนุญาต (จาหน่าย)
รมว.สธ. อนุญาต
เลขาธิการ อย. อนุญาต
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
การเสพ
ตามคาสั่งแพทย์
การศึกษาวิจัย
การใช้ทางการแพทย์ การใช้ทางวิทยาศาสตร์/ อุตสาหกรรม
Thai FDA
ตามคาสั่งแพทย์
22
พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 หน่วยงานรัฐ - ศึกษาวิจัยหรือจัดการเรียนการสอนทาง การแพทย์ เภสัชศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรือเกษตรศาสตร์ - ให้บริการทางการแพทย์ เภสัชกรรม หรือวิทยาศาสตร์ - ให้บริการทางเกษตรกรรมเพื่อประโยชน์ ทางการแพทย์หรือเภสัชกรรม - ป้องกัน ปราบปราม และแก้ไขปัญหา ยาเสพติด
รัฐ
ผู้ประกอบวิชาชีพ เวชกรรม เภสัชกรรม ทันตกรรม การสัตวแพทย์ชั้นหนึ่ง แพทย์แผนไทย แผนไทยประยุกต์ หรือหมอพื้นบ้านตามกฎหมาย
สถาบันอุดมศึกษาเอกชน (ทางการแพทย์หรือเภสัชศาสตร์)
ผู้ขอรับอนุญาตผลิต นาเข้า ส่งออก จาหน่าย หรือมีไว้ในครอบครอง ยส. 5
ผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม (วิสาหกิจชุมชน/วิสาหกิจเพื่อสังคม/สหกรณ์การเกษตร) ภายใต้ความร่วมมือและกากับดูแลของหน่วยงานรัฐหรือ มหาวิทยาลัยเอกชน
ผู้ประกอบการขนส่งสาธารณะ ระหว่างประเทศ
ผู้ป่วยเดินทางระหว่างประเทศ
ผู้ขออนุญาตอื่นตามที่ รมว. โดยความเห็นชอบ ของ คกก.กาหนดในกฎกระทรวง
- เสพเพื่อรักษาโรคตามคาสั่งของ ผู้ประกอบวิชาชีพ - เสพเพื่อการศึกษาวิจัย
เว้นแต่ ห้ามมิให้ผู้ใดเสพ ยส.5
ภายในระยะ 5 ปีแรก การขอรับใบอนุญาตผลิต นาเข้า หรือส่งออก ยส.5 เฉพาะกัญชาเพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ หรือ การรักษาผู้ป่วยตาม ม. 26/2 (1) ให้อนุญาตได้เฉพาะกรณีผู้ขออนุญาตเป็น
หรือ
ผู้ประกอบวิชาชีพ รัฐ
รัฐ
หน่วยงานรัฐ
Thai FDA
สถาบันอุดมศึกษาเอกชน (ทางการแพทย์หรือเภสัชศาสตร์)
หน่วยงานรัฐที่ร่วมมือกับ
วิสาหกิจชุมชน/วิสาหกิจเพื่อสังคม/สหกรณ์การเกษตร
ผู้ขออนุญาตอื่นตามที่ รมว. โดยความเห็นชอบ ของ คกก.กาหนดในกฎกระทรวง
หลักการดาเนินการเพื่อใช้กัญชาทางการแพทย์ การปลูก การแปรรูป - การสกัด การผลิตผลิตภัณฑ์สาเร็จรูป - การจ่ายยา
ปลูก มีแผนการผลิต การจาหน่าย การใช้ประโยชน์ ที่ชัดเจน เช่น contract farming ผลิตอะไร จานวนเท่าใด จะจาหน่ายให้ผู้รับ อนุญาตใด ต้องดาเนินการตามแผนการผลิต การใช้ประโยชน์ จัดให้มีการสุ่มตรวจวิเคราะห์ เพื่อ หาปริมาณสารสาคัญ สารปนเปื้อน โลหะหนัก เป็นต้น
Thai FDA
แปรรูป/สกัด
พัฒนาตารับ/ผลิตภัณฑ์สาเร็จรูป
มีแผนการผลิต การจาหน่าย การใช้ประโยชน์ ที่ชัดเจน สถานที่ผลิตต้องได้มาตรฐานตามที่กาหนด จัดให้มีการสุ่มตรวจวิเคราะห์เพื่อหาปริมาณสารสาคัญ สารปนเปื้อน โลหะหนัก เป็นต้น สถานที่ผลิตต้องได้รับ GMP หรือหนังสือรับรองมาตรฐานวิธีการใน การผลิตยาแผนโบราณ หรือสมุนไพร จัดให้มีฉลากที่ภาชนะและหีบห่อบรรจุเพื่อเตรียมส่งมอบให้ผู้ป่วย
ใช้ทางการแพทย์ แผนปัจจุบัน – แพทย์/ ทันตแพทย์/สัตวแพทย์ชั้นหนึ่ง แผนไทย – แพทย์แผนไทย ประยุกต์ แพทย์แผนไทย/หมอ พื้นบ้านตามที่ รมว. ประกาศ ที่ผ่านการอบรมหลักสูตรที่ กระทรวง สธ รับรอง สถานพยาบาลต้องมีใบอนุญาต จาหน่าย ยส.๕ การใช้ต้องประเมินประสิทธิผล/ ความปลอดภัย และรายงานต่อ อย.
กรณีของเกษตรกรสามารถขออนุญาตปลูกกัญชาได้ โดยการรวมกลุ่มกัน จดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชน/ วิสาหกิจเพื่อสังคม/ สหกรณ์การเกษตร และขออนุญาตร่วมกับหน่วยงานของรัฐ
รัฐ
เกษตรกรรวมตัวเป็น วิสาหกิจชุมชน
หน่วยงานรัฐ
26
เกษตรกรจะปลูกกัญชาต้องทาอย่างไร 1. เกษตรกรรวมตัวกันเพื่อจดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชน 2. จดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชน เพื่อดาเนินการในกิจการตามทีย่ ื่นขอ ณ สานักงานเกษตรอาเภอในพื้นที่ เพื่อรับใบรับรองการจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน
3. วิสาหกิจชุมชนที่จดทะเบียนแล้วร่วมกับหน่วยงานของรัฐ ที่มีหน้าที่ศึกษาวิจัยหรือจัดการเรียนการสอนทางการแพทย์ เภสัชศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรือเกษตรศาสตร์ หรือมีหน้าที่ ให้บริการทางการแพทย์ เภสัชกรรม หรือวิทยาศาสตร์ หรือมีหน้าที่ให้บริการทางเกษตรกรรมเพื่อประโยชน์ทาง การแพทย์หรือเภสัชกรรม หรือมีหน้าที่ในการป้องกัน ปราบปราม และแก้ไขปัญหายาเสพติด
ยื่นขออนุญาตผลิต (ปลูก) ซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ (กัญชา) ที่สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
นาใบอนุญาตให้ผลิต (ปลูก) ซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ (กัญชา) ยื่นขอเพิ่มกิจการ วิสาหกิจชุมชน ณ สานักงานเกษตรอาเภอ ที่วิสาหกิจชุมชนจดทะเบียน
27
ประกาศ สธ กาหนดตารับยาที่ให้เสพเพื่อรักษาโรคและศึกษาวิจัยได้ พ.ศ. 2562 และ ฉบับ 2 1. ตารับยาที่ได้การรับรองจาก อย. (ตารับยาแผนปัจจุบันและตารับยาแผนไทย) 2. ตารับยาแผนไทยที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ ในตาราการแพทย์แผนไทย ตามบัญชีรายชื่อแนบท้าย (16 ตารับ) 3. ตารับยาที่ได้รับอนุญาตให้ผลิตในประเทศ ภายใต้การรักษาโรคกรณีจาเป็นสาหรับผู้ป่วยเฉพาะราย (Special Access Scheme) 4. ตารับยาที่ได้รับอนุญาตภายใต้โครงการศึกษาวิจัยที่ได้รับอนุญาตจาก อย.
5. ตารับยาที่ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์และหมอพื้นบ้าน ปรุงขึ้นจากองค์ความรู้และภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยที่ชัดเจน และได้รับการรับรองจากกรมการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก Thai FDA
หลักเกณฑ์การพิจารณาให้อนุญาตเกี่ยวกับกัญชา (ในปัจจุบัน) ก่อนกฎกระทรวงการอนุญาตกัญชา มีผลใช้บังคับ 1. กฎกระทรวงการขออนุญาตและการอนุญาตผลิต จาหน่าย นาเข้า ส่งออก หรือ มีไว้ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 4 หรือในประเภท 5 พ.ศ. 2559
2. แนวทางการพิจารณาอนุญาตให้ปลูกกัญชา พ.ศ. 2563 *ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ ในการประชุมครั้งที่ 417-6/2563 วันที่ 16 มิ.ย. 63
3. แนวทางการปฏิบัติ ด้านการจัดเตรียมสถานที่ การเก็บรักษาและการควบคุมการใช้สาหรับผู้ขอรับอนุญาต ปลูกซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชา *ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ ในการประชุมครั้งที่ 399-3/2562 วันที่ 12 กพ. 62
Thai FDA
หลักเกณฑ์การพิจารณาให้อนุญาตเกี่ยวกับกัญชา (ในปัจจุบัน) ก่อนการประกาศกฎกระทรวงกัญชา (ต่อ) 4. แนวทางการขออนุญาตจาหน่ายยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชา เพื่อการรักษาผู้ป่วย (กรณีการแพทย์ แผนปัจจุบัน) *ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ ในการประชุมครั้งที่ 404-8/2562 วันที่ 19 ก.ค.62
5. แนวทางการขออนุญาต ผลิต นาเข้าหรือมีไว้ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชา เพื่อการศึกษาวิจัย ทางคลินิก *ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ ในการประชุมครั้งที่ 402-6/2562 วันที่ 7 พ.ค. 62
6. แนวทางการขออนุญาตและการอนุญาตให้ผลิตยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชาเพื่อการจาหน่ายภายใต้ วัตถุประสงค์การบริหารยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ที่ใช้ในทางการแพทย์ในประเทศ (Special Access Scheme) *ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ ในการประชุมครั้งที่ 403-7/2562 วันที่ 14 มิ.ย. 62
Thai FDA
หลักเกณฑ์การพิจารณาให้อนุญาตเกี่ยวกับกัญชา (ในปัจจุบัน) ก่อนการประกาศกฎกระทรวงกัญชา (ต่อ) 7. แนวทางการปฏิบัติ ด้านการจัดเตรียมสถานที่ การเก็บรักษาและการควบคุม การใช้ สาหรับผู้ขอรับอนุญาตผลิต (ประเภทอื่นๆ ที่ไม่ใช่ปลูก) นาเข้า ส่งออก ซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ เฉพาะกัญชา *ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ ในการประชุมครั้งที่ 404-8/2562 วันที่ 19 ก.ค.62
8. แนวทางการขออนุญาตและการอนุญาตให้ผลิตยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ โดยการปรุงตารับยาแผนไทยที่มีกัญชา ปรุงผสมอยู่ เพื่อจาหน่ายเฉพาะผู้ป่วยของตน *ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ ในการประชุมครั้งที่ 405-9/2562 วันที่ 13 ส.ค.62
9. แนวทางการขออนุญาตและการอนุญาตให้จาหน่ายยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ เฉพาะกัญชา เพื่อการรักษาผู้ป่วย ของตน (กรณีการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน) *ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ ในการประชุมครั้งที่ 405-9/2562 วันที่ 13 ส.ค.62
Thai FDA
หลักการดาเนินการเพื่อใช้กัญชาทางการแพทย์ การปลูก การแปรรูป - การสกัด การผลิตผลิตภัณฑ์สาเร็จรูป - การจ่ายยา
ปลูก มีแผนการผลิต การจาหน่าย การใช้ประโยชน์ ที่ชัดเจน เช่น contract farming ผลิตอะไร จานวนเท่าใด จะจาหน่ายให้ผู้รับ อนุญาตใด ต้องดาเนินการตามแผนการผลิต การใช้ประโยชน์ จัดให้มีการสุ่มตรวจวิเคราะห์ เพื่อ หาปริมาณสารสาคัญ สารปนเปื้อน โลหะหนัก เป็นต้น
Thai FDA
แปรรูป/สกัด
พัฒนาตารับ/ผลิตภัณฑ์สาเร็จรูป
มีแผนการผลิต การจาหน่าย การใช้ประโยชน์ ที่ชัดเจน สถานที่ผลิตต้องได้มาตรฐานตามที่กาหนด จัดให้มีการสุ่มตรวจวิเคราะห์เพื่อหาปริมาณสารสาคัญ สารปนเปื้อน โลหะหนัก เป็นต้น สถานที่ผลิตต้องได้รับ GMP หรือหนังสือรับรองมาตรฐานวิธีการใน การผลิตยาแผนโบราณ หรือสมุนไพร จัดให้มีฉลากที่ภาชนะและหีบห่อบรรจุเพื่อเตรียมส่งมอบให้ผู้ป่วย
ใช้ทางการแพทย์ แผนปัจจุบัน – แพทย์/ ทันตแพทย์/สัตวแพทย์ชั้นหนึ่ง แผนไทย – แพทย์แผนไทย ประยุกต์ แพทย์แผนไทย/หมอ พื้นบ้านตามที่ รมว. ประกาศ ที่ผ่านการอบรมหลักสูตรที่ กระทรวง สธ รับรอง สถานพยาบาลต้องมีใบอนุญาต จาหน่าย ยส.๕ การใช้ต้องประเมินประสิทธิผล/ ความปลอดภัย และรายงานต่อ อย.
กระบวนการในการพิจารณาการอนุญาตผลิต (ปลูก) กรณีสถานที่ขออนุญาตปลูกอยู่ในกรุงเทพฯ
1. ยื่นคาขอและเอกสารประกอบคาขอ ณ กองควบคุมวัตถุเสพติด อย. 2. อย.ตรวจสอบเอกสารและสถานที่ขออนุญาตปลูก
เลขาธิการ อย. คณะอนุกรรมการ - เสนอแนวทางพิจารณา - เสนอความเห็น
-พิจารณาอนุญาต
คณะกรรมการ ยส. - ให้ความเห็นชอบ
FDA
กรณีสถานที่ขออนุญาตปลูกอยู่ในต่างจังหวัด ให้คาปรึกษา
ขอความเห็นผู้ว่าฯ สสจ. 1. ยื่นคาขอและเอกสารประกอบคาขอ ณ สสจ.ในพื้นที่ของสถานที่ปลูกตั้งอยู่ 2. สสจ.ตรวจสอบเอกสารและสถานทีข่ ออนุญาตปลูก 3. ส่งเรื่องต่อให้ อย.
ผู้ขออนุญาต
ผู้ว่าฯให้ความเห็น ผ่านการพิจารณาจากผู้ว่าราชการจังหวัด โดย ความเห็นจากคณะกรรมการที่ผู้ว่าฯแต่งตั้ง หรือ คณะทางานจาก ศอ.ปส.(จ)
กระบวนการในการพิจารณาการอนุญาตผลิตอื่นๆ เช่น สกัด แปรรูป ผลิตยา กรณีสถานที่ขออนุญาตปลูกอยู่ในกรุงเทพฯ
1. ยื่นคาขอและเอกสารประกอบคาขอ ณ กองควบคุมวัตถุเสพติด อย. 2. อย.ตรวจสอบเอกสารและสถานที่ขออนุญาตปลูก
เลขาธิการ อย. คณะอนุกรรมการ - เสนอแนวทางพิจารณา - เสนอความเห็น
-พิจารณาอนุญาต
คณะกรรมการ ยส. - ให้ความเห็นชอบ
FDA
กรณีสถานที่ขออนุญาตปลูกอยู่ในต่างจังหวัด ให้คาปรึกษา สสจ.
ผู้ขออนุญาต
1. ยื่นคาขอและเอกสารประกอบคาขอ ณ สสจ.ในพื้นที่ของสถานที่ปลูกตั้งอยู่ 2. สสจ.ตรวจสอบเอกสารและสถานที่ขออนุญาตปลูก 3. ส่งเรื่องต่อให้ อย.
Model การขออนุญาตปลูกกัญชา เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วม ภายใต้บทบัญญัติตามกฎหมายยาเสพติดให้โทษในปัจจุบัน รพ.สต./รพช./ รพท./รพศ.
คู่สัญญา/MOU ลักษณะ Contract farming
ขออนุญาตปลูก โดยต้องได้รับมอบหมายตามคาสั่ง สป. ที่ 631/2563 (ปลัดกระทรวง สธ. มอบหมายให้นายแพทย์ สสจ. เป็นผู้ขออนุญาต นายแพทย์ สสจ. มอบอานาจต่อให้แก่เจ้าหน้าที่ที่อยู่ในความรับผิดชอบได้) รพ.สต./รพช./รพท./รพศ. ได้รับใบอนุญาตปลูก และเป็นผู้ควบคุม/กากับดูแลการปลูก ผลผลิต รพ.สต./รพช./รพท./รพศ. นาผลผลิตกัญชาจาก คู่สัญญา/MOU มาแปรรูป/ผลิตเป็นยากัญชาปรุง
จ่ายให้คนไข้ของตน
• วิสาหกิจชุมชน • วิสาหกิจเพื่อสังคม • สหกรณ์การเกษตร
ปลูก
ตามมาตรฐานการปลูก ตามกฎหมาย
ผลผลิต
ส่งผลผลิตให้หน่วยงานรัฐอื่น เช่น กองพัฒนายาแผนไทยและสมุนไพร ผลิตเป็นยากัญชาสาเร็จรูป
ยากัญชา สาเร็จรูป
ประชาชนรวมกลุ่มเป็น
- โดยใช้เมล็ดพันธุ์ที่ได้รับ หรือเป็นไปตามที่ รพ.สต./รพช./รพท./รพศ. กาหนด - ตามมาตรฐานที่ รพ.สต./รพช./รพท./รพศ. กาหนด - ดาเนินการตามที่ กม.ยส.กาหนด
ผู้ผลิตเป็นผู้กระจายยากัญชาให้สถานพยาบาลด้วยตนเอง ส่งยากัญชาให้กลุ่มเงินทุนหมุนเวียน อย. เป็นผู้จาหน่ายให้สถานพยาบาล
สถานพยาบาล
ข้อมูลการอนุญาตทั้งหมด
นาเข้า
7 ฉบับ
1,007 ฉบับ
ครอบครอง ผลิต ผลิต (ปลูก) (สกัด/แปรรู ป/ปรุง)
36 ฉบับ
35 ฉบับ
86 ฉบับ
(ข้อมูล ณ วันที่ 11/8/63)
จาหน่าย
844
ฉบับ
ข้อมูลรายชื่อ “ผู้ได้รับอนุญาตผลิต (ปลูก) ยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 (กัญชา)” ผลิต(ปลูก) เพื่อทางการแพทย์ 1) GPO 2) ม. แม่โจ้ (เชียงใหม่) 3) สป. (รพ.เจ้าพระยาอภัยภูเบศร ) + มูลนิธิ รพ.เจ้าพระยาอภัยภูเบศ 4) ม.เทคโนโลยีอีสาน (สกลนคร) 5) ม.เกษตรศาสตร์ (สกลนคร) 6) กรมการแพทย์ (ม.แม่โจ้ –แพร่ เฉลิมพระเกียรติ จ.แพร่) 7) กรมแพทย์แผนไทย + วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรอินทรีย์เพชรลานนา จ. ลาปาง 8) กรมการแพทย์ (รพ.มะเร็งอุดรธานี) 9) สป.(รพ. เจ้าพระยาอภัยภูเบศร)+วิสาหกิจชุมชนรักจังฟาร์ม เมล่อนวังน้าเขียว 10) ม. เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา จ.ลาปาง (ปลูกที่แม่ฮ่องสอน) 11) รพ.คูเมือง+วิสาหกิจชุมชนเพลาเพลิน (จ. บุรีรัมย์) 12) สวทช. 13) สป. (รพ.สต.คลองม่วง จ.นครราชสีมา)
14) ม.เทคโนโลยี สุรนารี (นครราชสีมา) 15) สป. (รพ.สต. เชียงพิณ จ.อุดรธานี) 16) สป. (รพ.สต บ้านหนองแซง จ.อุดรธานี) 17) สป. (รพ.สต. บ้านสระแก้ว จ.อุดรธานี) 18) สป. (รพ. ห้วยเกิ้ง จ.อุดรธานี) 19) สป. (รพ.สต.บ้านนาปะขอ จ.พัทลุง) 20) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ผลิต(ปลูก) เพื่อการศึกษาวิจัย (1) ม.แม่โจ้ จ.เชียงใหม่ (พื้นที่เล็ก) (2) ม.มหาสารคาม (คณะเทคโนโลยี/คณะวิทยาศาสตร์) (3) ม.รังสิต (จ.ปทุมธานี) (4) ม.ศิลปากร จ นครราชสีมา (5) สวทช. (6) ม.เทคโนโลยี ราชมงคลพระนคร (กทม. และ นครราชสีมา) (7) ม.ราชภัฎเชียงราย (8) ม.ขอนแก่น (9) ม.สงขลานครินทร์ (10) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (11) ม.ราชภัฎนครราชสีมา (วิสาหกิจชุมชนกลุม่ เกษตรทฤษฎีใหม่ /ศูนย์วิทยาศาสตร์) (12) ม.ราชภัฏสวนสุนันทา (13) กรมการแพทย์+วิสาหกิจชุมชนเจริญศรีเกษตรอินทรีย์ครบวงจร (จ.อุดรธานี)
(ข้อมูล ณ วันที่ 11/8/63)
ข้อมูลรายชื่อ “ผู้ได้รับอนุญาตผลิต (สกัด/แปรรูป/ปรุง) ยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 (กัญชา)” ผลิต(สกัด/แปรรูป)เพื่อทางการแพทย์ 1) GPO 2) สป. (รพ. เจ้าพระยาอภัยภูเบศร ) + มูลนิธิ รพ. เจ้าพระยาอภัยภูเบศรใน พระอุปถัมภ์ฯ 3) รพ. พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร 4) กรมการแพทย์แผนไทย และ การแพทย์ทางเลือก 5) สป. (รพ. คูเมือง จ. บุรีรัมย์) 6) สป. (รพ.สมเด็จพระยุพราชเด่นชัย) 7) สป. (รพ.ดอนตูม จ.นครปฐม) 8) สป. (รพ.ห้วยเกิ้ง จ.อุดรธานี)
ผลิต(สกัด/ แปรรูป) เพื่อการศึกษาวิจัย (1) ม.รังสิต (2) ม. นเรศวร (3) ม.เกษตร กาแพงแสน (จ.นครปฐม) (4) กรมวิทย์ ศูนย์วิทย์ฯ ที่ 1 จ. เชียงใหม่ (5) ม.มหาสารคาม (6) ม.ขอนแก่น (7) กรมแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (8) ม.ศิลปากร (นครปฐม) (9) ม.ราชภัฎนครราชสีมา (10) ม.เทคโนโลยี ราชมงคล พระนคร (กทม.) (11) สวทช. (12) ม.พะเยา (13) ม.สงขลานครินทร์ (14) ม.ราชภัฎเชียงราย (15) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (คณะเภสัชศาสตร์/คณะทันตแพทย์ 3 แห่ง/สระบุร)ี (16) กรมสุขภาพจิต) (17) ม.เกษตรศาสตร์ (ชลบุร)ี (18) กรมวิทย์ (สถาบันวิจัยสมุนไพร/สานักยาวัตถุเสพติด) (19) สป. (รพ.ห้วยเกิ้ง จ.อุดรธานี)
ผลิต (ปรุง) เพื่อผู้ป่วยเฉพาะราย 1) รพ.สต.คลองม่วง จ.นครราชสีมา 2) รพ.สต. เชียงพิณ จ.อุดรธานี 3) กรมการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์ทางเลือก
(ข้อมูล ณ วันที่ 11/8/63)
บัญชีรายงานรับจ่าย - แบบ บ.ย.ส.5 ป (กัญชา/เดือน) - แบบ ร.ย.ส. 5 ป (กัญชา/เดือน) - แบบ ร.ย.ส. 5 ป (กัญชา/ปี)
ปลูก
ผู้ขอรับอนุญาตปลูก (คกก. ยส. เห็นชอบ)
ผลิต
ผู้รับอนุญาตแปรรูป/สกัด ผู้รับอนุญาตผลิตผลิตภัณฑ์ (น้ามันกัญชา ยาแผนไทย หรืออื่นๆ)
บัญชีรายงานรับจ่าย - แบบ บ.ย.ส.5 มป (กัญชา/เดือน) - แบบ ร.ย.ส. 5 มป (กัญชา/เดือน) - แบบ ร.ย.ส. 5 มป (กัญชา/ปี)
รายงานการผลิต
ส่งยาไป รพ.ที่ได้รับอนุญาต
สถานพยาบาล
รักษา
ผู้ป่วย
(มีใบอนุญาตจาหน่ายจากเลขาธิการ อย.)
แพทย์แผนปัจจุบัน (ผ่านการอบรมหลักสูตรที่ กสธ. รับรอง) ต้องใช้ยากัญชา สั่งจ่ายยากัญชา (SAS – Informed consent) รายงานอาการไม่พึงประสงค์
บัญชีรายงานรับจ่าย - แบบ บ.ย.ส.5 จพ (กัญชา/เดือน) - แบบ ร.ย.ส. 5 จพ (กัญชา/เดือน) - แบบ ร.ย.ส. 5 จพ (กัญชา/ปี) การรายงานประสิทธิผล/ADR/SAS
ไม่ต้องใช้ยากัญชา ให้การรักษาวิธีอื่น
แพทย์แผนไทย/หมอพื้นบ้าน (ผ่านการอบรมหลักสูตรที่ กสธ. รับรอง) ต้องใช้ยากัญชา สั่งจ่ายตารับยาแผนไทย รายงานอาการไม่พึงประสงค์
ไม่ต้องใช้ยากัญชา ให้การรักษาวิธีอื่น
มาตรการควบคุม
Licensing
กระบวนการพิจารณา อนุญาต
Thai FDA
Inspection
การตรวจสอบสถานที่ ก่อนอนุญาต
Report
• • • • •
รายงานการรับ-จ่าย รายงานอาการไม่พึงประสงค์ ประสิทธิผลการรักษา คุณภาพผลิตภัณฑ์ ระบบ Track & Trace
surveillance การตรวจติดตาม หลังอนุญาต
พัฒนาระบบสารสนเทศรองรับการติดตาม ตรวจสอบย้อนกลับ รวมถึงระบบสืบค้นข้อมูลกัญชาเพื่อให้บริการกับประชาชน
• Track and trace from Farm to patient along the supply chain • Realtime system เพื่อให้สามารถติดตามได้ทั้งระบบ และทราบปริมาณ stock ใช้ รหัสบ่งชี้บนผลิตภัณฑ์กัญชาทุกชิ้น (uses serialized tags with barcodes) ตรวจสอบข้อมูลพื้นฐานผลิตภัณฑ์กัญชาที่ได้รับอนุญาตจาก อย ให้ผลิต และจาหน่าย ผ่าน Application Smartbar บน mobile application • ระบบสืบค้นข้อมูลกับประชาชน http://cannabis.fda.moph.go.th/
Thai Cannabis Track-and-Trace (TCTT) system inventory Report REPORT
Track & Trace data
inventory Report REPORT
Track & Trace data
REPORT
บันทึกการสั่งใช้กัญชาผ่านระบบ ตารับที่จ่าย-ชื่อคนไข้-จานวนที่จ่าย-แพทย์ที่สั่งใช้ บันทึกรายงานความปลอดภัยจากการใช้กัญชา ตารับแผนไทย (SAS) / แผนปัจจุบัน (AUR)
การประเมินประสิทธิผลและความปลอดภัยจากการใช้กัญชาทางการแพทย์
Hospital & clinic
patients
Cannabis tracking & licensing system 1.สรุปรายงานความปลอดภัยตามช่วงระยะเวลา (summary periodic safety report) ทุก 6 เดือนจนครบ ระยะเวลา 2 ปีนับตั้งแต่วันที่ผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลาด 2.จัดทา Company Core Data Sheet ที่ระบุข้อมูล เกี่ยวกับข้อบ่งชี้ของการใช้กัญชา ประสิทธิผลและความ ปลอดภัย และพิจารณาปรับปรุงข้อมูลตามผลการเฝ้าระวัง
ติดตามประเมินประสิทธิผลและความ ปลอดภัยจากการใช้ และรายงานผ่านระบบ เฝ้าระวังความปลอดภัยผลิตภัณฑ์กัญชา
การจัดเตรียมสถานที่ปลูก ปลูกกลางแจ้ง (outdoor)
ปลูกในโรงเรือน (semi - outdoor)
ปลูกในระบบปิด (indoor)
ข้อดี
โมเดลการปลูกกัญชาระบบปิด
• • • • •
ปลูกกัญชาในระบบปิด (Indoor Cutivation) มีการควบคุมระยะเวลาในการให้แสง น้า สารอาหาร ได้ผลผลิต (ช่อดอก ใบ) ที่มีคุณภาพ ปริมาณสูง สามารถคุมสภาพแวดล้อมและศัตรูพืชได้ วางแผนการปลูก และเก็บเกี่ยวได้ทั้งปี
ข้อเสีย • ต้นทุนการดาเนินการสูง • ต้องมีความเชี่ยวชาญด้านเทคนิค / ไฟเทียม
45
ข้อดี โมเดลการปลูกกัญชา (ในโรงเรือน greenhouse)
• • • •
ต้นกัญชาสามารถใช้แสงธรรมชาติได้เต็มที่ ต้นทุนการดาเนินการต่า น้อยกว่าการปลูกในระบบปิด สามารถคุมสภาพแวดล้อมและศัตรูพืชได้บางส่วน เหมาะกับกัญชาสายพันธุ์ไทย
ข้อเสีย • สามารถควบคุมคุณภาพผลผลิตได้ แต่ต้องใช้ เทคนิคต่างๆ และอาศัยความเชี่ยวชาญ • การปลูกและเก็บเกี่ยวได้แค่ ๒ ครั้งต่อปี
โมเดลการปลูกกัญชา (แปลงปลูกกลางแจ้ง) ข้อดี • ต้นกัญชาสามารถใช้แสงธรรมชาติได้เต็มที่ • ต้นทุนการดาเนินการต่า • เหมาะกับกัญชาสายพันธุ์ไทย • สามารถควบคุมคุณภาพผลผลิตได้ แต่ต้องใช้เทคนิค และอาศัยความเชี่ยวชาญ
• • • •
ข้อเสีย ไม่สามารถคุมศัตรูพืช แมลง หรือโรคพืชได้ ไม่สามารถคุมแสง อุณหภูมิ การปลูกและเก็บเกี่ยวได้แค่ ๑ ครั้งต่อปี ได้ผลผลิตน้อยถ้าปลูกไม่ตรงตามฤดูกาล
ภาพตัวอย่างสถานที่ปลูก
การติดตั้งรั้วบีมอินฟาเรดเซนเซอร์ 4 ลาแสง และสัญญาณกันขโมยภายนอกอาคาร
ติดตั้งระบบแจ้งเตือนสัญญาณกันขโมยตลอด 24 ชั่วโมง ในยามวิกาลตั้งแต่ 22:00 –06:00 น ห้ามเข้าใกล้พื้นที่ติดตั้งรั้วบีมฯ ในระยะเกิน 2 เมตร หากมีผู้บุกรุกสัญญาณจะเตือนภัย แล้วถูกส่งไปยังสถานีตารวจ โดยการติดตั้งระบบออนไลน์ที่สามารถเชื่อมสัญญาณภาพวีดีโอ ให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบได้ 49
สถานที่ผลิต (ปลูก) Indoor cultivation (ใช้ในทางการแพทย์)
Thai FDA
โครงการสร้างความรับรู้และความเข้าใจในการใช้ประโยชน์กัญชาทางการแพทย์
วันที่ 14 พ.ย 2561
สถานที่ผลิต (ปลูก) Indoor cultivation (ใช้ในทางการแพทย์)
Thai FDA
โครงการสร้างความรับรู้และความเข้าใจในการใช้ประโยชน์กัญชาทางการแพทย์
วันที่ 14 พ.ย 2561
ระบบการรักษาความปลอดภัยของสถานที่ผลิต (ปลูก)
Thai FDA
โครงการสร้างความรับรู้และความเข้าใจในการใช้ประโยชน์กัญชาทางการแพทย์
วันที่ 14 พ.ย 2561
ป้ายแสดงสถานที่ผลิต (ปลูก)
Thai FDA
โครงการสร้างความรับรู้และความเข้าใจในการใช้ประโยชน์กัญชาทางการแพทย์
วันที่ 14 พ.ย 2561
สถานที่ผลิต (ปลูก)
กล้องวงจรปิด เครื่องสแกนนิ้ว สัญญานเตือน
Thai FDA
โครงการสร้างความรับรู้และความเข้าใจในการใช้ประโยชน์กัญชาทางการแพทย์
วันที่ 14 พ.ย 2561
ประตู ทางเข้า-ออก บริเวณเพาะปลู ก (รว้ั ด้านนอก) กล้องวงจรปิ ด หันไปทางประตู เข้า-ออก
่ ตซึงยาเสพติ ่ มีป้าย “สถานทีผลิ ดให้ โทษในประเภท 5”
ประตู ทางเข้าแรกรว้ั ด้านนอก ้ ใช้ระบบสแกนนิ ว มือ
้ เพาะปลู ่ ลักษณะพืนที ก: โรงพยาบาลเจ้าพระยา อภัยภู เบศร
โรงเรือน
แปลงเปิ ด
โรงเรือนเพาะปลู ก 1 (Greenhouse 1)
ประตู ทางเข้าโรงเรือน 1 ้ ้ อ ติดตังระบบสแกนนิ วมื
บริเวณภายในโรงเรือน 1 ปลู กโดยใช้ดน ิ ผสม
มีกล้องวงจรปิ ดภายใน โรงเรือน จานวน 1 ตัว บริเวณมุมใกล้ ประตู ทางเข้า
โรงเรือนเพาะปลู ก 2 (Greenhouse 2)
ประตู ทางเข้าโรงเรือน 2 ้ ้ อ ติดตังระบบสแกนนิ วมื
บริเวณภายในโรงเรือน 2 ปลู กโดยระบบ Hydroponic
มีกล้องวงจรปิ ดภายใน โรงเรือน จานวน 1 ตัว บริเวณมุมใกล้ ประตู ทางเข้า
แปลงเปิ ด (ปลู กกลางแจ้ง)
ประตู ทางเข้าแปลงเปิ ด ้ ้ อ ติดตังระบบสแกนนิ วมื
บริเวณภายแปลงเปิ ด ปลู ก กลางแจ้ง โดยใช้ดน ิ
มีกล้องวงจรบริเวณมุมรว้ั ด้านนอก จานวน 1 ตัว หันเข้าทาง บริเวณแปลงปลู ก
กล้องวงจรปิด พื้นที่ปลูกกลางแจ้ง
มีการจัดทารั้วบริเวณรอบนอกพืน้ ที่
สถานที่ผลิต (ปลูก) Semi-outdoor cultivation (ใช้ในทางการแพทย์) ป้ายแสดง “สถานที่ผลิตซึ่ง ยาเสพติดให้โทษในประเภท 5”
Thai FDA
ประตู แรกเป็ นรั้วบรูเหล็ กมีกุญาใจในการใช้ แจล็อคประโยชน์กัญชาทางการแพทย์ โครงการสร้ างความรั ้และความเข้
ติดตั้งกล้อง CCTV บนiบริเวณด้านหลัง ประตูเหล็ก
วันที่ 14 พ.ย 2561
Thai FDA
โครงการสร้างความรับรู้และความเข้าใจในการใช้ประโยชน์กัญชาทางการแพทย์
วันที่ 14 พ.ย 2561
รั้วทางเข้าพื้นที่เพาะปลูก : ประตูขั้นที่สอง
Thai FDA
Electronic Access control เปิดปิดด้วยระบบสแกนนิ้วมือ (Finger Scan) โครงการสร้างความรับรู้และความเข้าใจในการใช้ประโยชน์กัญชาทางการแพทย์ วันที่ 14 พ.ย 2561
Thai FDA
โครงการสร้างความรับรู้และความเข้าใจในการใช้ประโยชน์กัญชาทางการแพทย์
วันที่ 14 พ.ย 2561
โรงเรือนปลู ก
= กล้อง CCTV
Thai FDA
ภายใน: - มีประตูเข้า-ออกโรงเรือนปลูก 1 จุด แบบ Access control - มีกล้อง cctv 8 ตัว อยู่ที่มุม โรงเรือนทั้งสองฝัง่ โดยครอบคลุม ทั้งพ.ย หมด2561 โครงการสร้างความรับรู้และความเข้าใจในการใช้ประโยชน์กัญชาทางการแพทย์ พื้นทีวัน่ปทีลู่ ก14
ผลการตรวจสอบพื้นที่ ผลิต (ปลูก) กัญชา CCTV
ประตูทางออกไปพื้นที่ เผาทาลาย และพื้นที่ เตรียมดินปลูก พื้นที่เตรียมดินปลูก
ตัวอย่างกล้องวงจรปิดบริเวณพื้นที่ เตาเผาทาลาย
69
ผลการตรวจสอบพื้นที่ ผลิต (ปลูก) กัญชา ห้องตัด/เก็บเกี่ยวดอกสด
ห้องตาก/บรรจุดอกแห้ง
เครื่องดูดความชื้น
พื้นที่สาหรับเก็บผลผลิตที่เก็บเกี่ยว 70
ผลการตรวจสอบพื้นที่ ผลิต (ปลูก) กัญชา ห้องเก็บดอกแห้ง/เมล็ดพันธุ์
ตู้เก็บนิรภัยอัตโนมัติ เก็บดอกแห้ง/ เมล็ดพันธุ์
ห้องเก็บเศษ ต้น/ใบ/ราก รอการทาลาย
พื้นที่สาหรับเก็บผลผลิตที่เก็บเกี่ยว 71
ผลการตรวจสอบพื้นที่ ผลิต (ปลูก) กัญชา พื้นที่เตรียมสินค้าเพื่อการส่งมอบ
พื้นที่สาหรับเก็บผลผลิตที่เก็บเกี่ยว 72
กล้องวงจรปิดครอบคลุมพื้นที่ และ มีระบบ Back up ข้อมูล พร้อมออนไลน์สัญญาณภาพ ไปยังผู้ที่รับผิดชอบ
อาคารเก็บดอกกัญชาแห้ง และส่วนต่างๆ
ห้องควบคุม และสถานที่จัดเก็บเมล็ดพันธุ์นาเข้า
ตู้เก็บเมล็ดพันธุ์นาเข้า มีตู้ล็อกกุญแจ และมี กล้องวงจรปิดภายในพื้นที่
จัดเตรียมบันทึกเบิก-จ่ายเมล็ดพันธุ์
มาตรการและคู่มือการปฏิบัติงาน (SOP) มาตรการรักษาความปลอดภัย
การควบคุมการปลูก การควบคุมการผลิต
SOP
มาตรการควบคุมการขนส่ง
มาตรการควบคุมการทาลาย
ตัวอย่างการตรวจสถานที่ ผลิต (ปลูก) กัญชา ของรพ.สต. ร่วมกับวิสาหกิจชุมชนฯ มีป้ายแสดงสถานที่ผลิต
เครื่องแสกนลายนิ้วมือ
ประตูทางเข้าออกพื้นที่ รอบนอกเพาะปลูกมีทาง เดี ย วและ มี ก า รติ ด ตั้ ง เครื่ อ งแสกนลายนิ้ ว มื อ ก่อนเข้าพื้นที่
ตัวอย่างการตรวจสถานที่ ผลิต (ปลูก) กัญชา ของรพ.สต. ร่วมกับวิสาหกิจชุมชนฯ ภาพแสดง ประตูทางเข้า สูงประมาณ 2 เมตร ทาด้วยเหล็กติดตะแกรง มีกุญแจ
ภาพแสดง พื้นที่เพาะปลูกต้นกัญชา เป็นโรงเรือน ขนาด ๔๘ ตร.ม. (กว้าง ๔ เมตร ยาว ๑๒ เมตร) 77
ตัวอย่างการตรวจสถานที่ ผลิต (ปลูก) กัญชา ของรพ.สต. ร่วมกับวิสาหกิจชุมชนฯ
กล้องวงจรปิดภายนอกโรงเรือน จานวน ๔ เครื่อง 78
ตัวอย่างการตรวจสถานที่ ผลิต (ปลูก) กัญชา ของรพ.สต. ร่วมกับวิสาหกิจชุมชนฯ กล้องวงจรปิดภายในโรงเรือน จานวน ๒ เครื่อง
ด้านหน้าโรงเรือน
ด้านท้ายโรงเรือน
79
ตัวอย่างการตรวจสถานที่ ผลิต (ปลูก) กัญชา ของรพ.สต. ร่วมกับวิสาหกิจชุมชนฯ ระบบแจ้งเตือนภัย
มีระบบกล้องวงจรปิด ตลอด ๒๔ ชั่วโมง และ สารองข้อมูลไว้ ๑ ปี โดยมีระบบ Motion sensor ตรวจจับการเคลื่อนไหว
อุปกรณ์เก็บกัญชารอทาลาย
จัดเตรียมอุปกรณ์เก็บส่วนที่เหลือของกัญชา สาหรับรอทาลาย และจัดเตรียมพื้นที่สาหรับฝังกลบ ภายในรั้ว 80
ไม่มีระบบป้องกัน ตรวจสอบการเข้าออกพื้นที่
Thai FDA
โครงการสร้างความรับรู้และความเข้าใจในการใช้ประโยชน์กัญชาทางการแพทย์
วันที่ 14 พ.ย 2561
รั้วไม่มั่นคงแข็งแรง
Thai FDA
โครงการสร้างความรับรู้และความเข้าใจในการใช้ประโยชน์กัญชาทางการแพทย์
วันที่ 14 พ.ย 2561
พื้นที่ปลูกกลางแจ้ง
Thai FDA
โครงการสร้างความรับรู้และความเข้าใจในการใช้ประโยชน์กัญชาทางการแพทย์
วันที่ 14 พ.ย 2561
สถานที่ผลิต (ปลูก)
ห้องอบช่อดอกภายหลังการเก็บเกี่ยว Thai FDA
โครงการสร้างความรับรู้และความเข้าใจในการใช้ประโยชน์กัญชาทางการแพทย์
วันที่ 14 พ.ย 2561
สถานที่ผลิต (ปลูก)
ห้องที่เตรียมไว้เป็นสถานทีเ่ ก็บส่วนที่เหลือจากการเก็บเกี่ยว รอทาลาย Thai FDA
โครงการสร้างความรับรู้และความเข้าใจในการใช้ประโยชน์กัญชาทางการแพทย์
วันที่ 14 พ.ย 2561
ภาพตัวอย่างสถานที่ผลิต (สกัด)
Thai FDA
โครงการสร้างความรับรู้และความเข้าใจในการใช้ประโยชน์กัญชาทางการแพทย์
วันที่ 14 พ.ย 2561
แผนผังสถานที่ผลิต
x
x
x
x
x
x
x
x x
x x
x x
x
ระบบกล้องวงจรปิด จานวน ๑๖ ตัว ได้แก่ ติดตั้งบริเวณพื้นที่ผลิต ชั้น ๒ จานวน ๑๒ ตัว บริเวณทางเข้าชั้น ๑ จานวน ๒ ตัว และโรงเรือนตากแห้ง จานวน ๒ ตัว เครื่องสแกนใบหน้า / ลายนิ้วมือ จานวน ๔ ตัว บริเวณทางเข้าหลัก ห้องเก็บวัตถุดิบ ห้องเก็บผลิตภัณฑ์กัญชา และห้องบดกัญชา
ผลการตรวจสอบพื้นที่ ผลิต กัญชา
CCTV
บริเวณทางขึ้นอาคารผลิตชั้น ๒
บริเวณประตูทางเข้าอาคารมีการติดตั้งกล้องวงจรปิด จานวน ๒ ตัว 88
ผลการตรวจสอบพื้นที่ ผลิต กัญชา
บริเวณประตูทางเข้าพื้นที่การผลิต ชั้น ๒ มีการติดตั้งเครื่องสแกนใบหน้า / ลายนิ้วมือ ทั้งการสแกนเข้าและออกพื้นที่ 89
ผลการตรวจสอบพื้นที่ ผลิต กัญชา
ห้องเก็บวัตถุดิบกัญชาและห้องเก็บผลิตภัณฑ์ยากัญชา ใช้ระบบเครื่องสแกนเพื่อควบคุมการเข้าออกพื้นที่ โดยต้องทาการสแกน ๒ คน จึงจะสามารถเปิดเข้าห้องได้ รวมทั้งมีกล้องวงจรปิด 90
ผลการตรวจสอบพื้นที่ ผลิต กัญชา
ห้องต่างๆที่ใช้ในกระบวนการผลิต ได้แก่ ห้องล้างวัตถุดิบ ห้องบดกัญชา ห้องผสมยาเข้ากัญชา ห้องผลิตยา เข้ากัญชา ห้องบรรจุแคปซูล มีระบบกล้องวงจรปิดควบคุม 91
ผลการตรวจสอบพื้นที่ ผลิต กัญชา
มีการติดตั้งกล้องวงจรปิดบริเวณพื้นที่โดยรอบ และมีระบบตรวจสอบภาพจากกล้องวงจรปิดทั้ง ๑๖ ตัว 92
ตัวอย่างการตรวจสอบ
แบบบันทึกการตรวจสอบสถานที่ ผ่านเกณฑ์ คะแนนในแต่ละหัวข้อและคะแนนรวมทุกหัวข้อ ได้มากกว่าหรือเท่ากับ 70 % ข้อที่เป็น major defect ไม่มีข้อไหนที่ได้คะแนน 0 (ปรับปรุง)
ไม่ผ่านเกณฑ์ คะแนนในบางหัวข้อหรือคะแนนรวมทุกหัวข้อ ได้น้อยกว่า 70 % มีข้อใดข้อหนึ่งที่เป็น major defect ที่ได้คะแนน 0 (ปรับปรุง)
ตัวอย่างการตรวจสอบ
ตัวอย่างการตรวจสอบ
ขอขอบคุณ ผู้บริโภคปลอดภัย ผู้ประกอบการก้าวไกล ระบบคุ้มครองสุขภาพไทยยั่งยืน
การขอรับอนุญาต ปลูก และ ผลิต กัญชาทางการแพทย์ กองควบคุมวัตถุเสพติด 20 พฤศจิกายน 2562
การขอรับอนุญาต ปลูก และ ผลิต กัญชาทางการแพทย์ กองควบคุมวัตถุเสพติด 20 พฤศจิกายน 2562
การขอรับอนุญาต ปลูก และ ผลิต กัญชาทางการแพทย์ กองควบคุมวัตถุเสพติด 20 พฤศจิกายน 2562
การขอรับอนุญาต ปลูก และ ผลิต กัญชาทางการแพทย์ กองควบคุมวัตถุเสพติด 20 พฤศจิกายน 2562
การขอรับอนุญาต ปลูก และ ผลิต กัญชาทางการแพทย์ กองควบคุมวัตถุเสพติด 20 พฤศจิกายน 2562
การขอรับอนุญาต ปลูก และ ผลิต กัญชาทางการแพทย์ กองควบคุมวัตถุเสพติด 20 พฤศจิกายน 2562
การขอรับอนุญาต ปลูก และ ผลิต กัญชาทางการแพทย์ กองควบคุมวัตถุเสพติด 20 พฤศจิกายน 2562