บทสรุ ปการทํางานเขตที ๑ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ ม/บ้ านอมลอง ต.แม่ สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่
พ.ศ. ๒๕๕๑ หมู่บ้านในจินตนาการ: กําเนิดศูนย์การเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียง ลุงดร แม่ เอ้ ย: สร้ างศูนย์ฯ ไม่ สูญเปล่ า ใครจะไปจินตนาการออกว่าพืนเขียวชอุ่มด้วยป่ าไม้สูงราวตึก สองชัน ผืนดินถูกปกคลุมบรรดาหญ้าคา ไมยราพ แฝก ผักบุง้ ผัก ปราบ ขึนรกแต่ไม่เปลือยเปิ ดหน้าดินดําให้เห็น อดีตทีตรงนีเคยแห้ง แล้งดินแตก เพราะเคยเป็ นไร่ ขา้ วเก่าของลุงดรและแม่เอ้ย ซึงตอนนัน ทังคู่กย็ งั จินตนาการไร่ ขา้ วของตนเองไม่ถูกว่าจะถูกแปลงเป็ นอะไร ทันทีทีสิ นเสี ยงรถแม็คโครไถดะปื นแรก นําตาแม่เอ้ยก็ไหล พรู ออกมาไม่หยุด “ตอนแรกแม่ไม่ยอมยกทีดินให้หลวงพ่อ แม่เสี ยดายข้าวไร่ ที เฝ้ าฟูกฟักดูแล และกําลังตังท้องออกรวงอยูแ่ ล้ว หลวงพ่อน่าจะรอสัก หน่อย พอตกลงกันได้วนั รุ่ งขึนก็ไปเอาแม็คโครมาไถเลย” นิตยา สุ ข โขหรื อแม่เอ้ย เล่าประสบการณ์ไม่ได้ตงตั ั วตอนรถไถไร่ ขา้ วจนโล่ง เตียนเหลือแต่แปลงดินเปล่า ข้าวล้มผสมก้อนดินเหนียวกลางแดดจ้า ทําเอาใจแม่แทบสลาย แต่กย็ งั เทียบไม่ได้กบั ความเจ็บปวดจากหนีสิ น พะรุ งพะรังจากการเป็ นพ่อเลียงแม่เลียงสตรอเบอร์รีขาดทุนย่อยยับเมือ ย่างเข้าสู่ปีทีสิ บ “มันมืดไปหมด ย่ะ(ทํา)ทุกอย่างมาหมดแล้ว ติดหนีกองโต หลวงพ่อมานังอยูต่ รงโขดหิ นบอกว่า อยาก ได้คนหัวไวใจสู ้ อยากได้ทีทําข้าวไร่ ตรงนีแปลง(สร้าง)เป็ นศูนย์เศรษฐกิจพอเพียง พ่อจะว่าอย่างไง พ่อก็ไม่รู้จะ ทําอย่างไง มันมืดบอด หนีบังตา ก็เลยตัดสิ นใจทําดู ไม่มีอะไรจะเสี ยอีกแล้ว”
อุดร สุขโขหรื อทีรู ้จกั กันในนาม “ลุงดร” ทบทวนความทรงจําทียังคงเด่นชัดย้อนกลับไปเมือปี ๒๕๕๑ เมือหลวงพ่อสรยุทธ ชยปัญโญ รักษาการเจ้า อาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้มพบ “ความทุกข์” จาก ปัญหาหนีจากการทําเกษตรเชิงเดียวระหว่างบิณฑบาต ของชาวบ้านอมลอง เมือปัจจัยการผลิตสูงขึน ไม่วา่ จะ เป็ นค่ารถไถ ค่าแรงงาน ค่าปุ๋ ย ค่ายาสารเคมี ค่าเมล็ด พันธุ์ ค่านํามันและการขนส่ ง ทังชาวบ้านยังต้องเผชิญ กับความไม่แน่นอนของสภาพอากาศกับราคาผลผลิตที ไม่มีใครรับประกันความแน่นอนได้ ซําร้ายทีดินทีเคย ปลูกดีกินดีกลับเสื อมโทรมอย่างรวดเร็ วเพราะใช้ สารเคมีติดต่อกันอย่างยาวนาน จึงต้องกูเ้ งินใช้หนีและ ลงทุนเสี ยงโชคปลูกพืชเคมีหวังผลต่อ เพือต้องการ ความสุ ขเทียมคือ เงินทองกองสมบัติ ทีหาได้มีความ มันคงไม่ เมือชีวิตตังอยูบ่ นความประมาท ทําทุกอย่าง เพือตอบสนองกิเลสตัณหา หรื อความต้องการไม่รู้จกั พอ ภายใต้การขับเคลือนแนวคิดทุนนิยมเสรี กระแส วัฒนธรรมบริ โภคนิยมทีกําลังโหมรุ นแรงแผดเผาจิตใจ อันดีงามของผูค้ น เป็ นจุดเริ มต้นของทางวัดทีริ เริ มหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่ภาคปฏิบตั ิทีเห็นผลได้จริ ง เป็ นการพิสูจน์วา่ ศาสตร์ พระราชาจะเป็ นทางรอดจริ งหรื อไม่ “พอจัดตังศูนย์ฯ เข้าปี ทีสองถึงได้เข้าใจว่ามันยิงกว่าปลูกผัก ปลูกกล้วย ปลูกไผ่ ปลูกไม้ผล ไม้ยนื ต้น เริ มเห็นสี เขียวชอุ่มมาบ้าง ผักก็โตงาม อากาศก็เย็นดี มีคนเข้ามาถามซือผักถึงที คนก็มาขอดูงาน ชมสวนเรามาก ขึนๆ ตอนแรกนึกว่าเศรษฐกิจพอเพียงคือปลูกผักอย่างเดียว แต่ไม่ใช่มนั อยูท่ ี “ใจเราพอหรื อเปล่า”
“ยิงได้ไปดูงานคนอืนทีประสบผลสําเร็ จ ทีศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอืองบ้าง ปฐมอโศกบ้าง สวน เกษตรเมืองงายในองค์สมเด็จฯ พระบรมราชินีนาถ ฟังปราชญ์ ชาวบ้านทีอีสานบ้าง ทําให้เห็นว่าแค่พอกินพออยูพ่ อใช้พอ ร่ มเย็นทีในหลวงตรัสมานานแล้ว เราไม่เข้าใจ พอกลับมาจึงลง มือทําทันที เห็นกับตัวเองถึงเข้าใจ ความสุ ขง่ายๆ ก็เริ มจาก ใจที พอแล้ว” ลุงดรวิทยากรชาวบ้านชันครู สะท้อนสายตาเป็ น ประกายถึงความภูมิใจทีจากวันนันถึงวันนีตัดสิ นใจไม่ผดิ ทียอม ยกผืนข้าวไร่ ให้กบั ทางวัดจัดตังศูนย์การเรี ยนรู ้ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงสู่การสร้างเสริ มคุณธรรมนําวิถีชีวิตชุมชน ภายใต้การ สนับสนุนจากศูนย์คุณธรรมกัลยาณมิตรทีช่วยเหลือต่อเนืองกว่า สี ปี แล้ว ระหว่างปี ๒๕๕๑ บรรดาแม่บา้ นพ่อบ้านชาวอมลอง กลุ่มแรกกว่ายีสิ บคนทียังกล้าๆกลัวๆ กับการเริ มต้นชีวิตใหม่ กับวิถีชีวิตเกษตรพอเพียง ทังๆทีแต่ละรายมีหนีสิ นหลักแสน หลักล้าน จากการกูเ้ งินมาลงทุนกับพืชเชิงเดียวท็อปฮิตอย่างสต รอเบอร์ รี ก็มีคนกลุ่มหนึงทีกล้ากลับหลังหัน พลิกหัวใจทีมืดมัว ถึงทางตัน สู่ทางสว่างเหมือน “ตายแล้วเกิดใหม่” หลังจากทีทาง วัดได้รับการสนับสนุนจากบริ ษทั โตโยต้ามอเตอร์ ประเทศไทย บริ ษทั เอกชนแห่งแรกทีร่ วมจัดกิจกรรมเพือการพัฒนาทียังยืน ๔ แผนก คือ ๑) การฟื นฟูอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติป่าต้นนํา โดยการสร้างป่ าเปี ยก ฝายชะลอนํา ๒) สร้างปั จจัย ๔ เกษตร อินทรี ยแ์ ละสารชีวภาพ ปลูกผักปลอดสารพิษ การบํารุ งดิน การ ทําสบู่ แชมพู นํายาล้างจานลดรายจ่าย ๓) พลังงานทดแทนและ การอนุรักษ์พลังงาน ไบโอดีเซลจากนํามันเก่า หี บเมล็ด ทานตะวันและสบู่ดาํ หมักมูลสัตว์เป็ นแก๊สชีวภาพ ๔) จัด
การศึกษาพอเพียง ทางวัดจัดการศึกษาตามอัธยาศัยหรื อโฮมสคูล เรี ยน จากการทํางานจริ งตามทีสนใจ สามารถสื บทอดอาชีพภูมิปัญญาของพ่อ แม่ไว้ได้ เพือจิตสํานึกรักและอยากพัฒนาบ้านเกิดตนเอง และการเสริ มหนุนจากศูนย์ส่งเสริ มและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิง คุณธรรม สํานักงานบริ หารและพัฒนาองค์ความรู ้ (องค์การมหาชน) หรื อ ศูนย์คุณธรรม ซึงเป็ นภาคีภาครัฐแห่งแรกทีเข้ามาสนับสนุนกิจกรรมของ วัด ใน ๒ โครงการคือ โครงการประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมและแนวทาง พระราชดําริ เศรษฐกิจพอเพียง เพือเสริ มสร้างเครื อข่ายคนดี และโครงการ ศูนย์การเรี ยนรู ้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การสร้างเสริ มคุณธรรมนําวิถี ชีวิตชุมชน สร้างความร่ วมมือในการพัฒนาทัง บ้าน วัด โรงเรี ยน เป็ นการ น้อมนําหลักพระราชดําริ บวร นํามาใช้ในการพัฒนาในชุมชนทียังยืน พ่อดร แม่เอ้ย จึงเป็ นตํานานของประวัติศาสตร์ หน้านีเพราะเป็ น ครอบครัว “หัวไวใจสู”้ ครอบครัวแรกๆ ทีกล้าเปลียนชีวิตจากการทํา เกษตรเชิงเดียวสู่การทําเกษตรแบบผสมผสาน ทังอนุรักษ์ป่า ดิน นํา เพราะนอกจากจะทําเกษตรผสมผสานโดยปลูกทุกอย่างทีกิน กินทุกอย่าง ทีปลูกแล้ว ยังปลูกป่ า ๓ อย่าง ป่ ากิน ป่ าใช้สอย ป่ าอยูอ่ าศัยเพือประโยชน์ ๔ อย่าง คือ พอกิน พออยู่ พอใช้ พอร่ มเย็น การยกทีดินข้าวไร่ แห้งแล้ง ให้กบั ทางวัดจัดตังเป็ นศูนย์เศรษฐกิจพอเพียงทีประกอบไปด้วย ๙ ฐาน การพึงตนเอง ได้ถ่ายทอดให้ความรู ้กบั ผูท้ ีสนใจด้วยตนเอง “พ่อขีอาย ยิงพูดต่อหน้าคนมากๆ ไม่ได้เลย แต่เชือเลยคนเรามัน ฝึ กกันได้ ยิงพูดในสิ งทีเราร่ วมทํา ร่ วมสร้างมาบนผืนดินของเราเอง ยิงง่าย มันเป็ นธรรมชาติ ไม่น่าเชือจริ งๆ ว่าป่ าเขียวทีเห็น เมือสี ปี ก่อนยังเป็ นไร่ แล้งแห้ง ป่ าต้นนําก็ไหม้ทุกปี นําไม่มีเลย แต่เดียวนีทํานาอินทรี ยไ์ ด้แล้ว มี นํารดผัก คลุมฟางห่มดิน รดนําหมักชีวภาพ ดินก็กลับมาอุดมสมบูรณ์
ปลูกกล้วย ปลูกต้นไม้ได้ เลียงปลา เลียงไก่ เลียงหมู เลียงวัวควายได้ มีอาหารกินไม่ตอ้ งกลัวอด ทังยังให้ความรู ้ เป็ นบุญแก่คนอืนของเราอีก” การเสี ยสละทีดินเพือส่วนรวมของลุงดรและแม่เอ้ยไม่สูญเปล่าจริ งๆ เมือได้ชีวิตคืนกลับมา เพราะ คืน ชีวิต คืนความอุดมสมบูรณ์ให้แผ่นดินก่อน ปลูกอะไรก็ขึน ผลผลิตก็งาม ไม่ได้ใช้จ่ายค่าอาหาร รายจ่ายจึงลดลง ทังมีรายได้ หนีจึงค่อยๆ ระหว่างนันก็ลุงดรก็ทาํ บุญเป็ นวิทยากรให้วิทยาทานความรู ้โดยเอาชีวิตจริ งของตนเป็ น ตัวอย่างประกอบฐานการเรี ยนรู้ แม่เอ้ยคอยเป็ นผูด้ ูแลศูนย์การเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียง ณ ห้วยบง มีอาหาร ทีพัก และรอยยิมต้อนรับแขกผูม้ าเยือนและสนับสนุนอยูอ่ ย่างไม่ขาดสายเป็ นเพราะสายธารแห่งบุญทีได้ร่วมตอบแทน คุณแผ่นดิน กิจกรรมบุญ ณ ศูนย์ เศรษฐกิจพอเพียง สหกรณ์ บุญ ทุกวันนีนอกจากลุงดรจะมีตาํ แหน่งหัวหน้าผูด้ ูแลศูนย์การ เรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียงแล้ว ยังเป็ นสมาชิกสหกรณ์พาทําปุ๋ ยหมักทุกวัน พระ โดยทุกสิ บห้าคําชาวบ้านอมลองจะนํามูลสัตว์ทีเหลือจากการใช้ที ไของตนเองมาออมรวมกัน ณ โรงทําปุ๋ ยหมัก ศูนย์การเรี ยนรู้เศรษฐกิจ พอเพียง แล้วจึงนํารถปิ กอัพพากันไปเกียวหญ้าข้างทางมาสับ บดด้วย เครื อง ผสมกับมูลสัตว์แล้วลดด้วยนําจุลินทรี ย ์ ไม่ถึงเดือนปุ๋ ยหมักก็ พร้อมบรรจุกระสอบขายเป็ นผลิตภัณฑ์หลักของขบวนบุญ ทีชาวสวน ลําไย ชาวนาอินทรี ยต์ อ้ งยกนิวให้กบั ปุ๋ ยหมักของชาวอมลองทังคุณภาพ ดี เพิมผลผลิตในราคาประหยัด เมือได้รายได้คืนมาจึงนําไปเข้าร้านค้า สวัสดิการซือข้าวของเครื องใช้ทีจําเป็ น อาทิ นํามันเบนซิน นํามันพืช นําตาล กระเบือง อิฐ ทีราคาเท่ากับในเมือง เป็ นระบบสหกรณ์บุญทีไม่ จ่ายปันผลเป็ นตัวเงิน แต่เป็ นสวัสดิการทีจะช่วยให้มีชีวิตความเป็ นอยูท่ ีดี ขึน
ต้ อนรับคนบุญ ทุกๆ เดือนตารางงานของลุงดรและแม่เอ้ยจะแน่นไม่แพ้ นักธุรกิจพันล้าน เพราะบรรดาแขกทังขาจรและขาประจําจะ มาร่ วมเรี ยนรู ้และทํางานจิตอาสาให้กบั ทางศูนย์ฯ อาทิ กลุ่ม Very Good ซึ งเป็ นขาประจําจากเมืองหลวง เป็ นพนักงานบริ ษทั และ ครอบครัว นําทีมมาสร้างฝาย ปลูกป่ า ทําบ้านดิน และร่ วมเรี ยนรู้ ฐานทัง ๙ เพือการพึงพาตนเอง กลุ่มนักศึกษาเอแบคและกลุ่มวิชา ชีวิต คือ ชือหลักสูตรให้คนในเมืองทีอยากสัมผัสการใช้ชีวิตใน ชนบท เรี ยนรู ้และช่วยงานในครอบครัวดุจดังลูกคนหนึงตลอด หนึงสัปดาห์ทีกระเป๋ าตังค์และมือถือจะถูกเก็บไว้เพราะไม่ตอ้ งใช้ แต่ให้เวลากับการเรี ยนรู ้ชีวติ ทังจากครอบครัวอุปถัมภ์ ชาวบ้าน และเข้าใจตัว เราผ่านการใช้ชีวิตแบบพอเพียง หรื อกลุ่มทหารจากค่ายทหารหน่วยต่างๆ ที กลายเป็ นขาประจําช่วยสร้างฝาย ปลูกป่ าแบบทหารพัฒนา และกลุ่มเอกชนที เป็ นขาจรทีมาทําบุญถวายสังฆทาน ทอดผ้าป่ า แห่เทียนพรรษาแล้วสนใจเป็ น แรงงานจิตอาสาให้กบั วัด หรื อช่วยหากองทุนบูรณะซ่อมแซมปรับปรุ ง สถานทีต่างๆ ของวัดและศูนย์อบรม นอกจากนันยังมีจิตอาสาเยาวชนหรื อ นักศึกษาจบใหม่ ทีตะลุยมาเดียวๆ หรื อกลุ่มเล็กๆ โบกรถมาช่วยงานด้วย ความตังใจ บ้างอยูเ่ ป็ นเดือน เป็ นปี จนกลายเป็ นศิษย์วดั ช่วยงานในวัดประจํา เหนือยแต่กายแต่ไม่เหนือยใจ เพราะทุกครังทีได้ทาํ เป็ นการสะสม เสบียงต้นทุนบุญกุศลสําหรับชีวติ นี เป็ นหลักคิดชีวิตของทังลุงดรและแม่เอ้ยตลอดห้าปี ทีเปิ ดบ้านต้อนรับคณะศรัทธาทีไม่เฉพาะมาร่ วมเป็ น จิตอาสาตอบแทนคุณแผ่นดิน ป่ า ต้นนํา ยังเป็ นกําลังสนับสนุนวัดและศูนย์ทงกํ ั าลังทรัพย์ กําลังปัญญา กําลัง แรงงาน และกําลังใจด้วยการบอกต่อปากต่อปาก ทําให้เราเห็นว่า “บุญมีฤทธิจริ ง” เพราะยิงให้ยงได้ ิ รับ
แม่ ศรี : ย่ ะซะป๊ ะ! (ทํามันทุกเรือง!) ทําทันที “ทํามาสิ บปี แล้ว เคยนับเงินล้าน มีรถปิ กอัพใหม่ ป้ ายแดงสี คัน แต่พอนําท่วมก็ขาดทุนหลายแสน เจ๋ งเลย ตาย สนิท ต้องให้คนงานสิ บครอบครัวออก ต้องขายรถ ขายทีดิน เพราะกูไ้ ม่ได้แล้ว หนีมันเต็มไปหมด มืดไปหมดตอนนัน ร้องไห้จนไม่มีนาตา” ํ แม่ศรี หรื อแม่ชณัตฎา สาสุ จิตร์ วัย๕๐ เล่าถึงอดีตตอนมีฐานะอันรุ่ งโรจน์ของอาชีพแม่ เลียงสตรอเบอร์รีมีทุกอย่างหายไปในพริ บตาเมือนําฝนพัดพาไร่ สตรอเพียงชัวข้ามคืน “ก็มนั เหนือย เหนือยสุดๆ เป็ นหนี เลิกก็ไม่ได้ และใน ครอบครัวก็ไม่มีเวลาดูแลกัน คุยกันกับพ่อสามคําก็ทะเลาะกัน ตอนเช้าตีสองตีสามเตรี ยมเสื อผ้า ข้าวปลาอาหารให้ลูกทียังหลับ อยูใ่ นทีนอน เขาตืนมาทําเอง ขึนรถไปโรงเรี ยนเอง เราไปส่ งสต รอเบอร์ รีทีตลาดเชียงใหม่ตงแต่ ั ตีหา้ แล้ว” จุดหักเหของชีวิตทีทําให้แม่ศรี หนึงในบรรดาแม่เลียงสต รอเบอร์ รีคุมคนกว่ายีสิ บชีวิต เคยมีเงินใช้ซือทุกอย่างทีต้องการ และก็ติดหนีทุกทีเช่นกัน สุดท้ายตัดใจเลิกหลังจากลูกชายวัย ๒๓ ได้มาอบรมต้นกล้าอาชีพกับทางวัดพระบรมธาตุดอยผาส้มเมือปี ๒๕๕๒ เห็นอาชีพการเกษตรแนวใหม่คือ ทางรอด จึงโทรศัพท์ ชวนพ่อและแม่มาอบรมด้วย ทังครอบครัวจึงเริ มออกจากวังวนหนี “ลูกชายแม่บอกว่าถ้าแม่ทาํ แบบนีแม่จะได้กิน ตอนแรก พ่อไปก่อนก็มาบอกแม่วา่ จะได้กินไหมทําแบบนี ปลูกผัก ปลูก ต้นไม้ เลียงหมู ไม่เคยทํามาก่อน แม่จึงตัดสิ นใจไปรับจ้างในเมือง เพือใช้หนี สุ ดท้ายไม่เหลือเก็บจึงกลับมาตามคําขอร้องจากลูก
กลับมาบ้านมาอบรมทําเกษตรพอเพียง เราก็ไม่เชือแต่พอสังเกตแม่แก้วเพือนบ้าน เขาเริ มทําก่อน เขามีความสุข ไปไร่ ไปนาไม่กีชัวโมงกลับมาแล้วสบายใจก็เลยเริ มไปถามเขาว่าทํายังไงเกษตรอินทรี ย”์ หลังจากนันไม่นานแม่ศรี จึงไปอบรมอีกรุ่ นแล้วจึงกลับมา ททท. ทําทันที มาขุดบ่อปลา ปลูกผัก อยูไ่ ม่กีวันก็นึกมาได้วา่ ต้องการมูลสัตว์ทาํ ปุ๋ ย หลวงพ่อจึงนําหมูมาให้เลียงเป็ นหมูหลุม จึง เริ มมีปุ๋ยเป็ นของตนเอง ขายปุ๋ ยได้ ยังขายลูกหมูนอ้ ยทีเกิดใหม่ได้อีก มีรายได้ ลดรายจ่ายเรื องอาหารก็เริ มมีความรู ้สึกว่าเราไม่ตอ้ งไปหา เงินทีอืนแล้ว ยิงให้ ยิงได้ แก้ ไขทีตัวเรา “ยิงให้ ยิงได้ เราคิดแค่วา่ จะมีแจกเขาไหม มีแบ่งเขาไหม ไม่ได้ไป คิดว่าต้องขายได้กีบาท เท่าไรต่อวัน” เป็ นหลักในการดําเนินชีวิตแม่ หลังจากทีทําเกษตรพอเพียงและซึ มซับคําสอนจากหลวงพ่อไปด้วย ครู บา อาจารย์จึงเป็ นทังผูใ้ ห้และทีปรึ กษายามแม่ทุกข์ร้อนใจ ไม่นานแม่กร็ ักษาใจ ได้ดว้ ยปัญญาของตนเอง “ตอนนันหลวงพ่อส่งไปอบรมธรรมะกับคณะแม่ชีนนั ทีสาวพัน ดาว อําเภอสันทราย ได้ยามาสองเม็ด คือ “ก็ได้” และ “แล้วเราล่ะ” แบบว่า พอใครทําให้ไม่พอใจเราก็คิดว่า “ก็ได้” เขาจะทําให้เราไม่พอใจก็ได้ แล้วเรา ล่ะเคยทําพฤติกรรมแบบนันไหม ถ้าไม่เคยก็ไว้เป็ นกระจกสอนใจว่าอย่าทํา แบบนัน บางทีแม่กเ็ ริ มยึดติดอยากให้ลูกทีเคยกินเหล้าเยอะ มาทําเกษตร แบบเราทังๆ ทีเขาชวนเราทํา แต่เขาไม่เป็ นแบบนัน ไหนจะเรื องหนีสิ น พะรุ งพะรัง ก็ทุกข์ใจหนัก แต่พออบรมเสร็ จก็เข้าใจแล้วว่า เขาก็เป็ นของเขา แบบนันเหมือนลูกมะพร้าวจะให้มนั เป็ นมะปรางไม่ได้ มันก็เป็ นของมัน แบบนัน ฉะนันความทุกข์จึงเกิดทีตัวเราคิดเอง คิดให้ทุกข์ ต้องแก้ไขทีตัว เราเองเท่านัน ไปเปลียนคนอืนไม่ได้” แม่ศรี จึงเริ มสบายใจขึน แต่ก่อน
ทะเลาะกับพ่อ พ่อว่าแม่กไ็ ด้ แม่กเ็ คยเถียงเขา ว่าเขา จึงเริ มนังคุยกันใจเย็นๆ กับพ่อได้ครังแรกเพือโน้มน้าวใจให้ พอใช้ชีวิตแบบพอเพียงทังหมด “แม่เหนือยแล้วพ่อ พ่อเหนือยไหม เราทําแบบพอเพียง ก็ยงั มีหนีก็จริ ง แต่เรามาทําอะไรให้ทุกข์นอ้ ยลง ได้ไหม” พ่อกับแม่จึงไปหาผูจ้ ดั การธนาคารเพือการเกษตรและสหกรณ์วา่ ขอพักหนี สุ ดท้ายก็ให้พอ่ ออกจาก ประธานธกส.ของหมู่บา้ น ไม่มีเครดิตกูเ้ งินอีก แม่กว็ า่ ดีตาํ แหน่งนีแปลว่าเป็ นแชมป์ หนี นานเข้าไม่มีเงินส่งลูก ขึนรถโรงเรี ยน ส่ งรถเดือนละหมืน แค่ค่ากับข้าวทีจะกินแต่ละวันยังลําบากจึงมานังคุยกับลูกชายคนเล็กทีอยาก เป็ นทหาร เป็ นนักกีฬาแต่เป็ นไปไม่ได้ จึงพาลูกไปปรึ กษาหลวงพ่อ รุ่ งขึนหลวงพ่อก็พาไป ลูกจึงได้ไปเรี ยน ศิลปะแกะสลักเครื องเงินตามทีสนใจทีชอบ ทุกวันนีลูกมีรายได้จากการแกะสลักเครื องเงินเดือนแรกๆ ก็ได้ชิน ละร้อย ขึนมาเป็ นห้าร้อย จนเราไม่ตอ้ งส่งเงิน ข้าวปลาอาหาร แต่พอปี หนึงเข้าฝี มือดีวนั ดีคืน จนทุกวันนีได้เงิน เป็ นหมืนต่อเดือน ไม่ตอ้ งส่ งเงินให้เขาแล้ว เขากตัญ กู ส็ ่งกลับมาให้แม่อีก เมือลูกสบายแม่กส็ บายใจ แม่ไม่ตอ้ ง ดินรนหาเงิน ลูกชายคนโตก็มาทํางานให้วดั อยูก่ บั แม่ทีบ้าน ชีวิตชีวาในครอบครัวจึงกลับคืนมาอีกครัง
หนีส่ วนหนี บุญส่ วนบุญ เกษตรพอเพียงไม่ได้มีไว้ปลดหนี แต่มีไว้เพือรู ้จกั และเห็นว่า “เมือใจพอ ก็มีความสุขแล้ว ไม่ตอ้ งวิงเต้น ตามกิเลสในใจของเรา ทีอยากโน้นอยากนี จึงต้องหาเงินซือความสุข ทังๆ ทีจริ งมันก็อยูท่ ีใจพอ มันก็พอ” แม่ศรี เล่าต่ออีกว่า เมือพึงพาตนเองด้านอาหารได้ รายจ่ายก็ลด ลูกชายทังสองก็ไม่ตอ้ งส่ งเงิน หาเงินพึงตนเองเองได้ แล้ว หนีมันก็ลดเองเพราะมีรายได้จากการทําการเกษตรพอเพียง ถึงมันจะช้าหนีมันก็ลดลง
สําหรับบุญก็ทาํ บุญไปด้วย ไม่ได้ตงหน้ ั าตังตาปลดหนีอย่างเดียว ชีวิตของแม่ศรี จึงทังสบายกายสบายใจ มากขึน จนทุกวันนีแม่ศรี ยะ่ ซะป๊ ะอย่าง (ทํามันทุกเรื อง!)
ย่ะซะป๊ ะ! (ทํา (บุญ) มันทุกเรือง!) ขายขยะ หมักปุ๋ ย ปลูกแฝก เลียงไก่ไข่ ดองไข่เค็ม เลียงหมู เลียงวัว เข้าสวนปลูกผัก เพาะถัวงอก หมักนําหมักมะขามป้ อม เป็ น วิทยากรอบรมฐานสุ ขภาพ กัวซา ทํานําคลอโรฟิ ลล์ เปิ ดบ้านต้อนรับ แขกเรี ยนรู้วิถีชีวิตพอเพียง และสอนธรรมะให้เด็กและเยาวชน เป็ น กิจการบุญของแม่ศรี ทีไม่ได้เลียงตัวเองได้เท่านัน เพราะเวลาส่วนใหญ่ ยังเหลือไปทํากิจกรรมเพือส่วนรวม อาทิ การเก็บขยะบนวัดและใน หมู่บา้ น พร้อมแนะนําให้ชาวบ้านแยกขยะมาขาย ปั ญหาการทิงขยะลง ห้วยลงเหวในทีสาธารณะจึงลดลง กลับเพิมรายได้ให้อีกช่องทางหนึงที แม่ศรี พิสูจน์แล้วว่าขยะ คือทองคําจริ งๆ กิจกรรมหมักปุ๋ ยจากพืชสด และมูลสัตว์ แม่ศรี ได้ดอกดาวเรื องหลายตันจากเพือนบ้านทีทิงเน่าเหม็นขายไม่ออกข้างบ้านมาหมักปุ๋ ย ช่วย กําจัดกลินรบกวนคนในหมู่บา้ น ปั ญหาขยะก็ลดลงควบคู่กิจการแยกขยะไปได้ดว้ ยดี การเลียงไก่ไข่ทีไข่ทุกวัน สมาชิกในกลุ่มเกษตรพอเพียงได้บริ โภคไข่ราคาถูก สดใหม่ทุกๆ เช้า และหลายครังทีแม่ศรี นาํ ไข่ไก่ไปทําบุญใน งานโรงเรี ยน งานวัด งานกิจกรรมอบรมของหมู่บา้ น การเป็ นวิทยากรฐานสุ ขภาพทีช่วยให้ทุกคนเป็ นหมอด้วย ตนเองได้ง่ายๆ ทีบ้าน แม่สอนการดืมนําคลอโรฟิ ลล์ทีทําจากพืชพืนบ้านใบเขียวทีหาได้ง่ายมาคันสดๆ ดืมทุกวัน ไร้โรคภัย การนวด กัวซา กดจุดใครได้ลองจะติดใจเพราะเหมาะกับอาชีพใช้แรงงานอย่างเกษตรกร ทังยัง สามารถมาเรี ยนกับแม่ศรี แล้วนําไปนวด ดูแลสุขภาพคนข้างกายได้อีกด้วย ตัวอย่างความสําเร็ จของแม่คือพ่อ ฤทธิ สามีของแม่มีอาการหน้ามืดบ่อย อ่อนเพลียง่ายเพราะมีปริ มาณสารพิษในเลือดมากจากการฉีดพ่นยาสมัยที ทําสวนสตรอเบอร์ รี จนทุกวันนีไม่ได้ไปโรงพยาบาลมาสองปี แล้ว ผิดกลับสมัยก่อนทีต้องไปหาเกือบทุกอาทิตย์ เพือรับยามากิน นอกจากนันผักสดๆ จากสวนเกษตรผสมผสานทีแปลงมาจากนาข้าวของแม่ศรี ยังมีคนมารับซื อ
ถึงทีพร้อมถัวงอกทีเพาะเองไม่ฟอกสี เหลือพอทีแม่จะแบ่งทําบุญเข้าวัด ทังนํามาออมผักเมือมีแขกมาอบรมที ศูนย์เศรษฐกิจพอเพียงของวัด “เมือพึงตนเองได้แล้ว เราก็ไม่ลืมจะแบ่งปันทําบุญให้คนอืน เขาเห็นเราสบายใจทีได้ให้ ได้เห็นวิถีชีวิต ความเป็ นอยูข่ องเราทุกวันนีทีไม่ตอ้ งเร่ งรี บหาเงิน เงินมันก็มาหาเองจากสิ งทีทําเล็กๆ น้อยๆ ในสายตาคนอืนนี แหละ แม่อยูแ่ บบนีแหละ มีความสุ ข” ความสุ ขจากการทําบุญซะปะอย่างของแม่ศรี เป็ นหลักฐานชินสําคัญว่า “ยิงให้ ยิงได้ ยิงหวง ยิงอด”
แม่ สมหมาย: กระเทียมปลดหนี (ลับเฉพาะ) คนมีบุญ “คืน คืน ตึก ตึก...” เสี ยงเครื องโม่คลุง้ เคล้ากลินกระเทียมไทยกลีบโต กําลังย่อยหัวกระเทียมแห้งโตๆ เป็ นกลีบย่อย แม่สมหมาย กําลังใช้มือกร้านแดดเลือกกลีบกระเทียมทีสมบูรณ์เปลือก ครบ ไร้รอยแทะ รอยหัก กลีบโตได้ขนาดใส่ ถุงตาข่ายเตรี ยม ส่ งคืนบริ ษทั เทพผดุงพร ผูผ้ ลิตทังกะทิชาวเกาะและนําพริ ก แม่พลอย ซึ งพริ กแกงสําเร็ จรู ป และนําพริ กบรรจุขวดส่ งขายทัวโลกนีเองที ต้องการกระเทียมไทยกลินจัดจ้านเป็ นหัวใจหลักสําคัญ “เริ มมาจากตอนปี ๒๕๕๓ บริ ษทั เทพผดุงพรมะพร้าวเข้ามาทีศูนย์ เศรษฐกิจพอเพียง ทีห้วยบงเพือมาทําโครงการ ๘๔ ฝายถวายพ่อหลวงพอ หลวงพ่อคุยไปคุยมาเขาก็ถามว่าชาวบ้านทีนีทําอะไร มีปัญหาอะไร บริ ษทั จึง เสนอให้ปลูกกระเทียมและจะรับซื อ ลดความเสี ยงเรื องราคาทีขึนๆ ลงๆ ตลอดปี ไม่ตอ้ งให้พอ่ ค้าคนกลางกินส่ วนต่าง” แม่หมายหรื อจันทร์ ดี บุญ มาลาวัย ๔๘ ปี ประธานกลุ่มผูป้ ลูกกระเทียมปลดหนีเล่าทีมาทีไปพลางคัด
กลีบกระเทียมคนเดียวแต่เช้าตรู่ เมือชาวบ้านศรัทธาวัด บริ ษทั ศรัทธาวัดจึงอยาก ช่วยให้คณะศรัทธาวัดมีกินมีใช้บรรเทาทุกข์จากหนีสิ นให้ เบาบางลง จึงคิดโครงการกระเทียมปลดหนีซึงทางบริ ษทั จะ รับซื อกระเทียมทังหมดของชาวบ้านเพือชาวบ้านและช่วย ให้บริ ษทั มีกระเทียมไทยป้ อนเข้าสู่โรงงานตามความ ต้องการ หลังประสบปัญหาภาวะขาดแคลนกระเทียมไทย เพราะคนปลูกน้อยลง เนืองจากกระเทียมกลีบใหญ่หวั ใหญ่ ของจีนตีตลาดจากนโยบายเปิ ดตลาดเสรี ทางการค้า ประกอบกับค่ายา ค่าปุ๋ ยแพงขึน พ่อค้าคนกลางกดราคามาก ขึนบิดเบือนกลไกตลาด บ้างกักตุนไว้เทขายสิ นค้าตอนขาด ตลาด แต่ในเมือกระเทียมไทยชนะเลิศกระเทียมใดๆ ใน โลก ตรงทีกลินหอมฉุน รสจัดจ้านชูความเป็ นเครื องแกง ไทยเด่น ความต้องการกระเทียมไทยจํานวนมากสําหรับทํา นําพริ กและเครื องแกงส่งออกขายทัวโลก จึงพบกันพอดีที ชาวบ้านต้องการเพาะปลูกอะไรสักอย่างเพือปลดหนีได้ “ไม่เหมือนทีอืนนะ ทีนีเราอาศัยความเชือใจล้วนๆ ไม่โลภ ถ้าโลภใจร้อนอยากได้เงินเร็ วๆ ไม่ทาํ ตามเงือนไข ของกลุ่มเรา จะไม่ให้เชือไปปลูก ถ้าผลผลิตปี ทีแล้วไม่ถึง เป้ าปี ถัดมาก็ไม่ได้เชือไปปลูก แล้วโควต้าเชือก็จะไปตกกับ ผูป้ ลูกหน้าใหม่แทน” แม่สมหมายพยายามอธิ บายเงือนไขการเข้ามาเป็ น สมาชิกผูป้ ลูกกระเทียม เพราะเมือบริ ษทั ให้โอกาสทังรับซื อ
กระเทียมคืน ก่อนปลูกก็ให้เชือ (พันธุ์) กระเทียมมาก่อน สําหรับปี นีให้เงินมาซือก่อน มีเครื องโม่มาถวายวัดให้ กลุ่มไว้ใช้ ให้ทุกอย่างตามต้องการ ฉะนันกระบวนการคัดเลือกผูป้ ลูกต้องเข้มข้น เพราะใช้วิธีการปลูกทีพึงพา เคมีนอ้ ยทีสุด โดยอาศัยปุ๋ ยหมัก ปุ๋ ยคอก นําหมักชีวภาพจากหน่อกล้วยบํารุ งดินตังแต่การเตรี ยมแปลงปลูก ฮอร์ โมนไข่ไก่บาํ รุ งกลีบ ราก ต้นกระเทียมให้อวบแข็งแรง ซึ งการใช้สารชีวภาพเหล่านีก็เพือช่วยสมาชิกผูป้ ลูก กระเทียมลดภาระค่าใช้จ่ายเรื องปุ๋ ยเคมีทีราคาแพง และได้ผลดีกว่า “ใช้ปุ๋ยเคมีตอนแรกหัวจะโตเร็ ว สวยใหญ่แต่พอนานๆ ไปเวลาเก็บหัวเตรี ยมตากแห้งมันจะลีบฝ่ อง่าย แต่ใช้ปุ๋ยอินทรี ย ์ สารชีวภาพจะเห็นผลช้าแต่เมือเก็บมาตากแห้งแล้วจะไม่ฝ่อง่ายยังอวบสวย รู ้เลยว่าใครใช้เคมี ใครใช้อินทรี ย ์ จํานวนผลผลิตก็จะฟ้ อง ปกติใครปลูกเก่งๆ เอาเชือไป ๑ ส่วนต้องได้กระเทียมแห้งแกะกลีบ ๕ เท่าตัว แม่ถึงได้เรี ยกว่าคนซือสัตย์เท่านัน มีบุญเท่านันจะได้ปลูกกระเทียมปลดหนี” กําไรหลายหมืนหลายแสนอาจเป็ นเครื องล่อให้ชาวบ้านต่างอําเภอหันเข้ามาร่ วมเป็ นสมาชิกซึ งตอนนีมี ทังหมด ๓๙ คนจากเจ็ดหมู่บา้ นสามอําเภอ แต่เมือผลผลิตไม่เป็ นไปตามเป้ าแม่สมหมายและเพือนสมาชิกทีปลูก เก่งในปี ทีแล้วจึงลุกขึนมาสอนเพือนสมาชิกเอาบุญในวันนี ปุ๋ ยหมักจากมูลสัตว์และหญ้าสาบเสื อ ฮอร์ โมนหน่อกล้วย จุลินทรี ยด์ ินระเบิด (EM Ball) และฮอร์ โมน จากไข่ไก่สด คือ เคล็ดลับชันเยียมสําหรับสมาชิกผูป้ ลูกกระเทียมอินทรี ย ์ แค่ใจทีปรารถนาให้เพือนได้ดีเหมือน ดังทีแม่สมหมาย ได้ แม่จึงไม่เคยหวงวิชา ไม่หวงสูตรเด็ด กิจกรรมบุญประยุกต์จึงเกิดขึน ณ ศูนย์การเรี ยนรู ้ เศรษฐกิจพอเพียง เพือคนมีบุญได้ปลูกกระเทียมปลดหนีตนเอง ได้ช่วยบริ ษทั ได้ช่วยรักษาสิ งแวดล้อมจากการ ทํากระเทียมอินทรี ย ์
โรงอโรคยา : การไม่ มีโรคเป็ นลาภอันประเสริฐ กรรมการอาสาสมัครสาธารณสุ ขประจําหมู่บา้ น (อสม.) เป็ นอีกพันธะกิจหนึงเพือชุมชนของแม่สมหมาย ประสบการณ์ กว่าสามสิ บปี บนเส้นทางอสม. เป็ นเครื องยืนยันหนักแน่นว่าแม่มี ใจเสี ยสละเพือส่ วนรวมตังแต่ยงั สาว สลับสับเปลียนกับอาชีพ หลักอย่างแม่เลียงสตรอเบอร์ รีกว่าสิ บปี และกว่าครึ งล้าน ด้วยบุญ และใจทีเสี ยสละของแม่จึงปลดหนีหมดจากโครงการปลูก กระเทียมเมือปี ทีผ่านมา จนทุกวันนีแม่สมหมายมีเหลือกินเหลือเก็บจาก ๑ไร่ คุณธรรมทีปลูกทุกอย่างทีกิน และกินทุกอย่างทีปลูก บนดินมี หน่อไม้หวาน ผักสวนครัว ผลไม้และไม้ยนื ต้นให้ร่มเงา ใต้ดินมี ข่า ขิง ขมิน ไพร ให้เก็บขายทํายาสมุนไพร หลังจากได้ไปอบรม ต้นกล้าอาชีพกับทางวัดเมือปี ๒๕๕๒ ก็เลิกทําสตรอเบอร์ รี เด็ดขาดเพราะทุกข์เพราะมีลกู น้องกว่าสิ บชีวิตในไร่ ตอ้ งเลียงดู ไม่มีรายได้แต่ตอ้ งจ่ายให้ลูกน้องทุกวัน จึงหยุดไม่ได้ “แม่จะไปไร่ กีโมงก็ได้ ชีวติ มีความสุ ข พอเข้าใจ แนวทางพระราชดําริ ของในหลวง กลับจากอบรมก็ลงมือทําใน โครงการ ๑ ไร่ คุณธรรม ตอนแรกแม่มีลงั เลอยูบ่ า้ ง เพราะแต่ก่อน มีเงินให้ใช้จ่ายตลอด แต่เชือว่าถ้าพึงตนเองได้ ไม่ตอ้ งจ้างคนอืน จะมีความสุ ขขึนเยอะ” เมือชีวิตกําหนดเวลาของตนเองได้ แม่หมายจึงใช้เวลาสร้างสรรค์โครงการสมุนไพรรักษาตนเอง เพราะ เมือชาวบ้านทีแม่ดูแลอยูไ่ ปอนามัยก็ได้ยากินทีไม่หายต้องไปขอยาอีกหลายรอบ แม่จึงคิดว่าเมือพึงตนเองด้าน อาหารการกินทีอยูอ่ าศัยได้แล้ว ด้วยความทีคลุกคลีกบั วงการสาธารณสุ ขมานาน แม่จึงคิดว่าทุกคนน่าจะ พึงตนเองด้านสุ ขภาพการรักษาโรคได้ดว้ ยสมุนไพรพืนบ้านทีปลูกกันอยูแ่ ล้ว
“การขูดตัวถอนพิษ (กัวซา) กดจุด นวดแผนไทย ทํานําเขียวคลอโรฟิ ลล์ ทําลูกประคบสมุนไพร อบตัว พอก โคลนดูดพิษ การดีทอ็ กซ์ลา้ งพิษลําไส้ เป็ นความชํานาญที แม่หมาย และทีมงานลุงอิน ลุงสาย แม่คาํ ใบ แม่ศรี และ น้องแพ็ท ไปอบรมเรี ยนมาจากหลายทีจนทําเป็ นแล้ว แต่ยงั ไม่มีสถานทีเป็ นหลักแหล่ง จึงคิดพากันมีโรงหมอเป็ นของ กลุ่มเอง” ด้วยพลังบุญของแม่หมายและชาวบ้านอมลองทํา ให้ทุกวันนีโรงหมอหรื อโรงอโรคยากําลังจะเปิ ดเป็ น ทางการในไม่ชา้ ไม่มีค่าบริ การ ให้ชาวชุมชนและแขกผูม้ า เยือนได้รับความสุ ขแสนประเสริ ฐ ด้วยการไม่มีโรคกลับ บ้านไปเป็ นหมอดูแลตนเองได้ ขบวนบุญสายนีจึงไม่มีวนั สิ นสุด
แม่ แก้ ว : ผู้พลิกใจสู่ ความพอเพียง ด้วยบุคลิกนิมนวลพูดน้อยต่อยหนักของแม่แก้วทําให้ เยาวชนทีเข้าร่ วมอบรมฟังเพลินจนหลับไปบ้าง “แต่ก่อนแม่อาย อูบ้ ่ได้แต่พอไปอบรมมาทีมาบเอืองกับ อาจารย์ยกั ษ์ ก็อไู ้ ด้อฮู้ ือละอ่อนฟัง แต่ละอ่อนไม่สนใจหรอก ไม่ ค่อยได้อะไร เขาไม่ได้เป็ นเกษตรกร” หลังปี ๒๕๕๑ แม่แก้วหรื อจําลอง สาสุจิตร์ กห็ กั ดิบเลิก ปลูกสตรอเบอร์รีท่ามกลางกระแสเพือนบ้านกดดันว่าปลูกแต่ผกั จะ ได้กินไหม แต่แม่กไ็ ม่สนใจปลูกไปเลย ตัดใจจะไม่หนั กลับมาทํา เกษตรแล้วเป็ นหนีอีกแล้ว เงินไม่มี ดินก็เสื อมคุณภาพ สุขภาพแย่ มี แต่ความทุกข์ จึงหันกลับมาทําเกษตรพอเพียงโดยเริ มเป็ นวิทยากร ให้บรรดาเด็กๆ แต่มนั ไม่ถึงใจแม่จึงต้องลงมือทําจริ งในสวนตนเอง “แม่กม็ านังดูผกั กลางแดด มันเหียว เหงาท้อนะ มันเห็นผล ช้า ก็เลยไปนังดูหมูทีเลียงไว้ มันมีความสุ ข พอออกลูกขายได้ เริ มมี ความหวัง แม่กส็ บายใจขึนมา มีกาํ ลังใจขึน พอกลับจากอบรมกับ อ. ยักษ์ (ดร.วิวฒั น์ ศัลยกําธร)ก็กลับมาทําเลย เลิกเชิงเดียวแบบหักดิบ เลย พอโครงการหนึงไร่ คุณธรรมมาก็มาสนับสนุน แม่ปลูกทุกอย่าง จนได้รับรางวัลสวนเกษตรดีเด่น” แต่สิงทีได้มากกว่าคงไม่ใช่แค่รางวัลเชิดชูแต่เป็ นใจทีพอเพียงของแม่ ความอดทนและเพียรพยายามที ไม่ยอ่ ท้อต่อคําคัดค้าน คําเสี ยดสี จากบรรดาพีน้อง เพือนฝูง จนพิสูจน์ให้เห็นว่าแม่แก้วมีชีวิตทีอิสระ สบายทัง กายและสบายใจ ตืนขึนมาจะไปไร่ ไปนากีโมงก็ได้ เมือเข้าโครงการกระเทียมกับแม่สมหมายในปี ทีสองก็ปลด หนีสิ นจากสตรอเบอร์ รีก็หมดไป
“หลังจากทีพึงตนเองจนอิมท้องแล้ว หลวงพ่อก็พาไปเข้า อบรมธรรมะกับแม่ชีตอ้ ย ทีสวนพันดาวก็ทาํ ให้เรารู ้จกั ตัวเอง รู ้จกั เขารู้จกั เรา เวลาเขาว่าอะไรมาก็เฉย แล้วเราล่ะก็เคยว่าเขาเหมือนกัน ไม่อยากให้เขาว่าก็เฉย ได้ยาเม็ดนีมาก็ช่วยเยอะ สบายใจขึนเยอะ ธรรมะช่วยชีวิตเยอะ” แม่แก้วยิมอย่างมีความสุขเมือท้องอิม ใจอิม ปลดหนีกองโตได้ ยังสามารถปลดปัญหาทุกข์ใจได้ดว้ ยตนเอง “ต่างกันนะ แม่ดูเขามีความทุกข์ บอกว่าวันพรุ่ งจะต้องไป ทํานี ทํานัน เขาหวังเงินลูกเดียว ไม่คิดถึงตัวเก่า(ตัวเอง) ไม่คิดถึง คนรอบข้าง คิดแต่จะได้ ทุกข์ใจ ทุกข์กาย ทุกข์ขนาด อย่างกลาง แดดเปรี ยงๆ เขาก็กม้ หน้าก้มตาทํางาน ตัวเองก็ไม่สบาย ก็บ่ยอมพัก เลย เขาเห็นแต่เงินอย่างเดียว” แม่แก้วพูดไปสงสารไปเมือพูดถึงเพือนทีตังหน้าตังตาหา เงินกับเกษตรเคมี ถึงกับชวนเขาทําเกษตรผสมผสานแบบแม่จะได้ ไม่ตอ้ งรี บร้อนทํางาน ไม่สบายและไม่มีเวลาให้ครอบครัว เขาก็วา่ ไม่รู้จะเริ มตรงไหน แม่กใ็ ห้กาํ ลังว่าให้ทาํ ใจ ก่อน ถ้าใจเราไม่พอทําอะไรมันก็ไม่พอ “บ่พอ (ไม่พอ) ทําแบบนี ลูกกูจะกินหยัง หนีไผใช้กู (ติดหนีแล้วใครจะใช้ให้)...” เป็ นคําตอบทีแม่แก้วได้รับจากเพือนทีแม่ปรารถนาดีอยากช่วยเพราะเห็นความทุกข์ยากลําบากเหมือนที ตนเคยประสบมา แต่กไ็ ม่ใช่ทุกคนจะเห็นไปทางเดียวกัน การวางใจเป็ นสิ งทีแม่แก้วมันคงจะไม่ทุกข์ตามไปกับเพือน แต่ถา้ เมือเพือนพร้อมจะให้ช่วย แม่แก้วก็คงไม่รีรอจะยืนมือ ฉุดเพือนให้ลุกขึนมาพึงตนเองได้ ทุกวันนีนอกจากแม่แก้วจะปลูกผักกินและขายแล้ว ยังช่วยน้องการ์ ตูน นักเรี ยนโฮมสคูลของวัดพระบรมธาตุ ดอยผาส้มเจ้าของโปรเจ็คท์ผลิตสิ นค้าสร้างชือในโครงการ
ขบวนบุญคือ นํายาหายแซบหายสอย สี นาเงิ ํ นเข้ม ซักสะอาด ถูบา้ น ขัดส้วม ล้างจาน ทุกภารกิจคือสโลแกนเด็ด ของสิ นค้านีทีแม่แก้วผลิตด้วยใจผ่านมือทังสองข้างทีคอยกวนนํายาให้เหนียวข้นพอดิบพอดี ั าว่าจะต้องได้ “ขบวนบุญคือ การทําบุญไม่รู้ตวั นะ แม่วา่ อย่างแม่มาคนนํายาตรงนี แม่กไ็ ม่ได้ตงเป้ ค่าแรงเท่าใดๆ พอมาทําส่ วนนีก็ได้ช่วยปลูกป่ า สร้างฝายแม้วา่ จะไม่ได้ไปเทปูน ขุดดินจริ งๆ แต่กเ็ ป็ นส่วนหนึง ทีช่วยได้ อย่างน้อยส่ วนทีเราทําได้ไปช่วยชาติ ช่วยแผ่นดิน ช่วยชุมชนเราเอง” “ทุกวันนีมีกิน ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ ก็สบายใจแล้ว...” แม่แก้ววัย ๕๒ สรุ ปเป้ าหมายชีวิตสันๆ ต่อจากนี หลังจากเจอทางตันของชีวิตจากหนีก้อนโต พอแม่คิด ว่าไปไม่รอดจึงหักดิบพลิกใจสู่เส้นทางพอเพียงทีมีอุปสรรคบ้าง แต่ดว้ ยความอดทนของแม่ทีไม่คิดจะกลับไป เดินเส้นทางเดิมทีทําผิดมาก่อนจึงสูอ้ ดทนเดินต่อไป จนประสบความสุ ขในใจเล็กๆ แต่ยงใหญ่ ิ อย่างทุกวันนี
น้ องการ์ ตูน : เจ้ าของโรงงานผลิตสิ นค้ าบุญ เด็กโฮมสคูลมีดอี ย่ างไร ใครจะไปคาดคิดได้ดว้ ยวัยสิ บหกปี ของศิรินาถ โปธาหรื อน้องการ์ตูน จะเป็ นเจ้าของกิจการสิ นค้าบุญที สร้างรายได้ สร้างชือ สร้างบุญให้กบั ตนเอง ครอบครัว ชุมชนและสังคม หลังจากทีโปรเจ็คท์ขา้ วทีตนเองสนใจ ในห้องเรี ยนธรรมชาติถกู ประยุกต์ไปใช้จริ ง เรี ยนจริ ง ผ่านงานทีทําจริ งในระบบโรงเรี ยนแบบโฮมสคูล หรื อการ จัดการศึกษาตามอัธยาศัยทีกระทรวงศึกษาฯ ให้การรับรองแต่ในชีวิตจริ งกลับไม่ได้เป็ นเช่นนัน
“ในหัวเขาบางคนก็มีแต่เรื องเรี ยน แต่บางคนรุ่ นๆ เดียวกันทีเคยเรี ยนประถมมาด้วยกันก็มีเรื องชูส้ าว ท้องในวัย เรี ยน เสี ยคนไปเลย แต่ในสายตาของเขาก็มองว่าเราทีเรี ยน แบบโฮมสคูล เรี ยนแบบอยูบ่ า้ น ทํางานไปด้วย มองเราต้อย ตํา...เป็ นพวกไม่มีทางไป” การ์ ตูนตัดพ้อหลังจากทีเพือนวัยเดียวกันนิยาม การศึกษาทีเธอเลือกเดินมาเมือสี ปี ก่อน แต่เมือเรี ยนไปด้วย ทํางานไปด้วย มีรายได้ใช้หนีให้พอ่ แม่จนหมด ช่วยแบ่งเบา ภาระครอบครัว ทังเป็ นนักเรี ยนทีเนือหอมของเขตพืนที การศึกษาทีสร้างผลงานไปไกลถึงอิมแพ็ค อารี น่า เมืองทอง ธานี และยังเคยจัดแสดงผลงานนักเรี ยนให้ฯพณฯ ท่านพล เอกสุ รยุทธ์ จุลานนท์ องคมนตรี ในสมัยนัน เป็ นหลักฐาน รองรับเต็มทีว่าเธอต้องผ่านการเคียวให้ความคิดข้น จนใจตก ผลึกเหลือแต่คณ ุ ภาพล้วนๆ จนกลายมาเป็ นเจ้าของกิจการ บุญกองโต เป็ นทังคนผลิตควบคุมคุณภาพสิ นค้า รวบรวม สิ นค้าชุมชน ติดต่อลูกค้า จัดระบบขนส่งให้ทนั ท่วงที และ ทําบัญชีแจกแจงทังหมด เมือทักษะการทํางานเป็ นเรื องเดียวกับการเรี ยนบวกกับประสบการณ์จริ งในบริ บท สังคมทีตนอยู่ ทําให้การ์ ตนู ในวันนีเติบโตทางความคิดเกินเด็กและผูใ้ หญ่หลายคน เป็ นผลผลิตทีโรงเรี ยนใน ระบบไม่สามารถทําได้ “พอมีรายได้มาช่วยครอบครัว นานๆ เข้าแม่กม็ าขอเงิน เราก็ให้ไป นานเข้าก็ซึงเลยเหมือนเวลาทีพีเรา โทรมาขอเงินแม่ พอมาโดนกับตัวเองเหมือนกับได้รับภาระอะไรสักอย่าง จึงคิดว่าถ้าเป็ นไปได้ไม่ควรมีหนี ก็ ช่วยไปจนหมดหนีทังบ้าน”
อาชีพเกษตรกรเป็ นอาชีพหลักของชาวบ้านอม ลองซึ งเคยชินกับการกูห้ นียืมสิ นมาลงทุนในภาค การเกษตรเชิงเดียวทีมีความเสี ยงเรื องราคาผลผลิต สภาพ อากาศแปรปรวน โรคของพืช การใช้สารเคมี สภาพดิน เสื อมโทรมกระทบต่อผลผลิต ก็ยงั ล่อตาล่อกิเลสให้ได้ลนุ ้ กําไรก้อนโต แต่การ์ ตูนกลับไม่คิดเช่นนัน “เป็ นหนีนีคือ ทุกข์จริ งๆ นะคะ ต้องเร่ งรี บหาเงิน ซึ งไม่ใช่ความสุ ขแท้จริ งเพราะพอหมดก็วงหาอี ิ ก อยูแ่ บบพอเพียงค่อยๆ ปลูกและกินใช้ในครอบครัว มีเวลาให้กนั มีเวลาทํางานส่วนรวม ปกป้ อง ดูแลป่ าในชุมชนเราไม่ตอ้ งรอให้ใครมาช่วย เพราะคนทีใช้ประโยชน์และได้ ประโยชน์กค็ ือคนในหมู่บา้ น และมันเป็ นหน้าทีของเรา หนูคิดแบบนัน” เมือทุกข์หนักของเกษตรกรทัวประเทศนีคือ หนีสิ นล้นพ้นตัว ทํานา ทําไร่ ทาํ สวนเหนือยยากทุกปี ยิงทํายิงเป็ นหนี ยิงจนยิงเจ็บ ขายได้เท่าไรลง ค่าปุ๋ ยยาเคมี ลงขวด ลงหวย ลงโทรศัพท์มือถือ มอไซค์ ปิ กอัพ โทรทัศน์ ตูเ้ ย็น ส่งเสี ยลูกหลานเรี ยนทีไม่มีเครื องการันตีวา่ จะเรี ยนจบแบบไม่พวง ปั ญหากลับบ้านให้อกพ่ออกแม่กลุม้ ใจ พอได้กาํ ไรมาไม่เคยพอกินพอใจก็กู้ ใหม่เป็ นกงล้อหมุนก่อวิบากไม่จบสิ น หนักเข้าก็ตอ้ งขายทีดินทํากิน สมบัติ ชินสุดท้ายจากรุ่ นปู่ ย่าหลุดลอยไป แต่เมือชีวิตยังไม่สิน ชีวิตก็ตอ้ งดินรนต่อไป ถึงขันบุกรุ กป่ าถางป่ าทําทีดิน ใหม่และก็เข้าสู่วฏั จักรการกูเ้ งินเช่นเดิม “ถามพ่อแม่วา่ ถ้าเธอส่งลูกไปโรงเรี ยนแล้วลูกเธอเสี ยคน เธอจะเอาไหม ชาวบ้านตอบว่าไม่เอา แต่ทาํ อย่างไรได้ในเมือทีนีไม่มีโรงเรี ยน ถ้าอย่างนันหลวงพ่อจะเปิ ดโรงเรี ยน เด็กจบป.๖ แล้วให้ไปเรี ยนม.๑ กับหลวง พ่อ เป็ นการศึกษาทางเลือกเพือลูกหลานชาวบ้านไม่ตอ้ งไปเสี ยเงินไปเรี ยนไกลๆ ไปแล้วเสี ยตัว ให้อยูก่ บั พ่อแม่ แต่มีเงือนไขว่า ตอนเช้าตืนมาใส่ บาตรให้เป็ นวิถีชีวติ พอตืนเช้าก็ทาํ ให้เด็กได้ช่วยพ่อแม่หุงข้าวทํากับข้าว นีคือ
การศึกษากตัญ ูในส่ วนนีจึงเกิดขึน” หลวงพ่อสังคม ธนปัญโญ รองเจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม กล่าวถึงทีมาของโรงเรี ยนโฮมสคูลของวัดในหนังสื อสี เขียวพึงตนเอง (Green Life Community) โฮมสคูล (Home School) หรื อบ้านเรี ยน โดยทัวไป เป็ นการจัดการศึกษาโดยพ่อแม่ ซึ งมักเกิด ในครอบครัวทีพ่อแม่เป็ นผูม้ ีการศึกษา และมีเวลามาก พอทีจะอบรมเอาใจใส่ ความรู ้แก่ลกู ตลอด ขณะโฮมส คูลของวัดพระบรมธาตุดอยผาส้มจะมีรายละเอียด ต่างกันไป หลวงพ่อสรยุทธ ชยปัญโญอธิ บายเพิมเติม ว่า “โฮมสคูลของวัดเหมือนเอาลูกคนอืนมาเลียง แต่มนั จําเป็ นเพราะชาวบ้านในชนบทการศึกษาไม่ดี และหนีสิ นเยอะ ทําไร่ สตรอเบอร์ รีต้องออกจากบ้านตี ๒-๓ ไม่มีใครสอนลุก พอเอาลูกไปเข้าเรี ยน โรงเรี ยน สอนแต่วิชาการ พฤติกรรมสอนไม่ได้ ถามว่าเด็กไป เรี ยนจะมีประโยชน์ไหม เรี ยนแล้วมีปัญหาเรี ยนไม่จบ พ่อแม่ตอ้ งกูเ้ งินส่ งลูกเรี ยนกว่าจะจบปริ ญญาตรี เป็ น หนีตังหลายแสน คนเรี ยนจบแล้วตกงานเยอะแยะ ทัง ยังเป็ นหนีสิ นเพิมอีก แล้วปริ ญญาจะเอาไปทําไม เพราะฉะนันปริ ญญาไม่ใช่สิงสูงสุ ดทางการศึกษา เสมอไป” “ปี ๒๕๕๑ วัดไปคุยกับสํานักงานพืนที การศึกษาเชียงใหม่เขต ๒ ขอจัดการศึกษาแบบโฮมส คูล เขียนแผนการศึกษา สิ งทีสอนเราเน้นสร้างคน ไม่ใช่แค่มีความสามารถพึงตนเองได้ แต่ยงั เป็ นทีพึงให้คนอืนได้ดว้ ย เน้นการปลูกฝังอุดมการณ์ ในเมือ
ประเทศชาตินีบรรพบุรุษเอาเลือดเอาเนือเอาชีวิตแลกไว้ พระเจ้าอยูห่ วั ยังทํางานเหนือยเลย เธอจะหวังอยาก สบายท่ามกลางพ่อแม่และชุมชนยังลําบากหรื อ จงภูมิใจทีลําบากทํางานหนักและช่วยเหลือผูอ้ ืน จงภูมิใจและ เห็นคุณค่าของการเสี ยสละเพือผูอ้ ืน เด็กเขาจะมีจิตอาสา รู ้ภาวะเศรษฐกิจของพ่อแม่และชาวบ้าน เขาได้สมั ผัส ชุมชน เด็กจะมีวฒ ุ ิภาวะสูงกว่าเพือนในวัยเดียวกัน” ทุกวันนีโฮมสคูลของทางวัดพระบรมธาตุดอยผาส้มยกระดับจากโฮมสคูลเล็กๆ สู่แหล่งเรี ยนรู ้ ระดับประเทศทีให้โฮมสคูลและโรงเรี ยนทีจัดการศึกษาทางเลือกหรื อตามอัธยาศัยเข้ามาเรี ยนรู ้วธิ ี การและศึกษา ดูงานเพราะเด็กแต่ละคนจบไปมีคุณภาพ รู ้จริ งในเรื องทีตนสนใจ มีคุณธรรมประจําใจ
เจ้ าของโรงงานผลิตสิ นค้ าบุญ เสี ยงใสๆ และใบหน้าเปื อนด้วยรอยยิมทีเป็ น ธรรมชาติ คุณธรรมความซือสัตย์ รับผิดชอบในการ ทํางานเป็ นคุณสมบัติเด่นของการ์ตูนทีผูค้ นมักจดจําได้ เสมอ จากเด็กนักเรี ยนโฮมสคูลรุ่ นแรกในวันนีการ์ ตูนมี อีกบทบาทหน้าทีหนึงเพิมเข้ามา คือ เจ้าของ โรงงานผลิตสิ นค้าบุญในโครงการขบวนบุญทีทํามากว่า ๒ ปี ก่อนเข้าร่ วมโครงการ “ตอนแรกทีเริ มทําสนุกมาก แต่พอผลิตของ ออกมาได้เงินมาก็ได้ช่วยครอบครัว และพอเข้าสู่ระบบ ตลาดบุญก็มีคนสังมาเยอะ จึงยากขึนต้องผลิตและขนส่ ง ให้ทนั ต้องควบคุมคุณภาพสิ นค้าให้ดีสมําเสมอ”
“ตอนหนูอยูป่ . ๕ หนูจาํ คําหลวงพ่อได้ดีจนถึง วันนี ตอนนันยังไม่ได้เป็ นนักเรี ยนโฮมสคูล หลวงพ่อบอก ว่าจะทําให้ชีวติ ของชาวบ้านเหมือน “ตายแล้วเกิดใหม่” ซึ ง ก็ทาํ ได้จริ งอย่างแม่แก้ว แม่สมหมาย แม่ศรี เดียวนีตืนเช้า มาไม่ตอ้ งรี บร้อน ไปเข้าไร่ สายๆ เย็นๆ ก็ไปเก็บผักมาขาย อยูส่ บาย ชีวิตความเป็ นอยูข่ องครอบครัวดีขึนจริ ง หนูจาํ คํา นันและเห็นตามจริ งอย่างทีหลวงพ่อได้พยายามทํามา ตลอด” “ส่ วนหนูได้เรี ยนในสิ งทีสนใจ ได้ทาํ อะไรเร็วมาก เช่นได้เรี ยนปริ ญญาตรี ทงๆ ั ทียังไม่จบม.๖ เรี ยนมสธ.เก็บ หน่วยกิตของปริ ญญาตรี ไปก่อน ได้ทาํ งานและเรี ยนไป ด้วยซึ งแต่ก่อนคิดว่าต้องเรี ยนให้จบก่อน แต่ทุกวันนีผลิต ข้าวอินทรี ย ์ แชมพู สบู่สมุนไพร ได้ช่วยครอบครัวหาเงินปลดหนีตังแต่ตอนนี นีก็คือตายแล้วเกิดใหม่ของหน และครอบครัวทีมีชีวิตดีขึน” หลังจากทีการ์ตูนเริ มเรี ยนโฮมสคูลตังแต่ม.๑ จึงเริ มสนใจเรื องข้าวอินทรี ยเ์ พราะ เกิดคําถามทีว่าพ่อแม่ ตนทีเป็ นชาวนาผลิตข้าวให้คนทังประเทศ สร้างอาหารให้ชาวโลก แต่ทาํ ไมต้องทุกข์มีหนีสิ น บางปี ครอบครัว ชาวนายังต้องซื อข้าวกิน การ์ ตูนจึงคิดถึงวิธีการหรื อทางออกของปัญหาจากความหวังทีว่า ชาวนาน่าจะเป็ นผูท้ ีมี ความสุ ขทีสุ ด การ์ ตนู จึงเริ มสนใจศึกษาเรื องการทําข้าวอินทรี ยอ์ ย่างจริ งจัง ตอน ม.๓ จึงไปเรี ยนทํานากับลุงทอง เหมาะ แจ่มแจ้ง ชาวนาดีเด่นทีจังหวัดสุ พรรณบุรี เน้นเรื องคัดเมล็ดพันธุ์ เก็บรักษาเมล็ดพันธุ์เพราะข้าวจะให้ ผลผลิตดีตอ้ งเริ มจากเมล็ดพันธุ์ดี การปลูกข้าว ตังแต่การเตรี ยมกล้า ใส่ปุ๋ย ดูไม่ให้หญ้าขึน ใช้แหนแดงดูด ไนโตรเจนในอากาศมาให้ตน้ ข้าวและป้ องกันไม่ให้หญ้าขึนเหล่านีเป็ นเทคนิคการได้มาซึงเมล็ดข้าวพันธุ์ทีสวย อวบ มีคุณภาพทีดีจากรุ่ นปู่ สู่เหลน พอขึนม.๔ หลังจากจบโครงงานแสนเข้มข้นเกียวกับขันตอนการปลูกข้าวตังแต่เริ มจนหุงขึนหม้อเสริ ฟ์ บนจานได้กินกันทุกวัน การ์ตูนจึงพัฒนาไม่หยุดยังด้วยการแปรรู ขา้ วเป็ นข้าวขัดขาว ข้าวกล้อง ข้าวกล้องงอก
จนถึงนําข้าวกล้องงอก และกําลังจะออกมาในรู ปแบบนําข้าว กล้องชนิดผงชงพร้อมดืม เพือสร้างมูลค่าเพิมให้กบั ข้าวของ ชาวบ้าน นําไปขายด้วยโมเดลธุรกิจแบบ “ขบวนบุญ” คือนํา บุญเป็ นทีตังไม่นาํ เงินว่าก่อน “ทีสิ นค้าของหนูเป็ นสิ นค้าบุญก็เพราะว่า คนทีซือไป จะได้ทาํ บุญเขาจ่ายจริ งตามราคาต้นทุนการผลิตซึ งราคาถูก มากหากเทียบกับราคาตลาดทัวไป แต่เขายังให้เราเพิมเป็ นเงิน ทําบุญเพือนําเงินส่วนนีไปปลูกป่ า สร้างฝายชะลอนํา ทําแนว กันไฟ ชาวบ้านอย่างครอบครัวหนูกม็ ีรายได้ ไม่ตอ้ งไป รับจ้างนอกหมู่บา้ น มีเวลาดูแลกันและดูแลป่ าไม้ของ หมู่บา้ น” “เราไม่กลัวขาดทุนเพราะเวลาทํา อย่างแม่แก้วก็ ไม่ได้คิดไว้วา่ วันนีจะต้องได้ค่าแรงกวนนํายาเท่าไร แม่ศรี ทีมี โครงการมากมายก็ไม่เคยบ่นท้อเพราะการได้แบ่งปั นมันมี ความสุ ข พวกเราไม่ได้คิดว่าจะต้องได้เงินเท่านีเท่านัน ทีผ่าน มายอดสังซื อของหนูกไ็ ม่เคยลดลงมีแต่จะเพิมแล้วผลิตไม่ทนั หนูวา่ เขาคงเชือเหมือนกันว่าบุญมีจริ ง มันตอบกลับมายิงกว่า เงินทองทีได้อยูแ่ ล้ว แต่คงเป็ นความสุ ขแบบพอเพียงละมังค่ะ ทีพวกเรารู ้สึกได้” เจ้าของโรงงานตัวน้อยสรุ ปรวบยอดความคิด หลังจากทีเธอเป็ นหน่วยสําคัญในการขับเคลือนขบวนบุญผ่านสื ออย่างสิ นค้าบุญของเธอ ทําให้คนปลายนําอย่าง คนในเมืองได้ร่วมบุญอนุรักษ์ทรัพยากรในหมู่บา้ นของเธอ สร้างชีวิตทีตายแล้วเหมือนเกิดใหม่ให้ครอบครัวเธอ และอีกหลายครอบครัวในหมู่บา้ นอมลอง ซึ งเป็ นทังทีตังของศูนย์เศรษฐกิจพอเพียงสําหรับอบรมผลิตคน “หัว ไวใจสู”้ อย่างลุงดรและแม่เอ้ย ครอบครัวแม่ศรี และแม่แก้วทีพลิกใจสู่ความพอเพียงมีเวลาให้ครอบครัว เพือน
บ้านและยังแบ่งปันเวลาไปให้งานส่ วนรวมด้วยความสบายใจ พอป่ าบนดอยกลับมา ความอุดมสมบูรณ์กค็ ืนมา อาหารเหลือเฟื อ อากาศก็บริ สุทธิ สิ งพืนฐานของการมีชีวิตเช่นนีก็จะย้อนกลับคืนสู่ป่าเมืองให้อยูร่ ่ วมกันอย่าง เกือกูลธรรมชาติทีทุกคนต้องมีส่วนรับผิดชอบร่ วมกัน
จากวันนันถึงวันนี: พัฒนาการของคน คือ พัฒนาการของศูนย์ฝึกอบรม หลังจากทีทางวัดพระบรมธาตุดอยผาส้มได้พบ กัลยาณมิตรคือศูนย์คุณธรรม หน่วยงานภาครัฐ องค์กร ปกครองส่ วนท้องถิน กองทัพบก กรมป่ าไม้และอุทยาน แห่งชาติ กรมพลังงานทดแทน สถาบันการศึกษาทังระดับ ขันพืนฐานและอุดมศึกษาบริ ษทั เอกชน และทีมจิตอาสา ทีมประชานทัวไปทีแวะเวียนมาช่วยเหลืออยูส่ มําเสมอ ทํา ให้การก่อร่ างสร้างตัวของศูนย์เศรษฐกิจพอเพียงจึงเป็ นรู ป เป็ นร่ างเร็วขึน แต่เหนือสิ งอืนใดตลอดห้าปี ทีชาวบ้านและทีมงานเองได้เรี ยนรู ้และเติบโตผ่านกิจกรรมในศูนย์ การเรี ยนรู้ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงแล้วนําไปใช้จริ งในชีวิตจริ งจนเห็นผลได้
พัฒนาการของการทํางานวัดกับการส่ งเสริมปรัชญาศก.พอเพียงสู่ ชุมชนตลอด ๕ ปี ทีผ่ านมา (๒๕๕๑๒๕๕๕) ๒๕๕๑ เกิดโครงการศูนย์การเรี ยนรู ้ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงสู่การสร้างเสริ มคุณธรรมนําวิถีชีวิตชุมชน เป็ นครังแรกๆ ทีชาวบ้านตังใจถวายทีดินบริ เวณห้วยบง มากกว่าร้อยไร่ ตามชือป่ าไผ่บงลําเขียวสดจํานวนมากซึง ตอนนันบางส่วนถูกแปรสภาพเป็ นทีนาของชาวบ้าน และปี นีเองทีนาถูกแปลงสภาพเป็ นแปลงผักพืนบ้าน นาข้าว
อินทรี ย ์ บ่อปลา เลียงวัวควายหมู และปลูกต้นไม้ใหญ่โตเร็ วให้เป็ นป่ าอย่างยางนา ประดู่ สัก เต็ง รัง มะขามป้ อม ขีเหล็ก ระหว่างทีนําเสาไม้สิบแปดต้นก่อสร้างอาคารฝึ กอบรม ชาวบ้านอีกส่ วนก็หนั ไปอบรมบรรดาเยาวชนจาก ๙ โรงเรี ยนในเขตอําเภอสะเมิง ซึ งระหว่างก่อสร้างอาคารก็อาศัยอนามัย บ้านชาวบ้านเป็ นทีฝึ กอบรม ในปี นีเอง ทีทีทางวัดจัดตังโฮมสคูลขึนเป็ นครังแรก ได้ผลผลิตรุ่ นแรกเป็ นนักเรี ยนเจ็ดคนหนึงในนันคือ น้องการ์ ตนู เจ้าของโรงงงานผลิตสิ นค้าบุญทีกล่าวมาข้างต้น ๒๕๕๒ โครงการ๑ ไร่ คุณธรรม/โครงการ อบรมต้นกล้าอาชีพ/บริ ษทั โตโยต้ามอเตอร์ ทาํ โครงการ ต้นแบบบูรณาการสู่การพัฒนาทียังยืน (ปี ๒๕๕๒ – ๒๕๕๔) จากการทีชาวบ้านอบรมไปแต่ไม่เห็นของจริ ง ไม่เคยลงมือทําจึงมีโครงการ ๑ ไร่ คุณธรรมจากศูนย์ คุณธรรมมาสนับสนุนทังไปอบรมดูงานงาน และ กลับมาลงมือทําทันทีบนแปลงของตนเอง บริ เวณใกล้ ศูนย์อบรมห้วยบง เป็ นการใช้ไร่ ของชาวบ้านเป็ นตัวอย่างจริ งให้ผเู้ ข้าร่ วมอบรมเห็น ในขณะเดียวกันก็พา ชาวบ้านเป็ นวิทยากรอบรมเพือนๆ ต่างพืนทีสนใจมาอบรมเรื องเศรษฐกิจพอเพียง บริ ษทั โตโยต้ามอเตอร์ ทาํ โครงการระยะยาวสองปี มาช่วยเสริ ม ๓ เรื อง ๑. สร้างฝายชะลอนํา ๒. โครงการเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน ๓. ปลูกป่ าในใจและปลูกตามป่ า เลือกห้าพืนที (ป่ าคา/แม่จุม/ป่ าเกียะ/บ้านใหม่/แม่ปะ) ๒๕๕๓ โครงการต้นกล้าคุณธรรม นําชาวบ้าน ป่ าคานอกมาทังหมู่บา้ น/ป่ าเกียะ/งาแมง/บ้านใหม่/แม่ปะ/ แม่เลย/อังคาย/ยังเมิน/แม่จุม/แม่ขาน/นักเรี ยนโรงเรี ยนสะ เมิงพิทยาคม/เทศบาลสะเมิง มาอบรมเรื องเศรษฐกิจ พอเพียง เสริ มพลังเครื อข่าย ผูน้ าํ ทีเคยอบรมต้นกล้าอาชีพ ในปี ทีแล้วก็พาเพือนบ้านในชุมชนมาอบรมมากขึนมาก เกิดคนหัวไวใจสูอ้ ย่างเซเอ โอเค มี ไพบูลย์ มอกุย วิทย์ และพรชัย ซึ งเป็ นคนปกาเกอะญอทังทีม เป็ นแกนนําคนรุ่ นใหม่ของหมู่บา้ นฝังตัวในพืนที
๒๕๕๔ โครงการมินิบวร เพือเสริ มหนุนคนหัวไว ใจสูเ้ อาจริ งเอาจังกับการเลือกใช้ชีวิตตามหลักเศรษฐกิจ พอเพียงจาก ๙ คน ๙ โครงการ เมือพึงตนเองได้ เขาก็สร้าง เครื อข่ายในหมู่บา้ นให้คนอืนพึงได้ โดยใช้หลัก พระราชดําริ เข้าไปมีส่วนร่ วมมือในการพัฒนาท้องถินทัง บ้าน วัด โรงเรี ยนและราชการ เกิดคนหัวไว้ใจสูท้ ีกําลังสุ่ม ทําสวนตนเองให้ยกระดับเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียงในระดับอําเภอและจังหวัด คือ พ่อสมชาย/พ่อน้อย เสงียม/พ่อหลวงเสม/หนานวาด/แม่แก้ว/แม่สมหมาย/แม่ศรี /น้องปี รุ่ งนภา/ลุงวิรัตน์ ๒๕๕๕ โครงการขบวนบุญ เมือหมู่บา้ นสามารถ พึงตนเองได้ในระดับหนึง ก็มีใจอยากช่วยเสริ มในแต่ละ หมู่บา้ นในเครื อข่ายคนบุญเหมือนกันให้ช่วยเหลือกัน เพราะหลังจากเห็น ๙ คนจาก ๙ หมู่บา้ นจากโครงการปี ที แล้วช่วยเหลือกันดี แต่จะดีกว่าหากคนในชุมชนลงมือทํา ด้วย และสามารถช่วยเหลือเพือนระหว่างชุมชนกับชุมชน เช่น โครงการกล้วยแลกข้าว นํากล้วยทีมีอยูเ่ ยอะในหมู่บา้ น หนึงมาแลกข้าวซึงปลูกไม่พอกินเนืองจากทีดินถูกขายเปลียนมือไป พลังเครื อข่ายมีพลังกว่าแค่บุคคลเดียว หมู่บา้ นเดียว จึงใช้พลังกลุ่มระหว่าง ๕ โซนจาก ๑๒ หมู่บา้ นขับเคลือนกองทัพเศรษฐกิจพอเพียงให้เติบโตอย่าง มังคงขึน ซึ งไม่เฉพาะคนอยูป่ ่ าเท่านันทีช่วยรักษาป่ าได้ คนจากเมืองก็สามารถช่วยได้ดว้ ยการเลือกซือผลิตภัณฑ์ บุญ โดยนําเงินบุญทังหมดเข้ากองทุนฟื นฟูธรรมชาติ ฟื นฟูแม่พระธรณี แม่นาคงคา ํ แม่มหาสมุทรเป็ นขบวนสาย บุญยาวจากภูผาสู่มหานที เครื อข่ายขบวนบุญจึงเข้มแข็งขึน ยังทําให้คนต้นนําและปลายนํามาเจอกัน ได้เข้าใจอก เขาอกเรา และมีส่วนรวมในการดูแลทรัพยากรธรรมชาติร่วมกันอย่างยังยืน
บทวิเคราะห์ การขับเคลือนโครงการในชุ มชน “โซนดอยผาส้ ม/หมู่บ้านอมลอง” โซนดอยผาส้ม/หมู่บา้ นอมลองถือเป็ นโซนทีก้าวหน้าทีสุดในห้าโซนและสามาระเรี ยกได้วา่ เป็ นโซนที ดําเนินการขับเคลือนเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวทางพระราชดําริ ได้ถึงระดับขันก้าวหน้าจริ ง กล่าวคือ หลังจากที ํ าความ พึงตนเองได้ทงั พอกิน (มีขา้ วปลาอาหารอุดมสมบูรณ์เหลือเฟื อ) พออยู่ (มีทีอยูอ่ าศัย) พอใช้ (มีนายาทํ สะอาด/ปุ๋ ย/นําหมักชีวภาพ/ถ่านดํา) พอร่ มเย็น (ความเขียวขจี ร่ มเงาไม้อยูส่ บายใจ สบายกาย)แล้ว ทุกวันนีชาว ชุมชนอมลองสามารถแบ่งปัน ทําบุญ ทําทาน เก็บรักษาแปรรู ป ขายสิ นค้า (ดูผงั มโนทัศน์ เรื องทฤษฎีบนั ได ๙ ขันสู่ความพอเพียง ประกอบ) จนเป็ นศูนย์กลางในการสร้างเครื อข่ายทังในระดับชุมชน อําเภอและจังหวัด ตลอด ฐ ภาคเอกชน องค์กรไม่แสงหากําไร และภาคประชาสังคม ๕ ปี ด้วยความร่ วมมือและสนับสนุนจากภาคีทงภาครั ั ทีมีความเห็นตรงกันว่า เป็ นหนทางในการพัฒนาชุมชนชนบทอย่างยังยืน การขับเคลือนในปี นีหมู่บา้ นอมลองได้เป็ นแบบอย่างเห็นความสําเร็ จในการดําเนินกิจกรรมเศรษฐกิจ พอเพียงขันก้าวหน้าให้กบั อีก ๔ โซนทีเหลือมาศึกษาดูงานพร้อมทังจัดคาราวาน “พีสอนน้อง” ถึงอีกสิ บสอง หมู่บา้ นทีเป็ นพืนทีเป้ าหมายในการดําเนินกิจกรรมขบวนบุญในปี นี เพือพูดคุยแลกเปลียนองค์ความรู ้ ทังเสริ ม กําลังใจให้กบั หมู่บา้ นทีกําลังจะพึงพาตนเองได้ ในขณะเดียวกันคนในเมืองก็มีโอกาสรับรู ้เรื องราวของโมเดล ธุรกิจบุญ (Social Enterprise) ทีเรี ยกว่า “ขบวนบุญ” ทีนําบุญนําหน้าการจ่ายกําไรเป็ นตัวเงิน ทุกๆ ครังทีคนเมืองอุดหนุนซือสิ นค้าของชุมชนด้วยโมเดลบุญนี จะนําเงินส่ วนทีธุรกิจแบบทุนนิยม เรี ยกว่า “กําไร” เข้าสบทบทุนกองทุนหมอกควันไฟป่ าของหมู่บา้ นอมลอง เพือภารกิจปลูกป่ า สร้างฝายชะลอนํา ทําแนวกันไฟ คนในเมืองทีกล่าวว่าเป็ นคนปลายนําก็สามารถมีส่วนช่วยคนต้นนําอย่างชาวบ้านอมลองดูแล รักษาทรัพยากรธรรมชาติทีทุกคนมีส่วนใช้ จึงต้องมีส่วนรับผิดชอบร่ วมกัน ซึงนีเป็ นเป้ าหมายสําคัญทีเกิดผล จริ งสําหรับการขับเคลือนขบวนบุญ และเป้ าหมายทีสําคัญไม่ยงหย่ ิ อนไปกว่ากันคือ การทีผูค้ นเปลียนใจจากการ แบ่งแยกตัวเองออกจากธรรมชาติ หรื อยกตนข่มธรรมชาติมากยาวนานโดยหลงลืมไปว่าชีวิตมนุษย์อาศัยอยูไ่ ด้ ต้องพึงพิงธรรมชาติทุกลมหายใจ ซึ งวิธีการคือการนําบุญเข้าว่าทําให้จิตใจอ่อนโยน ลดความตระหนีถีเหนียว ความเห็นแก่ตวั สู่ใจทีหยุดค้นคว้า หยุดอยาก คือใจทีพอ แล้วมีเหลือพอทีจะแบ่งปันสิ งดีให้กบั คนใกล้ตวั ครอบครัว ชุมชน สังคม
บทสรุ ปสุ ดท้ายคงไม่มีอะไรอธิ บายภาพรวมได้ดีไปกว่าบทสารคดีสนั ในรายการดอกไม้บานสื อสาร ความดีทีได้รับการสนับสนุนจากศูนย์คุณธรรมในปี ๒๕๕๕ นี “แต่ก่อนเห็นเขามีเงิน เราก็อยากมีเงิน แต่เดียวนีทําได้เท่าไรก็เอาเท่านัน คือไม่มีความโลภ” “อยูท่ ีใจนันแหละ ใจพอมันก็คือพอ” “อยูแ่ บบพอๆ นีแหละมีความสุข (ยิม)” “ถ้าเห็นอย่างนีได้ ทุกอย่างถูกหมดเลย เมือติดกระดุมเม็ดแรกถูก ทีเหลือมันถูกเอง ก็คือทิฐิ ความเห็นนี เอง ถ้าเห็นถูกได้กจ็ ะคิดถูก ทําถูก พูดถูก ทุกอย่างถูกหมด แล้วหนีก็ลดลง ทุกข์กจ็ ะลดลง นีคือหัวใจทังหมดที วัดทํา” โครงการทุกโครงการ กิจรรมทุกกิจกรรมเป็ นเพียงเครื องมือพาคนเปลียนใจ ใจทีตามความอยาก ตาม กระแสกิเลสของตน แต่หากใจพอแล้ว แค่พอก็จะพบสุขทีง่ายมีอยูท่ ุกทีทุกเวลา จากนันเมือพอพึงพาทังใจตนเอง ได้ พึงพาทางกายคือพอมีพอกินแล้วก็สามารถแบ่งปันให้เพือนได้ บุญความดีขบวนนีก็จะถูกส่งทอดยาวต่อไป ไม่สินสุ ด ปัจจัยเกือหนุนการขับเคลือนขบวนบุญ ๑) ความร่ วมมือและสนับสนุนทังกําลังใจ กําลังกาย กําลังทรัพย์ กําลังปัญญา จากหน่วยงานภาคีทงั ภาครัฐ เอกชน องค์กรมูลนิธิต่างๆ สถาบันการศึกษา ภาคประชาสังคม และจิตอาสาทุกท่านทุกคน ทีร่ วมขับเคลือนขบวนบุญตังแต่เมือห้าปี ทีแล้วจนทุกวันนี ๒) ผูน้ าํ และทีมงานประสานงานกลางทีมีความเห็นตรงกันในการดําเนินโครงการปี ๒๕๕๕ ว่าจะต้อง เชือในบุญ/ความเมตตากรุ ณา ปรารถนาจะให้ผอู ้ ืนได้ดี ไม่ดีกใ็ ห้อภัย/และมีความเพียรอันบริ สุทธิ ไม่ยอ่ ท้อจนกว่าจะสําเร็ จ ซึ งเมือความเห็นตรงกันแล้วการทํางานจึงเต็มไปด้วยความราบรื น ตรงสู่ เป้ าหมายทีวางไว้ และเกิดผลขึนเป็ นรู ปธรรมจริ ง ๓) ปั ญญาทีใช้พิจารณาไตร่ ตรองเห็นตามความเป็ นจริ ง เมือเห็นถึงรากเหง้าของปั ญหาทีแท้จริ งของ สังคมไทย จะเห็นความยึดโยงของปั ญหาทังหมดทีผูกปมพันซ้อนทับกันมากมายจนยากเกินแก้ ก็
จะเข้าใจได้วา่ ปั ญหานอกตัวเราแก้ไม่ได้หมด แก้ได้สิงเดียวคือใจของตนเอง กระบวนการทํางาน ทังหมดจึงเป็ นเพียงการพาคนเปลียนใจให้เห็นตามความเป็ นจริ งนันเอง เมือเห็นตามนันแล้วการ แก้ปัญหาเรื องใดๆ จึงไม่ยากอีกต่อไป ทังแก้ปัญหาคนขาดคุณธรรม แก้ปัญหาสิ งแวดล้อม แก้ปัญหาความขัดแย้งทางการเมือง วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ เพราะใจคนทีเห็นผิดไปจากความ เป็ นจริ งจึงทําให้เกิดปัญหาดังกล่าว