ผลกระทบของอุณหภูมิต่อการพลิกตัวของน้ำในบ่อเลี้ยงปลา

Page 1

สรุปนโยบายและแนวทางปฎิบัติ 9

AQUADAPT www.aquadapt.org การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าและการปรับตัว

ผลกระทบของอุณหภูมิตอ ่ การพลิกตัวของน้า้ ในบ่อเลีย ้ งปลา

สู่การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ผลกระทบของอุณหภูมิตอ ่ การพลิกตัวของน้า้ ในบ่อเลีย ้ งปลาในภาคเหนือของประเทศไทย คุณภาพน้า้ ในบ่อเลี้ยงปลาส่งผลกระทบอย่างมากต่อ

ออกซิเจนในน้า้ กระจายตัวได้ดีขึ้นและลดการสะสมของ

ผลผลิตปลาและก้าไรที่เกษตรกรจะได้รบ ั เมื่อจับปลาขาย

สารอินทรีย์ ช่วงที่มีเมฆหมอกปกคลุมในฤดูฝนอาจท้าให้การ

สภาพภูมอ ิ ากาศท้าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้​้า การ

ผลิตออกซิเจนลดลง จนอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพน้​้า

แบ่งชัน ้ น้​้าในบ่อและการพลิกตัวอย่างฉับพลันของน้​้าชั้นบนลงสู่

ในบ่อเกษตรกรควรให้ความส้าคัญต่ออุณหภูมแ ิ ละสภาวะที่มี

ชั้นล่าง ท้าให้ออกซิเจนในบ่อลดต่้าลงอย่างรวดเร็วและเป็น

เมฆหมอกปกคลุมในการจัดการปริมาณออกซิเจนในบ่อปลา

สาเหตุหลักทีท ่ า้ ให้ปลาตายจ้านวนมาก (ภาพที่ 1) ผลกระทบ

วิธีการให้อากาศหรือการตีน้าที่มป ี ระสิทธิภาพจะช่วยลดสภาวะ

ของอากาศต่อการแบ่งชั้นน้​้าและการพลิกตัวของน้​้าในบ่อปลา

การแบ่งชั้นของน้​้า ซึง่ มีความส้าคัญอย่างมากในการจัดการบ่อ

ในภาคเหนือของประเทศไทยโดยเฉพาะอย่างยิ่งในฤดูหนาว

เลี้ยงปลานิล บ่อปลาในบริเวณพื้นทีส ่ ูงอุณหภูมิอากาศและ

และฤดูฝนมีแนวโน้มจะเกิดความรุนแรงมากทีส ่ ุด

อุณหภูมิน้าจะมีค่าต่า้ กว่า จากการตรวจสอบการแบ่งชัน ้ น้​้าใน บ่อปลาทุกๆ บ่อตลอด24ชม. พบว่าในช่วงกลางคืนและตอนเช้า มืดน้​้าจะมีอุณหภูมิเท่ากันทุกระดับความลึกและมีการแบ่งชั้น ของน้​้าในตอนกลางวัน แต่จะกลับมามีอุณหภูมิเท่ากันเมื่อได้รบ ั กระแสลมในตอนเย็น บ่าย 3 โมง เป็นเวลาที่อณ ุ หภูมส ิ ูงทีส ่ ุดใน บ่อปลาทุกบ่อซึง่ ถือเป็นเรือ ่ งปกติของการเลี้ยงสัตว์น้าในบ่อน้​้า ตืน ้ ไม่วา่ จะมีระดับความสูงและระบบการเลีย ้ งแตกต่างกันก็ตาม

ภาพที่ 1 ปลาลอยหัวเนือ ่ งจากปริมาณออกซิเจนต่า้

การพลิกตัวของน้​้าในพื้นทีท ่ ี่มค ี วามสูงจากระดับน้า้ ทะเล ต่้ากว่า 400 เมตรนั้น เกิดช้ากว่าในพื้นที่ที่มรี ะดับสูงกว่าและ โดยทัว ่ ไปในฤดูฝนการพลิกตัวเกิดเร็วกว่าในฤดูหนาว ค่าเฉลี่ยของออกซิเจนละลายน้า้ ในฤดูหนาวสูงกว่าในฤดูฝน ในขณะทีอ ่ ุณหภูมิของน้า้ และปริมาณแอมโมเนีย ไนโตรเจน ในช่วงฤดูฝนสูงกว่าในฤดูหนาว การพลิกตัวของน้​้าท้าให้

หน่ วยวิ จั ย สั ง คมและสิ่ งแวดล้ อ ม

USER www.sea-user.org

คณะสังคมศาสตร์ มหาวิ ทยาลัยเชียงใหม่ จ. เชียงใหม่ 50200

053 854 898


สรุปนโยบายและแนวทางปฎิบัติ 9

AQUADAPT www.aquadapt.org การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าและการปรับตัว

ผลกระทบของอุณหภูมิตอ ่ การพลิกตัวของน้า้ ในบ่อเลีย ้ งปลา

โดยสรุป

ระดับความสูงและฤดูกาลมีผลต่อการพลิกตัว

ของน้​้าในบ่อปลา การพลิกตัวของน้​้าในระดับความสูงที่สงู กว่า เกิดขึ้นเร็วในฤดูฝน

สู่การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

จากสภาพอากาศรุนแรงและยังช่วยสร้างความสามารถในการ รับมือต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ

อาจเป็นเพราะความเย็นของน้​้าฝนรวมทัง้

กระแสลมที่พด ั หมุนเวียนท้าให้ผิวน้​้ามีอุณหภูมิต่้าลง ในฤดูฝนมี ความเสี่ยงสูงทีป ่ ริมาณออกซิเจนในบ่อปลาจะต่้า

(ภาพที่

2)

ภาพที่ 2 ปริมาณออกซิเจนรอบวันในบ่อเลีย ้ งปลา

ภาพที่ 3 เครือ ่ งให้อากาศ

ฟาร์มเลี้ยงปลาเชิงพาณิชย์ในพื้นที่ตา่้ มีแนวโน้มจะเกิด ปัญหาจากสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงเนื่องจากอุณหภูมิ

ค่า

แอมโมเนีย ความเป็นด่างและค่าน้าไฟฟ้าสูง เช่นเดียวกันกับบ่อ เลี้ยงปลาที่ตงั้ อยู่บนพืน ้ ทีส ่ ูง ออกซิเจน

จะได้รับผลกระทบจากปริมาณ

แอมโมเนีย ความขุ่นและสารแขวนลอยต่้า ดังนัน ้

เกษตรกรที่มบ ี อ ่ เลี้ยงปลาเชิงพาณิชย์ พื้นที่ระดับความสูงกว่า

ควรปรับวิธีการในการเลี้ยงปลาให้มี

ประสิทธิภาพโดยการลดอาหาร เครือ ่ งตีน้า

(ภาพที่

ปลอดภัยต่อปลา

และแบบผสมผสานบน

3)

ติดตั้งเครือ ่ งให้อากาศหรือ

เพื่อควบคุมออกซิเจนให้อยู่ในระดับ

รวมทัง้ ลดความเสี่ยงที่ผลผลิตปลาจะเสียหาย

หน่ วยวิ จั ย สั ง คมและสิ่ งแวดล้ อ ม

USER www.sea-user.org

คณะสังคมศาสตร์ มหาวิ ทยาลัยเชียงใหม่ จ. เชียงใหม่ 50200

053 854 898


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.