ช่างซ่อมแท็บเล็ต
1
วิทยาลัยสารพัดช่างกลุ่มภาคใต้
ใบงานที่ 1. วิชา ช่างซ่อมเท็บเล็ต ครั้งที่ 1 เรื่อง การต่อลายวงจร เวลา 3 ชั่วโมง วัตถุประสงค์ 1. สามารถใช้มัลติมิเตอร์ทดสอบหาลายวงจรที่ขาดได้ 2. สามารถต่อลายวงจรในแผงวงจรของเท็บเล็ตได้ 3. สามารถซ่อมแท็บเล็ตอาการเสียที่มีสาเหตุมาจากลายวงจรขาด เช่นเครื่องตกน้้า ล้าโพงไม่ดังเนื่องจากสัญญาณไม่ถึงล้าโพง ไมโครโฟนใช้ไม่ได้ ชาร์จไม่เข้า และอีก หลายอาการได้ เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ 1. แผงวงจรแท็บเล็ตหรือโทรศัพท์มือถือ จ้านวน 1 แผง 2. มัลติมิเตอร์ จ้านวน 1 ตัว 3. หัวแร้ง จ้านวน 1 ตัว 4. ตัวจับแผงวงจร จ้านวน 1 ตัว 5. แหนบปลายตรง จ้านวน 1 ตัว 6. แหนบปลายโค้ง จ้านวน 1 ตัว 7. ลวดอาบน้้ายา จ้านวน 1 ขด 8. ตะกั่วเส้น จ้านวน 1 ขด 9. ฟลั๊กครีม จ้านวน 1 หลอด 10. ลวดซับตะกั่ว จ้านวน 1 ขด 11. น้้ายาโซแว้นหรือทินเนอร์ จ้านวน 1 กระปุก 12. แปรงท้าความสะอาดหรือส้าลี จ้านวน 1 อัน
วิทยาลัยสารพัดช่างยะลา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ช่างซ่อมแท็บเล็ต
2
วิทยาลัยสารพัดช่างกลุ่มภาคใต้
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ท้าความสะอาดแผงวงจร
2. หาลายวงจรที่ขาดโดยการน้ามัลติมิเตอร์ ตั้งไปที่ย่านวัดโอห์ม X1 จากนั้นวัดที่ปลาย ของลายวงจรทั้งสองด้าน ถ้้าเข็มมัลติมิเตอร์ไม่ชี้ไปที่ 0 โอห์ม แสดงว่าลายวงจรขาด
วิทยาลัยสารพัดช่างยะลา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ช่างซ่อมแท็บเล็ต
3
วิทยาลัยสารพัดช่างกลุ่มภาคใต้
3. ท้าความสะอาดจุดที่ต้องการต่อลายวงจรทั้งสองด้านโดยใช้แปรงหรือส้าลีจุ่มน้้ายา โซแว้นแล้วเช็ดเบาๆแล้วรอจนแห้ง
4. ตัดลวดอาบน้้ายาขนาดเท่ากับจุดต่อ ไม่สั้นไม่ยางจนเกินไป
5. เคลือบปลายสายทั้งสองด้าน โดยใช้ฟลั๊กครีมทาที่ปลายลวดอาบน้้ายาทั้งสองด้าน จากนั้นน้าไปแตะที่ปลายหัวแร้งพร้อมด้วยตะกั่ว ระยะที่เคลือบปลายลวดอาบน้้ายา
วิทยาลัยสารพัดช่างยะลา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ช่างซ่อมแท็บเล็ต
4
วิทยาลัยสารพัดช่างกลุ่มภาคใต้
ประมาณ 1-2 มม.
6. บัดกรีปลายสายลวดอาบน้้ายาเข้ากับจุดที่ต้องการ โดยน้าหัวแร้งไปแตะตรงจุดที่ ต้องการต่อ รอให้ตะกั่วละลาย จากนั้นน้าปลายลวดอาบน้้ายามาต่อเข้ากับรอยต่อ จนครบทั้งสองด้าน
วิทยาลัยสารพัดช่างยะลา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ช่างซ่อมแท็บเล็ต
5
วิทยาลัยสารพัดช่างกลุ่มภาคใต้
7. ท้าความสะอาดรอยต่อทั้งสองด้าน
8. ใช้มัลติมิเตอร์ทดสอบลายวงจรว่าต่อถึงกันหรือไม่ ถ้าเข็มมิเตอร์ชี้ไปที่ 0 โอห์ม แสดงว่าต่อถึงกันแล้ว
วิทยาลัยสารพัดช่างยะลา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ช่างซ่อมแท็บเล็ต
6
วิทยาลัยสารพัดช่างกลุ่มภาคใต้
9. เปิดเครื่องและทดสอบการท้างาน
10. ให้ทดลองปฏิบัติการต่อลายวงจร จ้านวน 3 เส้น ดังนี้ 1. ต่อลายวงจรระหว่างตัว ต้านทานหรืออุปกรณ์ที่มีสองขาเหมือนกัน 2. ต่อลายวงจรระหว่างก้นชาร์จกับลายที่ เป็นลายทองแดง 3.ต่อลายวงจรระหว่าง IC ที่มีหลายขากับขาใต้ IC
ข้อควรระวังจากการทดลอง 1 ไม่ควรหยอกล้อกันขณะปฏิบัติงานเนื่องจากต้องใช้สมาธิและความสุขุมรอบคอบใน การปฏิบัติงาน 2 เมื่อใช้งานหัวแร้งเสร็จแล้วให้ปิดสวิทซ์หัวแร้งทันที 3 ตั้งอุณหภูมิของหัวแร้งที่พอเหมาะ ประมาณ 350-380
วิทยาลัยสารพัดช่างยะลา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ช่างซ่อมแท็บเล็ต
7
วิทยาลัยสารพัดช่างกลุ่มภาคใต้
ใบงานที่ 2. วิชา ช่างซ่อมแท็บเล็ต ครั้งที่ 2 เรื่อง เปลี่ยนอุปกรณ์ ปุ่ม เปิด ปิด เพิ่ม ลด เสียงและ ก้นชาร์จ เวลา 3 ชั่วโมง วัตถุประสงค์ 1. สามารถวัดและทดสอบอุปกรณ์ ปุ่ม เปิด ปิด เพิ่ม ลด เสียงและ ก้นชาร์จได้ 2. สามารถเปลี่ยนอุปกรณ์ ปุ่ม เปิด ปิด เพิ่ม ลด เสียงและ ก้นชาร์จ ได้ 3. สรุปแก้ไขอาการเสียที่เกิดจากอุปกรณ์ ปุ่ม เปิด ปิด เพิ่ม ลด เสียงและ ก้นชาร์จ เช่น อาการ ปุ่มค้าง สัมผัสหน้าจอไม่ได้ เปิดเครื่องไม่ติด เข้าโหมดรี เซตไม่ได้ เพิ่มและลด เสียงไม่ได้ ชาร์จไม่เข้า และอื่นๆได้ เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ 1. แผงวงจรแท็บเล็ตหรือโทรศัพท์มือถือ 2. มัลติมิเตอร์ 3. เครื่องเป่าลมร้อน 4. หัวแร้ง 5. ตัวจับแผงวงจร 6. แหนบปลายตรง 7. แหนบปลายโค้ง 8. ลวดซับตะกั่ว 9. ตะกั่วเส้น 10. ฟลั๊กครีม 11. ลวดซับตะกั่ว 12. น้้ายาโซแว้นหรือทินเนอร์ 13. แปรงท้าความสะอาดหรือส้าลี
จ้านวน 1 แผง จ้านวน 1 ตัว จ้านวน 1 ตัว จ้านวน 1 ตัว จ้านวน 1 ตัว จ้านวน 1 ตัว จ้านวน 1 ตัว จ้านวน 1 ขด จ้านวน 1 ขด จ้านวน 1 หลอด จ้านวน 1 ขด จ้านวน 1 กระปุก จ้านวน 1 อัน
วิทยาลัยสารพัดช่างยะลา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ช่างซ่อมแท็บเล็ต
8
วิทยาลัยสารพัดช่างกลุ่มภาคใต้
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ท้าความสะอาดแผงวงจร
2. ทดสอบอุปกรณ์ว่าเสียหรือไม่ โดยการน้ามัลติมิเตอร์ ตั้งย่านวัดโอห์ม X1 ถ้าเป็น อุปกรณ์ประเภทสวิทช์ น้าสายมัลติมิเตอร์ไปแตะที่ขาของสวิทช์ ฝั่งอินพุตหนึ่งเส้น และฝั่งเอาต์พุตเส้น ถ้าปกติเข็มมิเตอร์จะไม่ชี้ขึ้น จากนั้นให้ท้าการกดสวิทช์ให้สังเกต เข็มมิเตอร์จะชี้ขึ้นที่ 0 โอห์ม แสดงว่าสวิทช์ดี ถ้าหากเข็มมิเตอร์ไม่ชี้ขึ้นแสดงว่า สวิทช์เสียให้ท้าการเปลี่ยนสวิทช์ ถ้าหากเป็นก้นชาร์จหรือช่องเสียบสมอทอร์คให้ สังเกตขา pin ข้างในว่ามีการหักงอเป็นสนิมหรือเป็นคราบน้้าหรือไม่ถ้าเป็นแสดงว่า เสียให้เปลี่ยนใส่ตัวใหม่ ส่วนก้นชาร์จก็เช่นกัน
3. ถอดตัวเก่าออก โดยน้าฟลั๊กครีมทาตรงขั้วขาจากนั้นใช้เครื่องเป่าลมร้อนตั้งความ
วิทยาลัยสารพัดช่างยะลา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ช่างซ่อมแท็บเล็ต
9
วิทยาลัยสารพัดช่างกลุ่มภาคใต้
ร้อนไปที่ อุณหภูมิประมาณ 300-380 เป่าลงตรงขา(ถ้าหากใกล้กับตัวก้นชาร์จมี อุปกรณ์อื่นอยู่ด้วยให้น้าฟลอยอลูมิเนียมปิดไว้เพื่อป้องก้นความเสียหาย) ในลักษณะ เป่าวนรอบตัวสวิทช์จนตะกั่วละลาย จากนั้นใช้แหนบปลายโค้งหยิบสก้นชาร์จออก (ระวังอย่าให้ลายวงจรขาด แผงวงจรบวมเป็นอันขาด)
4. ซับตะกั่วเก่าออก โดยน้าลวดซับตะกั่วทาบบนรอยต่อบนแพงวงจร จากนั้นน้าปลาย หัวแร้งทาบบนลวดซับตะกั่วรอจนตะกั่วละลายแล้วขยับลวดซับตะกั่วให้ทั่วจนตะกั่ว ไปติดที่ลวดซับตะกั่วแล้วยกออก(ระวังลายวงจรจะหลุดออกมากับลวดซับตะกั่ว )
5. ท้าความสะอาดแผงวงจร โดยน้าส้าลีจุ่มน้้ายาโซแว้ นแล้วเช็ดตรงรอยต่อบน แผงวงจร
วิทยาลัยสารพัดช่างยะลา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ช่างซ่อมแท็บเล็ต
10
วิทยาลัยสารพัดช่างกลุ่มภาคใต้
6. เตรียมอุปกรณ์ โดยตัวใหม่ต้องเปลี่ยนมาวัดโดยใช้มัลติมิเตอร์ จากนั้นให้น้าตะกั่วมา เคลือบตรงขาบางๆโดยการทาฟลั๊กตรงขาแล้วใช้หัวแร้งพร้อมตะกั่วไปแตะที่ขา 7. บัดกรีเข้ากับแผงวงจร โดย วางก้นชาร์จให้ตรงใช้เครื่องเป่าลมร้อนเป่าให้ตะกั่ว ละลาย ถ้าหากเป็นสวิทช์ให้ใช้หัวแร้งในการบัดกรี
8. ซับตะกั่วตรงรอยบัดกรี โดยใช้ลวดซับตะกั่วทาบตรงบนรอยบัดกรีแล้วใช้หัวแร้งแตะ ลงไปเพื่อให้รอยบัดกรี เรียบและสวยงาม
วิทยาลัยสารพัดช่างยะลา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ช่างซ่อมแท็บเล็ต
11
วิทยาลัยสารพัดช่างกลุ่มภาคใต้
9. ท้าความสะอาดรอยบัดกรี โดย น้าส้าลีจุ่มทินแล้วเช็ดคราบ ฟลั๊กออกจนสะอาด
10. ทดสอบสวิทช์ โดยใช้มัลติมิเตอร์ในการทดสอบ จากนั้นให้ทดลองเปิดเครื่อง
ข้อควรระวังจากการทดลอง 1 ทดสอบสวิทช์ตัวใหม่ที่ต้องการเปลี่ยนให้แน่ใจว่าดี 2 ต้องเช็ดคราบฟลั๊กให้สะอาดเนื่องจากคราบฟลั๊กจะท้าให้แผงวงจรเสียหายได้ 3 การใช้เครื่องเป่าลมร้อนต้องระวังแผงวงจรอาจเกิดอาการบวมและท้าให้เสีย หายได้ โดยต้องดูลักษณะของแผงวงจรว่าเก่าหรือใหม่ ตะกั่ว แข็งด้านหรือไม่ แผงวงจรตก น้้ามาหรือไม่ แนะน้าให้วอมอุ่นแผงวงจรเพื่อให้แผงวงจรเกิดการปรับตัวต่ออุณหถูมิ ของเครื่องเป่าลมร้อน
วิทยาลัยสารพัดช่างยะลา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ช่างซ่อมแท็บเล็ต
12
วิทยาลัยสารพัดช่างกลุ่มภาคใต้
ใบงานที่ 3. วิชา ช่างซ่อมแท็บเล็ต ครั้งที่ 3 เรื่อง การเปลี่ยนอุปกรณ์ R,L,C,LED เวลา 3 คาบ วัตถุประสงค์ 1. สามารถใช้มัลติมิเตอร์ทดสอบอุปกรณ์ R,L,C,LED ได้ 2. สามารถเปลี่ยนอุปกรณ์ R,L,C,LED ได้ 3. สามารถซ่อมแท็บเล็ตอาการเสียที่มีสาเหตุมาจากอุปกรณ์ R,L,C,LED เสียได้เช่น เครื่องตกน้้า เครื่องลัดวงจร เปิดไม่ติด ชาร์จไม่เข้า และอีกหลายอาการได้ เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ 1. แผงวงจรแท็บเล็ตหรือโทรศัพท์มือถือ จ้านวน 1 แผง 2. มัลติมิเตอร์ จ้านวน 1 ตัว 3. หัวแร้ง จ้านวน 1 ตัว 4. ตัวจับแผงวงจร จ้านวน 1 ตัว 5. แหนบปลายตรง จ้านวน 1 ตัว 6. แหนบปลายโค้ง จ้านวน 1 ตัว 7. ลวดอาบน้้ายา จ้านวน 1 ขด 8. ตะกั่วเส้น จ้านวน 1 ขด 9. ฟลั๊กครีม จ้านวน 1 หลอด 10. ลวดซับตะกั่ว จ้านวน 1 ขด 11. น้้ายาโซแว้นหรือทินเนอร์ จ้านวน 1 กระปุก 12. แปรงท้าความสะอาดหรือส้าลี จ้านวน 1 อัน
วิทยาลัยสารพัดช่างยะลา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ช่างซ่อมแท็บเล็ต
13
วิทยาลัยสารพัดช่างกลุ่มภาคใต้
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ท้าความสะอาดแผงวงจร
2. ตรวจหาอุปกรณ์ที่เสียตามอาการเสีย โดยมีวิธีการวัดและทดสอบดังนี้ (1). ตัว ต้านทาน R ให้น้ามัลติมิเตอร์ วัดหาค่าความต้านทาน ตัวที่ดีเมื่อวัดแล้วค่าที่อ่านได้ จากมัลติมิเตอร์ต้องได้เท่ากับค่าความต้านทาน ส่วนตัวที่เสียส่วนมากจะเสียใน ลักษณะตัวต้านทาน ขาด คือวัดแล้วเข็มมิเตอร์ไม่กระดิกเลย (2)ตัวเหนี่ยวน้า L ส่วนมาจะเสียในลักษณะ ขาด (3)ตัวเก็บประจุส่วนมากจะเสียในลักษณะช็อตคือวัด แล้วเข็มมิเตอร์ชี้สุด จะพบมากในอาการเครื่องตกน้้าแล้วช็อต (4)ตัว LED วัดแล้ว ต้องมีแสงสว่างเกิดขึ้นถ้าไม่มีแสงสวางแสดงว่าเสีย
วิทยาลัยสารพัดช่างยะลา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ช่างซ่อมแท็บเล็ต
14
วิทยาลัยสารพัดช่างกลุ่มภาคใต้
3. ถอดอุปกรณ์ R ตัวเสียออก โดยน้าฟลั๊กครีมทาตรงตัว R จากนั้นใช้เครื่องเป่าลมร้อน ตั้งความร้อนไปที่ อุณหภูมิประมาณ 300-380 เป่าลงตรงตัว R (ถ้าหากใกล้กับตัว R มีอุปกรณ์อื่นอยู่ด้วยให้น้าฟลอยอลูมิเนียมปิดไว้เพื่อป้องก้นความเสียหาย) ใน ลักษณะเป่าวนรอบตัว R จนตะกั่วละลาย จากนั้นใช้แหนบปลายตรงหยิบต้ว R ออก (ระวังอย่าให้ลายวงจรขาด แผงวงจรบวมเป็นอันขาด)
วิทยาลัยสารพัดช่างยะลา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ช่างซ่อมแท็บเล็ต
15
วิทยาลัยสารพัดช่างกลุ่มภาคใต้
4. ท้าความสะอาดแผงวงจร โดยน้าส้าลีจุ่มน้้ายาโซแว้นแล้วเช็ดตรงรอยต่อบน แผงวงจร
วิทยาลัยสารพัดช่างยะลา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ช่างซ่อมแท็บเล็ต
16
วิทยาลัยสารพัดช่างกลุ่มภาคใต้
7. เตรียมตัว R โดยน้าตัว R ใหม่มาวัดโดยใช้มัลติมิเตอร์ จากนั้นน้า R มาทาบบน แผงวงจรให้ตรงขั้วจากนั้นใช้เครื่องเป่าลมร้อน เป่าตรงตัว R โดยลักษณะวนรอบ
วิทยาลัยสารพัดช่างยะลา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ช่างซ่อมแท็บเล็ต
17
วิทยาลัยสารพัดช่างกลุ่มภาคใต้
8. ท้าความสะอาด โดย น้าส้าลีจุ่มทินแล้วเช็ดคราบ ฟลั๊กออกจนสะอาด
วิทยาลัยสารพัดช่างยะลา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ช่างซ่อมแท็บเล็ต
18
วิทยาลัยสารพัดช่างกลุ่มภาคใต้
9. ทดสอบอปกรณ์ที่เปลี่ยน โดยใช้มัลติมิเตอร์ในการทดสอบ จากนั้นให้ทดลองเปิด เครื่อง ข้อควรระวังจากการทดลอง 1 ต้องเช็ดคราบฟลั๊กให้สะอาดเนื่องจากคราบฟลั๊กจะท้า ให้แผงวงจรเสียหายได้ 2 การใช้เครื่องเป่าลมร้อนต้องระวังแผงวงจรอาจเกิดอาการบวมและท้าให้เสียหายได้ โดยต้องดูลักษณะของแผงวงจรว่าเก่าหรือใหม่ ตะกั่วแข็งด้านหรือไม่ แผงวงจรตก น้้ามาหรือไม่ แนะน้าให้วอมอุ่นแผงวงจรเพื่อให้แผงวงจรเกิดการปรับตัวต่ออุณหถูมิ ของเครื่องเป่าลมร้อน
วิทยาลัยสารพัดช่างยะลา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ช่างซ่อมแท็บเล็ต
19
วิทยาลัยสารพัดช่างกลุ่มภาคใต้
ใบมอบงานที่ 4. วิชา ช่างซ่อมแท็บเล็ต ครั้งที่ 4 เรื่อง การเปลี่ยนอุปกรณ์ไอซี เวลา 3 คาบ วัตถุประสงค์ 1. สามารถเปลี่ยนอุปกรณ์ประเภทไอซีได้ได้ 2. สามารถซ่อมแท็บเล็ตอาการเสียที่มีสาเหตุมาจากไอซีเสียหายได้เช่นเครื่องตกน้้า เป อดไม่ติด อัปรอมไม่ผ่าน และอีกหลายอาการได้ เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ 1. แผงวงจรแท็บเล็ตหรือโทรศัพท์มือถือ จ้านวน 1 แผง 2. มัลติมิเตอร์ จ้านวน 1 ตัว 3. หัวแร้ง จ้านวน 1 ตัว 4. ตัวจับแผงวงจร จ้านวน 1 ตัว 5. แหนบปลายตรง จ้านวน 1 ตัว 6. แหนบปลายโค้ง จ้านวน 1 ตัว 7. ลวดอาบน้้ายา จ้านวน 1 ขด 8. ตะกั่วเส้น จ้านวน 1 ขด 9. ฟลั๊กครีม จ้านวน 1 หลอด 10. ลวดซับตะกั่ว จ้านวน 1 ขด 11. น้้ายาโซแว้นหรือทินเนอร์ จ้านวน 1 กระปุก 12. แปรงท้าความสะอาดหรือส้าลี จ้านวน 1 อัน
วิทยาลัยสารพัดช่างยะลา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ช่างซ่อมแท็บเล็ต
20
วิทยาลัยสารพัดช่างกลุ่มภาคใต้
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ท้าความสะอาดแผงวงจร 2. ทดสอบหาไอซีที่เสีย โดยการน้าสาย power Supply ตั้งค่าแรงดันที่ 0 Vต่อเข้ากับ แทบเล็ตจากนั้นเพิ่มค่าแรงดันทีละน้อยจนกว่าเครื่องจะกินกระแสทดสอบเปิดเครื่อง แล้วไม่ติด จากนั้นให้คล้าตัวไอซีหาตัวที่ร้อน แสดงว่าตัวที่ร้อนเสีย ถ้าหากเครื่องเปิด ติดแสดงไอซีภาค baseband ไม่เสีย
วิทยาลัยสารพัดช่างยะลา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ช่างซ่อมแท็บเล็ต
21
วิทยาลัยสารพัดช่างกลุ่มภาคใต้
3. ยกไอซีตัวที่เสียออก โดยน้าฟล๊กทาลงบนตัว ไอซีและข้างๆ จากนั้นใช้เครื่องเป่าลม ร้อน ตั้งอุณหภูมิ ประมาณ 300-380 ตั้งลมระดับ3 จากนั้นเป่าวนบนตัวไอซี โดยตัว แรกที่ยกควรนับ 1-10 วินาทีแล้วน้าแหนบมากระดิกที่ ไอซี หนึ่งครั้ง ทุกๆ 10 วินาที ให้กระดิกหนึ่งครั้งจน ไอซีกระดิกแสดงว่าตะกั่วที่อยู่ไต้ ไอซี ละลาย จากนั้นก็ ใช้แหนบหยิบไอซีขึ้น จากนั้นปล่อยให้แผงวงจรคลายความร้อน
วิทยาลัยสารพัดช่างยะลา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ช่างซ่อมแท็บเล็ต
22
วิทยาลัยสารพัดช่างกลุ่มภาคใต้
4. ซับตะกั่วเก่าออก โดยน้าลวดซับตะกั่วและหัวแร้งซับตะกั่วออกจนเรียบ แต่ระวังลาย วงจรหลุดจะท้าให้แผงวงจรเสียหาย
วิทยาลัยสารพัดช่างยะลา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ช่างซ่อมแท็บเล็ต
23
วิทยาลัยสารพัดช่างกลุ่มภาคใต้
5. ล้างแผงวงจร โดยใช้ส้าลีจุ่มน้้ายาโซแว้นหรือทินเนอร์ เช็ดคราบฟล๊กให้แผงวงจร สะอาด
6. วางไอซีตัวใหม่ โดย น้าฟลั๊กทาบนแผงวงจรบางๆจากนั้นวางไอซีบนแผงวงจรให้ ตรงกับจุดมาร์กทีมุมของไอซี ใช้เครื่องเป่าลมร้อนเป่าลงบนตัวไอซีลักษณะวน ด้านข้าง จ้านวนครั้งและระยะเวลาเท่าตอนที่ยกไอซีในตอกแรก จากนั้นใช้แหนบ กระติกตัวไอซีเล็กน้อยเพื่อให้ตะกั่วใต้ขาไอซีติดกับจุดต่อขาบนแผงวงจรและแต่ละ ขาจะได้ไม่ชนกัน จากนั้นเอาเครื่องเป่าลมร้อนออก พักแผงวงจรจนหายร้อน
วิทยาลัยสารพัดช่างยะลา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ช่างซ่อมแท็บเล็ต
24
วิทยาลัยสารพัดช่างกลุ่มภาคใต้
7. ท้าความสะอาดแผงวงจรโดย ใช้แปลงสีฟันจุ่มน้ายาโซเว้นหรือทินเนอร์ลางท้าความ สะอาด แล้วใช้ ไดรเป่าผมเป่าแผงวงจรให้แห้ง
วิทยาลัยสารพัดช่างยะลา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ช่างซ่อมแท็บเล็ต
25
วิทยาลัยสารพัดช่างกลุ่มภาคใต้
8. เปิดเครื่องและทดสอบการท้างาน 9. ให้ทดลองปฏิบัติการเปลี่ยนไอซี จ้านวน 3 ครั้ง ดังนี้ 1. ไอซีที่มีขาข้างตัวไอซี 2. ไอซีบอลขาหรือไอซีที่มีขาอยู่ไต้ตัวไอซี ขนาดเล็ก เช่น ไอซีคุมจอ คุมปุ่ม ไอซีชาร์จ 3.บอลขาหรือไอซีที่มีขาอยู่ไต้ตัวไอซี ขนาดใหญ่ เช่น CPU ROM IC POWER
ข้อควรระวังจากการทดลอง 3 ไม่ควรหยอกล้อกันขณะปฏิบัติงานเนื่องจากต้องใช้สมาธิและความสุขุมรอบคอบใน การปฏิบัติงาน 4 ควรน้าฟลอยอลูมิเนียมปิดอุ ปกรณ์ที่อยู่ข้างไอซี เพื่องป้องกันการเสียหายจากการ เป่าลมร้อน 5 ตั้งอุณหภูมิและระดับลม ของเครื่องเป่าลมร้อนที่พอเหมาะ เนี่องจากเครื่องเป่าลม ร้อนแต่ละตัวมีความร้อนและลมที่ออกมาไม่เท่ากัน
วิทยาลัยสารพัดช่างยะลา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ช่างซ่อมแท็บเล็ต
26
วิทยาลัยสารพัดช่างกลุ่มภาคใต้
ใบงานที่ 5. วิชา ช่างซ่อมแทบเล็ต ครั้งที่ 5 เรื่อง การบอลขาไอซี เวลา 3 คาบ วัตถุประสงค์ 1. สามารถบอลขาไอซีได้ 2. สามารถซ่อมแท็บเล็ตอาการเสียที่มีสาเหตุมาจากขาไอซีหลุดไม่แน่นหรือแคร็กได้รได้ เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ 1. แผงวงจรแท็บเล็ตหรือโทรศัพท์มือถือ จ้านวน 1 แผง 2. แผ่นเพลดบอลขาไอซี จ้านวน 1 แผง 3. มัลติมิเตอร์ จ้านวน 1 ตัว 4. หัวแร้ง จ้านวน 1 ตัว 5. แหนบปลายตรง จ้านวน 1 ตัว 6. แหนบปลายโค้ง จ้านวน 1 ตัว 7. ฟลั๊กครีม จ้านวน 1 หลอด 8. ลวดซับตะกั่ว จ้านวน 1 ขด 9. น้้ายาโซแว้นหรือทินเนอร์ จ้านวน 1 กระปุก 10. แปรงท้าความสะอาดหรือส้าลี จ้านวน 1 อัน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ท้าความสะอาดไอซี โดยใช้แปรงจุ่มทินเนอร์แล้วถูด้านที่บอลขา
2. ซับตะกั่วที่ติดอยู่ที่ไอซี โดยใช้ลวดซับตะกั่วและหัวแร้ง โดยให้เหลือไว้ซัก 1 ขาแล้ว ท้าความสะอาด
วิทยาลัยสารพัดช่างยะลา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ช่างซ่อมแท็บเล็ต
27
วิทยาลัยสารพัดช่างกลุ่มภาคใต้
3. บอลขาไอซี โดยน้าไอซีไปทาบบนแผ่นเพลด ทีมีขนาดเท่ากัน แล้ วใช้เทปใสติดไว้ เพื่อไม่ขยับเขยื้อน จากนั้นใช้ที่ปาดตะกั่ว ปาดตะกั่วแหลวไปแต้มที่แผ่นเพลดให้ทั่ว ทุกรูของแผ่นเพลตแล้วกดให้แน่น น้าแผ่นเพลดไปว่างบนกระดาษนุ่มๆ แล้วใช้ เครื่องเป่าลมร้อนเป่าที่แผ่นเพลตให้ตะกั่วที่อยู่ในรูแผ่นเพลดเป็นขาเงาขึ้น รอให้ไอซี เย็นตัวลง
วิทยาลัยสารพัดช่างยะลา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ช่างซ่อมแท็บเล็ต
28
วิทยาลัยสารพัดช่างกลุ่มภาคใต้
วิทยาลัยสารพัดช่างยะลา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ช่างซ่อมแท็บเล็ต
29
วิทยาลัยสารพัดช่างกลุ่มภาคใต้
4. ค่อยๆเอาไอซีออกจากแผ่นเพลต แล้วท้าความสะอาด
วิทยาลัยสารพัดช่างยะลา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ช่างซ่อมแท็บเล็ต
30
วิทยาลัยสารพัดช่างกลุ่มภาคใต้
5. น้าไปวางบนแผงวงจร
6. ให้ทดลองปฏิบัติการบอลขาไอซี จ้านวน 3 ตัว ดังนี้ 1. ไอซีขนาดใหญ่ เช่น CPU 2. ไอซีขาเล็ก เช่นไอซีชาร์จ 3.ไอซีเม็ดกระจก เช่นไอซีคุมจอ คุมปุ่ม ข้อควรระวังจากการทดลอง 1 ไม่ควรหยอกล้อกันขณะปฏิบัติงานเนื่ องจากต้องใช้สมาธิและความสุขุมรอบคอบใน การปฏิบัติงาน 2 เมื่อใช้งานหัวแร้งเสร็จแล้วให้ปิดสวิทซ์หัวแร้งทันที 3 ตั้งอุณหภูมิของหัวแร้งที่พอเหมาะ ประมาณ 300-380 4
วิทยาลัยสารพัดช่างยะลา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ช่างซ่อมแท็บเล็ต
31
วิทยาลัยสารพัดช่างกลุ่มภาคใต้
ใบมอบงานที่ 6. วิชา ช่างซ่อมแทบเล็ต ครั้งที่ 6 เรื่อง การเปลี่ยนจอ และ ทัสกรีน เวลา 3 คาบ วัตถุประสงค์ 1. สามารถเปลี่ยนจอและทัสกรีนได้ 2. สามารถซ่อมแท็บเล็ตอาการเสียที่มีสาเหตุมาจากจอและทัสกรีนได้ เช่นจอแตก จอ ขาว จอเสื่อม ทัสกรีนใช้งานไม่ได้ และอีกหลายอาการได้ เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ 1. แผงวงจรแท็บเล็ตหรือโทรศัพท์มือถือ จ้านวน 1 แผง 2. มัลติมิเตอร์ จ้านวน 1 ตัว 3. หัวแร้ง จ้านวน 1 ตัว 4. ตัวจับแผงวงจร จ้านวน 1 ตัว 5. แหนบปลายตรง จ้านวน 1 ตัว 6. แหนบปลายโค้ง จ้านวน 1 ตัว 7. ตะกั่วเส้น จ้านวน 1 ขด 8. ฟลั๊กครีม จ้านวน 1 หลอด 9. ลวดซับตะกั่ว จ้านวน 1 ขด 10. น้้ายาโซแว้นหรือทินเนอร์ จ้านวน 1 กระปุก 11. แปรงท้าความสะอาดหรือส้าลี จ้านวน 1 อัน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ถอดจอเก่าออก โดยให้สังเกตว่าเป็นจอลักษณะใด เช่น จอที่เป็นช็อกเก็ต จอสาย แพรแบบเสียบ จอสายแพรแบบบัดกรีหรืจอไลต์ โดยถ้าเป็นจอแบบบัดกรีให้ใช้หัว แร้งในการถอดจอออก โดยทาฟล๊กลงไปที่รอยบัดกรีแล้วใช้หัวแร้ง ทาบบนรอยบัดกรี จนตะกั่วละลายแล้วคอยดึงจอออกที่ละนิดแล้วเลื่อนหัวแร้งไปเรื่อยๆจนดึงจอหมด ทั้งชิ้น
วิทยาลัยสารพัดช่างยะลา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ช่างซ่อมแท็บเล็ต
32
วิทยาลัยสารพัดช่างกลุ่มภาคใต้
วิทยาลัยสารพัดช่างยะลา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ช่างซ่อมแท็บเล็ต
33
วิทยาลัยสารพัดช่างกลุ่มภาคใต้
2. ถ้าเป็นแบบช็อกเก็ตให้ระวังขาและตัวล็กจะหลุด ถ้าเป็นแบบบัดกรีตะกันก็ให้ซับ ตะกั่วเก่าออก โดยใช้ลวดซับตะกั่วและหัวแร้งซับตะกั่วเก่าบนแผงวงจรออกจนหมด
วิทยาลัยสารพัดช่างยะลา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ช่างซ่อมแท็บเล็ต
34
วิทยาลัยสารพัดช่างกลุ่มภาคใต้
3. เตรียมหน้าจอใหม่ โดยน้าหน้าจอใหม่มาเคลือบตะกั่วที่ละขาโดยใช้หัวแร้ง ไลต์ไปที่ ละขา ถ้าเป็นแบบเสียบก็ดึงตัวล็อกออกแล้วใส่จอได้เลย 4. จอแบบบัดกรีให้บัดกรีจอใหม่ โดยน้าจอใหม่ไปวางบนแผงวงจรโดยสังเกต รูจุด มาร์คด้านหัวและท้ายให้ตรงกันจากนั้นให้แต้มตะกั่วที่ขาสุดท้ายก่อนเพื่ อป้องกัน ไม่ให้จอขยับจากนั้นทาบหัวแร้งในลักษณะเฉียงที่ขาแรกแล้วรอจนตะกั่วละลายแล้ว ลากหัวแร้งไปที่ขาที่อื่นๆจนครบทุกขา และให้ติดกาวเยื่อไม้ติดระหว่างจอและ ตัวเคส และระหว่างจอกับจอสัมผัส 5. ท้าความสะอาดรอยบัดกรี โดยใช้ส้าลีจุ่มน้้ายาโซแว้นหรือทินเนอร์ ใช้ไดรเป่าผมเป่า จนแห้ง 6. เปิดเครื่องและทดสอบการท้างาน 7. การเปลี่ยนทัสกรีนคล้ายกับการเปลี่ยนจอ แต่ต้องระวังเวลาน้าทัสกรีนเก่าออกอย่า ให้ไปโดนจอหรือฝุ่นไปติดที่จอ 8. ให้ทดลองปฏิบัติการเปลี่ยนจอและทัสกรีน หลายๆรอบเพื่อความช้านาญ ข้อควรระวังจากการทดลอง 1 ไม่ควรหยอกล้อกันขณะปฏิบัติงานเนื่องจากต้องใช้สมาธิและความสุขุมรอบคอบใน การปฏิบัติงาน 2 เมื่อใช้งานหัวแร้งเสร็จแล้วให้ปิดสวิทซ์หัวแร้งทันที 3 ตั้งอุณหภูมิของหัวแร้งที่พอเหมาะ ประมาณ 350-380 4 ควรดูให้ดีว่าจอและทัสกรีนเป็นแบบใหนเวลางัดออกระวังจอแตก
วิทยาลัยสารพัดช่างยะลา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ