รายงานสรุปผลการดําเนินงาน งวดที่ ๑ โครงการพัฒนาธุรกิจเพื่อสังคมคนบุญ ดวยชองทางสังคมออนไลน
ดําเนินการโดย
ศูนยปฏิบัติการเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาสม ต.แมสาบ/ยั้งเมิน อ.สะเมิง จ.เชียงใหม
สนับสนุนโดย
ศูนยคุณธรรม จัดทําเมื่อ กุมภาพันธ ๒๕๕๖
ส่ วนที ๑ รายงานสรุปผลการใช้ จ่าย
ส่ วนที ๒ รายงานสรุปผลการดําเนินกิจกรรม
รายงานสรุ ปผลการดําเนินงาน งวดที ๑ โครงการพัฒนาธุรกิจเพือสั งคมคนบุญด้ วยช่ องทางสังคมออนไลน์ หน่ วยงาน/องค์ กร ศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผู้ประสานงาน พระครู ธรรมคุต (สรยุทธ ชยป ฺ โญ) เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผูอ้ าํ นวยการศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ทีอยู่ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ตําบลแม่สาบ/ยังเมิน อําเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ โทร ๐๘๙ ๙๒๖ ๓๘๗๗ E-mail: doiphasom@gmail.com วัตถุประสงค์ ของโครงการ ๑) สร้างแหล่งเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียงทังขันพืนฐานและก้าวหน้าบนโลกไซเบอร์ คือ เว็บไซต์ (Website) และสื อสังคมออนไลน์ (Social Media) เพือการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ องค์ความรู ้ กิจกรรม บทเรี ยน และบุคคลต้นแบบ เพือการเสริ มสร้าง เครื อข่ายคนบุญให้ขยายในวงกว้าง ๒) เกิดการขับเคลือนแนวคิดและภาคปฏิบตั ิของขบวนบุญ (Social Enterprise) ทีนําบุญ และคุณธรรมความกตัญ ูต่อทรัพยากรธรรมชาติเป็ นตัวตังในการดําเนิ นธุ รกิจเพือ สังคม ๓) เสริ มหนุ นเครื อข่ายเดิ มให้เข้มแข็งและขยายเครื อข่ายใหม่ให้สามารถพึงตนเองได้ อย่างยังยืน ความคืบหน้ าของกิจกรรม กิจกรรมที ๑ ประชุมเชิงปฏิบตั ิการอบรมชีแจงโครงการ วัตถุประสงค์ ของกิจกรรมที ๑ เพือชีแจงและทําความเข้าใจในรายละเอียดของโครงการทังในส่ วนของเครื อข่ายเศรษฐกิจ พอเพียง และผูป้ ระสานงานทีจะร่ วมกันผลิตสื อพืนบ้านและทดลองนําไปใช้จริ ง ผลลัพธ์ ทเกิ ี ดขึน ๑) แกนนํา ครั ว เรื อนและผู ้ป ระสานงานกลางเพื อการผลิ ต สื อได้มี ค วามเข้า ใจใน กระบวนการขันตอนรายละเอียดแผนการดําเนิ นงานโครงการและได้เห็นทิศทางการ ขับเคลือนโครงการได้อย่างชัดเจนจากแผนปฏิบตั ิงานทีได้จากการประชุม
๒) คณะทํางานสามารถกลับไปเตรี ยมปฏิบตั ิการได้ทนั ที
งบประมาณจาก ศูนย์ คุณธรรม กําหนดไว้ บาท งบทีเหลือ บาท ผลทีคาดว่ าจะได้ รับ ตัวชีวัดทีตังไว้ ได้คณะทํางานเข้าใจรายละเอียดแผนการ ดําเนินงานของโครงการและสามารถกลับไป เตรี ยมปฏิบตั ิการได้ทนั ที
ใช้จ่ายจริ ง
-
บาท
ตัวชีวัดทีเกิดจริง คณะทํางานเข้าใจและมีแผนปฏิบตั ิงานทัง ภาพรวมและของแต่ละคน
ผลกระทบจากการทําโครงการ (ความสํ าเร็จ / อุปสรรค) - ความสํ าเร็จ ๑. ได้แกนนําครัวเรื อน ๑๐ ครัวเรื อน และทีมประสานงานกลางเพือการผลิตสื อจํานวน ๑๐ คน ๒. คณะทํางานได้ทราบถึงกระบวนการขับเคลือนโครงการและแผนปฏิบตั ิงานแต่ละรายบุคคล - อุปสรรค ๑. ทีมประสานงานกลางเพือการผลิตสื อยังขาดประสบการณ์ในกระบวนการทํางานเรื องของ “สื อพืนบ้าน” ในระดับชุมชนจึงทําให้การถ่ายทอดแผนงานเป็ นไปด้วยความล่าช้า ๒. ความเข้าใจในเรื อง “สื อพืนบ้าน” ทีชาวบ้านสามารถผลิตสื อได้เองเป็ นเรื องใหม่ของชาวบ้าน ซึงต้องอาศัยเวลาและความต่อเนืองในการทําความเข้าใจ แผนงาน/และความต่ อเนือง ๑) ที ม งานประสานงานกลางและที มแกนนํา ชาวบ้า นช่ ว ยกัน ร่ า งแผนปฏิ บ ัติ ง านตลอด โครงการร่ วมกัน เพือให้เข้าใจภาพรวมของโครงการตรงกัน ๒) ทีมประสานงานกลางประชุมแลกเปลียนข้อมูลจากการได้ศึกษาเพิมเติมเรื องกระบวนการ ผลิตสื อพืนบ้าน โดยชาวบ้าน เพือปวงชน ๓) ทีมประสานงานกลางเข้าพูดคุยกับแกนนํา ๑๐ ครัวเรื อนเพือเตรี ยมแผนงานร่ วมกันในการ ผลิตสื อก่อนมีการอบรมทําสื อในกิจกรรมต่อไป โดยแต่ละคนมอบหมายให้ประสานงาน ชาวบ้าน ๒ คน
รายงานสรุปผลการดําเนินงาน งวดที ๑ โครงการพัฒนาธุรกิจเพือสั งคมคนบุญด้ วยช่ องทางสังคมออนไลน์ กิจกรรม ๒. อบรมเชิงปฏิบตั ิการกระบวนการผลิตสื อพืนบ้าน หน่ วยงาน/องค์ กร ศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผู้ประสานงาน พระครู ธรรมคุต (สรยุทธ ชยป ฺ โญ) เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผูอ้ าํ นวยการศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม โทร. ๐๘๙ ๙๒๖ ๓๘๗๗ E-mail: doiphasom@gmail.com วัตถุประสงค์ของกิจกรรมที ๒ ๑) เพือสร้างกระบวนการการมีส่วนร่ วมของชาวบ้านในการผลิตสื อของตนเอง คือ เว็บไซต์ เพือการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ องค์ความรู ้ กิจกรรม บทเรี ยนและบุคคลต้นแบบด้าน เศรษฐกิจพอเพียง เพือเสริ มสร้างเครื อข่ายคนบุญให้ขยายในวงกว้าง ๒) เพือสร้างความคุน้ เคยระหว่างทีมประสานงานกลางเพือผลิตสื อกับทีมแกนนําชาวบ้านที เป็ นต้นเรื อง (พระเอก) ในสื อวิดีโอ/เนือหาบนเว็บไซต์ ทําให้กระบวนการผลิตสื อดําเนิน ไปได้อย่างราบรื น ผลลัพธ์ ทเกิ ี ดขึน แกนนําชาวบ้านและทีมประสานงานกลางเกิดกระบวนการเรี ยนรู ้ร่วมกันเกียวกับการผลิต สื อพืนบ้านซึ งเป็ นเรื องใหม่สําหรับทังสองฝ่ าย ซึ งต้องอาศัยความต่อเนื องและสมําเสมอในการ ติดต่อสื อสารและลงพืนทีของทีมงานผลิตสื อ งบประมาณจาก ศูนย์ คุณธรรม กําหนดไว้ ๙๑,๕๐๐ บาท งบทีเหลือ ๕๑,๐๐๐ บาท ผลทีคาดว่ าจะได้ รับ ตัวชีวัดทีตังไว้ แกนนําทัง ๑๐ ครัวเรื อนและทีม ประสานงานกลางมีความรู ้ความเข้าใน กระบวนการผลิตสื อ/การใช้งานและดูแล รักษาเบืองต้น
ใช้จ่ายจริ ง
๔๐,๕๐๐
ตัวชีวัดทีเกิดจริง แกนนําทัง ๑๐ ครัวเรื อนมีความรู ้ความเข้าใจ มากกว่าเดิมจากทีไม่เคยรู ้เกียวกับกระบวนการ ผลิตสื อเลย
บาท
ผลกระทบจากการทําโครงการ (ความสํ าเร็จ / อุปสรรค) - ความสํ าเร็จ ๑. เกิดความคุน้ เคยระหว่างแกนนําครัวเรื อน ๑๐ ครัวเรื อน และทีมประสานงานกลางเพือการผลิต สื อจํานวน ๑๐ คนและเกิดความรู ้ความเข้าใจตรงกันในการผลิตสื อ ๒. เกิดแผนปฏิบตั ิงานรายบุคคลของแกนนําชาวบ้านและแผนงานกิจกรรมของทีมงานผลิต วีดีโอสารคดี (VDO Script) ๓. เกิดการรวบรวมองค์ความรู ้ทีถอดบทเรี ยนจากชาวบ้านเป็ นข้อมูลดิบในการทําสื อสิ งพิมพ์ ออนไลน์ต่อไป (Khowledge Pocket book) - อุปสรรค การผลิตสื อพืนบ้านเป็ นกระบวนการหนึงทีสามารถเกิดการมีส่วนร่ วมกับชาวบ้าน แต่ เนืองจากเป็ นเรื องใหม่ ต้องเวลามากในการทําความเข้าใจ ทีมวิทยากรจึงใส่ กิจกรรมเพิมเติมหลาย กิจกรรมเพือให้เกิดความเข้าใจโดยปรับเปลียนตารางกิจกรรม เพือทีจะทําให้ทุกคนเห็นภาพสําเร็ จ ตรงกันว่าสื อวีดีโอ สื อสิ งพิมพ์บนเว็บไซต์เป็ นเพียงส่วนหนึงทีเขาจะได้รับผลดี/กระทบ อย่างไร หลังจากนันจึงเริ มอธิบายถึงขันตอนการผลิตสื อทีชาวบ้านสามารถทําได้ คือ การให้ขอ้ มูลดิบกับทีม ผลิตสื อ การคิดบทพูด การเตรี ยมสถานที และทีมผลิตสื อเองจะต้องเตรี ยมมีอะไรบ้าง มีขนตอน ั อย่างไรในการให้ได้มาซึงข้อมูลอย่างไร แผนงาน/และความต่ อเนือง ๑) ที มประสานงานกลางผลิ ตสื อมี แ ผนกิ จ กรรมประจํา เดื อ นเพื อลงพืนที ถ่ า ยทําวี ดี โ อที ชาวบ้านเป็ นคนเขียนบทเอง แสดงและจัดฉาก เตรี ยมอุปกรณ์เอง ๒) ทีมงานกลางเริ มดําเนินถ่ายทําสื อวีดีโอจริ งกับแกนนําชาวบ้านหลังจากจบกิจกรรมอบรม ทันทีเพือให้เกิดความต่อเนืองของชินงานทีจะนําไปถ่ายทอดในเว็บไซต์ต่อไป ๓) ทีมงานประสานงานกลางผลิตสื อเริ มศึกษาหาข้อมูลเพิมเติมเรื องการทําเว็บไซต์ และหา ทีมงานทําเว็บไซต์เสริ มซึ งเป็ นผูเ้ ชียวชาญเฉพาะด้านร่ างแบบเว็บไซต์ตามตัวแบบทีอยาก ให้ปรากฏบนเว็บไซต์ ให้สอดคล้องกับข้อมูลดิบทีอยูใ่ นมือ
รายงานสรุ ปผลการดําเนินงาน งวดที ๑ โครงการพัฒนาธุรกิจเพือสั งคมคนบุญด้ วยช่ องทางสังคมออนไลน์ กิจกรรม ๓. คาราวานบุญ (๑ วัน/เดือน ตลอด ๕ เดือน รวม ๕ ครัง) หน่ วยงาน/องค์ กร ศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผู้ประสานงาน พระครู ธรรมคุต (สรยุทธ ชยป ฺ โญ) เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผูอ้ าํ นวยการศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม โทร. ๐๘๙ ๙๒๖ ๓๘๗๗ E-mail: doiphasom@gmail.com วัตถุประสงค์ของกิจกรรมที ๓ ๑) เพือการประชาสัมพันธ์แนวคิดและกิจกรรมจากสมาชิกในเครื อข่ายสู่ ชาวเมืองเชียงใหม่ ขยายฐานคนบุญ คนอุดมการณ์เดียวกันให้กว้างขึน ๒) เพือเกิ ดการแลกเปลี ยนเรี ยนรู ้ บทเรี ยน ปรั บปรุ งแก้ไขพัฒนา และเติมกําลังใจในการ ขับเคลือนเครื อข่ายเพือการพึงพาตนเอง ผลลัพธ์ ทเกิ ี ดขึน ๑) สามารถจัดคาราวานบุญ ๒ ครัง (จาก ๕ ครัง) ๒) แนวคิดของโครงการใหญ่ คือ การเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์โมเดล “ขบวนบุญ” เป็ นทีรับรู ้ ของชาวเมืองเชี ยงใหม่มากขึน สะท้อนจากการลงชื อขอเข้าร่ วมเป็ นอาสาสมัครหรื อสนใจติดตาม กิจกรรมและสังซือผลิตภัณฑ์เพิมเติมในอนาคต งบประมาณจาก ศูนย์ คุณธรรม กําหนดไว้ ๖๔,๙๐๐ บาท ใช้จ่ายจริ ง ๓๑,๘๗๕ บาท งบทีเหลือ ๓๓,๐๒๕ บาท ผลทีคาดว่ าจะได้ รับ ตัวชีวัดทีเกิดจริง ตัวชีวัดทีตังไว้ กลุ่มเป้ าหมาย คนในเมือง สามารถจัดคาราวานบุญทัง ๒ ครัง โดยมีผรู ้ ับรู ้สือ รับรู ้รับรู ้สือประชาสัมพันธ์ ประชาสัมพันธ์ไม่ตากว่ ํ าครังละ๑๕๐ คน รวม ๓๐๐ คน ๑,๐๐๐ คน ผ่านการลงชือในสมุดเยียมและแจ้งความประสงค์จะร่ วม กิจกรรมอาสาหรื อการกรอกแบบสอบถาม รวมทังมีคน กดไลค์หรื อเยียมชมเฟสบุค๊ แฟนเพจ (แหล่งติดตามความ เคลือนไหวชัวคราวของคาราวานบุญ) อีกกว่า ๑๐๐ คน สําหรับคาราวานบุญอีก ๓ ครัง จะจัดในงวดถัดไป
ผลกระทบจากการทําโครงการ (ความสํ าเร็จ / อุปสรรค) - ความสํ าเร็จ ๑. สามารถเผยแพร่ ให้กลุ่มเป้ าหมาย คือ คนเมืองเชียงใหม่ได้รับรู ้สือประชาสัมพันธ์ได้มากกว่า ๓๐๐ คน จากการจัดกิจกรรม ๒ ครัง ๒. กลุ่มเป้ าหมายจํานวนหนึงสนใจร่ วมเป็ นอาสาสมัครกับเราทังกิจกรรมสร้างฝาย ปลูกป่ า ดับไฟ และช่วยออกงานขายผลิตภัณฑ์ เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ๓. กลุ่มเป้ าหมายคนเมืองโดยเฉพาะกลุ่มแม่บา้ นอายุตงแต่ ั ๔๕ ปี ขึนไป มีความสนใจสนับสนุน ผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนือง - อุปสรรค ๑. กิจกรรมประชาสัมพันธ์แนวคิดการพาคนตระหนักเรื องทรัพยากรธรรมชาติ ยังเข้าถึงได้ไม่ร้อย เปอร์เซ็นต์ เพราะตัวกิจกรรมมีความหลากหลาย เช่น การจัดซุม้ ชิมฟรี การจัดบูธขายผลิตภัณฑ์ การ จัดบูธนิ ทรรศการเผยแพร่ แนวคิด และกิ จกรรมพาเหรดทีสร้ างการรับรู ้ เบืองต้นเกี ยวกับแนวคิด ขบวนบุญ ทําให้กลุ่มเป้ าหมายบางส่ วนมีความสับสนว่ามาขายของเหมือนบูธขายของทัวไป แต่อีกกว่า ๘๐% โดยเฉพาะกลุ่มบุคลอายุระหว่าง ๒๖ – ๓๕ ปี มีความเข้าใจวัตถุประสงค์ดี ถึงดีมากและสนใจร่ วมกิจกรรมต่อเนื องโดยติดต่อทางแฟนเพจในเฟสบุ๊ก และ อายุระหว่าง๔๖ – ๕๕ ปี สนใจสนับสนุ นโครงการด้วยการเลือกซื อผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื อง โดยการโทรสังโดยตรง และแนะนําให้มีจุดขายทีร้านค้าทัวไปในเมืองเชียงใหม่ ๒. กลุ่มเป้ าหมายไม่มีเวลาตอบแบบสอบถาม จึงต้องอาศัยทีมประเมินผลเข้าไปถามและกรอกให้ถึง ที และถามคําถามสันๆ ไม่ กีข้อทังคําถามปลายปิ ด (ท่านมี ความเข้าใจวัตถุประสงค์การจัดงาน หรื อไม่) และตําถามปลายเปิ ด (ข้อเสนอแนะ) เป็ นต้น แผนงาน/และความต่ อเนือง ๑) ต้องมีแผนฝึ กอบรมผูจ้ ดั งานทังทีมงานกลางและทีมชาวชุมชนเกียวกับวัตถุประสงค์ในการ จัดงานคาราวานบุญ และเป้ าหมายทีต้องการจะไปถึง ให้สอดคล้องกับกิจกรรมทีมีความ หลากหลายแต่มีวตั ถุประสงค์เดียวกัน ใช้เนือหาประชาสัมพันธ์เดียวกันคือพาคนตระหนัก เรื องทรัพยากรธรรมชาติ ๒) ปรับปรุ งแบบสอบถามทังคําถามและรู ปแบบในการเก็บข้อมูล รวมทังฝึ กทีมงานให้เป็ นผู ้ ประเมินผล/จัดเก็บข้อมูลอย่างมีประสิ ทธิภาพมากขึน
รายงานสรุ ปผลการดําเนินงาน งวดที ๑ โครงการพัฒนาธุรกิจเพือสั งคมคนบุญด้ วยช่ องทางสังคมออนไลน์ กิจกรรม ๔. ลงพืนทีเก็บข้อมูลภาคสนามเพือสํารวจการตอบรับ (Feedback) จาก กลุ่มเป้ าหมายเพือถอดบทเรี ยนออกมาเป็ นองค์ความรู ้ หน่ วยงาน/องค์ กร ศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุ ดอยผาส้ม ผู้ประสานงาน พระครู ธรรมคุต (สรยุทธ ชยป ฺ โญ) เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผูอ้ าํ นวยการศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม โทร. ๐๘๙ ๙๒๖ ๓๘๗๗ E-mail: doiphasom@gmail.com วัตถุประสงค์ของกิจกรรมที ๔ ๑) ลงพืนทีรวบรวมข้อมูลภาคสนามตังแต่กระบวนการผลิตสื อ/สํารวจความคิดเห็นและ คําแนะนําบนเว็บไซต์/ติดตามผลตอบรับจากกิจกรรมคาราวานบุญเพือสรุ ป วิเคราะห์ ติดตามผล ประเมินผลโครงการ ตลอด ๘ เดือน ๒) เพือกระตุน้ ให้ชุมชนชนบทและบุคคลทัวไปในเมืองเกิดความตระหนัก และเห็นคุณค่า ของการนําแนวพระราชดําริ เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ โดยมีแบบอย่างแห่งความสําเร็ จมาให้บทเรี ยน และประสบการณ์จริ ง ผลลัพธ์ ทเกิ ี ดขึน ยังไม่มี เพราะ ยังไม่ได้เริ มกิจกรรมนีในงวดที ๑ งบประมาณจาก ศูนย์ คุณธรรม กําหนดไว้ ๔๗,๐๐๐ บาท ใช้จ่ายจริ ง บาท งบทีเหลือ ๔๗,๐๐๐ บาท หมายเหตุ กิจกรรมนียังไม่ได้เริ มดําเนินการในงวดปัจจุบนั
รายงานสรุ ปผลการดําเนินงาน งวดที ๑ โครงการพัฒนาธุรกิจเพือสั งคมคนบุญด้ วยช่ องทางสังคมออนไลน์ กิจกรรม ๕. นําเสนอผลงานในงานสมัชชาคุณธรรม หน่ วยงาน/องค์ กร ศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุ ดอยผาส้ม ผู้ประสานงาน พระครู ธรรมคุต (สรยุทธ ชยป ฺ โญ) เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผูอ้ าํ นวยการศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม โทร. ๐๘๙ ๙๒๖ ๓๘๗๗ E-mail: doiphasom@gmail.com วัตถุประสงค์ของกิจกรรมที ๕ ๑) เพือนําเสนอผลการดําเนินงานแลกเปลียนเรี ยนรู ้ ๒) เผยแพร่ “ขบวนบุญ”ในงานสมัชชาคุณธรรม ผลลัพธ์ ทเกิ ี ดขึน ยังไม่มี เพราะ ยังไม่ได้เริ มกิจกรรมนีในงวดที ๑ งบประมาณจาก ศูนย์ คุณธรรม กําหนดไว้ ๒๕,๘๐๐ บาท งบทีเหลือ ๒๕,๘๐๐ บาท
ใช้จ่ายจริ ง
-
บาท
ส่ วนที ๓ รายละเอียดจากการดําเนินกิจกรรม
เนือหา / รายละเอียดของการดําเนินกิจกรรม โครงการพัฒนาธุรกิจเพือสั งคมคนบุญด้ วยช่ องทางสังคมออนไลน์ ๑. ประชุมเชิงปฏิบตั ิการอบรมชีแจงโครงการ หน่ วยงาน/องค์ กร ศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัด พระบรมธาตุดอยผาส้ม ผู้ประสานงาน พระครู ธรรมคุต (สรยุทธ ชยป ฺ โญ) เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผูอ้ าํ นวยการศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ทีอยู่ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ตําบลแม่สาบ/ยังเมิน อําเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ โทร ๐๘๙ ๙๒๖ ๓๘๗๗ E-mail: doiphasom@gmail.com วัตถุประสงค์ของกิจกรรมที ๑ เพือชีแจงและทําความเข้าใจในรายละเอียดของโครงการทังในส่ วนของเครื อข่ายเศรษฐกิจ พอเพียง และผูป้ ระสานงานทีจะร่ วมกันผลิตสื อพืนบ้านและทดลองนําไปใช้จริ ง กิจกรรม
รายละเอียดของกิจกรรม เมือผูน้ าํ ชุมชนแต่ละชุมชนมามาพร้อมเพรี ยงกันแล้ว วิทยากรกล่าวต้อนรับผูน้ าํ ชุมชนทุก ท่านทีเสี ยสละเวลามาร่ วมประชุม และได้ดาํ เนิ นกิจกรรมตามลําดับโดยมีประเด็นในการประชุ ม ชีแจงโครงการดังต่อไปนี • กิจกรรมในปี ทีผ่านมา • กิ จ กรรมปี ๒๕๕๖ ทํา ไมต้อ งทํา โครงการประชาสั ม พัน ธ์ ท างสื อออนไลน์ (หลักการและเหตุผล) • สิ งทีชาวบ้านและทีมงานกลางจะได้รับจากการทําโครงการ • ความคาดหวังทีพวกเราอยากเห็นหลังจบโครงการ (เป้ าหมายของโครงการ) โดยมีกิจกรรมการประชุม ดังนี กิจกรรมที ๑ เปิ ดการประชุ มและชีแจงรายละเอียดการประชุ ม เมื อกล่ า วต้ อ นรั บ เสร็ จสิ น วิ ท ยากรเกริ นนํ า เกี ยวกั บ โครงการในปี นี ที เน้ น การ ประชาสั ม พัน ธ์ ใ นรู ป แบบใหม่ ส อดคล้อ งกับ กลุ่ ม เป้ าหมายคนเมื อ งซึ งใช้อิ น เตอร์ เ น็ ต อย่า ง แพร่ หลาย เพราะเป็ นกลุ่ ม คนปลายนํ าที มี ค วามตื นตั ว สู งในการให้ ค วามสํ า คั ญ ต่ อ ทรัพยากรธรรมชาติและคนบนต้นนําทีช่วยดูแลผืนป่ า รักษานํา รักษาดิน วิทยากรจึงเริ มฉายวิดีทศั น์
ประกอบเป็ นการเกริ นนําก่อนลงรายละเอียดว่าทําไมต้องทําโครงการในปี นี และมีความต่อเนื อง อย่างไรกับปี ทีแล้วให้กบั คณะทํางานซึงมีประสบการณ์ทาํ งานร่ วมกับวัดมากว่า ๕ ปี ๑.๑ ฉายวีดิทศั น์ รายการ “ปราญช์ เดินดิน” และรายการ “แผ่ นดินไท” เป็ นรายการต่ อ เนื องของผูผ้ ลิ ต เอกชนออกอากาศเป็ นประจํา ในช่ อ งฟรี ที วี ที นําเสนอความรู ้ความสามารถของปราญช์ชาวบ้านหรื อคนธรรมดาแต่ดาํ เนิ นวิถีชีวิตอย่าง พอเพียง ซึ งตัวเอกของเรื องส่ วนใหญ่เป็ นผูท้ ีมีความสุ ข และประสบความสําเร็ จในการ ประกอบอาชี พเกษตรกร ซึ งมีการดําเนิ นรายการโดยพิธีกรถามคําถาม ปราชญ์ชาวบ้าน ตอบ หรื อดําเนิ นเรื องโดยถ่ายทําวิถีชีวิต หรื อองค์ความรู ้ทีปราญช์ชาวบ้านสาธิ ตให้ผชู ้ มดู ไม่ มี พิ ธี ก ร เมื อฉายวี ดิ ท ัศ น์ ร ะยะหนึ งวิ ท ยากรก็ จ ะหยุด สลับ กับ การบรรยายเกี ยวกับ กระบวนการผลิตสื อ เพือให้ทีมงานทังหมดเห็ นภาพกว้างร่ วมกันในการผลิตสื อ ซึ งเป็ น หนึงในภารกิจหลักในปี นี ๑.๒ ฉายวีดิทศั น์ ดอกไม้ บานสื อสารความดีปี ๒๕๕๕ (ศูนย์ คุณธรรม) เป็ นรายการที ผลิ ตโดยผูผ้ ลิ ตเอกชนที มาถ่ายทําแกนนําชาวบ้านเมื อปี ที ผ่านมา แบบไม่มีพิธีกรดําเนินรายการ แต่อาศัยการตัดต่อร้อยเรี ยงเป็ นเรื องเดียวกันก็สามารถทําให้ คนชมรู ้ เ รื องได้เ ช่ น กัน เป็ นสื อที ใกล้ต ัว เข้า มาอี ก และมี คุ ณ ภาพได้รั บ การเผยแพร่ ออกอากาศไปทัวประเทศแล้ว ผูช้ มจะได้รั บ ประโยชน์ ห ลากหลายอาทิ ซึ งเป็ นการ บรรยายให้เห็นภาพถึงผลดี/ผลกระทบทีชาวบ้านจะได้รับหลังจากสื อทีร่ วมกันผลิตเผยแพร่ สู่ บุคคลทัวไป ผลดีคือ เป็ นการสร้างแรงบันดาลใจเช่ นเดียวกับทีทางทีมงานได้รับชมวีดี ทัศน์ของปราญช์ชาวบ้านในรายการทีออกอากาศเป็ นประจํา นอกจากนันยังเป็ นการสร้าง ช่องทางในการติดต่อได้โดยตรง ตรงกลุ่มเป้ าหมายทีมีความสนใจในแนวทางเดียวกัน ซึ ง ถือว่าเป็ นการประชาสัมพันธ์ทีมีประสิ ทธิ ภาพมากกว่าออกเร่ ขายไอเดีย ขายผลิตภัณฑ์ใน ท้องตลาดทัวไป คือการอาศัยอิทธิ พลของสื อเป็ นตัวช่วยดึงกลุ่มเป้ าหมายและร้อยรัดเป็ น เครื อข่ายทีมีความแข็งแกร่ งในอนาคต ๑.๓ เปิ ดเว็บไซต์ ทรวบรวมองค์ ี ความรู้พนบ้ ื าน เป็ นเว็บไซต์เกี ยวกับเกษตรกรรมทีเป็ นเนื อหาแบบเรี ยงความ บทความ รายงาน บทสารคดี ประกอบภาพถ่ าย ภาพนิ งเป็ นอี ก แนวทางหนึ งที ที ม งานเลื อ กจะนํามาเป็ น เนื อหาออนไลน์ หรื อ “คลังองค์ความออนไลน์” ทีสามารถเปิ ดใช้ให้ความรู ้ทีใดก็ได้ใน โลก กับใครก็ได้ทีสนใจเข้าไปชมไปดาว์นโหลดข้อมูลมาใช้ได้ตลอดเวลา ซึ งชาวบ้านมี หน้าทีเลือกองค์ความรู ้ ทีนเชี ยวชาญบอกกล่าวกับทางทีมงานกลางผลิตสื อรวบรวมและ เรี ยบเรี ยงเป็ นเนื อหาแบบเดียวกับหนังสื อทัวไป แต่ทาํ เป็ นหนังสื อออนไลน์ ชาวบ้านจึง
เปรี ยบเสมือนครู ทีมีนกั เรี ยนอยูท่ วโลก ั ไม่จาํ กัดการเรี ยนการสอนการถ่ายทอดแต่เฉพาะใน ศูนย์การเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียงหรื อบ้านสวนของชาวบ้านคนๆ นัน (สื อออนไลน์ = ไม่ จํากัดสถานที ไม่จาํ กัดกลุ่มเป้ าหมาย ไม่จาํ กัดเวลา) ช่องทางนี เองจะเป็ นพืนทีแลกเปลียนระหว่างปราชญ์ชาวบ้านและกลุ่มบุคคลที สนใจได้โดยตรงหรื อให้ลูกหลานทีเข้าถึงการใช้อินเตอร์เน็ตเป็ นผูช้ ่วย ช่องว่างระหว่างรุ่ น พ่อแม่ จะไม่ห่างเกิ นไปกับคนรุ่ นใหม่ทีต้องการดําเนิ นรอยตามการใช้ชีวิตแบบแกนนํา ชาวบ้านทัง ๑๐ คนทีเข้าร่ วมโครงการ ทังยังเป็ นอีกช่องทางในการติดต่อสื อสารกับลูกค้าผู ้ มีใจตรงกัน มีความเห็นตรงกันว่าอยากจะสนับสนุ นด้วยการเลือกซื อผลิตภัณฑ์ทงพื ั ชผัก ผลไม้ ผลผลิ ตแปรรู ปในไร่ ของชาวบ้าน และอาจจะสนับสนุ นการพัฒนาคุ ณภาพของ สิ นค้า เพิมประสิ ทธิ ภาพในการผลิ ตโดยเสริ มตรงองค์ความรู ้ บุคลากร ทุนทรั พย์ หรื อ เทคโนโลยี ซึงจะเป็ นการสร้างเครื อข่ายให้กว้างขวางต่อไปในอนาคต กิจกรรมที ๒ แนะนําและชีแจงรายละเอียดของโครงการ ๒.๑ ฉายสไลด์ ภาพกิจกรรมในปี ทีผ่ านมา (โครงการขบวนบุญ) ทังในเครื อข่ายคนต้นนําและผูค้ นปลายนําทีสนับสนุนกิจกรรมโครงการขบวนบุญ ปี ๒๕๕๕ ซึ งวิ ท ยากรบรรยายประกอบว่ า หลัง จาก ๕ ปี ที แกนนํา ชาวบ้า นเข้า ร่ ว ม โครงการกับทางวัดโดยการเริ มจากพัฒนาไร่ ของตนเองเป็ นไร่ คุณธรรมปลูกทุกอย่างทีกิน เริ มผลิตนํายาทําความสะอาดเอง ผลิตถ่านหุ งต้มเอง ช่วยลดรายจ่ายครัวเรื อน และเริ มมีคน เมืองสนใจติดต่อซื อขายผลิตภัณฑ์ทีชาวบ้านรวมกลุ่มแปรรู ปจํานวนมากจนกลายมาเป็ น โครงการขบวนบุญในปี ทีผ่านมา ขบวนบุ ญ เป็ นโครงการที พยายามผลัก ดัน ให้กับ ชาวบ้า นในเครื อ ข่ า ยทัง ๑๓ ั นา จังหวัดเชี ยงใหม่ ให้ได้ หมู่บา้ นในเขตอําเภอสะเมิง อําเภอแม่วาง อําเภอกัลยาณิ วฒ พึ งตนเองได้ ให้ไ ด้ผ ลิ ตผลิ ตภัณ ฑ์เ ป็ นของตนเองให้ไ ด้ต ามความรู ้ ค วามสามารถแล้ว แบ่งปั นซื อขายกันเองในหมู่บา้ นหรื อในเครื อข่ายของวัดก่อน สําหรับผูซ้ ื อหรื อลูกค้าใน เมืองทีมาพร้อมกับรายได้ทางวัดซึ งเป็ นองค์กรกลางจะประสานงานมาให้ แต่เกิ ดปั ญหา ที ว่าชาวชุ มชนในเครื อข่ายไม่ย อมรั บ หรื อเกิ ดการแลกเปลี ยนสิ นค้าระหว่างเครื อข่าย กันเองน้อย แต่ สิงที ไม่คาดคิ ดคือกลุ่มเป้ าหมายคนเมื องกรุ งเทพฯ กลับให้ความสําคัญ เข้าใจแนวคิดโครงการขบวนบุญได้อย่างรวดเร็ วและพร้อมจะบอกต่อประชาสัมพันธ์กบั คนเมืองด้วยกันทีมีกาํ ลังซื อมากกว่า มีระดับการศึกษา มีมุมมองทีกว้างในการเลือกเปลียน พฤติกรรมการซื อของบางชนิ ดจากห้างสรรพสิ นค้าใหญ่เป็ นการเลือกซื อผลิตภัณฑ์ชุมชน ได้ช่ ว ยชาวบ้า น ช่ ว ยรั ก ษาป่ า และช่ ว ยให้ ต นเองมี สิ น ค้า คุ ณ ภาพดี ปลอดภัย ในราคา ประหยัดอุปโภคบริ โภค เมือวิทยากรบรรยายประกอบสไลด์ภาพช่วยให้การนําเข้าสู่ ทีมา
และความสําคัญทีต้องทําโครงการในปี นี เกิดภาพชัดเจนมากขึนถึงความจําเป็ นในการผลิต สื อออนไลน์หรื ออินเตอร์เน็ต ตามชือโครงการเต็มทีว่า “โครงการพัฒนาธุ รกิจเพือสั งคมคนบุญด้ วยช่ องทางสั งคมออนไลน์ ” คือ ความ พยายามเพิมจํานวนและคุณภาพของการรับรู ้ของบุคคลทัวไปให้กว้างขึน ให้เข้ามามีส่วน ร่ วมมากขึน ร้อยรัดกันเป็ นสังคมคนบุญทีเข้มแข็งขึน กว้างขวางขึน ด้วยการดําเนิ นรอย ตามโมเดลการขายแบบเดิ มคือ ขายในราคาต้นทุน คือนําบุญเป็ นตัวตัง (อยากสิ งดี ดีกบั ผูส้ นับสนุ น) ส่ วนเงินทีเกิ นหรื อเงินส่ วนต่างจะนําเข้ากองทุนแก้ปัญหาหมอกควันไฟป่ า เพือภารกิจดับไฟป่ า สร้างฝาย และปลูกป่ า ผ่านช่องทางสังคมออนไลน์ทีไม่มีขอ้ จํากัดทาง กลุ่มเป้ าหมาย ไม่จาํ กัดสถานที และไม่จาํ กัดเวลา ๒.๒ แจกแจงและกระจายงานให้ กบั ทีมประสานงานกลางเพือการผลิตสื อจํานวน ๑๐ คน และแกนนําชาวบ้ านจํานวน ๑๐ คน เมือเห็นภาพกว้างของสื อสารคดีกระแสหลักและสื อกระแสรองทีเราผลิตกันเองใน กลุ่มแล้ว วิทยากรจึงเริ มแจกแจงภารกิ จทีต้องทําร่ วมกันโดยแบ่งเป็ น ๒ ทีมทํางานโดยมี เป้ าหมายในการผลิตสื อทังวีดีทศั น์และบทความเพือนําไปเป็ นเนื อหาบนเว็บไซต์ คือ มี ทีมงานประสานงานกลางเพือการผลิตสื อ จํานวน ๑๐ คน และทีมแกนนําชาวบ้านผูม้ ีองค์ ความรู ้ประสบการณ์ ๑๐ คน โดยแจกแจงงานตามหน้าทีดังต่อไปนี หน้าทีของทีมประสานงานกลาง ๑. เป็ นทีมงานผลิตสื อ (Mini-Production House) โดยแบ่งเป็ นสื อวีดีโอและสื อบทความ สําหรับสื อวีดีโอทีมงานมีหน้าทีจัดเตรี ยม อุปกรณ์ถ่ายทําและบุคลากรทีมงาน มีการประชุมวางแผนในการผลิตสื อ การเขียนบท การถ่ายทําจริ ง การตัดต่อ การพัฒนาปรับปรุ งสื อ สําหรับสื อบทความมีหน้าที ประสานงานกับชาวชุมชนเพือบันทึก สัมภาษณ์ อัดเทปเสี ยงเรื องราว องค์ความรู ้ของ แกนนําชาวบ้าน และถ่ายภาพประกอบ เพือนํามาเรี ยบเรี ยงเป็ นความเรี ยงหรื อบทความ ทีย่อยแล้วเป็ นเนือหาบนเว็บไซต์ ๒. เป็ นทีมประสานงานกับแกนนําชาวบ้าน (Coordinator) เพือให้การอบรบสื อทัง ๒ รอบและการจัดคาราวานบุญทัง ๕ ครังดําเนินไปได้ ด้วยความเรี ยบร้อย ๓. เป็ นทีมจัดคาราวานบุญ (Road Show) คิดสร้างสรรค์งานประชาสัมพันธ์โดยเน้นจัดบูธนิทรรศการ พร้อมสร้างสรรค์ กิจกรรมดึงดูดความสนใจ โดยมีเป้ าหมายเพือการเผยแพร่ แนวคิดและกิจกรรมจาก เครื อข่ายสู่ ชาวเมืองเชียงใหม่ โดยเสนอทางเลือกในการมีส่วนร่ วมในขบวนบุญอีกด้วย
นอกจากนันยังเป็ นการสานสัมพันธ์ พร้อมสรุ ปบทเรี ยนเพือการพัฒนาหลังจากทีเกาะ เกียวเป็ นกลุ่มก้อนกันมากว่า ๕ ปี ทังเป็ นเวทีเสริ มกําลังใจให้คนในเครื อข่ายเดียวกัน แน่นแฟ้ นขึน ๔. เป็ นทีมบริ หารโครงการ (Project Management) บริ หารจัดการให้กิจกรรมต่างๆ ดําเนินไปอย่างคล่องตัว และจัดทําเอกสารรายงาน ผลการดําเนินงาน สรุ ปบัญชีการเบิกจ่ายโครงการ ภาระงานของทีมประสานงานกลาง ๑. ผลิตสื อเว็บไซต์และช่องทางสังคมออนไลน์ ๒. จัดคาราวานบุญเพือการประสัมพันธ์แนวคิดโครงการ ๓. ประเมินและสรุ ปผลการดําเนินกิจกรรม ๔. ถอดองค์ความรู ้ (บทเรี ยนและประสบการณ์) หลังจากดําเนินกิจกรรมทังหมด เสร็ จสิ น หน้าทีของทีมแกนนําชาวบ้าน ๑. เตรี ยมโครงเรื อง (Plot) บทพูด (Script) สถานที อุปกรณ์ประกอบฉาก (Setting) และตัวเอก/ตัวประกอบของเรื อง (Characters) ซึ งองค์ประกอบ ทังหมดล้วนอยูใ่ นหมู่บา้ น ในสวน ในไร่ ทีชาวบ้านคุน้ เคย แต่สาํ หรับการวาง โครงเรื อง บทพูดจะได้รับการระดมสมองร่ วมกันในวันอบรมสื อพืนบ้าน รอบที ๑ เป็ นตัวช่วยก่อนถึงวันถ่ายทําจริ ง ๒. เป็ นที มงานออกบูธคาราวานบุญ เป็ นผูจ้ ดั แสดงหรื อสาธิ ตความเชี ยวชาญ ส่ วนตัวเพือดึ งความสนใจลูกค้าที ชอบจับจ่ ายใช้สอย เช่ น การแปรรู ปข้าว กล้องงอกเป็ นนําข้าวกล้องงอกร้อนๆ การนวดผ่อนคลายเส้น กดจุด การกัวซา ถอนพิษ การทํานําเขียวคลอโรฟิ ลล์เพือสุ ขภาพ การทอผ้าปกาเกอะญอด้วยมือ และกีเอว เป็ นต้น ๓. เป็ นที มประเมิ น สื อวิ ดีโอและบทความ พร้ อมช่ วยกัน ปรั บปรุ ง และพัฒ นา ร่ วมกันในการอบรมสื อ รอบที ๒ ขันทดลองนําไปใช้จริ ง ภาระงานของทีมแกนนําชาวบ้าน ๑. ร่ วมผลิตสื อพืนบ้าน โดยสนับสนุ นเวลาในการถ่ายทอดองค์ความรู ้ผ่านสื อ วีดีโอและบทความ ๒. ร่ วมจัดแสดงองค์ความรู ้ หรื อสาธิตความเชียวชาญในงานคาราวานบุญ
๓. ร่ ว มประเมิ น และสรุ ปผลการผลิ ต สื อพื นบ้า นในการเข้า ร่ วมอบรมเชิ ง ปฏิบตั ิการในกระบวนการผลิตสื อรอบที ๒ กิจกรรมที ๓ กิจกรรมระดมสมองทําแผนปฏิบตั ิงาน ๙ เดือนร่ วมกันระหว่ างทีมประสานงานกลาง และแกนนําชาวบ้ าน เมือแจกแจงภาระงานและหน้าทีของทังสองทีมแล้ว ทังสองทีมจึงร่ วมกันร่ างแผนปฏิบตั ิ ๙ เดือนร่ วมกันเพือฉายภาพทังโครงการว่าใครทําอะไร ทีไหน เมือไร ต้องเตรี ยมตัวอย่างไรบ้างเพือ สร้างความเข้าใจตรงกัน จากนันวิทยากรจึงเสริ มกําลังใจโดยชูเป้ าหมายร่ วมกันว่า “สังคมทีดีเริ มต้น จากการให้ การแบ่งปั น” เพือสร้างคนทีมีคุณภาพควบคูค่ ุณธรรมซึงจะไม่หยุดเพียงรุ่ นพ่อๆแม่ๆ ที เป็ นแกนนําชาวบ้านทีมาร่ วมในการประชุมครังนี พร้อมกับทีมประสานงานกลางซึงเป็ นคนรุ่ นใหม่ ทีมีหวั ใจอาสาและกล้าทีใช้ชีวิตและทํางานทวนกระแสกิเลสอย่างเงินทอง โภคทรัพย์ทีใช้แล้วหมด ไปแต่บุญกรรมวาสนาเป็ นสิ งทีควรเพียรสร้างตังแต่เดียวนี ตอนนีและตลอดไป
แผนปฏิบัตงิ าน ๙ เดือน โครงการพัฒนาธุรกิจเพือสั งคมคนบุญด้ วยช่ องทางสั งคมออนไลน์ แผนการดําเนินงาน ธ.ค. ๕๕ ๑. ประชุมเชิงปฏิบตั ิการ อบรมชีแจง โครงการ ๒. อบรมผลิตสื อพืนบ้าน (รอบที ๑) “ขันกระบวนการผลิตสื อ” ๓. ถ่ายทําวีดีโอโดยแกนนําชาวบ้านเป็ นตัว เอกของเรื อง พร้อมตัดต่อจนแล้วเสร็ จ ๔. ถอดองค์ความรู ้จากแกนนําชาวบ้าน แล้ว นํามาเรี ยบเรี ยงเป็ นบทความ ความรู ้ ๕. ผลิตเว็บไซต์คุณธรรมโดยมี ๓ หน้าทีคือ ๕.๑ แหล่งเรี ยนรู ้ออนไลน์ ๕.๒ ระบบการซือ-ขาย ๕.๓ ช่องทางสร้างเครื อข่าย ๖. อบรมสื อพืนบ้าน (รอบที ๒) “ขันทดลองนําสื อทีผลิตไปใช้จริ ง”
ม.ค. ๕๖
ก.พ. ๕๖
ระยะเวลาดําเนินงาน มี.ค. ๕๖ เม.ย. ๕๖ พ.ค. ๕๖
มิ.ย. ๕๖
ก.ค. ๕๖
ส.ค. ๕๖
แผนการดําเนินงาน ธ.ค. ๕๕
ม.ค. ๕๖
ก.พ. ๕๖
ระยะเวลาดําเนินงาน มี.ค. ๕๖ เม.ย. ๕๖ พ.ค. ๕๖
๗. คาราวานบุญเพือการประชาสัมพันธ์ แนวคิด (๑วัน/เดือน ตลอด ๕ เดือน) ๘. ลงพืนทีเก็บข้อมูลภาคสนามเพือสํารวจ การตอบรับ (Facebook) จาก กลุ่มเป้ าหมายเพือถอดบทเรี ยนออกมา เป็ นองค์ความรู ้ ๙. บริ หารจัดการโครงการ ๑๐. นําเสนอผลงานในงานสมัชชาคุณธรรม ๒ วัน (กรกฎาคม ๒๕๕๖) หมายเหตุ แทนการปฏิบตั ิร่วมกันระหว่างทีมงานกลางและชาวบ้าน แทนการทํางานของทีมงานกลาง
มิ.ย. ๕๖
ก.ค. ๕๖
ส.ค. ๕๖
รายงานนามผู้ร่วมการประชุม โครงการพัฒนาธุรกิจเพือสั งคมคนบุญด้ วยช่ องทางสังคมออนไลน์ วันที ๑๘ ธันวาคม ๒๕๕๕ ณ ห้ องประชุ มอเนกประสงค์ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ ม อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ -------------------------------ผู้มาประชุ ม ๑. นายเสงียม แสนคํา ๒. นางจันทร์ดี บุญมาลา ๓. นายอุดร สุ ขโข ๔. นางเฮือนแก้ว ธงทาสี ๕. นางอมร คําชอน ๖. นายปณิ ธาน ตาสม ๗. นางชณิ ตฎา สาสุ จิตร์ ๘. นายบุญส่ ง ยะมะโน ๙. นางธนพร ภาระสี ๑๐.นายสมชาย สิ ทธิโลก ๑๑. นายสุ เนตร อธิพรหม ๑๒. นางจําลอง สาสุ จิตร ๑๓. นายสุ รัตน์ คุณนิธิกรกุล ๑๔. นางสาวเสาวลักษณ์ จ๊ะโด ๑๕. นายสวิง จะหละ ๑๖. นางสาวธนภรณ์ กันทะเส็ด ๑๗.นางสาวศิรินาถ โปธา ๑๘. นายชัชวาล แสนคํา ๑๙. นางสาวรุ่ งนภา ชมโลก ๒๐. นางสาวจิรินดา แสนหาญชัย ผู้เข้ าร่ วมประชุ ม ๑. พระอธิการสรยุทธ ชยป ฺ โญ ๒. นางสาวธชาพร เลาวพงษ์
ชุมชนบ้านใหม่ตน้ ผึง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนยังเมิน ต.ยังเมิน อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านแม่สาบ ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านแม่สาบ ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านนาฟาน ต.สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนยังเมิน ต.ยังเมิน อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านแม่สาบ ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านวัดจันทร์ ต.วัดจันทร์ อ.กัลยาณิ วฒั นา จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านทุ่งหลวง ต.แม่วนิ อ.แม่วาง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านป่ าเกียะนอก ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านแม่เลย ต.สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านแม่เลย ต.สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนเทศบาลสะเมิง ต.สะเมิง อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนดอนแก้ว ต.ดอนแก้ว อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่
ประธานคณะทํางาน ผูป้ ระสานงานโครงการ
เนือหา / รายละเอียดของการดําเนินกิจกรรม โครงการพัฒนาธุรกิจเพือสั งคมคนบุญด้ วยช่ องทางสังคมออนไลน์ ๒. อบรมเชิงปฏิบตั ิการกระบวนการผลิตสื อพืนบ้าน (๒ วัน ๑ คืน รอบที ๑ “ขันลงฉันทามติ และขันกระบวนการผลิตสื อพืนบ้าน”) หน่ วยงาน/องค์ กร ศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผู้ประสานงาน พระครู ธรรมคุต (สรยุทธ ชยป ฺ โญ) เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผูอ้ าํ นวยการศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ทีอยู่ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ตําบลแม่สาบ/ยังเมิน อําเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ โทร ๐๘๙ ๙๒๖ ๓๘๗๗ E-mail: doiphasom@gmail.com กิจกรรม
วัตถุประสงค์ของกิจกรรมที ๒ เพือสร้างกระบวนการการมีส่วนร่ วมของประชาชนในการผลิตสื อของตนเอง คือ เว็บไซต์ เพือการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ องค์ความรู ้ กิจกรรม บทเรี ยนและบุคคลต้นแบบด้านเศรษฐกิจ พอเพียง เพือเสริ มสร้างเครื อข่ายคนบุญให้ขยายในวงกว้าง จํานวนผู้เข้ าร่ วมกิจกรรม รวม ๒๒ คน ๑. ทีมแกนนําชาวบ้าน จํานวน ๑๒ คน ๒. ทีมประสานงานกลางเพือการผลิตสื อ จํานวน ๑๐ คน ๓. ทีมวิทยากร จํานวน ๒ คน รายละเอียดของกิจกรรม เช้ าวันที ๑๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ กิจกรรมปฐมนิเทศ ชีแจงกิจกรรมทัง ๒ วัน และเล่นเกมส์ความคาดหวัง หลังจากผูป้ ระสานงานโครงการกล่าว เปิ ดการอบรมโดยชีแจ้งทีมาและความสําคัญของกิจกรรมตลอด ๒ วันแล้ว จึงแจกป้ ายชือและ สมุดโน้ตย่อส่ วนตัว พร้อมให้ผเู ้ ข้าร่ วมกิจกรรมทุกคนสลับผลัดเปลียนกันแนะนําตัว จากนัน ทีมงานแจกกระดาษตัดเป็ นรู ปหัวใจ เพือเริ มเล่นเกมส์ความคาดหวัง ก่อนจะเริ มกิจกรรมใดๆ เพือให้ผเู ้ ข้าร่ วมกิจกรรมเขียนจุดหมายคร่ าวๆ ในใจของตน หรื อสิ งทีตนเองคาดหวังว่าจะได้รับ หลังจากเสร็ จสิ นกิจกรรมทัง ๒ วัน ซึงผูป้ ระสานงานจะเปิ ดอ่านความคาดหวังของแต่ละคนใน
วันปิ ดกิจกรรม เพือสอบถามต่อไปว่าการอบรมครังนีเป็ นไปตามความคาดหวังไหม มีอะไรที ควรพัฒนาเปลียนแปลงทังต่อตัวเอง เพือนในเครื อข่าย และทีมจัดการอบรม กิจกรรม “รู้จักฉัน รู้จักเธอ” กิจกรรมละลายพฤติกรรมเพือให้ทีมงานทัง ๒ ทีมคือ ทีมแกนนําชาวบ้าน และทีม ประสานงานกลางเพือการผลิตสื อ ซึงมีช่วงวัยและประสบการณ์แตกต่างกันทําความรู ้จกั กัน มากขึน แม้วา่ ส่ วนใหญ่จะรู ้จกั มักคุน้ กันดีอยูแ่ ล้ว แต่กิจกรรมนีเปรี ยบเสมือนการรื อฟื นภาพ ของบุคคลนันๆ (Character) ให้เพือนๆ ได้เห็นภาพบุคลิกหรื อจุดเด่นของคนๆนันซึงมากับ ความเชียวชาญ ความถนัด ความสนใจ หรื อการประกอบอาชีพทีบุคคลนันทําอยูเ่ ป็ นประจําใน ชีวิตประจําวัน ก่อนจะนําไปสู่กิจกรรมการผลิตสื อต่อไป ซึงเป็ นการสร้างตัวละครขึนมาให้ ผูเ้ ข้าร่ วมอบรมเห็นและเข้าใจการก่อร่ างสร้างเรื องทีก็เริ มมาจากตัวละคร ซึงก็คือ แกนนํา ชาวบ้านนันเอง กิจกรรม ฉายวีดีทศั น์ (คลิปสารคดี/คลิปรายการ/บทความบนเว็บไซต์ ) เป็ นกิจกรรมทีดึงความสนใจ นําไปสู่เป้ าหมายได้ง่าย และเห็นภาพชัดเจนคือ ทังสอง ทีมงานเข้าใจการผลิตสื อ โดยฉายคลิปวีดีโอสารคดีคนพอเพียง อาทิ รายการปราชญ์ชาวบ้าน รายการตนค้นคน รายการแผ่นดินไท เปิ ดเว็บไซต์ทีมีเนือหาเป็ นบทความแสดงขันตอน ประกอบรู ปภาพ การสอนทําบ้านดิน การเตรี ยมแปลงผัก การปลูกผักในเรื อนกระจก เป็ นต้น การฉายสื อทังหมดเพือทีจะนําเข้าสู่ ประเด็นทีอยากจะนําเสนอของชาวบ้าน สําหรับทีมงาน ผลิตสื อก็จะเห็นขันตอนและกระบวนการผลิตสื อทีมีความหลากหลาย อาทิ การดําเนินเรื องโดย ตัวละครเอกหรื อมีพิธีกรถามตอบ การทําหนังสัน หรื อการทําสารคดีชีวิตสร้างแรงบันดาลใจ การเขียนบทความ เทคนิคการถ่ายรู ป เทคนิคการถ่ายวิดีโอ เมือทังสองทีมมีเนือหาในหัวคร่ าวๆ แล้ว จึงนําเข้าสู่ กิจกรรมทีให้ทดลองจริ งต่อไป กิจกรรม “สื อชาวบ้ าน โดยชาวบ้ าน เพือปวงชน” (ช่ วงเช้ า) เป็ นกิจกรรมทีให้ทุกคนมีส่วนร่ วมทดลองถ่ายทําวีดีโอจริ ง ทีมวิทยากรจึงแบ่งทีมถ่ายทํา วีดีโอเป็ นสองกลุ่มใหญ่ โดยทังสองกลุ่มมีทงแกนนํ ั าชาวบ้านและทีมงานผลิตสื อ ซึงการแบ่ง ทีมใช้เกณฑ์สถานทีถ่ายทําง่ายและสะดวกเป็ นหลัก เพราะเอือต่อเวลาทีมีอยูอ่ ย่างจํากัด ได้เป็ น ทีมแรกเป็ นทีมชาวอโรคยาศาลา (บ้านอมลอง) และ ทีมสองเป็ นทีมผสมหลายหมู่บา้ น เมือ แบ่งกลุ่มเรี ยบร้อย ทีมวิทยากรจึงแจกโจทย์การถ่ายทําวีดีโอ ความยาวไม่เกิน ๑๐ – ๑๕ นาที (ดูรายละเอียดโจทย์ในภาคผนวก ก.) โดยมีเวลาจํากัดให้ ๓ ชัวโมง ในขันตอนแรกต้องเริ มจากการวางแผนว่าจะถ่ายทําเรื องอะไร ในประเด็นใน และแบ่งหน้า ทีว่าใครทําอะไร ทีมงานประสานงานกลางในกลุ่มจึงช่วยทีมวิทยากรเป็ นพีเลียงกับทีมแกนนํา
ชาวบ้านในกลุ่ม พร้อมกับเรี ยนรู ้วิธีสือสารกับชาวบ้านให้เข้าใจ กระตุน้ ให้เกิดความคิด สร้างสรรค์สิงทีตนเองต้องการจํานําเสนอแก่คนทัวโลก ซึงทุกทีมได้เขียนร่ างโครงเรื อง และ ระบุคนแสดง อุปกรณ์ประกอบฉาก จากนันทังสองทีมก็ขบั รถไปยังสถานทีถ่ายทําจริ ง สรุ ปมีทีมงานทดลองถ่ายทําวีดีโอ ๒ ทีมคือ ทีมถ่ายทําเรื อง “อโรคยาศาลา ศาลาคนไร้ โรค” และอีกทีมถ่ายทําเรื อง “ลุงดร ผูพ้ ิทกั ษ์ป่าต้นนําห้วยบง” เมือพักรับประทานอาหาร กลางวันร่ วมกันเสร็ จสิ น ทังสองทีมจึงจับรถลงไปถ่ายทําจริ ง สาธิตและแสดงจริ งในกิจกรรม ภาคบ่าย บ่ ายวันที ๑๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ กิจกรรม “สื อชาวบ้ าน โดยชาวบ้ าน เพือปวงชน” (ต่ อ)* หลังจากรับประทานอาหารกลางวันร่ วมกันเสร็ จทังสองทีมก็เริ มลงมือทําตามแผนการทีเตรี ยม ไว้อย่างแข็งขัน ทุกคนมีความกระตือรื อร้นในการออกไปถ่ายทําจริ ง เป็ นกิจกรรมสนุกท้าทายและ แปลกใหม่สาํ หรับแกนนําชุมชนและทีมผลิตสื อทียังไม่มีประสบการณ์ *หมายเหตุ ท่ านสามารถรับชมวีดีโอทีตัดต่ อแล้ วจากซีดีทแนบมาในเอกสารฉบั ี บนี ทีมอโรคยา ชือเรือง (Title) อโรคยาศาลา ศาลาคนไร้โรค ขันตอนการเตรียมฉาก (Settings) “ทีมอโรคยาศาลา ศาลาคนไร้โรค” เป็ นทีมชาวบ้านอมลองและอาสาสมัครทีร่ วมงานกันมา หลายงาน เมือทีมวิทยากรแบ่งทีมทุกคนจึงรู ้หน้าทีไปเตรี ยมอุปกรณ์การนวด การรักษาแบบ หมอบ้านๆ และใช้ฉากเป็ นสถานทีจริ งทีชาวบ้านอมลองกลุ่มอโรคยา เปิ ดให้บริ การเป็ นโรง ทานนวดฟรี ทุกวันเสาร์อยูแ่ ล้ว จึงเป็ นทีคุน้ เคยกับสถานทีดี เค้ าโครงเรือง (Plot) เริ มต้นจากการทีมาของศาลาคนไร้โรค เริ มมาจากไหน ทําไมถึงต้องมีการรวมกลุ่ม ภายใน เรื องแม่สมหมายซึงเปรี ยบเสมือนหัวหน้าทีมก็เล่าถึงความเป็ นมา จากนันแม่ๆ พ่อๆ แต่ละคนทีเป็ น ทีมนวด ทีมสมุนไพรก็จะสาธิตการบริ การคนไข้จะได้รับการรักษา อาทิ ลุงสาย-ผูย้ าข่ ํ างบรรเทา ปวด แม่มร- หนวดผ่อนคลาย และสัมภาษณ์อาสาสมัครทีมาช่วยงาน หลังจากนันพิธีกรจึงสัมภาษณ์ ผูเ้ ข้ามาใช้บริ การ (บทบาทสมมติ) ว่ารู ้สึกอย่างไร หลังจากนันจึงไล่สมั ภาษณ์ทีมงานอโรคยาทุกคน
ถึงความรู ้สึกทีได้มาทํางานอาสาสมัครทีไม่เหมือนใคร คือ เปิ ดบริ การนวดเอาบุญ ว่าทําไมแต่ละคน ต่างทีไปทีมาแต่มีอะไรดลใจให้มารวมกลุ่มกันรักษาโรค ท้ายสุ ดทังทีมก็รวมตัวกันอยูใ่ นเฟรมเดียว พูดเชิญชวนให้ผชู ้ มเข้ามาใช้บริ การใน อโรคยา ศาลาคนไร้โรคได้ จุดเด่ นของเรือง (Theme) ทีมนีมีจุดเด่นของเรื อง คือ การสื บสานภูมิปัญญาแพทย์วิถีบา้ นบ้าน ตัวละคร (Characters) ทุกคนมีบทพูดตามทีช่างกล้องหรื อพิธีกรถาม บทพูด (Script) ไม่มีการเตรี ยมบทพูด แต่ทีมวิทยากรเป็ นผูถ้ ามตอบและอาศัยการตัดต่อช่วยดําเนินเรื องให้เป็ น เรื องเดียวกัน ผูช้ มสามารถเข้าใจได้ ทีมอโรคยาเป็ นทีมทีทําเวลาได้รวดเร็ วมากเพียงชัวโมงเศษ เนืองจากสถานทีถ่ายทําอยูใ่ กล้ สถานทีถ่ายทํา และทีมงานมีการวางแผนและรู ้หน้าทีดีตามสิ งทีตนเองทําอยูบ่ ่อยๆ อยูแ่ ล้วเพียงแค่ แสดงให้กล้องถ่ายทํา ตอบคําถามตามพิธีกรถาม ซึงเป็ นความสามารถเฉพาะของทีมสื อทีมีทกั ษะ พืนฐานอยูก่ ่อน ทําให้การถ่ายทําไม่มีปัญหาอุปสรรคมาก มีเพียงแต่เสี ยงรบกวน (ช่างไม้กาํ ลังซ่อม หลังคาในสถานทีถ่ายทํา) ทําให้เสี ยงเข้ารบกวนกล้อง เสี ยงพูดจึงฟังไม่ค่อยได้ยนิ
ทีมลุงดร ผู้พทิ กั ษ์ ป่าต้ นนําห้ วยบง ชือเรือง (Title) ลุงดร: ผูพ้ ิทกั ษ์ป่าต้นนําห้วยบง ขันตอนการเตรียมฉาก (Settings) ทีมนีไม่มีการวางแผนเพราะ ไม่มีใครรู ้ฉากสถานที ยกเว้นตัวละครเอกของเรื องคือ ลุงดร เนืองจากเป็ นทีมทีมีแกนนําชาวบ้านผสมปนเปกันหลายหมู่บา้ น แต่ส่วนใหญ่เคยมาสัมผัส สถานทีถ่ายทําบ้าง คือ แนวกันไฟรอบบริ เวณวัดและหมู่บา้ น และอุปสรรคคือเมือไม่มีการ วางแผนสถานทีถ่ายทํากว้างทําให้ทีมถ่ายทําต้องแก้สถานการณ์ดว้ ยการไล่ถ่ายไปเป็ นคลิปแล้ว ค่อยนําไปเรี ยบเรี ยงตัดต่อทีหลัง
เค้ าโครงเรือง (Plot) ลุงดรเล่าถึงทีมาของการมาทํางานอาสาสมัครเป็ นอาชีพ คือ ภารกิจดูแลรักษาผืนป่ าต้นนําห้วย บงซึงเป็ นบ้านเกิดเมืองนอนของตน ร่ วมกับทางวัดทีมีโครงการเข้ามาเป็ นจุดเริ มต้น จากนันก็เล่าถึง แนวกันไฟป่ าเปี ยก มีการปลูกแฝก ปลูกกล้วย พร้อมทีมาทีไปในการทําในการปลูก ถัดมาเป็ นฉาก แท็งค์บรรจุนาดั ํ บไฟซึงเป็ นภารกิจเร่ งด่วนในปัจจุบนั ถัดมาเป็ นฉากฝายดินเก็บนําขนาดใหญ่ซึง เป็ นภารกิจแรกๆ หลังจากชาวบ้านพากันเริ มดับไฟป่ า ปลูกป่ า จนเริ มมีนาํ จึงสร้างฝายเก็บนําไว้ใช้ ยามเดือดร้อน ซึงเหล่านีเปรี ยบเหมือนการพาชมผลงานทีทําเสร็ จสิ นแล้วและกําลังดําเนินอยู่ แต่ไม่ มีการสาธิตจริ งจึงอาจยังไม่สามารถดึงดูดความสนใจผูช้ ม (ตามข้อจํากัดของเวลา) ปิ ดท้ายด้วยฉาก แสดงความคิดเห็นของแกนนําทุกๆ คน ทีเห็นสิ งทีลุงดรและทีมงานทํามาตลอดกว่า ๕ ปี เพือภารกิจ ดูแลป่ าต้นนํา จุดเด่ นของเรือง (Theme) ลุงดรและภารกิจปกป้ องผืนป่ าต้นนําห้วยบง ตัวละคร (Characters) ลุงดร ชาวบ้านอมลองเป็ นตัวละครเอกเพียงคนเดียวของเรื องทีเล่าเรื องเองทังหมด คิดบทพูด สถานที จังหวะเองหมด ทําให้ทีมงานผลิตสื อ (ถ่ายทํา) ซึงเป็ นมือใหม่รู้สึกใจชืนขึนมา แต่เมือไม่ได้ ลําดับบทพูดทําให้การเรี ยบเรี ยงทีหลังยาก เพราะตกบทพูดบางอย่างไป ไม่ได้ถ่ายทําสถานทีสําคัญ ไป สําหรับทีมงานคนอืนเป็ นตัวประกอบในเรื อง ได้พดู แสดงความรู ้สึกในช่วงท้ายของวีดีโอ บทพูด (Script) ไม่มีการร่ างบทพูด พูดสดทังหมด โดยลุงดรเป็ นผูค้ ิดเอง ถึงแม้วา่ ทีมนีจะใช้เวลาถ่ายทําเกินเวลาไปมากกว่า ๔ ชัวโมงเพราะเนืองจากสถานทีถ่ายทํามี อาณาเขตกว้างมากและมีเส้นทางไปทีลําบาก นอกจากนันเป็ นการถ่ายทําครังแรกของทีมผลิตสื อซึง ยังเป็ นมือใหม่ซึงยังวางแผนการถ่ายทําไม่ชาํ นาญเท่าทีควร การวางแผนจึงตกไปอยูต่ วั ละครเอก ของเรื องคือ ลุงดร ซึงทําให้เห็นว่าศักยภาพของชาวบ้านยังมีอยูม่ ากในการทีจะสื อสารให้คน ภายนอกให้รู้วา่ กําลังทําอะไรอยู่ ต้องการการสนับสนุนอะไร และคนภายนอกจะได้รับอะไรจาก การดูสือนี และทีมงานตัวประกอบทุกคนก็ให้ความร่ วมมืออย่างดีถึงแม้เวลาการถ่ายทํา สถานที และอุปกรณ์ประกอบฉากจะไม่ครบถ้วน แต่ทุกคนเริ มเข้าใจกระบวนการผลิตสื อทังหมด ซึงต่อไป ตัวแกนนําเองต้องเป็ นผูด้ าํ เนินเรื องเองตัวความสามารถทีอยากจะสาธิต หรื อยากจะบอกเพือสร้าง แรงบันดาลใจกับผูช้ มสื อชินนี
ช่ วงคํา วันที ๑๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ หลังจากทีทุกคนรับประทานอาหารเสร็ จ ทีมประสานงานกลางเพือการผลิตสื อส่ งตัวแทน จํานวนทีมละ ๒ คนรวมตัวช่วยกันตัดต่อคลิปวีดีโอข้อมูลดิบทีไปถ่ายทํา มาเรี ยบเรี ยงตัดต่อให้ แล้วเสร็ จเพือเปิ ดให้ทุกคนช่วยกันวิพากษ์วิจารณ์กนั ในวันพรุ่ งนี สําหรับกิจกรรมช่วงคําจึงเริ ม ทีเกมส์สนั ทนาการ การทําโยคะเพือผ่อนคลายหลังทีวันนีทังสองทีมทุ่มเทมากกับการลงพืนที ถ่ายทํา หลังจากนันจึงทําวัตรสวดมนต์ประจําวัน กิจกรรมสุ นทรียะสนทนา (Word café) โดยทีมวิทยากรแบ่งกลุ่มผูเ้ ข้าร่ วมอบรมเป็ น ๕ กลุ่มเท่าๆ กัน โดยมีโจทย์วา่ ให้เลือกบุคคล ในกลุ่มเพียงคนเดียวทีทุกคนในกลุ่มเห็นว่าประวัติชีวิตน่าสนใจ โดยมีประเด็นคําถามดังนี - บุคลิกลักษณะเด่น/จุดเด่นของบุคคลนันทีพอพูดถึงแล้วรู ้ทนั ทีวา่ เป็ นใคร - ประวัติยอ่ ๆ เป็ นคนทีไหน/การศึกษา/ทําอะไร/เคยทําอะไรมา - แรงจูงใจหรื อจุดเปลียนทีให้มาใช้ชีวิตแบบพอเพียง/หรื อมาเป็ นอาสาสมัคร - ชีวิตทีเหลืออยูจ่ ากนีจะทําอะไร จากนันเมือได้คาํ ตอบแล้วให้ร่างเป็ นแผนผังความคิด (Mind mapping) รวมทังตังชือเรื อง ให้บุคคลนัน เขียนลงในแผ่นกระดาษflip chart ขนาดใหญ่แล้วนําออกมาเสนอให้เพือนทุกกลุ่ม ได้รู้จกั เขาคนนันมากขึน กิจกรรมนีเป็ นการฝึ กทักษะการเป็ นผูต้ งคํ ั าถาม ผูต้ อบคําถาม และผูจ้ ดบันทึกเพือนําไปสู่ การหาจุดเด่นน่าสนใจของบุคคลนัน เช่นเดียวกับเวลาไปถ่ายทําวีดีโอจริ งทําให้การสื อสารง่าย กระชับ ตรงประเด็น ไม่ถามและตอบวกวนภายในเวลาจํากัด ช่ วงเช้ า วันที ๑๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ กิจกรรมเข้ าใจและยอมรับ เป็ นกิจกรรมทีเป็ นการนําวีดีโอทีตัดต่อเสร็ จแล้วจากทีมตัดต่อของแต่ละทีม มาให้ทุกคนได้ ชมพร้อมกันเพือให้เกิดการพัฒนา จากการวิพากษ์วิจารณ์ คําแนะนําคําติชม ซึงมีประเด็น คําถามสําหรับสองทีมดังนี - ชมแล้วรู ้สึกอย่างไร ดูรู้เรื องไหม - วีดีโอนีบอกอะไร - อยากจะปรับปรุ งสื อของเราอย่างไร - ถ้าเราเป็ นอีกทีมจะถ่ายทําอย่างไร - ยังมีประเด็นอืนทีน่าสนใจ ถ้าถ่ายทําฉากนีเพิมจะมีประโยชน์ต่อผูช้ มเพิมขึน
เมือทังสองทีมชมไปก็มีทงคํ ั าวิพากษ์วจิ ารณ์ทีต้องปรับปรุ ง เช่น มีเสี ยงรบกวน เสี ยงตัวละครพูดดังเกินไป เสี ยงลมเข้ากล้องแทรกเสี ยงคนพูด ใส่ เพลงประกอบดังกว่า คนพูด การลําดับภาพยังสับสน แต่โดยรวมแล้วดูแล้วเข้าใจว่าต้องการสื ออะไรเป็ น เรื องเป็ นราวมีสาระ และมีประเด็น เพียงแต่ตอ้ งเสริ มทีการวางโครงเรื องให้ชดั กระชับ กว่านี และเทคนิคการถ่ายทํา องค์ประกอบของภาพ และเรื องคุณภาพกล้องเป็ นสิ งที ควรปรับปรุ ง เสี ยงแนะนําชมอีกส่ วนเป็ นการเสริ มกําลังใจหลังจากทีใช้เวลาเพียงวันเดียวทังสอง ทีมก็สามารถผลิตวีดีโออย่างง่ายสําเร็ จ โดยทุกคนมีส่วนร่ วมทังกระบวนการ ทําให้เกิด ความเข้าใจดีขึนในการทําสื อวิดีโอซึงเป็ นเรื องใหม่สาํ หรับทุกคน
ช่ วงสาย วันที ๑๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ กิจกรรม Action Plan สื อนีเป็ นจริง เมือพักรับประทานอาหารว่างเรี ยบร้อย ทีมวิทยากรจึงนําพาคณะผูเ้ ข้าร่ วมอบรมเล่นเกมส์ กระซิบประโยคต่อๆ กัน โดยมีกติกาว่า ให้คนแรกกระซิบประโยคจากทีมงานสู่ คนทีสอง สาม สี จนคนสุ ดท้ายแล้วให้คนสุ ดท้ายวิงขึนมาบอกกับคนแรกว่าใช่ประโยคทีถูกต้องหรื อไม่ เป็ นกิจกรรม ผ่อนคลายและสื อเห็นว่า แม้คาํ พูดเดียวกันแต่ผา่ นการบอกต่อๆ กันของหลายคนหรื อแม้เพียงคน เดียวก็มีโอกาสผิดเพียนได้ ฉะนันการสื อสารเป็ นสิ งทีสําคัญ อย่าปักใจเชือง่ายๆ ว่าทีเขาลือต่อๆ กัน เป็ นความจริ งทังหมด เพราะความหมายหรื อมูลความจริ งของเรื องอาจจะเพียนได้ เมือคนดัดแปลง และระยะเวลาทีนานแล้ว เช่นเดียวกับเกมส์กระซิบบอกต่อที คนแรกกับคนท้ายมักจะพูดผิดเพียน กันเสมอ จากนันทีมวิทยากรจึงเข้าสู่กิจกรรมรองสุ ดท้ายคือ การทําแผนปฏิบตั ิงานต่อจากนี (ActionPlan) กิจกรรม Action Plan มีกระบวนการดังนี ทีมวิทยากรแจกแบบฟอร์มลําดับภาพและคําพูด ฉบับย่อ (Story Board) สําหรับทีมแกนนําชาวบ้านคนละ ๑ ชุด โดยให้ทีมประสานงานการผลิตสื อ จับคู่ชาวบ้านเพือช่วยกันร่ างแผนงานว่า “ในวีดีโอของฉันมีอะไรบ้าง” ทังภาพและเสี ยงพูดเพือเป็ น แนวทางสําหรับทีมงานผลิตสื อในการเตรี ยมถ่ายทํา รวมทังตัวแกนนําก็จะได้เตรี ยมตัว เตรี ยม สถานที อุปกรณ์ให้พร้อมก่อนถึงวันทีทีมงานผลิตสื อยกกองถ่ายไปถึงบ้านของแกนนํา ท้ายสุ ดทีมวิทยากรจัดลําดับคิวการถ่ายทําจริ งออกมาเป็ นตารางโดยให้แกนนําทัง ๑๒ คน ลงวันเวลาทีสะดวกพร้อมทีอยูแ่ ละเบอร์โทรเพือติดต่อก่อนประสานงานก่อนลงพืนทีจริ ง นอกจากกิจกรรมนี ทีมวิทยากรยังให้แกนนําชาวบ้านเขียนคู่มือขันตอนการทํา (How-to) ในเรื องทีตนเองเชียวชาญ เช่น การทําฮอร์โมนไข่เพือสุ ขภาพ การกัวซาถอนพิษ การหุงข้าวด้วย
กระบอกไม้ไผ่ การยําข่าง การนวดเพือผ่อนคลาย การสร้างฝายชะลอนํากึงถาวรอย่างง่าย การทํานํา เขียวคลอโรฟิ ลล์ และการทํานําหมักจุลินทรี ยส์ มุนไพร เป็ นต้น สําหรับเป็ นแนวทางของทีมงาน ผลิตสื อทีจะใช้เป็ นข้อมูลเบืองต้นในการเตรี ยมตัวสัมภาษณ์เจาะลึกรายบุคคลและถ่ายรู ปประกอบ สําหรับนําไปเรี ยบเรี ยงเป็ นบทความออนไลน์ต่อไป กิจกรรมแลกเปลียนประสบการณ์ (สรุปกิจกรรมทัง ๒ วัน) กิจกรรมสุ ดท้ายคือการสรุ ปกิจกรรมทัง ๒ วัน เพือทําความเข้าใจตรงกันถึงเป้ าหมายคือ การผลิตสื อพืนบ้านด้วยเนือหาทีมีอยูใ่ นตัวแกนนําทุกคนอยูแ่ ล้วเพียงแต่ปรับเปลียนรู ปแบบออกมา ให้หลากหลายกว่าเดิม เป็ นการรวบรวมองค์ความรู ้ทีกระจัดกระจายโดยจัดทําเป็ นคู่มือ และการ จัดทําเป็ นวีดีโอสร้างแรงบันดาลใจ ซึงเป็ นสื อทีมีอิทธิพลในการโน้มน้าวจิตใจผูช้ มให้เกิดการ กระตุน้ ในการปรับเปลียนพฤติกรรม ปรับเปลียนวิถีชีวิตบางอย่างได้ง่าย ซึงเมือนําเข้าสื อออนไลน์ ซึงช่วยขจัดข้อจํากัดเรื องเวลา สถานที และกลุ่มเป้ าหมาย จึงมีโอกาสขยายฐานคนบุญ คนทีมีจิต อาสานึกถึงประโยชน์ส่วนรวมให้มากและกว้างขวางขึน และอาจมีคนสนใจร่ วมสนับสนุนในการ ทํากิจกรรมบุญกิจกรรมอาสาเพือส่ วนรวมมากขึน ซึงทางโครงการได้เสนอเป็ นทางเลือกมากมาย ท้ายสุ ดเมืออ่านกระดาษหัวใจความคาดหวังของแต่ละคนปรากฏว่าทุกคนหวังจะมีความรู ้ ความเข้าใจเรื องกระบวนการผลิตสื อพืนบ้านมากขึน บางส่ วนมีความเห็นว่ากิจกรรมนีจะช่วย กระชับความสัมพันธ์ระหว่างกัลยาณมิตรในเครื อข่ายให้แน่นแฟ้ นยิงขึน บางกลุ่มคาดหวังว่าเมือสื อ ทีตนเองผลิตได้รับการเผยแพร่ ออกไปจะได้รับการสนับสนุนในส่ วนทีขาดหรื อได้รับกําลังใจให้ทาํ สิ งดีๆ แบบนีต่อไป
สรุปประเมินผล จากการทําแบบสอบถามของผูเ้ ข้าร่ วมอบรมกระบวนการผลิตสื อครังนี ผูเ้ ข้าร่ วมอบรมส่ วน ใหญ่มีความพึงพอใจมาก จากตอนแรกทีไม่รู้อะไรเลยเกียวกับการผลิตสื อ แต่พอหลังจบอบรมจึง เข้าใจมากขึน และสามารถกลับไปเตรี ยมตัวให้ทีมงานถ่ายทําได้ สําหรับทีมงานผลิตสื อมีความพึง พอใจมากเนืองจากมีกาํ ลังใจในการผลิตสื อเพิมขึน หลังจากเห็นศักยภาพของแกนนําชาวบ้านที ไม่ได้มีแค่เนือหาองค์ความรู ้ แต่สามารถถ่ายทอดสิ งทีตนเองเชียวชาญออกมาได้ดี สามารถเป็ น นักแสดงได้อย่างไม่เคอะเขิน นอกจากนันยังมีขอ้ เสนอแนะต่อการอบรมครังนีเพิมเติม ดังต่อไปนี ๑. ควรมีการจัดอบรมเช่นนีบ่อยขึน ๒. ขอให้เครื อข่ายเกาะเกียวแน่นแฟ้ นกันไว้ดว้ ยความสามัคคีต่อหมู่คณะจะนําพาให้เกิดความ กินดีอยูด่ ี และความเข้มแข็งของกลุ่มนีเองจะเป็ นพลังกําจัดอุปสรรคทุกอย่าง
๓. เวลาและเนือหากิจกรรมควรปรับเปลียนให้เหมาะสม (เวลาจัดกิจกรรมน้อยเกินไป) ๔. อยากให้เพิมวันอบรมและมีผเู ้ ชียวชาญด้านสื อให้มีความหลากหลาย ทังจากสื อวีดีโอและ สื อสิ งพิมพ์กด็ ี ๕. ควรกระชับเวลาให้มากขึนสําหรับบางกิจกรรม ๖. ควรเพิมกล้องและอุปกรณ์เสริ มในการถ่ายทําวีดีโอ
รายนามผู้เข้ าร่ วมอบรมเชิงปฏิบัติการกระบวนการผลิตสื อพืนบ้ าน (๒ วัน ๑ คืน รอบที ๑ “ขันลงฉันทามติ และขันกระบวนการผลิตสื อพืนบ้ าน”) โครงการพัฒนาธุรกิจเพือสั งคมคนบุญด้ วยช่ องทางสังคมออนไลน์ วันที ๑๘-๑๙ ธันวาคม ๒๕๕๕ ณ ห้ องประชุ มอเนกประสงค์ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ ม อ.สะเมิง จ.เชี ยงใหม่ -------------------------------ผู้มาประชุ ม ๑. นายเสงียม แสนคํา ๒. นางจันทร์ดี บุญมาลา ๓. นายอุดร สุ ขโข ๔. นางเฮือนแก้ว ธงทาสี ๕. นางอมร คําชอน ๖. นายปณิ ธาน ตาสม ๗. นางชณิ ตฎา สาสุ จิตร์ ๘. นายบุญส่ ง ยะมะโน ๙. นางธนพร ภาระสี ๑๐.นายสมชาย สิ ทธิโลก ๑๑. นายสุ เนตร อธิพรหม ๑๒. นางจําลอง สาสุ จิตร ๑๓. นายสุ รัตน์ คุณนิธิกรกุล ๑๔. นางสาวเสาวลักษณ์ จ๊ะโด ๑๕. นายสวิง จะหละ ๑๖. นางสาวธนภรณ์ กันทะเส็ด ๑๗.นางสาวศิรินาถ โปธา ๑๘. นายชัชวาล แสนคํา ๑๙. นางสาวรุ่ งนภา ชมโลก ๒๐. นางสาวจิรินดา แสนหาญชัย ผู้เข้ าร่ วมประชุ ม ๑. พระอธิการสรยุทธ ชยป ฺ โญ ๒. นางสาวธชาพร เลาวพงษ์ ๓. นางสาวฉัตรกมล มงคล ๔. นายประมวลสิ น เกิดงาม
ชุมชนบ้านใหม่ตน้ ผึง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนยังเมิน ต.ยังเมิน อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านแม่สาบ ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านแม่สาบ ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านนาฟาน ต.สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนยังเมิน ต.ยังเมิน อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านแม่สาบ ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านวัดจันทร์ ต.วัดจันทร์ อ.กัลยาณิ วฒั นา จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านทุ่งหลวง ต.แม่วนิ อ.แม่วาง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านป่ าเกียะนอก ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านแม่เลย ต.สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านแม่เลย ต.สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนเทศบาลสะเมิง ต.สะเมิง อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนดอนแก้ว ต.ดอนแก้ว อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ ประธานคณะทํางาน ผูป้ ระสานงานโครงการ วิทยากร วิทยากร
ภาพกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการกระบวนการผลิตสื อพืนบ้ าน (๒ วัน ๑ คืน รอบที ๑ “ขันลงฉันทามติ และขันกระบวนการผลิตสื อพืนบ้ าน”) วันที ๑๘-๑๙ ธันวาคม ๒๕๕๕ ณ ห้ องประชุ มอเนกประสงค์ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ ม อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่
เนือหา/รายละเอียดการดําเนินกิจกรรม โครงการพัฒนาธุรกิจเพือสั งคมคนบุญด้ วยช่ องทางสั งคมออนไลน์ กิจกรรม คาราวานบุญ ตอนขบวนบุญบุกเมืองเชียงใหม่เจ้า (ครังที ๑) หน่ วยงาน/องค์ กร วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ผู้ประสานงาน พระครู ธรรมคุต (สรยุทธ ชยปัญโญ) เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผูอ้ าํ นวยการศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม โทร. o๘๙ ๙๒๖ ๓๘๗๗ E-mail : doiphasom@gmail.com วัตถุประสงค์ของโครงการ ๑) เพือการประชาสัมพันธ์แนวคิดและกิจกรรมจากสมาชิกในเครื อข่ายสู่ชาวเมืองเชียงใหม่ ขยายฐาน คนบุญ คนอุดมการณ์เดียวกันให้กว้างขึน ๒) เพือเกิดการแลกเปลียนเรี ยนรู ้บทเรี ยน ปรับปรุ ง แก้ไขพัฒนาและเติมกําลังใจในการขับเคลือน เครื อข่ายเพือการพึงพาตนเอง รายละเอียดของกิจกรรม ทีมประสานงานกลางนําองค์ความรู ้ของผูเ้ ข้าร่ วมโครงการด้านเศรษฐกิจพอเพียงเพือการพึงพา ตนเองมาประยุกต์ใช้จดั แสดงสาธิตจริ ง หลังจากทีชาวบ้านใช้ชีวติ พอเพียงแบบ “ปลูกทุกอย่างทีกิน กินทุก อย่างทีปลูก” จนผลิตผลในไร่ คุณธรรม (ไร้สารเคมี) เหลือกินเหลือเก็บ เช่น การทํานําข้าวกล้องงอก (ใช้ขา้ ว ของชาวกะเหรี ยง) ชาเมียง (จากชุมชนแม่เลย) นําสกัดสมุนไพร (จากชุมชนอมลอง) การจัดแสดงสิ นค้าของ ชุมชนทีซือขายในรู ปแบบธุรกิจขบวนบุญทีตังราคาทีราคาต้นทุน โดยมีจุดประสงค์หลักคือ การพาคน ตระหนักถึงความสําคัญของทรัพยากรสิ งแวดล้อมของจังหวัดเชียงใหม่ โดยคนเมืองสามารถมีส่วนร่ วมได้ ณ กาดคําเทียง อ.เมือง จ.เชียงใหม่ วันที ๒o มกราคม ๒๕๕๖ โดยกระบวนการทํากิจกรรมจะเริ มตังแต่ขนตอนการเตรี ั ยมงาน วันงานจริ ง และการสรุ ป ประเมินผลหลังจากทํากิจกรรมดังต่อไปนี
วันที ๑๒ มกราคม ๒๕๕๖ ขันตอนการเตรียมงาน ประชุมทีมงานเพือเตรี ยมงาน มีการแบ่งงานออกเป็ น ๓ ส่ วน ได้แก่ ๑) ฝ่ ายสถานที ทําหน้าทีจัดเตรี ยมฉากต่างๆ รวมทังสื อเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการประชาสัมพันธ์ โครงการ จัดเตรี ยมพืนทีตามความเหมาะสมของฝ่ ายต่างๆ ๒) ฝ่ ายจัดแสดงผลิตภัณฑ์ ทําหน้าทีเตรี ยมผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้แก่ กล้วยฉาบ กล้วยตาก ข้าวขาวดอย ข้าวกล้องดอย ข้าวกล้องงอกดอย นํายาอเนกประสงค์หายแซบหายสอย ผักสด กล้วย พวงกุญแจตอกลาย โลหะ กางเกงสะดอผ้าฝ้ าย เสื อยืด และทําการบรรจุใส่ ลงั ให้เรี ยบร้อย ๓) ฝ่ ายทดลองผลิตภัณฑ์ ออกสู่ ตลาด โดยการให้ผบู ้ ริ โภคได้ชิมฟรี ในผลิตภัณฑ์ดงั นี นําข้าวกล้องงอก ชาเมียง นําสกัดสมุนไพร ข้าวตอกงาขีม้อน จากนันทําการรวบรวมข้อมูลเพือนําไปปรับปรุ งผลิตภัณฑ์ต่อไป ทีมงานจะต้องทําการเตรี ยมวัตถุดิบ อุปกรณ์ครัว เครื องปรุ งรส รวมทังภาชนะใส่ ผลิตภัณฑ์นนๆ ั เมือทําการแบ่งงานกันเป็ นทีเรี ยบร้อยแล้ว แต่ละทีมจะประสานงานกับเครื อข่ายในเมืองเชียงใหม่ในการ ช่วยเหลือด้านอุปกรณ์และการติดต่อต่างๆ เช่น การทําป้ ายไวนิล อุปกรณ์ไฟฟ้ า
ช่ วงเช้ าวันที ๑๙ มกราคม ๒๕๕๖ ทีมงานแต่ละฝ่ ายเตรี ยมอุปกรณ์ต่างๆ ช่วยกันขนใส่ ในรถ เมือเสร็ จเรี ยบร้อยจึงเดินทางเข้าตัวเมืองเชียงใหม่
วันที ๒o มกราคม ๒๕๕๖ กิจกรรมวันงานจริง ช่วงเช้า ทีมงานฝ่ ายทดลองผลิตภัณฑ์เตรี ยมวัตถุดิบในการทํานําข้าวกล้องงอก โดยการปั นข้าวกล้องเตรี ยม ไว้ เมือเสร็ จเรี ยบร้อยจึงออกเดินทางไปยังกาดคําเทียง จากนัน ฝ่ ายสถานทีทําการจัดฉากต่างๆ เปิ ด สื อคอมพิวเตอร์ ฝ่ ายจัดแสดงผลิตภัณฑ์นาํ ผลิตภัณฑ์ต่างๆมาจัดแสดง ฝ่ ายทดลองผลิตภัณฑ์จดั เตรี ยม อุปกรณ์ในการสาธิตและการชิมฟรี ทีมงานแต่ละคนประจําจุดต่างๆตามทีได้รับมอบหมาย
ตารางกิจกรรม วันที ๒o มกราคม ๒๕๕๖ ๘.oo น.
ตังบูธขายของและนิทรรศการ
๙.oo – ๑๖.oo น.
ต้อนรับผูบ้ ริ โภคทีมาเยียมชมโครงการ
*๑๑.oo – ๑๒.๓o น. กิจกรรมบนเวที ตอบคําถามชิงรางวัลไข่ไก่สด ๑๖.oo น.
เก็บของ , กลับวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม
ยุทธวิธีดงึ ดูดความสนใจผู้บริโภค ๑) เชิญชิมผลิตภัณฑ์ฟรี ๒) นําเสนอโครงการ วัตถุประสงค์ ทีมาทีไปของผลิตภัณฑ์ขบวนบุญ ประโยชน์ทีผูบ้ ริ โภคจะได้รับ (เช่น บริ โภคของไร้สารพิษ ตอบแทนคุณแผ่นดิน ทําบุญ) เพือให้ผบู ้ ริ โภคมีความเข้าใจโครงการ และรู ้สึกมีส่วนร่ วมในกิจกรรมครังนี ๓) จัดนิทรรศการ นําเสนอโดยสื อต่างๆ เช่น ป้ ายไวนิล สื อคอมพิวเตอร์ โดยเนือหาเกียวกับ วัตถุประสงค์ของโครงการ ผลิตภัณฑ์บุญต่างๆ กิจกรรมต่างๆของโครงการทีได้ทาํ ไปแล้วและกําลัง จะทําต่อไป เช่นสารคดีพระดับไฟ วิถีเศรษฐกิจพอเพียงของชาวบ้านในโครงการ การสร้างฝาย/ ปลูกป่ า ฯลฯ เพือให้ผบู ้ ริ โภคเข้าใจจุดประสงค์ของโครงการได้ชดั เจนยิงขึน ๔) กิจกรรมบนเวที เช่นการเล่นเกมส์ชิงรางวัล เพือเป็ นการประชาสัมพันธ์/แนะนําโครงการ แนะนําบูธของโครงการ และทําให้ผบู ้ ริ โภคเกิดสํานึกในการตอบแทนคุณแผ่นดินผ่านการร่ วม โครงการคาราวานบุญครังนี จํานวนผู้เข้ าร่ วมกิจกรรม ๑) คณะทีมงานผูเ้ ข้าร่ วมโครงการและกลุ่มจิตอาสาจํานวน ๒๑ คน ๒) บุคคลทัวไปทีเดินทางมาเลือกชมสิ นค้าผลิตภัณฑ์ต่างๆ ณ กาดคําเทียง จํานวน ๘๐ - ๑oo คน
สรุปประเมินผล หลังจากเสร็ จสิ นกิจกรรมคาราวานบุญครังที ๑ ได้มีการจัดทําแบบประเมินผลความพึงพอใจใน ๒ ส่ วนได้แก่ ๑) คณะทีมงานผูเ้ ข้าร่ วมโครงการและจิตอาสา โดยถามคําถามปลายเปิ ดเกียวกับความรู ้สึกของการ มาร่ วมงานคาราวานบุญครังนี ๒) ผูบ้ ริ โภค โดยให้กรอกแบบสอบถามเกียวกับความพึงพอใจในการจัดสถานที ผลิตภัณฑ์ทีจัดแสดง ผลิตภัณฑ์ทีทดลองชิมฟรี กิจกรรมบนเวที ความเข้าใจในวัตถุประสงค์ของโครงการ การ ประชาสัมพันธ์โครงการ และความรู ้สึกต่อการมีส่วนร่ วมในงานครังนี สําหรับคณะทีมงานผูเ้ ข้าร่ วมโครงการและจิตอาสา ได้กล่าวความรู ้สึกในการมาร่ วมงานคาราวานบุญและ บอกข้อเสนอแนะดังนี ๑) สถานทีจัดงาน มีความสะดวก รวมทังทีจอดรถและห้องนํา มีจาํ นวนเพียงพอ ๒) การจัดสถานทีของโครงการ ยังไม่ดีเท่าทีควร เช่น ควรมีทางเข้า-ออกซุม้ ให้เป็ นระบบ ควรจัด หมวดหมู่ผลิตภัณฑ์เดียวกันให้อยูด่ ว้ ยกัน ๓) สื อประชาสัมพันธ์โครงการ เช่นป้ ายไวนิล จอโทรทัศน์ ยังไม่ค่อยมีคนให้ความสนใจเท่าทีควร ๔) ควรติดราคาผลิตภัณฑ์ต่างๆให้ชดั เจนและสวยงาม เพือให้ทีมงานทุกคนสามารถผลัดเปลียน หมุนเวียนกันทําหน้าทีได้ ๕) ผักเหี ยวและชําก่อนมาถึงกาดคําเทียง จึงควรมีการดูแลรักษาจัดเก็บทีถูกต้องและควรมีร่มกางทีซุม้ ผัก และขาดเครื องชัง ใบตอง ตอกมัด ๖) ทีมงานและจิตอาสาทุกคนมีความร่ วมมือร่ วมใจกันเป็ นอย่างดี แต่เป็ นการทํางานครังแรก ประสบการณ์ยงั ไม่มากพอ จึงควรฝึ กฝนทักษะต่างๆให้มากขึน ๗) ควรมีการฝึ กสอนทีมงานเรื องข้อมูลโครงการ ผลิตภัณฑ์ การถาม-ตอบ การจําลองสถานการณ์ต่างๆ มารยาทต่างๆ การมีความรับผิดชอบในการปฏิบตั ิหน้าที ๘) ทีมงานได้รู้จกั กัลยาณมิตรและเครื อข่ายอืนๆมากขึน เป็ นการเปิ ดหูเปิ ดตา ทําให้สามารถนําข้อมูล ต่างๆทีได้รับไปปรับปรุ งผลิตภัณฑ์และวิธีการดําเนินงานของตนเองได้ ๙) นําข้าวกล้องงอกทีนํามาชิมฟรี ไม่เพียงพอ ต้องทําใหม่หลายครัง ทําให้รสชาติยงั ไม่มีมาตรฐานที แน่นอน เพราะคนทําไม่ใช่คนเดียวกันทุกครัง และไม่มีปริ มาตรในการชังตวงทีชัดเจน ๑๐) ควรเพิมเติมในเรื องการประชาสัมพันธ์โครงการและโปรโมชันต่างๆ เพือดึงดูดความสนใจ ๑๑) ในช่วงเวลาเช้าควรมีการสาธิตผลิตภัณฑ์บนเวที เพือดึงดูดความสนใจผูบ้ ริ โภค
สําหรับความคิดเห็นของผูบ้ ริ โภค ทางทีมงานมีแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจในด้านต่างๆ ให้กรอก แต่ผบู ้ ริ โภคโดยส่ วนใหญ่ มีระยะเวลาสันๆในการเดินชมโครงการ จึงไม่สามารถตอบ แบบสอบถามได้เต็มรู ปแบบ ทางทีมงานจึงเปลียนวิธีการเป็ นการถามคําถามปลายเปิ ดในหัวข้อความรู ้สึกที มีต่องานคาราวานบุญครังนี ซึงส่ วนใหญ่ตอบว่า ผลิตภัณฑ์มีราคาถูก อร่ อย มีประโยชน์ต่อสุ ขภาพกายและ จิต ทําให้มีคุณภาพชีวติ ทีดีขึน เป็ นกิจกรรมทีดี ได้รับความรู ้เพิมขึน และได้ทาํ บุญไปด้วย ส่ วนหนึงของ ผูบ้ ริ โภคเป็ นผูท้ ีรู ้จกั วัดพระบรมธาตุดอยผาส้มและโครงการคาราวานบุญอยูแ่ ล้ว จึงตามมาให้กาํ ลังใจและ อุดหนุนผลิตภัณฑ์ แต่สาํ หรับผูบ้ ริ โภคหน้าใหม่ ได้เสนอแนะให้มีการประชาสัมพันธ์โครงการมากกว่านี และเน้นยําเรื องวัตถุประสงค์การจัดงานให้ชดั เจน นอกจากนัน ทางคณะทีมงานได้ทาํ การสํารวจความคิดเห็นผลิตภัณฑ์ชิมฟรี ซึงผูช้ ิมส่ วนใหญ่เป็ น ผูใ้ หญ่ในช่วงอายุ ๔o ปี ขึนไป ให้ความเห็นดังนี ๑) ข้ าวตอกงาขีม้ อน : หวานเกินไปเล็กน้อย และทานแล้วติดฟัน จํานวน ๑๓ คน ๒) นําข้ าวกล้องงอก : หวานเกินไปเล็กน้อย จํานวน ๒o คน แต่บางคนซึงเป็ นส่ วนน้อย บอกว่า จืดไป เล็กน้อย ทังนี การทํานําข้าวกล้องงอก ทําใหม่หลายครัง คนทําไม่ใช่คนเดิม และไม่มีสูตรทีกําหนด ตายตัว ทําให้รสชาติไม่คงที ๓) นําสกัดสมุนไพร : หวานเกินไปเล็กน้อย จํานวน ๑๑ คน ๔) ชาเมียง
: รสชาติจางไปหน่อย ควรเพิมความหวานอีกสักเล็กน้อย จํานวน ๕ คน
ซึงความเห็นข้างต้นจะนําไปให้ทีมผลิตผลิตภัณฑ์ปรับปรุ งคุณภาพให้สอดคล้องกับผูบ้ ริ โภคตาม กลุ่มเป้ าหมายซึงคือวัยกลางคน ทีนิยมรับประทานอาหารเพือสุ ขภาพ ทําให้กลยุทธ์ในการดึงกลุ่มเป้ าหมายที สนใจอุดหนุนผลิตภัณฑ์ ทังอยากมีส่วนร่ วมสนับสนุนโครงการเป็ นไปอย่างต่อเนืองมากกว่าแค่การ ประชาสัมพันธ์หรื อเดินรณรงค์ ทีไม่เสนอทางออกของปัญหา
รายชือเหล่ าอาสาสมัครงานคาราวานบุญ ครังที ๑ โครงการพัฒนาธุรกิจเพือสั งคมคนบุญด้ วยช่ องทางสังคมออนไลน์ วันที ๒๐ มกราคม ๒๕๕๖ ณ กาดคําเทียง (ตลาดปลอดสารพิษ) อ.เมือง จ.เชียงใหม่ -------------------------------ผู้มาประชุ ม ๑. น.ส. ธนภรณ์ กันทะเล็ก ๒. น.ส. นารี ปู่ นุ ๓. น.ส. ศิริลกั ษณ์ มอยวี ๔. น.ส. ศิรินารถ โปธา ๕. น.ส. เสาวลักษณ์ จ๊ะโด ๖. น.ส. นารถวลี บูรณะธนสาร ๗. นายธวัชชัย พรหมโคตร ๘. น.ส. ภัทรวดี สายแปง ๙. น.ส. นิราชิน ศรี มา ๑๐. นางชนิตฎา สาสุ จิตร์ ๑๑. น.ส. นภาพร วงศ์วิรัตน์ ๑๒. น.ส. ทวิชากร พรตระกูลเดช ๑๓. ชัชวาล บัวเขียน ๑๔. นายประมวลสิ น เกิดงาม ๑๕. สวิง จะหละ ๑๖. ธีรสุ ต สื บสุ ข ๑๗. สุ รภี วิสุทธิวรรณ ๑๘. รัฐพล กิงดอยหลวง ๑๙. ภิรมณ์ เอียดคํา ๒๐. ฉัตรกมล มงคล ๒๑. พฤจิกา ดงปาลี ๒๒. พวงไข่มุก พัฒนเกียรติเดชา ๒๓. เนตรนภา เสมทรัพย์ ๒๔. ธชาพร เลาวพงษ์
๒๐ ม.๑ ต.สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๑๑๓ ม. ๖ ต.บ่อหลวง อ.ฮอด จ.เชียงใหม่ ๕๒ ม.๙ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๔๓ ม. ๒ ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๔๓ ม. ๒ ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๒๐๑ ม. ๔ ต.ดอนแก้ว อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ ๒๐๑ ม. ๔ ต.ดอนแก้ว อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ ๒๐๑ ม. ๔ ต.ดอนแก้ว อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ ๒๐๑ ม. ๔ ต.ดอนแก้ว อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ ๘๖ ม. ๒ บ้านอมลอง ต. แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๙๗ ถ.ราชดําเนิน อ.เมือง จ.ตรัง ๑๐๔ ม. ๖ ต.พ่อหลวง อ.ฮอด จ.เชียงใหม่ ๔/๑ ถ.ชมดอย ต.สุ เทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ ๕๑ ถ.สุ ขาภิบาล ต.วัดใหม่ อ.เมือง จ.จันทบุรี ๗๖ หมู่ ๑ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๓๒/๕ ซ.แสงทิพย์ ถ.สุ ขมุ วิท ๗๑ พระโขนงเหนือ วัฒนา กทม. ๙/๙๙ ถ.เลียบคลองชล ต.ช่อแล อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่ ๔๓ ม. ๒ ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๑๖๓ ม. ๑๑ ต.เคร็ ง อ.ชะอวด จ.นครศรี ฯ ๕๔ หมู่ ๒ ต.ป่ าคา อ.ท่าวัง จ.น่าน ๒๓๕/๑ หมู่ ๙ ต.ศรี ดอนมูล อ.เชียงแสน จ.เชียงราย ๑๙๑/๑๓๓ กุลพันธ์วิลล์ ๕ ต.แม่เหีย อ.เมือง จ.เชียงใหม่ ๓๙/๔๖ ม.๖ ต.หนองควาย อ.หางดง จ.เชียงใหม่ ๒๒๕/๙ ต.แม่พลู อ.ลับแล จ.อุตรดิตถ์
ภาพบรรยากาศกิจกรรมคาราวานบุญ ตอนขบวนบุญบุกเมืองเชียงใหม่ เจ้ า วันที ๒o มกราคม ๒๕๕๖ ณ กาดคําเทียง (ตลาดนัดปลอดภัย) อ.เมือง จ.เชียงใหม่
….จุดจัดแสดงผลิตภัณฑ์ ….
….จุดจัดแสดงนิทรรศการ….
….จุดชิมผลิตภัณฑ์ ฟรี….
….ให้ ข้อมูลโครงการและสอบถามความคิดเห็น….
เนือหา/รายละเอียดการดําเนินกิจกรรม โครงการพัฒนาธุรกิจเพือสั งคมคนบุญด้ วยช่ องทางสั งคมออนไลน์ คาราวานบุญครังที ๒ ตอน พาคนเมืองดับไฟป่ าเจ้า (ครังที ๒) ณ สวนสาธารณะหนองบวกหาด งานไม้ดอกไม้ประดับจังหวัดเชียงใหม่ ครังที ๓๗ หน่ วยงาน/องค์ กร วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ผู้ประสานงาน พระครู ธรรมคุต (สรยุทธ ชยปั ญโญ) เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผูอ้ าํ นวยการศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม โทร. o๘๙ ๙๒๖ ๓๘๗๗ E-mail: doiphasom@gmail.com วัตถุประสงค์ ของโครงการ กิจกรรม
๑. เพือการประชาสัมพันธ์แนวคิดและกิจกรรมจากสมาชิกในเครื อข่ายสู่ชาวเมืองเชียงใหม่ ขยายฐาน คนบุญ คนอุดมการณ์เดียวกันให้กว้างขึน ๒. เพือเกิดการแลกเปลียนเรี ยนรู ้บทเรี ยน ปรับปรุ ง แก้ไขพัฒนาและเติมกําลังใจในการขับเคลือน เครื อข่ายเพือการพึงพาตนเอง รายละเอียดของกิจกรรมคาราวานบุญครังที ๒ แบ่งเป็ นกิจกรรมย่อย คือ กิจกรมประชุมเตรี ยมงาน และกิจกรรมวันออกคาราวานบุญ ดังนี ๑. กิจกรรมประชุ มเตรียมงาน (๒๕ มกราคม – ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖) เนืองจากทางทีมงานใช้พืนทีในงานไม้ดอกไม้ประดับจังหวัดเชียงใหม่ ครังที 37 ซึงเป็ นงานทีเน้น การแสดงและซือขายต้นไม้ดอกไม้ประดับ และสิ นค้าชุมชนจากอําเภอต่างๆ ทัวจังหวัดเชียงใหม่ ทําให้ ทีมงานมีโจทย์วา่ “จะทําอย่างไรให้คนทีมาเดินในงานเข้าใจว่าเราไม่ได้เพียงขายของ” พวกเราจึงต้อง ประชุมทีมงานทีเป็ นทังจิตอาสาและชาวบ้านก่อนถึงวันงานเพือทําความเข้าใจให้ตรงกันว่า จุดประสงค์ของ โครงการคืออะไร และเป้ าหมายทีอยากจะเห็นร่ วมกันในวันงานเป็ นอย่างไร เพือเตรี ยมความพร้อม โดยมี ประเด็นการประชุม ดังนี • ผลลัพธ์ (Outcome) ทีเราต้ องการให้ คนเมืองเข้ าใจ (โน้ มน้ าว) เช่น ให้เขารู ้วา่ พวกเรามาจากป่ าต้น นํา มาจากชนบทของเชียงใหม่ พวกเราปลูกข้าว มีสมุนไพร มีกล้วย มีภูมิปัญญาในการผลิตอาหาร และแปรรู ปพึงตนเองได้จากทรัพยากรทีอุดมสมบูรณ์ในป่ าต้นนํา แล้วคนในเมืองทีต้องใช้ “เงิน” แลกเปลียนสิ นค้าจากป่ า (ข้าวปลาอาหาร อากาศ ทีอยูอ่ าศัย เครื องนุ่งห่ม) สามารถจะช่วยดูแลหรื อ ช่วยคนต้นนําดูแลทรัพยากรธรรมชาติส่วนรวมอย่างไรได้บา้ ง
• เสนอทางเลือกในการปรับเปลียนพฤติกรรม (Take Action) เช่น สนับสนุนผลิตภัณฑ์ชุมชน โดยตรง/ร่ วมงานอาสาสมัครปลูกป่ า สร้างฝาย ดับไฟ/ ปรับเปลียนพฤติกรรม เช่น เลือกเดินแทนนัง รถในระยะทางใกล้ๆ ใช้ถุงผ้าทีไม่ใช่แค่พกแต่ปฏิเสธถุง/ ช่วยเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ต่อ ผ่านการ บอกต่อ ผ่านการติดตามทางเฟสบุค๊ เป็ นต้น • แบ่ งทีมงานเป็ น ๗ ฝ่ าย ดังนี ๑. ทีมประจําบูธ (แบ่งย่อย ๓ ทีม คือ ทีมประจําจุดขาย/ทีมประจําจุดชิม/ทีมประจําจุดนิทรรศการ) ๒. ทีมประชาสัมพันธ์หน้าบูธ (MC) เพือดึงคนเข้าบูธ ๓. ทีมประชาสัมพันธ์เคลือนที (ขบวนพาเหรด) ๔. ทีมติดตังฉากและสถานทีเตรี ยมก่อนวันจริ ง และเป็ นแรงงานในวันงานจริ ง ๕. ทีมสวัสดิการ เตรี ยมอาหารและเครื องดืม ดูแลความสะอาดของพืนที ๖. ทีมประเมินผล จะแบ่งเป็ นทีมเก็บข้อมูลจากแบบสอบถามและทีมสังเกตสถานการณ์ ๗. ทีมประสานงานกลาง เมือมีปัญหาถามทีมนี คอยขับเคลือนกิจกรรมตลอดงาน • แจก “คู่มือคนขายขบวนบุญ” ซึงเป็ นข้อมูลผลิตภัณฑ์ทงหมดและคํ ั าถามทีพบบ่อยจากผูบ้ ริ โภค สําหรับทีมงานทุกคนสามารถตอบคําถามเรื องผลิตภัณฑ์ได้ เพราะผลิตภัณฑ์เป็ นเครื องมือแรกๆ ที ใช้ดึงดูดผูค้ นเข้าไปในบูธนิทรรศการ เข้าไปรับรู ้จุดประสงค์ของโครงการ • แลกเปลียนความคิดเห็นเพือความเข้ าใจตรงกัน หลังจากทําความเข้าใจจุดประสงค์ และเป้ าหมาย ของการกิจกรรมคาราวานบุญตรงกันแล้ว ก็แจกแจงหน้าทีงานแต่ละฝ่ ายให้ไปประชุมกลุ่มย่อยแล้ว จึงมาสรุ ปให้ทีประชุมใหญ่ฟัง เพือแลกเปลียนเสนอแนะ เช่น วิธีการประชาสัมพันธ์ทงร้ ั องเพลง ถือ ป้ าย เดินขบวนพาเหรด การเดินเข้าหาลูกค้าให้ชิมผลิตภัณฑ์ฟรี การพูดสันกระชับประทับใจ และ เป็ นวงเสริ มกําลังใจเพือให้งานบรรลุเป้ าหมาย ๒. กิจกรรมวันออกคาราวานบุญ (2 กุมภาพันธ์ 2556) ช่ วงเช้ า หัวหน้ากิจกรรมประชุมกับทุกทีมอีกครังเพือแจ้งกิจกรรมช่วงเช้าทังหมดว่า ช่วงเช้า เป็ นช่วงแห่งการประชาสัมพันธ์หน้าบูธและดําเนินกิจกรรมตามทีฝ่ ายต่างๆ เตรี ยมมา และขอความ ร่ วมมือคนทีว่างช่วยเรี ยกกลุ่มเป้ าหมายเข้าบูธ ช่วงเช้าแต่ละฝ่ ายมีดาํ เนินงานดังนี ทีมประจําจุดชิมฟรี เตรี ยมวัตถุดิบในการทํานําข้าวกล้องงอก โดยการปันข้าวกล้องเตรี ยมไว้ และ ต้มชาเมียงเตรี ยมถังนําแข็ง เมือเสร็ จเรี ยบร้อยจึงออกเดินทางไปยังสวนบวกหาด ทีมทีว่างช่วยทีมชิมฟรี
โดยการถือกระบะชิมฟรี ประกอบด้วย นําข้าวกล้องงอก ข้าวตอกแท่ง นํากระเจียบ และกล้วยทอด กรอบ โดยดักรอกลุ่มเป้ าหมายทีเดินผ่านหน้าบูธ และพยายามพูดให้น่าสนใจแล้วเชิญชวนเข้าบูธ ทีมประจําจุดขายนําผลิตภัณฑ์ต่างๆมาจัดแสดง ติดป้ ายราคา สําหรับกลุ่มเป้ าหมายทีสนใจ ทีมประจําจุดนิทรรศการยืนเตรี ยมความพร้อมในบูธ ประจําตําแหน่งรอกลุ่มเป้ าหมาย ทีมประชาสั มพันธ์ หน้ าบูธ (MC) เรี ยกลูกค้าตามบทสคริ ปทีเตรี ยมมา สลับกับการเล่นเกมส์แจก ของ ทําให้บูธไม่เงียบแต่เรี ยกความสนใจได้ดี ทีมฉากและสถานทีทําการปรับเปลียนเคลือนย้ายโต๊ะเก้าอีต่างๆ ปรับตามหน้างานเพือความ เหมาะสม พร้อมเปิ ดสื อคอมพิวเตอร์ ติดตังเครื องเสี ยงเคลือนสําหรับ MC หน้าบูธ โดยมีกระบวนการเพือดึงดูดกลุ่มเป้าหมายดังนี ประชาสั มพันธ์ หน้ าบูธนิทรรศการ ขันแรกเริ มจากทีม MC ดึงดูดกลุ่มเป้ าหมายทีเดินผ่านไปมาบริ เวณหน้าบูธด้วยการบอกกล่าว ประชาสัมพันธ์ผา่ นเครื องเสี ยง จากนันทีมถือกระบะชิมฟรี จะเดินหากลุ่มเป้ าหมายให้ชิมผลิตภัณฑ์ถา้ สนใจ ติดใจพาเข้าบูธนิทรรศการ ทีมนิทรรศการประจําบูธจะพาชมบอร์ดนิทรรศการและวิดีทศั น์ภาพเคลือนไหว เกียวกับโครงการอนุรักษ์ผนื ป่ าต้นนํา การสร้างฝายชะลอนํา การดับไฟป่ าทุกปี และการใช้ชีวิตพอเพียงใน ไร่ คุณธรรมของชาวบ้าน เพือโน้มน้าวใจของกลุ่มเป้ าหมายให้คล้อยตาม จากนันทีมนิทรรศการจึงเสนอทางเลือกในการเปลียนพฤติกรรมทันที เช่น การเริ มจากเลือกซือ ผลิตภัณฑ์ชุมชนทีช่วยชุมชน ช่วยธรรมชาติ/ ร่ วมงานอาสาสมัครสร้างฝาย ปลูกป่ า ดับไฟ หรื อเป็ น อาสาสมัครร่ วมคาราวานบุญ/ หรื อเริ มเปลียนพฤติกรรมง่ายๆ เพือสิ งแวดล้อม ด้วยการใช้ถุงผ้าจริ งจัง ปั น จักรยานแทนรถยนต์ในระยะใกล้ๆ ฯลฯหรื อเมือกลุ่มเป้ าหมายสนใจผลิตภัณฑ์ ทีมนิทรรศการจะส่ งต่อให้ ทีมขายผลิตภัณฑ์แนะนําสิ นค้าต่อ สรรพคุณและวิธีใช้ จากนันทีมประเมินผลจะเข้าหากลุ่มเป้ าหมายเป็ นขันตอนสุ ดท้ายตัวต่อตัว โดยการให้ตอบ แบบสอบถาม และเขียนแบบสังเกตสถานการณ์ เพือเป็ นข้อมูลทีใช้ในการปรับปรุ งกระบวนการให้ตรงตาม เป้ าหมายเชิงปริ มาณคือ ๑๐๐ – ๒๐๐ คนรับรู ้แนวคิดของโครงการ (นับจํานวนจากในงานและสื อออนไลน์) นอกจากนันยังมีทีมสมุดเซ็นเยียม (Guest Book) เพือให้ลงลายชือและอีเมล์เพือติดตามความเคลือนไหวของ กิจกรรม ร่ วมเป็ นอาสาสมัคร และสนใจสังซือผลิตภัณฑ์ต่อเนืองหรื อบอกต่อเพือน ทําให้สามารถติดต่อ กลุ่มเป้ าหมายได้ใกล้มากขึน ซึงมีแนวโน้มปรับเปลียนพฤติกรรมมากตรงตามเป้ าหมายเชิงคุณภาพ
ช่ วงบ่ าย มีกิจกรรมทีแตกต่างจากช่วงเช้า คือ ขบวนพาเหรดเพือการประชาสัมพันธ์แนวคิดขบวน บุญ เพือให้กลุ่มเป้ าหมายคือ คนเมืองเชียงใหม่ทีมีอยูท่ วบริ ั เวณงาน และการขอขึนประชาสัมพันธ์บนเวที ใหญ่ของงาน ทําให้คนทีผ่านมาผ่านไปได้รู้จกั และสร้างความน่าเชือถือมากขึนด้วยว่าไม่ใช่กลุ่มหา ผลประโยชน์ โดยมีกิจกรรมย่อยดังนี ประชาสั มพันธ์ ทวบริ ั เวณงาน ขบวนพาเหรดคาราวานบุญคือ การแห่ขบวนถือป้ ายทีมีขอ้ ความเชิญชวนให้กลุ่มเป้ าหมายคํานึงถึง เรื องของส่ วนรวมอย่างทรัพยากรธรรมชาติ หรื อการออกมาทําอะไรสักอย่างเพือส่วนรวมบ้าง บางป้ ายก็ ดึงดูดคนโดยการเขียนว่า “ข้าวอะไร กินทุกคําได้บุญทุกคํา” “นํายาอะไร ใช้ทุกหยดได้บุญทุกหยด” เพือให้ เกิดความสงสัย จากนันผูน้ าํ ขบวนก็จะใช้โทรโข่งหรื อเครื องเสี ยงเคลือนทีประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ กลุ่มเป้ าหมายเข้าไปในบูธกิจกรรม แจ้งว่าบูธกิจกรรมอยูท่ ีใด นอกจากนันระหว่างทางทีเดินขบวนก็แจก แผ่นพับเชิญชวนเข้าบูธกิจกรรมเพือส่ งหน้าทีต่อ ทีมนิทรรศการอธิบายรายละเอียดทีลึกขึนว่าเรามาทําอะไร มีจุดประสงค์อะไร เมือท่านมาร่ วมกับเราจะได้อะไร กิจกรรมบนเวทีกลางทีเชิญกลุ่มของขบวนบุญขึนไปร่ วมสร้างสี สนั ให้กบั งานก็เชิญพวกเราเต้นและ ร้องเพลงประสานเสี ยงซึงเป็ น เพลงทีทีมงานช่วยกันแต่งขึนใหม่มีเนือหาเพือการประชาสัมพันธ์ แต่ใช้ ทํานองเพลงทีชาวเหนือรู ้จกั มักคุน้ ดี เช่น เพลงเด็กดอยใจดี- น้องมายด์ ชลนิภา /เพลงพีสาวครับ- จรัล มโน เพ็ชร ทําให้กลุ่มเป้ าหมายสนใจฟังเนือหาของโครงการมากขึน ตารางกิจกรรม วันที 2 กุมภาพันธ์ 2556 5.30 น. ออกเดินทางจากทีพัก อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 8.00 น. ถึงสวนสาธารณะสวนบวกหาด 9.00 น. ติดตังเต็นท์นิทรรศการ 11.00 น. เล่นเกมส์หน้าบูธ ตอบคําถามชิงรางวัลผลิตภัณฑ์บุญ 13.00 น. เดินขบวนประชาสัมพันธ์แนวคิดและทดลองชิมผลิตภัณฑ์บุญเคลือนทีทัวบริ เวณ ทีจัดงาน (รอบที ๑) 14.00 น. เล่นเกมส์หน้าบูธ แจกของรางวัล 15.00 เดินขบวนประชาสัมพันธ์แนวคิดและทดลองชิมผลิตภัณฑ์บุญเคลือนทีทัวบริ เวณ ทีจัดงาน (รอบที ๒) ตลอดทังวัน สํารวจความคิดเห็ นและแลกเปลียนประสบการณ์ทงผู ั จ้ ดั งานและผูเ้ ข้าร่ วมงาน หลังได้ชมนิทรรศการทัง ๓ โซน รวมทังความคิดเห็นต่อโครงการในภาพรวม 19.00 น. สรุ ปกิจกรรมและเดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ
ยุทธวิธีดึงดูดความสนใจกลุ่มเป้าหมาย ๑) การเชิญชิมผลิตภัณฑ์ฟรี ถึงตัวกลุ่มเป้ าหมาย เฉพาะเจาะจงได้ผลดีกว่าคอยลูกค้าในบูธ ๒) การบอกกล่าวเชิญชวนของทีมทุกคนสามารถนําเสนอโครงการ วัตถุประสงค์ ทีมาทีไปของ ผลิตภัณฑ์ขบวนบุญ ประโยชน์ทีผูบ้ ริ โภคจะได้รับ (เช่น ได้บริ โภคอุปโภคของดีราคาประหยัด ได้ มีส่วนร่ วมในการดูแลทรัพยากร ได้ทาํ บุญ) ด้วยการบอกกล่าวให้ผบู ้ ริ โภคมีความเข้าใจโครงการ และรู ้สึกมีอารมณ์ร่วมอยากจะเปลียนแปลงพฤติกรรมตังแต่บดั นี หรื อเป็ นทีจดจําได้ ๓) การจัดบอร์ดนิทรรศการ นําเสนอโดยสื อต่างๆ เช่น ป้ ายไวนิล ธงญีปุ่ น การฉายวีดีทศั น์ผา่ นจอ LCD โดยเปิ ดฉายสารคดีทีเคยได้ฉายในช่องฟรี ทีวี เช่น สารคดีพระดับไฟ (ตนค้นคน) วิถีเศรษฐกิจ พอเพียงของชาวบ้านในโครงการ การสร้างฝาย/ปลูกป่ า ฯลฯ เพือให้ผบู ้ ริ โภคเชือมันในการเข้าร่ วม โครงการและเห็นภาพรวมโครงการได้ชดั เจนยิงขึน ว่าเมือเขาสนับสนุนแล้วเขาจะได้อะไรคนต้น นําจะได้รับประโยชน์อย่างไร ๔) กิจกรรมประชาสัมพันธ์หน้าบูธ เช่น การร้องเพลงประสานเสี ยง การชูป้ายประสัมพันธ์ การเล่น เกมส์ชิงรางวัล ช่วยดึงดูดความสนใจของกลุ่มเป้ าหมาย ทําให้เกิดความรู ้สึกทีอยากมีส่วนร่ วมหรื อ รับรู ้ทางเลือกในการดูแลทรัพยากรได้ จํานวนผู้เข้ าร่ วมกิจกรรม 1. คณะทีมงานผูเ้ ข้าร่ วมโครงการและกลุ่มจิตอาสาจํานวนกว่า ๓๐ คน 2. บุคคลทัวไปทีเดินทางมาเลือกชมสิ นค้าผลิตภัณฑ์ต่างๆ ณ บูธนิทรรศการ จํานวน ๒๕๐ – ๓๐๐ คน 3. บุคคลทีรับรู ้สือประชาสัมพันธ์โครงการ “ขบวนบุญ” จํานวนประมาณ ๕๐๐ คน สรุปประเมินผล หลังจากเสร็ จสิ นกิจกรรมคาราวานบุญครังที 2 ได้มีการจัดทําแบบประเมินผลความพึงพอใจใน 2 ส่ วนได้แก่ ๑) คณะทีมงานผูเ้ ข้าร่ วมโครงการและจิตอาสา โดยถามคําถามปลายเปิ ดเกียวกับความรู ้สึกของการ มาร่ วมงานคาราวานบุญครังนี ๒) ผูบ้ ริ โภค โดยให้กรอกแบบสอบถามเกียวกับความพึงพอใจในการจัดสถานที ผลิตภัณฑ์ทีจัดแสดง ผลิตภัณฑ์ทีทดลองชิมฟรี กิจกรรมบนเวที ความเข้าใจในวัตถุประสงค์ของโครงการ การ ประชาสัมพันธ์โครงการ และความรู ้สึกต่อการมีส่วนร่ วมในงานครังนี
สําหรับคณะทีมงานผูเ้ ข้าร่ วมโครงการและจิตอาสา ได้กล่าวความรู ้สึกในการมาร่ วมงานคาราบุญและบอก ข้อเสนอแนะดังนี 1. สถานทีจัดงาน แคบ ไม่มีทีจอดรถ และห้องนํา 2. การจัดสถานทีของโครงการ เนืองจากสถานทีจัดงานมีขนาด 3 x 3 เมตร แต่จาํ นวนบอร์ด และ สิ นค้ามีจาํ นวนมาก จึงทําให้การชมนิทรรศการไม่สะดวกเท่าทีควร ดังนันควรมีการเช็คสถานที ก่อนทุกครัง ก่อนการจัดอุปกรณ์ เพือความสะดวกในการซือสิ นค้า และชมนิทศั การ 3. สื อประชาสัมพันธ์โครงการ เช่นป้ ายไวนิล จอโทรทัศน์ ยังไม่ค่อยมีคนให้ความสนใจเท่าทีควร เนืองจากสถานทีคับแคบ เดินเข้า – ออก บูธไม่สะดวก 4. ควรติดราคาผลิตภัณฑ์ต่างๆให้ชดั เจนและสวยงาม เพือให้ทีมงานทุกคนสามารถผลัดเปลียน หมุนเวียนกันทําหน้าทีได้ 5. ทีมงานและจิตอาสาทุกคนมีความร่ วมมือร่ วมใจกันเป็ นอย่างดี แต่การจัดเวลาในการทํากิจกรรมยัง ไม่ค่อยลงตัวเท่าใดนัก เนืองจากบางส่ วนต้องปรับเปลียนตามเหตุการณ์เฉพาะหน้า จึงทําให้งานใน ครังนีเกิดการสะดุดเพียงเล็กน้อย ซึงจะเป็ นการสร้างสมประสบการณ์ และฝึ กฝนทักษะต่างๆ ใน แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าให้มากขึน 6. ทีมงานได้รู้จกั กัลยาณมิตรและเครื อข่ายอืนๆมากขึน เป็ นการเปิ ดหูเปิ ดตา ทําให้สามารถนําข้อมูล ต่างๆทีได้รับไปปรับปรุ งผลิตภัณฑ์และวิธีการดําเนินงานของตนเองได้ 7. งานในครังนีไม่ได้มีการสาธิตวิธีทาํ นําข้าวกล้องงอก และสาธิตวิธีหุงข้าว และปรุ งอาหารโดยใช้ ข้าวกล้องดอยปกาเกอะญอ เนืองจากสถานทีจัดงานคับแคบ จึงไม่สะดวกต่อการสาธิต แต่มีการ ปรับแผนคือ ทํานําข้าวกล้องงอกเย็นมาแจกฟรี และโชว์ขา้ วขาว และข้าวกล้องดอยปกาเกอะญอที หุ งสุ กให้ชมและชิมแทน 8. ควรเพิมเติมในเรื องการประชาสัมพันธ์โครงการและโปรโมชันต่างๆ เพือดึงดูดความสนใจ
สําหรับผูบ้ ริ โภค (กลุ่มเป้ าหมาย) ได้กล่าวความรู ้สึกในการมาร่ วมงานคาราวานบุญและบอก ข้อเสนอแนะดังนี กิ จกรรมประชาสัมพันธ์แนวคิดการพาคนตระหนักเรื องทรั พยากรธรรมชาติบรรลุเป้ าหมาย เพราะกว่า ๘๐% โดยเฉพาะกลุ่มบุคลอายุระหว่าง ๒๖ – ๓๕ ปี มีความเข้าใจวัตถุประสงค์ดีถึงดีมากและ สนใจร่ วมกิ จกรรมต่อเนื องโดยติดต่อทางแฟนเพจในเฟสบุ๊ก และ อายุระหว่าง๔๖ – ๕๕ ปี สนใจ สนับสนุนโครงการด้วยการเลือกซือผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนือง โดยการโทรสังโดยตรงและแนะนําให้มีจุด ขายทีร้านค้าทัวไปในเมืองเชียงใหม่
นอกจากนี ยังมีชาวต่างประเทศจํานวนมากสนใจฟั งรายละเอียดของโครงการ ทังแลกเปลียน ประสบการณ์ จากมุ มมองว่าควรจะทําอย่างต่อเนื อง และใช้สืออิ นเตอร์ เน็ ตให้เ ป็ นประโยชน์ และ โดยเฉพาะรู ปแบบการรณรงค์ทีมีมากและสร้างสรรค์สามารถหาข้อมูลเพิมเติมจากเว็บไซต์ในหมู่กลุ่ม นักเคลือนไหวต่างๆ ทัวโลก ซึ งปั จจัยทีเอืออํานวยทีทําให้การจัดงานคาราวานบุญครังที ๒ ประสบความสําเร็ จคือ สถานที และตรงกับงานเทศกาลไม้ดอกไม้ประดับซึงมีผเู ้ ข้าร่ วมงานจํานวนมากทุกปี และตรงกับกลุ่มเป้ าหมายที เป็ นคนเมืองมีวิถีอย่างคนเมือง ต้องใช้เงินบริ โภคอุปโภคทุกวัน และมีความใกล้ชิดในเรื องของปั ญหา หมอกควันไฟป่ าทีปกคลุมตัวเมืองเชียงใหม่แทบทุกปี จึงมีความสนใจเป็ นทุนเดิมทีอยากมีส่วนร่ วมใน การดูแลอนุรักษ์สิงแวดล้อมอยูบ่ า้ งแล้ว เมือทางทีมงานเสนอทางเลือกในการมีส่วนร่ วมในขบวนบุญ คือ ๑. เลือกซือผลิตภัณฑ์ชุมชนที มี คุ ณ ภาพ ซึ งเงิ น จํา นวนหนึ งจะส่ งกลับคื น เป็ นวัสดุ อุ ปกรณ์ และการจ้า งงานคนในพืนที ช่ ว ยเป็ น อาสาสมัครดูแลป่ าไม้ ๒. ร่ วมกิจกรรมอาสากับทางวัดคือ สร้างฝาย ปลูกป่ า ดับไฟ และเข้าค่ายวิชาชีวิต ทดลองใช้ชีวิตแบบพอเพียงแบบไม่ตอ้ งพึงเงินทําให้เกิดการบอกต่อโดยไม่ตอ้ งพึงการประชาสัมพันธ์ มากมาย ๓. ปรับเปลียนพฤติกรรมสู่ การเป็ นผูบ้ ริ โภคสี เขียวทีคิดมากขึน ใส่ ใจมากขึน ก่อนจะซื อ ก่อน กิน ก่อนใช้ หลังจากซื อ หลังจากกิน หลังการใช้ ให้เห็นภาพทังระบบว่าต้นทุนการผลิตสิ นค้านันๆมา จากไหนแล้วกลายเป้ นขยะไปทีไหน ซึ งทางเลือกนี สามารถทําได้เลยทันที เช่ น ใช้ถุงผ้าไม่ใช่เป็ นแค่ แฟชัน ใส่ เสื อไม่ตอ้ งรี ด เดินหรื อปั นจักรยาน ติดรถคนคันเดียวไปสถานทีใกล้ๆ การนําของเก่ามาวนใช้ ใหม่เช่นเสื อผ้า รองเท้า กระดาษ เป็ นต้น ส่ วนการติดตามอย่างต่อเนื องสําหรับกลุ่มเป้ าหมายทีสนใจร่ วมลงชือเซ็นเยียมนัน ทางทีมงาน จะแอดเป็ นเพือนในแฟนเพจเฟสบุ๊กเพือสร้างความคุน้ เคย สร้างความใกล้ชิดมากขึนทังค่อยๆ ซึ มซับ แนวคิดของโครงการอย่างค่อยเป็ นค่อยไปแต่มีความต่อเนืองต่อไป
รายชือเหล่าอาสาสมัครงานคาราวานบุญ ครังที ๒ โครงการพัฒนาธุรกิจเพือสั งคมคนบุญด้ วยช่ องทางสั งคมออนไลน์ วันที ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ ณ สวนสาธารณะหนองบวกหาด งานไม้ ดอกไม้ ประดับจังหวัดเชียงใหม่ ครังที ๓๗ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ -------------------------------ผู้มาประชุ ม ๑. ธชาพร เลาวพงษ์ ๒. คําพันธ์ หะวิทงั ๓. เสาวลักษณ์ จ๊ะโด ๔. ศิริลกั ษณ์ มอวารี ๕. สันติ บุญทวีกลู ๖. วิสิษฐพล ภูสิริพฒั นานนท์ ๗. ชลดา ริ นคํา ๘. ณัฐดนัย ชัยอุดม ๙. รุ่ งนภา ชมโลก ๑๐. น.ส. ธนภรณ์ กันทะเส็ด ๑๑. น.ส. ภัทรวดี สายแปง ๑๒. น.ส.พฤจิกา ดงปาลี ๑๓. น.ส. สุ รภี วิสุทธิวรรณ ๑๔. รัฐพล กิงดอยหลวง ๑๕. ธีรสุ ต สื บสุ ข ๑๖. พวงไข่มุก พัฒนเกียรติเดชา ๑๗. ฉัตรกมล มงคล ๑๘. เนตรนภา เสมทรัพย์ ๑๙. ภูวนาภ ไชยนุรักษ์ ๒๐. ป้ าหลอด
วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี เชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพ โรงเรี ยนสะเมิงพิทยาคม วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี เชียงใหม่ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม (ทีมเฮือนพฤกษา อ.แม่ริม) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม (ทีมเฮือนพฤกษา อ.แม่ริม) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม (ทีมอําเภอเมือง เชียงใหม่) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม (ทีมอําเภอเมือง เชียงใหม่) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กลุ่มแม่บา้ นบ้านหนองผึง อําเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่
ภาพกิจกรรมคาราวานบุญ ตอนขบวนบุญบุกเมืองเชียงใหม่ เจ้ า วันที 2 กุมภาพันธ์ 2556 ณ สวนสาธารณะหนองบวกหาด งานไม้ ดอกไม้ ประดับจังหวัดเชียงใหม่ ครังที 37
การเชิญชิมผลิตภัณฑ์ ฟรีถงึ ตัวกลุ่มเป้าหมาย
การบอกกล่ าวเชิญชวน (ประชาสั มพันธ์ หน้ าบูธ)
กิจกรรมประชาสั มพันธ์ หน้ าบูธ
ส่ วนที ๔ แผนงานในการดําเนินกิจกรรม ในงวดต่ อไป
ปฏิทนิ การดําเนินกิจกรรมต่ อจากนี (มีนาคม – กันยายาน ๒๕๕๖) ระยะเวลาดําเนินงาน ขันตอนการดําเนินงาน
พ.ย. ๕๕
ธ.ค. ๕๕
ม.ค. ๕๖
ก.พ. ๕๖
มี.ค. ๕๖
เม.ย. ๕๖
พ.ค. ๕๖
มิ.ย. ๕๖
๑. ประชุมเชิงปฏิบตั ิการ อบรมชีแจงโครงการ (๒ วัน ๑ คืน) ภายในเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๕ ๒. อบรมเชิงปฏิบตั ิการกระบวนการผลิตสื อพืนบ้านจากองค์ความรู้และประสบการณ์ จริ งจากการดําเนิ นกิจกรรมในเครื อข่าย (๒ วัน ๑ คืน ๒ รอบ) ประกอบด้วยการอบรม ๒ รอบ ดังนี ๑) ขันลงฉันทามติในวางเป้ าหมายร่ วมกันในการผลิตสื อพืนบ้าน และขันกระบวนการ ผลิตสื อพืนบ้าน ๒) การทดลองนําสื อทีผลิตได้ไปใช้จริ ง ๓. คาราวานบุญเพือการประชาสัมพันธ์แนวคิดและกิจกรรมจากสมาชิกในเครื อข่ายสู่ ชาวเมืองเชียงใหม่ (๑ วัน/เดือน ตลอด ๕ เดือน) ณ ตลาดนัดปลอดภัย (กาดคําเทียง)/ งานไม้ดอกไม้ประดับจังหวัดเชียงใหม่ ครังที ๓๗/งานวันสตรอเบอร์รีอําเภอสะเมิง/ งานมหกรรมคืนชีวิตให้แผ่นดิน/งานบุญประเพณี ประจําปี วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ๔.ลงพืนทีเก็บข้อมูลภาคสนามเพือสํารวจการตอบรับ (Feedback) จากกลุ่มเป้ าหมาย เพือถอดบทเรี ยนออกมาเป็ นองค์ความรู้ ๕. บริ หารจัดการโครงการ
ก.ค. ๕๖
ส.ค. ๕๖
ก.ย. ๕๖
ส่ วนที ๕ ภาคผนวกหรือข้ อมูลอ้ างอิง
ภาคผนวก ก. • สไลด์ ทใช้ ี ในการอบรมสื อพืนบ้ าน • โจทย์ การทําวีดโี อ • แบบฟอร์ ม Story Board (Action Plan)
สไลด์ ทใช้ ี ในการอบรมสื อพืนบ้ าน
ตัวอย่ างโจทย์ การทําวีดโี อ ่ั โจทย ์กิจกรรม “สื่อชาวบ้าน โดยชาวบ้าน เพื่อปวงชน” 19 ธันวาคม 2555 (จําก ัดเวลา 3 ชวโมง) กติกา ่ ให ้ถ่ายทําวีดีโอ 1 เรื่อง เกี่ยวกับวิถีพอเพียง/ความเชียวชาญ/ประสบการณ์ ของบุคคลนั้น (โดยมีตวั เอกให ้เลือก ดังนี ้ 1.แม่ศรี 2.แม่แก ้ว 3.ลุง ่ ่อง/กําหนดประเด็นที่จะนํ าเสนอ/เขียนบทพู ดหรือบทบรรยาย/ควบคู ่ก ับฉาก ดร 4. แม่สมหมายและทีมหมอบ ้านๆ) โดยให ้คิด ชือเรื ้ ่องทังหมด ้ และสถานที่จริง ความยาวไม่เกิน 10 -15 นาที ให ้ถ่ายเป็ นคลิปๆ ไม่ต ้องตัดต่อ แต่ต ้องนํ าคลิปมาต่อกันให ้เข ้าใจเนื อเรื โดยใน ่ ้ ทีมให ้แบ่งหน้าทีดังนี 1. ตัวเอก หน้าที่ แสดง/สาธิต/บอกเล่าองค ์ความรู ้/ประสบการณ์ 2. ผูก้ าํ กับ หน้าที่ กํากับการแสดง ่ 3. ช่างกล ้อง หน้าที่ ถ่ายทําวีดีโอสื่อให ้คนทัวไปเข ้าใจได ้ ่ 4. ผูเ้ ขียนบท หน้าที คิดบท/เขียนบทพูดหรือบทบรรยายในแต่ละฉาก ้ าถาม/สัมภาษณ์ตวั เอกให ้ดําเนิ นเรื่องไปได ้ 5. พิธก ี ร (ถ ้ามี) หน้าที่ ตังคํ 6. ตัวประกอบ(ถ ้ามี) หน้าที่ ช่วยตัวเอกสาธิต/แสดงความคิดเห็น ้ ต ้นจนจบ/ใครทําหน้าที่อะไร/สิ่งที่ จดบันทึกวิธีการทํางานของทีมตังแต่ อยากจะปรับปรุงพัฒนา 7. ผูน้ ํ าเสนอ หน้าที่ พร ้อมแนวทางแก ้ไข/ปัญหาอุปสรรค เพื่อนํ าเสนอในที่ประชุม เครื่องมือที่มีให้ 1. กล ้องถ่ายรูป 2. โน๊ตบุค ๊ 3. กระดาษเขียนบทและปากกา 4. กระดาษนํ าเสนองาน
ภาคผนวก ข. • เอกสารคู่มอื เหล่ าอาสาสมัครช่ วยงานคาราวานบุญ • แผ่ นพับเพือการประชาสั มพันธ์ คาราวานบุญ • แบบสอบถามคาราวานบุญ
ชือ........................................นามสกุล.........................................................
เอกสารคู่มือเหล่าอาสาสมัครช่วยงานคาราวานบุญ
คนขายของขบวนบุญ
คูมือ
๑. จุดประสงคขบวนบุญ
สนับสนุนโดยคนใจกวาง
จัดโดยคนบุญใจดี
เราไมไดมาขายของ เรามาพาคนทําบุญเพื่อตอบแทนคุณ
อยากแบงปนใหผซู ื้อ (คนบุญ) ไดกินไดใชสินคาดีๆ มี
แผนดินนี้ทใี่ ห ตนน้ํา ปา ดิน แหลงอาหารสะอาด อากาศ
คุณภาพ อยางเดียวกับที่เราทําใชเองทีบ่ านอยูแลว
บริสุทธิ์ ดวยการเลือกซื้อผลิตภัณฑบุญจากเครือขาย
วัตถุดิบทีไ่ ดก็มาจากสวน (หลังบาน) เศรษฐกิจพอเพียงซึ่ง
เศรษฐกิจพอเพียงในอําเภอสะเมิง ซึง่ สวนตางทีไ่ ดนาํ ไปสบ
เรามีมากลนเหลือแลวอยากแบงปน และจริงๆ แลวสิ่งที่เรา
ทบเขากองทุนหมอกควันไฟปาอําเภอสะเมิง เพื่อภารกิจดับ
อยากไดรับกลับมาไมใชความรวยที่ “ตัวเงิน” แตเปน “คน
ไฟปา และดับไฟในใจคน ใหมีใจเสียสละ มีเมตตา เห็น
รวยมิตร รวยเพื่อน” มันยั่งยืนกวา และยิ่งไดคนที่มีจิตใจ
คุณคาของทรัพยากรสวนรวมถึงตอนนั้นไฟปาก็เบาบาง
และอุดมการณเดียวกันแลว “มันกําไร” มากกวาเงินที่ใช
ลง ทรัพยากรธรรมชาติกลับมาสมบูรณขึ้น เพราะใจคน
แลวไมนานก็หมดไป
เริ่มออนโยน มีเมตตาตอตนเอง ตอเพื่อนมนุษย และตอ สิ่งแวดลอม นี่แหละคือหัวใจหลักของโครงการ
๒. โมเดลการขายของเรา จึงไมเหมือนใคร
๓. Product (สินคาบุญ) มีอะไรบาง •
ขาวกลองดอย/ขางกลองงอกดอย/ขาวขัดขาว ดอย และ น้ําขาวกลองงอกดอย (ขาวดอย คือ
เพราะเราขายใน “ราคาตนทุน” (ทุนคือมีคาวัตถุดิบ คา
ขาวพันธุโปะโละ เม็ด ปอม กลม หอม อรอย มี
ขนสงวัตถุดบิ คาแรง คาไฟฟา) ที่ขายตนทุนเพราะเรา
ยางเหนียวๆ เมื่อสุกคลายขาวสวยญีป่ ุน)
เอกสารคู่มือเหล่าอาสาสมัครช่วยงานคาราวานบุญ •
กลวยทอดกรอบ กลวยน้ําวาสุกสีแดงหวาน
•
ธรรมชาติ กลวยไขดิบสีเหลืองหวานหอมเนย •
น้ํายาอเนกประสงค/สบูเหลวขมิ้น/แชมพู
ธาตุเหล็ก ทานคูกับน้ําขาวกลองงอกกําลังดี •
อัญชัน/แชมพูมะกรูด •
น้ําหมักสมุนไพรพรอมดื่ม/ชาเมี่ยงพรอมดื่ม
•
กางเกงผาฝายทอมือปกาเกอะญอ
๔. สรรพคุณและวิธีใช
กลวย ไวทานเลน กรอบ อรอย มีวติ ามินและ น้ํายาอเนกประสงค ไวลา งจาน ซักผา ลาง หองน้ํา ถูพื้นสารพัดประโยชน ถาใชลา งจาน เหมือนน้ํายาลางจานทั่วไป ซักผาใชปริมาณ 3-4 ฝา ตอผา 10- 15 ชิ้น ลางหองน้ําไมตองผสม น้ํา/ถูพนื้ ใช 3 ฝาตอน้ําครึ่งถัง
•
น้ําหมักสมุนไพรพรอมดื่ม (มะขามปอม ลูกยอ สมอไทย ลําไยและน้ําผึ้ง) สรรพคุณมากมายอาทิ
•
ขาวขัดขาวอรอยนุมเหนียวคลายขาวญี่ปุน/ขาว
ชุมคอ แกหวัด คัดจมูก ปวดเมื่อย ชวยเจริญ
กลองมีวิตามินบี1 บี 2 บี 12 สูงมาก มีใย
อาหาร บํารุงหัวใจ บํารุงประสาท บํารุงสายตา
อาหารชวยระบาย/ขาวกลองงอก มีสารGABA
ลดความดัน ชวยสมานแผลสดฯลฯ) ดืม่ ไดทุกวัน
บํารุงสมองและมีวติ ามินบีสูงมากๆ เชนกัน
ทุกเชา
หุงขาวกินยังไง ขาวขาวหุงปกติ ใสนา้ํ ปกติ/ขาว
•
กางเกงผาฝายทอมือ อุนสบายหนาหนาว
กลองและขาวกลองงอก ใสขาว 1 ถวย น้ํา 2 ถวย/
ใสสบายหนารอน ผาแฮนดเมดคุณภาพชวยสราง
อยากใหนุมขึน้ อีก แชน้ํากอน 15 นาที กอนหุง
รายไดและสืบสานวัฒนธรรมใหกับกลุม แมบานปกา เกอะญอ
เอกสารคู่มือเหล่าอาสาสมัครช่วยงานคาราวานบุญ
การทําน้ําขาวกลองงอกอยางงาย
รากงอกขางในเม็ดขาว ซึง่ อุดมไปดวยสารGABAบํารุงสมองและ มีวติ ามินบี ใยอาหารสูง
นําขาวกลองมาแชน้ําไว 1 คืน จากนั้นนําใสเครื่อง ปนใสน้ําเล็กนอยปนละเอียดที่สุด แลวนําใสหมอตม เติมน้ําครึ่งหมอตมจนสุก ใสน้ําตาลเกลือตามชอบ ๕. วิธีผลิตและสวนประกอบ ขาว-ขาวเปลือกรับซื้อจากชาวปกาเกอะญอในเขตอําเภอสะเมิงซึ่ง สามารถปลูกขาวไดมาก สงใหชาวบานอมลองในเครือขาย เศรษฐกิจพอเพียงแปรรูป (สีขาวและบรรจุ) โดยผูควบคุมการผลิต
น้ํายาอเนกประสงค-ผลิตจากน้าํ ดางธรรมชาติมีคุณสมบัติ ชวยชะลาง หัวเชื้อฟองสบูและสีผสมอาหาร น้ํายามีคุณภาพชวย ทําความสะอาดและถนอมมือ
แชมพู สบูเหลว-ผลิตจากขมิ้นสดๆ น้ํามันจากผิวมะกรูด ดอกอัญชันสีน้ําเงินตามรั้วบานผสมกับหัวเชื้อฟองสบูสูตร ออนโยน น้ําผึ้ง น้ํามันมะกอก เกลือ ใสมุก เติมกลิน่ กวนจนเขา กัน
คือ ผลงานของนองการตนู นักเรียน home school วัดผาสม
น้ําหมัก-อาทิ มะขามปอม ลูกยอ สมอไทย ลําไย คัดลูกโตสุก
ม.5 ซึ่งเปนโปรเจคทการเรียนและนําไปใชจริงได จนสรางรายได
กําลังพอดี นํามาลางน้ําสะอาดหมักกับน้ําตาลทรายกวาหนึ่งปจน
ชวยครอบครัว มีเวลาใหกับครอบครัว และชวยงานสวนรวมของ
เกิดเปนจุลินทรียที่มีประโยชน เจือจางดวยน้ําตมสุก ผสมน้ําผึ้ง
ชุมชน
ดื่มงายทุกวัน ดีมีประโยชนทุกวัน
ขาวกลองงอกดอย มีราคาสูงเพราะมีตนทุนการผลิตสูง มี
ผาฝายทอมือ- ทํามือ ดวยกี่เอว ที่ตองนั่งทอ ดวยภูมิ
กรรมวิธกี ารผลิตมาก ใชพลังงานมาก คือ ตองนําขาวกลองที่สี ไดมานึ่งหลายชั่วโมง และนํามาตากแดดอีก 1-2 วันจนแหงจะได
ปญญาชนเผาปกาเกอะญอ (กะเหรี่ยง) ที่สืบสานมากวาหลายรอย ป และตัดเย็บโดยเยาวชนอาสาสมัครวัดพระบรมธาตุดอยผาสมที่
เอกสารคู่มือเหล่าอาสาสมัครช่วยงานคาราวานบุญ ชวยแปรรูปรางเปนกางเกง กระเปา ผาผืนและอีกหลากหลาย
๑. ข้าว : ต้องกิ นกันทุกบ้าน ทุกฐานถิ น
ผลิตภัณฑในอนาคต
เคยทานข้าวดอยเมล็ดกลมป้ อมไหม? ข้าวพืนถิน พันธุโ์ ปะโละทังข้าวขัดขาว ข้าวกล้อง ข้าวกล้องงอกดอย อุดม ด้วยวิตามิน เหนียว หอม นุ่ม รสหวานธรรมชาติ ล้วนปลูก โดยชาวปกาเกอะญอ บนยอดดอยสูงบ้านปา่ คานอก บ้านแม่ ลานคํา ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ด้วยการทํานาแบบ ขันบันไดตามไหล่เขาตามวิถชี วี ติ บรรพบุรษุ ผูส้ บื ทอดจิต วิญญาณแห่งการอนุรกั ษ์ปา่ ต้นนําทีหล่อเลียงผูค้ นมาหลายชัว อายุคน
๖. Story บุญ: เรื่องราวที่มาของผลิตภัณฑ บุญ ไมใชใครก็ขายได ไมใชอะไรก็เปนผลิตภัณฑบุญได คนขายวัตถุดิบ/ชาวบาน/
คนขาย ตองเปน “คนบุญ”
ตองเขาใจจุดประสงคขบวนบุญกอนวาเราไมไดมาหากําไรเปนเงิน แตพาเงินนัน้ คืนสูปา สูธรรมชาติ ชวยสรางงานใหชาวบานคนตน น้ํา และที่สําคัญคือ ชวยเปลี่ยนใจทั้งคนตนน้ําและคนปลายน้ําใหมา รวมใจกันเสียสละความสุขสวนตนเพื่อสวนรวม เกิดความสุขทีว่ ดั จากความสบายใจที่ไดให ไดแบงปนใหกับเพื่อน กับมิตรแลว ความสุขในใจแบบที่ไมเคยเปนมากอนจะคืนมาสูใจ Story of Products.....
ใครๆ ก็พดู ถึงผลิตภัณฑ์บญ ุ มีอะไรบ้าง? และ มาจากไหน?
เมือทรัพยากรธรรมชาติดนิ สมบูรณ์-นําสะอาด-อากาศ สดชืน นาข้าวสุกสีทองของพวกเขาจึงไม่จําเป็ นต้องใช้สารเคมี ใดๆ พวกเขาพากัน “มาเด๊าะ มากะ” ในภาษาปกาเกอะญอ แปลว่า การเอามือ เอาแรง พร้อมใจลงมือเกียวข้าวแต่ละรวง เป็ นประเพณีเพียงปีละครัง ได้เมล็ดข้าวอวบหอม อร่อย หุงขึน หม้อเสิรฟ์ ร้อนๆ ถึงจานทุกบ้าน ทุกฐานถิน พูดได้เต็มปากว่า “ข้าวทุกเมล็ดมีเรืองราว มีทีมา มีชีวิตและจิ ตวิ ญญาณ” คนกินข้าวจึงควรรูท้ มาของข้ ี าว เพือการกินอย่างใคร่ครวญ เพือเกือกูลสุขภาพของตนเอง ช่วย ธํารงศักดิศรีชาวนาทีตังใจปลูก ตังใจรักษาอาชีพบรรพบุรษุ ไว้
เอกสารคู่มือเหล่าอาสาสมัครช่วยงานคาราวานบุญ เกิดเป็นสังคมแห่งกัลยาณมิตรระหว่างคนปลูกข้าวกับคนกิน ข้าว ทีเอือประโยชน์ตอ่ ระบบนิเวศน์ของโลกใบนี
๒. กล้วย: ของกล้วยๆ ทีไม่งา่ ยนัก กล้วยเป็นผลิตภัณฑ์จากไร่คณ ุ ธรรมเศรษฐกิจ พอเพียงของกลุ่มชาวบ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ. เชียงใหม่ ทีทดลองกลับหลังหันให้การปลูกพืชเคมีราคาถูก เป็ นการปลูกทีมีคณ ุ ธรรมประจําใจว่า จะไม่ทาํ ร้ายหน้าดินด้วย สารเคมี ไม่ปล่อยสารพิษลงสูห่ ว้ ยหนองคลองบึง จึง “ปลูกทุก อย่างทีกิ น กิ นทุกอย่างทีปลูก” อุดมสมบูรณ์เสมือนปา่ ผืน เล็กๆ ข้างบ้าน จนเหลือกินเหลือเก็บจึงคิดแปรรูปถนอม อาหารไว้เก็บกินได้นานๆ เป็นกล้วยทอดกรอบแสนอร่อย ผลิตภัณฑ์สดุ ฮิป ทังกล้วยนําว้าสุกสีแดงหวานธรรมชาติ กล้วยไข่ดบิ สีเหลืองหวานหอมเนยและอีกหลากหลาย ผลิตภัณฑ์จากของกล้วยๆ ส่งตรงถึงมือทุกท่านเป็นผูร้ ว่ ม ขบวนบุญในไร่คณ ุ ธรรมอย่างไม่รตู้ วั
๓. นํายา: ตํานานหายแซบหายสอย นํายาอเนกประสงค์ สบูเ่ หลวขมิน แชมพูอญ ั ชัน แชมพูมะกรูด เป็นเหล่านํายาทําความสะอาดทีเกิดจากการ ผลิตและใช้เองภายในครัวเรือน เพือลดรายจ่ายให้พงตนเองให้ ึ มากทีสุดของบ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ด้วย การนําดอกอัญชันสีนําเงินตามรัวบ้าน ขุดขมินเหลืองสดๆ ใต้ ดิน ผลมะกรูดผิวขรุขระหอมนํามันระเหยจากไร่คณ ุ ธรรมมา แปรรูปใช้เอง จนอาสาสมัครจากเมืองหลวงได้ไปพบจากการ เข้าไปใช้ชวี ติ ร่วมกับชาวบ้าน จึงขอซือนําไปใช้เองและบอกต่อ กันถึงสรรพคุณ ดีต่อผิว-สะอาดต่อผม-ถนอมมือคนใช้ เป็ นตํานาน “นํายาหายแซบหายสอย” ทีความสกปรกพร้อมใจ โบกมือลาหลังจากใช้นํายาแฮนด์เมดฉบับบ้านบ้านของเรา
๔. นําหมักสมุนไพร : ในเมือสุขภาพดี หาซือไม่ได้ เราจึง ต้องสร้างเอง จากภูมปิ ญั ญาพืนบ้านสมัยปูย่ า่ ตาทวดทีนําผลหมาก รากไม้จากปา่ เป็ นโรงหมอรักษาคนไข้ถงึ หัวบันไดบ้าน ทียัง ทรงประสิทธิภาพมาถึงทุกวัน “นําหมักสมุนไพร ดืมทุกวันดี
เอกสารคู่มือเหล่าอาสาสมัครช่วยงานคาราวานบุญ ทุกวัน” จากผักผลไม้ปา่ และพืนถิน อาทิ มะขามป้อม ลูกยอ สมอไทย เถาบอระเพ็ด ใบภูคาว (คาวตอง) ลําไยและลินจี คัด ลูกโตสุกกําลังพอดี นํามาล้างนําสะอาดหมักกับนําตาลทราย กว่าหนึงปีจนเกิดเป็ นจุลนิ ทรียท์ มีี ประโยชน์ แค่คอ่ นแก้วผสม นําผึงดืมง่ายทุกวัน สุขภาพดีเริมต้นจากการเลือกกินให้เป็น กินให้ถกู ต่อร่างกายเรานันเอง
๗.
ราคาตนทุน (ณ เมืองเชียงใหม) รวมคาขนสงจากสะเมิง 1. ขาวขัดขาวดอย 40 บาท/ถุง (หนึ่งถุงมี 1 กิโลกรัม) 2. ขาวกลองดอย 55 บาท/ถุง 2 ถุง 100 บาท 3. ขาวกลองงอกดอย 95 บาท/ถุง 2 ถุง 180 บาท 4. น้ํายาอเนกประสงค 25 บาท/ขวด
๕. ผ้า : ผ้าฝ้ ายทอมือปกาเกอะญอสายใยแห่งชีวิต
5. แชมพู/สบูเหลว
50 บาท/ขวด
“ผ้าฝ้ ายทอมือปกาเกอะญอสายใยแห่งชีวิต” อาจ เป็ นคํากล่าวทีไม่ผดิ จากความเป็นจริงนัก หากแต่ละผืนเกิด จากการบ่มเพาะความชาญฉลาดของบรรพบุรษุ ปกาเกอะญอ แห่งบ้านปา่ เกียะนอก ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ที สามารถสังสอนลูกหลานจากแม่สลู่ กู สาวผ่านกิจกรรมการทอ ผ้าให้ได้กอ่ นออกเรือน เป็นกุศโลบายเตรียมความพร้อมการ เป็ นแม่ศรีเรือนและแม่ทดีี ของลูก เพราะฝ้ายแต่ละเส้น-สาย-สี ต้องอาศัยความอดทนในการย้อม-ทอ-เย็บ ด้วยมือทุกขันตอน ผ้าทุกผืนจึงแฝงคุณค่าแห่งจิตวิญญาณปกาเกอะญอตกทอด มาจวบจนทุกวันนี
6. กลวยถุงเล็ก 10 บาท/ ถุงใหญ 50 บาท 7. กลวยอบน้ําผึ้ง/กลวยตาก 100 บาท/ถุงหนึ่งกิโล 8. น้ําหมักพรอมดืม่ ยังไมระบุราคา 9. ชาใบเมี่ยงพรอมดื่ม ยังไมระบุราคา 10. กางเกงผาฝายทอมือปกาเกอะญอ ตัวละ 250บาท
......ขอใหมคี วามสุขกับการแบงปนบุญใหทุกคนนะคะ....
แผ่ นพับเพือการประชาสั มพันธ์ คาราวานบุญ
-
i
npnq fbhncnonbqo~ -
r
L
L
.
niwut~:mi rennin ippln,u apc'i,se ~@u$psuy~rienl;l~in c1rs11n~uc'santien_neui~e
“แบบสอบถามคาราวานบุญครังที 1 ตอนขบวนบุญบุกเมืองเชียงใหม่เจ้า”
“แบบสอบถามคาราวานบุญครังที 1 ตอนขบวนบุญบุกเมืองเชียงใหม่เจ้า”
ณ จริ งใจมาร์เกต 20 มกราคม 2556
ณ จริ งใจมาร์เกต 20 มกราคม 2556
ข้อมูลผูต้ อบแบบสอบถาม
ข้อมูลผูต้ อบแบบสอบถาม
1.เพศ
1.เพศ
( ) ชาย
( ) หญิง
2. อายุ (ปี ) ( )15-25 ( ) 26-35 ( ) 36-45
( ) 46-55
( ) 56 ปี ขึนไป
( ) ปริ ญญาโท
หัวข้อ 1. ความเหมาะสมของสถานที 2.ความสะอาดของสถานที 3.กิจกรรมบนเวที 4.ท่านมีความเข้าใจในวัตถุประสงค์ของการจัดงาน
มาก
( )ปริ ญญาตรี ปานกลาง
น้อย
น้อยทีสุ ด
5.ท่านสามารถนําความรู้ทีได้จากการสาธิตไปทํา เอง 6.ผลิตภัณฑ์มีราคาทีเป็ นธรรม 7.ท่านมีความเข้าใจประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ต่างๆ เป็ นอย่างดี 8.ท่านมีความภูมิใจทีได้เป็ นส่ วนหนึงของ คาราวานบุญ
( ) 46-55
( ) 56 ปี ขึนไป
3.ระดับการศึกษา ( ) ประถมศึกษา ( ) มัธยมศึกษาตอนต้น ( ) มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. ( )อนุปริ ญญา/ปวส.
( )ปริ ญญาเอก มากทีสุ ด
( ) หญิง
2. อายุ (ปี ) ( )15-25 ( ) 26-35 ( ) 36-45
3.ระดับการศึกษา ( ) ประถมศึกษา ( ) มัธยมศึกษาตอนต้น ( ) มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. ( )อนุปริ ญญา/ปวส. ( )ปริ ญญาตรี
( ) ชาย
( ) ปริ ญญาโท
หัวข้อ 1. ความเหมาะสมของสถานที 2.ความสะอาดของสถานที 3.กิจกรรมบนเวที 4.ท่านมีความเข้าใจในวัตถุประสงค์ของการจัดงาน
( )ปริ ญญาเอก มากทีสุ ด
มาก
ปานกลาง
น้อย
น้อยทีสุ ด
5.ท่านสามารถนําความรู ้ทีได้จากการสาธิตไปทํา เอง 6.ผลิตภัณฑ์มีราคาทีเป็ นธรรม 7.ท่านมีความเข้าใจประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ต่างๆ เป็ นอย่างดี 8.ท่านมีความภูมิใจทีได้เป็ นส่ วนหนึงของ คาราวานบุญ
ข้อเสนอแนะเพิมเติม : ……………………………………………………………………………………………..…….
ข้อเสนอแนะเพิมเติม : ……………………………………………………………………………………………..…….
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………….………
…………………………………………………………………………………………………………………….………
ความรู ้สึกทีมีต่องานคาราวานบุญครังนี : …………………………………………………………………….………….
ความรู ้สึกทีมีต่องานคาราวานบุญครังนี : …………………………………………………………………….………….
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
ท่านทราบข่าวการจัดงานจากทีใด : ………………………………………………………………………………………
ท่านทราบข่าวการจัดงานจากทีใด : ………………………………………………………………………………………
แบบสอบถามคาราวานบุญครังที ณ.
งานสตอเบอร์รี อ.สะเมิง
ตอนขบวนบุญบุกงานสตอเบอร์รี อ. สะเมิงเจ้า 14-16 กุมภาพันธ์ 2556
วันที
ข้ อมูลผู้ตอบแบบสอบถาม 1. เพศ
ทําเครื องหมาย / ในช่อง ญง ชาย หญิ
2. อายุ (ปี )
15-25 56 ปี ขึนไป
3. ระดับการศึกษา
ประถมศึกษา ญญา / ปวส. อนุปริรญญา ปริ ญญาเอก
26-35
36-45 ม. ต้น ปริ ปรญญาตร ญญาตรี
ข้ อมูลการจัดงาน ทําเครื องหมาย / ในช่อง 1. ท่านมีความเข้าใจจุดประสงค์ในการจัดงานมากน้อยเพียงใด 100 80 60 40 ไม่เข้าใจ 100% 80% 60% 40%
แบบสอบถามคาราวานบุญครังที ณ.
46-55 ม. ปลาย / ปวช. ปรญญาโท ปริ ญญาโท
ไมเขาใจ ไม่เข้าใจ
งานสตอเบอร์รี อ.สะเมิง
ตอนขบวนบุญบุกงานสตอเบอร์รี อ. สะเมิงเจ้า 14-16 กุมภาพันธ์ 2556
วันที
ข้ อมูลผู้ตอบแบบสอบถาม 1. เพศ
ทําเครื องหมาย / ในช่อง ญง ชาย หญิ
2. อายุ (ปี )
15-25 56 ปี ขึนไป
3. ระดับการศึกษา
ประถมศึกษา อนุปริรญญา ญญา / ปวส. ปริ ญญาเอก
26-35
36-45 ม. ต้น ปรญญาตร ปริ ญญาตรี
ข้ อมูลการจัดงาน ทําเครื องหมาย / ในช่อง 1. ท่านมีความเข้าใจจุดประสงค์ในการจัดงานมากน้อยเพียงใด 100 80 60 40 ไม่เข้าใจ 100% 80% 60% 40%
46-55 ม. ปลาย / ปวช. ปรญญาโท ปริ ญญาโท
ไมเขาใจ ไม่เข้าใจ
2. ท่านคิดว่าจุดประสงค์ในการจัดงานคือ มาขายของ พาผูค้ นตระหนักถึงความสําคัญของป่ าไม้ พาคนทําบุุญ/มาประชาสัมพันธ์องค์กร
2. ท่านคิดว่าจุดประสงค์ในการจัดงานคือ มาขายของ พาผูค้ นตระหนักถึงความสําคัญของป่ าไม้ พาคนทําบุุญ/มาประชาสัมพันธ์องค์กร
3. ท่ านมีความคิดเห็นต่ อผลิตภัณฑ์ (ข้ าว/กล้ วย/นํายา/แชมพูสบู่/ผ้ า)..... ดีแล้ว เฉยๆ เหมือนๆกับร้านอืน ควรปรับปรุุ ง เช่นปรับปรุุ ง
3. ท่ านมีความคิดเห็นต่ อผลิตภัณฑ์ (ข้ าว/กล้ วย/นํายา/แชมพูสบู่/ผ้ า)..... ดีแล้ว เฉยๆ เหมือนๆกับร้านอืน ควรปรับปรุุ ง เช่นปรับปรุุ ง
4. ท่ านมีความคิดเห็นต่ อแพทย์ วถิ ีบ้านบ้ าน (แพทย์ แผนไทย) ของเราอย่ างไร ดีแล้ว เฉยๆ เหมือนๆกับทีอืน ควรปรับปรุุ ง เช่นปรับปรุุ ง
4. ท่ านมีความคิดเห็นต่ อแพทย์ วถิ ีบ้านบ้ าน (แพทย์ แผนไทย) ของเราอย่ างไร ดีแล้ว เฉยๆ เหมือนๆกับทีอืน ควรปรับปรุุ ง เช่นปรับปรุุ ง
5. ท่ านสนใจจะติดตามกิจกรรมของ “ขบวนบุญ” กลุ่มของเราหรือไม่ ..... ต้องการ โดยช่องทาง โทรศัพท์ : e-mail : หาอ่านตามป้ ายโฆษณา มาซื อสิ นค้าทีสะเมิง ไม่ตอ้ งการ
5. ท่ านสนใจจะติดตามกิจกรรมของ “ขบวนบุญ” กลุ่มของเราหรือไม่ ..... ต้องการ โดยช่องทาง โทรศัพท์ : e-mail : หาอ่านตามป้ ายโฆษณา มาซื อสิ นค้าทีสะเมิง ไม่ตอ้ งการ
ท่านสามารถเข้ามากด Like ใน Facebook เพือเข้าไปดูความเคลือนไหว และเป็ นส่ วนหนึงของเราได้ที " ขบวนบุญ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม " PR Concept : นวด นํา ข้ าว กล้ วย
ท่านสามารถเข้ามากด Like ใน Facebook เพือเข้าไปดูความเคลือนไหว และเป็ นส่ วนหนึงของเราได้ที " ขบวนบุญ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม " PR Concept : นวด นํา ข้ าว กล้ วย
ภาคผนวก ค. • ตัวอย่ างธงญีปุ่ น • ตัวอย่ างบอร์ ดนิทรรศการ • ตัวอย่ างโปรเตอร์ ขนาด A3 • ตัวอย่ างแฟนเพจเฉพาะกิจ
ตัวอย่ างธงญีปุ่ น
ตัวอย่ างบอร์ ด นิทรรศการ
ตัวอย่ างโปรเตอร์ ขนาด A3
ตัวอย่ างแฟนเพจเฉพาะกิจ