สรุปนโยบายและแนวทางปฎิบัติ 2
AQUADAPT
www.aquadapt.org การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าและการปรับตัว
วิธป ี ฏิบต ั ใ ิ นการจัดการความเสีย ่ ง
สู่การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอ ิ ากาศ ในเขตภาคเหนือของประเทศไทย
การจัดการความเสีย ่ งทีเ่ กิดจากสภาพภูมอ ิ ากาศของผูเ้ ลีย ้ งปลาในกระชัง ผู้เลี้ยงปลาทุกคนต่างรับรู้ว่าการเลีย ้ งปลาในกระชังในแม่น้านั้นมี ความเสี่ยงหลายประการ การลดความเสี่ยงและการบริหารจัดการความ เสี่ยงอย่างเหมาะสมจึงเป็นเรื่องส้าคัญมากต่อผลก้าไรและความยั่งยืน ของธุรกิจเลี้ยงปลา บทความนี้ สรุปประเด็นที่ทม ี นักวิจัยในโครงการ อะควาแดป (AQUADAPT)ได้เรียนรู้จากประสบการณ์ของเกษตรกรผู้ เลี้ยงปลา เจ้าหน้าที่ของรัฐ และนักวิชาการ เกี่ยวกับวิธีการเลี้ยงปลา
ทั้งสภาพอากาศโดยเฉลี่ยและสภาพอากาศรุนแรงสุดขีด เช่น น้้าท่วม น้้าแล้ง หรืออากาศ ร้อนสลับหนาวอย่างฉับพลัน คณะวิจัยเชื่อว่า การจัดการความเสีย ่ งให้ดีกว่าเดิมเป็นยุทธวิธีส้าคัญในการเสริมสร้าง สมรรถนะในการปรับตัวเพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงภูมอ ิ ากาศ เกษตรกรผู้เลี้ยงปลาเข้าใจดีว่า การจัดการความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับสภาพภูมิอากาศ
ในกระชังในแม่น้าที่มป ี ระสิทธิภาพในการจัดการความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง
ต้องด้าเนินการควบคู่กบ ั การจัดการความเสี่ยง ทีม ่ ีความส้าคัญยิ่งไปกว่านั้นนั่นคือการ
กับสภาพภูมิอากาศ
จัดการความเสี่ยงในระยะสั้นซึง่ จะส่งกระทบต่อผลก้าไร เช่น การแก้ปญ ั หาโรคต่างๆ
ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับสภาพภูมอ ิ ากาศนั้นครอบคลุมประเด็นใน เรื่องความแตกต่างของสภาพอากาศในแต่ละฤดูกาลและแต่ละสถานที่ ตารางที่ 1: ระดับของความตระหนักทีเ่ กีย ่ วกับปัจจัยเสี่ยงทีม ่ ผ ี ลต่อก้าไร ค่าเฉลีย ่ ได้จากการสอบถามเกษตรกรผูเ้ ลีย ้ งปลา 662 ราย โดยระดับ 1
หรือปัญหาเรื่องปัจจัยน้าเข้าหลักเช่น อาหารปลาหรือลูกพันธุป ์ ลา (ตารางที่1) การบริหารจัดการความเสี่ยงจากสภาพอากาศมียุทธวิธีที่ส้าคัญ 3 ประการคือ 1) การ เลือกสถานที่ตงั้ ให้เหมาะสมส้าหรับการวางกระชัง 2) การลดความหนาแน่นในการปล่อย ลูกพันธุ์ปลา และ 3) การปรับปรุงวิธก ี ารจัดการโรคระบาด
(ไม่ตระหนัก) ถึงระดับ 5 (ตระหนักมากทีส ่ ด ุ )
ปัจจัยเสีย ่ ง
ค่าเฉลีย ่
“การเลือกท้าเลวางกระชังทีด ่ ีจะช่วยลดความเสีย ่ งได้เยอะ”
โรคระบาด
4.65
พรม ครุฑน้อย / อุตรดิตถ์
ราคาอาหารปลา
4.41
คุณภาพลูกพันธุ์ปลา
4.35
ภัยแล้ง / น้้าไหลน้อย
4.21
น้้าเสีย
4.19
ราคาปลาที่จับขาย
4.18
น้้าท่วม / น้้าไหลเชี่ยว
3.89
คุณภาพอาหารปลาต่้าลง
3.73
กระชังเสียหายจากกระแสน้้า
3.66
สรุปนโยบายและแนวทางปฎิบัติ 2
AQUADAPT
www.aquadapt.org การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าและการปรับตัว สู่การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอ ิ ากาศ
วิธป ี ฏิบต ั ใ ิ นการจัดการความเสีย ่ ง
ในเขตภาคเหนือของประเทศไทย
การคัดเลือกท้าเลที่เหมาะสมในการวางกระชังเป็นเรือ ่ งส้าคัญ แต่ก็มีข้อจ้ากัดคือ ท้าเลที่เหมาะสมมีอยู่ไม่ มากนัก ภาพที่ 1 เป็นการสรุปทัศนะของเกษตรกรผู้เลี้ยงปลาในกระชังเกี่ยวกับกรรมวิธีจัดการความเสี่ยงที่ส้าคัญ ที่สุดในระดับฟาร์มและในระดับแม่น้า การจัดการความเสี่ยงในระดับฟาร์มได้แก่ การควบคุมคุณภาพของ ปัจจัยน้าเข้า เช่น คุณภาพของลูกพันธุ์ปลาและอาหารปลา รวมทัง้ การรักษาสายสัมพันธ์อันดีกับเพื่อนบ้าน และเจ้าหน้าทีป ่ ระมง ส่วนการจัดการความเสี่ยงในระดับแม่น้านัน ้ สิ่งที่ส้าคัญอย่างยิ่งยวดคือวิธก ี ารจัดการ โครงสร้างพืน ้ ฐานที่เกี่ยวข้องกับน้้า ตลอดจนการควบคุมน้้าผิวดินปนเปื้อนมลภาวะที่ไหลมาจากพื้นที่ลุ่มน้้า
ภาพที่ 1: การจัดการความเสีย ่ งของเกษตรกรผูเ้ ลีย ้ งปลาในกระชัง
3
3
3.5
3.5
4
4
4.5
โรคระบาดเป็นความเสี่ยงส้าคัญซึง่ อาจเกิดขึ้นได้ ตลอดทั้งปีทั้งยังเป็นความเสี่ยงที่เกิดจากปัจจัยหลาย ประการนอกเหนือจากปัจจัยด้านลมฟ้าอากาศ หรือ ภูมิอากาศ อย่างไรก็ตาม การบริหารจัดการที่ดีจะช่วย ลดความเสี่ยงที่เกิดขึน ้ เมื่อระดับน้้าในแม่น้ารวมทั้ง สภาพภูมิอากาศนัน ้ สร้างความเครียดให้แก่ปลา การ ติดตามข่าวสารเรือ ่ งโรคปลาที่ระบาดในพืน ้ ที่เหนือน้้า ขึ้นไป และในละแวกใกล้เคียงกับกระชังเลี้ยงปลาเป็น เรื่องส้าคัญ ต้องรีบก้าจัดปลาป่วย ปลาเป็นโรคและ ปลาตายออกจากกระชังทันที แต่อย่าทิง้ ปลาเหล่านี้ลง ในแม่น้า มิฉะนั้นโรคปลาจะแพร่ไปยังปลาตัวอื่นหรือ กระชังอืน ่ ๆ ควรล้างตาข่ายกรุกระชังให้สะอาดไม่ให้ ตาข่ายอุดตัน ตะกอนของเสียจากปลาจะได้ไหลลอด ออกไปโดยเร็วช่วยรักษาออกซิเจนในน้้าให้คงอยู่ใน ระดับสูง
5
4.5
เกษตรกรผู้เลี้ยงปลาหลายรายเริ่มปรับเปลี่ยนวิธีการ เลี้ยงปลาเพือ ่ รับมือกับสภาพอากาศที่ไม่แน่นอน โดย ปรับเปลี่ยนช่วงเวลาเลี้ยงปลา เลี้ยงปลาหลายรุ่น เลี้ยง ปลาหลายชนิดพันธุ์และหลีกเลี่ยงการลงปลาหนาแน่น เกินไป การปล่อยปลาที่มีขนาดใหญ่กว่าและแข็งแรง กว่าลงไปในกระชังจะช่วยลดความเปราะบางและลด ระยะเวลาทีป ่ ลาต้องเผชิญความเสี่ยงระหว่างที่อาศัย อยู่ในกระชังในแม่น้า การเติมอากาศและการกระตุน ้ ภูมต ิ ้านทานด้วยการให้วิตามินจะช่วยให้ปลาแข็งแรง ขึ้น ส้าหรับพื้นที่บางแห่งทีร่ ะดับน้้าในแม่น้าลดต่้าลง มากการขุดลอกร่องน้้าบริเวณที่วางกระชังให้ลก ึ ขึ้นจะ ช่วยให้เกษตรกรรับมือกับสภาพลมฟ้าอากาศที่รน ุ แรง ได้เป็นการชั่วคราว
5
เกษตรกรและผู้เชี่ยวชาญทั้งหลายจึงเน้นความส้าคัญของการเฝ้าดูระดับความลึกของน้้าทีพ ่ อเหมาะตลอดจนการจัดเตรียมพืน ้ ทีร่ องรับการเคลื่อนย้ายกระชังไปหลบภัยชั่วคราวเมือ ่ ต้องเผชิญปัญหาน้้าท่วมหนัก
“เวลาน้า้ แห้งจะย้ายกระชังออกไปกลางแม่นา้ ทีม ่ น ี ้าลึก หากช่วงใดน้า้ ไหลเชีย ่ วก็จะย้ายเข้ามาติดฝัง่ ” เทียมตา คันธะรส / เชียงใหม่ การเฝ้าระวังและตรวจตราบ่อยครัง้ เป็นสิ่งส้าคัญในช่วงน้้าไหลน้อย หรือช่วงน้้าล้น ตลิ่ง อีกทั้งการลดความหนาแน่นของปลาในช่วงเวลาทีม ่ ีความเสี่ยงสูงถือเป็นวิธีการ จัดการที่ส้าคัญอย่างหนึ่งในการลดความเครียดของปลาจึงช่วยลดความเปราะบางต่อ สภาพอากาศที่รน ุ แรงได้ หากระดับน้้าลดต่้าลง การเติมออกซิเจนลงในน้้าหรือการท้า ให้น้าไหลถ่ายเทได้ดีจะช่วยลดความเสี่ยงที่เกิดจากปริมาณออกซิเจนในน้้าต่า้
หน่ วยวิ จั ย สั ง คมและสิ่ งแวดล้ อ ม
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิ ทยาลัยเชียงใหม่ จ. เชียงใหม่ 50200
USER www.sea-user.org 053 854 898