สรุปนโยบายและแนวทางปฎิบัติ 5
AQUADAPT www.aquadapt.org การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าและการปรับตัว
การเลี้ยงปลานิลในบ่อดิน
การเตรียมบ่อดิน
ทัว ่ บ่อ ในอัตรา 1 กิโลกรัมต่อ 30 ตารางเมตร (ประมาณ 60 กิโลกรัม/ไร่) เพือ ่ ปรับสภาพบ่อ และตากบ่อเป็นเวลา 1 สัปดาห์ หลังจากนัน ้ จึงปล่อยน้า้ เข้าบ่อเพื่อท้าการเลีย ้ งปลา เกษตรกร ควรใส่ปย ุ๋ คอกในอัตรา 50 กิโลกรัม/ไร่/สัปดาห์ เพื่อเป็นการ สร้างอาหารธรรมชาติ เพื่อช่วยประหยัดต้นทุนค่าอาหารปลา หากต้องการเลีย ้ งปลาในกระชัง ให้กางกระชังตามขนาดที่
ในเขตภาคเหนือของประเทศไทย
การคัดเลือกลูกพันธุป ์ ลาและการปล่อยปลา
บ่อเลีย ้ งปลานิลควรมีความลึกอย่างน้อย 1 เมตร หาก เป็นบ่อเก่าให้สบ ู น้า้ ออกจากบ่อ ก้าจัดวัชพืช และโรยปูนขาวให้
สู่การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
คุณภาพความแข็งแรงของลูกปลาเป็นปัจจัยที่ ส้าคัญ
ดังนัน ้ ควรตรวจดูให้แน่ใจว่าลูกปลาทีไ ่ ด้มค ี วาม
แข็งแรง และไม่ตด ิ เชือ ้ โรค อัตราการปล่อยลูก-ปลาที่ เหมาะสมในบ่อดินคือ 2-3 ตัว/ตารางเมตร ก่อนปล่อย ปลาควรแช่ถงุ บรรจุปลาทิง้ ไว้ประมาณ 10 - 15 นาที เพื่อให้ปลาปรับสภาพกับน้า้ ในบ่อ แล้วค่อยๆ ปล่อยให้ ปลาว่ายออกไปอย่างช้า ๆ
เหมาะสมกับบ่อเลีย ้ งปลา ส้าหรับบ่อเลีย ้ งปลาทีอ ่ ยูห ่ า่ งไกลจาก ชุมชนควรสร้างตาข่ายกัน ้ ขอบบ่อเพือ ่ ป้องกันศัตรูของปลา
หน่ วยวิ จั ย สั ง คมและสิ่ งแวดล้ อ ม คณะสังคมศาสตร์ มหาวิ ทยาลัยเชียงใหม่ จ. เชียงใหม่ 50200
USER www.sea-user.org 053 854 898
สรุปนโยบายและแนวทางปฎิบัติ 5
AQUADAPT www.aquadapt.org การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าและการปรับตัว
การเลี้ยงปลานิลในบ่อดิน
สู่การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในเขตภาคเหนือของประเทศไทย
การจัดการขณะเลีย ้ งปลานิล ลูกปลานิลต้องการอาหารทีม ่ โี ปรตีนสูงหรือมีการเสริม อาหารธรรมชาติ อย่างน้อยทีส ่ ด ุ ควรมีการเติมปุย ๋ และมีการถ่าย น้า้ ขณะลีย ้ งปลา ระยะเวลาในการเลีย ้ งประมาณ 5-6 เดือน ในช่วงเดือนที่ 4 ถึงเดือนที่ 6 ผู้เลีย ้ งจะต้องระมัดระวังเรือ ่ ง ปริมาณออกซิเจนในน้า้ อย่างน้อยควรมีการถ่ายน้า้ อาทิตย์ละ ครัง้ การให้อาหารปลาในช่วงปลาโต ควรให้อต ั รา 3% ของ น้า้ หนักตัว/วัน และควรลดอาหารในกรณีทอ ี่ ณ ุ หภูมน ิ า้ ต่า้ เช่น ในฤดูหนาว
ขัน ้ ตอนการเตรียมบ่อ 1. สูบน้า้ ออกจากบ่อเพือ ่ ก้าจัดศัตรูของลูกปลาและตากบ่อ ให้แห้ง 2. โรยปูนขาวเพือ ่ ปรับสภาพดิน 3. เติมปุย ๋ คอกเพือ ่ สร้างน้า้ เขียวและอาหารธรรมชาติ 4. กางกระชังอนุบาลลูกปลานิลในกรณีทไ ี่ ม่สามารถเอา น้า้ เก่าออกจากบ่อได้
โครงการวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากหน่วยงาน International Development
Research Centre (IDRC)
ประเทศแคนาดาด้านทรัพยากรน้้าและการปรับตัวสู่ความ เปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศในเอเชีย
หน่ วยวิ จั ย สั ง คมและสิ่ งแวดล้ อ ม คณะสังคมศาสตร์ มหาวิ ทยาลัยเชียงใหม่ จ. เชียงใหม่ 50200
USER www.sea-user.org 053 854 898