รายงานสรุปผลการดำเนินงาน งวดปิด ขบวนบุญ ภาค ๒ (วัดดอยผาส้ม)

Page 1

ส่ วนที ๑ รายงานสรุปผลการใช้ จ่าย

1


้ า สรุปค่าใชจ ่ ย ั ั ่ งทางสงคมออนไลน์ โครงการพ ัฒนาธุรกิจเพือสงคมคนบุญด้วยชอ ้ ว ัดพระบรมธาตุดอยผาสม งบประมาณทงโครงการ ั งบประมาณ งวดที 1 งวดที 2 100,000 126,000 ี (2 ว ัน 1 คืน) ชุมชนสมทบ 1. ประชุมเชงิ ปฏิบ ัติการ อบรมชแจงโครงการ ื นบ้าน (2 ว ัน 1 คืน อบรม 2 รอบ) 2. อบรมเชงิ ปฏิบ ัติการกระบวนการผลิตสอพื 91,500 40,500 51,000 3. คาราวานบุญ (1 ว ัน/เดือน ตลอด 5 เดือน รวม 5 ครง) ั 64,900 31,815 36,260 4. ถอดองค์ความรู ้ “ขบวนบุญ”ในโครงการปี 2556 47,000 41,000 5. แสดงผลงานในงานสม ัชชาคุณธรรมแห่งชาติ 25,800 25,030 6. ค่าบริหารจ ัดการโครงการ 22,000 4,600 19,080 251,200 76,915 172,370 ณ วันที ๑๐ ก.ย. ๕๖ เงินทีโครงการสํารองออกไปก่อน รอเบิกคืนเมือปิ ดโครงการ คือ

2

23,285

งวดที 3 -

่ นต่าง รวม สว 226,000 91,500 68,075 - 3,175 41,000 6,000 25,030 770 23,680 - 1,680 249,285 1,915


สรุปค่ าใช้ จ่าย โครงการพัฒนาธุรกิจเพือสังคมคนบุญด้ วยช่ องทางสังคมออนไลน์ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ ม กิจกรรม รายการ ตังเบิก งวดที 1 งวดที 2 งวดที 3 1. ประชุมเชิงปฏิบัตกิ าร อบรมชีแจงโครงการ (2 วัน 1 คืน) ชุมชนสมทบ 1. ค่าอาหาร ค่าอาหารว่าง 0 0 0 0 2. ค่าตอบแทนวิทยากร 0 0 0 0 3. ค่าวัสดุอปุ กรณ์ สือ เอกสาร 0 0 0 0 4. ค่าเดินทางไปกลับ ของผู้ร่วมประชุม 0 0 0 0 5. ค่าบํารุงสถานทีใช้ อบรม 0 0 0 0 รวม 0 0 0 0 2. อบรมเชิงปฏิบัตกิ ารกระบวนการผลิตสือพืนบ้ าน (2 วัน 1 คืน อบรม 2 รอบ) 2.1 วางเป้าหมายร่ วมกันในการผลิตสือพืนบ้ านและขันอบรมกระบวนการผลิตสือพืนบ้ าน (รอบที 1) 1. ค่าอาหาร ค่าอาหารว่าง (175 บาทต่อคนต่อวัน x 20 คน x 2 วัน 7,000 7,000 0 0 2. ค่าตอบแทนวิทยากร (3,000 บาทต่อวันต่อวิทยากร x 2 ท่าน x 2 วัน) 12,000 12,000 0 0 3. ค่าวัสดุอปุ กรณ์ สือ ชุดเอกสารในการอบรม (1,000 แผ่น x 5 บาท - ชุมชนสมทบ) 0 0 0 0 4. ค่าเดินทางไปกลับ ของผู้ร่วมประชุม (500 บาทต่อคน x 20 คน) 10,000 10,000 0 0 5. ค่าบํารุงสถานทีใช้ อบรม 1,000 1,000 0 0 6. ค่าพาหนะ รวบรวมข้ อมูลดิบ ทังกระบวนการ (3,000 บาท x 7 เดือน) 21,000 9,000 12,000 0 7. ค่าเขียนโปรแกรม พัฒนา และดูแลรักษาระบบเว็บไซต์ (1,500 บาท x 7 เดือน) 10,500 1,500 9,000 0 2.2 การทดลองนําสือทีผลิตได้ ไปใช้ จริง (รอบที 2) 1. ค่าอาหาร ค่าอาหารว่าง (175 บาทต่อคนต่อวัน x 20 คน x 2 วัน 7,000 0 7,000 0 2. ค่าตอบแทนวิทยากร (3,000 บาทต่อวันต่อวิทยากร x 2 ท่าน x 2 วัน) 12,000 0 12,000 0 3

คงเหลือ 0 0 0 0 0 0

0 0 0 0 0 0 0 0 0


สรุ ปค่ าใช้ จ่าย โครงการพัฒนาธุรกิจเพือสังคมคนบุญด้ วยช่ องทางสังคมออนไลน์ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ ม กิจกรรม รายการ ตังเบิก งวดที 1 งวดที 2 งวดที 3 3. ค่าวัสดุอปุ กรณ์ สือ ชุดเอกสารในการอบรม (1,000 แผ่น x 5 บาท - ชุมชนสมทบ) 0 0 0 0 4. ค่าเดินทางไปกลับ ของผู้ร่วมประชุม (500 บาทต่อคน x 20 คน) 10,000 0 10,000 0 5. ค่าบํารุงสถานทีใช้ อบรม 1,000 0 1,000 0 รวม 91,500 40,500 51,000 0 3. คาราวานบุญ (1 วัน/เดือน ตลอด 5 เดือน รวม 5 ครัง) 1. ค่าอาหาร อาหารว่าง (175 บาท/คน/วัน x 10 คน x 2 วัน x 5 ครัง) 17,500 7,000 10,500 0 2. ค่าพาหนะหน่วยเคลือนทีและอุปกรณ์เสริม (7,000 บาท ต่อครัง x 5 ครัง) 35,000 13,230 25,610 0 3. ไวนิลป้ายชืองาน (ขนาด 3 m x 1.5 m อัตรา 800 บาท x 3 แผ่น ) ไวนิลเผยแพร่เรื องราว 11,400 11,400 0 0 พร้ อมขาตัง (ขนาด1.20 m x 0.8 m อัตรา 1,800 บาท x 5 ชุด) 4. ค่าแบบสอบถาม สํารวจความคิดเห็น (200 บาท x 5 ครัง) 1,000 185 150 0 รวม 64,900 31,815 36,260 0 4. ถอดองค์ ความรู้ “ขบวนบุญ”ในโครงการปี 2556 1. ค่าจ้ างถอดองค์ความรู้ “ขบวนบุญ” 35,000 0 35,000 0 2. ค่าใช้ จา่ ยในการประชุมวิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินผล เพือถอดองค์ความรู้ - ค่าอาหาร ค่าอาหารว่าง (100 บาท/คน/วัน x 10 คน x 1 วัน x 2 ครัง) 2,000 0 1,000 0 - ค่าเดินทางไปกลับของผู้ร่วมประชุม (10 คน x 500 บาท/คน x 2 ครัง) 10,000 0 5,000 0 รวม 47,000 0 41,000 0 5. แสดงผลงานในงานสมัชชาคุณธรรมแห่ งชาติ 6,000 0 6,400 0 1. ค่าเหมาจ้ างรถไป – กลับ เชียงใหม่ – กรุงเทพ (จํานวน 3 วันๆ ละ 2,000 บาท) 4

คงเหลือ 0 0 0 0 0 -3,840 0 665 -3,175 0 1,000 5,000 6,000 -400


สรุ ปค่ าใช้ จ่าย โครงการพัฒนาธุรกิจเพือสังคมคนบุญด้ วยช่ องทางสังคมออนไลน์ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ ม กิจกรรม รายการ ตังเบิก งวดที 1 งวดที 2 งวดที 3 2. ค่านํามันเชือเพลิง สําหรับเดินทางไป-กลับ เชียงใหม่ – กรุงเทพฯ (ระยะทาง 800 กม. ๆละ 4 บาท x 2 เทียว) 6,400 0 9,725 0 3. ค่าทีพัก จํานวน 10 คน (จํานวน 4 ห้ องๆ ละ 800 บาท/วัน 2 คืน) 6,400 0 0 0 4. ค่าอาหาร/อาหารว่างและเครื องดืม (จํานวน 10 คน x วันละ 200 บาท x จํานวน 2 วัน) 4,000 0 8,600 0 5. ค่าวัสดุอปุ กรณ์จดั นิทรรศการ 3,000 0 305 0 รวม 25,800 0 25,030 0 6. ค่ าบริหารจัดการโครงการ 1. ค่าจัดทําเอกสารการเงินและเอกสารรายงานงวด (เหมาจ่าย 3 ครัง) 2. เครื องใช้ สํานักงาน (กระดาษ หมึกพิมพ์ เครื องเขียน) (1,000 บ.x 9 เดือน) 3. ค่าติดต่อประสานงาน (ค่าโทรศัพท์ ติดต่อศูนย์) (ตลอดโครงการ) รวม รวมทังหมด

5

3,000 9,000 10,000 22,000 251,200

1,000 0 3,600 4,600 76,915

2,387 8,131 8,562 19,080 172,370

0 0 0 0 0

คงเหลือ -3,325 6,400 -4,600 2,695 770 -387 869 -2,162 -1,680 1,915


ส่ วนที ๒ ทีมาและความสํ าคัญของโครงการ

6


ทีมาและความสํ าคัญของโครงการ ๑) ความเป็ นมาโครงการ ในปี ที ผ่านมาเครื อข่ายเศรษฐกิ จพอเพียงวัดพระบรมธาตุดอยผาส้มได้ดาํ เนิ นโครงการ แหล่งเรี ยนรู ้ เศรษฐกิ จพอเพียงขันก้าวหน้าระดับเครื อข่ายพหุ ชุมชนหรื อ ชื อสันๆ ว่า “โครงการ ขบวนบุญ” เป็ นการทําธุรกิจเพือสังคม (Social Enterprise) ภายใต้หลักการคิด “การนําบุญเป็ นตัว ตัง” และเป็ นโครงการต่อเนื องตังแต่เมือปี ๒๕๕๑ ที วัดพระบรมธาตุดอยผาส้มได้น้อมนําแนว พระราชดําริ เศรษฐกิจพอเพียงขันพืนฐาน ๔ พอ คือ พอกิน (อาหารและยารักษาโรค) พอใช้ (นํายา ทําความสะอาด สบู่ แชมพู ปุ๋ ยอินทรี ย ์ สารไล่แมลงจากธรรมชาติ) พออยู่ (อาคารบ้านเรื อน) พอ ร่ มเย็น (อากาศ ดิ น นํา ป่ าอุ ดมสมบูรณ์ ) นํามาปรั บใช้กับชาวชุ มชนบ้านอมลอง ตําบลแม่ สาบ อําเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่เป็ นแห่ งแรก จนเกิดผลผลิตทางการเกษตรทีมากมาย มีคนให้ความ สนใจรับซื อจนกระทังผลิตไม่เพียงพอทีจะจําหน่ าย และเกิดองค์ความรู ้ความชํานาญในการผลิต สิ นค้าทดแทนในครัวเรื อน เกิ ดการถนอมอาหารแปรรู ปสิ นค้าสร้ างงานสร้างรายได้ ด้วยวิธีการ เหล่านีรายจ่ายในครัวเรื อนจึงลดลง เกิดความสุ ขจากการมีเวลาอยูร่ ่ วมกันในครอบครัวมากขึน และ มีเวลาช่ วยเหลื องานส่ วนรวมของชุ มชน ทําให้คนในชุ มชนมี คุณภาพชี วิต เศรษฐกิ จ สังคมและ สิ งแวดล้อมดีขึนกว่าเดิม ตลอดระยะเวลาสี ปี ทีผ่านมา เกิดการขยายแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงลงสู่ ชุมชนอีกกว่ายีสิ บ ชุมชนครอบคลุมทังอําเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ กลายมาเป็ นเครื อข่ายเศรษฐกิจพอเพียงวัดพระ บรมธาตุดอยผาส้ม ในแต่ละชุมชนมีผลผลิตทางการเกษตรทีแตกต่างกันตามทรัพยากรธรรมชาติ ในท้องถินนันๆ นํามาแปรรู ปเพือเก็บไว้ใช้เอง แจกจ่ายและส่ งขายให้คนในชุมชน ในเครื อข่ายฯ เช่น ข้าว กล้วย ปุ๋ ยอินทรี ย ์ ผักปลอดสารพิษ นําหมักชีวภาพ นํายาล้างจาน แชมพูสบู่สมุนไพร เป็ น ต้น โดยใช้โมเดลธุ รกิจแบบขบวนบุญ คือ ขายในราคาต้นทุน ให้คนในเครื อข่ายมีโอกาสใช้สินค้า คุ ณ ภาพดี ราคาประหยัด ใช้ ส่ ว นเงิ น กํา ไรจากการจํา หน่ า ยนํา ไปสบทบกองทุ น เพื ออนุ รั ก ษ์ ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ ใ ช้ ใ น ภ า ร กิ จ ป ลู ก ป่ า ส ร้ า ง ฝ า ย ช ะ ล อ นํ า ทําแนวกันไฟป่ า แต่ปัญหาทีพบ คือ สมาชิ กคนในเครื อข่าย ยังนิ ยมซื อสิ นค้าทีมียีห้อหรื อแบรนด์ สิ นค้าทีตนคุน้ เคย และเป็ นสิ นค้าอุตสาหกรรมทีผลิตจํานวนมากได้ราคาถูก โมเดลการใช้สินค้า

7


เป็ นสื อให้คนเกิ ดตระหนักถึ งความสําคัญของธรรมชาติ อย่าง “ขบวนบุญ” กลับไม่ได้รับความ สนใจสําหรับคนในพืนที คนต้นนํา คนอยูใ่ กล้ป่าไม้แหล่งทรัพยากรสําคัญของชีวิตเท่าทีควร ในขณะเดียวกันมีกลุ่มคนในเมือง ได้รับรู ้เรื องราวโมเดลธุ รกิจ “ขบวนบุญ” จากการบอก ต่ อและการมาทํากิ จกรรมสร้ างฝายชะลอนํา เกิ ดความเข้าใจในวิถี “ขบวนบุญ” เพือช่ วยดู แ ล ทรัพยากรธรรมชาติและใช้ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติทีปลอดภัยสําหรับตนเองครอบครัวและสิ งแวดล้อม ส่ งผลให้เกิด “กิจกรรมบุญ” คือ คนในเมืองรับจําหน่ ายสิ นค้าของคนต้นนํา อย่างเช่น ผักปลอดสาร ปุ๋ ยอินทรี ยช์ ีวภาพ และนํายาเอนกประสงค์ และถ่ายทอดเจตนาของคนต้นนําในวงกว้าง เกิดการ ระดมกองบุญรักษาป่ าและขยายตัวขบวนบุญเชิญชวนคนในเมืองเข้ามาเป็ นอาสาสร้างฝายเกิดเป็ น เครื อข่ายคนปลายนํา (คนเมือง) ช่วยเหลือคนต้นนํา (คนชนบท) ในปี ๒๕๕๖ ทางเครื อข่ายเศรษฐกิจพอเพียงวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม มีเป้ าหมายเพือคิด สานต่อเจตนารมณ์โครงการขบวนบุญ ในแนวทางใหม่ คือ การสร้างแหล่งเรี ยนรู ้บนโลกไซเบอร์ หรื อ เว็บไซต์เพือเป็ น ๑) แหล่งรวบรวมองค์ความรู ้เศรษฐกิจพอเพียง ประสบการณ์ บทเรี ยนชีวิต ของบุคคลต้นแบบในเครื อข่าย และความรู ้ในการพึงพาตนเองอย่างง่ายใช้ได้กบั ทุกคน (PorPaengPorJai Data-Base) ๒) แหล่งทํากิจกรรมซือขายสิ นค้าบุญบนเว็บไซต์ (E-Commerce) ตามหลักการ ขบวนบุญ คือ “ขายราคาต้นทุน เงินส่ วนต่างเข้ากองทุนรักษาป่ า” เพือขยายแนวคิดธุ รกิจแบบใหม่ ให้สือสารออกไปทัวโลก และ ๓) เป็ นแหล่ งพบปะผูค้ นอุดมการณ์ เดี ยวกัน ผ่านทางกระดาน โต้ตอบหรื อเว็บบอร์ ด (Web board) และสถานทีจริ งจากการนําผูท้ ีสนใจในเมืองเข้ามาร่ วมทํา กิจกรรมในป่ า คือ ปลูกป่ า สร้างฝาย ทําแนวกันไฟหรื อกิจกรรมบําเพ็ญประโยชน์ เกิดเครื อข่ายคน บุญใหม่ทีใหญ่และกว้างขว้างกว่าเดิมมาก (Strenuous Network) บนสื อออนไลน์ทีทุกคนสามารถ เข้าถึงได้อย่างเสรี รวดเร็ ว ประหยัด ไร้ขอ้ จํากัดของเวลาและสถานที (anytime anywhere anyhow any whom) กระบวนการบริ หารจัดการภายในเครื อข่ายฯในปี ๒๕๕๖ เน้นหนักทีกระบวนการมีส่วน ร่ วมของชาวบ้า นและที ม งานในการเป็ นเจ้า ของ ผลิ ต สื อเว็ บ ไซต์ ด้ ว ยตนเอง โดยมี ส าร (Message/Content) คือ การสร้างความตระหนักรู ้และสํานึ กถึงบุญคุณของทรัพยากรธรรมชาติ ผูใ้ ห้ ชี วิตกับทุกชี วิตบนโลก ผูส้ ่ งสาร (Sender) ในทีนี คือ แกนนําต้นแบบในเครื อข่ายฯ เป็ นผูด้ าํ เนิ น ชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงกว่า ๑๐ ชุมชน ทีมผูพ้ ฒั นาเว็บไซต์ร่วมกับทีมงานกลางของวัด เป็ นคนส่ งสารผ่านช่องทาง (Channel) คือ เว็บไซต์ สื อทีทุกคนสามารถเข้าถึงและแสดงออกทาง ความคิดอย่างอิสระ เพือให้กลุ่มเป้ าหมายหรื อ ผูร้ ับสาร (Receiver) คือบุคคลทัวไป โดยเฉพาะคน ในเมืองให้มีความสนใจในการอนุรักษ์ธรรมชาติ มีจิตอาสา มีความตระหนักเรื องภัยธรรมชาติรับรู ้ และลงมือปฏิบตั ิ โดยการเปลียนแปลง ปรับพฤติกรรมตนเองและการเลือกซื อผลิตภัณฑ์บุญ เพือ สังคมส่ วนรวม และสามารถเพิมช่ องทาง โอกาสในการสร้างคุณธรรมความดี อีกรู ปแบบหนึ งให้ แพร่ ขยายเข้าสู่ ทุกภาคส่วนของสังคมไทย 8


๒) วัตถุประสงค์ ๑) สร้างแหล่งเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียงทังขันพืนฐานและก้าวหน้าบนโลกไซเบอร์ คือ เว็บไซต์ (Website) และสื อสังคมออนไลน์ (Social Media) เพือการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ องค์ความรู ้ กิจกรรม บทเรี ยน และบุคคลต้นแบบ เพือการเสริ มสร้าง เครื อข่ายคนบุญให้ขยายในวงกว้าง ๒) เกิดการขับเคลือนแนวคิดและภาคปฏิบตั ิของขบวนบุญ (Social Enterprise) ทีนําบุญ และคุณธรรมความกตัญ ูต่อทรัพยากรธรรมชาติเป็ นตัวตังในการดําเนิ นธุ รกิ จเพือ สังคม ๓) เสริ มหนุนเครื อข่ายเดิมให้เข้มแข็งและขยายเครื อข่ายใหม่ให้สามารถพึงตนเองได้อย่าง ยังยืน ๓) กลุ่มเป้าหมาย แบ่ งออกเป็ น ๒ กลุ่มหลัก ดังนี ๑. ผู้ร่วมผลิตสื อ จํานวน ๑๐ ครัวเรื อนต้นแบบ ๑.๑ แกนนําทีมีองค์ความรู ้ ประสบการณ์ บทเรี ยนจากประสบการณ์จริ งจากการ ดําเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงแล้วสามารถถ่ายทอดได้ จาก ๑๐ ครัวเรื อน ต้นแบบ ในพืนที ๕ ชุมชน ดังนี • ศูนย์เศรษฐกิจพอเพียง วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม -บ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะ เมิง • ชุมชนบ้านป่ าเกียะนอก ตําบลบ่อแก้ว อ.สะเมิง • ชุมชนบ้านแม่ปะ ต.สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง • ชุมชนบ้านแม่เลย ต.สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง • ชุมชนบ้านแม่ลานคํา ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง ๑.๒ ทีมงานกลาง จํานวน ๑๐ คน เป็ นทีมงานทีจะช่วยรวบรวมเนื อหาข้อมูลจากแกนนําและชาวชุมชน และร่ วมกันกําหนด ทิศทางของสื อว่าจะแสดงออกมาในรู ปแบบใด ๒. ผู้รับสื อ จํานวน ๑,๐๐๐ คน • ประชาชนผูร้ ับรู ้สือประชาสัมพันธ์ ๑,๐๐๐ คน • จํานวนผูใ้ ช้บริ การข้อมูลเว็บไซต์ ๕๐๐ ครัง • จํานวนผูน้ าํ องค์ความรู ้ไปใช้ ๔๐๐ คน ๔) ตัวชีวัด

9


เชิงปริมาณ ๑) ได้แหล่งเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียงขันก้าวหน้าบนเว็บไซต์ ซึงสามารถให้บุคคลทัวไป สามารถเข้าถึงได้มากขึน ไร้ขอ้ จํากัดด้านเวลาและสถานที โดยผ่านกระบวนการการมี ส่ วนร่ วมผลิตสื อของชาวชุมชนจาก ๑๐ ครัวเรื อนต้นแบบ ในพืนที ๕ ชุมชน ดังนี • ศูนย์เศรษฐกิจพอเพียง วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม -บ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะ เมิง • ชุมชนบ้านป่ าเกียะนอก ตําบลบ่อแก้ว อ.สะเมิง • ชุมชนบ้านแม่ปะ ต.สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง • ชุมชนบ้านแม่เลย ต.สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง • ชุมชนบ้านแม่ลานคํา ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง ๒) ประชาชนผูร้ ั บรู ้ สือประชาสัมพันธ์ ๑,๐๐๐ คน /จํานวนผูใ้ ช้บริ การข้อมูลเว็บไซต์ ๕๐๐ ครังและมีจาํ นวนผูน้ าํ องค์ความรู ้ไปใช้ ๔๐๐ คน ๓) องค์ความรู ้เชิงคุณธรรม ๑ ชิน เชิงคุณภาพ ๑) เกิดสื อคุณธรรมออนไลน์ โดยวัดจากความพึงพอใจของชาวชุมชนทีเข้าไปมีส่วนร่ วม ในการผลิตสื อไม่น้อยกว่า ๘๐% ด้านองค์ความรู ้ดา้ นสื อ ด้านคุณภาพชี วิต และด้าน สังคมโดยรวมเป็ นหลัก ๒) ประชาชนทัวไปมีความพึงพอใจในการใช้บริ การข้อมูลเว็บไซต์มากกว่า ๘๐ % ด้าน การสื บค้นข้อมูลองค์ความรู ้เศรษฐกิจพอเพียง ๓) เกิดการเผยแพร่ ถ่ายทอดแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงขันก้าวหน้า (บุญ/ทาน/เครื อข่าย) ทังในระดับพหุชุมชนและระดับปัจเจกชนทัวไป

10


๕) ผังมโนทัศน์ (Mind Map) ๑. แผนผังความคิดเรือง แบบจําลองการสื อสาร ทีนํามาใช้ ในกระบวนการผลิตสื อเว็บไซต์ เดวิด เค เบอร์โล (David Kenneth Berlo) ได้เสนอแบบจําลองการสื อสารทีมีชือว่า “แบบจําลอง SMCR ของเบอร์โล (Berlo’s SMCR Model)” ดังภาพ

กระบวนการผลิตสื อเว็บไซต์ ของโครงการทีนําแบบจําลองการสื อสารมาประยุกต์ ใช้ จริง

เข้ารหัส ผูส้ ่ งสาร (Sender) คือ แกนนําจาก ๑๐ ครอบครัว เศรษฐกิจพอเพียง โดยมี ทีมงานกลางของวัดรวบรวม เนือหาข้อมูล ดึงประเด็นร่ วม ทีนําไปใช้ได้จริ งและร่ วมคิด รู ปแบบการนําเสนอให้ น่าสนใจ โดยมีช่างเทคนิค พัฒนาเว็บไซต์คอยเป็ นที ปรึ กษาในกระบวนการผลิต สื ออย่างมีส่วนร่ วม

ถอดรหัส

เนือหา (Message) ประกอบไปด้วย ๑.แนวคิดการทําธุรกิจเพือสังคม คนบุญ เรี ยกว่า “ขบวนบุญ” ๒. รายการสิ นค้าบุญพร้อม เรื องราว ๓. องค์ความรู้เรื องเศรษฐกิจ พอเพียง (๙ ฐานการเรี ยนรู ้) เหมือนจําลองแหล่งเรี ยนรู้จริ ง บนโลกไซเบอร์ ทีบุคคลทัวไป สามารถนําไปใช้ได้จริ ง

11

ช่องทาง (Channel) คือ เว็บไซต์ และ สื อสังคม ออนไลน์อืนๆ เช่น facebook/ twitter

ผูร้ ับสาร/ กลุ่มเป้ าหมาย (Receiver) คือ บุคคลทัวไป โดยเฉพาะคนในเมือง ซึ งสามารถเข้าถึง เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์/ อินเตอร์เน็ต ทีมีความ สนใจในการอนุรักษ์ ธรรมชาติ มีจิตอาสา มี ความตระหนักเรื องภัย ธรรมชาติ และมีกาํ ลัง ซื อผลิตภัณฑ์บุญ


๒. แผนผังความคิดเรือง ทฤษฎีบันได ๙ ขันสู่ ความพอเพียงทีมันคงและยังยืน

ทฤษฏีบันได ๙ ขันสู่ ความพอเพียงทีโครงการเน้ นหนักในขัน ก้าวหน้ า โดยส่ งเสริมคุณธรรม “ความกตัญ ู”ในขันบุญ

ข่ าย

กัลยาณมิตร มิตรผู้ร่วมเดินทางบนถนนพอเพียงสาย เดียวกัน กําลังกาย กําลังใจ กําลังปั ญญาจากมิตรช่ วยมิตร

ขาย

เก็บ ทาน บุญ

ขายสิ งทีผลิตได้ ใช้ เองจนเหลือ เพือแลกเปลียนสิ งที ไม่ สามารถผลิต ได้ เองในเครื อข่ าย ก่ อนซื อขายกับภายนอกเสริ มหนุนในสิ งจําเป็ น เมือผลผลิตมากจึ งนําภูมิปัญญาความรู้ การถนอมอาหาร แปรรู ป เก็บรั กษาไว้ ยามจําเป็ น เป็ นภูมิค้ ุมกัน และสํารองไว้ เมือเกิดเหตุภัยพิบัติ

ให้ ร้ ู จักพอใจในสิ งที มีอยู่ มีเมตตา เอื อเฟื อ รู้ จักแบ่ งปั นทําทาน

มีเหลือกินเหลือใช้ จึงแบ่ งปั นให้ พระ พ่ อแม่ ครู ญาติผ้ ใู หญ่ และผู้ลาํ บากกว่ าเรา ผู้กตัญ รู ้ ู คุณจะเจริ ญ โครงการ “ขบวนบุญ” ในปี นีเน้ นขันบุญเป็ นหลัก

พอกิน ปลูกทุกอย่างที กิน กินทุกอย่าง ทีปลูก/ในไร่ เดียวมีผกั ผลไม้ ปลูกข้าว เลียง สัตว์ มีแหล่งนํา และทีอยูอ่ าศัย

12 13

พอใช้ ผลิตนํายาล้าง จาน แชมพูสบู่ ปุ๋ ยหมักชีวภาพ ฮอร์โมนพืช พลังงาน ทดแทนใช้เอง ลดรายจ่ายจาก ภายนอก

พออยู่ มีบา้ นเรื อน แหล่งทีอยูอ่ าศัย ป้ องกันแดด ฝน อากาศหนาว จากวัสดุ ธรรมชาติใน ท้องถิน เช่น บ้านไม้ บ้านดิน

พอร่ มเย็น ดูแลรักษา ทรัพยากร ดิน นํา ป่ า ให้มี ความอุดม สมบูรณ์เสมอ แหล่งกําเนิด ๔ พอทีสําคัญ สําหรับทุกชีวิต

ต้องทํา ๔ พอขัน พืนฐานให้มีเพียงพอ จนเหลือก่อนจึงทํา ต่อขันก้าวหน้า ซึ ง ทุกขันอาศัยการ สะสมความรู้และ คุณธรรมในใจ “หยุดโลภ ปฏิเสธ ความอยาก” / “อาศัย ความอดทน ใช้ ปัญญาแก้ปัญหา”


๕.๑ ) แผนผังมโนทัศน์ ของการดําเนินโครงการพัฒนาธุรกิจเพือสังคมคนบุญด้วยช่องทางสังคมออนไลน์ (Conceptual Framework) (ภาคภาษาอังกฤษ) Temple Villagers who live with Porpaeng way of life (4 Por are strenuous & stable)

Natural Resources

Input Social Enterprise Model

Villagers Coordinators

Process Coordinators

Web developers Create Villagers

KM or Knowledge Management

Campaign

Website/ Social Media

(PR idea and products)

Feedback from website and Campaign (Road Show)

Villagers changed behavior (Porpaeng come up in mind/ income to family/ public fund for forest grow up etc.)

Outcome

Output 1,000 people who know the model SE/

Lesson learns/ Is SE model work? Impact?

13

Web site Inc. E-commerce/Data Base/Network

500 visit website/ 400 take action


๕.๑ ) แผนผังมโนทัศน์ ของการดําเนินโครงการพัฒนาธุรกิจเพือสังคมคนบุญด้วยช่องทางสังคมออนไลน์ (Conceptual Framework) (ภาคภาษาไทย) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ชาวบ้านดําเนินชีวิตตามแนวทาง เศรษฐกิจพอเพียงจนขันพืนฐานมัน คัง มีเหลือ จนแบ่งปันให้ผอู้ ืนได้

ทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์

นําเข้า โมเดลธุรกิจ “ขบวนบุญ”

แกนนําชาวบ้าน

กระบวนการ

ทีมงานกลางของวัด

ทีมงานกลางของวัด

ช่างเทคนิคพัฒนาเว็บไซต์ แกนนําชาวบ้าน

สร้าง

คาราวานบุญ

เว็บไซต์คุณธรรม/ สังคมออนไลน์

ถอดองค์ความรู้ ตลอดระยะเวลา ดําเนินโครงการ

(กองทัพประชาสัมพันธ์ แนวคิด “ขบวนบุญ” ผ่าน สื อทีเป็ นสิ นค้าบุญ)

เสี ยงตอบรับจากผูเ้ ข้าเยียมชมเว็บไซต์ และผูเ้ ข้าร่ วมคาราวานบุญ ชาวบ้านเปลียนพฤติกรรม (เกิดความ พอในใจ ใจไม่โลภ/ เกิดรายได้ให้ ครอบครัวตามกําลังการผลิต/กองทุน เพือภารกิจรักษาป่ าเติบโตขึน ฯลฯ)

ผลลัพธ์ องค์ความรู้/ โมเดล “ขบวนบุญ” มี ประสิ ทธิภาพหรื อไม่/เกิดผลกระทบอย่างไร

ผลผลิต

14

๑ เว็บไซต์ทีประกอบไปด้วยระบบ การซื อขายสิ นค้าผ่านอินเตอร์เน็ต/ ฐานข้อมูลศก.พอเพียง/เครื อข่าย

๑,๐๐๐ คนรับรู้สือประชาสัมพันธ์เรื องขบวนบุญ/ ๕๐๐ คนใช้บริ การข้อมูลผ่านเว็บไซต์/ ๔๐๐ คน นํา องค์ความรู้บนเว็บไซต์ไปปฏิบตั ิ


๖) ขันตอนและระยะเวลาการดําเนินโครงการ ๑๑ เดือน ( เดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๕ – เดือนกันยายน ๒๕๕๖)

ระยะเวลาดําเนินงาน ขันตอนการดําเนินงาน

พ.ย. ๕๕

ธ.ค. ๕๕

ม.ค. ๕๖

ก.พ. ๕๖

มี.ค. ๕๖

เม.ย. ๕๖

พ.ค. ๕๖

มิ.ย. ๕๖

๑. ประชุมเชิงปฏิบตั ิการ อบรมชีแจงโครงการ (๒ วัน ๑ คืน) ภายในเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๕ ๒. อบรมเชิงปฏิบตั ิการกระบวนการผลิตสื อพืนบ้านจากองค์ความรู ้และประสบการณ์ จริ งจากการดําเนินกิจกรรมในเครื อข่าย (๒ วัน ๑ คืน ๒ รอบ) ประกอบด้วยการอบรม ๒ รอบ ดังนี ๑) ขันลงฉันทามติในวางเป้ าหมายร่ วมกันในการผลิตสื อพืนบ้าน และขันกระบวนการ ผลิตสื อพืนบ้าน ๒) การทดลองนําสื อทีผลิตได้ไปใช้จริ ง ๓. คาราวานบุญเพือการประชาสัมพันธ์แนวคิดและกิจกรรมจากสมาชิกในเครื อข่ายสู่ ชาวเมืองเชียงใหม่ (๑ วัน/เดือน ตลอด ๕ เดือน) ณ ถนนคนเดินวัดพระสิ งห์/ อนุสาวรี ยส์ ามกษัตริ ย/์ ตลาดหลังโรงเรี ยนปริ นซ์/โรงเรี ยนต้นกล้า/ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่/ตลาดนัดอําเภอสะเมิง/งานวันสตรอเบอร์ รีอําเภอสะเมิง ๔.ลงพืนทีเก็บข้อมูลภาคสนามเพือสํารวจการตอบรับ (Feedback) จากกลุ่มเป้ าหมาย เพือถอดบทเรี ยนออกมาเป็ นองค์ความรู้

๕. บริ หารจัดการโครงการ

15

ก.ค. ๕๖

ส.ค. ๕๖

ก.ย. ๕๖


ส่ วนที ๓ สรุปผลการดําเนินกิจกรรมภาพรวม

16


การรายงานผลการดําเนินงานงวดปิ ดโครงการ (สรุปภาพรวม) โครงการ : หน่ วยงาน : ผู้ประสาน :

โครงการพัฒนาธุรกิจเพือสังคมคนบุญด้วยช่องทางสังคมออนไลน์ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม อําเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ พระครู ธรรมคุต (สรยุทธ ชยป ฺ โญ) เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผูอ้ าํ นวยการศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม โทร. ๐๘๙ ๙๒๖ ๓๘๗๗ E-mail: doiphasom@gmail.com

วัตถุประสงค์ : ๑) สร้างแหล่งเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียงทังขันพืนฐานและก้าวหน้าบนโลกไซเบอร์ คือ เว็บไซต์ (Website) และสื อสังคมออนไลน์ (Social Media) เพือการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ องค์ความรู ้ กิจกรรม บทเรี ยน และบุคคลต้นแบบ เพือการเสริ มสร้าง เครื อข่ายคนบุญให้ขยายในวงกว้าง ๒) เกิดการขับเคลือนแนวคิดและภาคปฏิบตั ิของขบวนบุญ (Social Enterprise) ทีนําบุญ และคุ ณธรรมความกตัญ ูต่อทรัพยากรธรรมชาติเป็ นตัวตังในการดําเนิ นธุ รกิ จเพือ สังคม ๓) เสริ มหนุนเครื อข่ายเดิมให้เข้มแข็งและขยายเครื อข่ายใหม่ให้สามารถพึงตนเองได้อย่าง ยังยืน ผลสํ าเร็จในการจัดกิจกรรม กิจกรรม ๑) ประชุมเชิงปฏิบตั ิการ อบรมชีแจง โครงการ

ผลลัพธ์ ๑ ) ไ ด้ ค ณ ะ ทํ า ง า น ที มี ค ว า ม เ ข้ า ใ จ แ ล ะ มี แผนปฏิบตั ิงานทังภาพรวมของทีมงานผลิตสื อ และที ม แกนนํา ชาวบ้า นและของแต่ ล ะบุ ค คล ตลอดปี นี

๒) อบรมเชิ งปฏิ บตั ิ การกระบวนการผลิ ต สื อพืนบ้าน (๒ วัน ๑ คืน ๒ รอบ) รอบที ๑ กระบวนการผลิตสื อพืนบ้าน รอบที ๒ ขันทดลองนําสื อทีผลิตได้ไป 17

๑) แกนนําทัง ๑๐ ครัวเรื อนมีความรู ้ความ เข้าเกียวกับกระบวนการผลิตสื อ พืนบ้านจากทีไม่เคยรู ้มาก่อนเลย ๒) แกนนําทัง ๑๐ ครัวเรื อนและทีมผลิตสื อ


ใช้จริ ง

เห็นความสําคัญในการมีสือเป็ นของ ตนเองและพร้อมทีจะมีส่วนร่ วมผลิต สื อซึงเป็ นงานใหม่ของเครื อข่าย ๓) ได้สือพืนบ้านคือ วีดีโอคนพอเพียง และหนังสื อองค์ความรู ้ออนไลน์ ที สามารถดาวน์โหลดจากเว็บไซต์ซึงเป็ น แหล่งเรี ยนรู้ออนไลน์ ทังเพือการขยาย แนวความคิดและสามารถนําองค์ความรู ้ ทีถูกกลันกรอง เรี ยบเรี ยงให้น่าสนใจ ไปใช้ได้จริ ง ๓) คาราวานบุญ (๑วัน/เดือน ตลอด ๕ ๑) เกิดการประชาสัมพันธ์แนวคิดและการ เดือน รวม ๕ ครัง) ขยายตัวของกิจกรรมทีใช้โมเดล “ขบวนบุญ” ไปสู่ชาวเมืองเชียงใหม่ และเครื อข่ายคนในเมืองมากขึน เป็ นที รับรู ้และสร้างการมีส่วนร่ วมกับบุคคล ทัวไปได้มากขึน ๒) แกนนําชาวบ้านและทีมประสานงาน กลางได้เพิมพูนทักษะการถ่ายทอด แนวคิดและได้มีหลักฐานหนักแน่นว่า สิ นค้าทีผลิตสร้างรายได้ได้ สื อทีผลิต ช่วยดึงดูดให้ผคู ้ นเข้ามาสนใจได้มาก ๔) ถอดองค์ ค วามรู ้ “ขบวนบุ ญ ” ใน ๑) เกิดระบบติดตามและประเมินผล ด้วย โครงการปี ๒๕๕๖ คนในโครงการและบุคคลภายนอกทํา ให้ปัญหาของแต่ละกิจกรรมได้รับการ แก้ไขทันที ๒) ได้รายงานองค์ความรู ้ขบวนบุญ ๑ เล่ม ๓) สร้างขวัญและกําลังใจในการทํางาน ของคณะทํางานทีทําด้วยใจอาสา เพราะ เกิดจากการพูดคุยกันบ่อยขึนจากการ ประเมินผลก่อน ระหว่าง หลังทํา กิจกรรมตลอด ๑๐ เดือน ๕) นําเสนอผลงานในงานสมัชชาคุณธรรม ๑) เกิดการแลกเปลียนเรี ยนรู ้ระหว่างภาคี ทีมงานมีโอกาสเพิมพูนทักษะการนําเสนอ 18


เป้ าหมายของโครงการให้คนทัวไปทีไม่รู้อะไร ได้เข้าใจ ๒. เกิดการเห็นคุณค่าความสําคัญของปัจจัย สี หรื อทรัพยากรธรรมชาติทีตนเองมี เมือนํามา สาธิตการทําอาหารให้ชิมฟรี มีผคู ้ นจํานวนมาก ให้ความสนใจ

ผลทีได้ รับ พิจาราณาจากตัวชีวัดเชิงปริมาณ ตัวชีวดั (เชิงปริมาณ) ทีตังไว้ ๑) ได้แหล่งเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียงขัน ก้าวหน้าบนเว็บไซต์ ซึงสามารถให้ บุคคลทัวไปสามารถเข้าถึงได้มากขึน ไร้ขอ้ จํากัดด้านเวลาและสถานที โดย ผ่านกระบวนการการมีส่วนร่ วมผลิตสื อ ของชาวชุมชนจาก ๑๐ ครัวเรื อน ต้นแบบ ในพืนที ๕ ชุมชน ดังนี • ศู น ย์เ ศรษฐกิ จ พอเพีย ง วัด พระบรมธาตุ ด อยผาส้ ม บ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ. สะเมิง • ชุ ม ชนบ้ า นป่ าเกี ยะนอก ตําบลบ่อแก้ว อ.สะเมิง • ชุ มชนบ้านแม่ปะ ต.สะเมิง เหนือ อ.สะเมิง • ชุมชนบ้านแม่เลย ต.สะเมิง เหนือ อ.สะเมิง • ชุมชนบ้านแม่ลานคํา ต.สะ เมิงใต้ อ.สะเมิง

ตัวชีวัด (เชิงปริมาณ) ทีเกิดขึนจริง ได้แหล่งเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียงขันก้าวหน้าบน เว็บไซต์ โดยผ่านกระบวนการการมีส่วนร่ วมใน การผลิตสื อร่ วมกันซึ งเป็ นเรื องใหม่สําหรั บทีม แกนนําชาวบ้านและทีมผลิตสื อ โดยได้คดั เลือก ชาวชุ ม ชน ๑๐ ครั ว เรื อน เหลื อ ๓ ชุ ม ชนที เข้มแข็ง มีการรวมกลุ่มและเข้าใจแนวคิด มีทุน ทางทรัพยากรทีพร้อมกว่าชุมชนอืน คือ ๑) บ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง เรื องผลิ ตภัณฑ์ชุมชน อาทิ แชมพู สบู่ เหลวสมุนไพร แปรรู ปข้าว ทอดกล้วย ฉ า บ แ ล ะ ศู น ย์ บ ริ ก า ร แ พ ท ย์ วิ ถี ธรรมชาติ รวมทังพัฒ นาและแปรรู ป ผลิตภัณฑ์สมุนไพรพืนบ้าน ๒) บ้านป่ าเกียะนอก ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง เรื องการรวมกลุ่ ม พ่ อ บ้ า นเลี ยงวั ว แม่บา้ นทอผ้าและปลูกกล้วย ๓) บ้านนาฟาน ต.สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง เรื องแหล่งศึ ก ษาการอนุ รักษ์ป่าต้นนํา ฝึ กทักษะชีวิตในป่ า เตรี ยมพร้อมรับมือ ภัยพิบตั ิ 19


๒) ประชาชนผู ้รั บ รู ้ สื อประชาสั ม พัน ธ์ ๑) กลุ่มเป้ าหมายคนในอําเภอเมื องเชี ยงใหม่ อําเภอสะเมิง จ.ชลบุรีและกรุ งเทพมหานคร ๑,๐๐๐ คน /จํา นวนผูใ้ ช้บ ริ ก ารข้อมู ล เว็บ ไซต์ ๕๐๐ ครั งและมี จ าํ นวนผูน้ ํา รั บ รู ้ สื อประชาสั ม พัน ธ์ มากกว่ า ๑,๐๐๐ องค์ความรู ้ไปใช้ ๔๐๐ คน คน/จํานวนผูใ้ ช้บริ การข้อมูลเว็บไซต์และ การนําองค์ความรู ้ ไปใช้ย งั ไม่ สามารถวัด สถิ ติไ ด้เนื องจากระบบฐานข้อมูลยัง ไม่ มี ความพร้ อ ม จึ ง ใช้ สื อสั ง คมออนไลน์ (เฟสบุค๊ ) เพือสื อสารกับคนภายนอกแทน ๓) องค์ความรู ้เชิงคุณธรรม ๑ ชิน เกิ ด องค์ ค วามรู ้ เ ชิ ง คุ ณ ธรรมออนไลน์ บ น เว็บไซต์ซึงสามารถดาวน์โหลดข้อมูลมาใช้ได้ ผลทีได้ รับ พิจาราณาจากตัวชีวัดเชิงคุณภาพ ตัวชีวดั (เชิงคุณภาพ) ทีตังไว้ ๑) เกิ ดสื อคุ ณธรรมออนไลน์ โดยวัด จากความพึงพอใจของชาวชุมชนที เข้าไปมีส่วนร่ วมในการผลิตสื อไม่ น้อยกว่า ๘๐% ด้านองค์ความรู ้ดา้ น สื อ ด้ า นคุ ณ ภาพชี วิ ต และด้ า น สังคมโดยรวมเป็ นหลัก

ตัวชีวัด (เชิงคุณภาพ) ทีเกิดขึนจริง ๑) เกิ ด การขับ เคลื อนแหล่ ง เรี ยนรู ้ เ ศรษฐกิ จ พอเพียงขันก้าวหน้าระดับเครื อข่ายพหุชุมชนขึน จริ ง สมาชิ กมีความพึงพอใจมากกว่า ๘๐ % ใน ทุกเขตงาน โดยมีรายละเอียด ดังนี ด้านสื อ ทัง ๓ ชุ มชนมีความพึงพอใจในการมีส่วนร่ วม ผลิตสื อของตนเองมากกว่า ๘๐ % จากการพูดคุย หลังจากจบกิ จกรรมอบรมทัง ๒ ครั ง และการ พูดคุยเพือสรุ ปปิ ดประจําปี โดยชาวบ้านมีทกั ษะ การผลิตสื อ ถ่ายทอดความรู ้ ภูมิปัญญา รวมทัง สามารถนําเสนอแนวคิดขบวนบุญได้ ด้านคุณภาพชีวิตและสังคม - เกิ ดการจ้างงานในชุ มชนจากการแปร รู ป ผลผลิ ต ทางการเกษตรใหม่ ๆ เช่ น ข้า วตอกงานําอ้อ ยอัด แผ่น ข้า วกล้อ ง งอกผงชงพร้ อ มดื ม แชมพู ข ้า วสองสี และแชมพูตะไคร้ กางเกงและกระเป๋ า ผ้า ทอมื อ มัด สมุ น ไพร มะรุ ม แคปซู ล ส มุ น ไ พ ร แ ช่ มื อ เ ท้ า ช า ข้ า ว จ า ก 20


๒) ประชาชนทัวไปมีความพึงพอใจใน ก า ร ใ ช้ บ ริ ก า ร ข้ อ มู ล เ ว็ บ ไ ซ ต์ มากกว่ า ๘๐ % ด้ า นการสื บค้น ข้อมูลองค์ความรู ้เศรษฐกิจพอเพียง

21

ข้า วเปลื อ กดอย สามารถนําส่ ง ขายให้ เกิ ด รายได้ ไ ม่ ต ้ อ งออกรั บ จ้ า งนอก ชุมชน (เกิดเงินทุนหมุนเวียนในชุมชน มากขึน) - เกิดความสัมพันธ์ทีดีระหว่างครอบครัว และชุมชนมากขึน เนื องจากมีงานอาสา กับการงานประจําร่ วมกันบ่อยครัง อาทิ การสร้างฝาย การปลูกต้นไม้ การดับไฟ ป่ า การโม่ ก ระเที ย ม การเปิ ดบริ ก าร นวดแผนไทย งานบุญตามประเพณี การ ฟั งเทศน์ ฟั งธรรมในวั น พระใหญ่ ร่ วมกัน เป็ นต้น - เกิ ดการสังเคราะห์ปัญหาร่ วมกัน คือ มี ความลุ่มลึกด้านการจัดการความรู ้และ การบริ ห ารการจัด การข้อ มู ล ข่ า วสาร มากขึน ทําให้เกิดการกระจายข่าวสารที มี ป ระโยชน์ ไ ด้ดี ขึ น เกิ ด การบริ หาร โครงการของแต่ ละคนได้ดียิงขึ นโดย แต่ละโครงการสอดคล้องกับอาชี พ วีถี ชีวิต ก่อให้เกิดรายได้ และมีเวลาและมี ใจในการช่ วยงานส่ วนรวมของชุ มชน โดยเฉพาะทรัพยากรธรรมชาติ ประชาชนทัวไปมีความพึงพอใจในการรับรู ้สือ ประชาสัมพันธ์แนวคิดขบวนบุญผ่านสื อต่างๆ ที ไม่ ใ ช่ เ ว็ บ ไซต์ แต่ เ ป็ นสื อสั ง คมออนไลน์ (เฟสบุ๊ควัดพระบรมธาตุอยผาส้ม/ขบวนบุญ วัด ผาส้ม ) ซึ งมี ประสิ ทธิ ภ าพที ดี ก ว่า รวดเร็ วกว่า เว็บ ไซต์ซึ งกํา ลัง อยู่ร ะหว่ า งการพัฒ นาระบบ และสื อต่างๆ อีกหลายช่องทาง ดังนี ๑) ผ่านสื อกิ จกรรมในคาราวานบุญต่างๆ ทัง ๕ ครัง (Road Show) ๒) ผ่านสื อบุคคล (Person as Media) คือ ชาวบ้าน อาสาสมัคร คณะศรัทธา ศิษย์


วัด ที มี ค วามเข้า ใจแนวคิ ด ขบวนบุ ญ (เชื อว่าบุญมีฤทธิ จริ ง) มีประสบการณ์ งานอาสาสมัครร่ วมกับวัด ๓) ผ่านสื อสิ นค้า (Product as Media) ทีพา คนเมืองซื อผลิตภัณฑ์บุญเพือส่ งรายได้ เข้าไปรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ๔) ผ่ า น สื อ ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ ( Public Relation) เช่น บอร์ดนิทรรศการในงาน คาราวานบุญ ธงญีปุ่ น ป้ ายไวนิ ล แผ่น พับ วีดีทศั น์ ฯลฯ ๓) เกิ ด การเผยแพร่ ถ่ า ยทอดแนวคิ ด เกิดการขยายแนวคิดมากขึนวัดจากความร่ วมมือ เศรษฐกิจพอเพียงขันก้าวหน้า (บุญ/ ของชาวชุ มชนในเครื อข่าย องค์กรภาครั ฐทีเข้า ทาน/เครื อข่ า ย) ทังในระดับ พหุ มาช่ ว ย อาทิ พอช. กปร. ก.สาธารณสุ ข ก. ชุมชนและระดับปั จเจกชนทัวไป วั ฒ นธรรม ก.ทรั พ ยากรฯ กรมป่ าไม้ ม. เชี ย งใหม่ ม.แม่ โ จ้ ม.พายัพ โรงเรี ย นรุ่ ง อรุ ณ สถาบันอาศรมศิลป์ และองค์กรเอกชน เกิดกลุ่ม จิตอาสาทีนําแนวคิดขบวนบุญไปรั นโครงการ ได้เอง เช่น กลุ่มจิตอาสา Very Good กรุ งเทพ กลุ่ มจิ ตอาสานัก ศึ ก ษาเอแบค และวัดยังได้จิ ต อาสาประวัด หรื อ ศิ ษ ย์ว ัด ที มี ใ จอาสาทํา งาน อาสาอยูป่ ระจําวัดเพิมขึน

22


ผลกระทบจากการทําโครงการ (ความสํ าเร็จ/อุปสรรค) ความสํ าเร็จ ๑) เกิดการมีส่วนร่ วมจริงในการผลิตสื อของตนเอง เมื อชาวบ้านและที มงานผลิ ตสื อซึ งส่ วนใหญ่เป็ นอาสาสมัครประจําวัดตระหนักถึ ง ความสําคัญของการมีสือเป็ นของตนเองแล้ว การมีส่วนร่ วมจึงเกิดขึนได้ไม่ยาก ทังจาก ประสบการณ์การใช้ชีวิตตามรอยทางเศรษฐกิจพอเพียงทีผ่านความยากลําบากมาก่อน จนประสบความสําเร็ จ และเคยถ่ายทอดประสบการณ์ จากการเป็ นวิทยากรถ่ายทอด ความรู ้ จนมี สื อมวลชนต่ า งๆ มาถ่ า ยทํา วี ดี โ อ มาสั ม ภาษณ์ เ ขี ย นหนัง สื อ เขี ย นลง หนังสื อพิมพ์ นิ ตยสารต่างๆ ทําให้แกนนําชาวบ้านมีทกั ษะในการพูด การนําเสนอจาก สิ งทีทําอยูจ่ ริ งในชีวิตประจําวัน ๒) หลังจบโครงการชาวบ้ านมีแผนงานของตนเองทีสามารถทําได้ ทนั ที ไม่ ต้องรองบประมาณ เป็ นความสําเร็ จทีไม่เหมือนทีใด คือ การทีทางวัดสามารถสร้างรายได้จนสามารถเลียง ชี พชาวบ้าน คณะทํางาน และยังมี งบประมาณสําหรั บการดู แลป่ าต้นนําจากการขาย ผลิตภัณฑ์ของตนเอง ทําให้แผนงานแต่ละคนในปี นี ชัดเจนมากว่าจะทําอะไรหลังจบ โครงการซึ งเนี ยนเป็ นเนื อเดียวกับการดําเนิ นวิถีชีวิตทุกๆ วันอยู่แล้ว เพราะการทํางาน ของวัด มี วิ สั ย ทัศ น์ ที ต้อ งแก้ปั ญ หาแบบองค์ร วมไม่ แ ก้ปั ญ หาเฉพาะหนี สิ น ปั ญ หา สิ งแวดล้อม แต่แก้ปัญหาการศึกษา ปั ญหาครอบครัว ปั ญหาการสร้างรายได้จากอาชีพ (เศรษฐกิจ) แก้ปัญหาทางใจ ฉะนันเราจึงไม่จาํ เป็ นต้องทํากิจกรรมจากงบประมาณทีมี ๓) เกิดกลุ่มจิตอาสาทีสามารถจัดคาราวานบุญเพือเผยแพร่ แนวคิดขบวนบุญและส่ งรายได้ จาก การขายผลิตภัณฑ์ เพือรักษาทรัพยากรธรรมชาติในเครือข่ ายเศรษฐกิจพอเพียงของวัด เป็ นกลุ่มอาสาทีเกิดขึนจากการตกผลึกทางความคิดทีวัดได้เผยแพร่ แล้วรู ้สึกว่าต้องทํา อะไรซั ก อย่ า งที ทํา ไปพร้ อ มๆ กั บ การประกอบอาชี พ จึ ง เกิ ด กลุ่ ม นั ก ศึ ก ษา มหาวิทยาลัยอัญสัมชัญ ที ลุก ขึนมาทําโครงงาน “ขบวนบุญ” นําข้าวและผลิ ตภัณ ฑ์ ชุมชนไปขายและส่ งรุ่ นน้องมาทํางานจิตอาสาสร้างฝายร่ วมกับวัด และอีกกลุ่มเป็ นการ รวมตัวกันของพนักงานบริ ษทั เอกชนทีตังบูธขายผลิตภัณฑ์ชุมชนทีสํานักงาน แล้วจัด ค่ายอาสาสมัครมาสร้างฝาย ปลูกป่ า ปลูกแฝก สร้างแท็งค์นาดั ํ บไฟ จนร่ วมงานบุญวัด อีกมากมาย อาทิ การไถ่ววั กระบือ การบูรณะสถูป การบริ จาคอาหารแห้งเพือหน่วยดับ ไฟป่ า การสร้างอาคารเรี ยนโรงเรี ยนทางเลือกบนดอยฯลฯ กลายเป็ นญาติมิตรยิงกว่าจะ เรี ยกแค่อาสาสมัคร 23


๔) เกิดกระบวนการการถอดองค์ ความรู้ อย่ างมีส่วนร่ วม และเกิดการพัฒนาการทํางานกลุ่ม อย่ างมีประสิ ทธิภาพมากขึน การถอดองค์ความรู ้ซึงมีการวางแผนในการติดตามประเมินผลทังก่อน ระหว่าง หลังทํา กิจกรรมทําให้เกิดการพูดคุยถึงปั ญหาพร้อมหาทางแก้ไข ทําให้เกิดการทํางานเป็ นทีม อย่างเป็ นระบบมากขึน นอกจากนี ยังริ เริ มการเก็บรวบรวมเพือนําไปสู่ การประเมินผล ได้ม ากขึ น ซึ งสามารถประเมิ น การทํา งาน การจัด กิ จกรรม และการวางแผนต่ อใน อนาคตได้ดีขึน ๕) เกิดการแลกเปลียนระหว่ างภาคีในงานสมั ชชาคุ ณธรรม ซึ งจะนํ าไปสู่ ความร่ วมมือใน อนาคตอันใกล้ การจัด งานสมัช ชาคุ ณ ธรรมทํา ให้มี โ อกาสพบปะแลกเปลี ยนเครื อ ข่ า ยภาคี อื นที มี ศักยภาพ ความสามารถ ความถนัดแตกต่างกันถ้าสามารถสร้างกิจกรรมร่ วมกันได้ ไม่ ทํางานเฉพาะพืนทีของตน ก็จะเป็ นการเสริ มความแข็งแกร่ งของคณะทํางานในแต่ละที ได้ดีและคุยกันง่ายกว่าขอความร่ วมมือจากภาคีภายนอกศูนย์คุณธรรม อุปสรรค ๑) ขาดการติดตาม ประเมินผลอย่ างเป็ นระบบ ถึงแม้วา่ ในปี นีจะมีการวางแผนอย่างดีเพือเก็บรวบรวมข้อมูลเพือนําไปประเมินผลเพือ การพัฒนาปรับปรุ งปั ญหาซําซากทีเกิดขึนก่อน ระหว่าง หลังทํากิจกรรม แต่พอทําจริ ง ที ม งานกลับ ไม่ มี เ วลาทํา ได้อ ย่า งเต็ม ที เพราะขาดทัก ษะการได้ม าซึ งข้อ มู ล การ สัมภาษณ์ การขอความร่ วมมือ การปรับปรุ งแบบสอบถามให้ง่ายและใช้เวลาน้อยแต่มี ประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด จึงควรมีการอบรมจากศูนย์คุณธรรมหรื อองค์กรภายนอกบ่มเพาะ ทักษะให้ทีมงานทีเป็ นชาวบ้านให้เข้าใจได้ ๒) ขาดผู้เชี ยวชาญในการผลิตสื อ ทีมีใจอยากจะช่ วยและเห็นความสํ าคัญของแนวคิด “ขบวนบุญ” การผลิตสื อ ตามงบประมาณทีจํากัดในการว่าจ้างคนเพือพัฒนาระบบซึ งหาได้ยาก และยิงจะเข้าใจ แนวคิ ด ขบวนบุ ญ ด้ว ยแล้ว ทํา ให้ก ารสรรหาคนมาช่ ว ยพัฒ นาระบบเว็บ ไซต์ล่ า ช้า ประกอบกับการรวบรวมข้อมูลดิบทังหมดขึนเว็บไซต์ตอ้ งใช้เวลานาน ทําให้การผลิต สื อตามแผนล่าช้าและเลยกําหนด แต่ในแง่ดีคือ ทีมงานผลิตสื อของวัดเกิ ดการเรี ยนรู ้ 24


ด้วยตนเองอย่างมากในการริ เริ มเขียนแผนผังงาน การคิดกระบวนการผลิตสื อ การหา คนช่วย และได้มีความรู ้สึกว่าสื อนีเป็ นของตนเองซึงจะต้องดูแลต่อไป ๓) การบ่ มเพาะชาวบ้ านทีมีใจกล้ าร่ วมเป็ นกําลังการผลิตสิ นค้ าตามแนวคิด “ขบวนบุญ” เป็ นสิ งทีต้ องใช้ เวลา เมือทําการเปิ ดประชาสัมพันธ์และการทําการสํารวจตลาดกับคนเมืองเชียงใหม่ใน ปี นี ว่ามีความสนใจผลิตภัณฑ์ชุมชนมากน้อยเพียงใด และมีความเข้าใจในจุดประสงค์ ของโครงการเท่าใดเพราะว่าเราไม่เน้นยอดขายแต่เน้นยอดความเข้าใจ เน้นสร้างการมี ส่ วนร่ วม การปรับเปลียนพฤติกรรมระดับปั จเจกของคนในเมืองทีสามารถมีส่วนร่ วม ช่วยคนต้นนําได้ ทําให้ชาวบ้านทีร่ วมขบวนบุญมีกาํ ลังใจในการผลิตสิ นค้าทีมีคุณภาพ และเป็ นส่ วนหนึงในการทําบุญกับป่ าส่ วนรวม ปรากฏว่ามีความต้องการมาก แต่อตั ราการผลิตน้อย ทําให้ผทู ้ ีสนใจอยากซือ อยาก นําไปขายไม่สามารถทําได้อย่างเต็มที ซึ งเป็ นสิ งทีน่ าคิดกิจกรรมหรื อโครงการเข้ามา แก้ปัญหาในด้านนี โดยเฉพาะการทําอย่างไรให้ชาวบ้านในเครื อข่ายสนใจเข้าร่ วม โครงการมากขึ น มี ค วามเห็ น ไปในทิ ศ ทางเดี ย วกัน มี ใ จอาสา มี ใ จที อยากทํา เพื อ ส่ ว นรวมเหมื อ นกัน โดยที ไม่ รู้ ว่ า ผลตอบแทนข้า งหน้า จะเป้ นอย่า งไร มาเมื อไร แน่นอนเป็ นกระบวนการทีอาศัยเวลามากในการสร้างคนประเภทนี

แผนการดําเนินงานต่ อเนืองในอนาคต ปี นีถือเป็ นปี ที ๒ ในการดําเนินโครงการตามแนวคิด “ขบวนบุญ” ซึงเป็ นการนําปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงขันก้าวหน้า (ขัน “ทําบุญ”) เป็ นตัวดําเนินโครงการต่อเนืองกันโดยปี นีเน้นการ เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์แนวคิด และเป็ นการพาชาวชุมชนออกมารับรู ้ถึงกระแสตอบรับสิ งที ชาวบ้านทํามาตลอดคือ การผลิตและแปรรู ปสิ นค้าทางการเกษตรทีเหลือกินเหลือใช้ภายใน ครัวเรื อน ภายในชุมชนเครื อข่ายแล้วจึงนําออกมาแจกจ่าย ทําบุญให้กบั เพือนในเมือง แล้วยังสร้าง รายได้กบั ตนเองและมีทุนในการดูแลสิ งแวดล้อมในชุมชนของตนเองและเป็ นของส่วนรวมของ ประเทศชาติ ซึงเป็ นทีน่าพอใจมากทีสามารถสร้างกระแสให้คนเมืองตืนตัวได้ เกิดการปรับเปลียน พฤติกรรมและสร้างการมีส่วนร่ วมให้เกิดขึนได้จริ งจากการออกงานคาราวานบุญ คือ ทีผูซ้ ือสิ นค้า ของชาวบ้านเข้าใจแนวคิดขบวนบุญ มีการลงชือเป็ นอาสาสมัครร่ วมกับวัดและผลตอบรับทางสื อ สังคมออนไลน์ทีแสดงให้เห็นว่าสนใจติดต่อ ติดตามความเคลือนไหวของกลุ่มขบวนบุญของวัดใน ระยะยาว สําหรับแผนการดําเนินต่อเนืองในปี ๒๕๕๗ ทางวัดจึงเสนอการนําโมเดลขบวนบุญทีมี ศักยภาพในการเติบโตมากขึนหลังจากปี ทีผ่านมาได้พิสูจน์แล้วว่าได้รับตอบรับระดับดีมากจากคน 25


เมือง แต่ในปี นีจึงจะเน้นการทํางานชุมชนในเครื อข่ายมากขึน เพือแก้ปัญหาการผลิตสิ นค้าทีไม่พอ กับตลาด ในขณะเดียวกันคือการเพิมคนทีมีใจอยากผลิต อยากร่ วมบุญ อยากทํางานเพือส่ วนรวม โดยทีตัวเองก็ยงั ชีพอยูไ่ ด้ มีรายได้ให้ครอบครัว โดยวิธีการพาคาราวานบุญลงพืนทีเครื อข่ายใน ชนบท (คาราวานบุญบุกชุ มชน) มากขึนให้ได้เห็นภาพ เห็นหลักฐานว่า ถ้าสามารถเดินตามแนวทาง นีทีประสบความสําเร็ จไปแล้วก็มีโอกาสประสบสําเร็ จเช่นเดียวกัน ในขณะเดียวกันทีมงานของวัดก็เล็งเห็นถึงศักยภาพนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาบนวัด (ผ่าน การรับรองจากสพท. เชียงใหม่ เขต ๒ สามารถได้วฒ ุ ิการศึกษาเหมือนโรงเรี ยนทัวไป) ซึงเรี ยน อยู่ อาศัยกินนอนบนวัดเป็ นนักเรี ยนประจํา มีความเข้าใจแนวคิดของวัดจากการซึมซับผ่านกิจวัตร ประจําวันบนวัด ซึงสามารถทํางานร่ วมกับชุมชนได้และเป็ นเนืองานเดียวกับโครงการทีนักเรี ยน สนใจศึกษาทดลอง อาทิ โครงการแปรรู ปข้าวดอยกะเหรี ยง โครงการทําปุ๋ ยจากมูลสัตว์ โครงการ เพาะกล้าไม้ เพาะกล้าแฝก โครงการพัฒนานํายาอเนกประสงค์ โครงการย้อมผ้าย้อมครามด้วยผ้า กะเหรี ยงทอมือ โครงการพัฒนาสิ นค้าสุ ขภาพ สมุนไพรพืนบ้าน เป็ นต้น โดยจะทํากิจกรรมร่ วมกัน ระหว่างชาวบ้านและนักเรี ยนวัด ด้วยการแลกเปลียนเรี ยนรู ้ทกั ษะแต่ทาํ จริ งให้เกิดรายได้ เพือส่ ง สิ นค้าต่อให้คนในเมืองได้กินได้ใช้ (สร้ างคนมีใจ สร้ างสิ นค้ าดีเพือส่ วนรวม) เรี ยกได้วา่ เป็ นการ สร้างคนทีมีใจในการร่ วมขบวนและสร้างกําลังการผลิตสิ นค้าเพิมขึนไปในตัวซึงเป็ นการแก้ปัญหา ต่อเนืองจากปี ทีแล้ว

ลงชือ นางสาวธชาพร เลาวพงษ์ ผู้รายงาน วันที ๕ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ลงชือ พระครู ธรรมคุต ผู้รับผิดชอบโครงการ วันที ๖ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖

26


รายงานสรุ ปผลการดําเนินงาน งวดปิ ด (สรุ ปภาพรวม) โครงการพัฒนาธุรกิจเพือสั งคมคนบุญด้ วยช่ องทางสังคมออนไลน์ หน่ วยงาน/องค์ กร ศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผู้ประสานงาน พระครู ธรรมคุต (สรยุทธ ชยป ฺ โญ) เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผูอ้ าํ นวยการศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ทีอยู่ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ตําบลแม่สาบ/ยังเมิน อําเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ โทร ๐๘๙ ๙๒๖ ๓๘๗๗ E-mail: doiphasom@gmail.com วัตถุประสงค์ ของโครงการ ๑) สร้างแหล่งเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียงทังขันพืนฐานและก้าวหน้าบนโลกไซเบอร์ คือ เว็บไซต์ (Website) และสื อสังคมออนไลน์ (Social Media) เพือการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ องค์ความรู ้ กิจกรรม บทเรี ยน และบุคคลต้นแบบ เพือการเสริ มสร้าง เครื อข่ายคนบุญให้ขยายในวงกว้าง ๒) เกิดการขับเคลือนแนวคิดและภาคปฏิบตั ิของขบวนบุญ (Social Enterprise) ทีนําบุญ และคุณธรรมความกตัญ ูต่อทรัพยากรธรรมชาติเป็ นตัวตังในการดําเนิ นธุ รกิจเพือ สังคม ๓) เสริ มหนุ นเครื อข่ายเดิ มให้เข้มแข็งและขยายเครื อข่ายใหม่ให้สามารถพึงตนเองได้ อย่างยังยืน ความคืบหน้ าของกิจกรรม กิจกรรม ๒. อบรมเชิงปฏิบตั ิการกระบวนการผลิตสื อพืนบ้าน ครังที ๒ “ขันทดลองนําสื อทีผลิตได้ไปใช้จริ ง” วัตถุประสงค์ ของกิจกรรมที ๒ ๑) เพือสร้างกระบวนการการมีส่วนร่ วมของชาวบ้านในการผลิตสื อของตนเอง คือ เว็บไซต์ เพือการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ องค์ความรู ้ กิจกรรม บทเรี ยนและบุคคลต้นแบบด้าน เศรษฐกิจพอเพียง เพือเสริ มสร้างเครื อข่ายคนบุญให้ขยายในวงกว้าง ๒) เพือระดมความคิดเห็นแล้วนําไปสู่ แผนการปรับปรุ งและพัฒนาสื อทีทีมงานได้ผลิตเสร็ จ แล้วก่อนจะทําการอัพโหลดขึนเว็บไซต์เพือการเผยแพร่ ต่อไป

27


ผลลัพธ์ ทเกิ ี ดขึน แกนนําชาวบ้านและทีมประสานงานกลางเกิดกระบวนการเรี ยนรู ้ร่วมกันเกียวกับการผลิตสื อ พื นบ้า นซึ งเป็ นเรื องใหม่ สํ า หรั บ ทังสองฝ่ าย ซึ งต้อ งอาศัย ความต่ อ เนื องและสมําเสมอในการ ติดต่อสื อสารและลงพืนทีของทีมงานผลิตสื อ งบประมาณจาก ศูนย์ คุณธรรม กําหนดไว้ ๙๑,๕๐๐ บาท ใช้จ่ายจริ ง ๙๑,๕๐๐ บาท งบทีเหลือ บาท ผลทีคาดว่ าจะได้ รับ ตัวชีวัดทีตังไว้ ตัวชีวัดทีเกิดจริง ๑. แกนนําทัง ๑๐ ครัวเรื อนนําเสนอ ๑. ครัวเรื อนแกนนําทัง ๑๐ ครอบครัวและทีม จุดบกพร่ องของสื อทีผลิตได้ต่อทีม ประสานงานกลางสามารถกลันกรองในภาพรวม และรายละเอียดจุดทีควรแก้ไข พัฒนาและปรับปรุ ง ประสานงานกลางเพือไปสู่การ ทังสื อวีดีโอและสื อเอกสารองค์ความรู้ ทําให้ง่ายต่อ พัฒนาและปรับปรุ งต่อไป การดําเนินการแก้ไข ๒. ผูเ้ ยียมชมเว็บไซต์มี ความพึงพอใจ ๒. ยังไม่มีสถิติ เพราะการพัฒนาระบบเว็บไซต์ยงั ไม่สมบูรณ์ แต่มีการประเมินจากสื อสังคมออนไลน์ ไม่นอ้ ยกว่า ๘๐ % (เฟสบุค๊ ) ทีมีคนเข้ามาแนะนําติชมให้ขอ้ เสนอแนะ อย่างต่อเนืองตลอด ๗ เดือน (กุมภาพันธ์-สิ งหาคม ๒๕๕๖) ผลกระทบจากการทําโครงการ (ความสํ าเร็จ / อุปสรรค) - ความสํ าเร็จ ๑. เกิดแผนงานและปฏิบตั ิการปรับปรุ งสื อทันทีหลังจบการอบรมระหว่างแกนนําครัวเรื อน ๑๐ ครัวเรื อน และทีมประสานงานกลางเพือการผลิตสื อจํานวน ๑๐ คน และเกิดความรู ้ความเข้าใจการผลิต สื อทังกระบวนการ รวมทังผลกระทบทังด้านดีและไม่ดีเมือสื อนันออกสู่สายตาคนทัวโลก ๒. เกิดแผนงานทําทันทีหลังจบโครงการปี นี โดยไม่รองบประมาณ แต่พฒั นาจากสิ งทีตนมี อาทิ โครงการแปรรู ปอาหารรับมือภัยพิบตั ิ โครงการสร้างฝายหินทิงเพิม ๑๐ ฝาย โครงการทีมหมอบ้านบ้าน รักษาโรคเคลือนที โครงการระดมเยาวชนจากรุ่ นพีสู่รุ่นน้องปลุกจิตสํานึกตอบแทนคุณแผ่นดิน โครงการทําปลูกแฝกแสนต้น ฯลฯ ซึ งเป็ นโครงการของแต่ละบุคคลตังใจจะดําเนินการต่อหลังจบ โครงการ

28


อุปสรรค - ทีมงานผลิตสื อประสบการณ์นอ้ ยและขาดวินยั ทําให้การผลิตสื อไม่สมบูรณ์ บางวีดีโอ เสร็ จไม่ทนั การอบรมเพือระดมความเห็นไปปรับปรุ ง เนืองจากทีมงานผลิตสื อส่วนใหญ่ เป็ นอาสาสมัคร ซึงมีความไม่แน่นอนในแง่ของการทํางาน จึงเกิดภาวะขาดคนทํางานใน บางช่วงจนเกิดความไม่ต่อเนืองในการลงพืนทีเพือรวบรวมเก็บข้อมูลดิบ ทําให้ กระบวนการมีส่วนร่ วมผลิตสื อเกิดน้อย - กระบวนการทํางานเป็ นกลุ่มเกิดขึนแต่ไม่เต็มที สื บเนืองจากบางครังขาดการพูดคุยเป็ น ทางการระหว่างและหลังทํางานเพือสรุ ปบทเรี ยนร่ วมกัน เพราะกําลังคนไม่พอเพียง และ ขาดประสบการณ์ในการชวนคุยให้เกิดการพัฒนา

แผนงาน/และความต่ อเนือง ๑) ทีมประสานงานกลางผลิตสื อนําข้อสรุ ปหลังจากระดมความคิดเห็นต่อสื อทีผลิตเสร็ จแล้วไป ปรับปรุ งพัฒนาก่อนนําไปเผยแพร่ ต่อไป ๒) ทีมงานกลางพัฒนาเว็บไซต์ให้สาํ เร็ จ ๓) ทีมงานประสานงานกลางเพิมระบบประเมินบนเว็บไซต์เพือติดตามประเมินผลสําหรับผูเ้ ยียม ชมเว็บไซต์ ผูท้ ี ดาวน์โหลดองค์ความรู ้ ไปใช้ ผูร้ ั บชมวีดีโ อสันว่ามี การตอบรั บอย่างไรเพือ นําไปสู่การปรับปรุ งแหล่งเรี ยนรู ้คุณธรรมออนไลน์ให้ดียงขึ ิ น

29


รายงานสรุ ปผลการดําเนินงาน งวดปิ ด โครงการพัฒนาธุรกิจเพือสั งคมคนบุญด้วยช่ องทางสั งคมออนไลน์ กิจกรรม ๓. คาราวานบุญ (๑ วัน/เดือน ตลอด ๕ เดือน รวม ๕ ครัง) หน่ วยงาน/องค์ กร ศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผู้ประสานงาน พระครู ธรรมคุต (สรยุทธ ชยป ฺ โญ) เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผูอ้ าํ นวยการศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม โทร. ๐๘๙ ๙๒๖ ๓๘๗๗ E-mail: doiphasom@gmail.com วัตถุประสงค์ ของกิจกรรมที ๓ ๑) เพือการประชาสัมพันธ์แนวคิดและกิจกรรมจากสมาชิกในเครื อข่ายสู่ชาวเมืองเชียงใหม่ ขยาย ฐานคนบุญ คนอุดมการณ์เดียวกันให้กว้างขึน ๒) เพื อเกิ ด การแลกเปลี ยนเรี ย นรู ้ บ ทเรี ย น ปรั บ ปรุ ง แก้ไ ขพัฒ นา และเติ ม กํา ลัง ใจในการ ขับเคลือนเครื อข่ายเพือการพึงพาตนเอง ผลลัพธ์ ทเกิ ี ดขึน ๑) สามารถจัดคาราวานบุญ ๓ ครังสุ ดท้าย (จาก ๕ ครัง) ๒) แนวคิดของโครงการใหญ่ คือ การเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์โมเดล “ขบวนบุญ” เป็ นทีรับรู ้ของ ชาวเมืองเชียงใหม่มากขึน สะท้อนจากการลงชือขอเข้าร่ วมเป็ นอาสาสมัครหรื อสนใจติดตามกิจกรรม และสังซือผลิตภัณฑ์เพิมเติมในอนาคต งบประมาณจาก ศูนย์ คุณธรรม กําหนดไว้ ๖๔,๙๐๐ บาท ใช้จ่ายจริ ง ๖๘,๐๗๕ บาท งบทีเหลือ - ๓,๑๗๕ บาท ผลทีคาดว่ าจะได้ รับ ตัวชีวัดทีตังไว้ ตัวชีวัดทีเกิดจริง กลุ่มเป้ าหมาย คนในเมือง ๑. สามารถจัดคาราวานบุญทัง ๓ ครัง โดยมีผรู ้ ับรู ้สือประชาสัมพันธ์รวม รับรู ้รับรู้สือประชาสัมพันธ์ ๑๕๐๐ คน ผ่านการลงชือในสมุดเยียมและแจ้งความประสงค์จะร่ วม กิจกรรมอาสาหรื อการกรอกแบบสอบถาม สถิติยอดซื อสิ นค้าขบวน ๑,๐๐๐ คน (จาก ๕ ครัง) บุญเพิมขึน รวมทังมีคนกดไลค์หรื อเยียมชมเฟสบุค๊ แฟนเพจ (แหล่ง ติดตามความเคลือนไหวชัวคราวของคาราวานบุญ)มากกว่า ๓๐๐ คน

30


๒. เกิดคาราวานบุญอีกหลายแห่งจากคณะศรัทธาทีเชิญ ไปออกบูธทังในและนอกจังหวัดเชียงใหม่ รวมทัง เกิดกลุ่มผูน้ าํ โมเดลขบวนบุญไปใช้ในกรุ งเทพฯ เช่น ๒.๑ ตลาดนัดสี เขียวกาดคําเทียง ข่วงล้านนาเมือง เชียงใหม่ ๒.๒ ร.ร.ยุพราชวิทยาลัย ๒.๓ งานแสดงผลงานนักเรี ยนทัวประเทศ ณ อิมแพค เมืองทองธานี ๒.๔ งานมหกรรมคืนชีวิตให้แผ่นดินภาคเหนือ จ. พิษณุโลก ๒.๕ งานเสวนาสิ งแวดล้อมศึกษาระดับชาติ ครังที ๔ โรงแรมเซ็นจูรี กทม. ผลทีได้ เกิดกลุ่มขบวนบุญจากนักเรี ยนม.๓ จัดตลาด นัดเกษตรอินทรี ยร์ .ร. รุ่ งอรุ ณ กทม. กลุ่มขบวนบุญ นักศึกษามหาวิทยาลัยอัญสัมชัญ บางนา และกลุ่ม ขบวนบุญ Very Good จัดจําหน่ายทุกศุกร์สินเดือน ณ บริ ษทั ทรู คอร์เปอร์เรชัน กทม. ออกบูธร่ วมกับบ.ทีวี บูรพา งานโรงเรี ยนสุ รศักดิมนตรี เรื อนธรรม (DMC) อาคารอมริ นทร์พลาซ่า ฯลฯ ซึงคาดว่ามีคนเมืองซึงเป็ นกลุ่มเป้ าหมายรับรู ้สือ ประชาสัมพันธ์กว่า ๕,๐๐๐ คน ผลกระทบจากการทําโครงการ (ความสํ าเร็จ / อุปสรรค) - ความสํ าเร็จ ๑. สามารถเผยแพร่ ให้กลุ่มเป้ าหมาย คือ คนเมืองเชียงใหม่ได้รับรู ้สือประชาสัมพันธ์ได้มากกว่า เป้ าหมาย ๑,๐๐๐ คน ๒. กลุ่มเป้ าหมายจํานวนหนึงสนใจร่ วมเป็ นอาสาสมัครกับเราทังกิจกรรมสร้างฝาย ปลูกป่ า ดับไฟ และช่วยออกงานขายผลิตภัณฑ์ เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์อีกเป็ นจํานวนมากทังในและนอกจังหวัด เชียงใหม่ ซึงสนับสนุนทังกําลังคน กําลังแรงงานทําอย่างต่อเนืองในการร่ วมกิจกรรมดังกล่าว ๓. เกิดกลุ่มอาสาสมัครนําแนวคิดผ่านการนําสิ นค้าบุญไปจําหน่ายอย่างต่อเนืองขึน เช่น กลุ่มจิต อาสา Very Good กทม. (จิตอาสาพนักงานบริ ษทั เอกชน) กลุ่มขบวนบุญ ม.อัญสัมชัญ กลุ่มนักเรี ยน และผูป้ กครองโรงเรี ยนรุ่ งอรุ ณ 31


- อุปสรรค – ๑. ขาดทีมทีมีประสบการณ์การติดตามผลและการประเมินอย่างเป็ นระบบ ทําให้อาจจะสถิติเชิง ปริ มาณทีคาดเคลือนจากความเป็ นจริ ง ๒. ขาดการสรุ ปบทเรี ยน (After Action Review) หลังจากการจัดกิจกรรมคาราวานบุญแต่ละ ครังอย่างเป็ นทางการ ทําให้ปัญหาในครังต่อๆ มายังไม่ถูกแก้ปัญหา เช่น ระบบบัญชี การระดม อาสาสมัคร การพัฒนาปรับปรุ งผลิตภัณฑ์ของกลุ่มชาวบ้าน แต่มีการนังล้อมวงคุยเป็ นกลุ่มย่อยและ รายเดียวเพือกระตุน้ ให้กาํ ลังใจทีมงาน ซึงทําทันทีหลังจากเสร็ จสิ นกิจกรรมก่อนทีอาสาสมัครแต่ละ คนจะแยกย้ายกลับ แผนงาน/และความต่ อเนือง ๑) พัฒนาสายงานการผลิตให้เหมาะทังในแง่ปริ มาณและคุณภาพเมือทราบความต้องการของ ตลาดแล้ว ๒) พัฒนาระบบประชาสัมพันธ์ซึงจะเน้นสื อเว็บไซต์ สื อสังคมออนไลน์ ซึงใช้เวลาและ งบประมาณน้อยแต่ได้ผลมาก ๓) พัฒนาระบบอาสาสมัครให้ทาํ งานได้อย่างต่อเนือง มีระบบการบ่มเพาะคนขึนมาทํางาน แทนทีได้

32


รายงานสรุ ปผลการดําเนินงาน งวดปิ ด โครงการพัฒนาธุรกิจเพือสั งคมคนบุญด้วยช่ องทางสั งคมออนไลน์ กิจกรรม ๔. ลงพืนทีเก็บข้อมูลภาคสนามเพือสํารวจการตอบรับ (Feedback) จากกลุ่มเป้ าหมาย เพือถอดบทเรี ยนออกมาเป็ นองค์ความรู ้ หน่ วยงาน/องค์ กร ศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอย ผาส้ม ผู้ประสานงาน พระครู ธรรมคุต (สรยุทธ ชยป ฺ โญ) เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผูอ้ าํ นวยการศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม โทร. ๐๘๙ ๙๒๖ ๓๘๗๗ E-mail: doiphasom@gmail.com วัตถุประสงค์ ของกิจกรรมที ๔ ๑) ลงพืนทีรวบรวมข้อมูลภาคสนามตังแต่กระบวนการผลิตสื อ/สํารวจความคิดเห็นและ คําแนะนําบนเว็บไซต์/ติดตามผลตอบรับจากกิจกรรมคาราวานบุญเพือสรุ ป วิเคราะห์ ติดตามผล ประเมินผลโครงการ ตลอด ๘ เดือน ๒) เพือกระตุน้ ให้ชุมชนชนบทและบุคคลทัวไปในเมืองเกิดความตระหนัก และเห็นคุณค่าของ การนําแนวพระราชดําริ เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ โดยมีแบบอย่างแห่งความสําเร็ จมาให้บทเรี ยนและ ประสบการณ์จริ ง ผลลัพธ์ ทเกิ ี ดขึน ๑. เกิดความใกล้ชิดระหว่างทีมผลิตสื อและทีมแกนนําชาวบ้านทําให้งานผ่านไปอย่างราบรื น ๒. การประเมินผลโครงการเป็ นระยะ ทําให้เกิดสื อคุณธรรมทีมีคุณภาพ ๓. เกิดการขยายผลแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงขันก้าวหน้า (บุญ/ทาน/เครื อข่าย) ทังในระดับพหุ ชุมชนและระดับปัจเจกชนทัวไป ซึ งรวบรวมในหนังสื อองค์ความรู ้ ๑ เล่ม ถึงผลสําเร็ จ/ ผลลัพธ์ทีเกิดขึน ปั จจัยทีนําไปสู่ผลสําเร็ จ สิ งทีได้เรี ยนรู ้จากความล้มเหลว งบประมาณจาก ศูนย์ คุณธรรม กําหนดไว้ ๔๗,๐๐๐ บาท งบทีเหลือ ๖,๐๐๐ บาท

ใช้จ่ายจริ ง

33

๔๑,๐๐๐

บาท


ผลทีคาดว่ าจะได้ รับ ตัวชีวัดทีตังไว้ ๑.แบบสังเกต/ แบบสอบ ความคิดเห็นความพึงพอใจ และบทเรี ยนสําหรับผูเ้ ข้าร่ วม กิจกรรม ๒. รายงานการวิจยั ๑ เล่ม ที ประกอบไปด้วยข้อมูลเป็ น ดัชนีตวั เลขผลสําเร็ จเชิง ปริ มาณและข้อมูลเชิงพรรณา ประสบการณ์จริ งจากการลง พืนทีปฏิบตั ิงานในทุก กิจกรรมตลอด ๘ เดือน

ตัวชีวัดทีเกิดจริง ๑. เกิดแบบสอบถามความพึงพอใจและรายละเอียดเพือการพัฒนา ปรับปรุ งรู ปแบบการประชาสัมพันธ์และผลิตภัณฑ์ทีเป็ นสื อใน กิจกรรมคาราวานบุญทัง ๕ ครัง ๒. เกิดหนังสื อองค์ความรู ้ ๑ เล่ม ซึงง่ายต่อการรับรู ้ของบุคคล ทัวไปกว่ารายงานการวิจยั ประกอบด้วยปัจจัยทีนําไปสู่ผลสําเร็ จ ผลสําเร็ จ/ผลลัพธ์ทีเกิดขึน สิ งทีได้เรี ยนรู ้จากความล้มเหลว (ความเป็ นมา วัตถุประสงค์ ขันตอนการดําเนินงาน กรอบแนวคิด การทํางาน ข้อค้นพบจากการถอดองค์ความรู ้ ปั จจัยสู่ความสําเร็ จ ภาคผนวก)

ผลกระทบจากการทําโครงการ (ความสํ าเร็จ / อุปสรรค) - ความสํ าเร็จ ๑. เกิดกระบวนการถอดองค์ความรู ้อย่างมีส่วนร่ วมคือ เกิดความร่ วมมือระหว่างนักวิจยั ทีมงาน ผลิตสื อ แกนนําชาวบ้าน ออกแบบสัมภาษณ์ แบบสังเกต และสามารถตังวงคุยเล็กๆ หลังจบการ ทํางานในแต่ละกิจกรรมซึงส่ วนใหญ่ยงั เป็ นการพูดคุยอย่างไม่เป็ นทางการ แต่มีประเด็นสามารถ นําไปต่อยอดพัฒนากิจกรรมนันได้ในครังต่อไป ๒.ทีมผลิตสื อได้เพิมพูนทักษะการเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิตามหลักการวิจยั ทีนอกเหนือจาก การกระบวนทําสื อ แต่การตังคําถาม การสัมภาษณ์ การสังเกต เพือเข้าถึงข้อมูลทีต้องการสกัด ออกมาเพือนําเสนอแก่นให้ผคู ้ นทัวไปได้เข้าใจลึกซึงขึน ๓. การสรุ ปบทเรี ยนเป็ นระยะๆ คือ ก่อน-ระหว่าง-หลัง กิจกรรมต่างๆ ช่วยให้การทํางานกลุ่มมี การพัฒนา แก้ปัญหาทีเกิดขึนเป็ นประจําได้ ทีมงานมีความรู ้สึกร่ วมว่ามีความเป็ นเจ้าของโครงการ มีความรักทีจะทําโครงการด้วยใจ ซึงผลลัพธ์ทีเห็นชัดคือ แต่ละกิจกรรมทีใช้ระบบอาสาเข้าร่ วมจะ ทํางานด้วยความทุ่มเทมากกว่าการทํางานทีมาจากการจ้างงาน

34


- อุปสรรค – ๑. ทีมงานผลิตสื อและทีมแกนนําชาวบ้านต้องใช้เวลานานในการทําความเข้าใจกระบวนการใน ระยะแรก ซึงเป็ นเรื องใหม่ เพือทําความเข้าใจเรื องการถอดองค์ความรู ้ เช่น การจัดกระบวนการถอด บทเรี ยนกันเองในช่ วงแรกตังคําถาม การฝึ กจับประเด็น การส่ งเสริ มให้แสดงความคิดเห็ นอย่าง เปิ ดเผย เป็ นต้น เป็ นทักษะทีต้องอาศัยผูม้ ี ประสบการณ์ ทาํ ให้เป็ นตัวอย่างก่ อนนําไปปฏิบตั ิจริ ง กันเอง ๒. ทีมอาสาสมัคร และทีมชาวบ้านช่วยงานคาราวานบุญมาจากต่างสถานทีทําให้ไม่มีเวลาหรื อ มีเวลาน้อยในการถอดองค์ความรู ้หลังเสร็ จสิ นกิจกรรม เพราะหลังจากนันก็รีบแยกย้ายกลับ ๓. ความห่ างไกลของหมู่บา้ นและความเอาจริ งเอาของแกนนําชุมชนมีผลทําให้การลงพืนทีเก็บ รวบรวมข้อมูลเป็ นไปด้วยความยากลําบาก และมีเหตุให้ตอ้ งปรับเปลียนกลยุทธ์จากการถอดองค์ ความรู ้จากแกนนําชุมชนทีอยูไ่ กลมาเป็ นแกนนําทีอยูใ่ กล้และตังใจช่วยเหลือ แผนงาน/และความต่ อเนือง องค์ความรู ้ทีถอดได้จะเป็ นเสมือนบันทึกเตือนใจของผูร้ ับงานไปทําต่อในปี ถัดไป โครงการถัดไป เปรี ยบเสมือนเครื องฉายหนังย้อนกลับไปทบทวนตนเองไม่ให้เดินซํารอยเก่า แต่ พัฒนาจากรอยเก่าให้ดีขึน แผนต่อจากนีคือการนํากระบวนถอดบทเรี ยนทีได้เรี ยนรู ้จากนักวิจยั ไป ปรับใช้กบั งานทีทําอย่างต่อเนืองของวัดและการลงพืนทีแต่ละครังทีเริ มบันทึกข้อมูลอย่างเป็ นระบบ ระเบียบมากขึน ก็เพือประเมินการทํางานของตนเองอยูเ่ สมอๆ พร้อมกับการป้ องกันความผิดพลาด ทีจะเกิดขึนในอนาคต

35


รายงานสรุ ปผลการดําเนินงาน งวดปิ ด โครงการพัฒนาธุรกิจเพือสั งคมคนบุญด้วยช่ องทางสั งคมออนไลน์ กิจกรรม ๕. นําเสนอผลงานในงานสมัชชาคุณธรรม หน่ วยงาน/องค์ กร ศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอย ผาส้ม ผู้ประสานงาน พระครู ธรรมคุต (สรยุทธ ชยป ฺ โญ) เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผูอ้ าํ นวยการศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม โทร. ๐๘๙ ๙๒๖ ๓๘๗๗ E-mail: doiphasom@gmail.com วัตถุประสงค์ ของกิจกรรมที ๕ ๑) เพือนําเสนอผลการดําเนินงานแลกเปลียนเรี ยนรู ้ ๒) เผยแพร่ “ขบวนบุญ”ในงานสมัชชาคุณธรรม ผลลัพธ์ ทเกิ ี ดขึน ๑. ทีมงานเพิมพูนประสบการณ์การจัดนิทรรศการเพือเผยแพร่ แนวคิด ๒. เกิดการแลกเปลียนระหว่างเครื อข่ายกับองค์กรภาคีต่างๆ ทีทํางานในรู ปแบบเดียวกัน งบประมาณจาก ศูนย์ คุณธรรม กําหนดไว้ ๒๕,๘๐๐ บาท ใช้จ่ายจริ ง ๒๕,๐๓๐ บาท งบทีเหลือ ๗๗๐ บาท ผลทีคาดว่ าจะได้ รับ ตัวชีวัดทีตังไว้ ตัวชีวัดทีเกิดจริง ๑. แกนนํา จํานวน ๑๐ คน ๑. ทีมงาน จํานวน ๑๔ คนร่ วมจัดนิทรรศการ ร่ วมจัดนิทรรศการ ๒. มีรายงานการดําเนินงาน ๒.รายงานการดําเนินงานและการประเมินผลผูเ้ ข้าชมนิทรรศการ จัดนิทรรศการนําเสนอ ๓. จํานวนผลิตภัณฑ์บุญทีได้รับความสนใจมาก ผลงานและการประเมินผลผู ้ เข้าชมนิทรรศการ

36


ผลกระทบจากการทําโครงการ (ความสํ าเร็จ / อุปสรรค) - ความสํ าเร็จ ๑. เกิดการแลกเปลียนเรี ยนรู ้ระหว่างภาคี ทีมงานมีโอกาสเพิมพูนทักษะการนําเสนอเป้ าหมาย ของโครงการให้คนทัวไปทีไม่รู้อะไรได้เข้าใจ ๒. เกิดการเห็นคุณค่าความสําคัญของปั จจัยสี หรื อทรัพยากรธรรมชาติทีตนเองมี เมือนํามา สาธิตการทําอาหารให้ชิมฟรี มีผคู ้ นจํานวนมากให้ความสนใจ - อุปสรรค – ๑. ปั ญหาทางเทคนิคระหว่างผูจ้ ดั งานและผูจ้ ดั นิทรรศการ อาทิ ปัญหาการรับอาหารกลางวันไม่ เพียงพอ ปั ญหาการให้เข้าบูธล่าช้า ปัญหาการใช้กระแสไฟฟ้ าเกิน ปัญหาขาดผูป้ ระสานงาน ฯลฯ ๒. ต้อ งพัฒ นาวิ ธี ก ารประเมิ น ผลให้ ผูเ้ ข้า ร่ ว มงานประเมิ น ผลมากขึ น เพื อสามารถนํา ไป วิเคราะห์ คาดการณ์ หรื อปรับปรุ งแผนการจัดนิทรรศการในครังต่อไป แผนงาน/และความต่ อเนือง ๑. แก้ไขเนือหาบูธนิทรรศการให้มีความเข้าใจ สัน กระชับ ได้ใจความ ๒. ปรับปรุ งระบบประเมินทีต้องแต่งตังทีมทํางานเฉพาะส่ วนประเมินอย่างเดียวเพือให้ แขกทีมาเยียมหรื อลูกค้าทีมาซือสนใจร่ วมทําการประเมินผล ๓. นําที มงานทีไม่เคยจัดงานนิ ทรรศการร่ วมงานในครั งหน้าเพือพบปะแลกเปลียนกับ เพือนร่ วมทางเดินเดียวกัน (โครงการคุณธรรม)

37


ส่ วนที ๔ รายละเอียดจากการดําเนินกิจกรรม

38


เนือหา / รายละเอียดของการดําเนินกิจกรรม โครงการพัฒนาธุรกิจเพือสั งคมคนบุญด้วยช่ องทางสั งคมออนไลน์ ๒. อบรมเชิงปฏิบตั ิการกระบวนการผลิตสื อพืนบ้าน (๒ วัน ๑ คืน รอบที ๒ ขันกระบวนการผลิตสื อพืนบ้าน (ต่อ) และการทดลอง นําสื อทีผลิตได้ไปใช้จริ ง) หน่ วยงาน/องค์ กร ศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผู้ประสานงาน พระครู ธรรมคุต (สรยุทธ ชยป ฺ โญ) เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผูอ้ าํ นวยการศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ทีอยู่ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ตําบลแม่สาบ/ยังเมิน อําเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ โทร ๐๘๙ ๙๒๖ ๓๘๗๗ E-mail: doiphasom@gmail.com

กิจกรรม

วัตถุประสงค์ ของกิจกรรมที ๒ เพือสร้างกระบวนการการมีส่วนร่ วมของประชาชนในการผลิตสื อของตนเอง คือ เว็บไซต์เพือการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ องค์ความรู ้ กิจกรรม บทเรี ยนและบุคคลต้นแบบด้าน เศรษฐกิจพอเพียง เพือเสริ มสร้างเครื อข่ายคนบุญให้ขยายในวงกว้าง ขอบเขตการทํางาน (ต่ อ) ของกิจกรรมที ๒ โดยขันตอนนีมีขอบเขตการทํางานทีต่อเนืองหลังจากอบรมเชิงปฏิบตั ิการ กระบวนการผลิตสื อพืนบ้าน ครังที ๑ เมือเดือนธันวาคม ๒๕๕๕ ดังนี ๑. เดือนมกราคม – เมษายน เริ มกระบวนการผลิตสื อจริ ง โดยการสัมภาษณ์ รวบรวม ข้อมูลดิบทังหมด (ในรู ปของไฟล์ภาพ ไฟล์เสี ยง ไฟล์เนือหา) เพือนําไปใช้ เป็ น ส่ วนหนึงของสื อ ๓ ชนิด คือ วีดีโอคนพอเพียง ไฟล์องค์ความรู้ (PDF) และ เว็บไซต์ (แหล่งเรี ยนรู ้ออนไลน์) ๒. เดือนกุมภาพันธ์ – สิ งหาคม ร่ างแผนผังเว็บไซต์และเขียนระบบเว็บไซต์ใหม่

39


๓. เดือนสิ งหาคม ทดลองนําสื อมาใช้จริ ง โดยมีการประเมินเพือนําไปสู่การปรับปรุ ง ต่อไป (ด้วยการทําแบบประเมินและการอบรมเชิงปฏิบตั ิการครังที ๒ เพือระดม ความคิดเห็นและวิจารณ์สือของตนเอง) จํานวนผู้เข้ าร่ วมกิจกรรม รวม ๒๐ คน ๑. ทีมแกนนําชาวบ้าน จํานวน ๑๐ คน ๒. ทีมประสานงานกลางเพือการผลิตสื อ จํานวน ๑๐ คน รายละเอียดของกิจกรรม กิจกรรมกระบวนการผลิตสือ (เดือนมกราคม – เมษายน ๒๕๕๖) • วีดีโอคนพอเพียง ในช่วงสี เดือนแรกหลังจากทีมชาวบ้านและทีมประสานงานสื อได้พดู คุยทําความตกลง ร่ วมวางแผนการผลิตสื อของตนเรี ยบร้อย ช่วงนีจึงเข้าสู่กระบวนการผลิตสื อ สิ งแรกทีทําคือ การลงพืนทีของทีมผลิตสื อด้วยการไปใช้ชีวิตร่ วมชาวบ้านในฐานะลูก เพือซึ มซับวิถีชีวิต แนวคิด และมีเวลาว่างในการพูดคุยเบืองลึกจริ งๆ โดยทีมสื อใช้ศิษย์วดั ทีมีความคุน้ เคยกับ ชาวบ้านและศิษย์วดั ทีเป็ นคนท้องถินนันๆ ภาษาและวัฒนธรรม อายุ สถานะ จึงไม่เป็ นปั ญหา ในการถอดข้อมูลดิบ แล้วกลันกรองออกมาเป็ นใจความสําคัญ แต่ในขณะเดียวกันก็ยงั ไม่ลืม เก็บงานสรรวีดีโอทีถ่ายเก็บมาแต่ยงั ไม่ได้ตดั ต่อ แล้วจึงมานังคัดเลือกให้เหลือเพียง ๕ เรื องซึงมี ประเด็นทีน่าสนใจ (สามารถดูวีดีโอในซีดีทีแนบมาหลังรายงาน) คือ 1. แม่ ศรี: ขยะเพิมค่ า พัฒนาจิตใจ เรื องย่อ จากแม่เลียงสตรอเบอร์รีเงินล้าน รถสี คัน กับลูกน้องกว่าสิ บชีวิต แรกๆ ได้ กําไรมากจากการทําไร่ สตรอเบอร์รี แต่พอผ่านไปนานเข้า ปุ๋ ยยา แพงขึน ค่าจ้าง ลูกน้องในไร่ ทีมากขึน ราคารับซือผลสตรอเบอร์รีก็ไม่แน่นอน รายได้จึงไม่ได้ดีอย่าง ทีเคย ต้องกูเ้ งินมาหมุนจ่ายต้นทุนประคองให้อยูร่ อด แต่เมือยิงกู้ ก็ยงขาดทุ ิ น แม่จึง ตัดใจทังๆ ทีมืดแปดด้านหันหลังกลับ ลองทําเกษตรพอเพียงทีถูกคนดูถูกว่าไปไม่รอด พอๆ กับวันนีทีแม่เลือกทําอาชีพคนเก็บขยะในชุมชนทีใครต่างว่าตํา ไร้ค่า แต่แม่ฮึดสู ้ ทําจนใจแข็งแกร่ งขึนดังเพชรแท้

40


2. แม่ แก้ว : ชีวติ เปลียนได้ แค่ ใจเราเปลียน เรื องย่อ จาการปลูกพืชเชิงเดียวเข้มข้น สุ ดท้ายไปไม่รอดหนีสิ นมาก สุขภาพแย่ทาํ ให้ แม่แก้วลองเข้าร่ วมกลุ่มเกษตรพอเพียงทําหนึงไร่ คุณธรรม ปลูกทุกอย่างทีกิน กินทุก อย่างทีปลูก ทุกวันนีแม่เป็ นเจ้าของโรงงานเล็กๆ ในบ้านทีผลิตนํายาเอนกประสงค์ ปลอดภัยทีทําเอง ใช้เอง แบ่งปัน และขาย นําเงินกลับมาทําบุญให้สิงแวดล้อม ความสุ ขในครอบครัวทีหายไปค่อยๆ กลับมา 3. พ่อน้ อยเสงียม: สวนอาหารปลอดภัย เรื องย่อ กว่า 30 ปี ในเกษตรเคมีเข้มข้นจนถึงเกษตรพันธะสัญญากับบริ ษทั ใหญ่ พ่อ เสงียมปลูกทุกอย่าง ใช้สารเคมีเกือบทุกชนิด ไม่ขาดทุนแต่ไม่คุม้ กับกําไรเล็กน้อย สุขภาพทีเสี ยไป เวลากับครอบครัวลดลง จึงลองปลูกป่ าเพือกิน ปลูกเพือใช้ ปลูกเพือ อาศัย ปลูกเพือร่ มเย็น เพราะเชือว่าความมันคงทางอาหารคือความมันคงของชีวิต ทุก วันนีพ่อแจกจ่ายผักในไร่ ให้เพือนบ้าน ถวายผักทําบุญกับวัด และมีความสุ ขทีลูกๆ ดําเนินแนวทางเกษตรพอเพียง มีเวลาอยูร่ ่ วมกัน 4. พ่อสมชาย : สวนป่ านาฟาน: จากป่ ารุ่ นพ่อสู่ ร่ ุ นลูก เรื องย่อ ลูกบ้าทีกล้าทําทุกวิธีทางทีจะนํานําจากนําตกมาอาบเขาทังภูให้ป่าชุ่มชืนอยู่ เสมอ แนวกันไฟกว่าหลายสิ บกิโล ท่อรดนําป่ าอีกหลายร้อยท่อ เพือรักษาป่ าไม่ให้ ไหม้ ไม่ให้ใครเข้ามาตัด ผสมผสานการทําเกษตรในพืนราบทําให้อาหารการกินไม่เคย ขาด คือสิ งทีพ่อสมชายอยากมอบไว้เป็ นมรดกโลกแก่รุ่นลูกหลานทีเอาด้วยกับเขา ทีมาของเรื องราว ต้นเหตุและจุดเปลียนติดตามกันได้แล้ว 5. แม่ สมหมาย: ลดต้ นทุน ลดหนีสิ น ลดทุกข์ เรื องย่อ แม่สมหมายอาจไม่ได้ทุรนทุรายกับหนีสิ นก้อนโต แต่การกูโ้ ปะ กูห้ มุนกับการ ทําเกษตรเชิงเดียวก็ทาํ ให้ วันหนึงแม่มานังทบทวนอยูว่ า่ “ไม่มีทางอืนแล้วหรื อ” จน เริ มทําสวนเกษตรและเข้าโครงการต่างๆ ของวัดเพือส่ งเสริ มการพึงพาตนเอง ทุกวันนี แม่เป็ นทังประธานกลุ่มหมอชาวบ้าน ร่ วมกับเพือนๆ รักษาป้ องกันโรคให้กบั เพือน บ้านด้วยสมุนไพรใกล้ตวั ในบ้าน และดูแลโครงการกระเทียมบุญปลอดสาร เกิดรายได้ และเกิดผูเ้ ข้าร่ วมขบวนบุญอีกหลายหมู่บา้ น

41


เมือคัดเลือกประเด็นแล้วก็นาํ วีดีโอช๊อตต่างๆ มานังตัดต่อ ใส่เสี ยง ใส่คาํ บรรยายใต้ภาพ ซา วนด์แอ็กเฟ็ กค์ ถ้ามีช๊อคทีขาดหรื อยังไม่ได้อรรถรสก็ตอ้ งลงพืนทีถ่ายซ่อมแล้วนํามาตัดต่อ เรี ยบเรี ยงใหม่ ปรับเสี ยงสัมภาษณ์ บรรยากาศให้ดงั พอดีเข้ากันกับภาพ ท้ายสุดรวมเป็ นไฟล์ เดียวกัน • ไฟล์องค์ความรู ้แบบPDF วิธีการรวบรวมข้อมูลเพือจัดทําไฟล์องค์ความรู ้PDF คล้ายกับการทําวีดีโอ แต่แตกต่าง กันตรงทีก่อนเริ มเก็บข้อมูล ทางทีมงานผลิตสื อต้องหาตัวอย่างจากหน้าหนังสื อต่างๆ นิตยสาร หรื อแม้แต่ตามหน้าเพจเว็บไซต์ต่างๆ ทีสรุ ปเป็ นองค์ความรู ้สนๆ ั แล้วน่าอ่าน อ่านรู ้เรื อง เพราะ ทักษะการทําสื อสิ งพิมพ์ทีใช้แตกต่างจากวีดีโอคือการเล่าเรื องผ่านภาษาและภาพถ่ายซึงสร้าง ความสับสนได้ง่ายกว่าวีดีโอ และถ่ายทอดอรรถรสได้ยากกว่า เมือกําหนดตรี มและโทนเรื องทีจะเล่าได้แล้ว คือ ต้องการทําหน้าองค์ความรู ้ทีสัน กระชับ มีขนตอนให้ ั ผอู้ ่านสามารถทําตามได้ แต่จะไม่เก็บรายละเอียดเรื องความเป็ นมามาก โดยให้เรื องของอารมณ์ความรู ้สึกเป็ นหน้าทีของวีดีโอแทน แต่ในหน้าองค์ความรู้จะเน้นการ รวบรวมภูมิปัญญาเก่าของชาวบ้านทีมีอยูใ่ นตัว ในทักษะ ในความชํานาญแล้วกลันกรองมา บันทึกเก็บไว้เป็ นตัวอักษรคล้ายหนังสื อฮาว์ทูทีอ่านเพียงหน้าสองหน้าก็สามารถทําตามได้ จากนันก็เข้าสู่กระบวนการลงพืนทีเก็บข้อมูลจากชาวบ้านโดยไปอาศัยอยูก่ ิน ช่วย กิจการเศรษฐกิจพอเพียงทีทํากันอยูแ่ ล้ว บันทึกเสี ยง จดบันทึกประเด็นสําคัญ ถ่ายภาพ แล้วจึง แบ่งพิมพ์ขอ้ มูล แต่งสํานวน อีกส่ วนก็คดั เลือกภาพให้สอดคล้องกับข้อมูลทีจะนําเสนอ จากนัน นําทังภาพและตัวอักษรมาจัดหน้าให้น่าอ่าน น่าสนใจ เข้าใจง่าย อ่านทบทวนแก้คาํ ผิด แก้ สํานวนภาษา ถ่ายภาพบางภาพใหม่ จนสมบูรณ์แล้วแปลงเป็ นไฟล์PDF เป็ นอันจบ กระบวนการทําไฟล์องค์ความรู ้ กิจกรรมผลิตเว็บไซต์ : แหล่ งเรียนรู้ออนไลน์ (เดือนกุมภาพันธ์ – สิ งหาคม ๒๕๕๖) ในขณะทีผลิตสื อวีดีโอและไฟล์องค์ความรู ้ กระบวนการผลิตเว็บไซต์หรื อแหล่ง เรี ยนรู ้ออนไลน์ ซึงถือว่าเป็ นแม่ทพั ใหญ่ของโครงการในปี นี หลังจากทีวัดพระบรมธาตุ ดอยผาส้มได้รับเกียรติจากศูนย์คุณธรรมยกระดับเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้เมือปี ทีผ่านมา ปรากฏว่า มีคนในเมืองให้ความสนใจร่ วมสนับสนุนมาด้วยดีตลอด พร้อมให้คาํ แนะนําในการ

42


รวบรวมองค์ความรู ้ภูมิปัญญาชาวบ้านไว้ ฉะนันแหล่งเรี ยนรู้ออนไลน์บนโลกไซเบอร์ หรื อเว็บไซต์นีจะเข้ามาเอือประโยชน์ให้กบั ผูค้ นอีกจํานวนมาก ขยายสังคมคนพอเพียง สังคมบุญนีให้กว้างขวางขึน ซึ งกระบวนการผลิตเริ มจริ งตังแต่เดือนมกราคม จนเดือน โดยมี กุมภาพันธ์ได้จดั จ้างนักเขียนโปรแกรมจึงได้เริ มลงมือสร้างเว็บไซต์อย่างจริ งจัง รายละเอียดดังต่อไปนี เดือนมกราคม ๒๕๕๖ การผลิตเว็บไซต์จึงเริ มขึนตังแต่พดู คุยกันในทีมผลิตสื อของวัด โดยแบ่ง ปฏิทินการทํางานตามนี ขันตอนแรก ฟอร์ มทีมการทํางาน โดยแบ่งเป็ น ๓ ทีมใหญ่ๆ คือ ทีมผลิตสื อ (ประสานงานกลางและเก็บรวบรวมข้อมูลดิบ) ทีมชาวบ้าน (ผูร้ ่ วมผลิตสื อ และเป็ นแหล่งข้อมูลดิบ) ทีมช่างเทคนิค (ผูเ้ ชียวชาญสามารถเขียนเว็บไซต์ และวิเคราะห์ระบบได้) ขันตอนทีสอง ทําแผนการทํางาน ๗ เดือนและลงมือทําตามแผน หลังจากจัด อบรมสื อครังที ๑ ไปแล้วเมือเดือนธันวาคม ซึ งมีชาวบ้านเป็ นผูร้ ่ วมวางแผน และกําหนดวันถ่ายทําวีดีโอและเก็บรวบรวมข้อมูลดิบทังหมด ขันตอนทีสาม ลงพืนทีเก็บรวบรวมข้อมูลดิบและประสานงานผูเ้ ชียวชาญ เขียนเว็บไซต์จนแล้วเสร็ จ จัดอบรมสื อครังที ๒ “ขันวิพากษ์วิจารณ์สือเพือนําสื อไป ขันตอนทีสี ทดลองใช้จริ ง” เพือพัฒนาและปรับปรุ งสื อทีผลิตได้ เมือกําหนดปฏิทินกิจกรรมแล้ว ทางทีมผลิตสื อจึงเริ มกําหนดขอบเขต ของเว็บไซต์ดว้ ยการทําแผนผังเว็บไซต์คร่ าวๆ โดยดูจากเว็บไซต์อีคอมเมิรช์ (E-Commerce) ทังไทยและต่างประเทศ อาทิ Ebay.com, Amazon.com, Tarad.com,Thaisecondhand.com และ Greenshopcafe.com หลังจากนันเราจึง เริ มสร้างแฟนเพจผ่าน Facebook ก่อนเพือเป็ นพืนทีประชาสัมพันธ์งาน คาราวานบุญทีจะเกิดขึน ๕ ครังและเป็ นช่องทางการสื อสารเกียวกับกิจกรรม ของวัดต่างๆ นอกจากนันยังระดมความคิดเห็น “สิ งทีควรจะมีในเว็บไซต์” เพือตอบโจทย์ผทู ้ ีจะนําความรู ้ไปใช้มากทีสุดคือ ผูค้ นในสังคมออนไลน์ เมือ ได้แผนผังแต่ละเว็บไซต์มาก็ลองร่ างผังของเว็บของเราคร่ าวๆ ใส่ ฟังก์ชนการ ั ทํางานให้สอดคล้องสิ งทีควรจะมีในเว็บไซต์ คือ ๑. แหล่งรวบรวมองค์ความรู ้

43


ออนไลน์ ๒.ระบบซือขายสิ นค้าคนบุญ ๓.พืนทีแลกเปลียนความคิดเห็นหรื อ แลกเปลียนความรู ้ เดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ หาผูเ้ ชียวชาญเขียนเว็บไซต์ได้ จึงคุยคอนเซ็ปของเว็บไซต์ แล้วร่ วมกัน ออกแบบแต่ละหน้า รวมทังทําการปรับปรุ งแผนผังเว็บไซต์ให้ปัจจุบนั เสมอ หลังจากได้แผนผังแล้วก็เริ มหาทางรวบรวมข้อมูลดิบซึ งมีอยูแ่ ล้วแต่กระจัด กระจาย เป็ นการทบทวนองค์ความรู ้ทีมีอยูแ่ ล้วซึงหากจะผลิตวีดีโอหรื อไฟล์ องค์ความรู ้PDF จะได้ไม่ผลิตซํา หรื ออาจทําการปรับปรุ งอ้ มูลให้ตรงตามจริ ง มากทีสุด ครบถ้วนมากทีสุ ด โดยเพิมลูกเล่น ความน่าสนใจ สี สนั เสี ยงเพลง เข้าไป เดือนมีนาคม ๒๕๕๖ นําแผนผังเว็บไซต์ (Site Map) มาตีเป็ นออกอริ ทึมหรื อขันตอนการเขียน โปรแกรม โดยใช้โค้ดทีมีอยูเ่ ดิมและโค้ดใหม่ทีเขียนขึนเองของช่างเทคนิค โดยนํามาแยกแยะเป็ นขันๆ ซึงกินเวลาค่อนข้างนาน เดือนนีจึงยึดหน้าเพจ แรกเป็ นสําคัญซึ งจะต้องออกมาเป็ นรู ปเป็ นร่ างก่อนเป็ นอันดับแรก คือ การนํา แผนผังเว็บไซต์มาขึนเป็ นเมนูบาร์ หรื อ Drop Down ด้วนวิธีการนีทําให้รู้ดว้ ย ว่ายังขาดข้อมูลดิบตรงไหน และจะสามารถลดการทับซ้อนของข้อมูลทีจะ นํามาใส่ ได้ไหม เปรี ยบเสมือนเป็ นการนําข้อมูลดิบทีมีทงหมดมาจั ั ดใส่ตู้ เสื อผ้าซึงตูแ้ ต่ละใบมีความแตกต่างกันอยูม่ าก ทําให้ผใู ้ ช้เว็บไซต์สามารถ เข้าใจได้วา่ ถ้าต้องการข้อมูลประเภทนีแล้วจะต้องเข้าเมนูตวั ใด ในขณะเดียวกันทีมผลิตสื อวีดีโอและไฟล์องค์ความรู้PDF ก็ลงพืนที เก็บข้อมูลแล้วนํามาใส่โปรแกรมเรี ยบเรี ยงตัดต่อ ซึงจะสัมพันธ์ต่อการ คํานวณพืนทีบรรจุสือต่างๆ บนเว็บไซต์ทีมีพืนทีจํากัด จึงต้องหาทางออกด้วย การนําสื อต่างๆ เช่น วีดีโอไปแขวนไว้กบั Youtube.com ส่ วนไฟล์องค์ความรู ้ PDF นําไปแขวนกับ issue.com ซึ งเป็ นฟรี เว็บทีเปิ ดโอกาสให้ทาํ E-book ฟรี แล้วนําลิงค์เหล่านันมาขึนเว็บไซต์แทนทีจะนํามาใส่เว็บไซต์ให้หมด ทางทีม ผลิตจึงเลือกทีจะแขวนไฟล์เหล่านีไว้กบั ฟรี แอฟพลิเคชันหรื อ Outsource ซึ ง

44


ทําหน้าทีได้ดีกว่าการเขียนระบบขึนมาใหม่เพือรองรับ เวลานานมากกว่า

ซึงยากและกิน

เดือนเมษายน ๒๕๕๖ ดําเนินการตามทีวางแผนไว้ในเดือนมีนาคม ซึ งทีมผลิตสื อได้ผนั ตัวเองทํา หน้าทีทังเป็ นผูผ้ ลิตสื อและประสานงานกับช่างเขียนเว็บไซต์ คือนังทําสื อของ ตัวเอง ในขณะเดียวกันทุกๆ สองอาทิตย์กน็ ดั คุยงานเพือทราบความคืบหน้า ของช่างเขียนเว็บไซต์ เดือนเมษายนเป็ นเดือนทีเฟคบุค๊ (Facebook) “ขบวนบุญ” มีผตู ้ ิดตาม จํานวนมาก ซึงตอนแรกในการวางแผนทางทีมงานตังใจจะสร้างแฟนเพจ เพือให้ติดตามความเคลือนไหวของคาราวานบุญ ซึงนอกจากจะช่วย ประชาสัมพันธ์ได้ดีแล้ว เฟคบุค๊ ยังแสดงให้เห็นถึงพลังในการกระจายข่าวสาร ทีรวดเร็ วกว่า มีสีสนั กว่า เข้าถึงผูค้ นได้มากกว่า ทางทีมงานจึงตัดสิ นใจทํา ลิงค์จากเว็บไซต์ใหม่ไปสู่เฟคบุค๊ ทียังคงไว้ นอกจากนันยังทําให้เห็นข้อดีของ เว็บไซต์ทีสามารถเก็บข้อมูลทีนิงกว่าได้และมีความเป็ นทางการมากกว่า โซเชียลมีเดียอืนๆ ซึ งเป็ นการนําข้อดีทงสองสื ั อบนโกออนไลน์มาเสริ ม ประสิ ทธิ ภาพกัน เดือนพฤษภาคม ๒๕๕๖ จัดเรี ยบเรี ยงข้อมูลดิบนําอัพโหลดขึนเว็บไซต์ต่างๆ ทีมีฟรี แอฟพลิเคชัน คือ การทํา Photo Gellery ทางทีมงานเลือกใช้ Flirck.com เก็บไฟล์ภาพกิจกรรม ออนไลน์ ใช้ issue.com ในการทํา E-book หรื อการนําไฟล์องค์ความรู ้PDF ไฟล์เอกสาร Word รายงานรวมเล่มต่างๆ ทํารวมเล่มเป็ นหนังสื อออนไลน์ และใช้ Youtube.com ในการแขวนไฟล์วีดีโอต่างๆ รวมทังไฟล์ อิเล็คทรอนิกส์จากรายการต่างๆ ทีเคยมาถ่ายทํากิจกรรมของวัดขึนแขวนเป็ น ไฟล์ออนไลน์ทีพร้อมดาวน์โหลดหรื อดูผา่ นทางเว็บไซต์ดงั กล่าวทีมีพืนที ลูกเล่น และสี สนั ทีมากกว่า

45


-

-

-

-

เดือนมิถุนายน ๒๕๕๖ แกะโค้ดของบล็อก Wordpress (ซึ งเป็ นทีอยูข่ องเว็บไซต์วดั เก่า) ได้ เพือทีจะขอใช้ Domain Name เดียวกัน ทําการเช่าซือพืนทีเว็บไซต์และจดทะเบียนเว็บไซต์ ชือ www.watdoiphasom.com ทํา Theme หรื อออกแบบหน้าตาเพจแรกของเว็บไซต์ แก้ไขโค้ด php ซึ งเป็ นภาษาทีใช้เขียนให้สามารถใช้ได้กบั Brower ทัง Internet Explorer, Google Crome และ Firefox อัพโหลดข้อมูลเพิมเติม ติดตังระบบประเมินความพึงพอใจของผูเ้ ข้าบริ การทางเว็บไซต์ ติดตังระบบสถิตินบั จํานวนคนเข้าใช้บริ การประจําวัน ประจําเดือน ประจําปี ปรับปรุ งผังเว็บไซต์ (Site Map)ใหม่ให้ปัจจุบนั และแก้ไข Menu Bar ไป ด้วย เดือนกรกฎาคม ๒๕๕๖ นําไฟล์ออนไลน์ทงหมดที ั อัพโหลดแล้วเชือมต่อกับระบบเว็บไซต์ทีเริ ม เป็ นรู ปเป็ นร่ างขึนมา อัพโหลดไฟล์บางตัวเช่น ไฟล์ JPEG, PDF ติดตังบนเว็บไซต์ตาม Directory ทีจัดไว้ เป็ นการทดสอบระบบเว็บไซต์เป็ นครังแรกหลังจากใช้ เวลาพัฒนามาสามเดือน ทีมผลิตสื อผลิตข่าวสารเป็ นไฟล์ JPEG เพิมเติมแทนการพิมพ์เนือหาลง ไปในเว็บไซต์ เช่น ส่วนของประวัติความเป็ นมาของวัด ส่วนของข่าว ประชาสัมพันธ์ รวมทังป้ ายไวนิลหรื อแบบของบูธนิทรรศการต่างๆ ทีใช้ ในการออกงานคาราวานบุญ ก็สามารถดาวน์โหลดมาพิมพ์ซาได้ ํ ปรับปรุ งหน้าเพจแรกของเว็บไซต์

เดือนสิ งหาคม ๒๕๕๖ - ติดตังระบบสมัครสมาชิก

46


- ติดตังปฏิทินกิจกรรมในหน้าเว็บเพจแรก - พัฒนาระบบซือขาย การคํานวณค่าขนส่ ง เงินบริ จาค การทําใบสังซือ การ ตัดสต๊อกหลังร้าน การสร้างหน้าผลิตภัณฑ์และตะกร้าซือขาย - Final Test ทดสอบระบบทังหมดในทุก Browser

กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการผลิตสื อพืนบ้ าน ครังที ๒ (๑๖ - ๑๗ สิ งหาคม ๒๕๕๖) ขัน “ทดลองนําสื อมาใช้ จริง” เพือระดมความคิดเห็นและวิจารณ์ สือของตนเอง แล้ วนําไปสู่ การปรับปรุ งแก้ ไขทันที รายละเอียดของกิจกรรม เช้ าวันที ๑๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ กิจกรรม “ทบทวนเรืองฉัน เรืองเธอ” วิทยากรกล่าวทบทวนกิจกรรมทีทํามาทังปี โดยใช้สไลด์ภาพเป็ นสื อ รวมทังฉายสื อ วีดีโอทีกลุ่มแกนนําชาวบ้านและทีมประสานงานกลางผลิตสื อร่ วมกันทดลองผลิตวีดีโอหนึง ชินเมืออบรมการผลิตสื อครังที ๑ เมือธันวาคมปี ทีแล้ว จากนันจึงฉายคลิปวีดีโอโฆษณาสารคดี สัน ทีแสดงถึงอิทธิพลของสื อทีกระทบต่อจิตใจสร้างความรู ้สึกสะเทือนใจ เศร้าใจ ได้หนั กลับมาตังคําถามกับตนเอง แม้วา่ สือนันจะใช้ภาษาต่างประเทศก็ตาม ทําให้ผเู ้ ข้าร่ วมประชุม เห็นพลังและความสําคัญในการสร้างสื อ มีสือเป็ นของตนเอง สายวันที ๑๖ สิ งหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ กิจกรรม “วีดโี อนี...จะสื ออะไร” กิจกรรมรับชมวีดีโอพร้อมกันนีแบ่งออกเป็ น ๒ ช่วง คือ ช่วงสายและช่วงบ่ายของ วันนีเนืองจากมีวีดีโอ ๓ เรื องให้ผเู้ ข้าร่ วมประชุมชมพร้อมกัน โดยมีรายละเอียดการดําเนิน กิจกรรมดังนี ตอนแรกวิทยากรจะจัดให้ผเู ้ ข้าร่ วมประชุมนังเรี ยงหนึงเป็ นแถวตอนลึกสามแถว เสมือนนังอยูใ่ นห้องสอบเข้ามหาวิทยาลัย แล้วแจกกระดาษโจทย์ ๑๑ ข้อ (ดูภาคผนวก) แต่ละ ข้อจะถามเกียวกับแรงบันดาลใจในการเปลียนวิธีคิด เปลียนวีถีชีวิต ใจความสําคัญ รายละเอียด

47


ต่างๆ ในวีดีโอ พร้อมช่วยเสนอชือเรื องของวีดีโอนี ซึ งแต่ละวีดีโอมีคาํ ถามต่างกันไปตามตัว เอกของเรื อง พอผูเ้ ข้าร่ วมประชุมอ่านโจทย์พร้อมกันทําความเข้าใจโจทย์แล้ว จึงเปิ ดวีดีโอให้ ชมรอบแรก พอจบพักให้ตอบคําถาม ๑๐ นาทีจากนัน ฉายวีดีโอเรื องเดิมให้ดูอีกครัง เมือเสร็ จแล้วก็นาํ คําตอบทีได้ทงหมดมาทํ ั าสถิติ ผูช้ ่วยวิทยากรอีกท่านก็จะดําเนินการ ให้ผเู ้ ข้าร่ วมประชุมแสดงความคิดเห็น อารมณ์ความรู้สึกหลังดูวีดีโอแล้ว ซึงจะทําเป็ น ข้อเสนอแนะในการปรับปรุ งสื อก่อนทีจะอัพโหลดออกไปสู่สายตาคนทัวโลก จากนันจึงฉายวีดีโออีกเรื องต่อเนือง จนจบกิจกรรมช่วงเช้า พักรับประทานอาหารกลางวัน ร่ วมกัน แล้วจึงนําสถิติหรื อคําตอบของแต่ละคนสรุ ปรวบยอด บ่ ายวันที ๑๖ สิ งหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ กิจกรรม “วีดโี อนี...จะสื ออะไร” (ต่ อ) นําสถิติทีสรุ ปได้มาเล่าให้ผเู ้ ข้าร่ วมประชุมฟัง แล้วจะได้คาํ ตอบทีช่วยกันหาแล้วว่า ควรปรับปรุ งแก้ไขอะไรในวีดีโอนี ซึงบางส่วนต้องถ่ายทําใหม่ ต้องตัดต่อใหม่ ต้องเรี ยบเรี ยง ฉากใหม่ ต้องใส่คาํ บรรยายเพิมเติม เป็ นต้น นอกจากนันเจ้าของเรื องหรื อแกนนําชาวบ้านทีเข้า ร่ วมประชุมก็สามารถตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลก่อนเผยแพร่ พร้อมวิจารณ์และ เสนอแนะอืนๆ เพิมเติม สําหรับการเสนอชือเรื องก็จะขอให้ทุกคนช่วยกันโหวตชือทีสมควรตัง ให้กบั ชือของวีดีโอนันๆ ช่วงบ่ายจัดฉายวีดีโออีกหนึงเรื องซึงมีรายละเอียดเหมือนช่วงเช้า จบกิจกรรม “วีดีโอนี ...จะสื ออะไร” กิจกรรม “จะเกิดอะไรขึนเมือชีวติ ของฉันอยู่บนโลกออนไลน์ ” วิทยากรเริ มกิจกรรมต่อมาโดยแบ่งกลุ่มผูเ้ ข้า หลังจากพักรับประทานอาหารว่าง ประชุมเป็ นสามกลุ่ม จากนันแจกหนังสื อองค์ความรู ้ (ดูภาคผนวก) ซึงได้จะจัดทําเป็ นอีบุค๊ เพือให้คนดาวน์โหลดต่อไป แจกกระดาษฟลิบชาร์ จ ปากกาแล้วอธิ บายโจทย์ทงั ๖ ข้อ โดยแต่ ละกลุ่มแบ่งกันอ่านองค์ความรู้โดยละเอียดกลุ่มละ ๓ เรื องจากทังหมด ๘ เรื อง เช่น ขันตอน การทําฝาย ขันตอนการนวดผ่อนคลาย ขันตอนการกวนนํายาเอนกประสงค์ ฯลฯ ให้เวลา วิเคราะห์ ๒ ชัวโมงจากโจทย์ อาทิ อ่านแล้วเข้าใจไหม เพราะอะไร ความถูกต้องของข้อมูล (ใน แต่ละกลุ่มจะมีแกนนําชาวบ้านเจ้าของเรื องร่ วมตรวจสอบข้อมูลนันๆ) มีขอ้ มูลตรงไหนขาด/

48


เกิน/ทับซ้อน การใช้ภาษา รู ปแบบตัวอักษร การจัดหน้า สี สนั องค์ประกอบศิลป์ แล้วหาก ข้อมูลเหล่านีไปอยูบ่ นโลกออนไลน์พระเอก/นางเอกของเรื องจะได้ผลกระทบอะไรบ้างทังแง่ ดี/ไม่ดี หลังจากนันจึงให้แต่ละกลุ่มออกมานําเสนอเพือสรุ ปออกมาเป็ นข้อควรปรับปรุ งของ สื อไฟล์องค์ความรู ้นี ก่อนจะเผยแพร่ ให้คนทัวไปได้นาํ ไปใช้ต่อไป คําวันที ๑๖ สิ งหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ กิจกรรม “สื อสารด้ วยหัวใจ” กิจกรรมช่วงคําตลอดคืนนีกินเวลาถึงเทียงคืนโดยได้นิมนต์หลวงพ่อสรยุทธ ประธาน โครงการกล่าวถึงโครงการขบวนบุญเมือห้าปี ทีผ่านมาจนถึงวันนี แล้วให้ทุกคนนังล้อมวงเป็ น วงใหญ่โดยอธิบายกติกาคือ แต่ละมีเวลา ๑๐ นาทีในการพูดเรื องตัวเองว่าอะไรเป็ นจุดเริ มให้ เปลียนวิถีชีวิตและเข้าร่ วมโครงการกับวัด (แกนนําชาวบ้านและอาสาสมัครผลิตสื อของวัดส่ วน ใหญ่มาร่ วมขบวนบุญนีตังแต่ ๑ – ๗ มาแล้ว) แล้วสิ งทีประทับใจมากทีสุด/เศร้าทีสุ ดคืออะไร ขณะทีแต่ละคนพูดเรื องของตนเอง เพือนทีนังฟังให้ตงใจฟั ั งอย่างลึกซึง คือ ห้ามมีความคิดแย้ง ให้ฟังแบบเปิ ดใจจริ ง แล้วอย่ามัวลึกซึ งเกินจนเพือนเปลียนประเด็นพูดแล้วยังซึ มลึกกับ ประเด็นเก่าแต่โดนใจตัวเองอยู่ ก็ถือว่าผิดกติกา กิจกรรมนีใช้เวลาราว ๓ ชัวโมงกว่าแต่ละคน จะพูดครบทัง ๒๐ คน จากนันหลวงพ่อให้ชวนคิดว่าทําไมถึงให้พดู เรื องตัวเอง แต่ละคนแสดง ความเห็นเช่น ทําให้รู้จกั เพือนร่ วมอุดมการณ์กนั มากขึน ทําให้เกิดความเห็นอกเห็นใจกันมาก ขึน จึงนําเข้าสู่ประเด็นว่าทังหมดทังมวลทีทุกคนกล่าวมาเป็ นอดีตไปแล้ว แล้วปัจจุบนั วันนี พรุ่ งนีเราจะทําอะไรกันต่อ เป็ นคําถามทิงท้ายก่อนนอนทีหลวงพ่อฝากให้ทุกคนไปคิด เพือปู ทางสู่กิจกรรมสําคัญในวันรุ่ งขึนถึงแผนการทําทันที วันที ๑๗ สิ งหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ กิจกรรม “ไม่ เสี ยใจทีได้ ทาํ ” หลังจากรับประทานอาหารเช้าร่ วมกัน วิทยากรได้ทาํ ข้อสรุ ปภาพรวมสิ งทีต้อง ปรับปรุ งในสื อทีทีมงานสื อผลิตออกมาว่าควรปรับปรุ งโดยเฉพาะสื อวีดีโอ ซึ งต้องถ่ายทําใหม่ ในบางส่วนจึงได้นดั หมายแกนนําชาวบ้าน พ่อๆแม่ถ่ายวีดีโอตอบคําถามใหม่เพือนําไปตัดต่อ

49


ใหม่ให้ผชู้ มได้เข้าใจชัดเจนขึน ซึงทางทีมผลิตสื อจะดําเนินการหลังจากเลิกการอบรมแล้ว ก็ ได้รับความร่ วมมือจากพ่อๆแม่ๆ เสี ยสละเวลาร่ วมปรับปรุ งสื อให้ดีขึน ช่วงสายจึงเริ มกิจกรรม “ไม่เสี ยดายทีได้ทาํ ” โดยวิทยากรฉายบางส่วนจากภาพยนตร์ เรื อง “ขุนรองปลัดชู” ให้ผเู ้ ข้าร่ วมประชุมได้รับชมกัน ซึงใจความสําคัญของเรื องเล่าย้อนกลับ ไปในความคิดของปลัดชูซึงเป็ นขุนนางประจําหัวเมืองเล็กๆ มีกาํ ลังอีก ๔๐๐ นายคิดรวมกําลัง สูท้ พั พม่าซึงเป็ นกองทัพใหญ่กว่า มีกาํ ลังมากกว่าและเป็ นกองทัพของรัชทายาท แทนทีจะเลือก เข้ากับขุนนางฝ่ ายไทยซึงแสวงหาแต่อาํ นาจเข้าพวกตนเอง บวกกับความผิดหวังทีพบว่ารัช ทายาทผูพ้ ีสังฆ่าน้องสายเลือดเดียวกันเพือขจัดเสี ยนหนามนํามาซึ งความมันคงทางอํานาจ ทํา ให้ปลัดชูกบั พวกตัดสิ นใจผิดหันหลังให้กบั ขุนนางไทยซุ่มโจมตีทพั พม่า ในทีสุ ดก่อนตายยัง ได้เห็นขุนนางไทยทีคอยดูเหตุการณ์การสูร้ บตลอดแต่กเ็ ลือกหันหลังเดินทางกลับไป ตอกยํา ความจริ งว่าคนทีทําเพือบ้านเมืองจริ งหายากเต็มที สอดคล้องกับกลุ่มของพวกเรา (กลุ่มขบวนบุญ) ทีเชือว่าบุญมีฤทธิ จริ ง การดูแล อนุรักษ์รักษาป่ าต้นนําเพือตอบแทนพระคุณแผ่นดิน การทําเกษตรอินทรี ยท์ ีไม่ทาํ ร้ายหน้าดิน อากาศและแหล่งนําบริ สุทธิ ทังยังชวนชาวเมืองอาสาสมัครมาร่ วมค่ายทํากิจกรรมตอบแทนคุณ แผ่นดิน ด้วยการปลูกป่ า สร้างฝาย ปลูกแฝก ทําบ้านดิน บรรจุขา้ วผลิตภัณฑ์บุญ ฯลฯ ส่ งเสริ ม ให้จิตสํานึกเพือส่วนรวมค่อยๆ ซึมลึกลงในใจในรู ปแบบทีทุกคนสามารถมีส่วนร่ วมได้ จากนันวิทยากรปลุกใจให้ผเู้ ข้าร่ วมขบวนบุญนีร้องเพลง “คนดีไม่มีวนั ตาย” ประกอบ ภาพยนตร์ “ขุนรองปลัดชู” ให้มีใจสูต้ ่อไป ให้ใจยอมรับได้วา่ แม้ใครจะไม่เห็นค่า ไม่จดจํา แต่ เราก็จะไม่เสี ยดายทีได้ทาํ แล้วให้แต่ละคนบอกแผนการทีจะเริ มทําด้วยต้นเองวันนีเลย อาทิ สร้างปั จจัย ๔ ให้ พร้อมก่อนเกิดเหตุการณ์ทีไม่คาดคิดขึนเช่น ภัยพิบตั ิ ภัยโรคระบาด ภัยจลาจลทางการเมือง เป็ นต้น เตรี ยมทําสมุนไพรรักษาโรค เตรี ยมแปรรู ปอาหารให้เก็บไว้ได้นาน เตรี ยมกําลังคน ด้านแรงงาน ให้องค์ความรู้ให้พร้อม เตรี ยมทีอยูอ่ าศัย เตรี ยมผลิตพลังงาน เตรี ยมใจตังสติ เสี ยสละเพือส่ วนรวม เป็ นต้น ๒๐ คน ๒๐ อย่าง วิทยากรจึงกรุ๊ ปปิ งเป็ นหัวข้อใหญ่ได้ ๔ หัวข้อ ในการทําทันทีเพือแผ่นดิน คือ วัตถุสิงของ (Hardware) องค์ความรู ้ (Software) กําลังคน แรงงาน ระดมพล (People ware) และ คุณธรรม(Moral) โดยวิทยากรแบ่งกลุ่มออกเป็ น ๓ กลุ่ม ใหญ่จากเนืองานทีทําร่ วมกัน คือ ๑.กลุ่มอนุรักษาป่ าต้นนํา การผลิตอาหารปลอดภัย ๒. กลุ่ม หมอบ้านบ้านเพือการผลิตสมุนไพรและรักษาโรคด้วยวิถีธรรมชาติ และ ๓. กลุ่มศิษย์วดั และ อาสาสมัครในการจัดการศึกษาให้กบั นักเรี ยนและเป็ นผูป้ ระสานงานโครงการต่างๆ ของวัด

50


โดยให้ทงั ๓ กลุ่มคิดจําแนกโดยละเอียดจากหัวข้อใหญ่ ๔ ข้อทีต้องเตรี ยมมีอะไรบ้าง พร้อม แผนงานทีจะนําไปสู่กิจกรรมลงมือทําจริ งตังแต่วนั นีเป็ นต้นไป เช่น โครงการระดมเด็ก นักเรี ยนม.ปลายมาร่ วมสร้างฝาย โครงการทําข้าวแห้งพร้อมทาน โครงการทําฝาย หินทิง ๑๐ ฝายก่อนสิ นปี นี โครงการอโรคยาเคลือนทีไปรักษาผูป้ ่ วยตามบ้านด้วยวิถีธรรมชาติ โครงการ แปรรู ปข้าวตอกอัดแท่งเก็บไว้กินได้นาน โครงการปลูกแฝกและทําปุ๋ ยหมักขีไก่ โครงการผลิต สมุนไพรจากปอกะบิด เป็ นต้น ท้ายสุดจึงทําสัญญากันว่านับแต่วนั นีจะกลับไปทําจริ ง แล้วทุกคนจึงร่ วมร้องเพลง สรรเสริ ญพระบารมีร่วมกันก่อนจะเริ มวงคุยสันๆ ถึงการจัดอบรมครังนีเพือเป็ นการประเมินผล ก่อนจบการอบรม ตารางการจัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบตั ิการผลิตสื อพืนบ้ าน ครังที ๒ (๑๖ - ๑๗ สิ งหาคม ๒๕๕๖) วัน/เดือน/ปี ๑๖ สิ งหาคม ๕๖

เวลา ๑๐.๐๐ น.* ๑๐.๓๐ น.

๑๑.๐๐ น. ๑๑.๓๐ น.

๑๒.๐๐ น. ๑๓.๐๐ น. ๑๕.๐๐ น. ๑๕.๓๐ น.

กิจกรรม ปฐมนิเทศ ชีแจ้งกิจกรรมทัง ๒ วัน กิจกรรม “ทบทวนเรืองฉัน เรืองเธอ” (ทบทวนจุดเด่น/ความถนัดของแต่ละบุคคลทังทีมแกนนํา ชาวบ้านและทีมประสานงานกลางทําสื อ/ทบทวนกิจกรรมตลอดทังปี ทีผ่านมา/ความคาดหวังใน การอบรมครังนี) ฉายสื อวีดีโอคลิป/โฆษณาทีมีอิทธิพลต่ออารมณ์ความรู ้สึก เพือนําเข้าสู่ ทีมาและความสําคัญในการ ผลิตสื อเพือเผยแพร่ ทางโลกออนไลน์ กิจกรรม “วีดโี อนี...จะสื ออะไร” ทุกคนชมวีดีโอทีผลิตได้ แล้วให้แต่ละตอบคําถามในกระดาษโจทย์ เพือทดสอบความเข้าใจ ทัง ส่ วนเนือหา รู ปแบบการนําเสนอ การลําดับเรื อง การลําดับภาพ และองค์ประกอบศิลป์ ต่างๆ พร้อม ชวนเสนอข้อเสนอแนะอืนๆ เพือการปรับปรุ งพัฒนา รับประทานอาหารกลางวันพืนบ้านร่ วมกัน กิจกรรม “วีดโี อนี...จะสื ออะไร” (ต่ อ) กิจกรรมเช่นเดียวกับช่วงเช้า เนืองจากมีวดี ีโอหลายเรื องจึงแบ่งกิจกรรมเป็ นสองช่วง กิจกรรมนันทนาการผ่อนคลาย (เกมส์ใบ้คาํ /เกมส์แปลสาร) กิจกรรม “จะเกิดอะไรขึนเมือชีวติ ของฉันอยู่บนโลกออนไลน์ ” แบ่ง ๓ กลุ่มย่อย อ่านหนังสื อองค์ความรู้แล้ววิพากษ์วจิ ารณ์ (มีขอ้ มูลตรงไหนขาด/เกิน/ซับซ้อน/ การใช้ภาษา/รู ปถ่ายสอดคล้องกับคําบรรยาย/การจัดหน้ากระดาษและตอบคําถามว่าหากเป็ นข้อมูล ของเราไปอยูบ่ นโลกออนไลน์จะเกิดอะไรขึน/ส่ งผลกระทบอย่างไรทังดีและไม่ดีกบั ชีวติ )

51


๑๘.๐๐ น. ๑๙.๓๐ น. ๑๙.๑๐ น. ๒๐.๐๐ น. ๒๐.๓๐ น.

๑๗ สิ งหาคม ๕๖

๒๒.๐๐ น. ๕.๓๐ น. ๗.๐๐ น. ๘.๐๐ น.* ๙.๐๐ น.

๑๑.๐๐ น. ๑๒.๐๐ น. ๑๓.๐๐ น.

รับประทานอาหารเย็น อาบนํา ทําภารกิจส่ วนตัว กิจกรรมนันทนาการผ่อนคลาย นําเสนอความคิดเห็นหลังจากอ่านหนังสื อองค์ความรู ้ในช่วงบ่าย ทําวัตรสวดมนต์ กิจกรรม “สื อสารด้ วยหัวใจ” (สรุ ปกิจกรรมประจําวันและวงเปิ ดใจ) (แลกเปลียนเรื องราวจากเหตุทีเข้าร่ วมโครงการ/แรงจูงใจ/สิ งทีประทับใจทีสุ ด/สิ งเศร้าใจมากทีสุ ด/ การเข้าร่ วมคาราวานบุญทีผ่านมา/การมีส่วนร่ วมในการผลิตสื อของตนเองฯลฯ) เป็ นการเรี ยนรู ้ ภายในของเพือนสมาชิก เกิดความเห็นอกเห็นใจและหลอมพลังให้ฮึดสู ้ในการทํางานร่ วมกัน พักผ่อนกายใจ ตืนนอนด้วยเสี ยงปลุกเพลงธรรมะ ทําวัตรเช้า/ธรรมะเทศนา เตรี ยมพร้อมกิจกรรมเช้าวันใหม่ บําเพ็ญประโยชน์ ทําความสะอาดสถานที รับประทานเครื องดืมร้อนและอาหารว่าง รับประทานอาหารเช้าพืนบ้านร่ วมกัน กิจกรรม “ไม่ เสียใจทีได้ ทํา” หลังจากเมือคืนแต่ละคนได้เปิ ดใจ เปิ ดเผยความรู ้สึก และความเป็ นมาของตนในอดีตซึ งแก้ไขไม่ได้ แต่จะทําอะไรต่อในอนาคต ด้วยกิจกรรม “ไม่เสี ยใจทีได้ทาํ ” ทีจะช่วยสํารวจสิ งทีตนเองมีในมือ และสามารถลงมือทําได้ทนั ที เพือนําไปสู่ เป้ าหมายเดียวกันคือ การตอบแทนคุณของแผ่นดิน แม้จะ ไม่มีโครงการหรื องบประมาณสนับสนุน แต่เป็ นสิ งทีทําแล้วไม่เสี ยใจ รวมทังการหลอมใจเพือฝึ ก การวางใจและใช้ชีวติ บนโลกเมือเผชิญกับความเปลียนแปลงของทุกสิ งตลอดเวลา แลกเปลียน เสริ มกําลังใจระหว่างเครื อข่าย และสรุ ปกิจกรรม ทําแบบประเมินผล รับประทานอาหารเทียงร่ วมกัน เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ

52


สรุ ปประเมินผล จากการนังล้อมวงคุยหลังจบกิจกรรมของผูเ้ ข้าร่ วมอบรมครังนี ผูเ้ ข้าร่ วมอบรมส่ วนใหญ่มี ความพึงพอใจมากทีได้มีส่วนร่ วมในการผลิตสื อของตนเองซึ งเป็ นโครงการหลักในปี นี และ คิดว่ารับได้หากสื อของตนได้เผยแพร่ จะนํามาซึ งกําลังใจ กําลังสนับสนุนหรื อการได้ให้ความรู ้ ดีๆ กับผูอ้ ืนรวมทังเป็ นการเก็บข้อมูลให้ลกู หลานได้สืบทอด รวมทังแผนงานทีได้สญ ั ญาในทีประชุมเป็ นสิ งทีตนเองตังใจจะทําทันที ทําให้รู้สึกอยากจะ ทําให้สาํ เร็ จและพัฒนาขึนจากทีทําอยูแ่ ล้ว นอกจากนันยังมีขอ้ เสนอแนะต่อการอบรมครังนีเพิมเติม ดังต่อไปนี ๑. ควรมีการจัดพบปะกันเองในเครื อข่ายสมาชิกขบวนบุญมากขึน ๒. ขอให้เครื อข่ายมีความสามัคคี ร่ วมแรงร่ วมใจจับมือกันไปแม้วา่ การว่ายนําทวนกระแส จะยากแต่กต็ อ้ งทํา ๓. อยากให้ทีมผลิตสื อลงพืนทีหรื อแจ้งข่าวให้ชาวบ้านได้ติดตามโครงการบ่อยขึนจะได้ ทราบว่าโครงการไปถึงไหน มีส่วนใดต้องรี บแก้ไขปรับปรุ ง ๔. ควรกระชับเวลาให้มากขึนสําหรับบางกิจกรรม ๕. ควรทําสื อให้ครอบคลุมหลายคน หลายพืนที และเพิมความหลากหลายของประเด็นที จะนําเสนอ

53


รายงานนามผู้ร่วมการประชุม โครงการพัฒนาธุรกิจเพือสั งคมคนบุญด้วยช่ องทางสั งคมออนไลน์ วันที ๑๖-๑๗ สิ งหาคม ๒๕๕๖ ณ ห้ องประชุมอเนกประสงค์ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ ม อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ -------------------------------ผู้มาประชุม ๑. นายเสงียม แสนคํา ชุมชนบ้านใหม่ตน้ ผึง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง ๒. นางจันทร์ ดี บุญมาลา ชุมชนบ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง ๓. นายอุดร สุขโข ชุมชนบ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง ๔. นางอามร คําชอน ชุมชนบ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง ๕. นางชณิ ตฎา สาสุจิตร์ ชุมชนบ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง ๖. นายรัฐมนต์ สิ ทธิ โลก ชุมชนบ้านนาฟาน ต.สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง สาสุจิตร ชุมชนบ้านแม่สาบ ต.แม่สาบ อ.สะเมิง ๗. นางจําลอง ๘. นายสุรัตน์ คุณนิธิกรกุล ชุมชนบ้านวัดจันทร์ ต.วัดจันทร์ อ.กัลยาณิ วฒั นา ๙. นายสวิง จะหละ ชุมชนบ้านป่ าเกียะนอก ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง ๑๐. นางสาวศิรินาถ โปธา ชุมชนบ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง ๑๑. นายชัชวาล แสนคํา ชุมชนบ้านแม่เลย ต.สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง ๑๒.นางสาวรุ่ งนภา ชมโลก ชุมชนเทศบาลสะเมิง ต.สะเมิง อ.สะเมิง ชุมชนดอนแก้ว ต.ดอนแก้ว อ.แม่ริม ๑๓. นางสาวจิรินดา แสนหาญชัย ๑๔. ธนพร ภาระษี ชุมชนบ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง ๑๕.นวรัตน์ ภาระษี ชุมชนบ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง ๑๖. ประสิ ทธิ โชคกัลยา ชุมชนบ้านวัดจันทร์ ต.วัดจันทร์ อ.กัลยาณิ วฒั นา ๑๗. ธิ นวุฒิ แซ่อุ่น 110/747 ร่ มเกล้า คลองสองต้นนุ่น ลาดกระบัง กรุ งเทพฯ ๑๘. สุธาสิ นี บุญช่วย 92 ซ.ทางรถไฟตะวันตก3 ถ.ริ มทางรถไฟ จ.นครปฐม บัวเขียน 4/1 ถ.ชมดอย ต.สุเทพ อ.เมืองเชียงใหม่ ๑๙. ชัชวาลย์ ๒๐.ธชาพร เลาวพงษ์ 225/9 ต.หัวดง อ.ลับแล จ.อุตรดิตถ์

54


ผู้เข้ าร่ วมประชุ ม ๑. พระอธิ การสรยุทธ ชยป ฺ โญ ๒. นางสาวฉัตรกมล มงคล ๓. นายประมวลสิ น เกิดงาม

55

ประธานคณะทํางาน วิทยากร วิทยากร


ภาพกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารกระบวนการผลิตสื อพืนบ้ าน (๒ วัน ๑ คืน รอบที ๒ “ขันทดลองนําสื อทีผลิตได้ ไปใช้ จริง”) วันที ๑๖-๑๗ สิ งหาคม ๒๕๕๖ ณ ห้ องประชุมอเนกประสงค์ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ ม อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่

กิจกรรม “ทบทวนเรื องฉัน และเธอ” ทบทวนกิจกรรม ทังปี ทีได้ทาํ ร่ วมกัน

กิจกรรม “วีดีโอนี...จะสื อ อะไร” ผูเ้ ข้าร่ วมประชุม นังชมภาพยนตร์กนั อย่าง สบาย หลายคนตังใจดู มาก เพราะเดียวจะตอบ คําถามไม่ได้!

กิจกรรม “วีดีโอนี...จะสื อ อะไร” แม่บา้ นหลายคนนังทํา ข้อสอบโดยไม่คุยกันตาม กติกา หลายคนเสร็ จแล้วก็จบั กลุ่มเสวนาถึงกันต่ออย่างออก รสออกชาติ

56


กิจกรรมนันทนาการ “เครี ยดนัก...พักสัก หน่อย” กิจกรรมเล่นเกมส์ผอ่ นคลายความ เมือยล้าจากการนังนานๆ การจับกลุ่มกัน จินตนาการตามเกมส์ และการเล่มเกมส์ ประกอบเพลงเข้าจังหวะ ช่วยแก้ง่วง แถมสร้าง ความคึกคักคลายความง่วงได้เป็ นอย่างดี

(ล่าง) กิจกรรม “จะเกิดอะไรขึนเมือชีวติ ของ ฉันอยูบ่ นโลกออนไลน์” แบ่งกลุ่มศึกษาองค์ ความรู ้ทีทีมงานได้ลงพืนทีเก็บข้อมูลแล้ว นํามาเรี ยบเรี ยง จากนันให้ผเู ้ ข้าร่ วมประชุมซึ ง คือผูใ้ ห้ขอ้ มูลในตอนลงพืนทีตรวจสอบความ สมบูรณ์ รวมทังองค์ประกอบศิลป์ การจัดหน้า สี สนั การเว้นทีว่างแง่ความสวยงามด้วย

57


กิจกรรม “จะเกิดอะไรขึนเมือชีวติ ของฉันอยู่ บนโลกออนไลน์ (ต่อ) ภาคนําเสนอให้ที ประชุมรวมและวิเคราะห์ก่อนสรุ ปสิ งทีควร ปรับปรุ งองค์ความรู ้ฉบับนี

เกมส์ใบ้คาํ คู่ต่อคู่ก่อนเริ มทํากิจกรรมในช่วง คํา สร้างรอยยิมเสี ยงหัวเราะ เสริ มไหวพริ บ

58


กิจกรรม “สื อสารด้วยหัวใจ” วงเปิ ดใจยาม คําคืน แต่ละคนเล่าทีมาของการเข้าร่ วม โครงการขบวนบุญ สิ งทีเป็ นจุดเปลียน ความประทับใจทีสุ ด/เศร้าทีสุ ด

กิจกรรม “ไม่เสี ยใจทีได้ทาํ ” จับกลุ่มทีมี เนืองานคล้ายคลึงกัน วางแผนลงมือทํา ทันที ๔ ด้าน คือ ด้านวัตถุสิงของ องค์ ความรู ้ กําลังคน และคุณธรรม ซึ ง แผนการนีจะลงมือทําทันที ไม่รองบ รอ ภัยคุกคาม หรื อรอกําลังคน แต่เริ มเลย จากสิ งทีมี โดยได้เกิดสัญญากันกําหนด ปลายปี นี พร้อมแต่งตังประธานกลุ่ม เลขาโครงการติดตามและประเมินผล

59


เนือหา/รายละเอียดการดําเนินกิจกรรม โครงการพัฒนาธุรกิจเพือสั งคมคนบุญด้ วยช่ องทางสั งคมออนไลน์ คาราวานบุญครังที ๓ ตอน ขบวนบุญบุกงานสตรอเบอร์รีสะเมิง (ครังที ๓) ณ ถนนคนเดินอําเภอสะเมิง งานเทศกาลวันสตรอเบอร์รีสะเมิง ประจําปี ๒๕๕๖ หน่ วยงาน/องค์ กร วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ผู้ประสานงาน พระครู ธรรมคุต (สรยุทธ ชยปัญโญ) เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผูอ้ าํ นวยการศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม โทร. o๘๙ ๙๒๖ ๓๘๗๗ E-mail: doiphasom@gmail.com วัตถุประสงค์ของโครงการ กิจกรรม

๑. เพือการประชาสัมพันธ์แนวคิดและกิจกรรมจากสมาชิกในเครื อข่ายสู่ชาวเมืองเชียงใหม่ ขยายฐานคนบุญ คนอุดมการณ์เดียวกันให้กว้างขึน ๒. เพือเกิดการแลกเปลียนเรี ยนรู ้บทเรี ยน ปรับปรุ ง แก้ไขพัฒนาและเติมกําลังใจในการ ขับเคลือนเครื อข่ายเพือการพึงพาตนเอง รายละเอียดของกิจกรรมคาราวานบุญครังที ๓ (๑๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖) แบ่งเป็ นกิจกรรมย่อย คือ กิจกรรมประชุมเตรี ยมงาน และกิจกรรมวันออกคาราวานบุญครังที ๓ ดังนี ๑. กิจกรรมประชุ มและจัดเตรียมนิทรรศการก่อนวันงาน เช้าวันที ๑๕ กุมภาพันธ์ หลังจากทีทีมงานประชุมวางแผน แบ่งหน้าที และ จัดเตรี ยมของตังแต่บนวัดทีมงานจึงได้ขนของทังหมดและบูธนิทรรศการขนาดใหญ่ลงดอย มาแต่เช้า เนืองจากในวันงานจะมีการปิ ดช่องการจราจรทําให้การขนย้ายของอาจไม่สะดวก โดยทีมงานได้แบ่งหน้าที ดังนี ทีมประจําจุดชิมฟรี เตรี ยมวัตถุดิบในการทํานําข้าวกล้องงอก โดยการปันข้าวกล้องเตรี ยม ไว้ ทีมทีว่างช่วยทีมชิมฟรี โดยการถือกระบะชิมฟรี ประกอบด้วย นําข้าวกล้องงอก ข้าวตอก แท่ง และกล้วยทอดกรอบ โดยดักรอกลุ่มเป้ าหมายทีเดินผ่านหน้าบูธ และพยายามพูดให้ น่าสนใจแล้วเชิญชวนเข้าบูธ ซึงบูธทีเราได้ในงานวันสตรอเบอร์รีค่อนข้างเป็ นทําเลทีดี ติดกับ ประตูเข้าออกของงานจึงมีผคู ้ นเดินผ่านไปผ่านมาบ่อย และเป็ นจุดสังเกตุเห็นง่าย ทําให้เป็ นที จดจําของคนนอกพืนทีและในพืนที ถึงชือของโครงการขบวนบุญ วัดดอยผาส้ม 60


ทีมประจําจุดขายนําผลิตภัณฑ์ต่างๆมาจัดแสดง ติดป้ ายราคา สําหรับกลุ่มเป้ าหมายทีสนใจ ทีมประจําจุดนิทรรศการยืนเตรี ยมความพร้อมในบูธ ประจําตําแหน่งรอกลุ่มเป้ าหมาย ทีมประชาสั มพันธ์ หน้ าบูธ (MC) เรี ยกลูกค้าตามบทสคริ ปทีเตรี ยมมา สลับกับการเล่น เกมส์แจกของ ทําให้บูธไม่เงียบแต่เรี ยกความสนใจได้ดี ทีมฉากและสถานทีทําการปรับเปลียนเคลือนย้ายโต๊ะเก้าอีต่างๆ ปรับตามหน้างานเพือ ความเหมาะสม พร้อมเปิ ดสื อวีดิทศั น์ ดูแลระบบคอมพิวเตอร์ ติดตังเครื องเสี ยงเคลือนสําหรับ MC หน้าบูธ ั เวณงาน คือขบวนพาเหรดเรี ยกความสนใจและ ทีมพาเหรดเพือการประชาสัมพันธ์ ทวบริ ทําให้เป็ นทีจดจําได้งาน เป็ นวิธีการประชาสัมพันธ์แนวคิดพาคนตระหนักเรื องทรัพยากรธรรมชาติ ได้ถึงที ถึงตัว

๒. กิจกรรมวันออกคาราวานบุญ กิจกรรมออกคาราวานบุญครังที ๓ ทีงานสตรอเบอร์รีสะเมิงครังทีแตกต่างและโดด เด่นกว่าสองครังทีผ่านมา เพราะได้ขนขบวนชาวบ้าน จากบ้านอมลอง และบ้านอังคาย คือ ทีมหมอบ้านบ้าน ช่วยรักษาโรคและอาการผิดปกติต่างๆ ด้วยวิธีธรรมชาติ พร้อมเปิ ดคลินิก แนะนําวิธีการดูแลตนเอง หรื อการเป็ นหมอด้วยตนเอง หลังจากทีทางชาวบ้านได้รวมกลุ่มรักษาเพือนเครื อข่ายและรักษาดูแลกันและกันมา ระยะหนึง โดยมีการก่อสร้างอาคารบ้านดินอโรคยาอยูห่ น้าศูนย์เรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียง วัด พระบรมธาตุดอยผาส้ม เป็ นพืนทีปฏิบตั ิการเปิ ดให้บริ การกับชาวชุมชนในพืนทีและคณะ ศรัทธาทีมาเยือนวัด คาราวานครังนีจึงเป็ นครังแรกๆ ทีชาวบ้านจะได้แสดงฝี มือ ทังประชาสัมพันธ์การ พึงพาตนเองด้านสุ ขภาพ ทังยังได้ร่วมบุญ จากการบริ จาคและออมเงินตามกําลังศรัทธาของ ผูเ้ ข้าร่ วมขบวนบุญหลังเข้ารับการบริ การจากทีมหมอบ้านบ้าน และนิทรรศการอีกส่ วนคือ จุดขายผลิตภัณฑ์พร้อมบอกเล่าจุดประสงค์ของโครงการด้วยทีมงานส่ วนกลางซึง ประกอบด้วยทีมศิษย์วดั เยาวชน นักศึกษาทีเข้าใจแนวคิดของโครงและมีประสบการณ์จาก การออกคาราวานบุญครังทีผ่านมา งานครังนีจึงแบ่งการทํางานเป็ นสองส่ วน คือ ทีมบูธขายผลิตภัณฑ์บุญ ทีมหมอบ้าน บ้าน ทีต่างกันแค่กิจกรรมแต่มีจุดหมายเดียวกันคือ พาคนทําบุญและตระหนักถึง

61


สิ งแวดล้อม มีเป้ าหมายคือ ทีมงานจัดงานและผูค้ นทีเข้าร่ วมงาน โดยมีรายละเอียดกิจกรรม ดังต่อไปนี ๑. ทีมบูธขายผลิตภัณฑ์บุญ นอกจากการจัดตังบูธนิทรรศการ แนะนําจุดประสงค์โครงการผ่านตัวผลิตภัณฑ์แล้ว และเดินถือป้ ายประชาสัมพันธ์ทวงาน ั คาราวานบุญครังนีเราได้ร่วมเป็ นส่ วนหนึงของงาน กลมกลืนไปกับบูธอืนๆ รวมทังได้พืนทีเวทีกลางมาประชาสัมพันธ์บูธของตนเอง ด้วยการ แจกใบปลิวให้กบั แม่คา้ พ่อค้า เชิญชวนนวดเพือผ่อนคลาย รวมทังเลือกซือผลิตภัณฑ์ปลอด สารเป็ นบูธรักษาสุ ขภาพ โดยดึงเรื องใกล้ตวั ก่อนทีจะแสดงให้เห็นว่าสิ งเล็กๆ เช่นการ สนับสนุนสิ นค้าและบริ การของเราก็สามารถเป็ นส่ วนหนึงของการดูแลป่ าต้นนําของ ส่ วนรวมได้ การขอพืนทีจัดกิจกรรมบนเวทีกลาง และเวทีของสภากาชาดซึงมีผคู ้ นให้ความสนใจ มากเป็ นพิเศษอยูแ่ ล้ว ทําให้เราเป็ นทีรู ้จกั มากขึนของชาวอําเภอสะเมิงซึงเป็ นพืนทีในเขต งานของเรา กิจกรรมบนเวที คือ การตอบคําถามชิงรางวัลอย่างง่ายๆ รางวัลคือไข่ไก่ จากไก่ ทีเลียงในชุมชน ส่ วนเวทีของสภากาชาดเราเปิ ดเป็ นนาทีทองซือบัตรชิงโชคของสภากาชาด สิ บบาทแถมไข่ไก่จากชุมชนพอเพียงของเราไปเลย ซึงเราได้เวลาในการออกประกาศไมค์ โฆษณาดังไปทัวบริ เวณงาน ทําให้เป็ นทีรู ้จกั คนเริ มทยอยเข้าบูธนิทรรศการมากขึนกว่า ประจําทีบูธหรื อเดินพาเหรดอย่างครังทีผ่านๆ มา ๒. ทีมหมอบ้านบ้าน เป็ นครังแรกๆ ทีทีมหมอบ้านๆ ทังสองหมู่บา้ นได้ออกมาเปิ ดบูธบริ การเอาบุญเข้า กองทุนหมอกควันไฟป่ า เพือภารกิจดับไฟ สร้างฝาย ปลูกป่ า ทีมหมอบ้านมีบริ การ นวด แผนไทยตามภูมิปัญญาเดิมของบรรพบุรุษทีสื บทอดจากรุ่ นสู่ รุ่น ก่อนจะเริ มโครงการมี ผูส้ นใจฟื นฟูองค์ความรู ้การรักษาสุ ขภาพจากอดีต แต่คิดไม่ตกว่าถ้ารื อฟื นแล้วจะอยู่ อย่างไรให้มีรายได้ ในขณะก็มีคู่แข่งคือ หมอนวดแผนไทย หมอกดจุดอีกหลายหมู่บา้ นที ทํากันเป็ นกิจจะลักษณะ หลังจากพูดคุยกันในกลุ่ม ชาวบ้านจึงตัดสิ นใจเข้าร่ วมโครงการ ขบวนบุญทีมีรายได้และได้ทาํ บุญด้วย ไม่เหมือนโมเดลการซือขายบริ การในลักษณะทุน นิยมทีแข่งขันกันทีราคาเพียงอย่างเดียว เมือทีมหมอบ้านบ้านในเครื อข่ายเลือกทีจะทําบุญด้วย มีรายได้ดว้ ย ทําให้ตอนนี บรรดาชาวบ้านทีร่ วมโครงการมีรายได้และเห็นว่าโมเดลการพาทําบุญสอดคล้องกับวิถี ชีวิตมากกว่าแนวทางเดิม นอกจากนันเมือออกคาราวานบุญทําให้เป็ นการเร่ งพัฒนาฝี มือ การนวดต่างๆ รวมทังเกิดแนวคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ อาทิ ลูกประคบ มัดสมุนไพร 62


สมุนไพรแช่ตวั ฯลฯ ทีสามารถหาวัตถุดิบง่ายๆ ในไร่ ในสวน เพราะผูเ้ ข้ารับการบริ การ หรื อซือผลิตภัณฑ์แสดงความคิดเห็นโดยตรงกับผูผ้ ลิตและผูใ้ ห้บริ การซึงก็คือ ชาวบ้าน เป็ นการเรี ยนรู ้แก้ไขปั ญหาเองในกลุ่มสมาชิก เป็ นการสรุ ปบทเรี ยนของทีมหมอบ้านบ้าน หลังจบงานคาราวานบุญครังนี

ตารางกิจกรรมคาราวานบุญครังที ๓ วันที ๑๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖ ๖.๓๐ น. ออกเดินทางจากวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม สู่อาํ เภอสะเมิง ๗.๓๐ น. ถึงอําเภอสะเมิง สถานทีจัดงานเทศกาลสตรอเบอร์ รีสะเมิง ประจําปี ๒๕๕๖ ๘.๐๐ – ๑๙.๐๐ น. ติดตังเต็นท์นิทรรศการ โดยแบ่งเป็ น ๓ โซน คือ ส่ วนจัดแสดงนิทรรศการเผยแพร่ แนวคิดและ กิจกรรมบุญ ส่ วนจัดจําหน่ายและทดลองใช้ลองชิมผลิตภัณฑ์บุญ และส่ วน “อโรคยาศาลา” หรื อ โรงพยาบาลวิถีบา้ นบ้าน เปิ ดนวดแผนไทย กดจุด คลายเส้น ชิมนําสมุนไพร นําคลอโรฟิ ลล์คนสด ั ขอคําแนะนําในการปรับเปลียนพฤติกรรมการกินให้ถูกธาตุ การกินอาหารเป็ นยา การดูแลรักษา สุ ขภาพ และรักษาบรรเทาโรคต่างๆ ด้วยวิถีแพทย์ทางเลือกผูม้ ีประสบการณ์ ๑๐.๐๐ น. เดินขบวนประชาสัมพันธ์แนวคิดและทดลองชิมผลิตภัณฑ์บุญเคลือนทีทัวบริ เวณจัดงาน (รอบที ๑) ๑๑.๐๐ น.

เล่นเกมส์หน้าบูธ ตอบคําถามชิงรางวัลผลิตภัณฑ์บุญ

๑๓.๐๐ น. ๑๔.๐๐ น. ๑๕.๐๐ น. ตลอดทังวัน

กิจกรรม “ สาธิตวิธีการนวดเพือผ่อนคลายด้ วยตัวเอง” กิจกรรม “สาธิตวิธีการทํานําคลอโรฟิ ลล์ (นําเขียวเพือสุ ขภาพดีทุกวัน ดืมทุกวัน)” เดินขบวนประชาสัมพันธ์แนวคิด/ทดลองชิมผลิตภัณฑ์บุญเคลือนทีทัวบริ เวณจัดงาน (รอบที ๒) สํารวจความคิดเห็นและแลกเปลียนประสบการณ์ทงผู ั จ้ ดั งานและผูเ้ ข้าร่ วมงาน หลังได้ชม นิทรรศการทัง ๓ โซน รวมทังความคิดเห็นต่อโครงการในภาพรวม สรุ ปกิจกรรมและเดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ

๑๗.๐๐ น.

ยุทธวิธีดึงดูดความสนใจกลุ่มเป้าหมาย ๑) การเชิญชิมผลิตภัณฑ์ฟรี ถึงตัวกลุ่มเป้ าหมาย เฉพาะเจาะจงได้ผลดีกว่าคอยลูกค้าในบูธ ๒) กิจกรรมสาธิตการนวดผ่อนคลายทีทุกคนทําได้ดว้ ยตนเอง ๓) การเดินประชาสัมพันธ์ถึงกลุ่มเป้ าหมาย คือ กลุ่มแม่บา้ น กลุ่มพ่อค้าแม่คา้ อําเภอสะเมิงที ออกบูธขายของเป็ นผูท้ ีสนใจนวดผ่อนคลายมากทีสุ ดจากการประเมินของทีมหมอบ้าน บ้าน ด้วยการแจกใบปลิวเชิญชวนและโปรโมชันการนวดทีนอกจากตัวเราจะสบายแล้ว ยัง ได้สนับสนุนชาวบ้านต้นนําไปดูแลทรัพยากรธรรมชาติส่วนรวม 63


๔) กิจกรรมประชาสัมพันธ์หน้าบูธ เช่น การร้องเพลงประสานเสี ยง การชูป้ายประสัมพันธ์ การเล่นเกมส์ชิงรางวัล ช่วยดึงดูดความสนใจของกลุ่มเป้ าหมาย ทําให้เกิดความรู ้สึกที อยากมีส่วนร่ วมหรื อรับรู ้ทางเลือกในการดูแลทรัพยากรได้ ๕) การขอพืนทีเวทีกลางของงาน คือมีการขอไมค์ประกาศประชาสัมพันธ์ แนะนําโครงการ เล่นเกมส์ชิงรางวัล รวมทังกิจกรรมนาทีทอง แจกไข่ไก่ตม้ สุ กเป็ นรางวัล สร้างการมีส่วน ร่ วมแก่บุคคลทัวไปและกลุ่มเป้ าหมายได้เป็ นอย่างดี

จํานวนผู้เข้ าร่ วมกิจกรรม ๑. คณะทีมงานผูเ้ ข้าร่ วมโครงการและกลุ่มจิตอาสาจํานวน ๒๐ คน ๒. บุคคลทัวไปทีเดินทางมาเลือกชมสิ นค้าผลิตภัณฑ์ต่างๆ ณ บูธนิทรรศการ จํานวน ๓๐๐ – ๔๐๐ คน ๓. บุคคลทีรับรู ้สือประชาสัมพันธ์โครงการ “ขบวนบุญ” จํานวนประมาณ ๕๐๐ คน สรุปประเมินผล หลังจากเสร็ จสิ นกิจกรรมคาราวานบุญครังที ๓ ได้มีการจัดทําแบบประเมินผลความพึงพอใจใน ๒ ส่ วนได้แก่ ๑) คณะทีมงานผูเ้ ข้าร่ วมโครงการและจิตอาสา โดยถามคําถามปลายเปิ ดเกียวกับความรู ้สึก และข้อเสนอแนะของการมาร่ วมงานคาราวานบุญครังนี รวมทังการปรับปรุ งพัฒนากลุ่ม แม่บา้ นพ่อบ้านหลังจากได้รับฟังกลุ่มเป้ าหมายแนะนํา ๒) ผูบ้ ริ โภค โดยให้กรอกแบบสอบถามเกียวกับความพึงพอใจในการจัดสถานที ผลิตภัณฑ์ที จัดแสดง ผลิตภัณฑ์ทีทดลองชิมฟรี กิจกรรมบนเวที ความเข้าใจในวัตถุประสงค์ของ โครงการ การประชาสัมพันธ์โครงการ และความรู ้สึกต่อการมีส่วนร่ วมในงานครังนี สําหรับคณะทีมงานผูเ้ ข้าร่ วมโครงการและจิตอาสา ได้กล่าวความรู ้สึกในการมาร่ วมงานคาราวาน บุญและมีขอ้ เสนอแนะดังนี ๑. สถานทีจัดงานสะดวกสบาย เพราะมีพืนทีมาก มีการแบ่งสัดส่ วนจัดนิทรรศการ ส่ วนแสดง สิ นค้า ส่วนโรงนวดผ่อนคลาย ส่ วนชิมนําสมุนไพรต้มและสิ นค้าอืนๆ ทังมีหอ้ งเก็บของ ห้องพัก ห้องนําด้านหลังทําให้ผเู ้ ข้าร่ วมจัดงาน ทํางานได้อย่างเต็มที 64


๒. สื อประชาสัมพันธ์โครงการ เช่นป้ ายไวนิล จอโทรทัศน์ ยังได้รับความสนใจจากคนต่างถิน มากกว่าคนสะเมิงในท้องถิน เนืองจากถูกดึงความสนใจจากสิ นค้า คือ ข้าวสารปกา เกอะญอ ซึงมีความโดดเด่นกว่าสิ นค้าทัวไป จากนันผูเ้ ข้าร่ วมจะยืนดูบอร์ดนิทรรศการ พร้อมซักถามข้อสงสัยจากทีมงานประจําจุดนันๆ เอง ๓. ทีมงานและจิตอาสาทุกคนมีความร่ วมมือร่ วมใจกันเป็ นอย่างดี หลังจากได้รับบทเรี ยนการ จัดคาราวานครังทีแล้วทีลงมติวา่ ควรจัดเตรี ยมงานก่อนถึงวันงานจริ งล่วงหน้าอย่างน้อย ๑ วัน ทําให้งานครังนีแม้จะมีชาวบ้านหรื อทีมหมอบ้านบ้านเข้าร่ วมครังแรก ก็ไม่เป็ น อุปสรรคเพราะได้ทาํ การพูดคุย จัดเตรี ยมสถานที และกําหนดหน้าทีของแต่ละคนไว้แล้ว ๔. ทีมงานได้แสดงความรู ้สึกทีมีต่องานครังนีว่า ถึงแม้จะมียอดขายไม่มาก คนในพืนทีให้ ความสนใจระดับปานกลางถึงน้อย แต่สามารถประชาสัมพันธ์โครงการให้เป็ นทีรู ้จกั คุน้ หู มากขึน โดยวัดจากการสอบถามพ่อค้าแม่คา้ และลูกค้าทีเข้ามาร่ วมกิจกรรมบนเวทีกลาง ๕. งานในครังนีไม่ได้มีการสาธิตวิธีการทํานําเขียวคลอโรฟิ ลล์ เพราะจากการประเมิน สถานการณ์แล้วน่าจะมีกลุ่มเป้ าหมายมาร่ วมชมไม่มาก จึงเปลียนเป็ นการตังหม้อดินต้มนํา สมุนไพรแทนให้ดืมฟรี ดับกระหายและบอกสรรพคุณ จนกลุ่มเป้ าหมายอาจสนใจใช้ บริ การ “นวดเอาบุญ” หรื อสนใจเลือกซือผลิตภัณฑ์กลับบ้าน ๖. การเดินประชาสัมพันธ์และการใช้กลยุทธ์แจกไข่ไก่ตม้ บนเวทีของกาชาดอําเภอสะเมิงทํา ให้ผคู ้ นทีผ่านไปมาจดจําชือขบวนบุญและจุดประสงค์ในการออกคาราวานบุญได้ดีกว่า เดินขบวนไปมาภายในบริ เวณงาน แต่อาศัยเครื องเสี ยงของบูธใหญ่ๆ

สถิติของผูบ้ ริ โภค (กลุ่มเป้ าหมาย) จากการตอบแบบสอบถามจํานวน ๓๐ คน แบ่งเป็ น ๒ หัวข้อหลักคือ ข้อมูลทัวไปของผูต้ อบแบบสอบถาม และความคิดเห็นต่อการจัดงานและ ข้อเสนอแนะอืนๆ เป็ นดังนี 1. เพศ เพศ

จํานวน (ราย)

ร้ อยละ

ชาย

3

12.50

หญิง

21

87.50

รวม

24

100.00

65


2. อายุ อายุ (ปี )

จํานวน (ราย)

ร้ อยละ

15-25

6

20.00

26-35

5

16.67

36-45

4

13.33

46-55

6

20.00

56 ปี ขึนไป

9

30.00

รวม

24

100.00

การศึกษา

จํานวน (ราย)

ร้ อยละ

ประถมศึกษา

6

20.00

มัธยมศึกษาตอนต้น

1

3.33

มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช 1

3.33

อนุปริ ญญา/ปวส

1

3.33

ปริ ญญาตรี

17

56.67

ปริ ญญาโท

3

10.00

ปริ ญญาเอก

1

3.33

3. การศึกษา

66


รวม

24

100.00

สรุ ป ผูต้ อบแบบสอบถามทังหมด ๒๔ คน เป็ นชาย ๓ คน เป็ นหญิง ๒๔ คน สําหรับช่วง อายุอนั ดับแรก คือ อายุ ๕๖ ปี ขึนไป อันดับสองเท่ากันคือ ช่วงอายุ ๑๕ – ๒๕ และช่วงอายุ ๔๖-๕๕ ปี สําหรับระดับการศึกษาของผูต้ อบแบบสอบถามอันดับแรกคือ ปริ ญญาตรี ๑๗ คน คิดเป็ นร้อยละ ๕๖.๖๗ รองมาเป็ นระดับประถมศึกษา ๖ คน คิดเป็ นร้อยละ ๒๐.๐๐ และสุ ดท้ายปริ ญญาโท ๓ คน คิดเป็ นร้อยละ ๑๐.๐๐ สถิติความคิดเห็นต่อการจัดงานและข้อเสนอแนะอืนๆ 1. ท่านเข้าใจวัตถุประสงค์ของงานมากน้อยเพียงใด ท่านเข้าใจวัตถุประสงค์ของงานเพียงใด จํานวน (ราย)

ร้ อยละ

100%

7

23.33

80%

12

40.00

60%

4

13.33

40%

1

3.33

ไม่เข้าใจเลย

6

20.00

รวม

24

100.00

67


2. ท่านคิดว่าวัตถุประสงค์ของงานนี คือ... ท่านเข้าใจวัตถุประสงค์ของงานคือ 1. การมาขายของ

จํานวน (ราย)

ร้ อยละ

2

6.67

11

36.67

2. เน้นการตระหนักถึงความสําคัญของ ป่ าไม้ 3. พาคนมาทําบุญ/ประชาสัมพันธ์ องค์กร ข้อ 1 ข้อ 2 และ ข้อ 3

13

43.33

2

6.67

ข้อ 2 และ ข้อ 3

2

6.67

รวม

30

100.00

3. ความคิดเห็นต่อผลิตภัณฑ์ ( ข้าว/กล้วย/นํายา/แชมพู/สบู่/ผ้าทอมือปกาเกอะญอ) ความคิดเห็นต่อผลิตภัณฑ์

จํานวน (ราย)

ร้ อยละ

1. ดีแล้ว

23

76.67

2. เฉยๆเหมือนสิ นค้าอืนๆ

2

6.67

3. ควรปรับปรุ ง

5

16.67

30

100.00

รวม

68


4. ข้อเสนอแนะในการปรับปรุ งผลิตภัณฑ์ ข้อเสนอแนะในการปรับปรุ ง

จํานวน (ราย)

ร้ อยละ

1. รู ปแบบผลิตภัณฑ์

1

20.00

2. ฉลาก

1

20.00

3. คุณภาพ

1

20.00

4. ความหลากหลายของผลิตภัณฑ์

2

40.00

5

100.00

ผลิตภัณฑ์

รวม

5. ความคิดเห็นเกียวแพทย์แผนไทย (หมอบ้านบ้าน) ความคิดเห็นต่อแพทย์แผน

จํานวน (ราย)

ร้ อยละ

1. ดีแล้ว

25

83.33

2. เหมือนกับทีอืนๆ

2

6.67

3. ควรปรับปรุ ง

3

10.00

30

100.00

ไทย

รวม

6.ข้อเสนอแนะในกานปรับปรุ งแพทย์แผนไทย ข้อเสนอแนะในกาปรับปรุ ง

จํานวน (ราย)

69

ร้ อยละ


แพทย์แผนไทย 2

66.67

2. การปรับปรุ งการแต่งกายของ 1 หมอ รวม 3

33.33

1. เพิมจํานวนหมอ

100.00

7. ความสนใจในการติดตามขบวนบุญ ความสนใจในการติดตามขบวนบุญ จํานวน (ราย)

ร้ อยละ

1. สนใจ

27

90.00

2. ไม่สนใจ

3

10.00

30

100.00

จํานวน (ราย)

ร้ อยละ

1. โทรศัพท์

9

33.33

2. อีเมล

5

18.52

3. ป้ ายโฆษณา

10

37.04

4. มาซือสิ นค้าทีสะเมิง

3

11.11

27

100.00

รวม

8. ช่องทางในการติดตามขบวนบุญ ช่องทางในการติดตามขบวน บุญ

รวม

70


สําหรับผูบ้ ริ โภค (กลุ่มเป้ าหมาย) ได้กล่าวความรู ้สึกในการมาร่ วมงานคาราวานบุญและให้ ข้อเสนอแนะดังนี กลุ่มเป้ าหมายร้อยละ 40 เข้าใจจุดประสงค์ของการจัดงานถึง 80 เปอร์เซ็นต์ ร้อยละ 23.33 เข้าใจ 100 เปอร์เซ็นต์ และร้อยละ 20 ไม่เข้าใจจุดประสงค์เลย สําหรับความเข้าใจในจุดประสงค์คือ พาคนทําบุญและประชาสัมพันธ์องค์กร คิดเป็ นร้อย ละ 43.33 รองมาเป็ นการเน้นให้คนตระหนักถึงความสําคัญของทรัพยากรป่ า ร้อยละ 36.67 ตอบทังสามข้อคือมาขายของ/พาคนทําบุญ/พาคนเห็นคุณค่าของป่ า ร้อยละ 6.67 ความคิดเห็นต่อสิ นค้าร้อยละ 76.67 บอกว่าดีแล้ว รองมาเป็ นควรปรับปรุ งร้อยละ 16.67 และเฉยๆ ร้อยละ 6.67 สําหรับข้อเสนอแนะทีอยากให้ปรับปรุ งสิ นค้าเช่น การปรับปรุ งพัฒนาบรรจุภณั ฑ์ ทีควร ระบุวนั หมดอายุ ระบุสรรพคุณ หรื อออกแบบให้ดูทนั สมัยน่าใช้งาน รวมถึงคุณภาพของนํายา ให้มีความเหนียวหนืดสมําเสมอ การแตกหักของเมล็ดข้าวทีควรรักษาขนส่ งหรื อสี ขา้ วอย่าง ทะนุถนอม นอกจากนันน่าจะมีสินค้าให้หลากหลายชนิดกว่านี สําหรับข้อเสนอแนะต่อทีมหมอบ้านบ้าน (นวดแผนไทย) เช่น ดีแล้วแต่น่าจะใส่ เสื อผ้าให้รู้ ว่าเป็ นหมอพืนบ้าน และควรเพิมบุคลากรในการนวดหรื อให้บริ การโดยเฉพาะเยาวชนคนรุ่ น ใหม่ทีจะมาสื บสานวิชาภูมิปัญญาแพทย์แผนไทยนี สําหรับร้อยละ 90 ต้องการติดต่อขบวนบุญต่อด้วยช่องทาง ทางป้ ายโฆษณาหรื อใบปลิว อันดับแรก รองมาเป็ นทางโทรศัพท์ อีเมล์ และต้องการเลือกซือผลิตภัณฑ์เองทีอําเภอสะเมิง จากการประมวลความคิดเห็นของกลุ่มเป้ าหมายทําให้ทราบว่ากลุ่มลูกค้าส่ วนใหญ่เป็ น ผูส้ ู งอายุวยั 56 ปี ขึนทีรักสุ ขภาพ สนใจเลือกซือผลิตภัณฑ์อินทรี ย ์ และมีระดับการศึกษาคือ ปริ ญญาตรี มีความรู ้ความเข้าใจถึงจุดประสงค์ในการจัดงานมากถึง 80 เปอร์เซ็นต์ คือ การพา คนทําบุญ ทังประชาสัมพันธ์องค์กร เน้นการตระหนักถึงคุณค่าของป่ า และมาขายผลิตภัณฑ์ สําหรับช่องทางทีสนใจติดต่อรับข่าวสาร “ขบวนบุญ” อย่างต่อเนืองสนใจเป็ นแผ่นป้ ายโฆษณา ใบปลิว รองมาเป็ นทางโทรศัพท์ ทางอีเมล์ และสนใจติดตามโดยการเลือกซือผลิตภัณฑ์ตาม บริ เวณทีจัดบูธหรื อร้านค้าประจําในเมืองเชียงใหม่ ทําให้เห็นว่าการออกบูธทําให้กลุ่มเป้ าหมาย รู ้จกั เข้าใจตัวโครงการทังอยากสนับสนุนอย่างต่อเนืองด้วยการซือผลิตภัณฑ์ตามร้านค้าทีจัด จําหน่าย มากกว่าติดตามความเคลือนไหวทางอีเมล์ ทางโทรศัพท์

71


รายชือเหล่าอาสาสมัครงานคาราวานบุญ ครังที ๓ โครงการพัฒนาธุรกิจเพือสั งคมคนบุญด้ วยช่ องทางสั งคมออนไลน์ วันที ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ ณ ถนนคนเดินอําเภอสะเมิง งานเทศกาลวันสตรอเบอร์ รีสะเมิง ประจําปี ๒๕๕๖ อ. สะเมิง จ.เชี ยงใหม่ -------------------------------ผู้มาประชุ ม ๑. ภควดี ไชยศิริ ๒. พิมพ์ลดา ปั ญจะวิสุทธิ ๓. อรัญญา นามแสง ๔. ศิริลกั ษณ์ มอวารี ๕. โกสุ บิน ทะสา ๖. ฉัตรกมล มงคล ๗. วิสิษฐพล ภูสิริพฒั นานนท์ ๘. น.ส. สุ รภี วิสุทธิวรรณ ๙. ชนิตฎา สาสุ จิตร์ ๑๐. ชัชวาลย์ บัวเขียน ๑๑. ชัญญานุช บิดาหก ๑๒. ธชาพร เลาวพงษ์ ๑๓. บุญส่ ง ยะมะโน ๑๔. ณัฐดนัย ชัยอุดม ๑๕. เสาวลักษณ์ จ๊ะโด ๑๖. ธนภรณ์ กันสะเส็ด ๑๗. สวิง จะหละ ๑๘. วงศ์ศิริ อ่อนหวาน ๑๙. ธีรสุ ต สื บสุ ข ๒๐. ดวงจันทร์ ชุ่มเย็น ๒๑. ภัทรวดี สายแปง ๒๒. ทวิชากร พรตระกูล ๒๓. จิรินดา แสนหาญชัย

๗๗/๑๔๔ ม. วีไอพี โฮม ๗ ม.๒๑ ต.บ้านเป็ ด จ.ขอนแก่น ๑๓๐ ม.๒๐ ต.ศิลา อ.เมือง จ.ขอนแก่น ๔๙/๘๐ ถ.โพธิสาร ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี เชียงใหม่ ๑๙๙ ต.เสื อเฒ่า อ.เซียน จ.ขอนแก่น วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ๘๖ หมู่ ๒ บ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๔๑๑ ถ.ชมดอย ต.สุ เทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ ๙๐ หมู่ ๒ ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ๖๕/๒ ม.๒ ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๑๕ ม.๓ ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๒๙/๒ ม.๒ ต.แม่วิน อ.แม่วาง จ.เชียงใหม่ ๒๐ ม.๑ ต.สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๓๖/๒ ม.๑ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๙๓ หมู่ ๓ ถ.เชียงใหม่หางดง อ.เมือง จ.เชียงใหม่ ๑๘๙/๓๓๔ ม.๙ ต.หนองจ๊อม อ.สันทราย ๑๑๒/๒ ม.๒ ต.แม่สา อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ ๘๐ ม.๕๐ ต.วังทรายคํา อ.วังเหนือ จ.ลําปาง วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม

72


ภาพกิจกรรมคาราวานบุญ ตอน ขบวนบุญบุกงานสตรอเบอร์ รีสะเมิง (ครังที ๓) วันที ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ ณ ถนนคนเดินอําเภอสะเมิง งานเทศกาลวันสตรอเบอร์ รีสะเมิง ประจําปี ๒๕๕๖

ทีมหมอบ้านบ้าน บ้านอมลองและยั้งเมิง เตรียมพร้อมบริการ

ทีมขบวนบุญ ยืดเส้นยืดสายก่อนเดินพาเหรดประชาสัมพันธ์

ไข่ไก่ต้มสุกจากไร่ กล้วยกรอบ งาขี้ มอนอบ แชมพูสบู่สมุนไพร มะรุม แคปซูล และไม้กัวซา ผลิตภัณฑ์บุญ เพื่อสุขภาพ และช่วยดูแล สิ่งแวดล้อม คอนเซ็ปการขายแบบนี้ มีที่นี่ที่เดียว

73


คณะศรัทธาจากม.นอร์ทเชียงใหม่ มาร่วมให้กําลังใจ พร้อมแลกเปลี่ยน ทูเว คนห่วงแผ่นดิน ดาราดังในสารคดีคนค้นตนทางช่องเก้ามาเชิญทุกคน

ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาสินค้า

ร่วมบุญ ด้วยสตรอเบอร์รี่อินทรีย์ของกลุ่มชาวบ้านบ่อแก้ว เครือข่ายวัด

บรรยากาศบูธนิทรรศการขบวนบุญ ใหญ่กว้าง สะดวกสบายหน้าที่ ว่าการอําเภอสะเมิง เป็นมุมเด่นสะดุดตา เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายง่าย

74


คุณตํารวจชิมงาขี้ม่อน ผลิตภัณฑ์ตัวใหม่ของวัด หวาน กําลังดีผลิตจากงาพื้นบ้านสดๆ ของชาวบ้านนํามาผสมน้ําตาล อ้อยเก็บไว้ทานได้นาน เป็นการ ลองตลาดที่ได้รับการตอบรับดี เกินคาด

กล้วยทอดกรอบและ น้ําข้าวกล้องยังเป็นที่ นิยมในหมู่วัยรุ่นและ คุณพ่อคุณแม่ผู้รัก สุขภาพ ของเขาดีจริงๆ

ขบวนพาเหรดหนึ่งเดียวในงานสตรอเบอร์รี่สะเมิง สร้างความรับรู้ (Brand awareness) ของขบวนบุญได้ ทั่วอําเภอสะเมิงและผู้คนจากต่างอําเภอ ว่าถึง โครงการวัดที่ร่วมมือกับชุมชน (ชาวบ้าน) สถาบันการศึกษา (เยาวชน) เกิดเป็น “ขบวนบุญ”

75


พ่อค้าแม่ค้าอําเภอสะเมิงเป็นกลุ่มเป้าหมายเชิญ ชวนบริการนวดแผนไทยของเรา ซึ่งได้รับความ นิยมมากในช่วงเย็น หลังเลิกขายของ

ในที่สุดบูธของสภากาชาดก็ให้ไมค์เสียงดังทั่ว งานมาให้เราประชาสัมพันธ์ ด้วยการซื้อบัตร กาชาดสอยดาว ได้ไข่ไก่ต้มสุกฟรีไปเลย ช่วงบ่าย พวกเราขอพื้นที่ เวทีกลางเล่นเกมส์ตอบ คําถามง่ายๆ เกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ์บุญ เกี่ยวกับวัด ผาส้ม เพื่อสร้างความรู้ คุ้นเคย เราได้แจกไข่ไก่กว่า 500 ฟอง ถูกแจกจ่ายลง

ท้องอิ่ม ได้ความรู้และ ความบันเทิง

76


การทําแบบสอบถามความคิดเห็นเป็นจุดเน้นเพื่อการพัฒนา ปรับปรุง ทีมงาน บูธนิทรรศการ ผลิตภัณฑ์ของเรา บริการ “นวดเอาบุญ” เต็มแน่นตลอดเวลา แม่ๆ พ่อๆ ได้ แสดงฝีมือเต็มที่กับการออกงานครั้งแรก

ตกเย็นกับบรรยากาศสบายๆ กีตาร์โปร่งสักตัว และพวกเราทีมขบวนบุญร้องเพลงสร้างความ บันเทิง ความสามัคคี และแน่นอนสร้างรอยยิ้ม หลังร่วมงานกันมากว่า 3 เดือน ตอกย้ําถึงการ สร้างงาน สร้างคน สร้างประโยชน์ส่วนรวมเป็น ที่ตั้ง คือ หลักคุณธรรมในการทํางาน เพราะได้ ประโยชน์ทั้งส่วนตนและผู้อื่น

77


เนือหา/รายละเอียดการดําเนินกิจกรรม โครงการพัฒนาธุรกิจเพือสั งคมคนบุญด้ วยช่ องทางสั งคมออนไลน์ คาราวานบุญครังที ๔ ตอน ขบวนบุญบุกงานมาบเอือง ณ งานมหกรรมคืนชีวิตให้แผ่นดิน ครังที ๗ อ.บ้านบึง จ.ชลบุรี หน่ วยงาน/องค์ กร วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ผู้ประสานงาน พระครู ธรรมคุต (สรยุทธ ชยปัญโญ) เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผูอ้ าํ นวยการศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม โทร. o๘๙ ๙๒๖ ๓๘๗๗ E-mail: doiphasom@gmail.com วัตถุประสงค์ ของโครงการ

กิจกรรม

๑. เพือการประชาสัมพันธ์แนวคิดและกิจกรรมจากสมาชิกในเครื อข่ายสู่ชาวเมืองเชียงใหม่ ขยาย ฐานคนบุญ คนอุดมการณ์เดียวกันให้กว้างขึน ๒. เพือเกิดการแลกเปลียนเรี ยนรู ้บทเรี ยน ปรับปรุ ง แก้ไขพัฒนาและเติมกําลังใจในการขับเคลือน เครื อข่ายเพือการพึงพาตนเอง รายละเอียดของกิจกรรมคาราวานบุญครังที ๔ (๑๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖) แบ่งเป็ นกิจกรรมย่อย คือ กิจกรรมประชุมเตรี ยมงานและวันเดินทางไป และกิจกรรมวันออกคาราวาน บุญครังที ๔ ดังนี ๑. กิจกรรมประชุมและจัดเตรียมนิทรรศการก่ อนวันงาน กิจกรรมคาราวานบุญครังนีแบ่งออกเป็ น ๔ ทีมใหญ่ๆ ซึงมาจากหลายแห่งทัวประเทศ คือ ทีมขบวนบุญ Very Good กรุ งเทพ/ ทีมชาวบ้านดอยเต่า จ.เชียงใหม่/ทีมมหาวิทยาลัยราชภัฏ พิบลู สงคราม จ.พิษณุโลก/ทีมชาวบ้านอมลอง อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ร่ วมกับทีม ขบวนบุญวัดดอยผาส้ม ทีแบ่งเป็ นสี ทีมเนืองจากแต่ละทีมจะมารวมกันก่อนวันงานเพือ จัดเตรี ยมสถานทีซึ งต้องก่อสร้างใหม่ เป็ นการช่วยเหลือมูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติซึง เปรี ยบเสมือนแม่ข่ายทีรวมลูกข่ายจากทุกภาคกว่า ๗๐ ภาคี เป็ นงานใหญ่ประจําปี รวมนํา องค์กรต่างๆ ทีดําเนินรอยตามแนวทางพระราชดําริ เศรษฐกิจพอเพียงในการพึงพาตนเอง ผนึก กําลังกัลยาณมิตรในเครื อข่ายซึ งต่างออกไปเติบโต ล้มลุกคลุกคลานกันภายนอก เพียงปี ละครัง ทีจะได้พบปะพูดคุยแลกเปลียน พร้อมแสดงผลงานของตนเอง

78


ครังนีทางวัดผาส้มฯ ซึ งเป็ นเครื อข่ายทีมภาคเหนือได้ผนึกกําลังจากหลายฝ่ ายจนเกิด เป็ นคาราวานบุญครังที ๔ ทีมีความโดดเด่นด้านกิจกรรม ความหลากหลาย มีพลังกว่าทุกๆ ครัง ทีผ่านมา จากการประชุมหารื อร่ วมกันจึงมีการแบ่งกิจกรรมและหน้าทีออกเป็ นดังนี ๑. ทีมชาวบ้านอมลองและทีมขบวนบุญ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม จ.เชียงใหม่ เป็ น หัวหน้าขนทีมหมอบ้านบ้าน หลังจากประสบความสําเร็จมากในงานคาราวานบุญ ครังที ๓ ทีผ่านมาออกบูธรักษาโรคด้วยวิถีธรรมชาติ ทังออกจัดแสดงและจําหน่าย สิ นค้ายาสมุนไพร สมุนไพรอบตัว แช่มือแช่เท้า ลูกประคบ ไม้กวั ซา ชาข้าว ฯลฯ สําหรับทีมขบวนบุญวัดผาส้มเป็ นผูจ้ ดั เตรี ยมไวนิลนิทรรศการให้ความรู้และ เผยแพร่ กิจกรรมของวัด รวมทังนําผลิตภัณฑ์เพือสุ ขภาพจากเครื อข่ายไปให้ เลือกสรรกัน อาทิ ข้าวกล้องดอย กล้วยทอดกรอบ แชมพูสบู่เหลวสมุนไพร นอกจากนันทีมเครื อข่ายเศรษฐกิจพอเพียงบ้านป่ าเกียะ บ้านแม่แดดน้อย บ้านห้วยหญ้าไทร บ้านป่ าคานอก ยังรวบรวมพันธุ์ขา้ วไร่ ข้าวนา ร่ วมกับทีม ขบวนบุญจัดนิทรรศการบอกเล่าเรื องราวของข้าว คือ ชีวิต แสดงพันธุ์ขา้ วพืนเมือง ของชาวดอยทีหายาก มีเม็ดกลมป้ อม เป็ นหนึงในผลิตภัณฑ์อนั ดับต้นๆ ทีได้รับ ความนิยมมาก รวมทังนิทรรศการวิถีชีวิตทัง ๑๒ เดือนของชาวปกาเกอะญอทีรัก และผูกพันกับธรรมชาติ ๒. ทีมชาวบ้านดอยเต่า จ.เชียงใหม่ ดูแลส่วนจัดแสดงและสาธิ ตภูมิปัญญาท้องถินการ ทอผ้าชาวปกากอะญอ โดยนําเอากีเอว เครื องปันด้าย และอุปกรณ์การทอผ้าจริ งๆ หม้อต้มนําย้อมผ้าจากสี เปลือกไม้ ลูกไม้ รากไม้ธรรมชาติ ชาวบ้านจึงรวบรวมผ้า ทอผืน เสื อ กระโปรง กระเป๋ าทีตัดเย็บและย้อมแล้ว รวมกันจัดแสดงและจําหน่าย ในงานด้วย ๓. ทีมมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบลู สงคราม จ.พิษณุโลก ซึ งบางส่วนเป็ นศิษย์วดั ผาส้มมา ก่อน นําทีมอาจารย์และนักศึกษาช่วยสร้างความคึกคัก ด้วยการช่วยแจกล้วยทอด และนําสมุนไพรให้ผเู ้ ข้ามาเยียมบูธได้ชิม และร่ วมติดตัง ก่อสร้างบูธไม้ไผ่ใหม่ เป็ นทังทีมแรงงานและทีมประชาสัมพันธ์

79


๔. ทีมขบวนบุญ Very Good กรุ งเทพ เป็ นกลุ่มคนพาธรรมบุญและเป็ นคณะศรัทธา วัดผาส้มทีช่วยนําผลิตภัณฑ์บุญของวัดไปให้คนกรุ งเทพฯ ได้ร่วมบุญทุกๆ เดือน แล้วยังส่ งกําลังทรัพย์ กําลังกาย กําลังปัญญามาร่ วมสร้างฝาย ปลูกป่ า ดับไฟทีวัด ครังนีพีๆ น้องๆ Very Good ได้มาช่วยขายผลิตภัณฑ์และเดินป้ ายประชาสัมพันธ์ โครงการขบวนบุญทัวงานสร้างความรู้จกั และคุน้ เคยกับกลุ่มเป้ าหมายภายในงาน ทีคาดว่ามีคนมาร่ วมกว่าหมืนคนในระหว่างสามวันทีจัดงานในพืนทีปิ ดในศูนย์ กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอือง อ.บ้านบึง จ.ชลบุรี ทังสี ทีมเป็ นเครื อข่ายของวัดทีมีส่วนในการผลักดันโครงการขบวนบุญ เพือการ สร้างสังคมคนบุญ สอดคล้องกับแนวทางการพึงพาตนเองตามปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ซึงเป็ นเป้ าหมายของงานมหกรรมคืนชีวิตให้แผ่นดิน ครังนีทุกๆ ทีมยัง ได้ร่วมวงเสวนาในประเด็น “ความมันคงทางอาหารและทางรอดของมนุษยชาติ” แลกเปลียนกับเพือนร่ วมเครื อข่ายทีมีความสนใจเดียวกันทัวประเทศ เพือเสริ ม ทักษะความรู ้และเสริ มกําลังใจซึงกันและกันในการเดินทางเส้นนี

๒. กิจกรรมวันออกคาราวานบุญ กิจกรรมออกคาราวานบุญครังที ๔ มีความน่าสนใจมากกว่าครังอืนๆ เพิมขึนมาคือ กิจกรรมการสาธิ ตและสอนวิธีการทอผ้ากีเอว ตังแต่การปันด้ายจากปุยฝ้ ายจนเป็ นเส้น ม้วนด้าย นําด้ายยืนใส่ กีและกระสวย พร้อมทังการยกกีขึนลง สอดกระสวย จนกระทังทอผ้าเป็ นผืน และ กิจกรรมเต้นพืนบ้านปกาเกอะญอประกอบบทธา (เพลงพืนบ้าน) นอกจากเหนือจากกิจกรรม พิเศษนี กิจกรรมนิทรรศการในส่ วนจัดแสดงความรู ้ภูมิปัญญา ส่วนจัดจําหน่ายและทอลองชิม ผลิตภัณฑ์ขบวนบุญยังสามารถดึงดูดผูค้ นเข้ามาร่ วมสนับสนุน และเผยแพร่ แนวคิดนีต่อๆ กัน ในเพือนเครื อข่ายเศรษฐกิจพอเพียงทัวประเทศ

80


ตารางกิจกรรมคาราวานบุญครังที ๔ วันที ๑๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ วัน/เดือน/ปี ๑๕ มีนาคม ๕๖ ๑๖ มีนาคม ๕๖

เวลา ๑๕.๐๐ น.* ๖.๐๐ น. ๘.๐๐ – ๑๙.๐๐ น.

กิจกรรม ออกเดินทางจากวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม สู่ อาํ เภอสะเมิง ถึงอําเภอบ้างบึง จังหวัดชลบุรี สถานทีจัดงานมหกรรมคืนชีวติ ให้แผ่นดิน ประจําปี ๒๕๕๖ ติดตังเต็นท์นิทรรศการ โดยแบ่ งเป็ น ๓ โซน คือ ส่ วนจัดแสดงนิทรรศการเผยแพร่ แนวคิดและ กิจกรรมบุญ ส่ วนจัดจําหน่ ายและทดลองใช้ ลองชิมผลิตภัณฑ์ บุญ และส่ วนจัดแสดงและสาธิต “ภูมิปัญญาเฮา ปกาเกอะญอ ต้นตํารับวิถีชีวติ พึงพาตนเอง ” หรื อส่ วนจัดแสดงภูมิปัญญาท้องถิน อาทิ การทอผ้าผืนกีเอว การปันด้ายขึนเส้น การถักกระเป๋ าย่าม นิทรรศการบอกเล่าเรื องราวข้าวคือ ชีวติ แสดงพันธุ์ขา้ ว พันธุผ์ กั พืนเมืองของชาวปกาเกอะญอเม็ดกลมป้ อม หนึงในผลิตภัณฑ์บุญ ได้รับความนิยมอันดับต้นๆ นิทรรศการวิถีชีวติ ประเพณี ๑๒ เดือนของชาวปกาเกอะญอทีเคารพรัก-ผูกพันต่อธรรมชาติ ๑๓.๐๐ น. กิจกรรม “ สาธิตวิธีทอผ้ ากีเอว ตังแต่ การปัน ม้ วน นําด้ ายใส่ กเอว ี และทอมือ” ๑๔.๐๐ น. กิจกรรม “สอนทอผ้ าด้ วยตัวเอง แล้วนํากลับไปเลย โดยทีมแม่ บ้านปกาเกอะญอดอยเต่ า ” ๑๕.๐๐ น. เดินขบวนประชาสัมพันธ์แนวคิด/ทดลองชิมผลิตภัณฑ์บุญเคลือนทีทัวบริ เวณจัดงาน ๑๗.๐๐ น. – กิจกรรม “มินิคอนเสิ ร์ต ดนตรีพนเมื ื องปกาเกอะญอ” เรี ยกความสนใจกับผูเ้ ข้าร่ วมงาน ทังเป็ นการ ๑๘.๐๐ น. เผยแพร่ วฒั นธรรมทีหาชมได้ยากในปัจจุบนั สลับกับการประชาสัมพันธ์โครงการ ตลอดทังวัน สํารวจความคิดเห็นและแลกเปลียนประสบการณ์ทงผู ั จ้ ดั งานและผูเ้ ข้าร่ วมงาน หลังได้ชม นิทรรศการทัง ๓ โซน รวมทังความคิดเห็นต่อโครงการในภาพรวม ตลอดทังวัน ชาวบ้านและทีมงานจะผลัดเปลียนเข้าร่ วมแลกเปลียนความรู ้ประสบการณ์กบั เพือนร่ วมเครื อข่าย เศรษฐกิจพอเพียง (คนหัวใจเดียวกัน) ทัวประเทศไทย เพือเสริ มทักษะและเสริ มกําลังใจซึ งกันและ กัน ทังยังได้ร่วมเสวนา ประเด็น “ความมันคงทางอาหารและทางรอดของมนุษยชาติ” ซึงเป็ นการ กระตุน้ ให้ชาวเครื อข่ายเริ มคัด-เก็บรักษา-อนุรักษ์พนั ธุ์พืช เพือการพึงตนเองด้านอาหารอย่างมันคง ๑๙.๐๐ น. เดินทางกลับจังหวัดเชียงใหม่

ยุทธวิธีดงึ ดูดความสนใจกลุ่มเป้าหมาย ๑) การเชิญชิมผลิตภัณฑ์ฟรี ถึงตัวกลุ่มเป้ าหมาย ๒) กิจกรรมประชาสัมพันธ์หน้าบูธ เช่น กิจกรรมสาธิตวิธีการทอผ้าและดนตรี ประกอบการเต้น พืนบ้าน ปกาเกอะญอทีช่วยเรี ยกกลุ่มเป้ าหมายเข้ามาในบูธนิทรรศการ ๓) การเดินประชาสัมพันธ์ถึงกลุ่มเป้ าหมาย ๔) สถานทีจัดงานเอืออํานวย คือมีซุม้ นิทรรศการทีแยกออกมาเป็ นเอกเทศ เป็ นบ้านไม้ไผ่มุงหญ้า คา ทังมีเนือทีกว้าง มีลานกิจกรรมกลางแจ้งใกล้บริ เวณ

81


จํานวนผู้เข้ าร่ วมกิจกรรม ๑. คณะทีมงานผูเ้ ข้าร่ วมโครงการและกลุ่มจิตอาสาจํานวน ๓๖ คน ๒. บุคคลทัวไปทีเดินทางมาเลือกชมสิ นค้าผลิตภัณฑ์ต่างๆ ณ บูธนิทรรศการ จํานวน ๕๐๐ – ๑,๐๐๐ คน ๓. บุคคลทีรับรู้สือประชาสัมพันธ์โครงการ “ขบวนบุญ” จํานวนประมาณ ๕๐๐ คน สรุ ปประเมินผล หลังจากเสร็ จสิ นกิจกรรมคาราวานบุญครังที ๔ ได้มีการจัดทําแบบประเมินผลความพึงพอใจใน ๒ ส่วนได้แก่ ๑) คณะทีมงานผูเ้ ข้าร่ วมโครงการและจิตอาสา โดยถามคําถามปลายเปิ ดเกียวกับความรู ้สึกและ ข้อเสนอแนะของการมาร่ วมงานคาราวานบุญครังนี รวมทังการปรับปรุ งพัฒนากลุ่มเครื อข่าย เศรษฐกิจพอเพียงหลังจากได้รับฟังกลุ่มเป้ าหมายแนะนํา ๒) ผูบ้ ริ โภค โดยให้กรอกแบบสอบถามเกียวกับความพึงพอใจในการจัดสถานที ผลิตภัณฑ์ทีจัด แสดง ผลิตภัณฑ์ทีทดลองชิมฟรี กิจกรรมบนเวทีกลางแจ้ง ความเข้าใจในวัตถุประสงค์ของ โครงการ การประชาสัมพันธ์โครงการ และความรู ้สึกต่อการมีส่วนร่ วมในงานครังนี สําหรับคณะทีมงานผูเ้ ข้าร่ วมโครงการและจิตอาสา ได้กล่าวความรู ้สึกในการมาร่ วมงานคาราวานบุญ และมีขอ้ เสนอแนะดังนี ๑. สถานทีจัดงานสะดวกสบาย และเอือต่อการประชาสัมพันธ์เพราะมีพืนที มีการแบ่งสัดส่ วนจัด นิทรรศการ ส่วนแสดงสิ นค้า ส่ วนสาธิตการทอผ้า ส่วนชิมนําสมุนไพรต้มและสิ นค้าอืนๆ นอกจากนันงานทีปิ ดอยูใ่ นบริ เวณเดียวเป็ นระยะเวลาต่อเนืองสามวันทําให้กลุ่มเป้ าหมาย สามารถเดินไปเดินมาในบูธกิจกรรมได้นานและบ่อยครังกว่าการจัดคาราวานบุญครังทีผ่านมา ๒. ทีมงานและจิตอาสาทุกคนมีความร่ วมมือร่ วมใจกันเป็ นอย่างดี แม้วา่ จะมาจากต่างถินต่างทีแต่ เมือได้ร่วมประชุมคุยงานตกลงกันแล้ว การจัดงานครังนีจึงเป็ นไปด้วยความราบรื น ๓. ทีมงานได้แสดงความรู ้สึกทีมีต่องานครังนีว่า ๔. การเดินประชาสัมพันธ์แลกเปลียนสิ นค้าชุมชนระหว่างบูธก็ช่วยให้สร้างความรู้จกั ชิดใกล้ เกิด มิตรภาพทีดีระหว่างเครื อข่ายทียาวนานกว่าการ ให้นิยามกลุ่มเป้ าหมายแค่เพียงลูกค้า แต่เป็ น

82


มิตรทีร่ วมสังคมคนบุญ ประชาสัมพันธ์ของเรา

เป็ นผลลัพธ์ทีมีค่ามากกว่าแค่จาํ นวนกลุ่มเป้ าหมายทีรับรู ้สือ

สถิติของผูบ้ ริ โภค (กลุ่มเป้ าหมาย) จากการตอบแบบสอบถามจํานวน ๒๔ คน แบ่งเป็ น ๒ หัวข้อ หลักคือ ข้อมูลทัวไปของผูต้ อบแบบสอบถาม และความคิดเห็นต่อการจัดงานและข้อเสนอแนะ อืนๆ เป็ นดังนี 1. เพศ เพศ

จํานวน (ราย)

ร้ อยละ

ชาย

8

33.33

หญิง

16

66.67

รวม

24

100.00

จํานวน (ราย)

ร้ อยละ

15-25

5

20.83

26-35

12

50.00

36-45

4

16.67

46-55

2

8.33

56 ปี ขึนไป

1

4.17

รวม

24

100.00

2. อายุ อายุ (ปี )

83


3. การศึกษา การศึกษา

จํานวน (ราย)

ร้ อยละ

ประถมศึกษา

0

-

มัธยมศึกษาตอนต้น

0

-

มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช

0

-

อนุปริ ญญา/ปวส

0

-

ปริ ญญาตรี

16

66.67

ปริ ญญาโท

8

33.33

ปริ ญญาเอก

0

-

รวม

24

100.00

สรุ ป ผูต้ อบแบบสอบถามทังหมด ๒๔ คน เป็ นชาย ๘ คน เป็ นหญิง ๑๖ คน สําหรับช่วงอายุ อันดับแรก คือ ช่วงอายุ ๒๖-๓๕ อันดับสองเท่ากันคือ ช่วงอายุ ๑๕ – ๒๕ และช่วงอายุ ๓๖-๔๕ ปี สําหรับระดับการศึกษาของผูต้ อบแบบสอบถามอันดับแรกคือ ปริ ญญาตรี ๑๖คน คิดเป็ นร้อยละ ๖๖.๖๗ รองมาเป็ นระดับประถมศึกษา และสุดท้ายปริ ญญาโท ๘ คน คิดเป็ นร้อยละ ๓๓.๓๔

84


ท่านเข้าใจวัตถุประสงค์ของงานมากน้อยเพียงใด ท่านเข้าใจวัตถุประสงค์ของ

จํานวน (ราย)

ร้ อยละ

100%

4

16.67

80%

16

66.67

60%

3

12.50

40%

1

4.17

ไม่เข้าใจเลย

-

-

รวม

24

100.00

จํานวน (ราย)

ร้ อยละ

1

4.17

2. เน้นการตระหนักถึง ความสําคัญของป่ าไม้ 3. พาคนมาทําบุญ/ ประชาสัมพันธ์องค์กร ข้อ 1 ข้อ 2 และ ข้อ 3

10

41.67

6

25.00

1

4.17

ข้อ 2 และ ข้อ 3

6

25.00

รวม

24

100.00

งานเพียงใด

ท่านคิดว่าวัตถุประสงค์ของงานนี ท่านเข้าใจวัตถุประสงค์ของงานคือ 1. การมาขายของ

85


ความคิดเห็นต่อผลิตภัณฑ์ ( ข้าว/กล้วย/นํายา/แชมพู/สบู่/ผ้า……) ความคิดเห็นต่อผลิตภัณฑ์

จํานวน (ราย)

ร้ อยละ

1. ดีแล้ว

16

66.67

2. เฉยๆเหมือนสิ นค้าอืนๆ

1

4.17

3. ควรปรับปรุ ง

7

29.17

24

100.00

รวม

ข้อเสนอแนะในการปรับปรุ งผลิตภัณฑ์ ข้อเสนอแนะในการปรับปรุ ง

จํานวน (ราย)

ร้ อยละ

1. รู ปแบบผลิตภัณฑ์

3

42.86

2. ฉลาก

1

14.29

3. คุณภาพ

2

28.57

4. ความหลากหลายของผลิตภัณฑ์

1

14.29

7

100.00

ผลิตภัณฑ์

รวม

86


ความสนใจในการติดตามขบวนบุญ ความสนใจในการติดตามขบวน

จํานวน (ราย)

ร้ อยละ

1. สนใจ

22

95.65

2. ไม่สนใจ

1

4.35

23

100.00

บุญ

รวม

ช่องทางในการติดตามขบวนบุญ ช่องทางในการติดตามขบวน

จํานวน (ราย)

ร้ อยละ

1. โทรศัพท์

8

34.78

2. อีเมล

11

47.83

3. ป้ ายโฆษณา

3

13.04

4. มาซื อสิ นค้าทีสะเมิง

1

4.35

23

100.00

บุญ

รวม

สําหรับผูบ้ ริ โภค (กลุ่มเป้ าหมาย) ได้กล่าวความรู ้สึกในการมาร่ วมงานคาราวานบุญและให้ ข้อเสนอแนะดังนี กลุ่มเป้ าหมายร้อยละ ๖๖.๖๗ เข้าใจจุดประสงค์ของการจัดงานถึง ๘๐ เปอร์ เซ็นต์ ร้อยละ ๑๖.๖๗ เข้าใจ ๑๐๐ เปอร์ เซ็นต์ และร้อยละ ๑๒.๕๐ เข้าใจ ๖๐ เปอร์ เซ็นต์

87


สําหรับความเข้าใจในจุดประสงค์คือ การเน้นให้คนตระหนักถึงความสําคัญของทรัพยากรป่ า คิดเป็ นร้อยละ ๔๑.๖๗ รองมาเป็ น คิดว่าพาคนทําบุญ/ประชาสัมพันธ์องค์กร ร้อยละ ๒๕ สุดท้าย คือมาขายของ/ตอบทัง ๓ ข้อ ร้อยละ ๔.๑๗ ความคิดเห็นต่อสิ นค้าร้อยละ ๖๖.๖๗ บอกว่าดีแล้ว รองมาเป็ นควรปรับปรุ งร้อยละ ๒๙.๑๗ และเฉยๆ ร้อยละ ๔.๑๗ สําหรับข้อเสนอแนะทีอยากให้ปรับปรุ งสิ นค้าเช่น การปรับปรุ งพัฒนาบรรจุภณั ฑ์ ทีควร ปรับปรุ งภาพลักษณ์ การออกแบบให้ดึงดูดความสนใจ หรื อออกแบบให้ดูทนั สมัยน่าใช้งาน รวมถึง คุณภาพของนํายาให้มีความเหนียวหนืดสมําเสมอ นอกจากนันน่าจะมีสินค้าให้หลากหลายชนิดกว่า นี สําหรับความต้องการติดต่อขบวนบุญต่อด้วยช่องทางอีเมลสูงสุดร้อยละ ๔๗.๘๓ รองมาเป็ น ทางโทรศัพท์ ร้อยละ ๓๔.๗๘ และต้องการติดต่อทางป้ ายโฆษณาร้อยละ ๑๓.๐๔ จากการประมวลความคิดเห็นของกลุ่มเป้ าหมายทําให้ทราบว่ากลุ่มลูกค้าส่วนใหญ่เป็ น ปั ญญาชนวัยทํางานอายุระหว่าง ๒๖-๓๕ ปี มีการศึกษาขันตําปริ ญญาตรี และมีแนวคิดการพึงพา ตนเองทังดําเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงทังในเมืองและในชนบท มีความเข้าใจใน จุดประสงค์การจัดงานคาราวานบุญส่ วนใหญ่เข้าใจ ๑๐๐ เปอร์ เซ็นต์วา่ พาคนตระหนักถึง ความสําคัญของป่ า ด้วยการทําบุญเลือกซือผลิตภัณฑ์ โดยองค์กรและเครื อข่ายเศรษฐกิจพอเพียง ของวัด เนืองจากสถานทีจัดงาน คือ งานมหกรรมคืนชีวติ ให้แผ่นดิน และสิ งแวดล้อมในบริ เวณจัด งานทีเป็ นป่ า ไร่ นาสวนผสมเอือต่อการเรี ยนรู ้และคัดกรองกลุ่มเป้ าหมายทีมาร่ วมงานในระดับหนึง คือ ได้คนทีดําเนินชีวิตหรื อมีความสนใจเศรษฐกิจพอเพียง สนใจการดูแลสุ ขภาพ สนใจเกษตร อินทรี ย ์ สนใจพลังงานทางเลือก กลุ่มเป้ าหมายจึงเข้าใจง่ายถึงจุดประสงค์การออกบูธ ทังมีความ สนใจต้องการสนับสนุนอย่างต่อเนือง

88


รายชือเหล่ าอาสาสมัครงานคาราวานบุญ ครังที ๔ โครงการพัฒนาธุรกิจเพือสั งคมคนบุญด้วยช่ องทางสั งคมออนไลน์ วันที ๑๖ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ งานมหกรรมคืนชีวติ ให้ แผ่ นดินครังที ๗ อ. บ้ านบึง จ.ชลบุรี -------------------------------ผู้มาประชุ ม ๑. จันทร์ คาํ ปู่ เป็ ด ๒. กัญญารัตน์ ปู่ เป็ ด ๓. ปรานอม ปู่ หล้า ๔. วีรยุทธ์ ปู่ เป็ ด ๕. ทิพรดา ปู่ เป็ ด ๖. มนัสวี ปู่ หมืน ๗. ณัฐชยา ฮ่องกือ ๘. พินภา ถาอิน ๙. เทพพิทกั ษ์ ปู่ คํา ๑๐. สุ ทธิรัตน์ ปู่ กํา ๑๑. ปนัดดา ปู่ เป็ ง ๑๒. ชุตินนั ท์ หมืนฟัน ๑๓. วรัญญา นอสร้อยทอง สุ ทธิ ๑๔. จริ นทร์ ๑๕. มินตรา เกตุแก้ว ๑๖. ปฐมพงษ์ คงเถือน ๑๗. เอกชัย เขียวมี ๑๘. จุฑาภรณ์ มีบึงพร้าว ๑๙. เพ็ญนภา โป้ แล ๒๐. หทัยภัทร ทัศณี วรรณ์ ๒๑. ศิวกร ปันอ้าย ๒๒. พัณณ์นิภา ตังเลิศศรี สกุล ๒๓. ณัฐดนัย โรจนาลักษณ์

หมู่ ๓ ต.บงตัน อ.ดอยเต่า จ.เชียงใหม่ หมู่ ๓ ต.บงตัน อ.ดอยเต่า จ.เชียงใหม่ หมู่ ๓ ต.บงตัน อ.ดอยเต่า จ.เชียงใหม่ หมู่ ๓ ต.บงตัน อ.ดอยเต่า จ.เชียงใหม่ หมู่ ๓ ต.บงตัน อ.ดอยเต่า จ.เชียงใหม่ หมู่ ๓ ต.บงตัน อ.ดอยเต่า จ.เชียงใหม่ หมู่ ๓ ต.บงตัน อ.ดอยเต่า จ.เชียงใหม่ หมู่ ๓ ต.บงตัน อ.ดอยเต่า จ.เชียงใหม่ หมู่ ๓ ต.บงตัน อ.ดอยเต่า จ.เชียงใหม่ หมู่ ๓ ต.บงตัน อ.ดอยเต่า จ.เชียงใหม่ หมู่ ๓ ต.บงตัน อ.ดอยเต่า จ.เชียงใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม จ.พิษณุโลก มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม จ.พิษณุโลก มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม จ.พิษณุโลก มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม จ.พิษณุโลก มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม จ.พิษณุโลก มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม จ.พิษณุโลก มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบลู สงคราม จ.พิษณุโลก มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบลู สงคราม จ.พิษณุโลก สวนเอเดน จ.น่าน สวนเอเดน จ.น่าน สวนเอเดน จ.น่าน สวนเอเดน จ.น่าน

89


๒๔. จิตรลดา คมคาย ๒๕. ฉัตรชัย อิสรายุคุณ ๒๖. อาณัฐ บรรจงชาติ ๒๗. ปิ ยวรรณ เพ็งพิพฒั น์ ๒๘. ศิริโฉม ปริ วงศ์ ๒๙. เกรี ยงไกร ศัตรู พา่ ย ๓๐. วราภรณ์ เณรยอด ๓๑. ดารากร แซ่โค้ว ๓๒. สมหมาย บุญมาลา ๓๓. อามร คําชอน ๓๔. ธนพร ภาระพี ๓๕. จิตราภรณ์ บิดาหก

ทีมขบวนบุญ Very Good กรุ งเทพมหานคร ทีมขบวนบุญ Very Good กรุ งเทพมหานคร ทีมขบวนบุญ Very Good กรุ งเทพมหานคร ทีมขบวนบุญ Very Good กรุ งเทพมหานคร ทีมขบวนบุญ Very Good กรุ งเทพมหานคร ทีมขบวนบุญ Very Good กรุ งเทพมหานคร ทีมขบวนบุญ Very Good กรุ งเทพมหานคร ทีมขบวนบุญ Very Good กรุ งเทพมหานคร ชุมชนบ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่

๓๖. ฉัตรกมล มงคล

วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม

90


ภาพกิจกรรมคาราวานบุญ ครังที ๔ ตอน ขบวนบุญบุกงานมหกรรมคืนชีวติ ให้ แผ่ นดิน วันที ๑๖ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ งานมหกรรมคืนชีวติ ให้ แผ่ นดินครังที ๗ อ. บ้ านบึง จ.ชลบุรี

ส่วนจัดแสดงนิทรรศการ ส่วนจัด จําหน่ายและทดลองชิ มผลิตภัณฑ์บุญ

และส่วนจัดแสดงภู มิปัญญาท้องถิ่นการ ทอผ้ากี่เอวปกาเกอะญอ บนเนื้อที่

กว้างขวางธรรมชาติรายล้อม บรรยากาศสบายๆ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และแลกเปลี่ยน

91


กิจ กรรม “สาธิตวิธีการทอผ้ากี่เอวบ้าน

ปกาเกอะญอดอยเต่า จ.เชียงใหม่” ตั้งแต่การ

ปั่น ม้วน ทอและย้อมผ้าสีธรรมชาติ

กิจกรรมคอนเสิร์ตและการเต้นพื้นบ้าน

ปกาเกอะญอ สร้างรอยยิ้ม เสียงปรบมือ และ

สร้างความรู้จักกับแขกแก้วผู้มาเยือน

92


อาจารย์ยักษ์ หัวเรือใหญ่ของมูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ และ กลุ่มขบวนบุญ กรุงเทพฯ มาเยี่ยมให้กําลังใจบูธขบวนบุญ วัดพระบรมธาตุ ดอยผาส้ม

ทีมขบวนบุญ Very Good กรุงเทพที่มาช่วยจัดแสดง

นิทรรศการและเชิญชวนร่วมบุญด้วยการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์

ชุมชน เพื่อส่งรายได้สําหรับดูแลอนุรักษ์ป่าต้นน้ํา

93


บรรยากาศภายในบริเวณงาน มีองค์กรภาคีทั่วทุก

ภาค มารวมตัวกันแสดงผลงาน ร่วมเสวนา และ

แลกเปลี่ยนเสริมกําลังใจ เป็นบรรยากาศกันเองที่

เอื้อต่อการเรียนรู้ ทําความรู้จักกัลยาณมิตรที่

94

สามารถพึ่งพาอาศัยกันได้ในอนาคต


เนือหา/รายละเอียดการดําเนินกิจกรรม โครงการพัฒนาธุรกิจเพือสั งคมคนบุญด้ วยช่ องทางสั งคมออนไลน์ คาราวานบุญครังที ๕ ตอน ขบวนบุญ Reunion ณ งานประเพณี สรงนําพระบรมสารี ริกธาตุ ประจําปี ๒๕๕๖ วัดพระบรมธาตุดอย ผาส้ม อ. สะเมิง จ.เชียงใหม่ หน่ วยงาน/องค์ กร วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ผู้ประสานงาน พระครู ธรรมคุต (สรยุทธ ชยปัญโญ) เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผูอ้ าํ นวยการศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม โทร. o๘๙ ๙๒๖ ๓๘๗๗ E-mail: doiphasom@gmail.com วัตถุประสงค์ ของโครงการ

กิจกรรม

๑. เพือการประชาสัมพันธ์แนวคิดและกิจกรรมจากสมาชิกในเครื อข่ายสู่ชาวเมืองเชียงใหม่ ขยาย ฐานคนบุญ คนอุดมการณ์เดียวกันให้กว้างขึน ๒. เพือเกิดการแลกเปลียนเรี ยนรู ้บทเรี ยน ปรับปรุ ง แก้ไขพัฒนาและเติมกําลังใจในการขับเคลือน เครื อข่ายเพือการพึงพาตนเอง รายละเอียดของกิจกรรมคาราวานบุญครังที ๕ (๒๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖) แบ่งเป็ นกิจกรรมย่อย คือ กิจกรรมประชุมเตรี ยมงานและวันเดินทางไป และกิจกรรมวันออกคาราวาน บุญครังที ๕ ดังนี ๑. กิจกรรมประชุมและจัดเตรียมนิทรรศการก่ อนวันงาน (๑๕-๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๖) ก่อนวันงานล่วงหน้า ๗ วัน ทีมขบวนบุญวัดดอยผาส้มได้ประชุมวางแผนจนเกิดเป็ น เตรี มงานขบวนบุญครังที ๕ คือ “ขบวนบุญ Reunion” ทีจะร่ วมผูค้ นจากทัวทุกทิศทีมีส่วนร่ วม ในขบวนบุญ ไม่วา่ จะเป็ นทีมเกษตรกรผูเ้ พาะปลูกพืชผักในไร่ คณ ุ ธรรม ทีมงานแปรรู ปสิ นค้า ชุมชน ทีมการตลาดและประชาสัมพันธ์ และทีมดูรักษาป่ าต้นนํา รวมกันแล้วทําอะไรบ้างมี กิจกรรมเด่น ดังต่อไปนี การเตรี ยมงานคาราวานครังที ๕ ซึ งเป็ นครังสุ ดท้ายของโครงการโดยมีจุดประสงค์ ทังเป็ นการ เพือให้เกิดการประชาสัมพันธ์แนวคิดเพิมเครื อข่ายและขยายฐานสังคมคนบุญ แลกเปลียนเรี ยนรู ้เพือการพัฒนา และเสริ มกําลังใจกับเครื อข่ายเดิมของวัดทีช่วยกันเป็ นส่วน

95


หนึงของ “ขบวนบุญ” ขบวนนีต่อเนืองตังแต่ปลายปี ๒๕๕๔ เป็ นต้นมา การจัดงานคาราวาน บุญครังนีจึงเลือกทีจะจัดตรงกับวันงานประเพณี สรงนําพระบรมสารี ริกธาตุ เนืองจากเป็ นวันที คณะศรัทธาของวัดจะขึนมาร่ วมงาน และเป็ นโอกาสอันดีทีทางทีมงานขบวนบุญของวัดและ ทีมงานขบวนบุญทัวประเทศ โดยเฉพาะทีมกรุ งเทพฯ และทีมเชียงใหม่ จะร่ วมกิจกรรม “สาน เสวนาคนขบวนบุญ” ในประเด็น: ทิศทางการขับเคลือนขบวนบุญต่อจากนี? เป็ นวงเสวนารวมตัวคนขบวนบุญทีเคยร่ วมออกคาราวานบุญจาก ๔ ครังท่านมาและผู ้ เป็ นสะพานบุญส่ งข่าวเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์แนวคิด เพือร่ วมแลกเปลียนประสบการณ์/ สร้างสรรค์กิจกรรมใหม่/มองทิศทางการขับเคลือนในอนาคตร่ วมกันและกิจกรรมพาธรรมเข้า สู่ใจ ใช้ได้ทุกวัน กล่าวคือ นอกจากจะช่วยเผยแพร่ โครงการพาคนทําบุญกับป่ า โครงการเลือก ซื อผลิตภัณฑ์ช่วยชุมชนคนดูแลรักษาต้นนํา โครงการปลูกป่ า สร้างฝาย ดับไฟ โครงการ ทุนการศึกษาเด็กนักเรี ยนโฮมสคูลของวัด และอืนๆ อีกมากมาย ทีเป็ นกิจกรรมทีเน้นพาคน เริ มทําความดีง่ายๆ ด้วยการทําทาน ทําบุญ ด้วยการสละกําลังทรัพย์ กําลังกาย แต่เมือทําๆ ไป เรื อยๆ เราก็จะเห็นว่าสิ งหนึงทีทางวัดจะให้ได้นอกจากพาคนทําบุญให้ใจสบาย คือ การให้วิชา คลายทุกข์ในใจด้วยตนเอง ฉะนันจึงเป็ นทีมาของวงเสวนาทีมีความสําคัญ คือ การฝึ กธรรมะแก้ทุกข์ใน ชีวิตประจําวัน หรื อหลักสูตรการทําตนเป็ น “คนน่ารัก” สามารถอยูก่ บั ใครก็ได้ ไปทีไหนก็ได้ ก็สุขได้ ซึงในวงนีมีผเู ้ ข้าร่ วมเป็ นคณะบวชชีพราหมณ์ถือศีลแปดลอดสามวันของการจัดงาน ร่ วมเสวนาและทํากิจกรรมด้วย กิจกรรม “เปิ ดโรงอโรคยา : คลินิกรักษาตามแนวธรรมชาติบาํ บัดเคลือนที ” แบ่งออกเป็ น ๒ ส่ วน ซึงจัดบริ เวณงานสรงนํา แต่แยกออกจากส่ วนนิทรรศการขบวน บุญและส่วนจัดจําหน่ายผลิตภัณฑ์บุญ เนืองจากโรงอโรคยาครังนีขนทีมงานหมอบ้านบ้านจาก ชลบุรีและกรุ งเทพฯ ทีมาร่ วมบุญ ด้วยการเปิ ดโรงนวดผ่อนคลายฟรี เปิ ดการรักษาและ วินิจฉัยโรคด้วยการครอบแก้วแบบศาสตร์แพทย์ประเทศไต้หวัน และการเปิ ดคอร์ สล้างพิษตับ สุ ดฮิตในพ.ศ.นี รวมทังมีเครื องดืมสมุนไพรร้อนเย็นบริ การฟรี ตลอดงาน ผลิตภัณฑ์สมุนไพร อาทิ ลูกประคบ นํามันเขียวย่านาง ไม้กวั ซา แคปซูลมะรุ ม แคปซูลเพชรสังฆาต สมุนไพรแห้ง สําหรับแช่มือแช่เท้าทีบ้าน ผลิตภัณฑ์บุญทีนํารายได้ส่วนหนึงไปดูแลป่ าต้นนําของชาวบ้าน และเป็ นรายได้ให้ชาวบ้านโดยตรงด้วยพืชสมุนไพรทีหาได้ในชุมชนนันเอง

96


กิจกรรมซุ้มนิทรรศการและขายสิ นค้ าชุ มชน (เต็มรู ปแบบ) โดยแบ่ งเป็ น ๓ โซน คือ ๑. ส่ วนจัดแสดงนิทรรศการเผยแพร่ แนวคิดและกิจกรรมบุญ ๒. ส่ วนจัดจําหน่ายและทดลองใช้ ลองชิมผลิตภัณฑ์บุญ และ ๓.ส่ วนจัดแสดงและสาธิ ต “ภูมิปัญญาหมอบ้านบ้าน ” (รวม เครื อข่ายหมอพืนบ้าน) เปิ ดโรงนวดกดจุดผ่อนคลาย เรื อนอบตัว/พอกหน้าสมุนไพร บริ การนํา สมุนไพรร้อนตลอดทังวัน และเปิ ดคลินิกปรึ กษาการดูแลรักษาร่ างกายด้วยวิถีธรรมชาติบาํ บัด (กิจกรรมเดียวกับการเปิ ดอโรคยาเคลือนที) ส่วนจัดแสดงนิทรรศการเผยแพร่ แนวคิดและกิจกรรมบุญ ครังนีมีนิทรรศการภาพถ่าย เพิมเข้ามา จากการเก็บตกภาพเด็ดทีมีทีมขบวนบุญจาก ทัวจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดอืน เข้า มามีส่วนร่ วมช่วยให้งานคาราวานบุญทัง ๔ ครังเป็ นการเตือนให้ระลึกถึงความสนุกสนานใน วันนัน เตือนถึงการพาคนทําบุญของขบวนบุญสายนียิงให้ความสุข ให้ผลิตภัณฑ์ดีดี การให้ เสนอทางเลือกในการทําบุญกับแผ่นดิน กับทรัพยากรธรรมชาติ หรื อแม้กระทังการมีไมตรี จิต กับผูค้ นแปลกหน้าทีมาเยียมเยือนนิทรรศการของเรา และได้รับรอยยิมเป็ นกําลังใจ เป็ น ช่วงเวลาทีภาพบ่งบอกความสุ ข ประสบการณ์ บทเรี ยนทีได้จากการทํางานหนัก การทํางานกับ คนหมู่มาก รวมทังการได้เรี ยนรู ้ตนเองว่าเราควรพัฒนาจุดไหน มีการคลายทุกข์ในใจตนเอง ด้วยตนเองได้อย่างไร สําหรับส่ วนจัดจําหน่ายและทดลองชิมผลิตภัณฑ์บุญ ปี นีคณะศิษย์วดั ผาส้มได้ร่วมกัน ผลิตโปรการ์ดรู ปบรรยากาศภายในวัดและแต่งกลอนสอนธรรมะให้คณะศรัทธาได้ร่วมบุญ รวมทังผลิตเสื อทีมเด็กวัด สกรี นคําพูดสอนใจสําหรับ ทีมสตาฟฟ์ ทีมนักเรี ยนโฮมสคูล ทีม อาสาช่วยงานวัด และทีมชาวบ้าน สําหรับทีเหลือสําหรับให้คณะศรัทธาได้ร่วมบุญกัน นอกจากผลิตภัณฑ์ชุมชนเช่น ข้าวดอย กล้วยทอดกรอบ สารพัดนํายา จะพาเหรดมาให้ร่วมบุญ ยังมีขบวนกางเกงผ้าฝ้ ายปกาเกอะญอทอมือและกระเป๋ าผ้าทีนําสิ นค้าล๊อตใหญ่ออกมาวาง จําหน่ายครังแรกทีตัดเย็บโดยฝี มือเด็กวัดทีไม่แพ้ใคร ได้รับการการันตีจากการใส่ ทาํ งานในวัด แล้ววาคงทน สวยงาม พึงพาตนเองได้ถึงสามารถทอ ตัด เย็บ ไว้ใช้เองได้แล้ว

๒. กิจกรรมวันออกคาราวานบุญ กิจกรรมออกคาราวานบุญครังที ๕ มีความน่าสนใจมากกว่าครังอืนๆ เพิมขึนมาคือ กิจกรรมการเปิ ดโรงอโรคยาทีได้รับความนิยมมากสุ ดในงาน โดยมีทีมหมอบ้านบ้านจากศูนย์

97


กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอือง จ.ชลบุรี มาช่วยจัดคอร์ สล้างพิษตับ และทีมแพทย์แผนไต้หวันทีมี ศาสตร์รักษาและวินิจฉัยโรคด้วยการครอบแก้ว การกดจุด การจัดกระดูก ร่ วมกับทีมหมอบ้าน บ้านของชาวบ้านอมลอง บ้านยังเมินทีมาทังร่ วมเป็ นหมอและนักเรี ยนเรี ยนรู ้ศาสตร์ การรักษา ใหม่ๆ ทีสามารถทําได้ดว้ ยตนเอง สําหรับงานส่วนอืนๆ ดําเนินตามแผนโดยมีคนประจําบูธขายสิ นค้า และพรี เซ็นเตอร์ ประ จําบอร์ ดนิทรรศการและป้ ายไวนิลต่างๆ เพือแนะนําเชิญชวนให้กลุ่มเป้ าหมายเข้าร่ วมกิจกรรม ในงานคาราวานบุญทัง ๓ วันจึงดําเนินไปอย่างราบรื นเป็ นทีจดจํากบคณะศรัทธาจากทัวสารทิศ บูธสิ นค้าบุญและโรงรักษาโรคอโรคยาทีแม้จะจัดคนละสถานที แต่กลุ่มเป้ าหมายก็สามารถ เข้าใจจุดประสงค์จดั งานได้วา่ วัดเสนอทางเรื องให้คนทําบุญผ่านหลายช่องทางได้ ไม่วา่ จะเป็ น ป่ าต้นนํา กับชาวบ้านต้นนํา กับเครื อข่ายเศรษฐกิจพอเพียง และทําบุญกับแผ่นดินประเทศไทย ของเรา ตารางกิจกรรมคาราวานบุญครังที ๕ วันที ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ วัน/เดือน/ปี ๒๕ พฤษภาคม ๕๖

เวลา ๗.๓๐ น.* ๘.๐๐ – ๑๘.๐๐ น.

๙.๐๐ ๑๖.๓๐ น.

๑๑.๐๐ – ๑๕.๐๐ น. ตลอด

กิจกรรม จัดเตรี ยมบูธนิทรรศการ แผนกทดลองชิมและแผนกขายผลิตภัณฑ์พาคนตระหนักเรื องป่ า เปิ ดบูธนิทรรศการ โดยแบ่ งเป็ น ๓ โซน คือ ๑.ส่ วนจัดแสดงนิทรรศการเผยแพร่ แนวคิดและกิจกรรมบุญ ๒. ส่ วนจัดจําหน่ ายและทดลองใช้ ลองชิมผลิตภัณฑ์ บุญ และ ๓.ส่ วนจัดแสดงและสาธิต “ภูมิปัญญาหมอบ้าน บ้าน ” (รวมเครื อข่ายหมอพืนบ้าน) เปิ ดโรงนวดกดจุดผ่อนคลาย เรื อนอบตัว/พอกหน้าสมุนไพร บริ การนํา สมุนไพรร้อนตลอดทังวัน และเปิ ดคลินิกปรึ กษาการดูแลรักษาร่ างกายด้วยวิถีธรรมชาติบาํ บัด จัดแสดง นิทรรศการภาพ กิจกรรม “เปิ ดโรงอโรคยา หมอบ้ านบ้ าน คลินิกรักษาตามแนวธรรมชาติบําบัดเคลือนที ” ตลอดทังวัน เป็ น การประชาสัมพันธ์แนวคิดพาคนร่ วมบุญผ่านการเลือกซื อผลิตภัณฑ์ธรมชาติ อาทิ ขมินฟ้ าทะลายโจร เพชรสังฆาตแคปซูล ยาเขียว ยานวด ยาดมสมุนไพร สมุนไพรอบตัว ลูกประคบ ไม้กวั ซา ฯลฯ และสามารถ เข้ารับบริ การนวดแผนไทย กดจุด ย่างตัว ยําข่างสมุนไพร เพือเพิมพูนประสบการณ์การเป็ นหมอบ้านบ้าน และพัฒนาสิ นค้าของชาวชุมชนในเครื อข่ายหลายหมู่บา้ น รายได้ทงหมดเข้ ั าขบวนบุญ กิจกรรม “สานเสวนาคนขบวนบุญ” (ประเด็น: ทิศทางการขับเคลือนขบวนบุญต่อจากนี?) เป็ นวงเสวนารวมตัวคนขบวนบุญทีเคยร่ วมออกคาราวานบุญจาก ๔ ครังท่านมาและผูเ้ ป็ นสะพานบุญส่ งข่าว เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์แนวคิด เพือร่ วมแลกเปลียนประสบการณ์/สร้างสรรค์กิจกรรมใหม่/มองทิศทางการ ขับเคลือนในอนาคตร่ วมกันและกิจกรรมพาธรรมเข้าสู่ ใจ ใช้ได้ทุกวัน สํารวจความคิดเห็นและแลกเปลียนประสบการณ์ทงผู ั จ้ ดั งานและผูเ้ ข้าร่ วมงาน หลังได้ชมนิทรรศการทัง ๓

98


ทังวัน ตลอด ทังวัน

โซน รวมทังความคิดเห็นต่อโครงการในภาพรวม ชาวบ้านและทีมงานจะผลัดเปลียนเข้าร่ วมกิจกรรมบุญประจําปี “งานสรงนําพระธาตุ” อาทิ การบวชชี พราหมณ์ สรงนําพระบรมสารี ริกธาตุ ประเพณีเตียวขึนดอย เวียนเทียน ภาวนาปฏิบตั ิ ฟังเทศน์ สวดมนต์ เจริ ญสติ รวมออกโรงทานอาหารและเครื องดืม นอกจากนียังได้พบปะกัลยาณมิตรใหม่ๆ จากกิจกรรม หลากหลายเพือพาคนทําบุญดังกล่าว

ยุทธวิธีดงึ ดูดความสนใจกลุ่มเป้าหมาย ๑) บรรยากาศของงานบุญวัดทําให้สินค้าจากชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงทุกประเภททีเป็ นส่ วนหนึง ของโครงการของวัดได้รับความนิยมด้วยตัวของมันเอง คล้ายเป็ นของทีระลึก ของฝากติดไม้ติด มือ และช่วยทําบุญกับวัดเพือสานต่อโครงการดีๆ ต่อไป ๒) ตําแหน่งบูธทีตังบริ เวณผูค้ นผ่านไปมามีความสําคัญในการดึงดูดสายตาผูค้ นมาก คือตังไว้จุด เดียวกับจุดลงทะเบียนร่ วมงานบุญสรงนําพระธาตุ จุดประชาสัมพันธ์ ภายในบริ เวณเต้นท์ เดียวกันทังหมด ๓) การเดินประชาสัมพันธ์ถึงกลุ่มเป้ าหมาย ๔) สถานทีจัดโรงอโรคยาเอืออํานวย คือมีซุม้ นิทรรศการทีแยกออกมาเป็ นเอกเทศ และเป็ น ส่ วนตัว ซึ งต้องการห้องหรื อโรงทีลับสายตาเพือความสะดวกใจของผูเ้ ข้ารับการบําบัดรักษา โรคหรื อตรวจร่ างกายด้วยวิถีธรรมชาติ ซึงได้รับความนิยมจากทังเด็กเยาวชนทีมาช่วยงาน อาสาและคณะศรัทธาทีเป็ นผูส้ ูงวัย จํานวนผู้เข้ าร่ วมกิจกรรม ๑. คณะทีมงานผูเ้ ข้าร่ วมโครงการและกลุ่มจิตอาสาจํานวน ๔๕ คน ๒. บุคคลทัวไปทีเดินทางมาเลือกชมสิ นค้าผลิตภัณฑ์ต่างๆ ณ บูธนิทรรศการ จํานวน ๕๐๐ – ๑,๐๐๐ คน ๓. บุคคลทีรับรู้สือประชาสัมพันธ์โครงการ “ขบวนบุญ” จํานวนประมาณ ๑,๐๐๐ คน

99


สรุ ปประเมินผล หลังจากเสร็ จสิ นกิจกรรมคาราวานบุญครังที ๕ ได้มีการจัดทําแบบประเมินผลความพึงพอใจใน ๒ ส่วนได้แก่ ๑) คณะทีมงานผูเ้ ข้าร่ วมโครงการและจิตอาสา โดยถามคําถามปลายเปิ ดเกียวกับความรู ้สึกและ ข้อเสนอแนะของการมาร่ วมงานคาราวานบุญครังนี รวมทังการปรับปรุ งพัฒนากลุ่มเครื อข่าย เศรษฐกิจพอเพียงหลังจากได้รับฟังกลุ่มเป้ าหมายแนะนํา ๒) ผูบ้ ริ โภค โดยให้กรอกแบบสอบถามเกียวกับความพึงพอใจในการจัดสถานที ผลิตภัณฑ์ทีจัด แสดง ผลิตภัณฑ์ทีทดลองชิมฟรี กิจกรรมบนเวทีกลางแจ้ง ความเข้าใจในวัตถุประสงค์ของ โครงการ การประชาสัมพันธ์โครงการ และความรู ้สึกต่อการมีส่วนร่ วมในงานครังนี

สําหรับคณะทีมงานผูเ้ ข้าร่ วมโครงการและจิตอาสา ได้กล่าวความรู ้สึกในการมาร่ วมงานคาราวานบุญ และมีขอ้ เสนอแนะดังนี ๑. สถานทีจัดงานสะดวกสบาย เพราะเป็ นทีทีคุน้ เคย คือ วัด มีเต้นท์ยาว ๒ หลัง และมีการ เปลียนแปลงสถานทีจัดนิทรรศการภายในงาน ๓ วันของประเพณี สรงนําของวัด เนืองจาก สถานทีจัดวันแรกเป็ นจุดอับสายตา จึงย้ายมาหน้าวิหารและตังนิทรรศการ ณ ลานพระธาตุ ซึ ง บุคคลทัวไปสามารถสังเกตเห็นได้ชดั เจน ๒. ทีมงานและจิตอาสาทุกคนมีความร่ วมมือร่ วมใจกันเป็ นอย่างดี เนืองจากการเตรี ยมงานล่วงหน้า ทังนียังมีคณะศรัทธามาช่วยงานจากต่างถินอีกมากมาย ๓. ทีมงานได้แสดงความรู ้สึกทีมีต่องานครังนีว่า เป็ นการจัดคาราวานบุญทีมีปัญหาน้อยสุด เพราะ มีประสบการณ์มาหลายครัง แม้วา่ จะจัดพร้อมงานวัดยิงเป็ นการดีทีได้คนมาช่วยอีกมากจากการ รวมตัวกันของศิษย์วดั ทีไม่ได้อยูป่ ระจําวัด และอาสาสมัครนักเรี ยนมัธยมมาช่วยงาน นอกม จากนียังมีเวลาอธิ บายจุดประสงค์ บอกเล่าเรื องราวของนิทรรศการให้กลุ่มเป้ าหมายฟังให้เข้าใจ และร่ วมสนับสนุนผลิตภัณฑ์ชุมชนทังบอกเล่าโครงการต่อได้

100


สถิติของผูบ้ ริ โภค (กลุ่มเป้ าหมาย) จากการตอบแบบสอบถามจํานวน ๒๔ คน แบ่งเป็ น ๒ หัวข้อ หลักคือ ข้อมูลทัวไปของผูต้ อบแบบสอบถาม และความคิดเห็นต่อการจัดงานและข้อเสนอแนะ อืนๆ เป็ นดังนี 1. เพศ เพศ

จํานวน (ราย)

ร้ อยละ

ชาย

-

-

หญิง

10

100.00

รวม

10

100.00

จํานวน (ราย)

ร้ อยละ

15-25

2

20.00

26-35

4

40.00

36-45

2

2000

46-55

1

10.00

56 ปี

1

10.00

รวม

10

100.00

2. อายุ อายุ (ปี )

101


3. การศึกษา การศึกษา

จํานวน (ราย)

ร้ อยละ

ประถมศึกษา

-

-

มัธยมศึกษาตอนต้น

2

20.00

มัธยมศึกษาตอนปลาย/

1

10.00

อนุปริ ญญา/ปวส

-

-

ปริ ญญาตรี

5

50.00

ปริ ญญาโท

2

20.00

ปริ ญญาเอก

-

-

รวม

10

100.00

ปวช

สรุ ป ผูต้ อบแบบสอบถามทังหมด ๑๐ คน เป็ นหญิงทังหมด ๑๐ คน สําหรับช่วงอายุอนั ดับแรก คิดเป็ นร้อยละ ๔๐ คือ ช่วงอายุ ๒๖-๓๕ อันดับสองคิดเป็ นร้อยละ ๒๐ เท่ากัน คือ ช่วงอายุ ๑๕ – ๒๕ และช่วงอายุ ๓๖-๔๕ ปี สําหรับระดับการศึกษาของผูต้ อบแบบสอบถามอันดับแรกคือ ปริ ญญาตรี ๕ คน คิดเป็ นร้อยละ ๕๐ รองมาคิดเป็ นร้อยละ ๒๐ เท่ากันคือ ระดับมัธยมศึกษา และปริ ญญาโท

102


ท่านเข้าใจวัตถุประสงค์ของงานมากน้อยเพียงใด ท่านเข้าใจวัตถุประสงค์ของงาน

จํานวน (ราย)

ร้ อยละ

100%

5

50.00

80%

5

50.00

60%

-

40%

-

ไม่เข้าใจเลย

-

รวม

10

100.00

จํานวน (ราย)

ร้ อยละ

เพียงใด

ท่านคิดว่าวัตถุประสงค์ของงานนี ท่านเข้าใจวัตถุประสงค์ของงานคือ 1. การมาขายของ

-

2. เน้นการตระหนักถึงความสําคัญของ ป่ าไม้ 3. พาคนมาทําบุญ/ประชาสัมพันธ์ องค์กร

5

50.00

5

50.00

10

100.00

รวม

103


ความคิดเห็นต่อผลิตภัณฑ์ ( ข้าว/กล้วย/นํายา/แชมพู/สบู่/ผ้า) ความคิดเห็นต่อผลิตภัณฑ์

จํานวน (ราย)

ร้ อยละ

1. ดีแล้ว

8

80.00

2. เฉยๆเหมือนสิ นค้าอืนๆ

1

10.00

3. ควรปรับปรุ ง

1

10.00

10

100.00

จํานวน (ราย)

ร้ อยละ

1. รู ปแบบผลิตภัณฑ์

1

100.00

2. ฉลาก

-

-

3. คุณภาพ

-

-

4. ความหลากหลายของผลิตภัณฑ์

-

-

1

100.00

รวม

ข้อเสนอแนะในการปรับปรุ งผลิตภัณฑ์ ข้อเสนอแนะในการปรับปรุ งผลิตภัณฑ์

รวม

104


ความคิดเห็นเกียวแพทย์แผนไทย ความคิดเห็นต่อแพทย์แผนไทย

จํานวน (ราย)

ร้ อยละ

1. ดีแล้ว

8

80.00

2. เหมือนกับทีอืนๆ

1

10.00

3. ควรปรับปรุ ง

1

10.00

10

100.00

รวม

ข้อเสนอแนะในกานปรับปรุ งแพทย์แผนไทย ข้อเสนอแนะในการปรับปรุ งแพทย์แผน

จํานวน (ราย)

ร้ อยละ

1. เพิมจํานวนหมอ

-

-

2. สุ ขอนามัย

1

100.00

1

100.00

ไทย

รวม

ความสนใจในการติดตามขบวนบุญ ความสนใจในการติดตามขบวน

จํานวน (ราย)

ร้ อยละ

10

100.00

บุญ 1. สนใจ

105


-

-

10

100.00

จํานวน (ราย)

ร้ อยละ

1. โทรศัพท์

1

10.00

2. อีเมล

7

70.00

3. ป้ ายโฆษณา

1

10.00

4. ข้อ 1 และ ข้อ 2

1

10.00

10

100.00

2. ไม่สนใจ รวม

ช่องทางในการติดตามขบวนบุญ ช่องทางในการติดตามขบวนบุญ

รวม

สําหรับผูบ้ ริ โภค (กลุ่มเป้ าหมาย) ได้กล่าวความรู ้สึกในการมาร่ วมงานคาราวานบุญและให้ ข้อเสนอแนะดังนี กลุ่มเป้ าหมายร้อยละ ๕๐ เท่ากันสองกลุ่มเข้าใจจุดประสงค์ของการจัดงานถึง ๘๐ เปอร์ เซ็นต์ และ ๑๐๐เปอร์ เซ็นต์ สําหรับความเข้าใจในจุดประสงค์คือ การเน้นให้คนตระหนักถึงความสําคัญของทรัพยากรป่ า คิดเป็ นร้อยละ ๕๐ เท่ากันกับ คิดว่าพาคนทําบุญ/ประชาสัมพันธ์องค์กร ความคิดเห็นต่อสิ นค้าร้อยละ ๘๐ บอกว่าดีแล้ว รองมาเป็ นควรปรับปรุ ง เท่ากับรู ้สึก เฉยๆ คิด เป็ นร้อยละ ๑๐

106


สําหรับข้อเสนอแนะทีอยากให้ปรับปรุ งสิ นค้าเช่น การปรับปรุ งพัฒนาบรรจุภณั ฑ์ ทีควร ปรับปรุ งภาพลักษณ์ การออกแบบให้ดึงดูดความสนใจ หรื อออกแบบให้ดูทนั สมัยน่าใช้งาน สําหรับข้อเสนอแนะต่อทีมหมอบ้านบ้าน (นวดแผนไทย) เช่น ดีแล้วแต่ควรปรับปรุ งด้าน สุ ขอนามัย ด้านความสะอาดของเครื องมือหมอ ภาชนะเครื องใช้ของผูเ้ ข้าร่ วมคอร์ สรักษาสุขภาพ สําหรับความต้องการติดต่อขบวนบุญต่อด้วยช่องทางอีเมล์สูงสุดร้อยละ๘๐ รองมาเป็ นทาง โทรศัพท์ ทางป้ ายโฆษณาร้อยละ ๑๐ เท่ากัน จากการประมวลความคิดเห็นของกลุ่มเป้ าหมายทําให้ทราบว่ากลุ่มเป้ าหมายในงานคาราวาน บุญครังที ๕ เป็ นปั ญญาชนวัยทํางานอายุระหว่าง ๒๖-๓๕ ปี และกลุ่มวัยกลางคน มีการศึกษาขันตํา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและมีแนวคิดการพึงพาตนเองทังดําเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจ พอเพียงทังในเมืองและในชนบท มีความเข้าใจในจุดประสงค์การจัดงานคาราวานบุญส่วนใหญ่ เข้าใจ ๑๐๐ เปอร์ เซ็นต์วา่ พาคนตระหนักถึงความสําคัญของป่ า และเพือพาคนทําบุญ ซึ งตรงกับ จุดประสงค์ของการออกงานคาราวานบุญทัง ๕ ครัง ด้วยบรรยากาศในงานบุญก็เอือต่อการอธิ บาย โครงการ วัตถุประสงค์ ทีมาของกิจกรรมต่างๆ นานาของวัด ทีคณะศรัทธาทีขึนมาสนใจอยากรู ้จกั และช่วยเหลือเป็ นทุนเดิม ผนวกกับทีมขบวนบุญ Reunion มาพบกันช่วยสื อสารทําความเข้าใจจากการพูดคุยในวงเสวนา ธรรมะ ทีแท้จริ งแล้วเราพาคนตระหนักและลงมือช่วยเหลือแผ่นดินของไทย แผ่นดินของเราทีน้อย คนจะหันกลับมาตอบแทนพระคุณแผ่นดินอย่างจริ งจังต่อเนือง โครงการนีเสมือนเป็ นจุดเชือเป็ น ประกายไฟในหัวใจของผูร้ ่ วมบุญทีมีจิตสาธารณะและเมตตาจิตเป็ นทุนเดิม เกิดเป็ นโครงการดูแล รักษาป่ าต้นนําอย่างต่อเนืองกว่า ๓ ปี และคาราวานบุญครังนี จึงกลับมาให้ดูแลใจของเราเป็ นด้วย ตนเองด้วยการนําหลักปฏิบตั ิธรรมของพระพุทธเจ้ามาเป็ นโอสถรักษาใจ การวางตัวอยูก่ บั โลกใบนี การอยูร่ ่ วมกับผูอ้ ืน สิ งแวดล้อมทีล้วนเปลียนแปลงอยูต่ ลอดเวลา แล้วจะวางใจอย่างไร ยึดอะไร หวังอะไรก็ไม่เคยได้ดงใจ ั เพราะโลกเป็ นของไม่เทียงแต่เราเห็นว่าไม่เทียง มันแท้ มันแน่นอน นีคือ สิ งทีต้องขัดเกลาในใจ ส่วนภายนอกให้ทาํ หน้าทีทางโลกของตนเองให้ดีทีสุด มีบทบาทแม่กท็ าํ ให้ ดี เป็ นลูกทีดี เป็ นลูกน้องให้เจ้านายรัก เป็ นสามีทีดูแลรับรองภรรยา ทําหน้าทีของตนเองให้ได้ ตุก๊ ตาทอง ส่วนเรื องในใจให้ขดั เกลาตนเองเสมอๆ เมือความจริ งปรากฏ เห็นทุกข์จริ ง ก็เรี ยนรู ้ทีจะ อยูก่ บั มันได้ไม่วา่ จะเป็ นหญิง ชาย จะบวชหรื อไม่บวชก็ตาม คือ หัวใจหลักของกิจกรรมทังหมด ของวัดทีพาผูร้ ่ วมขบวนบุญให้มาถึงจุดนี

107


รายชือเหล่ าอาสาสมัครงานคาราวานบุญ ครังที ๕ โครงการพัฒนาธุรกิจเพือสั งคมคนบุญด้วยช่ องทางสั งคมออนไลน์ วันที ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ณ งานบุญประเพณีงานสรงนําพระบรมสารีริกธาตุ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ ม จ.เชียงใหม่ -------------------------------ผู้มาประชุ ม ๑. มร ๒. อานง ๓. จันทร์ศรี ๔. จิรินดา ๕. ฐิติยา

คําชอน พุทธโส จันเสวี แสนหาญชัย

ชุมชนบ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ทีมขบวนบุญ โรงเรี ยนรุ่ งอรุ ณ กรุ งเทพมหานคร ทีมขบวนบุญ โรงเรี ยนรุ่ งอรุ ณ กรุ งเทพมหานคร

นิมพิทกั ษ์พงศ์

๖. ทวิชากร พระตระกูลเดช ทีมขบวนบุญ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ๗. ฉัตรกมล มงคล ทีมขบวนบุญ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ๘. วาริ สา มูลตะโล ทีมขบวนบุญ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ๙. วิริยา ศุภภัทรานนท์ ทีมขบวนบุญ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ๑๐. ธชาพร เลาวพงษ์ ทีมขบวนบุญ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ๑๑. เสาวลักษณ์ จ๊ะโด ทีมขบวนบุญ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ๑๒. อภิญญา ยนพิมาย ทีมขบวนบุญ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ๑๒. ดวงแข เซียงเจ็น ชุมชนหมู่ ๑๐ ต.ท่าช้าง อ.เมือง จ.จันทบุรี ชุมชนหมู่ ๑๐ ต.ท่าช้าง อ.เมือง จ.จันทบุรี ๑๓. พลอยชมพู พันธุ์จุย้ ๑๔. จิตรลดา คมคาย ทีมขบวนบุญ Very Good กรุ งเทพมหานคร ๑๕. คงวิทย์ วัฒนรังสฤษฏ์ ทีมขบวนบุญ Very Good กรุ งเทพมหานคร ๑๖. อารยา วัฒนรังสฤษฏ์ ทีมขบวนบุญ Very Good กรุ งเทพมหานคร ๑๗. ดารากร แซ่โค้ว ทีมขบวนบุญ Very Good กรุ งเทพมหานคร ๑๙. วิบลู ลักษณ์ วัฒนรังสฤษฏ์ ทีมขบวนบุญ Very Good กรุ งเทพมหานคร ๒๐. อําพร เลาวพงษ์ ทีมขบวนบุญ Very Good กรุ งเทพมหานคร ๒๑. หมอเพ็ญ ทีมหมอบ้านบ้าน ศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอือง จ.ชลบุรี

108


๒๒. บัวบาน เดือนจักร ผูร้ ่ วมบวชชีพราหมณ์และผูร้ ่ วมเสวนาธรรมะ (บ้านอมลอง เชียงใหม่) ๒๓. คําอวน สาธุเม ผูร้ ่ วมบวชชีพราหมณ์และผูร้ ่ วมเสวนาธรรมะ (บ้านงิวเฒ่า เชียงใหม่) ๒๔. มูล พุทธโส ผูร้ ่ วมบวชชีพราหมณ์และผูร้ ่ วมเสวนาธรรมะ (บ้านงิวเฒ่า เชียงใหม่) ๒๕. ดวงแข แสมดํา ผูร้ ่ วมบวชชีพราหมณ์และผูร้ ่ วมเสวนาธรรมะ (บ้านใหม่ตน้ ผึง เชียงใหม่) ๒๖. สาย สายเขือนสี ผูร้ ่ วมบวชชีพราหมณ์และผูร้ ่ วมเสวนาธรรมะ (บ้านอังคาย เชียงใหม่) ๒๗. วิไล วงศ์สถิตธรรม ผูร้ ่ วมบวชชีพราหมณ์และผูร้ ่ วมเสวนาธรรมะ (กรุ งเทพฯ) ๒๘. เขียว กันทะเส็ด ผูร้ ่ วมบวชชีพราหมณ์และผูร้ ่ วมเสวนาธรรมะ (บ้านพะโอ เชียงใหม่) ๒๙. มูรณัจน์ รัตนธรรม ผูร้ ่ วมบวชชีพราหมณ์และผูร้ ่ วมเสวนาธรรมะ (กรุ งเทพฯ) ผูร้ ่ วมบวชชีพราหมณ์และผูร้ ่ วมเสวนาธรรมะ (กรุ งเทพฯ) ๓๐. อัญญธรณ์ ริ นคํา ๓๑. อสิ ศร แซ่โหงว ผูร้ ่ วมบวชชีพราหมณ์และผูร้ ่ วมเสวนาธรรมะ (กรุ งเทพฯ) ๓๒. กนกวรรณ กรากนก ผูร้ ่ วมบวชชีพราหมณ์และผูร้ ่ วมเสวนาธรรมะ (กรุ งเทพฯ) ๓๓. ชมิสรา ประทุมศิริ ผูร้ ่ วมบวชชีพราหมณ์และผูร้ ่ วมเสวนาธรรมะ (กรุ งเทพฯ) ๓๔. มุศนํา ทองเหลือง ผูร้ ่ วมบวชชีพราหมณ์และผูร้ ่ วมเสวนาธรรมะ (กรุ งเทพฯ) ๓๕. กุลมาร์ กุลวัฒน์ ผูร้ ่ วมบวชชีพราหมณ์และผูร้ ่ วมเสวนาธรรมะ (กรุ งเทพฯ) ๓๖. ปรี ภทั ร ฉิ มทเนรมิต ผูร้ ่ วมบวชชีพราหมณ์และผูร้ ่ วมเสวนาธรรมะ (กรุ งเทพฯ) ๓๗. สุภาวดี อินทรแสง ผูร้ ่ วมบวชชีพราหมณ์และผูร้ ่ วมเสวนาธรรมะ (กรุ งเทพฯ) ๓๘. อุษาวดี ผากุหลาบแดง ผูร้ ่ วมบวชชีพราหมณ์และผูร้ ่ วมเสวนาธรรมะ (สมุทรปราการ) ๓๙. อัญญาภัทร คล้อยตามวงษ์ ผูร้ ่ วมบวชชีพราหมณ์และผูร้ ่ วมเสวนาธรรมะ (นนทบุรี)

109


๔๐. มิชาพันธ์ ลิมศุราเศรษฐ์ (นนทบุรี) ๔๑. ชลิญา ไชยวง (กรุ งเทพฯ) ๔๒. นัททาดี วงดีดาํ (กรุ งเทพฯ) ๔๓. สุภาภรณ์ ไตรวุฒิปัญญาวงศ์ (กรุ งเทพฯ) ๔๔. สุ ภาทิพย์ สัตย์ดาํ รงกุล (กรุ งเทพฯ) ๔๕. จิรายุ ลิมสว่างกุล (กรุ งเทพฯ)

110

ผูร้ ่ วมบวชชีพราหมณ์และผูร้ ่ วมเสวนาธรรมะ ผูร้ ่ วมบวชชีพราหมณ์และผูร้ ่ วมเสวนาธรรมะ ผูร้ ่ วมบวชชีพราหมณ์และผูร้ ่ วมเสวนาธรรมะ ผูร้ ่ วมบวชชีพราหมณ์และผูร้ ่ วมเสวนาธรรมะ ผูร้ ่ วมบวชชีพราหมณ์และผูร้ ่ วมเสวนาธรรมะ ผูร้ ่ วมบวชชีพราหมณ์และผูร้ ่ วมเสวนาธรรมะ


ภาพกิจกรรมคาราวานบุญ ครังที ๕ ตอน ขบวนบุญ Reunion วันที ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ณ งานบุญประเพณีงานสรงนําพระบรมสารีริกธาตุ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ ม จ.เชียงใหม่

กิจกรรมซุ้ มนิทรรศการและขายสิ นค้ าชุ มชน (เต็มรู ปแบบ)

111


กิจกรรม “เปิ ดโรงอโรคยา : คลินิกรักษาตามแนวธรรมชาติบําบัด

112


กิจกรรม “สานเสวนาคนขบวนบุญ”

113


เนือหา / รายละเอียดของการดําเนินกิจกรรม โครงการพัฒนาธุรกิจเพือสั งคมคนบุญด้วยช่ องทางสั งคมออนไลน์ กิจกรรม ๔. ถอดองค์ความรู ้ หน่ วยงาน/องค์ กร ศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผู้ประสานงาน พระครู ธรรมคุต (สรยุทธ ชยป ฺ โญ) เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผูอ้ าํ นวยการศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ทีอยู่ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ตําบลแม่สาบ/ยังเมิน อําเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ โทร ๐๘๙ ๙๒๖ ๓๘๗๗ E-mail: doiphasom@gmail.com วัตถุประสงค์ ของกิจกรรมที ๔ ถอดองค์ ความรู้ ๑)ลงพืนทีรวบรวมข้อมูลภาคสนามตังแต่กระบวนการผลิตสื อ/สํารวจความคิดเห็นและ คําแนะนําบนเว็บไซต์/ติดตามผลตอบรับจากกิจกรรมคาราวานบุญเพือสรุ ป วิเคราะห์ ติดตามผล ประเมินผลโครงการ ๒) เพือกระตุน้ ให้ชุมชนชนบทและบุคคลทัวไปในเมืองเกิดความตระหนัก และเห็นคุณค่าของ การนําแนวพระราชดําริ เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ โดยมีแบบอย่างแห่งความสําเร็ จมาให้บทเรี ยนและ ประสบการณ์จริ ง จํานวนผู้เข้ าร่ วมกิจกรรม รวม ๒๐ คน ๑. นักวิจยั ถอดองค์ความรู ้จากภายนอก ๒. ทีมแกนนําชาวบ้าน จํานวน ๑๐ คน ๓. ทีมประสานงานกลางเพือการผลิตสื อ จํานวน ๑๐ คน รายละเอียดของกิจกรรมที ๔ ถอดองค์ ความรู้ กระบวนการถอดองค์ความรู้ “โครงการพัฒนาธุรกิจเพือสังคมคนบุญด้วยช่องทางสังคม ออนไลน์” เกิดจากความร่ วมมือวางแผนร่ วมกันระหว่างคณะทํางานกลางและผูร้ ับเหมาถอดองค์ความรู ้ ด้วย โดยขอบเขตของคณะทํางานกลางเน้นทีการรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิจากพืนทีทีดําเนินกิจกรรม

114


วิธีการสัมภาษณ์ การสนทนาแบบไม่เป็ นทางการ และการใช้แบบสังเกตพฤติกรรม จากกิจกรรม ดังต่อไปนี ๑. กิจกรรม “ผลิตสื อพืนบ้าน และทดลองนําสื อไปใช้จริ ง” รวบรวมข้อมูล ก่อน-ระหว่างหลังทํากิจกรรม ๒. กิจกรรม “คาราวานบุญทัง ๕ ครัง” รวบรวมข้อมูลก่อน-ระหว่าง-หลังทํากิจกรรม ๓. สรุ ปบทเรี ยนโครงการขบวนบุญปี ๒๕๕๖ โดยแต่ ละกิจกรรมมีรายละเอียด ดังต่ อไปนี กิจกรรมที ๑ การรวบรวมข้ อมูล กิจกรรม “ผลิตสื อพืนบ้ าน และทดลองนําสื อไปใช้ จริง” รวบรวมข้ อมูลก่ อนลงมือทํากิจกรรม ผูถ้ อดองค์ความรู ้ให้เก็บรวบรวมข้อมูลความคาดหวังในก่อนและหลังผลิตสื อพืนบ้าน ด้วย วิธีการใช้กระดาษตัดเป็ นรู ปหัวใจแจกให้แกนนําชาวบ้านและทีมงานผลิตสื อรวม ๒๐ คนเขียนถึงความ คาดหวังต่อโครงการในปี นีทีเน้นในกระบวนการผลิตสื อ ซึ งมีอิทธิพลกับการโน้มน้าวความคิดและ จิตใจของผูค้ นสูงมากในปัจจุบนั หากเรามีสือคุณธรรมของเราก็เชือแน่วา่ จะมีผลต่อการพัฒนาใน หลายๆ ด้าน และแน่นอนสื อก็เป็ นดาบสองคมทีอาจส่ งผลด้านลบเรื องสิ ทธิเสรี ภาพ ความเป็ นส่วนตัว หรื อ การบิดเบือนข้อเท็จจริ งได้ ซึงตลอดทังโครงการจะเป็ นการร่ วมกันทํางานระหว่างทีมสื อทีต้องอาศัยการ ลงพืนทีไปหาแกนนําทัง ๑๐ ท่านบ่อยครัง เหล่านีเป็ นการเกริ นนําในการอบรมเชิงปฏิบตั ิการผลิตสื อ พืนบ้านตังแต่เดือนธันวาคมปี ๒๕๕๕ โดยความคาดหวังจากทังหมดนํามาจัดกลุ่มมีดงั นี - คาดหวังว่าจะมีความรู ้ความเข้าใจเพิมมากขึนในการผลิตสื อของตนเอง - คาดหวังว่าสื อทีผลิตจะเป็ นประโยชน์กบั ตนเองและผูอ้ ืน - คาดหวังว่าการทําโครงการปี นีจะช่วยเพิมความสามัคคีในหมู่คณะ - คาดหวังว่าเมือสื อทีตนผลิตได้จะช่วยให้ได้รับกําลังใจในการทํางานมากขึน รวบรวมข้ อมูลระหว่ างทํากิจกรรม จากการลงพืนทีพูดคุยกับแกนนําชาวบ้านพร้อมทีมงานถ่ายทําสื อวีดีโอและในส่วนหนังสื อ องค์ความรู้ออนไลน์ พบว่า แกนนําชาวบ้านส่ วนใหญ่มีการเตรี ยมความพร้อมและเต็มใจช่วยในการเป็ น

115


คนเดินเรื อง คนเตรี ยมฉาก เตรี ยมอุปกรณ์ เตรี ยมตัวแสดงประกอบ และบทพูดตามธรรมชาติเพือให้การ ถ่ายทําวีดีโอมีคุณค่ามากทีสุด สําหรับทีมงานแม้จะเป็ นมือใหม่สาํ หรับการลงไปทําสื อก็มีการเตรี ยมความพร้อมมาพอสมควร ซึงต้องฝึ กพัฒนาทักษะการถ่ายทํา การวางโครงเรื อง รวมทังการตัดต่อใส่เสี ยง ใส่แอ๊ฟเฟคอีกมาก แต่ จากแบบบันทึกข้อมูลทีได้จากการสังเกตจะพบว่าเมือทังฝ่ ายชาวบ้านและทีมงานผลิตสื อรู้จกั กันมาก่อน มีความคุน้ เคยสนิทสนม ทําให้ต่างฝ่ ายต่างทําหน้าทีอย่างไม่เคอะเขิน ในบรรยากาศสบายๆ ทําให้ ทีมงานผลิตสื อไม่กดดันมากในระหว่างการถ่ายทําและรวบรวมเก็บข้อมูล รวบรวมข้ อมูลหลังทํากิจกรรม หลังจากทีทํากิจกรรมขันกระบวนการผลิตสื อเสร็ จสิ นแล้วเป็ นกระบวนการนําสื อทีผลิตได้ไป ใช้ซึงก่อนนําอัพโหลดขึนเว็บไซต์หรื อแชร์ ผา่ นสื อสังคมออนไลน์นนั จึงได้จดั การอบรมเชิงปฏิบตั ิการ ระดมความคิดเห็นเพือปรับปรุ งสื อของตัวเองก่อนนําไปเผยแพร่ หลังจากจัดกิจกรรมได้เปิ ดวงสนทนา อย่างเป็ นทางการเพือรับทราบความคิดเห็นในกิจกรรมผลิตสื อตังแต่ตน้ จนจบ แกนนําชาวบ้านให้ความ คิดเห็นส่วนใหญ่ในทางบวกว่าสื อทีผลิตได้จะสามารถนํามาซึ งสิ งดีๆ เช่น กําลังใจในการใช้ชีวิตแบบ พอเพียง การสนับสนุนทางด้านวัตถุสิงของงบประมาณ การเชิญชวนอาสาสมัครมาเป็ นกําลังกายสร้าง ฝายปลูกป่ า การสนับสนุนด้านการพัฒนาสิ นค้า การพัฒนาด้านเทคโนโลยี งบประมาณ และบางคน ไม่ได้หวังอะไรแค่ได้มีโอกาสให้อาสาสมัครได้มาพักทีบ้าน มานอนมากินอยูอ่ าศัยก็มีความสุ ขจากการ ให้แล้ว สําหรับการเผยแพร่ สือออกไปอาจมีกงั วลบางเรื องการรับโทรศัพท์ทีอาจมีมากขึนเพราะคน สนใจ และสนใจอยากเข้าถึงเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อินเตอร์ เน็ต แต่ทกั ษะการเรี ยนรู ้อาจจะช้าจึงหวัง ให้เยาวชนในกลุ่มช่วยสื อสารต่อให้ชาวบ้านได้รับรู ้วา่ เมือนําองค์ความรู้ของตนเองขึนโลกออนไลน์ แล้วมีผลตอบรับอย่างไรบ้างซึ งเป็ นเรื องใหม่สาํ หรับพ่อๆแม่ๆ กิจกรรมที ๒ การรวบรวมข้ อมูลกิจกรรม “คาราวานบุญทัง ๕ ครัง” รวบรวมข้ อมูลก่ อนลงมือทํากิจกรรม การจัดงานคาราวานบุญทัง ๕ ครัง ๕ สถานทีนันเป็ นกิจกรรมทีพาแกนนําชาวบ้านรวมทังทีม ผลิตสื อไปเผยแพร่ แนวคิดผ่านสื อคือ ผลิตภัณฑ์ชาวบ้าน การรักษาและวินิจฉัยโรคเบืองต้นจากหมอ ชาวบ้าน บอร์ ดนิทรรศการ ป้ ายไวนิล แผ่นพับ ใบปลิว สื อวีดีทศั น์ รวมทังการเดินขบวน

116


ประชาสัมพันธ์ เปิ ดลานเล่นเกมส์หน้าบูธกิจกรรม เป็ นต้น ซึ งความคาดหวังของกลุ่มแกนนําชาวบ้าน ก่อนเข้าร่ วม มีดงั นี - คาดหวังว่าจะมีคนมาทําบุญเยอะๆ - คาดหวังว่าเขาจะสนใจอุดหนุนผลิตภัณฑ์และการบริ การนวดผ่อนคลายจากชาวบ้าน - คาดหวังว่าจะได้มีโอกาสทําบุญให้คนทัวไป - คาดหวังว่าเขาจะเข้าใจบ้างว่าเรามาพาให้ตระหนักถึงคุณค่าของทรัพยากรป่ าไม้ สําหรับทีมงานผลิตสื อคาดหวังว่า - บอร์ดนิทรรศการ แผ่นพับ ไวนิล ป้ ายถือเดินขบวนทีผลิตออกมาจะทําให้ผคู ้ นสนใจบูธ - คาดหวังว่าจะมีคนเข้าร่ วมเล่นเกมส์ตอบคําถามชิงรางวัล - คาดหวังว่าจะเข้าใจจุดประสงค์ของการจัดงาน รวบรวมข้ อมูลระหว่ างทํากิจกรรม ระหว่างจัดงานคาราวานบุญมีปัญหาอุปสรรคมากมายตังแต่เรื องเล็กๆ ไปจนเรื องใหญ่ อาทิ การระดมอาสาสมัครในเมืองช่วยจัดงานและอํานวยความสะดวกในเรื องพืนที การจัดเก็บเงินการทํา บัญชี การจัดเรี ยงสิ นค้า การวางบอร์ ดนิทรรศการ กิจกรรมทีเตรี ยมมาแสดง โดยเฉพาะการแบ่งหน้าที ในครังแรกๆ ไม่ชดั เจนสร้างความสับสนว่าแต่คนต้องทําอะไร ทีไหน อย่างไร เมือไร และแต่ละคนมี การจัดการปัญหาอุปสรรคในการทํางานร่ วมกันในสถานทีแคบๆ ตลอดกว่ายีสิ บสี ชัวโมงไม่เหมือนกัน แต่จากการสังเกตเห็นจุดร่ วมทีทุกคนต้องตังใจมาคือ ใจเสี ยสละ จิตสาธารณะในความเป็ นอาสาสมัครที อยากจะให้สิงดีๆ ได้รับการเผยแพร่ ออกไป เป็ นสิ งทีประทับใจของใครหลายคน นอกเหนือจากการได้ เทียวนอกสถานทีแล้วยังเป็ นเวทีฝึกสมองลองปัญญาในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าในทุกครังทีออก คาราวานบุญ รวบรวมข้ อมูลหลังทํากิจกรรม หลังการออกงานคาราวานบุญกลุ่มชาวบ้านมีความเห็นว่าเป็ นกิจกรรมทีดีสมควรจัดอย่าง ต่อเนือง แต่อยากเข้าร่ วมกิจกรรมในบางครังไม่บ่อยติดๆ กันเพราะเกรงว่าจะไม่มีเวลาทํางานทีสวนทีไร่ แต่ทุกครังทีไปรู้สึกเต็มใจและทําเต็มทีเพือให้งานทีเราทําเป็ นเรื องเดียวกับการพาคนทําบุญ คือ งาน สร้างขบวนบุญ คนบุญทีจะเข้ามาอย่างไม่สินสุ ด สําหรับทีมงานผลิตสื อเล่าว่าหลายๆ ครังทีออกงานคาราวานบุญแต่ละครังจะแตกต่างกันไป ตามสถานทีบางพืนทีคนฟังแนวคิดเข้าใจง่ายเพราะมีพืนฐานเรื องเศรษฐกิจพอเพียงอยูบ่ า้ งแล้ว บางคน

117


สนใจเรื องการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ บางคนสนใจงานอาสาปลูกป่ าสร้างฝาย บางคนมีจิตใจเป็ น กุศลชอบการทําบุญการให้ ซึงทําให้ตอ้ งปรับเปลียนการพูดประชาสัมพันธ์ซึงเป็ นเทคนิคเฉพาะตัว แต่ หลายครังทีออกงาน เห็นคนเข้าใจแนวคิดจากสื อทีเรานํามาจัดแสดงก็รู้สึกภูมิใจทีอย่างน้อยทักษะการ ผลิตสื อเบืองต้นก็ทาํ ให้คนเข้าใจได้ กิจกรรมที ๓ การรวบรวมข้ อมูลจากการสรุ ปบทเรียนโครงการขบวนบุญปี ๒๕๕๖ รวบรวมข้ อมูลหลังทํากิจกรรม การรวบรวมข้อมูลจากการประชุมสรุ ปบทเรี ยนโครงการขบวนบุญตลอดปี ๒๕๕๖ เกิดจาก การนังสนทนาทังเป็ นทางการและไม่เป็ นทางการระหว่างแกนนําชาวบ้านและทีมผลิตสื อ ทังสองกลุ่มมี ความคิดเห็นหลากหลายจัดเป็ นกลุ่มได้ดงั นี กิจกรรมผลิตสื อวีดีโอและหนังสื อองค์ความรู ้ออนไลน์ (ตอบโดยแกนนําชาวบ้าน) - วีดีโอและหนังสื อองค์ความรู้ยงั เล่าไม่ครบ ยังขาดทีมาทีไป - ขาดภาพประกอบจริ ง เช่น เวลาทีมอาสาสมัครจากภายนอกมาสร้างฝาย มาร่ วมดับไฟหรื อปลูก ต้นไม้ - การเล่าเรื องในหนังสื อองค์ความรู้ยงั ขาดอรรถรสและบรรยากาศทีชวนให้น่าติดตาม - ได้เพิมพูนทักษะการพูด - เพิมไหวพริ บในการตอบคําถาม นอกจากนันยังทําให้ตวั เองตืนตัวตลอดเวลาทีต้องพยายามหา คําตอบมาตอบผูถ้ ามให้ได้ เช่น เรื องป่ า อาหารสมุนไพรในป่ า สตรอเบอร์ รี - เพิมทักษะการประสานงานซึงได้ขอ้ สรุ ปว่าลงมือทําให้ดูดีกว่าพูด - รู ้สึกว่าสิ งทีตัวเองมีค่า มีความหมาย ทําให้มีกาํ ลังในการทํางานต่อไป กิจกรรมผลิตสื อวีดีโอและหนังสื อองค์ความรู ้ออนไลน์ (ตอบโดยทีมงานผลิตสื อ) - ขาดจํานวนทีมงานซึ งเป็ นทังแรงงานและมันสมอง ส่ งผลให้ทาํ งานได้ไม่ต่อเนือง งานกระจุก ไม่กระจายอยูเ่ พียงแค่คนๆ เดียว - ทีมงานขาดทักษะในการผลิตสื อทังเบืองต้นและระดับขันสูง - ทีมงานขาดทักษะในการให้ได้มาซึ งข้อมูลทีต้องการ เช่น ทักษะการสัมภาษณ์ ทักษะการตัง คําถาม ทักษะการใช้ภาษาในการเขียนงาน องค์ประกอบศิลป์ การถ่ายรู ป เป็ นต้น - ขาดการวางแผนงานทีดีและการติดตาม ประเมินผลงานยังมีนอ้ ย

118


- คิดว่าวีดีโอยังไม่สมบูรณ์เพราะต้องการรับทราบfeedback บ่อยๆ จากนันจะนํามาปรับพัฒนา ต่อไป - ในทีมขาดการสื อสารกันอย่างต่อเนือง จึงสับสนว่าการตัดต่อวีดีโอเพือให้ใครดู ขอบเขตงานจึง กว้าง ประกอบกับไม่มีแรงบันดาลใจในการทํางานจึงทําได้ล่าช้า - แต่อย่างไรก็ตามอยากจะพัฒนาสื อของตนให้ดีขึนต่อไปไม่หยุดแม้วา่ จะปิ ดโครงการไปแล้ว ร่ วมกิจกรรมคาราวานบุญแล้วทําให้รู้วา่ อะไร ได้อะไร (ตอบโดยแกนนําชาวบ้าน) - ทําให้รู้วา่ สิ งทีทําขายได้นะ ควรผลิตให้มากกว่านีและได้มาตรฐานเดียวกัน - ทําให้รู้วา่ ต้องการเพือนหรื อกัลยาณมิตรทีมีใจเดียวกันช่วยกันผลิตเพิม - น่าจะมีทีมงานออกคาราวานบุญโดยเฉพาะเป็ นกลุ่มเดียวทุกงาน เพือพัฒนาทักษะอย่างต่อเนือง ด้านการพูด การขายสิ นค้า การขนส่ ง ลูกค้าสัมพันธ์ รวมทังการตลาดทังหมด - ควรมีการออกคาราวานบุญลงพืนทีในเขตชนบทบ้าง เผือจะมีชาวบ้านทียังไม่รู้สนใจร่ วมกลุ่ม ผลิตสิ นค้าซึงกําลังขาดคนนันๆ อยู่ - เวลาออกงานคาราวานบุญน่าจะนําสิ นค้าและบริ การทังหมดไปพร้อมๆ กัน เพือช่วยกัน ประชาสัมพันธ์เพราะชาวบ้านบางคนเก่งลงมือทํา บางคนเก่งประชาสัมพันธ์ บางคนเก่งการ ประสานงานแก้ไขปั ญหา แต่ทุกคนมีศกั ยภาพในการพัฒนาทักษะได้ ร่ วมกิจกรรมคาราวานบุญแล้วทําให้รู้วา่ อะไร ได้อะไร (ตอบโดยทีมงานผลิตสื อ) - ทําให้รู้วา่ สื อประชาสัมพันธ์ อาทิ บอร์ ดนิทรรศการ ไวนิล ป้ ายถือเดินขบวนมีประสิ ทธิ ภาพแค่ ไหน มีประโยชน์ตรงกลุ่มเป้ าหมายหรื อไม่ - ทําให้ทราบถึงกิจกรรมเช่น การเล่นเกมส์แจกรางวัล การเต้นประกอบเพลง การเดินขบวน ประชาสัมพันธ์ ว่ามีผลมากน้อยแค่ไหน ทําให้การขับเคลือนแนวคิดขบวนบุญเกิดการขยายต่อ หรื อไม่ - ทําให้รู้วา่ เรื องการทําบัญชีจดั คลังสิ นค้าควรเป็ นคนๆ เดียวกัน เพราะจะทําให้เกิดความ ผิดพลาดน้อย - ได้รู้วา่ มีคนทีมีจิตอาสาอยูม่ าก อยากเสี ยสละ อยากร่ วมขบวนบุญเยอะแต่หาช่องทางการ ติดต่อสื อสารไม่พบ

119


- ได้รู้วา่ สื อสังคมออนไลน์หรื อเฟสบุค๊ มีอิทธิ พลสูง ทําให้คนส่ วนหนึงทีสนใจตามมาร่ วม คาราวานบุญ และติดตามความเคลือนไหวต่อจากนี - ได้รู้วา่ สื อวีดีโอเคลือนไหวสามารถช่วยสื อให้คนทัวไปเข้าใจได้วา่ เรากําลังทําอะไรอยู่ - รู้สึกประทับใจทีไปออกบูธทีไหนก็มีแต่คนมาช่วย ทีอยูท่ ีกินทีนอนสะดวกสบาย และแค่เห็น คนเดินผ่านไปมาแล้วสนใจว่าเราทําอะไร รับรู ้สือของเราก็พอใจแล้ว คล้ายๆ งานบุญ (วัด) เคลือนที - รู ้สึกเหนือยแต่สนุกทุกครังทีได้เข้าร่ วมคาราวานบุญ ตัวทีมงานผลิตสื อก็สามารถเป็ นสื อด้วย ตัวเองได้ ความสุขทีได้รับจากการให้มนั เติมกําลังใจ พลังกายให้มุ่งมันทํางานเพือส่วนรวม ต่อไป - ทําให้รู้วา่ ผูส้ ่ งสารทีดีทีสุ ดคือผูท้ ีเข้าใจแนวคิดของวัดและงานทีวัดทําทังหมดเป็ นโครงการ ขบวนบุญเหมือนกัน เรามีประสบการณ์ตรงจากการเป็ นศิษย์วดั อาสาสมัครประจําวัดจึง เปรี ยบเสมือนพิพิธภัณฑ์เคลือนทีได้และชีวิต ทําให้การบอกเล่าสู่คนอืนมีความน่าเชือถือ มากกว่าสื อต่างๆ ทีไม่มีชีวิต - ทําให้ได้รู้วา่ คาราวานบุญทุกครังจัดในสถานทีไม่เหมือนกัน อาสาสมัครมาร่ วมก็ไม่ซาหน้ ํ ากัน ปั ญหาทีเกิดจึงต้องอาศัยการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า - น่าจะมีการติดตามสอบถามความพึงพอใจของลูกค้า หลังจากทีมาอุดหนุนหรื อลงชืออยากร่ วม เป็ นอาสาสมัครด้วย สรุปประเมินผล หลังจากลงพืนทีเก็บข้อมูลดิบภาคสนามตลอดระยะเวลา ๘ เดือน ผ่านกิจกรรมหลักคือการผลิตสื อ พืนบ้านและงานออกบูธคาราวานบุญ สุดท้ายมีการล้อมวงสรุ ปปิ ดโครงการช่วยกันถอดบทเรี ยนทังปี ั าชาวบ้านซึงได้ประโยชน์มากทีสุ ด ทีมงานอาสาผลิตสื อได้เพิมพูนทักษะ ร่ วมกัน ส่ งผลให้ทงแกนนํ ต่างๆ รวมทังยังเกิดการกระตุน้ ให้บุคคลทัวไปในเมืองเกิดความตระหนัก และเห็นคุณค่าของการนํา แนวพระราชดําริ เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ โดยมีแบบอย่างแห่งความสําเร็ จมาให้บทเรี ยนและ ประสบการณ์จริ ง ซึ งสื อด้วยตัวของชาวบ้าน ด้วยสื อประชาสัมพันธ์ต่างๆ เอง นอกจากนันทีมงานทุก คนนําประสบการณ์ลอ้ มวงคุย (สนทนาอย่างไม่เป็ นทางการ) นีมาใช้บ่อยๆ จนเกิดความคุน้ เคย เกิดเป็ น กระบวนการเรี ยนรู ้อย่างไม่รู้ตวั เป็ นการถอดบทเรี ยนด้วยตัวของเขาเองโดยมีทีมงานกลางและผูว้ ิจยั เป็ นเพียงผูช้ วนคุย จนเกิดประเด็นทีจะนําไปสู่การแก้ไขพัฒนาต่อไป

120


รายงานนามผู้ร่วมการประชุมถอดองค์ ความรู้ โครงการพัฒนาธุรกิจเพือสั งคมคนบุญด้วยช่ องทางสั งคมออนไลน์ วันที ๒๔ สิ งหาคม ๒๕๕๖ ณ ศาลา ๑๘ เสา ห้ วยบง วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ ม อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ -------------------------------ผู้มาประชุ ม ๑. นางจันทร์ดี ๒. นายอุดร ๓. นางอามร ๔. นางชณิ ตฎา ๕. นางจําลอง ๖. นายสวิง ๗. ธนพร ๘. แสงหล้า ๙. บุญส่ ง ๑๐. ศิรินาถ

บุญมาลา สุ ขโข คําชอน สาสุจิตร์ สาสุจิตร์ จะหละ ภาระษี โปธา ยะมะโน โปธา

ชุมชนบ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านแม่สาบ ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านป่ าเกียะนอก ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนบ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่

ผูม้ าประชุม ๑. น.ส. ธชาพร เลาวพงษ์ ผูป้ ระสานงานโครงการ ๒. นางอําพร เลาวพงษ์ ผูว้ ิจยั ถอดองค์ความรู ้

121


เนือหา/รายละเอียดการดําเนินกิจกรรม โครงการพัฒนาธุรกิจเพือสั งคมคนบุญด้ วยช่ องทางสั งคมออนไลน์ ๕. นําเสนอผลงานในงานสมัชชาคุณธรรม ณ อิมแพค ฮอลล์ ๙ เมืองทองธานี จ.นนทบุรี หน่ วยงาน/องค์ กร วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ผู้ประสานงาน พระครู ธรรมคุต (สรยุทธ ชยปัญโญ) เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผูอ้ าํ นวยการศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม โทร. o๘๙ ๙๒๖ ๓๘๗๗ E-mail: doiphasom@gmail.com วัตถุประสงค์ ของโครงการ

กิจกรรม

๑. เพือนําเสนอผลการดําเนินงานแลกเปลียนเรี ยนรู ้ ๒. เผยแพร่ “ขบวนบุญ”ในงานสมัชชาคุณธรรม รายละเอียดของกิจกรรมนําเสนอผลงานในงานสมัชชาคุณธรรมแห่ งชาติ (๒๕- ๒๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖) ช่ วงเตรียมงาน ( ๑ – ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๖) แบ่งออกเป็ น ๓ ทีมงานคือ เตรี ยมคน เตรี ยมของ ฝ่ ายประสานงาน โดยมีรายละเอียด ดังนี เตรียมคน การเตรี ยมงานกิจกรรมสมัชชาคุณธรรมเป็ นครังแรกทีใช้เวลายาวนานถึง ๓ อาทิตย์ เนืองจาก เป็ นการออกงานครังแรกของนักเรี ยนโฮมสคูลรุ่ นใหม่ทงั ๑๕ คนแต่มีสิทธิ ไปเพียง ๗ คนจึงต้องฝึ กฝน ทดสอบการเตรี ยมตัว และสมัครใจมาหาประสบการณ์และเป็ นการเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนได้เรี ยนรู ้ แลกเปลียนกับเพือนๆ บูธอืนๆ การเตรี ยมงานจึงเริ มจากการเตรี ยมคน นอกจากนันทีมพีเลียงหรื อทีมประสานงานทีพาไปจะต้องมีประสบการณ์ออกงานคาราวานบุญ หรื อการจัดบูธมาก่อน นอกจากนันยังต้องสามารถสอนเด็กนักเรี ยนได้ จึงแบ่งทีมดูแลเป็ น ๒ ทีมตาม หน้าทีประจํา ๒ ซุม้ คือ ทีมชุมชน และทีมแหล่งเรี ยนรู ้ ซึ งทีมชุมชนนันนักเรี ยนทีได้เข้าร่ วมต้องเข้าอบรมวิชา “ขบวนบุญ” จากรุ่ นพีทีมีประสบการณ์ และชมวีดิทศั น์ เพือสามารถทราบจุดประสงค์หลักในการทําโครงการ ทีมาของผลิตภัณฑ์ สรรพคุณ

122


และวิธีการใช้ ราคาและการเก็บรักษา นอกจากนันเด็กๆ ยังต้องสามารถนําเสนอศูนย์การเรี ยนรู้ทีตน เรี ยนอยูไ่ ด้ ถือเป็ นการฝึ กทักษะการกล้าแสดงออก การใช้ความคิดสร้างสรรค์ การใช้ภาษาไทย การ วางตัวและการเข้าสังคม สําหรับทีมแหล่งเรี ยนรู ้เด็กๆ ต้องสาธิตฐาน “ตนพออยูพ่ อกิน” จากผลิตภัณฑ์การเกษตรทีปลูก และเลียงดูในไร่ พอเพียง งานนีนํางาขีม่อนอัดแท่งผสมนําตาลอ้อยเป็ นขนมทีคิดค้นขึนมาใหม่เพืองานนี โดยเฉพาะ ไข่ปามใบมะรุ มสดเหมือนไข่ตุ่นหอมในกระทงใบตอง มาพร้อมกับการหุงข้างกล้องดอย หอมเหนียวนุ่ม และชาข้าวคัวกลินของเปลือกข้าวแถมมีประโยชน์เป็ นเครื องดืมร้อนๆ พร้อมเสิ ร์ฟ เหล่านีเป็ นอุปกรณ์ทีเด็กๆ นักเรี ยนและครู พีเลียงจะต้องฝึ กทักษะในการทําอาหาร และการเตรี ยมข้าว ของวัตถุดิบเพือการสาธิ ตชิมฟรี ภายในงาน เตรียมอุปกรณ์ จัดนิทรรศการ การเตรี ยมอุปกรณ์จดั นิทรรศการ ไวนิล ป้ ายต่างๆ และอุปกรณ์สาธิตทําอาหารโชว์และกระทง ใบตองแจกให้อาหารชิมฟรี ซึ งของบางส่วนต้องขนลงไปกรุ งเทพฯ ก่อนล่วงหน้าก่อนถึงวันงาน ฝ่ ายประสานงาน เป็ นทีมงานกลางมีหน้าทีติดต่อให้ขอ้ มูลกับทางศูนย์คุณธรรมและเพือนร่ วมซุม้ กิจกรรมใน จังหวัดอืนๆ ในการวางแนวทางการจัดกิจกรรมร่ วมกัน นอกจากนันยังต้องเตรี ยมสวัสดิการในวันงาน คือการเช่าเหมารถในการเดินทาง การติดต่อทีพัก การแบ่งทีมงานดูแลนักเรี ยน อาหารและเครื องดืม การดูแลบัญชีรายรับรายจ่ายตลอดการเดินทาง ช่ วงวันงานจริง (๒๕-๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๖) หลังจากได้ซกั ซ้อมก่อนลงมากรุ งเทพฯและเตรี ยมความพร้อมของอุปกรณ์

ติดตัง

ตก

แต่งบูธนิทรรศการก่อนถึงวันงานจริ ง ทําให้การดําเนินงานวันแรกผ่านไปได้ดว้ ยดี เริ มจากการจัดวาง สิ นค้าก่อนเริ มงานดึงดูดความสนใจ

รวมทังการใส่ ชุดนักเรี ยนหม้อฮ่อมทีไม่เหมือนใครก็ทาํ ให้คนที

ผ่านมาให้ความสนใจเข้ามาถามข้อมูลการเรี ยนการสอน การผลิตสิ นค้า และจัดจําหน่ายสิ นค้าทีร้อย เรี ยงเป็ นเรื องเดียว

123


บูธชุมชนเป็ นการจัดแสดง

จัดจําหน่ายสิ นค้าและบอกเล่าเรื องราวทีมากกว่าแค่สินค้าโดย

ใช้บธู นิทรรศการขนาดใหญ่ทีเตรี ยมมา พร้อมสื อวีดิทศั น์จากการสื อสารของมัคคุเทศก์นอ้ ยพาชมบูธ แม้จะมีคนเข้าร่ วมฟังและเดินชมบูธชุมชนไม่มากแต่ถา้ เทียบในเชิงคุณภาพทีได้เราได้คนทีสนใจฟังจริ ง และอยากนําไปปรับใช้ในโรงเรี ยน อุดมศึกษาและสถานศึกษาอีกหลายแห่งทีเข้ามาขอข้อมูล ทังชืนชม เด็กๆ ในความสามารถอธิ บายให้เข้าใจได้ ชืนชมในคุณธรรมเสี ยสละทีไม่ได้เรี ยนอย่างเดียว แต่ได้ ฝึ กงานอาสาแนบเนียนไปกับการใช้ชีวิตและทํางานบนวัด การศึกษากระแสหลัก

ซึงหาหลักสูตรแบบนีไม่ได้ในระบบ

และแน่นอนการบ่มเพาะคนคุณธรรมต้องอาศัยเวลาแต่ถือว่าเป็ นการลงทุนที

คุม้ ค่า บูธแหล่งเรี ยนรู ้

เป็ นบูธทีตังอยูห่ น้าเวทีกลางตลาดนัดคุณธรรมซึงถือว่าเป็ นทําเลทองมีผคู ้ น

เดินผ่านไปผ่านมาจํานวนมาก จึงได้รับความสนใจมากและเป็ นบูธเดียวทีให้ลองทํา ลองชิม โดยการยก ฐานเศรษฐกิจพอเพียงเรื อง “ตนพออยูพ่ อกิน” มาเป็ นจุดเด่นของบูธ คือการนําไข่ไก่สด ใบมะรุ มสด งา ขีม่อน นําตาลอ้อย ข้าวเปลือกเขียวงู ข้าวกล้องดอย ใบตองตานี พืชผลทางการเกษตรเหล่านีจากไร่ คุณธรรมของเครื อข่ายเศรษฐกิจพอเพียงของวัดทีมีเหลือมากพอทีนํามาจําหน่าย จ่ายแจกและฝึ กวิชาการ พึงพาตนเองจากข้าวของทีมีอยูใ่ นไร่ จะนํามารังสรรค์เป็ นของกิน อิมท้อง มีประโยชน์ และเก็บไว้ได้ นานได้อย่างไร เมือคุณครู ร่วมกันคิดค้นกับนักเรี ยนจนออกมาเป็ น สูตรอาหรและเครื องดืม ๓ สูตรคือ ข้าวตอกงาขีม่อน ไข่ปามใบมะรุ มสุก ชาข้าวเปลือก ข้าวตอกงาขีม่อนยึดติดกันเป็ นแท่งด้วยนําตาลอ้อย

โดยเริ มจากการคัวข้าวเหนียวเปลือกใน

หม้อดินกับไม้กา้ นทางมะพร้าวปิ ดฝาให้ขา้ วเปลือกแตกเองด้วยความร้อนของเตาถ่าน (ลักษณะการแตก พองเหมือนป๊ อปคอร์ น)

แล้วจึงนํามาเทใส่ กระด้งฟัดเอาเปลือกข้าวออกแล้วใช้มือคัดแยกเศษเปลือก

ออกอีกที เป็ นการทําข้าวตอกโบราณทีชาวบ้านช่วยกันทําแล้วรวมกันมาเป็ นถุงโตถวายวัดแล้วนําไปจัด แสดงในงาน จากนันนํางาขีม่อน (ลักษณะคล้ายงาดําแต่มีความเบาและรู พรุ นในตัวงามากกว่า) งา พืนบ้านภาคเหนือมาตําให้ละเอียดแล้วนํามาผสมกับข้าวตอกทีคัวแล้ว เทนําตาลอ้อยร้อนๆ ทีปรุ งรส ด้วยเกลือหยิบมือลงในแม่พิมพ์ทีแผ่ขา้ วตอกงารอไว้ใช้แผ่นพลาสติกนาบด้านบนแม่พิมพ์สีเหลียม จากนันใช้ขวดแก้วนวดกลึงให้แผ่เต็มแม่พิมพ์รอให้แข็งตัวเล็กน้อยก่อนตัดเป็ นชินพอดีคาํ สามารถเก็บ ไว้ได้นาน เป็ นสแน๊คบาร์ ให้พลังงานและมีประโยชน์ต่อสุ ขภาพด้วยคุณค่าของงาขีม่อน

124


ไข่ปามใบมะรุ มสด เป็ นอาหารดัดแปลงพืนบ้านภาคเหนือทีนําเอาไข่กวนมาห่อใบตองปิ งบน เตาร้อนๆ ได้ไข่ไก่สุกคล้ายไข่ต๋ ุนแบบไม่พึงนํามันแถมได้กลินหอมอ่อนๆ ของใบตองไหม้ สําหรับ วิธีการทําไข่ปามใบมะรุ มสดเริ มจากนําไข่ไก่มาตีแล้วกรี ดเฉพาะใบมะรุ มสดใบเล็กๆ ตีผสมให้เข้ากัน ใส่ เกลือหรื อซอสปรุ งรสหยอดลงในกระทงตานีตุ่นในเตาอบ ลังถึง หม้อหุงข้าวก็สุกได้ทีเพียงไม่กีนาที ได้กบั ข้าวแสนอร่ อย

พร้อมกับข้าวกล้องดอยปกาเกอะญอทีหุงสุกเหนียวนุ่ม

เป็ นเม็ดกลมป้ อมน่า

รับประทาน สําหรับชาข้าวเปลือก

ทําง่ายด้วยสูตรจากหมอพืนบ้านจากศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอือง

ขึนมาเป็ นครู หมออาสาสอนนักเรี ยนบนดอยผาส้ม โดยนําข้าวเหนียวเปลือกงู พันธุ์พืนบ้านมาคัวไฟ อ่อนๆ ด้วยเตาถ่าน จากนันตักพักไว้ นําผ้าข้าวบางตัดชินสี เหลียม นําข้าวเปลือกหยิบมือใส่ในห่อมัด เลือกผ้าหรื อมัดด้วยใบเตยเพิมความหอม

นําใส่ กาต้นนําร้อนขนาดใหญ่ตม้ จนเดือดสามารถทานได้

จํานวนมากถึง 50 - 80 แก้วต่อห่อข้าวเปลือก สรรพคุณช่วยให้อิมท้อง ละลายไขมัน ลดความดัน และ ช่วยให้รู้สึกผ่อนคลายจากนําชาร้อนๆ ทังกิน ชิม ดืม ซื อ บริ จาคเงินอุดหนุนงานอาสา และเกิดบทสนทนาแลกเลียนทังระหว่างรุ่ นเล็ก รุ่ นใหญ่ระหว่างบูธ ในบูธ นอกบูธเป็ นบรรยากาศตลาดนัดความรู้ในช่วงวันแรกของวันงาน สําหรับ วันทีสองเนืองจากจํานวนคนไม่มากเท่าวันแรก คุณครู จึงปล่อยเด็กๆ นักเรี ยนพักไปแลกเปลียน ร่ วมทํา กิจกรรมกับบูธอืนๆ เพือหาประสบการณ์จากเพือนต่างวัย ต่างโรงเรี ยนกัน แล้วนํามาสรุ ปบทเรี ยนเขียน เป็ นบันทึกประจําวันของแต่ละคน สําหรับบางคนก็เล่นเกมส์แรลลีประจําบูธให้ครบทังงาน

ได้ตราปัมครบก็นาํ มาแลกเป็ นของ

รางวัล เป็ นกิจกรรมทีกระตุน้ ให้ทงผู ั ร้ ่ วมและจัดงานได้อ่านบอร์ ดนิทรรศการ และตังคําถามเมือสงสัย จนเกิการพูดคุยกันในทีสุ ด

จํานวนผู้เข้ าร่ วมกิจกรรม ๑. คณะทีมงานผูเ้ ข้าร่ วมกิจกรรมงานสมัชชาคุณธรรมจํานวน ๑๓ คน

125


๒. บุคคลทัวไปทีเดินทางมาเลือกชมสิ นค้าผลิตภัณฑ์ต่างๆ ณ บูธนิทรรศการ จํานวน ๓๐๐ – ๕๐๐ คน ๓. บุคคลทีรับรู้สือประชาสัมพันธ์โครงการ “ขบวนบุญ” จํานวนประมาณ ๑,๐๐๐ คน

สรุ ปประเมินผล หลังจากเสร็ จสิ นกิจกรรมงานสมัชชาคุณธรรมแห่งชาติ ได้มีการจัดทําแบบประเมินผลความพึงพอใจใน ๒ ส่ วนได้แก่ ๑) คณะทีมงานผูเ้ ข้าร่ วมโครงการ (นักเรี ยน ครู อาสา และอาสาสมัคร)โดยถามคําถามปลายเปิ ด เกียวกับความรู้สึกและข้อเสนอแนะของการมาร่ วมงานคาราวานบุญครังนี ๒) ผูบ้ ริ โภค โดยให้หย่อนหน้าอารมณ์แสดงความรู ้สึกต่อบูธกิจกรรม หากชืนชอบบูธนีให้หย่อน หน้ายิมฉีกกว้าง หากชืนชอบธรรมดาให้หย่อนรู ปหน้ายิม แล้วถ้ารู ้สึกเฉยๆ ให้หย่อนหน้าเศร้า ลงในกล่องประเมินผล ซึ งมีผคู้ นให้ความสนใจในการประเมินมากกว่าการกรอกแบบประเมิน หลายๆ ข้ออย่างทีเคยลองทําในการออกบูธคาราวานบุญทัง ๕ ครังทีผ่านมา สําหรับคณะทีมงานผูเ้ ข้าร่ วมโครงการ ได้กล่าวความรู้สึกในการมาร่ วมงานสมัชชาคุณธรรม และมี ข้อเสนอแนะดังนี ๑. ข้อเสนอแนะทีทีมงานมีต่อผูจ้ ดั งาน (ออร์ กาไนซ์เซอร์ ) ทีทางศูนย์คุณธรรมจัดจ้างอีกทียงั ไม่มี ความเป็ นมืออาชีพทังการประสานงานระหว่างบูธ การกําหนดแผนผังน่าจะคนสรุ ปงานอีกที หลังจากองค์กรต่างๆ คุยกันจบ นอกจากนันวันเตรี ยมงานทียังจัดประกอบบูธยังไม่แล้วเสร็ จ ตามกําหนดทําให้ผจู ้ ดั นิทรรศการเสี ยเวลามาก ทังเรื องการจัดอาหารกลางวันทีไม่เพียงพอ สําหรับผูจ้ ดั นิทรรศการ ไม่น่าเกิดความผิดพลาดหากได้ดูยอดจํานวนคนจัดนิทรรศการซึ งแจ้ง ล่วงหน้าก่อนหนึงเดือน แต่ไม่มีการสกินคนว่าใครสามารถรับประทานอาหารได้บา้ ง อาหารจึง ไม่เหลือพอ สติกเกอร์ หรื อคูปองรับประทานอาหารก็ออกให้ล่าช้ามาก ๒. ข้อเสนอต่อศูนย์คุณธรรมเรื องงานสมัชชาคุณธรรมแห่งชาติปี งานค่อนข้างเงียบเร็ ว คือ ช่วง บ่ายๆ คนไม่ค่อยมีทงสองวั ั น และตัวงานเองยังมีคอนเซ็ปป์ งานไม่ชดั บูธแต่ละบูธไม่แอคทีฟ

126


บางบูธมีเพียงป้ ายนิทรรศการตังไว้ ไม่มีคน ไม่มีจุดเด่น ไม่มีกิจกรรมดึงดูด หากบูธไหนไม่ สามารถนําเสนอได้กท็ าํ ให้บูธนันไม่ได้รับความสนใจไปเลย ทังการผลักดันให้บูธต่างๆ หรื อให้เกิดผูน้ าํ ธรรมชาติของกลุ่มต่างๆ ยังไม่เกิดขึน ทําให้ การนําสัมมนาในห้องประชุมยังไม่เกิดอะไรมากนอกจากการทําความรู ้จกั และพูดคุยเรื องของ ตัวเอง ไม่มีบทสรุ ปหรื อแผนการอนาคต ฉะนันการร่ วมมือกันใน ๗ ส่วนอาจยังไม่เกิดขึนเร็ วๆ นี น่าสนใจทีว่าแทนทีจะทําแผนขยายผลงานด้านคุณธรรมให้ครอบคลุมทัวประเทศ ในทาง กลับกันน่าจะมีการสร้างการมีส่วนร่ วมให้กบั ภาคีทงั ๗ ด้วย หมายความว่ามีการสร้างความรู ้ จักคุน้ เคย เข้มแข็งและผนึกกําลังสร้างความร่ วมมือกันให้มากกว่านีอาจทําให้เราเข้มแข็งพึงพา องค์ความรู ้ภายในกันบ้างก็น่าจะทําให้เกิดเป็ นกลุ่มเป็ นก้อนได้ดีกว่าแค่มาร่ วมกันสัมมนา ประจําปี ประจําภาค ประจําภาคี ซึ งน่าจะเป็ นคุณประโยชน์ต่อการสร้างความเข้าใจในแผน ซื อตรงแห่งชาติมากขึน ๓. งานนําเสนอผลงานในงานสมัชชาคุณธรรมปี นีเป็ นครังแรกของบูธชุมชนทีรวมตัวกันได้ไม่ นาน ซึ งมีองค์กรภาคีทงภาคชุ ั มชน ภาครัฐ ภาคเอกชนมาร่ วมงานครังแรก เนืองจากพวกเรายัง ใหม่กบั การร่ วมงานกับทางศูนย์คุณธรรม บูธชุมชนจึงมีองค์กรต่างๆ จึงยังเข้าร่ วมไม่มากและ ยังไม่สามารถดึงดูดความสนใจเมือเปรี ยบเทียบกับบูธอืนๆ จึงน่าจะมีการพูดคุยกันมากและ บ่อยครังกว่านีโดยมีศูนย์คุณธรรมเป็ นพีเลียงก่อนในครังแรก จากนันจะเกิดผูน้ าํ ตามธรรมชาติ ทีลุกขึนมารวมเพือนๆ ในการดําเนินงานด้วยความราบรื นต่อไป ๔. สถานทีจัดงานสะดวกสบาย กว้างขวางและมีเวลาให้ติดตังบูธนิทรรศการก่อนวันจริ งทําให้การ เตรี ยมงานไม่เหนือยเกินไป

127


สถิติของผูบ้ ริ โภค (กลุ่มเป้ าหมาย) จากการตอบแบบสอบถามแบบใหม่คือสํารวจเฉพาะ ความรู ้สึก/ความพึงพอใจหลังจากทีได้เข้าร่ วมกิจกรรมทีบูธด้วยการหย่อนเหรี ยญกลมหน้าอารมณ์ ต่างๆ ซึ งเข้าใจง่ายใช้เวลารวดเร็ วจึงได้รับความนิยมกว่าการให้ตอบแบบสอบถามหลายข้อ ครังนีมี ผูร้ ่ วมประเมิน จํานวน ๑๓๖ คน โดยสรุ ปความพึงพอใจเป็ นหน้ารู ปอารมณ์ต่างๆ ดังนี

พึงพอใจมาก ๙๒ คน

พึงพอใจ ๓๘ คน

ไม่พอใจ ๖ คน

128


รายชือเหล่ าอาสาสมัครงานสมัชชาคุณธรรมแห่ งชาติ โครงการพัฒนาธุรกิจเพือสั งคมคนบุญด้วยช่ องทางสั งคมออนไลน์ วันที ๒๕-๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๖ ณ อิมแพค ฮอลล์ ๙ เมืองทองธานี จ.นนทบุรี -------------------------------ผู้มาประชุ ม ๑. จิรินดา ๒. ฐิติยา ๓. ฉัตรกมล ๔. ธชาพร ๕. วงศ์ศิริ ๖. ดวงแข ๗. โกสุบิน ๘. เมือง ๙. ชนวีร์ ๑๐. ชนสรณ์ ๑๑. ศุภพล ๑๒.นารี ๑๓. อริ สรา ๑๔. รุ่ งนภา ๑๕. ชลดา

แสนหาญชัย นิมพิทกั ษ์พงศ์ มงคล เลาวพงษ์ อ่อนหวาน เซี ยงเจ็น ทะสา ลุงตี อยูร่ ุ่ งเรื อง พาอุน ชาวสวนแตง ปู่ นุ มูลตะโล ชมโลก ริ นคํา

อาสาสมัครวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม อาสาสมัครวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม อาสาสมัครวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม อาสาสมัครวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม อาสาสมัครวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม อาสาสมัครวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม นักเรี ยนศูนย์การเรี ยน วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม นักเรี ยนศูนย์การเรี ยน วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม นักเรี ยนศูนย์การเรี ยน วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม นักเรี ยนศูนย์การเรี ยน วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม นักเรี ยนศูนย์การเรี ยน วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม นักเรี ยนศูนย์การเรี ยน วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม นักเรี ยนศูนย์การเรี ยน วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม นักเรี ยนศูนย์การเรี ยน วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม นักเรี ยนศูนย์การเรี ยน วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม

129


ภาพกิจกรรมนําเสนอผลงานในงานสมัชชาคุณธรรมแห่ งชาติ วันที ๒๕-๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๖ ณ อิมแพค ฮอลล์ ๙ เมืองทองธานี จ.นนทบุรี

130


131


ส่ วนที ๕ ภาคผนวกหรือข้ อมูลอ้ างอิง

132


ภาคผนวก ก. • สไลด์ ทใช้ ี ในการอบรมสื อพืนบ้ าน ครังที ๒ • ตัวอย่ างคําถามหลังจากดูวดี โี อ • ตัวอย่ างสรุปคําตอบหลังจากดูวดี โี อ • ตัวอย่ างภาพตัดจากวีดโี อประสบการณ์ บทเรียนชีวติ เพือเสริมสร้ างแรง บันดาลใจจากบุคคลต้ นแบบในเครือข่ ายเศรษฐกิจพอเพียง • ตัวอย่ างหนังสื อองค์ ความรู้ ออนไลน์ ในการพึงพาตนเองอย่ างง่ าย • ตัวอย่ างหน้ าเว็บไซต์ เป็ นแหล่ งรวบรวมองค์ ความรู้ เศรษฐกิจพอเพียง

133


สไลด์ ทใช้ ี ในการอบรมสื อพืนบ้ าน ครังที ๒ “ขบวนบุญ ภาค 2”

้ ่ 2 “ขนทดลองนํ ้ั ่ ตไปใช้จริง” อบรมสื่อครังที าสื่อทีผลิ 16 – 17 สิงหาคม 2556

วัดพระบรมธาตุดอยผาส ้ม อําเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ สนับสนุ นโดย ศูนย ์คุณธรรม (องค ์การมหาชน)

งานเครื อข่าย ปี 2555

134


งานเครื อข่าย ปี 2555

ขบวนบุญนักศึกษา ABAC ปี 2555

135


ชาวเมืองบุกป่ า ปี 2555

ชาวเมืองบุกป่ า ปี 2555

136


ปี 2556 เราได้ทํา อะไรไปบ้าง

137


้ ้าน ทบทวนการอบรมผลิตสื่อพืนบ เมื่อเดือนธันวาคม 2556

138


139


การพัฒนาเว็บไซต ์ ระหว่างทีมงานผลิตสื่อ และนักเขียนเว็บไซต ์

140


ตัวอย่างหน้าของเว็บไซต ์วัดผาส ้มใหม่ www.watdoiphasom.com

141


คาราวานบุญ 5 ครัง้ เดือนมกราคม 2556 ณ กาดคําเที่ยง เมื องเชียงใหม่

้ ่ 2 คาราวานบุญครังที เดือนกุมภาพันธ ์ 2556 ณ สวนบวกหาด เมืองเชียงใหม่

142


้ ่ 3 คาราวานบุญครังที เดือนมีนาคม 2556 ณ งานสตรอเบอร ร์ ่ี อําเภอสะเมิง

้ ่ 4 คาราวานบุญครังที เดือนเมษายน 2556 ณ งานมหกรรม ้ จ.ชลบุรี คืนชีวิตให ้แผ่นดิน มาบเอือง

143


้ ่ 5 คาราวานบุญครังที ้ เดือนพฤษภาคม 2556 ณ งานสรงนํ าพระ ธาตุประจําปี 2556 วัดพระบรมธาตุดอยผาส ้ม

144


้ คาราวานบุญหลายครังมากมายนั บไม่ถ ้วนที่ กรุงเทพฯ

คาราวานบุญของ พี่ๆ Very good ทุกๆ เดือน หน้าสถานที่ ทํางาน

145


คาราวานบุญ โดยน้องๆ นักศึกษา ABAC

คาราวานบุญนักศึกษา ABAC ได ้รับรางวัลที่ 1 การ เรียนรู ้และบริการชุมชน ของมหาวิทยาลัย ABAC

146


กิจกรรม “วีดีโอนี ้ ...จะสื่ออะไร” • ทุกท่านเตรี ยมปากกา • แจกกระดาษโจทย ์ • ให้อ่านโจทย ์ทุกข้อ 1 รอบ (อ่านพร้อมก ัน สงสัยถามเลย) ้ั • ตงสติ ้ • ดู วีดีโอพร้อมกน ั แต่ละเรื่องยาวไม่เกิน 10 นาที ฉะนันอย่ า ประมาท ั !! • ลงมือทําข้อสอบ ห้ามคุยก ัน ห้ามช่วยก ันทํา ห้ามลอกกน ้ ถามกรรมการคุมสอบ • ใครทําเสร็จหรื อมีคา ํ ถามให้แล้วยกมือขึน ้ จากนันกรรมการจะทํ าการจ ัดกลุ่มคําตอบ เพื่อประเมินและวิเคราะห ์ ร่วมกน ั ในวงใหญ่

้ ่อชีวิตของฉันอยู ่บนโลกออนไลน์” กิจกรรม “จะเกิดอะไรขึนเมื • ทุกคนนับเลขแบ่ง 3 กลุ่ม • แจกกระดาษองค ์ความรู ้ PDF ให้อ่านแล้วตอบคําถาม • โจทย ์คือ 1. อ่านแล้วเข้าใจไหม เข้าใจหรื อไม่เข้าใจเพราะอะไร 2. มีขอ ้ มู ลตรงไหนขาด/เกิน/ท ับซ้อน 3. การใช ้ภาษา 4. การจ ัดหน้า/สีส ัน/ความคมช ัดของรู ปภาพ 5. รู ปแบบต ัวอ ักษร ้ ่ อมู ลของฉันเหล่านี ้ อยู ่บนโลก 6. คิดว่าจะเกิดอะไรขึนเมื อข้ ออนไลน์ ทงผลดี ั้ และดี จงตอบคําถามให้ครบถ้วน ค่อยๆ ช่วยก ันคิดเจ้า ้ั • ตงสติ ้ •ลงมือทําข้อสอบ คุยก ันได้ ช่วยก ันทําได้ เฉพาะในกลุ่มเท่านัน! • เขียนคําตอบลงในกระดาษแผ่นใหญ่ แล้วออกมานํ าเสนอ

147


ตัวอย่ างคําถามหลังจากดูวดี โี อ คําถามหลังจากดูวีดีโอ “พ่ อน้ อยเสงียม” 1. เนือหา (ดูแล้วเข้าใจไหม) ตอบ มากทีสุ ด/ มาก/ ปานกลาง/ น้อย/ น้อยทีสุ ด 2. รู ปแบบ (การดําเนินเรื องสนุกไหม วีดีโอนีน่าติดตาม) ตอบ น่าติดตามมากทีสุ ด/ มาก/ ปานกลาง/ น้อย/ น้อยทีสุ ด 3. ใจความสําคัญของวีดีโอเรื องนีคือ... ตอบ .......................................................................................................... ............................................................................................................. ............................................................................................................. 4. ทําไมพ่อน้อยเสงียมผันตัวเองจากการปลูกพืชเชิงเดียวมาเป็ นคนปลูก ป่ า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง

ตอบ................................................................................................ 5. ในวีดีโอนี พ่อน้อยเสงียมปลูกผักอะไรบ้าง จงยกตัวอย่างมา 3 ชนิด

ตอบ.................................................................................................. 6. พ่อน้อยเสงียมใช้วธิ ีอะไรในการไล่แมลงโดยไม่ใช้สารเคมี

ตอบ.................................................................................................... 7. ทําไมปั จจุบนั อาหารในป่ าจึงหายาก (ตอบตามเหตุผลทีพ่อน้อยเสงียม ได้กล่าวไว้ในวีดีโอเท่านัน)

ตอบ..................................................................................................

148


8. พ่อน้อยเสงียมมีส่วนร่ วมในกลุ่มขบวนบุญอย่างไรบ้าง

ตอบ................................................................................................. 9. ในบ้านของพ่อทําอาหารอะไรบ้าง

ตอบ................................................................................................ 10. ความสุ ขของยุทธ (ลูกชายของพ่อน้อย) คืออะไร

ตอบ.................................................................................................. 11. ถ้าท่านจะตังชือเรื องให้กบั วีดีโอนีท่านจะใช้ชือว่า....

ตอบ.................................................................................................

149


150


8

vjaiiou~fi~uuiid~uia8.~1un$u"u~lau~lbuaii~'bs61~

' J m.... [m?.

-

q

-

-

w

P~

. ~ . . . ~ ~ O . . Q % . . . / H J . .................................................... ~A.~

9. % ~ 6 1 ~ ~ ~ 9 ~ ~ ~ 1 ~ 1 ~ 7 t ~ E ~ 9 6 1 9

151


ตัวอย่ างสรุปคําตอบหลังจากดูวดี โี อ พ่อน้อยเสงียม 1. เนือหา (ดูแล้วเข้าใจไหม) ตอบ ไม่ตอบ 2 คน มากทีสุ ด1 / มาก 4/ ปานกลาง 10/ น้อย/ น้อยทีสุ ด 2. รู ปแบบ (การดําเนินเรื องสนุกไหม วีดีโอนีน่าติดตาม) ตอบ น่าติดตามมากทีสุ ด 1 / มาก 7 / ปานกลาง 7 / น้อย1/ น้อยทีสุ ด 3. ใจความสําคัญของวีดีโอเรื องนีคือ... ตอบ - ปลูกป่ า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง - การปลูกผักปลอดสาร - สื อถึงสิ งแวดล้อมโลกทีขาดการดูแล - พ่อทําเกษตรเชิงเดียวมาก่อนทําให้สิงแวดล้อมเสี ย จนไปดูงานที ดอยผาส้มและอีกหลายๆ ทีจึงกลับมาทําเกษตรผสมผสานบ้าน ตัวเองแล้วมีความสุ ข - ความแตกต่างระหว่างการปลูกพืชเชิงเดียวและปลูกป่ า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง - อยากพึงตนเองมากทีสุ ด - เปลียนวิธีการปลูกพืช และเปลียนวิถีชีวติ - การผลิตผักอินทรี ย ์ ไร้สาร ครอบครัวมีความสุ ข - การนําหลักเศรษฐกิจพอเพียงตามศาสตร์พระราชามาใช้ - พ่อปลูกผักกินเอง 152


4. ทําไมพ่อน้อยเสงียมผันตัวเองจากการปลูกพืชเชิงเดียวมาเป็ นคนปลูก ป่ า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง

ตอบ - เพราะได้มาอบรมทีดอยผาส้ม - เพราะขาดทุนมากจากการปลูกพืชเชิงเดียว - เพราะปลูกพืชเชิงเดียวต้นทุนสูง เลยหันมาปลูกอินทรี ย ์ 5. ในวีดีโอนี พ่อน้อยเสงียมปลูกผักอะไรบ้าง จงยกตัวอย่างมา 3 ชนิด

ตอบ - ตะไคร้ ชะอม มะเขือ ถัว ผักชี ผักกาด ผักสลัด มะเขือ กระเทียม ถังฝักยาว ฟักแม้ว พริ ก หอมป้ อม ฟักทอง หน่อไม้ มะเขือพวง 6. พ่อน้อยเสงียมใช้วธิ ี อะไรในการไล่แมลงโดยไม่ใช้สารเคมี

ตอบ - ใช้สมุนไพรธรรมชาติ ใช้นาหมั ํ กชีวภาพ 7. ทําไมปั จจุบนั อาหารในป่ าจึงหายาก (ตอบตามเหตุผลทีพ่อน้อยเสงียม ได้กล่าวไว้ในวีดีโอเท่านัน)

ตอบ - ปลูกพืชเชิงเดียวเยอะ - ใช้สารเคมีมาก ใช้ยาฆ่าแมลง (คนตอบข้อนีมากสุ ด) - ป่ าถูกทําลายเพราะถางป่ าปลูกพืชเชิงเดียว และมีเทคโนโลยีทาํ ให้ ง่ายต่อการทําลายป่ า - เพราะคนหันไปกินผักสารเคมีกนั หมด

153


8. พ่อน้อยเสงียมมีส่วนร่ วมในกลุ่มขบวนบุญอย่างไรบ้าง

ตอบ - ปลูกผักเพือทําบุญ แบ่งปัน รู้จกั การให้, เอาไว้กินเอง ไม่ได้ เอาไว้ขาย ** - ผลิตผักอินทรี ย ์ ให้ผอู ้ ืนได้บริ โภค - แบ่งปั นทังคนและสัตว์ 9. ในบ้านของพ่อทําอาหารอะไรบ้าง

ตอบ - ผัดผัก ** สลัดผัก ** ไข่ตม้ ** นําพริ ก ** - แกงข้าวคัว, ผักสด, ฟักทองต้ม, ต้มมะเขือ, มะละกอ, แกงผัก ปลอดสารพิษ - ทําอาหารทีเราปลูกเอาไว้ ไม่ตอ้ งไปซือ 10. ความสุ ขของยุทธ (ลูกชายของพ่อน้อย) คืออะไร

ตอบ - ความสุ ขอยูท่ ีใจ ** - ทําด้วยคุณธรรม ** - สุ ขภาพดี, กินผักปลอดสารพิษ

- อยูแ่ บบไม่โลภ - ได้อยูก่ บั ธรรมชาติ - อยูก่ บั ครอบครัว, มีความสุ ขกับงาน, เอือเฟื อเผือแผ่ให้ผอู้ ืน - การทําอาหารทีปลอดภัย การทําเกษตรอินทรี ยใ์ ห้มีความสุ ข - ทําสิ งดีๆให้คนอืนกิน 154


11. ถ้าท่านจะตังชือเรื องให้กบั วีดีโอนีท่านจะใช้ชือว่า....

ตอบ - ปลูกป่ ากูโ้ ลก - สวนอิสระ 2 - พอเพียงด้วยผักปลอดสารพิษ - ครอบครัวเกษตรอินทรี ย ์ - วิถีชีวติ เกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง 1 -

เกษตรพอเพียงแบบพอดี เกษตรเอือเฟื อ ผักอินทรี ยเ์ ปลียนใจพอเพียง ปลูกผักเพือการให้ ได้กาํ ไรคือบุญ ความจากการให้ ได้สิงดีดี ทฤษฏีพอเพียงนีช่วยพีได้จริ ง

155


ตัวอย่ างภาพตัดจากวีดโี อประสบการณ์ บทเรียนชีวติ เพือเสริมสร้ าง แรงบันดาลใจจากบุคคลต้ นแบบในเครือข่ ายเศรษฐกิจพอเพียง (สามารถรับชมวีดีโอเต็มเรื องได้ทีแผ่นซี ดีทีแนบมาหลังรายงาน)

แม่ แก้ ว : ชีวติ เปลียนได้ แค่ ใจเราเปลียน

156


แม่ สมหมาย: ลดต้ นทุน ลดหนีสิ น ลดทุกข์

157


พ่ อสมชาย : สวนป่ านาฟาน: จากป่ ารุ่นพ่อสู่ ร่ ุนลูก

158


แม่ ศรี: ขยะเพิมค่ า พัฒนาจิตใจ

159


พ่ อน้ อยเสงียม: สวนอาหารปลอดภัย

160


ลุงดร : ผู้พทิ กั ษ์ ป่าห้ วยบง

161


ตัวอย่ างหนังสื อองค์ ความรู้ ออนไลน์ ในการพึงพาตนเองอย่ างง่ าย

162


163


ตัวอย่ างหน้ าเว็บไซต์ เป็ นแหล่ งรวบรวมองค์ ความรู้ เศรษฐกิจพอเพียง

164


165


166


ภาคผนวก ข. • แบบสอบถามคาราวานบุญ

167


แบบสอบถามคาราวานบุญครังที ณ.

ตอนขบวนบุญบุกมหกรรมคืนชีวติ ให้แผ่นดิน

งานสตอเบอร์รี อ.สะเมิง

ข้ อมูลผู้ตอบแบบสอบถาม 1. เพศ

วันที

ทําเครื องหมาย / ใน ช่อง ชาย 1525 56 ปี ขึนไป

2. อายุ (ปี ) 3. ระดับการศึกษา

16 มีนาคม 2556

หญิง 2635

ประถมศึกษา อนุปริ ญญา / ปวส. ปริ ญญาเอก

3645 ม. ต้น ปริ ญญาตรี

4655 ม. ปลาย / ปวช. ปริ ญญาโท

ทําเครื องหมาย / ใน ข้ อมูลการจัดงาน ช่อง 1. ท่านมีความเข้าใจจุดประสงค์ในการจัดงานมากน้อยเพียงใด 100 80 60 40 ไม่เข้าใจ

100%

80%

60%

2. ท่านคิดว่าจุดประสงค์ในการจัดงานคือ

มาขายของ

พาผูค้ นตระหนักถึงความสําคัญของป่ าไม้

พาคนทําบุญ/มาประชาสัมพันธ์องค์กร

3. ท่ านมีความคิดเห็นต่ อผลิตภัณฑ์ (ข้ าว/กล้ วย/นํายา/แชมพูสบู่/ผ้ า).....

ดีแล้ว

เฉยๆ เหมือนๆกับร้านอืน

ควรปรับปรุ ง เช่นปรับปรุ ง

4. ท่ านมีความคิดเห็นต่ อแพทย์ วถิ ีบ้านบ้ าน (แพทย์ แผนไทย) ของเราอย่ างไร

ดีแล้ว

เฉยๆ เหมือนๆกับทีอืน

ควรปรับปรุ ง เช่นปรับปรุ ง

5. ท่ านสนใจจะติดตามกิจกรรมของ “ขบวนบุญ” กลุ่มของเราหรือไม่ .....

ต้องการ โดยช่องทาง

โทรศัพท์ : e-mail : หาอ่านตามป้ ายโฆษณา มาซือสิ นค้าทีสะเมิง

ไม่

168

40%

ไม่ เข้าใจ


ภาคผนวก ค. • แบบสัมภาษณ์ในการถอดบทเรียน ก่ อน – ระหว่ าง - หลังทํากิจกรรม

• แบบสังเกตพฤติกรรมของผู้เข้าร่ วมกิจกรรม • คําถามนําไปสู่ การชวนคุยให้ สรุปบทเรียน “ขบวนบุญ ปี ๒๕๕๖”

169


แบบสั มภาษณ์ ในการถอดบทเรียน ก่อน – ระหว่ าง - หลังทํากิจกรรม แบบสั มภาษณ์ ในการถอดบทเรียน ก่ อน-ระหว่ าง-หลังทํากิจกรรม “ผลิตสื อพืนบ้ านและทดลองนํา สื อทีผลิตได้ ไปใช้ จริง” ๑. ก่อนทํากิจกรรมท่านคาดหวังอะไรจากการได้เข้าร่ วมผลิตสื อของตนเอง ๒. ก่อนทํากิจกรรมท่านคาดหวังอะไรเมือสื อทีผลิตได้เผยแพร่ สู่ผคู ้ นทัวไป ๓. ระหว่างทํากิจกรรมท่านพบปั ญหาอุปสรรคใด มีวิธีแก้ไขหรื อไม่ อย่างไร ๔. หลังจบกิจกรรมท่านมีสิงใดทีประทับใจทีสุ ด ๕. หลังจบกิจกรรมท่านมีสิงใดทีต้องแก้ไขมากทีสุ ด ๖. สิ งใดเป็ นสิ งสําคัญ (ปั จจัย) ทีทําให้กิจกรรมนีประสบความสําเร็ จ ๗. ข้อเสนอแนะทีท่านอยากจะฝากไว้ แบบสั มภาษณ์ในการถอดบทเรียน ก่อน-ระหว่ าง-หลังทํากิจกรรม “คาราวานบุญ ๕ ครัง” ๑. ก่อนทํากิจกรรมท่านคาดหวังจะได้พบอะไรในวันงาน ๒. ท่านคาดหวังจะได้ประโยชน์อะไรจากการเข้าร่ วมกิจกรรมคาราวานบุญ ๓. ระหว่างทํากิจกรรมท่านพบปั ญหาอุปสรรคใด มีวิธีแก้ไขหรื อไม่ อย่างไร ๔. หลังจบกิจกรรมท่านมีสิงใดทีประทับใจทีสุ ด ๕. หลังจบกิจกรรมท่านมีสิงใดทีต้องแก้ไขมากทีสุ ด ๖. สิ งใดเป็ นสิ งสําคัญ (ปัจจัย) ทีทําให้กิจกรรมนีประสบความสําเร็ จ ๗. ข้อเสนอแนะทีท่านอยากจะฝากไว้

170


แบบสั งเกตพฤติกรรมของผู้เข้ าร่ วมกิจกรรม แบบสั งเกตพฤติกรรมของผู้เข้ าร่ วมกิจกรรม ๑. ความกระตือรื อร้นในการอยากมีส่วนร่ วม ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ๒. ความร่ วมมือร่ วมใจในการทํางาน ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ๓. การแสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ๔. บรรยากาศโดยรวมของงาน ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................

171


คําถามนําไปสู่ การชวนคุยให้ ถอดบทเรียน สรุปปิ ดขบวนบุญ ๒๕๕๖ (คําถามนําไปสู่ การชวนคุยให้ ถอดบทเรียน) กิจกรรมกระบวนการผลิตสื อและทดลองนําสื อทีผลิตได้ไปใช้จริ ง (การอบรมสื อ ๒ ครัง) ๑. ท่านมีส่วนร่ วมอะไรบ้างในการผลิตสื อวีดีโอหรื อหนังสื อองค์ความรู ้ ๒. ท่านได้เรี ยนรู ้อะไรจากการเข้าร่ วมอบรมสื อทัง ๒ ครัง ๓. ท่านคิดว่าสื อมีความสําคัญอย่างไรต่อชีวติ ท่าน ๔. ท่านมีความพึงพอใจในสื อทีผลิตได้มากน้อยเพียงใด ต้องการแก้ไขปรับปรุ ง เสนอแนะเพิมเติม ๕. ทักษะอะไรบ้างทีท่านได้รับเพิมเติมจากการมีส่วนร่ วมในการถ่ายทําวีดีโอ

กิจกรรมคาราวานบุญ ๑. ท่านคิดว่าเพราะเหตุใดถึงต้องมีกิจกรรมออกคาราวานบุญ ๒. ออกบูธคาราวานบุญแล้วได้อะไร รู ้อะไรเพิมขึน แล้วจะกลับไปพัฒนากลุ่ม/งานของ ตัวเองอย่างไร ๓. หลังจากทีท่านร่ วมออกงานคาราวานบุญ ท่านคิดว่าควรปรับปรุ งพัฒนาผลิตภัณฑ์ตวั ใดให้ดีขึน ๔. ทักษะอะไรบ้างทีท่านได้รับเพิมเติมจากการออกบูธคาราวานบุญ ๕. ควรจะมีกิจกรรมคาราวานบุญหลังจบโครงการหรื อไม่ เพราะเหตุใด ในรู ปแบบใด ที ไหน ๖. สุ ดท้ายอยากจะทําอะไรต่อเนืองในปี นีทีจะนําไปสู่การพัฒนางานของเรา (ตอบ รายบุคคล) ๗. อยากจะขอให้ทางวัด (ส่ วนกลาง) ช่วยเหลือในเรื องอะไรบ้าง

172


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.