P1_

Page 1

โครงการ eDLTV เพื่อพัฒนาอาชีพ ตามพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ชุดการเรียนรู้ที่ 1/9

เรื่อง หลักการสื่อสารด้วยโทรศัพท์มือถือ วิชาช่างซ่อมโทรศัพท์มือถือ รหัส 1105-3203 หลักสูตร ระยะสั้น 75 ชั่วโมง

อับดุลลาเต๊ะ กาเจ วิทยาลัยสารพัดช่างยะลา ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและกาลังคนอาชีวศึกษา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

สื่อการสอน


ช่ างซ่ อมโทรศัพท์ มือถือ11053203

หลักสูตรระยะสั้ น 75 ชั่วโมง

วิทยาลัยสารพัดช่ างยะลา สานักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา

จุดประสงค์รายวิชา/สมรรถนะรายวิชา  เพื่อให้มีความเข้าใจหลักการสือ่ สารด้วยโทรศัพท์มือถือ  เพื่อให้มีความเข้าใจวงจรโทรศัพท์มือถือ  ใช้เครือ่ งมือวัดตรวจสอบการทางานของเครือ่ งโทรศัพท์มือถือได้  วิเคราะห์อาการเสียของเครือ่ งโทรศัพท์มือถือได้  ตรวจซ่อมเครือ่ งโทรศัพท์มือถือได้  ติดตัง้ ระบบปฏิบต ั กิ ารของโทรศัพท์มือถือได้  ประมาณราคาการติดตัง้ ระบบปฏิบต ั กิ ารและตรวจซ่อมได้

่ ใี นการทางาน  มีกิจนิสยั ทีด

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

 เข้าใจการทางานของอุปกรณ์ในระบบโทรศัพท์มือถือ


มาตรฐานรายวิชา

่ สารด้วยโทรศัพท์มือถือ บอกหลักการสือ วงจรโทรศัพท์มือถือ บอกอาการเสียของโทรศัพท์มือถือ ตรวจซ่อมโทรศัพท์มือถือ ประมาณราคา

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

อธิบายการทางานของอุปกรณ์และหลักการทางานของ

คาอธิบายรายวิชา

่ สารด้วยโทรศัพท์มือถือ ศึกษาหลักการสือ

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

วงจรและการทางาน ของโทรศัพท์มือถือ การวิเคราะห์อาการเสียของเครือ่ ง โทรศัพท์มือถือ วิธีการติดตัง้ ระบบปฏิบตั ิการ การประมาณ ราคา ปฏิบต ั ิการใช้เครือ่ งมือวัด เพื่อทดสอบการทางานของวงจร เครือ่ งโทรศัพท์มือถือ ตรวจซ่อมและติดตัง้ ระบบปฏิบตั ิการของ เครือ่ งโทรศัพท์มือถือ


หน่วยที่ 1 เรือ่ ง หลักการสือ่ สารด้วยโทรศัพท์มือถือ

วิวฒ ั นาการของโทรศัพท์มือถือ

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ระบบโทรศัพท์เคลือ่ นที่

ระบบปฏิบตั ิการของโทรศัพท์มือถือ

ระบบโทรศัพท์เคลือ่ นที่ 

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ลักษณะรูปร่างของเน็ทเวิรค์ ระบบการสือ่ สารเซลลูล่าร์เคลื่อนทีจ่ ะมีพ้ นื ทีก่ ารครอบครองทีแ่ บ่ง ออกเป็ นจานวนพื้นทีข่ นาดเล็กมากๆ เราเรียกพื้นทีข่ นาดเล็กนี้วา่ เซลล์ (cell) ่ ีสญั ญาณการ  ซึง่ ในแต่ละเซลล์จะมีสถานีหลัก (Base station system) ทีม สือ่ สารครอบคลุมในแต่ละพื้นทีข่ องแต่ละเซลล์ แต่ละสถานีหลักถูกต่อโดยเส้นทางการต่อที่ แน่นอน (Fixed link) ไปยังศูนย์กลางการให้บริการการสวิตช์ซงิ เคลื่อนที่ (MSC) ; mobile services switching center ซึง่ โดยทัว่ ไปชุมสายโทรศัพท์ ดิจติ อลจะมีซอฟต์แวร์เป็ นตัวจัดการ


องค์ประกอบสาคัญของโทรศัพท์เคลือ่ นที่

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

สถานีฐาน (Base Station System) 

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

Base Station System (BSS) เป็ นอุปกรณ์ทตี่ อ่ เชือ่ มโดยตรงกับ MSC กับ MS ด้วยระบบ Transmission หลาย ๆ แบบ เช่นอาจจะเป็ น Microwave, Cables หรือ Fiber Optic เป็ นต้น BSS สามารถ ติดตัง้ ได้ทงั้ ในอาคารหรือ Container และสามารถกาหนดให้ใช้งานได้เป็ นแบบ Omni directional หรือ Sector cells ได้ BASE STATION SYSTEM (BSS) เป็ นระบบทีป่ ระกอบด้วย BASE STATION CONTROLLER ( BSC ) และ BASE TRANSCEIVER STATION ( BTS ) ซึง่ อาจมีได้หลายตัว รวมทัง้ ส่วนของ TRANSCODER


Block diagram ของสถานีฐาน

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

สถานีฐานแบบ SELF SUPPORT

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


สถานีฐานแบบ GUYE SUPPORT

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

สถานีฐานทีต่ ิดตัง้ ใน CONTAINER

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


สถานีถานแบบติดตัง้ อาคาร

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

การเชือ ่ มตอสั ฐาน ่ ญญาณระหวางสถานี ่ ไปยังชุมสายโทรศั พทเคลื ่ นที(่ Mobile Switching : MS) ์ อ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

โครงสร้างของ Channel Units แต่ละ Channel Unit ประกอบไปด้วย  Transmitter (TX)  Receiver (RX)  Control Unit (CU) ่ อ่ ตรงไปหา Transmitter  Power Amplifier (PA) ทีต Output 


Transmitter (TX)

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

Transmitter (TX) Output power ทีก่ าหนดได้คือ 25 w ต่อ Channel แต่จะขึ้นอยูก่ บั Power Unit ทีม่ ีขนาด 6Wmaxและ 25Wmaxขนาดของ Output power ทีใ่ ช้จริงจะขึ้นอยูก่ บั ขนาดของ Coverage ซึง่ สามารถปรับให้ เหมาะสมได้โดยวิธี Manual คือ จะต้องทาการปรับที่ site ใน ส่วนของ Transmitterสัญญาณเสียงและ Signaling จะถูกขยายเพื่อส่งให้กบั Antenna ซึง่ ทัง้ สัญญาณเสียงและ Signaling จะถูกส่งมาจาก MSC โดยผ่านทางระบบ Transmission

 ค่าสูงสุดของ

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


Receiver (RX)

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

Receiver (RX) Receiver นี้จะมียา่ นการตอบสนอง ความถี่ทสี่ มั พันธ์กบั ภาค Transmitter (TX) ใน ภาค RX

ในส่วนของภาค

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


Control Unit ( CU )

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

Control Unit ( CU ) ในแต่ละคูข่ อง Transmitters/Receiver จะถูกควบคุมด้วย control unit ประกอบไปด้วย Microprocessor , Modem สาหรับ Signaling ทีใ่ ช้ตดิ ต่อกับ MSC และวงจรทีใ่ ห้กาเนิด PHI-Signal ่ วบคุมตาแหน่ง Address ของ Channel  ภาค CU จะทาหน้าทีค equipment และทาหน้าทีส่ ง่ ผ่านสัญญาณระหว่าง MSC กับ Radio channel นอกจากนี้ยงั สามารถทาหน้าทีส่ ง่ ผ่านผลการวัดสัญญาณระหว่าง Supervisory unit (SU) กับ MSC ได้อกี ด้วย 

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


Transmitter Combiner

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

Transmitter Combiner  Transmitter

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

หลาย ๆ ชุดสามารถจะต่อเข้ากับสายอากาศ ทางด้าน TX ตัวเดียวได้โดยใช้ Combiner ภายใน


Receiver Multicoupler

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

Receiver Multicoupler Multicouplerจะทาหน้าทีก่ ระจายเอาต์พุตของสายอากาศทางภาครับไปยัง Recieverของแต่ละ Channel units  จุดประสงค์ของการใช้ Multicouplerก็เพื่อให้มีการ match ระหว่างสายอากาศ ภาครับกับ Receiver ในแต่ละ Channel unit  อิมพีแดนซ์เอาต์พุตของ Multicouplerจะมีคา่ เท่ากันกับอินพุตของมันเองและจะไม่มี การลดทอนสัญญาณภายในตัวมันเอง ภายใน Multicouplerจะมีวงจรขยายและวงจร matching อยูท่ ี่ BSS จะมีสายอากาศทางด้านรับ (RX Antenna) อยู่ 2 ชุด โดยจะมีการจัดวางให้หา่ งกันประมาณ 3 – 4 เมตร เรียกว่าระบบ Diversity 

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


Signal Strength Receiver 

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ถ้าผลการวัดคุณภาพของสัญญาณเสียงมีคา่ ทีท่ าให้เกิด Alarm A7 แล้ว MSC ก็จะ ให้แต่ละ BSS ทีเ่ ป็ น Neighbor ของ BSS ทีส่ ง่ Alarm มาให้ทาการวัด สัญญาณโดยใช้ SR ของแต่ละ BSS ทาการวัดระดับสัญญาณ

RF Test Loop

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


RF Test Loop RF Test Loop ก็เพื่อทีก่ าร ตรวจสอบ Radio Equipment โดยคาสัง่ จาก MSX ก็จะทาให้มีสญั ญาณวิง่ ผ่านไปตาม Transmitter , RF test loop , Antenna multicoupler , Receiver และ Control unit แล้วย้อนกลับไปที่ MSC ที่ MSC จะทาการวัดคุณภาพของสัญญาณทีย่ อ้ นกลับมา ถ้า มีเหตุเสียเกิดขึ้นตาม units ต่างๆ ทีส่ ญั ญาณวิง่ ผ่านก็จะ ได้สญั ญาณทีย่ อ้ นกลับมาต่าง ๆ กันไป

จุดประสงค์ของ

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

องค์ประกอบของระบบชุมสายโทรศัพท์เคลื่อนที่

GSM / PCN คุณสมบัติของโทรศัพท์เคลื่อนทีร่ ะบบ GSM / PCN ระบบ PCN

Personal Communication Network

มาตรฐานทัว่ ไปของ PCN

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ระบบสัญญาณ (Signaling)


องค์ประกอบของระบบชุมสายโทรศัพท์เคลื่อนที่

หน้าทีก่ ารทางานของแต่ละส่วน

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

โครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ GSM

ระบบสัญญาณ (Signaling)  ช่องสัญญาณความถีว่ ท ิ ยุทใี่ ช้ในระบบเซลลูลาร์นนั้ แบ่งได้เป็ นสองกลุ่มใหญ่ๆ คือ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ช่องสัญญาณเสียงกับช่องสัญญาณข่าวสาร ในการติดต่อกันระหว่างเน็ทเวิรค์ โดย ผ่านสถานีฐานกับเครือ่ งโทรศัพท์เคลือ่ นทีจ่ ะใช้ชอ่ งสัญญาณข่าวสารในส่วนของ การเรียกเพื่อสร้างเส้นทางสือ่ สารนัน้ ภายในเน็ทเวิรค์ จะมีระบบตรวจสอบการ ร้องขอในการเรียกเพื่อสร้างเส้นทางสือ่ สารทีเ่ ชือ่ ถือได้ โดยจะทาการตรวจสอบ ตาแหน่งฐานข้อมูล เพื่อกาหนดตาแหน่งพื้นทีท่ ี่ Mobile (ผูเ้ รียก) และ Mobile (ผูถ้ ูกเรียก) ทีอ่ ยูล่ ่าสุด เลขหมายทีใ่ ช้ในการเรียกจะถูกส่งไปบน ช่องสัญญาณข่าวสาร


GSM / PCN 

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ระบบโทรศัพท์เคลื่อนทีแ่ บบดิจติ อล ซึง่ ระบบทีน่ ามาใช้ในประเทศไทยคือ ระบบ GSM และ DCS ซึง่ ใช้ยา่ นความถี่ในย่าน 900 และ 1800 เมกะเฮิรตซ์ ตามลาดับ GSM 1900 อันเป็ นการเปิ ดเสรีโทรคมนาคม อย่างเป็ นรูปธรรมมากขึ้น เพื่อประโยชน์ตอ่ ประชาชน ในการ เลือกใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ มากขึ้น นอกเหนือจากระบบโทรศัพท์พ้ นื ฐาน

คุณสมบัติของโทรศัพท์เคลื่อนทีร่ ะบบ GSM / PCN 

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ความต้านทานต่อสัญญาณรบกวน  สะดวกในการเพิ่มความจุ  ใช้อน ิ เตอร์เฟสแบบมาตรฐาน  ระบบรักษาความปลอดภัย  การย้ายข้ามเซลอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น  ระบบ SIM CARD  การเข้ากันได้กบ ั ระบบ ISDN  พัฒนาการทางด้านการให้บริการ  บริการด้านเสียงพูด  บริการด้านข้อมูล


ระบบ PCN Personal Communication Network

DCS 1800 เป็ นระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ แบบ Cellular ทีค่ วามถี่ 1800 MHz ทีท่ างานแบบ Digital ทัง้ หมด โดยมีการพัฒนามาจากระบบ GSM ( Global System for Mobile ) ซึง่ ใช้ ความถี่ 900 MHz โดย PCN ต่างจาก GSM ที่ สาคัญคือที่ ความถี่ ( Frequency )

่ หนึ่งว่า เรียกอีกชือ

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

มาตรฐานทัว่ ไปของ PCN PCN

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ใช้งานในย่านความถี่ 1800 MHz โดยแถบ Up link อยูร่ ะหว่าง 1710-1785 MHz และ Down link ระหว่าง 1805-1880 MHz โดยแต่ละ ช่องความถี่กว้าง 200 KHz


โครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ GSM  ซึง่ ประกอบไปด้วย

Service Switching

Center : MSC )  ส่วนเก็บข้อมูลเครือ่ งลูกข่าย (Home Location Register : HLR)  ส่วนควบคุมสถานีฐาน ( Base Station Controller :BSC)  สถานีฐาน ( Base Transceiver Station :BTS)  เครือ่ งโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile Station : MS)

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

 ชุมสายโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile

โครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ GSM

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


ชุมสายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ( Mobile Service Switching Center :MSC)

เปรียบเสมือนตัวเชื่อมระหว่าง radio part กับ fixed หรือ Transit Part ของ PLMN หรือ บาง กรณีมนั จะเป็ นตัวเชื่อมระหว่าง GSM PLMN และระบบอื่นๆ ด้วย

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

 MSC

ส่วนเก็บข้อมูลเครือ่ งลูกข่าย (Home Location Register : HLR) เป็ นฐานข้อมูลกลาง ซึง่ จะเก็บข้อมูลเฉพาะของผูใ้ ช้ทก ุ คนไว้ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

อย่างเป็ นการถาวร เก็บข้อมูลเกี่ยวกับบริการทีผ่ ใู ้ ช้แต่ละคน ต้องการใช้ , ตัวแปรต่าง ๆ ทีเ่ กี่ยวข้องการบริการนัน้ ๆ , location ของผูใ้ ช้ปัจจุบนั หรือ เมื่อ Register ครัง้ ล่าสุด


ส่วนควบคุมสถานีฐาน ( Base Station Controller :BSC) 

เป็ นตัวควบคุมการรับส่งข้อมูลภายใน BSC โดยแต่ละ BSC สามารถใช้ควบคุม Cell ( BTS ) สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

สถานีฐาน ( Base Transceiver Station :BTS) เป็ นสถานีทป ี่ ระกอบด้วยอุปกรณ์ตา่ ง

ๆ ทีใ่ ช้ติดต่อกับ MS สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


เครือ่ งโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile Station : MS) MS

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ประกอบด้วยส่วนประกอบ 2 ส่วน ทีม่ ีความสาคัญ พอๆกัน คือปราศจากสิง่ 2 สิง่ นี้แล้ว ระบบก็จะเป็ นสิง่ ทีไ่ ร้คา่ ไปในทีส่ ุด ส่วนประกอบ 2 ส่วน นัน้ คือ

เครือ่ งโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile Station : MS)

EQUIPMENT ( ME ) คือ เครื่องมือทีป่ ราศจาก SIM CARD นัน่ เองเมื่อปราศจาก SIM แล้ว ME ก็ไม่สามารถโทรออกไปไหนๆได้ ยกเว้นกรณี Emergency Call  2.SIM CARD เป็ นทีเ่ ก็บข้อมูลบางอย่างเกี่ยวกับผูใ้ ช้แต่ละ คนไว้ เมื่อใช้ SIM ทีถ่ ูกต้องสอดเข้าไปใน ME แล้วมันจะ กลายเป็ น MS ทาให้สามารถโทรออกได้ สิ่งทีส่ าคัญอีกอย่าง คือ ผูใ้ ช้สามารถพกพาติดตัวไปทีไ่ หนๆก็ได้เมื่อต้องการใช้ โทรศัพท์ก็สอด SIM เข้าไปใน ME ของผูอ้ ื่นได้  1.MOBILE

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


TRANSCODER

BSC เพื่อเปลี่ยน GSM Speech data ไปเป็ น Fixed Network speech data ในกรณีทจี่ ะมีการส่งผ่านข้อมูลระหว่าง Fixed line ในการติดต่อกับโทรศัพท์แบบ Fixed Network  สาเหตุทต ี่ อ้ งทาเช่นนี้เนื่องจากในระบบ GSM มีการใส่รหัสแปลง คาพูดเป็ นข้อมูล digital โดยอาศัยคุณสมบัติทวี่ า่ เสียงพูดไม่ จาเป็ นต้องส่งไปตลอดเวลา ซึง่ จะต่างจากการเข้ารหัสในระบบ Fixed ซึง่ จะแปลงคาพูดเป็ นข้อมูล digital โดยตรง ่ กั อยูต่ ิดกับ  เป็ นส่วนประกอบทีม

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

AUC (Authentication Center) 

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

เป็ นส่วนสาคัญทีใ่ ช้ตรวจสอบความถูกต้องของผูใ้ ช้ เพื่อให้สามารถแน่ใจได้วา่ ไม่มีการขโมยใช้ เครือ่ งได้ อุปกรณ์ทใี่ ช้ได้รบั อนุญาตอย่างถูกต้องฯลฯ ในระบบ PLMN หนึ่งๆอาจมี AUC มากกว่า 1 ตัวก็ได้โดยปกติมนั จะอยูร่ ว่ มกันกับ HLR ซึง่ ต้องถูกเก็บไว้อย่าง ปลอดภัย


EIR (Equipment Identity Register)

่ง เป็ นฐานข้อมูลทีเ่ ก็บเลขหมายประจาเครือ

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

(เบอร์ใช้งาน) โดย แบ่งเป็ น 3 กลุม่ คือ บัญชีปกติ,บัญชีตรวจสอบ,บัญชีดา

การเชือ่ มต่อสัญญาณของชุมสายโทรศัพท์เคลื่อนทีก่ บั สถานีถาน (Link signal)

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


การเชือ่ มต่อสัญญาณระหว่างโทรศัพท์เคลือ่ นที่ (MO TO MT CALL)

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

การเชือ่ มต่อสัญญาณระหว่างจากโทรศัพท์เคลื่อนทีไ่ ปยังโทรศัพท์

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


วิวฒ ั นาการของโทรศัพท์มือถือ 1G

2.5 G

Generation

2.75 G 3G

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

2G

3.5 G 4G

1G

ระบบโทรศัพท์มือถือแบบ analog ให้บริการเสียงอย่างเดียว ระบบทีจ่ ดั อยูใ่ นยุคนี้เช่น NMT,AMPS, DataTac ่ ใช้งานครัง้ แรกในปี ค.ศ.1980 เริม 1G

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


2G

2G ระบบโทรศัพท์มือถือแบบ digital  ระบบทีจ่ ดั อยูใ่ นยุคนี้เช่น GSM,cdmaOne,PDC  ให้บริการทัง้ เสียงและข้อมูล  มีการทางานแบบ circuit switching ่ วามเร็ว 9.6-14.4 kbps  ทีค 

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

2.5 G

 

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

2.5G ระบบโทรศัพท์มือถือแบบ digital ทีเ่ ริม่ นาระบบ packet switching มาใช้ ระบบทีจ่ ดั อยูใ่ นยุคนี้เช่น GPRS ความเร็ว 20-40 kbps


2.75 G

 

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

2.75G ระบบทีจ่ ดั อยูใ่ นยุคนี้เช่น CDMA2000 1xRTT,EDGE ให้ความเร็วน้อยกว่า 100 kbps

3G

ระบบโทรศัพท์มือถือแบบ digital ่ สารด้วยเสียงและข้อมูลรวมถึง มีความสามารถครบทัง้ การสือ วิดีโอ ระบบทีจ่ ดั อยูใ่ นยุคนี้เช่น W-CDMA,TDSCDMA,CDMA2000 1x-EVDO ความเร็ว มากกว่า 144 kbps 3G

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


3.5 G

ระบบโทรศัพท์มือถือแบบ digital มีความเร็วในการส่งข้อมูลสูงขึ้นกว่า 3G เช่น HSDPA ใน W-CDMA 3.5G

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

4G

ระบบโทรศัพท์มือถือแบบ Real-Digital ่ มต่อข้อมูล 3 แบบ ภาคพื้นดิน CDMA สามารถเชือ PA-H และการเชือ่ มต่อ ewifiและ Wi-Max เพื่อการเชือ่ มภาพและเสียงเป็ นข้อมูลเดียวกัน 4G

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


ระบบปฏิบตั ิการของโทรศัพท์มือถือ OS สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

OS

ซิมเบียน ซึง่ ส่วนใหญ่จะใช้ในค่ายโนเกีย Symbian Anna Nokia X7 และ E6 มารุน่ ใหม่ทเี่ รียกว่า Symbian แอนนา  ตามวิสยั ทัศน์ประมาณโทรศัพท์มือถือ. 446 ล้านโทรศัพท์ Symbian OS ได้รบ ั การ จัดส่งเป็ นของ H2 2010. อนาคตของระบบปฏิบตั กิ ารทีอ่ าศัยอยูก่ บั เราทุกปี เหล่านี้ & ขับ เคลื่อนทีด่ ที สี่ ุดโทรศัพท์สอื่ ในขณะนี้ไม่เป็ นทีร่ จู ้ กั เป็ น Nokia ได้ตดั สินใจทีจ่ ะร่วมเป็ น พันธมิตรกับไมโครซอฟท์ การใช้ Windows เป็ นฐานของระบบปฏิบตั กิ ารสาหรับมาร์ท โฟน.  Symbian Belle โนเกียเปิ ดตัว Symbian รุน ่ ถัดไปรหัส "Belle" (นับ ต่อจาก Anna ทีใ่ ช้ตวั A แนวทางเดียวกับ Ubuntu) เรียบร้อย 

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


วินโดวส์โมบาย 

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ระบบปฏิบตั กิ ารวินโดวส์โมเบิลสาหรับพ็อกเก็ตพีซี จุดเด่นโดยรวมทัว่ ไปของทุกเวอร์ชนั มี ดังต่อไปนี้Today Screen หน้าจอโชว์วนั ทีป่ ั จจุบนั คาแนะนาของผูเ้ ป็ นเจ้าของ การ นัดหมาย ช้อความ อีเมลและหน้าที่ ผูใ้ ช้สามารถปรับแต่งให้อะไรอยูบ่ นจอได้ รวมถึงแถบการ ใช้งานและไอคอนแสดงสถานะการทางานของบลูททู และอืน่ ๆ โปรแกรมสามารถลงเพิ่มได้จาก การใส่ในExtra time ที่ Today screen หนึ่งในจานวนนัน้ คือไมโครซอฟท์ มันนี่ สาหรับพ็อกเก็ตพีซี รูปภาพแบล็กกราวด์สามารถได้ให้ตรงตามรุน่ ของพ็อกเก็ตพีซี หรือธีมสามารถ สร้างหรือ โอนถ่ายไปยัง พ็อกเก็ตพีซไี ด้ Taskbar แสดงเวลา ระดับ เสียง และสถานะการเชือ่ มต่อ เมื่อโปรแกรมหรือกล่องข้อความ ในพื้นทีว่ า่ งถูกเปิ ด จากนัน้ จะมี สัญญาณขึ้นมาว่า ให้ตกลง หรือปิ ด ไอคอน จุดเด่นหลักของTaskbarคือปุ่ มStart ซึง่ ถูกออกแบบให้คล้ายกับจุดเด่นปุ่ มStart บนเครือ่ งพีซที วั่ ไป

ไอโอเอส (IOS) ใช้เฉพาะใน ไอโฟนไอแพด และไอพอด

เปิดตัวพร้อมกับiPhoneรุ่นแรก โดยใช้ชื่อว่า iPhone OS

2.X

11 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

รองรับสาหรับการใช้งานในiPhone 3Gและ iPod Touchซึ่งเปิดตัวเป็นครั้งแรก ทั้งยัง รองรับ App store เป็ นครัง้ แรก

3.X

รองรับสาหรับการใช้งานในiPhone 3GS 17 มิถนุ ายน พ.ศ. 2552 สามารถคัดลอกและวางข้อความ และส่ง MMS ได้

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

29 มิถุนายน พ.ศ. 2550

1.X


ไอโอเอส (IOS) ใช้เฉพาะใน ไอโฟนไอแพด และไอพอด

5

6 มิถนุ ายน พ.ศ. 2554

รองรับสาหรับการใช้งานในiPhone 4Sรุ่นนี้มีการ ปรับเปลี่ยนรูปแบบหน้าตาของฟังก์ชันพื้นฐาน และ รองรับระบบต่างๆมากมาย อาทิไอคลาวด์และสิริเป็นต้น

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

4

รองรับสาหรับการใช้งานในiPhone 4เป็นรุ่นแรกที่ใช้ ชื่อว่า iOSอย่ างเป็ นทางการ โดยใช้ ช่ อื ว่ าiOS 4โดย เป็ นเวอร์ ชันแรกที่ iPhone รุ่ นแรกไม่ รองรับ ในรุ่ น 21 มิถุนายน พ.ศ. 2553 นีร้ องรับฟั งก์ ชันมากมาย อาทิ Multitasking เป็ น ต้ น และในรุ่ น 4.2.1 เป็ นรุ่ นแรกที่เริ่มใช่ งานในไอ แพดซึ่งเปิดตัวเป็นครั้งแรก

ไอโอเอส (IOS) ใช้เฉพาะใน ไอโฟนไอแพด และไอพอด

7

เปลี่ยนส่วนต่อประสานกับผูใ้ ช้ใหม่ทั้งหมดให้เป็น แบบเรียบง่าย เพิ่มสถานีวิทยุไอจูนส์ ศูนย์การตั้ง 10 มิถนุ ายน พ.ศ. ค่าด่วน บริการส่งไฟล์ระหว่างอุปกรณ์ของ 2556 แอปเปิลผ่านแอร์ดรอป และเสริมความสามารถ ของซีรี(อังกฤษ: Siri) หรื อที่แผลงเป็ น สิริ

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

6

รองรับสาหรับการใช้งานในiPhone 5และไอ พอดทัชรุ้นที่ 5 เปลี่ยนไปใช้ ระบบแผนที่ของ 19 กันยายน พ.ศ. TomTom, สามารถ Facetimeผ่ านระบบ เซลลูล่าร์ , การถ่ ายภาพแบบพาโนรามา, 2555 คีย์บอร์ ดภาษาไทยแบบ 4 แถว, แอปพลิเค ชันนาฬิกาสาหรับ iPad


แบล็กเบอร์รโี อเอส (BB)  ใช้ในโทรศัพท์มือถือแบล็กเบอร์รี สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

แอนดรอยด์

(อังกฤษ: Android) เป็ นระบบปฏิบตั ิการทีม่ ี พื้นฐานอยูบ่ นลินุกซ์ ถูกออกแบบมาสาหรับอุปกรณ์ทใี่ ช้จอสัมผัส เช่น สมาร์ตโฟน และแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ ถูกคิดค้นและพัฒนาโดยบริษทั แอนดรอยด์ (Android, Inc.) ซึง่ ต่อมา กูเกิล ได้ทาการซื้อ ต่อบริษทั ในปี พ.ศ. 2548 แอนดรอยด์ถูกเปิ ดตัวเมื่อ ปี พ.ศ. 2550 พร้อมกับการก่อตัง้ โอเพนแฮนด์เซตอัลไลแอนซ์ ซึง่ เป็ นกลุ่มของบริษทั ผลิตฮาร์ดแวร์,ซอฟต์แวร์ และการสื่อสารคมนาคม ทีร่ ว่ มมือกันสร้าง มาตรฐานเปิ ด สาหรับอุปกรณ์พกพา โดยสมาร์ตโฟนทีใ่ ช้ ระบบปฏิบตั ิการแอนดรอยด์เครื่องแรกของโลกคือ เอชทีซี ดรีม วาง จาหน่ายเมื่อปี พ.ศ. 2551

 แอนดรอยด์

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


แอนดรอยด์

และวางจาหน่ายได้ รวมไปถึงนักพัฒนาและผูใ้ ห้บริการเครือข่ายด้วย อีกทัง้ แอนดรอยด์ยงั เป็ นระบบปฏิบตั ิการทีร่ วมนักพัฒนาทีเ่ ขียน โปรแกรมประยุกต์ มากมาย ภายใต้ภาษาจาวา[7] ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2555 มีโปรแกรมมากกว่า 700,000 โปรแกรมสาหรับแอนดรอยด์ และยอดดาวน์โหลดจากกูเกิลเพลย์ มากถึง 2.5 หมื่นล้านครัง้ จากการ สารวจในช่วงเดือน เมษายน ถึง พฤษภาคม ในปี พ.ศ. 2556 พบว่า แอนดรอยด์เป็ นระบบปฏิบตั ิการทีน่ กั พัฒนาเลือกทีจ่ ะพัฒนาโปรแกรม มากทีส่ ุด ถึง 71%[10]

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

 แอนดรอยด์เป็ นระบบปฏิบต ั ิการโอเพนซอร์ซ และกูเกิลได้เผยแพร่ [6] ภายใต้ลิขสิทธิ์อาปาเช ซึง่ โอเพนซอร์ซจะอนุญาตให้ผผู ้ ลิตปรับแต่ง

รุน่ พัฒนาของแอนดรอยด์จะใช้รหัสชือ่ เป็ นชือ่ ขนมหวาน โดยมีตวั อักษรขึ้นต้น เรียงลาดับกัน

รุ่น

ชื่อเล่น

ระดับเอพีไอ

เปิดตัว

1.0

-

1

23 กันยายน 2551

1.1

-

2

9 กุมภาพันธ์ 2552

1.5

Cupcake (คัพเค้ก) 3

2.6.27

30 เมษายน 2552[58]

1.6

Donut (โดนัท)

2.6.29

15 สิงหาคม 2552 (SDK)

4

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ลินุกซ์เคอร์ เนล


รุน่ พัฒนาของแอนดรอยด์จะใช้รหัสชือ่ เป็ นชือ่ ขนมหวาน โดยมีตวั อักษรขึ้นต้น เรียงลาดับกัน

รุ่น

ชื่อเล่น

ลินุกซ์เคอร์ เนล

เปิดตัว

2.0

Eclair (เอแคลร์)

5

2.6.29

26 ตุลาคม 2552[59]

2.0.1

Eclair (เอแคลร์)

6

2.6.29

3 ธันวาคม 2552

2.1

Eclair (เอแคลร์)

7

2.6.29

2.2

Froyo (โฟรซเซนโย 8 เกิร์ต)

2.6.32[61]

12 มกราคม 2553 (SDK) [60] 20 พฤษภาคม 2553 (SDK)

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ระดับเอพีไอ

รุน่ พัฒนาของแอนดรอยด์จะใช้รหัสชือ่ เป็ นชือ่ ขนมหวาน โดยมีตวั อักษรขึ้นต้น เรียงลาดับกัน

รุ่น

ชื่อเล่น

ลินุกซ์เคอร์ เนล

9

2.6.35[62]

10

2.6.35

11

2.6.36[63]

12

2.6.36

เปิดตัว

6 ธันวาคม 2553 (SDK) 9 กุมภาพันธ์ 2554 (SDK) 22 กุมภาพันธ์ 2554 (SDK) 10 พฤษภาคม 2554 (SDK)

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

Gingerbread (ขนมปังขิง) Gingerbread 2.3.3 (ขนมปังขิง) Honeycomb 3.0 (รวงผึ้ง) Honeycomb 3.1 (รวงผึ้ง) 2.3

ระดับเอพีไอ


รุน่ พัฒนาของแอนดรอยด์จะใช้รหัสชือ่ เป็ นชือ่ ขนมหวาน โดยมีตวั อักษรขึ้นต้น เรียงลาดับกัน

รุ่น

ชื่อเล่น

ระดับเอ ลินุกซ์เคอร์ พีไอ เนล

เปิดตัว

3.0.1[64]

4.1 Jelly Bean (เจลลีบีน) 16

3.0.31

28 มิถนุ ายน 2555

Ice Cream Sandwich 14 (แซนด์วิชไอศกรีม) Ice Cream Sandwich 4.0.3 15 (แซนด์วิชไอศกรีม)

2.6.36

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

4.0

15 กรกฎาคม 2554 (SDK) 19 ตุลาคม 2554 (SDK) 16 ธันวาคม 2554 (SDK)

3.2 Honeycomb (รวงผึ้ง) 13

รุน่ พัฒนาของแอนดรอยด์จะใช้รหัสชือ่ เป็ นชือ่ ขนมหวาน โดยมีตวั อักษรขึ้นต้น เรียงลาดับกัน

รุ่น

ชื่อเล่น

ระดับเอ ลินุกซ์เคอร์ พีไอ เนล

เปิดตัว

3.4.0

29 ตุลาคม 2555

4.3 Jelly Bean (เจลลีบีน) 18

3.4.0

24 กรกฎาคม 2556

4.4 KitKat (คิทแคท)

19

4.4.1 KitKat (คิทแคท)

20

ยังไม่ 31 ตุลาคม 2556 ปรากฏ ยังไม่ 05 ธันวาคม 2556 ปรากฏ

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

4.2 Jelly Bean (เจลลีบีน) 17


รุน่ พัฒนาของแอนดรอยด์จะใช้รหัสชือ่ เป็ นชือ่ ขนมหวาน โดยมีตวั อักษรขึ้นต้น เรียงลาดับกัน

รุ่น

ชื่อเล่น

21

หน่วยต่อไป หน่วยที่ 2 อุปกรณ์ในระบบโทรศัพท์มือถือ

เปิดตัว

ยังไม่ 09 ธันวาคม 2556 ปรากฏ

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

4.4.2 KitKat (คิทแคท)

ระดับเอ ลินุกซ์เคอร์ พีไอ เนล


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.