สรุปนโยบายและแนวทางปฎิบัติ 7
AQUADAPT www.aquadapt.org การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าและการปรับตัว
โรคของปลานิล
สู่การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
โรคที่เกิดจากปรสิต เห็บระฆังอาการ : ปลาไม่คอ ่ ย
ปลิงใสอาการ : ตัวปลาสีเข้มกว่า
กินอาหาร พลิกตัวไปมาว่ายน้า้
ปกติ กินอาหารน้อยลง เหงือก
ทุรนทุรายและใช้ลา้ ตัวสีผนังบ่อ
บวมอักเสบ
เพื่อให้ปรสิตหลุดออก
เห็บระฆัง
หมัดปลา
การรักษา : ใช้ฟอร์มาลิน 25 -
การรักษา : ใช้ฟอร์มาลิน 25 50 ซีซี ต่อน้า้ 1,000 ลิตร
ปลิงใส
50 ซีซี ต่อน้า้ 1,000 ลิตร
หมัดปลาอาการ : ว่ายน้า้ ทุรนทุ
เห็บปลาอาการ : ปลาเกิดแผล
รายกระโดดขึน ้ ผิวน้า้ หาก
ตกเลือดว่ายน้า้ ทุรนทุรายและใช้
ระบาดมากจะท้าให้ปลาตายได้
ล้าตัวสีผนังบ่อให้ปรสิตหลุดออก
การรักษา :แช่ไตรคลอฟอน
การรักษา : แช่ปลาใน
สัปดาห์ละครัง้ ติดต่อกัน 3 – 4 สัปดาห์
เห็บปลา
สารละลายยาฆ่าแมลงไตรคลอ ฟอน 0.5 – 1.75 กรัม ต่อน้า้
1,000 ลิตรหรือดิพเทอร์เรกซ์ 0.25 – 0.5 กรัมต่อน้า้ 1,000 ลิตร แต่ตอ ้ งระวังไม่ใช้สารเคมีกบ ั ปลาในระยะใกล้จบ ั เพราะ อาจปนเปือ ้ นในเนือ ้ ปลา
โรคติดเชือ ้ แบคทีเรียมักจะเป็นการติดเชือ ้ ภายในต้องรักษาด้วยอาหารผสมยาปฏิชว ี นะ ปลาทีต ่ ด ิ เชือ ้ โดยทัว ่ ไปมีการตกเลือดหรือเป็นแผลบริเวณล้าตัว รอบตาและปาก ท้องบวม ตาโปน กลุม ่ ยาทีใ ่ ช้รก ั ษาโรค 1) ออกซิเตตร้าซัยคลิน
3) ออกโซลินค ิ แอซิด
2) เททราซัยคลิน
4) ซัลฟาเมทท็อกซิน
หน่ วยวิ จั ย สั ง คมและสิ่ งแวดล้ อ ม
USER www.sea-user.org
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิ ทยาลัยเชียงใหม่ จ. เชียงใหม่ 50200
053 854 898
สรุปนโยบายและแนวทางปฎิบัติ 7
AQUADAPT www.aquadapt.org
โรคของปลานิล
การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าและการปรับตัว สู่การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
โรคที่เกิดจากการติดเชือ ้ แบคทีเรีย มักพบบ่อยในบ่อทีเ่ ลีย ้ งโดยให้
การระบาดของโรคมักจะเกิดขึน ้ กับ
อาหารสดหรือการเลีย ้ งแบบ
ปลาทีเ่ ลีย ้ งหนาแน่นมาก ปลาที่
ผสมผสาน เชือ ้ นีอ ้ าศัยอยูใ ่ น
เลีย ้ งในทีม ่ อ ี อกซิเจนในน้า้ ต่า้ หรือ
แหล่งน้า้ ทีม ่ ป ี ริมาณสารอินทรีย์ โรคจากการติดเชือ ้ แอโรโมแนส
อุณหภูมข ิ น ึ้ ๆลงๆโดยเฉพาะ โรคเหงือกเน่าในปลานิล
สูง
ปรับสภาพไม่ทน ั
อาการ : ปลาไม่กน ิ อาหาร ว่ายน้า้ เฉือ ่ ยชา ครีบกร่อน ตก เลือด เกิดบาดแผลเป็นหลุม ท้องบวม
หลังจากฝนตกใหม่ ๆ ท้าให้ปลา
อาการ : ภายนอกของปลาทีต ่ ด ิ เชือ ้ แบคทีเรีย ฟลาโวแบคทีเรียม มีลก ั ษณะตัวด่าง เหงือกเน่า ดูคล้ายกับมีเศษตะกอนดินโคลนติด อยู่
มักจะระบาดรุนแรงในหน้าร้อน
โรคระบาดในหน้าร้อนและช่วง
หากติดเชือ ้ รุนแรงปลาจะตาย
อากาศเปลีย ่ นแปลงกะทันหัน
จ้านวนมาก โรคติดเชื้อสเตรปโตคอคคัส
อาการ : ตาขุน ่ ขาวว่ายน้า้ ช้า ลอยตัวนิง่ บริเวณช่องขับถ่าย
อาการ : ตัวปลาสีซด ี ด่างเป็น โรคคอลัมนาริส
แถบๆ มีเมือกมากผิดปกติครีบ และเหงือกกร่อน
บวมแดง
ค้าแนะน้าโรคติดเชือ ้ แบคทีเรียมักจะเป็นการติดเชือ ้ ภายในต้องรักษาด้วยอาหารผสมยาปฏิชว ี นะ ปลาทีต ่ ด ิ เชือ ้ โดยทัว ่ ไปมีการตกเลือดหรือเป็นแผลบริเวณล้าตัว รอบตาและปาก ท้องบวม ตาโปน 1) ควรใช้ยาติดต่อกัน 5 – 14 วันแล้วแต่ชนิดของยา 2) ควรหยุดใช้ยาอย่างน้อย 21 วัน ก่อนจับขายเพือ ่ ไม่ให้ยาตกค้างในตัวปลา 3) ปลาทีเ่ ป็นโรคคอรัมนาริส จะตัวด่าง อาจรักษาโดยการใช้ยาเหลือง แช่ในอัตรา ความ เข้มข้น 1 - 3 มิลลิกรัมต่อลิตร
หน่ วยวิ จั ย สั ง คมและสิ่ งแวดล้ อ ม
USER www.sea-user.org
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิ ทยาลัยเชียงใหม่
053 854 898