สรุปนโยบายและแนวทางปฎิบัติ 13
AQUADAPT www.aquadapt.org การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าและการปรับตัว
การประเมินความเสี่ยงและทางเลือกในการปรับตัว ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการสภาพภูมิอากาศ
สู่การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในเขตภาคเหนือของประเทศไทย
การบริหารจัดการความเสี่ยงที่เกี่ยวกับสภาพอากาศจะ แตกต่ า งกั น ไปในแต่ ล ะพื้ น ที่ การจั ด การและกลยุ ท ธ์ ใ นการ
เกษตรกรผู้เลี้ยงปลาเขตภาคเหนือของไทยต้องเผชิญกับ
บริ หา ร คว า ม เสี่ ย ง ที่ เกษ ต ร กร ได้ ป ฏิ บั ติ กั น ภ า ยใ น ฟา ร์ ม
ปัญหาความแปรปรวนจากสภาพอากาศ ซึ่งมีความรุนแรงมาก
ประกอบด้วย การเลือกสถานที่เลี้ยงที่เหมาะสม การปรับความ
ขึ้ น และจะเกิ ด บ่ อ ยขึ้ น ในอนาคต รายงานนี้ เ ป็ น การประเมิ น
หนาแน่นของปลาที่เลี้ยง การติดตั้งเครื่องเติมอากาศ ส่วนการ
ความคิ ด เห็ น และวิ ธี ป ฏิ บั ติ ต่ อ ความเสี่ ย งอั น เกิ ด จากการ
บริหารความเสี่ยงระดับชุมชนและลุ่มน้้า ได้แก่ การแลกเปลี่ยน
เปลี่ยนแปลงและความแปรปรวนของสภาพอากาศที่มีผลต่อการ
ข้ อ มู ล ข่ า วสารเกี่ ย วกั บ การเตื อ นภั ย ของสภาพอากาศ การ
เพาะเลี้ยงสัตว์น้าของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในเขตภาคเหนือ และ
แลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล ด้ า นเทคนิ ค การเลี้ ย งปลา ส่ ว นการจั ด การ
มุ่งมั่นในการแสวงหาทางเลือกในการปรับตัวเพื่อรับมือกับการ
ภาครัฐจะเกี่ยวข้องกับการจ่ายค่าชดเชยให้กับผู้เลี้ยงปลาหาก
เปลี่ยนแปลงจากสภาพอากาศ
เกิดภัยพิบัติและการก้าหนดนโยบายด้านการก้าหนดพื้นที่การ เลี้ยง มาตรฐานการเลี้ยง มาตรฐานฟาร์มและผลผลิต การจั ด การความเสี่ ยงประกอบด้ ว ยแผนระยะสั้ น ระยะ กลางและระยะยาว การจัดการที่ สามารถท้าได้ทันทีในกรณีที่ คาดว่ าจะเกิดความเสี่ยง คื อ การย้ายกระชัง การติด ตั้ง เครื่ อ ง เติ ม อากาศ หรื อ การจั บ ปลาฉุ ก เฉิ น แผนระยะกลาง คื อ การ ปรั บ เปลี่ ย นการปล่ อ ยปลาลงเลี้ ย งเพื่ อ หลี ก เลี่ ย งช่ ว งเวลาที่ มี ความเสี่ ย งสู ง การกัก เก็ บ น้้ า ไว้ ใ ช้ ห น้ า แล้ ง ส่ ว นกลยุ ท ธ์ ร ะยะ ยาว เกษตรกรอาจจะต้องหาแหล่งรายได้อื่นเสริม และการวิจัย เกี่ยวกับการพัฒนาสายพันธุ์ปลาที่ทนต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ความเสี่ ย งจากสภาพอากาศที่ ส้ า คั ญ และมี ผ ลต่ อ ก้ า ไร
อากาศ การปรับเปลี่ยนเทคนิคการเลี้ยงให้มีความเหมาะสม
ของการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าจืด ได้แก่ ฤดูกาล ระบบหรือรูปแบบ
นอกจากนี้เกษตรกรยังต้องเผชิญกับความเสี่ยงอื่น ๆ ที่
การเลี้ยง ท้าเลที่ตั้งของฟาร์ม นั่นหมายความว่า ความเสี่ยงจะ
ไม่ เ กี่ ย วกั บ สภาพอากาศ เช่ น อั ต ราดอกเบี้ ย เงิ น กู้ ที่ สู ง ราคา
แตกต่างกันไปในแต่ละฟาร์ม ความเสี่ยง ที่ส้าคัญของการเลี้ยง
อาหารปลาที่ สูง ขึ้น ราคาและปริ มาณความต้อ งการปลาลดลง
ปลาในกระชัง คือ กระแสน้้าที่ไหลเชี่ยวในฤดูน้าหลากและการ
การบริ หารจัด การความเสี่ย งเหล่ านี้อ าจจะต้ อ งท้ า ไปพร้ อ ม ๆ
ไหลเวียนของน้้าน้อยในฤดูแล้ง ส่วนความเสี่ยงหลักๆ ส้าหรับ
กับการจัดการความเสี่ยงที่เกิดจากปัจจัยอื่น ๆ โดยการจัดการ
การเลี้ ยงปลาในบ่ อ ดิ น ได้ แก่ น้้ า ท่ ว ม ภั ย แล้ ง และฝนตกหนั ก
ความเสี่ยงเกี่ยวกับสภาพอากาศจะต้องไม่ก่อให้เกิดผลเสียหรือ
ความเสี่ยงของการเลี้ยงปลากระชังในอ่างน้้าปิดขนาดใหญ่ คือ
ท้าให้เกิดความเสี่ยงด้านอื่นๆ เพิ่มมากขึ้น
การเปลี่ยนแปลงของอุณหภู มิอ ย่างรวดเร็วและท้อ งฟ้าปิดเป็ น เวลานาน อุ ป สรรคของการเพาะพั น ธุ์ สั ต ว์ น้ า ได้ แก่ อากาศที่ ร้ อ นจั ด หรื อ คลื่ น ความร้ อ น อากาศที่ ห นาวจั ด และการขาด แคลนน้้าสะอาด การประเมินนีป ้ ระกอบด้วยงานวิจย ั ทีบ ่ รู ณาการจากศาสตร์ หลากหลายสาขา การส้ารวจพืน ้ ที่ การสัมภาษณ์เกษตรกร เจ้าหน้าที่ ภาครัฐและผูเ้ ชีย ่ วชาญ
การทบทวนวรรณกรรม
การจัดประชุมกลุม ่
โดยกิจกรรมทัง้ หมดเป็นส่วนหนึง่ ของโครงการอควาแดป ซึง่ ได้รบ ั การ
หน่ วยวิ จั ย สั ง คมและสิ่ งแวดล้ อ ม
สนับสนุนทุนวิจย ั จากศูนย์พฒ ั นางานวิจย ั นานาชาติ (IDRC)
USER www.sea-user.org
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิ ทยาลัยเชียงใหม่ จ. เชียงใหม่ 50200
053 854 898
สรุปนโยบายและแนวทางปฎิบัติ 13
AQUADAPT www.aquadapt.org การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าและการปรับตัว
การประเมินความเสี่ยงและทางเลือกในการปรับตัว การตัดสินใจในอนาคตที่ไม่แน่นอน
สู่การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในเขตภาคเหนือของประเทศไทย
ความเสี่ยงอันเนื่องมาจากสภาพอากาศมีความส้าคัญต่อ
การคาดการณ์สภาพอากาศอนาคตในภาคเหนือของไทย
การเลี้ยงปลา อาจส่งผลท้าให้เกษตรกรบางรายไม่สามารถท้า
ให้ ถู ก ต้ อ งนั้ น ท้ าได้ ย าก ระดั บ ความคลาดเคลื่ อ นสู ง จะมี
ธุรกิจต่อไปได้ อย่างไรก็ตาม หากมีการบริ หารที่ ดีทั้ งระยะสั้ น
ความส้าคัญมากทีจ ่ ะผลักดันให้สร้างมาตรการเพือ ่ ให้เกษตรกรมี
และระยะยาว อาจจะช่ ว ยเสริ ม ความเข้ ม แข็ ง ปรั บ ตั ว และลด
ความสามารถในการปรับตัวอย่างเข้มแข็งและยืดหยุ่นได้ เพื่อ
ความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต
ป้องกันความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น ภาพจ้าลองเหตุการณ์ด้าน สภาพอากาศทีเ่ ปลีย ่ นแปลงไปในอนาคตทีส ่ ร้างขึน ้ มา 4 แบบ ถูก
การก้าหนดนโยบายและแผน
น้ามาใช้ในกิจกรรมการประเมิน เพื่อช่วยให้เข้าใจผลกระทบที่ เกิดขึ้นต่อระบบการเลี้ยงปลา ปริมาณฝนเป็นตัวแปรหนึ่งในการ ก้าหนดภาพอนาคตซึง่ อาจจะมีปริมาณฝนเพิม ่ มากขึน ้ ปริมาณฝน ลดลง ท้าให้แห้งแล้งกว่าเดิม หากเกิดความแตกต่างของฤดูกาล มากขึ้ น ฝนจะตกเยอะในช่ ว งหน้ า ฝนและลดลงมากในช่ ว ง
(1)
เสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ (2)
สภาพอากาศ
จะตกน้อยลงในหน้าฝนแต่อาจจะมีฝนบ้างในช่วงหน้าร้อน (3) มี ก ารใช้ ภ าพจ้ าลองสภาพอากาศทั้ ง สี่ แ บบร่ ว มกั บ เลี้ ย งปลา แล้ ว ก้ า หนดยุ ท ธศาสตร์ ใ นการปรั บ ตั ว ระยะยาวได้ ทั้งหมด 21 กลยุทธ์ ผลประโยชน์หรือข้อดีของการน้ากลยุทธ์มา ใช้ เช่น การพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ การสร้างเขือ ่ น ฝายหรือพนัง กั้นน้้า ระบบประกันภัย การพัฒนาระบบเตือนภัย แม้ว่า จะไม่ใช่
การปรับเปลี่ยนนโยบาย แผนและกลยุทธ์ในการ เพาะเลี้ ย งสั ต ว์ น้ า เพื่ อ รั บ มื อ การเปลี่ ย นแปลง
หน้าแล้ง ในทางตรงกันข้ามความแตกต่างของฤดูกาลน้อยลง ฝน
สมมุตฐ ิ านเกีย ่ วกับความต้องการน้้าและความต้องการอืน ่ ๆ ในการ
เพิ่ ม ความเข้ ม แข็ ง ในการบริ ห ารจั ด การความ
เพิ่ม การเฝ้ าระวั ง เกี่ย วกั บ การบริ หารจั ด การน้้ า ส้าหรับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า
(4)
กระตุน ้ การแลกเปลีย ่ นเรียนรูแ ้ นวปฏิบต ั ท ิ ด ี่ ใ ี นการ จัดการความเสีย ่ งระหว่างเกษตรกรผูเ้ ลีย ้ งปลา
(5)
ประสานงานกับ บริษัทเอกชนและเกษตรกรเพื่อ แลกเปลี่ยนแนวทางใหม่เพื่อรับมือกับความเสี่ยง
เป็นค้าตอบหรือการป้องกันแก้ไขที่ดท ี ี่สด ุ แต่ก็ชว ่ ยบรรเทาความ
(6)
การก้าหนดนโยบายเขตพืน ้ ทีก ่ ารเพาะเลีย ้ งสัตว์น้า
เสียหายทีจ ่ ะเกิดขึน ้ ได้บา้ ง อย่างไรก็ตามกลยุทธ์ตา่ ง ๆ ควรมีการ
(7)
ส่งเสริมสนับสนุนการปรับกฎระเบียบเกีย ่ วกับการ
ใช้แบบผสมผสานเพื่อท้าให้การปรับตัวของการเลี้ยงสัตว์น้าใน
จัดการมลพิษหรือ น้้ าทิ้ง ส้ าหรั บฟาร์ มเพาะเลี้ยง
สภาพอากาศไม่แน่นอนเกิดผลดีและยืดหยุน ่ ได้
สัตว์น้า
นโยบายรัฐบาลด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า
(8)
การปรับตัวเพื่อการเลี้ยงสัตว์น้าในสภาพอากาศ เปลี่ยนแปลง
จากการตรวจสอบนโยบายรัฐบาลด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์ น้้ า ที่ มี อ ยู่ใ นปั จ จุ บั น พบว่ า ไม่ มีน โยบายใดที่ เ กี่ ยวข้ อ งกั บ การ
(9)
ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเลย แต่บางนโยบาย มีการพูดถึงความส้าคัญของสภาพอากาศต่อน้้าท่วม ภัยแล้งและ คุ ณ ภาพน้้ า ในปั จ จุ บั น ผลกระทบจากการเปลี่ ย นแปลงสภาพ อากาศอาจจะมีผลท้าให้นโยบายของภาครัฐไม่ประสบผลส้าเร็จ ดังนั้นจึงมีความจ้าเป็นที่จะต้องน้าส่วนผลของการเปลี่ยนแปลง
การลงทุนเพื่อการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีใน
มีการให้ข้อมูลและท้ าความเข้าใจเกี่ยวกับความ เสีย ่ ง
(10)
ร่างยุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการน้้าเพือ ่ การ เพาะเลีย ้ งสัตว์น้าอันเนือ ่ งมาจากการเปลี่ยนแปลง สภาพอากาศ
สภาพอากาศไปใช้ในการก้าหนดนโยบายด้วย
หน่ วยวิ จั ย สั ง คมและสิ่ งแวดล้ อ ม
USER www.sea-user.org
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิ ทยาลัยเชียงใหม่ จ. เชียงใหม่ 50200
053 854 898